The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานสรุปสำหรับผู้บริหารฉบับภาษาไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานสรุปการประเมินสถานภาพลุ่มน้ำ

รายงานสรุปสำหรับผู้บริหารฉบับภาษาไทย

ตารางที่ 20 แผนงาน และโครงการรอง

แผนงานหลกั ที่ 7: เรง เสรมิ ประสิทธิภาพของระบบและกลไกการบริหารจัดการลุมนาํ้ อยา งบูรณาการโดยอาํ เภอเป
เปาประสงคหลัก: เปนการพัฒนาระบบ กลไก เคร่ืองมือ กระบวนการ แผนงาน โครงการและระบบงบประมาณ
ตอบสนองตอผลการประเมินสถานภาพของลุมนํ้า โดยมุงเนนการรบั มอื กบั พ้นื ทท่ี ี่มีสภาวะเสย่ี งภัยและวิกฤตเิ ปน อันด

การระงับยับยั้งการขยายผลกระทบในวงกวาง และใหความสําคัญกับการพัฒนาขอมูลและสารสนเทศเพ่ือการว

stakeholders Partnership) เพอ่ื ลดความขัดแยงในการพัฒนาภูมสิ งั คมลมุ น้ํา
ระดับความสาํ คัญของแผนงานหลกั : เปน แผนงานหลกั ทีม่ รี ะดบั ความสาํ คญั สูง ปจจุบันการพัฒนาระบบกลไก เคร
ปา ความหลากหลายทางชีวภาพ พื้นที่อนุรักษ การพัฒนาสารสนเทศเพื่อการวางแผนและตัดสินใจ รวมถึงการพัฒ

จาํ เปน และตอบสนองตอบริบทลุม นํ้าและสงั คมในพ้ืนที่ บทบาทของหนว ยวางแผนจดั การทั้งในระดบั ภาค จงั หวดั อํา

การวางแผนทงั้ แบบ Top-down Approach และ Bottom-up Approach ดังนั้น หากลุมน้ําหรือพ้ืนที่อําเภอใดมีร

แผนงาน โครงการและงบประมาณไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ ตรงเปาหมายและผลผลิตการทํางาน

แผนงาน วัตถปุ ระสงคหลัก ผลผลิต

แผนงานยอยท่ี 7.1 สํามะโน มุงเนนการสรา งเครอื ขา ยอาสาสมคั รชุมชนในการรว มสํารวจ ระบบขอมูลและส
แ ล ะ จั ดทํ า ฐา นข อ มู ลแ ละ สํามะโนปญหา และสถานภาพของทรัพยากรธรรมชาติและ เปนปจจุบันสอด
สารสนเทศของสถานภาพของ สิ่งแวดลอม รวมทั้งขอมูลบริบท ลุมน้ํา พรอมทั้งจัดทํา และแนวทางการ
ท รั พ ย า ก ร ธ รรม ชา ติแ ล ะ ฐานขอมูลสําหรับการประเมินสถานภาพและการจัดทํา
สิ่งแวดลอม ในระบบลุมนํ้า: แผนงาน โครงการรองรับ ซึ่งพัฒนาขอมูลในรูปแบบของ เกิดกลไกของคณ
อําเภอนาแกและพื้นที่เช่ือมตอ ฐานขอมูลเชงิ พื้นท่ี (Core Planning
ทางนเิ วศลมุ นํา้ ลมุ นาํ้ และ/หรอื ค
เปนการสนับสนุนใหเกิดกลไกของคณะทํางานวางแผนหลัก
แผนงานยอยท่ี 7.2 เสริมสราง (Core Planning Team: CPT) ในลุมน้ําเพื่อการวางแผน
และพัฒนากลไกการมีสวนรวม พัฒนา และบริหารจัดการลุมน้ําอยางมีสวนรวม โดยใชฝาย
ใ น ก า ร ว า ง แ ผ น พั ฒ น า แ ล ะ อําเภอเปนหนว ยประสานงานกลาง (Focal Point)
บริหารจัดการลุมนํ้าเชิงระบบ
นเิ วศโดยอําเภอเปน ฐาน

โครงการเพมิ่ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การชัน้ คณุ ภาพลมุ นํ้า

รายงานสรุปสําหรับผูบรหิ าร

งรบั แผนปฏบิ ตั กิ ารระดบั ลมุ นาํ้ (ตอ-14)

ปน ฐาน
ณในการขับเคล่ือนแผนปฏิบัติการระดับลุมนํ้าใหสามารถบริหารจัดการสูการปฏิบัติการในเชิงพ้ืนที่ไดอยางเปนรูปธรรม
ดับแรก สว นพื้นทท่ี ี่มสี ถานภาพของลมุ นํา้ ในระดับสมดลุ และเตือนภัยน้ัน ใหม ีการวางแผนการดําเนินงานในเชิงรุกเพื่อเปน
วางแผนและตัดสินใจในระดับลุมน้ําระดับอําเภอ ควบคูกับการพัฒนากลไกการทํางานแบบพหุภาคีในลุมน้ํา (Multi-

ร่ืองมือเพือ่ เรง เสริมประสทิ ธภิ าพในการบริหารจัดการลมุ น้ํา โดยเฉพาะในมติ ิการบรหิ ารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ดนิ น้ํา
ฒนากลไกการทํางานแบบรวมมือกันโดยใชพื้นท่ีเปนฐาน (Area-based Collaborative Management) เปนสิ่งที่มีความ
าเภอ และตําบล เปนกระบวนการหวงโซความสัมพันธของการถา ยทอดแผนสูการปฏิบัติ ท้ังความเชอื่ มโยงกับระดับช้ันของ
รูปแบบการดําเนินงานเชิงบูรณาการโดยใชพื้นท่ีเปนฐานได ยอมหมายถึง การสรางกระบวนการทํางานแบบใหมที่เขาถึง

ตและตัวชีว้ ัด พ้นื ทีเ่ ปา หมาย ปงบประมาณ หนวยงานรับผิดชอบ
ดาํ เนนิ งาน
สารสนเทศระดับลุมน้ําที่ อําเภอนาแก อําเภอเสงิ สาง 2562-2566 อําเภอ/อปท./ทสจ./อส./
ดคลองกับสถานการณ และอําเภอคอนสาร ปม./คพ./สส./ทน./ทบ./สผ./
รบรหิ ารจัดการ ลุมนํ้าในระดับอําเภอครอบคลุมพ้ืนท่ีลุมนํ้า 2562-2566 สสภ./สสจ./พด./สปก./ชป./
กสก./กวก./สพภ./อบก./
ตอนบน ตอนกลางและตอนลาง พช./ททท./กก./กศน./พม./
ดศ./พน/วท./สธ./ศธ./อว./
ณะทํางานวางแผนหลัก พน้ื ทล่ี ุมนํา้ อาํ เภอนาแก สทนช.
g Team: CPT) ระดับ พื้นทล่ี ุมนาํ้ อาํ เภอเสงิ สาง อําเภอ/อปท./ทสจ./อส./ปม./
คณะทํางานเฉพาะกิจ พืน้ ท่ีลมุ นา้ํ อาํ เภอคอนสาร คพ./สส./ทน./ทบ./สผ./สสภ./
สสจ./พด./สปก./ชป./กสก./
กวก./สพภ./อบก./พช./ททท./
กก./กศน./พม./ดศ./พน/วท./
สธ./ศธ./อว./สทนช.

102

ตารางท่ี 20 แผนงาน และโครงการรอง

แผนงาน วตั ถปุ ระสงคห ลัก ผล

แผนงานยอยท่ี 7.3 เปนการออกแบบหลักสูตรการฝกอบรมพัฒนาศักยภาพ หลักสูตรการฝกอบร
เสรมิ สรางศักยภาพและ บคุ ลากร เจาหนาท่ี เครือขาย ชุมชน องคกรทองถิ่น และ ห ลั ก สู ต ร ไ ป ใ ช ใ น ก
พัฒนาบคุ ลากรในการบรหิ าร กลุมผูสนใจในลุมน้ําไดเขามามีสวนรวมในการพัฒนา ประเมินผลหลงั การฝก
จัดการลมุ นํ้าแบบผสมผสาน ศัก ย ภ า พ ดา นคว า มรู ทั ก ษ ะ คว า ม ชํ า น า ญ แ ล ะ
โดยการมีสว นรว ม ประสบการณใ นการวางแผนพัฒนาลุม นาํ้ แบบผสมผสานท่ี
เช่อื มโยงกบั มติ ิทางสงั คมและวัฒนธรรม

แผนงานยอยที่ 7.4 พัฒนา เปนการสงเสริมการพัฒนาตัวชี้วัดลุมน้ําและการใชงาน ระบบการประเมินส
ตั ว ชี้ วั ด แ ล ะ ใ ช ง า น ร ะ บ บ ระบบการประเมินสถานภาพลุมน้ําในอําเภอนาแก เพื่อ อยา งตอ เน่ือง บนพ้นื ฐ
ประเมินสถานภาพลุมน้ําเพ่ือ ติดตาม เฝาระวัง รายงานสภาวะของทรัพยากรตางๆ ใน ลุมน้ํา และมกี ารรายง
ก า ร ว า ง แ ผ น พั ฒ น า ลุ ม นํ้ า ลมุ น้ํา เพอ่ื การกําหนดมาตรการที่เหมาะสมในการปองกัน 3 ป)
อ ย า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ แ ล ะ แกไขระดับพน้ื ท่ี
ประสิทธิผล

แผนงานยอยท่ี 7.5 พัฒนา มุงเนนการศึกษา เตรียมความพรอม การพัฒนาเคร่ืองมือ เกิดการพัฒนาและ
ร ะ บ บ ก ล ไ ก แ ล ะ เ ค ร่ื อ ง มื อ กระบวนการ แผนการจัดการ และเครือขายที่เหมาะสมใน บรหิ ารจดั การลุมน้าํ เช
สําหรับการบริหารจัดการลุม การสนบั สนนุ การวางแผน การตัดสินใจและการกาํ หนดกล ตอบแทนคุณระบบน
น้ําแบบบูรณาการเชงิ รกุ ยุทธและแนวทางในการบริหารจัดการลุมน้ําเชิงระบบ ติดตามสถานภาพข
นิเวศบนพ้นื ฐานการจัดการแบบรว มมือกนั กฎระเบียบในลุมนํา้ ก
เขตพืน้ ทอี่ อนไหวตอร
ทัศน การกําหนด
คณะทาํ งานวางแผนห

โครงการเพิม่ ประสิทธภิ าพการบริหารจดั การชัน้ คณุ ภาพลุมน้ํา

รายงานสรปุ สําหรับผูบริหาร

งรับแผนปฏบิ ตั กิ ารระดบั ลมุ นาํ้ (ตอ -14)

ลผลิตและตวั ชีว้ ัด พื้นทีเ่ ปาหมาย ปง บประมาณ หนวยงานรับผดิ ชอบ
ดาํ เนนิ งาน
รมระยะสั้น (3-5 วัน) และการนํา เครือขายลมุ นา้ํ อําเภอนาแก 2562-2566 อําเภอ/อปท./ทสจ./อส./
การฝกอบรมและมีการติดตาม เครือขายลมุ นํ้า อาํ เภอเสิงสาง ปม./คพ./สส./ทน./ทบ./
กอบรม เครอื ขา ยลมุ นาํ้ อาํ เภอคอนสาร 2562-2566 สผ./สสภ./สสจ./พด./
สปก./ชป./กสก./กวก./
สถานภาพลุมนํ้าท่ีไดรับการใชงาน พน้ื ท่ลี มุ นาํ้ อําเภอนาแก 2562-2566 สพภ./อบก./พช./ททท./
ฐานของตัวช้วี ดั ที่เหมาะสมกบั บรบิ ท พื้นทล่ี มุ น้ํา อําเภอเสิงสาง กก./กศน./พม./ดศ./พน/
งานสถานภาพลุมน้ําอยางตอเนื่อง (1- พื้นที่ลมุ นํ้า อาํ เภอคอนสาร วท./สธ./ศธ./อว./สทนช.
อําเภอ/อปท./ทสจ./
ริเริ่มประยุกตใชเครื่องมือในการ พื้นทล่ี ุมน้ํา อาํ เภอนาแก อส./ปม./คพ./สส./
ชิงระบบนิเวศ เชน กลไกการชดเชย พืน้ ที่ลมุ นาํ้ อาํ เภอเสิงสาง ทน./ทบ./สผ./สสภ./
นิเวศ (PES) การใชเทคโนโลยีในการ พ้นื ท่ีลุม นํ้า อําเภอคอนสาร สสจ./พด./สปก./ชป./
ของทรัพยากรท่ีสําคัญการพัฒนา กสก./กวก./สพภ./
การสรางเครือขายลุมนํ้า การคุมครอง อบก./พช./ททท./กก./
ระบบนิเวศ การจัดการลุมน้ําเชิงภูมิ กศน./พม./ดศ./พน/
บ ท บ า ท ห น า ท่ี ก า ร ทํ า ง า น ข อ ง วท./สธ./ศธ./อว./
หลักในลมุ นา้ํ เปน ตน สทนช.
อําเภอ/อปท./ทสจ./
อส./ปม./คพ./สส./
ทน./ทบ./สผ./สสภ./
สสจ./พด./สปก./ชป./
กสก./กวก./สพภ./
อบก./พช./ททท./กก./
กศน./พม./ดศ./พน/
วท./สธ./ศธ./อว./
สทนช.

103

รายงานสรปุ สาํ หรบั ผูบริหาร

14.5 การจดั ประชุมรับฟง ความคิดเห็นตอแผนปฏบิ ัตกิ ารเพอื่ ฟน ฟู อนุรกั ษ และใชประโยชน
จากทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในพื้นท่ีชน้ั คณุ ภาพลุมนา้ํ : ลุมน้ําศึกษา
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ

การจัดประชุมเพ่ือรับฟงความเห็นตอแผนปฏิบัติการในพื้นที่ลุมนํ้ายอย 3 ลุมน้ํา ในระหวางวันท่ี
24-25 และ 27 มิถนุ ายน 2562 ผเู ขารว มประชุม ทง้ั ส้นิ 175 คน รายละเอียดดังน้ี

วนั เดือน ป ลุม น้ํา สถานทจี่ ดั ประชมุ จาํ นวน
24 มถิ ุนายน 2562 ลมุ นํา้ ยอยลาํ ปลายมาศ ณ ทวี่ า การอาํ เภอเสิงสาง 62 คน
25 มถิ นุ ายน 2562 จังหวัดนครราชสมี า 60 คน
(SS1)
27 มิถนุ ายน 2562 ลมุ นา้ํ ยอ ยลาํ นา้ํ เชญิ ณ หองประชมุ นํ้าผดุ นาเลา 53 คน
อบต.ทงุ นาเลา 175 คน
(SS1) อาํ เภอคอนสาร จงั หวดั ชัยภูมิ

ลุม นํา้ ยอ ยหว ยนาํ้ กาํ่ ณ ทีว่ า การอําเภอนาแก จงั หวัด
(SS7) นครพนม

รวม

ภาพบรรยาการศการประชุมเพอ่ื รับฟง ความคดิ เห็นตอ แผนปฏิบตั ิ 104

โครงการเพมิ่ ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การชน้ั คุณภาพลุมนา้ํ

สรุปผงั จากการประชมุ แผนปฏบิ ตั กิ ารลุมน้าํ ยอยลําปลายมาศ
ลมุ นาํ้ ยอยลาํ ปลายมาศ อํา

1.สถานการณพืน้ ท่ี 2.ศักยภาพ/โอกาสของพืน้ ที่ 3.ขอ จาํ กดั /จ
-ปา ไม -ฐานทรัพยากร -การเปลยี่ นแ
-ไฟปา -ภมู ิปญ ญาทอ งถ่นิ -การไดรบั การ
-การใชท ีด่ ิน - องคก รชุมชน/เครือขาย - แผน/งบประ
-พื้นทีเ่ สย่ี งภัย - พน้ื ทเ่ี รยี นรู -กฎหมาย/ระ
-แหลง นา้ํ -แผนพฒั นาอําเภอ - การสนับสนนุ
-ทรัพยากรธรรมชาติอืน่ ๆ -การมีสวนรว ม - ความพรอมข
-ประเด็นอ่นื ๆ - ดานการรบั ม
ภมู อิ ากาศเป

โครงการเพิม่ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การช้นั คุณภาพลมุ นา้ํ

รายงานสรุปสาํ หรับผูบริหาร

าเภอเสงิ สาง จังหวัดนครราชสีมา

จุดออ นของพืน้ ที่ 4.แผนปฏิบัตกิ ารลุมนํา้ 5.การนําแผนสูการปฏบิ ตั ิ
แปลงของภูมิอากาศ -ดานทรัพยากรธรรมชาติ -การประสานแผน
รจัดทาํ โครงการ - ดานมลพษิ ดานสง่ิ แวดลอ ม - การจดั ทําโครงการประจําป
ะมาณ -ดา นการจดั การนํ้า - การสรา งความรวมมือของ
ะเบียบ - ดา นการใชท ดี่ นิ ของเครือขาย
นจากภาครฐั - ดา นการผลติ ทเ่ี ปน มิตร -อ่นื ๆ
ของชุมชน กบั สง่ิ แวดลอม
มอื กับความเส่ียง
ปล่ียนแปลง

105

สรุปผังจากการประชมุ แผนปฏบิ ัตกิ ารลมุ นํ้ายอยลํานํา้ เชิญ

อนรุ กั ษ กรอบแนวคิดการจ
แนวคดิ เพือ่ การอนุรกั ษ ฟ
ลมุ นาํ้ เซญิ พ้นื ทอี่ ํา

มสี วนรว ม พฒั นา

ภาครัฐ แผนการใชป ระโยชน ปอ งกนั
ภาคเอกชน ท่ีดนิ ในพน้ื ทส่ี ูงชัน พังทลา
องคก รพฒั นา
ภาคชุมชน ภาคทองถ่ิน ชุมชนใชประโย
จากปา ตน นาํ้
การจดั การสงิ่ แวดลอม
ชุมชน -ฝาย
-ลาํ หวยธร
การปอ งกนั นํ้าทว มในพน้ื ทลี่ ุมตํ่า -คลองสง น

การจดั การขยะ มูลฝอยอยา ง
ถกู ตองสุขาภบิ าล

ชมุ ชนตง้ั รับปรบั ตัวรับมอื ความเส่ียง กลมุ ผใู ชน้าํ
สภาพภูมอิ ากาศและภัยธรรมชาติ

การแกไขปญหาภัยแลง และการขาดแคลนน้ําเพอ่ื
เกษตร และอุปโภคบริโภค

โครงการเพิม่ ประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การชั้นคุณภาพลุม นํ้า

รายงานสรปุ สาํ หรับผูบริหาร

จัดทาํ แผนปฏิบัตกิ าร ลุมน้ํายอยลาํ น้ําเชญิ อาํ เภอคอนสาร
ฟน ฟู ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอม จงั หวดั ชยั ภูมิ
าเภอคอนสาร จงั หวัดชยั ภูมิ

ปาตนนํา้ ลมุ นาํ้ ชี พนื้ ทค่ี ุมครอง อุทยานแหง ชาติ 72 %
ปา สงวนแหง ชาติ เขตรกั ษาพันธุสัตวปา
นการชะลา ง
ายของดิน ปาพ้ืนที่แนวกนั ชน

ยชนจากแหลง นาํ้ วถิ ีชุมชนเกษตร+วัฒนธรรมทอ งถิน่ ด้ังเดิม ใชป ระโยชนทรพั ยากร
(พืชไร) +มันสําปะหลัง (8 ตาํ บล) จากปา
ออย/ขา ว+พืชสวน

รรมชาติ บริหารจดั การนา้ํ พชื ปา อาหาร ศึกษาวิจยั
น้ํา ในระบบลมุ นา้ํ ทอ งถนิ่ ทางธรรมชาติ

วกิ ฤตกิ ารการใชน ้าํ -รวมปองกันรกั ษาปา กิจกรรมการทอ งเท่ยี วและ
-ปอ งกนั ไฟปา พัฒนาการ
สง เสริมการปลกู ไม
เศรษฐกิจของชุมชน จดั การแนวเขตทดี่ ินทาํ กนิ ของ ชุมชนมีสว นรวมในการ
ชุมชนกบั ทด่ี นิ เขตปา บรหิ ารจดั การทรพั ยากรเพื่อ
การทองเที่ยววถิ ีชมุ ชน
ภูมปิ ญ ญาพ้ืนบานรวมพัฒนา
คณุ ภาพชีวิตและส่ิงแวดลอม 106

สรุปผงั จากการประชุมแผนปฏิบตั ิการลมุ นํา้ ยอ ยหวยนา้ํ ก่าํ

ลมุ นา้ํ ยอ ยหวยนํ้ากาํ่ อาํ
จังหวดั นครพน

ทรพั ยากรดินและท่ดี นิ ทรัพยากรนา้ํ และแหลงน้าํ

อนรุ ักษพ น้ื ฟูทรพั ยากรดินและอนรุ กั ษ อนรุ ักษฟน ฟแู หลงนํา้ เชิงระบบนิเวศน
ดินและน้ํา
ใชป ระโยชนจ ากทรพั ยากรนาํ้ อยา งมี
วางแผนการใชป ระโยชนท ่ีดนิ ตาม ประสทิ ธิภาพ
ศกั ยภาพการพัฒนา

เพิ่มคณุ ภาพการผลติ ทีมคี ณุ ภาพ จดั ตัง้ เครือขายอยาง
เปน ระบบลมุ น้าํ

โครงการเพ่ิมประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การช้ันคุณภาพลุม นํ้า

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

าเภอนาแก
นม

ทรพั ยากรปา ไม การตั้งถิ่นฐานชุมชน สงั คม วฒั นธรรม
ความหลากหลายทางชวี ภาพ การผลติ

ปองกนั การบกุ รุกทาํ ลายพืน้ ทป่ี า และปอ งกนั พฒั นาศักยภาพองคก รทองถ่นิ และ
ไฟปา องคกรชมุ ชนในการวางแผนพฒั นา

ฟนฟูนเิ วศปาไมด วยการจดั การเชิงภมู ทิ ศั น ประยกุ ตใชองคความรู ภมู ิปญ ญา
ทองถน่ิ เพ่ือการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และ
ใชป ระโยชนท รัพยากรจากปา อยางเหมาะสม
ตามหลกั การการอนุรกั ษ ส่งิ แวดลอ ม

สรา งพนื้ ทต่ี นแบบการดาํ รงชวี ติ อยา ง
พอเพียง /พงึ ตนเอง

107

สรุปผงั จากการประชมุ แผนปฏิบตั ิการลุม น้ํายอยหว ยน้ํากํ่า (ตอ )

คณะทาํ งานแผนหลัก เพอื่ บรู ณการ แผน ผงั ขบั เคลือ่ นการพฒั นาลุม น้าํ ก
ระดับอําเภอ (ไตรภาคี) เปน ฐาน

แผนลุมนํา้ ระดบั อําเภอ 1

ระบบเฝา ระวงั และตรวจ แนวปอ งกนั ไฟปา โดยมี คุมครองรักษาปาตนนาํ้
ลาดตระเวนไพรโดย ชุมชนมีสวนรวม
เครอื ขาย อาสาสมคั ร

ฟน ฟรู ะบบนิเวศนตนนา้ํ

ฝายมีชีวิต อนรุ ักษดนิ ลดการชะลางพังทลาย
ของดนิ

5 พัฒนาแหลงนา้ํ บรหิ ารจัดการนาํ้ อยา งเปน
อนรุ ักษห นองนา้ํ ระบบลมุ นาํ้ เชน ปตร/
อา งเกบ็ น้ํา กลุม องคก รผูใ ชน ้ํา
ขนาดเลก็
ใชนํ้าอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ และประยุกตใ ช
ปองกนั การรกุ ลาํ นํา้ / ภูมิปญ ญาไทยบา น
พ้นื ท่สี าธารณะ

โครงการเพม่ิ ประสิทธภิ าพการบริหารจดั การชัน้ คุณภาพลมุ นาํ้

รายงานสรปุ สําหรับผูบรหิ าร

กา่ํ โดยใชอ ําเภอ 4

การจัดการสิ่งแวดลอ มในชมุ ชน ชุมชนเชิงนิเวศน

วางผงั การใชประโยชนจ ากลุมนา้ํ การจัดการขยะชุมชน
อยางบูรณาการ
การจัดระเบียบทาง
2 3 สังคมของชุมชน

สง เสรมิ พัฒนาพันธไมเ ชิงภมู ิทัศน พฒั นารูปแบบการใชประโยชนท่ีดิน เครอื ขาย
อยา งมปี ระสิทธภิ าพ อาสาสมคั รชมุ ชน

ไมเ ศรษฐกิจ ปาชมุ ชน ตน แบบเกษตรกร องคค วามรูของ
ปลายน้าํ ปา ริมนํ้า เกษตร
รปู แบบการผลติ ลดการใชของสารเคมี
ลดภัยธรรมชาติ
นาํ้ ทวม กลมุ เกษตร/กลุมอาชพี สขุ ภาวะท่ดี ี
การทวมขังของน้าํ
ผลผลติ ที่เปนมิตรกับ
ส่งิ แวดลอมและสขุ ภาวะ

มาตรการโครงสรา งพน้ื ฐาน ลดเสยี่ งตอ ภยั พบิ ตั ิ
(ทอลอด/ทางระบายนํ้า ธรรมชาติ

108

รายงานสรุปสําหรบั ผูบริหาร

15. ขอ เสนอแนะตอแนวทางการเพิม่ ประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การชน้ั คณุ ภาพลุม นาํ้

สําหรับการดําเนินงานของโครงการในภาพรวม ยังไดรับการประเมินผลและใหขอเสนอแนะท่ีเปน
ประโยชนตอ การพฒั นาโครงการเพิม่ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการช้ันคุณภาพลุมน้ํา อันเปนผลมาจากการ
ประชุมการมสี ว นรว ม และการใหขอ คิดเหน็ ของคณะกรรมการที่เกย่ี วของดังน้ี

1. ขอ เสนอแนะดา นหลกั เกณฑ วธิ ีการและการประเมนิ สถานภาพลุมนํา้

1) การกําหนดรูปแบบ วิธีการในการประเมินสถานภาพลุมนํ้า ควรใหความสําคัญกับการ
เลือกใชรูปแบบ วิธีการท่ีสอดคลองกับบริบททางประชากร เศรษฐกิจ สังคม และการมีสวนรวมของภาคี
ในลุมนํ้าเปนสําคัญ โดยมุงเนนการสรางและประยุกตวิธีการท่ีตอบสนองตอการสรางการรับรูในความสําคัญของ
การประเมินสถานภาพลุมนํ้า การเรียนรูและทําความเขาใจในตัวช้ีวัดที่ใชในการประเมินสถานภาพลุมน้ํา
การใหคําอธิบายและความหมายของตัวช้ีวัดท่ีใชในการประเมิน เทคนิควิธีและกระบวนการที่เหมาะสมใน
การเลือกตัวชี้วัดในระดับลุมน้ํา โดยไมซับซอน และคํานึงถึงหลักการมีสวนรวม หลักการเรียนรูรวมกัน
หลักการบริหารจดั การลมุ น้ําตามบรบิ ทของแตล ะพ้นื ที่

2) การเลือกตัวชี้วัดในการประเมินสถานภาพลุมน้ํา ควรกําหนดตัวช้ีวัดออกเปน 2 กลุม
ตวั ช้ีวัด ประกอบดว ย (1) กลมุ ตัวช้ีวดั รวมทใี่ ชเ ปน ตัวแทนของทุกพ้ืนท่ีลุมน้ําไดอยางเหมาะสม และ (2) กลุม
ตวั ชว้ี ัดเฉพาะพนื้ ท่ลี มุ น้าํ ซงึ่ เปน ตวั ชีว้ ัดท่ีใชใ นการประเมนิ สถานภาพตามบริบทของสภาพทางโครงสรางของ
ลุม นา้ํ หรอื ตามนเิ วศบริการลุมนํ้า หรือตามองคป ระกอบในลมุ นาํ้ ทม่ี ีลักษณะเฉพาะตัว

3) กําหนดวิธีการไดมาซ่ึงขอมูลของตัวช้ีวัดท่ีใชในการประเมินสถานภาพลุมน้ําที่ภาคสวนที่
เก่ียวของกับการประเมินสถานภาพลุมน้ํา สามารถแสวงหา พัฒนาและจัดทําขอมูลมาใชในการประเมินได
อยางถูกตอ ง แมนยาํ หรอื การประสานงานหนว ยงานทีม่ กี ารรวบรวมและจัดเก็บขอมูลไวอยางเปนระบบและ
มีความเปนปจจุบัน รวมทงั้ เปน ระบบขอ มลู ท่ีสามารถนํามาใชใ นการอา งองิ ได

4) การพัฒนาและคัดเลือกตัวชี้วัดมาใชในการประเมินสถานภาพลุมน้ําน้ัน ควรดําเนินการ
อยางเปนระบบข้ันตอน (Process Approach) โดยควรผานกระบวนการคัดกรอง (Filtration) จาก
ผูทรงคุณวุฒิท่ีเกี่ยวของเพื่อใหประเมินตัวชี้วัดที่เหมาะสม ควบคูกับกระบวนการมีสวนรวมของภาคีในลุมน้ํา
(Participatory Approach) ที่มาจากตัวแทนของภาคสวนตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ อาทิ ภาคสวนท่ีเกี่ยวของกับผูใช
ทรัพยากรในลุมน้ํา ผูสงเสริมการอนุรักษทรัพยากรในลุมนํ้า ผูวางแผนจัดการทรัพยากรในลุมนํ้า ผูกํากับ
ควบคมุ ดูแลการใชทรัพยากรในลุมนาํ้ ผูพัฒนาทรัพยากรในลุม น้ําเพ่ือประโยชนในทางเศรษฐสังคม เครือขาย
อาสาสมคั รในลุม น้ํา หรอื แมก ระทงั่ บทบาทขององคกรปกครองสวนทองถ่ินในพื้นที่ลุมนํ้า เพื่อใหการคัดเลือก
และกําหนดตัวชี้วัดมีความเปนไปไดในทางปฏิบัติและการประเมินสถานภาพลุมน้ํา รวมทั้งเปนการสราง
ฉนั ทามตริ ว ม และความเห็นพอ งตองกนั ของภาคใี นลมุ น้าํ (Consensus Building)

5) ในการประเมินสถานภาพของลุมน้ํา ควรไดมีการตรวจสอบสถานภาพของลุมน้ําในพื้นท่ีท่ี
ไดร ับการประเมินระดบั สถานภาพเพอื่ พจิ ารณาถึงประเด็นปญหา สาเหตุ ผลกระทบ หรือแรงกดดันที่เกิดข้ึน
ในพ้ืนท่ี หรือการประกอบกิจกรรมการใชประโยชนทรัพยากรในลุมน้ํา ผานการตรวจสอบภาคสนาม (Field

โครงการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การชนั้ คณุ ภาพลมุ นํา้ 109

รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร

Check) เพื่อเปนการยืนยนั ถึงความถูกตอง แมน ยาํ ของผลการประเมนิ สถานภาพกับปรากฏการณของพ้ืนที่ท่ี
ไดรับการประเมินสถานภาพ เชน การเปลี่ยนแปลงพืชเกษตร การพัฒนาแหลงน้ํา ปญหาการใชสารเคมี ทาง
การเกษตร การประกอบกิจการโรงงานอุตสาหกรรม การบุกรุกพื้นท่ีปาไม ปญหาไฟปา ปญหาความเส่ือมโทรม
ของระบบนเิ วศแหลงนํา้ หรอื กจิ กรรมการขยายตัวของการต้ังถ่นิ ฐานชุมชน รวมตลอดจนการพัฒนากิจกรรม
การทองเท่ียวในพื้นที่ เปนตน การตรวจสอบขอเท็จจริงในภาคสนามเปนสวนหน่ึงของกระบวนการตรวจ
ประเมนิ ความถูกตอ งแมนยําของวธิ ีการท่ใี ชใ นการประเมนิ สถานภาพลุมน้ํา

2. ขอเสนอแนะดา นการกาํ หนดแนวทางและมาตรการในการจัดการพืน้ ที่ลุมนํา้

1) การจัดลําดับความสําคัญของมาตรการและแนวทางรองรับการบริหารจัดการพ้ืนท่ีลุมน้ํา
ตามผลการประเมนิ สถานภาพลมุ นา้ํ ควรกาํ หนดออกเปน 3 ระดับ ประกอบดวย ลําดับความสําคัญในระดับ
เรงดวน ลําดับความสําคัญในระดับสูง และลําดับความสําคัญในระดับทั่วไป โดยการพิจารณาระดับ
ความสําคัญนั้น ควรคํานึงถึง ระดับของผลการประเมินสถานภาพลุมนํ้า และแนวโนมของประเด็นปญหา
ความรุนแรง ผลกระทบท่ีอาจเกิดขึ้นท้ังในระยะสั้นและระยะยาว โดยแตละกลุมของมาตรการ/แนวทางตอง
ระบุพื้นท่ีเปาหมายในการดําเนนิ งานทชี่ ัดเจน อาทิ พ้ืนที่ชั้นคุณภาพลุมนํ้าชั้นท่ี 1 และ 2 พื้นที่อนุรักษ พ้ืนท่ี
แนวกันชนรอบพื้นที่อนุรักษ พื้นที่เกษตรกรรม พื้นท่ีประสบปญหานํ้าทวม ภัยแลง พ้ืนที่ที่มีปญหาการกัด
เซาะชายฝง พ้ืนท่ีเสี่ยงตอการเกิดปญหาไฟปาและหมอกควัน เปนตน ซึ่งจะชวยใหหนวยงานผูพัฒนา
แผนงาน โครงการ สามารถกําหนดรายละเอียดของแตละพ้ืนที่เปาหมายในการดําเนินงานไดอยางเหมาะสม
ตอ ไป

2) การพัฒนามาตรการและแนวทางรองรับการบริหารจัดการลุมนํ้า ควรพิจารณาใหสัมพันธ
กับกรอบดา นนโยบาย ยุทธศาสตรการพัฒนาของประเทศ ภาค กลุมจังหวัด จังหวัด อําเภอ หรือการพัฒนา
ระดับทองถ่ิน ท้ังนี้ ใหยึดมาตรการความสอดคลองกับบริบทของลุมนํ้าเปนสําคัญ ทั้งในบริหารจัดการพื้นที่
ตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํา โดยหากเปนพื้นท่ีตนนํ้า ตองใหความสําคัญและมุงเนนมาตรการในดานการ
ปองกัน รักษา คุมครองและฟนฟูระบบนิเวศทางธรรมชาติใหเกิดความสมดุลของระบบนิเวศ ขณะที่พื้นท่ี
กลางนํ้า ควรมงุ เนน การพัฒนาใชป ระโยชนค วบคกู บั หลกั อนรุ กั ษวธิ ี มีการกาํ หนดเขตการพัฒนาที่เปนไปตาม
ศักยภาพของทรัพยากรและไมเกิดความขัดแยงในการใชประโยชนทรัพยากรในลุมน้ํา ขณะที่พ้ืนท่ีปลายนํ้า
ควรใหความสําคัญกับการควบคุมกิจกรรมการพัฒนาที่มีการจัดการสิ่งแวดลอมที่ดี ใชเทคโนโลยีการผลิต
การบริการและการบริโภคที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม สรางชุมชนเชิงนิเวศ และมีการวางระบบการบริหาร
จดั การลุม น้ําแบบบรู ณาการโดยใชพน้ื ทเ่ี ปนฐาน (Area-based Management) ท้ังมาตรการดานกฎระเบียบ
การสงเสริม การสรางความรูความตระหนักตอการวางแผนพัฒนาลุมน้ํา การกํากับดูแล การใชประโยชน
การอนุรักษฟนฟู และการสรางการมีสวนรวมและองคกรลุมนํ้าท่ีเขมแข็ง ในการวางแผนพัฒนาลุมน้ําอยาง
เปนระบบ

3) การกาํ หนดแนวทางและมาตรการรองรับในพน้ื ที่ลมุ นํ้า ควรพิจารณาใหสอดคลองกับบริบท
ของแตละลุมน้ํา โดยผูวางแผนกําหนดแนวทางและมาตรการตองวิเคราะหสภาพแวดลอมลุมนํ้า จุดแข็ง

โครงการเพมิ่ ประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การชน้ั คุณภาพลมุ นํ้า 110

รายงานสรุปสาํ หรบั ผูบริหาร

จุดออน ความไดเปรียบ ภัยคุกคามท่ีอาจเกิดขึ้นในลุมนํ้า จากนั้นประเมินระดับความรุนแรงของปญหาและ
แนวโนม จึงคอยกําหนดมาตรการท่ีเหมาะสม มาตรการที่ริเร่ิมพัฒนาขึ้น ควรเปนมาตรการท่ีเช่ือมโยงอยาง
เปนกระบวนการ เชน มาตรการดานการจัดต้ังองคกรลุมน้ํา ควรประกอบดวย กิจกรรมการจัดต้ังกลไกของ
องคก รลมุ น้ําขน้ึ มารองรับ กิจกรรมการประชุมปรึกษาหารือ กิจกรรมการจัดทําแผน กิจกรรมการปฏิบัติตาม
แผนและกิจกรรมการติดตามและประเมนิ ผลหลงั การปฏิบัติ เปนตน หรือมาตรการดานการส่ือสารและเตือน
ภยั ธรรมชาติ ควรประกอบดว ย กจิ กรรมการพัฒนาขอมูลความเส่ียง กิจกรรมการติดตั้งและพัฒนาระบบเฝา
ระวังและติดตามสถานการณ กิจกรรมการสรางเครือขายเฝาระวัง กิจกรรมการแจงเตือน กิจกรรมการตอบ
โตเ หตุและสถานการณฉุกเฉิน และกิจกรรมการฟนฟูเยียวยาความเสียหาย เปนตน อน่ึงการสรางกิจกรรมท่ี
เปน กระบวนการเชื่อมโยงแบบหวงโซคุณคา (Value Chain) ของมาตรการตาง ๆ อยางเปนระบบนั้น จะทํา
ใหเ กิดประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผลในทางปฏบิ ัติของการนํามาตรการไปปฏิบัติ แตท้ังน้ีทั้งน้ัน ข้ึนอยูกับการ
กําหนดหวงเวลาของการปฏิบัติการควบคูไปดวย เนื่องจากในบางมาตรการท่ีกําหนดไว อาจใชระยะเวลาใน
การดําเนินงาน 2-5 ป เปน อยางนอ ย เปนตน

4) มาตรการและแนวทางทส่ี ามารถนํามาประยุกตใชไ ดกับทกุ พนื้ ที่ลุมน้ํา และเปนมาตรการใน
กระแสหลัก (Mainstream) ของการพัฒนาทย่ี ั่งยนื โดยเฉพาะอยางย่ิงการผลิต การบริการและการบริโภคท่ี
เปน มิตรกับส่งิ แวดลอ มเพอ่ื กาวสกู ารเปน ลุม น้ําคารบอนต่ํา โดยเปนมาตรที่มุงเนนการอนุรักษทรัพยากรและ
ส่ิงแวดลอม การนําทรัพยากรมาใชเพื่อเศรษฐกิจฐานชีวภาพ การพัฒนากลุมอาชีพหรือกลุมอนุรักษ
ทรัพยากรในทองถิ่น การรักษาพันธุกรรมพืช การสงเสริมการทองเท่ียวเชิงนิเวศโดยฐานชุมชน การทําการ
เกษตรกรรมยั่งยนื การสรางสงั คมการบริโภคสเี ขียว เปนตน รวมตลอดจนการสงเสริมความเขาใจขององคกร
ในการใชผลิตภัณฑที่เปนมิตรกับส่ิงแวดลอมและสุขภาพ และใหหมายรวมถึง มาตรการในดานการเรงเสริม
ระบบกลไกและเคร่ืองมือเพ่ือการบริหารจัดการลุมน้ําแบบบูรณาการ เชน การสรางเครือขายและองคกรลุม
น้ําท่ีเขมแข็ง การตั้งกลุมผูใชน้ํา การกําหนดกฎระเบียบในลุมน้ํา การพัฒนาขอมูลและสารสนเทศเพ่ือการ
วางแผนและตัดสินใจ การสงเสริมการมีสวนรวมในลุมนํ้า การพัฒนาพื้นที่ตนแบบดานการบริหารจัดการลุม
น้ําเชิงพื้นที่ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมและระบบนิเวศลุมนํ้า การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมลุมน้ํา
เปนตน ซึ่งมาตรการเหลานี้ลว นมคี วามจําเปน ตอ การอนรุ กั ษ ฟน ฟูระบบนเิ วศลุมน้ําทัง้ ส้นิ

3. ขอ เสนอแนะดานการจดั ทาํ โครงการนาํ รองในพ้นื ท่ีลมุ น้ํา

1) ควรกําหนดแนวทาง หลักเกณฑ เงื่อนไขในการคัดเลือกพื้นที่ลุมนํ้าสาขาที่ใชเปนพ้ืนท่ี
ตัวแทนในการดําเนินโครงการนํารอง โดยพิจารณาถึงระดับของสถานภาพลุมน้ํา ความวิกฤตของปญหา
แนวโนม แรงกดดันที่สงผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศลุมนํ้า รวมถึงผลของการพัฒนานโยบาย
ของรัฐท่ีเกิดการปรับเปล่ียนรูปแบบ วิธีการใชทรัพยากรในลุมนํ้าหรือเกิดผลกระทบดานส่ิงแวดลอมในวง
กวาง กอปรกับการเลือกพื้นที่ลุมนํ้าสาขาน้ัน ควรนําตัวช้ีวัดดานเศรษฐสังคมและการมีสวนรวมมาใชในการ
กําหนดพ้ืนที่ ท่ีไดรับการคัดเลือก เชน ความสามารถในการรวมกลุมชุมชน การดําเนินกิจกรรมดานการ
อนุรักษทรัพยากรในลุมนํ้า บทบาทผูนําชุมชน การใหความสําคัญของแผนพัฒนาทองถิ่นท่ีมีเนื้อหาสาระ

โครงการเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การชัน้ คณุ ภาพลุมน้ํา 111

รายงานสรปุ สาํ หรบั ผูบรหิ าร

เกีย่ วของกบั การอนุรกั ษทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ประสบการณในการทํางานรวมกับภาคสวนตาง
ๆ หรือแมกระท่ังพื้นท่ีท่ีมีวิธีปฏิบัติท่ีเปนเลิศ (Best Practices) ในชุมชนท่ีสามารถถายทอดองคความรูและ
ประสบการณสูผูสนใจอื่น ๆ ได ดังนั้น การคัดเลือกพื้นที่ดําเนินโครงการนํารอง จึงควรไดรับการกําหนดข้ึน
โดยคํานงึ ถงึ ตัวชีว้ ดั แวดลอมรอบดาน ทั้งมิติดานกายภาพ ชีวภาพ กิจกรรมการใชประโยชนทรัพยากรลุมน้ํา
และมิติดานเศรษฐสังคมชุมชนและการมีสวนรวม ทั้งน้ี ใหนําระดับการประเมินสถานภาพลุมนํ้าท่ีไดมารวม
พจิ ารณาดวย

2) การจัดทํากิจกรรมการอบรมพัฒนาศักยภาพเครือขายในพ้ืนท่ีดําเนินโครงการนํารอง หรือ
กิจกรรมการใหความรูความเขาใจในการประเมินสถานภาพลุมนํ้านั้น ควรเปนการสื่อสารความรูและความ
เขาใจโดยใชภูมินิเวศของพ้ืนท่ีลุมนํ้าสาขามาถายทอดและวิเคราะหสภาพแวดลอมรวมกัน การอบรมพัฒนา
ศักยภาพเครือขายในลุมนํ้าสาขานั้น ควรจัดทําเปนกิจกรรมในระดับพื้นท่ีโดยตรง ใชบทบาทของผูนําชุมชน
หรอื องคก รปกครองสว นทองถิ่นเปน กลไก ในการประสานเชื่อมโยงภาคีในทองถิ่นมารวมทํางาน การกําหนด
กจิ กรรมนํารอ งเชิงพื้นที่ ควรอยใู นความสนใจและตอบสนองตอ ปญหาในพนื้ ที่ สมาชิกในชุมชนมีสวนรวม ใน
การสนบั สนุนกิจกรรมไดอยางกวางขวาง ไมเนนการดําเนินกิจกรรมที่พัฒนาสิ่งปลูกสราง หรือถาวรวัตถุ แต
มุงเนนกิจกรรมท่ีสรางความตระหนักตอการแกไขปญหา หรือการบริหารจัดการพ้ืนท่ีอยางมีสวนรวมภายใต
กฎระเบียบของชุมชนในพื้นที่ลุมนํ้า อาทิ การทําฝายดักตะกอน การฟนฟูระบบนิเวศปาไมโดยชุมชน การ
ฟน ฟูแหลงนาํ้ การสาํ รวจทรัพยากรชวี ภาพในปาชุมชน การปองกันการชะลางพังทลายของดินดวยแฝก การ
ทําแนวกันไฟ การติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําอยางงาย การทําปุยชีวภาพจากวัสดุเหลือใชการเกษตร การ
ปลอ ยพันธสุ ตั วน า้ํ หรอื การทาํ เขตอนุรักษพ นั ธกุ รรมสัตวน้ํา เปนตน กิจกรรมเหลาน้ีลวนเปนกิจกรรมท่ีชุมชน
มีความพรอมในการดําเนินงานไดเอง สงเสริมบทบาทชุมชนในการอนุรักษฟนฟูลุมนํ้า สรางความรวมมือใน
ทอ งถ่นิ และสามารถประยุกตใ ชศ าสตรพระราชาในการฟน ฟูระบบนิเวศโดยฐานชมุ ชน

3) ควรมกี ารดําเนินกิจกรรมการขยายตอยอด จากพื้นท่ีดําเนินโครงการนํารองสูการเปนพ้ืนท่ี
สาํ หรบั การจัดทําแผนปฏบิ ัตกิ ารอนุรักษ ฟนฟูลุมน้ําในระยะตอไป โดยการดําเนินงานเพื่อจัดทําแผนปฏิบัติการ
อนุรักษ ฟนฟู และใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมในพ้ืนท่ีลุมน้ําน้ัน ควรเปนการจัดทําใน
พื้นที่ลุมนํ้าสาขาท่ีมีการเตรียมความพรอมในการดําเนินงาน ในดานการสรางความเขาใจในผลการประเมิน
สถานภาพลุมน้ํามากอน ซ่ึงหากพ้ืนท่ีเหลาน้ีไดรับการจัดทําแผนปฏิบัติการลุมนํ้าในระยะตอไป ก็ยอมทําให
การดําเนินงานเกิดความตอเน่ืองและเปนระบบ พ้ืนท่ีเปาหมายมีความพรอมในการสนับสนุนกระบวนการ
จดั ทําแผนปฏบิ ัติการ ซ่ึงในข้ันตอนการจัดทําแผนปฏิบัติการนั้น ประกอบดวย ข้ันตอนการกําหนดผูมีสวนได
สวนเสียหลักในลุมนํ้า ขั้นตอนการวิเคราะหสภาพแวดลอม ขั้นตอนการกําหนดปญหา โอกาสการพัฒนา
ข้ันตอนการรางแผนปฏิบัติการ ข้ันตอนการนําแผนสูการปฏิบัติ และข้ันตอนการติดตามและประเมินผล
รวมถึงการทบทวนแผน ซ่ึงหากกําหนดใหพ้ืนท่ีที่ผานการดําเนินโครงการนํารองมากอน เพื่อใหเปนพ้ืนที่ใน
การจัดทาํ แผนปฏบิ ัติการ ยอมเปน การดําเนินงานทจี่ ะเกิดผลสัมฤทธใ์ิ นทางปฏิบัตไิ ดเ ปน อยา งดี

โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจดั การช้นั คุณภาพลมุ นา้ํ 112

รายงานสรุปสาํ หรับผูบริหาร

4. ขอเสนอแนะดา นการจัดทําแผนปฏิบตั กิ ารในพื้นท่ชี ้นั คณุ ภาพลุมนา้ํ

1) การกาํ หนดพืน้ ท่ีตัวแทนในการจดั ทาํ แผนปฏิบตั กิ ารในพื้นทชี่ ัน้ คณุ ภาพลุม นํา้ ควรพิจารณา
โดยคํานึงถงึ พ้ืนทที่ ี่ผา นการดําเนนิ โครงการนาํ รอ งดานการอนุรักษ ฟน ฟลู ุมนาํ้ ที่มคี วามจําเปนเรงดวนมากอน
เพื่อการขยายผลและตอยอดการดําเนินงานตอไป และสามารถวิเคราะหกลไกการขับเคล่ือนการนําผลการ
ประเมนิ สถานภาพลุมน้ําสกู ารจดั ทาํ แผนปฏบิ ตั ิการไดอ ยางเปนระบบ

2) การจัดต้ังคณะทํางานวางแผนหลัก (Core Planning Team: CPT) หรือคณะทํางานจัดทํา
แผนปฏบิ ตั กิ าร หรือคณะทํางานการมีสวนรวมในการจัดทําแผนปฏิบัติการ ควรพิจารณาภาคสวนตาง ๆ ใน
พื้นที่เปาหมายที่เกี่ยวของกับการสนับสนุนกระบวนการจัดทําแผนปฏิบัติการ หรือมีบทบาทในการบงชี้
สถานการณของปญ หา แนวโนม ความวิกฤต หรือมีบทบาทในการเอ้ืออํานวยใหเกิดการวางแผนแกไขปญหา
ท่ีเกิดขึ้นไดเหมาะสมกับบริบทชุมชนและพื้นท่ีลุมน้ํา การจัดต้ังคณะทํางานหลัก อาจหารือกับกลไกของ
องคก รปกครองสวนทองถิ่น และหนว ยงานราชการสวนภูมภิ าค (อําเภอ) เพ่ือใหมีตัวแทนท่ีมีสัดสวนเพียงพอ
ตอ การสนบั สนนุ การทํางาน และหากพ้นื ท่ีลุมน้ําใดมีขอ จํากดั ในการจัดต้ังคณะทํางานวางแผนหลักหรือกลไก
ดําเนินงานที่เปนทางการ ใหพิจารณาตามความเหมาะสมกับสถานการณ โดยใหมีกลุมผูสนใจ (Interest
Group) เขารวมกิจกรรมอยางเปนกระบวนการ ตั้งแตการวิเคราะหปญหา การวางแผน การรางแผน และ
การนาํ แผนสกู ารปฏิบัติ

3) ในข้ันตอนการจัดทําแผนปฏิบัติการ ตองจัดใหมีวิทยากรกระบวนการ (Facilitator) หรือ
ผูทําหนาท่ีใหคําแนะนํา (Coaching) แกภาคีในลุมนํ้า เพื่อใหเกิดกระบวนการวิเคราะห สังเคราะหปญหา
และกําหนดแผนปฏิบัติการรองรับ หรือการสนับสนุนขอมูลเชิงพื้นที่เพื่อการประเมินความสําคัญของปญหา
รูปแบบการจัดทําแผนปฏิบัติการ อาจประกอบดวย การบรรยายใหความรูความเขาใจดานการจัดทําแผน
การประเมินผลสถานภาพลุมนํ้า การตรวจสอบสภาพแวดลอม การรางวิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค
แผนงานตาง ๆ และอาจรวมไปถึงโครงการรองรับท่ีสําคัญ ซึ่งการระดมความคิดเห็นแบบกลุมยอยหรือกลุม
เชิงพ้นื ที่ จะชวยใหก ารดําเนนิ งานจัดทําแผนมคี ุณภาพและตอบสนองตอ การมีสว นรวมมากทีส่ ุด

4) แผนปฏิบัติการที่จัดทําข้ึนมานั้น ควรมีกรอบระยะเวลาดําเนินการ 5 ป โดยแผนงาน/โครงการ
รองรบั ตามความสาํ คญั และความจาํ เปน ของแตล ะแผนงาน/โครงการ หากเปนแผนงาน/โครงการท่ีตองอาศัย
ระยะเวลาในการบรรลุเปาหมาย ก็ควรมีกรอบเวลาในการดําเนินงานต้ังแต 1-5 ป หรือมากนอยตามความจํา
เปนของแผนงาน/โครงการท่ีจัดทําขึ้น อยางไรก็ตาม แผนงาน/โครงการตาง ๆ ที่ระบุไวในแผนปฏิบัติการ
ทั้งหมดควรมีความเช่ือมโยงดานมิติของกรอบเวลารองรับควบคูไปดวย เพ่ือประสิทธิผลของการบรรลุ
เปาหมายที่วางไว อน่ึง ในบางแผนงาน/โครงการ อาจมีหนวยงานหลักรับผิดชอบตามบทบาทหนาที่ของ
หนวยงานน้ัน แตบางแผนงาน/โครงการอาจเปนภารกิจท่ีตองดําเนินการรวมกันของหลายหนวยงานเพ่ือให
บรรลุภารกิจ เชน แผนงาน/โครงการดานการปองกันไฟปาและหมอกควัน ซ่ึงตองอาศัยหลายหนวยงานมา
สนับสนุนซ่ึงกันและกัน ทั้งน้ีทั้งนั้น ตองระบุวาเปนแผนงาน/โครงการท่ีมีความสําคัญสูง หรือเปนแผนงาน/
โครงการที่มีความสําคัญปกติ หากเปนแผนงาน/โครงการที่มีความสําคัญสูง ยอมหมายถึงเปนแผนงาน/

โครงการเพ่มิ ประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การช้ันคุณภาพลุม น้ํา 113

รายงานสรปุ สําหรบั ผูบรหิ าร

โครงการท่ีมคี วามจําเปนในการแกไ ขปญหาโดยเรงดว น หรอื มีปญหาเกิดขึ้นและมีแนวโนมของปญหาที่จะทวี
ความรนุ แรงเพมิ่ ขึ้นหากไมมกี ารบริหารจดั การทีด่ ี

5. ขอ เสนอแนะดานการพัฒนาความพรอมองคก รและบคุ ลากรในลุม นาํ้
1) มีความจําเปนอยางย่ิงท่ีหนวยงาน/องคกรในลุมนํ้าตองมีการทําความเขาใจในความสําคัญ

และความจําเปนของการประเมินสถานภาพลุมนํ้า เพื่อใหเกิดความตระหนักในการประเมินสถานภาพของ
ทรัพยากรและสง่ิ แวดลอ มในลุมนํ้าอยางตอเน่ือง โดยใชการพัฒนาตัวชี้วัดในการประเมินสถานภาพที่เปนไปตาม
บรบิ ทพน้ื ที่ การส่อื สารความสําคัญของงานประเมินสถานภาพลุมนํ้า สามารถดําเนินการไดโดยใหหนวยงาน
ระดับนโยบายหรือสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม สื่อสารถายทอดผลการ
ประเมนิ สถานภาพลมุ น้ําใหกบั หนวยงาน/องคกรในลุม นาํ้ ไดรบั ทราบ รวมถงึ การเสนอผลการดําเนินโครงการ
ใหก ลไกของสวนราชการภูมิภาคไดร ับทราบรวมกนั

2) พัฒนาระบบขอมูลและสารสนเทศ เพื่อการประเมินสถานภาพลุมนํ้าใหกับหนวยงาน/
องคกรในลุมนํ้าไดใชเปนแนวทางในการประเมินสถานภาพลุมน้ําไดดวยตนเอง และเปนการระบุประเด็น
ปญหา ผลกระทบท่ีเกิดข้ึนเชิงพื้นท่ี อันเปนประโยชนตอการจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปของแตละ
หนวยงาน ที่เก่ียวของ และใหมีการอบรมพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรของหนวยงาน ใหมีทักษะในการใชงาน
ระบบขอมูลสารสนเทศในงานประเมินสถานภาพลมุ น้ํา

3) พัฒนาระบบการรวบรวมและจัดเก็บขอมูลตัวชี้วัดลุมนํ้าที่สําคัญ โดยเฉพาะกลุมตัวชี้วัด
ดานโครงสราง บทบาทหนาท่ีในลุมน้ํา รวมท้ังติดตามและรายงานผลตัวช้ีวัดดานสังคมเศรษฐกิจและการใช
ประโยชน และตัวช้ีวัดดานการบริหารจัดการของหนวยงานตาง ๆ ผานระบบขอมูลที่ทุกภาคสวนเขาถึงการ
ใชงานได และในบางกรณีอาจมีความจาํ เปนในการพัฒนาขอมูลเฉพาะพื้นที่ สําหรับการประเมินสถานภาพท่ี
สอดคลองกับบริบทของลุมนํ้า เชน ขอมูลการกัดเซาะชายฝง ขอมูลการขึ้น-ลงของระดับน้ําทะเลหรือความ
เค็มของนํ้า ขอมูลการใชประโยชนพ้ืนที่แหลงนํ้าสาธารณะหรือขอมูลการทองเท่ียว เปนตน ซ่ึงขอมูลเหลานี้เปน
ขอ มลู ทีม่ ีการเปล่ยี นแปลงตามหว งเวลา ดังนนั้ การติดตามและรายงานผลอยางตอเนื่องจึงเปนประโยชนตอการ
พฒั นาขอมลู ใหม คี วามเปน ปจ จบุ นั และนาํ มาใชใ นการประเมนิ สถานภาพไดอยางถูกตอ งแมน ยํา

4) เสริมสรางศกั ยภาพความรว มมือของเครือขา ยอาสาสมคั รนกั วจิ ยั ชุมชนในพื้นท่ีลุมนํ้าใหเปน
กลไกของหนวยงาน/องคกร เพ่ือใหเครือขายอาสาสมัครนักวิจัยชุมชนมีสวนรวมในการสํารวจขอมูล
ภาคสนาม ติดตามการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศระดับพ้ืนที่ เฝาระวังการคุกคามทรัพยากรในลุมนํ้า และมี
บทบาทในการสนับสนุนการจัดทําแผนปฏิบัติการลุมนํ้า โดยตองทําทะเบียนและประวัติเครือขาย การใชงาน
เครือขาย การเสริมพลังเครือขาย และการใหขวัญกําลังใจแกเครือขาย เพ่ือใหเกิดการทํางานบนพื้นฐาน
ความรวมมือซงึ่ กนั และกัน (Collaborative Management)

โครงการเพ่มิ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การชั้นคุณภาพลมุ น้ํา 114

Executive Summary Report
The project on increasing efficiency of watershed classes management

(Watersheds in the Western and Central region)

Table of Content Pages

1. Introduction 1

2. Study Area 1

3. Natural Resource Conditions in Study Area 4

3.1 Topography of Western and Central Basin 4

4. The Guidelines for Watershed Condition Assessment 7

5. Indicator and Data Used for Watershed Condition Assessment

6. Arranging a Conference for Discussing about Indicators and Mathematical Model 17

7. The Examination and Field Survey 19

8. Pilot Area Selection 25

9. Academic Conference for Discussing about Watershed Condition Assessment 35

Results (Watershed of Western and Central region)

10. Pilot Project Establishment for Watershed in Urgent Requirement of 38

Conservation and Restoration

11. Measures and Methods for Area Conservation and Protection with the Results of 41

Watershed Condition Assessment

12. Watershed Condition Assessment Model on Western and Central Basins 60

12.1 Characteristics and Main Tools for Model 60

12.2 Process Model 62

12.3 Training Session Arrangement 69

13. Create an Effective Action Plan to Restore, Conserve, and Utilize 70

Natural Resources and Environment : Watersheds in Northeastern Region.

13.1 Areas Selection for Creating Action Plans to Restoration and Conservation 72

13.2 Operational Areas 76

14. The Establishment of Action Plan in Watershed Class Areas 79

(Northeastern Watershed)

14.1 The problems of watershed areas selected for case study 80

14.2 The Process of District-Based Action Plan at Watershed Level 81

The project on increasing efficiency of watershed classes management i
(Watersheds in the Western and Central region)

Executive Summary Report

Table of Content (Cont.) Pages

14.3 Data Analysis and Relevant Department Appointment Working Group 84

14.4 District-Based Action Plan at Watershed Level 90

14.5 The Organization of Discussion Conference on Action plan for 114

Natural Resources and Environment Restoration, Conservation, and

Utilization in Watershed Class Area: Watersheds in Northeastern Region.

15. The Recommendation on Guidelines for Increasing Efficiency of Watershed 119

Class Management.

The project on increasing efficiency of watershed classes management ii
(Watersheds in the Western and Central region)

Executive Summary Report

List of Figure Pages

1 Watershed Areas in Western and Central Region 3

2 Topography of Western Basin 4

3 Topography of Central Basin 4

4 Watershed Classes of Western and Central Basins

5 Topography of Western and Central Basins Classified as in River Basins and Sub-basins 8

6 Map of Basins and Sub-Basins classification in Western and Central Basins 9

7 The Condition of Land Use Area in Western and Central Watersheds

8 The Summary of Selection Process of Watershed Condition for Pilot Activity 26

9 Map of Sub-basins Condition in Western and Central Watersheds 28

10 Map of Watershed Condition Assessment Results in Western and Central Region 29

11 Map of Sub-basins Condition Assessment Results in Mae Klong River Basin 29

12 Map of Sub-basins Condition Assessment Results in Petchaburi River Basin 30

13 Map of Sub-basins Condition Assessment Results in Tha Chin River Basin 30

14 Map of Sub-basins Condition Assessment Results in Sakae Krang River Basin 31

15 Map of Sub-basins Condition Assessment Results in Chao Phraya River Basin 31

16 Watershed Condition in Nong Kum Sub-district 33

17 Watershed Condition in Nong MaKha Mong Sub-district 33

18 Watershed Condition in Nong Bua Sub-district 34

19 Watershed Condition in Tha Lang Sub-district 34

20 Watershed Condition in Mae Poen Sub-district 35

21 Steps and Working Methods of Model 60

22 Home Screen and Toolbar for Watershed Condition Analysis. 61

23 The Selection of Watershed Data 62

24 Window of Watershed Condition Assessment Model (Sakae Krang basin) 63

25 Window of Score Setting for Indicators and (Scoping the Study Areas) Example of 64

Model Builder Command to Scope Study Areas

26 Window of Score Value Setting of Indicator and Example of Model Builder 64

Command for Score Setting

27 Window of Indicator Score Editing and Model of Model Builder Command for 65

Indicator Score Correction

28 Window of Point Indicators Preparation (raster) for Condition Analysis and 65

Model Builder Command of Point Indicators Preparation (raster) for Condition Analysis

The project on increasing efficiency of watershed classes management iii
(Watersheds in the Western and Central region)

Executive Summary Report

List of Figure (Cont.) Pages

29 Window of Point Indicator Score Adjustment (raster) and Model Builder Command for 66

Point Indicator Score Adjustment (raster)

30 Window of Indicator and Weight Setting to Analyze Watershed Condition and Model 66

Builder Command for Indicator and Weight Setting to Analyze Watershed Condition

31 Condition Assessment Result (raster) 67

32 Window for Converting Watershed Condition Assessment Results from Raster to Vector 67

and Model Builder Command for Converting Results from Raster to Vector

33 Condition Assessment Results (Vector) with Condition Proportion 68

34 Window for Condition Assessment Results of Required Area Extent Classification and 68

Model Builder Command for Condition Assessment Results Required Area Extent

Classification

35 River Basins and Sub-basins Boundary Map as a Watershed Study Area in 71

Northeastern Region

36 The Map Shows 25 Sub-watershed Areas Selected at First Stage. 74

37 Selected Sub-watershed Areas 75

38 Scope of Study Areas of Huai Nam Kam Sub-watershed 76

39 Scope of Study Areas of Lam Nam Choen Sub-Watershed 77

40 Scope of Study Areas of Lam Plai Mat sub-watershed 78

The project on increasing efficiency of watershed classes management iv
(Watersheds in the Western and Central region)

Executive Summary Report

List of Table Pages

1 Province Area within Watershed Area in Western and Central Region 2

2 River Basins and Watershed Classes in Project Study Area 5

3 Information of Basin and Sub Basin Classification in Western and Central Region 7

4 Comparison of Watershed Assessment Indicators 11

5 Proposed Indicators in Preliminary Stage 14

6 An Example of Prioritization of Watershed Management Group 16

7 Indicator Adjustment for Watershed Condition Assessment in Each Watershed 19

8 Improving Indicators and Weights of Western and Central River Basins 20

9 Result of Western and Central Watershed Areas Survey 22

10 Summary of Western and Central Watershed Condition Assessment Results 25

11 Indication of Critical, Risky, Warning and Balanced Condition of Sub-Basins 26

12 The Suggestion for the Watershed Condition Assessment Results of 37

Western and Central Region

13 Measures and Methods for Area Conservation and Protection with the Results of 43

Watershed Condition Assessment

14 Tools and Description 63

15 The Details of Selected Sub-watershed Areas for Establishing Action Plans 73

16 The implementation of action plan on restoration, conservation, and natural resources and

environment usage in watershed areas at district level 82

17 Major Sectors Play an Important Role in the Standing Plans 85

18 The Structure of Management Organization in Watershed Areas 87

19 Indicators of Watershed Action Plan Levels 93

20 Work Plan and Project Supporting for Action Plans at Watershed Level 95

The project on increasing efficiency of watershed classes management v
(Watersheds in the Western and Central region)

Executive Summary Report

The project on increasing efficiency of watershed classes management
(Watersheds in the Western and Central region)

1. Introduction

The Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning has
established a project to enhance the efficiency of watershed classes management and
focused on the relevant departments to participate in the operation for promoting
watershed classification policy to be in accordance with principles and potential of the
areas based on land use measures of each watershed class, which the Cabinet approved as
a guideline. The operation includes 2 main activities: 1) evaluating the river basins and sub-
watersheds condition which consists of formulating criteria, methods, and set of indicators
used in watershed condition assessment. Making suggestion for solutions to problems in
watershed areas, together with establishing pilot projects to conserve and rehabilitate
upstream areas to become model communities and activities in practice and 2) formulating
an action plan for natural resources and environmental restoration, conservation, and
utilization in watershed class areas for selected areas from previous assessment results. In
the fiscal year 2019, the operation was expanded to the Western and Central Bain areas,
with the objective of the project covering entire basins all over the country. The
implementation of project support for the 12th National Economic and Social Development
Plan (2017-2022), Government policy (Gen. Prayut Chan-o-cha), the National Environmental
Quality and Promotion Policy and Plan 2017-2036, strategies for preserving, restoring and
utilizing natural resources and biodiversity in a balanced and sustainable manner according
to natural ecosystem, the National reform plan on natural resources and the environment,
supporting the conservation and restoration goals of forest areas in the country, and
policies in protection of habitats, species, genetic resources and biodiversity.

2. Study Area

This study area consists of 5 main river basin: Mae Klong river basin, Phetchaburi
river basin, Tha Chin river basin, Sakae Krang river basin, and Chao Phraya river basin. They
cover an area of 75,254.88 sq.km or around 47,034,303.56 Rai, which encompassed all 25
provinces. Five sub-basins are selected as case studies as shown in Table 1 and Figure1,
including Huay Taphen, Huai Kra Siao ,Phetchaburi river,Klong Pho, and Bueng Boraphet.
Pilot activites were established in selected sub-basins as case studies.

The project on increasing efficiency of watershed classes management 1
(Watersheds in the Western and Central region)

Executive Summary Report

Table 1 Province Area within Watershed Area in Western and Central Region

Province Area (sq.km) Percentage
Kanchanaburi 19,395.90 25.77

Kamphaeng Phet 1,142.26 1.52
3.33
Chai Nat 2,507.21 6.41

Tak 4,822.64 0.29
2.85
Nakhon Nayok 214.79 11.09

Nakhon Pathom 2,142.34 0.11
3.20
Nakhon Sawan 8,344.89 0.21

Prachuap Khiri Khan 80.71 6.89
4.44
Ayutthaya 2,408.95 0.55

Phichit 154.96 1.14
1.16
Ratchaburi 5,186.88
1.09
Lopburi 3,344.49 7.18
8.84
Samut Songkhram 416.10
1.26
Samut Sakhon 857.05 7.22
1.01
Saraburi 874.16
1.55
Sing Buri 817.23 0.85
1.49
Suphan Buri 5,406.71
0.56
Uthai Thani 6,649.00 100.00

Ang Thong 950.50

Phetchaburi 5,430.73

Phetchabun 761.62

Pathum Thani 1,169.45

Nonthaburi 636.40

Bangkok 1,117.72

Samut Prakan 422.18

Total 75,254.88
Ref: Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning (2019)

The project on increasing efficiency of watershed classes management 2
(Watersheds in the Western and Central region)

Executive Summary Report

Figure 1 Watershed Areas in Western and Central Region 3

The project on increasing efficiency of watershed classes management
(Watersheds in the Western and Central region)

3. Natural Resource Conditions in Study Area

3.1 Topography of Western and Central Basin

Figure 2 Topography of Western Basin

The project on increasing efficiency of watershed classes management
(Watersheds in the Western and Central region)

Executive Summary Report

Figure 3 Topography of Central Basin

4

Executive Summary Report

Under the target area-based watershed classes of this project consists of 5 main
basins, namely Mae Klong basin with a total area 30,180.71 sq.km., Phetchaburi basin with
a total area 6,260.17 sq.km., Tha Chin basin with a total area 13,491.63 sq.km., Sakae Krang
basin with a total area 5,055.88 sq.km., and Chao Phraya basin with a total area 20,266.49
sq.km. of the entire basins. The total area of 5 main basins is 75,254.88 square kilometers
shown in Figure 4 and Table 2.

Table 2 River Basins and Watershed Classes in Project Study Area

Watershed Mae Klong basin Petchaburi Basin Thachin basin Sakae Krang basin Chao Phraya basin
Sq.km Percentage Sq.km Percentage
Class Sq.km Percentage Sq.km Percentage Sq.km Percentage

1A 12,051.40 39.93 2,100.63 33.56 471.95 3.50 706.66 13.98 193.04 0.95
4.16 0.08 51.72 0.26
1B 75.08 0.25 12.09 0.19 2.00 0.01 6.29 207.17 1.02
317.79 4.95 254.93 1.26
2 4,009.11 13.28 470.94 7.52 316.97 2.35 250.08 11.40 417.42 2.06
576.53 63.31 19,142.20 94.45
3 3,856.42 12.78 499.71 7.98 322.04 2.39 3,200.67

4 4,510.32 14.94 1,100.53 17.58 1,042.24 7.73

5 4,918.36 16.30 2,033.04 32.48 11,332.40 84.00

E2C 17.68 0.06

EMS 30.32 0.10 4.36 0.07 4.00 0.03

ENA 5.20 0.02

W 706.79 2.34 38.86 0.62

Total 30,180.68 100.00 6,260.16 100.00 13,491.60 100.00 5,055.88 100.00 20,266.48 100.00

Ref : Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning (2019)

The project on increasing efficiency of watershed classes management 5
(Watersheds in the Western and Central region)

Executive Summary Report

Figure 4 Watershed Classes of Western and Central Basins 6

The project on increasing efficiency of watershed classes management
(Watersheds in the Western and Central region)

Executive Summary Report

4. The Guidelines for Watershed Condition Assessment

According to the preliminary analysis, there are a total of study areas covering 5
river basins which consist 22 sub-basins that have a total area of 75,254.88 sq.km. or
47,034,303.56 Rai as shown in Table 3 and Figure 5 to 6.

Table 3 Information of Basin and Sub Basin Classification in Western and Central

Region

River Basins Sub-Basins Sq.km Rai Percentage Total (Sq.km)

Mae Klong Khwae Yai Upper River 5,066.88 3,166,803.05 6.73 30,180.71

Huai Mae Lamung 694.36 433,971.88 0.92

Huai Mae Chan 700.66 437,914.81 0.93

Huai Kha Khaeng 2,361.50 1,475,938.71 3.14

Khwae Yai Lower River 4,024.80 2,515,499.86 5.35

Huai Taphoen 2,506.15 1,566,343.93 3.33

Khwae Noi Upper River 4,115.56 2,572,222.47 5.47

Huai Pilok 952.66 595,413.21 1.27

Khwae Noi Lower River 3,383.36 2,114,602.62 4.50

Lam Phachi 2,574.74 1,609,209.38 3.42

Mae Klong River Plain 3,800.04 2,375,025.56 5.05

Phetchaburi Phetchaburi Upper River 3,528.39 2,205,244.53 4.69 6,260.17

Huai Mae Prachan 1,128.01 705,008.60 1.50

Petchaburi Lower River 1,603.76 1,002,350.10 2.13

Thachin Huai Kraseaw 1,929.85 1,206,157.37 2.56 13,491.63

Thachin River Plain 11,561.78 7,226,111.72 15.36

Sakae Krang Nam Mae Wong 1,017.50 635,939.23 1.35 5,055.88

Khlong Pho 1,181.63 738,515.98 1.57

Huai Tub Salao 742.12 463,825.50 0.99

Sakae Krang Lower River 2,114.63 1,321,646.82 2.81

Chao Phraya Bueng Boraphet 4,391.36 2,744,598.54 5.84 20,266.49

Chao Phraya River Plain 15,875.14 9,921,959.68 21.10

Total 75,254.88 47,034,303.56 100.00 75,254.88

Ref: Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning (2018)

The project on increasing efficiency of watershed classes management 7
(Watersheds in the Western and Central region)

Executive Summary Report

Figure 5 Topography of Western and Central Basins Classified as in River Basins
and Sub-basins

The project on increasing efficiency of watershed classes management 8
(Watersheds in the Western and Central region)

Executive Summary Report

Figure 6 Map of Basins and Sub-Basins classification in Western 9
and Central Basins

The project on increasing efficiency of watershed classes management
(Watersheds in the Western and Central region)

Executive Summary Report

5. Indicator and Data Used for Watershed Condition Assessment

Indicator Selection

The effective study results of watershed condition assessment project consist of
watershed in Northern region in 2017, the project on increasing efficient management of
watershed class in Northeastern in 2018, and the master plan of water resources
management within 20 years. Furthermore, there are related researchs which are used as a
reference to recheck an indicator with the consideration of basic information in Western
and Central regions. For all these data and information, they were submitted a proposal in
the discussion conference about watershed condition assessment indicator which can be
divided into 4 parts as follows and in the Table 4 and Table 5 below.

(1) Watershed Structure - 9 indicators were selected out of 13 related
indicators

(2) Watershed Function - 4 indicators were selected out of 6 related
indicators

(3) Society, Economy and Beneficial Uses – 6 indicators were selected out of 11
related indicators

(4) Watershed Management – 5 indicators were selected out of 9 related
indicators

The project on increasing efficiency of watershed classes management 10
(Watersheds in the Western and Central region)

Table 4 Comparison of Wate

Factors Group/ Indicators
No. Component

1 Current Forest Cover in Watershed min 0% (Criti
2 Vegetation Index NDVI value -1
Low Density
3 Drainage Density (Balance)
4 Landside-prone Areas High Risk (Cri
5 Flood-prone Areas High Risk (Cri
6 Watershed Drought-prone Areas High Risk (Cri
7 Structure Slope High (Critical)
8 Soil Erosion High (Critical)
9 Soil Texture Rough (Critic
10 Current Forest Cover Watershed Class 1 and 2 Low (Critical)
11 Average Annual Rainfall for 30 Years (ml/year) High or Low
12 Soil Surface Temperature (Degrees Celsius) High (Critical)
13 Earthquake-prone Areas High (Critical)

1 Runoff - Rainfall Low (Critical)
Low (Critical)
2 Surface Water Quality Unstable (Cr
Low (Critical)
3 Watershed Water Flow Duration
4 Function Water Potential of Groundwater High (Critical)
Percentage of Water Flow Quantity during Low (Critical)

5 Flood Season to Dry Season

6 Watershed Infiltration Rate

The project on increasing efficiency of watershed classes management
(Watersheds in the Western and Central region)

Executive Summary Report

ershed Assessment Indicators

Criterion Northern Northeastern The Master Plan for Western and
Basin Basin Water Resources Central Basin
Management within
20 Years

ical) - max 65% (Balance)
1(Critical) to +1(Balance)
(Critical) – High Density

itical) - Low Risk (Balance)
itical) - Low Risk (Balance)
itical) - Low Risk (Balance)
) - Low (Balance)
) - Low (Balance)
cal) – Fine (Balance)
) - High (Balance)
(Critical) - Even (Balance)
) - Low (Balance)
) - Low (Balance)

) - High (Balance)
) - High (Balance)
itical) - Stable (Balance)
) - High (Balance)

) - Low (Balance)
) - High (Balance)

11

Table 4 Comparison of Watershed

Factors Group/ Indicators
No. Component

Percentage of Homeland Community District in High (Critical

1 Watershed Class 1 and 2 Area

Percentage of Forest Conservation Areas that are High (Critical

2 modified in their utilization

Percentage of Each Land Use Category City+Industr

3 (Balance)

4 Economic Modification of Forest Area High (Critical

5 Society and Average Household Income Low (Critical

6 Land Use Frequency of Natural Disaster High (Critical

7 Asset Possession by Households at Watershed Level Low (Critical

Household in Community with Sufficient Water Low (Critical

8 Supply

9 Community’s Participation Low (Critical

10 Community’s Area in Forest Area High (Critical

11 Forest Fire Area High (Critical

The project on increasing efficiency of watershed classes management
(Watersheds in the Western and Central region)

Executive Summary Report

d Assessment Indicators (cont.-1)

Criterion Northern Northeastern The Master Plan for Western and
Basin Basin Water Resources Central Basin
Management within
20 Years

l) - Low (Balance)

l) - Low (Balance)

ry (Critical) Green Field

l) - Low (Balance)
l) - High (Balance)
l) - Low (Balance)
l) - High (Balance)
l) - High (Balance)

l) - High (Balance)
l) - Low (Balance)
l) - Low (Balance)

12

Table 4 Comparison of Watershed

Factors Group/ Indicators
No. Component

Declaration of Natural Resources and Environmental Low (Critical

1 Conservation Area

2 Land Use Management for Environmental Protection Poor (Critica

3 Wastewater Treatment System Low (Critical

4 Community Forest Low (Critical

5 Watershed Forest land use areas Inappropriat
Management Legal Conservation Areas in Watershed Class 1 and 2 (Balance)

Low (Critical

6 Areas

7 Community Participation (Individual District) Low (Critical

Plant Forest and Wildlife Conservation and na

8 Protection

9 Water Management Poor (Critica

Ref: Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning (2019)

The project on increasing efficiency of watershed classes management
(Watersheds in the Western and Central region)

Executive Summary Report

d Assessment Indicators (cont.-2)

Criterion Northern Northeastern The Master Plan for Western and
Basin Basin Water Resources Central Basin
Management within
20 Years

l) - High (Balance)

al) – Good (Balance)
l) - High (Balance)
l) - High (Balance)
te (Critical) - appropriate

l) - High (Balance)

l) - High (Balance)

al) - Good (Balance)

13

Executive Summary Report

Table 5 Proposed Indicators in Preliminary Stage

Indicators The Importance of Indicators Related to Watershed Conditions
Watershed Structure
1. Current Forest Cover in Sum of Basin Area should not be covered by forest less than 65 percent
according to watershed management
Watershed Class Vegetation Index indicated abundance of soil and water as well as soil
2. Vegetation Index moisture and plants which can restrain soil erosion from raindrop impact
3. Drainage Density Capability of water drainage that has the length of stream channel per unit
area of drainage basin. In generally, longer length of stream channel is more
4. Landslide-prone Areas effective capability of water drainage than the shorter one. Good watershed
has drainage density more than 3 unit that means well performance of
5. Flood-prone Areas draining potential.
Headwater areas in steep mountain should be covered with forest in order
6. Drought-prone Areas to decrease landslide risk. Therefore, watershed in good condition should
have less Landslide-prone Areas.
7. Slope Healthy watershed must include high capability of water absorption rate,
8. Erosion less possibility of surface runoff, stored water within soil. These could
decrease flood and flood-prone area.
9. Soil Healthy watershed has high runoff potential which means runoff proportion
Watershed function in Dry season is sufficient for needs. It can decrease drought-prone area.
1. Percentage of However, it depends on population demand for water consumption.
Slope is crucial factor affecting to soil erosion
Runoff/Rainfall Erosion happens especially in central plain,namely central and all lower
river plain, which consists of Chao Phraya river and sub-rivers, flow into Gulf
of Thailand in southern region. Central plain in ther past was at under sea
level. Afterward, the sea level lower from the average level and the land
was elevated. In addition, different rivers cause various effects, such as
erosion, corrosiveness, and alluvion.
Soil affects water absorption and soil drainage

Percentage of runoff/rainfall affect runoff potential of watershed. Potential
of healthy watershed, which is covered with forest on mountain, result to
hydrological features. Furthermore, high runoff potential must have runoff
rate than 40 percent of all rainfall quantity. (Department of Conservation,
2016)

The project on increasing efficiency of watershed classes management 14
(Watersheds in the Western and Central region)

Executive Summary Report

Table 5 Proposed Indicators in Preliminary Stage (cont.-1)

Indicators The Importance of Indicators Related to Watershed Conditions

2. Surface Water Quality Physical, chemical, biological state of water quality index are water

balanced quality for using specially in population activities. Water quality

index can be variant. It depends on environmental factors consist of

topography, climate, Geological features, plants and also activities of

population and other creatures. However, Water quality must not be over

standard criteria by Pollution Control Department. If water quality is over

criterion, it can affect to creatures and watershed ecosystem.

3. Water Flow Duration Water Flow Duration index affect to runoff potential of watershed.

Furthermore, Good watershed in main stream should flow steadily all year

(Department of Conservation, 2016)

4. Water Potential of Groundwater is area that collect large amount of underground water. If

Groundwater watershed area has good-quality groungwater, it reflect consistency of water

consumption in watershed area.

Economic, Society and Watershed Utilization

1. Percentage of Homeland Watershed class 1 areas should be preserved particularly for being

Community District in upstream area because environment might be severely affected by land

Watershed Class 1 and 2 use change. Furthermore, Settlement in headwater areas may affect

Area watershed status.

2. Percentage of Forest Forest Conservation Areas are legally declared as a forest protection areas.

Conservation Areas that People are prohibited to use without permission. Besides, Forest area is an

are modified in their important source of main stream, modified utilization can cause impact of

utilization watershed ecosystem.

3. Percentage of Each Land Land use in watershed areas affect to function of basins in various phase

Use Category such as watershed status.

4. Modification of Forest Modification of Forest Area affect to function of basins in various phase such

Area as watershed status.

5. Average Household Average Household Income affect to watershed status by low household

Income income are likely in critical condition more than higher ones.

6. Frequency of Natural Frequency of Natural Disaster indicate natural disaster risk ; Flood, drought,

Disaster windstorm, landslide, heat wave, cold and other natural disaster, which

might affect natural disaster risk, Disaster Management System, Economic

and financial cost which are used for restoration and methodology of

watershed utilization.

The project on increasing efficiency of watershed classes management 15
(Watersheds in the Western and Central region)

Executive Summary Report

Table 5 Proposed Indicators in Preliminary Stage (cont.-2)

Indicators The Importance of Indicators Related to Watershed Conditions

Watershed Management

1. Declaration of Natural If there is declaration of conservation area covering the rest of forest area, it

Resources and Environmental will preserve watershed area in good condition.

Conservation Area

2. Land Use Management for If the areas were utilized according to land use measures in watershed

Environmental Protection classification and laws, it will be suitably beneficial for watershed status.

3. Wastewater Treatment The number of wastewater treatment systems, which are installed in a

System municipality and community, affect wastewater collection, Drainage from

population activities in the community and wastewater treatment control.

Beside wastewater will be treated before flowing into public and natural

water sources.

4. Community Forest Area with community forest affect to subsistence of watershed population

and change in watershed ecosystem.

5. Forest land use areas The forest land use area should be allocated properly the area conditions.

Ref: Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning (2019)

An example of the prioritization of watershed management groups was found that the
most important group is in the protected areas which is the wildlife sanctuary indicator
getting the highest total weighted average as 0.37. On the other hand, the indicator that
has the lowest weighted average is the sub-indicator which lacks wastewater treatment
area getting a total weighted average as 0.03 as shown in Table 6 below.

Table 6 An Example of Prioritization of Watershed Management Group

Group Group Indicator Weighted Weighted Total
Sequences Sequences Groups Indicator Weight

Conservation Area 1 0.61

- Wildlife Sanctuary 1 0.61 0.37

- National park 2 0.28 0.17

- None 3 0.11 0.07

Wastewater Treatment 3 0.11

- Yes 1 0.75 0.08

- None 2 0.25 0.03

Community Forest 2 0.28

- Yes 1 0.75 0.21

- None 2 0.25 0.07

Total 1.00 3.00 1.00

The project on increasing efficiency of watershed classes management 16
(Watersheds in the Western and Central region)

Executive Summary Report

6. Arranging a Conference for Discussing about Indicators and
Mathematical Model

The conference was arranged to discuss about indicators and the mathematical
models which are used for assessing watershed condition with participation of every relevant
department in the watershed areas of Western and Central regions which include 5 basins. For
each watershed conference, it was arranged separately for every main watershed area which
each conference consisted of 100 people. To sum up, a total of 610 people was participated
in the conference that was held between 11-15 February in 2019.

Discussion Conference about Indicators and Mathematical Model

Date/Time Basin Location Participants
(People)

11 February 2019 Petchaburi At Royal Diamond Hotel, Mueang Phetchaburi District, 112

Petchaburi

12 February 2019 Mae Klong At RS HOTEL, Mueang Kanchanaburi District, 134

Kanchanaburi

13 February 2019 Tha Chin At Sri U-Thong Grand Hotel, Mueang Suphan Buri 98

District, Suphan Buri

14 February 2019 Sakae At Huai Kha Khaeng Jeshthasilpa Hotel, Mueang Uthai 107

Krang Thani District, Uthai Thani

15 February 2019 Chao At Krungsri River Hotel, Phra Nakhon Si Ayutthaya 159

Phraya District, Phra Nakhon Si Ayutthaya

Total 610

The Figure of Conference on Phetchaburi River Basin, Petchaburi Province 17

The project on increasing efficiency of watershed classes management
(Watersheds in the Western and Central region)

Executive Summary Report

The Figure of Conference on Mae Klong River Basin, Kanchanaburi Province
The Figure of Conference on Tha Chin River Basin, Suphanburi Province

The Figure of Conference on Sakae Krang River Basin, Uthai Thani Province 18

The project on increasing efficiency of watershed classes management
(Watersheds in the Western and Central region)

Executive Summary Report

The Figure of Conference on Chao Phraya River Basin, Ayutthaya Province

The Figure of Each Conferences

7. The Examination and Field Survey

According to the Watershed Indicators selection conference, consisting of Mae
Klong Basin, Petchaburi Basin, Ta Chin Basin, Sakae Krung Basin and Chao Phraya Basin,
were concluded as 33,37,32,35, and 30 respectively. Afterwards, consultant has chosen
secondary data from relevant departments and implemented field and laboratory
inspection before assessing watershed condition.

After the indicators were adjusted in accordance with the data and suitability, then
the total weight of all indicators was modified to equal 1 by estimating the weight of
adjusted indicators, as shown in Table 7.

Table 7 Indicator Adjustment for Watershed Condition Assessment in Each Watershed

River Basins The Numbers of indicators from The Numbers of Remaining indicators

Opinions from Analysis and Accumulating

Mae Klong Basin 33 30

Petchaburi Basin 37 36

Tha Chin Basin 32 29

Sakae Krang Basin 35 31

Chao Phraya Basin 30 23

The project on increasing efficiency of watershed classes management 19
(Watersheds in the Western and Central region)

Table 8 Improving Indicators and Weigh

Indicator groups Weight of a group Mae Klong Indicator (MK) Weight total Petchaburi Indicator (PC) Weight tota
(36)
Watershed CH TC MK SA PC (30) 0.235 0.222 0.
Structure
0.328 0.365 0.370 0.362 0.388 1. Current forest cover in 0.147 0.087 1. Current forest cover in 0.142 0
watershed 0.141 watershed 0.110 0
0.095 0.080 0
2. Vegetation Index 0.086 0.054 2. Vegetation Index 0.065 0
0.079 0.081 0
3. Drainage Density 0.081 0.052 3. Drainage Density 0.063 0

4. Flood-prone Areas 0.035 4. Flood-prone Areas

5. Drought-prone Areas 0.032 5. Drought-prone Areas

6. Landside-prone Areas 0.029 6. Landside-prone Areas

7. Soil Erosion 0.030 7. Soil Erosion

8. Slope 0.073 0.027 8. Slope 0.062 0
9. Soil 0.063 0.023 9. Soil 0.046 0.

10. Coastline Change 0.039 0
11. Geological features 0.036 0
12. Current Forest Cover in
Watershed Class 1 and 2 0.033 0
13. Sea Level Rise 0.021 0.
0.334 0.
Watershed 0.257 0.194 0.216 0.201 0.203 1. Runoff - Rainfall 0.345 0.075 1. Runoff - Rainfall 0.215 0
Function 0.189 0.
2. Surface Water Quality 0.124 0
3. Water Flow Duration 0.304 0.066 2. Surface Water Quality
4. Water Potential of
Groundwater 0.216 0.047 3. Water Flow Duration

0.135 0.029 4. Water Potential of
Groundwater

5. Water Resources 0.138 0.
Development Project

Economic Society 1. Percentage of Homeland 1. Percentage of Homeland 0.222 0.
and 0.194 0.175 0.204 0.216 0.216 Community District in 0.249 0.051 Community District in
Land Use
Watershed Class 1 and 2 Area Watershed Class 1 and 2 Area

2. Percentage of Forest 2. Percentage of Forest
Conservation Areas that are
modified in their utilization 0.196 0.040 Conservation Areas that are 0.188 0
3. Percentage of Land Use,
Community and Construction modified in their utilization 0.157 0
4. Modification of Forest Area 0.134 0
0.150 0.031 3. Percentage of Each Land
Use Category

0.125 0.026 4. Modification of Forest Area

5. Frequency of Natural Disaster 0.083 0.

The project on increasing efficiency of watershed classes management
(Watersheds in the Western and Central region)

Executive Summary Report

hts of Western and Central River Basins

al Tha Chin Indicator (TC) Weight total Sakae Krung Indicator (SA) Weight total Chao Phraya Indicator (CH) Weight total
(29) (31) (23) 0.252 0.083
0.222 0.331
0.086 1. Current forest cover in 0.174 0.081 1. Current forest cover in 0.120 1. Current forest cover in 0.341 0.112
watershed 0.178 watershed 0.232 watershed 0.233 0.076
0.192 0.159 0.174 0.057
0.055 2. Vegetation Index 0.120 0.064 0.116

0.043 3. Drainage Density 0.114 0.065 2. Drainage Density 0.084
0.058 2. Flood-prone Areas
0.031 4. Flood-prone Areas 0.070 3. Flood-prone Areas 0.042 3. Drought-prone Areas

0.025 5. Drought-prone Areas 0.044 4. Drought-prone Areas

0.031

0.024 4. Soil Erosion

6. Embankment or floodwall 0.042

0.024

.018

5. Climate Change 0.162 0.059

0.015

0.014

0.013

0.008

.068 1. Runoff - Rainfall 0.346 0.067 1. Runoff - Rainfall 0.295 0.059 1. Runoff - Rainfall 0.185 0.048

0.044 2. Surface Water Quality 0.277 0.054 2. Surface Water Quality 0.179 0.036 2. Surface Water Quality 0.131 0.034

.038 3. Water Flow Duration 0.221 0.043 3. Water Flow Duration 0.217 0.044 3. Water Flow Duration 0.143 0.037

0.025 4. Water Potential of 0.156 0.030 4. Water Potential of 0.120 0.024 4. Water Potential of 0.088 0.023
Groundwater Groundwater Groundwater

5. Water-retention potential for 0.163 0.042
dry season

6. Water Consumption Balance 0.136 0.035

7. Drainage efficiency 0.154 0.040

5. Watershed Infiltration Rate 0.118 0.024
6. Groundwater Quality
0.071 0.014

0.028

1. Percentage of Homeland 1. Percentage of Homeland 1. Percentage of Homeland

0.048 Community District in 0.190 0.033 Community District in 0.188 0.041 Community District in 0.200 0.039

Watershed Class 1 and 2 Area Watershed Class 1 and 2 Area Watershed Class 1 and 2 Area

2. Percentage of Forest 2. Percentage of Forest

0.041 Conservation Areas that are 0.162 0.035 Conservation Areas that are 0.163 0.032
0.149 0.029
modified in their utilization modified in their utilization

0.034 2. Percentage of Land Use, 0.164 0.029 3. Percentage of Land Use, 0.117 0.025 3. Percentage of Land Use,
Community and Construction Community and Construction Community and Construction

0.029 3. Modification of Forest Area 0.150 0.026 4. Modification of Forest Area 0.113 0.024

.018 4. Frequency of Natural 0.096 0.017 5. Frequency of Natural 0.070 0.015 4. Frequency of Natural Disaster 0.155 0.030
Disaster Disaster

20

Table 8 Improving Indicators and Weights o

Indicator groups CH Weight of a group PC Mae Klong Indicator (MK) คา ถวง total Petchaburi Indicator (PC) Weight tota
TC MK SA (30) นํ้าหนัก (36)

5. Sources Of Hazardous Waste 0.107 0.022

6. River Invader 0.074 0.015

7. Industrial Plant Location 0.099 0.020

6. Number of People Living in 0.073 0.
Forest Areas

7. Average Household Income 0.077 0.

8 Forest Fire Area 0.066 0.

1. Declaration of Natural 1. Declaration of Natural 0.214 0.
Watershed Managem 0.221 0.266 0.210 0.221 0.193 Resources and Environmental 0.184 0.039 Resources and Environmental

Conservation Area Conservation Area

2. Land Use Management for 0.160 0.034 2. Land Use Management for 0.161 0.
Environmental Protection Environmental Protection

3. Wastewater Treatment System 0.113 0.024 3. Wastewater Treatment System 0.110 0.

4. Community Forest 0.090 0.019 4. Community Forest 0.096 0.

5. Forest land use areas 0.093 0.020 5. Forest land use areas 0.087 0.

6. Participation 0.067 0.014 6. Participation 0.068 0.

7. Waste management 0.079 0.017 7. Waste Management in River 0.064 0.

8. Basin-level city plan 8. Water Management 0.085 0.
0.070 0.015 0.058 0.
9. The Number of Water
Sources/Irrigation Development 0.066 0.014
Projects 9. River dredging

10. State Budget for Natural 0.078 0.016
Resource Restoration(1)

1.000 1.000 1.000 1.000 1.000 10. Coastal management 0.057 0.
4.000 1.000 4.000 1.
The project on increasing efficiency of watershed classes management
(Watersheds in the Western and Central region)


Click to View FlipBook Version