The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานสรุปสำหรับผู้บริหารฉบับภาษาไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานสรุปการประเมินสถานภาพลุ่มน้ำ

รายงานสรุปสำหรับผู้บริหารฉบับภาษาไทย

ขอ้ มลู บรรณานุกรม

โครงการเพม่ิ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการช้ันคณุ ภาพลมุ่ น้าํ

รายงานสรุปสาํ หรับผู้บรหิ าร

ผจู้ ดั ทํา กองบริหารจดั การทดี่ ิน
สาํ นักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
60/1 ซอยพบิ ลู วฒั นา 7 ถนนพระรามท่ี 6 พญาไท กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท์ 0 2265 6638 โทรสาร 0 2265 6638

ผ้ศู กึ ษา บริษทั เทสโก้ จํากดั
21/11-14 ซอยสุขุมวทิ 18 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110
โทรศัพท์ 0 2258 1340 โทรสาร 0 2258 1313

การอ้างอิง สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม, 2561
โครงการเพิ่มประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจัดการชนั้ คุณภาพลมุ่ นาํ้

คําสบื คน้ โครงการเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการช้ันคุณภาพลุม่ นา้ํ
(การประเมินสถานภาพลุ่มนา้ํ ภาคตะวนั ตกและภาคกลาง)

พิมพเ์ มอ่ื สงิ หาคม 2562

จํานวนพิมพ์ 50 เล่ม

จาํ นวนหน้า 252 หนา้

ผู้พมิ พ์ บริษทั เทสโก้ จํากดั
โทรศพั ท์ 0 2258 1320 โทรสาร 0 2258 1313

สงวนลขิ สทิ ธิ์ในประเทศไทย ตาม พ.ร.บ. ลขิ สิทธ์ิ พ.ศ. 2537
โดย สาํ นกั งานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม พ.ศ. 2558

รายงานสรปุ สาํ หรับผูบริหาร
โครงการเพม่ิ ประสิทธิภาพการบริหารจดั การชน้ั คณุ ภาพลุมน้ํา

(พน้ื ท่ลี ุมภาคตะวันตกและภาคกลาง)

สารบัญ หนา

1. ความนาํ 1

2. พนื้ ทีศ่ กึ ษา 1

3. สภาพทรพั ยากรธรรมชาติในพน้ื ที่ศึกษา 4

3.1 ลักษณะภมู ปิ ระเทศลุมนํ้าภาคตะวนั ตก และภาคกลาง 4

4. แนวทางการประเมนิ สถานภาพลุม นา้ํ 7

5. ตัวช้วี ัด และขอ มูลทใี่ ชในการประเมินสถานภาพลมุ น้ําทใ่ี ชใ นการประเมินสถานภาพลมุ นาํ้ 10

6. การจดั ประชุมรบั ฟงความคิดเหน็ ตอตวั ชว้ี ัดและแบบจาํ ลองทางคณติ ศาสตร 15

7. การตรวจสอบและสาํ รวจขอ มลู ในภาคสนาม 17

8. การคัดเลอื กพ้ืนท่นี ํารอ ง 23

9. การจัดประชุมวชิ าการ เพ่อื รับฟงความคิดเห็นตอผลการดาํ เนนิ งานการประเมนิ สถานภาพลุม นาํ้ 32

(ลุมนา้ํ ภาคตะวนั ตกและภาคกลาง)

10. การจัดทําโครงการนาํ รองในการอนุรกั ษแ ละฟน ฟลู ุม นํา้ ที่มคี วามจาํ เปนเรงดวน 35

11. มาตรการและแนวทางในการจดั การเพือ่ อนุรักษฟน ฟแู ละปองกนั พน้ื ท่ี 37

ตามผลการประเมนิ สถานภาพของพื้นทีล่ ุมนาํ้

12. แบบจําลองเพ่ือการประเมินสถานภาพลุม นาํ้ ภาคตะวนั ตกและภาคกลาง 59

12.1 คณุ ลกั ษณะและเคร่ืองหลกั ของแบบจาํ ลอง 59

12.2 การจดั การฝก อบรม 68

13. จัดทําแผนปฏบิ ตั กิ ารเพอื่ ฟน ฟู อนุรักษ และการใชประโยชน 68

จากทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม : ลุมนาํ้ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ

13.1 การคัดเลอื กพ้นื ท่เี พอื่ จัดทําแผนปฏบิ ัติการเพือ่ ฟน ฟแู ละอนรุ ักษ 70

13.2 พ้ืนท่ีดําเนนิ การ 73

14. การจดั ทาํ แผนปฏบิ ัตกิ ารในพนื้ ทช่ี ้ันคณุ ภาพลุมน้าํ (ลมุ นาํ้ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ) 75

14.1 สภาพปญ หาในพน้ื ท่ีลุมนํา้ ทไ่ี ดค ัดเลอื กในกรณศี ึกษา 76

14.2 ขัน้ ตอนการจดั ทาํ แผนปฏบิ ตั กิ ารระดบั ลมุ นาํ้ โดยอาํ เภอเปนฐาน 77

14.3 การวิเคราะหขอ มูล และแตงตัง้ ภาคสวนทเ่ี กยี่ วขอ ง เพ่อื รวมเปน คณะทาํ งาน 80

ในการจัดการแผนปฏบิ ตั ิการ

14.4 แผนปฏบิ ตั ิการระดบั ลุมนาํ้ โดยใชอาํ เภอเปนฐาน 85

14.5 การจดั ประชุมรบั ฟง ความคดิ เหน็ ตอแผนปฏบิ ตั ิการเพอ่ื ฟน ฟู อนุรักษ และใชป ระโยชน 104

จากทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอมในพืน้ ทชี่ น้ั คุณภาพลมุ น้ํา: ลุมน้าํ ศึกษา

ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ

15. ขอเสนอแนะตอแนวทางการเพ่ิมประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการช้นั คุณภาพลุมนาํ้ 109

โครงการเพิ่มประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การชั้นคณุ ภาพลุมนํ้า i

รายงานสรุปสําหรบั ผูบริหาร

สารบญั ภาพ หนา

1 พนื้ ท่ลี ุมน้ํา70ภาคตะวันตกและภาคกลาง 3
2 แสดงสภาพภูมปิ ระเทศลุมนํา้ ภาคตะวันตก 4
3 แสดงสภาพภมู ปิ ระเทศลุม น้ําภาคกลาง 4
470 แสดงช้ันคณุ ภาพลุมนํ้า ลมุ นํา้ ภาคตะวันตกและภาคกลาง 6
570 สภาพภูมิประเทศของพื้นทล่ี มุ นาํ้ ภาคตะวันตกและภาคกลาง 8
70 ทจี่ ําแนกเปน ลมุ น้ําหลักและลุมน้าํ สาขา
670 แผนที่จาํ แนกลุมนํ้าหลักและลุมน้ําสาขาในพนื้ ที่ลมุ นํ้าภาคตะวันตกและภาคกลาง 9
770 สภาพพ้ืนท่ีการใชประโยชนท่ีดนิ ในพื้นที่ลมุ นาํ้ ภาคตะวันตกและภาคกลาง 22
870 สรุปขั้นตอนการคัดเลือกสถานภาพลุมนํ้า สาํ หรบั กจิ กรรมนํารอ ง 24
970 แผนที่แสดงสถานภาพลมุ นาํ้ สาขาในพ้นื ทล่ี ุมนา้ํ ภาคตะวันตกและภาคกลาง 25
1070 แผนทีแ่ สดงผลการประเมนิ สถานภาพลุมน้ําภาคตะวันตกและภาคกลาง 26
1170 แผนทีแ่ สดงผลการประเมินสถานภาพลมุ น้ําสาขาในพ้ืนที่ลุมนา้ํ แมกลอง 26
1270 แผนที่แสดงผลประเมินสถานภาพลุมนาํ้ สาขาในพื้นที่ลุมน้าํ เพชรบุรี 27
1370 แผนทีแ่ สดงผลการประเมนิ สถานภาพลมุ นาํ้ สาขาในพื้นที่ลุมนํา้ ทาจีน 27
1470 แผนทีแ่ สดงผลการประเมินสถานภาพลมุ น้ําสาขาในพื้นที่ลุมนํ้าสะแกกรงั 28
1570 แผนที่แสดงผลการประเมินสถานภาพลมุ นาํ้ สาขาในพ้ืนทล่ี ุมนา้ํ เจาพระยา 28
1670 สถานภาพลมุ นาํ้ ในเขตตาํ บลหนองกุม 30
1770 สถานภาพลมุ นาํ้ ในเขตตาํ บลหนองมะคาโมง 30
1870 สถานภาพลุมนาํ้ ในเขตตําบลหนองบัว 31
1970 สถานภาพลมุ น้าํ ในเขตตาํ บลทา แลง 31
2070 สถานภาพลุมน้ําในเขตตาํ บลแมเ ปน 32
2170 แสดงลาํ ดับขน้ั ตอนและวิธกี ารทาํ งานของแบบจาํ ลอง 59
2270 หนา จอหลักและปมุ เคร่ืองมือทใี่ ชใ นการวเิ คราะหส ถานภาพลุมนาํ้ 60
2370 การเลอื กขอมลู ลุมน้าํ 61
2470 ภาพหนา ตางแบบจําลองเพื่อประเมนิ สถานภาพลุม นํ้า (ลมุ นํา้ สะแกกรงั ) 61
2570 ภาพหนาตา งการกาํ หนดคาเพ่ือเตรียมตัวช้วี ดั (กาํ หนดขอบเขตพื้นท่ีศึกษา) 63
70 และแบบจาํ ลองคําสง่ั Model Builder เพื่อกาํ หนดขอบเขตพืน้ ท่ีศึกษา
2670 ภาพหนาตางการกาํ หนดคา คะแนนตวั ชีว้ ัด และแบบจาํ ลองคาํ สั่ง Model Builder 63
70 เพอ่ื กําหนดคา คะแนน
2770 ภาพหนาตา งการแกไขคา คะแนนตัวช้ีวดั และแบบจาํ ลองคําส่งั Model Builder 64
70 เพือ่ การแกไ ขคาคะแนนตวั ชี้วัด
ii
โครงการเพ่มิ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การช้นั คณุ ภาพลมุ นา้ํ

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

สารบญั ภาพ หนา

2870 ภาพหนา ตา งเตรียมตัวชี้วดั แบบจดุ ภาพ (raster) เพ่ือวิเคราะหส ถานภาพ 64

70 และคําสั่ง Model Builder การเตรียมตัวชวี้ ัดแบบจุดภาพ (raster) เพ่ือวเิ คราะหส ถานภาพ

2970 ภาพหนา ตางเพ่ือปรบั คา คะแนนตวั ชี้วดั แบบจุดภาพ (raster) และคาํ สัง่ Model Builder 65

70 เพ่อื ปรบั คาคะแนนตวั ชีว้ ดั แบบจุดภาพ (raster)

3070 ภาพหนา ตางเพื่อกาํ หนดตัวชี้วดั และคาถว งนาํ้ หนักเพ่อื วิเคราะหสถานภาพลุมนํ้า 65

70 และคาํ สงั่ Model Builder เพื่อกาํ หนดตัวชวี้ ดั และคา ถวงนํา้ หนกั เพื่อวิเคราะหสถานภาพลมุ นา้ํ

3170 ผลการประเมนิ สถานภาพแบบจุดภาพ (raster) 66

3270 ภาพหนาตางเพอื่ แปลงผลประเมนิ สถานภาพลมุ น้ําจาก raster เปน vector 66

70และคําสงั่ Model Builder เพ่อื แปลงผลประเมนิ สถานภาพลมุ น้ําจาก raster เปน vector

3370 ผลการประเมินสถานภาพแบบเชิงเสน (vector) พรอ มสดั สว นสถานภาพฯ 67

3470 ภาพหนาตางเพ่ือจาํ แนกผลการประเมนิ สถานภาพตามขอบเขตทีต่ องการ 67

70 และคาํ สั่ง Model Builder เพ่อื จําแนกผลการประเมินสถานภาพตามขอบเขตที่ตองการ

3570 แผนที่ขอบเขตลมุ นาํ้ หลัก ลมุ น้าํ สาขา พ้นื ที่ศกึ ษาลุมนํา้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 69

3670 แผนท่ลี มุ นา้ํ ยอ ย 25 แหง ท่ีไดร บั การคัดเลือกในข้ันตอนแรก 71

3770 แผนทีล่ ุมนาํ้ ยอ ยทไี่ ดร ับการคัดเลือก 3 แหง 72

3870 ขอบเขตพน้ื ที่ศึกษาลมุ นาํ้ ยอยหวยนา้ํ กา่ํ 73

3970 ขอบเขตพืน้ ทศี่ ึกษาลุมน้ํายอยลาํ นํ้าเชญิ 73

4070 ขอบเขตพื้นทศ่ี กึ ษา ลุมนํา้ ยอยลาํ ปลายมาศ 74

โครงการเพ่มิ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การช้นั คณุ ภาพลุมนาํ้ iii

รายงานสรุปสําหรบั ผูบริหาร

สารบญั ตาราง หนา

170 แสดงพนื้ ท่ีจงั หวดั ในพน้ื ทลี่ ุมน้ําภาคตะวันตกและภาคกลาง 2
270 พ้นื ท่ีลุม นาํ้ หลกั และพน้ื ท่ีชน้ั คุณภาพลมุ น้ํา ของพ้นื ท่ศี ึกษาโครงการ 5
370 ขอ มูลการจําแนกลุมน้ําหลักและลุมนาํ้ สาขา ในพืน้ ทีล่ ุมนาํ้ ภาคตะวันตกและภาคกลาง 7
470 เปรยี บเทยี บตัวชว้ี ดั ท่ีนาํ มาใชในการประเมินสถานภาพลุมน้ํา 11
570 ตวั ชว้ี ัดท่เี สนอในเบือ้ งตน 13
670 ตวั อยา งการจดั ลาํ ดับความสําคญั ของปจจยั กลมุ การจัดการลุมน้ํา 15
770 การปรบั ลดตวั ชีว้ ดั ท่ีใชใ นการประเมินสถานภาพลมุ น้ําในแตล ะลุมน้าํ 18
870 ปรบั ปรงุ ตวั ชว้ี ดั และคาถว งนํ้าหนกั ลมุ นํา้ ภาคตะวนั และภาคกลาง 19
970 ผลการตรวจสอบการสํารวจภาคสนามพื้นท่ลี มุ น้ําภาคตะวันตกและภาคกลาง 21
1070 สรุปผลการประเมนิ สถานภาพลมุ น้าํ ภาคตะวนั ตกและภาคกลาง 23
1170 แสดงสถานภาพวกิ ฤต เสย่ี งภยั เตอื นภัยและสมดลุ ของลุมนา้ํ สาขา 23
1270 สรปุ ขอเสนอแนะตอผลการประเมินสถานภาพลุมนาํ้ ภาคตะวนั ตกและภาคกลาง 34
1370 มาตรการและแนวทางในการจดั การเพ่ืออนุรักษ ฟนฟู คมุ ครองและปองกนั พืน้ ที่
70 ตามผลการประเมนิ สถานภาพ 39
1470 เครอ่ื งมอื และคําอธบิ าย 62
1570 รายละเอียดลมุ นํ้ายอ ยทไ่ี ดร บั การคดั เลือกเปนพืน้ ทจ่ี ัดทําแผนปฏบิ ัตกิ าร 70
16 ขน้ั ตอนการดําเนนิ งานจัดทาํ แผนปฏิบัตกิ ารเพื่อฟน ฟู อนรุ ักษ และใชป ระโยชน 77
70 จากทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ มในพ้นื ท่ีลุม นํ้าระดับอําเภอ
1770 กลุม ภาคสวนสําคัญท่จี ะเขามามีบทบาทในการวางแผนหลกั 80
1870 รูปแบบองคการ 82
1970 ตวั ชวี้ ัดระดับของแผนปฏบิ ัติการระดบั ลุมนํา้ 87
20 แผนงาน และโครงการรองรับแผนปฏบิ ัตกิ ารระดับลมุ น้ํา 89

โครงการเพมิ่ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การช้นั คุณภาพลมุ นาํ้ iv

รายงานสรปุ สําหรบั ผบู ริหาร
โครงการเพิ่มประสิทธภิ าพการบรหิ ารจัดการช้นั คุณภาพลุมนาํ้

(พืน้ ทีล่ มุ ภาคตะวนั ตกและภาคกลาง)

1. ความนาํ

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ไดจัดทําโครงการเพิ่มประสิทธิภาพ
การบริหารจัดการชั้นคุณภาพลุมนํ้า ซ่ึงเนนใหภาคสวนท่ีเกี่ยวของเขามามีสวนรวมในการดําเนินงาน
เพื่อขับเคลื่อนนโยบายการกําหนดช้ันคุณภาพลุมน้ํา ใหเปนไปตามหลักวิชาการและศักยภาพของพื้นท่ี
ตามมาตรการการใชที่ดินในแตละช้ันคุณภาพลุมนํ้า ที่คณะรัฐมนตรีไดมีมติเห็นชอบเปนกรอบแนวทางปฏิบัติไว
โดยเนนการดําเนินงานใน 2 กิจกรรมหลัก ไดแก 1) การประเมินสถานภาพลุมน้ําหลักและลุมน้ําสาขา
ซ่ึงประกอบดวยการจัดทําเกณฑ วิธีการและสรางชุดตัวช้ีวัดในการประเมินสถานภาพลุมนํ้า จัดทําขอเสนอแนะ
แนวทางแกไขปญ หาตา ง ๆ ท่เี กิดขนึ้ กับพื้นท่ลี มุ นาํ้ รวมทัง้ จัดทําโครงการนํารองในการอนุรักษและฟนฟูพื้นท่ี
ตนนํ้าลําธารเพ่ือใหเปนชุมชนและกิจกรรมตนแบบในการปฏิบัติจริง และ 2) เพ่ือจัดทําแผนปฏิบัติการ
เพือ่ ฟน ฟู อนรุ ักษ และใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมในพ้ืนท่ีช้ันคุณภาพลุมน้ํา ในพ้ืนที่
ลุมน้ําท่ีคัดเลือกจากผลการประเมินสถานภาพที่ผานมา สําหรับปงบประมาณ 2562 ขยายการดําเนินงาน
มายังพื้นท่ีลุมนํ้าภาคตะวันตกและภาคกลาง โดยมีเปาหมายของโครงการครอบคลุมพื้นที่ลุมนํ้าทั้งประเทศ
ทั้งน้ีการดําเนินงานของโครงการสนับสนุนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-
2565) ดา นสิง่ แวดลอม นโยบายของรัฐบาล (พลเอกประยุทธ จันทรโอชา) นโยบายและแผนการสงเสริมและรักษา
คุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2560-2579 ยุทธศาสตร การอนุรักษ ฟนฟูและใชประโยชนจากฐาน
ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพใหสมดุลและย่ังยืน ตามหลักนิเวศทางธรรมชาติ
แผนการปฏิรูปประเทศดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รวมทั้งสนับสนุนเปาหมายการอนุรักษและ
ฟนฟพู น้ื ท่ปี าไมข องประเทศ การคุม ครองถิ่นทีอ่ ยอู าศยั ชนิดพันธุ แหลง พันธุกรรม และความหลากหลายทาง
ชีวภาพ

2. พ้ืนท่ีศกึ ษา

พ้ืนที่ดําเนินการ ไดแก พื้นท่ีลุมน้ําหลัก 5 ลุมนํ้า ประกอบดวย ลุมน้ําแมกลอง ลุมนํ้าเพชรบุรี
ลุมน้ําทาจีน ลุมนํ้าสะแกกรัง และลุมน้ําเจาพระยา มีพ้ืนท่ีลุมน้ําท้ังส้ิน 75,254.88 ตารางกิโลเมตร หรือ
47,034,303.56 ไร ครอบคลุมพ้ืนที่ 25 จังหวัด โดยแบงพื้นท่ีตามจังหวัด ดังแสดงในตารางท่ี 1 70และภาพท่ี 170
ซึ่งไดคัดเลือกพื้นที่ลุมนํ้า 5 ลุมน้ําสาขา เปนกรณีศึกษา ไดแก ลุมนํ้าสาขาหวยตะเพิน ลุมนํ้าสาขาหวยกระเสียว
ลมุ นาํ้ สาขาแมน า้ํ เพชรบรุ ี ลมุ น้ําสาขาคลองโพธิ์ ลุมน้ําสาขาบึงบอระเพ็ด ซ่ึงไดจัดทํากิจกรรมนํารองในพื้นที่
ลุม นํา้ ยอยที่ไดคัดเลือกเปน กรณีศกึ ษา

โครงการเพมิ่ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การพ้ืนทชี่ ั้นคณุ ภาพลมุ นาํ้ (ลุมนํา้ ภาคตะวันตกและภาคกลาง) 1

รายงานสรุปสาํ หรบั ผูบริหาร

ตารางท่ี 1 แสดงพนื้ ทีจ่ ังหวัดในพ้ืนที่ลมุ นาํ้ ภาคตะวันตกและภาคกลาง

จงั หวดั กาญจนบรุ ี จงั หวัด พ้นื ที่ (ตร.กม.) รอ ยละ
19,395.90 25.77

จงั หวัดกําแพงเพชร 1,142.26 1.52
3.33
จังหวัดชยั นาท 2,507.21 6.41

จังหวัดตาก 4,822.64 0.29
2.85
จังหวดั นครนายก 214.79 11.09

จงั หวัดนครปฐม 2,142.34 0.11
3.20
จงั หวดั นครสวรรค 8,344.89 0.21

จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ 80.71 6.89
4.44
จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา 2,408.95 0.55

จังหวดั พจิ ิตร 154.96 1.14
1.16
จงั หวัดราชบรุ ี 5,186.88
1.09
จงั หวัดลพบรุ ี 3,344.49 7.18
8.84
จังหวัดสมุทรสงคราม 416.10
1.26
จังหวดั สมทุ รสาคร 857.05 7.22
1.01
จงั หวัดสระบุรี 874.16
1.55
จังหวัดสงิ หบ ุรี 817.23 0.85
1.49
จงั หวดั สุพรรณบรุ ี 5,406.71
0.56
จังหวดั อุทัยธานี 6,649.00 100.00

จังหวัดอางทอง 950.50

จังหวัดเพชรบุรี 5,430.73

จังหวัดเพชรบรู ณ 761.62

จงั หวดั ปทมุ ธานี 1,169.45

จงั หวดั นนทบรุ ี 636.40

กรงุ เทพมหานคร 1,117.72

จังหวัดสมทุ รปราการ 422.18

รวม 75,254.88
ที่มา : การวเิ คราะหด วยระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร, บรษิ ทั ท่ปี รกึ ษา (2562)

โครงการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจดั การพน้ื ทีช่ ้ันคณุ ภาพลุม นา้ํ (ลุม น้าํ ภาคตะวนั ตกและภาคกลาง) 2

รายงานสรปุ สําหรบั ผูบรหิ าร

ภาพท่ี 1 พนื้ ท่ลี ุมนํ้า70ภาคตะวันตกและภาคกลาง 3

โครงการเพิ่มประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การพน้ื ท่ชี ั้นคุณภาพลุมนา้ํ (ลมุ น้ําภาคตะวันตกและภาคกลาง)

3. 70สภาพทรัพยากรธรรมชาติในพ้นื ทศ่ี ึกษา

3.1 ลักษณะภูมปิ ระเทศลมุ นํา้ ภาคตะวันตก และภาคกลาง

ภาพท่ี 2 แสดงสภาพภูมปิ ระเทศลมุ นาํ้ ภาคตะวนั ตก

โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจดั การพืน้ ทชี่ ัน้ คณุ ภาพลุมนาํ้ (ลุมนํ้าภาคตะวนั ตกและภาคกลาง)

ภาพที่ 3 แสดงสภาพภูมปิ ระเทศลมุ น้าํ ภาคกลาง

4

ภายใตเปาหมายเชิงพื้นท่ีช้ันคุณภาพลุมนํ้าของการศึกษาโครงการ ประกอบดวย 5 ลุมนํ้าหลัก คือ
ลมุ นํา้ แมก ลอง มีพืน้ ทรี่ วม 30,180.71 ตารางกโิ ลเมตร ของพื้นท่ีลุมนํ้า ลุมน้ําเพชรบุรี มีพ้ืนท่ีรวม 6,260.17
ตารางกิโลเมตร ของพ้ืนที่ลุมน้ํา ลุมน้ําทาจีน มีพ้ืนที่รวม 13,491.63 ตารางกิโลเมตร ของพื้นที่ลุมน้ํา
ลุมนํ้าสะแกกรัง 5,055.88 ตารางกิโลเมตร ของพื้นที่ลุมนํ้า ลุมน้ําเจาพระยา มีพ้ืนที่รวม 20,266.49 ตาราง
กิโลเมตร ของพืน้ ทลี่ มุ นา้ํ รวมพ้นื ท่ที ั้งหมด 75,254.88 ตารางกโิ ลเมตร ดงั แสดงในภาพที่ 4 และตารางท่ี 2

ตารางท่ี 2 พื้นท่ีลุมนาํ้ หลักและพืน้ ทชี่ ั้นคุณภาพลุมนํา้ ของพน้ื ที่ศึกษาโครงการ

ชั้นคณุ ภาพ ลุมนํ้าแมกลอง ลมุ นาํ้ เพชรบุรี ลมุ นาํ้ ทาจีน ลมุ น้ําสะแกกรัง ลมุ นาํ้ เจา พระยา
ตร.กม. รอ ยละ
ลมุ น้ํา ตร.กม. รอ ยละ ตร.กม. รอ ยละ ตร.กม. รอยละ ตร.กม. รอ ยละ 193.04 0.95

1A 12,051.40 39.93 2,100.63 33.56 471.95 3.50 706.66 13.98 51.72 0.26
207.17 1.02
1B 75.08 0.25 12.09 0.19 2.00 0.01 4.16 0.08 254.93 1.26
417.42 2.06
2 4,009.11 13.28 470.94 7.52 316.97 2.35 317.79 6.29 19,142.20 94.45

3 3,856.42 12.78 499.71 7.98 322.04 2.39 250.08 4.95 20,266.48 100.00

4 4,510.32 14.94 1,100.53 17.58 1,042.24 7.73 576.53 11.40

5 4,918.36 16.30 2,033.04 32.48 11,332.40 84.00 3,200.67 63.31

E2C 17.68 0.06

EMS 30.32 0.10 4.36 0.07 4.00 0.03

ENA 5.20 0.02

W 706.79 2.34 38.86 0.62

รวม 30,180.68 100.00 6,260.16 100.00 13,491.60 100.00 5,055.88 100.00

ท่มี า : สํานักงานนโยบายและทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอม, วิเคราะหโ ดยบรษิ ทั ท่ีปรกึ ษา (2562)

โครงการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจดั การพนื้ ที่ช้ันคุณภาพลมุ นาํ้ (ลุม นํ้าภาคตะวันตกและภาคกลาง) 5

รายงานสรปุ สาํ หรบั ผูบรหิ าร

ภาพท่ี 4 แสดงช้นั คณุ ภาพลุมนาํ้ ลุมน้าํ ภาคตะวันตกและภาคกลาง 6

โครงการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การพืน้ ทีช่ ัน้ คุณภาพลมุ นาํ้ (ลุม นา้ํ ภาคตะวนั ตกและภาคกลาง)

รายงานสรุปสําหรบั ผูบรหิ าร

4. แนวทางการประเมินสถานภาพลมุ นาํ้

จากการวิเคราะหเบ้ืองตน พบวามีพื้นท่ีโดยรวมของพ้ืนที่ศึกษาครอบคลุม 5 ลุมน้ําหลัก
ประกอบดวย 22 ลุมนํ้าสาขา เปนพื้นที่รวมทั้งส้ิน 75,254.88 ตารางกิโลเมตร หรือ 47,034,303.56 ไร
ดังแสดงในตารางที่ 3 และภาพที่ 5 ถงึ ภาพที่ 6

ตารางที่ 3 ขอมูลการจาํ แนกลมุ น้ําหลักและลุมนํา้ สาขา ในพนื้ ท่ีลุม นา้ํ ภาคตะวันตกและภาคกลาง

ลุมนา้ํ หลัก ลมุ นาํ้ สาขา ตร.กม. ไร รอ ยละ รวม (ตร.กม)

แมกลอง แมนาํ้ แควใหญตอนบน 5,066.88 3,166,803.05 6.73 30,180.71

หวยแมล ะมุง 694.36 433,971.88 0.92

หวยแมจ ัน 700.66 437,914.81 0.93

หว ยขาแขง 2,361.50 1,475,938.71 3.14

แมนา้ํ แควใหญตอนลาง 4,024.80 2,515,499.86 5.35

หวยตะเพนิ 2,506.15 1,566,343.93 3.33

แมนาํ้ แควนอ ยตอนบน 4,115.56 2,572,222.47 5.47

หว ยปล อก 952.66 595,413.21 1.27

แมน้ําแควนอยตอนลาง 3,383.36 2,114,602.62 4.50

ลาํ ภาชี 2,574.74 1,609,209.38 3.42

ที่ราบแมน้ําแมกลอง 3,800.04 2,375,025.56 5.05

เพชรบรุ ี แมน ้าํ เพชรบรุ ีตอนบน 3,528.39 2,205,244.53 4.69 6,260.17

หวยแมประจันต 1,128.01 705,008.60 1.50

แมน าํ้ เพชรบรุ ีตอนลา ง 1,603.76 1,002,350.10 2.13

ทา จนี หว ยกระเสยี ว 1,929.85 1,206,157.37 2.56 13,491.63

ทีร่ าบแมนา้ํ ทาจนี 11,561.78 7,226,111.72 15.36

สะแกกรงั นาํ้ แมวงก 1,017.50 635,939.23 1.35 5,055.88

คลองโพธิ์ 1,181.63 738,515.98 1.57

หวยทับเสลา 742.12 463,825.50 0.99

แมน้ําสะแกกรังตอนลา ง 2,114.63 1,321,646.82 2.81

เจา พระยา บึงบอระเพ็ด 4,391.36 2,744,598.54 5.84 20,266.49

ทร่ี าบแมนาํ้ เจาพระยา 15,875.14 9,921,959.68 21.10

รวม 75,254.88 47,034,303.56 100.00 75,254.88

ทม่ี า : วิเคราะหด ว ยระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร บรษิ ทั ฯ ที่ปรึกษา 2561

โครงการเพมิ่ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การพน้ื ทช่ี ั้นคณุ ภาพลุม นาํ้ (ลุมนา้ํ ภาคตะวนั ตกและภาคกลาง) 7

รายงานสรปุ สาํ หรบั ผูบรหิ าร

ภาพท่ี 5 สภาพภมู ปิ ระเทศของพนื้ ที่ลุมนา้ํ ภาคตะวันตกและภาคกลาง 8
ทจ่ี าํ แนกเปนลุม นา้ํ หลกั และลมุ นํา้ สาขา

โครงการเพมิ่ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การพน้ื ท่ีชน้ั คุณภาพลุม นาํ้ (ลมุ นาํ้ ภาคตะวนั ตกและภาคกลาง)

รายงานสรปุ สาํ หรับผูบรหิ าร

ภาพที่ 6 แผนทจ่ี ําแนกลมุ นํ้าหลกั และลุมน้าํ สาขาในพืน้ ท่ีลุม น้ําภาคตะวันตกและภาคกลาง

โครงการเพิ่มประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การพนื้ ท่ชี ้นั คุณภาพลมุ นา้ํ (ลุมนํา้ ภาคตะวันตกและภาคกลาง) 9

รายงานสรุปสําหรบั ผูบรหิ าร

5. ตัวช้ีวัด และขอมูลที่ใชในการประเมินสถานภาพลุมน้ําท่ีใชในการประเมินสถานภาพ
ลมุ นาํ้

การคัดเลอื กตวั ช้ีวัด

โดยการนําผลการศึกษาของโครงการประเมินสถานภาพลุมนํ้าโดยการมีสวนรวม: ลุมน้ําภาคเหนือ
ในป 2560 โครงการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการช้ันคุณภาพลุมนํ้าป 2561 (ลุมน้ําภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ) แผนแมบทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา 20 ป และการศึกษาวิจัยที่เกี่ยวของมา
ทบทวนตัวช้ีวัด รวมกับ การพิจารณาขอมูลพ้ืนฐานของลุมนํ้าภาคตะวันตกและภาคกลาง เพื่อใชในการ
นําเสนอในการประชุมรับฟงความคิดเห็นตอตัวชี้วัดในการประเมินสถานภาพลุมนํ้า โดยตัวช้ีวัดที่รวบรวม
แบง เปน 4 กลมุ ดังแสดงในตารางที่ 4 และตวั ชวี้ ดั ทีเ่ สนอในเบอื้ งตน ดังแสดงในตารางที่ 5 ไดแ ก

(1) โครงสรางลุมนํา้ ตัวช้ีวัดท่ีเก่ยี วขอ ง จาํ นวน 13 ตัวชี้วดั เลอื กมา 9 ตวั ชี้วัด

(2) หนา ที่ลุมนํา้ ตัวช้วี ดั ทเี่ กย่ี วของ จํานวน 6 ตวั ช้ีวัด เลอื กมา 4 ตวั ชีว้ ดั

(3) สงั คมเศรษฐกจิ และการใชป ระโยชนลมุ นา้ํ ตวั ชว้ี ดั ทีเ่ กี่ยวขอ ง จํานวน 11 ตวั ชีว้ ัด

เลือกมา 6 ตวั ช้วี ดั

(4) การจัดการลุม นํ้า ตัวชีว้ ดั ท่ีเก่ยี วขอ ง จํานวน 9 ตัวชวี้ ัด เลอื กมา 5 ตัวช้ีวดั

โครงการเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การพ้ืนที่ช้นั คุณภาพลุมนา้ํ (ลมุ นา้ํ ภาคตะวันตกและภาคกลาง) 10

ตารางที่ 4 เปรียบเทยี บตัวช้ีวดั ท

ปจ จยั ดา น ชือ่ ตัวชีว้ ัด
ท่ี

1 พืน้ ท่ปี าไมป กคลุมปจ จุบันในพ้ืนท่ีลุมน้ํา min 0

2 ดัชนพี ืชพรรณ NDVI

3 ความหนาแนน ของการระบายนํา้ หนาแน

4 พื้นท่เี สี่ยงภัยดินถลม เสย่ี งส

5 พน้ื ทเี สี่ยงภัยนาํ้ ทวม เส่ียงส

6 โครงสราง พน้ื ทเ่ี สี่ยงภัยแลง เสยี่ งส
7 ลมุ น้ํา ความลาดชัน มาก (ว
8 การชะลางพังทลายของดนิ มาก (ว

9 เน้อื ดิน หยาบ

10 พื้นท่ที ี่มีสภาพปาไมปกคลุมปจจุบันในพืน้ ท่ลี ุมน้ําชนั้ ที่ 1 และ 2 นอ ย (

11 ปรมิ าณน้ําฝนเฉลย่ี รายป 30 ป (มลิ ลเิ มตร/ป) มากหร

12 อุณหภูมพิ ้นื ผวิ ดิน (องศาเซลเซยี ส) มาก (ว

13 พน้ื ที่เส่ียงภยั แผนดนิ ไหว มาก (ว

1 ปริมาณนาํ้ ทาตอปรมิ าณนํา้ ฝน นอ ย (

2 คณุ ภาพนํ้าผิวดิน นอย (

3 หนาท่ลี ุมน้ํา ระยะเวลาการไหลของนาํ้ ไมสมํ่า
4 ศักยภาพการใหนํ้าของนํา้ ใตดิน นอ ย (

5 รอยละปรมิ าณนาํ้ ไหลในฤดนู ํ้าหลากตอนํา้ ไหลในชวงฤดูนาํ้ แลง มาก (ว

6 อัตราการซึมน้ําผานผิวดินของลุมน้ํา นอ ย (

โครงการเพ่มิ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การพื้นทีช่ ั้นคณุ ภาพลมุ นาํ้ (ลมุ น้ําภาคตะวันตกและภาคกลาง)

รายงานสรุปสาํ หรับผูบริหาร

ทน่ี าํ มาใชใ นการประเมนิ สถานภาพลุมนา้ํ

เกณฑเบอ้ื งตน ลมุ น้าํ ลุม นาํ้ ภาค แผนแมบ ท ลมุ น้ํา
ภาคเหนอื ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ทรัพยากรนํ้า ภาคตะวันตก
และภาคกลาง
0% (วิกฤต) - max 65% (สมดุล)   20 ป
ชว งคา -1(วกิ ฤต) ถึง +1(สมดุล)    
นนนอย (วกิ ฤต) - หนาแนนมาก (สมดุล)    
สงู (วกิ ฤต) - เสีย่ งต่ํา (สมดุล)    
สงู (วกิ ฤต) - เส่ียงตาํ่ (สมดุล)    
สูง (วิกฤต) - เส่ยี งต่าํ (สมดุล)    
วกิ ฤต) - นอ ย (สมดุล)    
วิกฤต) - นอ ย (สมดลุ )    
บ (วกิ ฤต) – ละเอียด(สมดุล)    
(วิกฤต) - มาก (สมดลุ )    
รือนอยเกนิ ไป (วิกฤต) - พอดี (สมดลุ )    
วิกฤต) - นอย (สมดลุ )    
วิกฤต) - นอ ย (สมดุล)    
 
(วกิ ฤต) - มาก (สมดลุ )  
(วิกฤต) - มาก (สมดลุ )  
าเสมอ (วกิ ฤต) - สม่ําเสมอ (สมดุล)  
(วิกฤต) - มาก (สมดลุ )    
วกิ ฤต) - นอย (สมดุล)    
(วิกฤต) - มาก (สมดลุ )    
   
   
 
 
 

11

ตารางท่ี 4 เปรียบเทียบตัวช้ีวัดทนี่ าํ

ปจ จยั ดา น ชอ่ื ตัวช้ีวัด
ที่

1 รอยละของพืน้ ที่ต้งั ถิน่ ฐานชมุ ชนในพน้ื ท่ีลุม นํ้าช้นั ที่ 1 และ 2 มาก (
มาก (
2 รอ ยละของพ้ืนทีป่ าอนรุ ักษท ม่ี กี ารเปลย่ี นแปลงการใชประโยชน เมอื ง+
มาก (
3 รอ ยละของการใชประโยชนท ดี่ นิ แตละประเภท นอ ย (
มาก (
4 สังคม การเปลยี่ นแปลงพนื้ ที่ปา ไม นอย (
5 เศรษฐกจิ รายไดเ ฉลย่ี ครัวเรือน นอย (
6 และการใช ความถใ่ี นการเผชิญภัยธรรมชาติ นอย (
7 ประโยชน การมีท่ดี นิ ทาํ กินในระดบั ครัวเรอื นในลมุ น้ํา มาก (
8 ท่ดี ิน ชุมชนที่มคี รัวเรือนในชุมชนทมี่ นี า้ํ ใชพ อเพียง มาก (

9 การมีสวนรวมของชมุ ชน

10 ชุมชนท่ีมีพ้ืนทีอ่ ยูใ นพ้ืนทปี่ าไม

11 พนื้ ทีเ่ กดิ ไฟปา

1 การประกาศเขตพน้ื ทอี่ นรุ กั ษท รัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ ม นอ ย (
ไมดี (ว
2 การจดั การและควบคมุ การใชประโยชนทดี่ ินเพอื่ คมุ ครองสง่ิ แวดลอ ม นอ ย (
นอ ย (
3 ระบบบาํ บดั น้าํ เสยี ไมเ หม
นอย (
4 การจัดการ ปาชุมชน นอ ย (
5 ลุมนํา้ เขตการใชประโยชนท ่ดี นิ ปา ไม na
6 พ้นื ที่อนุรักษต ามกฎหมายในพ้ืนที่ลุม นาํ้ ชนั้ ที่ 1 และ 2 นอ ย (

7 การมสี วนรว มของชมุ ชน (รายตําบล)

8 การสงวนและอนุรักษป า ไม พืชพรรณ และสัตวป า ตามกฎหมาย

9 การบริหารจัดการนํ้า

ทมี่ า : วเิ คราะหด วยระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร, บรษิ ทั ท่ีปรึกษา 2562

โครงการเพ่ิมประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การพื้นทชี่ ้นั คุณภาพลุมนาํ้ (ลุมนา้ํ ภาคตะวนั ตกและภาคกลาง)

รายงานสรปุ สําหรบั ผูบรหิ าร

ามาใชใ นการประเมนิ สถานภาพลมุ นาํ้ (ตอ)

เกณฑเบอ้ื งตน ลุมน้าํ ลุมนํ้าภาค แผนแมบท ลมุ นาํ้
ภาคเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ ทรพั ยากรน้ํา ภาคตะวันตก
และภาคกลาง
(วกิ ฤต) - นอย (สมดลุ )   20 ป
(วิกฤต) - นอ ย (สมดลุ )    
+อุตสาหกรรม (วกิ ฤต) พื้นทส่ี เี ขียว (สมดุล)    
(วกิ ฤต) - นอย (สมดุล)    
(วกิ ฤต) - มาก (สมดุล)    
(วิกฤต) - นอย (สมดลุ )    
(วกิ ฤต) - มาก (สมดลุ )    
(วิกฤต) - มาก (สมดุล)    
(วิกฤต) - มาก (สมดุล)    
(วกิ ฤต) - นอ ย (สมดลุ )    
(วิกฤต) - นอ ย (สมดลุ )    
 
(วิกฤต) - มาก (สมดลุ )  
วกิ ฤต) - ดี (สมดุล)  
(วกิ ฤต) - มาก (สมดลุ )  
(วกิ ฤต) - มาก (สมดุล)    
มาะสม (วกิ ฤต) - เหมาะสม (สมดลุ )    
(วกิ ฤต) - มาก (สมดลุ )    
(วกิ ฤต) - มาก (สมดุล)    
   
(วิกฤต) - มาก (สมดุล)    
   
   
 

12

รายงานสรุปสําหรบั ผูบริหาร

ตัวชวี้ ัด ตารางที่ 5 ตัวชี้วดั ทเ่ี สนอในเบือ้ งตน
ดานโครงสรางลมุ นํ้า
1. พนื้ ท่ที ่ีมสี ภาพปา ไมปกคลุมปจจุบัน ความสาํ คญั ของตวั ชว้ี ดั ที่เกย่ี วขอ งกบั สถานภาพลุมนาํ้
ในพ้ืนท่ีลุมนํ้าแตละช้นั คุณภาพลมุ นํา้
2. ดชั นีพชื พรรณ พื้นท่ีลุมน้ําท้ังหมดโดยรวมควรมีปาปกคลุมไมนอยกวารอยละ 65 ตามหลักการจัดการ
3. ความหนาแนน ของการระบายนํา้ ลมุ นํ้า
(Drainage density; Dd) ดชั นพี ืชพรรณบง บอกถงึ ความอุดมสมบรู ณข องดิน นํ้า และความชุมช้ืนของดิน และพืชพรรณ
ทกี่ ั้นแรงกระแทกของเม็ดฝน (Raindrop impact) ทม่ี ตี อ ผวิ ดนิ ทําใหการสูญเสยี ดินลดลง
4. พื้นที่เส่ยี งภัยดินถลม เปนความสามารถในการระบายน้ําวามีปริมาณทางระบายน้ําเปนระยะทางเทาใดตอพื้นท่ี
5. พ้นื ท่เี ส่ียงภัยนา้ํ ทว ม ระบายนํ้า โดยท่ัวไปพื้นท่ีลุมนํ้าท่ีมีความยาวลําน้ํามากจะมีการระบายน้ําที่ดีกวาพ้ืนที่ ลุม
6. พน้ื ที่เสีย่ งภัยแลง น้ําที่มีการระบายนํ้าสั้น และลุมนํ้าที่ดีจะมีคา Dd > 3 แสดงศักยภาพการระบายน้ําดีมาก
7. ความลาดชนั (ภาควิชาอนรุ กั ษวิทยา, 2559)
8. การกดั เซาะ พื้นที่ตนน้ําลําธารที่เปนภูเขาสูงชันควรมีปาไมปกคลุมพื้นที่ เพ่ือลดความเส่ียงดินถลม
ดังนั้น ลมุ น้าํ ทด่ี ีควรมีพ้ืนทเี่ สีย่ งภัยดนิ ถลม นอ ย
9. เนอื้ ดนิ ลุมน้ําท่ีดี ดินตองมีอัตราการซึมนํ้าสูง น้ําไหลบาหนาดินมีนอยและมีนํ้าเก็บกักไวในดิน
ดานหนา ที่ลุมนํา้ จึงสามารถชวยลดอทุ กภัย และมีพ้นื ทเี่ สี่ยงภัยนํา้ ทวมนอย
1. รอยละนํ้าทา /น้าํ ฝน ลมุ นา้ํ ทดี่ ีมศี ักยภาพใหนํ้าทาสูง มีสัดสวนนํ้าทาฤดูแลงเพียงพอตอความตองการจะชวยลด
พน้ื ทเ่ี ส่ยี งภัยแลงลงได แตท ้ังน้ขี ้ึนกับปริมาณความตองการใชนาํ้ ของประชาชนดวย
2. คณุ ภาพน้าํ ผิวดิน ความลาดชนั เปน ปจ จยั ท่ีมีความสาํ คัญตอ การชะลางพงั ทลายของดิน
โดยเฉพาะในเขตท่ีราบภาคกลาง ไดแก บริเวณที่ราบลุมแมน้ําตอนกลางและตอนลาง
3. ระยะเวลาการไหลของน้ํา ทั้งหมด ซ่ึงประกอบดวยแมน้ําเจาพระยาและสาขาที่ไหลมาจากที่สูงโดยรอบแลวไหลลงสู
4. ศกั ยภาพการใหนํา้ ของน้าํ ใตด ิน อาวไทยท่ีอยูตอนใต ของภาค ท่ีราบภาคกลางในอดีตเคยอยูใตระดับน้ําทะเล ตอมา
ระดับน้าํ ทะเลลดตาํ่ ลง ประกอบกบั พืน้ ดินยกสูงขึ้น รวมท้ังการกระทําของแมนํ้าหลายสาย
ซง่ึ มที ง้ั การกดั เซาะ สึกกรอ นและทับถม พอก
เนื้อดนิ มีผลตอการอุม นา้ํ และการระบายน้ําของดิน

รอยละนํ้าทา/น้ําฝน สงผลตอศักยภาพการใหนํ้าทาของพ้ืนที่ลุมนํ้า ศักยภาพของพ้ืนที่
ลุมนํ้าทส่ี มบรู ณมีปาไมปกคลุมตามพื้นทภ่ี ูเขา จะมกี ารตอบสนองตอลักษณะทางอุทกวิทยา
คือ มีศักยภาพการใหนํ้าทาดี โดยคานํ้าทามากกวารอยละ 40 ของปริมาณนํ้าฝนท้ังหมด
(ภาควชิ าอนรุ กั ษวทิ ยา, 2559)
ดัชนีคุณภาพนํ้าท้ังทางกายภาพ เคมี และชีวภาพ เปนความเหมาะสมของนํ้าเพื่อใชใน
กิจกรรมเฉพาะของมนุษย โดยจะเปลี่ยนแปลงมากหรือนอยข้ึนอยูกับปจจัยของ
สภาพแวดลอม ไดแก สภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ลักษณะทางธรณีวิทยา พืชพรรณ
รวมท้ังกิจกรรมของมนุษยและส่ิงมีชีวิตอื่น ๆ ทั้งน้ี คุณภาพนํ้าตองไมเกินเกณฑมาตรฐาน
คุณภาพน้าํ ผิวดินของกรมควบคมุ มลพษิ (2537) หากคุณภาพนํ้าเกิดการเปล่ียนแปลงไปหรือมี
คา เกนิ มาตรฐาน คณุ ภาพนาํ้ ผวิ ดินจะสง ผลตอส่งิ มีชวี ิตและระบบนิเวศของลุม น้าํ ได
ดัชนรี ะยะเวลาการไหลของนา้ํ ทา สงผลตอ ศกั ยภาพการใหนํ้าทาของพื้นท่ีลุมน้ํา โดยลุมนํ้าท่ีดี
ในลําธารสายหลักควรมีนํ้าไหลในลําธารสม่ําเสมอตลอดท้งั ป (ภาควชิ า อนรุ กั ษวิทยา, 2559)
น้ําใตด นิ เปน บริเวณทม่ี ีนํ้าบาดาลสะสมตัวอยูเปนปริมาณมาก ซ่ึงหากในพ้ืนที่ลุมนํ้ามีนํ้าใต
ดินท่ีมีศักยภาพดี สามารถนํามาใชได เปนการสะทอนถึงความมั่นคงของการใชนํ้าในพ้ืนที่
ลมุ นํา้

โครงการเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การพน้ื ทช่ี ั้นคุณภาพลมุ นาํ้ (ลุมนา้ํ ภาคตะวนั ตกและภาคกลาง) 13

รายงานสรปุ สาํ หรบั ผูบริหาร

ตารางที่ 5 ตัวชว้ี ดั ทเี่ สนอในเบอ้ื งตน (ตอ )

ตัวช้ีวดั ความสําคญั ของตวั ชว้ี ดั ท่ีเกีย่ วขอ งกบั สถานภาพลุมนํา้

ดา นสังคม-เศรษฐกิจ และการใชป ระโยชนลมุ นาํ้

1. รอยละของพน้ื ทต่ี งั้ ถิ่นฐานชมุ ชน พนื้ ท่ลี มุ นาํ้ ชนั้ ท่ี 1 เปน พื้นทลี่ ุมนาํ้ ทค่ี วรสงวนไวเปน พ้นื ที่ตน นํ้าลาํ ธารโดยเฉพาะ เนื่องจากวา

ในพ้ืนท่ีลมุ น้ําชั้นที่ 1 และ 2 อาจมผี ลกระทบตอส่งิ แวดลอมจากการเปล่ียนแปลงการใชท่ีดินไดงายและรุนแรง การตั้งถิ่น

ฐานในพืน้ ทต่ี นน้าํ ลําธารอาจจะสงผลตอสถานภาพลุม นํา้

2. รอยละของพ้นื ทปี่ าอนรุ ักษที่มีการ พ้ืนที่ปาอนุรักษ เปนพ้ืนท่ีปาท่ีประกาศเปนพื้นท่ีคุมครองปาไม ทัศนียภาพตามกฎหมาย

เปลย่ี นแปลงการใชประโยชน (พ.ร.บ.อุทยานแหง ชาต,ิ พ.ร.บ.เขตรกั ษาพนั ธุส ตั วป า ) หามบคุ คลเขาไปใชประโยชนโดยไมได

รับอนุญาต โดยพื้นท่ีปาไมเปนแหลงตนน้ําลําธารท่ีสําคัญ หากมีการเปลี่ยนแปลงการใช

ประโยชนจะมผี ลกระทบตอ ระบบนเิ วศลมุ นาํ้

3. รอยละของการใชป ระโยชนทดี่ ิน แต การใชประโยชนที่ดินในพ้ืนที่ลุมน้ํา มีผลตอการทําหนาท่ีของลุมน้ําในดานตาง ๆ สงผลตอ

ละประเภท การเปลี่ยนแปลงสถานภาพลุม นํา้

4. การเปล่ียนแปลงพื้นทปี่ าไม การเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ปาไมมผี ลตอ การทาํ หนาทีข่ องลมุ น้ําในดานตา ง ๆ สงผลตอการ

เปลย่ี นแปลงสถานภาพลุมนาํ้

5. รายไดเฉลยี่ ครัวเรอื น รายไดเ ฉลยี่ ครวั เรือนมีผลตอสถานภาพลมุ นํ้า โดยรายไดต่าํ มโี อกาสเกิดวิกฤตลมุ น้ําสงู กวา

รายไดส งู

6. ความถี่ในการเผชิญภยั ธรรมชาติ ความถ่ีในการเผชิญภัยธรรมชาติ บงชี้ถึงการเผชิญความเสี่ยงตอภัยธรรมชาติในรูปแบบตาง ๆ

เชน อุทกภยั ภัยแลง วาตภยั ดนิ โคลนถลม คลื่นความรอน ภัยหนาว หรือภัยธรรมชาติอื่นใด

ท่ีสงผลตอความเสียหายตอระบบนิเวศ เศรษฐกิจ สังคม และชีวิตทรัพยสิน ท่ีอาจสงผลตอ

ความเสี่ยงในการเผชิญกับภัยธรรมชาติ การวางระบบมาตรการตอการรับมือ ตนทุนทาง

เศรษฐศาสตร การเงิน การคลังที่ใชในการฟนฟูเยียวยา รวมถึงบงบอกถึงรูปแบบการใช

ประโยชนก ารใชทรพั ยากรในลมุ นาํ้

ดานการจัดการลุมนํา้

1. การประกาศเขตพ้ืนทอี่ นรุ กั ษ หากมกี ารประกาศเขตพ้นื ทอ่ี นรุ ักษ ครอบคลุมพ้ืนที่ปาปกคลุมที่เหลืออยูไดทั้งหมด ก็จะชวย

ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ ม ปองกันรกั ษาลุมนา้ํ ไวไ ดด ี

2. การจัดการและควบคมุ การใช หากมกี ารใชประโยชนที่ดินใหสอดคลองกับมาตรการการใชท่ีดินท่ีกําหนดไวตามชั้นคุณภาพ

ประโยชนท ีด่ นิ เพอ่ื คุมครอง ลุมนํา้ และตามกฎหมายตา ง ๆ ไดแลว ยอมสงผลดตี อสถานภาพลมุ นํ้า

ส่งิ แวดลอ ม

3. ระบบบําบัดนํ้าเสีย จาํ นวนของระบบบาํ บัดน้าํ เสียท่ีมีการติดต้ังสําหรับในเขตเทศบาลหรือชุมชน ซ่ึงสงผลตอการ

รวบรวมน้ําท้ิง การระบายนํ้าจากกิจกรรมตาง ๆ ในชุมชน และมีการควบคุมบําบัดน้ํา

เสยี กอ นระบายสแู หลง นํ้าสาธารณะและแหลง น้ําธรรมชาติ

4. ปา ชมุ ชน บรเิ วณทีม่ ีปาชุมชน สง ผลตอ ชวี ิตความเปน อยขู องประชากรลุม น้ํา และสงผลตอ การ

เปลยี่ นแปลงของระบบนิเวศลมุ นํา้

5. เขตการใชป ระโยชนท ่ีดนิ ปา ไม ควรมกี ารกาํ หนดเขตการใชท ่ีดินปา ไมใ หเหมาะสมกับสภาพพื้นท่ี

ท่ีมา : วเิ คราะหด วยระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร, บรษิ ัทท่ปี รกึ ษา 2562

ตัวอยางการจดั ลําดับความสําคัญของปจจัยกลุมการจัดการลุมน้ํา พบวา กลุมท่ีมีความสําคัญมากที่สุด
คือ พ้ืนท่ีอนุรักษ โดยมีตัวช้ีวัดเขตรักษาพันธุสัตวปา มีคาถวงน้ําหนักรวมสูงท่ีสุด เทากับ 0.37 ตัวชี้วัด
ท่ีมีคาถวงน้ําหนักนอยที่สุด ไดแก ตัวชี้วัดรองไมมีพ้ืนที่บําบัดน้ําเสีย มีคาถวงนํ้าหนักรวมเทากับ 0.03
ดงั แสดงในตารางท่ี 6

โครงการเพ่ิมประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การพืน้ ท่ีชน้ั คณุ ภาพลมุ นา้ํ (ลุมนํ้าภาคตะวนั ตกและภาคกลาง) 14

รายงานสรุปสาํ หรบั ผูบรหิ าร

ตารางที่ 6 ตัวอยางการจัดลําดับความสาํ คญั ของปจ จัยกลุมการจดั การลุม น้ํา

กลมุ ลาํ ดบั กลุม ลําดับตวั ชวี้ ัด คา ถว งนํ้าหนกั กลมุ คา ถว งนํา้ หนัก คาถว งนาํ้ หนัก
ตัวช้วี ัด รวม
พื้นทีอ่ นุรักษ 1 0.61
0.61 0.37
- เขตรักษาพนั ธุสตั วป า 1 0.11 0.28 0.17
0.28 0.11 0.07
- อุทยานแหง ชาติ 2 1.00
0.75 0.08
- ไมมี 3 0.25 0.03

การบําบดั นาํ้ เสีย 3 0.75 0.21
0.25 0.07
- มี 1 3.00 1.00

- ไมมี 2

ปา ชมุ ชน 2

- มี 1

- ไมมี 2

รวม

ที่มา : วิเคราะหด ว ยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร, บริษัททป่ี รึกษา 2562

6. การจดั ประชุมรบั ฟงความคิดเหน็ ตอ ตวั ช้ีวดั และแบบจําลองทางคณิตศาสตร

ไดจัดประชุมรับฟงความคิดเห็นตอตัวชี้วัดและแบบจําลองทางคณิตศาสตร ท่ีจะใชประเมินสถานภาพ
ลุมน้ํา จากภาคสวนที่เกี่ยวของในพ้ืนท่ีลุมน้ําภาคตะวันตกและภาคกลาง 5 ลุมน้ํา โดยแยกจัดในทุกลุมนํ้าหลัก
ลมุ นํา้ ละ 100 คน ในระหวา งวนั ที่ 11-15 กมุ ภาพนั ธ 2562 รวมจํานวนท้งั สน้ิ 610 คน

การประชุมรบั ฟงความคิดเห็นตอ ตัวช้ีวดั และแบบจาํ ลองทางคณิตศาสตร

วนั /เวลา ลุม นํา้ หลกั สถานที่ จํานวน
ผเู ขา รวมประชมุ (คน)

วันท่ี 11 กุมภาพนั ธ 2562 เพชรบรุ ี ณ โรงแรมรอยัลไดมอนด อาํ เภอเมอื ง จังหวดั เพชรบรุ ี 112

วันท่ี 12 กมุ ภาพันธ 2562 แมกลอง ณ โรงแรม RS HOTEL อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบรุ ี 134

วันที่ 13 กมุ ภาพนั ธ 2562 ทา จนี ณ โรงแรมศรีอทู องแกรนด อําเภอเมือง จังหวัดสพุ รรณบรุ ี 98

วนั ท่ี 14 กุมภาพันธ 2562 สะแกกรงั ณ โรงแรมหวยขาแขงเชษฐศิลป อาํ เภอเมอื ง จังหวดั อทุ ยั ธานี 107

วันที่ 15 กุมภาพนั ธ 2562 เจา พระยา ณ โรงแรมกรุงศรีริเวอร อําเภอเมือง จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา 159

รวม 610

โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การพื้นที่ช้นั คุณภาพลมุ นา้ํ (ลุมนํ้าภาคตะวนั ตกและภาคกลาง) 15

รายงานสรปุ สําหรบั ผูบรหิ าร

ภาพการประชุมลมุ น้ําเพชรบรุ ี จงั หวดั เพชรบุรี

ภาพการประชมุ ลมุ นา้ํ แมกลอง จงั หวดั กาญจนบุรี

ภาพการประชมุ ลมุ นํ้าทา จีน จังหวัดสุพรรณบุรี 16

โครงการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การพ้ืนทชี่ ้นั คณุ ภาพลมุ นา้ํ (ลุมนํ้าภาคตะวันตกและภาคกลาง)

รายงานสรปุ สาํ หรับผูบริหาร

ภาพการประชุมลมุ น้าํ สะแกกรงั จงั หวัดอทุ ัยธานี

ภาพการประชุมลมุ นํา้ เจาพระยา จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

ภาพการบรรยากาศการประชมุ ของแตล ะลมุ นา้ํ

7. การตรวจสอบและสาํ รวจขอ มลู ในภาคสนาม

จากเวทีรับฟงความคิดเห็น ในการคัดเลือกและใหคาถวงนํ้าหนักตัวชี้วัดรายลุมน้ําหลัก 5 ลุมน้ํา
ไดแก ลุมน้ําแมกลอง ลุมน้ําเพชรบุรี ลุมนํ้าทาจีน ลุมน้ําสะแกกรัง และลุมนํ้าเจาพระยา ตามลําดับ และมี
จํานวนตัวช้ีวัดท่ีไดจากการประชุม เทากับ 33, 37, 32, 35 และ 30 ตัวชี้วัด ตามลําดับ จากนั้นที่ปรึกษาจึง
เลือกใชขอมูลทุติยภูมิจากหนวยงานตาง ๆ และทําการตรวจสอบขอมูลใหมีความถูกตองกอนนําไปใช
ประเมินสถานภาพลมุ นาํ้ โดยการตรวจสอบท้ังแบบลงภาคสนามและแบบในหอ งปฏิบัตกิ าร

หลังจากปรับปรุงตัวชี้วัดตามขอมูลและความเหมาะสมแลว จึงปรับคาถวงนํ้าหนักรวมของทุก
ตัวช้ีวัดใหมีผลรวมเทากับ 1 โดยการเฉล่ียคาถวงนํ้าหนักของตัวชี้วัดท่ีปรับลดเพ่ิมในตัวช้ีวัดท่ีเหลือ ดังแสดงใน
ตารางที่ 7 และตารางที่ 8

โครงการเพม่ิ ประสิทธิภาพการบริหารจดั การพื้นท่ชี ั้นคณุ ภาพลมุ นา้ํ (ลุมนา้ํ ภาคตะวนั ตกและภาคกลาง) 17

รายงานสรปุ สาํ หรับผูบรหิ าร

ตารางท่ี 7 การปรบั ลดตวั ช้ีวัดทใ่ี ชใ นการประเมนิ สถานภาพลุมนํา้ ในแตละลมุ น้ํา

ลุม นาํ้ จํานวนตวั ท่ีชีว้ ดั ทไ่ี ดจากการรับฟง จาํ นวนตัวทช่ี ว้ี ัดคงเหลอื จากการวเิ คราะหและ

ความคิดเหน็ รวบรวม

ลุมน้ําแมก ลอง 33 30

ลุมนา้ํ เพชรบรุ ี 37 36

ลุมนํา้ ทาจนี 32 29

ลมุ น้าํ สะแกกรัง 35 31

ลุมน้ําเจา พระยา 30 23

การตรวจสอบการใชป ระโยชนท่ีดินในพื้นท่ีลุมน้าํ ภาคตะวันตกและภาคกลาง โดยสุมจํานวน 50 จุด
พบวา มีความถูกตอง 48 จุด (96%) และมีเพียง 2 จุด (4%) ท่ีไมถูกตอง เน่ืองจากขอมูลการใชประโยชน
ที่ดินที่ใชตรวจสอบประกอบการสํารวจพื้นที่จริงเปนขอมูลในป 2561- 2562 ของกรมพัฒนาท่ีดิน จึงทําให
บางพ้ืนท่ีมีการเปล่ียนแปลงการใชประโยชนที่ดินเปล่ียนไปจากเดิมบางเล็กนอย สรุปผลไดดังแสดงใน
ตารางที่ 8 และ ภาพท่ี 7

โครงการเพิม่ ประสิทธภิ าพการบริหารจดั การพ้นื ทีช่ ัน้ คณุ ภาพลมุ นาํ้ (ลมุ นํา้ ภาคตะวนั ตกและภาคกลาง) 18

ตารางที่ 8 ปรับปรุงตัวชี้วัด และคา ถวงน

กลุมตัวชี้วัด คาถวงนาํ้ หนกั กลุม ชอื่ ตัวชีว้ ดั แมก ลอง (MK) คา ถวง total ช่ือตัวช้ีวัดเพชรบุรี (PC) คา ถวง tota
โครงสราง นํ้าหนัก (36) นํา้ หนกั
CH TC MK SA PC (30)
0.235
0.328 0.365 0.370 0.362 0.388 1. พนื้ ท่ปี าไมป กคลมุ ปจ จุบนั ในพื้นที่ 0.087 1. พ้นื ท่ปี าไมปกคลุมปจจุบันในพ้ืนที่ 0.222 0.
ลมุ น้าํ 0.147 ลมุ นา้ํ

2. ดชั นพี ืชพรรณ 0.141 0.054 2. ดัชนพี ืชพรรณ 0.142 0.

3. ความหนาแนนของ 0.095 0.052 3. ความหนาแนนของ 0.110 0.
0.086 การระบายนา้ํ
การระบายนา้ํ 0.079
0.081
4. พ้นื ท่เี ส่ียงภยั น้ําทว ม 0.035 4. พ้นื ทีเ่ สย่ี งภัยนํา้ ทวม 0.080 0.
0.065 0.
5. พนื้ ทเี่ สี่ยงภยั แลง 0.032 5. พืน้ ที่เสยี่ งภัยแลง 0.081 0.
0.063 0.
6. พ้ืนท่เี สย่ี งภัยดินถลม 0.029 6. พื้นที่เสีย่ งภัยดินถลม

7. การชะลางพงั ทลายของดนิ 0.030 7. การชะลางพงั ทลายของดนิ

8. ความลาดชัน 0.073 0.027 8. ความลาดชนั 0.062 0.
9. เนื้อดนิ 0.063 0.023 9. เนอื้ ดนิ 0.046 0.

10. การเปล่ียนแปลงแนว 0.039 0.
0.036 0.
ชายฝง
0.033 0.
11. ลกั ษณะทางธรณีวิทยา
0.021 0.
12. พน้ื ท่ีทมี่ ีสภาพปาไม 0.334 0.
0.215 0.
ปกคลมุ ปจจบุ ันใน 0.189 0.
0.124 0.
พื้นทีล่ มุ น้ําช้นั ที่ 1,2

13. นํา้ ทะเลหนนุ

หนา ท่ลี มุ นา้ํ 0.257 0.194 0.216 0.201 0.203 1. ปริมาณนา้ํ ทา ตอ 0.345 0.075 1. ปริมาณน้ําทาตอ
ปรมิ าณนา้ํ ฝน ปริมาณนํ้าฝน

2. คณุ ภาพนํ้าผิวดิน 0.304 0.066 2. คณุ ภาพน้าํ ผวิ ดิน

3. ระยะเวลาการไหลของนํา้ 0.216 0.047 3. ระยะเวลาการไหลของนาํ้

4. ศกั ยภาพการใหนํา้ 0.135 0.029 4. ศกั ยภาพการใหนา้ํ
ของน้ําใตดนิ
ของนํ้าใตด ิน

5. โครงการพฒั นาแหลง นํา้ / 0.138 0.

แหลงนา้ํ กกั เกบ็ 0.222 0.

เศรษฐกิจ สงั คม การ 0.194 0.175 0.204 0.216 0.216 1. รอ ยละของพ้นื ที่ตง้ั ถ่นิ ฐาน 2 0.249 0.051 1. รอ ยละของพ้นื ท่ตี ง้ั ถ่นิ ฐาน 2 0.188 0.
ใชป ระโยชนท ด่ี นิ ชุมชนในพนื้ ทลี่ มุ น้ําช้ันที่1 และ ชุมชนในพน้ื ทล่ี ุมน้าํ ชั้นที่1 และ
0.157 0.
2. รอ ยละของพ้นื ท่ปี าอนุรกั ษทม่ี กี าร 0.196 0.040 2. รอยละของพืน้ ท่ปี า อนุรกั ษท ่มี ีการ 0.134 0.
เปลย่ี นแปลงการใชประโยชน 0.083 0.
เปล่ยี นแปลงการใชป ระโยชน

3. รอ ยละของการใชประโยชน 0.150 0.031 3. รอยละของการใชป ระโยชน
ที่ดินแตล ะประเภท
ท่ีดนิ ชมุ ชน และสิ่งกอ สราง

4. การเปลยี่ นแปลงพื้นที่ปาไม 0.125 0.026 4. การเปล่ยี นแปลงพื้นทีป่ าไม

5. ความถใี่ นการเผชญิ ภัย

ธรรมชาติ

โครงการเพิ่มประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การพื้นทชี่ นั้ คุณภาพลมุ นาํ้ (ลมุ น้ําภาคตะวนั ตกและภาคกลาง)

รายงานสรุปสาํ หรบั ผูบรหิ าร

น้ําหนกั ลมุ นาํ้ ภาคตะวนั และภาคกลาง

al ชอื่ ตัวชวี้ ัดทาจีน (TC) คาถว ง total ชอื่ ตัวช้ีวัดสะแกกรงั (SA) คา ถวง total ช่ือตัวชวี้ ดั เจาพระยา (CH) คาถวง total
(29) นา้ํ หนกั (31) น้าํ หนัก (23) นาํ้ หนกั 0.083

.086 1. พ้นื ทปี่ าไมปกคลมุ ปจ จุบันใน 0.222 0.081 1. พ้นื ท่ีปาไมปกคลุมปจ จุบนั ใน 0.331 0.120 1. พ้ืนท่ปี าไมปกคลุมปจ จุบันในพน้ื ท่ี 0.252
พื้นทล่ี มุ นํา้ พ้นื ที่ลุมนํา้ ลมุ นาํ้
0.174
.055 2. ดชั นพี ืชพรรณ 0.064
0.178
.043 3. ความหนาแนนของ 0.065 2. ความหนาแนน ของ 0.232 0.084
การระบายนา้ํ 0.192 การระบายน้าํ 0.159 0.058 2. พน้ื ทีเสี่ยงภัยนา้ํ ทวม
0.120 0.116 0.042 3. พ้นื ทเ่ี สีย่ งภยั แลง
.031 4. พ้ืนท่เี ส่ียงภัยน้ําทว ม 0.070 3. พ้ืนท่ีเสี่ยงภัยนา้ํ ทวม 0.341 0.112
4. การชะลา งพงั ทลายของดิน 0.233 0.076
.025 5. พื้นท่เี สยี่ งภัยแลง 0.044 4. พืน้ ท่เี สยี่ งภยั แลง
0.174 0.057
.031

.024

6. เข่อื นปองกันตลิ่งหรอื 0.114 0.042

ผนงั กั้นนาํ้
.024

.018

5. การเปล่ียนแปลงสภาพ 0.162 0.059
ภูมอิ ากาศ

.015
.014

.013

.008

.068 1. ปริมาณน้าํ ทาตอ 0.346 0.067 1. ปรมิ าณนํา้ ทา ตอ 0.295 0.059 1. ปริมาณน้าํ ทา ตอ 0.185 0.048
ปรมิ าณน้ําฝน ปรมิ าณนา้ํ ฝน ปริมาณน้ําฝน 0.131 0.034
0.143 0.037
.044 2. คุณภาพนํา้ ผิวดิน 0.277 0.054 2. คุณภาพน้ําผวิ ดิน 0.179 0.036 2. คุณภาพนาํ้ ผิวดนิ 0.088 0.023

.038 3. ระยะเวลาการไหลของนํา้ 0.221 0.043 3. ระยะเวลาการไหลของนาํ้ 0.217 0.044 3. ระยะเวลาการไหลของนาํ้ 0.163 0.042
0.136 0.035
.025 4. ศักยภาพการใหน า้ํ 0.156 0.030 4. ศกั ยภาพการใหน ํ้า 0.120 0.024 4. ศกั ยภาพการใหน ้ํา 0.154 0.040
ของนํา้ ใตด ิน ของนํ้าใตด ิน ของน้ําใตด ิน

5. ศกั ยภาพการกักเก็บนํา้

ไวใ ชในฤดแู ลง

6. สมดุลการใชน า้ํ

7. ประสทิ ธภิ าพใน

การระบายน้ํา

5. อตั ราการซมึ ผานนํ้าผาน 0.118 0.024
ผวิ ดนิ
6. คุณภาพนํา้ ใตดนิ 0.071 0.014

.028

.048 1. รอยละของพ้ืนทีต่ ัง้ ถน่ิ ฐานชมุ ชน 0.190 0.033 1. รอ ยละของพนื้ ทีต่ ้ังถนิ่ ฐานชมุ ชน 0.188 0.041 1. รอ ยละของพื้นทต่ี ง้ั ถ่ินฐาน 2 0.200 0.039
ในพืน้ ที่ลมุ น้ําช้นั ที่ 1 และ 2 ในพนื้ ทล่ี มุ น้ําช้ันที่ 1 และ 2 ชุมชนในพืน้ ที่ลมุ นํ้าชั้นที่1 และ

.041 2. รอ ยละของพื้นทีป่ า อนรุ กั ษทมี่ ี 0.162 0.035 2. รอยละของพน้ื ท่ีปา อนรุ ักษท ี่มกี าร 0.163 0.032
การเปล่ยี นแปลงการใชประโยชน เปลี่ยนแปลงการใชป ระโยชน

.034 2. รอ ยละของการใชป ระโยชน 0.164 0.029 3. รอ ยละของการใชป ระโยชน 0.117 0.025 3. รอยละของการใชป ระโยชน 0.149 0.029
ทีด่ นิ ชุมชน และส่ิงกอสราง ท่ีดนิ ชมุ ชน และสงิ่ กอ สรา ง ทีด่ นิ ชุมชน และสงิ่ กอสรา ง

.029 3. การเปลี่ยนแปลงพนื้ ทปี่ า ไม 0.150 0.026 4. การเปลยี่ นแปลงพื้นท่ปี าไม 0.113 0.024

.018 4. ความถ่ีในการเผชญิ ภัย 0.096 0.017 5. ความถใี่ นการเผชิญภยั 0.070 0.015 4. ความถ่ใี นการเผชิญภัย 0.155 0.030
ธรรมชาติ ธรรมชาติ ธรรมชาติ

19

ตารางที่ 8 ปรับปรุงตัวชี้วดั และคา ถวงน้าํ ห

กลุมตวั ชว้ี ัด คาถว งน้ําหนกั กลมุ ชือ่ ตวั ช้วี ดั แมก ลอง (MK) คา ถวง total ช่ือตัวชีว้ ัดเพชรบรุ ี (PC) คาถว ง tota
นํา้ หนัก 0.022 (36) นํ้าหนกั
CH TC MK SA PC (30)
0.107
5. แหลง กําเนิดขยะอันตราย

6. สง่ิ รกุ ลํา้ ลําน้าํ 0.074 0.015

7. ที่ตงั้ โรงงานอุตสาหกรรม 0.099 0.020

6. จาํ นวนประชากรท่ีมพี ้ืนท่ี 0.073 0.
อยใู นพื้นที่ปา ไม

7. รายไดเฉล่ียครวั เรือน 0.077 0.

8 พื้นที่เกดิ ไฟปา 0.066 0.
0.214 0.
การจัดการฯ 0.221 0.266 0.210 0.221 0.193 1. การประกาศเขตพนื้ ที่อนุรกั ษ 0.184 0.039 1. การประกาศเขตพ้นื ท่ีอนรุ ักษ
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ ม ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม 0.161 0.

2. การจัดการและควบคุมการ 2. การจัดการและควบคมุ การ 0.110 0.
0.096 0.
ใชป ระโยชนที่ดนิ เพ่ือ 0.160 0.034 ใชประโยชนท ดี่ ินเพือ่ 0.087 0.
0.068 0.
คมุ ครองสงิ่ แวดลอม คมุ ครองสง่ิ แวดลอม 0.064 0.

3. ระบบบาํ บัดนํ้าเสยี 0.113 0.024 3. ระบบบาํ บดั นํ้าเสยี

4. ปา ชมุ ชน 0.090 0.019 4. ปาชุมชน

5.เขตการใชประโยชนท ่ีดิน 0.093 0.020 5.เขตการใชประโยชนท ดี่ นิ
ปาไม
ปา ไม

6. การมีสว นรวม 0.067 0.014 6. การมสี ว นรวม

7. การจัดการขยะ 0.079 0.017 7. การจดั การขยะในลํานํา้

8. เขตผงั เมอื งรวมระดบั ลุม นาํ้ 8. การบรหิ ารจดั การนํา้ 0.085 0.
0.070 0.015 0.058 0.
9. จาํ นวนโครงการพฒั นา
แหลง น้าํ /ชลประทาน 0.066 0.014
9. การขุดลอกลําน้าํ
10. งบประมาณรัฐเพ่ือการ
ฟนฟทู รพั ยากรธรรมชาต(ิ1) 0.078 0.016

1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 10. การจดั การชายฝง 0.057 0.
4.000 1.000 4.000 1.
ที่มา : วเิ คราะหด วยระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร, บรษิ ัททปี่ รกึ ษา 2562

โครงการเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การพนื้ ท่ชี น้ั คณุ ภาพลุมนาํ้ (ลุมน้ําภาคตะวันตกและภาคกลาง)

รายงานสรปุ สาํ หรบั ผูบรหิ าร

หนกั ลมุ นาํ้ ภาคตะวันและภาคกลาง (ตอ)

al ชอ่ื ตวั ชว้ี ัดทา จีน (TC) คา ถวง total ชื่อตัวชีว้ ดั สะแกกรัง (SA) คาถวง total ช่ือตวั ช้ีวัดเจา พระยา (CH) คาถวง total
(29) นาํ้ หนกั (31) น้ําหนกั (23) นํา้ หนัก

5. การรุกลํา้ ลําน้ํา 6. การมีสว นรวมของชุมชน 0.114 0.025 5. การมีสวนรวมของชมุ ชน 0.127 0.025
0.122 0.021 7. การรุกลาํ้ ลาํ นาํ้ 0.084 0.018 6. สิ่งรกุ ลํา้ ลาํ น้าํ 0.104 0.020
0.102 0.020
7. กิจกรรมการใชป ระโยชนใ น
ลํานํา้ (เชน การดดู ทราย) 0.248 0.055
0.227 0.050
6. จํานวนและความหนาแนน 0.104 0.018 0.212 0.047
ของโรงงานอตุ สาหกรรม 0.134 0.030

.016 0.179 0.040

7. ความถ่กี ารเกิดวกิ ฤต 0.093 0.016
คุณภาพน้ํา

8. ความหนาแนน ของ 0.081 0.014
ประชากรในพ้ืนทีล่ มุ น้ํา

.017 8. รายไดเฉลี่ยครวั เรอื น 0.076 0.016
0.076 0.016
9. การใชท ี่ดนิ ที่สง ผลตอ

การพังทลายดิน

.014

.041 1. การประกาศเขตพ้ืนทอี่ นรุ ักษ 0.178 0.047 1. การประกาศเขตพนื้ ทีอ่ นุรกั ษ 0.136 0.030 1. การประกาศเขตพ้ืนท่ีอนุรกั ษ
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ ม ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอม ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอม

2. การจดั การและควบคุมการ 2. การจัดการและควบคมุ การ 2. การจดั การและควบคมุ การ

.031 ใชป ระโยชนทด่ี ินเพอ่ื 0.138 0.037 ใชป ระโยชนท ่ีดินเพอื่ 0.117 0.026 ใชป ระโยชนทด่ี ินเพ่ือ

คมุ ครองส่งิ แวดลอ ม คมุ ครองสง่ิ แวดลอม คมุ ครองสิง่ แวดลอม

.021 3. ระบบบําบดั นํา้ เสีย 0.099 0.026 3. ระบบบําบดั นาํ้ เสีย 0.114 0.025 3. ระบบบาํ บัดนาํ้ เสีย

.019 4. ปา ชมุ ชน 0.071 0.019 4. ปา ชมุ ชน 0.072 0.016 4. ปา ชุมชน

.017 5.เขตการใชป ระโยชนท ด่ี นิ 0.081 0.022 5.เขตการใชประโยชนทด่ี ิน 0.092 0.020
ปา ไม ปาไม

.013 6. การมสี ว นรวม 0.071 0.019

.012 7. การจดั การขยะและวัชพืช 0.097 0.026 6. การจัดการขยะในลาํ นํ้า 0.067 0.015
ในลํานา้ํ

8. การเพาะเลีย้ งสัตวน้ําใน 0.045 0.012
แหลง นํ้า

.016 9. การบริหารจดั การน้ํา 0.088 0.023 7. การบริหารจัดการนํ้า 0.087 0.019

10. เขตผงั เมอื งระดบั ลมุ นาํ้ 0.043 0.011 5. การสรา งจิตสาํ นึก
0.095 0.021
11. การสรา งจติ สาํ นึก 0.089 0.024

8. จาํ นวนโครงการพัฒนา

แหลง น้ํา/ชลประทาน

.011

9. การจัดการพนื้ ที่ลุม ต่าํ 0.084 0.019
/แกมลงิ

11.การจัดหาแหง นํา้ ใตด ิน 0.048 0.011
เพ่อื การเกษตร

12. สมดุลการใชนํา้ 0.088 0.019

.011

.000 4.000 1.000 4.000 1.000 4.000 1.000

20

รายงานสรุปสําหรับผูบรหิ าร

ตารางท่ี 9 ผลการตรวจสอบการสํารวจภาคสนามพน้ื ท่ลี มุ นาํ้ ภาคตะวันตกและภาคกลาง

ลําดบั ลุม นํา้ ประเภท การ ความ ลาํ ดบั ลมุ นํา้ ประเภท การ ความ
ถูกตอง ถกู ตอง
การใชทดี่ นิ เปลยี่ นแปลง การใชทดี่ นิ เปล่ยี นแปลง
/
1 ลุมน้ําแมกลอง แหลง น้าํ แหลงน้าํ / 26 ลมุ นา้ํ ทา จนี เกษตรกรรม เกษตรกรรม /
/
2 ลมุ น้ําแมก ลอง ปา ไม ปา ไม / 27 ลมุ นาํ้ ทา จนี เกษตรกรรม เกษตรกรรม /
/
3 ลมุ นาํ้ แมก ลอง ปา ไม ปาไม / 28 ลมุ น้ําทาจนี เกษตรกรรม เกษตรกรรม /
/
4 ลุมนาํ้ แมก ลอง ปา ไม ปา ไม / 29 ลุมนํา้ ทา จนี เบด็ เตล็ด เบ็ดเตล็ด /
/
5 ลุมน้ําแมกลอง ปา ไม ปา ไม / 30 ลุมนาํ้ ทา จีน สิ่งกอ สราง สิง่ กอ สราง /
/
6 ลมุ น้ําแมกลอง ปาไม ปา ไม / 31 ลุม น้ําสะแกกรงั เกษตรกรรม เกษตรกรรม /
/
7 ลุมน้ําแมกลอง ปาไม เบ็ดเตล็ด X 32 ลุมน้ําสะแกกรงั เกษตรกรรม เกษตรกรรม /
/
8 ลุมน้าํ แมกลอง เกษตรกรรม เกษตรกรรม / 33 ลุมนาํ้ สะแกกรงั ปา ไม ปาไม /
X
9 ลมุ นํ้าแมกลอง เกษตรกรรม เกษตรกรรม / 34 ลุมนาํ้ สะแกกรงั เกษตรกรรม เกษตรกรรม /
/
10 ลมุ นาํ้ แมกลอง ส่งิ กอสรา ง ส่งิ กอ สรา ง / 35 ลมุ น้าํ สะแกกรงั เกษตรกรรม เกษตรกรรม /
/
11 ลมุ นํ้าเพชรบุรี เกษตรกรรม เกษตรกรรม / 36 ลมุ นา้ํ สะแกกรัง เกษตรกรรม เกษตรกรรม /
/
12 ลุม น้ําเพชรบุรี เกษตรกรรม เกษตรกรรม / 37 ลุมน้ําสะแกกรัง เกษตรกรรม เกษตรกรรม /
/
13 ลุมนาํ้ เพชรบรุ ี เกษตรกรรม เกษตรกรรม / 38 ลมุ น้ําสะแกกรงั ปาไม ปาไม

14 ลมุ น้ําเพชรบรุ ี ปาไม ปา ไม / 39 ลุมนํ้าสะแกกรงั ปาไม ปาไม

15 ลมุ น้ําเพชรบุรี ปาไม ปาไม / 40 ลมุ นํ้าสะแกกรงั ส่ิงกอ สราง สิง่ กอสรา ง

16 ลุมน้ําเพชรบรุ ี ปาไม ปา ไม / 41 ลมุ นํ้าเจาพระยา ส่ิงกอ สราง ส่งิ กอ สรา ง

17 ลุมนาํ้ เพชรบรุ ี ปาไม ปาไม / 42 ลุมน้ําเจา พระยา เบด็ เตล็ด เกษตรกรรม

18 ลุมน้ําเพชรบุรี ปาไม ปาไม / 43 ลุม นาํ้ เจาพระยา เกษตรกรรม เกษตรกรรม

19 ลมุ น้ําเพชรบุรี เบด็ เตล็ด เบด็ เตล็ด / 44 ลุมนาํ้ เจาพระยา เกษตรกรรม เกษตรกรรม

20 ลมุ น้ําเพชรบรุ ี ส่ิงกอสราง สิ่งกอสรา ง / 45 ลมุ นํ้าเจาพระยา เกษตรกรรม เกษตรกรรม

21 ลุมนํ้าทาจนี เบ็ดเตล็ด เบ็ดเตล็ด / 46 ลุมน้ําเจา พระยา เกษตรกรรม เกษตรกรรม

22 ลมุ น้ําทาจนี ปาไม ปา ไม / 47 ลมุ น้าํ เจาพระยา ปาไม ปาไม

23 ลมุ น้ําทาจนี เกษตรกรรม เกษตรกรรม / 48 ลมุ น้ําเจา พระยา เกษตรกรรม เกษตรกรรม

24 ลุมนาํ้ ทา จีน เกษตรกรรม เกษตรกรรม / 49 ลุมนาํ้ เจา พระยา เกษตรกรรม เกษตรกรรม

25 ลุมน้ําทาจีน เกษตรกรรม เกษตรกรรม / 50 ลมุ น้ําเจาพระยา สง่ิ กอ สรา ง ส่ิงกอ สราง

ทม่ี า : วเิ คราะหด วยระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร, บริษทั ที่ปรึกษา 2562

สภาพพืน้ ท่ีการใชป ระโยชนท่ดี ินในพ้นื ทลี่ มุ นํ้าแมกลอง 21

สภาพพ้นื ท่ีการใชประโยชนทด่ี นิ ในพืน้ ท่ีลุมนํา้ เพชรบรุ ี
โครงการเพ่ิมประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การพ้ืนที่ชน้ั คณุ ภาพลมุ นา้ํ (ลุมน้ําภาคตะวนั ตกและภาคกลาง)

รายงานสรปุ สาํ หรับผูบริหาร

สภาพพืน้ ท่ีการใชป ระโยชนทดี่ ินในพื้นท่ลี มุ นํ้าทา จีน

สภาพพน้ื ท่ีการใชป ระโยชนท่ีดินในพนื้ ท่ีลุม น้ําสะแกกรงั

สภาพพ้ืนที่การใชประโยชนท่ีดนิ ในพืน้ ที่ลุมนาํ้ เจา พระยา

ภาพที่ 7 สภาพพื้นท่ีการใชประโยชนที่ดนิ ในพ้ืนทีล่ ุมน้ําภาคตะวันตกและภาคกลาง
ผลการประเมินสถานภาพลมุ นํ้าหลักและลมุ นํา้ สาขา
1) ผลการประเมนิ สถานภาพลมุ น้ําหลกั

โดยลุมนํ้าท่ีมีสัดสวนระดับสถานภาพวิกฤตมากท่ีสุดไปหานอยท่ีสุด ไดแก ลุมนํ้าสะแกกรัง
คิดเปนพ้ืนท่ี 971.75 ตารางกิโลเมตร หรือรอยละ 19.22 ลุมน้ําแมกลอง มีพื้นที่ 1,470.88 ตารางกิโลเมตร
หรอื รอ ยละ 4.88 ลุม นํ้าเจาพระยา มพี ้นื ท่ี 933.85 ตารางกิโลเมตร หรือรอยละ 4.61 ลุมน้ําเพชรบุรี มีพ้ืนที่
119.75 ตารางกิโลเมตร หรือรอยละ 1.91 และลุมน้ําทาจีน มีสัดสวนของระดับสถานภาพวิกฤตนอยท่ีสุด
โดยขนาดพื้นที่ 198.12 ตารางกิโลเมตร หรือรอยละ 1.47 แตละระดับสถานภาพรายลุมนํ้าสาขาน้ัน แสดงดัง
ตารางที่ 10 ตามลาํ ดับ

โครงการเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การพ้ืนทชี่ ้นั คณุ ภาพลมุ นาํ้ (ลุมนํ้าภาคตะวนั ตกและภาคกลาง) 22

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

ตารางท่ี 10 สรปุ ผลการประเมินสถานภาพลุมน้ําภาคตะวนั ตกและภาคกลาง

ลาํ ดับท่ี ลมุ นา้ํ วกิ ฤต ขนาดพืน้ ท่ี (ตร.กม.) รอ ยละของพ้ืนท่ีลุมนํา้ สมดุล
เสี่ยงภยั เตือนภัย สมดุล วกิ ฤต เส่ียงภัย เตือนภยั 1.04
2.40
01 แมก ลอง 1,470.88 8,967.93 19,416.75 315.17 4.88 29.72 64.36 3.45
4.96
02 เพชรบรุ ี 119.75 1,852.70 4,135.55 149.92 1.91 29.61 66.08 0.81

03 ทา จีน 198.12 5,259.68 7,566.69 464.89 1.47 38.99 56.09

04 สะแกกรัง 971.75 2,275.43 1,557.86 250.73 19.22 45.01 30.81

05 เจา พระยา 933.85 12,487.97 6,678.50 164.45 4.61 61.62 32.96

ทีม่ า : วิเคราะหด วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร, บริษัทท่ปี รึกษา 2562

สรุปสถานภาพลุมน้ําเบ้ืองตน พบวา ลมุ นํ้าแมก ลอง ลุมน้ําเพชรบรุ ี และลุมน้าํ ทาจนี มสี ถานภาพอยใู น
ระดับ เตือนภยั สวนลมุ น้ําสะแกกรัง และลุมน้ําเจา พระยา มีสถานภาพเดียวกัน คือ ระดับ เส่ียงภัย

8. การคัดเลือกพืน้ ท่ีนาํ รอง

โดยใชหลักเกณฑเบื้องตนคือ 1) เปนพื้นท่ีท่ีมีรอยละของสถานภาพลุมน้ํารายลุมน้ําสาขาสูงที่สุด
2) เปนตัวแทนลุมน้ําหลักอยางนอย 1 ลุมน้ํา 3) มีสถานภาพลุมนํ้าครบทุกสถานภาพ โดยกําหนดใหมี
สถานภาพวิกฤต 2 ลุมนํ้าสาขา และสถานภาพอื่น ๆ อีกสถานภาพละ 1 ลุมนํ้าสาขา รวม 5 ลุมนํ้าสาขา
ข้ันตอนการคดั เลือกสถานภาพแสดงในภาพท่ี 8

1) ผลการคัดเลอื กพ้ืนที่นาํ รอง
ผลการวิเคราะหขอมูลพบวา พื้นท่ีท่ีไดรับการคัดเลือกเพื่อจัดฝกอบรม หรือประชุม

เชิงปฏิบัติการไปถึงการจัดกิจกรรมท่ีเก่ียวของ ในการอนุรักษและฟนฟูพื้นที่ท่ีมีความจําเปนเรงดวนในการ

แกไขปญหา หรือพ้ืนที่ท่ีควรสงเสริมศักยภาพเพ่ือรักษาสมดุลของลุมน้ําใหย่ังยืน โดยคัดเลือกจากตําบล

ตามสภาวะระดับตาง ๆ (วิกฤต เตือนภัย เสี่ยงภัย และสมดุล) ไดพื้นท่ีตําบลตามเปาหมาย ดังแสดงใน
ตารางท่ี 11 และภาพที่ 9

ตารางท่ี 11 แสดงสถานภาพวกิ ฤต เสี่ยงภัย เตือนภัยและสมดลุ ของลุมนา้ํ สาขา

ลาํ ดบั ลุม น้าํ หลัก ลมุ นํ้าสาขา สถานภาพ พื้นที่ (ตร.กม.) รอ ยละของ
ลมุ นํา้ สาขา
1 ลมุ นา้ํ แมกลอง หวยตะเพนิ * วกิ ฤต 1,123.62
เตือนภัย 1,404.75 *44.83
2 แมนํ้าเพชรบรุ ี แมน ้าํ เพชรบุรตี อนลาง* วิกฤต
สมดลุ 156.94 *87.59
3 แมน ้ําทา จนี หว ยกระเสียว* เสยี่ งภยั 139.09
3,294.08 *8.13
4 แมน ้ําสะแกกรัง คลองโพธ์ิ*
*11.77
5 แมน ้ําเจาพระยา บึงบอระเพด็ *
*75.01

ท่มี า : วิเคราะหดวยระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร, บริษทั ที่ปรกึ ษา 2562

โครงการเพม่ิ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การพืน้ ท่ีช้นั คณุ ภาพลุมนาํ้ (ลุมนา้ํ ภาคตะวนั ตกและภาคกลาง) 23

ผลการประเมนิ สถานภาพ จําแนกรายลมุ นํ้าสาขา (22 ลุมนํา้ ) รายงานสรปุ สําหรบั ผูบริหาร

ลมุ นาํ้ (5 ลมุ น้าํ ) คิดเปน รอ ยละ เรียงลาํ ดับสถานภาพตาม
รอยละ

นาํ รอ ง 1 (วิกฤต) สถานภาพวิกฤตสูงสดุ หรอื ลําดับ
นํารอง 2 (เสยี่ งภยั ) ถดั ไป (รอยละ)
นาํ รอ ง 3 (เตอื นภยั )
นํารอง 4 (สมดุล) สถานภาพเสี่ยงภยั สงู สุดหรือลาํ ดบั
นาํ รอง 5 (วกิ ฤต2) ถดั ไป (รอยละ)

ไมซํ้า ตรวจสอบความ สถานภาพเตอื นภยั สงู สดุ หรอื ลาํ ดบั
ซํ้าของลุมนํ้าหลกั ถดั ไป (รอยละ)

(5 ลมุ นาํ้ )

สถานภาพสมดลุ สูงสดุ หรอื ลาํ ดับ
ถดั ไป (รอ ยละ)

สถานภาพวิกฤตสงู สุดหรือลาํ ดับ
ถัดไป (รอยละ)

ซํ้า

ภาพท่ี 8 สรุปข้นั ตอนการคัดเลอื กสถานภาพลมุ นา้ํ สําหรับกิจกรรมนาํ รอ ง

จากการพิจารณากําหนดพน้ื ทน่ี ํารองโดยใชหลักเกณฑดงั กลาว ผลการวิเคราะหข อมูลพบวา พ้ืนที่ที่ไดรับ
การคัดเลือกจัดทําโครงการนํารอง ในการอนุรักษและฟนฟูพ้ืนที่ที่มีความจําเปนเรงดวนในการแกไขปญหา
หรือพ้นื ที่ทคี่ วรสงเสรมิ ศักยภาพเพอื่ รักษาสมดลุ ของลมุ น้ําใหย ั่งยนื ดงั แสดงในภาพที่ 10 ถึงภาพท่ี 15 ไดแ ก

1. สถานภาพลุมน้ําสภาวะวิกฤต ลุมน้ําภาคตะวันตก ลุมนํ้าแมกลอง ไดแก ลุมน้ําสาขาหวย
ตะเพิน ตาํ บลหนองกุม อาํ เภอบอพลอย จังหวดั กาญจนบรุ ี

2. สถานภาพลุมนํ้าสภาวะวิกฤต ลุมนํ้าทาจีน ไดแก ลุมน้ําสาขาหวยกระเสียว ตําบล
หนองมะคา โมง อําเภอดานชา ง จังหวัดสุพรรณบรุ ี

3. สถานภาพลุมน้ําสภาวะเสี่ยงภัย ลุมน้ําเจาพระยา ไดแก ลุมนํ้าสาขาบึงบอระเพ็ด
ตําบลหนองบัว อําเภอหนองบัว จงั หวดั นครสวรรค

4. สถานภาพลุมนํ้าสภาวะเตือนภัย ลุมนํ้าเพชรบุรี ไดแก ลุมนํ้าสาขาแมน้ําเพชรบุรีตอนลาง
ตาํ บลทาแลง อาํ เภอทายาง จงั หวดั เพชรบุรี

5. สถานภาพลุมน้ําสภาวะสมดุล ลุมน้ําสะแกกรัง ไดแก ลุมน้ําสาขาคลองโพธิ์ ตําบลแมเปน
อาํ เภอแมเ ปน จังหวัดนครสวรรค

โครงการเพม่ิ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การพนื้ ท่ชี ้นั คณุ ภาพลุมนาํ้ (ลุม น้ําภาคตะวันตกและภาคกลาง) 24

รายงานสรุปสําหรบั ผูบริหาร

ภาพที่ 9 แผนทีแ่ สดงสถานภาพลมุ นํ้าสาขาในพน้ื ที่ลุมนํ้าภาคตะวนั ตกและภาคกลาง

โครงการเพิม่ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การพืน้ ทีช่ ้นั คณุ ภาพลุมนา้ํ (ลุมน้ําภาคตะวันตกและภาคกลาง) 25

ภาพที่ 10 แผนที่แสดงผลการประเมินสถานภาพลมุ นํ้าภาคตะวนั ตกและภาคกลาง

โครงการเพ่มิ ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การพน้ื ที่ชั้นคณุ ภาพลุม นาํ้ (ลมุ น้ําภาคตะวนั ตกและภาคกลาง)

รายงานสรุปสําหรับผูบรหิ าร

ภาพที่ 11 แผนทแ่ี สดงผลการประเมินสถานภาพลมุ น้าํ สาขาในพนื้ ทีล่ มุ นา้ํ แมกลอง

26

ภาพท่ี 12 แผนท่แี สดงผลประเมินสถานภาพลุมนํ้าสาขาในพน้ื ทลี่ มุ น้ําเพชรบรุ ี

โครงการเพ่มิ ประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การพน้ื ที่ชัน้ คณุ ภาพลมุ นาํ้ (ลุม นา้ํ ภาคตะวนั ตกและภาคกลาง)

รายงานสรปุ สําหรับผูบริหาร

ภาพที่ 13 แผนทีแ่ สดงผลการประเมนิ สถานภาพลมุ นาํ้ สาขาในพน้ื ท่ลี มุ น้ําทาจีน

27

ภาพท่ี 14 แผนทแี่ สดงผลการประเมนิ สถานภาพลมุ น้ําสาขาในพน้ื ท่ีลมุ นํ้าสะแกกรงั

โครงการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การพ้ืนทชี่ ัน้ คณุ ภาพลุมนา้ํ (ลุมนา้ํ ภาคตะวนั ตกและภาคกลาง)

รายงานสรปุ สาํ หรบั ผูบริหาร

ภาพที่ 15 แผนท่แี สดงผลการประเมินสถานภาพลมุ น้ําสาขาในพนื้ ที่ลุม นาํ้ เจา พระยา

28

รายงานสรุปสาํ หรบั ผูบริหาร

1) ลมุ น้ําสาขาหวยตะเพนิ ลุมน้ําแมกลอง
มีรอยละของพ้ืนที่สถานภาพวิกฤตมากที่สุด มีพื้นท่ีเทากับ 1,123.62 ตารางกิโลเมตร คิดเปน

รอยละ 44.83 ดังแสดงในภาพที่ 16 ไดแก ตําบลหนองกุม อําเภอบอพลอย จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งมีพ้ืนที่
สถานภาพวกิ ฤตในพื้นที่ตําบล 181.70 ตารางกิโลเมตร โดยไดกําหนดกิจกรรมนํารอง คือ กิจกรรมการปลูก
ตน ไมคลมุ ดินฟน ฟูระบบนเิ วศตนนา้ํ และการตรวจวัดคุณภาพนํ้า

2) ลมุ นํา้ สาขาหว ยกระเสียว
มีพื้นที่สถานภาพวิกฤตมากท่ีสุดเปนอันดับเจ็ด และมีพื้นที่สถานภาพวิกฤตเปนอันดับหน่ึงใน

ลุมน้ําทาจีน เทากับ 156.94 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 8.13 ดังแสดงในภาพท่ี 17 ไดแก ตําบลหนอง
มะคาโมง อําเภอดานชาง จังหวัดสุพรรณบุรี ซึ่งมีพื้นที่สถานภาพวิกฤตในพ้ืนที่ตําบล 99.05 ตารางกิโลเมตร
โดยไดจัดทํากิจกรรมนํารอง คือ กิจกรรมทําปุยหมักชีวภาพ การตรวจวัดคุณภาพน้ํา และกิจกรรมการปลูก
ตนไม

3) ลุมน้ําสาขาบึงบอระเพ็ด
มีพ้ืนที่สถานภาพเส่ียงภัยมากที่สุด มีพื้นท่ีเทากับ 3,294.08 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ

75.01 ดังแสดงในภาพท่ี 18 ไดแก ตําบลหนองบัว อําเภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค มีพ้ืนที่สถานภาพ
เส่ยี งภยั ในพน้ื ท่ีตําบล 154.45 ตารางกโิ ลเมตร โดยไดก าํ หนดกิจกรรม นํารอง คือ การสรางฝายชะลอนํา้

4) ลมุ น้ําสาขาแมน้ําเพชรบุรตี อนลา ง
มีพ้ืนที่สถานภาพเตือนภัยเปนอันดับท่ี 2 โดยลําดับที่ 1 คือ ลุมน้ําสาขาในลุมนํ้าแมกลอง

ซึ่งลุมนํ้าแมกลองถูกคัดเลือกใหเปนตัวแทนพื้นท่ีวิกฤตแลว ลุมนํ้าสาขาเพชรบุรี จึงไดรับเลือกเปนตัวแทน
สถานภาพเตือนภยั มีขนาดพ้ืนท่ีเทากับ 1,404.75 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 87.59 ดังแสดงในภาพที่
19 ไดแก ตําบลทาแลง อําเภอทายาง จังหวัดเพชรบุรี ซึ่งมีพ้ืนที่สถานภาพเตือนภัยในพ้ืนท่ีตําบล 37.05
ตารางกิโลเมตร โดยไดกําหนดกิจกรรมนํารอง คือ การสอนการใช GPS เพ่ือประยุกตใชแอปพลิเคช่ันบน
มือถอื และการตรวจวัดคณุ ภาพนํ้า

5) ลมุ นํ้าสาขาคลองโพธิ์
มีพ้นื ที่สถานภาพสมดลุ มากทสี่ ุด ลมุ นํา้ สาขาคลองโพธ์ิมพี ้นื ทีส่ ถานภาพสมดุลเปนอันดับหน่ึงใน

ลุมนาํ้ สะแกกรัง เทา กับ 139.09 ตารางกิโลเมตร คิดเปนรอยละ 11.77 ดังแสดงในภาพที่ 20 ตําบลแมเปน
อําเภอแมเปน จังหวัดนครสวรรค ซ่ึงมีพ้ืนท่ีสถานภาพสมดุลในพื้นที่ตําบลเทากับ 130.17 ตารางกิโลเมตร
โดยไดกําหนดกิจกรรมนํารอง คือ การสอนการใช GPS เพ่ือประยุกตใชแอปพลิเคช่ันบนมือถือ และการ
ตรวจวดั คุณภาพนาํ้

โครงการเพิ่มประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การพนื้ ท่ีชน้ั คณุ ภาพลุม นาํ้ (ลุมน้าํ ภาคตะวนั ตกและภาคกลาง) 29

รายงานสรปุ สาํ หรับผูบรหิ าร

สถานภาพวกิ ฤตในพื้นท่ีตาํ บล 99.05 ตารางกโิ ลเมตร

ขอบเขตตําบลหนองกมุ

วิกฤต (76.36)
เส่ยี งภยั (23.63)
เตอื นภัย (0.01)
สมดุล (0.00)

ภาพที่ 16 สถานภาพลุมนา้ํ ในเขตตาํ บลหนองกุม

สถานภาพวกิ ฤตในพนื้ ที่ ขอบเขตตาํ บลหนองมะคา โมง
ตาํ บล 99.05
ตารางกิโลเมตร วกิ ฤต (23.44)
เสยี่ งภัย (76.39)
เตือนภัย (0.17)
สมดลุ (0.00)

ภาพที่ 17 สถานภาพลุมนาํ้ ในเขตตําบลหนองมะคา โมง 30

โครงการเพิม่ ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การพื้นที่ชัน้ คุณภาพลมุ นาํ้ (ลุมน้ําภาคตะวันตกและภาคกลาง)

รายงานสรุปสาํ หรับผูบริหาร

มีพน้ื ทสี่ ถานภาพเสย่ี งภยั ในพื้นที่
ตาํ บล 154.45 ตารางกิโลเมตร

ขอบเขตตาํ บลหนองบัว

วิกฤต (17.42)
เส่ียงภัย (72.06)
เตอื นภยั (10.52)
สมดลุ (0.00)

ภาพที่ 18 สถานภาพลุมนา้ํ ในเขตตําบลหนองบวั

มพี ้นื ทส่ี ถานภาพเตอื นภยั ในพ้ืนที่
ตําบล 37.05 ตารางกโิ ลเมตร

ขอบเขตตาํ บลทาแลง

วิกฤต (0.00)
เสยี่ งภยั (14.04)
เตือนภยั (80.72)
สมดุล (5.24)

ภาพท่ี 19 สถานภาพลุมนํ้าในเขตตําบลทา แลง 31

โครงการเพิม่ ประสิทธิภาพการบริหารจดั การพ้ืนทชี่ ั้นคุณภาพลมุ นาํ้ (ลุมน้ําภาคตะวนั ตกและภาคกลาง)

รายงานสรุปสําหรบั ผูบรหิ าร

มพี ื้นทส่ี ถานภาพสมดลุ ในพน้ื ทีต่ ําบล
เทา กบั 130.17 ตารางกโิ ลเมตร

ขอบเขตตําบลแมเ ปน

วิกฤต (0.01)
เสย่ี งภัย (52.00)
เตือนภยั (9.67)
สมดลุ (38.31)

ภาพท่ี 20 สถานภาพลมุ น้าํ ในเขตตาํ บลแมเปน

9. การจัดประชุมวิชาการ เพ่ือรับฟงความคิดเห็นตอผลการดําเนินงานการประเมิน
สถานภาพลมุ นํ้า (ลมุ น้าํ ภาคตะวนั ตกและภาคกลาง)

การประชุมรับฟงความคิดเห็นตอผลการประเมินสถานภาพลุมน้ํา (ลุมน้ําภาคตะวันตกและภาคกลาง)
จัดเมื่อวันพุธท่ี 24 กรกฎาคม 2562 ณ หองกัลปพฤกษ โรงแรมเวสเทิรนแกรนดโฮเท็ล อําเภอเมือง
จังหวัดราชบุรี โดย นายชยาวุธ จันทร ผูวาราชการจังหวัดราชบุรี เปนประธานเปดการประชุม นายพุฒิพงศ
สรุ พฤกษ รองเลขาธกิ ารสาํ นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เปนผูกลาวรายงาน
ความเปนมาของโครงการ ผเู ขา รว มประชมุ ท้งั ส้ิน 196 คน โดยสรปุ จํานวนผูเ ขา รว มประชมุ ฯ ดังนี้

จาํ นวนผูเ ขารวมการประชุมรบั ฟงความคิดเหน็ ตอตวั ช้ีวัดในการประเมนิ สถานภาพลมุ นาํ้
หนวยงาน จาํ นวนผเู ขา รวมประชุม (คน)
- หนว ยงานราชการระดบั จงั หวัด
93

- หนวยงานราชการระดับอําเภอ 5

- หนวยงานใน ทส. 15

- ผูส อ่ื ขา ว 2

- ผูน าํ ชุมชน/เครอื ขา ยลมุ นา้ํ /ประชาชน 81

รวม 196
- ผูแ ทนจากสํานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ ม
15

- บรษิ ทั ที่ปรึกษา 12

รวมผูเขา รว มประชุมทงั้ หมด 223

โครงการเพิม่ ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การพืน้ ทช่ี ั้นคณุ ภาพลมุ นา้ํ (ลมุ น้ําภาคตะวันตกและภาคกลาง) 32

รายงานสรปุ สาํ หรบั ผูบรหิ าร

โดยมภี าพบรรยากาศกิจกรรม ดังนี้

นายชยาวุธ จันทร นายพุฒพิ งศ สุรพฤกษ นายศริ ชิ ัย เรอื งฤทธ์ิ
ผวู า ราชการจงั หวัดราชบุรี รองเลขาธกิ ารสํานกั งานนโยบายและ ผอู ํานวยการกลมุ งานบริหารจดั การ
ประธานเปด การประชมุ แผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ ม
กลา วรายงานความเปน มาของโครงการ ช้นั คุณภาพลมุ น้าํ
สรุปและปด การประชุม

นําเสนอผลการศึกษาและตอบขอ ซกั ถามโครงการ

เปดเวทีรบั ฟงความคิดเหน็ และขอเสนอแนะ

บรรยากาศการประชมุ

กิจกรรมสรุปผลการประชุมรับฟง ความคดิ เห็นตอ ผลการประเมินสถานภาพลมุ นา้ํ
(ลมุ นํ้าภาคตะวันตกและภาคกลาง)

โครงการเพม่ิ ประสิทธภิ าพการบริหารจดั การพ้นื ที่ชน้ั คณุ ภาพลมุ นาํ้ (ลุม น้าํ ภาคตะวันตกและภาคกลาง) 33

รายงานสรปุ สําหรับผูบรหิ าร

ตารางท่ี 12 สรุปขอเสนอแนะตอ ผลการประเมนิ สถานภาพลมุ นํ้าภาคตะวนั ตกและภาคกลาง

ลาํ ดบั ขอ เสนอแนะ
1. จังหวัดเพชรบุรีมีปญหาดานส่ิงแวดลอมจากกิจกรรมของประชาชนในพ้ืนท่ี เชน การใชสารเคมีในภาคการเกษตร

ทง้ั ในพน้ื ท่ีตัง้ แตตนน้าํ กลางนํา้ ปลายน้าํ ตอ งมกี ารจดั การหรือควบคุมการใชสารเคมี การท้ิงสิ่งปฏิกูล ลงในแหลง
นาํ้ ธรรมชาติ นอกจากน้ีแนวทางในการอนุรักษฟนฟูพื้นท่ีลุมนํ้าตาง ๆ ก็ตองทําความเขาใจกับประชาชนในพ้ืนที่ที่
ใชป ระโยชนรวมกนั
2. พบวา ปญ หาที่เกิดในลํานา้ํ เกิดจากโรงงานปลอยนํ้าเสียและมีการปลอยขี้หมู ลงสูแมน้ําเจาพระยา แมน้ําบางประกง
สมุทรสงคราม และสมุทรสาคร กอใหเกิดน้ําเสีย สงผลทําใหพืชน้ํา ปลา หอย ไดรับผลกระทบตองหาแนวทางแกไข
ปญ หาที่เกิดขนึ้ อยางเรง ดว น
3. เห็นดวยกับการจัดตั้งคณะกรรมการลุมนํ้าระดับอําเภอ เนื่องจากการทํางานของคณะกรรมการลุมนํ้าท่ี ผานมา
คอ นขา งหนัก เมอื่ ดาํ เนินการจดั ต้งั ตองการใหมีการทาํ งานท่เี ปน ระบบ
4. พ้นื ที่ลมุ นํา้ เจา พระยาสว นใหญเ ปนพืน้ ทเ่ี สีย่ งภัยและเตือนภยั ไมถงึ ขั้นวกิ ฤต จากมาตรการท่แี กปญหามาตรการท่ี 5
และ 6 เปน สวนทดี่ แี ละมคี วามสาํ คัญอยางยง่ิ ในการท่จี ะพฒั นาลุม นา้ํ สามารถท่ีจะเขา ไปแกไ ขปญหา แตตอ งแยกให
เห็นวาสวนของอุตสาหกรรม บริโภค สวนไรนา เพราะบางสวนจะเปนพื้นท่ีน้ําทวมซํ้าซากกับไมทวม ในสวนของ
ขอมลู ท่ี 6 เรอ่ื งการปองกันเปน สิง่ ทคี่ วรสนับสนนุ หากสามารถดําเนนิ การ ไดจ ะสามารถแกไ ขพ้นื ทีส่ าํ คัญหลายๆ
5. ลุมน้ําทาจีนบริเวณพ้ืนท่ีท่ีอยูในระดับวิกฤต มีสาเหตุมาจากการเลี้ยงสัตวบริเวณตนน้ํา อีกท้ังมีการเลี้ยงปลาใน
เข่ือน จึงทําใหเกิดน้ําเนา และปลอยปลามาเปนปลาท่ีทําลายระบบนิเวศ ลุมนํ้าทาจีนเปนลุมนํ้าสําคัญลําดับท่ี 2
รองจากเจาพระยา แตเปน ลุมนาํ้ ทีม่ นี าํ้ เนา เสยี มากทสี่ ดุ ในประเทศ แหลงกําเนดิ มลพิษโดยเฉพาะในลุม น้าํ ทา จนี มา
จาก 1) ชุมชน 2) เกษตรกรรม 3) ประมง 4) อุตสาหกรรม โดยอุตสาหกรรมต้ังแตนครปฐมไปจนถึงสมุทรสาคร
สุพรรณบุรี โรงงานน้ําตาล โรงงานเอทานอล โดยเฉพาะท่ีดานชาง ตองการใหภาคสวนทบทวนและแกไขปญหาที่
เกดิ ขึ้นตอ ไป
6. การปลอยสารพิษลงในแหลงน้ํา กอใหเกิดนํ้าเนาเสีย มีสัญญาณเตือนเปนผลมาจากผักตบชวา การปลอยสารพิษ
จากโรงงานอุตสาหกรรมและภาคการเกษตรไดรับการรองเรียนทุกป สําหรับการประชุมในครั้งน้ี เปนส่ิงท่ีดีเปน
อยางย่งิ อยากใหมีการจดั ปละ 2 ครั้ง ควรเชิญหนวยงานหลายภาคสวน ไมวาจะเปนหนวยงานภาครัฐ ส่ือมวลชน
และควรแจงขา วสารใหประชาชนได รบั ทราบ
7. ลุมน้าํ เพชรบรุ ีดานบนจะปลกู พืชสวนไรสบั ปะรด ซ่ึงใชสารเคมีในการปลูก ที่ปนเปอนกับนํ้าอันตรายเปนอยางมาก
ชวงปลายนาํ้ มกี ลุม ของเกษตรอนิ ทรียชีวภาพบริเวณนีส้ ารเคมีนอ ยลง เพราะฉะนั้นในสว นของปลายน้าํ เสนอใหดูแล
เร่อื งของชายฝง ควรรณรงคใหชาวบานไดรบั รูค วามเขา ใจ ของทรัพยากรตา ง ๆ
8. จงั หวดั เพชรบรุ ดี ูแลตั้งแตตนน้ําจนถึงปลายน้ําสําเร็จสงผลใหจังหวัดเพชรบุรีเปนสัญญาณสีเขียวหรือสมดุล แตยัง
แกปญหา แปลงสับปะรดที่อยูขอบอางเก็บนํ้า บริเวณแกงกระจาน หวยประจัน ประชาชนในพ้ืนที่สวนใหญไมให
ความรวมมือ ตองขอความรวมงานจากหนวยงานราชการจัดระบบโซนน่ิงเรื่องของการใชสารเคมี ไมควรไปอยูใน
พนื้ ท่ตี นนํา้
9. ลมุ นํ้าแมก ลองมีปญ หาเรื่องสัตวเ ล้ียง มีการปลอ ยนาํ้ เสียลงลํานํ้า EM Ball ไมสามารถที่จะบาํ บัดน้ําเสยี
10. การบกุ รกุ แมน ้ําทาจีนเปน ของนายทนุ การสรา งรสี อรท เกดิ ขึน้ หนว ยงานที่รับผดิ ชอบควรดาํ เนนิ การ

โครงการเพ่มิ ประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การพ้ืนที่ชนั้ คณุ ภาพลุมนาํ้ (ลุมนาํ้ ภาคตะวนั ตกและภาคกลาง) 34

รายงานสรปุ สาํ หรับผูบรหิ าร

10. การจดั ทําโครงการนาํ รองในการอนุรักษแ ละฟนฟูลมุ นา้ํ ทม่ี ีความจําเปน เรง ดว น

การประชุมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ และดาํ เนินกิจกรรมนาํ รองในพนื้ ท่ี
เพ่ือสงเสริมกระบวนการมีสวนรวม ในการดําเนินกิจกรรมดานอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดลอม ซ่ึงเปนรูปแบบกิจกรรมที่สอดคลองกับบริบทของพื้นที่ และตรงตามความตองการของชุมชน

โดยไดดําเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ และกิจกรรมนํารอง 5 ลุมน้ําสาขา ซึ่งรายละเอียดของกิจกรรม
ประกอบดวย

การประชุมเชิงปฏบิ ัติการและกจิ กรรมนํารอ งในพ้นื ที่ลมุ นาํ้ ภาคตะวันตกและภาคกลาง

วันทป่ี ระชมุ ลุม นํา้ หลัก ลมุ น้ําสาขา สถานที่จดั ประชมุ จาํ นวน กิจกรรม

25 กรกฎาคม แมกลอง หวยตะเพนิ อบต. หนองกุม 82 คน ชวงเชา
2562 อาํ เภอบอพลอย - การจัดอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร
จงั หวดั กาญจนบุรี ชว งบาย
- กิจกรรมการปลกู ตน ไมค ลุมดินฟนฟูระบบ
ทต.ทาแลง นเิ วศตนนํา้ และตรวจวดั คณุ ภาพนาํ้
อําเภอทา ยาง - จดั ทาํ ทะเบียนเครอื ขา ย
26 กรกฎาคม เพชรบุรี แมน้ําเพชรบุรี จงั หวัดเพชรบรุ ี 82 คน ชวงเชา
2562 ตอนลาง 112 คน - การจดั อบรมเชิงปฏบิ ัติการ
67 คน ชว งบาย
31 กรกฎาคม สะแกกรัง คลองโพธ์ิ อบต.แมเ ปน 82 คน - การสอน GPS เพือ่ ประยกุ ตใ ชแ อปพลเิ คช่ัน
2562 อาํ เภอแมเ ปน 425 คน
จังหวัดนครสวรรค บนมอื ถอื และตรวจวัดคณุ ภาพน้ํา
จดั ทําทะเบยี นเครอื ขา ย
1 สิงหาคม 2562 เจาพระยา บึงบอระเพด็ อบต.หนองบัว ชวงเชา
อําเภอหนองบวั - การจดั อบรมเชิงปฏิบัตกิ าร
จงั หวดั นครสวรรค ชว งบา ย
- การสอน GPS เพื่อประยุกตใชแ อปพลเิ คช่ัน
2 สงิ หาคม 2562 ทาจนี หว ยกระเสยี ว อบต.หนอง
มะคาโมง บนมอื ถือและตรวจวัดคณุ ภาพน้ํา
จดั ทาํ ทะเบยี นเครือขาย
อําเภอดานชาง ชว งเชา
จงั หวัดสุพรรณบุรี - การจัดอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร
ชว งบาย
รวม - การสรางฝายชะลอนํ้า
- กิจกรรมการปลูกตนไม
จัดทําทะเบียนเครือขาย
ชว งเชา
- การจดั อบรมเชิงปฏิบัตกิ าร
ชวงบา ย
- ทําปุย หมักชวี ภาพ และตรวจวดั คณุ ภาพนาํ้
- กิจกรรมการปลูกตนไม
จัดทาํ ทะเบยี นเครือขา ย

ทีม่ า : บริษทั ท่ปี รกึ ษา, 2562

โครงการเพิ่มประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การพน้ื ท่ชี ้ันคณุ ภาพลมุ นา้ํ (ลมุ นาํ้ ภาคตะวันตกและภาคกลาง) 35

รายงานสรปุ สาํ หรับผูบรหิ าร

ในการประชุมเชิงปฏิบัติการ ไดใหความรูเก่ียวกับความสําคัญและมาตรการการใชประโยชน
ที่ดิน การอนุรักษและฟนฟูพ้ืนที่ลุมนํ้า และการประเมินสถานภาพลุมน้ํา ซึ่งผูเขารวมประชุมตางมีความ
เขา ใจ และแลกเปล่ียนประสบการณใ นประเด็นปญ หาท่ีเก่ยี วขอ งกบั พ้ืนท่ลี มุ น้ํา

กจิ กรรมการประชมุ เชงิ ปฏิบัติการในพื้นทกี่ รณศี กึ ษา 5 พ้นื ท่ี

โครงการเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การพนื้ ที่ชั้นคุณภาพลุมนาํ้ (ลมุ นาํ้ ภาคตะวันตกและภาคกลาง) 36


Click to View FlipBook Version