The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by เอกสารเผยแพร่, 2019-10-19 21:57:53

-7

-7

กรกฎาคม 2557 พมิ พ์คร้ังแรก
เลขมาตรฐานประจำ�หนังสอื ..........

ท่ีปรกึ ษา นายอภิชาติ จีระวฒุ ิ
เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน
ดร.เบญจลกั ษณ์ นาํ  ฟา้
รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
นางพจมาน พงษ์ไพบลู ย์
ผูอ้ �ำ นวยการสำ�นักพัฒนานวตั กรรมการจัดการศกึ ษา

บรรณาธิการอ�ำ นวยการ นางพนดิ า วิชยั ดษิ ฐ์
ผู้เขยี น นางสาวโอปอล์ ประภาวดี นางปาหนนั หมี มนิ ะ๊

ภาพประกอบ อกนิษฐ์ ศรีสุทธิวงศ์ มณีรัตน์ นานาประเสริฐ
จัดหนา้ กระดาษ อกนษิ ฐ์ ศรีสทุ ธวิ งศ์
ออกแบบปกและรปู เล่ม สุรตั ิ โตมรศกั ด์ิ (www.try2benice.com)
ภาพประกอบหนา้ ปก สรุ ตั ิ โตมรศักด์ิ (www.try2benice.com)

จดั พิมพ์โดย
ส�ำ นักพฒั นานวัตกรรมการจดั การศกึ ษา
ส�ำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
อาคาร สพฐ.5 ชนั้ 10 กระทรวงศึกษาธิการ
เลขท่ี 319 วังจันทร์เกษม ถนนราชด�ำ เนนิ นอก เขตดสุ ติ
กรงุ เทพมหานคร 10300
โทรศัพท 02 2885895 โทรสาร 02 2815216
เวบ็ ไซต์ http://www.obec.go.th/

สารบัญ

ก็ไม่รสู้ ินะ...ของเจ้าหนจู ำ�ไม 7
โสริ่งงปเรรียะนดนษิ วฐม์ :นิ ทไมร้เาทช้าทู สิศารพพาัดยปพั ระจโ.เยชชียนง์ใMหมa ่gic can e 33
เมลด็ พันธ์พุ ิเศษ 55
77
สิง่ ประดิษฐ์ : ปิน่ โตอเนกประสงค์ 3 in 1 103

ข โรองเรงียฝนาวกดั ชจ่าางกเคพี่ยน่อ จ.เชยี งให ม ่

ส่ิงประดิษฐ์ : เครอ่ื งมือวดั ทางวทิ ยาศาสตรส์ �ำ หรับผู้ทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางการมองเหน็

โรงเรียนขอ นแก่นวิท ยายน อ.เม อื ง จ.ขอน แกน่
แรงบันดาลใจคอื พลังงานอยา่ งหน่ึง
สโรงิ่ งปเรรยีะนดบษิ ้าฐน์ :ปเอคบรื่อิดงจแ.ยนกคเรหรรายี ชญสีมา
เครอ่ื งท ้ิงสง่ิ ปฏ ิกูลทา งความคิด

สงิ่ ประดิษฐ์ : อุปกรณ์ดูดสง่ิ ปฏกิ ลู ในบอ่ ปลาสวยงาม
โรงเรียนปทุมเทพวทิ ยาคาร จ.หนองคาย

สงิ่ ประดษิ ฐท์ ค่ี ดิ คน้ คือเคร่ืองมอื สร้างคน สรา้ งชวี ิต 129
165
ส่ิงประดษิ ฐ์ : เครื่องแยกเย่อื หมุ้ เมลด็ ถวั่ ลิสง 209
โรงเรียนอยุธยาวิทยาลยั 243
281
ทางสายเปล่ียน

ส่ิงประดษิ ฐ์ : เครอื่ งปอกเปลือกไข่ต้ม

โรงเรยี นสตรีวิทยา
ฝนั และหวงั

สิ่งประดษิ ฐ์ : อุปกรณ์ช่วยเจาะแนวต้ัง

โรงเรยี นวดั สงั วรพิมล ไพบลู ย์ (จ นั ทานกุ ูล) สพป.นนท บรุ ี
มองใหง้ ่าย แล้วจะเหน็ ปน้ั ใหเ้ ป็นแลว้ จะเจอ

สิ่งประดิษฐ์ : งบั ลอ๊ ค (Ngub Lock) 

โรงเรยี นหาดใหญร่ ฐั ประชาสรรค์

(เปิด) กะลา (ออกก )็ พอ

สง่ิ ประดิษฐ์ : อปุ กรณต์ รวจสอบวงจรไฟฟ้าภายในบา้ น (Test Lamp)
โรงเรียนบ้านกะลาพอ อ.สายบุรี จ.ปัตตาน ี



1

กไ็ มร่ ู้สนิ ะ...ของเจา้ หนูจ�ำ ไม

กลบั มาจากการคว้ารางวลั เป็นกระบุง จากงาน International Exhibition
for Young Inventors (IEYI-2013)  ณ กรุงกัวลาลมั เปอร์ ประเทศมาเลเซยี แลว้
สองหนมุ่ กก็ ลายเปน็ ซปุ ตาร์ และ ดิ ไอดอล สำ�หรับเพื่อนๆ และนอ้ งๆ โรงเรยี น
นวมินทราชูทิศ พายัพ ไปในบัดดล

7

สิ่งประดิษฐ์ : ไม้เท้าสารพดั ประโยชน์ Magic cane
โรงเรียนนวมนิ ทราชูทศิ พายพั จ.เชียงใหม่
8

นอกจากเพ่ือนๆ และนอ้ งๆ จะช่นื ชมในความเปน็ นกั ประดษิ ฐ์ทีม่ งุ่ มน่ั ของ
สองหนุม่ แล้ว เหตุและปัจจยั อีกอย่างท่ีสองหนุ่มมี FC (แฟนคลับ) จ�ำ นวนมากคือ
คนเหลา่ นัน้ รสู้ กึ ปลาบปลม้ื ที่ ได้เหน็ (และเออ่ ...แหะๆ ไดเ้ ห่อด้วย) ทสี่ องหนุ่มได้
ออกส่อื เป็นว่าเลน่ ทง้ั ในทีวบี ้าง หนังสอื บา้ ง
เดก็ วยั รุ่นซง่ึ เปน็ วัยท่กี �ำ ลงั อยากมตี วั ตนอยา่ งคนอ่ืนๆ ไม่กรีด๊ และอจิ ฉาได้
อย่างไร
เปากับปล้ืม หรอื ปวเรศ พรหมมาลา กบั ปัณณวชิ ญ์ สามแกว้ เป็นเด็ก
หนุ่มทค่ี ลั่งไคล้วทิ ยาศาสตร์ และชอบการประดษิ ฐค์ ิดค้นมาตง้ั แตอ่ ้อนแตอ่ อก
การชอบของพวกเขาไม่ไดเ้ กิดข้นึ อยา่ งลอยๆ ไมม่ ีปีไ่ ม่มขี ลุ่ย แตม่ ีเหตุ
ปจั จยั มาจากการกระตุ้นและสรา้ งวิธีคดิ มุมมองแบบนักวทิ ยาศาสตรใ์ หเ้ กิดขึ้นกบั
พวกเขา

“กอ่ นน้เี ขาเปน็ เจา้ หนูจ�ำ ไม (หัวเราะล่ัน) เจออะไรก็จะทำ�ไมๆๆๆ ถามๆๆๆ
อยนู่ ั่นล่ะ ผมคดิ ว่าไอค้ ำ�ถาม “ท�ำ ไม” นีล่ ะ่ สำ�คญั ผมจะใช้วิธไี ม่ตอบในทันที

9

นน้ั จ�ำ ไม? น่ีจ�ำ ไม?
โน้นจำ�ไม?

10

แตจ่ ะบอกกลับไปว่าใหเ้ ขาไปคน้ เอง บางทพี ่อก็ไมร่ ู้เหมอื นลกู ลกู ไปดู
ซมิ นั เกดิ จากอะไร ไปดู ไปคน้ ด้วยตัวเองได้แลว้ มาบอกพอ่ ดว้ ยนะ อะไรอยา่ งนี้”
อาจารยบ์ ญุ เลศิ สามแกว้ พอ่ ของนอ้ งปล้ืมเลา่

“ส่วนพอ่ ผมกไ็ มต่ า่ งจากพอ่ ปล้ืมเลยครับ ผมจะชอบสงสยั และถามพอ่ อยู่
เสมอว่า ไอน้ ั่นไอน้ ี่ท�ำ งานอย่างไร พอ่ กจ็ ะไมต่ อบและจะถามกลับเชน่ กัน

นอกจากน้บี างทที ผ่ี มเกดิ ปัญหา เชน่ ผมเคยขเ่ี วสปา้ ไปกับพ่อ แลว้ รถ
ดับ ผมกท็ ันทีเลย สงสัยนาํ  มนั หมดนะพ่อนะ แตพ่ อ่ เอ็ดว่าอย่าเพง่ิ ดว่ นสรปุ สิ และ
ลองไปดซู วิ า่ เกิดจากอะไร นักวิทยาศาสตรต์ อ้ งแก้ปญั หาเองเปน็ พ่อพูดอยา่ งน้ีเลย
ลองตงั้ สมมติฐานไว้หลายๆ สาเหตุ พ่อสอนอย่างนี้เสมอ สรุปงานนน้ั เกดิ จากนาํ  มนั
ร่ัว คาบเู รเตอร์ เลยไม่ท�ำ งานฮะ...”

เปาเลา่ จอ๋ ยๆ
“สองหนุ่มน่เี ขาจะเหมอื นเดก็ “เนริ ด์ ” น่ะคะ คือชอบค้นคว้า ชอบทดลอง
ยิง่ อย่ใู นวัยร่นุ อย่างน้ีดว้ ยแลว้ อยากรอู้ ะไรต้องรู้ให้ได้ อยากท�ำ อะไรต้องทำ�ให้ได้
กระตอื รอื ร้นตลอดเวลา เรากไ็ ด้รับไฟจากเขาด้วย”

11

“นกั วทิ ยาศาสตร์
ตอ้ งแก้ปญั หาเองเป็น”
พอ่ พูดอย่างนเี้ ลย

12

อาจารยส์ ุพิชสิณี โรจนจ์ ันทร์ดา อาจารย์ทีป่ รึกษาของหนมุ่ ทงั้ สองกลา่ ว
ใครๆ ในโรงเรยี นนวมินทราชทู ศิ ฯ แหง่ นีต้ ่างก็รู้ดวี า่ อาจารยส์ ุพชิ สณิ ี โรจน-์
จนั ทรด์ า เป็นอาจารยภ์ าควชิ าวทิ ยาศาสตร์ และชอบชกั ชวนเดก็ ๆ ให้ทำ�งานประดษิ ฐ์
เปากับปลื้มพอทราบขา่ วปบุ๊ กร็ ีบมาสมัครเปน็ สมาชิกชมรมก่อนใคร จนอา
จารยส์ ุพชิ สณิ ี แซววา่ นอกจากเป็นสมชิกธรรมดาแล้วสองหนมุ่ ยงั เปน็ สมาชกิ VIP
กล่าวคือ ยงั ตามติดอาจารย์ไปทบี่ ้านเสมอๆ คลา้ ยๆ กับวา่ อนุ่ ใจซะเหลือเกนิ ท่ีได้อยู่
ใกลๆ้ ครู
“…เขาว่าที่ตามตดิ เพราะพอมีปญั หาอะไรเขาจะได้ถามไดท้ นั ที (หวั เราะ) แต่
เราจะไมต่ อบเขาในทนั ทนี ะ เราจะเน้นให้เขาคิดเอง ทำ�เอง จะบอกเขาวา่ เธอวา่ ดไี หม
ล่ะ ท�ำ แล้วมนั จะเปน็ อยา่ งไรตอ่ จะใหเ้ ขาคดิ เอง แตค่ อยช่วย คอยช้แี นะอย่ใู กล้ๆ
"อนั ที่จริงครวู า่ ครไู ม่ใชส่ อนเรอื่ งสง่ิ ประดิษฐอ์ ย่างเดยี ว สอนเรอ่ื งอนื่ ๆ ด้วย
สอนการใชช้ ีวติ สอนเร่ืองความสัมพนั ธ์กับคนอน่ื ครูถอื วา่ โชคดที เี่ ดก็ ๆ ชอบคยุ กับ
ครู ไมเ่ คยรสู้ กึ รำ�คาญเลย เพราะสงิ่ ทนี่ า่ กลัวคือเดก็ สมัยน้ชี อบคุยกับคอมพิวเตอร์

13

มากกว่าคยุ กบั คน เดก็ บางคนกบั พ่อแม่ยังไมย่ อมคุยเลย น่จี ะเป็นปญั หาตามมา"
ได้ยินอย่างน้ีแล้ว พอ่ แม่ ผปู้ กครองทา่ นใดอยากฝึกใหล้ กู มีใจรักใน
วิทยาศาสตร์ หรือการประดิษฐค์ ิดคน้ คงพอมองเหน็ ทางเลาๆ แลว้ ละมงั ว่าต้อง
สรา้ งบรรยากาศรอบตัวลูกให้เปน็ อยา่ งไรบ้าง

14

2

“ยาย คุณยาย!!!!”
เปาร้องตะโกนลัน่ เม่ือเหน็ ภาพเบอ้ื งหนา้
ทนั ทที ี่เขาเปิดประตหู ้องนาํ  ออกมาเหน็ คุณยายนอนเปน็ ลมอยู่ ซ่งึ มาทราบ
ทีหลงั ว่า เป็นเพราะคณุ ยายหนา้ มืด ดว้ ยพยายามก้มลงเกบ็ ของ
หลังจากท่ีปฐมพยาบาลคุณยายจนฟื้นแลว้ เปาก็รสู้ ึกหว่ันใจ หลายเดอื น
มานคี้ ุณยายสขุ ภาพทรุดโทรมลงมาก เหน็ ทเี ขาคงต้องชวนคณุ ยายออกก�ำ ลังกายยดื
เส้นยดื สายมากกว่าน้ี

15

16

แต่กระน้ันกต็ าม เขาก็นกึ พะวงวา่ แล้วตอนท่เี ขาไมอ่ ยู่ หรือเวลายายตอ้ งอยู่
ล�ำ พัง หากเกิดเหตุอยา่ งนีข้ ึ้นมาอีกจะท�ำ อย่างไร

เปาคิดไปสะระตะ ใช่เพียงแตค่ ณุ ยายเขาเทา่ นน้ั เมอ่ื ไดต้ ดิ ตามขา่ วสารบ้าน
เมอื ง มีขอ้ มลู รายงานว่าอีกไมน่ านสงั คมไทยก็จะเขา้ สู่สงั คมผสู้ ูงอายแุ ลว้ นนั่ คือจะ
มีจำ�นวนผู้สงู อายุเพ่มิ ขน้ึ เรอ่ื ยๆ

ในขณะเดียวกันสังคมไทยยังไม่มีมาตรการหรือสิ่งอำ�นวยความสะดวกใดๆ
รองรบั ปัญหานอ้ี ยา่ งจริงจังเลย

“...จะท�ำ อยา่ งไรดีนา้ าาาา”
เปาคิดวนเวียน เพราะเขาทงั้ รกั ทงั้ ห่วงคุณยาย
“...เฮอ้ ...อยากใหม้ ใี ครทำ�อะไรเพ่อื ผสู้ ูงอายุเพิ่มขน้ึ กวา่ นจ้ี ังเลย...”
เปาได้แตเ่ กบ็ งำ�ความคดิ น้ไี ว้
“เอาล่ะ กลับไปคดิ ไดแ้ ลว้ ว่าจะประดษิ ฐ์อะไร ทีส่ ำ�คัญขอใหต้ ้ังคำ�ถามวา่ ส่ิง

17

ประดิษฐ์นั้นตอบสนองอะไร ทำ�แลว้ ขอใหส้ งิ่ ประดิษฐน์ น้ั เกดิ ประโยชนก์ บั คนอน่ื ๆ
ไม่ใช่คดิ แต่เร่อื งความแปลกความเจ๋งอยา่ งเดยี ว”

อาจารย์สพุ ิชสณิ ี ยาํ 
“...เอาไงดลี ะ่ เปา เราจะท�ำ อะไรกันดลี ่ะ ย่งิ อาจารยย์ าํ  มาดว้ ยว่าต้องเรง่
แล้ว เวลางวดเข้ามาทกุ ที เฮ้อ แถมชว่ งนีเ้ ราเองกไ็ ม่ค่อยว่างดว้ ย เพราะตอ้ งคอย
ดแู ลคุณปู่ ทา่ นไม่ค่อยแข็งแรง ปวดเขา่ เกอื บขมำ�หลายรอบแลว้ ...”
“อา้ ว แล้วปไู่ มม่ ไี มเ้ ทา้ ช่วยพยุงเหรอปลื้ม” เปาถามกลบั
“มี แต่น่นั แหละบางทที า่ นก็ต้องกม้ ลงเก็บของ หน�ำ ซาํ  บางทีตากไ็ มด่ ี เดิน
ไปกช็ นโน่นน่ีน่นั อย่เู รื่อยเลย...เฮ้อ...สงสาร...”
เปาเงยี บไปสกั พกั หน่งึ หนั มาทางปลื้ม จากนน้ั ดีดนิว้ เปา๊ ะ !!
“ปลมื้ เราร้แู ล้ววา่ จะประดษิ ฐอ์ ะไร ตรง ตอบโจทย์ และโคตรมปี ระโยชน์
เลย”

18

หลังจากนั้น ส่ิงประดษิ ฐ์ Magic cane หรอื ไมเ้ ทา้ สารพัดประโยชน์ ก็ค่อยๆ
กอ่ ตัวเป็นรปู เปน็ รา่ งมากข้ึน พวกเขาพากันแยกย้ายไปคุยกบั คณุ ยาย คณุ ปู่ เพอ่ื ถาม
ถงึ ปัญหาท่ีพบเจอระหวา่ งทใ่ี ช้ไม้เท้า และอยากใหไ้ มเ้ ท้าน้นั มหี นา้ ทเี่ พ่ิมข้ึนอยา่ งไร
บ้าง ฟังแลว้ กจ็ ดๆๆ จากนัน้ กน็ ำ�ปัญหาทไ่ี ด้ประมวลร่วมกัน แล้วจงึ น�ำ ไปเสนอกบั
อาจารย์สุพิชสิณี

พวกเขาพบว่าไม่ใช่เฉพาะแค่ผู้สูงอายุเท่านั้นท่ีต้องพบกับปัญหาในการ
ทรงตวั คนท่วั ไปทีม่ ปี ญั หาเร่ืองสขุ ภาพ ก็มกั มปี ญั หาเร่อื งการทรงตวั เช่นกนั ไม่ว่าจะ
เป็นคนพกิ ารทางขา คนทเ่ี ปน็ อัมพฤกษ์ คนท่เี จบ็ ขอ้ เท้า ปวดเข่า คนอว้ น คนเปน็
โรคเก๊าท์ ลว้ นตอ้ งอาศัยไม้เทา้ ช่วยพยุงในการเดิน

และพบอกี ปัญหาท่ีเหมอื นๆ กันอกี อย่างหนงึ่ คอื เวลาของตกลงพนื้ แล้ว
ต้องก้มลงเก็บมักทำ�ใหม้ อี าการหน้ามดื หรอื ลม้ คะมำ�ได้ ไม้เท้าท่มี ีขายในทอ้ งตลาดก็
มหี นา้ ทแี่ คช่ ว่ ยพยงุ รบั นาํ  หนกั ในการเดนิ ทางเท่านั้น ยงั ไม่สามารถตอบสนองความ
ตอ้ งการไดใ้ นอกี หลายๆ หน้าที่

19

เปาและปล้ืมจงึ คดิ ท�ำ ไมเ้ ท้าที่ครอบคลมุ การใช้ประโยชนใ์ ห้มากทีส่ ุด โดย
เพ่ิมชุดเตือนภยั เซน็ เซอร์ สำ�หรับคนตาบอดหรือคนทบ่ี กพร่องทางการมองเห็น

ทงั้ ยังช่วยส่งสัญญาณเตอื นภยั ได้อีกทางหนึ่ง เพราะเม่อื เกดิ อบุ ตั เิ หตุลม้
ลง สัญญาณจากเซ็นเซอรจ์ ะส่งเสียงดัง ส่วนคีมคีบจะชว่ ยคีบของโดยไมต่ ้องก้มตัว
ลงเกบ็ มีไฟฉายไว้ส�ำ หรบั ส่องสว่างในตอนกลางคนื มกี รง่ิ สัญญาณขอทาง พรอ้ ม
กันน้ียงั สามารถปรับระดับสงู ตา่ํ ได้อกี ด้วย

อะ๊ ๆ อยา่ เพิ่งเขา้ ใจผิดวา่ ท้ังหมดทั้งมวลนหี้ าได้ใชเ้ งินในการท�ำ เป็นเรอื น
หม่นื เรือนแสน หากพวกเขาบอกวา่ ใช้เงนิ ไปกับการนเ้ี พียง 400 บาท!!

เพราะอุปกรณท์ น่ี �ำ มาทำ�นน้ั ประกอบด้วยวสั ดอุ ปุ กรณ์ท่รี าคาไมแ่ พง หา
ได้ง่ายในทอ้ งถิ่น ไม่ว่าะเป็น ทอ่ พวี ซี ี เซนเซอร์ตรวจจบั วสั ดุ คมี คีบของ ไฟฉาย
เบรกรถจักรยาน กรงิ่ สญั ญาณ สวทิ ซไ์ ฟขนาดเลก็ ล�ำ โพงขนาดเลก็ ฯ
เรยี กวา่ ราคาเรอื นรอ้ ยแต่คณุ ประโยชนเ์ รือนลา้ นกันทีเดียวเชียว

20

21

22

3

สองหนุ่มนอ้ ยเล่าว่า พวกเขาไมเ่ พียงพบเจอเรอ่ื งราวและประสบการณด์ ๆี
จากการท่มุ เทเพอื่ ทำ�ส่ิงประดิษฐเ์ พยี งเทา่ น้ัน
หากยังไดพ้ านพบประสบการณ์ดีๆจากการเดนิ ทางไปรว่ มงาน International
Exhibition for Young Inventors (IEYI-2013) ณ กรุงกวั ลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซยี
มากกวา่ มาก
“มันไม่ใชแ่ คป่ ระสบการณ์จากการได้เดินทางไกลนะครบั ระหว่างเดินทาง เรา
ยงั ได้เรยี นรอู้ ะไรมากมาย แม้กระทั่งการน่งั รถ ทานข้าว ที่พกั คณุ ครจู ะคอยบอกว่าให้

23

พวกเราสังเกตอาหารตึกรามบ้านชอ่ งชองบา้ นเขาว่าเปน็ อย่างไร เทียบกบั ประเทศ
เราแลว้ เปน็ อยา่ งไร อนั ไหนเหมือน อันไหนต่าง ส่ิงเหลา่ นีม้ ันมีความสำ�คญั กบั เราไม่
นอ้ ยนะครับ”

เปาเลา่
“ผมเคยกลัวคนมสุ ลิม เคยคดิ ว่าประเทศมาเลเซียคงน่ากลวั บ้านเราคง
พฒั นากว่า แตท่ ไี่ หนได้ ผมวา่ ของขาพัฒนากว่าเรานะครบั ไปแลว้ ก็ฮกึ เหิมกลับมา
อยากขยันเรียน อยากท�ำ ตวั มปี ระโยชน์ จะไดเ้ ปน็ คนท่ีมคี ณุ ภาพ พัฒนาบา้ นเมอื ง
ของเราบา้ ง”
ปลม้ื ส�ำ ทบั
“...โอโห ปลม้ื พูดเหมอื นผู้แทนเลย ต่อไปถ้านายสมัคร สส.เราจะเลือกนาย”
เปาแซวเพือ่ นรกั จากน้นั ทงั้ วงกห็ ัวเราะกนั ครนื

อยา่ งไรก็ตามเดก็ ๆ เลา่ ว่า การทำ�ส่งิ ประดิษฐใ์ นโรงเรียนน้นั ยังไมน่ ่ากลัว
เทา่ กบั การออกไปน�ำ เสนอผลงานในเวทีตา่ งๆ ท้งั ในระดบั จังหวดั ระดบั ภาค และ
โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ระดับประเทศ

24

และอาจถือเป็นความโชคดี เพราะหน่มุ เปา หรอื ปวเรศ นน้ั ค่อนข้างจะ
เจนเวทีหนอ่ ย เนือ่ งดว้ ยในปที ี่แลว้ ก็สามารถสง่ ผลงานประกวดชนะเลิศมาแล้วเช่น
กัน จงึ มปี ระสบการณ์และความเจนเวทรี ะดับหนง่ึ เปาได้ชว่ ยฝึกซอ้ มการนำ�เสนอ
ให้เพ่ือนปลื้มไปในตวั

“ถงึ อยา่ งไรๆ ผมก็ยังเขนิ อย่ดู ีล่ะฮะ ผมว่าการนำ�เสนอยากกว่าการคดิ ส่งิ
ประดิษฐอ์ กี โดยเฉพาะการตอ้ งพยายามพูดภาษาอังกฤษใหถ้ นดั โอ...ไม่งา่ ยเลย
ครบั ”

เปาเลา่ ไปหวั เราะไป
อยา่ งไรก็ตามทงั้ ครูและศษิ ยผ์ ลดั กันเล่าว่า ท่ีนี่ใหค้ วามส�ำ คัญกบั การฝึก
ซอ้ มการน�ำ เสนอ และ การส่ือสารมาก พวกเขาสามารถถอดบทเรียนและสรุปออก
มาเป็นขอ้ ๆ เพ่อื ทำ�เปน็ แนวทางไว้สำ�หรับน้องๆ รุน่ ต่อไป

ทั้งนพี้ วกเขาบอกวา่ ไม่หวงวชิ าแตอ่ ยา่ งใด เพราะอยากเหน็ คนไทยคน
อนื่ ๆ รับโอกาสเหมือนตวั เอง

25

แต่กระนนั้ ก็เถอะ คณะครูและหนมุ่ นอ้ ยนกั ประดิษฐบ์ อกวา่ พวกมีหลัก
ในการน�ำ เสนอไว้งา่ ยๆ ดังน้ี

ตอ้ งเขา้ ใจเรอ่ื งราวอยา่ งถอ่ งแท้ อยา่ ทอ่ งจ�ำ ความเขา้ ใจจะทำ�ใหเ้ ลา่ เรอ่ื ง
ได้อย่างไมต่ ิดขดั สามารถเดินเรอ่ื งไดต้ อ่ เนือ่ ง ทั้งๆท่ีมีคำ�ถามจากผู้ฟงั ในทางตรง
กนั ขา้ ม การทอ่ งจำ�อาจท�ำ ใหต้ กมา้ ตายได้เพราะความตืน่ เตน้

ลลี าของการน�ำ เสนอท่ดี ีคอื ท�ำ ตวั ผ่อนคลาย แสดงออกอย่างชัดเจนถึง
ลกั ษณะเฉพาะตัวของผูน้ �ำ เสนอ หวั ใจของการนำ�เสนอไม่ใช่อยูท่ ่ี “สาระ” แตอ่ ยู่
ที่ “ตวั ผ้นู ำ�เสนอ” การท�ำ ตัวตามสบายทำ�ให้ความเป็นตวั เองถกู ฉายแสงออกมา

วิธีการนำ�เสนอมคี วามส�ำ คัญกว่าเนื้อหาในการน�ำ เสนอ เคยมีการวิจัยวา่
การตัดสินใจของผู้ฟังเปน็ ผลพวงมาจากวธิ ีในการนำ�เสนอ ซง่ึ ขอ้ มลู น้กี ลับหัวกลบั
หางกับส่ิงทีค่ นทว่ั ไปรู้ ผลการวิจัยบอกว่าถา้ มีความม่นั ใจในการน�ำ เสนอ จะแสดง
ถงึ ความมงุ่ มัน่ และจะทำ�ให้ผฟู้ ังเลือกข้อเสนอของเรา เพราะเราจะเป็นคนทเ่ี ขา
เช่อื ใจ

26

การน�ำ เสนอท่ีมพี ลงั เกดิ จากสามปจั จัยหลกั คือ หนง่ึ ความชัดเจน สองความ
สามารถในการโนม้ น้าวผฟู้ งั ให้คล้อยตาม สดุ ท้ายคอื เสนห่ ข์ องการน�ำ เสนอ ซงึ่ เป็น
เป็นความสามารถเฉพาะตัวทแ่ี ต่ละคนต้องไปพฒั นากันเอาเอง

ระหวา่ งทม่ี กี ารน�ำ เสนอต้องท�ำ ใหเ้ กิดชอ่ งวา่ งในการนำ�เสนอ เพอ่ื ใหผ้ ู้ฟงั มี
เวลาคดิ และประมวลผล ความเงียบสร้างใหเ้ กดิ ความคล้อยตาม

ข้อสดุ ท้ายคือ จงซอ้ ม ซอ้ ม และซอ้ ม ไม่วา่ จะเกง่ สักแค่ไหนก็ตาม
หนมุ่ เปาและหนมุ่ ปลมื้ ทิง้ ท้ายไวอ้ ยา่ งหนกั แน่น
พวกเขามีรางวลั ตา่ งๆ เปน็ ตัวการนั ตดี งั น้ี
1. ชนะเลศิ เหรยี ญทองอันดบั หนง่ึ สาขา safety and help
2. โล่ International Exhibition for Young Inventors 2013 BEST
INVENTION Technology for special needs
3. Certificate of Award the GOLD MEDAL International Exhibition
for Young Inventors 2013
4. เหรยี ญรางวัล Leading Innovation Award 2013 ( คะแนนรวมสูงสดุ )
INTERNATIONAL INTELLECTUAL PROPERTY NETWORK FORUM

27

ทง้ั หมดนคี้ ือประจักษพ์ ยานท่ยี นื ยนั ว่า ความเป็นหนนู ้อยจำ�ไมของพวกเขา
ไมเ่ ปล่าดาย

ประโยควา่ จำ�ไมๆๆๆ ในวยั เยาว์พาเขากา้ วมาไกลจนถงึ ทกุ วนั นไ้ี ด้
เชือ่ หรอื ไมเ่ ชอ่ื กต็ ามแต่
ก็ไม่รูส้ นิ ะ...

28



ผลงานสงิ่ ประดิษฐท์ างวิทยาศาสตร์ ไมเ้ ทา้ สารพัดประโยชน์ Magic cane
จัดท�ำ ขึ้นเพ่อื ชว่ ยเหลอื บคุ คลทม่ี ปี ัญหาการทรงตัว คนแกช่ รา คนพกิ ารทางสายตา
และบุคคลทป่ี ระสบอบุ ัตเิ หตุท่ีต้องไม้เท้าช่วยในการพยงุ ในการเดิน ให้สะดวกในการ
เดนิ ท่ปี ลอดภัยมากขึ้น เพราะการกม้ หยิบของตา่ งๆ ของคนท่ีมกี ารทรงตัวท่ไี มด่ ี หรอื
กม้ ลงยาก หลงั ไมส่ ามารถโคง้ งอไดต้ ามปกติ เนอื่ งจากความชราของคนแก่ บางคร้งั
กม้ ๆ เงยๆ อาจทำ�ให้หน้ามืดได้

ทางกลุม่ จงึ คดิ ประดิษฐ์ไม้เท้าชนิดนีข้ ึ้นมาโดยอาศยั การท�ำ งานที่ไม่ซับซอ้ น
แต่ไดผ้ ลทางการปฏิบตั ิใชไ้ ด้ดจี รงิ โดยไดป้ ระดษิ ฐ์จากวัสดุท่ีเหลือใชจ้ ากจักรยาน
(เบรกจกั รยาน) เซน็ เซอร์ถอยหลงั รถยนต์ และทอ่ พีวีซี น�ำ มาประกอบกนั เปน็ ไม้เทา้
สารพดั ประโยชน์ ซง่ึ สามารถช่วยเหลอื บคุ คลที่มีปัญหาดังกล่าวได้จริง



1

เมล็ดพันธุ์พิเศษ

อาจเป็นเพราะไมโครเวฟเปน็ ที่นยิ มเพราะรา้ นสะดวกซ้ือ หรอื เพราะการ
จราจรที่แสนติดขัดท่ัวทุกเมืองทำ�ให้ป่ินโตเถาน้อยท่ีมีอาหารรสมือแม่ของพวกเรา
พากนั หายไปจากชีวติ ประจ�ำ วนั

33

สงิ่ ประดษิ ฐ์ : ปิ่นโตอเนกประสงค์ 3 in 1
โรงเรียนวดั ชา่ งเคย่ี น จ.เชยี งใหม่
34

กอ่ นน้เี ดก็ นกั เรียน คนทำ�งาน ไปท�ำ บุญที่วดั ตา่ งกห็ ิ้วปน่ิ โตกนั ไปท้ังนัน้
และสงิ่ ประดิษฐ์คดิ คน้ ของน้องเอกและน้องสมพงษ์ นกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีท่หี นึง่
แหง่ โรงเรยี นวัดช่างเค่ียน อาจทำ�ให้ปนิ่ โตกลบั มาไดร้ ับความนยิ มอกี หนกเ็ ป็นได้

ใครจะรู.้ ..
เพราะหากสิง่ ประดษิ ฐ์ ป่ินโตอเนกประสงค์ 3 in 1 เถาน้ี ถกู พัฒนาตอ่ ยอด
ไปเปน็ สนิ ค้าที่สะดวกใช้ พวกเราจะไดท้ านข้าวหรอื อาหารอร่อยๆ จากฝีมอื คนที่เรา
รัก ย่ิงหากใครนำ�ส่งิ ประดษิ ฐช์ ิน้ นีไ้ ปตอ่ ยอดใหส้ ามารถชาร์จความอ่นุ เขา้ กับรถยนต์
เหมือนชาร์จแบตเตอรี่โทรศพั ทล์ ะก็ ยิง่ ใชง้ ่ายเขา้ ไปใหญ่
ช่วงเวลาท่ีรถตดิ ก็อาจเปน็ ช่วงเวลาของการทานอาหารท่อี ่ิมอรอ่ ย อุ่นในรัก
ฉํา่ ในความเย็น จากฝีมอื ของผทู้ ำ�อาหารและการตระเตรียมมาใส่ในปน่ิ โตเถานั้นมา
ให้ก็เปน็ ได้
ใครจะร.ู้ ..
เดก็ ชาย เอก ตยิ ะ เล่าวา่ ตอนแรกท่ีอาจารย์นารีย์ หมนื่ แจม่ รองผอู้ ำ�นวย-
การโรงเรียน และ อาจารยส์ พุ จน์ สุรีย์ตบิ๊ อาจารยท์ ่ปี รึกษาในโครงการฯ ตง้ั โจทย์

35

ท�ำ เล็กๆ
แตค่ นท่ัวไปได้ใช้จริงๆ
ดกี วา่ ทำ�ใหญๆ่
แล้วอยู่บนหิง้ ไม่มีใครไดใ้ ช้

36

มาวา่ ให้พวกเขาไปคดิ ค้นส่ิงประดิษฐม์ านนั้ เขากับสมพงษ์คดิ จนหัวจะแตกกค็ ดิ ไม่
ออก

เนอ่ื งด้วยพวกเขามกั จะคิดแต่สิง่ ประดิษฐ์ท่ยี ่งิ ใหญซ่ บั ซอ้ น “ทำ�แล้วอยาก
ทำ�ใหโ้ ลกลือ”

สองหนุ่มน้อยว่าพลางปล่อยเสียงหัวเราะเบาๆ

“แต่แลว้ อาจารยส์ พุ จน์ก็เตอื นสติให้ไดค้ ดิ ครบั ท่านยาํ  วา่ ส่ิงประดิษฐท์ ี่
ทำ�นน้ั ควรประกอบดว้ ยหลักสำ�คญั คอื 1. คนทวั่ ไปใชไ้ ด้ 2. ควรเปน็ เครื่องมอื ท่ี
ประหยัด และ 3. ช่วยลดโลกรอ้ น

"ทา่ นว่าทำ�เล็กๆ แตค่ นท่ัวไปได้ใชจ้ ริงๆ ดีกว่าทำ�ใหญๆ่ แลว้ อยู่บนห้งิ ไมม่ ี
ใครได้ใช้ฮะ พวกเราฟงั แลว้ ก็ อือ จรงิ แฮะ อยากท�ำ ตอบโจทย์นีม้ ากกว่า...”

สองหนุ่มเห็นด้วยกบั สิง่ ทีอ่ าจารย์สพุ จนแ์ นะน�ำ โดยทอ่ี าจไม่รจู้ กั ปรัชญา
“ง่ายคืองาม นอ้ ยคือด”ี ทน่ี ักประดษิ ฐ์ร่นุ ก่อนๆ ถอื กันมาด้วยซาํ 

37

แต่ที่เลอื กปรชั ญาน้ี เพราะพวกเขาคดิ ว่ามนั เหมาะกบั สงิ่ แวดลอ้ มท่รี ายรอบ
ชีวิตของพวกเขามากกว่า ไม่วา่ จะเป็นวสั ดุอุปกรณ์ และค่าใช้จา่ ยในการผลติ

38

39

2

ได้โจทยจ์ ากอาจารยส์ ุพจนม์ าพักใหญ่แล้ว สองหนุ่มน้อยกย็ ังคงคิดไม่ออกวา่
จะประดษิ ฐ์อะไรดี เวลาก็ลว่ งผ่านไปวันแล้ววนั เล่า กำ�หนดวันสง่ หัวข้อก็ใกล้เขา้ มาๆ
ขณะทส่ี องหนุม่ ก�ำ ลังหมดอาลัยตายอยากกับชวี ิต จึงชวนกนั ไปนงั่ ทอด
อารมณห์ นา้ โรงเรยี น น่ังมองคนผา่ นไปผ่านมาแก้เบื่อ
ฝงั่ ตรงข้ามกบั โรงเรียนช่างเค่ยี นคือวดั ถดั จากละแวกวดั และโรงเรียนเปน็
ยา่ นชุมชนมีร้านรวงขายอาหารเตม็ ไปหมด คนท่ผี ่านไปมาจะแวะจบั จา่ ยใช้สอย และ
ซือ้ กบั ขา้ วใสถ่ ุงพลาสตกิ กันคนละถงุ สองถงุ

40

วนั ท่ีสองหนุ่มออกมานงั่ ทอดอาลยั นัน้ เปน็ วันพระ มีอยุ๊ ๆ พากนั เดินไปวัด
สองหนมุ่ สงั เกตเหน็ ว่าในมือของพอ่ อยุ๊ แม่อ๊ยุ ไมย่ ักมีถุงพลาสติกมแี ตป่ น่ิ โต

ทนั ใดน้ันเอกกห็ ายอาการซมึ เซา และหันไปเขย่าตัวสมพงษค์ ่หู ู
“สมพงษ์ๆ เราคิดออกแล้วๆๆๆ เราจะทำ�ป่นิ โตทอี่ นุ่ อาหารได้!!!”
เมื่อทงั้ คู่นำ�ไอเดียมาหารือกับอาจารยส์ ุพจน์ อาจารย์สุพจน์กน็ ่ิงฟงั อยา่ ง
ตั้งใจ ไม่ทัง้ เออออหอ่ หมก และไม่ทั้งคัดคา้ น
หากใชว้ ิธกี ระตุน้ ให้เดก็ ๆ ได้คดิ เอง โดยการนั่งซักถามถงึ เหตผุ ลและท่มี าท่ี
ไปในการประดิษฐค์ รัง้ น้ี ถามดว้ ยค�ำ ถามง่ายๆ วา่ ทำ�แลว้ ได้อะไร สู้ความยากไหว
หรอื ไม่ เปน็ การสอนให้ให้เดก็ ๆ ไดฝ้ ึกความคิด และหดั ประเมนิ สถานการณ์ด้วยตวั
เอง
หนุม่ นอ้ ยทง้ั สอง ผลัดกันเล่า ผลดั กันพดู พวกเขาดจู ะพออกพอใจ และม่นั
ออกม่ันใจกับเหตผุ ลในการคิดทำ�สิ่งประดษิ ฐ์ชิ้นนี้มาก

41

พวกเขาเล่าเหตุผลอันหนกั แน่นใหอ้ าจารยไ์ ดฟ้ ังว่า สภาพสงั คมเศรษฐกจิ ของ
เมอื งเชยี งใหมใ่ นปจั จบุ นั นั้นไม่ตา่ งจากรุงเทพฯ และหวั เมอื งใหญๆ่ ในภูมภิ าค อน่ื ๆ
น่ันคอื มปี ญั หาการจราจรตดิ ขดั คนเร่งรีบออกไปท�ำ งาน และมกั จะพกพาอาหารไว้รบั
ประทานในรถ

แต่อุปกรณท์ ่ใี ช้เก็บอาหารในปจั จบุ นั น้ัน มักจะใช้งานได้ประโยชนเ์ พยี งอยา่ ง
เดียว เช่น ป่นิ โตทัว่ ไปก็ใช้เก็บอาหาร กระตกิ นาํ  ร้อน กระตกิ นาํ  เย็น แยกกันไป ไม่
สามารถใชง้ านไดส้ ามอย่างในเวลาเดยี วกนั

น่เี ป็นเหตผุ ลท่ที �ำ ใหพ้ วกเขาคิดค้นสง่ิ ประดิษฐข์ นึ้ มาใหมน่ ามว่า “ป่ินโตอเนก-
ประสงค์ 3 in 1” เพอ่ื ความสะดวกในการใช้งาน สะดวกในการพกพา ท้งั ยงั ประหยัด
พลังงาน และประหยดั เวลา อีกตา่ งหาก

พวกเขาเล่าให้ฟังวา่ สง่ิ ประดษิ ฐช์ น้ิ นี้ไดร้ ับความสนใจมาก โดยเฉพาะตอนทีไ่ ป
ประกวด ในงาน International Exhibition for Young Inventors (IEYI-2013) ณ
กรงุ กัวลาลมั เปอร์ ประเทศมาเลเซีย นนั้ มเี อเจนซจี่ ากบรษิ ทั ท่ไี ต้หวันมา พูดคยุ และ

42

43

สอบถามรายละเอยี ดการใชง้ าน อยา่ งสนอกวนใจพร้อมท้งั ท้งิ นามบตั รไว้ให้พวกเขา
เผ่อื พวกเขาจะสนใจตอ่ ยอดผลติ ภณั ฑช์ ิ้นน้ใี นเชงิ ธรุ กิจ

แตค่ ณุ ครแู ละเดก็ ๆ ไม่ได้คิดไกลไปขนาดนั้น พวกเขาคดิ แคว่ า่ วันนี้สิ่งท่ี
พวกเขาฝ่าฟนั บกุ บัน่ และทุ่มเทลงแรงลงใจไปนั้นได้ถงึ จดุ หมายแลว้

44

3

หากมีปรัชญาว่าองค์ประกอบหลักของคนในชุมชนไทยชุมชนใดชุมชนหน่ึง
น้นั หากจะขับเคลอ่ื นและพฒั นาไดด้ ี ต้องอาศยั การทำ�งานของกอ้ นเส้าทง้ั สามส่วน
คือ วดั บา้ น โรงเรียน แล้วนน้ั
สง่ิ ประดิษฐ์ปน่ิ โตอเนกประสงค์ 3 in 1 กเ็ ขา้ เกณฑต์ ามหลกั นีเ้ ป๊ะ แมจ้ ะ
ไมไ่ ดเ้ ป็นการรว่ มมอื กันอยา่ งเปน็ ทางการ แต่ก็มีท่ีมาจากองคป์ ระกอบเหล่าน้ี

กล่าวคือ วดั เปน็ สว่ นชว่ ยจุดประกายความคิด เพราะเอกเห็นอ๊ยุ ๆ เดินถอื

45

ปน่ิ โตไปวดั สว่ นโรงเรยี นกค็ ือศูนย์บญั ชาการในการสนบั สนนุ หอ้ งทดลองใหเ้ ด็กๆ
สำ�หรบั บา้ นน้นั ก็ส�ำ คัญไมน่ ้อยกวา่ ส่วนใดๆ

เพราะมีบา้ นของช่างท่านหน่ึงอย่ใู กลโ้ รงเรียน เป็นช่างทม่ี คี วามรอบรู้
สารพัดช่าง ท้ังเรอื่ งเคร่ืองไฟฟา้ เรอื่ งเครอื่ งยนตก์ ลไก และการใช้เครือ่ งไม้เครือ่ ง
มอื เชิงชา่ งแทบทกุ ชนดิ

“นา้ ณัฐพงษ์ แกว้ เทพ เปน็ ที่ปรกึ ษากิตมิ ศกั ดิ์ก็วา่ ได้ ทุกเร่ืองทุกปญั หา
ถามน้า นา้ มีทางออก นี่ถา้ ไมไ่ ด้นา้ เขามาชว่ ยแนะน�ำ นะ งานนี้ไม่มที างแจ่มแจว๋
อยา่ งนเี้ ลยครับ”

เอกเลา่
ณัฐพงษ์ที่เอกเล่านั้นเป็นช่างหรือสล่าที่เปิดร้านซ่อมอุปกรณ์อิเล็คทรอ-
นกิ ส์อยลู่ ะแวกโรงเรียน เขามีความเชี่ยวชาญในงานชา่ งแทบทกุ ด้าน จึงสามารถ
แนะน�ำ เดก็ ๆ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี
“ผมชอบมาขลกุ กับพวกเขา ไดป้ ระโยชนเ์ ยอะเลยฮะ ผมไม่ไดม้ าเป็น

46

ฝ่ายให้อยา่ งเดยี วนะ เขากใ็ ห้ผมดว้ ย ผมไดเ้ รียนร้เู ทคโนโลยใี หมๆ่ ก็จากพวกเขา
ดว้ ย เด็กๆ สมยั น้เี ก่ง เขาหตู ากวา้ งไกลกวา่ เรา เขาหาข้อมลู ในอนิ เทอรเ์ นต็ แป๊บ
เดยี วรู้หมดอะไรอยู่ตรงไหน เรียกวา่ win win ดกี วา่ ฮะ ตา่ งฝา่ ยต่างไดป้ ระโยชน์ซึง่
กนั และกนั ”

ถอื เป็นความโชคดีของโรงเรยี นชา่ งเค่ยี นก็ว่าได้ เพราะโรงเรียนได้รับการ
สนับสนนุ ไดร้ บั การช่วยเหลอื จากหนว่ ยงานและองค์กรภายนอกโรงเรียนหลายๆ
ทางดว้ ยกนั

ประกอบกบั เด็กๆ ในชมรมวทิ ยาศาสตรข์ องทีน่ ่ีไดม้ ีโอกาสไปเขา้ คา่ ยกับ
พๆี่ คณะวศิ วะของเทคโนโลยรี าชมงคลทุกปี พี่ๆ กลมุ่ นจี้ ะท�ำ ค่ายหุน่ ยนต์บา้ ง คา่ ย
วทิ ยาศาสตร์บา้ ง เครื่องบินเลก็ เครอื่ งร่อน เป็นต้น

การไปอย่างนน้ั ไดช้ ่วยใหเ้ ขาชอบวิทยาศาสตร์ ชอบคดิ คน้ ทดลอง อีกสว่ นก็
คือช่างนอกโรงเรียน หรือภูมิปญั ญานอกโรงเรยี นอยา่ งคณุ ณฐั พงษ์ แกว้ เทพ มาคอย
เป็นโค้ชใหเ้ ดก็ ๆตลอดทาง

47

"เรียกได้วา่ ปจั จัยภายนอกก็มสี ่วนอดุ หนนุ เรามากเลยทเี ดยี วคะ่ ”
อาจารย์ นารยี ์ หมนื่ แจม่ รองผ้อู ำ�นวยการโรงเรยี นเลา่ เสริม
สิ่งทีน่ า่ ตืน่ เตน้ ในการทำ�ส่งิ ประดิษฐ์ชิ้นน้ีของโรงเรียนชา่ งเคยี่ น ไม่ไดอ้ ยู่ท่ี
การค้นคว้าทดลองส่งิ ประดิษฐเ์ พยี งเทา่ นั้น แต่ความหฤหรรษ์ (เออ่ ...หรอื อาจรวม
ถึงความหฤโหด) อยทู่ ก่ี ระบวนการเดินทางไปประกวดในแตล่ ะระดบั ดว้ ย ทง้ั ระดบั
จงั หวัด ระดบั ภาค ระดับประเทศ และระดบั นานาชาติ เลยทเี ดยี ว
เรอ่ื งของเรอื่ งก็คอื ทงั้ สองนกั ประดษิ ฐห์ นุ่มน้อย มีสัญชาติเปน็ ชาวไทใหญ่
การเดินทางไปนอกประเทศตอ้ งท�ำ วีซ่า และต้องไปขออนุญาตสถานทตู หากทวา่
ด้วยความขลกุ ขลักทางดา้ นการประสานหนว่ ยงานราชการ ทำ�ใหเ้ อก เกือบไมไ่ ด้
เดนิ ทางไป จนคณะครูและโรงเรียนต้องลุน้ กันจนใจหายใจควาํ่
“โอย อปุ สรรคเยอะแยะมากมายเลยครับ สรปุ ส้ันๆ ไดว้ ่าเราแทบถอดใจ
แลว้ ว่าเอกไม่ได้ไปแน่ๆ แต่เหมือนโชคชว่ ยฮะ นาทสี ดุ ทา้ ยเราได้เอกสารให้เอกจน
ครบ สามารถเดินทางไปมาเลเซียได้

48

ไฟแหง่ ความสรา้ งสรรค์
ท่ถี ูกจดุ ติดข้นึ มาแลว้
จะไม่มีวันมอด

49

50


Click to View FlipBook Version