The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thidarat Seesai D2, 2021-04-29 01:54:02

หลักสูตรโรงเรียนเทวาบดินทรศิวารมย์ ฉบับสมบูรณ์

ฉบับสมบูรณ์

Keywords: academic

๔๕

รหัสตัวชี้วัด
ค ๑.๑ ป.๔/ ๑, ป.๔/๒ ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘, ป.๔/๙, ป.๔/๑๐,ป.๔/ ๑๑,
ป.๔/๑๒, ป.๔/๑๓, ป.๔/๑๔, ป.๔/๑๕, ป.๔/๑๖
ค ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ค ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒
ค ๓.๑ ป.๔/๑
รวมทั้งหมด ๒๒ ตัวชี้วดั

๔๖

คำอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน

รหสั วิชา ค ๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์

ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๕ เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง

ศึกษาและฝกึ ทกั ษะการคิดคำนวณ และการแกป้ ญั หาในสาระดังนี้ เขยี นเศษสว่ นทม่ี ีตวั สว่ นเป็นตัว
ประกอบของ ๑๐ หรือ ๑๐๐ หรือ ๑,๐๐๐ ในรูปทศนิยมแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้
บัญญัติไตรยางศ์ หาผลบวก ผลลบ ผลคูณ ผลหารของเศษส่วนและจำนวนคละ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์
ปญั หาการบวก การลบ การคณู การหารเศษสว่ น ๒ ขั้นตอน หาผลคูณของทศนิยม ทผ่ี ลคูณเปน็ ทศนิยมไม่เกิน
๓ ตำแหน่ง หาผลหารท่ตี ัวตัง้ เปน็ จำนวนนับหรอื ทศนิยมไม่เกนิ ๓ ตำแหน่ง และตวั หารเป็นจำนวนนับ ผลหาร
เป็นทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปญั หาการบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม
๒ ขน้ั ตอน และแสดงวธิ หี าคำตอบของโจทย์ปญั หาร้อยละไมเ่ กิน ๒ ข้นั ตอนแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับความยาว น้ำหนัก ที่มีการเปลี่ยนหน่วยและเขียนในรูปทศนิยม แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา
เกี่ยวกับปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากและความจุของภาชนะทรงสี่เหล่ียมมุมฉาก ความยาวรอบรูปของรปู
สี่เหลี่ยมและพื้นที่ของรูปสีเหลี่ยมด้านขนานและรูปสี่เหล่ียมขนมเปียกปูน สร้างเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรง
ให้ขนานกับเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงที่กำหนดให้จำแนกรูปสี่เหลี่ยมโดยพิจารณาจากสมบัติของรูป สร้าง
รปู สเี่ หลยี่ มชนิดต่าง ๆ เมอื่ กำหนดความยาวของด้านและขนาดของมุมหรือเมอ่ื กำหนดความยาวของเส้นทแยง
มมุ และบอกลกั ษณะของปริซึมใช้ข้อมูลจากกราฟเสน้ ในการหาคำตอบของโจทย์ปญั หา และเขยี นแผนภูมิแท่ง
จากข้อมูลที่เป็นจำนวนนับ โดยใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา ใช้ความรู้ ทักษะ และกระบวนการทาง
คณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และ
สรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษา และสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมายและการ
นำเสนอได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม เชื่อมโยงความรู้ต่างๆในคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น และนำไปใช้ใน
ชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์เห็นคุณค่าและเจตคติที่มีต่อคณิตศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ี
พึงประสงค์การทำงานอย่างมีระบบ ระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความ
เชอื่ ม่นั ในตนเอง

รหสั ตัวชี้วัด

ค ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ , ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙

ค ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔

ค ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔

ค ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒

รวมทัง้ หมด ๑๙ ตัวช้วี ัด

๔๗

คำอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน

รหัส ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ กล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ เวลา ๑๖๐ ชัว่ โมง

ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคำนวณและการแก้ปัญหาในสาระดังนี้ เปรียบเทียบ เรียงลำดับ เศษส่วน
และจำนวนคละจากสถานการณ์ต่าง ๆ เขียนอัตราส่วนแสดงการเปรียบเทียบปริมาณ 6 ปริมาณจากข้อความ
หรือสถานการณ์ โดยที่ปริมาณแต่ละปริมาณเป็นจำนวนนับหาอัตราส่วนที่เท่ากับอัตราส่วนที่กำหนดให้หา
ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจำนวนนบั ไม่เกิน ๓ จำนวน แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปญั หาโดยใช้ความรูเ้ ก่ยี วกับ
ห.ร.ม. และ ค.ร.น. หาผลลพั ธข์ องการบวก ลบ คณู หารระคนของเศษส่วนและจำนวนคละ แสดงวิธีหาคำตอบ
ของโจทย์ปัญหาเศษส่วนและจำนวนคละ ๒ - ๓ ขั้นตอน หาผลหารของทศนิยมที่ตัวหารและผลหารเป็น
ทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม ๓
ขน้ั ตอนแสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป์ ญั หาอัตราส่วน ปญั หารอ้ ยละ ๒ - ๓ ขนั้ ตอน แสดงวธิ คี ิดและหาคำตอบ
ของปัญหาเกี่ยวกับแบบรูป แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติที่
ประกอบด้วยทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพื้นที่
ของรูปหลายเหลี่ยมความยาวรอบรูปและพื้นที่ของวงกลม จำแนกรูปสามเหลี่ยมโดยพิจารณาจากสมบัติของ
รูป สร้างรูปสามเหล่ียมเมื่อกำหนดความยาวของด้านและขนาดของมุม บอกลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติ
ชนิดต่าง ๆ ระบุรูปเรขาคณติ สามมิติทป่ี ระกอบจากรูปคลี่และระบรุ ูปคล่ีของรปู เรขาคณิตสามมิติ ใช้ข้อมูลจาก
แผนภมู ริ ูปวงกลมในการหาคำตอบของโจทยป์ ัญหา

รหสั ตวั ช้ีวดั

ค ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙, ป.๖/๑๐, ป.๖/๑๑

ค ๑.๒ ป.๖/๑

ค ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓

ค ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔

ค ๓.๑ ป.๖/๑

รวมทง้ั หมด ๒๐ ตวั ขีว้ ัด

๔๘

คำอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน

รหัสวชิ า ค ๒๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์พน้ื ฐาน ๑ กล่มุ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์

ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๑ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกติ

ศึกษาความรู้เก่ียวกับเร่ืองจำนวนเต็ม สมบัติของจำนวนเตม็ ทศนยิ มและเศษส่วน จำนวนตรรกยะ
และสมบัติของจำนวนตรรกยะ เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก การนำความรู้เกี่ยวกับจำนวน
เต็ม จำนวนตรรกยะ และเลขยกกำลังไปใช้ในการแก้ปัญหา การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต การสร้างรูป
เรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต การนำความรู้เกี่ยวกับการสร้างพื้นฐานทางเรขาคณติ
ไปใช้ใน ชวี ติ จริง มติ ิสมั พนั ธข์ องรปู เรขาคณิต หนา้ ตัดของรูปเรขาคณิตสามมิติ ภาพที่ได้จากการมองด้านหน้า
ด้านข้าง ดา้ นบน ของรูปเรขาคณิตสามมิติท่ีประกอบขน้ึ จากลูกบาศก์

โดยจัดประสบการณ์ กิจกรรม หรือ โจทย์ปัญหาที่ส่งเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการทาง
คณิตศาสตร์ในการคิดคำนวณ การให้เหตุผล การวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การสื่อสาร การสื่อความหมายและ
การนำเสนอ

เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัย มุ่งมั่นในการทำงาน
อย่างมีระบบ ประหยัด ชื่อสัตย์ มีวิจารณญาณ รู้จักนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน การดำรงชีวิตได้อย่างพอเพียง
รวมทั้งมเี จตคติทีด่ ตี อ่ คณติ ศาสตร์

รหสั ตัวชีว้ ดั

ค ๑.๑ ม. ๑/๑, ม. ๑/๒

ค ๒.๒ ม. ๑/๑, ม. ๑/๒

รวม ๔ ตวั ชว้ี ดั

๔๙

คำอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน

รหัสวชิ า ค ๒๑๑๐๒ คณติ ศาสตร์พ้ืนฐาน ๒ กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์

ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลา ๖๐ ชัว่ โมง จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกิต

ศึกษาความรู้เกี่ยวกับเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การนำ
ความรเู้ กย่ี วกับการแกส้ มการเชงิ เสน้ ตวั แปรเดียวไปใช้ในชีวิตจริง อัตราสว่ นของจำนวนหลายๆ จำนวนสดั ส่วน
การนำความร้เู กย่ี วกบั อตั ราสว่ น สัดสว่ นและร้อยละไปใชใ้ นการแกป้ ัญหาสมการเชิงเส้นสองตัวแปร กราฟของ
ความสัมพันธ์เชิงเส้น สมการเชิงเส้นสองตัวแปร การนำความรู้เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นสองตัวแปรและกราฟ
ของความสัมพันธ์เชิงเส้นไปใช้ในชีวิตจริง สถิติ การตั้งคำถามทางสถิติ การเก็บรวบรวมข้อมูล การนำเสนอ
ข้อมูล แผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแหง่ กราฟเส้น แผนภูมิรูปวงกลม การแปลความหมายข้อมูล การนำสถิติไปใช้
ในชีวิตจริง โดยจัดประสบการณ์ กิจกรรม หรือ โจทย์ปัญหาที่ส่งเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการทาง
คณิตศาสตร์ในการคิดคำนวณ การให้เหตุผล การวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การสื่อสาร การสื่อความหมายและ
การนำเสนอ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัยมุ่งมั่นในการทำงาน
อย่างมีระบบ ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวิจารณญาณ รู้จักนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน การดำรงชีวิตได้อย่างพอเพียง
รวมทัง้ มเี จตคตทิ ่ดี ตี ่อคณติ ศาสตร์

รหสั ตัวชีว้ ดั

ค ๑.๑ ม. ๑/๓

ค ๑.๓ ม. ๑/๑, ม. ๑/๒, ม. ๑/๓

ค ๓.๑ ม. ๑/๑

รวม ๕ ตวั ช้ีวดั

๕๐

คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเตมิ

รหสั วชิ า ค ๒๑๒๐๑ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๑ กลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์

ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกิต

ศกึ ษาความรู้พื้นฐานเบื้องต้น ฝกึ ทกั ษะการคิดคำนวณ การใหเ้ หตุผล และฝกึ การแกป้ ัญหาในเร่ือง
ต่อไปนี้ การประยกุ ต์ของรูปเรขาคณิต จำนวนนบั และรอ้ ยละในชวี ติ ประจำวนั จำนวนและตัวเลขระบบตัวเลข
โรมัน ตัวเลขฐานต่าง ๆ การเปลี่ยนฐานในระบบตัวเลข การประยุกต์ของจำนวนเต็มและเลขยกกำลัง ในการ
คิดคำนวณแก้โจทย์ปัญหา การสร้างทางเรขาคณิต การแบ่งส่วนของเส้นตรง การสร้างมุมขนาดต่าง 1 การ
สร้างรูปสามเหล่ยี มและรูปสี่เหลีย่ มดา้ นขนาน

โดยมุ่งเน้นจัดประสบการณ์การเรียนรู้เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์กับสถานการณ์จริง
และศาสตร์อ่นื ๆ ให้ผู้เรียนมพี ัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ให้มีความสามารถในการแก้ปัญหาการ
ให้เหตผุ ล การสอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตร์ การนำเสนอและพฒั นาความคิดริเร่ิมทางคณิตศาสตร์ทั้งในและ
นอกชั้นเรยี น

เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัย มุ่งมั่นในการทำงาน
อย่างมีระบบ ประหยัด ชื่อสัตย์ มีวิจารณญาณ รู้จักนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตได้อย่างพอเพียง
รวมท้ังมเี จตคติทดี่ ตี ่อคณิตศาสตร์

ผลการเรียนรู้

๑. ใช้ความรแู้ ละทกั ษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร์แก้ปญั หาตา่ งๆได้

๒. ตระหนกั ความสมเหตุสมผลของคำตอบทเี่ กย่ี วกับการแก้ปญั หาต่างๆได้

๓. อ่านและเขยี นภาษาโรมนั ได้

๔. บอกค่าของตวั เลขฐานทก่ี ำหนดใหเ้ ปน็ ตัวเลขฐานทก่ี ำหนดให้ได้

๕. เขียนตวั เลขฐานท่ีกำหนดให้เป็นเลขฐานต่างๆได้

๖. ใช้ความรเู้ ก่ียวกับจำนวนเต็มและเลขยกกำลงั ในการแกป้ ญั หาได้

๗. ตระหนักถงึ ความสมเหตสุ มผลของคำตอบที่เก่ียวกบั การประยุกต์ของจำนวนเตม็ และเลขยกกำลังได้

๘. ใชก้ ารสร้างพนื้ ฐานสรา้ งรูปที่ชับซ้อนขน้ึ ได้

รวม ๘ ผลการเรยี นรู้

๕๑

คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม

รหัสวิชา ค ๒๑๒๐๒ คณิตศาสตร์เพมิ่ เติม ๒ กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต

ศกึ ษาความรู้พน้ื ฐานเบื้องต้น ฝึกทกั ษะการคิดคำนวณ การใหเ้ หตุผล และฝกึ การแก้ปัญหาในเร่ือง
ต่อไปนี้ การเตรียมความพร้อมในการให้เหตุผล ข้อความคาดการณ์ ประโยคเงื่อนไข บทกลับของประโยค
เงื่อนไขและการให้เหตุผล พหุนาม การบวก การลบเอกนาม การบวก การลบ การคูณและการหารเอกนาม
บทประยุกต์ แบบรูปของจำนวน ข่ายงานและการประยุกต์ของเศษส่วนและทศนิยม โดยมุ่งเน้นจัด
ประสบการณก์ ารเรียนรู้เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์กับสถานการณจ์ ริงและศาสตรอ์ ื่น ๆ ให้ผู้เรียน
มีพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ให้มีความสามารถในการแก้ปัญหาการให้เหตุผล การสื่อ
ความหมายทางคณิตศาสตร์ การนำเสนอและพัฒนาความคิดริเริ่มทางคณิตศาสตร์ทั้งในและนอกชั้นเรียน
เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัย มุ่งมั่นในการทำงานอย่างมีระบบ
ประหยดั ชื่อสัตย์ มวี จิ ารณญาณ รู้จกั นำความร้ไู ปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวติ ได้อย่างพอเพียง รวมทั้งมีเจตคติ
ทดี่ ตี ่อคณิตศาสตร์

ผลการเรียนรู้

๑. หาผลบวกและผลลบของเอกนามและพหนุ ามได้

๒. หาผลคณู และผลหารของพหนุ ามอยา่ งง่ายได้

๓. สงั เกตขอ้ ความคาดการณแ์ ละให้เหตผุ ลทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยใี นการแก้ปญั หา

สถานการณต์ ่าง ๆ ได้อยา่ งเหมาะสม

๔. สามารถแสดงเหตผุ ลโดยการอ้างองิ ความรขู้ ้อมูลหรือข้อเทจ็ จรงิ ในการสรา้ งแผนภาพ

๕. ใชภ้ าษาและสญั ลกั ษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสารส่อื ความหมายและการนำเสนอได้อยา่ ง

ถกู ต้องชดั เจนและรัดกมุ

๖. เชื่อมโยงความรู้เนอื้ หาต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์และนำความรู้หลกั การกระบวนการทางคณิตศาสตร์

ไปเช่อื มโยงกบั ศาสตร์อืน่ ๆ ได้

๗. นำความรูแ้ ละทักษะทไี่ ดจ้ ากการเรียนคณิตศาสตรไ์ ปประยกุ ต์ในการดำรงชีวิตได้

๘. มีความคิดรเิ ริ่มสร้างสรรค์ในการทำงาน

รวม ๘ ผลการเรยี นรู้

๕๒

คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน

รหัสวิชา ค ๒๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์พ้นื ฐาน ๓ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกติ

ศึกษาความรู้เกี่ยวกับเรื่องจำนวนจริง จำนวนตรรกยะ เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
การนำความร้เู กี่ยวกบั เลขยกกำลงั ไปใช้ในการแก้ปัญหา จำนวนอตรรกยะ รากทีส่ องและรากทีส่ ามของจำนวน
ตรรกยะ การนำความรเู้ ก่ียวกบั จำนวนจริงไปใช้ ทฤษฎีบทพีทาโกรสั และบทกลบั การนำความร้เู กีย่ วกับทฤษฎี
บทพีทาโกรัสและบทกลับไปใช้ในชีวิตจริง การสร้างทางเรขาคณิต การนำความรู้เกี่ยวกับการสร้างทาง
เรขาคณิตไปใช้ในชีวิตจริง การแปลงทางเรขาคณิต การเลื่อนขนาน การสะท้อน การหมุนการนำความรู้
เกี่ยวกับการแปลงทางเรขาคณิตไปใช้ในการแก้ปัญหา ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม การนำ
ความรู้เก่ยี วกบั ความเท่ากนั ทุกประการไปใช้ในการแก้ปญั หา โดยจัดประสบการณ์ กจิ กรรม หรือ โจทย์ปัญหา
ที่ส่งเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการคิดคำนวณ การให้เหตุผล การวิเคราะห์ การ
แกป้ ญั หา การสอื่ สาร การสือ่ ความหมายและการนำเสนอ เพ่อื ให้เกิดความรคู้ วามเขา้ ใจ ความคดิ รวบยอด ใฝร่ ู้
ไฝ่เรียน มีระเบียบวินัยมุ่งมั่นในการทำงานอย่างมีระบบ ประหยัด ชื่อสัตย์ มีวิจารณญาณ รู้จักนำความรู้ไป
ประยุกตใ์ ช้ในการดำรงชวี ติ ได้อยา่ งพอเพยี ง รวมทัง้ มีเจตคตทิ ีด่ ีต่อคณิตศาสตร์

รหสั ตัวชว้ี ัด

ค ๑.๑ ม. ๒/๒, ค ๑.๑ ม. ๒/๒

ค ๒.๒ ม. ๒/๑, ค ๒.๒ ม. ๒/๓, ค ๒.๒ ม. ๒/๔, ค ๒.๒ ม. ๒/๕

รวม ๖ ตวั ช้วี ัด

๕๓

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

รหัสวิชา ค ๒๒๑๐๒ คณติ ศาสตร์พื้นฐาน ๔ กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์

ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ชวั่ โมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต

ศึกษาความรเู้ กีย่ วกับเรื่อง พหุนาม การบวก การลบ และการคณู ของพหุนาม การหารพหนุ ามด้วย
เอกนามที่มผี ลหารเป็นพหนุ าม การแยกตัวประกอบของพหนุ าม การแยกตวั ประกอบของพหุนามดีกรสี อง โดย
ใช้สมบัติการแจกแจง กำลังสองสมบูรณ์ ผลต่างของกำลังสอง พ้ืนที่ผิว การหาพื้นที่ผิวของปริซึมและ
ทรงกระบอก การนำความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอกไปใช้ในการแก้ปัญหาการหาปริมาตร
ของปริซึมและทรงกระบอก การนำความรู้เกี่ยวกับปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอกไปใช้ในการแก้ปัญหา
สถิติ ข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล แผนภาพกล่อง การแปลความหมายผลลัพธ์ การนำสถิติไปใช้ในชีวิตจริง
เส้นขนาน สมบัติเกี่ยวกับเส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม โดยจัดประสบการณ์ กิจกรรม หรือ โจทย์ปัญหาท่ี
ส่งเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการคิดคำนวณ การให้เหตุผล การวิเคราะห์ การ
แก้ปญั หา การส่ือสาร การส่อื ความหมายและการนำเสนอ เพอ่ื ให้เกดิ ความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้
ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัยมุ่งมั่นในการทำงานอย่างมีระบบ ประหยัด ช่ือสัตย์ มีวิจารณญาณ รู้จักนำความรู้ไป
ประยุกตใ์ ช้ในการดำรงชีวิตไดอ้ ยา่ งพอเพียง รวมท้งั มีเจตคตทิ ีด่ ตี อ่ คณิตศาสตร์

รหัสตัวช้ีวดั

ค ๑.๒ ม. ๒/๑, ค ๑.๒ ม. ๒/๒

ค ๒.๑ ม. ๒/๑, ค ๒.๑ ม. ๒/๒

ค ๒.๒ ม. ๒/๒

ค ๓.๑ ม. ๒/๑

รวม ๖ ตวั ชว้ี ัด

๕๔

คำอธิบายรายวชิ าเพิ่มเติม

รหสั วิชา ค ๒๒๒๐๑ คณติ ศาสตร์เพม่ิ เตมิ ๓ กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์

ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกติ

ศึกษาความร้พู ้ืนฐานเบือ้ งตน้ ฝกึ ทกั ษะการคดิ คำนวณ การใหเ้ หตุผล และฝึกการแก้ปัญหาในสาระ
ต่อไปนี้ สมบัติของเลขยกกำลัง สมบัติของเลขยกกำลัง การดำเนินการของเลขยกกำลัง พหุนามและเศษส่วน
ของพหุนาม การบวก การลบ การคูณ การหารของพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม การประยุกต์เกี่ยวกับ
อตั ราส่วนและร้อยละ อัตราส่วน สดั ส่วน และร้อยละ การประยกุ ต์เกีย่ วกับอตั ราสว่ นและร้อยละ การประยุกต์
ของการแปลงทางเรขาคณิต การประยุกต์ของการเลื่อนขนาน การสะท้อนการหมุน และ เทสเซลเลชัน โดย
มุ่งเนน้ จัดประสบการณ์การเรียนรู้เช่ือมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณติ ศาสตร์กับสถานการณ์จริงและศาสตร์อื่น ๆ
ให้ผู้เรียนมพี ัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ให้มีความสามารถในการแก้ปัญหาการให้เหตผุ ล การส่ือ
ความหมายทางคณิตศาสตร์ การนำเสนอและพัฒนาความคิดริเริ่มทางคณิตศาสตร์ทั้งในและนอกชั้นเรียน
เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัยมุ่งมั่นในการทำงานอย่างมีระบบ
ประหยัด ช่อื สัตย์ มีวจิ ารณญาณ รจู้ ักนำความรู้ไปประยุกต์ใชใ้ นการดำรงชีวิตได้อย่างพอเพยี ง รวมทั้งมีเจตคติ
ที่ดีตอ่ คณิตศาสตร์

ผลการเรยี นรู้

๑. นำสมบัติของเลขยกกำลงั ไปใช้ในการคณู และการหารของจำนวนที่เขยี นอย่ใู นรปู เลขยกกำลงั ท่มี เี ลขชี้กำลัง
เปน็ จำนวนเตม็

๒. นำความรู้เรือ่ งเลยยกกำลังไปใช้ในการแก้ปญั หาได้

๓. คำนวณและใชเ้ ลขยกกำลังในการเขียนแสดงจำนวนทม่ี ีคา่ นอ้ ย ๆ หรือมาก ๆ ในรปู สัญกรณ์วิทยาศาสตร์ได้

๔. บวก ลบ คณู และหารพหนุ ามได้

๕. บวก ลบ คูณ และหารเศษส่วนของพหนุ าม

๖. นำความร้เู กย่ี วกับอัตราสว่ น สดั สว่ น และรอ้ ยละไปใช้ในการแกป้ ัญหาหรอื สถานการณต์ ่าง ๆ ได้

๗. นำความรู้เกี่ยวกับการเลื่อนขนาน การสะท้อน และการหมุนในการสรา้ งสรรค์งานศิลปะหรืองานออกแบบ
ได้

รวม ๗ ผลการเรยี นรู้

๕๕

คำอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเตมิ

รหัสวชิ า ค ๒๒๒๐๒ คณิตศาสตร์เพมิ่ เตมิ ๔ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์

ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต

ศกึ ษาความรพู้ ้นื ฐานเบื้องตน้ ฝึกทกั ษะการคดิ คำนวณ การให้เหตผุ ล และฝกึ การแกป้ ัญหาในสาระ
ต่อไปนี้ การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง การแยกตัวประกอบโดยใช้สมบัติการแจกแจงการแยกตัว
ประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสองตัวแปรเดียว การแยกตัวประกอบของพนามดีกรีสองที่เป็นกำลังสองสมบูรณ์
การแยกตัวประกอบของพหนามดีกรสี องที่เปน็ ผลต่างของกำลงั สอง สมการกำลังสองตวั แปรเดยี ว สมการกำลัง
สองตัวแปรเดียว โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว การแปรผัน การแปรผันตรง การ
แปรผกผัน การแปรผันเกี่ยวเนื่อง โดยมุ่งเน้นจัดประสบการณ์การเรียนรู้เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทาง
คณิตศาสตร์กับสถานการณ์จริงและศาสตร์อื่น ให้ผู้เรียนมีพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ให้มี
ความสามารถในการแก้ปัญหาการให้เหตุผล การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ การนำเสนอและพัฒนา
ความคิดริเริ่มทางคณิตศาสตร์ทั้งในและนอกชั้นเรียน เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่
เรียน มีระเบียบวินัย มุ่งมั่นในการทำงานอย่างมีระบบ ประหยัด ชื่อสัตย์ มีวิจารณญาณ รู้จักนำความรู้ไป
ประยุกตใ์ ชใ้ นการดำรงชวี ติ ได้อยา่ งพอเพยี ง รวมทง้ั มีเจตคตทิ ่ีดตี ่อคณิตศาสตร์

ผลการเรยี นรู้

๑. แยกตวั ประกอบของพหนุ ามดีกรสี องได้

๒. แก้สมการกำลังสองตัวแปรเดยี ว โดยใชค้ วามรูเ้ กยี่ วกับการแยกตวั ประกอบของพหนุ ามดกี รสี องได้

๓. แก้โจทยป์ ัญหาเก่ยี วกบั สมการกำลังสองตวั แปรเดยี ว โดยใช้ความร้เู กีย่ วกบั การแยกตวั ประกอบของพหุนาม
ดกี รีสองได้

๔. เขียนสมการแสดงการแปรผนั ระหว่างปรมิ าณสองปริมาณใด ๆ ที่แปรผนั ต่อกนั ได้

๕. นำความรเู้ ก่ียวกับการแปรผันไปใชใ้ นการแกป้ ัญหาหรือสถานการณต์ ่าง ๆ ได้

รวม ๕ ผลการเรียนรู้

๕๖

คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน

รหสั วชิ า ค ๒๓๑๐๑ คณติ ศาสตรพ์ ื้นฐาน ๕ กลุม่ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกติ

ศึกษาความรเู้ กีย่ วกับเร่ืองระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร การแกร้ ะบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การนำความรู้เกี่ยวกับการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรไปใช้ในการแก้ปัญหา พื้นที่ผิว การหาพื้นที่ผิว
ของพีระมิด กรวย และทรงกลม การนำความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ผิวของพีระมิด กรวย และทรงกลมไปใช้ในการ
แก้ปญั หา ปริมาตร การหาปรมิ าตรของพีระมิด กรวย และทรงกลม การนำความรเู้ กี่ยวกับปรมิ าตรของพีระมิด
กรวย และทรงกลมไปใช้ในการแก้ปัญหา ความคล้าย รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน การนำความรู้เกี่ยวกับความ
คล้ายไปใช้ในการแก้ปัญหา อสมการเชิงส้นตัวแปรเดียว การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การนำความรู้
เก่ียวกับการแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดยี วไปใช้ในการแก้ปัญหา ความนา่ จะเปน็ เหตกุ ารณจ์ ากการทดลองสุ่ม
การนำความรเู้ กย่ี วกับความนา่ จะเปน็ ไปใช้ในชีวิตจริง สถิติ ขอ้ มลู และการวเิ คราะห์ข้อมูล แผนภาพกล่อง การ
แปลความหมายผลลัพธ์ การนำสถิตไิ ปใชใ้ นชีวติ จรงิ โดยจัดประสบการณ์ กิจกรรม หรือ โจทย์ปัญหาท่ีส่งเสริม
การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการคิดคำนวณ การให้เหตุผล การวิเคราะห์ การแก้ปัญหา
การสอ่ื สาร การสือ่ ความหมายและการนำเสนอ เพือ่ ใหเ้ กดิ ความรคู้ วามเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝเ่ รียน มี
ระเบยี บวนิ ัยม่งุ มัน่ ในการทำงานอย่างมีระบบ ประหยัด ช่อื สตั ย์ มวี จิ ารณญาณ รจู้ กั นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน
การดำรงชีวิตไดอ้ ยา่ งพอเพยี ง รวมท้งั มีเจตคติทด่ี ีต่อคณติ ศาสตร์

รหสั ตวั ชี้วัด

ค ๑.๓ ม. ๓/๑, ค ๑.๓ ม. ๓/๓

ค ๒.๑ ม. ๓/๑, ค ๒.๑ ม. ๓/๒

ค ๒.๒ ม. ๓/๑

ค ๓.๑ ม. ๓/๑

ค ๓.๒ ม. ๓/๑

รวม ๗ ตัวชี้วัด

๕๗

คำอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน

รหสั วิชา ค ๒๓๑๐๒ คณิตศาสตร์พน้ื ฐาน ๖ กลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์

ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๖๐ ช่วั โมง จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกติ

ศึกษาความรู้เกี่ยวกับเรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนาม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรี
สูงกว่าสอง ฟังก์ชันกำลังสอง กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง การนำความรู้เกี่ยวกับฟังก์ชันกำลังสองไปใช้ในการ
แก้ปัญหา สมการกำลังสองตัวแปรเดียว การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว การนำความรู้เกี่ยวกับการแก้
สมการกำลังสองตัวแปรเดยี วไปใช้ในการแกป้ ญั หา อตั ราส่วนตรีโกณมิติ การนำค่าอตั ราสว่ นตรโี กณมิติของมุม
30 องศา 45 องศา และ 60 องศา ไปใช้ในการแก้ปัญหา วงกลม คอร์ด และเส้นสัมผัสทฤษฎีบทเกี่ยวกับ
วงกลม

โดยจัดประสบการณ์ กิจกรรม หรือ โจทย์ปัญหาที่ส่งเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการทาง
คณิตศาสตร์ในการคิดคำนวณ การให้เหตุผล การวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การสื่อสาร การสื่อความหมายและ
การนำเสนอ

เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัยมุ่งมั่นในการทำงาน
อย่างมีระบบ ประหยัด ชื่อสัตย์ มีวิจารณญาณ รู้จักนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตได้อย่างพอเพียง
รวมทั้งมีเจตคตทิ ด่ี ีตอ่ คณติ ศาสตร์

รหสั ตัวขี้วัด

ค ๑.๒ ม. ๓/๑, ค ๑.๒ ม. ๓/๒

ค ๑.๓ ม. ๓/๒

ค ๒.๒ ม. ๓/๒, ค ๒.๒ ม. ๓/๓

รวมท้ังหมด ๕ ตัวชีว้ ัด

๕๘

คำอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเตมิ

รหสั วิชา ค ๒๓๒๐๑ คณติ ศาสตร์เพ่ิมเติม ๕ กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์

ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๔๐ ช่วั โมง จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกิต

ศกึ ษาความรพู้ ้นื ฐานเบื้องต้น ฝกึ ทักษะการคิดคำนวณ การใหเ้ หตุผล และฝกึ การแกป้ ญั หาในสาระ
ต่อไปน้ี กรณฑท์ สี่ อง รากทีส่ อง การบวกและการลบจำนวนที่อยู่ในรูปกรณฑ์ทสี่ อง สมบัติของกรณฑท์ ่สี องของ
จำนวนจรงิ การหารากทส่ี อง การดำเนนิ การของจำนวนจริงเกี่ยวกับกรณฑ์ทสี่ อง การแยกตวั ประกอบของพหุ
นาม การแยกตวั ประกอบของพหุนามดกี รสี องทเ่ี ป็นผลต่างของกำลังสอง การแยกตวั ประกอบของพหุนามดีกรี
สองโดยวิธีทำเป็นกำลังสองสมบูรณ์ การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม
โดยวิธีทำเป็นกำลังสองสมบูรณ์ การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้
ทฤษฎีเศษเหลือ สมการกำลังสอง สมการกำลังสอง การแก้สมการกำลังสองโดยวิธีทำเป็นกำลังสองสมบูรณ์
การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียวโดยใช้สูตรโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว พาราโบลา
ส่วนประกอบของพาราโบลา การหาสมการพาราโบลา การหาความยาวเส้นเลตัสเรกตัม กราฟของพาราโบลา
พนื้ ทผี่ วิ และปรมิ าตร พื้นท่ีผวิ และปรมิ าตรของพีระมิดกรวยและทรงกลม การแกป้ ญั หาหรอื สถานการณ์โดยใช้
ความรเู้ ก่ียวกับปรมิ าตรและพ้นื ท่ีผิว

โดยมุ่งเน้นจัดประสบการณ์การเรียนรู้เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์กับสถานการณ์จริง
และศาสตร์อ่ืน ให้ผูเ้ รียนมพี ฒั นาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ให้มคี วามสามารถในการแก้ปัญหาการให้
เหตุผล การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ การนำเสนอและพัฒนาความคิดริเริ่มทางคณิตศาสตร์ทั้งในและ
นอกช้ันเรียน

เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ไฝ่เรียน มีระเบียบวินัยมุ่งมั่นในการทำงาน
อย่าง มีระบบ ประหยัด ชื่อสัตย์ มีวิจารณญาณ รู้จักนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตได้อย่างพอเพียง
รวมทัง้ มีเจตคติทดี่ ตี ่อคณติ ศาสตร์

ผลการเรยี นรู้

๑. บวก ลบ คูณ และหารจำนวนจริงที่อยู่ในรูป √a เมื่อ a≥0 โดยใช้สมบัติ √ab = √a√b เมื่อ a≥0และ b≥0
และ √(a/b) =√a/√b เมอื่ a≥ 0 และ b > 0

๒. แยกตัวประกอบของพหุนามดกี รีสองโดยวิธีทำเป็นกำลงั สองสมบรู ณ์ได้

๓. แยกตัวประกอบของพหนามดีกรีสองที่มีสัมประสิทธิ์เปน็ จำนวนเต็ม โดยอาศัยวิธีทำเป็นกำลังสองสมบูรณ์
หรือใชท้ ฤษฎีเศษเหลือได้

๔. แกส้ มการกำลังสองตัวแปรเดยี วโดยใช้สูตร x=(-b±√(b^2-4ac))/2a เมือ่ a≠0 ได้

๕. แก้โจทยป์ ัญหาเกีย่ วกบั สมการกำลงั สองตัวแปรเดียวได้

๕๙

๖. เขยี นกราฟของพาราโบลาจากสมการท่กี ำหนดให้ได้
๗. บอกลักษณะของกราฟพาราโบลาที่กำหนดให้ได้
๘. หาพน้ื ทผ่ี ิวและปริมาตรของพีระมิด กรวยและทรงกลมได้
๙. ใชค้ วามรู้เก่ียวกบั พน้ื ท่ีผิว และปริมาตรในการแกป้ ัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
รวม ๙ ผลการเรยี นรู้

๖๐

คำอธบิ ายรายวิชาเพิ่มเติม

รหัสวชิ า ค ๒๓๒๐๒ คณติ ศาสตร์เพิม่ เติม ๖ กลุม่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกติ

ศกึ ษาความรู้พน้ื ฐานเบ้ืองตน้ ฝึกทกั ษะการคดิ คำนวณ การใหเ้ หตุผล และฝกึ การแก้ปญั หาในสาระ
ต่อไปนี้ การให้เหตุผลเกี่ยวกับรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยม ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการใ ห้เหตุผลทาง
เรขาคณิต ทฤษฎีเกี่ยวกับความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม ทฤษฎีบทเกี่ยวกับสี่เหลี่ยมด้านขนาน
ระบบสมการ การแก้ระบบสมการสองตัวแปรทส่ี มการดีกรีมีดกี รีไมเ่ กนิ สอง โจทย์ปัญหาเก่ียวกับระบบสมการ
สองตัวแปรที่สมการดีกรีมีดีกรีไม่เกินสอง วงกลม สมบัติเกี่ยวกับวงกลม รูปหลายเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่า
เศษส่วนของพหุนาม การบวก การลบ การคูณ และการหารเศษส่วนของพหุนามสมการเศษส่วนของพหุนาม
โจทยป์ ัญหาสมการเศษส่วนของพหุนาม

โดยมงุ่ เน้นจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้เชอื่ มโยงความรู้ต่าง ทางคณติ ศาสตรก์ ับสถานการณจ์ ริงและ
ศาสตร์อื่น ๆ ให้ผู้เรียนมีพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ให้มีความสามารถในการแก้ปัญหาการให้
เหตุผล การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ การนำเสนอและพัฒนาความคิดริเริ่มทางคณิตศาสตร์ทั้งในและ
นอกชัน้ เรียน

เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัยมุ่งม่ันในการทำงาน
อย่างมีระบบ ประหยัด ชื่อสัตย์ มีวิจารณญาณ รู้จักนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตได้อย่างพอเพียง
รวมท้งั มเี จตคตทิ ด่ี ตี อ่ คณิตศาสตร์

ผลการเรียนรู้

๑. ใช้สมบัตเิ กี่ยวกับความเทา่ กันทกุ ประการของรูปสามเหล่ียมและรูปสามเหลีย่ มด้านขนานในการ

ให้เหตุผลและแก้ปญั หาที่กำหนดให้ได้

๒. แกร้ ะบบสมการสองตวั แปรท่สี มการมีดีกรีไม่เกนิ สองได้

๓. แก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกบั ระบบสมการสองตวั แปรทสี่ มการมีดีกรีไม่เกนิ สองได้

๔. ใช้สมบัติเกี่ยวกับวงกลมในการใหเ้ หตผุ ลได้

๕. สร้างและให้เหตผุ ลเกีย่ วกับการสรา้ งรูปหลายเหลีย่ มและวงกลมท่ีกำหนดให้ได้

๖. บวก ลบ คณู และหารเศษสว่ นของพหุนามทีก่ ำหนดให้ได้

๗. แก้สมการเศษส่วนของพหุนามได้

รวม ๗ ผลการเรยี นรู้

๖๑

คำอธบิ ายรายวชิ า
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

๖๒

คำอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน

รหัสวิชา ว ๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๑ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง

ศึกษา เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถระบุชื่อพืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่บริเวณต่างๆที่ได้
จากการสำรวจบอกสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมในบริเวณที่พืชและสัตว์อาศัยอยู่ในบริเวณที่สำรวจบรรยาย
ลักษณะ ระบุชื่อ บรรยายลักษณะ และบอกหน้าที่ส่วนต่างๆของร่างกายมนุษย์ สัตว์และพืช รวมทั้งบรรยาย
การทำหนา้ ทีร่ ่วมกันของส่วนตา่ งๆของรา่ งกายมนุษยใ์ นการทำกิจ กรรมต่างๆจากข้อมูลทร่ี วบรวมได้ตระหนัก
ถึงความสำคัญของส่วนต่างๆของร่างกายของตนเองและการดูแลส่วนต่างๆอย่างถูกต้องและปลอดภัย อธิบาย
สมบัติที่สังเกตุได้ของวัสดทุ ี่ทำจากวัสดชุ นิดเดียวหรือหลายชนิดประกอบกันโดยใช้หลักฐานเชิงประจกั ษ์ ระบุ
ชนิดของวสั ดแุ ละจัดกลุ่มวสั ดุตามสมบัติท่สี งั เกตได้บรรยายการเกิดเสียงและทศิ ทางการเคล่ือนท่ีของเสียงจาก
หลักฐานเชิงประจักษ์ ระบดุ าวท่ปี รากฏบนทอ้ งฟา้ ในเวลากลางวนั และกลางคนื จากข้อมลู ท่รี วบรวมได้ อธิบาย
สาเหตุที่มองไม่เห็นดวงดาวส่วนใหญ่ในเวลากลางวันจากหลักฐานเชิงประจักษ์ อธิบายลักษณะภายนอกของ
หินจากลักษณะเฉพาะตัวที่สังเกตได้ แก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้การลองผิดลองถูก การเปรียบเทียบ ใช้ภาพ
สัญลักษณ์ หรือข้อความ โดยใช้ซอฟแวร์ หรือสื่อ ใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จัดเก็บ เรียกใช้ข้อมูลตาม
วัตถุประสงค์ อย่างปลอดภัยปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกัน ดูแลรักษาอุปกรณ์เบื้องต้น ใช้
งานอย่างเหมาะสม โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การ
สืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้มี
ความสามารถในการตัดสินใจมีจิตวิทยาศาสตร์ และค่านิยมที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมมี
คุณธรรมจริยธรรม ใฝเรยี นรู้ อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง ม่งุ ม่ันการทำงาน รกั ความเปน็ ไทย มจี ติ สาธารณะ

รหสั ตวั ช้วี ัด

ว ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒

ว ๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒

ว ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒

ว ๒.๓ ป.๑/๑

ว ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒

ว ๓.๒ ป.๑/๑

ว ๔.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕

รวมทง้ั หมด ๑๕ ตวั ชีว้ ดั

๖๓

คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน

รหัส ว ๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๒ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง

ศกึ ษา เพอ่ื ใหม้ คี วามรู้ ความเข้าใจ และสามารถ ระบุวา่ พชื ต้องการแสงและน้ำเพอื่ การเจรญิ เติบโต
โดยใช้ข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์ตระหนักถึงความจำเป็นที่พืชต้องการได้รับน้ำและแสงเพื่อการ
เจริญเติบโตโดยดูแลพืชให้ได้รับสิ่งดังกล่าวอย่างเหมาะสมสร้างแบบจำลองที่บรรยายวัฎจักรชีวิตของพืชดอก
เปรียบเทียบลักษณะส่ิงมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตจากขอ้ มูลทีร่ วบรวมได้ เปรียบเทียบสมบัติการดูดซบั น้ำของวัสดุ
ไปประยุกต์ใช้ในการทำวัสดุในชีวิตประจำวัน อธิบายสมบัติที่นำวัสดุมาผสมกันโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
การนำมาทำเปน็ วัสดใุ นการใช้งานการนำกลบั มาใช้ใหมต่ ระหนกั ถงึ ประโยชน์ของการนำวัสดทุ ี่ใชแ้ ล้วกลับมาใช้
ใหม่ บรรยายแนวทางการเคลื่อนที่ของแสงจากแหล่งกำเนดิ แสงและอธิบายการมองเห็นวัตถุจากหลักฐานเชงิ
ประจกั ษ์ ตระหนกั ในการเหน็ คุณค่าของความรขู้ องการมองเห็นโดยเสนอแนะแนวทางการป้องกันอันตรายจาก
การมองเห็นวัตถุในที่มีแสงสว่างไม่เหมาะสม ระบุส่วนประกอบของดินและจำแนกชนิดของดินโดยใช้ลักษณะ
เนือ้ ดินและการจับตวั เป็นเกณฑ์อธบิ ายการใช้ประโยชนจ์ ากดนิ จากข้อมลู ทีร่ วบรวมได้ แสดงลำดับขั้นตอนการ
ทำงานหรือการแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือข้อความเขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้
ซอฟต์แวร์หรือสื่อ และตรวจหาข้อผิดพลาดของโปรแกรม ใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จัดหมวดหมู่ ค้นหา
จัดเก็บ เรียกใช้ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้
คอมพิวเตอร์ร่วมกัน ดูแลรักษาอุปกรณ์เบื้องต้น ใช้งานอย่างเหมาะสม โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
การสืบเสาะหาความรู้ การตั้งคำถาม การวางแผน การสังเกตการสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และการ
อภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ
เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและ
ค่านิยมทเี่ หมาะสม

รหสั ตวั ชวี้ ดั

ว ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓

ว ๑.๓ ป.๒/๑

ว ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔

ว ๒.๓ ป.๒/๑, ป.๒/๒

ว ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒

ว ๔.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔

รวมทัง้ หมด ๑๖ ตัวชีว้ ัด

๖๔

คำอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน

รหสั วชิ า ว ๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์

ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๓ เวลา ๔o ชวั่ โมง

ศึกษา เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถบรรยายสิ่งที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตและการ
เจริญเติบโตโดยใช้ข้อมูลจากท่ีรวบรวมได้ ตระหนักถึงประโยชน์ของอาหาร น้ำและอากาศโดยการดูแลตนเอง
และสัตว์ใหไ้ ด้รับสิ่งเหล่าน้ีอยา่ งเหมาะสม สร้างแบบจำลองท่ีบรรยายวฎั จกั รชีวติ ของสัตว์และเปรียบเทียบวัฏ
จักรชีวิตของสัตว์บางชนิดคุณค่าของชีวิตสัตว์โดยไม่ทำให้วัฏจักรชีวิตของสัตว์เปลี่ยนแปลง อธิบายว่าวัตถุ
ประกอบกันเป็นวัตถุชิน้ ใหม่ได้โดยใช้หลกั ฐานเชิงประจักษ์ อธิบายการเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมือ่ ทำให้ร้อนขน้ึ
หรือทำให้เย็นลงโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ระบุผลของแรงเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุจากหลักฐาน
เชิงประจกั ษ์ เปรยี บเทียบและยกตวั อย่างแรงสมั ผัสและแรงสัมผัสที่มผี ลต่อการเคลื่อนที่การจำแนกวัตถุโดยใช้
การดึงดูดกับแม่เหล็กเป็นเกณฑ์ระบบขั้วแม่เหล็กและพยากรณ์ผลที่เกิดขึ้นระหว่างขั้วแม่เหล็กเมื่อนำมาเข้า
ใกล้กันจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ยกตัวอย่างการเปลี่ยนพลังงานหนึ่งไปเป็นอีกพลังานหนึ่งจากหลักฐานเชิง
ประจักษ์ บรรยาย การทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าและระบุแหล่งพลังงานในการผลิตไฟฟ้า จากข้อมูลที่
รวบรวมได้ จำแนกวัตถุเป็นตัวกลางโปร่งใสตัวกลางโปร่งแสง และวัตถุทึบแสง จากลักษณะ การมองเห็นส่ิง
ต่าง ๆ ผ่านวัตถุนั้นเป็นเกณฑ์โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ อธิบายแบบรูปเส้นทางการขึ้นและตก ของดวง
อาทิตยโ์ ดยใชห้ ลกั ฐานเชิงประจักษ์ อธบิ ายสาเหตุการเกิดปรากฏการณ์การข้ึนและตกของดวงอาทิตย์ การเกิด
กลางวันกลางคืน และการกำหนดทิศ โดยใช้แบบจำลอง ตระหนักถึงความสำคญั ของดวงอาทติ ย์ โดยบรรยาย
ประโยชน์ของดวงอาทิตย์ต่อสิ่งมีชีวิต อธิบายแบบรูปเส้นทางการขึ้นละตกของดวงอาทิตย์การเกิดกลางวัน
กลางคนื และการกำหนดทิศโดยใช้แบบจำลองตระหนักถึงความสำคัญของดวงอาทิตยป์ ระโยชนข์ องดวงอาทิตย์
ต่อสิ่งมีชีวิต ระบุส่วนประกอบของอากาศ บรรยายความสำคัญของอากาศ และผลกระทบของมลพิษทาง
อากาศตอ่ ส่ิงมชี ีวิต จากข้อมูลทรี่ วบรวมได้ ตระหนกั ถงึ ความสำคญั ของอากาศ โดยนำเสนอแนวทางการปฏิบัติ
ตนในการลดการเกิดมลพิษทางอากาศ อธิบายการเกิดลมจากหลักฐานเชิงประจักษ์ บรรยายประโยชน์และ
โทษของลม จากข้อมูลที่รวบรวมได้ แสดงอัลกอริทึมในการทำงานหรือการแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ
สัญลักษณ์ หรือข้อความ เขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์ ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้ รวบรวม
ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล โดยใช้ซอฟต์แวร์ตามวัตถุประสงค์ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
ปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้อินเทอร์เน็ตหรือสื่อ และตรวจหาข้อผิดพลาดของโปรแกรม โดยใช้กระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจ ตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิด
ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ใน
ชีวิตประจำวันมีจิตวิทยาศาสตร์ และค่านิยมท่ีดีต่อวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม
จริยธรรม ใฝ่เรยี นรู้ อยอู่ ยา่ งพอเพียง มงุ่ มั่นการทำงาน รักความเป็นไทย มจี ติ สาธารณะ

๖๕

รหสั ตวั ชวี้ ัด
ว ๑.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒
ว ๒.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๒.๓ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๙/๓
ว ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ว ๓.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๔.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕
รวมท้ังหมด ๒๕ ตวั ชวี้ ัด

๖๖

คำอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน

รหสั วิชา ว ๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ เวลา ๘๐ ชั่วโมง

ศกึ ษา เพ่อื ใหม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจ และสามารถบรรยายหน้าที่ของราก ลำตน้ ใบและดอกของพืช
ดอกโดยใช้ข้อมูลที่รวบรวมได้จำแนกสิ่งมีชีวิตโดยใช้ความเหมือนและควา มแตกต่างของลักษณะของสิ่งมีชีวิต
ออกเป็นกลุ่มพืชกลุ่มสัตวแ์ ละกลุ่มที่ไม่ใช่พืชและสตั ว์ จำแนกพืชออกเปน็ พชื ดอกและพืชไม่มีดอกโดยใช้การมี
เป็นเกณฑ์ โดยใชข้ อ้ มูลท่ีรวบรวมได้ จำแนกสัตว์ออกเป็นสัตว์มีกระดูกสนั หลังและสัตวไ์ ม่มีกระดูกสันหลงั โดย
ใช้การมีกระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ โดยใช้ข้อมูลที่รวบรวมได้ บรรยายลักษณะเฉพาะที่สังเกตได้ของสัตว์มี
กระดูกสนั หลงั ในกลุ่มปลา กลุ่มสัตวส์ ะเทนำ้ สะเทินบก กลุ่มสตั วเ์ ลือ้ ยคลาน กลมุ่ นก และกลุ่มสตั ว์เลยี งลกู ด้วย
นม และตัวอย่างสิ่งมีชีวิตในแต่ละกลุ่ม เปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพด้านความแข็ง สภาพยืดหยุ่น การนำ
ความร้อน และการนำไฟฟ้าของวัสดุโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์จาก การทดลองและระบุการนำสมบัติเรื่อง
ความแข็ง สภาพยืดหยุ่นการนำความร้อน และการนำไฟฟ้าของวัสดุไปใช้ในชีวิตประจำวันผ่านกระบวนการ
ออกแบบชิ้นงานแลกเปลี่ยนความคิดกับผู้อื่นโดยการอภิปรายเกี่ยวกั บสมบัติทางกายภาพของวัสดุอย่ างมี
เหตุผลจากการทดลองเปรียบเทียบสมบัติของสสารทั้ง ๓ สถานะ จากข้อมูลที่ได้จากการสังเกตมวล การ
ต้องการที่อยู่ รูปร่างและปริมาตรของสสาร ใช้เครื่องมอื เพื่อวัดมวล และปริมาตรของสสารท้ัง ๓ สถานะ ระบุ
ผลของแรงโน้มถ่วงที่มีต่อวัตถุจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ใช้เครื่องชั่งสปริงในการวัดน้ำหนักของวัตถุ บรรยาย
มวลของวตั ถุท่ีมผี ลตอ่ การเปล่ียนแปลงการเคลอ่ื นที่ของวตั ถุจากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ จำแนกวตั ถเุ ปน็ ตวั กลาง
โปร่งใส ตัวกลางโปร่งแสง และวัตถุทึบแสง จากลักษณะการมองเห็นสิ่งต่าง ๆ ผ่านวัตถุนั้นเป็นเกณฑ์โ ดยใช้
หลักฐานเชิงประจักษ์ อธิบายแบบรูปเส้นทางการขึ้นและตกของดวงจันทร์ โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ สร้าง
แบบจำลองที่ อธิบายแบบรูปการเปลี่ยนแปลงรูปร่างปรากฎของดวงจันทร์ และพยากรณ์รูปร่างปรากฎของ
ดวงจันทร์ สร้างแบบจำลองแสดงองค์ประกอบของระบบสุริยะ และอธิบายเปรียบเทียบคาบการโคจรของดาว
เคราะห์ต่าง ๆ จากแบบจำลอง ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การอธิบายการทำงาน การคาดการณ์
ผลลัพธ์ จากปัญหาอย่างง่าย ออกแบบ และเขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือสื่อ และตรวจหา
ข้อผิดพลาดและแก้ไขใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้ และประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูลรวบรวม ประเมิน
นำเสนอข้อมูลและสารสนเทศ โดยใช้ซอฟต์แวร์ที่หลากหลาย เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศอย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตน เคารพในสิทธิของผู้อื่น แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อพบข้อมูล
หรือบุคคลที่ไม่เหมาะสม โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ
การสบื คน้ ข้อมูล การแกป้ ัญหา และการอภปิ ราย เพ่อื ให้เกิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่ี
เรียนรู้และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ และค่านิยมที่ดีต่อวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยแี ละสง่ิ แวดล้อม มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรมใฝ่เรียนรู้ อยู่อยา่ งพอเพียง มุง่ ม่นั การทำงาน รักความเป็นไทย
มจี ติ สาธารณะ

๖๗

รหสั ตัวชวี้ ัด
ว ๑.๒ ป.๔/๑
ว ๑.๓ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
ว ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔
ว ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ว ๒.๓ ป.๔/๑
ว ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ว ๔.๒ ป.๔/ ๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕
รวมท้ังหมด ๒๑ ตวั ชวี้ ัด

๖๘

คำอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน

รหัสวิชา ว ๑๕๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์

ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๕ เวลา ๘๐ ชั่วโมง

ศึกษา เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถบรรยายโครงสร้างและลักษณะของสิ่งมีชีวิตท่ี
เหมาะสมกับการดำรงชีวิตซึ่งเป็นผลมาจากการปรับตัวของสิ่งมีชีวิตในแต่ละแหล่งที่อยู่ อธิบายความสัมพันธ์
ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตและความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิตเพื่อประโยชน์ ต่อการดำรงชีวิต
เขียนโซ่อาหารและระบุบทบาทหน้าที่ของสิ่งสิ่งมีชีวิตที่เป็นผู้ผลิตและผู้บริโภคในห่วงโซ่อาหาร ตระหนักใน
คุณค่าของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตโดยมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม อธิบาย
ลักษณะทางพันธุกรรมที่มีการถ่ายทอดจากพ่อแม่สูล่ กู ของ พืช สัตว์ และ มนุษย์ แสดงความอยากรู้อยากเหน็
โดยการถามคำถามเกี่ยวกับลักษณะที่คล้ายคลึงกันของตนเองกับพ่อแม่ อธิบายการเปลี่ยนสถานะของสสาร
เมื่อทำให้สสารร้อนขึ้นหรือเย็นลง โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ อธิบายการละลายของสารในน้ำ โดยใช้
หลักฐานเชิงประจักษ์ วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของสารเม่ือเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี โดยใช้หลักฐานเชงิ
ประจกั ษ์ วเิ คราะหแ์ ละระบกุ ารเปล่ยี นแปลงที่ผันกลับไดแ้ ละการเปลี่ยนแปลงท่ผี ันกลบั ไม่ได้ อธิบายวธิ ีการหา
แรงลัพธ์ของแรงหลายแรงในแนวเดียวกันที่กระทำต่อวัตถุในกรณีท่ีวัตถอุ ยูน่ ่ิงจากหลักฐานเชิงประจักษ์ เขียน
แผนภาพแสดงแรงที่กระทำต่อวัตถุที่อยู่ในแนวเดียวกันและแรงลัพธ์ท่ีกระทำต่อวัตถุ ใช้เครื่องชั่งสปริงในการ
วัดแรงทีก่ ระทำต่อวัตถุ ระบผุ ลของแรงเสยี ดทานท่ีมีต่อการเปล่ียนแปลงการเคลื่อนท่ีของวตั ถจุ ากหลักฐานเชิง
ประจักษ์ เขียนแผนภาพแสดงแรงเสียดทานและแรงที่อยู่ในแนวเดียวกันที่กระทำต่อวัตถุ อธิบายการได้ยิน
เสียงผ่านตัวกลางจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ระบุตัวแปรทดลองและอธิบายลักษณะและการเกิดเสียงสูง เสียง
ต่ำ ออกแบบการทดลองและอธิบายลักษณะและการเกิดเสียงดัง เสียงค่อยวัดระดับเสียงโดยใช้เครื่องมือวัด
ระดับเสียง ตระหนักในคุณค่าของความรูเ้ รื่องระดับเสียงโดยเสนอแนะแนวทางในการหลีกเลี่ยงและลดมลพิษ
ทางเสียง เปรียบเทียบความแตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์จากแบบจำลอง ใช้แผนที่ดาวระบุตำแหน่ง
และเสน้ ทางการขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟา้ และอธบิ ายแบบรูปเสน้ ทางการข้ึนและตกของกลุ่มดาว
ฤกษ์บนท้องฟ้าในรอบปี เปรียบเทียบปริมาณน้ำในแต่ละแหล่งและระบุปริมาณน้ำที่มนุษย์สามารถนำมาใช้
ประโยชน์ไดจ้ ากข้อมูลทีร่ วบรวมได้ ตระหนักถึงคุณค่าของน้ำโดยนำเสนอแนวทางการใชน้ ้ำอย่างประหยัดและ
การอนุรักษ์น้ำ สร้างแบบจำลองทีอ่ ธิบายการหมุนเวียนของนำ้ ในวฏั จักรน้ำ เปรียบเทียบกระบวนการเกิดเมฆ
หมอกนำ้ ค้าง และน้ำคา้ งแข็ง จากแบบจำลอง เปรียบเทียบกระบวนการเกิด ฝน หิมะ และลกู เหบ็ จากข้อมูลที่
รวบรวมได้ ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การอธิบายการทำงาน การคาดการณ์ผลลัพธ์ จากปัญหา
อย่างง่ายออกแบบ และเขียนโปรแกรมที่มีการใช้เหตผุ ลเชิงตรรกะอยา่ งง่าย ตรวจหาข้อผิดพลาดและแก้ไขใช้
อินเทอร์เน็ตค้นหาข้อมูล ติดต่อสื่อสารและทำงานร่วมกัน ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูลรวบรวมประเมิน
นำเสนอขอ้ มลู และสารสนเทศ ตามวัตถปุ ระสงค์โดยใชซ้ อฟต์แวร์หรอื บริการบนอนิ เทอรเ์ น็ตทีห่ ลากหลาย เพ่ือ
แก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีมารยาท เข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตน
เคารพในสิทธิของผู้อื่น แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อพบข้อมูลหรือบุคคลที่ไม่เหมาะสม โดยใช้กระบวนการทาง

๖๙

วทิ ยาศาสตร์ ในการสบื เสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสบื คน้ ข้อมลู การแก้ปัญหา และการอภิปราย
เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ และค่านิยมที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม
จรยิ ธรรมใฝ่เรียนรู้ อยอู่ ยา่ งพอเพียง มุง่ ม่นั การทำงาน รกั ความเป็นไทย มจี ิตสาธารณะ
รหัสตัวชว้ี ัด
ว ๑.๑ ป.๕/๑,ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ว ๑.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ว ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ว ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒ ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๒.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ว ๓.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๔.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
รวมท้ังหมด ๓๒ ตัวชีว้ ดั

๗๐

คำอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน

รหสั วชิ า ว ๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์

ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง

ศึกษา เพ่อื ใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถระบสุ ารอาหารและบอกประโยชน์ของสารอาหาร
แต่ละประเภทจากอาหารที่ตนเองรับประทานบอกแนวทางในการเลือกรับประทานอาหารให้ได้สารอาหาร
ครบถ้วนในดส่วนที่เหมาะสมกับเพศและวัยรวมทั้งความปลอดภัยต่อสุขภาพ ตระหนักถึงความสำคัญของ
สารอาหาร โดยการเลือกรับประทานอาหารที่มีสารอาหารครบถ้วนในสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศและวัย
รวมทั้งความปลอดภัยต่อสุขภาพ สร้างแบบจำลองระบบย่อยอาหารและบรรยายหน้าที่ของอวัยวะในระบบ
ย่อยอาหาร รวมทั้งอธิบายการย่อยอาหารและการดูดซึมสารอาหาร ตระหนักถึงความสำคัญของระบบย่อย
อาหาร โดยการบอก แนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะในระบบย่อยอาหารให้ทำงานเป็นปกติ อธิบายและ
เปรยี บเทียบการแยกสารผสมโดยการหยิบออก การรอ่ น การใช้แม่เหล็กดึงดูด การรินออก การกรอง และการ
ตกตะกอน โดยใช้หลักฐานเชงิ ประจักษ์ รวมทัง้ ระบุวธิ แี กป้ ัญหาในชวี ิตประจำวนั เกยี่ วกับการแยกสาร อธิบาย
การเกิดและผลของแรงไฟฟ้าซ่ึงเกิดจากวัตถุท่ผี ่านการขัดถูโดยใชห้ ลักฐานเชิงประจักษ์ ระบสุ ่วนประกอบและ
บรรยายหน้าที่ของแต่ละส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายจากหลักฐานเชิงประจักษ์ เขียนแผนภาพและ
ต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ออกแบบการทดลองด้วยวิธีที่เหมาะสมในการอธิบายวิธีการและผลของการต่อ
เซลลไ์ ฟฟา้ แบบอนุกรม ตระหนักถึงประโยชน์ของความรูข้ องการต่อเซลล์ไฟฟ้าแบบอนกุ รมโดยบอกประโยชน์
และการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวนั ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธีทีเ่ หมาะสมในการอธิบายการตอ่
หลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้ของการต่อไฟฟ้าแบบอนุกรม แบบ
ขนาน อธิบายการเกดิ เงามืดเงามวั จากหลกั ฐานเชิงประจักษ์เขียนแผนภาพรังสขี องแสงแสดงการเกิดเงามืดเงา
มัว สร้างแบบจำลองที่อธิบายการเกิดและเปรียบเทียบปรากฎการณ์สุริยุปราคาและจันทรุปราคา อธิบาย
พัฒนาการของเทคโนโลยีอวกาศ และการใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันจากข้อมูลที่รวบรวมได้ เปรียบเทียบ
กระบวนการเกิดหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร สร้างแบบจำลองที่อธิบายการเกิดซากดึกดำบรรพ์และ
คาดคะเนสภาพแวดล้อมในอดีตของซากดึกดำบรรพ์ การเกิดลมบก ลมทะเล มรสุมรวมทั้งอธิบายผ ลที่มีต่อ
สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมจากแบบจำลอง อธิบายผลของมรสุมต่อการเกิดฤดูของประเทศไทยจากข้อมูลท่ี
รวบรวม บรรยายลักษณะและผลกระทบของน้ำท่วม การกัดเซาะชายฝั่งดินถล่ม แผ่นดินไหวตระหนักถึง
ผลกระทบของภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัย โดยนำเสนอแนวทางในการเฝ้าระวังและปฏิบัติตนให้ปลอดภัย
จากภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัย ที่อาจเกิดในท้องถิ่น อธิบายการเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจกและผลของ
ปรากฏการณ์เรือนกระจกต่อสิ่งมีชีวิต ตระหนักถึงผลกระทบองปรากฎการณ์เรือนกระจกโดยนำเสนอแนว
ทางการปฏิบัติตนเพ่ือลดกิจกรรมท่ีก่อใหเ้ กดิ แก๊สเรือนกระจก ใชเ้ หตผุ ลเชิงตรรกะในการอธิบายและออกแบบ
วิธีการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตประจำวัน ออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่าย เพื่อแก้ปัญหาในชีวติ ประจำวัน
ตรวจหาข้อผิดพลาดของโปรแกรมและแก้ไข ใช้อินเทอร์เน็ตในการค้นหาข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ ใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศทำงานร่วมกันอย่าปลอดภัยเข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตน เคารพในสิทธิของผู้อื่น แจ้ง

๗๑

ผู้เกี่ยวข้องเมื่อพบข้อมูลหรือบุคคลทีไ่ ม่เหมาะสม โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้
การสำรวจตรวจสอบการสืบค้นข้อมูลการสังเกต การจำแนกประเภท การเปรียบเทียบ การทดลอง การสร้าง
แบบจำลอง การสืบค้นข้อมูลการอธิบาย และการอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ความคิด ความเข้าใจ สามารถ
ส่ือสารสิ่งทีเ่ รียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ การนำความรู้ไปใชใ้ นชีวติ ประจำวัน มีจิตวทิ ยาศาสตร์ และ
ค่านิยมที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มีคุณธรรมจริยธรรมใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่น
การทำงาน รกั ความเปน็ ไทย มจี ติ สาธารณะ

รหัสตวั ขวี้ ดั

ว ๑.๒ ป.๖/ ๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕

ว ๒.๑ ป.๖/๑

ว ๒.๒ ป.๖/๑

ว ๒.๓ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๕, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘

ว ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒

ว ๓.๒ ป.๖/ ๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๕, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙

ว ๘.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔

รวมทงั้ หมด ๓๐ ตวั ช้ีวัด

๗๒

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

รหัสวชิ า ว ๒๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์พ้ืนฐาน ๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกิต

การศึกษาชีววิทยาโดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ศึกษาประเภท โครงสร้างและหน้าที่ของ
ส่วนประกอบภายในเซลล์สิ่งมีชีวิตด้วยกล้องจุลทรรศน์ ศึกษากระบวนการลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
ด้วยวิธีการแพร่ และการออสโมซิส ศึกษาการดำรงชีวิตของพืช กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง การลำเลียง
สารในพืช การเจริญเติบโตของพืช การสืบพันธ์ุของพืช และเทคโนโลยีชีวภาพของพืช ศึกษาเกี่ยวกับ สาร
รอบตัว สมบัติของสาร การจำแนกสารด้วยสถานะ เนื้อสาร และขนาดอนุภาคของสาร การเปลี่ยนแปลงของ
สาร สารบริสุทธิ์และสารผสม สมบัติของสารบริสุทธิ์และสารผสม การใช้ความรู้ทางเคมีให้เป็นประโยชน์ต่อ
การเลือกใช้สารเคมีในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การวิเคราะห์ การทดลอง การอภิปราย การ
อธิบายและสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้
และนำความรไู้ ปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจำวนั มจี ิตวิทยาศาสตร์ มคี ณุ ธรรม และจริยธรรม

รหสั ตวั ชีว้ ดั

ว ๑.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘, ม.๒/๙, ม.๒/๑๐, ม.๒/๑๑,
ม.๒/๑๒, ม.๒/๑๓, ม.๒/๑๔, ม.๒/๑๕, ม.๒/๑๖, ม.๒/๑๗, ม.๒/๑๘

ว ๒.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘, ม.๒/๙, ม.๒/๑๐

รวม ๒๘ ตัวชว้ี ัด

๗๓

คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน

รหัสวิชา ว ๒๑๑๐๒ วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ๒ กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๖๐ ชว่ั โมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต

ศึกษาเกี่ยวกับอุณหภูมิและการวัด ผลของความร้อนที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงของสาร การถ่ายโอน
ความร้อน การดูดกลืนและคายความร้อน สมดุลความร้อน การใช้ความรู้ทางเคมีให้เป็นประโยชน์ต่อการ
เลือกใช้สารเคมีในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย องค์ประกอบของบรรยา กาศ การแบ่งชั้น
บรรยากาศ ผลของรังสจี ากดวงอาทิตย์ต่อบรรยากาศ องค์ประกอบของอากาศ ไดแ้ ก่ อุณหภูมิอากาศความดัน
อากาศ ความชื้นอากาศ ลม เมฆ และฝน พายุฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตร้อน มรสุม การพยากรณ์อากาศ และ
การเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศของโลก

โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การ
สังเกต การวเิ คราะห์ การทดลอง การอภปิ ราย การอธิบายและสรุป เพ่อื ให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มี
ความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิต
วิทยาศาสตร์ มคี ุณธรรม และจริยธรรม

รหสั ตวั ขวี้ ัด

ว ๒.๒ ม.๑/๑

ว ๒.๓ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๖, ม.๒/๗

ว ๓.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๖, ม.๒/๗

รวม ๑๕ ตวั ชี้วัด

๗๔

คำอธิบายรายวชิ าเพิ่มเติม

รหัสวิชา ว ๒๑๒๐๓ ปฏบิ ัติการทางวทิ ยาศาสตร์ ๑ กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต

ศึกษา ทดลอง เกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ ตั้งสมมติฐานจากปัญหา หรือ
สถานการณ์ที่สังเกตพบ ออกแบบการทดลอง เพื่อตรวจสอบสมมติฐาน กำหนดตัวแปร กำหนดนิยามเชิง
ปฏิบัติการ เลือกใช้อุปกรณ์หรือเครื่องมือ และวิธีการทดลองอย่างเหมาะสม บันทึกข้อมูล จัดกระทำข้อมูล
นำเสนอข้อมลู วเิ คราะห์ และสรปุ ผลการทดลองไดส้ อดคล้องกับจุดประสงค์ มีความคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์ในการ
ออกแบบการทดลอง หรือดัดแปลงอปุ กรณ์ ในการแกป้ ัญหาที่เกิดขึ้น ศกึ ษาประเภท โครงสรา้ ง และหน้าที่ของ
ส่วนประกอบภายในเซลล์สิ่งมีชีวิตด้วยกล้องจุลทรรศน์ ศึกษากระบวนการลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
ด้วยวิธีการแพร่ และการออสมซิส ศึกษาการดำรงชีวิตของพืช กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง การลำเลียง
สารในพชื การเจริญเติบโตของพืช การสืบพนั ธข์ุ องพชื และเทคโนโลยีชีวภาพของพืชศกึ ษาเกยี่ วกับสารรอบตัว
สมบัติของสาร การจำแนกสารด้วยสถานะ เนื้อสาร และขนาดอนุภาคของสารการเปลี่ยนแปลงของสาร สาร
บรสิ ุทธแ์ิ ละสารผสม สมบตั ิของสารบริสทุ ธ์ิและสารผสม การใชค้ วามรทู้ างเคมใี ห้เป็นประโยชนต์ ่อการเลือกใช้
สารเคมใี นชีวิตประจำวนั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและปลอดภัย

โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การ
สงั เกต การวิเคราะห์ การทดลอง การอภิปราย การอธบิ ายและสรปุ เพือ่ ให้เกดิ ความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ มี
ความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิต
วทิ ยาศาสตร์ มีคุณธรรม และจริยธรรม

ผลการเรยี นรู้

๑. ออกแบบการทดลอง เพอ่ื ตรวจสอบสมมติฐาน กำหนดตัวแปร กำหนดนยิ ามเชงิ ปฏิบตั กิ าร

เลอื กใช้อุปกรณใ์ หส้ อดคล้องกับวธิ ีการทดลอง บันทึกข้อมลู จัดกระทำขอ้ มูล วเิ คราะห์ และสรุปผลการทดลอง
อย่างเหมาะสม

๒. มีทักษะในการใช้ ดูแล รักษากล้องจุลทรรศน์ และคำนวณหากำลังขยายของกลอ้ งจุลทรรศน์

๓. ทดลอง เปรยี บเทียบ และอธบิ ายหน้าทขี่ องสว่ นประกอบท่ีสำคญั ของเซลล์พืชและเชลล์สัตว์

๔. ทดลองและอธบิ ายกระบวนการแพรแ่ ละออสโมซสิ

๕. ทดลองหาปจั จยั บางประการที่จำเป็นตอ่ การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพชื

๖. ทดลองและอธบิ ายกล่มุ เชลลท์ ่ีเกี่ยวข้องกบั การลำเลยี งน้ำ พร้อมท้ังเขียนแผนภาพแสดงทิศทางการ

๗. ทดลองและจำแนกสารเป็นกลมุ่ โดยใช้เนื้อสารหรือขนาดอนุภาคเปน็ เกณฑ์

๗๕

๘. ทดลองเกี่ยวกับสมบัติความเป็นกรด-เบสของสารละลาย และการตรวจสอบค่า pH ของสารละลายด้วย
อินดเิ คเตอร์และนำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์
๙. ทดลองการเตรียมสารละลายที่มคี วามเข้มข้นเปน็ ร้อยละ
รวม ๙ ผลการเรยี นรู้

๗๖

คำอธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเติม

รหสั วชิ า ว ๒๑๒๐๔ ปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ ๒ กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ช่วั โมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกิต

ศึกษาเก่ียวกับอุณหภูมิและการวัด ผลของความร้อนที่มีต่อการเปล่ียนแปลงของสาร การถ่ายโอน
ความร้อน การดูดกลืนและคายความร้อน สมดุลความร้อน การใช้ความรู้ทางเคมีให้เป็นประโยชน์ต่อกา ร
เลือกใช้สารเคมีในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย องค์ประกอบของบรรยากาศ การแบ่งช้ัน
บรรยากาศ ผลของรงั สีจากดวงอาทิตยต์ ่อบรรยากาศ องคป์ ระกอบของอากาศ ไดแ้ ก่ อณุ หภมู ิอากาศความดัน
อากาศ ความชื้นอากาศ ลม เมฆ และฝน พายุฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตร้อน มรสุม การพยากรณ์อากาศ และ
การเปลยี่ นแปลงภมู ิอากาศของโลก

โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การ
สงั เกต การวิเคราะห์ การทดลอง การอภิปราย การอธิบายและสรุป เพือ่ ให้เกดิ ความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ มี
ความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิต
วทิ ยาศาสตร์ มีคุณธรรม และจรยิ ธรรม

ผลการเรียนรู้

๑. ออกแบบการทดลอง เพื่อตรวจสอบสมมตฐิ าน กำหนดตัวแปร กำหนดนยิ ามเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร

เลอื กใช้อุปกรณใ์ หส้ อดคล้องกับวธิ กี ารทดลอง บันทึกขอ้ มูล จดั กระทำขอ้ มลู วิเคราะห์ และสรุปผลการทดลอง
อยา่ งเหมาะสม

๒. ทดลองและอธบิ ายอุณหภมู ิและการวดั อณุ หภมู ิ

๓. สรา้ งแบบจำลองท่ีอธิบายการขยายตวั หรือหดตัวของสสารเนือ่ งจากไดร้ บั หรือสญู เสียความร้อน

๔. ออกแบบ เลือกใช้ และสรา้ งอุปกรณ์ เพ่อื แกป้ ัญหาในชีวติ ประจำวนั โดยใชค้ วามรูเ้ กีย่ วกับการถา่ ยโอนความ
รอ้ น

๕. สร้างแบบจำลองที่อธิบายการถ่ายโอนความร้อน โดยการนำความร้อน การพาความร้อน การแผ่รังสีความ
ร้อน

๖.สร้างแบบจำลองท่อี ธบิ ายการแบ่งช้ันบรรยากาศและเปรียบเทียบประโยชน์ของบรรยากาศ แตล่ ะชนั้

รวม ๖ ผลการเรียนรู้

๗๗

คำอธบิ ายรายวิชาพืน้ ฐาน

รหัสวิชา ว ๒๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๒ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ ชวั่ โมง จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกติ

ศึกษาวิเคราะห์ โครงสร้างและหน้าที่ของระบบร่างกายมนุษย์ ระบบหายใจ ระบบขับถ่าย ระบบ
หมุนเวียนเลือด ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ ทดลองการแยกสารผสม สภาพการละลาย ความเข้มข้นของ
สาร กระบวนการเกดิ ดิน หนา้ ตัดขา้ งของดิน ปัจจัยในการเกิดดิน สมบัตบิ างประการของดนิ เชือ้ เพลิงจากซาก
ดึกดำบรรพ์ พลังงานทดแทน โครงสร้างภายในโลก กระบนการผุพังอยู่กับที่และการสะสมตัวของตะกอน
ลกั ษณะและการเกิดแหลง่ น้ำผวิ ดิน นำ้ ใต้ดิน การใช้ประโยชน์และการอนรุ ักษ์แหล่งน้ำ

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจ ตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการ
อภปิ ราย เพอื่ ใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถสื่อสารสิง่ ทเ่ี รียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจนำ
ความรูไ้ ปใชใ้ นชีวติ ประจำวัน มีจติ วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคา่ นิยมทเี่ หมาะสม

รหัสตัวช้ีวัด

ว ๑.๒ ม ๒/๑, ม ๒/๒, ม ๒/๓, ม ๒/๔, ม ๒/๕, ม ๒/๖,ม ๒/๗ , ม ๒/๘, ม ๒/๙, ม ๒/๑๐,

ม ๒/๑๑, ม๒/๑๒,ม ๒/๑๓,ม ๒/๑๔,ม ๒/๑๕,ม ๒/๑๖,ม ๒/๑๗

ว ๒.๑ ม ๒/๑, ม ๒/๒, ม ๒/๓, ม ๒/๔, ม ๒/๕, ม ๒/๖

ว ๓.๒ ม๒/๑, ม ๒/๒, ม ๒/๓, ม ๒/๔ ม ๒/๕, ม ๒/๖, ม ๒/๗ , ม ๒/๘, ม ๒/๙, ม ๒/๑๐

รวม ๓๓ ตัวช้วี ัด

๗๘

คำอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน

รหสั วชิ า ว ๒๒๑๐๒ วิทยาศาสตร์พืน้ ฐาน ๔ กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์

ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต

ศึกษาวเิ คราะห์ ทดลองและอธิบายอัตราเร็วและความเร็วของการเคลื่อนทขี่ องวัตถุ แรงเสียดทาน
ปัจจัยที่มีผลต่อคามดันของของเหลว แรงพยุง การจม การลอยในของเหลว พลังงานจลน์และพลังงานศักย์
โมเมนต์ของแรง เครื่องกลอย่างง่ายและหลักการทำงานของเครื่องกลอย่างง่ายบางชนิด การเปลี่ยนแปลง
พลังงาน กฎการอนุรักษ์พลังงาน ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของแม่เหล็ก แรงไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง และแหล่ง
ของสนามแม่เหล็กไฟฟ้า และสนามโน้มถว่ ง

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจ ตรวจสอบ การสืบค้น
ขอ้ มลู และการอภิปราย เพ่ือใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถสื่อสารส่ิงที่เรียนรู้ มีความสามารถใน
การตดั สนิ ใจนำความรไู้ ปใชใ้ นชีวติ ประจำวัน มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคา่ นยิ มที่เหมาะสม

รหัสตัวชี้วดั

ว ๒.๒ ม ๒/๑, ม ๒/๒, ม ๒/๓ , ม ๒/๔ , ม ๒/๕, ม ๒/๖,ม ๒/๗, ม ๒/๘, ม ๒/๙, ม ๒/๑๐,

ม ๒/๑๑, ม ๒/๑๒, ม ๒/๑๓, ม ๒/๑๔, ม ๒/๑๕

ว ๒.๓ ม ๒/๑, ม ๒/๒, ม ๒/๓ , ม ๒/๔ , ม ๒/๕, ม ๒/๖

รวม ๒๑ ตวั ช้วี ดั

๗๙

คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเตมิ

รหัสวชิ า ว ๒๒๒๐๓ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ ๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์

ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกติ

ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ การสำรวจ การ
ทดลอง สงิ่ ประดิษฐ์และทฤษฎี วเิ คราะห์โครงงานวิทยาศาสตร์ ศึกษาเอกสารและทำกิจกรรมตามข้ันตอนทาง
วิทยาศาสตร์ที่เน้นการแก้ปัญหาอย่างมีระบบ ฝึกทักษะการแก้ปัญหา ตั้งสมมติฐาน การออกแบบการทดลอง
กำหนดและควบคุมตัวแปร การใช้เคร่อื งมือพน้ื ฐานทางวิทยาศาสตร์

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อนำไปสู่การระบุปัญหาและหัวข้อเรื่องในการทำโครงงาน
วิทยาศาสตรเ์ พอ่ื ให้เกดิ ความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจสามารถฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ตามวิธีการ
ทางวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เป็นพื้นฐานในการทำโครงงานต่อไปมี
จิตวิทยาศาสตร์ คณุ ธรรมจริยธรรมและค่านยิ มทเ่ี หมาะสม

ผลการเรียนรู้

๑. สบื คน้ ข้อมลู เกี่ยวกับความหมาย และลกั ษณะของโครงงานวิทยาศาสตรไ์ ด้

๒. สืบค้นข้อมูลและอภปิ รายเก่ยี วกับประเภทโครงงานวิทยาศาสตร์ วิเคราะหโ์ ครงงานวิทยาศาสตร์ได้

๓. ต้ังปญั หา กำหนดประเด็นหรอื ตัวแปรทีส่ ำคญั ในการสำรวจตรวจสอบหรอื ศึกษาค้นคว้าเรื่องทส่ี นใจจากการ
สำรวจสง่ิ รอบตัวอยา่ งครอบคลุมและเชอื่ ถอื ได้

๔. ตง้ั สมมตฐิ านและวางแผนการสำรวจตรวจสอบได้

๕. เลือกวิธกี ารตรวจสอบ ท้งั เชงิ ปริมาณและคณุ ภาพโดยใช้วสั ดแุ ละเครื่องมอื ทเี่ หมาะสม

๖. รวบรวมข้อมลู จัดกระทำข้อมูลเชิงปรมิ าณและคุณภาพได้เหมาะสม

๗. วิเคราะห์ผลจากการทดลองและสำรวจประเมินความสอดคล้องของข้อมูลกับข้อสรุปที่ ๗ สนับสนุนหรือ
ขดั แยง้ กับสมมตฐิ าน

รวม ๗ ผลการเรยี นรู้

๘๐

คำอธิบายรายวิชาเพ่ิมเติม

รหัสวชิ า ว ๒๒๒๐๔ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ ๒ กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์

ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกติ

ศึกษาคน้ คว้าข้ันตอนการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ คดิ และเลอื กหัวขอ้ เร่ืองในการทำ ศกึ ษาเอกสาร
ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เขยี นเค้าโครงตามหวั ข้อเรอื่ ง ดำเนินการ ทดลอง สำรวจหรอื ประดิษฐ์โครงงานวทิ ยาศาสตร์ โดยใช้
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ รวบรวมข้อมูล บันทึกผลวิเคราะห์ผล สรุปผล
รายงานผลและเสนอผลงานได้เหมาะสม เพ่ือให้เกิดความรู้ความคิด ความเข้าใจสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้สามารถ
นำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันมจี ิตวทิ ยาศาสตร์ คุณธรรมจริยธรรมและค่านยิ มทเี่ หมาะสม

ผลการเรยี นรู้

๑. สบื ค้นข้อมลู ขั้นตอนการทำโครงงาน คิดหัวข้อเรือ่ งในการทำโครงงานวิทยาศาสตร์

๒. สบื คน้ ขอ้ มูลศกึ ษาเอกสารท่ีเก่ยี วข้องเกี่ยวกบั การทำโครงงานวทิ ยาศาสตรไ์ ด้

๓. เขียนเค้าโครงโครงงานวทิ ยาศาสตรไ์ ด้

๔. ทำการทดลองตามข้นั ตอนของเคา้ โครงโครงงานวทิ ยาศาสตร์ได้

๕. เขียนรายงานโครงงานวทิ ยาศาสตรไ์ ด้

๖. เสนอผลงานโครงงานวิทยาศาสตร์ได้

รวม ๖ ผลการเรยี นรู้

๘๑

คำอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน

รหัสวชิ า ว ๒๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตรพ์ ื้นฐาน ๕ กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ชั่วโมง จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกติ

อธิบายปฏิสัมพันธ์ขององค์ประกอบของระบบนิเวศที่ได้จากการสำรวจ อธิบายรูปแบบ
ความสมั พันธร์ ะหวา่ งส่งิ มีชีวติ กับสงิ่ มีชวี ิตรปู แบบต่าง ๆ ในแหลง่ ที่อยู่เดียวกนั ทไ่ี ดจ้ ากการสำรวจ อธิบายการ
ถ่ายทอดพลังงานในสายใยอาหาร อธิบายความสัมพันธ์ของผู้ผลิต ผู้บริโภค และผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ใน
ระบบนิเวศ อธิบายการสะสมสารพิษในสิ่งมีชีวิตในโซ่อาหาร ศึกษาถึงความสัมพันธ์ของสิ่งมี ชีวิต และ
สิ่งแวดล้อมในระบบนิเวศ โดยไม่ทำลายสมดุลของระบบนิเวศ อธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง ยีน ดีเอ็นเอและ
โครโมโชม โดยใช้แบบจำลอง อธิบายการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากการผสมโดยพิจารณาลักษณะ
เดียวที่แอลลีลเด่นข่มแอลลีลด้อยอย่างสมบูรณ์ อธิบายการเกิดจีโนไทป์และฟิโนไทป์ของลูก และคำนวณ
อัตราส่วนการเกิดจโี นไทปแ์ ละฟิโนไทป์ของรุ่นลูก อธิบายความแตกต่างของการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและไม
โอชิส ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของยีนหรือโครโมโซมอาจทำให้เกิดโรคทางพันธุกรรมพร้อมทั้งยกตัวอย่างโรค
ทางพันธุกรรมและประโยชน์ของความรู้เรื่องโรคทางพันธุกรรม โดยรู้ว่าก่อนแต่งงานควรปรึกษาแพทย์ เพ่ือ
ตรวจและวินิจฉัยภาวะเสี่ยงของลูกที่อาจเกิดโรคทางพันธุกรรม อธิบายการใช้ประโยชน์จากสิ่งมีชีวิตตัดแปร
พันธุกรรม และผลกระทบที่อาจมีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม โดยใช้ข้อมูลที่รวบรวมได้ตระหนักถึงประโยชน์
และผลกระทบของสิ่งมีชีวิต ตัดแปรพันธุกรรมที่อาจมีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม โดยการเผยแพร่ความรู้ที่ได้
จากการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ ซง่ึ มขี ้อมูลสนับสนนุ ศกึ ษาความหลากหลายทางชวี ภาพในระดับชนิดสิ่งมีชีวิต
ในระบบนิเวศต่าง ๆ อธิบายความสำคัญของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อการรักษาสมดุลของระบบ
นิเวศและตอ่ มนุษย์ เขา้ ใจในคุณคา่ และความสำคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ โดยมสี ว่ นรว่ มในการดูแล
รักษาความหลากหลายทางชีวภาพ ระบุสมบัติทางกายภาพและการใช้ประโยชน์วัสดุประเภทพอลิเมอร์ เชรา
มิกส์ และวัสดุผสม โดยใช้หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์และสารสนเทศตระหนักถึงคณุ ค่าของการใช้วัสดุประเภทพอลิ
เมอร์ เซรามิกส์ และวัสดุผสม ยกตวั อย่างแนวทางการใชว้ สั ดุอย่างประหยดั และคุ้มค่า อธบิ ายการเกิดปฏิกิริยา
เคมี รวมถงึ การจัดเรียงตัวใหม่ของอะตอมเมื่อเกิดปฏิกิรยิ าเคมี โดยใชแ้ บบจำลองและสมการข้อความ อธิบาย
กฎทรงมวล โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ วิศึกษาปฏิกิริยาดูดความร้อน และปฏิกิริยาคายความร้อน จากการ
เปลี่ยนแปลงพลังงาน ความร้อนของปฏิกิริยา อธิบายปฏิกิริยาการเกิดสนิมของเหล็ก ปฏิกิริยาของกรดกับ
โลหะ ปฏิกิริยาของกรดกับเบส และปฏิกิริยาของเบสกับโลหะ โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ และอธิบาย
ปฏิกิริยาการเผาไหม้การเกิดฝนกรดการสังเคราะห์ด้วยแสง โดยใช้สารสนเทศ รวมทั้งเขียนสมการข้อความ
แสดงปฏกิ ริ ิยาดงั กลา่ ว ระบุประโยชน์และโทษของปฏิกริ ิยาเคมีทีม่ ีตอ่ ส่งิ มีชวี ติ และส่ิงแวดลอ้ ม และยกตวั อย่าง
วิธีการป้องกันและแก้ปัญหาที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจำวัน จากการสืบค้นข้อมูล ออกแบบวิธี
แก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับปฏิกิริยาเคมีโดยบูรณาการวิทยาศาส ตร์ คณิตศาสตร์
เทคโนโลยี และวศิ วกรรมศาสตร์

๘๒

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบการ
สังเกต การสืบค้นข้อมูล การวิเคราะห์ การอภิปราย สรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจสื่อสารสิ่งที่
เรยี นรู้ มีความสารมารถในการตัดสินใจ เพ่ือใหเ้ กดิ ความร้คู วามเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝร่ ู้ใฝเ่ รียน มรี ะเบียบ
วินัยมุ่งมั่นในการทำงานอย่างมีระบบ ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวิจารณญาณ รู้จักนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ ใน
ชีวติ ประจำวนั ได้ รวมท้ังมเี จตคตทิ ี่ดีต่อวิชาวทิ ยาศาสตร์
รหสั ตัวช้ีวัด
ว๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖
ว๑.๓ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘, ม.๓/๙, ม.๓/๑๐, ม.๓/๑๑
ว๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘
รวม ๒๕ ตวั ชี้วดั

๘๓

คำอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน

รหสั วชิ า ว ๒๓๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์พื้นฐาน ๖ กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลา ๖๐ ช่วั โมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกติ

ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย และคำนวณเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ กระแสไฟฟ้า
และความต้านทาน เขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้าแสดงการต่อตัวต้านทานอนุกรมและขนาน การต่อชิ้นส่วน
อิเล็กทรอนิกส์ คำนวณพลังงานไฟฟ้า การเลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า การเกิดคลื่น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและ
สเปกตรัม กฎการสะท้อนของแสง การเคลื่อนที่ของแสง การหักเหของแสง ปรากฎการณ์ที่เกี่ยวกับแสงการ
ทำงานของทัศนอุปกรณ์และเลนส์ตา การโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ การเกิดฤดูกาล การเคลื่อนท่ี
ปรากฎของดวงอาทิตย์ การเกิดข้างขึ้นข้างแรม การขึ้นตกของดวงจันทร์และการเกิดน้ำขึ้นน้ำลงการใช้
ประโยชนข์ องเทคโนโลยีอกาศ

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ สำรวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมูล
อภิปราย เพอื่ ใหเ้ กิดความรู้ ความคดิ ความเขา้ ใจ สามารถส่ือสารสิ่งท่เี รียนรู้ มีความสามารถตัดสินใจสามารถ
นำความรู้ไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั ไดอ้ ยา่ งเมาะสม มจี ติ วิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และค่านิยมทเ่ี หมาะสม
สามารถทำงานรว่ มกบั ผูอ้ นื่ ไดแ้ ละเหน็ ประโยชนก์ ารดำรงชวี ิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีระเบียบวินัยมุ่งมั่นในการทำงานอย่างมีระบบ
ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวิจารณญาณ รู้จักนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ รวมทั้งมีเจตคติที่ดีต่อวิชา
วทิ ยาศาสตร์

รหสั ตวั ชี้วดั

ว ๒.๓ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘, ม.๓/๙, ม.๓/๑๐, ม.๓/๑๑, ม.๓/
๑๒, ม.๓/๑๓, ม.๓/๑๔, ม.๓/๑๕, ม.๓/๑๖, ม.๓/๑๖, ม.๓/๑๗, ม.๓/๑๘, ม.๓/๑๙, ม.๓/๒๐, ม.๓/๒๑

ว ๓.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔

รวม ๒๕ ตวั ชี้วัด

๘๔

คำอธิบายรายวชิ าเพิ่มเตมิ

รหสั วชิ า ว ๒๓๒๐๕ ของเลน่ เชงิ วทิ ยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์

ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกติ

ศึกษาหลักการทางวิทยาศาสตร์กับของเล่น เครื่องกลอย่างง่ายและการประยุกต์ใช้งานในของเลน่
การสร้างของเล่นอย่างง่ายตามแบบที่กำหนดให้ อัดแปลงหรือประดิษฐ์ของเล่นที่ใช้เครื่องกลอย่างง่ายหรือ
หลักการทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายและอธิบายการทำงานของของเล่น ด้วยหลักการทาง
วิทยาศาสตร์

โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ การสืบค้นข้อมูล การอภิปราย การ
วิเคราะห์ การแก้ปัญหา การเปรียบเทียบ การสำรวจตรวจสอบ การทำนายและการทดลอง เพื่อให้เกิดความรู้
ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจนำความรู้ไปใช้ใน
ชีวิตประจำวัน ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มุ่งมั่นในการทำงาน มีความรับผิดชอบ มีเหตุผลมีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม
คุณธรรมและคา่ นิยมท่เี หมาะสม

ผลการเรียนรู้

๑. ศกึ ษา สบื ค้นข้อมลู และอธิบายส่วนประกอบ และหลักการทำงานของเลน่ เชิงวิทยาศาสตรต์ ามท่ีกำหนดให้

๒. มีทักษะในการใช้เครื่องมือพ้ืนฐานบางชนิด เพื่อใช้ในการประดิษฐ์ของเล่นเชิงวิทยาศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง
และปลอดภัย

๓. ศึกษา สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ ยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่ทำงานเชิงวิทยาศาสตร์ที่พบเห็นในชีวิตประจำวันและ
ทดลองสรา้ งอปุ กรณข์ องเลน่ เชิงวิทยาศาสตรต์ ามแบบท่ีกำหนดได้

๔. ออกแบบ ดัดแปลงและพฒั นา เพือ่ ประดิษฐ์อปุ กรณห์ รอื ช้ินงานใหม่ เพือ่ ใหส้ นกุ สนาน

เพลิดเพลนิ หรอื เพื่อการแขง่ ขันและมีความคิดรเิ ริ่มสรา้ งสรรคใ์ นการประกอบชน้ิ งาน

๕. พัฒนาอุปกรณ์ โดยการดัดแปลง และประดิษฐ์อุปกรณ์ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่ี
เรยี นรู้ได้

๖. ทดลองและอธบิ ายการทำงานของเล่นเชิงวทิ ยาศาสตรท์ ีก่ ำหนดได้

รวม ๖ ผลการเรียนรู้

๘๕

คำอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเตมิ

รหัสวิชา ว ๒๓๒๐๔ พลงั งานทดแทน กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๐หน่วยกติ

ศึกษา วิเคราะห์ ทดลอง ตรวจสอบ เกี่ยวกับพลงั งานน้ำ พลงั งานลม พลงั งานแสงอาทติ ย์ พลงั งาน
ชีวมวลและพลังงานนิวเคลียร์ หลักการทางวิทยาศาสตร์ของพลังงานดังกล่าว และการนำมาใช้ประโยชน์เป็น
พลังงานทดแทน ความสำคญั บทบาท และผลกระทบของพลงั งานเหล่านั้นที่มีต่อมนุษยแ์ ละสิง่ แวดลอ้ ม

โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ การสืบค้นข้อมูล การอภิปราย การ
วิเคราะห์ การแก้ปัญหา การเปรียบเทียบ การสำรวจตรวจสอบ การทำนายและการทดลอง เพื่อให้เกิดความรู้
ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจนำความรู้ไปใช้ใน
ชีวิตประจำวัน ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มุ่งมั่นในการทำงาน มีความรับผิดชอบ มีเหตุผลมีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม
คุณธรรมและคา่ นยิ มทเี่ หมาะสม

ผลการเรยี นรู้

๑. มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเร่ืองพลงั งานทดแทนและสามารถจำแนกประเภทของพลงั งานได้

๒. มีความร้คู วามเข้าใจเรือ่ งพลงั งานน้ำและสามารถบอกประโยชน์ของพลงั งานน้ำได้

๓. มีความรู้ความเข้าใจเรือ่ งพลังงานลมและสามารถบอกประโยชนข์ องพลงั งานลมได้

๔. มีความรคู้ วามเขา้ ใจเรอ่ื งพลงั งานแสงอาทติ ย์และสามารถบอกประโยชน์ของพลงั งานแสงอาทิตย์ได้

๕. มคี วามรู้ความเขา้ ใจเร่อื งพลังงานชวี มวลและสามารถบอกประโยชนข์ องพลงั งานชวี มวลได้

๖. มีความร้คู วามเข้าใจเรอื่ งพลังงานนวิ เคลียร์และสามารถบอกประโยชนข์ องพลงั งานนิวเคลียร์ได้

รวม ๖ ผลการเรยี นรู้

๘๖

คำอธบิ ายรายวชิ า
กล่มุ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา

และวัฒนธรรม

๘๗

คำอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน

รหสั วิชา ส๑๑๑๐๑ สังคมศึกษา กลมุ่ สาระการเรยี นรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ เวลา ๔๐ ชัว่ โมง

ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

ศึกษาพุทธประวัติ หรือประวัติของศาสดาที่ตนนับถือ ประวัติสาวก ชาดก / เรื่องเล่าและศาสนิก
ชนตัวอย่าง ความสำคัญ และเคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา หรือ
หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ แสดงตนเป็นพุทธมามกะ หรือแสดงตนเป็นศาสนิกชนของศาสนา บำเพ็ญ
ประโยชน์ต่อวัดหรือศาสนสถานของศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม และวันสำคัญทาง
ศาสนาตามที่กำหนด เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนาหรือ
การพัฒนาจติ ตามแนวทางของศาสนาทีต่ นนับถือตามท่ีกำหนด ชื่นชมและปฏิบัติตนตามแบบอยา่ งการดำเนนิ
ชีวติ และข้อคิดจากประวตั สิ าวก ชาดก / เร่อื งเลา่ และศาสนกิ ชนตวั อยา่ งตามทกี่ ำหนด

หนา้ ท่ีพลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนนิ ชวี ิตในสังคม

ศึกษาโครงสร้าง บทบาท สิทธิและหน้าทีข่ องสมาชิกในครอบครวั และโรงเรยี น ประโยชน์ของการ
ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัวและโรงเรียน ความสามารถและความดีของตนเอง ผู้อื่น และบอกผล
จากการกระทำนน้ั ปฏบิ ตั ิตนเปน็ สมาชิกท่ีดีของครอบครวั และโรงเรยี น รว่ มในการตดั สินใจและทำกิจกรรมใน
ครอบครัวและโรงเรียนตามกระบวนการประชาธปิ ไตย

เศรษฐศาสตร์

ศึกษาถึงสินค้าและบริการท่ีใช้ประโยชน์ในชวี ิตประจำวัน การใช้จ่ายเงินในชีวิตประจำวันท่ีไม่เกิน
ตัวเหตุผลความจำเป็นที่คนต้องทำงานอย่างสุจริตใช้ทรั พยากรในชีวิตประจำวัน อย่างประหยัดแล ะเห็น
ประโยชน์ของการออม

ภมู ศิ าสตร์

จำแนกสิ่งแวดล้อมรอบตัวท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น ระบุความสัมพันธ์ขอ
ตำแหน่ง ระยะ ทิศของสิ่งต่าง ๆ ใช้แผนผังแสดงตำแหน่งของสิ่งต่างๆ ในห้องเรียน สังเกตและบอกการ
เปลีย่ นแปลงของสภาพอากาศในรอบวัน บอกสง่ิ แวดลอ้ มทเ่ี กดิ ตามธรรมชาตทิ ่ีส่งผลตอ่ ความเปน็ อยขู่ องมนุษย์
สังเกตและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมเพื่อการปฏิบัติตนอย่างเหมาะสม มีส่วนร่วมในการ
ดูแลสิ่งแวดล้อมที่บ้านและห้องเรียน เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิต มี
คุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รัก
ความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ สามารถดำเนินชีวติ อย่างสันติสุขในสังคมไทย และสังคมโลก สามารถนำความรู้

๘๘

ไปใช้ใหเ้ กิดประโยชนโ์ ดยใชห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวัน
ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
รหัสตัวข้วี ัด
ส ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ส ๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ส ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ส ๒.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ส ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ส ๓.๒ ป.๑/๑
ส ๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.ด/๓, ป.๑/๔
ส ๕.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
รวมทงั้ หมด ๒๔ ตวั ชว้ี ัด

๘๙

คำอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน

รหสั วชิ า ส ๑๒๑๐๑ สังคมศกึ ษา กล่มุ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๒ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง

ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

ศึกษาความสำคัญของพระพุทธศาสนา พุทธประวัติตั้งแต่ประสูติจนถึงออกผนวช ชื่อศาสนา
ศาสดาและคัมภีร์ของศาสนาต่าง ๆ ประวัติสาวก ความหมาย และความสำคัญ ของพระรัตนตรัย โอวาท ๓
หลักธรรมของศาสนา ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อสาวกของศาสนา เข้าร่วมศาสนพิธี พิธีกรรม และวันสำคัญ
ทางศาสนาสวดมนต์ แผเ่ มตตา มีสตทิ เี่ ปน็ พ้ืนฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนา หรือการพฒั นาจติ ตามแนวทาง
ศาสนาชื่นชมและปฏิบัติตามแบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก / เรื่องเล่าและศา
สนิกชนตัวอย่าง และการทำความดีของตนเอง บุคคลในครอบครัวและในโรงเรียนตามหลักศาสนาหน้าที่
พลเมอื ง วัฒนธรรม และการดำเนนิ ชวี ติ ในสังคม

ศึกษาความสัมพันธ์ของตนเอง และสมาชิกในครอบครัว ผู้มีบทบาท อำนาจในการตัดสินใจใน
โรงเรียน และชมุ ชนปฏบิ ตั นิ ตามข้อตกลง กติกา กฎ ระเบยี บ และหน้าทท่ี ีต่ ้องปฏบิ ตั ิในชีวิตประจำวัน ยอมรับ
ความคิด ความเชื่อ และการปฏิบัติของบุคคลอื่นที่แตกต่างกันโดยปราศจากอคติ เคารพในสิทธิเสรีภาพของ
ผอู้ นื่ ปฏิบตั ิตนตามมารยาทไทย

เศรษฐศาสตร์

ศึกษาทรัพยากรที่นำมาผลิตสินค้าและบริการที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ที่มาของรายได้และรายจ่าย
ของตนเองและครอบครวั การบันทึกรายรบั รายจ่ายของตนเอง การแลกเปลี่ยนสินค้าและบรกิ ารโดยวิธีต่าง ๆ
ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย ผลดีของการใช้จ่ายที่เหมาะสมกับรายได้และการออม บันทึกรายรับ
รายจ่ายของตนเอง และเหน็ คุณคา่ ของการใชจ้ า่ ยท่ีเหมาะสมกบั รายได้และการออม

ภมู ิศาสตร์

ระบุสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ และที่มนุษย์สร้างขึ้น ซึ่งปรากฎระหว่างบ้านกับโรงเรียน ระบุ
ตำแหน่งและลักษณะทางกายภาพของสง่ิ ต่างๆ ทป่ี รากฎในแผนผงั แผนที่รูปถา่ ย และลกู โลก สงั เกตและแสดง
ความสัมพันธ์ระหว่างโลกดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ที่ทำให้เกิดปรากฏการณ์ อธิบายความสำคัญของ
สงิ่ แวดล้อมทางธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น จำแนกและใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ทีใ่ ช้แลว้ ไมห่ มดไป ที่ใช้แล้ว
หมดไป และสร้างทดแทน ขึ้นใหม่ได้อย่างคุ้มค่า อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างฤดูกาลกับการดำเนินชีวิตของ
มนุษย์ มีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัติใน
การดำเนินชวี ติ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในดา้ นรกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซ่ือสตั ย์ มวี ินัย
ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ สามารถดำเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทย และสังคมโลก

๙๐

สามารถนำความร้ไู ปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนโ์ ดยใช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและสามารถนำไปประยุกต์ใช้
กบั ชวี ติ ประจำวันได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม
รหสั ตัวขี้วดั
ส ๑.๑ ป.๒/ ๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗
ส ๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ส ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ส ๒.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ส ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ส ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ส ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
ส ๕.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
รวมทง้ั หมด ๒๘ ตวั ช้ีวัด

๙๑

คำอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน

รหสั วิชา ส ๑๓๑๐๑ สงั คมศึกษา กลุม่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง

ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม

ศกึ ษาวิเคราะห์ถึงความสำคญั ของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาท่ตี นนับถือ พุทธประวัติ ต้ังแต่การ
บำเพ็ญเพียรจนถึงปรินิพพาน หรือประวัติของศาสดาที่ตนนับถือ ความหมาย ความสำคัญของพระไตรปิฎก
หรอื คัมภีร์ของศาสนาที่ตนนับถือ ช่ือและความสำคญั ของศาสนวัตถุ ศาสนสถาน ศาสนบคุ คลของศาสนาอื่น ๆ
แสดงความเคารพพระรัตนตรัย และปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนาหรือหลักธรรมของ
ศาสนาที่ตนนับถือ แสดงตนเป็นพุทธมามกะ หรือแสดงตนเป็นศาสนิกชนของศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตน
ในศาสนพิธีกรรม และวันสำคัญทางศาสนา และปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อสาวก ศาสนสถานศาสนวัตถุของ
ศาสนาที่ตนนับถือ เห็นคุณค่าและสวดมนต์แผ่เมตตา มีสติที่เป็นพ้ืนฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนาหรือการ
พัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติ
สาวกชาดก / เร่อื งเลา่ และศาสนกิ ชนตัวอยา่ งตามทก่ี ำหนด

หนา้ ท่ีพลเมอื ง วัฒนธรรม และการดำเนนิ ชีวติ ในสังคม

ศึกษาพฤติกรรมการดำเนินชีวิตของตนเอง และผู้อื่นที่อยู่ในกระแสวัฒนธรรมที่หลากหลาย
ประโยชน์ของการปฏิบัติตนตามประเพณีและวัฒนธรรมในครอบครัวและท้องถิ่น ความสำคัญของ
วันหยุดราชการที่สำคัญ บุคคลซึ่งมีผลงานที่เป็นประโยชน์แก่ชุมชนและท้องถิ่นของตน บทบาทหน้าที่ของ
สมาชิกของชุมชนในการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ตามกระบวนการประชาธิปไตย วิเคราะห์ความแตกต่าง
ของกระบวนการตัดสินใจในชั้นเรียน / โรงเรียนและชุมชน โดยวิธีการออกเสียงโดยตรงและการเลือกตัวแทน
ออกเสียง การเปลี่ยนแปลงในชั้นเรียน / โรงเรียนชุมชน ที่เป็นผลจากการตัดสินใจของบุคคลและกลุ่มปฏิบัติ
ตนตามประเพณแี ละวัฒนธรรมในครอบครัวและทอ้ งถนิ่

เศรษฐศาสตร์

ศึกษาทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดท่ีมีผลต่อการผลิตและบริโภคสินค้าและบริการ จำแนกความต้องการ
และความจำเป็นในการใช้สินคา้ และบริการในการดำรงชีวิต วิเคราะห์การใชจ้ ่ายของตนเองศกึ ษาถึงสินค้าและ
บริการที่รัฐจัดหาและให้บริการแก่ประชาชน ความสำคัญของภาษีและบทบาทของประชาชนในการเสียภาษี
อธิบายเหตุผลการแข่งขันทางการค้า ราคาสินค้าลดลง ภูมิศาสตร์ สำรวจข้อมูลทางภูมศิ าสตร์ในโรงเรียนและ
ชุมชนโดยใช้แผนผัง แผนที่ และรูปถ่ายเพื่อแสดงความสัมพันธ์ของตำแหน่ง ระยะ ทิศทาง วาดแผนผังเพ่ือ
แสดงตำแหนง่ ทตี่ ้งั ของสถานที่สำคญั ในบริเวณโรงเรียนและชมุ ชน อธบิ ายการใชป้ ระโยชนจ์ ากส่งิ แวดล้อมและ
ทรัพยากรธรรมชาติในการสนองความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ และการประกอบอาชีพ สาเหตุที่ทำให้เกิด
มลพิษโดยมนุษย์ ความแตกต่างของลักษณะเมืองและชนบท ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพกับ

๙๒

การดำเนินชีวิตของคนในชุมชน และมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชน เพื่อให้เกิดความรู้ ความ
เขา้ ใจ สามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนินชวี ิต มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มีคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ
ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ สามารถดำเนินชีวิตอย่างสันติสุขใน
สังคมไทย และสงั คมโลก สามารถนำความรู้ไปใช้ใหเ้ กิดประโยชนโ์ ดยใชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและ
สามารถนำไปประยุกตใ์ ช้กบั ชวี ิตประจำวนั ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องเหมาะสม
รหสั ตวั ชีว้ ัด
ส ๑.๑ ป.๓/ ๑, ป.๓/๒, ป.ต/๓, ป.๓/๔ , ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗
ส ๑.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ส ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ส ๒.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ส ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ส ๓.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ส ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒
ส ๕.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
รวมทง้ั หมด ๓๑ ตัวช้ีวัด

๙๓

คำอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน

รหสั วชิ า ส ๑๔๑๐๑ สังคมศึกษา กลมุ่ สาระการเรยี นรูส้ งั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม

ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๔ เวลา ๘๐ ชั่วโมง

ศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม

ศึกษาถึงความสำคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ พุทธประวัติตั้งแต่บรรลุธรรม
จนถึงประกาศธรรม หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น ๆ ความสำคัญ และมีส่วนร่วมในการ
บำรุงรักษาศาสนสถานทีต่ นนับถือ แสดงความเคารพ พระรัตนตรัย ปฏิบัติตามไตรสิกขาและหลกั ธรรมโอวาท
๓ ในพระพุทธศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือเพื่อการอยู่
ร่วมกันเปน็ ชาติได้อยา่ งสมานฉันท์ มีมารยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดี และปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม
และวันสำคัญทางศาสนา เห็นคุณค่า และประพฤติตนตามแบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติ
สาวก ชาดก เรื่องเล่า และศาสนิกชนตัวอย่าง สวดมนต์ แผ่เมตตา มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิใน
พระพุทธศาสนา หรอื การพัฒนาจติ ตามแนวทางของศาสนาท่ีตนนับถือตามท่ีกำหนด ชืน่ ชมการทำความดีของ
ตนเอง บุคคลในครอบครวั โรงเรียนและชมุ ชนตามหลักศาสนา พร้อมท้ังบอกแนวปฏบิ ตั ใิ นการดำเนนิ ชีวิต

หนา้ ที่พลเมอื ง วฒั นธรรม และการดำเนนิ ชีวิตในสังคม

ศึกษาวเิ คราะห์อำนาจอธิปไตยและความสำคัญของระบอบประชาธิปไตย ความสำคญั ของสถาบัน
พระมหากษัตริย์ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สิทธิพื้นฐานที่เด็กทุกคนพึง
ไดร้ ับตามกฎหมาย บทบาทหนา้ ที่ของพลเมืองในกระบวนการเลอื กต้ังความแตกต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มคน
ในทอ้ งถิ่นและเสนอวิธกี ารที่จะอยรู่ ว่ มกันอย่างสนั ตสิ ขุ ในชีวิตประจำวนั ปฏิบตั ิตนในการเป็นผนู้ ำและผู้ตามท่ีดี
และปฏิบัตติ นเปน็ พลเมอื งดตี ามวถิ ปี ระชาธิปไตยในฐานะสมาชิกที่ดีของชุมชน

เศรษฐศาสตร์

ศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อสินค้าและบริการ หน้าที่เบื้องต้นของเงิน สิทธิพื้นฐานและ
รกั ษาผลประโยชน์ของตนเองในฐานะผบู้ ริโภค หลักการของเศรษฐกิจพอเพียงและความสัมพนั ธ์ทางเศรษฐกิจ
ของคนในชมุ ชนนำหลักการของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั ของตนเอง

ภมู ศิ าสตร์

สืบค้น อธิบาย ระบุแหล่งข้อมูลลักษณะทางกายภาพในจังหวัดของตน ด้วยแผนที่และรูปถ่าย
แหล่งทรัพยากรและสถานที่สำคัญในจังหวัดของตนด้วยแผนที่และรูปถ่าย ลักษณะทางกายภาพที่ส่งผลต่อ
แหล่งทรัพยากรและสถานที่สำคัญในจังหวัด วิเคราะห์ อธิบาย นำเสนอ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่ส่งผลต่อ
การดำเนินชีวิตของคนในจังหวดั การเปลย่ี นแปลงส่งิ แวดล้อมในจังหวัดและผลทีเ่ กดิ จากการเปลี่ยนแปลงและ
นำเสนอแนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อมในจังหวัด เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัติในการ

๙๔

ดำเนนิ ชีวิต มคี ณุ ธรรม จริยธรรม มคี ณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝ่
เรยี นรู้ รกั ความเป็นไทย มจี ิตสาธารณะ สามารถดำเนินชวี ติ อย่างสนั ติสุขในสังคมไทย และสงั คมโลก สามารถ
นำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับ
ชีวิตประจำวนั ไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสม
รหัสตัวชี้วดั
ส ๑.๑ ป.๔/ ๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘
ส ๑.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ส ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕
ส ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ส ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ส ๓.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒
ส ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ส ๕.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
รวมทง้ั หมด ๓๐ ตวั ชี้วัด


Click to View FlipBook Version