The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานสรุปสำหรับผู้บริหารฉบับภาษาไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานสรุปการประเมินสถานภาพลุ่มน้ำ

รายงานสรุปสำหรับผู้บริหารฉบับภาษาไทย

รายงานสรปุ สําหรับผูบริหาร

ภาพท่ี 33 ผลการประเมนิ สถานภาพแบบเชงิ เสน (vector) พรอมสดั สวนสถานภาพฯ

7) การวิเคราะหผลสถานภาพลุมน้ํารายขอบเขตพื้นท่ีที่ตองการ ไดแก รายลุมน้ํา

สาขาลุมนํ้ายอย ตําบล อําเภอ และจังหวัด ผลการวิเคราะหไดแก สถานภาพลุมน้ําตามพ้ืนท่ีที่ตองการ

จาํ แนก (พืน้ ท่ีหนวย ตร.กม.และไร) และรปู แบบแผนท่สี ถานภาพ ดงั แสดงในภาพที่ 34

คําส่งั Model Builder เพื่อจําแนกผลการประเมนิ
สถานภาพตามขอบเขตที่ตองการ (ลมุ นาํ้ สาขา)

ภาพท่ี 34 ภาพหนา ตางเพอื่ จาํ แนกผลการประเมินสถานภาพตามขอบเขตทต่ี องการ และคําสัง่ Model
Builder เพือ่ จําแนกผลการประเมินสถานภาพตามขอบเขตท่ีตอ งการ

ผลการวิเคราะหขอมูลที่ไดจากการซอนทับตัวชี้วัดจากเครื่องมือประเมินสถานภาพลุมนํ้า
ไดสถานภาพลุมน้ําและสัดสวนในลุมนํ้าหลัก ซึ่งสามารถนําไปคํานวณหาพ้ืนท่ีรายลุมนํ้าสาขา หรือตามเขต
การปกครองอื่น ๆ ตอไป เพ่ือสนับสนุนการตัดสินใจในการวางแผนจัดการ เพ่ือฟนฟู ดูแลและอนุรักษ
ทรัพยากรธรรมชาติ ตามมาตรการที่เหมาะสมในพื้นทตี่ อไป

โครงการเพิ่มประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การชัน้ คณุ ภาพลมุ นาํ้ 67

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

12.2 การจดั การฝกอบรม

ไดดําเนินการจัดฝกอบรม เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2562 เวลา 09.00 -16.00 น. ณ อาคารนวัตกรรม
ศ.ดร.สาโรช บัวศรี ช้ัน 11 หอง 1101 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยมี นายศิริชัย เรืองฤทธ์ิ ผูอํานวยการ
กลุมงานบริหารจัดการช้ันคุณภาพลุมนํ้า สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
เปนประธานกลาวตอนรับและกลาวเปดการประชุม และผูเขารวมการฝกอบรม จํานวน 23 คน โดยเปน
เจา หนาทีท่ ่เี ก่ียวของในพ้นื ทีศ่ กึ ษาลุมนํา้ ภาคตะวันตกและภาคกลาง

การฝก อบรมการใชร ะบบจดั เก็บขอมลู ใหแกเจาหนาที่ทเี่ กีย่ วของ

13. จดั ทาํ แผนปฏบิ ัตกิ ารเพอื่ ฟน ฟู อนรุ กั ษ และการใชป ระโยชน จากทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอ ม : ลุมนาํ้ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

ลมุ น้าํ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ประกอบไปดวย 3 ลุมน้ําหลัก อันไดแก ลุมนํ้าโขง (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
ประกอบดวย 29 ลุมนํ้าสาขา ลุมนํ้าชี ประกอบดวย 20 ลุมนํ้าสาขา และลุมน้ํามูล ประกอบดวย 31 ลุมนํ้า
สาขา ดงั แสดงในภาพท่ี 35

โครงการเพม่ิ ประสิทธภิ าพการบริหารจดั การชัน้ คณุ ภาพลุมนํา้ 68

รายงานสรปุ สําหรบั ผูบรหิ าร
ลมุ น้ําโขง (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
มพี ้ืนที่ 47,154.52 ตารางกโิ ลเมตร

ประกอบดวย 29 ลุมน้ําสาขา

ลุมน้าํ ชี มพี น้ื ที่ 49,259.87 ตารางกิโลเมตร
ประกอบดว ยลุม นาํ้ สาขา 20 ลมุ น้ําสาขา

ลุมนํา้ มูล มพี นื้ ท่ี 71,071.57 ตารางกโิ ลเมตร
ประกอบดวย ลมุ นาํ้ สาขา 31 ลมุ นาํ้ สาขา

ภาพท่ี 35 แผนที่ขอบเขตลุมน้าํ หลัก ลุมนา้ํ สาขา พืน้ ท่ศี กึ ษาลมุ นํา้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

โครงการเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การช้ันคุณภาพลุมนํา้ 69

รายงานสรปุ สําหรับผูบรหิ าร

13.1 การคดั เลือกพ้ืนท่เี พอื่ จัดทาํ แผนปฏิบตั กิ ารเพ่ือฟน ฟูและอนรุ กั ษ

จากการศึกษาพบวาในการคัดเลือกพื้นท่ีลุมนํ้า เพ่ือจัดทําแผนปฏิบัติการเพ่ือฟนฟูและอนุรักษ
มีความเหมาะสมควรสามารถเปนตัวอยางใหกับลุมนํ้าอ่ืน ๆ ในพื้นท่ีลุมน้ําภาคตะวันออกเฉียงเหนือได
ท่ีปรึกษาจึงเลือกใชแนวความคิดเดียวกับการคัดเลือกพื้นที่ จัดทําแผนปฏิบัติการของพ้ืนท่ีลุมนํ้าภาคเหนือ
โดยใชปจจัยความครอบคลุมทุกประเภทคุณภาพลุมนํ้า ปจจัยความครอบคลุมทุกประเภทประโยชนที่ดิน
และผลการประเมนิ สถานภาพลุมน้าํ

(1) ผลการคัดเลือก
การคัดเลือกพ้ืนที่ในระดับลุมน้ํายอย จากทั้งหมด 769 ลุมน้ํายอย 80 ลุมนํ้าสาขา และ 3 ลุมนํ้า

หลัก ตามข้ันตอน ดําเนินการปรับขนาดพื้นที่ลุมนํ้ายอยที่ไดจากกรมทรัพยากรน้ํา เนื่องจากบางลุมนํ้ายอย

มีขนาดพ้ืนท่ีเล็กเกินไป โดยหลังจากรวมพ้ืนที่ลุมน้ํายอยแลว จะคงเหลือลุมน้ํายอยท่ีใชในการคัดเลือก
จํานวน 418 ลุมนํา้

โดยผลการคัดเลอื กพบวามีลมุ นํ้าที่ครอบคลุมประเด็นที่สนใจมากท่ีสุด และกระจายอยูในลุมน้ํา

หลกั ละ 1 ลมุ นํ้ายอย ไมซํา้ ลักษณะ ประเด็นที่สนใจ ไดแก ลุมน้ํายอยหวยนํ้ากํ่า SS7 (ลุมน้ําโขง) ลุมน้ํายอย
ลําน้ําเชิญ SS1 (ลุมนํ้าชี) และลุมน้ํายอยลําปลายมาศ SS1 (ลุมนํ้ามูล) ดังแสดงในตารางที่ 19 และภาพที่ 36
ถงึ ภาพท่ี 37

ตารางท่ี 15 รายละเอียดลุมน้ํายอ ยทไ่ี ดร ับการคัดเลือกเปนพื้นทจ่ี ัดทาํ แผนปฏบิ ตั ิการ

ลุมนํ้าหลกั ลมุ น้ําสาขา ลุม น้ํายอย ลักษณะเดนของพน้ื ที่ อาํ เภอท่มี ีพ้ืนท่ี อําเภอทีม่ ีพนื้ ที่ในลมุ นํา้
ในลมุ นาํ้ มากทสี่ ดุ รองลงมา
โขง หวยนา้ํ ก่าํ หว ยนาํ้ กํ่า SS7 เปนตัวแทนพ้ืนท่ีลุมนํ้าบริเวณตอน อาํ เภอนาแก จงั หวัด
ปลาย มีพื้นที่ลุมน้ําช้ันท่ี 5 มาก มี นครพนม อาํ เภอโคกศรสี พุ รรณ
สัดสวนพื้นที่สถานภาพลุมน้ําระดับ จงั หวดั สกลนคร
เตือนภัยและระดับสมดุลมาก ไมมี อําเภอคอนสารจงั หวัด
ระดับวิกฤต มีพ้ืนท่ีปาริมนํ้าเปน ชยั ภูมิ อําเภอนา้ํ หนาว
หยอม ๆ จังหวดั เพชรบูรณ
อําเภอเสงิ สาง และอําเภอภูผามา น
ชี ลาํ นํา้ เชญิ ลํานาํ้ เชิญ SS1 เปนตัวแทนพ้ืนที่ลุมน้ําบริเวณตนน้ํา จังหวดั นครราชสีมา จงั หวดั ขอนแกน
มีพ้ืนท่ีลุมน้ําช้ันท่ี 1 มาก มีพ้ืนท่ี อาํ เภอปะคํา
สถานภาพลุม นาํ้ ระดบั วิกฤตและเสี่ยง และอาํ เภอนางรอง
ภัยมากกวา ลุม น้ํายอยอื่น ๆ จงั หวัดบรุ รี มั ย

มลู ลาํ ปลายมาศ ลําปลายมาศ เปน ตัวแทนพ้ืนท่ีลุมนํ้าที่มีพื้นท่ีลุมนํ้า
SS1 ช้ันที่ 4 มาก มีสัดสวนสถานภาพลุม
น้าํ ระดบั สมดลุ ตํ่า ระดับเตือนภัยมาก
มแี หลง มรดกโลก (อช.ทับลาน)

ทีม่ า : การวิเคราะหด ว ยระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร, 2561

โครงการเพิม่ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การชั้นคณุ ภาพลุม นํ้า 70

รายงานสรปุ สาํ หรบั ผูบรหิ าร

ภาพท่ี 36 แผนทลี่ ุมนํ้ายอย 25 แหง ที่ไดรับการคดั เลือกในขั้นตอนแรก 71

โครงการเพ่มิ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การชน้ั คุณภาพลุม น้าํ

รายงานสรปุ สําหรบั ผูบรหิ าร

ภาพที่ 37 แผนท่ลี ุมน้าํ ยอยทไ่ี ดรบั การคัดเลือก 3 แหง 72

โครงการเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การช้ันคุณภาพลุม น้าํ

รายงานสรปุ สําหรับผูบรหิ าร

13.2 พนื้ ท่ีดําเนินการ
1) พื้นท่ีศึกษาลุมนํ้ายอยหวยนํ้าก่ํา (SS7) ตัวแทนลุมน้ําสาขาหวยนํ้ากํ่า กรณีศึกษาของลุมน้ําโขง

ดงั แสดงในภาพที่ 38

พ้ืนที่ลุมน้าํ สาขาหว ยน้าํ กา่ํ
ทงั้ หมด 509.82 ตารางกิโลเมตร

ภาพท่ี 38 ขอบเขตพืน้ ทีศ่ กึ ษาลุมนํ้ายอยหวยนาํ้ ก่าํ
2) พื้นที่ศกึ ษาลุมน้าํ ลาํ นาํ้ เชญิ (SS1) ตัวแทนลุมนํ้ายอยลํานํ้าเชิญ (กรณีศึกษาของลุมนํ้าชี) ดังแสดงใน
ภาพที่ 39

พืน้ ทล่ี ุมน้ําสาขาลาํ นาํ้ เชญิ 73
ทัง้ หมด 1,472.03 ตารางกิโลเมตร

ภาพท่ี 39 ขอบเขตพน้ื ทศ่ี ึกษาลมุ น้ํายอยลาํ นํ้าเชิญ

โครงการเพิ่มประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การชน้ั คุณภาพลุมนาํ้

รายงานสรปุ สาํ หรับผูบรหิ าร

3) พ้นื ทศี่ ึกษาลุมนาํ้ ยอยลําปลายมาศ (SS1) ตัวแทนลุมนํ้าสาขาลาํ ปลายมาศ (กรณีศึกษาของลุมนํ้ามูล)
ดงั แสดงในภาพท่ี 41

พนื้ ท่ลี ุมนาํ้ สาขาลําปลายมาศ
ทัง้ หมด 1,996.33 ตารางกิโลเมตร

ภาพที่ 40 ขอบเขตพน้ื ทศ่ี ึกษา ลมุ นํา้ ยอยลําปลายมาศ 74

โครงการเพิ่มประสิทธภิ าพการบริหารจดั การชนั้ คุณภาพลุม นาํ้

รายงานสรปุ สําหรับผูบรหิ าร

14. การจดั ทําแผนปฏิบัตกิ ารในพื้นที่ช้นั คณุ ภาพลุม นํา้ (ลมุ นาํ้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)

ไดดําเนินการรวบรวมแผนงานโครงการท่ีเก่ียวของ ในระดับจังหวัด อําเภอ ตําบล และสํารวจเก็บ
รวบรวมขอ มูลที่เกย่ี วขอ งกับสภาพปญ หา และความตองการของชุมชน พรอมท้ังไดเขาพบหนวยงานราชการ
ท่ีเก่ยี วขอ ง เพอื่ รว มพจิ ารณาประเด็นปญหาตาง ๆ ในพ้ืนที่ และเสนอแนะความเห็นในการจัดตั้งคณะทํางาน
ในระดับอําเภอ เพ่ือแกไขปญหาไดอยางแทจริง และสํารวจภาคสนามในพ้ืนที่ศึกษา ระหวางวันที่ 1-5
เมษายน 2562

ซ่ึงหนวยงานราชการสวนใหญ ใหความสําคัญกับการแกไขปญหาในพ้ืนท่ีลุมน้ํา พรอมใหการ
สนับสนุนในดานตาง ๆ ซึ่งในพื้นที่ประสบปญหาภัยแลง ปญหาน้ําทวม ปญหาการใชสารเคมีในพื้นท่ีตนน้ํา
และบางสวน เปนพื้นที่ที่ไมมีเขตพัฒนาท่ีดิน เนื่องจากอยูในพื้นท่ีปาไม และพื้นท่ี ส.ป.ก. โดยปญหาตาง ๆ
จะไดรับการแกไขจากหนวยงาน ตามพ้ืนที่ประสบปญหา หรือตามท่ีประชาชนรองขอ ภาพการเขาพบ
หนว ยงานตาง ๆ

การเขาพบหนว ยงานที่เก่ียวขอ ง 75

โครงการเพม่ิ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การชั้นคณุ ภาพลุม นาํ้

รายงานสรุปสาํ หรับผูบริหาร

14.1 สภาพปญ หาในพื้นทลี่ ุมน้าํ ที่ไดคัดเลอื กในกรณศี ึกษา

ลุมนํ้ายอย ตําบล สภาพปญ หาในพ้นื ท่ี โครงการท่ีประชาชนในพน้ื ที่เสนอ

หวยน้ํากํ่า ตาํ บลกานเหลอื ง - ประสบปญหานํา้ ทวม - โครงการการปอ งกันนาํ้ ทวม การ
ลําน้าํ เชิญ อาํ เภอนาแก
จังหวัดนครพนม - ในชว งหนา แลง เกดิ ภัยแลง หนัก ทําฝายก้นั นํ้า
ลาํ ปลายมาศ
ตาํ บลทุง ลยุ ลาย - ปญ หาไฟปา เน่ืองจากเกษตรกร - กจิ กรรมสง เสรมิ ในเรอื่ งการอนรุ ักษ
อําเภอคอนสาร
จงั หวัดชยั ภูมิ จุดเผาไรน า ทงุ หญา เผาซังขา ว สิ่งแวดลอม

ตาํ บลน้ําหนาว - นา้ํ ไมเ พยี งพอใชทาํ การเกษตร - โครงการสง น้ําจากเขอ่ื นจุฬาภรณ
อาํ เภอนํ้าหนาว
จงั หวดั เพชรบูรณ นํ้าจากเขือ่ นจฬุ าภรณถกู สง ไป สูหมูบาน
ตําบลโนนสมบรู ณ
อาํ เภอเสิงสาง ยังพื้นท่อี ืน่ - แกไขปญ หาเอกสารทดี่ ิน/โฉนด
จงั หวัดนครราชสมี า
- ปญ หาไฟปา
ตาํ บลบา นราษฎร
อําเภอเสิงสาง - การลักลอบตัดไม ไปขาย
จงั หวัดนครราชสมี า
- การทง้ิ ขยะลงแหลงนํ้า ทําให

แหลง นา้ํ บางแหลงเนา เสีย

- เกิดไฟปา บอยครัง้ - โครงการเกยี่ วกับแกไ ขแหลงนาํ้

- เกดิ ปญ หาภยั แลง - โครงการอนุรกั ษป าไม การกําหนด

- ตัดไม ทําลายปา ลาสตั ว พื้นท่ีปา ไมใหชัดเจน

- ประสบปญ หาภยั แลง - โครงการสง นาํ้ จากอา งเกบ็ นํ้าลาํ

- เกิดไฟปา ปลายมาศสชู มุ ชน

- ประชาชนในพ้นื ท่ี ไมส ามารถนํา - การใหความรเู กย่ี วกับการอนรุ ักษ

นํ้ามาใชประโยชนไ ด เนอื่ งจาก ทรพั ยากรธรรมชาติ

ภาครฐั สงน้าํ ไปยงั โรงงานมัน

สําปะหลงั ในเมือง

- ปญหาภยั แลง - โครงการเกยี่ วกับการจดั การขยะ

- การจัดการขยะ - โครงการที่พฒั นาแหลง นา้ํ ให

สะอาด

โครงการเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การชัน้ คุณภาพลมุ นํ้า 76

รายงานสรปุ สาํ หรบั ผูบริหาร

การลงพื้นสาํ รวจขอมูลชุมชน

14.2 ขั้นตอนการจดั ทําแผนปฏบิ ตั ิการระดบั ลมุ นํา้ โดยอาํ เภอเปน ฐาน

ขั้นตอนการจัดทําแผนปฏิบัติการระดับลุมน้ําโดยอําเภอเปนฐาน ไดรับการกําหนดข้ึนโดยพิจารณา
จากขอบขายในการดําเนินงานที่ระบุไวในขอบเขตการศึกษาของโครงการ พรอมท้ังพัฒนาขั้นตอนใหมี
ความกระชับและมีประสิทธิภาพในการดําเนินงานใหมากขึ้น พรอมทั้งเปนไปตามผลการประเมินสถานภาพ
ของลมุ น้าํ ในพืน้ ทีภ่ าคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื โดยมีข้ันตอนทส่ี ําคัญดังนี้ ดงั แสดงในตารางท่ี 20

ตารางที่ 16 ข้ันตอนการดําเนินงานจดั ทาํ แผนปฏบิ ัติการเพอื่ ฟน ฟู อนุรกั ษ และใชประโยชน

จากทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพ้ืนที่ลุมน้าํ ระดบั อําเภอ

ข้ันตอนหลกั ในการ จดุ มงุ หมาย กิจกรรมการดาํ เนนิ งาน
ดําเนนิ งาน

ขัน้ ตอนท่ี 1: เปนกระบวนการวางระบบ กลไก 1.1 ประชุมปรึกษาหารือคณะผูเชี่ยวชาญเพื่อทบทวนผลการศึกษา

เตรียมความพรอมและกําหนด ในการจดั ทําแผนปฏบิ ตั กิ าร ของการประเมินสถานภาพลุมน้ํา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พรอมทั้ง

กลไกหลักในการดําเนินงาน รวมทั้งเตรียมสภาพแวดลอ ม กําหนดหลักเกณฑในการพิจารณาเลือกลุมนํ้าตัวแทน จํานวน 3 พ้ืนท่ี

จัดทาํ แผนปฏบิ ัตกิ าร ท่ีเอ้อื อํานวยตอ การจัดทาํ แผน ลุมน้ํา (รายละเอียดเปนไปตามรายงานของการกําหนดพ้ืนท่ีลุมน้ํา

ตวั แทน)

1.2 วเิ คราะหก ลุมหรือภาคีผูมีสวนไดสวนเสียในลุมน้ําท้ังในระดับภาคี

เชิงพื้นท่ีและภาคีรวมพัฒนาระดับลุมนํ้าหรือภาคีที่เกี่ยวของกับการ

จดั การทรัพยากรรายสาขา

1.3 กําหนดคณะทํางานวางแผนหลัก (Core Planning Team: CPT)

โดยพจิ ารณาตามกลุมผมู ีสว นไดสว นเสยี สาํ คญั ควบคูกับการพิจารณา

ถึงบทบาทในการวางแผนและจัดการทรัพยากรในลุมนํ้าท่ีสอดคลอง

กบั การประเมนิ สถานภาพของลุมนาํ้

ข้นั ตอนที่ 2: เปน กระบวนการรวบรวมขอ มลู 2.1 รวบรวมและจัดทําขอมูลรายละเอียดของพื้นท่ี ลุมน้ําทั้ง

วิเคราะหสภาพแวดลอม สารสนเทศ เพอื่ ประเมินสภาวะ 3 พ้ืนท่ี โดยครอบคลุมถึงขอมูลดานทรัพยากรกายภาพ ทรัพยากร

เงื่อนไข แรงขับ แรงกดดัน ของลุมนํา้ และสามารรถนาํ มาใช ชีวภาพ เศรษฐกิจสังคม ชุมชน การใชประโยชนที่ดิน กิจกรรมการ

และผลกระทบของลุมนา้ํ ในการประเมนิ สภาพแวดลอ มทัง้ พัฒนาในลุม น้าํ ความเสี่ยงของลุมน้ําในดานตาง ๆ กลไกการบริหาร

ปจจัยภายในและภายนอก จัดการลุมนํ้า แผนพัฒนาตาง ๆ รวมถึงสถานภาพของคุณภาพ

สิ่งแวดลอมทส่ี าํ คัญบางประการ

2.2 สํารวจขอมูลภาคสนาม (Field Survey/Field Check) และ

การตรวจสอบความละเอียดของชั้นขอมูลที่จะนํามาใชในการ

วางแผนและจดั ทาํ แผนปฏิบัติการ

โครงการเพมิ่ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การชน้ั คุณภาพลุมนา้ํ 77

รายงานสรปุ สาํ หรับผูบริหาร

ตารางที่ 16 ขัน้ ตอนการดาํ เนนิ งานจดั ทาํ แผนปฏิบตั ิการเพอ่ื ฟนฟู อนุรกั ษ และใชประโยชน

จากทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอมในพืน้ ท่ีลุมนํ้าระดบั อาํ เภอ (ตอ -1)

ข้นั ตอนหลักในการ จดุ มงุ หมาย กิจกรรมการดําเนนิ งาน
ดําเนนิ งาน

2.3 วิเคราะหสภาพแวดลอมทั้งภายในและภายนอกลุมน้ํา รวมท้ัง

ประเมินแรงขับ แรงกดดัน สภาวะ ผลกระทบและการรับมือกับ

สภาพแวดลอ มตา ง ๆ ของลมุ น้ํา

2.4 ประเมนิ ทางเลือกท่ีมีความเปนไปไดในการวางแผนจัดการหรือ

แผนพฒั นาลุมนาํ้ ท่จี ะรองรบั สถานการณแ ละประเด็นปญ หา

ขน้ั ตอนที่ 3: เปน การตรวจสอบสถานการณ 3.1 วิเคราะหความสําคัญของปญหา โดยพิจารณาสถานภาพและ

วิเคราะหแ ละจัดลาํ ดับ ความวกิ ฤตของปญหาในลุม นาํ้ ความวกิ ฤตของปญ หาท่ีประสบหรือมีแนวโนมที่อาจเผชิญในอนาคต

ความสาํ คญั ของปญหาที่ ความจําเปน เรงดวนในการแกไข โดยกําหนดปจจัยความสําคัญจากความถี่ ความรุนแรงของ

ตอบสนองกับสถานภาพและ ปญ หา การบรรเทาหรอื การระงับ ผลกระทบ มาตรการทใ่ี ชใ นการรับมือบรรเทา โอกาสและความเส่ียง

ความวิกฤตของลมุ นาํ้ ปญ หา รวมทั้งมกี ารจัดลาํ ดับ ในอนาคต ขนาดของกลุมผูรับผลกระทบ ความสามารถของกลุมเสี่ยง

ความสําคญั เรงดวนตาม ในการฟนคืนสภาพเดิมเมื่อตองเผชิญกับสภาวะและผลกระทบตาง ๆ

สถานการณเพือ่ รับมือกบั แรง รวมท้งั การใหค วามสําคญั ของหนว ยงานในการปฏิบัติการเพื่อจัดการ

ขับเคลอื่ นและผลกระทบตาง ๆ กับปญ หาเหลา นน้ั

3.2 กําหนดแผนงาน โครงการที่มีความจําเปนเรงดวน ซึ่งหมายถึง

แผนงาน โครงการที่ตองดําเนินการโดยทันทีเพ่ือเปนการระงับ

บรรเทาและแกไขปญหาอยางเรงดวน ซ่ึงจะพิจารณาจากเง่ือนไขใน

ดานความพรอมของหนวยงาน แผนปฏิบัติการ งบประมาณ

บุคลากร เคร่ืองมือสนับสนนุ รวมท้ังความสอดคลองกับนโยบายการ

ดาํ เนินงานของรฐั หรือหนวยงานที่เก่ยี วขอ ง

3.3 กํา ห นดรู ปแ บบข อ งอ ง ค ก รใ นก าร บริ หา ร จั ดก า ร ที่ มี

ประสิทธิภาพ โดยเนนการกําหนดบทบาทองคกรหลัก องคกร

สนับสนุน รวมท้ังองคกรท่ีเก่ียวของกับการดําเนินงานเชิงพ้ืนท่ี ทั้งนี้

อาจยึดโยงกับยุทธศาสตรการพัฒนาระดับภาคและจังหวัด รวม

ตลอดจนบทบาทขององคก รปกครองสวนทองถิ่นหรอื ภาคสวนตาง ๆ

ทเ่ี กีย่ วของ

ขัน้ ตอนที่ 4: เปน การกําหนดแผนงาน โครงการ 4.1 กําหนดวิสัยทัศน เปาหมาย พันธกิจ และตวั ชวี้ ดั ระดับ

ยกรางแผนปฏิบตั กิ าร หรอื กจิ กรรมรองรับปญ หาและแรง แผนปฏบิ ัติการ

เพ่ือฟน ฟู อนุรกั ษ และใช ขับเคลอ่ื น โดยพิจารณาทั้งมติ ิดาน 4.2 ยกรางแผนปฏิบัติการ ท่ีประกอบดว ย แผนงานและโครงการ

ประโยชนจาก ทรพั ยากรธรรมชาติ การจัดการ รวมท้ังกาํ หนดโครงการทส่ี าํ คญั (Flagship Projects) รวมท้ัง

ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ สิ่งแวดลอ ม เศรษฐกจิ สงั คม รายละเอยี ดท่ีเก่ยี วขอ ง อาทิ วัตถุประสงคโครงการ พื้นที่เปาหมาย

สงิ่ แวดลอ มในพ้ืนท่ีลุมน้าํ องคกร การใชประโยชนจาก ระยะเวลา หนวยงานทเี่ ก่ยี วของ เปนตน

ทรพั ยากรในลุมน้ํา รวมทงั้ กลไก

การบริหารจดั การ เชน นโยบาย

แผนพัฒนาระดับตาง ๆ กฎระเบียบ

บทบาทองคก ร แผนงานเชิงพื้นที่

งบประมาณ

โครงการเพิ่มประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การชน้ั คณุ ภาพลุมน้ํา 78

รายงานสรปุ สาํ หรบั ผูบริหาร

ตารางที่ 16 ขน้ั ตอนการดําเนินงานจดั ทาํ แผนปฏบิ ตั กิ ารเพือ่ ฟน ฟู อนรุ กั ษ และใชประโยชน

จากทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอมในพน้ื ที่ลมุ น้ําระดบั อําเภอ (ตอ-2)

ขน้ั ตอนหลักในการ จดุ มงุ หมาย กจิ กรรมการดําเนินงาน
ดําเนนิ งาน

ขั้นตอนท่ี 5: เปน การวางระบบในการนาํ แผน 5.1 ระบรุ ายละเอียดของแนวทางการนําแผนสูการปฏิบัติ อาทิ การ

กําหนดแนวทางการควบคุม สูการปฏบิ ัติ การควบคมุ ใหแผน ประสานหนวยงาน การประสานงบประมาณ การสรางการมีสวน

และนําแผนไปปฏิบัติ เปน ไปตามวตั ถุประสงคก ารใช รวม การผลักดันแผนสูการปฏิบัติ การควบคุมและบริหารจัดการ

งานของแผนในแตละหวงเวลา แผนปฏิบัติการหรอื โครงการ

การจัดสรรทรัพยากรและ 5.2 วางระบบการเสริมพลังการดําเนินงาน การติดตามงาน การ

บคุ ลากรในการดําเนนิ งาน ประเมินผลโครงการ และการประเมินผลลัพธในข้ันปลายของการ

รวมทัง้ การติดตามและ ดาํ เนินโครงการ

ประเมินผล

ขน้ั ตอนที่ 6: เปน การสรางกระบวนการมีสว น 6.1 กําหนดกลุมผูมีสวนไดสวนเสียสําคัญไมนอยกวา 50 คน/พื้นท่ี

การทาํ ใหแ ผนปฏิบตั ิการ รวมในการจัดทาํ แผนปฏิบัตกิ าร ลุมน้ํา รวมตลอดจนกลุมผูศึกษาโครงการ ผูเช่ียวชาญในโครงการ

ไดร บั การยอมรบั และผา น หรอื การทาํ ใหแผนปฏิบตั กิ าร ประชุมเพ่ือรับฟง ความคิดเหน็ ตอแผนปฏบิ ตั กิ าร

กระบวนการมสี ว นรว ม ไดร บั การยอมรบั จากภาคีท่ี 6.2 นําผลการประชุมรับฟงความคิดเห็นมาทบทวนและปรับปรุง

เก่ียวขอ งผานการประชุมรบั ฟง รางแผนปฏิบัติการใหสอดคลองกับผลการรับฟงความคิดเห็นและ

ความคดิ เหน็ ขอ มลู ท่ีบง ช้ี

6.3 จัดทําแผนปฏิบัติการเพื่อฟนฟู อนุรักษ และใชประโยชนจาก

ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอมในพน้ื ทล่ี ุม นาํ้

ขน้ั ตอนที่ 7: กาํ หนดใหม ีการจดั ทาํ คูมือการ 7.1 กาํ หนดกรอบเคาโครงเน้ือหาของคูมอื การจดั ทําแผนปฏบิ ตั ิการ

จัดทาํ คมู ือจดั ทําแผน จัดทาํ แผนปฏบิ ัติการเพอ่ื ใชเ ปน 7.2 ยกรางคมู ือการจัดทาํ แผนปฏบิ ตั กิ าร

ปฏิบัติการ กรอบแนวทางในการปฏิบัตใิ น 7.3 ตรวจสอบความถูกตอง เหมาะสมและความยากงายในการใช

กระบวนการจัดทําแผนอยา ง งานคูมอื

เปน ข้ันตอน 7.4 จัดทําคูมือการจัดทําแผนปฏิบัติการเพื่อฟนฟู อนุรักษ และใช

ประโยชนจากทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอมในพนื้ ท่ี ลุมนา้ํ

7.5 ใหขอเสนอแนะตอ การนําคูม ือไปใชงาน

ท่ีมา : บริษทั ทปี่ รึกษา, 2562

โครงการเพ่ิมประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การชน้ั คณุ ภาพลมุ นาํ้ 79

รายงานสรุปสําหรบั ผูบริหาร

14.3 การวิเคราะหขอมูล และแตงต้ังภาคสวนท่ีเก่ียวของ เพื่อรวมเปนคณะทํางานในการจัดการ
แผนปฏบิ ัตกิ าร

1. ภาคสว นสําคัญทีจ่ ะเขามามบี ทบาทในคณะทํางานวางแผนหลัก (Core Planning Team)

ภาคสวนท่ีเกี่ยวของกับบทบาทของชุมชนหรือผูใชทรัพยากรโดยตรงในลุมนํ้า ถือวามีสวนสําคัญ
ในการเปน คณะทาํ งานวางแผนหลกั เพื่อใหก ารแกไขปญหาในพ้ืนท่ีมปี ระสิทธภาพและเกิดประโยชนสูงสุดใน
พน้ื ท่ลี มุ น้าํ โดยหนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ ง ดังแสดงในตารางที่ 17

ตารางที่ 17 กลุมภาคสว นสําคญั ท่ีจะเขามามีบทบาทในการวางแผนหลกั

กลมุ หนว ยงานและ/หรอื ภาคสวนที่สาํ คญั ความเชื่อมโยงกบั การบรหิ ารจดั การลมุ นํ้าเชิงพน้ื ที่

1) หนวยงานในระดับอําเภอ เชน เปนกลไกในการกํากับ ประสานงาน บริหารจัดการเชิงพื้นท่ีท่ี

- นายอาํ เภอ เชื่อมโยงกับการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการอนุรักษ

- ปลดั อาํ เภอ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม รวมถึงการมีบทบาทใน

- สวนราชการระดบั อําเภอทเี่ กย่ี วของ การวางแผนและตัดสินใจในการกําหนดแผนงาน โครงการ

กิจกรรมที่จะดําเนินการไปในพื้นท่ีความรับผิดชอบ และยัง

หมายรวมถึงมีบทบาทในการประสานแผนและงบประมาณ

บรู ณาการสกู ารปฏิบตั ริ ะดบั พ้นื ท่เี ปา หมาย

2) หนว ยงานที่กาํ กบั ดูแลทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ ม เชน เปนกลไกในการสงวน คุมครอง พิทักษ รักษา ฟนฟูและใช

- สํานกั งานทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ มจังหวดั ประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมอยางมีสวนรวม

- สํานักงานสิง่ แวดลอมภาค บนพ้ืนฐานการวางแผนและบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ

- สํานักบรหิ ารพนื้ ทีอ่ นุรักษ หมายรวมถึงการบังคับใชกฎหมาย การสงเสริมการใช

- สาํ นักจัดการทรัพยากรปา ไม ประโยชนตามหลักการอนุรักษวิธี การใหคําปรึกษา และ

- สํานกั งานทรพั ยากรนํา้ ภาค กําหนดมาตรการที่เหมาะสมในการจัดการเชิงพ้ืนท่ี และ/หรือ

- สํานักทรัพยากรนา้ํ บาดาลเขต การบริหารจัดการทรัพยากรรายสาขา หรือการสงเสริม

- หนวยงานทเี่ กยี่ วของอ่นื ๆ เชน หนวยจัดการตนน้ํา หนวย เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมในการจัดการ

ปองกนั ไฟปา

3) หนวยงานพัฒนา สงเสริมคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สังคมของ เปนกลไกในการดําเนินงานเชิงพื้นท่ี การกํากับ ดูแล

ประชาชน เชน ประสานงาน เชื่อมโยง สงเสริม พัฒนาและใชประโยชนจาก

- องคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ ทรัพยากรในลุมนํ้าหรือนิเวศบริการลุมน้ําเพ่ือนําไปสูการ

- ผูนาํ ชมุ ชน (กาํ นัน/ผใู หญบาน) ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนหรือกลุมเปาหมายในพื้นที่

- ผูบ ริหารทอ งถิน่ เชน การนํานํ้ามาใชประโยชน การพัฒนาและจัดหาแหลงนํ้า

- กลมุ อาชพี ตา ง ๆ เชน กลุม เกษตรกร การอนุรักษฟนฟูดิน การสงเสริมการเกษตรกรรม การปศุสัตว

- อาสาสมัครชุมชน เชน เครือขาย ทสม. เครือขายผูใชนํ้า การสรา งเครือขา ยชุมชน การปกครองทองถ่ิน

เครอื ขายไฟปา

โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การชนั้ คณุ ภาพลมุ นา้ํ 80

รายงานสรุปสาํ หรับผูบริหาร

ตารางท่ี 17 กลุมภาคสว นสําคัญทจ่ี ะเขามามีบทบาทในการวางแผนหลกั (ตอ )

กลมุ หนวยงานและ/หรือภาคสวนท่ีสําคัญ ความเช่ือมโยงกบั การบริหารจัดการลุมนํา้ เชิงพน้ื ที่

4) หนว ยงานสงเสริม พฒั นา และสนับสนนุ อืน่ ๆ เปนกลไกในการสนับสนุน สงเสริม พัฒนาทั้งดานการใช

- สาํ นักงานชลประทาน ประโยชนทรัพยากรลุมนํ้า การพัฒนาคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ

- สาํ นกั งานสาธารณสุขและขายงานท่ีเก่ยี วขอ ง เชน รพ.สต. สงั คม วัฒนธรรม การคา และพาณิชยกรรม การกํากับดูแลและ

- สํานักงานพัฒนาท่ีดินเขต/สถานพี ฒั นาที่ดิน บังคับใชกฎหมาย การพัฒนากลุมกลไกการทํางานเชิงพ้ืนที่

- สํานกั งานการพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย เชน คณะกรรมการลุมนํ้าระดับตาง ๆ รวมถึง กลุมผูประกอบการ

- หนว ยงานบงั คับใชก ฎหมาย และไดป ระโยชนจ ากนเิ วศบรกิ ารลุมนํา้ เชน ภาคการทองเที่ยว

- คณะกรรมการลุมน้ํา คณะทํางานลุมนํ้าเชิงพ้ืนที่ ภาคบริการ ภาคการลงทุน เปนตน และยังเช่ือมโยงถึงกลุม

คณะทํางานเฉพาะกิจที่เกย่ี วของ ผทู รงคุณวุฒใิ นทอ งถ่ิน นกั วชิ าการ ผูรูชุมชน หรือเครือขายเฝา

- สถาบันการศึกษา นักวิชาการ ผูทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวของกับ ระวังสถานการณทางสงั คมรวมอยูด ว ย

การพฒั นาพนื้ ที่

- ภาคธุรกิจ เอกชน องคกรเอกชน และหมายรวมถึง

มูลนิธิ สมาคม เครือขายการพัฒนา เครือขายอนุรักษ

ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอม

หมายเหตุ : การกาํ หนดหรอื คัดเลอื กภาคสว นตาง ๆ ทเี่ กีย่ วของสามารถปรับใหยดื หยุนตามบริบทลุม นํ้าได

ซ่งึ โดยทวั่ ไปจะกาํ หนดไวประมาณ 30-50 คน

ท่มี า : บริษัทที่ปรกึ ษา, 2562

2. บทบาทหนา ทขี่ องคณะทาํ งานวางแผนหลกั

การกําหนดบทบาทหนาที่ของคณะทํางานวางแผนหลัก ถือวามีความสําคัญและจําเปนตอการ
ดําเนินงานในการจัดทําแผนปฏิบัติการ โดยกระบวนการจัดทําแผนปรากฏใหอยูในรูปแบบของการทํางาน
ผา นคณะทํางานวางแผนหลัก ดังนั้น คณะทํางานวางแผนหลกั จึงควรกาํ หนดบทบาทหนา ทไ่ี วดังนี้

1) รวบรวมขอมูลและสารสนเทศของหนวยงานและที่เกี่ยวของ เพื่อสนับสนุนกระบวนการ
จัดทําแผนปฏิบัติการเพ่ือฟนฟู อนุรักษ และใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพ้ืนที่
ลุมนํ้าทศ่ี ึกษา

2) วิเคราะห ประเมินสภาพแวดลอม สถานการณ ประเด็นปญหา ที่สงผลกระทบตอ
สถานภาพลมุ นํา้ ที่ศึกษา

3) มีสวนรวมในกระบวนการยกรางแผนปฏิบัติการเพ่ือฟนฟู อนุรักษ และใชประโยชนจาก
ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอมในพน้ื ทลี่ มุ นํ้าที่ศกึ ษา และการกําหนดมาตรการ แนวทางในการประสาน
แผนสกู ารปฏบิ ัตใิ นระดบั พน้ื ทีล่ ุมน้ํา

4) สนับสนุน ชว ยเหลือ ใหความรวมมือ และประสานงานภาคสวนตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของในลุมนํ้า
เพื่อประโยชนในการจัดทําแผนปฏิบัติการเพ่ือฟนฟู อนุรักษ และใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่งิ แวดลอ มในพืน้ ท่ีลมุ น้ําทศี่ กึ ษา

โครงการเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การช้นั คุณภาพลมุ นา้ํ 81

รายงานสรุปสาํ หรับผูบริหาร

3. รปู แบบองคก ารบริหารจดั การในพืน้ ท่ีลมุ นํา้

เพ่ือใหก ารบรหิ ารจัดการพนื้ ทช่ี ้นั คณุ ภาพลุมนํ้า การอนุรักษ การฟนฟู และการดําเนินการอ่ืนที่
เก่ียวของกับการวางแผนการจัดทําแผนปฏิบัติการในระดับพ้ืนท่ีลุมน้ํา ซึ่งประกอบดวยพ้ืนที่จังหวัดตาม
ขอบเขตการแบงลุมน้ําท่ีสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมกําหนด เปนไปดวย
ความเรียบรอย และมีประสิทธิภาพ จึงพิจารณาภาคสวนท่ีมีบทบาท ในการเปนคณะทํางานวางแผนหลัก
เพื่อการจัดทําแผนปฏิบัติการในระดับพ้ืนท่ีลุมนํ้าโขง เน่ืองจากมีความสัมพันธกับสถานภาพของระบบนิเวศ
ลุมนํ้าและเก่ียวของกับการสรางแรงกดดันในการใชทรัพยากรลุมนํ้า จึงแตงตั้งคณะทํางานวางแผนหลักใน
ระดับอําเภอ เพ่ือการจัดทําแผนปฏิบัติการในระดับพื้นที่ลุมน้ําโขง ชี มูล โดยมีองคประกอบ ดังแสดงใน
ตารางที่ 18 ดงั นี้

ตารางท่ี 18 รูปแบบองคการบริหารจดั การในพนื้ ทลี่ มุ นา้ํ

คณะทาํ งานในพ้ืนที่

ลุมนํ้าโขง (ลมุ นํ้ายอยหว ยนาํ้ ก่ํา) ลมุ นํา้ ช(ี ลุมน้าํ ยอ ยลาํ นํ้าเชิญ) ลมุ น้าํ มลู (ลมุ นํ้ายอ ยลําปลายมาศ)

นายอาํ เภอนาแก ประธาน นายอาํ เภอคอนสาร ประธาน นายอําเภอเสงิ สาง ประธาน

กรรมการ กรรมการ กรรมการ

ปลดั อาํ เภอหัวหนากลมุ กรรมการ ปลัดอําเภอหัวหนา กรรมการ ปลดั อําเภอหัวหนากลุม กรรมการ

งานบรหิ ารการปกครอง กลมุ งานบริหาร งานบริหารการปกครอง

การปกครอง

สมาชกิ สภาองคก าร กรรมการ สมาชิกสภาองคก าร กรรมการ สมาชกิ สภาองคการ กรรมการ
บรหิ ารสว นจังหวดั ใน บรหิ ารสว นจงั หวัด กรรมการ
เขตอาํ เภอ กรรมการ บริหารสว นจังหวัด ในเขตอาํ เภอ
กรรมการ
สาธารณสขุ อาํ เภอ ในเขตอําเภอ สาธารณสขุ อาํ เภอเสงิ สาง
นาแก
สาธารณสุขอาํ เภอ กรรมการ
พัฒนาการอําเภอนาแก
คอนสาร

พัฒนาการอําเภอ กรรมการ พฒั นาการอําเภอเสงิ สาง กรรมการ

คอนสาร

เกษตรอําเภอนาแก กรรมการ เกษตรอําเภอคอนสาร กรรมการ เกษตรอาํ เภอเสิงสาง กรรมการ
ประมงอาํ เภอนาแก กรรมการ ประมงอําเภอเสิงสาง กรรมการ
ทอ งถิ่นอําเภอนาแก กรรมการ ประมงอาํ เภอคอนสาร กรรมการ ทองถนิ่ อาํ เภอเสิงสาง กรรมการ
ประธานชมรมกํานัน กรรมการ ประธานชมรมกาํ นัน กรรมการ
ผใู หญบานอําเภอ ทองถ่ินอําเภอคอนสาร กรรมการ ผูใหญบานอาํ เภอ
นาแก เสงิ สาง
ประธานชมรมกาํ นัน กรรมการ

ผใู หญบานอําเภอ

คอนสาร

โครงการเพ่มิ ประสิทธภิ าพการบริหารจดั การชน้ั คุณภาพลมุ นา้ํ 82

รายงานสรปุ สําหรบั ผูบรหิ าร

ตารางท่ี 18 รูปแบบองคการบริหารจัดการในพ้นื ที่ลมุ น้ํา (ตอ )

คณะทํางานในพ้ืนท่ี

ลมุ นํา้ โขง (ลมุ นํา้ ยอยหว ยนา้ํ ก่ํา) ลุมนาํ้ ช(ี ลุมนา้ํ ยอ ยลํานํา้ เชิญ) ลมุ น้ํามลู (ลุมนํ้ายอ ยลาํ ปลายมาศ)

ผูแทนเครอื ขายอาสาสมคั ร กรรมการ ผูแทนเครือขา ย กรรมการ ผูแทนเครอื ขายอาสาสมคั ร กรรมการ

พิทักษท รพั ยากรธรรมชาติ อาสาสมัครพิทกั ษ พิทักษทรพั ยากรธรรมชาติ

และสง่ิ แวดลอมหมบู า น ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ และสิง่ แวดลอมหมบู า น

(ทสม.) ส่ิงแวดลอ มหมูบา น (ทสม.)

(ทสม.)

ผูแทนคณะกรรมการ กรรมการ ผูแทนคณะกรรมการ กรรมการ ผูแทนคณะกรรมการ กรรมการ

ลมุ นาํ้ โขง ลุมนํา้ ชี ลุมนาํ้ มูล

ผูแทนภาคประชาสังคม กรรมการ ผูแ ทนภาคประชา กรรมการ ผแู ทนภาคประชาสังคม กรรมการ

สงั คม

ผูแทนภาคประชาชน กรรมการ ผแู ทนภาคประชาชน กรรมการ ผแู ทนภาคประชาชน กรรมการ

ผูแทนเครือขายอนุรักษ กรรมการ ผูแ ทนเครอื ขาย กรรมการ ผูแ ทนเครือขา ยอนุรกั ษ กรรมการ

ทรพั ยากรธรรมชาติและ อนรุ ักษ ทรพั ยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดลอม ทรพั ยากรธรรมชาติ สิง่ แวดลอ ม

และส่งิ แวดลอม

ผแู ทนจากองคก ร กรรมการ ผูแ ทนจากองคก ร กรรมการ ผูแทนจากองคกรปกครอง กรรมการ

ปกครองสวนทองถน่ิ ใน ปกครองสว นทองถิ่น สวนทอ งถิ่นในระดับ

ระดับอาํ เภอ ในระดบั อาํ เภอ อาํ เภอ

ตวั แทนจากสาํ นกั กรรมการ ตัวแทนจากสาํ นกั กรรมการ ตัวแทนจากสาํ นักบรหิ าร กรรมการ

บรหิ ารพ้ืนทีอ่ นรุ ักษ ใน บรหิ ารพื้นทีอ่ นุรักษ พ้ืนทีอ่ นรุ ักษในพื้นท่ี

พื้นที่ ในพื้นที่

ตัวแทนจากสํานกั กรรมการ ตัวแทนจากสํานัก กรรมการ ตวั แทนจากสาํ นกั จดั การ กรรมการ

จัดการทรัพยากรปา ไม จดั การทรัพยากรปา ไม ทรัพยากรปาไมใ นพ้ืนท่ี

ในพ้ืนท่ี ในพ้ืนที่

ปลดั อาํ เภอผรู ับผดิ ชอบ กรรมการและ ปลดั อําเภอ กรรมการและ ปลัดอําเภอผูรับผดิ ชอบ กรรมการและ

งานสํานักงานอาํ เภอ เลขานุการ ผรู บั ผดิ ชอบงาน เลขานกุ าร งานสาํ นักงานอาํ เภอ เลขานุการ

สาํ นกั งานอําเภอ

ตวั แทนสาํ นกั งาน กรรมการและ ตวั แทนสํานกั งาน กรรมการและ ตวั แทนสาํ นักงาน กรรมการและ

ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ ผชู ว ย ทรพั ยากรธรรมชาติ ผชู ว ย ทรพั ยากรธรรมชาติและ ผูชวยเลขานกุ าร

ส่งิ แวดลอมนครพนม เลขานกุ าร และสง่ิ แวดลอ มชัยภมู ิ เลขานกุ าร สิ่งแวดลอ มนครราชสมี า

ท้ังนี้ท้ัง 3 พื้นที่ ลุมนํ้ายอยหวยน้ํากํ่า ลุมน้ํายอยลําน้ําเชิญ และลุมนํ้ายอยลําปลายมาศ
จะมอี ํานาจหนา ท่ีเชน เดยี วกนั ดงั น้ี

ใหคณะทาํ งาน มอี ํานาจหนาทดี่ งั น้ี
(1) รวบรวมขอมูลและสารสนเทศของหนวยงานและท่ีเก่ียวของเพื่อสนับสนุนกระบวนการจัดทํา
แผนปฏิบัติการเพื่อฟนฟู อนุรักษ และใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพ้ืนที่ ลุมน้ําท่ี
ศกึ ษา

โครงการเพ่ิมประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การชนั้ คณุ ภาพลุม นา้ํ 83

รายงานสรปุ สาํ หรับผูบริหาร

(2) วิเคราะห ประเมินสภาพแวดลอม สถานการณ ประเด็นปญหา ที่สงผลกระทบตอสถานภาพ
ลุมนํา้ ที่ศกึ ษา

(3) มีสวนรวมในกระบวนการยกรางแผนปฏิบัติการเพ่ือฟนฟู อนุรักษ และใชประโยชนจาก
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอมในพ้ืนทีล่ มุ นา้ํ ท่ศี ึกษา และการกําหนดมาตรการ แนวทางในการประสาน
แผนสกู ารปฏิบตั ิในระดับพนื้ ท่ลี ุมนํา้

(4) สนบั สนนุ ชว ยเหลอื ใหค วามรว มมือ และประสานงานภาคสวนตาง ๆ ท่ีเก่ียวของในลุมนํ้า
เพื่อประโยชนในการจัดทําแผนแผนปฏิบัติการเพ่ือฟนฟู อนุรักษ และใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ
และสิง่ แวดลอ มในพ้นื ที่ลุม น้าํ ทศ่ี กึ ษา

4. การจดั ทําแผนงาน โครงการท่มี คี วามจาํ เปนเรง ดวน
การจดั ทาํ แผนงาน โครงการที่มีความจําเปนเรงดวน ควรคํานงึ ถงึ เงื่อนไขตาง ๆ เหลาน้ีควบคูไป

ดว ย โดยใหกาํ หนดแผนงาน โครงการออกเปนกลุม ตา ง ๆ ดังนี้

(1) กลุมแผนงาน โครงการทมี่ ุงเนนการวางระบบพ้ืนฐานในการบรหิ ารจดั การทม่ี ีประสิทธิภาพ เชน
- แผนงาน โครงการดา นขอ มูลและสารสนเทศเพือ่ การวางแผนและตดั สนิ ใจ
- แผนงาน โครงการดานการเตรียมความพรอมองคกรการบรหิ ารจัดการ
- แผนงาน โครงการดานการพัฒนากฎระเบยี บในการดําเนินงาน
- แผนงาน โครงการดา นการสอ่ื สารและประชาสมั พันธ
- แผนงาน โครงการดานการกาํ หนดเขตการใชป ระโยชนที่ดนิ
- แผนงาน โครงการดานการจดั ทําแผนการบริหารจัดการเชิงพ้นื ที่ลุมนํา้ หรอื ภูมนิ ิเวศลุม นาํ้

(2) กลมุ แผนงาน โครงการทม่ี งุ เนนการแกไขปญหาอยางเปนระบบเชือ่ มโยงกบั สถานการณ เชน
- แผนงาน โครงการดา นการพทิ ักษท รัพยากรธรรมชาติ ปาไม สัตวปา
- แผนงาน โครงการดา นฟน ฟูระบบนิเวศตน นํา้ ลาํ ธาร
- แผนงาน โครงการดา นการพฒั นาแหลงนา้ํ เพ่อื การใชประโยชนอยางม่ันคง
- แผนงาน โครงการดานการผลติ การบรกิ ารและการบริโภคทีเ่ ปน มติ รกบั สิ่งแวดลอม
- แผนงาน โครงการดานการสง เสริมอุตสาหกรรมและการประกอบการทใี่ สใจสิง่ แวดลอม
- แผนงาน โครงการดา นพัฒนาเมืองส่งิ แวดลอมยง่ั ยืนและคารบ อนตาํ่
- แผนงาน โครงการดานการเกษตรเปน มิตรกบั ส่งิ แวดลอมและสขุ ภาพ
- แผนงาน โครงการดานการจัดการส่ิงแวดลอ มชุมชน

(3) กลุมแผนงาน โครงการที่มุงเนนการริเร่ิมพัฒนาแนวทางที่มีความเปนไปไดในการบริหาร
จัดการรองรับอนาคต เชน
- แผนงาน โครงการดานการส่อื สารความเสย่ี งและการเตอื นภัยลวงหนา
- แผนงาน โครงการดา นการพฒั นาองคกรในลมุ นํ้าใหมคี วามเขมแข็ง
- แผนงาน โครงการดานจดั ทาํ แผนการบรหิ ารจดั การลุมน้ําเพื่อทองถนิ่ โดยใชพ ้ืนท่เี ปน ฐาน

โครงการเพิ่มประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การช้นั คุณภาพลุมนํา้ 84

รายงานสรปุ สําหรับผูบรหิ าร

- แผนงาน โครงการดา นประเมินส่งิ แวดลอ มระดบั ยุทธศาสตรร องรบั พ้ืนทพี่ ัฒนาอนาคต
- แผนงาน โครงการดา นตดิ ตามการเปลย่ี นแปลงระบบนิเวศระยะยาว
- แผนงาน โครงการดา นการปรบั ตวั รบั มอื การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและภยั ธรรมชาติ
- แผนงาน โครงการดานการบูรณาการการทํางานอยางมสี ว นรวมของทกุ ภาคสวน

14.4 แผนปฏิบัตกิ ารระดับลมุ น้ําโดยใชอําเภอเปนฐาน

1. วสิ ยั ทัศน
วิสัยทัศน (Vision) หมายถึง ส่ิงท่ีตองการใหบรรลุผลหรือความคาดหวังในข้ันปลาย ที่ตอบสนอง

ตอหวงเวลาของการดําเนินงานในระยะ 5 ป ต้ังแตป พ.ศ. 2562-2566 โดยกําหนดเปนชุดของขอความที่มี
ทศิ ทางและเปาหมายเดนชัด สมเหตุสมผล มีความทาทายใหตองดําเนินงานใหสัมฤทธิ์ ผลตามเจตนารมณท่ี
กําหนดไว โดยวิสัยทัศนของแผนปฏิบัติการระดับลุมน้ําโดยอําเภอเปนฐาน สําหรับลุมน้ํายอยหวยนํ้ากํ่า
อําเภอนาแก จังหวัดนครพนม ลุมนํ้ายอยลําปลายมาศ อําเภอเสิงสาง จังหวัดนครราชสีมา ลุมน้ํายอยลํานํ้าเชิญ
อําเภอคอนสาร จงั หวดั ชยั ภูมิ มีขอความดงั น้ี

• วิสยั ทศั น อาํ เภอนาแก จงั หวดั นครพนม

“พฒั นาลมุ น้าํ ใหมคี วามม่นั คง ดาํ รงรกั ษาดิน นํา้ ปา
สรางเครอื ขา ยวิถภี ูมิปญญา เกษตรกรรมกาวหนา นาํ พาคุณภาพชวี ิตยัง่ ยนื ”

• วสิ ยั ทศั น อาํ เภอเสิงสาง จังหวดั นครราชสีมา
“รวมรักษาผืนปา มรดกโลก สงเสริมเกษตรกรรมกาวหนา

ชมุ ชนมสี ว นรวมวางแผนพัฒนา สิ่งแวดลอม ดนิ นํา้ ปา ย่ังยนื ”

• วิสยั ทศั น อาํ เภอคอนสาร จงั หวัดชยั ภมู ิ
“ปกปองคณุ คาปาตนน้ํา ยกระดบั การผลติ เปน มิตรกับสงิ่ แวดลอม
พรอมนําการมีสวนรว ม พฒั นาเศรษฐกจิ และคุณภาพชวี ิตท่มี นั่ คง”

2. เปาหมาย
(1) หยุดยั้งการบุกรุกทําลายผืนปาอนุรักษ และลดภัยคุกคามตอการเปล่ียนแปลงระบบนิเวศ

ธรรมชาติ
(2) เพิ่มพ้ืนที่ปาไมทกุ รปู แบบเพือ่ เปนพืน้ ที่กันชนโดยรอบผนื ปาอนุรกั ษ
(3) พัฒนาแหลงนํ้า บริหารจัดการนํ้า และกระจายการใชประโยชนจากแหลงน้ําเพ่ือความ

มั่นคงในการผลติ ใหกบั เกษตรกรและชมุ ชน
(4) เกดิ รปู แบบการใชประโยชนที่ดินตามเขตศกั ยภาพใหผ ลติ ภาพสงู ขน้ึ
(5) มีระบบการจัดการมลพิษส่ิงแวดลอมจากแหลงกําเนิดมลพิษที่มีประสิทธิภาพ และเปนท่ี

มน่ั ใจของภาคีในลมุ น้ํา

โครงการเพิ่มประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การชัน้ คุณภาพลมุ น้ํา 85

รายงานสรปุ สาํ หรับผูบรหิ าร

(6) รูปแบบการผลิต การบริการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และสงเสริมกิจกรรมเชิงนิเวศที่
ปลดปลอยคารบอนตํ่า เพ่ือลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและสุขภาพ รวมท้ังมีแผนการปรับตัวรองรับความ
เสีย่ งท้งั ในปจจุบนั และอนาคต

(7) เกิดการจัดต้ังหรือการปรับรูปแบบองคกรเครือขายลุมนํ้าท่ีภาคสวนตาง ๆ มีสวนรวม
โดยใชอ ําเภอเปนฐานการทํางาน

3. พนั ธกิจรว ม
(1) บูรณาการความรวมมือของทุกภาคสวนในลมุ นา้ํ เพ่ือคมุ ครอง พทิ ักษ รกั ษา ฟน ฟแู ละใช
ประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติ ปา ไม สัตวปา เพอ่ื คงความหลากหลายทางชีวภาพของผืนปา

อนรุ ักษอ ยา งสมดุล
(2) อนรุ กั ษ ฟน ฟรู ะบบนเิ วศแหลงนา้ํ รวมทั้งการพัฒนาแหลงนํ้าตามศักยภาพ เพื่อการจัดสรร

และสงเสรมิ ใชประโยชนแ บบอเนกวัตถปุ ระสงค
(3) สง เสรมิ สนบั สนุน วางระบบ เชื่อมโยงรูปแบบการใชประโยชนท่ีดินของเกษตรกร เพ่ือการ

ผลติ ที่มีประสิทธิผล สอดคลองกบั เขตศักยภาพของพ้ืนท่แี ละการสรางโอกาสในการพฒั นาเศรษฐกิจและคุณถ
ภาพชีวิตทด่ี ี

(4) มุงปองกันและขจัดมลพิษส่ิงแวดลอมจากแหลงกําเนิดเพ่ือคุณภาพชีวิตและส่ิงแวดลอมที่ดี
ปลอดภยั ทงั้ จากแหลง กําเนิดชุมชนและจากการประกอบ

(5) สง เสริม สนบั สนนุ ประสานความรวมมอื ใหเกดิ กลุมผูผลติ ผบู รกิ าร และผบู ริโภคที่เปนมิตร
กับส่ิงแวดลอม รวมทั้งการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนบนฐานทรัพยากรชีวภาพ เพื่อกาวสูเศรษฐกิจแบบพ่ึงพา
ตนเองได

(6) วางระบบ มาตรการในการลดผลกระทบและความเส่ียง จากการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศและภัยธรรมชาติอยางรูเทาทัน พรอมท้ังวางแผนการปรับตัวอยางเหมาะสมกับสถานการณ และ
ทิศทางแนวโนมความเสี่ยงในอนาคต

(7) ประสานและผลักดันแผนปฏิบัติการระดับพื้นที่ลุมน้ํา โดยใชอําเภอเปนฐานในการ
ดําเนินงานและงบประมาณเพ่ือใหแผนงาน โครงการ และกิจกรรมไดรับการสนับสนุนและนําไปปฏิบัติใน
ระดบั พื้นทีเ่ ปาหมายอยา งมปี ระสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ล

4. ตวั ชี้วัดระดบั แผนปฏบิ ัตกิ าร ดังแสดงในตารางท่ี 19

5. แผนงาน และโครงการรองรบั แผนปฏบิ ัติการระดบั ลุม นาํ้
สําหรับกําหนดแผนงาน โครงการรองรับแผนปฏิบัติการระดับลุมน้ํา จําแนกออกเปนกลุมของ

แผนงานทั้งส้ิน 7 แผนงานหลัก โดยแตละแผนงานประกอบดวย โครงการตาง ๆ ที่มีลักษณะสัมพันธและ
เชื่อมโยงกันในระบบลุมนํ้า อําเภอนาแก อําเภอเสิงสาง และอําเภอคอนสาร รายละเอียด ดังแสดงใน
ตารางท่ี 20 ตามลาํ ดับ

โครงการเพิม่ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การชนั้ คุณภาพลุม นาํ้ 86

ลุมนํ้ายอยหว ยนํา้ กํ่า อําเภอนาแก จังหวัดนครพนม ตารางที่ 19 ต
(1) พื้นทีป่ า และทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งความหลากหลายทางชีวภาพ
ในผืนปาอนุรักษ ไดรับการปกปองดูแลจํานวน 123,668.75 ไร หรือรอย ลมุ น้าํ ยอยลาํ ปลายมาศ อ
ละ 30.18 ของพื้นที่จังหวัดท้ังหมด และการเพ่ิมประสิทธิภาพของ (1) พนื้ ท่ีปาและทรพั ยากรธรรมช
มาตรการในการอนุรักษ ฟนฟู และพัฒนาผืนปานอกเขตปาอนุรักษใน ในผืนปามรดกโลกทางธรรมชาติ
รปู แบบตา ง ๆ ไมนอยกวา 19,343.75 ไร ปกปองดูแล จํานวน 327,881
(2) แหลงนํ้าธรรมชาติในลุมน้ํา ไดรับการบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพ มาตรการในการอนุรักษ ฟนฟู
บนพ้ืนฐานการจัดการแบบอเนกประสงคและชุมชนสามารถเขาถึงการใช รปู แบบตา ง ๆ ไมนอ ยกวา 12,46
ประโยชน (2) แหลง นํา้ ธรรมชาติในลมุ น้าํ ไม
(3) การอนุรักษ ฟนฟู และพัฒนาแหลงเก็บกักน้ําขนาดเล็กในลุมน้ํา เชน ลํามาศ ลําน้ําเพียก และลําม
ลําหวยตา ง ๆ เพื่อรกั ษาสมดุลระบบนเิ วศ และการกระจายแหลงนํ้าขนาด ประสทิ ธิภาพบนพ้นื ฐานการจัดก
เลก็ ในพื้นท่เี กษตรกรรมเพ่มิ ข้นึ (3) การอนุรักษ ฟนฟู และพัฒน
(4)การตดิ ต้ังและวางระบบโครงขาย การแจงเตือนภัยธรรมชาติจากภาวะ รักษาสมดุลระบบนิเวศ และก
อทุ กภยั เพือ่ ลดความเส่ียงจากชีวิตและทรัพยสิน รวมทั้งพ้ืนที่เกษตรกรรม เกษตรกรรมเพิ่มข้ึน คิดเปนพนื้ ท
ที่มีประสิทธิภาพและเปนที่ยอมรับในระดับลุมนํ้า จํานวนไมนอยกวา 3 (4) มีการติดต้ังและวางระบบโค
โครงขาย ครอบคลุมพื้นที่ลุมนํ้าตอนบน ลุมนํ้าตอนกลาง และลุมนํ้า ภาวะอุทกภัย เพื่อลดความเส
ตอนลาง เกษตรกรรมท่ีมีประสิทธิภาพแล
(5) เกษตรกรและเครือขายเกษตรกรมีการปรับเปล่ียนหรือปรับปรุง นอ ยกวา 3 โครงขา ย ครอบคลุมพ
รูปแบบวิธีการ ในการใชประโยชนท่ีดินที่มีประสิทธิภาพและใหผลิตภาพ ลุมน้าํ ตอนลาง
สงู ขึน้ เพ่ือตอบสนองตอการเขา สกู ารเกษตรกาวหนา (Smart Farmer) ไม
นอยกวา 40,000 ไร ในระยะเวลา 5 ป (จากพ้ืนที่เกษตรกรรมท้ังหมดใน (5) เกษตรกรและเครือขายเก
อาํ เภอ 219,206.25 ไร) รูปแบบวิธีการ ในการใชประโยช
(6) ชุมชนเมืองหรือองคกรปกครองสวนทองถ่ิน จํานวน 12 แหง มีระบบ สงู ขนึ้ เพ่อื ตอบสนองตอ การเขาส
การจัดการขยะมูลฝอยตามหลักสุขาภิบาล รวมท้ังเกิดการยกระดับสูการ นอยกวา 25,000 ไร ในระยะเวล
เปน ตน แบบ (Good Practice) ไมนอยกวา 4 แหง (6) ชุมชนเมืองหรือองคกรปกค
(7) จํานวนของเครอื ขา ย กลุม เกษตรกร กลุมผผู ลิต กลุมผบู รกิ าร วิสาหกิจ การจัดการขยะมูลฝอยตามหลัก
ชุมชน ตลาดชุมชน รานคาชุมชน หรือกลุมทองเที่ยวเชิงนิเวศท่ีมีการ เปน ตนแบบ (Good Practice) ไ
แหง ของสถานประกอบการที่เป
พัฒนาระบบการปองกัน ควบ

โครงการเพิม่ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การช้นั คณุ ภาพลุมนํ้า

รายงานสรปุ สําหรับผูบริหาร

ตัวชี้วดั ระดบั ของแผนปฏบิ ัตกิ ารระดับลุมนํ้า

อาํ เภอเสงิ สาง จงั หวดั นครราชสมี า ลุมนาํ้ ยอยลาํ น้ําเชญิ อําเภอคอนสาร จังหวัดชยั ภมู ิ

ชาติ ร วมทง้ั ความหลากหลายทางชีวภาพ (1) พ้ืนท่ปี าและทรพั ยากรธรรมชาติ รวมทั้งความหลากหลายทางชีวภาพ

ของเขตอทุ ยานแหง ชาติทับลานไดรบั การ ในผืนปาอนุรักษ ไดรับการปกปองดูแลจํานวน 506,912.50 ไร และการ

1.25 ไร และการเพิ่มประสิทธิภาพของ เพม่ิ ประสิทธิภาพของมาตรการในการอนรุ กั ษ ฟนฟู และพัฒนาผนื ปานอก
และพัฒนาผืนปานอกเขตปาอนุรักษใน เขตปาอนุรักษในรูปแบบตาง ๆ ไมนอยกวา 87,650 ไร รวมพื้นท่ีไมนอย

62.50 ไร กวารอ ยละ 72 ของพน้ื ทท่ี ้ังหมด

มนอ ยกวา 3 ลาํ นํา้ สายหลัก ประกอบดวย (2) แหลง นา้ํ ธรรมชาติในลุม น้าํ โดยเฉพาะเข่อื นจุฬาภรณ ไดรับการบริหาร

มาศเหนือ ไดรับการบริหารจัดการที่มี จัดการที่มีประสิทธิภาพบนพ้ืนฐานการจัดการแบบอเนกประสงคและ

การแบบอเนกประสงค ชุมชนสามารถเขา ถึงการใชประโยชน

นาแหลงเก็บกักนํ้าขนาดเล็กในลุมน้ําเพ่ือ (3) การอนุรักษ ฟนฟู และพัฒนาแหลงเก็บกักนํ้าขนาดเล็กในลุมนํ้า เชน

การกระจายแหลงนํ้าขนาดเล็กในพื้นที่ ลาํ หว ยตา ง ๆ เพอ่ื รกั ษาสมดุลระบบนเิ วศ และการกระจายแหลงน้ําขนาด

ที่ไมน อ ยกวา 3,043.75 ไร เลก็ ในพนื้ ท่ีเกษตรกรรมเพ่มิ ขึ้น

ครงขาย การแจงเตือนภัยธรรมชาติจาก (4) มีการติดตั้งและวางระบบโครงขาย การแจงเตือนภัยธรรมชาติจาก

สี่ยงจากชีวิตและทรัพยสิน รวมทั้งพ้ืนที่ ภาวะอุทกภัย เพื่อลดความเส่ียงจากชีวิตและทรัพยสิน รวมทั้งพ้ืนท่ี
ละเปนท่ียอมรับในระดับลุมนํ้า จํานวนไม เกษตรกรรมท่ีมีประสิทธิภาพและเปนท่ียอมรับในระดับลุมน้ํา จํานวนไม

พน้ื ท่ลี ุมนํ้าตอนบน ลุมนํ้าตอนกลาง และ นอยกวา 3 โครงขา ย ครอบคลมุ พ้นื ทีล่ ุมนํา้ ตอนบน ลุมน้ําตอนกลาง และ

ลมุ นาํ้ ตอนลาง

(5) เกษตรกรและเครือขายเกษตรกรมีการปรับเปลี่ยนหรือปรับปรุง

กษตรกรมีการปรับเปลี่ยนหรือปรับปรุง รูปแบบวิธีการ ในการใชประโยชนท่ีดินท่ีมีประสิทธิภาพและใหผลิตภาพ
ชนที่ดินท่ีมีประสิทธิภาพและใหผลิตภาพ สงู ขึ้น เพอ่ื ตอบสนองตอ การเขาสกู ารเกษตรกา วหนา (Smart Farmer) ไม

สกู ารเกษตรกาวหนา (Smart Farmer) ไม นอยกวา 3,000 ไรในระยะเวลา 5 ป (จากพื้นท่ีเกษตรกรรมท้ังหมดใน

ลา 5 ป อาํ เภอ 12,437.50 ไร)

ครองสวนทองถิ่น จํานวน 6 แหง มีระบบ (6) ชุมชนเมืองหรือองคกรปกครองสวนทองถิ่น จํานวน 8 แหง มีระบบ

กสุขาภิบาล รวมท้ังเกิดการยกระดับสูการ การจัดการขยะมูลฝอยตามหลักสุขาภิบาล รวมทั้งเกิดการยกระดับสูการ

ไมน อยกวา เปนตน แบบ (Good Practice) ไมน อยกวา 2 แหง

ปนแหลงกําเนิดมลพิษท่ีมีการติดตั้งและ (7) จํานวนของเครือขา ย กลุมเกษตรกร กลมุ ผูผ ลิต กลุมผูบริการ วสิ าหกิจ

บคุมของเสียและมลพิษตาง ๆ อยางมี ชมุ ชน ตลาดชมุ ชน รา คาชมุ ชน หรือกลมุ ทอ งเที่ยวเชิงนิเวศท่ีมีการดําเนิน

87

ลมุ นา้ํ ยอยหว ยนาํ้ กาํ่ อําเภอนาแก จังหวัดนครพนม ลมุ นา้ํ ยอ ยลาํ ปลายมาศ อ
ดําเนินกิจกรรมการผลิต การบริการ และการบริโภคที่เปนมิตรกับ ประสิทธิผล ชวยลดขอพิพาท
ส่งิ แวดลอมและสงั คมคารบอนตาํ่ เพิ่มข้นึ ไมนอยกวา 15 กลมุ เครอื ขา ย ประยุกตใชเทคโนโลยี ที่เหมาะ
(8) แผนการปรับตัวของชุมชนหรือภาคสวน ที่มีความลอแหลมเปราะบาง คณุ ภาพชวี ติ ท่ดี ีของประชาชนใน
ตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติ รวมท้ังมาตรการ (7) จาํ นวนของเครือขา ย กลมุ เกษ
เพมิ่ ขีดความสามารถในการปรับตัวรองรับอนาคต มุงเนนชุมชนในพื้นที่ที่ ชุมชน ตลาดชุมชน รานคาชุมช
เผชญิ ตอความเสย่ี งสูง จาํ นวนไมนอ ยกวา 30 ชมุ ชน ดําเนินกิจกรรมการผลิต การ
(9) เกิดกลไกการจัดตั้งคณะทํางาน ในลุมนํ้าระดับอําเภอที่เกิดจากภาคี ส่งิ แวดลอ มและสงั คมคารบอนตาํ่
หุนสวนในลุมน้ํา และมีการจัดทําแผนปฏิบัติการในระยะ 5 ป เปนกรอบ (8) แผนการปรับตวั ของชุมชนหร
ในการดําเนินงานในลักษณะของแผนการจัดการรวม (Collaborative ตอการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอา
Management Plan) เพ่มิ ขีดความสามารถในการปรับ
เผชญิ ตอความเสยี่ งสงู จํานวนไม
(9) เกิดกลไกการจัดต้ังคณะทําง
หุนสวนในลุมนํ้า และมีการจัดท
ในการดําเนินงานในลักษณะขอ
Management Plan)

โครงการเพิม่ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การชน้ั คณุ ภาพลุม นํ้า

รายงานสรุปสาํ หรับผูบริหาร

อําเภอเสิงสาง จงั หวัดนครราชสีมา ลุม นํ้ายอยลาํ นาํ้ เชญิ อําเภอคอนสาร จังหวัดชยั ภมู ิ
ทระหวางชุมชนกับผูประกอบการ โดย กจิ กรรมการผลติ การบรกิ าร และการบรโิ ภคท่ีเปนมิตรกับส่งิ แวดลอมและ
ะสม เพื่อรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมและ สังคมคารบ อนตํา่ เพ่ิมข้ึนไมน อ ยกวา 10 กลมุ เครอื ขาย
นลุมนํา้ (8) แผนการปรบั ตัวของชุมชนหรือภาคสวน ที่มีความลอแหลมเปราะบาง
ษตรกร กลมุ ผูผลิต กลมุ ผูบริการ วิสาหกิจ ตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติ รวมทั้งมาตรการ
ชน หรือกลุมทองเที่ยวเชิงนิเวศที่มีการ เพิม่ ขีดความสามารถในการปรับตัวรองรับอนาคต มุงเนนชุมชนในพื้นที่ท่ี
รบริการ และการบริโภคท่ีเปนมิตรกับ เผชญิ ตอความเส่ยี งสงู จาํ นวนไมน อ ยกวา 30 ชมุ ชน
าเพิม่ ขึ้นไมน อ ยกวา 25 กลุมเครอื ขาย (9) เกิดกลไกการจัดตั้งคณะทํางาน ในลุมนํ้าระดับอําเภอท่ีเกิดจากภาคี
รือภาคสวน ที่มีความลอแหลมเปราะบาง หุนสวนในลุมนํ้า และมีการจัดทําแผนปฏิบัติการในระยะ 5 ป เปนกรอบ
ากาศและภัยธรรมชาติ รวมทั้งมาตรการ ในการดําเนินงานในลักษณะของแผนการจัดการรวม (Collaborative
บตัวรองรับอนาคต มุงเนนชุมชนในพื้นที่ที่ Management Plan)
มนอยกวา 25 ชุมชน
งาน ในลุมน้ําระดับอําเภอที่เกิดจากภาคี
ทําแผนปฏิบัติการในระยะ 5 ป เปนกรอบ
องแผนการจัดการรวม (Collaborative

88

ตารางท่ี 20 แผนงาน และโครงกา

แผนงานหลกั ท่ี 1: คุม ครอง ปอ งกัน รกั ษาทรพั ยากรธรรมชาติ ปา ไม สตั วป า และความหลากหลายทางชีวภาพข
เปา ประสงคหลกั : เพื่อดาํ เนนิ มาตรการอยา งมีประสทิ ธิภาพในการคุมครอง ปองกนั รักษาไวซ ึ่งทรพั ยากรธรรมชาติ ป
นิเวศโดยรอบผืนปาใหค งความอดุ มสมบรู ณ ลดภัยคุกคามและระงับการบกุ รกุ ทาํ ลายทุกรปู แบบ โดยการมสี ว นรว มแล

คนื ธรรมชาตใิ หแผนดิน

ระดบั ความสําคญั ของแผนงานหลัก: เปนแผนงานหลกั ทมี่ รี ะดับความสําคญั สงู เนื่องจากการรักษาฐานทรพั ยากรธ
ปา ธรรมชาติ ในพนื้ ทอี่ ําเภอนาแกและอาํ เภอคอนสาร มีพื้นทีป่ า ตน นํ้ามาก ดังน้นั การคมุ ครองรักษาผืนปาและการเ
ยังมีพ้ืนท่ปี ากนั ชน (Forest Buffer Zones) โดยรอบทช่ี ุมชนสามารถใชประโยชนต ามหลักการอนรุ ักษว ธิ ไี ดดวย เชน ก

สวนที่ 1) มีพนื้ ทีอ่ ุทยานแหง ชาติทับลานมากถึงรอ ยละ 55.44 ของพนื้ ท่อี าํ เภอ ดงั นนั้ การคมุ ครองรักษาผนื ปา และก

แผนงาน วตั ถปุ ระสงคหลกั ผล

แผนงานยอ ยที่ 1.1 พิทกั ษ เพ่ือสรางรูปแบบและกระบวนการที่มีประสิทธิภาพในการเฝาระวัง พ้ืนท่ีปาม
คุณคาและรกั ษาปาอนรุ ักษ ดูแลการลักลอบทําลายทรพั ยากรปาไม สัตวปาและพันธุพืช รวมท้ัง ท่ีไดรับการ
โดยการมีสว นรว มของชมุ ชน ความหลากหลายทางชีวภาพในเขตผืนปาอนุรักษโดยการมีสวนรวม โดยเครือข
ของรฐั และชุมชนทองถ่ินโดยประยุกตใชกลไกความรวมมือแบบพหุ พน้ื ที่
ภาคีและกลไกทางสังคมในระดับพื้นท่ี ควบคูกับมาตรการใชทาง
กฎหมายท่ีเขมงวด

แผนงานยอยท่ี 1.2 เสรมิ สรา ง เพื่อวางระบบและเสริมความสามารถในการเฝาระวังและปองกัน ระบบการ
สมรรถนะระบบเฝา ระวงั และ รักษาผืนปาและพ้ืนท่ีโดยรอบโดยใชการตรวจลาดตระเวนเชิง คุณภาพท
ปองกนั รกั ษาผืนปา อนุรักษ คุณภาพเพื่อประโยชนในการตัดสินใจของหนวยพิทักษอุทยาน ป อ ง กั น ร
ดว ยการตรวจ ลาดตระเวน แหงชาติและหนวยปองกันรักษาปา โดยเฉพาะการลักลอบตัดไมมี ฐ า น ข อ มู
เชิงคุณภาพ (Smart Patrol) คาทส่ี าํ คัญสูงของพ้ืนท่ี เสี่ยงตอกา
ออนไหวทา

โครงการเพมิ่ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การชัน้ คุณภาพลุมนํ้า

รายงานสรปุ สําหรับผูบริหาร

ารรองรับแผนปฏบิ ตั ิการระดับลุมน้ํา

ของปาอนรุ กั ษและพื้นทเ่ี ชอ่ื มตอ ทางนเิ วศอยางสมดุล
ปาไม สัตวป า และความหลากหลายทางชีวภาพในผืนปาอนรุ ักษ ในสว นของอุทยานแหงชาติภูผายล และพน้ื ที่รอยตอทาง

ละการบูรณาการความรว มมือกบั ทกุ ภาคสว นในพืน้ ทเี่ ปา หมาย รวมท้ังมุงความพยายามในการเพ่ิมพื้นที่สีเขียว ปาไมเพื่อ

ธรรมชาติ ผืนปา และความหลากกหลายทางชวี ภาพเปนสวนหนึ่งของมาตรการท่เี ขมงวดในการคุม ครองและพทิ กั ษร กั ษาผืน

เพ่มิ พื้นท่ีปา ทั้งในเขตพืน้ ที่อนรุ ักษและนอกเขตพน้ื ทอี่ นุรกั ษจะมีสวนชว ยคนื ธรรมชาติใหมีความอุดมสมบูรณมากขึ้น และ

การจัดการปาชุมชน การพัฒนาพ้นื ทีเ่ กษตรกรรมแบบผสมผสานเชงิ ภมู ิทัศน อีกท้งั ในพน้ื ทอ่ี ําเภอเสงิ สาง (ลมุ นาํ้ ลําปลายมาศ

การเพม่ิ พ้นื ท่ปี า ทง้ั ในเขตพื้นทอ่ี นรุ ักษแ ละนอกเขตพ้นื ทีอ่ นรุ ักษจะมสี วนชวยคนื ธรรมชาติใหม ี ความอดุ มสมบูรณม ากขึ้น

ลผลิตและตัวช้ีวัด พนื้ ท่เี ปาหมาย ปงบประมา หนว ยงานรบั ผดิ ชอบ
ณดาํ เนนิ งาน

รดกโลกทางธรรมชาติ อาํ เภอนาแก และอําเภอคอนสาร ผืนปาอนุรักษ 2562-2566 อําเภอ/อปท./ทสจ./

รพิทักษ รักษา คุมครอง ในสวนของพ้ืนท่ีอุทยานแหงชาติเขตรักษาพันธุ อส./ปม.

ขายความรวมมือในระดับ สัตวปา และพ้ืนท่ีรอยตอทางนิเวศ รวมถึงพ้ืนท่ี

ปา ไมน อกเขตพน้ื ที่อนุรักษ

อําเภอเสิงสาง ผืนปามรดกโลกทางธรรมชาติดง

พญาเย็น-เขาใหญ ในสวนของพื้นท่ีอุทยาน

แหงชาติทับลาน และพื้นที่รอยตอทางนิเวศ

รวมถึงพน้ื ที่ปา ไมน อกเขตพ้ืนทอี่ นุรกั ษ

รตรวจลาดตระเวนเชิง อําเภอนาแก และอําเภอคอนสาร ผืนปาอนุรักษ 2562-2566 อําเภอ/อปท./ทสจ./

ท่ีมีประสิทธิภาพในการ ในสวนของพื้นท่ีอุทยานแหงชาติ และพื้นที่ อส./ปม.

รั ก ษ า ป า แ ล ะ มี ร ะ บ บ รอยตอ ทางนเิ วศ รวมถึงพื้นท่ีปาไมนอกเขตพ้ืนท่ี

ลในการติดตามพื้นที่ อนรุ ักษ

ารบุกรุกทําลายหรือพื้นท่ี อําเภอเสิงสาง ผืนปามรดกโลกทางธรรมชาติดง

างนิเวศ พญาเย็น-เขาใหญ ในสวนของพ้ืนท่ีอุทยาน

แหงชาติทับลาน และพื้นท่ีรอยตอทางนิเวศ

รวมถึงพื้นทปี่ าไมน อกเขตพื้นทีอ่ นรุ กั ษ

89

ตารางท่ี 20 แผนงาน และโครงการรอ

แผนงาน วตั ถุประสงคหลกั ผล

แผนงานยอยที่ 1.3 อนุรักษ เพอ่ื ดาํ เนินมาตรการแบบผสมผสานในการอนรุ กั ษดนิ และน้าํ ในพื้นท่ี จํานวนมา
ฟนฟูระบบนิเวศตนนํ้าลําธาร ตน น้ํา ลาํ ธารโดยการประยุกตใ ชศ าสตรพ ระราชาในการดําเนินงาน ดาํ เนนิ การ
ตามแนวทางศาสตรพระราชา เชิงพื้นท่ี ควบคูก บั การสรา งการมสี ว นรวมของภาคใี นทองถิ่น โดยให ฝายชะลอ
และชุมชนมีสว นรวม ความสาํ คัญกบั กจิ กรรมการสรางปาเปยก การทําฝายชะลอความชุม แฝก หรือ
ชื้น การปลกู แฝกในพื้นที่เสี่ย การชะลงั พงั ทลายของดิน โดยชมุ ชนม

แผนงานยอยที่ 1.4 พัฒนา เพ่ือพัฒนาสภาพแวดลอมทางธรรมชาติที่ผสมผสานกับการใช จํานวนชุมช
พื้นท่ีแนวกันชนโดยรอบผืน ประโยชนท ด่ี ินของชุมชนโดยรอบพ้ืนท่ีปาอนุรักษและพ้ืนท่ีปาไมอื่น การดําเนิน
ปาอนรุ กั ษแบบผสมผสาน ๆ เพื่อเปนพ้ืนท่ีเช่ือมตอทางนิเวศในการลดแรงกดดันตอการ หรือพืน้ ทที่
เปล่ียนแปลงสถานภาพของระบบนิเวศธรรมชาติโดยใชการพัฒนา แนวกันชน
แผนงานยอยท่ี 1.5 สํารวจ พ้ืนที่ปากันชนเชิงภูมิทัศน พรอมทั้งบูรณาการแนวทางการพัฒนา สงเสริ มก
แ ล ะ จั ด ทํ า แ น ว เ ข ต ก า ร ใ ช พื้นทกี่ ันชนท่ีหลากหลาย ผสมผสา
ประโยชนท่ีดินโดยรอบผืนปา เศรษฐกิจเพ
อ นุ รั ก ษ โ ด ย ก า ร มี ส ว น ร ว ม เปนกระบวนการในการผสมผสานความรวมมอื ของภาคใี นลมุ นํ้าเพ่ือ
แบบพหภุ าคีและลดขอพิพาท สํารวจและจัดทําแนวเขตพ้ืนที่ปาธรรมชาติและพ้ืนที่ใชประโยชน แผนท่แี สดง
ระหวา งชมุ ชนกับรฐั ของชุมชน พรอมท้ังหมายแนวเขตอยางมีสวนรวม ดวยการ ที่ดินระหวา
ประยุกตใ ชฐานขอมลู และเทคโนโลยีภูมสิ ารสนเทศ ท่ีดินท่ีสาม
ประโยชนไ ด

โครงการเพิ่มประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การชนั้ คณุ ภาพลุม น้าํ

รายงานสรุปสาํ หรบั ผูบริหาร

องรบั แผนปฏิบตั ิการระดบั ลมุ นํา้ (ตอ-1)

ลผลติ และตวั ช้ีวดั พน้ื ทีเ่ ปา หมาย ปง บประมาณ หนว ยงานรับผดิ ชอบ
ดําเนินงาน อําเภอ/อปท./ทสจ./
า ต ร ก า ร แ ล ะ กิ จ ก ร ร ม ท่ี อําเภอนาแก และอําเภอคอนสาร พื้นที่ปาตน 2562-2566 อส./ปม.
รในพ้ืนที่ตนน้ําลําธาร เชน นาํ้ ลาํ ธารท้งั ในเขตผืนปาอนุรักษและปานอกเขต
อความชุมชื้น พื้นที่ปลูก พน้ื ท่ีอนุรกั ษอ่ืน ๆ 2562-2566 อําเภอ/อปท./ทสจ./
การฟนฟูภมิทัศนตนนํ้า อําเภอเสิงสาง พนื้ ท่ีปา ตนน้ําลําธารทั้งในเขตผืน อส./ปม.
มีสว นรวม ปามรดกโลกทางธรรมชาติและปานอกเขตพื้นท่ี 2562-2566
อนุรกั ษอ ่นื ๆ อําเภอ/อปท./ทสจ./
ชนในพ้ืนท่ีแนวกันชนที่มี ชมุ ชนในพน้ื ที่ อาํ เภอนาแกทั้ง 12 ตาํ บล อส./ปม.
นงานพัฒนาแบบผสมผสาน ชมุ ชนในพืน้ ท่ี อาํ เภอเสิงสางท้งั 6 ตําบล
ทีไ่ ดรบั การพัฒนาเปน พ้ืนที่ ชมุ ชนในพน้ื ท่ี อําเภอคอนสารทง้ั 8 ตําบล
นและมีมาตรการในการ
ก า รใชป ระ โ ยช นแ บ บ ชุมชนในพื้นที่ อําเภอนาแกทั้ง 12 ตําบล หรือ
น และมีพ้ืนที่ป ลูก ไม พ้ืนท่ีในระยะประชิดกับเขตอุทยานแหงชาติที่มี
พมิ่ ขน้ึ ความพรอ มในการปฏบิ ัติการอยา งมสี วนรว ม
งแนวเขตการใชป ระโยชน ชุมชนในพื้นท่ี อําเภอเสิงสางทั้ง 6 ตําบล หรือ
างท่ีดินเขตปาของรัฐและ พ้นื ที่ในระยะประชดิ กบั เขตอุทยานแหงชาติทับลาน
มารถครอบครองและใช ทีม่ ีความพรอ มในการปฏิบตั ิการอยา งมสี วนรว ม
ได ชมุ ชนในพ้ืนที่ อําเภอคอนสารทั้ง 8 ตําบล หรือ
พื้นทใ่ี นระยะประชิดกบั เขตอุทยานแหงชาติ/เขต
รักษาพนั ธสุ ัตวปา ท่มี คี วามพรอมในการปฏิบัติการ
อยางมีสว นรวม

90

ตารางท่ี 20 แผนงาน และโครงการรอ

แผนงาน วตั ถปุ ระสงคหลัก ผลผ

แผนงานยอยที่ 1.6 สงเสริม เนนการเสริมสรางความรูความเขาใจใหกับชุมชนและเครือขาย จํา นว นปา
และพัฒนาปาชุมชนเพื่อลด ชุมชนโดยรอบปา อนุรักษแ ละปา นอกเขตอนุรักษอื่น ๆ เพ่ือเตรียม ทะเบียนกับ
การพง่ึ พงิ ปาใหญ ความพรอ มในการพัฒนาปา ชุมชน และกําหนดแผนการจัดการปา ปา ชมุ ชนทมี่ กี
ชุมชนที่เอ้ือตอการใชประโยชนจากปาชุมชนตามหลักการอนุรักษ อยางมีสวนร
แผนงานยอยที่ 1.7 เพ่ิมพื้นที่ วธิ แี ละมคี ณะกรรมการบริหารจัดการปาชมุ ชนท่เี กดิ จากการมีสวน
ปาไมและพ้ืนที่สีเขียวในพื้นที่ รวมของชุมชนทอ งถ่นิ เปน การเพ่มิ พ
สาธารณะและในเขตชมุ ชนลุม มุงเนน การรณรงค สงเสรมิ ประสานความรวมมอื ของภาคีในลุมนํ้า ทั้งปาตนน้ํา
นํ้า องคกรปกครองสวนทองถ่ิน ภาครัฐในการปลูกไมยืนตนที่ สามอยา งปร
สอดคลอ งกบั ภูมนิ ิเวศในลุมนา้ํ หรือทอ งถ่ิน รวมทั้งการเตรียมพ้ืนที่ พ้ื น ท่ี ส า ธ า
แผนงานยอยที่ 1.8 จัดทํา ปาทีเ่ สือ่ มโทรมหรอื ไดร ับการรบกวนเพื่อปลูกปาทดแทนและฟนฟู ครอบครัว รว
แนวปองกันไฟปาและพัฒนา ระบบนิเวศโดยใชแนวทางธรรมชาตชิ วยธรรมชาติ ระบบนิเวศใน
เครือขายหมูบานปอ งกันไฟปา แนวปองกัน
โดยฐานชมุ ชน เปนการจัดทําแนวปองกันไฟโดยรอบผืนปาและพ้ืนที่เส่ียงตอการ โลกทางธรรม
เกิดไฟปา พรอมทั้งพัฒนาความรวมมือของชุมชนในการเชื่อมโยง
เปน หมูบานเฝา ระวงั และปองกันไฟปา

แผนงานยอยท่ี 1.9 สํารวจ เปน การดาํ เนนิ งานเพื่อสํารวจ ตดิ ตามสถานภาพของระบบนเิ วศใน ข อ มู ล แ ล ะ ร
ติดตาม กา รเป ลี่ย นแ ปลง ระยะยาว โดยใชการกําหนดพื้นที่/แปลงสํารวจแบบถาวรหรือ ติดตามการ
สถานภาพของระบบนิเวศใน ครอบคุลมพ้ืนที่ที่เชื่อมโยงกับการใชประโยชนของชุมชนเพ่ือเปน ชวี ภาพและร
พื้นท่ี รอยตอทางนิเวศโดย การตรวจประเมินศักยภาพและความอุดมสมบูรณของปาไม สัตว ทางนิเวศโดย
ประยกุ ตใชฐาน ความรูและภูมิ ปาและพันธุพืชท่สี ําคัญ บงชี้สถานภา
ปญ ญาชุมชน พืชและสตั วท

โครงการเพิม่ ประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การชนั้ คณุ ภาพลมุ นา้ํ

รายงานสรปุ สาํ หรบั ผูบริหาร

องรบั แผนปฏิบัตกิ ารระดบั ลมุ น้าํ (ตอ-2)

ผลิตและตัวชี้วดั พืน้ ที่เปา หมาย ปง บประมา หนวยงานรับผิดชอบ
ณดาํ เนินงาน อําเภอ/อปท./ทสจ./
า ชุมช นท่ีไดรีบก า รขึ้ น ชุมชนในพนื้ ที่ อําเภอนาแก 2562-2566 อส./ปม.
บกรมปาไม หรือเครือขาย ทั้ง 12 ตําบล
การรวมกลมุ กันจดั การปา ชมุ ชนในพ้ืนท่ี อาํ เภอเสิงสาง 2562-2566 อําเภอ/อปท./ทสจ./
รว ม ทัง้ 6 ตาํ บล อส./ปม.
ชุมชนในพ้ืนท่ี อําเภอคอนสาร 2562-2566
พน้ื ทส่ี เี ขียว ในทุกรูปแบบ ทั้ง 8 ตาํ บล อําเภอ/อปท./ทสจ./
า ปาใชสอย การปลูกไม อําเภอนาแก อําเภอเสิงสาง และอําเภอคอนสาร 2562-2566 อส./ปม.
ระโยชนสี่อยาง ไมยืนตาม พน้ื ท่ีปา ไมไดรับการปลูกปาฟนฟูและเพ่ิมพ้ืนท่ีสี
รณะ ปาอภัยทาน ปา เขยี วในพ้ืนทีส่ าธารณะทว่ั ท้ังลุมนาํ้ ระดับอําเภอ อําเภอ/อปท./ทสจ./
วมถงึ ปาท่ีมีการปลูกฟนฟู อส./ปม.
นเขตพืน้ ทีป่ า ไมของรฐั ชมุ ชนในพ้นื ท่ี อําเภอนาแกทั้ง 12 ตําบล ชุมชน
นไฟปาตลอดผืนปามรดก ในพื้นที่ อําเภอคอนสารท้ัง 8 ตําบล และพ้ืนท่ี
มชาติและเสี่ยงเกิดไฟปา ปา อนรุ กั ษ และปา ไมนอกเขตพน้ื ทอ่ี นุรักษอ ่นื ๆ
ชุมชนในพื้นท่ี อําเภอเสิงสางท้ัง 6 ตําบล และ
ร า ย ง า น ผ ล ก า ร สํ า ร ว จ พ้ืนที่ปามรดกโลกทางธรรมชาติ และปาไมนอก
รเปล่ียนแปลงทรัพยากร เขตพื้นทอ่ี นุรกั ษอ ่นื ๆ
ระบบนิเวศในพื้นท่ีรอยตอ ชุมชนในพนื้ ท่ี อาํ เภอนาแกทั้ง 12 ตําบล ชุมชน
ยชุมชนมีสวนรวมและดัชนี ในพ้ืนท่ี อําเภอคอนสารทั้ง 8 ตําบล และพื้นที่
าพและภัยคุกคามของพันธุ ปา อนรุ กั ษ และปา ไมน อกเขตพ้ืนทอ่ี นรุ ักษอ่นื ๆ
ท่ีสํารวจได ชุมชนในพื้นที่ อําเภอเสิงสางท้ัง 6 ตําบล และ
พื้นท่ีปามรดกโลกทางธรรมชาติ และปาไมนอก
เขตพื้นท่อี นรุ กั ษอ นื่ ๆ

91

ตารางท่ี 20 แผนงาน และโครงการรอ

แผนงาน วัตถปุ ระสงคหลัก ผล

แผนงานยอยที่ 1.10 สงเสริม เปนการจัดหาพ้ืนที่ท่ีมีศักยภาพและทรัพยากรการผลิตท่ีมีความ จํานวนพ้ืน
ก า ร ป ลู ก ไ ม เ ศ ร ษ ฐ กิ จ เ พ่ื อ พรอมในการปลูกไมเศรษฐกิจ หรือไมมีคาท่ีสามารถจําหนายในเชิง มีการปลูกไ
ความมั่นคงและลดความเสี่ยง การคา ไมหรือกา
ในการผลติ ของเกษตรกร พน้ื ที่เกษตร

แผนงานหลักท่ี 2: อนุรกั ษ ฟนฟู พัฒนาและจดั หาแหลง นํา้ ในระบบลมุ นา้ํ อยา งมีประสิทธิภาพเพ่ือการจัดสรรการ
เปา ประสงคหลัก: เพ่อื อนุรกั ษ ฟน ฟู ปรับปรงุ ภูมิทัศนของแหลง นาํ้ ธรรมชาตทิ ี่เสอื่ มโทรมใหมีศักยภาพในการเก็บกักน
เลก็ ใหกระจายไปตามพ้ืนที่เกษตรกรรมและพนื้ ท่ีการใชประโยชนอ่นื ๆ รวมตลอดจนการวางระบบโครงขายการบริห

ทรพั ยากรนาํ้ และแหลง นาํ้ รวมตลอดจนการประเมินศกั ยภาพความพอเพยี งของทรัพยากรนํ้าในการวางแผนการผลติ

ระดับความสําคัญของแผนงานหลัก: เปนแผนงานหลักท่ีมีระดับความสําคัญสูง เนื่องจากปญหาทรัพยากรนํ้าแ
นอกจากนี้ ดวยขอ จํากดั ของภมู ศิ าสตรพ้นื ที่ลมุ นาํ้ อําเภอทาํ ใหก ารพัฒนาและกระจายแหลงนํ้าสไู รนาทําไดอยางจํากดั

ขนาดเล็กใหกระจายไปตามพน้ื ที่เกษตรกรรมหรอื พน้ื ท่ที ม่ี ศี ักยภาพในการพฒั นา ซงึ่ ใหค รอบคลมุ ถึงการพฒั นานา้ํ ผิวด

ชุมชนและเกษตรกร รวมท้งั ผูประกอบการ เชน โรงงานมันสาํ ปะหลงั เปนตน นอกจากน้ดี วยขอจํากัดของภูมศิ าสตรพ

ความพยายามในการพฒั นาแหลง เกบ็ กกั นํา้ ใหมากข้ึน โดยเฉพาะแหลง เกบ็ กักนาํ้ ขนาดเลก็ ใหกระจายไปตามพนื้ ท่เี กษ

แผนงาน วตั ถปุ ระสงคห ลัก ผล

แผนงานยอยที่ 2.1 อนุรักษ มุง เนนการขุดลอก กาํ จัดวัชพืชในแหลงน้ํา คลองสงน้ําเพ่ือปรับปรุง จาํ นวนคลอ
ฟนฟูแหลงนํ้าธรรมชาติ คลอง ภูมิทัศนแ ละสภาพแวดลอ มของแหลงน้ําใหมีศักยภาพในการเก็บกัก อื่น ๆ ที่ม
สงนาํ้ และพื้นท่ีชุมนํ้าโดยฐาน น้ําเพิ่มข้ึน ระบบนเิ วศ
ชุมชน
เปนการสํารวจศักยภาพพื้นที่ในการสรางฝาย อางเก็บนํ้า สระน้ํา ฝาย อางเก
แผนงานยอยที่ 2.2 จดั หาและ เพือ่ การใชสอยของชมุ ชนและเกษตรกร ใ ช ป ร ะ โ ย
พัฒนาแหลงน้ําขนาดเล็กและ เกษตรกร
ฝายสาํ หรบั ชมุ ชนและเกษตรกร

โครงการเพม่ิ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การชั้นคุณภาพลมุ นํ้า

รายงานสรุปสําหรบั ผูบริหาร

องรับแผนปฏบิ ตั กิ ารระดับลุม น้ํา (ตอ-3)

ลผลติ และตวั ช้วี ดั พ้ืนที่เปาหมาย ปงบประมาณ หนว ยงานรบั ผดิ ชอบ
ดาํ เนนิ งาน

นที่หรือจํานวนเกษตรกรท่ี ชมุ ชนในพ้นื ท่ี อําเภอนาแกท้ัง 12 ตําบล ชุมชน 2562-2566 อําเภอ/อปท./ทสจ./

ไมเศรษฐกิจในระบบสวน ในพ้ืนที่ อําเภอคอนสารท้ัง 8 ตําบล/เขตพ้ืนที่ อส./ปม.

รปลูกแบบผสมผสานใน ทําการเกษตรกรบานเจริญผล ตําบลบาน

รกรรมเดมิ ราษฎร อําเภอเสงิ สาง และพื้นท่ีเสี่ยงท่ีเชื่อมตอ

ทางนเิ วศ

รใชประโยชนอยางอเนกประสงค

นํา้ และการใชประโยชนต ามปรมิ าณและคณุ ภาพของแหลง น้ํา รวมท้ังกาํ หนดพืน้ ที่ที่เหมาะสมในการพฒั นาแหลง นาํ้ ขนาด

หารจัดการน้ําอยางเปนธรรมและมีกฎระเบียบการใชประโยชนอยางมีสวนรวม เพื่อลดขอขัดแยงในการใชประโยชนจาก



ละแหลงน้ําในพ้ืนที่ อําเภอนาแกและอําเภอคอนสาร เปนปญหาที่ตอบสนองตอความตองการของชุมชนและเกษตรกร

ด ดังนัน้ จึงมคี วามจาํ เปนอยางยิง่ ท่ตี อ งมงุ ความพยายามในการพัฒนาแหลงเกบ็ กักนาํ้ ใหม ากขึน้ โดยเฉพาะแหลง เกบ็ กกั นํ้า

ดนิ และน้ําใตด นิ และปญ หาทรัพยากรนํา้ และแหลงน้ําในพืน้ ที่ อําเภอเสงิ สาง เปนปญ หาทีต่ อบสนองตอความตอ งการของ

พน้ื ที่ลุมนาํ้ อาํ เภอ ทาํ ใหก ารพฒั นาและกระจายแหลงนํ้าสูไรนาทําไดอยางจํากัด ดังนั้น จึงมีความจําเปนอยางย่ิงที่ตองมุง

ษตรกรรมหรือพนื้ ที่ท่ีมีศักยภาพในการพฒั นา ซง่ึ ใหครอบคลมุ ถงึ การพฒั นานาํ้ ผิวดินและนาํ้ ใตดิน

ลผลิตและตัวช้วี ดั พืน้ ทเี่ ปาหมาย ปง บประมาณ หนว ยงานรับผิดชอบ
ดําเนนิ งาน

องสง น้ําและพ้นื ท่แี หลงนาํ้ พ้นื ที่ อาํ เภอนาแกทั้ง 12 ตาํ บล 2562-2566 อําเภอ/อปท./ทสจ./

มีการขุดลอกและฟนฟู พืน้ ที่ อําเภอเสงิ สางทั้ง 6 ตาํ บล ทน./ทบ./ปภ./ชป.

ศครอบคลมุ ทงั้ อําเภอ พ้นื ที่ อําเภอคอนสารท้งั 8 ตําบล

ก็บนํ้า สระน้ําที่พัฒนาข้ึน พื้นที่ อําเภอนาแกทง้ั 12 ตาํ บล 2562-2566 อําเภอ/อปท./ทสจ./
ยชนสําหรับชุมชนและ พน้ื ที่ อาํ เภอเสิงสางทง้ั 6 ตาํ บล ทน./ทบ./ปภ./ชป.

พื้นท่ี อาํ เภอคอนสารทงั้ 8 ตําบล

92

ตารางท่ี 20 แผนงาน และโครงการรอ

แผนงาน วัตถุประสงคหลัก ผล

แผนงานยอ ยท่ี 2.3 วางระบบ เปนการพัฒนาและบริหารจัดการน้ําในแหลงน้ําธรรมชาติ อางเก็บ รูปแบบกา
การบริหาร จัดการน้ําอยาง น้ํา คลองธรรมชาติ คลองสงน้ําและอ่ืน ๆ เพ่ือใหเกษตรกรใช ก า ร อุ ป โ
ผสมผสาน ประโยชนไดเต็มศักยภาพและผานกระบวนการวางแผนและการ เกษตรกรร
จัดสรรน้ําอยางเปนธรรม และรวมถึงการพัฒนาระบบประปา ภาคบริกา
แผนงานยอยที่ 2.4 เตรียม หมบู านและประปาผวิ ดนิ และประปาบาดาลสําหรบั ชุมชน องคก รกลุม
ความพรอมในการจัดตั้งกลุม เปนการวางกลไกการมีสวนรวมของชุมชนในการรวมกลุมผูใชนํ้า จํานวนกล
องคกรผูใชน้ําระดับชุมชนและ ตามแหลงนํ้าธรรมชาติ อางเก็บนํ้า ฝาย คลองสงน้ําตาง ๆรวมถึง กันเปนเค
เครอื ขายลุมน้าํ พื้นที่ชุมนํ้า พรอมทั้งวางกฎเกณฑการประเมินศักยภาพแหลงน้ํา ลมุ นาํ้ ท้ังระ
แผนงานยอยที่ 2.5 สงเสริม และการจัดสรรน้าํ เพ่ือการใชประโยชน
รูปแบบการเพ่ิมประสิทธิภาพ เปนการสง เสรมิ สนับสนุน ประสานความรว มมือกับภาคสวนผูใชนํ้า จาํ นวนพื้น
ก า ร ใ ช นํ้ า เ พ่ื อ ก า ร ผ ลิ ต ที่ มี ในการทําการเกษตรแบบประณีตที่มีการใชนํ้าอยางประหยัดและมี นา้ํ อยางมีป
คุณภาพ ประสทิ ธภิ าพ และชว ยลด
แผนงานยอยที่ 2.6 วางแผน
พัฒนาพื้นที่ขาดแคลนน้ําและ เปนการวางระบบการศึกษา สํารวจ ประเมินศักยภาพ และวาง ระบบสงนํ้า
ประสบปญ หาภัยแลง แผนพัฒนาแหลงนํ้าในทุกรูปแบบ เพ่ือปองกันและแกไขปญหาการ แหลงนํ้าแบ
ขาดแคลนน้าํ และการบรรเทาภัยแลง โดยเนนการกระจายแหลงนํา้ ท่ี ประสบปญ
เช่ือมโยงกันเปนเครือขายขนาดเลก็ ในชุมชน ภัยแลง

โครงการเพมิ่ ประสิทธภิ าพการบริหารจดั การช้ันคุณภาพลุมน้าํ

รายงานสรุปสาํ หรับผูบรหิ าร

องรับแผนปฏิบตั ิการระดับลุม นํา้ (ตอ-4)

ลผลติ และตัวชีว้ ัด พ้นื ทีเ่ ปาหมาย ปง บประมาณ หนวยงานรับผดิ ชอบ
ดาํ เนนิ งาน
ารบริหารจัดการน้ําเพื่อ พ้ืนที่ อาํ เภอนาแกทง้ั 12 ตําบล อําเภอ/อปท./ทสจ./
ภ ค บ ริ โ ภ ค แ ล ะ ก า ร พน้ื ที่ อําเภอเสงิ สางทงั้ 6 ตําบล 2562-2566 ทน./ทบ./ปภ./ชป.
รมอยางเพียงพอ รวมท้ัง พืน้ ท่ี อําเภอคอนสารท้งั 8 ตําบล
ารอ่ืน ๆ และมีกลไกของ 2562-2566 อําเภอ/อปท./ทสจ./
มผใู ชน้ํา อําเภอนาแก อําเภอเสิงสาง ทน./ทบ./ปภ./ชป.
และอําเภอคอนสาร
ลุมผูใชน้ําท่ีมีการรวมกลุม พน้ื ท่ีลมุ นาํ้ ท้งั ระบบครอบคลมุ อาํ เภอ 2562-2566 อําเภอ/อปท./ทสจ./
ครือขายครอบคลุมพ้ืนท่ี ทน./ทบ./ปภ./ชป.
ะบบ
2562-2566 อําเภอ/อปท./ทสจ./
ที่ทําการเกษตรท่ีมีการใช อําเภอนาแก อําเภอเสงิ สาง ทน./ทบ./ปภ./ชป.

ประสิทธิภาพสูง ประหยัด และอําเภอคอนสาร

ดตนทนุ การผลติ พน้ื ทเ่ี กษตรกรรมในลมุ นํ้าระดบั อาํ เภอ

าและการวางแผนพัฒนา อําเภอนาแก อําเภอเสงิ สาง
บบผสมผสานในเขตพ้ืนที่ และอาํ เภอคอนสาร

ญหาการขาดแคลนนํ้าและ พน้ื ที่เกษตรกรรมในลมุ น้ําระดบั อาํ เภอ

93

ตารางท่ี 20 แผนงาน และโครงการรอ

แผนงานหลักท่ี 3: สง เสรมิ สนบั สนนุ การวางแผนการใชป ระโยชนทดี่ นิ แบบผสมผสานเพื่อเพมิ่ ผลิตภาพการผลติ
เปาประสงคห ลกั : เพอื่ สง เสริม สนบั สนนุ ใหภ าคสว นเกษตรกร และภาคการผลติ มีแนวทาง มาตรการในการวางแผนก
ภาพการผลิต และการมีผลผลิตที่มีเสถียรภาพเปนที่ยอมรับของระบบตลาด รวมทั้งเกษตรกรมีขีดความสามารถใน

เศรษฐกิจ และ/หรือไมเ ศรษฐกจิ โดยมุง เนนการทาํ การเกษตรเชิงภมู ทิ ัศน สอดคลองกับสภาพทางภูมศิ าสตรของพื้นท
ระดับความสาํ คญั ของแผนงานหลัก: เปนแผนงานหลกั ทีม่ ีระดับความสําคัญปกติ ดว ยสภาพพ้ืนที่ของอําเภอนาแก
ใหเกษตรกรเห็นความสําคัญของการปรบั เปลี่ยนรูปแบบการเกษตรกรรมและการใชป ระโยชนท ด่ี นิ เชน ความรูความเ

การผลิต บทบาทการสงเสริมของหนวยงานทเี่ กี่ยวของ ความตอ งการปลูกพืชเกษตรท่ใี ชร ะบบการจดั การทไ่ี มย งุ ยาก

หลักน้จี งึ ควรดําเนินการแบบคอยเปน คอ ยไป และใชบ ทเรียนจากพ้ืนทีท่ ีป่ ระสบความสําเร็จแลว มาเปน แรงจูงใจในกา

ทดี่ นิ พบวา มขี อจํากดั หลายประการในการสงเสริมใหเ กษตรกรเห็นความสําคัญของการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเกษต

ขอมูลดินและทรัพยากรการผลติ การเขา ถงึ เทคโนโลยีการผลติ บทบาทการสง เสริมของหนวยงานทเี่ กีย่ วของ ความตอ

รองรับสถานการณและความเสย่ี งตาง ๆ ดังนัน้ แผนงานหลักนี้จงึ ควรดาํ เนินการแบบคอ ยเปน คอ ยไป และใชบทเรียน

แผนงาน วตั ถุประสงคหลกั ผล

แผนงานยอยท่ี 3.1 สํารวจ เปนการสํารวจ ประเมินศักยภาพของพ้ืนท่ีลุมนํ้าท้ังระบบในการ แผนท่ีการ
วางแผนและจัดทําแผนการใช จดั ทาํ แผนการใชประโยชนท่ดี ินใหตอบสนองตอ การใชประโยชนและ ลุมนํ้าที่ตอ
ประโยชน ที่ดนิ ระดับลุม นํ้า การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติอยางมีดุลยภาพและเอ้ือตอการ พ้นื ท่ีลุมนา้ํ
พัฒนาเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตของชุมชนและเกษตรกรในลุมนํ้า
อําเภอ

แผนงานยอยท่ี 3.2 สงเสริม เปน การดําเนนิ มาตรการในการฟนฟูบํารุงดินในพื้นที่เส่ือมโทรมหรือ พื้นท่ีเกษ
การอนุรักษฟนฟูบํารุงดินและ พ้ืนท่ีที่ผานการใชประโยชนมาอยางตอเนื่องยาวนานโดยปราศจาก ฟ น ฟู แ ล ะ
การลดการชะลางพังทลาย การอนุรักษฟนฟูบํารุงดิน พรอมท้ังปลูกพืชที่ชวยลดการชะลาง พัฒนาทด่ี ิน
ของดิน พังทลายของดินในพ้ืนท่ีเกษตรกรรม พ้ืนที่ตนน้ํา และพื้นที่ประสบ
ปญหาความเสื่อมโทรมของดิน

โครงการเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การช้นั คุณภาพลมุ นํ้า

รายงานสรุปสําหรบั ผูบรหิ าร

องรับแผนปฏบิ ัติการระดับลมุ น้ํา (ตอ-5)

ตทีม่ ั่นคง

การใชป ระโยชนที่ดนิ ในลมุ นํ้าหรือในพน้ื ที่ใชป ระโยชนท ีเ่ ปนไปตามสมรรถนะของดนิ และความเหมาะสมของที่ดินเพ่ือผลิต

นการนําขอมูลสารสนเทศเพื่อการวางแผนการใชประโยชนท่ีดิน รวมทั้งการประเมินศักยภาพของพ้ืนท่ีในการสงเสริมพืช

ท่ีลมุ นา้ํ และบรบิ ททางสังคม

กและอําเภอคอนสารที่มีปญ หาในการใชป ระโยชนทดี่ นิ ใหเตม็ ศกั ยภาพ โดยพบวามีขอจํากัดหลายประการในการสงเสริม

เขา ใจในการวางแผนการใชประโยชนท ่ดี ิน การสาํ รวจและรวบรวมขอมูลดินและทรัพยากรการผลิต การเขาถึงเทคโนโลยี

ตนทุนในการผลิต รวมท้ังความสามารถในการวางแผนและปรับตัวรองรับสถานการณแ ละความเส่ียงตา ง ๆ ดังนั้นแผนงาน

ารถา ยทอดใหก ับเกษตรกรหรือกลุมผสู นใจอืน่ ๆ และสภาพพ้นื ทข่ี องอาํ เภอเสิงสางและการพฒั นารูปแบบการใชประโยชน

ตรกรรมและการใชประโยชนที่ดิน เชน ความรูความเขาใจในการวางแผนการใชประโยชนที่ดิน การสํารวจและรวบรวม

องการปลูกพชื เกษตรท่ใี ชระบบการจดั การทีไ่ มย งุ ยาก ตน ทุนในการผลิต รวมทั้งความสามารถในการวางแผนและปรับตัว

นจากพืน้ ทท่ี ป่ี ระสบความสาํ เรจ็ แลว มาเปนแรงจูงใจในการถายทอดใหกบั เกษตรกรหรอื กลุมผูส นใจอื่น ๆ

ลผลิตและตวั ช้วี ดั พ้นื ทเี่ ปา หมาย ปง บประมาณ หนวยงานรบั ผิดชอบ
ดําเนินงาน

รใชประโยชนท่ีดินในระดับ ลุมนาํ้ ระดับ อําเภอนาแก (ลมุ น้ํายอยหว ยนํา้ กาํ่ 2562-2566 อําเภอ/อปท./ทสจ./

อบสนองตอศักยภาพของ สวนท่ี 7) พด./สปก./กสก./

าทงั้ ระบบ ลมุ น้าํ ระดบั อาํ เภอเสิงสาง กวก./ปม./สผ.

(ลุมนํา้ ยอ ยลาํ ปลายมาศ สว นท่ี 1)

ลมุ นํา้ ระดบั อาํ เภอคอนสาร

(ลมุ นํา้ ยอ ยลํานาํ้ เชญิ สว นที่ 1)

ตรกรรมท่ีมีการอนุรักษ อําเภอนาแก อําเภอเสิงสาง 2562-2566 อําเภอ/อปท./ทสจ./

ะบํารุงดินตามหลักการ และอําเภอคอนสาร พด./สปก./กสก./

นแบบผสมผสาน พ้ืนที่เกษตรกรรมในลุมน้ําและท่ีประสบปญหา กวก./ปม./สผ.

ความเสอื่ มโทรมของดิน

94

ตารางท่ี 20 แผนงาน และโครงการรอ

แผนงาน วตั ถุประสงคหลัก ผล

แผนงานยอยที่ 3.3 สงเสริม เปนการสงเสริม สนับสนุนความรู นวัตกรรม กระบวนการ และ เกษตรกรท
ประสิทธิภาพการวางแผนการ คําปรกึ ษาแกเ กษตรกรในการวางแผนการใชประโยชนท่ีดินในระดับ ใชป ระโยช
ใ ช ป ร ะ โ ย ช น ที่ ดิ นให กั บ ไรนาเพือ่ เพ่มิ ผลิตภาพการผลติ ใหส งู ขึ้น
เกษตรกรในระดับไรน า จํานวนเคร
แผนงานยอยที่ 3.4 พัฒนาและ เปนการพัฒนาศักยภาพการเปนเกษตรกรตนแบบยุคใหมท่ีสนใจใน พัฒน าศัก
เสริมสรางศักยภาพการเปน การใชขอมูลดินและขอมูลเพ่ือการวางแผนและตัดสินใจในการวาง ตน แบบยุค
เกษตรกรต นแบบยุค ใ ห ม แผนการผลติ ทมี่ งุ ประสิทธิผลสูง
(Smart Farmers) จํ า น ว น พ
แผนงานยอยที่ 3.5 พัฒนา เปนการพัฒนาพื้นท่ีเกษตรกรรมใหเปนพ้ืนที่ตนแบบการเรียนรู กระจายคร
แหลงเรียนรูเกษตรที่เปนมิตร (Demonstration Site) ดานการเกษตรท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
กั บ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม แ ล ะ วิ ถี สุ ข และวถิ สี ุขภาวะ เนนการทําการเกษตรแบบพอเพียง ผสมผสานองค พื้นทีป่ ลูกข
ภาวะ ความรูและภูมิปญญาทองถิ่น รวมท้ังพัฒนานวัตกรรมการเกษตรท่ี สงเสริมให
ปลอดภยั จากสารเคมีและเอ้อื ตอการมสี ุขภาพทดี่ ี ประมาณ 1
แผนงานยอยท่ี 3.6 สงเสริม เปนการคุมครองพื้นท่ีเกษตรกรรมท่ีเกิดการผลิตอาหาร โดยเฉพาะ
ก า ร เ ข า ถึ ง ค ว า ม ม่ั น ค ง ท า ง อยางย่ิงการปลูกขาว เพื่อใหเปนลุมน้ําพอเพียงและสามารถพ่ึงพา
อาหารสําหรบั ชุมชน อาหารในระบบนเิ วศลมุ น้ําไดอยา งพอเพยี ง และปลอดภัยตอ สุขภาพ

โครงการเพิม่ ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การชนั้ คุณภาพลุม นํ้า

รายงานสรุปสาํ หรบั ผูบริหาร

องรับแผนปฏบิ ัติการระดับลุมนาํ้ (ตอ-6)

ลผลิตและตวั ช้วี ัด พนื้ ทเ่ี ปา หมาย ปง บประมาณ หนว ยงานรบั ผิดชอบ
ดาํ เนินงาน
ที่เขารวมการวางแผนการ อําเภอนาแก อําเภอเสิงสาง 2562-2566 อําเภอ/อปท./ทสจ./
พด./สปก./กสก./
ชนท ด่ี นิ ในระดับไรนา และอําเภอคอนสาร 2562-2566 กวก./ปม./สผ.

พื้นท่ีเกษตรกรรมในลุมนํ้าและท่ีประสบปญหา 2562-2566 อําเภอ/อปท./ทสจ./
พด./สปก./กสก./
ความเส่อื มโทรมของดนิ กวก./ปม./สผ.

รือขายเกษตรกรท่ีเขารวม อําเภอนาแก อาํ เภอเสงิ สาง อําเภอ/อปท./ทสจ./
พด./สปก./กสก./
กย ภา พเปนเก ษตรก ร และ อาํ เภอคอนสาร กวก./ปม./สผ./รพ.สต.

คใหม (Smart Farmers) พ้ืนที่เกษตรกรรมในลุมน้ําและที่ประสบปญหา

ความเสื่อมโทรมของดนิ

พ้ื น ท่ี เ รี ย น รู ต น แ บ บ ที่ อําเภอนาแก อาํ เภอเสิงสาง

รอบคลุมพน้ื ทีล่ ุมนาํ้ อาํ เภอ และอาํ เภอคอนสาร

พน้ื ท่เี กษตรกรรมในลมุ นา้ํ

ขาวไดรบั การคุมครองและ พ้ืนที่ลุมท่ีมีการปลูกขาวในเขต อําเภอนาแก 2562-2566 อําเภอ/อปท./ทสจ./
หมีการผลิตที่ดี พื้นที่รวม ครอบคลุม 12 ตาํ บล พด./สปก./กสก./
160,225 ไร กวก./ปม./สผ./รพ.สต.
พ้ืนท่ีลุมตํ่าท่ีมีการปลูกขาวในเขต อําเภอเสิงสาง
ครอบคลุม 6 ตําบล

พืน้ ทีล่ มุ ท่มี ีการปลูกขาวในเขต อําเภอคอนสาร
ครอบคลุม 12 ตาํ บล

95

ตารางที่ 20 แผนงาน และโครงการรอ

แผนงานหลกั ที่ 4: สง เสริมการพัฒนาชุมชนเชงิ นเิ วศแบบพ่งึ พาตนเองได และการปองกนั และขจัดมลพิษสงิ่ แวด
เปา ประสงคหลกั : มุง เนนการวางแผนพัฒนาสภาพแวดลอมชุมชน ท้ังทางกายภาพ ผังเมือง โครงสรางพื้นฐานที่ม่ัน
พฤติกรรมการดํารงวิถีชีวิตที่ใสใจตอคุณภาพสิ่งแวดลอมและการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึงการจัดการข

ผูป ระกอบการในพ้ืนท่ีลมุ นาํ้ ในการควบคุมจดั การมลพษิ สงิ่ แวดลอมจากการประกอบการอยางมีประสทิ ธภิ าพ และนํา

หรอื แหลงกําเนิดมลพิษอน่ื ๆ ใชเปน แนวทางในการดําเนินงานใหส อดคลอ งกบั หลกั การพัฒนาที่ยัง่ ยืน
ระดับความสาํ คญั ของแผนงานหลัก: เปน แผนงานหลักทม่ี ีระดับความสาํ คัญปกติ แมว าแผนงานท่เี กย่ี วของ ของ อ
มลู ฝอยชมุ ชน นาํ้ เสียชมุ ชน คุณภาพน้ําในแหลงนํา้ รวมท้งั ปญ หากลนิ่ รบกวน และอืน่ ๆ เปนภารกจิ ท่ที อ งถ่นิ และหน

สงั คมเกษตร เกีย่ วของกับการใชประโยชนท รัพยากรธรรมชาติ ดนิ น้ํา ปา การแกไขปญหามลพิษสิ่งแวดลอ มจากแหล

ดานส่ิงแวดลอ มชุมชน ก็ควรรเิ ริม่ แผนงาน โครงการในการรองรับการแกไขปญ หาโดยเรว็

แผนงาน วัตถปุ ระสงคห ลัก ผล

แผนงานยอยท่ี 4.1 สงเสริม เปนการสงเสริมความรวมมือ การพัฒนาความพรอมและศักยภาพ จํ า น ว น ชุ ม
การพฒั นาชมุ ชนเชิงนิเวศ ของชุมชน ผูนําชุมชน และองคกรปกครองสวนทองถ่ินในการเขาสู ปกครอง
การพัฒนาเมืองส่ิงแวดลอมย่ังยืนหรือชุมชนเชิงนิเวศโดยเนนการ กิจกรรมก
แผนงานยอยที่ 4.2 รณรงค พฒั นาทางกายภาพ พื้นที่สีเขียว โครงสรางพ้ืนฐาน และการบริหาร ยัง่ ยืนหรือช
และสงเสริมพฤติกรรมการ จัดการทองถิ่นที่ดี เนนการยกระดับกิจกรรมที่อนุรักษสิ่งแวดลอม
จัดการขยะมูลฝอยชุมชน และธรรมชาติ ปลดปลอ ยคารบอนต่ํา จํ า น ว น พ
ปกครองส
เปนการดําเนินโครงการในลักษณะของการสงเสริมพฤติกรรมของ ข ย ะ มู ล ฝ
ชมุ ชนและแหลงกําเนิดขยะมูลฝอยของชุมชน โดยดําเนินกิจกรรมที่ ส อ ด ค ล อ
ส ง เ ส ริ ม ก า ร ป รั บ เ ป ล่ี ย น พ ฤ ติ ก ร ร ม ใ ห ม เ กี่ ย ว กั บ ก า ร อ นุ รั ก ษ พฤตกิ รรม
ส่ิงแวดลอมและการนําของเสียมาใชประโยชนใหมตามหลัก 3 R
(Reduce-Reuse-Recycle)

โครงการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การชนั้ คณุ ภาพลุมนํ้า

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

องรับแผนปฏบิ ตั กิ ารระดบั ลมุ น้ํา (ตอ -8)

ดลอมจากแหลงกาํ เนดิ
นคงปลอดภัย รวมทั้งการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในชุมชนทุกรูปแบบ ตลอดจนการรณรงค สงเสริม สนับสนุน ผลักดันใหชุมชนมี
ของเสียชุมชน โดยเฉพาะปญหาขยะมูลฝอยและการบําบัดน้ําเสียชุมชน และหมายรวมไปถึงการพัฒนาความพรอมของ
าไปสูการเปนพื้นที่ตนแบบท่ีเปนเลิศ (Good Practice) ของการประกอบการเพื่อใหเปนแบบอยางสําหรับผูประกอบการ

อาํ เภอนาแก อาํ เภอเสิงสาง และอําเภอคอนสาร ในเรอ่ื งของการรับมือและการแกไขปญ หามลพิษส่ิงแวดลอ ม ทง้ั เรอ่ื งขยะ
นวยงานทกุ ระดบั ตอ งใหค วามสนใจในการแกไ ขปญ หา แตเ นอื่ งจากพืน้ ทีอ่ ําเภอนาแกเปนพ้ืนท่ีก่ึงเมืองกึ่งชนบท เปนชุมชน

ลงกําเนิดจึงเปน แผนงานทสี่ ามารถเตรยี มความพรอ มในระยะยาวได แตสําหรับชุมชนที่มีแนวโนมของปญหาหรือขอพิพาท

ลผลติ และตัวชี้วัด พน้ื ทเ่ี ปา หมาย ปง บประมาณ หนว ยงานรับผิดชอบ
ดาํ เนินงาน อําเภอ/อปท./ทสจ./
มชน และ/หรือองคกร องคกรปกครองสว นทองถน่ิ ทงั้ 12 แหง 2562-2566 คพ./สส./สผ./สสภ./
ง ส ว น ท อ ง ถิ่ น ที่ เ ข า ร ว ม ใน อาํ เภอนาแก สสจ.
การเปนเมืองสิ่งแวดลอม องคก รปกครองสวนทอ งถิ่นท้ัง 6 แหง 2562-2566
ชุมชนเชิงนิเวศ ใน อําเภอเสิงสาง อําเภอ/อปท./ทสจ./
องคก รปกครองสวนทองถ่นิ ทั้ง 8 แหง คพ./สส./สผ./สสภ./
พื้ น ที่ ห รื อ ชุ ม ช น / อ ง ค ก ร ใน อาํ เภอคอนสาร สสจ.
สวนทองถิ่นท่ีมีการจัดการ องคกรปกครองสวนทองถ่ินทั้ง 12 แหง ใน
ฝ อ ย อ ย า ง ถู ก วิ ธี แ ล ะ อาํ เภอนาแก
อ ง กั บ ก า ร ส ร า ง เ ส ริ ม องคกรปกครองสวนทองถิ่นทั้ง 6 แหง ใน
มใหม อําเภอเสิงสาง
องคกรปกครองสวนทองถิ่นทั้ง 8 แหง ใน
อาํ เภอคอนสาร

96

ตารางท่ี 20 แผนงาน และโครงการรอ

แผนงาน วตั ถปุ ระสงคห ลัก ผล

แผนงานยอยที่ 4.3 มุงเนนการสงเสริมใหผูประกอบกิจการขนาดเล็กหรือชุมชน หรือ จํานวนครัว
วางระบบและตดิ ต้ังบอ ดกั
ไขมันอยา งงา ยเพื่อรกั ษา แหลงกําเนิดนํ้าเสียมีการติดต้ังบอดักไขมันอยางงายเพ่ือควบคุมการ เสยี ขนาดเล
คณุ ภาพน้าํ ในแหลงน้าํ
สาธารณะ ระบายน้าํ ท้ิงสแู หลง นาํ้ สาธารณะ อยางงาย

แผนงานยอยท่ี 4.4 ฟนฟู เปน การฟน ฟู ปรบั ปรุงและพัฒนาพ้นื ท่ีกําจัดขยะมูลฝอยของทองถ่ิน พ้ื น ท่ี กํ า จ
และปรับปรุงพ้ืนท่ีกําจัดขยะ ใหถูกหลักสุขาภิบาลโดยเฉพาะการ Clean-up Site กําจัดขยะมูล ทองถิ่นหร
มูลฝอยขององคกรปกครอง ฝอยใหมใหมีขีดความสามารถในการรองรับขยะมูลฝอยที่มีปริมาณ และปรับป
ส ว น ท อ ง ถ่ิ น ใ ห ถู ก ห ลั ก เพ่ิมขึ้นอยางตอเน่ือง และการศึกษาพ้ืนที่ท่ีมีความเหมาะสมในการ และลดผลก
สุขาภบิ าล เปนแหลง รองรบั ขยะมูลฝอยรวมในระดับอาํ เภอ

แผนงานยอยที่ 4.5 ติดตาม เปนการสนับสนุนกิจกรรมของเครือขายในลุมนํ้า สถานศึกษาใน เครือขายต
ตรว จ สอ บ แ ละ เฝาระ วัง ทองถ่ิน และกลุมอาสาสมัครชุมชนดานส่ิงแวดลอมเพ่ือกําหนดสถานี ระวังคุณภา
คุณภาพนํ้าผิวดิน โดยการมี ตรวจวัดคุณภาพนํ้าผิวดินอยางงายและรายงานผลตอหนวยงานดาน
สวนรว มของเครอื ขา ยลมุ นา้ํ สิ่งแวดลอม

โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจดั การชัน้ คุณภาพลุม นํ้า

รายงานสรุปสาํ หรับผูบริหาร

องรับแผนปฏบิ ัตกิ ารระดับลมุ นํา้ (ตอ-9)

ลผลิตและตวั ชี้วัด พืน้ ท่เี ปาหมาย ปง บประมาณ หนว ยงานรบั ผดิ ชอบ
ดําเนนิ งาน
วเรือนหรือแหลงกําเนิดน้ํา องคก รปกครองสวนทองถน่ิ ท้ัง 12 แหง ใน อําเภอ/อปท./ทสจ./
ล็กมีการติดตั้งบอดักไขมัน อาํ เภอนาแก 2562-2566 คพ./สส./สผ./สสภ./
องคก รปกครองสวนทอ งถน่ิ ทง้ั 6 แหง ใน สสจ.
จั ด ข ย ะ มู ล ฝ อ ย ร ว ม ข อ ง อาํ เภอเสิงสาง
รืออําเภอไดรับการฟนฟู องคก รปกครองสวนทองถิ่นทง้ั 8 แหง ใน 2562-2566 อําเภอ/อปท./ทสจ./
ปรุงใหถูกหลักสุขาภิบาล อําเภอคอนสาร คพ./สส./สผ./สสภ./
กระทบส่ิงแวดลอม สสจ.
องคกรปกครองสวนทอ งถนิ่ ท้งั 12 แหง ใน
ติดตามตรวจสอบและเฝา อําเภอนาแก 2562-2566 อําเภอ/อปท./ทสจ./
าพนํา้ ในลมุ น้ํา องคก รปกครองสว นทอ งถิ่นทัง้ 6 แหง ใน คพ./สส./สผ./สสภ./
อําเภอเสงิ สาง สสจ.
องคกรปกครองสว นทองถน่ิ ทั้ง 8 แหง ใน
อาํ เภอคอนสาร

องคก รปกครองสว นทองถิ่นท้งั 12 แหง ใน
อาํ เภอนาแก
องคก รปกครองสว นทองถิ่นทง้ั 6 แหง ใน
อาํ เภอเสงิ สาง
องคก รปกครองสว นทอ งถิน่ ทงั้ 8 แหง ใน
อาํ เภอคอนสาร

97

ตารางท่ี 20 แผนงาน และโครงการรอง

แผนงานหลักท่ี 5: สงเสริม สนบั สนนุ ประสานความรวมมือใหเกดิ กลมุ ผูผลติ ผบู รกิ าร และผูบริโภคทเ่ี ปน มิตรกับ
เปาประสงคห ลัก: มุงเนน การสง เสรมิ พฒั นาศักยภาพและความพรอมของเครอื ขา ยชุมชน เครือขายเกษตรกร เครือ
อาสาสมัครชมุ ชน เครือขา ยกลมุ ผูสูงอายุ เครือขา ยกลุมเยาวชน สถานศึกษาในทองถิน่ ปราชญช าวบา น ในการเขา ถึง

สามารถนําทรพั ยากรธรรมชาติ ทรพั ยากรชวี ภาพ ความหลากหลายทางชวี ภาพในทอ งถิ่นมาประยุกตใชในการพฒั นา

การพฒั นาสูการเปนวสิ าหกิจชมุ ชน มีความสามารถในการจดั การทุนในรูปแบบตาง ๆ โดยเฉพาะทนุ ทางสังคมของชุม

แบบกลมุ อาชพี การพัฒนาระบบตลาด การบรรจุภณั ฑท ีไ่ ดคุณภาพ และเปนที่ตองการของตลาดภายนอกพื้นท่ี อีกท

based Activities)
ระดับความสําคัญของแผนงานหลกั : เปน แผนงานหลกั ทีม่ ีระดบั ความสําคัญสูง ในระดับอําเภอนาแก อาํ เภอเสิงส
หน่งึ ของการพฒั นาที่ย่ังยนื และการยกระดับความสามารถของกลุม เครือขาย ชุมชนในการประกอบกิจการวิสาหกิจช

ชุมชนตาง ๆ ในการพฒั นาตนเองสูการจดั การท่มี ีประสทิ ธิภาพ ดงั น้ันแผนงานหลกั กลมุ น้ี จงึ ควรดาํ เนนิ งานในพื้นที่/ก

แผนงาน วตั ถุประสงคห ลกั ผล

แผนงานยอยท่ี 5.1 สงเสริม เพ่ือพัฒนาและยกระดับการรวมกลุมสูการเปนวิสาหกิจชุมชนที่มี จาํ นวนกลุม

และพัฒนาอาชีพในรูปแบบ ความสามารถในการจัดการตนเองได ชมุ ชน

วสิ าหกิจชุมชน

แผนงานยอ ยท่ี 5.2 สง เสริม เพื่อสงเสริมความพรอมและกระบวนการในการเก็บเกี่ยว แปรรูป จํานวนเกษ
การแปรรูปและเพิ่มมลู คา บรรจภุ ณั ฑ เพ่ือเพม่ิ มูลคา ของผลผลติ ทางการเกษตรที่มีคุณภาพเปน ผ ลิ ต ภั ณ ฑ
ผลผลติ การเกษตรเชิง ท่ียอมรบั ของตลาดและกลมุ ผูบรโิ ภค พัฒนาเพิ่ม
คุณภาพ สูงขน้ึ

โครงการเพมิ่ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การช้ันคุณภาพลุม นํ้า

รายงานสรปุ สําหรับผูบรหิ าร

งรับแผนปฏิบัติการระดับลมุ น้ํา (ตอ-10)

บส่งิ แวดลอ ม รวมทัง้ ยกระดับสกู ารเปนผปู ระกอบการในรูปแบบวสิ าหกิจชุมชนเพอื่ กา วสูเ ศรษฐกจิ แบบพ่งี พาตนเองได
อขายอนุรักษธรรมชาติและส่ิงแวดลอม รวมทั้งเครือขายผูประกอบการรายยอย ครอบคลุมถึงกลุมสตรี กลุมแมบาน กลุม
งองคความรู ภูมิปญญา และนวัตกรรมชุมชนเพ่ือการเปนผูผลิต ผูบริการ และ/หรือกลุมผูบริโภคที่เปนมิตรกับส่ิงแวดลอม
าอาชพี สนิ คาและบริการทเ่ี อ้ือตอการเขาถงึ ของกลุมผบู รโิ ภคทง้ั ในและนอกชุมชน และยงั หมายรวมถึงการเพ่ิมศักยภาพใน
มชน การสรางสรรคนวัตกรรมการผลิตและการบริการที่สอดคลองกับวิถีวัฒนธรรมของชุมชน การจัดระเบียบการทํางาน
ท้ังยังสามารถพัฒนาศักยภาพของทรัพยากรเพ่ือกิจกรรมการทองเท่ียวเชิงนิเวศหรือการทองเท่ียวอิงธรรมชาติ (Nature-

สาง และอําเภอคอนสาร การสงเสริมการผลิต การบริการและการบริโภคท่ีเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม แมวาจะเปนแนวทาง

ชมุ ชนเพือ่ การพง่ึ พาตนเองได แตในปจจบุ นั มหี ลายหนวยงานไดดําเนินแผนงานในลักษณะแผนงานเชิงรุกในการสนับสนุน

กลมุ /เครอื ขาย ที่มคี วามพรอมเปนลาํ ดบั แรกสดุ กอนแลวจงึ ขยายผลสูพืน้ ท่เี ครือขา ยอน่ื ๆ ตอไป

ลผลิตและตวั ชวี้ ดั พื้นที่เปาหมาย ปงบประมาณ หนว ยงานรบั ผิดชอบ
ดําเนนิ งาน

มอาชพี ในรูปแบบวิสาหกิจ ชุมชนในพื้นที่ อําเภอนาแก ทั้ง 12 ตําบล 2562-2566 อําเภอ/อปท./ทสจ./

ชุมชนในพน้ื ที่ อาํ เภอเสงิ สาง ทั้ง 6 ตําบล อส./ปม./คพ./สส./

ชุมชนในพืน้ ท่ี อาํ เภอคอนสาร ทัง้ 8 ตําบล สผ./สสภ./สสจ./พด./

สปก./กสก./กวก./

สพภ./พช./ททท./กก./

กศน./พณ.

ษตรกร และ/หรือจํานวน ชุมชนในพ้นื ท่ี อาํ เภอนาแก ท้งั 12 ตาํ บล 2562-2566 อําเภอ/อปท./ทสจ./

ฑ สินคา บริการท่ีมีการ ชุมชนในพนื้ ท่ี อําเภอเสงิ สาง ท้งั 6 ตาํ บล อส./ปม./คพ./สส./สผ./

มมูลคาทางการตลาดให ชุมชนในพน้ื ที่ อาํ เภอคอนสาร ทัง้ 8 ตําบล สสภ./สสจ./พด./สปก./

กสก./กวก./สพภ./พช./

ททท./กก./กศน./พณ.

98

ตารางท่ี 20 แผนงาน และโครงการรอง

แผนงาน วัตถุประสงคหลัก ผล

แผนงานยอยท่ี 5.3 บริหาร เพ่ือพัฒนาศักยภาพแหลงทองเท่ียวหรือทรัพยากรการทองเท่ียวที่ ชุ ม ช น ที่ มี ก
จดั การการทองเท่ยี วเชิงนิเวศ ชุมชนมีบทบาทในการบริหารจัดการรวมกับภาคสวนอื่น ๆ รวมทั้ง ทองเท่ียวเช
โดยฐานชุมชน ปรบั ปรุงสภาพแวดลอมชุมชน การใหบริการ การยกระดับมาตรฐาน พนื้ ที่ลุมน้ํา
การบริการ ความปลอดภัย และความใสใจตอคุณภาพส่ิงแวดลอม
แผนงานยอยที่ 5.2 สงเสริม ของชุมชนเพ่ือเปนแรงจูงใจในการบริหารจัดการการทองเท่ียวเชิง จํ า น ว น ต ล
ตลา ดสินคา แ ละผลผลิต นิเวศ เชน กิจกรรมการเดินปาศึกษาธรรมชาติ การสํารวจและผจญ การเกษตรส
การเกษตรสเี ขยี ว ภัย การสองสัตวและการดูนก กิจกรรมนันทนาการทางน้ํา รวม
ตลอดจนการทําฐานเรียนรูเพื่อการอบรมพัฒนาศักยภาพและ
จิตสํานึกของเยาวชนและกลุมผูสนใจ รวมถึงการพัฒนากลุมผู
ใหบ รกิ ารการทอ งเทีย่ วที่มที ักษะในการสือ่ ความหมายธรรมชาติ

เปนการสงเสรมิ ใหเ กษตรกร วิสาหกิจชุมชน ผูประกอบการรายยอย
มีพ้ืนท่ีสําหรับการนําสินคา บริการ ผลิตภัณฑ หรือผลผลิตทาง
การเกษตรทีม่ คี ณุ ภาพมาจําหนายใหกับประชาชนหรือกลุมผูบริโภค
ไดเ ขาถึงอยางสะดวกและมรี าคาทเ่ี ปน ธรรม

แผนงานยอยท่ี 5.5 สงเสริม มุงเนนการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเกษตรกรรมของเกษตรกรที่ทํา จํ า น ว น เ ค
การเกษตรกรรมอนิ ทรีย การเกษตรแบบใชสารเคมสี ูก ารเกษตรอินทรยี  หรือเกษตรผสมผสาน การเกษ
เพื่อความหลากหลายทางชีวภาพในรูปแบบของไมสวนยืนตน พืช การเกษตรผ
เกษตรสลับปาไม หรือเกษตรวิถีธรรมชาติ เปนตน โดยพิจารณาให
สอดคลอ งเหมาะสมกบั บริบทของพนื้ ท่ีลมุ นํ้า

โครงการเพิม่ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การชั้นคุณภาพลุมนํา้

รายงานสรุปสําหรับผูบรหิ าร

งรับแผนปฏิบตั ิการระดบั ลมุ นํา้ (ตอ -11)

ลผลติ และตวั ชี้วัด พืน้ ที่เปาหมาย ปงบประมา หนวยงานรับผดิ ชอบ
ณดําเนนิ งาน
การบริหารจัดการการ ชุมชนในพน้ื ที่ อําเภอนาแก ทั้ง 12 ตาํ บล อําเภอ/อปท./ทสจ./
ชิงนิเวศโดยฐานชุมชนใน ชมุ ชนในพ้ืนที่ อําเภอเสงิ สาง ทง้ั 6 ตําบล 2562-2566 อส./ปม./คพ./สส./
สผ./สสภ./สสจ./พด./
ชุมชนในพน้ื ท่ี อาํ เภอคอนสาร ทั้ง 8 ตาํ บล สปก./ชป./กสก./กวก./
สพภ./พช./ททท./กก./
กศน./พณ.

ลาดสินคาและผลผลิต ชมุ ชนในพื้นที่ อาํ เภอนาแก ท้งั 12 ตาํ บล 2562-2566 อํ า เ ภ อ / อ ป ท . / ท ส จ . /
สเี ขยี ว ชมุ ชนในพน้ื ที่ อําเภอเสงิ สาง ทง้ั 6 ตาํ บล 2562-2566 อส./ปม./คพ./สส./สผ./
สสภ./สสจ./พด./สปก./
ชุมชนในพื้นที่ อําเภอคอนสาร ท้ัง 8 ตําบล กสก./กวก./สพภ./พช./
ททท./กก./กศน./พณ.
ครือขายเกษตรกรท่ีทํา ชมุ ชนในพนื้ ท่ี อําเภอนาแก ทัง้ 12 ตําบล
อําเภอ/อปท./ทสจ./
ต ร แ บ บ อิ น ท รี ย ห รื อ ชมุ ชนในพน้ื ที่ อาํ เภอเสงิ สาง ทง้ั 6 ตําบล อส./ปม./คพ./สส./
สผ./สสภ./สสจ./พด./
ผสมผสาน ชมุ ชนในพนื้ ที่ อาํ เภอคอนสาร ทง้ั 8 ตําบล สปก./กสก./กวก./
สพภ./พช./ททท./กก./
กศน.

99

ตารางที่ 20 แผนงาน และโครงการรอง

แผนงานหลักที่ 6: ลดผลกระทบและการปรับตวั รองรับความเส่ียงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศและภัยธ
เปาประสงคห ลัก: ดําเนินมาตรการท่ีหลากหลายในการลดการปลดปลอยกาซเรอื นกระจกสบู รรยากาศ ทงั้ ภาคการเก
เปน พลงั งานทางเลอื กและทดแทนพลังงานหลกั รวมตลอดจนการประเมินความลอแหลมเปราะบางของภาคสวนตา งๆ
ความรับผิดชอบตอสงั คมรว มกัน และยังครอบคลมุ ไปถงึ การวางแผนตั้งรบั ปรบั ตัวเพื่อลดความเสี่ยงท้ังในปจจุบันและ
บริบทลมุ นํ้า เชน การถา ยทอดความรแู กกลุมเสี่ยง/กลุมเปราะบาง การเสริมพลงั การมีสวนรว มในการวางแผนปรบั ตัว
การสรา งกฎระเบียบในการดํารงชีพทีป่ ลอดภยั และลดความเสยี่ ง การสรางเครอื ขายความรวมมอื ในการปอ งกนั และจ
การตอบโตส ถานการณอ ยางรูเทาทัน
ระดบั ความสาํ คญั ของแผนงานหลัก: เปน แผนงานหลกั ทม่ี ีระดบั ความสาํ คัญสูง ปญหาและสถานการณของการเป
รุนแรงของฝน ความชน้ื วาตภัย อุทกภัย ภัยแลง ลวนเปน ปจ จัยทางภูมอิ ากาศทอี่ าจสง ผลกระทบตอ ความเสย่ี งของช
มาพจิ ารณารวมดว ยอยางหลกี เล่ยี งไมได เนื่องจากหากไมมีการวางแผนลว งหนา ในการผลติ ยอ มกระทบตอผลติ ภาพใน
หมายรวมถงึ ความตอ งการในการรับรสู ถานการณผานการเฝาระวัง การติดตาม การแจง เตือน และการรายงานสถานก

แผนงาน วัตถุประสงคหลกั ผล

แผนงานยอ ยที่ 6.1 สงเสรมิ มุง เนน การดาํ เนินกิจกรรมท่ีเออ้ื อาํ นวยตอการลดกาซเรือนกระจกใน จํานวนกิจ
กจิ กรรม ท่ลี ดการปลอ ยกา ซ ชั้นบรรยากาศทั้งจากภาคการเกษตร อุตสาหกรรม การบริการ การปลอย
เรอื นกระจกเพอื่ ลดภาวะโลก ชุมชนและการคมนาคมขนสง โดยสงเสริมการนําพลังงานทดแทนที่ ภาวะโลกร
รอน เหมาะสมมาใช การปลูกพืชพลังงานเพ่ือปอนสูกระบวนการผลิต
ภาคอุตสาหกรรม การใชพลังงานชุมชน พลังงานทางเลือก การริเริ่ม
กิจกรรมคารบอนต่ํา การคํานวณรอยเทาทางนิเวศ (Ecological
Footprint) การติดฉลากเขยี ว เปนตน

แผนงานยอยที่ 6.2 เพิม่ ขดี เปนการประเมินความลอแหลมเปราะบางของภาคสวนตาง ๆ ชุมชนหรือ
ความสามารถในการวางแผน โดยเฉพาะอยา งยิ่งชุมชนทอ งถิ่นในพน้ื ท่ีเส่ียงภัยใหมีการวางแผนการ การจัดทํา
ปรบั ตัวรองรบั การเปลี่ยนแปลง ปรบั ตวั รองรบั อนาคต สถานการณ
สภาพภูมิอากาศและภยั
ธรรมชาติ

โครงการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การช้นั คุณภาพลุม นํ้า

รายงานสรุปสําหรบั ผูบริหาร

งรบั แผนปฏบิ ัตกิ ารระดับลมุ นํา้ (ตอ-12)

ธรรมชาติ
กษตร อตุ สาหกรรมและการประกอบการ รวมทั้งภาคการคมนาคมขนสง โดยเนนการพัฒนาพืชพลังงานเพ่ือพัฒนาสูการ
ๆ โครงการและชมุ ชน เกษตรกร ผใู ชทรัพยากรธรรมชาติ ดนิ นาํ้ ปา ไม ใหม จี ิตสํานกึ รวมกันในการแกไขปญหาบนพื้นฐาน
ะอนาคต โดยใหความสําคัญกับการเพิ่มขีดความสามารถของระบบหรือหนวยทางสังคมในการปรับตัวอยางเหมาะสมกับ
ว การส่อื สารความเสี่ยง การตดิ ตามเฝาระวังสถานการณและความเส่ียง การนําเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใชในการปรับตัว
จดั การกบั ปญ หา การพัฒนาชอ งทางในการเขาถึงแหลงทนุ เพอื่ การปรับตัวใหม การเตรยี มความพรอ มรองรบั เหตุฉกุ เฉนิ และ

ปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในระดับ อําเภอนาแก อําเภอเสิงสาง และอําเภอคอนสาร เชน การกระจายของฝน ความ
ชุมชนไดท ้ังสิ้น ระบบการผลิต การเกษตรกรรม การดํารงชพี ของชุมชนตองคํานงึ ถึงเง่ือนไขและปจจยั ดานสภาพภูมิอากาศ
นการผลิตมากที่สุด อกี ทงั้ สง ผลตอรายได อาชีพ แรงงาน ตนทุน และมาตรการในการฟนฟูเยียวยาความเสียหาย และยัง
การณอ ยางรเู ทาทนั และเปนปจจบุ นั
ปง บประมาณ
ลผลติ และตัวช้ีวัด พืน้ ที่เปาหมาย ดําเนนิ งาน หนว ยงานรบั ผิดชอบ

จกรรมหรือมาตรการที่ลด อําเภอนาแก อาํ เภอเสงิ สาง 2562-2566 อําเภอ/อปท./ทสจ./
ยกาซเรือนกระจกเพ่ือลด และอาํ เภอคอนสาร อส./ปม./คพ./สส./ทน./
รอน ชุมชนและทกุ ภาคสว นในลุมน้าํ ทบ./สผ./สสภ./สสจ./
พด./สปก./ชป./กสก./
กวก./สพภ./อบก./พช./
ททท./กก./กศน./พม./
ดศ./พน/วท./สธ./ศธ./
อว.
อภาคสวนท่ีมีความเสี่ยงมี อาํ เภอนาแก อําเภอเสงิ สาง
าแผนการปรับตัวรองรับ และอําเภอคอนสาร 2562-2566 อาํ เภอ/อปท./ทสจ./อส./
ปม./คพ./สส./ทน./ทบ./
ณและความเสยี่ งในอนาคต ชุมชนและทุกภาคสวนในลุมน้ําท่ีมีความ สผ./สสภ./สสจ./พด./
ล อ แ ห ล ม เ ป ร า ะ บ า ง แ ล ะ เ ผ ชิ ญ ภ า ว ะ ภั ย สปก./ชป./กสก./กวก./
คุกคามจากปจจัยสภาพภูมอิ ากาศ สพภ./อบก./พช./ททท./
กก./กศน./พม./ดศ./
พน./สธ./ศธ./อว.

100

ตารางท่ี 20 แผนงาน และโครงการรอง

แผนงาน วัตถปุ ระสงคหลัก ผ

แผนงานยอยท่ี 6.3 เปนการศึกษา ประเมินสถานการณ ความออนไหวตอความเสี่ยงภัย ระบบโครง
วางระบบโครงขายเฝา ระวงั ธรรมชาตทิ กุ รปู แบบ พรอมทงั้ ตดิ ตง้ั โครงขายระบบเตือนภัยลวงหนา ลวงหนาท
และเตือนภัยลว งหนาทีม่ ี อยา งรเู ทาทัน และมีการส่ือสารและรายงานใหกับเครือขายในลุมน้ํา พื้นที่ลุมน้าํ
ประสิทธภิ าพเพื่อลดความ ไดรบั ทราบและเตรยี มพรอมตอ สถานการณ
เส่ียงตอ ชวี ติ ทรพั ยสินและ
ชุมชน

แผนงานยอยที่ 6.4 จัดทํา เปนการศึกษาความเปนไปไดในการเกิดความเสี่ยงในลุมนํ้าจาก แ ผ น บ ริ ห
แผนบริหารความเส่ียงและ ปญหาอุทกภัย ภัยแลง วาตภัย ไฟปาและหมอกควัน หรือภัย ฉุกเฉินในร
ภาวะฉกุ เฉินในระดับลมุ นํ้า ธรรมชาติอื่น ๆ ซ่ึงมีความจําเปนองคกรในลุมน้ําตองเตรียมความ ทําความเข
พรอมในการรบั มอื และตอบโตส ถานการณอยางเหมาะสม และมีการ
ซักซอมความเขาใจในการปฏิบัติอยางบูรณาการ รวมถึงการส่ังการ
การบังคับบัญชาเหตุการณและการกูภัยอยางมีประสิทธิภาพ พรอม
ท้ังการเตรียมความพรอมกําลังคนบุคลากรในการสนับสนุนการ
ปฏบิ ตั ิงานอยางมคี ณุ ภาพและทกั ษะความชํานาญในดา นตา ง ๆ

โครงการเพม่ิ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การชน้ั คุณภาพลมุ น้ํา

รายงานสรปุ สําหรบั ผูบรหิ าร

งรบั แผนปฏบิ ตั กิ ารระดบั ลมุ น้าํ (ตอ -13)

ผลผลติ และตัวชว้ี ัด พืน้ ทเ่ี ปา หมาย ปงบประมาณ หนว ยงานรบั ผิดชอบ
ดาํ เนนิ งาน
งขายเฝาระวังและเตือนภัย อําเภอนาแก อําเภอเสิงสาง 2562-2566 อําเภอ/อปท./ทสจ./
ท่ีมีการติดตั้งและใชงานใน และอาํ เภอคอนสาร อส./ปม./คพ./สส./
า พืน้ ที่เสย่ี งภยั ในลมุ น้าํ ทั้งระบบ ครอบคลมุ พ้ืนท่ี 2562-2566 ทน./ทบ./สผ./สสภ./
สสจ./พด./สปก./ชป./
ลมุ นํา้ ตอนบน ตอนกลางและตอนลา ง กสก./กวก./สพภ./
อบก./พช./ททท./กก./
ารความเส่ียงและภาวะ พน้ื ที่ลมุ นํา้ อําเภอนาแก กศน./พม./ดศ./พน./
ระดับลุมนํ้าท่ีมีการสื่อสาร พน้ื ที่ลมุ นํา้ อําเภอเสงิ สาง วท./สธ./ศธ./อว.
ขา ในแนวทางปฏบิ ตั ทิ ช่ี ัดเจน พื้นที่ลมุ น้าํ อําเภอคอนสาร อําเภอ/อปท./ทสจ./
อส./ปม./คพ./สส./
ทน./ทบ./สผ./สสภ./
สสจ./พด./สปก./ชป./
กสก./กวก./สพภ./
อบก./พช./ททท./
กก./กศน./พม./ดศ./
พน/วท./สธ./ศธ./อว.

101


Click to View FlipBook Version