The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by เอกสารเผยแพร่, 2019-10-19 21:57:53

-7

-7

ถา้ จะซ้ือเครอ่ื งแยกเหรยี ญมาใช้ก็ไม่คมุ้ คา่ เพราะราคาแพง จากการเรียนร้ใู น
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ในเรอื่ งการแยกสารท�ำ ให้ทราบว่า สารทม่ี ขี นาดแตกต่างกนั
สามารถแยกกนั ได้ดว้ ยตะแกรงรอ่ น แตต่ ้องมีแรงมาชว่ ยในการเขย่า
ผูจ้ ัดท�ำ ไดเ้ ห็นปญั หาของการแยกเหรียญดังกลา่ ว และจากการเรียนรใู้ นกลมุ่
สาระวิทยาศาสตร์ ท�ำ ใหผ้ ้จู ดั ท�ำ ประดษิ ฐ์ส่ิงประดิษฐ์ช้ินนข้ี ึ้นมา ซ่ึงท�ำ ให้สามารถแยก
เหรียญได้อย่างแมน่ ยำ� รวดเรว็ และสามารถประดิษฐจ์ ากวสั ดทุ ม่ี ใี นท้องถิ่นและมี
ราคาถกู



1

เคร่อื งทิ้งสงิ่ ปฏิกลู ทางความคิด

บรรยากาศในร้านแหนมเนืองชื่อดังของจงั หวดั หนองคาย กำ�ลังมีเสียงดงั
อกึ ทึก คกึ คัก และคลาคลาํ่ ไปด้วยผูค้ น

ทว่าเดก็ ๆ กลุม่ น้นั กไ็ ม่ย่หี ระตอ่ คนที่โตะ๊ อืน่ ๆ ตา่ งพากนั นงั่ คยุ นง่ั เม้าทม์ อย
อยา่ งสนุกสนาน คลา้ ยกับว่าบรรยากาศรอบตวั หาไดม้ ผี ลใดๆ ต่อพวกเขาไม่

103

ส่ิงประดษิ ฐ์ : อุปกรณด์ ดู สิ่งปฏิกูลในบอ่ ปลาสวยงาม
โรงเรยี นปทุมเทพวทิ ยาคาร จ.หนองคาย
104

ละครทีวีซรี ีสช์ ื่อดงั “ฮอร์โมน วัยว้าวุ่น” ยังคงเปน็ ประเดน็ ในการเมา้ ท์
มอย ถึงอยา่ งสนุกสนาน

พวกเขาบอกว่าละครเวทีเรื่องน้ีเหมือนจะเป็นตัวแทนเรื่องเล่าของคนใน
วยั เดียวกันกับพวกเขาไดใ้ กลเ้ คยี งความจรงิ ท่ีตรงใจ จนทำ�ใหอ้ ดทจี่ ะเอามาเมา้ ท์
ถึงไมไ่ ด้

เสยี งหัวเราะ รอยย้มิ ทสี่ ดใส การแซวกันไปมา เพื่อน การสอบ ดเู หมือน
จะเปน็ ส่วนประกอบทสี่ �ำ คญั ของเด็กในวัยน้แี ทบทุกคน

มัลลิกา ตงั้ ตรง (ฝา้ ย) กับ วรวฒั น์ รูปงาม (แบงค์) กไ็ มต่ ่างจากเด็กคน
อืน่ ๆ ในวยั เดียวกนั ในยามนีพ้ วกเขาเหมอื นเด็กวัยรนุ่ ทว่ั ไป

แต่ใครเลยจะคดิ ว่าช่วงปที ผ่ี า่ นมา ความม่งุ มนั่ ตัง้ ใจ และจดจ่อกบั สง่ิ
ประดิษฐ์ ที่พวกเขาทำ�นนั้ สง่ ผลใหค้ วามนกึ คดิ และวุฒภิ าวะของพวกเขาเปลี่ยน
ไปไม่เหมอื นเดมิ

105

“โอโ้ ห…เรียกว่าท่สี ุดของทีส่ ุดเลยค่ะ ตอนท่ีไดร้ บั รางวลั ระดับจังหวัด ระดบั
ประเทศน่ียังสนุกอยู่ แตพ่ อตอ้ งไปแข่งระดับนานาชาตทิ ีม่ าเลเซยี นส่ี ิคะ หนูยอมรับ
เลยว่ามันท�ำ ใหห้ นเู ครยี ดมาก รอ้ งไห้บอ่ ยเลย ทะเลาะกนั กบั แบงคก์ ม็ ี

“เพราะนอกจากจะต้องคดิ ค้นหาทางทำ�ให้สิง่ ประดิษฐ์ของเราสมบรู ณ์แบบ
ทสี่ ุดแล้ว ยงั ต้องมาเครยี ดกับการใชภ้ าษาองั กฤษอกี โอ้โห สำ�หรบั หนูเรยี กวา่ ช่วง
เวลาน้ัน ท�ำ ให้หนูโตขนึ้ มากเลย เพราะหนไู ดเ้ รยี นรกู้ ารอดทนตอ่ แรงกดดัน เรยี นรู้ท่ี
จะเอาชนะความขเี้ กียจ เรยี นรทู้ ่ีจะชนะตวั เอง เรยี นร้ทู ีจ่ ะคดิ ถงึ ใจคนอน่ื ครบทุกรส
เลยค่ะ...”

ฝ้าย สาวหนา้ ใสคนเดิมกลา่ ว
“ส�ำ หรบั ผม ผมคิดว่าการท�ำ งานประดษิ ฐน์ ้ปี เี ดยี ว ท�ำ เอาผมแกไ่ ปถงึ 3 ปี
(หัวเราะรว่ น) แก่ในท่นี ี้ไมไ่ ด้หมายถงึ หน้าแกน่ ะครับ แตห่ มายถึงการได้โตเปน็ ผู้ใหญ่
ขน้ึ ตา่ งหาก”
พูดจบ แบงค์ หนุ่มเนิร์ด ย้ิมอย่างอารมณ์ดี
ท้ังสองเป็นนักเรียนแผนกวิทยาศาสตร์ และต่างกช็ อบเรยี นวิทยาศาสตร์

106

ผมคดิ ว่า
การท�ำ งานประดษิ ฐ์
นีป้ เี ดยี ว
ท�ำ เอาผมแก่
ไปถึง 3 ปี

107

ฝ้ายให้เหตผุ ลวา่ เธอชอบวิทยาศาสตร์เพราะมันเปน็ เหตุเปน็ ผลหนักแนน่ ดี สว่ น
แบงคบ์ อกวา่ เขาชอบทดลอง ชอบเรียนรู้ ชอบพิสจู น์ และวิทยาศาสตรเ์ ป็นวชิ าท่ีมสี ่งิ
เหล่าน้นั ใหก้ บั เขา

“ท้งั คมู่ บี ุคลกิ ของความเป็นนักวทิ ยาศาสตรอ์ ยูใ่ นตวั อย่แู ลว้ อยา่ งฝ้ายนเี่ ธอ
เปน็ คนชา่ งสังเกต ชอบตั้งค�ำ ถามโน่นนี่นั่น ส่วนแบงคช์ อบประดษิ ฐ์ ชอบทดลอง เกง่
ทางชา่ ง เม่อื ทั้งค่มู าเจอกันจึงลงตวั มาก” อาจารยว์ ไิ ลรตั น์ ประทมุ ชาติ หรอื อาจารย์
ตุ้มของเด็กๆ กลา่ ว

อย่างไรกต็ าม นอกจากอาจารย์ตุม้ แลว้ บคุ คลส�ำ คัญทเี่ รียกไดว้ า่ เปน็ ผู้ท�ำ ให้
วชิ าวทิ ยาศาสตรท์ ่ดี ขู มๆ นั้น มรี สหวานลอ่ ตายวนใจเด็กๆ ให้เข้าหาคอื อาจารย์ ศรี
ธร มลู มณี อาจารย์ฟิสกิ ส์ ผสู้ อนฟิสกิ ส์ท่ีน่ีมาตัง้ แตค่ รัง้ อาจารยต์ มุ้ ยังเปน็ นักเรยี น
และมกี ลวธิ ใี นการสอนที่สนกุ สนานจนทำ�ให้อาจารย์ตมุ้ หลงรักและชอบวทิ ยาศาสตร์

สอนฟสิ กิ สท์ ีน่ ี่มาตง้ั แตร่ นุ่ ครูมาจนถงึ รุ่นศิษยอ์ าจารย์ศรีธร ยังคงมีวธิ กี าร
สอนฟสิ กิ ส์หรอื วชิ าวทิ ยาศาสตรไ์ ด้สนกุ สนานเสมอมา

108

“ผมเนน้ ใหเ้ ขาเรยี นรูผ้ า่ นการปฏิบัติจริงๆ ทดลองจรงิ ๆ ถา้ เอาแต่ให้ทอ่ ง
สตู รจ�ำ ทฤษฎี และทดลองอย่ใู นหอ้ งเรียนตามหนงั สอื บอก เขาก็จะเบอ่ื ไม่สนุก แตน่ ี่
ส่วนใหญผ่ มจะเนน้ ใหท้ ำ�จรงิ ทดลองจรงิ มีการเชญิ ชวนใหเ้ ดก็ ๆ เข้ามาในชมรมิทยา
ศาสตร์ และใหค้ ิดคน้ ส่ิงประดิษฐ์ โดยบอกวา่ ถ้าใครสามารถคิดค้น ส่งิ ประดิษฐ์ไดจ้ ะ
ไดค้ ะแนนเพิม่ ”

อาจารย์ศรธี รเลา่ ไปยมิ้ ไป
“ใช่ครบั อาจารย์เอาคะแนนมาล่อ (หัวเราะกันคร้นื เครงทั้งวง) นี่แหละเปน็
ไฮไลท์ส�ำ คัญ ทีท่ �ำ ให้พวกผมเข้ามาท�ำ สง่ิ ประดษิ ฐ์ ”
แบงค์เสรมิ
“จรงิ ค่ะที่ทำ�สิ่งประดษิ ฐ์แล้วไดค้ ะ่ แนนเพมิ่ แต่อย่านกึ วา่ อาจารยใ์ ห้คะแนน
ตามอ�ำ เภอใจนะคะ นเี่ ป็นอุบายมากกว่าค่ะ

109

“เร่ืองของเรื่องกค็ อื เมือ่ เราเข้ามาท�ำ สง่ิ ประดิษฐแ์ ล้ว เวลามกี ารทดลอง
ท�ำ โน่นนนี่ ่นั อาจารยจ์ ะเหมอื นทวนวิชาใหเ้ ราไปในตัว สอนเราเรอื่ งแรง เรื่องอะไร
ต่างๆ อย่างท่ีก�ำ ลงั เรยี นในช้ันเรยี นนั่นแหละค่ะ

“แต่ทีนี้พอไดม้ าทดลอง มาทำ� มนั ท�ำ ให้เราจดได้แมน่ กวา่ การนงั่ ท่องจ�ำ อยู่
ในหอ้ ง เลยสอบได้คะแนนดีกวา่ เดมิ คะแนนเพ่มิ ขึ้นทีว่ ่านนั้ ท่จี ริงแลว้ ก็มาจากเรา
เองนแี่ หละค่ะ น่เี ป็นกศุ โลบายในการใชห้ ลอกล่อเราอย่างหนึง่ คะ่ ”

ฝา้ ยพูดจบเสียงหวั เราะจากวงสนทนาก็ดังขึ้นพรอ้ มๆ กนั

110

111

2

นอกจากชมรมวิทยาศาสตร์แล้ว อกี เงือ่ นไขหน่งึ ทีส่ งิ่ ทีท่ �ำ ให้เด็กๆ สนใจ
ทดลองท�ำ สง่ิ ประดิษฐ์คอื งานในสัปดาห์วิทยาศาสตร์ประจ�ำ ปีท่ีโรงเรียนจัดขนึ้ นนั้
จะเนน้ ให้เด็กๆ ไดช้ ม ได้เล่น และไดส้ นุกกบั วทิ ยาศาสตร์

ใครทำ�ส่ิงประดษิ ฐอ์ ะไรข้ึนมาหากทำ�จนสำ�เรจ็ กจ็ ะนำ�มาโชวก์ ันในงานนี้ สง่ิ
ประดิษฐข์ องใครเปน็ ท่ีต่นื ตาตืน่ ใจของเพ่ือนๆ นกั ประดิษฐ์คนนน้ั จะกลายเป็นฮโี ร่
ที่บรรดาวัยว้าวนุ่ ให้ความชน่ื ชม

112

ฉะนั้น ประสาวัยน้ี ทที่ กุ คนอยากโดดเดน่ ในสายตาเพ่อื นๆ แตล่ ะปี จงึ มสี ิง่
ประดิษฐ์ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ต่างๆ ทถ่ี กู คดิ ค้นขึน้ มาโชว์ มาแสดงศักยภาพ ทาง
วิทยาศาสตรก์ นั ไม่หวาดไม่ไหว

ทม่ี าของ “อุปกรณ์ดูดส่ิงปฏกิ ลู ในบอ่ ปลาสวยงาม” กเ็ ชน่ กัน มาจากการที่
เดก็ ๆ อยากคิดคน้ ส่ิงประดษิ ฐ์มาประกวดในงานนี้

“ครตู มุ้ กใ็ หโ้ จทย์ในการคดิ ไป บอกวา่ ให้ทำ�สิ่งประดิษฐ์ที่เปน็ นวตั กรรม
ออกมาใหม่ ยิ่งถา้ เป็นส่งิ ประดิษฐ์ทีย่ งั ไม่เคยมใี ครท�ำ มาก่อนเลยได้ย่ิงดี

เพราะสว่ นใหญ่สิง่ ประดษิ ฐ์อ่ืนๆ ทโี่ รงเรียนอื่นทำ�กัน มกั จะเปน็ การต่อยอด
ปรบั ปรงุ จากสิ่งทมี่ อี ยูแ่ ลว้ แต่สำ�หรบั เรา อาจารยต์ ุ้มยาํ  วา่ อยากใหท้ �ำ ส่งิ ใหมข่ ้นึ มา
เลย มันทา้ ทายดี...”

นอ้ งฝ้ายเลา่ จ๋อยๆ
เมอื่ ไดร้ บั โจทย์จากคณุ ครูคนสวยแล้ว เดก็ ๆ กพ็ ยายามไปคิดสงิ่ ประดิษฐ์
แต่ระหวา่ งทีเ่ ข้าตาจน คิดเท่าไรก็คิดไมอ่ อกว่าจะประดษิ ฐอ์ ะไรดี ฝา้ ยไปบา้ นแบงค์
เพื่อท่ีจะปรบั ทกุ ข์ ถอดใจ

113

เม่ือไปถึงบา้ นกเ็ จอแบงค์ก�ำ ลังหนา้ งาํ  อยูเ่ ชน่ กนั แตท่ ี่งาํ  น่นั ไม่ใชเ่ พราะคดิ
สง่ิ ประดิษฐ์ไมอ่ อกอย่างเดียว งาํ  เพราะโดนพ่อวานใหล้ ้างบอ่ ปลาหนา้ บา้ นด้วย

อันเปน็ งานที่แบงคอ์ ิดหนาระอาใจ เพราะต้องใช้เวลานาน แถมยงั ทำ�ให้
ปลาทีเ่ ขาเล้ียงไวต้ ้องตนื่ ตกใจ และสง่ ผลให้ปลาตัวนอ้ ยๆ หรือตวั ทไี่ ม่แข็งแรง ถึงกบั
ตายได้เลยทีเดียว

นถ่ี า้ มีใครน�ำ กล้องบันทึกภาพมาบันทึกหนา้ ตาของทั้งคไู่ ว้แลว้ ละก็ คงดไู ม่
จืดเลยทีเดยี ว

ขณะทกี่ ำ�ลังทดทอ้ กลัดกลุ้มกันอยทู่ ั้งคู่นนั้ ฝ้ายก็ส่งเสียงดังลนั่ ท�ำ เอา
แบงค์สะด้งุ

“ยูเรกา้ !! แบงค์ เราคดิ ได้แล้ววา่ เราจะท�ำ อะไรดี แบงคเ์ ราคิดไดเ้ แลว้ !!
ๆๆๆ” ฝ้ายส่งเสยี งดงั ลนั่
แลว้ ส่ิงประดิษฐ์ชินน้กี ถ็ อื ก�ำ เนิดข้นึ บนโลก!!

114

3

“คดิ วา่ จดุ เด่นท่ีสำ�คัญของส่ิงประดิษฐช์ ้นิ นคี้ อื มนั เป็นนวัตกรรมใหม่ ยังไม่
เคยมีใครทำ�เคร่ืองมือแบบน้ีออกมาเลย

“เดก็ ๆ เขากค็ ิด กท็ ำ�ตามที่เราแนะแนวไปวา่ ใหค้ ดิ สง่ิ ใหมม่ าเลย ซึ่งจะตา่ ง
จากหลายๆ โรงเรยี นทแ่ี นะนำ�ใหเ้ ดก็ ๆ คดิ ประยกุ ต์จากอุปกรณ์เดิมท่มี ีอยแู่ ล้ว

“ซ่ึงทำ�ใหมก่ บั ต่อยอดจากของเดมิ สองอย่างน้ี ไมม่ ีส่งิ ไหนผิดสิง่ ไหน ถกู นะ
คะ แต่สำ�หรบั เรา เราเนน้ ท�ำ ใหม่ เพราะคิดวา่ มนั ท้าทายดีคะ่ ” ครูตมุ้ กล่าว

115

ปัจจบุ นั มีการนยิ มเล้ยี งปลาสวยงามเพ่ิมข้ึนอย่างมากมาย และมธี ุรกิจตอ่
เน่ืองเพมิ่ ตามไปดว้ ย เชน่ การปลกู ไม้นาํ  ขาย การเพาะพนั ธป์ุ ลาขาย แตย่ งั ไมเ่ คย
มีใครทำ�เคร่ืองดดู ตะกอนสงิ่ ปฏกิ ูลในบอ่ หรอื ตู้ปลาเลย ทงั้ ๆ ท่ีการลา้ งตู้ปลา การ
ดแู ลความสะอาดของนาํ  เป็นปัญหาหรอื ภาระอันดบั หนึง่ ส�ำ หรบั คนเลี้ยงปลา

ฉะนัน้ สิง่ ประดิษฐ์ทมี่ ีช่ือว่า “อุปกรณด์ ดู ส่งิ ปฏกิ ูลในบอ่ ปลาสวยงาม” ท่ี
ครูและนักเรยี นโรงเรยี นปทมุ เทพวยิ าคารไดค้ ดิ ขึน้ มานี้ จงึ เปน็ ที่สนใจจากคนใน
ชมุ ชนยิ่งนกั

“ตอนทำ�ออกมาใหมๆ่ มเี ยอะนะครบั ที่มาถามวา่ ท�ำ ออกมาขายบ้างหรือ
เปลา่ จะขอซ้ือ (หวั เราะ) แตบ่ ังเอิญเราไม่ได้คิดไกลขนาดนั้น คดิ แคว่ ่าสงิ่ ประดิษฐ์
นีจ้ ะท�ำ ใหเ้ ด็กๆ มีใจรักในวิทยาศาสตร์มากขน้ึ รักการประดษิ ฐค์ ิดคน้ มากข้ึน และมี
ความคดิ สร้างสรรค์ ไม่จบั เจ่าอยู่แตก่ ับโซเชียลมีเดยี เทา่ น้ันกพ็ อแลว้ ครับ

“เราไม่ได้จดลขิ สทิ ธดิ์ ว้ ยนะครบั อาจจะมคี นทม่ี าดูมาเห็น เอาไปต่อยอด
พัฒนาเป็นสนิ ค้า ก็ไมว่ ่าเลยครบั ...”

116

117

อย่างไรกต็ าม กว่าท่ีเจา้ สิง่ ประดิษฐช์ นิ้ นจี้ ะออกมาเป็นรปู เปน็ รา่ งอย่างท่ี
ปรากฏนัน้ ต้องผา่ นการแกไ้ ขปรับปรุงมานับสิบๆ ครั้ง โดยเฉพาะจากค�ำ แนะนำ�
และตติ ิงจากคณะกรรมการในแตล่ ะระดบั

แตพ่ วกเขาไมเ่ คยมองวา่ การวพิ ากษว์ จิ ารณ์เหลา่ นน้ั คอื อปุ สรรค และ
ไมม่ คี วามส�ำ คญั ตรงกันข้าม พวกเขากลบั เอาคำ�วพิ ากษว์ จิ ารณแ์ ละค�ำ แนะนำ�มา
ปรบั ปรงุ อย่างไม่ยอ่ ท้อ

“ตอนแรกก็โดนวจิ ารณว์ ่าถงั เกบ็ ตะกอนทึบ เวลาดูดไปแลว้ มองไม่เหน็ สง่
ผลใหน้ าํ  ตกี ลบั เรากก็ ลับมาแก้ มาหาอปุ กรณ์กันใหม่ ท่ีใสมองเหน็ ได้

แต่เลือกไปเลอื กมามนั เปน็ พลาสติกท่บี าง พอสูบอากาศออกนมี่ ันยุบแบบ
บบุ บี้เลย ก็เปลย่ี นไปเรอ่ื ยๆ จนไดท้ เ่ี หมาะ ใส และมีความหนาลงตวั ” แบงค์เล่า

“ไม่ใช่เฉพาะเรอ่ื งของวสั ดทุ ี่เราน�ำ มาใช้ แตท่ างคณะกรรมการในระดบั
จังหวัดยังแนะน�ำ ว่าควรมที ฤษฎตี า่ งๆ มารองรับและอธิบายส่วนประกอบไดอ้ ย่าง
ถี่ถ้วน ถูกตอ้ ง

118

อาทิเช่น ทอ่ ทใี่ ช้ต่อก็ตอ้ งมกี ารทดลองรองรับว่าขนาดมคี วามส�ำ คัญต่อการ
ทำ�งานหรอื ไมเ่ พียงใด ใหเ้ ราอธบิ ายเรือ่ งมวล เรอื่ งแรงดนั ให้ได้ด้วย โอ้โห เรียกว่า
เก็บกันทุกเม็ดเลยค่ะ...” ฝา้ ยกล่าวเสรมิ

119

4

การลองผดิ ลองถกู ครัง้ แลว้ คร้งั เลา่ และใชเ้ วลายาวนาน ไหนจะเรอ่ื งของ
การตอ้ งฝึกฝน ความเชี่ยวชาญทางภาษา ส่งิ เหลา่ น้ีสร้างความกดดนั ให้เดก็ วยั ว้าวนุ่
สองรายมากเอาการ

แทนทพี่ วกเขาจะไดใ้ ช้เวลาไปกบั เพื่อนฝงู แทนที่พวกเขาจะไปหมกมุน่
กบั การสรา้ งตัวตนในโลกโซเชยี ลมีเดีย แทนทจี่ ะใชเ้ วลาไปกบั การตวิ วชิ าอนื่ ๆ แต่
โลกของเดก็ น้อย กลบั ตอ้ งหมกมุ่นอย่กู ับการทดลอง อย่กู ับการใช้เคร่อื งมอื ช่าง อยู่
กับการฝึกฝนภาษาอังกฤษ

120

ใหน้ กึ สงสัยวา่ นี่เป็นเพราะพวกเขามีความอดทนเหนอื คนอ่นื ๆ หรอื เปล่า
หนอ

เปล่าเลย ทั้งสองบอกวา่ พวกเขาไมไ่ ด้เปน็ เดก็ ทีม่ ีวฒุ ภิ าวะต่างๆ เลอเลศิ
กว่าเพ่ือนๆ วัยเดยี วกัน

“ตอนนั้นหนกู ็มที ้อ ท�ำ ไมต้องมาทำ�อะไรอยา่ งนี้ เรื่องส่ิงประดิษฐว์ า่ ยาก
แลว้ ยงั มีอีกเรื่องมาทา้ ทายเราอกี คือเรือ่ งการพรเี ซนตง์ านเปน็ ภาษาองั กฤษ ตอน
น้นั หนรู อ้ งไหห้ ลายรอบมาก...”

“...เดก็ น่ะครบั ถงึ เขาจะเก่งกาจแค่ไหน บางคราวเราตอ้ งไม่ลมื ว่าเขาอาจมี
วุฒิภาวะไม่เท่าผ้ใู หญ่ แตผ่ มพยายามทุกทางทีจ่ ะให้ก�ำ ลงั ใจ และท�ำ ใหเ้ ขารู้สึกเสมอ
วา่ อยา่ ไปเครยี ด อยา่ ไปพะวง มองหาความสนกุ ๆ เขา้ ไว้ เขาถึงจะท�ำ ไดค้ รบั ...”

อาจารยศ์ รธี ร มูลมณี เลา่ ต่อ
“อยา่ งที่บอกนะ่ คะ่ เราต้องตงั้ โจทย์ใหญ่ไว้แตต่ น้ ว่าสง่ิ ทจ่ี ะประดิษฐ์ขึน้ มา
น้ัน ตอ้ งมาจากความคดิ ของเด็กๆ อยา่ งแทจ้ รงิ สิง่ ทีเ่ ขาคดิ จะท�ำ คือเขาเลือกแล้ว ว่า

121

ส่ิงทจี่ ะประดษิ ฐข์ ึ้นมานั้น
ตอ้ งมาจากความคิดของเดก็ ๆ
อย่างแทจ้ ริง
สง่ิ ทเ่ี ขาคดิ จะท�ำ คือเขาเลอื กแลว้
ว่าเขาจะรว่ มหัวจมท้าย
ไปกบั สงิ่ นนั้ จะทุกข์จะสขุ ไปกบั มนั

122

เขาจะรว่ มหัวจมท้ายไปกับสิ่งนน้ั จะทุกขจ์ ะสุขไปกับมัน
“เวลาเกิดอะไรขึ้น เขาจะได้ไม่ลมื วา่ น่ีคอื ทางเลอื กที่พวกเขาเลอื กเอง ไม่ได้

มใี ครไปบงั คับ...”
ครตู ุ้มเสรมิ บ้าง
“ใชค่ รับ ฉะนั้นถงึ ผมจะกลวั เพียงใดผมก็ต้องตีหน้าชืน่ อยู่เสมอ...”
แบงค์พูดจบทง้ั วงสนทนาก็ปล่อยเสียงหวั เราะมาพรอ้ มๆ กัน
อาจกล่าวไดว้ ่าในการทำ�สิ่งประดษิ ฐแ์ ต่ละชิน้ นนั้ ไมไ่ ด้เป็นการทุ่มเทกายใจ

ของนักเรียนเพียงอย่างเดยี ว แต่ยังหมายรวมถงึ การทมุ่ เทของครทู ปี่ รกึ ษาดว้ ย
อาจกลา่ วได้ว่า ครูท่ปี รึกษาของโครงการ เป็นเสมือน “ผนู้ �ำ ” ไม่ใช่ “ผู้

บริหาร”
เพราะผู้นำ�และผูบ้ ริหารนัน้ ต่างกนั มากในการปฏิบตั ิ ผู้บริหารอาจมีความ

รับผิดชอบเพยี งแค่จัดการใหส้ ิ่งทีเ่ ปน็ อยู่ด�ำ เนินไปถึงเปา้ หมาย

123

แตผ่ ู้นำ�นน้ั ตอ้ งสรา้ งความเปลีย่ นแปลง สรา้ งสิ่งท่ไี ม่เคยมใี ห้เกิดขึ้น ท�ำ
เร่ืองทเี่ ป็นไปไม่ได้ใหเ้ ปน็ ไปได1้
ซง่ึ คณุ สมบตั ิเหลา่ นี้ เดก็ ๆ บอกวา่ คุณครขู องพวกเขามอี ยา่ งเต็มเปีย่ ม

1น.22 คิดสวนทาง ประเสรฐิ เอ่ียมรุง่ โรจน์ แกะดำ�ทำ�ธรุ กิจ 124

5

เย็นยา
บทสนทนาเกย่ี วกับสง่ิ ประดิษฐ์จบลง นกั การภารโรงมาเก็บอุปกรณท์ ดลอง
และปดิ หอ้ งเรยี นวทิ ยาศาสตร์
ส่วนสิ่งประดษิ ฐ์นน้ั เดก็ ๆ ช่วยกนั นำ�ไปเกบ็ ในตูก้ ระจกอย่างทะนุถนอม
เพราะเมอ่ื เด็กๆ ท่รี ักและสนใจวิทยาศาสตร์แห่งโรงเรยี นปทุมเทพวทิ ยาคาร
ผา่ นไปมา ไดม้ องเห็นและไดร้ ับรทู้ ี่มาท่ไี ปของมันจะได้เกิดเป็นแรงบนั ดาลใจ และ

125

ฮกึ เหมิ ท่จี ะคิดค้นประดษิ ฐ์ หรอื กระทงั่ มนี �ำ ความคิดสรา้ งสรรค์มาใชก้ ับทุกๆ เร่อื ง
ของชีวติ

วันน้ี หน้าท่ีของส่ิงประดิษฐ์ชน้ิ นี้เปลยี่ นไป มนั ไม่ไดท้ �ำ หน้าทดี่ ูดส่งิ ปฏกิ ลู
ในนาํ 

แต่ดูดสิ่งปฏิกลู ทางความคิดของชาวปทมุ เทพวิทยาคารทง้ิ ไป
สง่ิ ปฏิกลู ทางความคดิ ท่ีว่านัน้ เราต่างรู้จกั และคุน้ เคยกันดีในชือ่ วา่ “ความ
หวาดกลัว”

126



อปุ กรณ์ดูดสิง่ ปฏกิ ลู ในบอ่ ปลาสวยงาม ทำ�ขึน้ เพ่อื เป็นอปุ กรณใ์ นการบำ�รงุ
รักษา ท�ำ ความสะอาดบอ่ ปลาสวยงาม หรอื กำ�จัดส่ิงปฏกิ ูลในนาํ  โดยอาศยั หลัก
การทำ�งานจากความแตกตา่ งระหว่างความดนั บรรยากาศกับสญุ ญากาศ ด้วยปัม๊
สุญญากาศแบบสบู ชัก
โครงสรา้ งของอปุ กรณด์ ูดสง่ิ ปฏกิ ูลในบอ่ ปลาสวยงามประกอบดว้ ย กระปุก
เก็บส่ิงปฏกิ ลู ใช้เหยือกนาํ  พลาสตกิ แขง็ ใสรูปกรวยผ่านศูนยก์ ลางเฉลี่ย 12 ซม. สูง
21 ซม. ความจุ 2 ลิตร โดยมปี ม๊ั สญุ ญากาศแบบสบู ชักด้วยแรงคนท�ำ ดว้ ยทอ่ พวี ซี ี
ขนาดเสน้ ผ่านศูนย์กลางเฉลย่ี 2.54 ซม. ยาว 30 ซม. ทำ�หน้าที่เปล่ยี นพลังงานกล
จากแรงคนเปน็ ความดันสุญญากาศ สำ�หรับใชด้ ูดส่ิงปฏิกูลในนาํ 

ท่อดดู ทำ�ด้วยท่อพวี ซี ีขนาดเสน้ ผา่ นศนู ย์กลาง 1.5 ซม. ยาว 50 ซม. ทำ�
หนา้ ทเี่ ปน็ ท่อดดู ลำ�เลียงสง่ิ ปฏิกูลในนาํ  ขึน้ ไปท่ีถังเกบ็ และโครงอุปกรณท์ �ำ ด้วย
ขอ้ ตอ่ โค้ง 90 องศา ขอ้ ต่อ 3 ทาง และท่อพวี ซี ีขนาด ¾ นิ้ว ท�ำ หน้าทีย่ ึดช้นิ สว่ น
ตา่ งๆ เข้าดว้ ยกนั อีกท้งั ท�ำ หนา้ ทีเ่ ปน็ ท่อนำ�อากาศจากกระปกุ เก็บส่ิงปฏิกูลไปยัง
ป๊มั สูญญากาศดว้ ย
จากการทดลองหาประสิทธิภาพของอุปกรณ์ดูดสิ่งปฏิกูลในบ่อปลา
สวยงาม พบวา่ สามารถดดู สงิ่ ปฏกิ ูลท่ตี กตะกอนอิ่มตวั ในนาํ  ได้ ในอัตราส่วนสิ่ง
ปฏกิ ลู 0.312 ลิตร ต่อนาํ  1 ลิตร มีประสทิ ธิภาพการใช้งานดี สามารถใช้งานได้
จรงิ



1

สิ่งประดษิ ฐ์ทค่ี ดิ คน้
คอื เครือ่ งมือ สรา้ งคน สรา้ งชีวติ

“เปน็ ไปไมไ่ ด้” คำ�ๆ นก้ี ระมงั ทีส่ ามารถนำ�มาใชแ้ ยกแยะวา่ ใครคือนักประดษิ ฐ์
ตัวจริง และนกั ประดิษฐ์มือสมัครเล่น

สำ�หรับนักประดิษฐ์ตวั จริงแล้ว คำ�ว่า “เปน็ ไปไมไ่ ด้” นน้ั ไม่เคยย่างกรายมา
ในหัวของพวกเขา เพราะค�ำ ๆ น้ี คอื ตัวสกดั กัน้ ความฝันและการลงมอื ท�ำ

131

สงิ่ ประดษิ ฐ์ : เครอ่ื งแยกเยือ่ หมุ้ เมลด็ ถ่วั ลสิ ง
โรงเรยี นอยธุ ยาวทิ ยาลัย
132

“เปน็ ความคิดทด่ี หี รอื เปน็ ความคิดทถี่ า้ น�ำ มาลงมือทำ�แลว้ ยากเกนิ ไป”
นต่ี ่างหากคอื มนต์คาถาส�ำ หรับพวกเขา

สว่ นนกั ประดิษฐม์ ือสมัครเล่นจำ�นวนมาก ท�ำ ๆ ไปได้ครึ่งทาง หรอื ไม่ทนั ได้
ลงมือทำ� กป็ ล่อยใหค้ ำ�ว่า “เปน็ ไปไม่ได”้ มาหยดุ ยงั้ สิ่งที่พวกเขาก�ำ ลังลงมือคดิ ลงมอื
ท�ำ

แต่ระหว่างที่พูดคุยกับนักประดิษฐ์รุ่นเยาว์ตัวจริงเสียงจริงแห่งโรงเรียน
อยธุ ยาวทิ ยาลัย อ.พระนครศรีอยธุ ยา จ.พระนครศรอี ยธุ ยาน้นั เราไม่เคยไดย้ ินคำ�ว่า
“เปน็ ไปไมไ่ ด้” หลดุ ลอดมาจากปากของพวกเขาแมส้ ักครง้ั เดยี ว
ปัญจรักษ์ จนั ทรส์ ุวรรณ (นุน่ ) และ ธมิ าภรณ์ สงั ขท์ อง (แพร) เจา้ ของ
ผลงานเคร่ืองแยกเยอื่ หุ้มเมลด็ ถว่ั ลสิ ง ซึง่ ไดร้ บั รางวลั เหรยี ญเงนิ จากการประกวดผล
งานส่งิ ประดษิ ฐท์ างวทิ ยาศาสตร์ในเวทนี านาชาตใิ นงาน International Exhibition
for Young Inventors 2013 (IEYI) และ Asian Young Inventors Exhibition
2013 (AYIE) ระหว่างวนั ท่ี 8 – 12 พฤษภาคม 2556 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศ
มาเลเซีย คือตัวอย่างของนักเรยี นทีส่ ามารถพิสูจนค์ วามจรงิ เรอ่ื งน้ี

133

สำ�หรบั นกั ประดิษฐ์ตวั จรงิ
แล้วค�ำ ว่า “เปน็ ไปไม่ได้” นั้น
ไมเ่ คยย่างกรายมาในหวั
ของพวกเขา เพราะค�ำ ๆ น้ี
คือตวั สะกดั กนั้ ความฝนั
และการลงมือทำ�

134

“เราสองคนชอบตดิ ตามข่าวเทคโนโลยีสิง่ ประดษิ ฐต์ า่ งๆ คะ่ บ่อยคร้งั ท่ี
เราจะมาเล่ากันว่ามคี นคดิ เรือ่ งโน้น เรื่องน้นี ะ แต่กไ็ ม่ไดค้ ดิ ว่าเราจะเป็นคนท่ีลงมอื
ประดษิ ฐอ์ ะไร ทงั้ ๆ ทเี่ รารสู้ ึกว่าหลายสง่ิ หลายอย่างเรานา่ จะท�ำ ได้ หรือพอเหน็
อะไรตดิ ขดั ก็คิดแต่ว่า น่าจะมีเคร่อื งมือชนิดน้ันชนดิ น้ีนะ น่าจะมคี นทำ�ๆ คิดๆๆๆวา่
ท�ำ ได้ๆๆๆ แต่เอาแต่คิดไมเ่ คยไดล้ งมือท�ำ อะไรจริงจังเลย”

แพรเล่า
กระนนั้ กเ็ ถอะ การแคไ่ ด้เรมิ่ ตน้ คดิ วา่ จะท�ำ โนน่ ทำ�นี่ และคดิ ว่าหลายส่งิ
หลายอยา่ งทค่ี ดิ นน้ั สามารถทำ�ได้ กย็ งั ดกี วา่ ปล่อยใหค้ �ำ วา่ “เป็นไปไม่ได้” มาเป็น
เพชฌพฆาตก�ำ จัดสง่ิ ที่เธอคดิ ไม่ใชห่ รอื
เอาละ่ อยา่ งนอ้ ยทสี่ ดุ แพรกท็ �ำ ให้เราเห็นว่าเธอมีคุณสมบัติเบื้องต้น ในการ
เป็นนักประดษิ ฐ์ตัวจริงแล้ว

135

136

2

เมอื่ ขน้ึ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 นักเรยี นสายวทิ ยาศาสตรต์ ่างรูว้ า่ ทกุ คนมี
ภาระหน้าทีต่ อ้ งทำ�โครงงานวิทยาศาสตร์ เพอื่ น�ำ ไปจัดแสดงผลงานในสัปดาห์
วทิ ยาศาสตรท์ ่ีจะจดั ข้ึนในช่วงวันที่ 18 สงิ หาคม ของทกุ ปี นกั เรยี นทุกคนต่างเฝา้ รอ
วนั น้ี เพราะเปน็ งานใหญ่ และเพือ่ นๆ จากตา่ งโรงเรยี นก็จะมาศกึ ษาดผู ลงานกัน
มากมาย

ใช่ คุณกำ�ลงั อ่านไม่ผดิ เหตกุ ารณ์นเ้ี กดิ ขึน้ จริงกบั โรงเรียนในตา่ งจังหวัดที่
งานวนั วิทยาศาสตร์ เป็นวันทีน่ ักเรยี นรอคอย

137

และเอ่อ...ท่ีคุณไม่เชื่อหรือทำ�ท่าคลางแคลงใจน่ันอาจเพราะเห็นแต่ภาพ
ท่ีนกั เรียนมธั ยมแหแ่ หน รอคอยนักรอ้ ง ศิลปินคนโปรดไปเล่นโชวท์ ่โี รงเรียน ตาม
ท่ีฝ่ายการตลาดของบริษัทเพลงเหล่าน้ันจัดสรรให้กันซะเป็นส่วนใหญ่ใช่ไหมเล่า
รู้นะ คิดอะไรอยู่...

โธ่...เมอื งไทยก็เป็นซะอยา่ งน้ี ใครมีสอ่ื ในมือกป็ ระโคมโหมขา่ วให้เร่ือง
ราวของตวั เอง มีพ้ืนทส่ี ื่อปรากฏอย่แู ทบทกุ วัน ในขณะทเี่ รอื่ งราวดีๆ จำ�นวนมาก
ของเยาวชนไทย กลบั เงียบเหมอื นเปา่ สาก
โดยเฉพาะเร่ืองการสร้างสรรค์สง่ิ ดีๆ ความเก่งกาจอยา่ งนา่ ชื่นชมของ
นกั เรยี นไทย เม่ือได้ลองเล่าให้ใครๆ ฟังว่ามีเรื่องนเ้ี กดิ ข้ึน ทกุ คนตา่ งทงึ่ อึ้ง แต่
ประโยคท่ตี ามมากค็ อื “ไมเ่ ห็นร้เู ร่ืองเลย”

เฮอ้ อยากจะเอาหวั เดินต่างเท้าใหม้ ันร้แู ลว้ รรู้ อดกับพ้ืนทสี่ อื่ ในประเทศ
นี้เสียจรงิ ๆ
“งานวนั วิทยาศาสตร์ของโรงเรยี นเราสนุกมากคะ่ เดก็ โรงเรยี นเราอยกู่ บั

138

โครงงานวิทยาศาสตรก์ ันมาอยา่ งน้อยคนละ 2 - 3 ปี ตงั้ แตเ่ ขา้ ม.4 เรากเ็ ห็นพ่ี ม.6 เขา
ทำ�โครงงานสิง่ ประดิษฐ์ตา่ งๆ พี่ ม. 5 ก็จะทำ�การทดลองมาแสดง น้องๆ กจ็ ะมาเที่ยว
ดู พวกเราก็ทง่ึ วา่ พ่เี ขาท�ำ ไดอ้ ย่างไร”

น่นุ คูห่ ูของแพร ในการคดิ ค้นสงิ่ ประดิษฐ์ เล่าให้ฟังถงึ ที่มาทีไ่ ป แรงบนั ดาลใจ
ทีเ่ ป็นสาเหตุใหพ้ วกเธอสนใจในการประดิษฐ์คิดค้น
โรงเรยี นอยธุ ยาวทิ ยาลัย ม่งุ เน้นการศึกษาดว้ ยโครงงานวิทยาศาสตร์ โดยเด็ก
นักเรียนชนั้ ม.2 – ม.3 จะมีวิชาโครงงานฯ เรียนในหอ้ งเรยี น สว่ น ม.6 กลมุ่ สาระ
วิทยาศาสตร์ จะกำ�หนดใหค้ ุณครผู ู้สอนวชิ าเคมี ชีววิทยา และฟิสิกส์ รับผดิ -ชอบใน
การจัดสรรเวลาเรยี นในวชิ าของตน กระตุ้นให้เดก็ ๆ คิดโครงงาน โดยครจู ะทำ�หนา้ ท่ี
เปน็ ทปี่ รกึ ษาโครงงาน รวมทั้งเปิดเวทีให้เดก็ นำ�เสนอหัวขอ้ วิจยั ต่อเพื่อนๆ ในหอ้ ง
“โรงเรยี นเราให้ความส�ำ คัญกบั กระบวนการเรยี นรู้ด้วยตนเองมาก ฝ่ายบริหาร
ก็ท่มุ เทงบประมาณเต็มท่ี มกี ารเชิญโรงเรียนและหนว่ ยงานตา่ งๆ มาศึกษาดงู าน มีการ
ให้รางวัล ประกาศนยี บตั ร เพอื่ เป็นแรงเสรมิ ให้เกิดการแขง่ ขัน ขัน้ ตอนน้ีจะเป็นการ
ปลูกฝงั การวจิ ัยให้กับเดก็ ”

อาจารยฉ์ ัตรชัย อรรถปกั ษ์ หวั หนา้ กลุ่มบริหารวชิ าการกลา่ ว


139

นี่เป็นอีกข้อค้นพบท่ีสำ�คัญข้อหนึ่งว่าเหตุใดโรงเรียนแห่งนี้ถึงได้เป็นเบ้า
หลอมใหค้ วามคิดของนักประดิษฐ์งอกงาม

นัน่ เป็นเพราะเขารู้จกั สร้างบรรยากาศให้เด็กชอบวทิ ยาศาสตร์ สนใจการ
ประดษิ ฐ์คดิ ค้น แทนทีจ่ ะมุง่ เนน้ แตก่ ารกวดขนั ทางวชิ าการเพือ่ อัดให้เด็กสอบเข้า
เรยี นต่อหรอื ท�ำ คะแนนได้สงู ตามมาตรฐานเพอ่ื ช้วี ัดผลงานกันอย่างง่ายๆ

แต่สำ�หรบั ผูบ้ รหิ ารและคณะครูทนี่ ี่เขาไมค่ ดิ อยา่ งน้ัน เขากลบั คิดวา่ การ
สร้างเดก็ ใหโ้ ตและมวี ฒุ ิภาวะไดน้ ้นั ตอ้ งฝึกให้เขาลงมอื ทำ�สงิ่ ใดสง่ิ หน่งึ อยา่ งจรงิ จัง
และแน่นอน การประดษิ ฐค์ ิดคน้ การทำ�โครงงานวิทยาศาสตร์ คอื หน่ึงในเครอื่ งมือ
อนั เยย่ี มยอดท่ีจะพาลกู ศิษยไ์ ห้ค้นพบตวั เอง และเติบโตด้วยการฝึกคดิ ฝึกท�ำ อะไรๆ
ด้วยตวั เอง


“พวกเธอทุกวันน้ีอยู่สขุ สบายเหมอื นเทวดา เพราะคนรนุ่ กอ่ นสร้างสรรค์
ส่งิ ประดษิ ฐค์ อยอ�ำ นวย ความสะดวกมากมาย ในฐานะที่เธอเปน็ คนรุ่นต่อไป เธอ
ต้องท�ำ หน้าทส่ี รา้ งสรรค์ต่อไป เพ่ือตอบแทนคนรนุ่ กอ่ น”

นี่เป็นคำ�พูดที่ อาจารย์มณฑา ธัชประมขุ หน่งึ ในคุณครแู ผนกวทิ ยาศาสตร์

140

พูดกบั เด็กเสมอ เพ่ือกระตนุ้ ใหเ้ ดก็ ๆ คิดสร้างสรรคผ์ ลงานใหมๆ่ ขึ้นมา
ไม่ตา่ งจากอาจารยว์ ิทยาศาสตรท์ ่านอื่น อาจารย์มณฑา น�ำ คลิปวิดีโอสิ่ง
ประดิษฐ์และการทดลองของรุ่นพี่ปกี อ่ นๆ มาให้นักเรยี นศึกษา
“นักเรยี นดูส่ิงประดษิ ฐ์นแ้ี ลว้ เหน็ ข้อบกพร่องอะไรบ้าง ถา้ เป็นนกั เรียน จะ
แก้ไขปญั หาอยา่ งไร”
สิง่ ประดิษฐท์ ่อี าจารยน์ ำ�มาให้นกั เรียนดู มีทัง้ ผลงานที่ไดร้ บั รางวัล และ
ผลงานที่มขี อ้ ผิดพลาด หรอื บางคร้งั ก็เปน็ นวตั กรรมใหมๆ่ จากต่างประเทศ เพอื่
ให้นกั เรียนได้ศึกษาเป็นตน้ แบบ
“ไมจ่ ำ�เปน็ จะต้องคดิ ค้นสิ่งใหม่ตลอดก็ได้ บางทกี ็เป็นการคดิ ตอ่ ยอดจาก
ส่งิ ประดิษฐ์เดิมๆ คณุ ครูวิทยาศาสตรท์ ุกคนตอ้ งกระตุ้นให้เขาอยากลองท�ำ ค่ะ แต่
สิ่งสำ�คัญคอื เน้นให้เขาคิดจากสง่ิ ใกลต้ ัว แล้วเชอื่ มโยงว่าจะแกป้ ัญหาให้กับชุมชน
อย่างไร”

อ.มณฑา กล่าวพรอ้ มรอยย้ิม

141

ระยะเวลาเพียงสามเดอื นสำ�หรบั สรา้ งสรรคส์ งิ่ ประดษิ ฐข์ ึน้ หนึ่งช้ิน นบั เป็น
ชว่ งเวลาที่ บบี ค้นั หวั ใจนักเรยี นอย่างยิ่ง พวกเขาตอ้ งเค้นความสามารถท้ังหมดที่มี
เพ่อื พิสูจน์ตนเอง และโรงเรียนกจ็ รงิ จงั กบั โครงงานวิทยาศาสตรเ์ ป็นอย่างยง่ิ

อาจารย์ทีป่ รกึ ษาทุกคนจะไมย่ อมอ่อนขอ้ ให้คำ�คราํ่ ครวญใดๆ ในการผัดวัน
ประกันพรุ่งของนกั เรียน กฎเหลก็ คือกฎเหล็ก นัน่ คอื ทกุ คนตอ้ งมผี ลงานสง่ หนึง่ ช้นิ
“พวกเราจะทำ�อะไรกันดี มเี วลาเสนอหวั ข้อวจิ ยั แคส่ ามอาทิตยเ์ ท่านน้ั ”
แพร นุน่ แอม ปยุ้ ตุม๋ ปรกึ ษากนั อยา่ งครํ่าเครียด
เราจะทำ�อะไรกันดี เราจะทำ�อะไรกันดี เราจะทำ�อะไรกนั ดี เราจะทำ�อะไรกัน
ดี เราจะท�ำ อะไรกันดี
เราจะท�ำ อะไรกนั ดี เราจะทำ�อะไรกันดี เราจะท�ำ อะไรกันดี เราจะท�ำ อะไรกัน
ดี เราจะท�ำ อะไรกันดี
ประโยคน้กี �ำ ลงั อึงอลอยู่ในหวั ของวัยวา้ วุน่ กลุ่มนพี้ ร้อมกนั โดยมิได้นัดหมาย

142

3

“อยุธยาเรามนี าํ  ทว่ มทกุ ปี เรามาทำ�เครือ่ งตรวจสอบไฟร่วั ดีไหม โครงการ
นีแ้ กป้ ญั หาให้กบั ชุมชนได้ด้วย”

เปน็ หวั ข้อแรกท่ีเดก็ ๆ กลุม่ นน้ี �ำ เสนอตอ่ อาจารยท์ ปี่ รกึ ษาในช่ัวโมงเรยี น
วชิ าเคมมี ีคาบปฏบิ ตั ิการสองชั่วโมง อาจารย์มณฑา จะใชเ้ วลาสามสิบนาทีแรกให้
นักเรยี นน�ำ เสนอหัวขอ้ วจิ ยั

143

“ตอนนั้นนาํ  ทว่ มค่ะ พวกเราคดิ จะทำ�เคร่อื งมอื วดั ไฟร่ัว อาจารย์ก็ติงว่า
ทำ�น่ะทำ�ได้ แต่มนั เสยี่ งชวี ติ มาก พวกหนูจะไปวัดไฟไดอ้ ย่างไร แล้วใครจะยอม
ทดลอง พวกเรากเ็ ลยเปล่ยี นหัวข้อคะ่ ”

จๆุ๊ ๆๆๆ สงั เกตเห็นมย้ั วา่ ครูทปี่ รึกษาก็จะไมพ่ ูดค�ำ ว่า “เปน็ ไปไม่ได้” กบั
เด็กๆ เชน่ กนั
หลังจากขอ้ เสนอแรกไม่ผ่าน เด็กๆ ก็เริ่มต้นใหมอ่ กี ครัง้

คราวนีท้ ุกคนหยบิ ยกปญั หาของทบ่ี ้านมาปรกึ ษาหารอื กัน เพอ่ื หาหนทาง
นำ�วิทยาศาสตรม์ าแกไ้ ข เพราะอยุธยาเป็นเมอื งนาํ  ปัญหาเรือ่ งนาํ  ทว่ มจึงเปน็ หวั ข้อ
ทเ่ี ด็กๆ ใหค้ วามสำ�คญั เป็นลำ�ดบั แรกเสมอ
ทสี่ �ำ คัญกว่าน้นั คอื พวกเขาตกลงกนั ว่าในการคิดคน้ ส่งิ ประดิษฐน์ ั้น ต้อง
ตอบสนองความต้องการ ของคนในถ่ินฐานบ้านเกดิ ของพวกเขาเป็นสำ�คญั
“แตน่ อกจากปัญหานาํ  ทว่ มแลว้ บา้ นตมุ๋ ยังมีปัญหาเร่อื งฝุน่ ด้วย เพราะท่ี
บ้านตอ้ งคัว่ ถวั่ ลิสงท�ำ สม้ ต�ำ ทุกวัน” ตุ๋มเสนอขึ้น

144

“พูดถงึ ส้มตำ� ไหนๆ เรากค็ ิดไมอ่ อก พวกเราไปหาแรงบนั ดาลใจตอ่ ที่บา้ น
ตมุ๋ กนั ดีกวา่ ”

นุ่นพดู ด้วยนาํ  เสยี งเจ้าเลห่ เ์ พราะมแี ผน และเป็นท่ีรู้กนั ว่ายามใดท่ีพวกเธอ
ไปบา้ นตุ๋ม ยามนนั้ จะได้ทานส้มตำ�รสนวั จากฝมี อื แมต่ ุ๋มเสมอๆ

“โอเค!”
ทุกคนเหน็ พ้องตอ้ งกัน เพราะมีแผนซ่อนเรน้ ความตะกละไมต่ ่างจากนุน่
เออ่ ...ขออนุญาตสรุปวา่ ส้มตำ�เป็นเหตุผลหลักของแรงบนั ดาลใจในครั้งน!้ี !


145

4

...ที่บ้านตมุ๋ ...
“ลูกๆ มากันเชา้ ไปหนอ่ ย แม่ยังเตรยี มเครอ่ื งไม่เสรจ็ เลย ตุ๋มชว่ ยแมร่ อ่ น
เปลือกถัว่ ลิงสงออกกอ่ นนะลกู แมค่ ัว่ ถ่วั ไวเ้ สร็จแล้ว ถัว่ ลสิ งถ้าซอ้ื เขามามนั จะไม่
หอมอรอ่ ย ไมเ่ หมอื นค่วั เอง แตก่ ็ตอ้ งเสียเวลาทุกวนั ”

แม่บ่นยาวยืดจนตุ๋มแซวว่าหากเอาคำ�บ่นของแม่แต่ละชั่วโมงมาเรียงกันคง
ไดร้ ะยะทางจากอยธุ ยาถึงอา่ งทอง

146

เด็กๆ ทุกคนจงึ ได้ลองแยกเยื่อหมุ้ เมล็ดถั่วลสิ งดู วิธกี ารคือนำ�ถว่ั ใส่ตระ
แกรงแบนๆ จากนน้ั ใชม้ อื เสียดสีถ่ัวกบั ตระแกรง เม่ือเยือ่ หุ้มเมล็ดหลุดออก กน็ �ำ
ไปฝดั ให้ลมพดั เยอ่ื ถัว่ ปลิวออกไป ทกุ คนได้ลองทำ�กนั อยา่ งสนกุ สนาน
“ต๋มุ ต้องทำ�อยา่ งนเี้ องทุกวนั เลยเหรอ”

เพอ่ื นๆ ถามตุ๋ม


“อือใช่ แต่ถ้าวนั ไหนเราไปโรงเรียนแมก่ ็ต้องท�ำ เอง”
ตุ๋มตอบ
“ยูเรก้า!!! คิดออกแล้ว งน้ั พวกเราทำ�เครื่องแยกเย่ือหุม้ ถ่ัวลิสงกนั ดกี ว่าม้ยั
จะไดช้ ว่ ยให้แม่ทำ�งานเร็วข้ึน และเอ่อ เราจะได้กินส้มตำ�เรว็ ขน้ึ ดว้ ยยังไงละ่ ฮา่ ฮ่า
ฮา่ ”
น่นุ เสนอพลางหัวเราะเจ้าเล่ห์ตามเคย ไดย้ ินดังนัน้ ทุกคนรบี เหน็ ด้วยกับ
ความคดิ นี้

147

ท้ังกลุ่มจึงนำ�ความคิดเรื่องเครื่องแยกเย่ือหุ้มถ่ัวลิสงไปนำ�เสนอใน
ห้องเรียน อาจารยม์ ณฑา ให้เดก็ ๆ ลองออกแบบส่ิงประดษิ ฐ์ดู
พวกเขาคิดกันง่ายๆ ว่าแคม่ พี ดั ลมเปา่ ผ่าน เยือ่ ถว่ั ลสิ งจะปลิวกระจาย
อยา่ งง่ายดาย เดก็ ๆ ขอให้พ่อของแพรตดิ ต้ังพดั ลมขนาดเล็กไวบ้ นกล่องทรงยาวที่
ท�ำ จากฟิวเจอร์บอรด์


“พอ่ หนเู ปน็ ช่างไฟฟา้ คะ่ พวกเรากเ็ ลยขอใหพ้ ่อตดิ พดั ลมซพี ียใู ห้ 3 ตัว
กะวา่ ยังไงตอ้ งออกแน่ๆ แต่พอเทเมลด็ ถ่วั ลสิ งคั่วลงมา มนั ก็ไมไ่ ด้ผลค่ะ พวกเราคดิ
ว่าเปน็ เพราะถวั่ มันตกเรว็ เกนิ ไป เราก็เลยลองเอยี งกล่องดู แตก่ ไ็ ม่ไดผ้ ลคะ่ ”

แพรเลา่
เมื่อน�ำ ผลการทดลองไปน�ำ เสนอความคืบหน้าในห้องเรยี น อาจารยม์ ณฑา
ก็แนะน�ำ ว่าให้ปรบั ปรงุ แกไ้ ขวธิ ีการทดลอง และใหเ้ พม่ิ กระบวนการขัดสี เพ่ือทำ�ให้
เคร่ืองมือมีประสทิ ธิภาพมากขึ้น
“เราก็ไปเปิดดูในยูทบู ก็ไปเห็นเครอ่ื งแยกขดั สถี ว่ั ลิสง มนั เป็นเคร่ืองใหญ่

148

มาก พวกเราท�ำ ไมไ่ ด้แน่ ก็เลยคดิ กันวา่ เราท�ำ แบบทพ่ี อท�ำ ใช้ได้ในครวั เรอื นดีกว่า”
นนุ่ เล่า

เด็กๆ ไม่รูจ้ ะเริ่มต้นอยา่ งไร พวกเขาคิดวา่ ปญั หาแรกจะตอ้ งชะลอความเรว็
ของถ่ัวทตี่ กกอ่ น เพื่อจะไดข้ ดั และเป่าลมไดท้ นั นุ่นจึงอาสานำ�ปญั หาทเ่ี กดิ ขึน้ ไป
ปรึกษากับพ่อซึง่ เปน็ วศิ วกร
“หนไู ปปรึกษากับพอ่ ระหวา่ งรอนอ้ งเรยี นพเิ ศษ ก็วาดรปู ให้พอ่ ดูวา่ มันเป็น
อย่างนีน้ ะ พ่อกแ็ นะน�ำ วา่ ให้เรม่ิ ตน้ จากวสั ดใุ กล้ตัว พอน�ำ มาปรึกษาเพือ่ นๆ ก็คดิ ว่า
จะให้ถว่ั ไหลผา่ นทอ่ เพราะขนาดมันใกล้เคียงกับเมล็ดถั่ว มันจะไดค้ ่อยๆ ไหลไปที
ละเม็ด”

นุ่นเล่าถึงเหตกุ ารณใ์ นครั้งนั้นด้วยเสยี งชัดเจน
เมือ่ ความคิดเรมิ่ เป็นรูปร่างขน้ึ พวกเขาจึงน�ำ ความรูจ้ ากการสงั เกตเรอ่ื งการ
ขัดสวี า่ เยอื่ หุม้ เมล็ดถ่ัวจะร่อนออกได้เพราะการเสียดสีของวัสดเุ นื้อหยาบสองชนดิ

149

150


Click to View FlipBook Version