The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by เอกสารเผยแพร่, 2019-10-19 21:57:53

-7

-7

พวกเขาจึงเลอื กล้อรถเดก็ เลน่ กบั แถบเทปตีนตกุ๊ แกมาเป็นวัสดขุ ดั สี แลว้ ตดิ มอเตอร์
ทล่ี อ้ เพอ่ื เพ่ิมความเร็วรอบในการขัด
ชดุ ขดั สี ชุดเครอื่ งมอื เปา่ ซึง่ ตดิ ตั้งอยบู่ นระบบทอ่ จะตอ้ งมตี ัววาง ตวั หนนุ
เสรมิ และต้องจดั ใหอ้ ยู่ในระนาบเอยี ง เด็กจึงมองหาวสั ดุใกลต้ วั เพอ่ื เปน็ โครงสร้าง
รองรบั กล่องใส่แฟม้ เอกสารสามารถตอบโจทย์น้ไี ดอ้ ย่างลงตวั
เมือ่ ตดิ ตัง้ ชุดขัดสแี ละชุดเปา่ ลมเสรจ็ เรียบร้อยแลว้ ทดลองเดนิ เครือ่ งดู พวก
เขาก็มน่ั ใจทจ่ี ะน�ำ เสนอผลงานในหอ้ งเรียน
“ตอนน�ำ เสนอผลงาน ถัว่ มันติดตอนนนั้ เลยคะ่ พวกเราหงุดหงิดมาก เลย
ขอเวลาอาจารยห์ นึง่ อาทิตย์เพื่อกลบั มาแก้ไขใหม”่

แพรเล่า
แต่อย่านกึ นะว่าพวกเธอจะทอ้ แทก้ ับการแกไ้ ขสง่ิ ประดิษฐค์ รง้ั แลว้ คร้ังเล่า
“โธ่พี่ พ่เี คยไดย้ นิ ไหมท่โี ทมัส อลั วา เอดิสัน ตอบคนทถ่ี ามเขาเรอื่ งทเ่ี ขา

151

I have not failed,
I’ve just found 10,000 ways
that won’t work
ผมไมไ่ ดล้ ม้ เหลว
ผมแคค่ น้ พบ 10,000 วธิ ี
ท่ีท�ำ แลว้ ไมไ่ ดผ้ ลแคน่ นั้

152

ประดิษฐ์คิดค้นหลอดไฟคร้ังแลว้ ครั้งเล่าแล้วใชไ้ มไ่ ดส้ ักที วา่ รู้สกึ อย่างไรกบั ความลม้
เหลวนะ่ นค่ี ือค�ำ คมในใจหนเู ลยนะ

เอดิสนั บอกว่า...
I have not failed, I’ve just found 10,000 ways that won’t work
ผมไม่ได้ลม้ เหลวผมแคค่ น้ พบ 10,000 วิธที ท่ี ำ�แลว้ ไม่ไดผ้ ลแคน่ ั้น
คดิ ดู เอดิสันทดลองเป็นหมน่ื ๆ ครง้ั แล้วหนแู คค่ รง้ั สองครัง้ เอง จะให้เลิก
งา่ ยๆ นะ่ หรอื ไมม่ ที าง”

แม่นักประดิษฐ์ตัวน้อยจอมทะโมนออกเสียงภาษาอังกฤษสำ�เนียงชัดเจน
ท�ำ เอาคนถามเงบิ ไปเลย

153

5

ตลอดระยะเวลาของการคิดส่งิ ประดษิ ฐ์ เดก็ ๆ ไดร้ บั ก�ำ ลังใจจากครอบครวั
เสมอ
“แมก่ ็บอกเขาไปวา่ ใหใ้ จเย็นๆ คอ่ ยๆ คดิ ค่อยๆ ท�ำ ไป ชีวติ มนั กต็ ้องล้มลกุ
คลุกคลานอย่างนี้ กอ่ นจะเดนิ ไดท้ ุกคนก็ตอ้ งคลานไปก่อน”
คุณแมจ่ ิรภา สงั ขท์ องเลา่
นุ่นน�ำ ปญั หาไปปรกึ ษาคณุ พ่ออีกครั้ง พ่อแนะนำ�ว่าใหห้ าอปุ กรณ์ท่ีทำ�หน้าที่
เขีย่ ถว่ั แทนมือ ถ้าเป็นระบบอตุ สาหกรรมกจ็ ะมสี ายพานลำ�เลียงท�ำ หนา้ ที่นี้

154

“ตอนเด็กๆ หนูเคยเลน่ ของเล่นทีเ่ ป็นเฟืองต่อกนั เป็นชงิ ช้า เปน็ กังหนั แล้วมี
มอเตอร์ 1 ตวั ท�ำ หน้าท่หี มนุ แลว้ เฟอื งทกุ ตวั กจ็ ะหมุนต่อกันไปเรอ่ื ยๆ น่ะค่ะ ก็เลยได้
ความคิดวา่ ใชเ้ ฟอื งตอ่ กับมอเตอรม์ าทำ�หน้าทีผ่ ลกั ถ่วั ให้เคล่อื นทีน่ ่าจะดคี ะ่ ”
นุ่นเล่าเสียงเจื้อยแจ้ว
“พอเราเริม่ นกึ ถงึ ของเล่น มันก็ไดค้ วามคิดมาเรอื่ ยๆ คะ่ เราเอาเครือ่ งสั่นที่มี
ในของเลน่ มาติดท่กี รวย กรวยจะได้สน่ั เหมอื นมคี นคอยเขย่าใหถ้ ว่ั มันคอ่ ยๆ ตกลงไป
ในทอ่ นะค่ะ”
แพรเล่าบ้าง
“เวลาทำ�มนั เกิดความคิดต่อกันไปเรอ่ื ยๆ พอเรานกึ ถงึ ปญั หาทถ่ี ว่ั ตดิ แล้วต้อง
เขยี่ เรากค็ ดิ กันว่า งน้ั เราตอ้ งออกแบบให้ชุดบดยกข้นึ ได้ จะไดเ้ ข่ยี เมด็ ถวั่ ท่ีติดอยู่ออก
ท�ำ งานนเ้ี ราได้เรยี นรวู้ ิธีแกป้ ัญหา และไมล่ ้มเลกิ ค่ะ”
นนุ่ เล่าตอ่
เมื่อถงึ สัปดาหว์ ทิ ยาศาสตรข์ องโรงเรยี น ซุ้มของนุ่นและแพรจงึ เปน็ ซมุ้ ปอ๊ บปู
ลา่ รอ์ กี ซ้มุ หนึง่ เพราะน้องๆ มักแวะเวียนมาลองเล่นสิง่ ประดิษฐ์ และได้กินถว่ั ลิงสงคว่ั

155

กนั อยา่ งเอร็ดอร่อย
“เรากไ็ ปดสู ิ่งประดิษฐ์ของเพอื่ นๆ ห้องอ่ืนด้วยค่ะ บางกลุ่มก็ไม่นา่ เช่ือว่าเพอื่ น
เขาจะทำ�ได้ น่าทงึ่ มากค่ะ แลว้ ทุกคนก็ตอ้ งน�ำ เสนอผลงานของตวั เองทหี่ ้องประชุม
ดว้ ย”
ไมน่ ่าเชอ่ื ว่าที่โรงเรยี นในเขตภูธรแห่งนี้ มสี ิง่ ประดิษฐเ์ จง๋ ๆ จากความคิดของ
เด็กๆ เกิดขึ้นมากมาย บา้ งสามารถประดิษฐเ์ คร่อื งมือใหม่ที่น่าทึง่
ไม่ว่าจะเป็นเคร่ืองเจาะมะพร้าวเพื่อเสียบหลอดดูดได้โดยไม่ต้องปาดเปลือก
มะพร้าวออกก่อน เคร่ืองปอกสบั ปะรด ที่ตักไอตมิ ทรงสเี่ หล่ียม เคร่อื งหยอดทอง
หยอด บางคนน�ำ สง่ิ ประดิษฐเ์ ดิมมาปรบั ปรงุ ใหด้ ขี น้ึ เช่นทเี่ กบ็ ปงิ ปองทีเ่ ก็บไดค้ รัง้ ละ
หลายลูก ซงึ่ ออกแบบจากถงั พลาสตกิ และยางยดื ขอบกางเกงเท่านัน้
ชว่ งเวลา 2 - 3 วนั ของสัปดาหว์ ันวิทยาศาสตร์ เปน็ เหมือนงานแสดงนวตั กรรม
สิ่งประดษิ ฐข์ องนักเรยี น เปน็ วันท่เี ดก็ ๆ โรงเรียนอยธุ ยาวิทยาลัยภาคภมู ิใจกบั ความ
พยายามฟันฝา่ อุปสรรคไปสู่จดุ หมายของทกุ คน

156

“มอี ยกู่ ลมุ่ หน่งึ อดิ ออดไมย่ อมทำ�นะคะ แต่พอเวลาใกลถ้ งึ เส้นตายขึ้นมา
กส็ ามารถระเบิดความคดิ สรา้ งเครือ่ งมอื ผา่ ไมไ้ ผอ่ อกมาได้ พลังของเดก็ ๆ พวกน้ี
เหลอื เชื่อจรงิ ๆ ค่ะ”
อาจารยม์ ณฑา เลา่

เครื่องมือแยกเย่ือหุ้มเมล็ดถ่ัวลิสงได้รางวัลในงานประกวดสิ่งประดิษฐ์
ในสัปดาหว์ นั วทิ ยาศาสตร์ของโรงเรยี น จากนนั้ คุณครจู ึงน�ำ ผลงานนสี้ ่งประกวด
ในระดับภาคและระดับประเทศต่อไป และยงั มีผลงานสง่ิ ประดิษฐ์ชน้ิ อ่นื ๆ ท่ไี ด้
รับคดั เลอื กใหเ้ ปน็ ตวั แทนเข้าประกวดสงิ่ ประดิษฐ์ทางวทิ ยาศาสตร์ ทีห่ นว่ ยงาน
ต่างๆ จัดเวทีประกวด เพอื่ สนบั สนุนใหน้ กั เรียนประดษิ ฐค์ ิดค้นสิ่งประดิษฐ์เชน่ กัน
อาจารยเ์ อกชัย วลิ ามาศ เปน็ อาจารย์วทิ ยาศาสตร์อกี คนหนึ่งทไ่ี ดเ้ ขา้
มารับหน้าท่ีเป็นท่ีปรึกษาในการทำ�ส่ิงประดิษฐ์เครื่องแยกเย่ือหุ้มเมล็ดถั่วลิสงให้
เด็กๆ เพิม่ เติม

“ผมเข้ามาเติมเต็มให้เดก็ คิดถงึ การออกแบบวดั ผลเชงิ ประสทิ ธิภาพ เพ่ือ
สามารถอธบิ ายใหค้ ณะกรรมการเข้าใจไดว้ า่ เคร่ืองมือของเราดีอย่างไร เดก็ ๆ เขา

157

เกง่ ครบั เราแนะนำ�ไปนิดเดยี ว เขากค็ ดิ ตอ่ ได้ว่าเขาจะต้องเปรียบเทยี บการทดลอง
วา่ เครอ่ื งมือของเขามันมีประสิทธิภาพกวา่ การท�ำ ดว้ ยมือไดอ้ ยา่ งไร อนั นคี้ ือการเอา
คณิตศาสตร์เข้ามาชว่ ยครบั ”
ในภาวะท่นี ักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 6 ตอ้ ง ครํา่ เคร่งกบั การสอบแข่งขนั เพ่ือ
แย่งชิงคณะดๆี ในมหาวทิ ยาลัยดังๆ พลงั ความคิดสร้างสรรคข์ องเดก็ อาจถกู กลบทับ
ด้วยความกลวั จะพลาดจากการสอบเขา้ จนไม่อาจน�ำ ไปสู่การสร้างสรรคส์ ่งิ ประดิษฐ์ท่ี
น่าทึ่งเหล่าน้ีได้
“พ่อแม่ผู้ปกครองนักเรียนมีส่วนช่วยอย่างมากค่ะที่สนับสนุนนโยบายให้เด็กๆ
ท�ำ โครงงาน ถา้ พอ่ แมไ่ มเ่ หน็ ดว้ ยโรงเรียนกไ็ มส่ ามารถดำ�เนินโครงการเหลา่ น้ไี ด”้
อาจารย์ทพิ ภา ผดุงวงศ์ หวั หน้ากลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตรก์ ล่าว
“ถึงลกู ทำ�โครงการนีแ้ ล้วไมไ่ ด้รางวัลกไ็ ม่เป็นไร ประสบการณท์ ่เี ขาได้ การ
ทำ�งานรว่ มกบั คนอนื่ ความพยายามฟันฝ่าอปุ สรรคต่างๆ ประสบการณเ์ หลา่ นจี้ ะหา
จากที่อื่นไมไ่ ดอ้ กี แล้วค่ะ”
คณุ แม่จริ ภา สงั ข์ทองกล่าวด้วยรอยยม้ิ

158

เราไม่ไดใ้ ชค้ น
สร้างส่ิงประดิษฐ์
แต่ใช้ส่ิงประดิษฐส์ รา้ งคน

159

“เราไมไ่ ด้ใชค้ นสรา้ งสิง่ ประดิษฐ์ แตใ่ ชส้ ิง่ ประดษิ ฐ์สรา้ งคน เราจงึ เหน็ ดว้ ย
กบั การใช้โครงงานวิทยาศาสตร์ในการสรา้ งคน และคนจะสร้างชาติตอ่ ไป เรามนั่ ใจ
กบั การเรยี น การสอนแบบนคี้ ่ะ”
อาจารยท์ พิ ภา ผดุงวงศ์ กลา่ วอยา่ งเชื่อมั่น

จากวันอันแสนสนกุ สานในสปั ดาห์วิทยาศาสตร์ จากการท�ำ สม้ ต�ำ จากของ
เล่นสง่ิ ละอันพนั ละน้อย เหลา่ น้ี กลายมาเป็นส่งิ ประดษิ ฐค์ ดิ คน้ ระดับนานาชาติ
จากเรอ่ื งทอี่ าจดูเหมอื นไมเ่ ปน็ เรื่อง กลายเปน็ เรอื่ งขน้ึ มา
จากสิ่งที่คนอน่ื มองว่าเปน็ ไปไมไ่ ด้ ถูกทำ�ให้เป็นไปไดแ้ ละเกิดขึ้นจรงิ
ในวนั นี้ เด็กๆ กล่มุ นี้จบการศกึ ษาจากโรงเรียนอยธุ ยาราชวทิ ยาลยั ไปแล้ว
แตล่ ะคนล้วนแต่ได้เรียนตอ่ ในระดับปรญิ ญาตรีในมหาวทิ ยาลัยชัน้ น�ำ ของประเทศ

แมใ้ นวันน้ี เคร่ืองรอ่ นเปลอื กถว่ั ทีพ่ วกเขาคิดค้นจะยงั ไม่ถูกพฒั นานำ�ไปตอ่ ย
อดใช้ในระดบั อตุ สาหกรรมอยา่ งแพร่หลาย

160

แทท้ ี่จรงิ แลว้
ชีวติ คือกระบวนการทดลองมิร้จู บ
ขอเพยี งอย่าคิดว่า “เปน็ ไปไมไ่ ด้”
เป้าหมายกค็ งมาถงึ เขา้ สักวัน...

161

ไม่ถูกน�ำ ไปใช้ในชมุ ชนอยา่ งจริงจงั ดงั ที่พวกเด็กๆ คาดคิดไว้
มนั ยงั วางเด่นในหอ้ งวทิ ยาศาสตร์ของโรงเรียนอยู่อยา่ งนน้ั
แต่ทุกครั้งที่มีคนมาทดลองทำ� ทดลองใช้
เมอื่ มเี ปลือกถว่ั ลิสงปลวิ หลุดออกไป
ครัง้ แล้วครั้งเล่า
ใช่หรือไม่วา่
มันได้รอ่ นเอาความคดิ ทีว่ ่า “เปน็ ไปไม่ได”้ ท้ิงออกไปจากใจเด็กๆ ดว้ ย
และเมื่อไม่มีค�ำ ว่าเปน็ ไปไม่ได้ ก็มีแตค่ ำ�วา่ ทดลองใหมซ่ าํ  ๆ ครงั้ แล้วคร้งั เลา่
และในกระบวนการทดลองใหมค่ รงั้ แลว้ คร้ังเล่านีเ้ อง ท่พี าใหช้ ีวติ ของพวกเขาได้
เรียนรวู้ า่ กระบวนการมคี วามสำ�คญั ไม่แพ้จดุ หมาย
และแท้ทจ่ี รงิ แล้ว ชวี ติ คือกระบวนการทดลองมริ ูจ้ บ
ขอเพียงอย่าคิดวา่ “เป็นไปไม่ได้” เปา้ หมายก็คงมาถงึ เข้าสกั วนั ...

162

163

ส่งิ ประดษิ ฐเ์ ครื่องแยกเยื่อหุ้มเมลด็ ถ่วั ลสิ ง มวี ัตถุประสงคเ์ พือ่ ชว่ ยลดระยะ
เวลาในการแยกเย่อื หุ้มเมลด็ ออกจากเมล็ดถัว่ ลสิ ง
โดยเครื่องแยกเยื่อหุ้มเมล็ดถั่วลิสงท่ีทำ�ขึ้นน้ีจะกะเทาะให้เย่ือหุ้มเมล็ดถ่ัว
ลสิ งหลุดออกจากเมลด็ ถวั่ ลสิ ง จากนั้นเมล็ดและเย่ือหุ้มจะแยกออกจากกัน และจะ
รว่ งลงสู่แกนกลางของเครื่อง
ในระหว่างท่อแกนกลางจะมีใบพัดลมขนาดเล็กติดอยู่กับแกนกลางของ
เครื่องแลว้ ใช้ลมจากพดั ลม พดั เยื่อห้มุ เมลด็ แยกออกจากเมลด็ ถว่ั ใหป้ ลิวเขา้ ไปในท่อ
ส�ำ หรบั คัดแยกเย่ือห้มุ เมลด็ เพราะเย่ือหุม้ ของเมลด็ ถวั่ นนั้ มี นาํ  หนักเบาจงึ สามารถ
ถูกพัดพาไปกบั ลมได้

โดยทปี่ ลายท่อคัดแยกเย่ือหมุ้ เมลด็ จะมีถงุ ส�ำ หรบั รองรบั ส่วนเมล็ดถ่ัวลิสง
จะร่วง ลงส่ดู า้ นล่างของเคร่ืองทม่ี ีถงุ รองรับเมล็ดถวั่ ลสิ งทีถ่ กู แยกเอาเยื่อหุม้ ออก
เรยี บรอ้ ยแลว้
จากการศึกษาพบว่าทีค่ วามเรว็ รอบมอเตอร์300รอบ/นาทีมีประสิทธิภาพ
ในการคัดแยกเย่อื หุ้มเมล็ดถ่วั ลสิ งไดด้ ีทีส่ ุด และเมื่อน�ำ มาเปรยี บเทียบกบั การแยก
ด้วยมือแล้วพบว่าสิง่ ประดษิ ฐส์ ามารถแยกเมลด็ ถั่วไดเ้ ร็วกวา่ ประมาณ 34%



1

ทางสายเปลย่ี น

หากใครมโี อกาสเขา้ ไปในโรงเรยี นสตรีวิทยา เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
อย่าพลาดโอกาสสำ�คัญท่ีจะเข้าไปที่โถงทางเดินหน้าห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์
รับรองว่าที่แห่งน้ีจะสร้างความต่ืนตาต่ืนใจเหมือนหลงเข้าไปในพิพิธภัณฑ์
วทิ ยาศาสตร์ เพราะทางเดินแคบๆ ของโถงเล็กๆ นี้ อดั แน่นไปด้วยสง่ิ ประดษิ ฐ์และ
สือ่ การสอนดา้ นฟิสกิ สแ์ ละคณิตศาสตร์ รวมถงึ ความรทู้ างวิทยาศาสตร์มากมาย

167

สิง่ ประดษิ ฐ์ : เคร่ืองปอกเปลอื กไขต่ ม้
โรงเรียนสตรวี ิทยา

168

ทีแ่ หง่ นจี้ ดั ทำ�ข้นึ มาโดยมวี ัตถุประสงคใ์ ห้นกั เรียนเห็นภาพ จบั ต้อง ลอง
เล่นได้ ไมใ่ ชเ่ พยี งจนิ ตนาการลอยๆ จากทฤษฎเี ทา่ นนั้
ยง่ิ ไปกว่านนั้ สิ่งประดษิ ฐเ์ หล่านี้ ไม่ได้เป็นฝมี อื ของนักประดษิ ฐ์อนั เอกอุ
หรอื เกิดจากการจัดท�ำ ขึ้นของคณุ ครู แตเ่ กิดจากฝีมือของนักเรียนรุ่นตา่ งๆ ฝาก
ผลงานเอาไว้ เมอื่ มีนทิ รรศการวทิ ยาศาสตรข์ องโรงเรยี นเมอ่ื ใดก็จะนำ�ไปจดั แสดง
พรอ้ มกับผลงานช้นิ ใหม่ๆ ได้ทันที
จ๊ๆุ ๆๆ ท่เี ด็ดไปกวา่ น้ัน โรงเรยี นสตรีวทิ ยาแห่งน้ี ยงั ท�ำ เกไ๋ มเ่ หมือนใคร
โดยทุกครง้ั ท่ีมีงานกีฬาสี ทางโรงเรยี นจะมีกศุ โลบายสอดแทรกให้เด็กๆ สนกุ กับ
การเป็นนกั ประดิษฐ์คดิ ค้นและรกั ในวิทยาศาสตร์โดยเปิดโอกาสให้นักเรียนชน้ั ม.
6 ได้ส�ำ แดงฝีมอื สรา้ งสรรค์สิ่งประดิษฐ์ของพวกเขาเอง โดยประยุกตใ์ ชห้ ลกั การ
วิทยาศาสตร์ คิดคน้ งานประดิษฐ์ที่ใชใ้ นพธิ เี ปิดกีฬาสีอนั ยิ่งใหญ่
ฉะนนั้ นค่ี อื หมดุ หมายของเวลาท่ี “คนมขี อง” จะส�ำ แดง แผลงฤทธิ์เดช
ทางการคดิ คน้ นวัตกรรมใหมๆ่ เพือ่ แขง่ ขันกันวา่ รนุ่ ใครจะ “ปล่อยของ” ใหร้ นุ่
น้องเล่าขานราํ่ ลอื กนั ไปจากรุ่นสรู่ ุ่น

169

ด้วยความทีส่ ตรวี ทิ ยาเป็นโรงเรยี นผูห้ ญงิ ล้วน และใครๆ กม็ กั มีภาพตตี รา
ประทบั วา่ เด็กผูห้ ญิงไมส่ ามารถมีทักษะทางวทิ ยาศาสตร์ ทางช่าง หรือการคิดค้น
สิง่ ประดษิ ฐเ์ ทา่ เดก็ ผู้ชาย สาวๆ ชาวสตรีวทิ ยาจงึ มงุ่ มั่นว่าพวกเธอจะลดทอนความ
เชือ่ ความเข้าใจผดิ ๆ และเจือจางภาพประทบั น้นั โดยการสรา้ งสรรคส์ ิง่ ประดษิ ฐ์
กลไก อปุ กรณ์อเิ ลค็ ทรอนกิ ส์ ให้โดดเด่นไมแ่ พโ้ รงเรียนผชู้ าย
“เด็กสตรีวิทย์มีความท้าทายว่าเด็กผู้หญิงก็มีทักษะทางการประดิษฐ์
คิดคน้ มคี วามสรา้ งสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ไมต่ ่างอะไรจากเด็กผู้ชาย ดังนั้นถ้าเขา
ไปแสดงนทิ รรศการรว่ มกบั สวนกุหลาบแล้วทำ�ใหส้ วนกหุ ลาบทึง่ ได้ น่นั คอื พาวเวอร์
ของเขา แลว้ ซึง่ กเ็ ป็นอย่างนน้ั จรงิ ๆ พอไปสวนกุหลาบเด็กสวนกหุ ลาบกง็ ง เฮย้
ทำ�ไมสตรวี ิทยามีแต่เคร่อื งอย่างน้ี ทำ�ไมของเขาไม่มี เขาก็ตนื่ เต้น”
อ.ชูเกยี รติ ชัยชนะดารา เล่า
อาจกล่าวได้ว่าหน่ึงในบุคคลสำ�คัญผู้อยู่เบื้องหลังงานประดิษฐ์ทาง
วทิ ยาศาสตรต์ ่างๆและพยายามลดทอนมายาคติเรอื่ งดังกล่าวคอื อ.ชูเกยี รติ ชยั ชนะ
ดารา อาจารยผ์ ู้สอนวชิ าฟสิ ิกส์ และมีทกั ษะงานชา่ ง อาจารย์ยนื ยันว่านักเรยี นหญิง
กม็ ีทักษะทางวทิ ยาศาสตร์ไม่ต่างจากเดก็ ผ้ชู าย ส�ำ คญั คือในกระบวนการสอนตอ้ ง

170

เน้นการทดลองให้เหน็ ของจรงิ แล้วสามารถอธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาตทิ เี่ กิดขึ้นได้
อาจารยช์ เู กยี รตจิ งึ พยายามออกแบบการสอนโดยเน้นการทดลอง และใชส้ อ่ื
การสอนท่ีประดษิ ฐ์ข้นึ เอง มาใช้อธบิ ายให้นกั เรยี นเหน็ ภาพแรง คลนื่ การเคลอื่ นที่
ไฟฟา้ แสง เสียง เทคนิคการสอนแบบนี้มสี ่วนให้นกั เรยี นโรงเรยี นสตรีวทิ ยาสร้างสรรค์
ส่ิงประดษิ ฐท์ ่ไี มธ่ รรมดา ส่งเข้าแขง่ ขนั และได้รางวัลมาแทบทกุ ปี

171

เดก็ ผ้หู ญิงกม็ ีทกั ษะ
ทางการประดษิ ฐค์ ดิ คน้
มีความสรา้ งสรรค์
ทางวทิ ยาศาสตร์
ไม่ต่างอะไรจากเดก็ ผู้ชาย

172

2

วา่ แต่ว่าแลว้ ทำ�ไมและเพราะเหตใุ ดบรรดา“สาวน้อยมหศั จรรย”์ เหล่านน้ั
หันมาคดิ คน้ เครอื่ งปอกเปลอื กไข่ต้มจนได้รบั รางวลั เหรียญทองจากงาน Interna-
tional Exhibitionfor Young Inventors (IEYI-2013)  ณ กรุงกัวลาลมั เปอร์
ประเทศมาเลเซยี และรางวัล Speac Award จากฮอ่ งกงกันเลยทเี ดยี ว ทั้งๆ ท่ี
เมื่อลองเมอื่ ลองสบื สาวราวเร่ืองดูแลว้ ก็ไมม่ ีใครสกั รายที่เปน็ ทายาทฟาร์มไก่ หรือ
ทบี่ ้านท�ำ ผลติ ภัณฑ์ไขต่ ม้ สง่ ออกสักหนอ่ ย
เพื่อไมใ่ ห้ความสงสยั ค้างคา เราไปฟังกลุ่มสาวน้อยหน้าใส 6 คน ไดแ้ ก่
ปัจฉมิ า ชยั ชนะดารา (เดลตา้ ) วิภาวี วาณชิ ยชาติ (แพร) ญาณศิ า เพญ็ โรจน์

173

(พีช) ณฐั วภิ า พงศส์ ธุ างค์ (ณัฐ) ปวีณา นัทธศี รี (ต๊กิ ) และ (อรสิ รา ชาญพิชยั (ไอซ์)
เจา้ ของส่งิ ประดษิ ฐ์เครอ่ื งปอกเปลอื กไข่ตม้ ซง่ึ ไดร้ ับรางวลั ชนะเลิศเหรยี ญทองการ
ประกวดสิง่ ประดิษฐร์ ะดับนานาชาตจิ ากประเทศมาเลเซียกันโดยตรงดกี วา่
“จริงๆ เรารสู้ กึ วา่ วชิ าวทิ ยาศาสตรม์ ันสนุกทา้ ทายต้ังแตต่ อนทีเ่ ราเขา้ ม.1
เลยค่ะ โดยเฉพาะวนั งานวิทยาศาสตร์ของโรงเรียน มีของเล่นวทิ ยาศาสตร์ที่พวกพๆ่ี
ท�ำ เยอะมาก อยา่ งเกมปาเป้าแลว้ มีกลไกฉีดนาํ  จากข้างหลงั เรา ตุ๊กตาที่ห้ามโยกแต่
พอเราแอบโยกมันก็ฉีดนาํ  ใสเ่ ราอีก บ่อนาํ  ลึกสุดหย่งั ทใ่ี ช้หลักการสะทอ้ นของกระจก
ภาพลวงตาจดุ เทียนใตน้ าํ  กล่องหวั ขาด รูปภาพทม่ี องตามเราได้ การแยกสขี องแสง
สขี าวจากเลนส์โพลาไรซ์ เราต่ืนเต้นมากค่ะ ไม่คิดวา่ เทคนคิ กลไกแบบนี้ พวกพ่ีๆ จะ
ท�ำ เองได้” เดลตา้ เล่าอยา่ งออกรสชาติ

เห็นไหมเล่าว่าเมื่อมีมนุษยเ์ รืองแสงเกดิ ขน้ึ คนทไ่ี ดส้ มั ผัสกับแสงเรอื งๆ น้ัน
จะเกิดแรงบนั ดาลใจ มุง่ มั่น อยากเปล่งแสงมาสู้บา้ ง

174

175

นแี่ หละหนาทีเ่ ขาว่า “แรงบนั ดาลใจ” มันมพี ลานภุ าพท่จี ะนำ�พาใหม้ นษุ ยใ์ ช้
สมองของตน เกิดการเลยี นแบบ ปรบั เปลย่ี น แขง่ ขันที่จะท�ำ ให้ดกี ว่าเดิม เหนือกวา่ เดมิ
ส่งผลให้โลกน้ีมีการพัฒนาตอ่ ไปไมม่ ที ่ีส้ินสดุ

เมอ่ื ขึ้นช้นั มธั ยมปีท่ี 3 นกั เรยี นทกุ คนต้องมีภารกิจจัดท�ำ โครงงานวิทยาศาสตร์
ส่งคุณครู สาวนอ้ ยกลุ่มนจ้ี ึงมีอาการท่พี วกเธอเรียกกนั ว่า “ของขน้ึ ” กล่าวคืออยากจะ
ฝากผลงานทิง้ ไว้ใหร้ ่นุ นอ้ งตะลึงพรึงเพรศิ และรํา่ ลือสืบต่อไปเช่นกนั

“พวกเรา 6 คน จบั กลมุ่ ทำ�โครงงานดว้ ยกนั ค่ะ ก็ถกเถียงกัน ว่าจะทำ�อะไรดี”
ติก๊ เล่า
“คดิ เทา่ ไรกค็ ดิ ไมอ่ อก จับตน้ ชนปลายไม่ถูกวา่ จะเริม่ ต้นทำ�อะไรดี เวลาก็ผ่าน
ไปเรอื่ ยๆ วนั ส่งงานกง็ วดเข้ามาเร่อื ยๆ จนวันที่ 5 ธนั วาคม วันเฉลิมพระชนมพรรษา
โรงเรียนของเราตง้ั โรงทาน ทำ�อาหารแจกจ่ายให้คนทัว่ ไปทานฟรีเพอ่ื ถวายเปน็ พระ-
ราชกุศล พวกเราต้องไปชว่ ยแมค่ รัวท�ำ ไข่พะโล้ โดยมหี น้าท่หี ลักคือการปอกไขค่ ่ะ”
แพรเสรมิ

176

“ไข่มนั เยอะมาก ขนาดช่วยกันหลายคนยังปอกกันจนเหนื่อยค่ะ พวกเราก็
เลยเกิดไอเดียสวา่ งวาบขึ้นมาวา่ จะท�ำ เครอื่ งปอกเปลอื กไข่ตม้ เพราะคนทจ่ี ะทำ�ไข่
พะโล้ขาย เขาก็ต้องปอกไข่เยอะมากๆ แลว้ เปน็ ขนั้ ตอนทีเ่ สยี เวลามากค่ะ ถา้ มเี คร่ือง
ปอกไขช่ ว่ ย แม่ค้ากจ็ ะได้ไม่ต้องเหนอื่ ยเหมือนเราค่ะ”

เดลต้าเล่าต่อ
177

178

“จะว่าไปแรงบนั ดาลใจมาจากความขเ้ี กยี จของพวกเรานล่ี ่ะคะ่ ฮา่ ฮ่า ฮ่า”
ไอซ์สรุป เรียกเสียงหัวเราะจากทุกคน
หัวขอ้ วิจยั ของเดก็ ๆ ไดร้ บั คัดเลอื กให้เป็นโครงงานทจ่ี ะส่งประกวดสิง่ ประดษิ ฐ์
ทางวิทยาศาสตร์ ของโรงเรียน โดยมี อ.รตั นวดี โมรากลุ และ อ.ชเู กยี รติ ชัยชนะดารา
เป็นอาจารย์ท่ปี รกึ ษาโครงการ เด็กๆ ทกุ คนตัง้ ความหวังไวแ้ คว่ า่ จะท�ำ การทดลองนใ้ี ห้
สำ�เร็จ แต่ส่ิงท่ีพวกเขาไม่รคู้ อื สง่ิ ทพ่ี วกเขาหวงั จะใหส้ �ำ เร็จนัน้ มนั ไมง่ ่าย และมันต้อง
ผ่านความยากลำ�บากอย่างไรบา้ งกว่าจะสมหวงั
“เด็กกค็ ือเด็กนะครบั บางเวลาเขากไ็ มส่ นุกดว้ ย ไมม่ ีความอดทนพอ จะให้
เขามีวุฒิภาวะแบบผใู้ หญค่ งไม่ใช่ บางคราวเขาก็เบื่อ บางคราวก็พาลจะขีเ้ กยี จ การ
ทำ�อะไรยาวนาน และต้องคิดต้องแก้ตลอดเวลา มันอาจเป็นเรือ่ งยากส�ำ หรับเด็กวยั นี้
ฉะน้ัน ครตู ้องทำ�ตวั เหมือนโค้ช ต้องทำ�หน้าท่ีดึงศักยภาพของเดก็ ๆ ออกมาใหเ้ ตม็ ท่”ี
อ.ชูเกียรติ ซึง่ เปรยี บเสมอื นหางเสือคอยปรับทิศทางงานวจิ ัยของเด็กๆ เล่า
“ทกุ คร้งั เวลาทำ�ส่งิ ประดิษฐ์อะไรตา่ งๆ มันเพ่มิ ความรขู้ องตวั เราเองดว้ ยค่ะ

179

ครตู ้องทำ�ตัวเหมอื นโค้ช
ต้องทำ�หน้าที่
ดึงศักยภาพของเด็กๆ
ออกมาใหเ้ ตม็ ที่

180

บางอยา่ งเราต้องเรียนร้ไู ปพร้อมกนั กับเด็ก” อ.รตั นวดี โมรากลุ หรอื อ.เนย้ ครูที่
ปรึกษาผู้ใจดขี องเดก็ เล่า
ทุกเย็น ในขณะที่เพอ่ื นคนอ่นื ๆ ไปเทย่ี วประสาวยั รุ่น ไปเรียนพเิ ศษตาม
สถาบันกวดวชิ าต่างๆ แตเ่ ดก็ ๆ และคณุ ครกู ลุ่มน้กี ลบั ใช้ห้องปฏิบัติการวทิ ยาศาสตร์
เป็นกองบัญชาการค้นควา้ วิจัยการปอกไข่
“ตอนน้นั หนูบอกกับเพ่ือนๆ วา่ ฐานทมี่ ัน่ ของพวกเราคือท่ีน่ี และนกั รบทุก
คนจะยอ่ ท้อไมไ่ ด”้
เดลต้าเลา่ ด้วยนาํ  เสยี งจริงจงั

181

ฐานท่ีมั่น
ของพวกเราคือท่ีนี่
และนกั รบทกุ คน
จะยอ่ ท้อไม่ได้

182

183

3

การทดลองนีม้ จี ุดตงั้ ตน้ จากการอยากเอาชนะความไมร่ ู้ แต่ความไมร่ ู้ของ
เด็กสมยั นอี้ าจไมห่ นักหนว่ งเทา่ คนรุ่นเก่า เพราะสามารถสบื ค้นข้อมลู ไดง้ ่ายดาย ผ่าน
อนิ เทอรเ์ น็ท
หลังจากต่างคนต่างพยายามรวบรวมข้อมูลส่ิงประดิษฐ์คิดค้นอันเก่ียวกับ
เครอื่ งปอกไข่ให้มากทส่ี ุด และนำ�ขอ้ มลู ทไี่ ด้มาระดมแลกเปลี่ยนความเห็นกนั
สาวๆ กส็ ะดุดกบั วิธกี ารปอกไข่ด้วยการใช้ปากเปา่ วธิ กี ารก็คือปอกเปลอื ก
ทางดา้ นหวั นดิ หน่งึ แลว้ ปอกไขท่ างด้านทา้ ยใหก้ วา้ งกว่า จากนัน้ ใชป้ ากเปา่ จากด้าน

184

หัว ไข่กจ็ ะหลดุ พรวดออกมา คะเนดูแลว้ น่าจะเปน็ วธิ ีท่งี า่ ยทีส่ ุดทุกคนจงึ ตกลงใจจะ
ท�ำ การทดลองด้วยวิธนี ี้
พวกเธอเลา่ ว่า ณ ตอนนั้นพวกเธอพากนั จินตนาการ (กนั ไปเอง) ว่าเวลา
เปา่ แรงลม จะดันเน้อื ไขอ่ อกจากเปลอื กได้อยา่ งงา่ ยดาย โดยที่เปลือกไข่ก็ไม่เสยี รูป
ทรง
“แต่ไม่ง่ายอย่างที่คดิ เลยคะ่ เพราะพวกเราเปา่ ยงั ไงเปลอื กไขก่ ไ็ ม่หลดุ ออก
ค่ะ”
พชี เล่า
“โดยเฉพาะ ไอซ์ เขาเปา่ จนนาํ  ลายยดื ออกมา พวกเราก็ว้าย สกปรก เอา
ไข่ต้ม ท่ไี อซ์เปา่ มาวงิ่ ไลแ่ กลง้ กัน กว็ ง่ิ หนีกนั สนุกสนานคะ่ เลยสรปุ วา่ ถา้ เป็นอยา่ งน้ี
คงไม่มีใครกลา้ กินไข่ท่ปี อกด้วยวธิ นี แี้ น่”
ต๊กิ เล่าวีรกรรมทผ่ี ่านมาอย่างข�ำ ขัน
“วิธีเร่ิมโครงงานมันไม่ได้เกิดจากการประมวลความรู้จากวิชาอะไรเข้มข้น

185

มากมายหรอกครบั จริงๆ แลว้ มันเกิดจากปญั หาอย่างนแ้ี หละ เชน่ ตอ้ งหาวธิ กี ารทำ�
อปุ กรณ์เป็นเบ้าส�ำ หรบั ลอ็ กไข่ตม้ แทนทีจ่ ะใช้มือจับ มันก็ไลไ่ ปทีละปัญหา เปลีย่ น
ตวั ปญั หาไปเรอ่ื ยๆ” อ.ชูเกยี รติเล่า
ทั้งนีอ้ าจารย์ชูเกยี รตมิ ีกฏเหล็กอย่างหน่งึ ส�ำ หรับการท�ำ งานคือ ตอ้ งเรียนรู้
และลงมือท�ำ ด้วยตัวเองทกุ ข้ันตอน
สาวน้อยท้ังกลุ่มจึงต้องถึงขนาดไปเร่ิมต้นศึกษาวิธีหล่อยางพาราเพ่ือมาทำ�
เปน็ เบ้าใสใ่ ข่
พวกเธอไปซ้ืออุปกรณย์ างพาราจากรา้ นศกึ ษาภณั ฑใ์ กล้โรงเรยี น ศกึ ษาวธิ ี
การหลอ่ แบบจากค�ำ แนะนำ�ข้างกล่อง โดยใช้ไข่เปน็ ต้นแบบ มที อ่ เหลก็ ส�ำ หรบั เปา่
ลม แตผ่ ลปรากฏวา่ เมอื่ น�ำ มาจับยึดกบั ไขแ่ ล้วทดลองเป่าอกี ครั้งเปลือกไขก่ ไ็ ม่หลุด
อยู่ดี
จะแกป้ ัญหานี้ต่ออยา่ งไรดีนา้ ...
คอื ส่ิงที่สาวๆ วยั วา้ วนุ่ กลุม่ นคี้ ดิ ไมต่ กกนั ไปหลายวนั หวั เดยี วกระเทยี มลบี

186

ท้งั หมดจึงชวนกันมาระดมความคิดอกี ครงั้
การระดมความคดิ นเี่ รยี กว่าเป็นจุดเดน่ ของการคดิ คน้ นวัตกรรมใหมๆ่ ทาง
วิทยาศาสตร์ของโรงเรียนสตรวี ทิ ยก์ ว็ ่าได้ เพราะเวลาที่พวกเธอคดิ ไมอ่ อก ทางเลือก
ทค่ี ณุ ครแู นะนำ�ให้พวกเธอท�ำ คือ “ระดมสมอง”
“จะมัวแตไ่ ปน่งั ใชห้ มองนงั่ มาธคิ นเดยี วคงคดิ ไม่ออก เพราะพวกเราไมไ่ ด้
เก่งเหมือนอิคควิ ซังนะ่ คะ่ ...”
พชี กล่าวขำ�ๆ ตามสไตล์
ฉะนน้ั ท้งั อาจารยแ์ ละนักเรยี นจงึ รว่ มวเิ คราะหป์ ัญหาท่เี กิดขน้ึ เด็กๆ ต้งั
สมมตฐิ านตอ่ วา่ ปญั หาอาจอย่ทู ก่ี ารตม้ ไข่ จงึ ศึกษาวิธีการต้มแบบตา่ งๆ ทั้งวิธีเติม
เกลือ เตมิ นาํ  ส้มสายชู เติมนาํ  มะนาว ใช้ใขไ่ ปวนั ละกว่า 100 ฟอง ไดข้ ้อสรปุ ว่า ไข่ที่
ตม้ ด้วยวธิ ีเติมเกลือ ต้มนาน 30 นาทีปอกไดง้ ่ายทสี่ ุด แต่เมื่อน�ำ มาทดลองเปา่ กลบั
ยังเป่ายากเหมือนเดิม
“ชว่ งที่ยังไมโ่ อเคนะคะ พวกเราตอ้ งถือถุงใส่ไข่ต้มกลับบา้ นวนั ละถุงใหญ่

187

เลยค่ะ ตอนน้ีก็ยังเบ่ือไข่ต้มอยู่เลย”
แพรเล่าพลางทำ�หนา้ เหยเกเมอ่ื นึกถงึ ไข่ต้มเจ้าปัญหา
แก้ปัญหาเรื่องหนง่ึ ผา่ นไป กต็ ้องพยายามคดิ วิเคราะห์ ตงั้ สมมติฐานใหมต่ ่อไป
“เรากม็ าสนั นิษฐานตอ่ ว่าลมอาจจะแรงไม่พอ ก็เลยหาเครอ่ื งอดั ลมท่ีมกี �ำ ลังลม
มากขน้ึ ก็ไปค้นมา 3 วิธี คือท่สี ูบลมลูกโป่ง ที่สูบลมรถจกั รยาน และคอมเพรสเซอร์ ก็
สรปุ วา่ ใช้ทส่ี ูบลมลกู โป่งดีท่สี ุด แตก่ ย็ ังปอกไข่ไดไ้ ม่ดีค่ะ”เดลต้าเล่า
ทดลองมาหลากหลายวธิ ี ทมุ่ เททกุ วัน เจออปุ สรรคและทางตันขนาดน้ี สาวๆ
กย็ งั ไมย่ อมแพ้
“เราทดลองมาเยอะแล้ว เลยคิดว่าท�ำ ต่อไปขา้ งหน้าใหเ้ สร็จจะดกี วา่ ถา้ จะหา
วธิ ปี อกไข่แบบอื่น ก็ตอ้ งเร่ิมกระบวนการศึกษาใหมอ่ ยดู่ ี” ต๊ิกเลา่ ดว้ ยเสยี งหนักแนน่
จากปญั หาทเ่ี กดิ ข้นึ ท้งั ครแู ละศษิ ยก์ ็มาวเิ คราะห์ร่วมกนั อ.ชเู กียรติ ต้งั คำ�ถาม
ให้เด็กๆ คดิ วา่ สาเหตุเกดิ เพราะอะไร

188

จากน้นั พวกเขาน�ำ ชิ้นงานมาพิจารณาแล้วตงั้ สมมตฐิ านวา่ ปัญหากค็ อื แม้
แรงดันลมจะมาก แต่เม่ือผา่ นท่อขนาดเลก็ กจ็ ะมลี มเขา้ มาสัมผสั พืน้ ผิวไขเ่ พยี งเลก็
นอ้ ย ท�ำ ให้แรงดันน้อยเกินไป จงึ ไม่สามารถเป่าไขอ่ อกมาจากเปลือกได้
น�ำ มาสูก่ ารเลกิ ใชต้ วั จบั ชนิ้ บน แล้วใหแ้ รงดันลมสมั ผัสกบั ไขโ่ ดยตรง โดย
จะใช้ครอบแก้วทำ�หนา้ ที่กกั อากาศไว้ สว่ นด้านล่างยังคงมยี างพารายดึ จับไข่ไว้ และ
ออกแบบแทน่ วางไข่ใหเ้ ป็นแผน่ ไมม้ ชี ่องกลมเพ่อื ใหว้ างไข่ได้
โดยพวกเขาจินตนาการว่าเมอ่ื เพม่ิ แรงดันลมในขวดแกว้ แรงดนั ทเี่ พิ่มนจี้ ะ
ผลกั ให้เน้อื ไขห่ ลุดลน่ื ออกจากเปลือกไข่ทางดา้ นลา่ ง โดยทเ่ี ปลอื กไขย่ ังคงค้างอยูใ่ น
ครอบแก้ว แต่ปัญหาตามมาคือไม่สามารถหาซอื้ ครอบแกว้ สำ�เร็จรปู ได้ ทางออกคอื
ตอ้ งตดั ขวดมาท�ำ ครอบแกว้ ใช้เอง
วนั เวลาผา่ นไป เด็กๆ ยังคร่าํ เคร่งกับการประดษิ ฐ์หนแล้วหนเลา่
อยา่ งทีเ่ ดลต้าเคยยนื ยัน ฐานทม่ี ัน่ ของพวกเธอคอื ทนี่ ่ี และนกั รบทกุ คนจะ
ยอ่ ทอ้ ไมไ่ ด้!

189

190

ศนู ยพ์ ัฒนาโครงงานและสิ่งประดิษฐท์ างวทิ ยาศาสตร์ ของ อ.ชูเกียรติ คอื ฐานที่มนั่ ที่
พวกเธอใช้เป็นที่ผลติ ผลงาน
ห้องเล็กๆ ห้องน้เี พยี บพร้อมไปด้วยอปุ กรณเ์ ชงิ ช่างสารพดั ชนดิ ทัง้ เครอ่ื งมือ
ตัด พบั เลื่อยไฟฟ้า แทน่ สวา่ น ตู้เชือ่ มไฟฟ้า แบตเตอรี่ กระดานอดั รวมทัง้ วสั ดเุ หลือ
ใชต้ า่ งๆ กองสมุ ทับถมกนั เบียดแทรกด้วยผลงานสง่ิ ประดิษฐ์ของนักเรียนรุ่นกอ่ น จน
เหลือเพียงทางเดินแคบๆ เท่านั้น
ดว้ ยความท่อี าจารย์เป็นนกั ประดษิ ฐ์ อกี ท้ังยงั ช่างเก็บ ชา่ งสะสมวัสดุอุปกรณ์
ทุกอยา่ งเอาไว้ ให้เดก็ ๆ ไดเ้ ลือกใช้เพื่อสรา้ งสรรค์ช้นิ งานของตัวเอง
สาวๆ ทเี่ ข้ามาในฐานท่มี ่นั ทุกคนจงึ ตอ้ งฝกึ เล่ือย ตัด ขดั เจาะ ประกอบงาน
ไมด้ ้วยตนเอง ไดแ้ ผลกนั ไปคนละเล็กนอ้ ย เพื่อเรยี นรวู้ ธิ ีตดั ขวดแกว้ เพอ่ื นำ�มาทำ�
ครอบแก้วกักอากาศ
“เราก็บอกวิธีใช้เครอื่ งมือ อา้ วนักเรียนระวงั นะ หวั แร้งมันรอ้ นนะ ยังไม่ทนั
จะอะไรเลย อาจารยข์ ามอื พอง โดนไปครง้ั เดยี วเขาก็จ�ำ ไปตลอดละ่ ”

191

อ.ชูเกียรติเล่าพลางยิ้มสดใสเม่ือได้นึกถึงบรรยากาศความวุ่นวายท่ีเกิดข้ึนใน
ครั้งกระนน้ั
“ครูมองวา่ สมองของผ้หู ญงิ และผชู้ ายมกี ารรับรไู้ ดเ้ ทา่ ๆ กนั แหละ แตส่ รรี ะ
ต่างกัน ผชู้ ายมีเรย่ี วแรงมากกว่าจงึ อาจทำ�งานช่างท่ตี อ้ งใชแ้ รงสะดวกกวา่ เพียงเทา่ น้นั
แตร่ ับรองวา่ ถ้าผหู้ ญงิ มีเคร่ืองทนุ่ แรง มเี คร่ืองมือ และฝกึ การใช้เครื่องมือจนคลอ่ ง ก็
สามารถประดษิ ฐ์ชน้ิ งานต่างๆ ไดไ้ มแ่ พผ้ ู้ชาย ผหู้ ญงิ ไดเ้ ปรยี บดว้ ยซาํ  เพราะเขาคอ่ น
ข้างละเอียดกว่า” อ.ชูเกียรติยืนยนั
เมอื่ ประดิษฐ์เคร่ืองปอกไข่ตน้ แบบไดแ้ ล้ว น�ำ มาทดลองดูผลปรากฏวา่ ลม
สามารถดันเนอ้ื ไข่ออกจากเปลือกได้ แต่คุณภาพท่ไี ด้ยงั ไมส่ มา่ํ เสมอ ไขห่ ลายลกู แตก
เสยี รปู
จึงน�ำ ไปสสู่ มมติฐานตอ่ มาคอื ลักษณะหนาบาง สัน้ ยาวของเบ้ายางมผี ลต่อ
การบีบรัดไขต่ ้มให้แตกหรือไม่ พวกเขาต้องหล่อเบ้ายางแบบต่างๆ ขนึ้ ใหมน่ บั สบิ อัน
เพอ่ื ทดสอบสมมติฐานน้ี

192

“พอทดลองกส็ รุปว่าสมมตฐิ านนี้ไมใ่ ช่ เพราะเบา้ ยางมนั ยืดหยุ่นได้ จึงมา
วิเคราะห์ดูใหม่ว่ามนั ต้องเป็นทีข่ นาดเสน้ ผ่านศูนย์กลางของช่องบนแผน่ ไม้ เพราะฉะนั้น
ต้องทำ�ไมห้ ลายๆ แผ่นท่ีมีขนาดชอ่ งแตกต่างกนั ” ต๊กิ เลา่ บ้าง
“นักเรยี นต้องเรียนรูท้ จ่ี ะตั้งสมมติฐานใหม่ ตอ้ งไมก่ ลัวผิด เพราะเวลาเรียนใน
หอ้ งมนั เป็นการพิสจู นส์ มมติฐานของทฤษฎี แลว้ ทำ�การทดลองไปตามหนงั สือ มนั ก็ตอ้ ง
ไดค้ ำ�ตอบท่คี าดการณไ์ ดอ้ ยแู่ ล้ว แตก่ ารทดลองทำ�สิ่งประดษิ ฐ์นี่มันยากกวา่ ตรงทีเ่ ด็กๆ
ไมร่ เู้ ลยว่าค�ำ ตอบของการทดลองมันจะออกมายังไง สมมตฐิ านท่ตี ั้งมันจะใชห่ รอื ไม”่
อาจารย์ชูเกียรตสิ าธยายอย่างออกรสออกชาติ
หลังจากนั้นกม็ าสกู่ ารกระบวนการอีกขน้ั คอื การปรบั รปู แบบเบา้ ยางท่ีรองรับไข่
“เม่อื กอ่ นเราต้ังสมมติฐานว่าถ้าเบ้าเป็นรูปไข่ จะช่วยรั้งเปลอื กไขไ่ ม่ใหห้ ลุดตาม
มา แต่ตอนหลังก็ค้นพบวา่ เปลอื กไข่อยไู่ ด้ดว้ ยความฝืดของผวิ สัมผัสระหวา่ งยางพารา
กบั เปลือกไข่ เพราะฉะนน้ั จงึ ท�ำ เบ้าเป็นท่อตรงก็ไดง้ า่ ยกว่า”
แพรอธบิ าย

193

“สมมตฐิ านมันเยอะ ตอนแรกกลวั วา่ ครอบแก้วจะปดิ ไม่สนิท กท็ ำ�ยางหุม้
ขอบครอบแก้วอกี แต่ความจริงแล้วเราสามารถกดครอบแกว้ ใหแ้ น่นไดโ้ ดยไม่ต้อง
ใชข้ อบยาง เพราะเราสามารถเจียรขอบครอบแก้วใหเ้ รียบได้ ซลี ยางรอบขอบแก้ว
ก็เปน็ อนั ยกเลกิ ไป”
ไอซเ์ ลา่ บา้ ง
ไมเ่ พยี งเทา่ น้ี เดก็ ๆ ยงั ออกแบบคานกดครอบแกว้ เพือ่ ชว่ ยกดใหแ้ น่นผอ่ น
แรงกว่าการใช้มือจบั
ผลงานในรอบแรกเป็นท่พี ออกพอใจของทุกคนในโรงเรยี น แต่พวกเธอ
ตระหนกั ดีว่ามนั ยงั ไมใ่ ชค่ ำ�ตอบสดุ ท้าย เพราะยังไม่ใชเ่ ครอ่ื งปอกไข่ที่สมบูรณแ์ บบ
ไรท้ ี่ติ ยังมขี อ้ ควรตอ้ งปรับปรุงอื่นๆ ตามมา การรบี พอใจในส่ิงท่เี ปน็ อยู่ยอ่ มไมส่ ง่
ผลให้เกิดการเปลีย่ นแปลงพัฒนาใดๆ พวกเธอตระหนกั ถึงความจริงข้อนี้ดี เทา่ ๆกับ
ทร่ี ู้ว่าการจะเปลี่ยนแปลงพฒั นาใดๆ ก็ไม่ใช่เรอ่ื งง่ายๆ ที่จะเกิดข้นึ ภายในวันสองวัน
แตค่ วามท้าทายทรี่ ออยเู่ บอ้ื งหน้ามันสนกุ นอ้ ยซะเม่ือไหรล่ ะ่ ฉะนั้น ต้องยนื ยนั ทจ่ี ะ
นำ�พาสงิ่ ประดิษฐช์ ้นิ น้ีให้ก้าวไกลต่อไป ณ เวลาน้นั พวกเธอเหน็ ตรงกนั เช่นนั้น...

194

4

เมอื่ น�ำ พาส่งิ ประดิษฐ์ชิ้นเอกผา่ นการประกวดในแต่ละระดบั พวกเธอกร็ บั ค�ำ
แนะนำ�ที่มีประโยชน์จากกรรมการมาปรับปรุงแก้ไขเครื่องปอกไข่ต้มให้มีประสิทธิภาพ
มากขน้ึ และไดเ้ ปล่ยี นเบ้าจากยางพาราเป็นซลิ ิโคน เพอื่ ความปลอดภยั ต่อผู้บรโิ ภค
ซ่งึ หมายถงึ ต้องใช้ความบากบ่นั พยายามเพ่ิมเติมมากข้นึ ไปอกี เพือ่ เรยี นรู้วธิ หี ลอ่ ซลิ ิ
โคนขน้ึ มา
จากปัญหาทเ่ี กิดข้ึน นำ�ไปสู่การแกไ้ ขทลี ะจุด ผา่ นไปทีละเปลาะ หลาย
สมมติฐานอาจผิดพลาด ต้องหลงทศิ ทางไปบา้ ง แต่เวลาไมเ่ คยสูญเปล่า เพราะแท้จริง

195

196

แลว้ เดก็ ๆ ไดเ้ รยี นรู้วา่ พวกเขาได้ขจดั หนทางทผี่ ิดพลาดออกไปมากมาย และเข้าใกล้
ความส�ำ เรจ็ ไปอกี กา้ ว
“อย่างทบ่ี อกครบั ปญั หาของเดก็ ๆ ก็คอื ความรับผดิ ชอบ ความจดจอ่
เพราะความรู้ท่ีใชม้ ันไมเ่ กนิ ที่เขาเรียน แรงดนั คาน เรยี นมาตั้งแต่ดึกดำ�บรรพ์แลว้
แตว่ ่าพอเขาเหน็ ปญั หา เขาตงั้ สมมตฐิ านเปน็ ไหม คิดวธิ ีแก้ปญั หาเปน็ ไหม คาด
การณ์ข้างหน้าเป็นไหม ความร้จู ากครูกเู กิล้ บอกได้หมด แต่เราจนิ ตนาการออกไปได้
ไหมว่ามันเป็นเพราะเหตใุ ด ครอู ยา่ งเรามีหนา้ ทตี่ อ้ งกระตนุ้ และช้ีชอ่ งให้เขาน�ำ ความ
ร้ใู นทฤษฎบี นหิ้งลงมาคลุกฝนุ่ ใช้จริงในเชงิ ปฏบิ ตั ิ”
อ.ชเู กยี รตกิ ลา่ วถงึ วธิ กี ารสอนทีต่ นเองนำ�มาใช้
กวา่ จะผา่ นการทดลองไปแต่ละข้ันตอนจนเสรจ็ สมบรู ณ์ ใชเ้ วลานบั แรมปี
ใชไ้ ข่ไปนบั พนั ลูก ตลอดเสน้ ทางมีความทดทอ้ เกดิ ขนึ้ มากมาย บางคร้งั กดดันจนเสยี
นาํ  ตา แตพ่ วกเขาก็อดทนฟนั ฝ่ามาได้อย่างน่าช่นื ชม
“เราใหก้ �ำ ลงั ใจกนั พอคนนงึ ทอ้ อกี คนก็บอกว่า อกี นดิ นะ อกี นิดนงึ จะ
ส�ำ เรจ็ แลว้ เราสไู้ ปด้วยกันคะ่ ”

197

พชี เล่าพรอ้ มกับหันไปย้ิมกับเพ่อื นๆ
“อาจารยท์ ้ังสองท่านก็อยู่เคยี งข้างเราตลอดคะ่ คอยตง้ั ค�ำ ถามใหเ้ ราคดิ
อาจารยเ์ น้ยก็ปลอบใจใหเ้ ราไม่ทอ้ กดดันใหเ้ ราต้องหาวธิ กี ารมาให้ได้”
ไอซ์เล่าบา้ ง
“ระหว่างทำ�มันมคี วามสนุกท้าทาย เราจะตง้ั สมมติฐานถูกไหม ลุ้นวา่ ผล
จะเป็นอย่างไร พอเวลาใกล้เขา้ มาเรากบ็ อกตวั เองวา่ เราต้องส�ำ เร็จใหไ้ ด”้
แพรนกึ ถึงความหลังด้วยดวงตามุ่งมั่น
“คุณครูเขาบอกว่าทกุ ปญั หามนั มที างแก้ ลองใหม่ ลองดู ลองสังเกต ตง้ั
สมมติฐานใหม่ แล้วมนั ก็มีทางแก้จรงิ ๆ คะ่ ”
เดลตา้ กลา่ วทิง้ ทา้ ย
และแลว้ ส่งิ ทีค่ ณุ ครูและสาวๆ แห่งสตรวี ิทยาทุม่ กายเทใจลงไปไม่สญู เปล่า
ผลงานส่ิงประดิษฐ์ช้ินนี้ของพวกเธอก็สามารถคว้ารางวัลเหรียญทองนวัตกรรมสิ่ง
ประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตรร์ ะดบั นานาชาตจิ ากงาน International Exhibition for

198

ระหว่างท�ำ
มันมคี วามสนุกท้าทาย
เราจะตงั้ สมมติฐานถูกไหม
ลุ้นวา่ ผลจะเปน็ อยา่ งไร
พอเวลาใกลเ้ ขา้ มา
เราก็บอกตัวเองว่า
เราตอ้ งสำ�เร็จใหไ้ ด้

199

Young Inventors (IEYI-2013)  ณ กรงุ กัวลาลมั เปอร์ ประเทศมาเลเซีย มาครอบ
ครองสมใจปรารถนา
อาจารยช์ ูเกียรติ กล่าวว่า รางวัลไม่ใช่สิ่งสำ�คัญสูงสุดของการทำ�สง่ิ ประดษิ ฐ์
ของนักเรียน แตเ่ ป็นหลมุ พรางทขี่ ดุ ลอ่ ใหก้ ้าวไปเท่านนั้ รางวลั จรงิ ๆ ทเี่ ด็กๆ ได้
รับ อยใู่ นกระบวนการ ระหว่างทางของความส�ำ เร็จ ทีเ่ ดก็ ๆ ไดซ้ มึ ซบั ไว้ เมื่อวันใด
ท่เี จอปญั หา เด็กๆ กลุม่ นจี้ ะสามารถ นึกย้อนกลบั มาวา่ ทุกปญั หามสี มมตฐิ าน และ
มีวิธกี ารทีจ่ ะแก้ไข ขอเพียงอย่าลม้ เลิก ย่อมเจอคำ�ตอบไมท่ างใดกท็ างหนงึ่ ให้ตัวเอง
แน่นอน
“ประเทศอน่ื ตอนนเ้ี ขาเนน้ สอนเนอ้ื หา ทฤษฎีทางวชิ าการต่างๆ ผ่าน
การทดลองท้งั น้ัน เขาเน้นใหเ้ ด็กต้องไดล้ งมอื ทำ� ได้จับ ไดค้ ิด วเิ คราะห์ เหน็ จรงิ
ประเทศไทยต้องหันกลบั มาเน้นทักษะ เหลา่ นี้อย่างจรงิ ๆ จงั ๆ ใหส้ ามารถเรยี นรู้
แลว้ น�ำ ไปปรบั ใช้ในชีวิตประจ�ำ วันได”้
อาจารยช์ ูเกียรตกิ ลา่ วทิ้งทา้ ยไวอ้ ย่างนา่ สนใจ

200


Click to View FlipBook Version