The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง(1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nad_natrada, 2021-04-01 05:31:26

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง(1)

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง(1)

145

การศกึ ษาของชาติ - ออกข้อบังคบั ครุ ุสภา

-วจิ ยั และประสาน สง่ เสริม สนับสนนุ การวจิ ัยและพฒั นา - ให้คำปรกึ ษา คำแนะนำต่อคณะรฐั มนตรี

การศึกษา การพัฒนาเครือขา่ ยการเรียนรู้และภูมิปญั ญา

ของชาติ ตลอดจนรวบรวมและพฒั นาระบบเครอื ข่าย

ขอ้ มลู สารสนเทศเพ่อื การพฒั นานโยบายและแผนการ

ศกึ ษาชองชาติ

-ดำเนนิ การเกี่ยวกบั การประเมินผลการจัดการศึกษาตาม

แผนการศึกษาแห่งชาติ

-ดำเนนิ การเก่ียวกับการให้ความเห็นหรอื คำแนะนำในเรอื่ ง

กฎหมายที่เก่ียวกบั การศกึ ษา

-ปฏิบัติงานอ่ืนใดทีก่ ฎหมายกำหนดให้เปน็ อำนาจหนา้ ที่

และความรับผดิ ชอบ

จรรยาบรรณวชิ าชีพ
ความหมายของจรรยาบรรณ คำวา่ “จรรยาบรรณ” ประกอบดว้ ย คำ 2 คำ คอื จรรยา หมายถึง
ความประพฤติ บรรณ หมายถึง หนังสอื เมอื่ นำมารวมกนั แล้ว “จรรยาบรรณ” จึงหมายถงึ หนังสือหรือเอกสาร
ทีก่ ลา่ วถึง สิง่ ท่ีผ้อู ยูใ่ นอาชพี นั้นควรประพฤตปิ ฏบิ ัติ เพ่ือรักษาช่อื เสยี ง เกียรติยศ และฐานะของวิชาชพี น้นั ๆ
(ท่มี า:ราชกิจจานุเบกษา หนา้ 72-73 ขอ้ บงั คบั คุรุสภาว่าดว้ ยจรรยาบรรณวิชาชพี ลงวันที่ 4 ตุลาคม 2556)
ความเปน็ มาของจรรยาบรรณครไู ทย
อาชีพทกุ สาขาตอ้ งมจี รรยาบรรณแห่งวิชาชีพของตนกาหนดไว้ เช่นเดียวกบั อาชพี ครู แตใ่ นสมยั โบราณ
อาชพี ครูไทยยงั ไม่มจี รรยาบรรณเป็นลาย
ลกั ษณอ์ กั ษร ครไู ทยจะยึดถือเอาแนวคำสอนตามพระพุทธศาสนาเป็นหลกั ปฏิบตั ิตอ่ ๆมา จนกระทงั่
ใน พ.ศ. 2506 ม.ล.ปิ่น มาลากุล ซ่ึงเปน็ รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร และประธานกรรมการอำนวยการ
ครุ สุ ภาในสมัยนนั้ ไดอ้ อกระเบียบจรรยาบรรณสาหรบั ครไู ทยขนึ้ มา 2 ฉบับพร้อมกนั เป็นครง้ั แรก
จรรยาบรรณครู พ.ศ. 2506 (ฉบับท่ี 1)
จรรยาบรรณครู พ.ศ. 2506 (ฉบบั ที่ 2)
ต่อมาจรรยาบรรณทัง้ 2 ฉบบั นีไ้ ดถ้ กู ยกเลิก เนื่องจากจรรยาบรรณ พ.ศ. 2506 นีม้ ไิ ดป้ ระกาศใช้อย่าง
เป็น ทางการ ครุ สุ ภาเกรงว่าครูอาจารย์จะเกดิ ความสบั สนในทางปฏิบัติ ดังนั้น ครุ สุ ภาจึงได้ปรบั ปรงุ จรรยาบรรณ
ครขู น้ึ ใหมแ่ ละประกาศใช้ในพ.ศ. 2526 (ทีม่ า:ข้อบังคับครุ ุสภาวา่ ด้วยมาตรฐานวชิ าชีพ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2562.
(2562).ราชกจิ จานุเบกษา. เล่มที่ 136 ตอนพเิ ศษ 68. หน้า 3)
จรรยาบรรณครู พ.ศ. 2526 จรรยามารยาทและวินัยตามระเบยี บประเพณี ของครูของครุ สุ ภา พ.ศ.2526
จรรยาบรรณฉบบั นีไ้ ด้ ใช้ตดิ ต่อกนั มาถงึ 12 ปี ประกอบกบั สภาพสังคม เศรษฐกจิ ตลอดจนความ
เจรญิ ก้าวหนา้ ทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยไี ด้เปลีย่ นแปลงไปมาก จงึ มีมติใหแ้ กไ้ ขปรับปรงุ จรรยาบรรณครเู พือ่

146

กำหนดระเบียบว่าดว้ ยจรรยามารยาทและวินยั เพื่อให้ครยู ดึ ถือเปน็ แนวปฏบิ ัตแิ ละประพฤติตนสบื ไป
จรรยาบรรณสำหรบั ครฉู บับ พ.ศ. 2539
จรรยาบรรณสาหรับครฉู บับ พ.ศ. 2539 ครุ ุสภา (สานักงานเลขาธกิ ารครุ ุสภา, 2554 :1) ไดป้ ระกาศใช้

ระเบียบคุรุสภาวา่ ด้วย จรรยาบรรณครู (ท่ีมา:ขอ้ บงั คับคุรุสภาวา่ ด้วยมาตรฐานวชิ าชีพ (ฉบบั ที่ 4) พ.ศ.2562.
(2562).ราชกจิ จานเุ บกษา.เลม่ ท่ี 136 ตอนพเิ ศษ 68. หน้า 3)

พ.ศ. 2539 แทนระเบียบครุ สุ ภาวา่ ดว้ ยจรรยามารยาทและวินัยตามระเบยี บประเพณีครู พ.ศ. 2526
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 6(20) และมาตรา 28 แห่งพระราชบัญญตั ิครู พ.ศ. 2488 คณะกรรมการ
อำนวยการคุรสุ ภา จึงได้วางระเบียบไว้เป็นจรรยาบรรณครู เพือ่ เป็นหลกั ปฏิบัติ ในการประกอบวชิ าชีพครู
(สำนักงานเลขาธกิ าร
คุรุสภา, 2554 : 1)

จรรยาบรรณครู ฉบบั พ.ศ. 2539 นค้ี ณะกรรมการอำนวยการครุ สุ ภาได้วางระเบยี บ ปฏบิ ัติโดยมีลักษณะ
มงุ่ เน้นความเปน็ ครใู นดา้ นบทบาทหน้าท่แี ละความรบั ผิดชอบท่ีพ่ึงมตี ่อศษิ ยเ์ ป็นสำคญั ขอ้ สังเกตของจรรยาบรรณ
ครู ฉบบั น้มี ี 2 ประการ คอื

ประการท่ีหนึ่ง จรรยาบรรณครู ไม่ใชก่ ฎหมายและไมไ่ ดเ้ ป็นกฎกระทรวงศึกษาธกิ าร แตเ่ ปน็ ระเบียบที่
คณะกรรมการอำนวยการ ครุ สุ ภากำหนดไว้เพื่อใช้เปน็ หลักปฏิบัตขิ องสมาชิกคุรสุ ภา ที่เป็นครอู าจารย์เท่านัน้
กรณคี รอู าจารย์ ท่เี ปน็ สมาชิกของคุรสุ ภาละเมิดจรรยาบรรณครขู ้างตน้ ไม่มีบทลงโทษแต่อย่างใด แม้
คณะกรรมการคุรสุ ภาไมม่ ีอำนาจลงโทษครอู าจารย์โดยตรง

ประการทสี่ อง จรรยาบรรณครู ฉบับนเี้ ป็นฉบับที่ถกู นำไปใช้ในทกุ สถานศึกษา ทง้ั นัน้ อาจเปน็ เพราะ
คุรสุ ภาในฐานะเปน็ องค์กรวิชาชพี ครเู ปน็ ผูอ้ อกจรรยาบรรณครู ซงึ่ มกี ฎหมายรองรบั อยา่ งเป็นทางการ คือ
พระราชบัญญตั คิ รูพ.ศ. 2488 ความแตกต่างของจรรยาบรรณครูฉบบั น้ีกับจรรยาบรรณของครใู นอดีต คอื บง่
บอกถงึ จรรยาบรรณของ ครโู ดยตรงและโดยรวม มิได้จำแนกเปน็ จรรยามารยาท จารตี ประเพณี
หรือวนิ ยั ของครู (ทม่ี า:ข้อบงั คับครุ ุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชพี (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ.2562. (2562).ราชกิจจานุเบกษา.
เลม่ ที่ 136 ตอนพเิ ศษ 68. หนา้ 3)

จรรยาบรรณวชิ าชีพครู พ.ศ. 2556
ครุ ุสภาได้ออกขอ้ บงั คับครุ สุ ภาวา่ ด้วยจรรยาบรรณวชิ าชพี พ.ศ. 2556 อาศัยอำนาจตาม มาตรา 9
วรรคหนึง่ (1) (11) (จ) และมาตรา 50 แห่ง พ.ร.บ. สภาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2546 ประกอบกับ
มติคณะกรรมการคุรุสภาโดยความเหน็ ชอบของรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธิการขณะนน้ั โดยมสี าระสำคญั คอื
การกำหนดจรรยาบรรณวชิ าชีพของผู้ประกอบ วิชาชพี ทางการศกึ ษา ทงั้ ตอ่ ตนเองผู้รบั บรกิ ารผู้รว่ มประกอบ
วชิ าชพี และสังคม ซึ่งมีผลบังคบั ใช้ ภายหลังประกาศลงในราชกิจจานุเบกษาแล้วโดยขอ้ บงั คับดังกล่าวได้ใหน้ ิยาม
“ผู้ประกอบวชิ าชีพ ทางการศกึ ษา”วา่ หมายถงึ ครู ผบู้ ริหารสถานศึกษา ผ้บู ริหารการศกึ ษา และบุคลาการทาง
การศึกษาอืน่ ซึ่งไดร้ ับใบอนุญาตเปน็ ผู้ประกอบวิชาชีพตามพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
พ.ศ.2546 ข้อบงั คับคุรุสภาวา่ ด้วยจรรยาบรรณของวชิ าชพี พ.ศ. 2556 มีสาระสำคญั 5 หมวด (ท่มี า:ขอ้ บงั คบั ครุ ุ
สภาว่าดว้ ยมาตรฐานวชิ าชีพ (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ.2562. (2562).ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่มที่ 136 ตอนพิเศษ 68.หนา้ 3)

147

จรรยาบรรณวิชาชพี ครู พ.ศ.2562 มกี ารเปลี่ยนแปลงมาตรฐานวชิ าชีพ มาตรฐานการปฏิบัตติ น
ยงั คงเดมิ จรรยาบรรณวิชาชีพ 5 ดา้ น 9 ข้อ เหมือนเดิม มดี งั นี้
จรรยาบรรณวิชาชพี ในปจั จบุ นั

จรรยาบรรณวิชาชพี หมายความวา่ มาตรฐานการปฏิบตั ติ นทีก่ าหนดข้นึ เป็นแบบแผนในการ
ประพฤตติ น ซ่ึงผู้ประกอบวิชาชีพทางการศกึ ษาต้องปฏบิ ัตติ าม เพอ่ื รักษาและส่งเสริมเกยี รติคุณชอ่ื เสียงและ
ฐานะของผู้ประกอบวิชาชพี ทางการศึกษาใหเ้ ปน็ ที่เชือ่ ถอื ศรทั ธาแกผ่ ูร้ บั บริการและสังคมอนั จะนำมาซึ่งเกยี รติ
และศกั ดิ์ศรีแหง่ วชิ าชพี
ด้านท่ี1 จรรยาบรรณต่อตนเอง
ขอ้ ที่ 1 ผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ต้องมวี นิ ยั ในตนเอง พฒั นาตนเองด้านวชิ าชพี บุคลกิ ภาพ และวสิ ยั ทัศน์
ให้ทันต่อการพัฒนาทางวทิ ยาการ เศรษฐกจิ สงั คม และการเมืองอยู่เสมอ
ดา้ นท่ี2 จรรยาบรรณตอ่ วิชาชพี
ข้อท่ี 2 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตอ้ งรัก ศรทั ธา ซ่อื สัตย์สุจรติ รบั ผิดชอบต่อวิชาชีพ และเป็นสมาชกิ ท่ีดี
ขององคก์ รวชิ าชพี
ดา้ นท่ี3 จรรยาบรรณตอ่ ผู้รบั บริการ
ข้อที่ 3 ผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา ตอ้ งรกั เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลอื ส่งเสรมิ ให้กำลังใจแกศ่ ิษย์ และ
ผรู้ บั บริการ ตามบทบาทหนา้ ทโี่ ดยเสมอหน้า
ข้อที่ 4 ผู้ประกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา ตอ้ งส่งเสริมใหเ้ กดิ การเรียนรู้ ทกั ษะ และนิสัยท่ีถูกต้องดงี ามแก่ศษิ ย์
และผ้รู ับบริการ ตามบทบาทหน้าท่อี ย่างเตม็ ความสามารถ ด้วยความบริสุทธ์ใิ จ
ขอ้ ที่ 5 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา ต้องประพฤติปฏบิ ัติตนเป็นแบบอย่างทีด่ ี ท้ังทางกาย วาจา และจิตใจ
ข้อที่ 6 ผปู้ ระกอบวิชาชพี ทางการศึกษา ตอ้ งไม่กระทาตนเปน็ ปฏิปักษ์ต่อความเจรญิ ทางกาย สติปัญญา จติ ใจ อา
รมณและสงั คมของศษิ ย์ และผู้รบั บริการ
ข้อที่ 7 ผู้ประกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา ต้องใหบ้ รกิ ารดว้ ยความจริงใจและเสมอภาค โดยไม่เรยี กรบั หรอื ยอมรับ
ผลประโยชนจ์ ากการใชต้ ำแหน่งหนา้ ที่โดยมิชอบ
ด้านที่4 จรรยาบรรณตอ่ ผูร้ ว่ มประกอบวชิ าชพี
ข้อที่ 8 ผปู้ ระกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา พงึ ชว่ ยเหลอื เก้ือกูลซ่ึงกนั และกันอยา่ งสรา้ งสรรค์ โดยยึดมนั่ ในระบบ
คุณธรรม สรา้ งความสามัคคใี นหมู่คณะ
ดา้ นท่ี5 จรรยาบรรณต่อสังคม
ข้อที่ 9 ผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา พงึ ประพฤตปิ ฏบิ ัติตนเปน็ ผูน้ ำในการอนุรกั ษ์และพัฒนาเศรษฐกจิ สังคม
ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปญั ญา ส่งิ แวดลอ้ มรกั ษาผลประโยชน์ของส่วนรวม และยึดม่ันในการปกครอ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ (สำนกั งานเลขาธกิ ารครุ ุสภา.(2541). แบบแผนพฤตกิ รรมตาม
จรรยาบรรณครู พ.ศ.2539.กรงุ เทพฯ : โรงพิมพค์ รุ ุสภาลาดพรา้ ว)

148

การประพฤตผิ ิดจรรยาบรรณวิชาชีพ มาตรา 54 (คณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชพี )
1.ยกขอ้ กล่าวหา
2.ตักเตือน
3.ภาคทณั ฑ์
4.พักใช้ใบอนญุ าตมกี ำหนดเวลาตามทเี่ ห็นสมควร แต่ไม่เกนิ 5 ปี
5.เพกิ ถอนใบอนญุ าตประกอบวิชาชพี 5 ปี (มาตรา 54) (ทม่ี า:หนังสอื เตรียมสอบครผู ู้ชว่ ย สังกดั สพฐ. ฉบบั
ปรับปรุงใหม่ อัปเดตคร้ังท่ี 5)

มาตรฐานวชิ าชีพ แบ่งออกเปน็ 3 มาตรฐาน
1. มาตรฐานความรู้ และประสบการณ์วิชาชีพ หมายความว่า ข้อกำหนดเก่ยี วกบั ความรูแ้ ละ

ประสบการณ์ในการจดั การเรียนรู้ หรอื การจัดการศึกษา ซง่ึ ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา รวมท้งั ผู้ตอ้ งการ
ประกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา ต้องมีเพยี งพอท่ีสามารถนำไปใชใ้ นการประกอบวิชาชีพได้

2. มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน หมายความวา่ ขอ้ กำหนดเก่ียวกับคณุ ลกั ษณะ หรอื การแสดงพฤตกิ รรมการ
ปฏิบตั ิงานและการพฒั นางาน ซงึ่ ผปู้ ระกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา รวมทัง้ ผู้ตอ้ งการประกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา
ตอ้ งปฏบิ ัตติ าม เพือ่ ใหเ้ กดิ ผลตามวัตถุประสงค์ และเปา้ หมายการเรยี นรู้ หรือการจัดการศกึ ษา รวมทัง้ ต้องฝึกฝน
พฒั นาตนเองใหม้ ีทักษะ หรือความชำนาญสูงขนึ้ อย่างตอ่ เนื่อง

3. มาตรฐานการปฏิบัตติ น หมายความว่า จรรยาบรรณของวชิ าชพี ทก่ี ำหนดขึ้นเป็นแบบแผนในการ
ประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ น ซึง่ ผ้ปู ระกอบวิชาชพี ทางการศึกษา รวมทงั้ ผตู้ อ้ งการประกอบวิชาชพี ทางการศึกษา
ตอ้ งยึดถอื ปฏิบตั ติ าม เพอื่ รักษาและส่งเสรมิ เกยี รตคิ ุณชอื่ เสียง และฐานะของผ้ปู ระกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา ให้
เป็นที่เช่ือถอื ศรัทธาแกผ่ รู้ บั บรกิ ารและสังคม อนั จะนำมาซ่ึงเกียรติ และศกั ด์ศิ รแี ห่งวิชาชีพ” (ทม่ี า : ข้อบังคบั ครุ ุ
สภาว่าด้วยมาตรฐานวชิ าชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2548, น 40)

มาตรฐานวชิ าชพี แบ่งออกเป็น 3 ฉบับ ไดแ้ ก่
1. ขอ้ บังคบั คุรุสภาว่าดว้ ยมาตรฐานวิชาชพี และจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2548
2. ขอ้ บังคับครุ ุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชพี พ.ศ. 2556
3. ขอ้ บังคบั ครุ ุสภาว่าดว้ ยมาตรฐานวชิ าชพี พ.ศ. 2562 (ปจั จุบนั )

มาตรฐานวชิ าชพี ของผบู้ รหิ ารการศึกษา พ.ศ. 2562
1. มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วชิ าชีพ ผู้ประกอบวชิ าชพี ผู้บรหิ ารการศกึ ษา ต้องมคี ุณวฒุ ไิ ม่ต่ำ

กว่าปรญิ ญาตรที างการบริหารการศึกษา หรอื เทยี บเท่า หรือมคี ุณวุฒอิ ื่นที่คุรุสภารับรอง โดยมมี าตรฐานความรู้
และประสบการณ์ วชิ าชพี ดงั ต่อไปนี้

(ก) มาตรฐานความร้ปู ระกอบด้วยความรู้ ดังตอ่ ไปน้ี
1. การพัฒนาวิชาชีพ

149

2. ความเป็นผูน้ ำทางวชิ าการ
3. การบรหิ ารการศึกษา
4. การส่งเสรมิ คุณภาพการศึกษา
5. การประกนั คุณภาพการศกึ ษา
6. คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณ

(ข) มาตรฐานประสบการณว์ ิชาชพี ดงั ตอ่ ไปน้ี
1. มีประสบการณด์ า้ นปฏิบัตกิ ารสอนมาแลว้ ไม่น้อยกว่าแปดปี หรอื
2. มีประสบการณใ์ นตำแหน่งผ้บู รหิ ารสถานศึกษามาแล้วไมน่ อ้ ยกวา่ ห้าปี หรือ
3. มปี ระสบการณ์ในตำแหน่งผู้บริหารนอกสถานศึกษาท่ไี มต่ ำ่ กว่าระดบั กองหรือเทียบเท่ากอง
มาแล้วไมน่ อ้ ยกว่าหา้ ปี หรือ
4. มีประสบการณใ์ นตำแหนง่ บุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามที่กำหนดในกฎกระทรวงมาแล้วไม่
น้อยกวา่ ห้าปี หรือ
5. มีประสบการณ์ดา้ นปฏบิ ัติการสอน และมปี ระสบการณใ์ นตำแหนง่ ผูบ้ ริหารสถานศึกษา หรอื
ผูบ้ รหิ ารนอกสถานศกึ ษา หรือบคุ ลากรทางการศึกษาอ่ืน ตามทก่ี ำหนดในกฎกระทรวงรวมกนั
มาแล้วไม่น้อยกวา่ สบิ ปี
2. มาตรฐานการปฏบิ ัติงาน ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ผู้บริหารการศึกษา ต้องมมี าตรฐานการปฏิบตั งิ าน
ดงั ต่อไปน้ี
1. ปฏิบัติกิจกรรมทางวชิ าการเพ่อื พฒั นาการนิเทศการศกึ ษา เพ่อื ใหเ้ กิดการพัฒนาวชิ าชีพทาง
การศกึ ษาอยา่ งสม่ำเสมอ
2. ตดั สินใจปฏบิ ัติกิจกรรมการนเิ ทศการศกึ ษา โดยคำนงึ ถึงผลที่จะเกดิ แก่ผูร้ ับการนเิ ทศ
3. มุ่งมนั่ พฒั นาผรู้ ับการนเิ ทศให้ลงมอื ปฏิบัตกิ จิ กรรมจนเกิดผลต่อการพัฒนาอยา่ งมีคณุ ภาพ
เตม็ ศกั ยภาพ
4. พัฒนาแผนการนิเทศให้มคี ุณภาพสงู สามารถปฏิบัติใหเ้ กดิ ผลได้จรงิ
5. พฒั นาและใช้นวตั กรรมการนเิ ทศการศึกษาจนเกดิ ผลงานทม่ี ีคุณภาพสูงขึน้ เปน็ ลำดับ
6. จดั กจิ กรรมการนเิ ทศการศกึ ษาโดยเนน้ ผลถาวรท่เี กิดแก่ผูร้ ับการนเิ ทศ
7. ดำเนนิ การและรายงานผลการนเิ ทศการศึกษาใหม้ คี ณุ ภาพสงู ได้อย่างเปน็ ระบบ
8. ปฏบิ ตั ิตนเปน็ แบบอยา่ งที่ดี
9. รว่ มพัฒนางานกับผูอ้ น่ื อยา่ งสรา้ งสรรค์
10. แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนา
11. เป็นผนู้ ำและสร้างผนู้ ำทางวชิ าการ

150

12. สรา้ งโอกาสในการพฒั นางานไดท้ ุกสถานการณ์
3. มาตรฐานการปฏิบัตติ น (ขอ้ บังคบั ครุ ุสภาวา่ ด้วยมาตรฐานวชิ าชีพ,2562.)

1. จรรยาบรรณต่อตนเอง
- ผปู้ ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ต้องมีวนิ ยั ในตนเอง พฒั นาตนเองดา้ นวชิ าชพี บุคลิกภาพ

และวสิ ัยทัศน์ ให้ทันตอ่ การพัฒนาทางวทิ ยาการ เศรษฐกจิ สงั คมและการเมอื งอยู่เสมอ
2. จรรยาบรรณต่อวชิ าชพี
- ผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ตอ้ งรัก ศรทั ธา ซ่อื สตั ย์สุจริต และรับผดิ ชอบต่อวิชาชีพ

เป็นสมาชิกทด่ี ีขององคก์ รวิชาชพี
3. จรรยาบรรณตอ่ ผรู้ บั บริการ
– ผปู้ ระกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ชว่ ยเหลอื ส่งเสริม ให้กำลังใจแก่

ศิษย์ และผู้รับบริการตามบทบาทหนา้ ทีโ่ ดยเสมอหน้า
– ผปู้ ระกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา ต้องส่งเสริมให้เกดิ การเรยี นรู้ ทกั ษะ และนิสยั ทถ่ี ูกตอ้ งดี

งามแกศิษย์และผู้รับบริการ ตามหนา้ ทอ่ี ย่างเต็มความสามารถด้วยความบรสิ ุทธ์ใิ จ
– ผู้ประกอบวิชาชพี ทางการศึกษา ตอ้ งประพฤติปฏบิ ัติตนเป็นแบบอย่างท่ดี ี ทง้ั ทางกาย

วาจาและจิตใจ
– ผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ต้องไมก่ ระทำตนเปน็ ปฏปิ กั ษ์ต่อความเจรญิ ทางกาย

สตปิ ัญญา จิตใจ อารมณแ์ ละสังคมของศิษย์และผู้รับบรกิ าร
– ผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ต้องใหบ้ รกิ ารดว้ ยความจรงิ ใจและเสมอภาค โดยไมเ่ รียก

รบั หรอื ยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ ตำแหนง่ หนา้ ท่ีโดยมิชอบ
4. จรรยาบรรณตอ่ ผู้รว่ มประกอบวิชาชพี
- ผ้ปู ระกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษาพงึ ช่วยเหลอื เก้ือกูลซง่ึ กนั และกนั อยา่ งสรา้ งสรรค์ โดยยึด

มน่ั ในระบบคณุ ธรรม สรา้ งความสามัคคใี นหมู่คณะ
5. จรรยาบรรณตอ่ สังคม
- ผ้ปู ระกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา พึงประพฤติปฏิบตั ติ น เป็นผู้นำในการอนรุ กั ษ์ และพัฒนา

เศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรม ภมู ิปญั ญา สง่ิ แวดล้อมรักษาผลประโยชน์ ของสว่ นรวมและยดึ
ม่นั ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข (ที่มา : ข้อบังคับครุ ุสภา
วา่ ดว้ ยมาตรฐานวิชาชพี และจรรยาบรรณของวชิ าชีพ พ.ศ. 2556)

151

มาตรฐานวชิ าชีพของผบู้ ริหารสถานศึกษา พ.ศ. 2562
1. มาตรฐานความรแู้ ละประสบการณว์ ิชาชพี ผู้ประกอบวิชาชีพผู้บรหิ ารสถานศึกษา ต้องมีคณุ วุฒิไมต่ ำ่

กวา่ ปริญญาตรที างการบริหารการศกึ ษา หรอื เทียบเทา่ หรือมีคุณวฒุ อิ ่นื ท่คี รุ สุ ภารบั รอง โดยมีมาตรฐานความรู้
และประสบการณ์ วชิ าชีพ ดังต่อไปน้ี

ก) มาตรฐานความร้ปู ระกอบดว้ ยความรู้ ดังต่อไปน้ี
1. การพฒั นาวิชาชพี
2. ความเป็นผนู้ ำทางวิชาการ
3. การบรหิ ารสถานศึกษา
4. หลกั สตู ร การสอน การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้
5. กิจการและกจิ กรรมนักเรียน
6. การประกนั คุณภาพการศกึ ษา
7. คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณ

ข) มาตรฐานประสบการณว์ ชิ าชพี ดังตอ่ ไปน้ี
1. มีประสบการณ์ด้านปฏบิ ัติการสอนมาแล้วไมน่ ้อยกว่าห้าปี หรือ
2. มีประสบการณ์ดา้ นปฏบิ ัติการสอนและต้องมปี ระสบการณใ์ นตำแหนง่

หวั หนา้ หมวด หรอื หวั หน้าสาย หรือหัวหน้างาน หรอื ตำแหนง่ บริหารอื่น ๆ ในสถานศกึ ษามาแลว้ ไมj
น้อยกว่าสองปี
2. มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน ผูป้ ระกอบวิชาชพี ผู้บริหารสถานศกึ ษา ตอ้ งมมี าตรฐานการปฏบิ ัติงาน
ดงั ต่อไปนี้

1. ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมทางวิชาการเพือ่ พัฒนาการนเิ ทศการศกึ ษา เพ่ือให้เกดิ การพัฒนาวชิ าชีพทาง
การศกึ ษาอยา่ งสมำ่ เสมอ

2. ตัดสินใจปฏบิ ตั ิกิจกรรมการนเิ ทศการศกึ ษา โดยคำนงึ ถึงผลท่จี ะเกดิ แก่ผรู้ บั การนเิ ทศ
3. ม่งุ ม่ันพฒั นาผรู้ บั การนิเทศให้ลงมอื ปฏิบตั ิกจิ กรรมจนเกดิ ผลตอ่ การพฒั นาอย่างมคี ณุ ภาพ
เตม็ ศกั ยภาพ
4. พัฒนาแผนการนเิ ทศให้มีคุณภาพสงู สามารถปฏิบตั ใิ หเ้ กดิ ผลได้จริง
5. พฒั นาและใช้นวัตกรรมการนิเทศการศึกษาจนเกิดผลงานที่มคี ุณภาพสูงข้นึ เปน็ ลำดับ
6. จัดกิจกรรมการนิเทศการศกึ ษาโดยเนน้ ผลถาวรที่เกดิ แก่ผู้รับการนเิ ทศ
7. ดำเนนิ การและรายงานผลการนิเทศการศกึ ษาให้มีคุณภาพสงู ไดอ้ ย่างเป็นระบบ
8. ปฏบิ ัตติ นเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ี
9. รว่ มพัฒนางานกบั ผู้อนื่ อย่างสรา้ งสรรค์

152

10. แสวงหาและใชข้ ้อมลู ข่าวสารในการพฒั นา
11. เปน็ ผู้นำและสรา้ งผูน้ ำทางวิชาการ
12. สรา้ งโอกาสในการพฒั นางานไดท้ กุ สถานการณ์
3. มาตรฐานการปฏบิ ัตติ น ได้แก่
1. จรรยาบรรณตอ่ ตนเอง

- ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ตอ้ งมวี นิ ยั ในตนเอง พฒั นาตนเองด้านวิชาชีพ บคุ ลกิ ภาพ
และวิสัยทัศน์ ให้ทนั ต่อการพัฒนาทางวทิ ยาการ เศรษฐกจิ สงั คมและการเมอื งอยเู่ สมอ

2. จรรยาบรรณตอ่ วิชาชพี
- ผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ตอ้ งรัก ศรทั ธา ซอ่ื สัตย์สุจริต และรบั ผิดชอบต่อวิชาชีพ เป็น
สมาชกิ ท่ีดขี ององค์กรวิชาชพี
3. จรรยาบรรณตอ่ ผู้รบั บริการ
– ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ สง่ เสรมิ ให้กำลงั ใจแก่
ศิษย์ และผ้รู บั บรกิ ารตามบทบาทหน้าที่โดยเสมอหนา้
– ผ้ปู ระกอบวิชาชพี ทางการศึกษา ตอ้ งสง่ เสริมใหเ้ กิดการเรียนรู้ ทักษะ และนสิ ยั ที่ถกู ต้องดี
งามแกศษิ ย์และผู้รบั บริการ ตามหน้าท่ีอยา่ งเตม็ ความสามารถดว้ ยความบริสุทธ์ิใจ
– ผูป้ ระกอบวิชาชพี ทางการศึกษา ต้องประพฤติปฏิบตั ติ นเป็นแบบอย่างท่ีดี ทง้ั ทางกาย วาจา
และจิตใจ
– ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ต้องไม่กระทำตนเป็นปฏปิ กั ษ์ต่อความเจรญิ ทางกาย
สติปัญญา จติ ใจ อารมณ์และสงั คมของศิษยแ์ ละผู้รับบริการ
– ผ้ปู ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ต้องให้บรกิ ารดว้ ยความจริงใจและเสมอภาค โดยไมเ่ รียกรบั
หรือยอมรบั ผลประโยชนจ์ ากการใช้ ตำแหน่งหนา้ ท่ีโดยมิชอบ
4. จรรยาบรรณตอ่ ผ้รู ่วมประกอบวิชาชพี
- ผ้ปู ระกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษาพงึ ชว่ ยเหลือเกอ้ื กลู ซึง่ กนั และกันอย่างสรา้ งสรรค์ โดยยดึ มั่น
ในระบบคณุ ธรรม สร้างความสามคั คีในหมคู่ ณะ
5. จรรยาบรรณต่อสงั คม
- ผู้ประกอบวิชาชพี ทางการศึกษา พึงประพฤติปฏิบัติตน เปน็ ผูน้ ำในการอนรุ กั ษ์ และพฒั นา
เศรษฐกจิ สงั คม ศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรม ภูมปิ ัญญา สง่ิ แวดลอ้ มรักษาผลประโยชน์ ของส่วนรวม
และยึดมน่ั ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข (ขอ้ บังคบั ครุ ุ
สภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชพี ,2562.)

153

มาตรฐานวชิ าชพี ของครู พ.ศ. 2562
1. มาตรฐานความรแู้ ละประสบการณว์ ชิ าชพี ผู้ประกอบวชิ าชีพครู ตอ้ งมีคณุ วฒุ ิไม่ต่ำกวา่ ปรญิ ญาตรที าง

การศึกษา หรือเทยี บเท่า หรอื มีคุณวุฒอิ ่ืนทคี่ รุ ุสภารบั รอง โดยมมี าตรฐานความร้แู ละประสบการณ์วชิ าชพี
ดังตอ่ ไปนี้

(ก) มาตรฐานความรู้ ตอ้ งมีความรอบร้แู ละเข้าใจในเรอ่ื ง ดังตอ่ ไปน้ี
1. การเปลย่ี นแปลงบริบทของโลก สงั คม และแนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
2. จิตวทิ ยา พฒั นาการ จติ วิทยาการศึกษา และจิตวิทยาให้คำปรกึ ษา ในการวิเคราะห์และ
พฒั นาผเู้ รยี นตามศักยภาพ
3. เนอ้ื หาวิชาท่ีสอน หลกั สตู ร ศาสตร์การสอน และเทคโนโลยดี ิจทิ ัลในการจดั การเรยี นรู้
4. การวดั ประเมนิ ผลการเรียนรู้ และการวิจยั เพื่อแก้ปญั หาและพัฒนาผูเ้ รียน
5. การใช้ภาษาไทย ภาษาอังกฤษเพ่อื การสอื่ สาร และการใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพ่ือการศกึ ษา
6. การออกแบบและการดำเนินการเกย่ี วกับงานประกนั คณุ ภาพการศึกษา

(ข) มาตรฐานประสบการณว์ ิชาชพี ผา่ นการปฏบิ ัติการสอนในสถานศกึ ษา ตามหลักสูตรปริญญาทาง
การศกึ ษาเป็นเวลาไมน่ อยกว่าหนึ่งปี และผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ปฏิบัตกิ ารสอน ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ
และเงือ่ นไขทีค่ ณะกรรมการครุ สุ ภากำหนด ดังต่อไปน้ี

1. การฝกึ ปฏบิ ตั วิ ิชาชพี ระหว่างเรียน
2. การปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศึกษาในสาขาวชิ าเฉพาะ
2. มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน ผู้ประกอบวชิ าชีพครู ต้องมมี าตรฐานการปฏิบตั ิงาน ดังน้ี
(ก) การปฏบิ ตั ิหนา้ ท่คี รู
1. มุ่งมนั่ พฒั นาผเู้ รียน ด้วยจติ วญิ ญาณความเป็นครู
2. ประพฤตตนเป็นแบบอยา่ งทด่ี ี มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และมคี วามเปน็ พลเมืองท่ีเขม้ แขง็
3. สง่ เสรมิ การเรยี นรู้ เอาใจใส่ และยอมรบั ความแตกต่างของผเู้ รียนแต่ละบคุ คล
4. สรา้ งแรงบันดาลใจผ้เู รยี นใหเ้ ป็นผู้ใฝ่เรียนรู้ และผสู้ ร้างนวัตกรรม
5. พัฒนาตนเองใหม้ ีความรอบรู้ ทันสมยั และทันต่อการเปลี่ยนแปลง
(ข) การจดั การเรียนรู้
1. พัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา การจัดการเรยี นรู้ ส่อื การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้
2. บรู ณาการความรู้ และศาสตรก์ ารสอน ในการวางแผนและจัดการเรยี นรูท้ ี่สามารถพัฒนา
ผู้เรียนให้มปี ญั ญารคู้ ิด และมคี วามเป็นนวตั กรรม
3. ดแู ล ชว่ ยเหลือ และพฒั นาผู้เรียนเปน็ รายบุคคลตามศักยภาพ สามารถรายงานผลการพัฒนา
คณุ ภาพผู้เรยี นไดอ้ ยา่ งเปน็ ระบบ

154

4. จัดกิจกรรมและสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ ใหผ้ ู้เรยี นมีความสขุ ในการเรยี น โดยตระหนกั ถงึ
สุขภาวะของผู้เรยี น

5. วจิ ยั สร้างนวัตกรรม และประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ัลใหเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ การเรยี นรู้ของ
ผูเ้ รียน

6. ปฏบิ ตั งิ านรว่ มกับผูอ้ ื่นอยา่ งสร้างสรรค์และมีส่วนร่วมในกจิ กรรมการพัฒนาวิชาชีพ
(ค) ความสัมพันธก์ บั ผปู้ กครองและชุมชน

1. รว่ มมอื กบั ผู้ปกครองในการพัฒนาและแก้ปัญหาผ้เู รียนใหม้ คี ุณลักษณะท่ีพึงประสงค์
2. สร้างเครือข่ายความร่วมมอื กับผปู้ กครองและชุมชน เพ่ือสนบั สนนุ การเรยี นรู้ทม่ี ีคุณภาพของ
ผู้เรยี น
3. ศกึ ษา เข้าถงึ บริบทของชุมชน และสามารถอยู่ร่วมกนั บนพน้ื ฐานความแตกตา่ งทางวัฒนธรรม
4. สง่ เสริม อนุรักษ์วฒั นธรรม และภูมิปัญญาท้องถน่ิ
3. มาตรฐานการปฏบิ ัติตน (ข้อบังคบั ครุ สุ ภาวา่ ด้วยมาตรฐานวชิ าชีพ,2562.)
1. จรรยาบรรณตอ่ ตนเอง
- ผูป้ ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ต้องมวี นิ ยั ในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชพี บุคลิกภาพ
และวิสัยทัศน์ ใหท้ ันต่อการพฒั นาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สงั คมและการเมอื งอยเู่ สมอ
2. จรรยาบรรณตอ่ วิชาชีพ
- ผปู้ ระกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา ต้องรัก ศรทั ธา ซื่อสัตยส์ ุจรติ และรบั ผิดชอบต่อวชิ าชพี
เป็นสมาชิกทด่ี ีขององค์กรวชิ าชีพ
3. จรรยาบรรณต่อผู้รบั บรกิ าร
– ผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา ต้องรกั เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม ใหก้ ำลงั ใจแก่
ศิษย์ และผู้รับบริการตามบทบาทหนา้ ทโ่ี ดยเสมอหนา้
– ผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา ต้องสง่ เสรมิ ให้เกดิ การเรียนรู้ ทกั ษะ และนสิ ัยที่ถูกตอ้ งดงี าม
แกศษิ ยแ์ ละผ้รู ับบรกิ าร ตามหนา้ ทอ่ี ย่างเต็มความสามารถด้วยความบรสิ ุทธิ์ใจ
– ผปู้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษาตอ้ งประพฤติปฏบิ ัตติ นเป็นแบบอยา่ งท่ีดีทงั้ ทางกาย วาจา ใจ
– ผูป้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ตอ้ งไมก่ ระทำตนเปน็ ปฏิปักษ์ต่อความเจรญิ ทางกาย
สติปัญญา จิตใจ อารมณแ์ ละสงั คมของศษิ ย์และผู้รับบรกิ าร
– ผปู้ ระกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา ต้องใหบ้ รกิ ารด้วยความจริงใจและเสมอภาค โดยไม่เรียกรบั
หรือยอมรบั ผลประโยชน์จากการใช้ ตำแหน่งหนา้ ทีโ่ ดยมิชอบ

155

4. จรรยาบรรณต่อผรู้ ว่ มประกอบวชิ าชพี
- ผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษาพงึ ช่วยเหลือเก้ือกลู ซึ่งกันและกันอยา่ งสร้างสรรค์ โดยยดึ มน่ั ใน
ระบบคณุ ธรรม สรา้ งความสามคั คีในหมูค่ ณะ

5. จรรยาบรรณต่อสังคม
- ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พงึ ประพฤติปฏบิ ัติตน เปน็ ผ้นู ำในการอนรุ กั ษ์ และพัฒนา

เศรษฐกิจ สงั คม ศาสนา ศลิ ปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ส่ิงแวดล้อมรกั ษาผลประโยชน์ ของส่วนรวมและ
ยึดม่นั ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ (ท่มี า : ขอ้ บงั คับคุรุ
สภาวา่ ดว้ ยมาตรฐานวชิ าชพี ,2562.)
มาตรฐานวิชาชีพของศกึ ษานเิ ทศก์ พ.ศ. 2562
1. มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ ผู้ประกอบวิชาชพี ศึกษานเิ ทศก์ ตอ้ งมคี ณุ วุฒไิ มต่ ่ำกว่า
ปริญญาโททางการบรหิ ารการศกึ ษา หรอื เทียบเท่า หรือมคี ุณวฒุ ิอ่ืนทคี่ ุรสุ ภารบั รอง โดยมีมาตรฐานความรแู้ ละ
ประสบการณ์ วิชาชีพ ดงั ตอ่ ไปน้ี
(ก) มาตรฐานความรูป้ ระกอบด้วยความรู้ ดังต่อไปน้ี

1. การพฒั นาวชิ าชีพ
2. การนเิ ทศการศึกษา
3. แผนและกจิ กรรมการนิเทศ
4. การพฒั นาหลกั สตู รและการจดั การเรียนรู้
5. การวจิ ัยทางการศกึ ษา
6. นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
7. การประกันคณุ ภาพการศึกษา
8. คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณ
(ข) มาตรฐานประสบการณว์ ิชาชีพ ดังต่อไปน้ี
1. มีประสบการณด์ า้ นปฏิบัตกิ ารสอนมาแลว้ ไมน่ อ้ ยกวา่ หา้ ปี หรอื มีประสบการณด์ ้าน
ปฏิบัติการสอนและมีประสบการณ์ในตำแหน่งผบู้ ริหารสถานศึกษา หรอื ผู้บริหารการศกึ ษารวมกันมาแลว้ ไม่นอ้ ย
กวา่ หา้ ปี
2. มีผลงานทางวชิ าการที่มคี ณุ ภาพและมกี ารเผยแพร่
2. มาตรฐานการปฏบิ ัติงาน ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ศึกษานเิ ทศก์ ต้องมีมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน ดงั ตอ่ ไปน้ี
(ขอ้ บงั คับครุ ุสภาวา่ ด้วยมาตรฐานวิชาชพี ,2556.)
1. ปฏิบัติกจิ กรรมทางวิชาการเพ่ือพัฒนาการนิเทศการศกึ ษา เพ่ือให้เกิดการพัฒนาวชิ าชีพทาง
การศกึ ษาอย่างสมำ่ เสมอ

156

2. ตัดสินใจปฏบิ ตั ิกิจกรรมการนเิ ทศการศึกษา โดยคำนึงถงึ ผลท่ีจะเกิดแก่ผู้รับการนิเทศ
3. มุง่ ม่ันพฒั นาผู้รับการนิเทศให้ลงมอื ปฏิบัติกจิ กรรมจนเกิดผลต่อการพฒั นาอยา่ งมีคุณภาพ
เตม็ ศกั ยภาพ
4. พัฒนาแผนการนิเทศให้มีคุณภาพสูง สามารถปฏิบตั ิให้เกิดผลได้จรงิ
5. พฒั นาและใชน้ วัตกรรมการนเิ ทศการศึกษาจนเกิดผลงานที่มีคุณภาพสูงขึ้นเปน็ ลำดบั
6. จดั กจิ กรรมการนิเทศการศึกษาโดยเน้นผลถาวรท่ีเกิดแก่ผูร้ ับการนิเทศ
7. ดำเนินการและรายงานผลการนเิ ทศการศกึ ษาให้มีคุณภาพสงู ได้อยา่ งเป็นระบบ
8. ปฏบิ ัตติ นเปน็ แบบอยา่ งที่ดี
9. ร่วมพัฒนางานกับผ้อู ่ืนอย่างสรา้ งสรรค์
10. แสวงหาและใชข้ อ้ มูลข่าวสารในการพฒั นา
11. เป็นผนู้ ำและสรา้ งผูน้ ำทางวชิ าการ
12. สร้างโอกาสในการพัฒนางานได้ทกุ สถานการณ์
3. มาตรฐานการปฏบิ ัตติ น (ข้อบงั คบั ครุ ุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชพี ,2562.)
1. จรรยาบรรณตอ่ ตนเอง

- ผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ต้องมีวนิ ยั ในตนเอง พัฒนาตนเองดา้ นวชิ าชีพ บุคลิกภาพ
และวิสัยทศั น์ ใหท้ ันตอ่ การพฒั นาทางวทิ ยาการ เศรษฐกจิ สงั คมและการเมอื งอยูเ่ สมอ

2. จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
- ผ้ปู ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตอ้ งรัก ศรัทธา ซือ่ สตั ย์สจุ ริต และรับผดิ ชอบต่อวิชาชพี

เป็นสมาชกิ ทดี่ ขี ององคก์ รวิชาชพี
3. จรรยาบรรณต่อผู้รับบรกิ าร
– ผู้ประกอบวิชาชพี ทางการศึกษา ตอ้ งรกั เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลอื ส่งเสริม ใหก้ ำลังใจแก่

ศษิ ย์ และผรู้ ับบริการตามบทบาทหนา้ ทีโ่ ดยเสมอหนา้
– ผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ต้องสง่ เสริมใหเ้ กิดการเรียนรู้ ทกั ษะ และนิสยั ที่ถูกต้องดี

งามแกศษิ ยแ์ ละผูร้ บั บรกิ าร ตามหน้าทอ่ี ยา่ งเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธ์ิใจ
– ผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา ต้องประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นเปน็ แบบอย่างทีด่ ี ท้งั ทางกาย

วาจาและจิตใจ
– ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา ตอ้ งไมก่ ระทำตนเป็นปฏิปกั ษ์ตอ่ ความเจรญิ ทางกาย

สติปัญญา จิตใจ อารมณแ์ ละสงั คมของศิษยแ์ ละผู้รบั บริการ
– ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องใหบ้ ริการด้วยความจริงใจและเสมอภาค โดยไมเ่ รียก

รบั หรอื ยอมรับผลประโยชนจ์ ากการใช้ ตำแหน่งหนา้ ทโี่ ดยมิชอบ

157

4. จรรยาบรรณตอ่ ผ้รู ่วมประกอบวิชาชพี
- ผปู้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษาพึงช่วยเหลือเกอ้ื กลู ซงึ่ กันและกันอยา่ งสรา้ งสรรค์ โดยยดึ มัน่ ในระบบคณุ ธรรม
สร้างความสามัคคีในหม่คู ณะ

5. จรรยาบรรณตอ่ สังคม
- ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา พงึ ประพฤติปฏิบัติตน เป็นผูน้ ำในการอนรุ กั ษ์ และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม
ศาสนา ศลิ ปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา สิ่งแวดล้อมรักษาผลประโยชน์ ของส่วนรวมและยึดม่นั ในการปกครองระบอบ
ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ (ท่มี า : ขอ้ บงั คับคุรุสภาว่าดว้ ยมาตรฐานวชิ าชพี และ
จรรยาบรรณของวิชาชพี พ.ศ. 2556)

แนวโนม้ จรรยาบรรณครใู นบรบิ ทโลก

ผ้ปู ระกอบวชิ าชีพครจู ำเป็นตอ้ งพัฒนาตนเพ่ือให้เทา่ ทันกับการเปลี่ยนแปลงทเี่ ป็นไปอยา่ งต่อเนื่อง
โดยมีทักษะการเปล่ยี นแปลงท่ีสำคัญ คือ การสร้างบรรยากาศให้เกดิ ความรู้สึก หรือทัศนคติทางบวกในการ
จัดการกบั การเปลี่ยนแปลง การแสวงหาความรเู้ กี่ยวกบั การเปลยี่ นแปลงตนเอง และการปรับปรงุ ตนเอง
โดยแสวงหาการสนบั สนนุ จากบุคคลในอาชีพเดียวกนั จุดเร่มิ ต้นของการพัฒนาตนของผ้ปู ระกอบวชิ าชีพครู คือ
การประเมนิ ความสามารถของตนเอง เพื่อนำไปสู่การวางแผนการพฒั นาอย่างรอบดา้ น ทั้งนีป้ ัจจัยทีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั
การพฒั นากเ็ ปน็ ส่ิงสำคัญยง่ิ ที่จะมุ่งใหเ้ กิดความสำเรจ็ ในทุกขน้ั ตอนของการพฒั นาตน ซง่ึ ได้แก่ วัฒนธรรมการ
สนับสนนุ บริบทของสถานศึกษา ระดับการพัฒนาของสถานศึกษา เวลา งบประมาณ ขน้ั ตอนในการพัฒนา
วิชาชีพ การใช้เทคโนโลยีเพือ่ การสอน และบทบาทขององค์การดา้ นวชิ าชพี ซ่ึงปัจจัยดงั กลา่ วจะสง่ ผลสำคัญต่อ
การพัฒนาตนที่มีประสทิ ธิภาพและความย่งั ยืนของผู้ประกอบวิชาชพี ครู

การพฒั นาครใู นศตวรรษที่ 21 มีการเปลยี่ นแปลง ในด้านต่างๆ อย่างมากมาย โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ดา้ น
เทคโนโลยที ่ีมกี ารเปลี่ยนแปลงแบบกา้ วกระโดด ส่งผลใหก้ ารจัดการศกึ ษาเน้นการเรยี นรู้ทีผ่ ูเ้ รยี นเป็นศูนย์กลาง
ดว้ ยการ พฒั นาใหผ้ เู้ รียนรู้จกั กระบวนการสรา้ งองคค์ วามรู้ดว้ ยตนเอง จากปญั หาซับซ้อนทเ่ี กิดจากการ
เปลยี่ นแปลงของโลก การเปน็ ครทู ี่ดีควรพัฒนาการเรียนรู้ที่เน้นทกั ษะกระบวนการคิดที่สามารถเน้นให้ผ้เู รยี น
สามารถแกไ้ ขปญั หาไดอ้ ย่างสร้างสรรค์เพ่ือตอบโจทยข์ องการเปลย่ี นแปลงของยุคสมยั

ในขณะเดยี วกันความร้เู ร่ืองจรรยาบรรณวิชาชีพครกู ารพฒั นาคณุ ธรรมและจริยธรรม
กเ็ ป็นส่งิ ทผี่ ปู้ ระกอบวิชาชีพครูควรมคี วบคู่กนั ไป มีการพฒั นากระบวนการแก้ปญั หา อยา่ งสร้างสรรค์ เรอื่ ง
จรรยาบรรณวชิ าชีพครเู พ่อื ช่วยในการพฒั นาครูรนุ่ ใหมใ่ หม้ กี ระบวนการทาง ความคิดในการแก้ปญั หาจาก
ความคดิ สรา้ งสรรคท์ ี่สง่ เสรมิ กันอยา่ งเหมาะสม

158

การพฒั นานักศกึ ษาครตู ามหลกั จิตตปัญญาศกึ ษา

จิตตปัญญาศึกษา เปน็ กระบวนการเรยี นรู้ด้วยใจอยา่ งใคร่ครวญ เน้นการพัฒนาความคิด จติ ใจ อารมณ์
ภายในตนเองอยา่ งแท้จริงเพือ่ ให้เกิดการตระหนักรู้ในตนเอง รู้คุณคา่ ของสิ่งต่าง ๆ โดยปราศจากอคติ เกดิ ความ
รักความเมตตาอ่อนนอ้ มตอ่ ธรรมชาติมจี ติ สำนึกต่อสว่ นรวม และสามารถประยุกตเ์ ชอ่ื มโยงกบั ศาสตรต์ ่าง ๆ ใน
การดำเนนิ ชวี ิตประจำวันไดอ้ ย่างสมดุลและมีคุณค่า ดว้ ยเหตนุ ้ี จติ ตปัญญาศกึ ษาจงึ เปน็ ทงั้ แนวคิดและแนวปฏิบัติ
ทม่ี ีจุดมงุ่ หมายให้เกดิ การเรียนรเู้ พอื่ การเปลยี่ นแปลงในระดบั ตา่ ง ๆ ได้แก่ การเปล่ียนแปลงภายในตน การ
เปลี่ยนแปลงภายในองค์กร และการเปลี่ยนแปลงภายในสงั คม โดยท่ีการเปล่ยี นแปลงดังกลา่ ว ไมใ่ ช่เป็นการ
เปลยี่ นแปลงเลก็ ๆ นอ้ ย ๆ แตเ่ ป็นการเปลี่ยนแปลงข้ันพน้ื ฐานอย่างลกึ ซงึ้

โดยจิตตปัญญาศึกษาเปน็ แนวคิดและแนวปฏิบตั ิ ส่วนการเรยี นรู้สกู่ ารเปลี่ยนแปลงเป็นเปา้ หมายโดยเป็น
การขยายจติ สำนึกโดยผา่ นกระบวนการเปล่ียนมมุ มองของเร่ืองราวต่าง ๆ ในการสัมผัสได้ถึงความรู้สกึ ใตจ้ ิตสำนกึ
เพ่อื พัฒนามนุษย์ ซง่ึ กระบวนการต่าง ๆ นี้ จัดเป็นการศกึ ษาสำหรบั ศตวรรษที่ 21 ที่เปน็ ยคุ แหง่ การเปล่ยี นแปลง
เพ่อื โยงจิตตปัญญาศกึ ษาสู่ transformative education เพือ่ พัฒนามนษุ ย์

จิตตปัญญาศกึ ษา สามารถสร้างเสรมิ ใหน้ ักศกึ ษามคี ุณลกั ษณะความเปน็ ครู เป็นกระบวนการ การจดั การ
เรยี นรู้ ซึ่งเนน้ การทำสมาธิ เหตุการณก์ ระตุ้นผเู้ รียนซง่ึ เนน้ การฟงั อย่างลกึ ซง้ึ สนุ ทรียสนทนา การนอ้ มสู่ใจอยา่ ง
ใคร่ครวญ และการบันทึกการเรียนรู้ ตามแนวจติ ตวทิ ยาศกึ ษา ดังท่ี ประเวศ วะสี (2549) ได้กล่าวไว้วา่ จิตต
ปญั ญาศึกษาเป็นการเรยี นรูภ้ ายใน การศกึ ษาดา้ นใน เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความสมบูรณ์ เกดิ การพฒั นาอย่างแท้จรงิ โดยมี
การจัดกจิ กรรมการพฒั นาดงั ตอ่ ไปน้ี

1. การเข้าถงึ โลกและชวี ิต เรามองโลก มองธรรมชาตอิ ยา่ งไร หากเราเข้าถงึ ความ
จริงจะพบความงามในนัน้ เสมอ เมื่อเราเขา้ ถงึ ความเป็นธรรมชาตกิ ็จะเขา้ ถึงความเปน็ อิสระ

2. กจิ กรรมต่างๆ เช่น กิจกรรมทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับชุมชน ดนตรี ศิลปะ กจิ กรรมอาสาสมัคร
สุนทรียสนทนา เป็นกิจกรรมทก่ี ่อให้เกดิ การพัฒนาตนเอง พัฒนาจิตใจ

3. การปลีกวเิ วกไปอยกู่ บั ธรรมชาติ สมั ผัสธรรมชาติ ไดร้ จู้ กั ตนเอง เมอ่ื จิตสงบ ความเชอื่ มโยงเปน็ หน่งึ
เดียวกับธรรมชาติจะเกิดปรากฏการณ์ตา่ งๆขึน้

4. การทำสมาธิ ท้งั นโ้ี ดยอยู่บนหลกั การทเ่ี ปน็ องคป์ ระกอบพ้นื ฐานในการจัดกระบวนการหรอื
การเรียนรู้แนวจติ ตปัญญาศกึ ษา คอื หลกั การพจิ ารณาดว้ ยใจอยา่ งใครค่ รวญ หลักความรักความเมตตา หลกั การ
เชอ่ื มโยงสมั พนั ธ์ หลกั การเผชิญหน้ากบั ความจริง หลักความต่อเนอื่ ง หลักความมุ่งมั่น และหลักชุมชนแหง่ การ
เรียนรู้ เรียกว่า “หลกั จิตตปัญญาศึกษา 7” หรอื เรยี กในช่ือยอ่ ๆภาษาองั กฤษว่า 7C’s (ธนา นิลชยั โกวิทยแ์ ละ
คณะ. 2550) กระบวนการเรียนรผู้ า่ นการปฏิบัตทิ ่ีเหมาะสมจะนำไปสู่ความเข้าใจตนเอง มสี มั พนั ธภาพที่ดีกบั ผูอ้ ื่น

159

เพราะเข้าใจและสามารถตระหนกั ถึงความเป็นส่วนหน่ึงทีส่ ัมพนั ธเ์ ชือ่ มโยงกนั โดยการวจิ ยั เรือ่ งผลการใชจ้ ติ ต
ปญั ญาศึกษาเพ่อื สรา้ งเสรมิ คุณลักษณะความเป็นครูเปน็ การสรา้ งเสริมคา่ นิยมทางคณุ ธรรมและจริยธรรมของ
วชิ าชพี ครผู ่านการฝกึ ปฏบิ ัติจนกลายเป็นคุณลกั ษณะสว่ นหน่งึ ของชวี ิตหรือพฒั นาใหเ้ ปน็ ผ้ทู ีม่ ีบุคลกิ ลักษณะท่ีพึง
ประสงค์

ดังนั้นจะเห็นไดว้ ่านักศกึ ษาทีเ่ รยี นโดยกระบวนการจติ ตปญั ญาศกึ ษา มีพฤติกรรมความเป็นครูขณะฝกึ
ประสบการณ์วชิ าชีพทั้ง 3 ดา้ น คอื ด้านความร้คู วามเข้าใจในวิชาชีพ ดา้ นทักษะและด้านคุณธรรม ทงั้ นี้
พฤตกิ รรมความเป็นครทู ่ีประพฤตปิ ฏิบัติโดยมี หลักฐานเชิงประจักษใ์ นระดบั มากที่สุด จากการสัมภาษณอ์ าจารย์
นเิ ทศ ครูพีเ่ ลย้ี งและนกั เรียน ได้แก่ ทักษะดา้ นการเปน็ ผู้นำ ทักษะการมมี นษุ ยสัมพันธ์ และคณุ ธรรมดา้ นการ
ประพฤติตนเหมาะสมกับสถานภาพ เปน็ แบบอย่างท่ดี ี และมจี ติ สาธารณะ การวิเคราะหข์ ้อมลู จากการสมั ภาษณ์
เป็นการให้ความสำคญั ของการศกึ ษาดว้ ยบริบทและการตัดสินเชงิ คุณภาพ เพราะการเรียนรดู้ า้ นในจติ ใจ ต้อง
อาศยั ประสบการณ์ของครู อาจารย์ ในการช่วยชีแ้ นะตรวจสอบ สอดคล้องกับ สุมน อมร ววิ ฒั น์ (2548) ทก่ี ล่าว
ว่า การประเมินการเรยี นรูด้ ้านในจิตใจกบั จิตตปญั ญาศึกษานน้ั ขอ้ มลู สำคัญมกั ไมไ่ ดเ้ ปน็ เชิงปริมาณ แตเ่ ป็นเร่ือง
ของการเปล่ยี นแปลงเชงิ โลกทัศน์ทผ่ี ู้ประเมนิ ตอ้ งใชใ้ จเข้าไปทำความร้จู กั กับผู้เรยี นจึงจะสามารถประเมนิ ไดอ้ ยา่ ง
เหมาะสม

และผลการวิจยั น้ีสอดคลอ้ งกบั การประเมนิ ตนเองในคณุ ลักษณะความเปน็ ครู ซึ่งแสดงให้เหน็ วา่ นกั ศึกษา
คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ ท่เี รียนรู้โดยกระบวนการจติ ตปญั ญาศึกษามีคณุ ลักษณะความเป็นครูท่สี ่งผล
ถึงพฤตกิ รรมความ เปน็ ครู โดยสอดคล้องกับงานวจิ ยั ของ นฤมล อเนกวิทย์ (2552) ทีพ่ บวา่ ผลการวิเคราะห์
เปรียบเทียบการปฏิบตั ิการพยาบาล แบบองค์รวมของนักศึกษาพยาบาลกล่มุ ทดลองที่เรียนด้วยหลกั สตู รจติ ต
ปญั ญาศึกษาและกลุ่มควบคมุ แตกต่างกนั อย่างมี นัยสำคัญทรี่ ะดบั .01 โดยค่ามัธยฐานของกลุ่มทดลองสงู กวา่
กลมุ่ ควบคมุ ท้งั การประเมนิ โดยผู้เรียน ผูส้ อน และผ้ปู ว่ ย นอกจากนีย้ ังมีนักการศึกษาและครูสว่ นหนึง่ ท่สี นใจนำ
แนวคดิ จิตตปญั ญาศกึ ษามาใช้ในการจัดการเรยี นรู้ เชน่ งานวจิ ยั ของโน ซาวา (Nozawa. 2004) ทพ่ี บว่า การนำ
แนวปฏบิ ตั แิ บบจิตตปัญญาศึกษาไปใชใ้ นชวี ติ ครู ส่งผลต่อ การพฒั นาตวั ครูท้ังในแง่ คุณภาพชีวติ ส่วนตน และใน
แงค่ ุณภาพการสอน โดยพบวา่ ครูทปี่ ฏิบตั สิ มาธิแบบจติ ปญั ญาศึกษา มีการรับร้ตู นเองทส่ี ูงขนึ้ สอนไดอ้ ย่างเป็น
ธรรมชาติ

สอดคลอ้ งกับงานวจิ ยั ของ กรดศริ ์ ชดิ ดี และ ณัฐพร อุทยั ธรรม (2556) ท่กี ลา่ วสรุปถึง จิตตปัญญา
ศกึ ษาวา่ ก่อให้เกิดการเปล่ยี นแปลงข้นั พื้นฐานในตน มุ่งเนน้ การศึกษาโลกภายในตนเอง ดว้ ยเหตุน้ีจิตตปญั ญา
ศึกษาจึงทำใหบ้ คุ คลเข้าใจด้านในจิตใจของตนเอง รตู้ ัวถงึ ความเปน็ จริง เปน็ แนวทางที่จะทำให้เหน็ ความเช่ือมโยง
ของการ เรียนรู้ที่ชดั เจน เชื่อมโยงท้ังความคดิ จิตใจ และนำไปสู่การปฏิบัตทิ ่มี ปี ระสิทธิภาพจากนามธรรมไปสู่
รปู ธรรม โดยเฉพาะ อย่างย่ิงพฤตกิ รรมความเป็นครทู ี่ พบว่า ปฏิบัติมากที่สุด ทั้งทกั ษะการเป็นผ้นู ำทักษะการมี

160

มนษุ ยสมั พันธ์ มีความประพฤติ ตนเหมาะสมกับสถานภาพและเป็นแบบอย่างท่ีดี และมจี ิตสาธารณะ ซ่งึ เปน็
คณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงค์ดังปรากฏในหลกั สูตร แกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐานพทุ ธศกั ราช 2551
(กระทรวงศึกษาธกิ าร. 2551 : 4) ผลงานวจิ ัยน้ีจึงแสดงใหเ้ ห็นถงึ ความสำคญั ของพฤติกรรมความเปน็ ครูทจ่ี ะ
เชอ่ื มโยงส่แู นวทางการจัดการศกึ ษาทเ่ี ป็นประโยชนต์ อ่ ผู้เรยี นและสอดคลอ้ งกับ นโยบายตามหลักสูตร
การพัฒนาครตู ามหลักจิตตปัญญาศกึ ษา

วิจกั ข์ พานชิ (2549) ให้ความหมายของจติ ตปญั ญาศกึ ษา ว่า กระบวนการเรียนรู้ด้วยใจอย่างใคร่ครวญ
โดยเนน้ ท่ี กระบวนการเรยี นรทู้ ไ่ี ด้ความรูจ้ ากประสบการณ์ เพราะความรูท้ แ่ี ท้จรงิ นัน้ คอื ประสบการณท์ ุกสง่ิ ทกุ
อย่างรอบตวั และ เมอื่ เพ่มิ มติ ขิ องการใคร่ครวญดว้ ยใจ จะทำให้สมั ผัสได้ถึงคุณค่าและความงาม ซงึ่ การเรียนรู้
ดว้ ยใจอย่างใคร่ครวญจะเกดิ ขึน้ ไดด้ ว้ ยสิ่งแวดล้อมท่ีเออื้ ต่อการเรยี นรทู้ ีเ่ ห็น คุณค่าของการเรยี นรูด้ า้ นใน ทำให้
เรียนรูท้ จี่ ะรัก เรียนรทู้ ีจ่ ะให้ เรยี นรทู้ จี่ ะยอมรับความหลากหลายทางความคดิ มากข้ึน นำไปสู่ความต้งั ใจทจี่ ะทำ
ประโยชน์เพอื่ ผู้อนื่
กระบวนการเรียนรปู้ ระกอบด้วย 3 ลกั ษณะ คือ

1. การฟังอย่างลกึ ซึ้ง (Deep Listening) หมายถงึ ฟงั ดว้ ยหัวใจ ด้วยความตง้ั ใจ อย่างสัมผสั ได้ถงึ
รายละเอียดของสิง่ ทเ่ี ราฟงั อย่างลึกซง้ึ ดว้ ยจิตทต่ี ั้งมั่น ในท่นี ยี้ ังหมายถงึ การรบั รู้ในทาง อนื่ ๆ ดว้ ย เช่น การมอง
การอ่าน การสมั ผัส ฯลฯ

2. การน้อมสู่ใจอยา่ งใคร่ครวญ (Contemplation) เปน็ กระบวนการต่อเนอ่ื งจากการฟังอย่างลกึ ซง้ึ
กอปรกบั ประสบการณ์ที่ผ่านเข้ามาในทางอนื่ ๆ เมอ่ื เข้ามาสู่ใจแลว้ มกี ารนอ้ มนำมาคดิ ใครค่ รวญอยา่ งลกึ ซึง้ ซงึ่
ตอ้ งอาศยั ความสงบเย็นของจิตใจเป็นพนื้ ฐาน จากนนั้ ก็ลองนำไปปฏบิ ตั ิเพอื่ ให้เหน็ ผลจรงิ กจ็ ะเป็นการพอกพนู
ความรู้เพ่ิมข้นึ ในอกี ระดบั หน่งึ การนอ้ มสู่ใจอย่างใครค่ รวญ ในภาษาลาติน คอื Contemplali ซงึ่ หมายถึง การ
สังเกต การพิจารณาไตรต่ รอง หรือการจ้องมองอยา่ งตง้ั ใจ (to observe, consider or gaze attentively)
(Haynes, 2005)

3. การเฝา้ มองเห็นตามทเ่ี ปน็ จริง (Meditation) การปฏิบัตธิ รรมหรือการภาวนา คือ การเฝ้าดธู รรมชาติ
ทแี่ ทจ้ ริงของจิต นั่นคอื การเปลยี่ นแปลง และสภาวะของการเป็นกระแสแห่งเหตปุ จั จยั ที่เล่ือนไหลตอ่ เนอ่ื ง การ
ปฏบิ ัติภาวนาฝึกสงั เกตธรรมชาตขิ องจิต จะทำให้เราเห็นความเชอ่ื มโยงจากภายในสู่ภายนอก เหน็ ความเปน็ จรงิ ท่ี
พ้นไปจากอำนาจแห่งตวั ตนของตน ท่หี าได้มีอย่จู รงิ ตามธรรมชาติ เป็นเพียงการเหน็ ผดิ ไปของจิตเพียงเท่าน้ัน

161

การพฒั นาจรรยาบรรณครขู องต่างประเทศ

การพัฒนาครขู องประเทศฟนิ แลนด์

สำนักงานสภาการศึกษา กระทรวงการศกึ ษาฟินแลนด์ จะกำกบั มาตรฐานคณุ ภาพ การจดั การศึกษาของ
โรงเรียนในระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน และจัดบริการฝกึ อบรมพฒั นาตลอดชีวิตการเป็นครู ส่วนโรงเรียนจะส่งครู
ไปฝึกอบรมพัฒนาอย่าเป็นระบบ ทั้งนี้ฟินแลนด์ได้ยกเลิกการใช้ศึกษานิเทศก์ ไปแล้ วเมื่อ 15 ปี
ที่ผ่านมา โดยได้เน้นการสร้างความเข้มแข็งขอผู้บริหารสถานศึกษาและครู รวมทั้งได้ทุ่มเทในการใช้เทคโนโลยี
คอมพวิ เตอร์ช่วยการจัดการเรียนการสอน และการศกึ ษาวิจัยเพ่อื สร้างฐานขอ้ มูลและพฒั นานวัตกรรมใหม่

ในเรื่องการพัฒนาตนเองวิชาชีพ หมายถึง การฝึกฝนตนให้มีความรู้ความสามารถด้วยวิธีการต่าง ๆ ท่ี
เกี่ยวข้องกับหน้าที่ของครู ศึกษาหาความรู้จากเอกสาร การเข้าร่วมประชุมสัมมนา เข้ารับการอบรมฟังการ
บรรยาย การเผยแพรผ่ ลงานทางวิชาการ มกี ารพัฒนาในเรอื่ งของทกั ษะวธิ ีการสอนทสามารถนำไปใช้ในกิจกรรม
การเรยี นการสอนให้ผู้เรียนบรรลุวัตถปุ ระสงค์ของการเรียนรู้ ความสามารถในการพัฒนาหลกั สูตร แผนการสอน
และนวัตกรรม มีการวิจัยในชัน เรียนมีความสามารถในการพัฒนาทักษะการวัดและประเมินผล และการนำผล
การประเมินมาใช้ โดยคำนงึ ถงึ ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คลของผู้เรยี น

ผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวจิตตปญั ญาศึกษา

การจดั การเรียนรู้ พบวา่
1. กิจกรรมที่ใช้ในการพัฒนา ทำให้ผู้เข้ารับการอบรมสงบ ผ่อนคลาย เรียนรู้ที่จะออกจ ากพื้นที่
ท่ปี ลอดภยั การใช้สนุ ทรียสนทนา การฟังอยา่ งลกึ ซงึ้ เกดิ ความตระหนกั รู้ต่อตนเอง เขา้ ใจตนเอง เกิดแรงบันดาล
ใจในการค้นหาความเป็นครูของตนเอง ตระหนักรู้ถึงความสามารถของนักเรียนที่มีความแตกต่างกัน ยอมรับ
นักเรียนทีม่ ีความสามารถแตกตา่ งกนั ครูเรยี นร้กู ารบูรณาการการจดั การเรียนรู้
2. ผลการจัดการเรียนรู้พบว่า วิธีการและกิจกรรมที่ครูใช้ในการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย การฝึก
สมาธิ การสะท้อนความคิดหลังการเรียนรู้ การผ่อนพักตระหนักรู้ การใช้เกม เพลง การระบายสี นิทาน
ความสำเร็จในการนำจิตตปัญญาศึกษามาใช้ในการจัดการเรียนรู้ นักเรียนเกิดการเรยี นรู้ที่ดขี ึ้น ร่วมแสดงความ
คิดเห็นมากกวา่ ฟงั ครู สามารถฟังความคิดเหน็ ของเพ่ือนได้ มคี วามอดกล้นั สามารถอยู่ร่วมกบั ผู้อ่ืนได้ ครูมีการ
ปรับเปลี่ยนวิธีการจัดการเรียนรู้ มีความสุขในการจัดการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้หลากหลายฟัง
นักเรยี นได้มากข้นึ บรรยากาศของการเรียนรมู้ ีความอบอุน่ กจิ กรรมทำใหผ้ ูเ้ รยี นรจู้ กั การคดิ วิเคราะห์

162

สรุป

ความเปน็ ครู จรรยาบรรณวิชาชีพครู เกณฑม์ าตรฐานวิชาชพี และ
แนวโนม้ จรรยาบรรณครใู นบรบิ ทโลก

ประวตั ขิ องการศึกษาไทย การศึกษาไทยในสมัยโบราณมีวดั เป็นศนู ย์กลางประชาคมกิจกรรมต่าง ๆ ของ
รัฐและวัดย่อมเป็นการสอนประชาคมไปในตัววิชาที่เรียนคือภาษาบาลี ภาษาไทยและวิชาสามัญขั้นต้น
ยึดหลักปรัชญาจิตนยิ ม ทีเ่ น้นการพฒั นาดา้ นจิตใจเน้นการเขา้ ใจชีวิตสง่ เสริมคุณธรรมศีลธรรม ศิลปะ ผลิตคนให้
เป็นนักอักษรศาสตร์และศิลปศาสตร์ สมัยปฎิรูปการศึกษามีการวางรากฐานของการศึกษาอย่างครบถ้วน เร่ิม
ตั้งแต่การสร้างโรงเรียน การประกาศใช้โครงการศึกษาแบ่งเป็นระดับประถม มัธยม และอาชีวศึกษา
การสรา้ งหลักสตู รและแบบเรียน

ความเป็นครู ลักษณะที่ดีของครูที่ดี ควรมีความรักและเมตตาต่อศิษย์ มีความเสียสละหมั่นเพียรศึกษา
ปรับปรุงวิธีการสอน เพื่อพัฒนาตนเองอยู่เสมอ ต้องมีความเข้าใจศิษย์ทุกคน เป็นกำลังใจและช่วยสร้างแรง
บนั ดาลใจให้กบั ศิษย์เพือ่ ให้เขาเปน็ คนใฝเ่ รียนรู้ เปน็ แบบอย่างทีด่ ี มจี รรยาบรรณในวิชาชีพครู มีจิตวิญญาณของ
ความเป็นครู สามารถถ่ายทอดความร้ไู ด้เป็นอยา่ งดี มวี ธิ กี ารสอนทีห่ ลากหลาย

คุรสุ ภา ครุ สุ ภากระทรวงศกึ ษาธิการ มหี นา้ ท่ีควบคุมออกและเพกิ ถอนใบอนุญาตประกอบวชิ าชพี
กำกบั ดูแลการปฏบิ ตั ิตามมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชพี และตราพระราชบัญญตั ิ
สภาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ.2546 ขึน้ ใหเ้ ป็นกฎหมายวา่ ด้วยสภาครูและบุคลากร
ทางการศึกษา หรืออีกชื่อหนึ่งคือ สภาครูและบุคลากรทางการศึกษาอยู่ในกำกับของสำนักงานเลขาธิการสภา
การศึกษา ในกระทรวงมีองค์กรหลัก ที่เป็นคณะบุคคลในรูปสภาหรือคณะกรรรมการจำนวน 4 องค์กร ได้แก่
สภาการศึกษาคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษาและคณะกรรมการการ
อุดมศึกษา เพ่อื พิจารณาใหค้ วามเหน็ หรอื ใหค้ ำแนะนำแก่รัฐมนตรหี รอื คณะรฐั มนตรี

มาตรฐานวชิ าชพี และจรรยาบรรณวชิ าชพี มาตรฐานวชิ าชีพครู มี 3 ด้าน เป็นขอ้ กำหนดเก่ียวกับ
คณุ ลักษณะและคุณภาพทพ่ี ึงประสงค์ท่ีต้องการให้เกิดข้ึนในการประกอบวิชาชีพครูโดยผูป้ ระกอบวิชาชีพจะต้อง
นำมาตรฐานวิชาชพี เป็นหลักเกณฑใ์ นประกอบวิชาชพี คุรุสภาซ่ึงเปน็ องคก์ รวิชาชพี ครูจรรยาบรรณวิชาชีพครูมี 5
ด้าน 9 ข้อ จรรยาบรรณวิชาชีพครู หมายถึง กฎแห่งความประพฤติท่ีองค์กรวิชาชีพครกู ำหนดขึ้นใหค้ รูประพฤติ
ปฏิบัติตามในแนวทางที่ถูกต้อง เพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณ ชื่อเสียงและฐานะของความเป็นครู

แนวโน้มจรรยาบรรณครูในบริบทโลก การพัฒนาครูในศตวรรษที่ 21 มีการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
โดยเฉพาะอยา่ งย่ิง ด้านเทคโนโลยสี ่งผลให้การจดั การศึกษาเนน้ การเรียนรู้ท่ผี ้เู รยี นเป็นศนู ยก์ ลาง ดว้ ยการ พฒั นา
ให้ผู้เรียนรู้จักกระบวนการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ผู้ประกอบวิชาชีพครจู ำเป็นต้องพัฒนาตนเพื่อให้เท่าทัน
กับการเปลี่ยนแปลงที่เป็นไปอย่างต่อเนื่องโดยมีทักษะการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ คือ การสร้าบรรยากาศให้เกิด
ความรสู้ กึ หรอื ทศั นคตทิ างบวกในการจดั การกบั การเปลีย่ นแปลง

163

อา้ งองิ

ครุ สุ ภา. (2558). มาตรฐานวิชาชพี ครู.(ออนไลน)์ .สบื ค้นเม่อื วันท่ี 2 มนี าคม 2564
แหล่งทีม่ า : https://www.ksp.or.th/ksp2018/

จิตตปญั ญาศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั มหิดล. ปาจารยสาร ฉบบั สิกขาปรทิ ัศน์.ค้นเมือ่ 1 มีนาคม 2564,
จาก http://www.semsikkha.org/paca/index.php.option=contenttask&View4id=146&Item

วิจักขณ์ พานชิ . (2548). ในกล่มุ จติ วิวัฒน์ (บรรณาธกิ าร) จิตผลบิ าน: อ่อนโยนตอ่ ชีวติ อ่อนนอ้ มต่อธรรมชาติ
การเรียนรู้ด้วยใจอยา่ งใคร่ครวญ. กรุงเทพฯ: สำนักพมิ พ์อมรินทร์, หนา้ 205 – 210.

ประวตั ิความเป็นมาและระบบการศึกษาไทย. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา การศกึ ษาและความเปน็ ครไู ทย.
คน้ เมื่อวันท่ี 6 มีนาคม 2564,จาก https://krupasathaimaiake.files.wordpress.com

สภาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา. สารานกุ รมเสรี.ค้นเม่ือ 1 มีนาคม 2564,
จาก https://th.wikipedia.org/wiki

หนา้ ทแี่ ละความรับผิดชอบของวิชาครู.ค้นเมื่อ 3 มีนาคม 2564
จาก https://sites.google.com/site/krutubtib/khru/hnathi-laea-khwam-rab-phid-chxb-

khxng-wicha-khru
ชนัญชชิ า กองสุข. (2556). ความหมายของมาตรฐานวิชาชีพทางการศกึ ษา.(ออนไลน)์ .สืบค้นเม่ือ 2

มนี าคม 2564 แหล่งท่มี า : http://chananchidapresent1.blogspot.com
องคป์ ระกอบการคุณภาพภายในสถานศกึ ษา. นายอรรถพล เรืองขจร, คน้ เมื่อ 1 มนี าคม 2564,
จาก http://auttapontme35851n.blogspot.com/

164

บทที่ 7
จิตวญิ ญาณความเปน็ ครูและคา่ นิยม

ความหมายและแนวคิดทฤษฎีเก่ียวกับจิตวญิ ญาณ

ความหมายของจิตวิญญาณ คำว่าจิตวิญญาณ Spiritual หรือ Spirituality มีรากศัพท์มาจากคำว่า
spiritus ในภาษา ลาตนิ หมายถึง ลมหายใจ และคำว่า enthousiasmos ท่หี มายถึง the god within หรือ พลัง
อำนาจ ศักดิ์สิทธิ์ของชีวิต (โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. 2549) ส่วน spirit (n) spiritual (adj)
และ spirituality (n) ในพจนานุกรมฉบับอังกฤษ-ไทย ให้ความหมายว่า วิญญาณ จิตใจ เกี่ยวกับใจ
ความองอาจ เจตนา ผู้มีปญั ญา ความอดทน และภตู ผปี ีศาจ (สอ. เสถบุตร :ฉบบั ภาษาอังกฤษ-ไทย. 2541:562)

สุมน อมรวิวัฒน์ (2542) สรุปจิตวิญญาณไม่ว่าจะมาจากรากฐานความคิดด้านใดก็ล้วนแต่ แสดงพลัง
ขับเคลื่อนทางบวก สร้างสรรค์ พัฒนาทั้งทางนามธรรมและรูปธรรม ทางนามธรรมก็คือ เป็นธาตุรู้เป็นความ
ตระหนักรู้คุณค่าของจิตสำนึก ความสุขและความอิ่มเอมทางรูปธรรมก็คือ เป็นพฤติกรรมที่เกิดจากแรงผลัก
ภายในตน แสดงตอ่ เนอื่ งในวิถีชีวิตเป็นความสงบสบายเชอ่ื มโยง สัมพันธ์กับทุกยา่ งกา้ วของชวี ิต

ประเวศ วะสี (2547 : 11-15) ใหค้ วามหมายจิตวิญญาณ หมายถงึ จติ ขนั้ สงู สุดเปน็ คุณคา่ และจิตสำนึก
แห่งความดี จติ ทีล่ ดความเห็นแกต่ ัว เห็นแกผ่ ูอ้ ่ืน จติ ทเ่ี กย่ี วกบั ความยืดมัน่ ถือม่ันใน ตัวตน ความดีความชว่ั ตา่ ง ๆ
จิตในส่วนที่จะเข้าถึงสิ่งสูงสุดได้คือ นิพพานหรือพระผู้เป็นเจ้า นอกจากนี้ ประเวศ วะสี ยังได้กล่าวว่า จิตไม่ได้
ดำรงอยูเ่ ป็นเอกเทศ กาย จิต สังคม ปัญญา เชื่อมโยง ไปมาถงึ กนั การพฒั นาจติ ต้องเปน็ ไปทว่ั มิติเชื่อมโยงกัน ท้ัง
ภูมิปัญญาตะวันออกและตะวันตก เห็นตรงกันว่าการพัฒนาควรมีใน 4 มิติ ได้แก่ 1. กายพัฒนา 2. จิตพัฒนา
3. สังคมพฒั นา 4. ปญั ญาพฒั นา

การพฒั นาทุกมิตมิ ุ่งให้เกิดความถูกต้องดีงามและการมีจติ ใจสูง การมีจติ ใจสงู หมายถงึ การลดน้อยถอย
ลงของความเห็นแก่ตัว มีความรักเพื่อนมนุษย์และสรรพสิ่ง การเข้าถึงความจริง ความหมาย และความดี
มีสุขภาวะและเป็นไปเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติโดยที่กาย จิต สังคมปัญญา เชื่อมโยงกัน ฉะนั้นการพัฒนา
ท่กี ลา่ วถึงในบางเรอื่ งอยู่คาบเก่ียวกนั หลายมิติ เช่น โยคะมที ้ังมติ ิ ทางกายกบั จิต ศลิ ปะมีมติ ิทางกาย ทางจิต ทาง
สงั คม ทางปญั ญา เปน็ ต้น

อารยา พรายแยม้ และคณะ (2552) ไดส้ รุปความหมายของจิตวิญญาณ ว่าเป็นส่ิงทีแ่ สดง ออกเป็นแก่น
แทห้ รือสาระ (Essence) ของบางสง่ิ หรือของคนบางคน โดยอยูเ่ หนอื การมีสขุ ภาวะ ทางอารมณ์และจิตใจท่ีดีและ
มีความสุข โดยจะบอกถึงการรู้จักตนเอง (เราเป็นใคร) ความเป็นอยู่ของเรา (เรามีปฏิสัมพันธ์
กับคนอย่างไร) และจติ สำนึก (เราอยู่กับตนเองอย่างไรเราแสดงตวั ตนของเราอยา่ งไร เรารับร้คู วามรู้สึกของตนเอง
และผอู้ ื่นอยา่ งไร) และความเปน็ จติ วญิ ญาณ (Spirituality) คอื การมองกลับเข้าไปภายในเพอื่ ค้นพบเอกลักษณ์ท่ี
แทจ้ ริงของเรา โดยเปน็ การมองเพ่อื ค้นพบตัวตนคุณค่า ความหมายและเป้าหมายในชีวิต ใหล้ ึกซ้ึงถึงแก่นแท้ของ

165

ตวั เรา นอกเหนือจากน้ันยังเชอื่ มโยง กบั มนษุ ย์ทกุ คน และรับรู้ถงึ บางส่ิงทย่ี ่ิงใหญ่กวา่ ตัวเราเองโดยท่ีบางคนอาจ
พูดว่าเป็นประสบการณ์ ของความสงบทีแ่ สดงออกมาในรูปของความกรณุ า

นงเยาว์ มงคลอิทธิเวช และคณะ (2552) ได้ให้ความหมายของสุขภาวะทางจิตวิญญาณว่า หมายถึง
สภาวะสงบสขุ ท่ีมีความประณตี เป็นความสขุ ท่แี ทจ้ รงิ ท่หี ลดุ พ้นจากการยึดติดกับวตั ถุ แต่เปน็ ภาวะที่เปีย่ มล้นด้วย
ความปิติ อิ่มเอิบ อิ่มเต็มจากภายใน มีความอ่อนโยน เบิกบาน จิตใจ สงบนิ่ง ไม่วุ่นวายสับสน
มีพลังในการมีชีวิตอย่างมีคุณค่า มีความหมาย มีเป้าหมายชีวิตที่ชัดเจน พึงพอใจในชีวิต มีสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ
เข้าใจโลกและชีวิตตามความเป็นจริงและมีความสามารถ ในการเผชิญและแก้ปัญหาและอุปสรรค์ต่าง ๆ
ในภาวะวกิ ฤตได้อย่างเหมาะสม

ดอมเบ็ค และคารล์ (Dombeck; & Karl. 1987) ให้ความหมายวา่ เป็นแรงขับหรือเป็นความปรารถนาท่ี
ทำใหบ้ คุ คลมคี วามหมาย มีความม่นั คงภายในและมคี วามพยายามเพ่ือความสำเรจ็ ในชีวิต

โบแลนเดอร์ (Bolander, 1994) กล่าวว่า จิตวิญญาณ คือหลักชีวิตที่ส่งผลให้ชีวิตนั้นเป็นชีวิต
ท่ีบรบิ รู ณท์ ง้ั สรีระ อารมณ์ สตปิ ญั ญา ศีลธรรม จรรยา และพลงั ใจ จติ วิญญาณจะให้คณุ คา่ เกนิ ความเข้าใจธรรมดา

จากความหมายที่กล่าวข้างต้น สามารถสรุปความหมายของจิตวิญญาณ คือ ลักษณะของ จิตใจหรือ
ความรสู้ กึ ภายในของบุคคล ทแ่ี สดงพฤติกรรมออกมาจากความเชื่อ ความศรัทธาท่ีเกิดใน ตัวบคุ คลนั้นด้วยใจอัน
บรสิ ุทธิ์

แนวคดิ ทฤษฎเี กย่ี วกับจติ วิญญาณ
จากความหมายของคำว่า จิตวิญญาณ ทั้งหมดที่กล่าวมา พบว่า มีการให้ความหมาย ในหลากหลายมิติ
โดยมผี ู้พยายามจดั ประเภทของการให้ความหมายและรวบรวมลักษณะร่วมใน ความหมายของจติ วิญญาณ รวมทั้ง
มีการเสนอความคิดเกี่ยวกับการศึกษาจิตวญิ ญาณไว้ในลกั ษณะ ต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
ประเวศ วะสี (2552) ไดเ้ สนอสาระสำคญั เกย่ี วกับจิตวิญญาณและสุขภาวะทางจิตวิญญาณ ที่ปรากฏใน
สาระสำคญั ของการประชุมประจำปีของแผนพฒั นาจิตเพ่ือสุขภาพมูลนิธิสด ศรีสฤษดวิ์ งศ์ ในหลายประเด็น ดังน้ี
1. จิตวิญญาณอยูใ่ กล้ตัวเรา ทั้งในการทำงานและการดำเนนิ ชีวิต จิตวิญญาณเปน็ สิ่งที่ สามารถสร้างให้
เกิดขึ้นไดในการทำงานประจำวัน ทั้งในงานบริหาร งานพัฒนาคุณภาพ งานใน สถานการณ์ยากลำบาก
งานในชุมชน ล้วนแต่เป็นพื้นที่ให้มนุษย์ได้ใกล้ชิดกับจิตวิญญาณ ผ่านการฝึกฝนตนเองร่วมไปกับบทบาท
และหน้าที่ที่ตนเองกำลังปฏิบัติ จิตวิญญาณจะอยู่ร่วมกับชีวิตและส่งเสริมการดำเนินชีวิตประจำวัน
และการใชช้ วี ิตครอบครวั ใหม้ ีสุขภาวะทดี่ ีข้นึ เห็นคณุ ค่า และความหมายของการมีชีวติ อยู่
2. การเปล่ยี นแปลงทางจิตวิญญาณเป็นการขา้ มพน้ กรอบความคิดเดิมท่ีเรายึดตดิ การเปลี่ยนแปลงทาง
จติ วญิ ญาณต้องเริม่ ต้นท่ีตนเอง โดยปลดปล่อยให้ตนเองหลุดจากกรอบและ ความคิดความเช่ือเดิม ๆ เช่น ความ
เช่ือว่าทุกสิง่ ตอ้ งเป็นไปตามหลักการหรือทฤษฎอี ย่างใดอย่างหน่งึ ผลจากการเป็นอิสระจากกรอบเดิม ๆ ช่วยทำ

166

ให้เรามีพลังในการใช้ชีวิตและทำงานได้อย่างสร้างสรรค์ เมื่อการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น จะทำให้มนุษย์
เปน็ คนธรรมดามากขน้ึ สมั ผสั ความเรียบง่าย และสามารถ มคี วามสขุ ไดม้ ากขึ้น

3. สุขภาวะทางจิตวิญญาณเป็นสิ่งที่เช่ือมโยงตนเองกับส่ิงต่าง ๆ รอบด้านสุขภาวะ ทางจิตวิญญาณเป็น
เองที่เกี่ยวข้องการเชื่อมโยงการปฏิสัมพนั ธ์กับส่ิงต่าง ๆ ทั้งชุมชน สังคม องค์การ ระบบ การทำงาน ครอบครัว
เพื่อนรว่ มงาน ความเช่ือมโยงเปน็ เรือ่ งของการพ่งึ พิงอาศัยซ่ึงกนั และกนั ชว่ ยให้สามารถเข้าใจความหมายของแต่
ละส่ิงอย่างรอบด้าน

4. จิตวิญญาณเป็นคุณค่าสูงสุดทางจิตใจไม่ว่าจะเป็นคำว่า จิตปัญญา จิตตปัญญา สุ ขภาวะ
ทางปัญญา หัวใจของความเป็นมนุษย์ การพัฒนาจิต ล้วนแต่เป็นสิ่งเดียวกันที่มีความหมายถึง สิ่งที่มี
คุณค่าสูงสุดทางจิตใจ มิติทางจิตวิญญาณเป็นสิ่งที่มนุษย์สามารถสัมผัสได้ถึงความงามอันลึกซึ้ง
ความสขุ อนั ประณตี ความอสิ ระท่ีอยภู่ ายในจติ ใจ หรือความรักอนั ไพศาลตอ่ เพ่อื นมนุษย์

5. สติเป็นเครื่องมือสำคัญของการพัฒนาทางจิตวิญญาณ สติเป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยให้
มนุษย์เปลี่ยนวิธีคิดได้ สติทำให้จิตเป็นกลาง เมื่อจิตเป็นกลางก็จะสามารถเปลี่ยนอะไรก็ได้ แม้กระทั่ง
การเปลี่ยนวิธีคิดไปจากเดิม ถ้าคนที่ทำงานในอาชีพต่าง ๆ เช่น แพทย์ ครู นักธุรกิจ หันมาเจริญสติ
กันมาก สังคมก็จะสามารถเปลี่ยนแปลงได้ การพัฒนาทางจิตวิญญาณก็จะเกิดขึ้น ปัจจุบันคนทั่วโลก
หันมาเจริญสติกันมาก เพราะพบว่าการเจริญสติช่วยให้สุภาพดีขึ้น เยียวยาความ เจ็บปวดได้ง่ายข้ึน
เรียนรู้ได้ดีขึ้น รวมทั้งมีความสัมพันธ์ที่ดีขึ้นกับคนในครอบครัวและที่ทำงาน สติจึงเป็นเครื่องมือสำคัญ
ของการปฏวิ ัตทิ างจติ วิญญาณทเี่ ชอ่ื มโยงกบั ทุกอย่างในชีวติ

6. การพัฒนาสุขภาวะทางจิตวิญญาณสามารถกระทำได้ในทุกศาสนา การพัฒนา จิตวิญญาณต่างมีจุด
ร่วมกันตรงที่การปฏิบัติอย่างเป็นประจำสม่ำเสมออยู่ในชีวิตประจำวัน โดย เริ่มต้นจากการฝึกปฏิบัติ
ตามศาสนาที่ตนเองนับถือ เช่น ศาสนาพุทธฝึกละอกุศล ทำความดี มีสติอยู่ กับปัจจุบันศาสนาอิสลาม
ฝึกละหมาดเพื่อระลึกถึงพระเจ้าตลอดทั้งวันและคืน ศาสนาคริสต์ฝึกชีวิ ต ฝ่ายจิตวิญญาณ ให้มีความรัก
และศรัทธาในพระเจ้าและแสดงออกด้วยการรักเพื่อนมนุษย์ แม้ว่าแต่ละศาสนาจะมีหลักปฏิบัติที่แตกต่างกัน
กส็ ามารถพัฒนาจติ วิญญาณได้ เพยี งแคม่ ีการปฏบิ ัตเิ ทา่ นั้น

7. สขุ ภาวะทางจติ วิญญาณสามารถสร้างความสุขในการทำงานได้สุขภาวะทางจิตวญิ ญาณ เป็นความสุข
ราคาถูกท่ไี ม่ต้องลงทนุ มากมาย ก็สามารถหาความสุขน้ีไดในการทำงาน เพอ่ื เร่มิ จากการเหน็ คุณค่าและศรัทธาใน
วิชาชีพหรืองานที่ตนเองทำ รู้จักชื่นชมและให้กำลังใจตนเองเป็น รับรู้ความรู้สึกของผูอ้ ื่น ตระหนักถึงคุณค่าอัน
ละเอยี ดออ่ นของชีวติ มนษุ ย์ ฝกึ ฝนการเจริญสติ ในระหว่างการทำงาน คณุ ลกั ษณะเหลา่ นไ้ี ม่จำเปน็ ตอ้ งหาซื้อจาก
ท ี ่ ใ ด เ พ ี ย ง แ ค่ เ ร ิ ่ ม ต ้ น ท ี ่ ต น เ อ ง เ ท ่ า น ั ้ น ก ็ ส า ม า ร ถ ร ั บ ผ ล อ ั น เ ป ็ น ค ว า ม ส ุ ข ไ ด้ ท ั น ที
ในขณะท่ีกำลงั ทำงาน

167

8. ชุมชนกัลยาณมิตรเปน็ ส่ิงที่สนบั สนุนให้สขุ ภาวะทางจิตวิญญาณคงอยู่ชุมชนเป็นพ้นื ท่ี ในการดูแลจิตใจ
ที่ขยายออกไปจากตนเอง ผ่านการสื่อสารกันอย่างเป็นกัลยาณมิตร มี การรับฟัง กันอย่างลึกซึ้ง
การมีเพื่อนที่สามารถบอกเล่าเรื่องราว และแบ่งปันทุกข์สุขให้แก่กันได้ เป็นปัจจัยที่ช่วย หล่อเลี้ยงพลังในการ
ทำงาน แม้ว่าเราจะอยู่ในสถานการณที่ตึงเครยี ด กดดัน หรือบีบคั้น ยากลำบากก็ตาม สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
ในการทำงานก็ยังคงอยู่ เราสามารถสร้างชุมชนชนกัลยาณมิตร ได้ง่ายๆ ด้วยการสร้างพื้นที่สร้างเวลา
สร้างโอกาสให้ปลอดภัย พื้นที่สรา้ งสรรค์ในการทำงานกจ็ ะเกิดขึน้ ได้ กล่าวโดยสรุปคือ ชุมชนที่ดีจะสนบั สนุนให้
สขุ ภาวะทางจติ วญิ ญาณยงั คงอยตู่ ั้งแตเ่ รมิ่ ตน้ ระหว่างทางจนเกิดผลงาน ตลอดเสน้ ทางการทำงาน

9. ผนู้ ำทมี่ สี ุขภาวะทางจิตวิญญาณเป็นสง่ิ สำคญั ในการพฒั นาคุณภาพขององคก์ าร ผู้นำเปน็ ผู้ท่ีมีบทบาท
สำคัญในการพฒั นาคุณภาพชวี ิตขององค์การได้หากผู้นำพัฒนาสุขภาวะทางจิตวญิ ญาณ ของตนเองไปด้วย ผู้นำท่ี
มสี ขุ ภาวะทางจิตวญิ ญาณประกอบไปดว้ ยคณุ ลกั ษณะ 7 ประการ ได้แก่

9.1 ค้นหาและยอมรับในศักยภาพเดิมหรอื ต้นทนุ ท่ีมอี ยูแ่ ลว้ ในองค์การ
9.2 สรา้ งพื้นทีใ่ ห้ผลงานได้มโี อกาสงอกเงยและปรากฏใหเ้ ห็น
9.3 ส่งเสรมิ บุคลากรแตล่ ะคนได้มีโอกาสทำงานท่ยี ากและท้าทาย
9.4 มีการอาศยั ความร่วมมือรว่ มใจของบคุ ลากรทกุ ระดบั ในองคก์ าร
9.5 มกี ารทำงานแบบเป็นงานศิลปะทีม่ สี ุนทรยี ภาพ
9.6 มีขวัญและกำลังใจสนับสนนุ อยเู่ บอ้ื งหลงั
9.7 การใส่ใจดแู ลทุกขส์ ุขของบคุ ลากรทกุ คน
10. เมื่อนำจิตวิญญาณเข้าไปใช้ในระบบการศึกษา จะสามารถทำให้ระบบการศึกษา มีการเรียนรู้อย่าง
เป็นองค์รวมได้ การนำเอาเรื่องการพัฒนาจิตจนเกิดปัญญาเข้าไปสู่การเรียนการสอน นำการเรียนรู้เข้ามาสู่ตัว
ผู้เรียนผู้สอน โดยอาศัยวิธีการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงเนื้อหาวิชาออกไปสู่ชีวิต ไม่จำกัดการเรียนรู้เฉพาะ
ภายในห้องเรียน มีการเชื่อมโยงชีวิตผู้เรียนไปสู่โลกภายนอกสู่ชุมชนต่าง ๆ เท่าทันต่อเหตุการณ์บ้านเมือง
การศึกษาเช่นนี้จะเกิดขึ้นได้ต้องเริ่มจากผู้สอนต้องมีจิตวิญญาณ ตระหนักคุณค่าที่แท้ของความเป็นครู
หรอื จิตวิญญาณความเป็นครู ในขณะท่ีนักเรยี นเปน็ ผู้ท่ีต้อง มีจิตวิญญาณของผ้ใู ฝเ่ รียนรู้ การเรียนรู้อย่างเป็นองค์
รวมท่แี ท้จรงิ จึงเกดิ ข้ึนได้
11. สขุ ภาวะทางจิตวิญญาณเริ่มต้นเมื่อนำชุมชนเปน็ ศูนย์กลางการมีโอกาสได้เข้าไปรับรู้ ความรูสึกของ
ชุมชนทเี่ กยี่ วข้องกับตนเองหรอื องคก์ ารจะทำให้เกิดการเหน็ ทง้ั หมดของชีวิตและความหมายของสุขภาวะทางจิต
วญิ ญาณ มีการบูรณาการนำเอามิตติ ่าง ๆ เข้ามาในชวี ิตและการทำงาน ทงั้ มติ ิทางกาย จติ และสังคม การบูรณา
การย่อมทำให้เกิดการเหน็ คุณค่าในตนเองและ การทำงานมากยิง่ ขึ้น
ณัฏฐภรณ์ หลาวทอง และปยิ วรรณ วเิ ศษสุวรรณภมู ิ (2553) ไดส้ รุปแนวคดิ จติ วญิ ญาณว่า องคป์ ระกอบ
ด้านสุขภาวะทางจิตวญิ ญาณประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบทางด้านภายในตวั บุคคล ไดแ้ ก่ การรบั รู้ ความเช่อื วธิ ีการ

168

ปฏบิ ตั ิตอ่ สิง่ ต่าง ๆ องค์ประกอบทางดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม ไดแ้ ก่ การใหค้ วามรัก ความปรารถนาดีต่อผู้อ่ืน การเข้าใจ
บุคคลอื่น รวมถงึ สง่ิ แวดลอ้ มและธรรมชาติ และองคป์ ระกอบ ทางด้านความเช่ือเก่ยี วกับพระเจ้า

ธรรมนันทิกา แจ้งสว่าง, (2554) ได้สรุปแนวคิดจิตวิญญาณว่า จิตวิญญาณเป็นสิ่งที่เกิดขึ้น
ในสถานการณ์ต่าง ๆ ของชีวิต รวมท้งั บรบิ ทของการทำงาน มคี วามแตกตา่ งกนั ไปตามบริบทของ สภาพแวดล้อม
และวัฒนธรรม เป็นส่วนสนับสนุนในการดำเนินชีวิตของบุคคลทั้งบริบททั่วไปและ บริบทการทำงาน เป็นพลัง
ภายในของบคุ คลท่ีทำให้เกิดความแขง็ แกร่งในการดำเนนิ ชวี ิตและ เม่อื เผชิญปัญหา การมจี ติ วิญญาณคือ จะต้อง
มีความเกี่ยวข้องกับการข้ามพ้นตนเอง ความเข้าใจตนเอง เข้าใจความเป็นจริงของสรรพสิ่งและมีเป้าหมายของ
ชีวิต เป็นความเชื่อมโยงกับสิ่งต่าง ๆ ทั้งบุคคล สภาพแวดล้อม องค์การ มีความเกี่ยวข้องกับความเชื่อ ความ
ศรัทธาในเรื่องพลัง เหนือธรรมชาติ หรือเหนือไปจากการรับรู้ปกติ โดยผ่านประสบการณ์และการปฏิบัติทาง
ศาสนาหรือ ความเช่อื

โกเมธ และไฟเซอร์ (Gomez and Fisher, 2003, p,2005) วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณ โดยใช้
องค์ประกอบดังนี้ คือ ด้านบุคคล ได้วัดเกี่ยวกับด้านต่าง ๆ ได้แก่ การรู้จักตนเอง การตระหนัก ในตนเอง การมี
ความพึงพอใจในชีวิต ความสงบส่วนตัว และความหมายของชีวิต ด้านส่วนรวม ได้วัดด้านต่าง ๆ ได้แก่ การรัก
ผู้อื่น การให้อภัยผู้อื่น การเชื่อผู้อื่น การเคารพผู้อื่นและการดีต่อผู้อื่น ด้านสิ่งแวดล้อม วัดเกี่ยวกับการนึกถึง
ธรรมชาติ การเคารพธรรมชาติ การเป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ การชื่นชมธรรมชาติ และการเป็นส่วนหน่ึง
เดียวกันกับธรรมชาติ และดา้ นความเชอ่ื เกย่ี วกบั พระเจ้า

จากแนวคิดเกี่ยวกับจิตวิญญาณที่ได้ศึกษาข้างต้น สามารถสรุปแนวคิดเกี่ยวกับจิตวิญญาณได้ว่า
จติ วญิ ญาณเป็นสงิ่ ท่มี อี ยู่ภายในตวั บุคคลทเ่ี ชอ่ื มโยงปฏสิ ัมพนั ธ์กับการดำเนินชีวติ โดยการฝกึ ปฏิบัติเพ่ือให้เกิดจิต
วิญญาณ เช่น การให้ความรัก ความปรารถนาดีต่อตนเองและผู้ อื่น การเข้าใจ ตนเองและผู้อ่ืน
และสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในสายวิชาชพี ครู โดยให้เกิดจติ วญิ ญาณในตวั บคุ คล นำไปสกู่ ารเปน็ ครูท่ีดี

ความหมายและความสำคัญของจติ วิญญาณความเป็นครู
การปฏิบัติหน้าที่ด้วยจิตวิญญาณเป็นการทำหน้าที่ด้วยใจซึ่งทำให้เกิดความรัก ศรัทธา และยึดม่ัน
ในอุดมการณ์แห่งวิชาชีพ มุ่งมั่น ทุ่มเทในการทำงาน ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี เอาใจใส่ ดูแลและหวังดี
ต่อศิษย์ จิตวิญญาณความเป็นครูจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ครูทุกคนควรมี ซึ่งจะทำให้ครู สามารถปฏิบัติงานได้
อย่างมีคุณภาพเปน็ ทีย่ อมรบั ของสงั คม ความหมายของจิตวญิ ญาณความเป็นครู
ยนต์ ชุ่มจิต (2524) ใช้คำว่า วิญญาณครู โดยให้ความหมายว่า ความสำนึกในความเป็นครู นั่นคือ รู้ถึง
บทบาทหน้าทแี่ ละความรับผิดชอบของครอู ยู่ตลอดเวลา และได้ปฏิบตั หิ น้าท่ีของครู โดยยดึ ถืออุดมการณ์ของครู
เป็นแนวทางเสมอ
ธวัชชยั เพง็ พนิ จิ (2550) ใหค้ วามหมายจติ วิญญาณครวู ่า หมายถึง จติ สำนกึ ความคดิ ทัศนคติ พฤติกรรม
การแสดงออกที่ดี ลมุ่ ลกึ สงบเยน็ เป็นประโยชน์ตามกรอบของจริยธรรม คณุ คา่ คา่ นยิ ม จารีตประเพณี วฒั นธรรม

169

และ ความคาดหวังของสังคม อันเป็นองคร์ วมธาตุแท้ของบุคคล ผู้ใฝ่รู้ ค้นหา สร้างสรรค์ ถ่ายทอด ปลูกฝัง และ
เปน็ แบบอยา่ งที่ดขี องสังคม ซง่ึ มขี ึ้นไดใ้ นทุกคน ไม่เฉพาะผู้ท่ีประกอบอาชีพครูเท่าน้นั

ธรรมนันทิกา แจ้งสวา่ ง (2554) ไดใ้ ห้ความหมายของจติ วญิ ญาณความเป็นครูวา่ เปน็ คณุ ลกั ษณะทางจิต
และพฤตกิ รรมการทำงานท่ีสะท้อนถงึ การเปน็ ครทู ่ีดี จิตวญิ ญาณความเป็นครู ท่ีปรากฏเป็นคุณลักษณะทางจิตนี้
จะเกย่ี วข้องกบั ความคดิ ที่มีต่อวิชาชีพครู ประกอบดว้ ย การเหน็ คณุ คา่ ของบทบาทหน้าที่ การมีศรัทธาในวิชาชีพ
และยดึ มั่นตอ่ อดุ มการณใ์ นการทำงาน เป็นครู มีความเขา้ ใจท้ังตนเองและผ้อู ื่น ในขณะทจี่ ิตวญิ ญาณความเป็นครู
ที่ปรากฏเปน็ พฤตกิ รรม ประกอบด้วยการปฏบิ ัติตอ่ นักเรยี นด้วยความเมตตา ช่วยเหลอื เสยี สละ อดทน การเป็น
แบบอย่างทด่ี ี รวมทั้งการพัฒนาตนเองโดยการแสวงหาความรูเพ่ิมเติม

จมุ พล พูลภทั รชวี นิ (2557) ไดใ้ ห้ความหมายของจติ วญิ ญาณความเปน็ ครวู ่า จิตสำนึก ความคิด ทัศนคติ
พฤติกรรมการแสดงออกที่ดี ลุ่มลึกสงบเย็น เป็นประโยชน์ ตามกรอบของจริยธรรม คุณธรรม ค่านิยม จารี ต
ประเพณี วัฒนธรรม และความคาดหวังของสังคม อันเป็นองค์รวมธาตุแท้ ของบุคคลผู้ใฝ่รู้ ค้นหา สร้างสรรค์
ถา่ ยทอด ปลกู ฝัง และเป็นแบบอย่างท่ีดขี องสังคม

จากความหมายที่กล่าวข้างต้น สามารถสรุปความหมายของจิตวญิ ญาณความเป็นครู หมายถึง การเป็น
ครูทั้งชีวิตจิตใจ รักในความเป็นครู มีความเป็นครูตลอดเวลา มีพฤติกรรมการ แสดงออกที่ดีของครูที่มีต่อศิษย์
ด้วยรักความเมตตา ความอดทนความรับผิดชอบ และปรารถนาดีต่อ ศิษย์ และเป็นผู้ทำประโยชน์และเสียสละ
ใหแ้ กป่ ระโยชนส์ ว่ นรวม

ความสำคญั ของจิตวญิ ญาณความเปน็ ครู
เนื่องจากอาชีพครูเป็นอาชีพที่สำคัญและได้รับการยกย่องและนับถือจากสังคม ครูเปรียบเสมือนผู้
ถ่ายทอดพันธุกรรมแห่งความดีไปยังผู้เรียน ซึ่งกค็ ือลูกศิษย์ที่เป็นเยาวชนและ อนาคตของประเทศชาติ หากครู
เป็นครดู ้วยจติ สำนกึ และวญิ ญาณของความเป็นครู อทุ ศิ ตนปฏิบัติ หนา้ ที่ครดู ว้ ยความเมตตาและเสียสละ มีความ
ห่วงใยตอ่ ศษิ ย์ดจุ ลูกของตนเอง มจี ิตสำนกึ และวิญญาณ ของความเปน็ ครูอย่างแทจ้ ริง รักและปรารถนาดี ต่อศิษย์
ทำตัวเป็นแบบอย่างท่ีดีให้กบั ศิษย์ แนะนำ แนวทางและทำทุกวิธีท่ีจะให้ศิษย์เป็นคนดี สิ่งท่ีตามมาคือลูกศิษย์ซ่ึง
เป็นเยาวชนท่ดี ี มคี ุณธรรม และ เตบิ โตไปเป็นผใู้ หญ่ท่ีดี หากในสังคมมีคนดเี ปน็ สว่ นใหญย่ อ่ มก่อให้เกิดความสงบ
สขุ ข้นึ ในสงั คมอย่าง แนน่ อน ปญั หาความขดั แยง้ ทพ่ี บเห็นในสังคมไทยปัจจุบนั ยอ่ มไมเ่ กดิ ข้ึน และมากไปกว่านั้น
หาก ประชาชนส่วนใหญ่ในประเทศเปน็ คนดี มคี ณุ ธรรม ประเทศชาตยิ อ่ มเจริญเตบิ โตในทางทีด่ ีอีกดว้ ย
ในอดีตมีครูจำนวนมากทม่ี ีลกั ษณะครูอาชีพ เป็นครดู ้วยใจรัก เปน็ ครูดว้ ยจิตใจและวิญญาณ แต่เม่ือเวลา
ผ่านไปมกี ระแสแหง่ การเปลี่ยนแปลงดา้ นต่าง ๆ มากระทบทำใหม้ คี รทู เ่ี ปน็ ปชู นยี บุคคล ลดนอ้ ยลงไปอย่างนา่ เป็น
หว่ ง อกี ทั้งในปัจจบุ นั อาชพี ครขู าดแคลน ทำใหผ้ ูจ้ บการศึกษาที่ว่างงานเลือก อาชพี ครเู พ่อื เป็นทางเลือกให้ตนเอง
มงี านทำ กล่าวคอื ไมไ่ ดเ้ ป็นครูด้วยใจรัก ไมม่ จี ติ วิญญาณของความ เปน็ ครู อันก่อให้เกดิ ปัญหาครูกับนักเรียนข้ึน
ในโรงเรยี น จะเห็นไดจ้ ากการนำเสนอขา่ วในแงล่ บของ ครทู ปี่ ระพฤตปิ ฏบิ ตั ิตัวผิดต่อวิชาชีพและจรรยาบรรณของ

170

ครู กระทั่งผิดกฎหมายก็มีสิ่งเหล่านี้ทำให้ การยกย่องนับถือครูจากสังคมส่วนใหญ่ลดน้อยลง เกิดมุมมองและ
ภาพลกั ษณข์ องครใู นทางท่ไี ม่ดี ทัง้ ท่ีจริงแล้วเกิดจากครเู พยี งส่วนน้อย แตค่ วามเสยี หายท่เี กิดขึ้นกับครูท้ังหมดท่ี
เป็นส่วนใหญด่ ว้ ย

จะเห็นว่าจิตวิญญาณความเป็นครูเป็นเรื่องที่สำคัญ หากครูทุกคนปฏิบัติหน้าที่ครูด้วยใจรัก และมี
วญิ ญาณของความเปน็ ครู ยอ่ มกอ่ ให้เกดิ ความสุขในอาชีพครูของตนเองอย่างแน่นอน และมาก ไปกวา่ นนั้ เยาวชน
ซึ่งเป็นอนาคตของประเทศชาตจิ ะต้องเตบิ โตอย่างมีคุณภาพ และมีคณุ ธรรม ครอบครัว สงั คม และประเทศชาติก็
จะมแี ตค่ วามสขุ ความเจรญิ

องคป์ ระกอบและตวั บง่ ช้จี ิตวิญญาณความเปน็ ครู

จากการศึกษาเอกสารและผลการวิจัยท่เี กย่ี วข้องจิตวิญญาณความเป็นครู มอี งค์ประกอบและ ตวั บ่งช้ีจิต
วิญญาณความเป็นครู (กลญั ญู เพชราภรณ์, 2562) ดังน้ี

กติ ินนั ท์ โนสุ และเสรมิ ศกั ดิ์ วศิ าลาภรณ์ (2558 : 60-61) ได้กล่าวถึงองค์ประกอบของ จิตวิญญาณความ
เป็นครู ดงั น้ี

1. องค์ประกอบดา้ นการพฒั นาตนเอง ประกอบดว้ ย
1.1 การใฝห่ าความรู้ เพอ่ื พฒั นาตนเองอยูเ่ สมอ
1.2 มคี วามขยันหม่นั เพียรแสวงหาความร้ใู หม่ๆ
1.3 มกี ารแลกเปล่ยี นเรียนรู้กับผ้อู นื่ เพือ่ การพฒั นาตนเองทุกคร้ังท่ีมีโอกาส
1.4 มีการพฒั นาตนเองเพื่อสร้างความกา้ วหนา้ ในวิชาชพี จนไดร้ ับอนุมตั ใิ หม้ ีหรือเลื่อนวิทยฐานะ
1.5 มีความพยายามแสวงหาโอกาสเข้ารับการอบรม เพื่อนำความรู้มาพัฒนางานหน้าที่ ให้

เจรญิ กา้ วหน้า
1.6 มีการพัฒนางานในวิชาชีพหรือได้รับการยกย่องชมเชย หรือรางวัลที่เกี่ยวกับวิชาชีพ ครู
1.7 มกี ารสร้างสรรค์ผลงานทางวชิ าการเพ่ือบริการสังคม
1.8 มีความกระตือรือร้นในการค้นควา้ หาความรู้เพ่มิ เตมิ เพือ่ พฒั นาศิษย์
1.9 มกี ารพัฒนาตนเองให้ทนั ต่อการพฒั นาทางวทิ ยาการ เศรษฐกจิ สังคมและการเมอื งอยูเ่ สมอ
1.10 มกี ารสำรวจและปรับปรงุ แกไ้ ขตนเองอยู่เสมอ

2. องค์ประกอบด้านความมีเมตตาในการปฏิบตั งิ าน ประกอบดว้ ย
2.1 การยอมรับความแตกต่างทางวฒั นธรรม ความคิด และความเช่ือ
2.2 การสนบั สนนุ ความคดิ ริเรม่ิ ในทางท่ีถกู ต้องของเพื่อนร่วมงาน
2.3 การใช้แนวทางในการแก้ปญั หา โดยวิธกี ารทางปญั ญาและสันติวธิ ี
2.4 ปฏบิ ัตงิ านโดยอาศยั หลักแหง่ เหตผุ ล ปราศจากอคติ
2.5 การยอมรับผลท่ีเกิดจากการกระทำของตนดว้ ยความเต็มใจ

171

2.6 มีความเป็นประชาธิปไตย
2.7 การใชห้ ลักการและเหตผุ ลในการตดั สินใจแกป้ ญั หา
2.8 การยอมรับความคดิ ทีม่ ีเหตุผลโดยคำนงึ ถงึ ประโยชนส์ ่วนรวมเป็นหลัก
2.9 ปฏิบตั งิ านโดนไมเ่ พิกเฉยในเหตุการณ์ที่จะทำใหเ้ กิดผลเสียตอ่ งานในหน้าท่ี
3. องคป์ ระกอบดา้ นความคิดริเร่ิม สร้างสรรค์ ประกอบด้วย
3.1 มีการตดิ ตามและประเมนิ ผลผูเ้ รยี นในรูปแบบทหี่ ลากหลาย
3.2 การใชแ้ หลง่ เรียนร้ทู ้งั ในและนอกสถานศึกษามาเปน็ ส่วนหน่ึงในการจัดการเรียนการสอน
3.3 การแกไ้ ข ปรับปรุง ข้อบกพร่องทีเ่ กดิ ขนึ้ จากการเรยี นการสอน

3.4 การใชผ้ ลการวิเคราะห์ วิจัย เพอ่ื พฒั นางานในหน้าทอ่ี ยู่เสมอ
3.5 การสร้างโอกาสให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงความรูท้ ี่ได้รับจากการเรียนรู้กับ ประสบการณ์
ชวี ติ จริง
3.6 การคดิ คน้ การสร้างส่ือนวัตกรรม การเรียนการสอนในรปู แบบใหมๆ่
3.7 การแสวงหาแนวทาง วิธีการปรบั ปรุงงานทร่ี บั ผดิ ชอบอยู่เสมอ
3.8 มคี วามกล้ามุ่งมน่ั ในการกระทำส่งิ ตา่ งๆ ดว้ ยวิธีการท่แี ตกตา่ งจากเดมิ
4. องคป์ ระกอบด้านการปฏบิ ัตติ ามจรรยาบรรณวชิ าชีพ ประกอบด้วย
4.1 การใหค้ วามร่วมมอื ในกิจการของสถาบนั เป็นอยา่ งดี
4.2 การอทุ ศิ ตนเพ่อื ประโยชนต์ ่อวชิ าชพี ครู
4.3 มคี วามต้ังใจปฏิบตั ิงานเพื่อให้วิชาชีพครูเปน็ ทีย่ กย่อง
4.4 มคี วามจริงใจในความรับผดิ ชอบตอ่ วชิ าชพี ครู
4.5 การให้เกียรตแิ ก่ผู้ร่วมวิชาชีพครู
4.6 การธำรงเกียรติแก่ผู้ร่วมวิชาชพี ครู
5. องค์ประกอบดา้ นวิริยะ อตุ สาหะ ประกอบด้วย
5.1 มคี วามขยันตงั้ ใจในการทำงานท่ีได้รบั มอบหมาย
5.2 มคี วามกระตอื รอื ร้นในการทำงาน
5.3 มีความเต็มใจอทุ ิศเวลาในการปฏิบตั หิ น้าท่ี
5.4 การรู้จักหนา้ ทแ่ี ละปฏิบตั ิหน้าที่อยา่ งเตม็ ความสามารถ
5.5 ปฏบิ ตั ิงานการสอนตรงเวลาเสมอๆ
6. องคป์ ระกอบดา้ นความเมตตากรณุ า ประกอบด้วย
6.1 มีความปรารถนาดีต่อศษิ ย์
6.2 มีความเอื้อเฟ้ืออาทรตอ่ ศษิ ย์

172

6.3 มีความเมตตาตอ่ ศษิ ย์
6.4 การยึดมัน่ ในคณุ ธรรมจรยิ ธรรมตามหลกั ศาสนา
7. องค์ประกอบดา้ นความซ่ือสตั ยต์ ่อวิชาชพี ประกอบด้วย
7.1 การให้เกียรติผู้อื่นทางวิชาการ โดยไม่นำผลงงานของผู้ใดมาแอบอ้างเป็นของตน
7.2 มีความตระหนกั ในคณุ คา่ ศักดศิ์ รีของความเปน็ มนุษย์ โดยไมค่ ำนึงถงึ เช้ือชาติ ศาสนา
และสถานภาพของบคุ คล
7.3 ไมย่ อมให้นำผลงานทางวิชาการของตนไปใชใ้ นทางทุจริต
7.4 ไม่แสวงหาผลประโยชนจ์ ากศษิ ย์ในการปฏบิ ตั หิ นา้ ที่
7.5 ต้องปฏิบตั ติ ่อศษิ ยท์ ุกคนดว้ ยความเสมอภาค
8. องคป์ ระกอบดา้ นความดี ประกอบดว้ ย
8.1 มีความสภุ าพออ่ นโยน
8.2 มคี วามเออ้ื เฟือ้ เผ่อื แผ่ ชว่ ยเหลอื ผอู้ นื่
8.3 มคี วามเสยี สละ
8.4 มีความเห็นอกเหน็ ใจผ้อู นื่
9. องคป์ ระกอบด้านความรัก ศรัทธาในวชิ าชีพ ประกอบด้วย
9.1 มีความรักในวชิ าชีพครูยิง่ กว่าวชิ าชีพใด
9.2 มีความศรัทธาในวิชาชีพครมู ากกวา่ วชิ าชพี อืน่
9.3 มคี วามมุ่งมนั่ ตง้ั ใจมาเปน็ ครเู ปน็ อันดับแรก
10. องค์ประกอบดา้ นการปฏิบตั กิ ารสอน ประกอบดว้ ย
10.1 การได้รับการยกยอ่ งนบั ถอื ในเชงิ ภูมิปญั ญา และเชาวนไ์ หวพรบิ ในดา้ นการอบรม ส่งั สอน
10.2 การคดิ คน้ วธิ ีการจัดการเรียนการสอนใหม้ ีประสทิ ธภิ าพมากข้ึน
10.3 สามารถประยุกต์ความรู้ที่มีอยู่จัดการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสมกับศักยภาพ
ของผ้เู รียน
ณฎั ฐภรณ์ หลาวทอง และปยิ วรรณ วิเศษสุวรรณภมู ิ (2553 :46-47) ไดก้ ล่าวเกีย่ วกับ องค์ประกอบของ
จติ วญิ ญาณความเป็นครู ประกอบดว้ ย 4 องคป์ ระกอบ ดงั นี้
องค์ประกอบที่ 1 การปฏิบัติหน้าที่ครู เป็นการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็ม
ความสามารถ ไดแ้ ก่ การอบรมสง่ั สอนศิษย์โดยคำนึงถงึ การพัฒนาศิษยไ์ ด้อย่างเต็มตามศักยภาพ และนอกจากนี้
ยังตอ้ งมคี วามรักในอาชพี และปฏบิ ตั ิตนเป็นแบบอยา่ งท่ีดแี กผ่ ้รู ว่ มอาชีพ
องค์ประกอบที่ 2 การปฏิบัติต่อศิษย์โดยเสมอภาค เป็นการปฏิบัตติ ่อศิษย์ทุกคนอย่างยตุ ิธรรม
และมีเหตุผล โดยไมค่ ำนึงถงึ อามสิ สนิ จา้ ง หรือความสมั พันธส์ ว่ นบุคคล

173

องค์ประกอบที่ 3 ความเชื่อมั่นในศักยภาพของมนุษย์ เป็นความเชื่อมั่นและศรัทธาว่า
มนุษยท์ ุกคนเปน็ คนดี และมีศกั ยภาพในการเรยี นรแู้ ละพัฒนาตนเอง

องค์ประกอบที่ 4 การเสียสละในงานครู เป็นการปฏิบัติหน้าที่สอนศิษย์อย่างเต็มใจ
โดยไม่คำนงึ ถงึ ประโยชน์สว่ นตนเปน็ หลัก

อมรรัตน์ แก่นสาร (2558) ศึกษาเรื่อง การพัฒนาตัวบ่งชี้จิตวิญญาณความเป็นครูของครู
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า จิตวิญญาณความเป็นครูของครู สังกัด สำนักงาน
การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานประกอบดว้ ย 7 องคป์ ระกอบหลักคือ

1. การปฏิบตั ติ ามบทบาทหน้าท่ี
2. การมมี นุษย์สัมพนั ธ์ทด่ี ี และมีความเปน็ กลั ยาณมติ ร
3. การเปน็ แบบอยา่ งทีด่ ี
4. การมจี ิตวทิ ยาในการสอน
5. ความรกั และศรัทธาในวิชาชพี
6. การมีคณุ ธรรมและจริยธรรม
7. ความผกู พันระหว่างครูกับศษิ ย์

แนวทางการพฒั นาจิตวิญญาณความเปน็ ครู

คุณลกั ษณะของครูตามแนวคดิ จติ วญิ ญาณความเปน็ ครู
อธิบายว่าครูต้องเด่นในเรื่องวิชาการ รู้ลึก รู้จริง รู้กว้าง ครูต้องมีศิลปะในการถ่ายทอดความรู้
และครตู อ้ งมใี จเมตตา ต่อศษิ ย์ รักศิษยด์ ังลูก ซ่ึง สุเทพ ธรรมะตระกลู (2555, หน้า 24-27) ได้กลา่ วถงึ คุณสมบัติ
ดังนี้
1. บุคลิกภาพดี การมีบุคลิกภาพทีดีไม่ว่าจะประกอบอาชีพการงานใ ด ก็เปรียบเสมือนได้
ประสบความสำเร็จไปแล้วครึ่งหนึ่ง อาชีพครูก็เป็นอีกอาชีพหนึ่งที่ต้องอาศัยบุคลิกภาพ เพื่อก้าวไปสู่
ความเป็นครูมืออาชีพ ที่กล่าวว่า บุคลิกภาพสามารถนำไปสู่การเป็นครูมืออาชีพได้นั้น ก็เพราะว่า
นอกจากบุคลิกภาพที่ดีจะสามารถสร้างความมั่นใจให้กับตัวครูเองแล้ว ยังสามารถสร้างความ
ประทับใจแรกพบ (First impression) ให้กับผู้พบเห็นโดยทั่วไปอีกด้วย โดยครูกับบุคลิกภาพที่ดี
จะตอ้ งเร่ิมจากการพัฒนาส่วนตา่ ง ๆ คือ

1.1 การพัฒนาพฤติกรรม ภายนอกหรือรูปสมบัติ ได้แก่ รูปร่างหน้าตา การแต่งกาย กิริยา
ท่าทาง น้ำเสยี งและการพูด

1.2 การพัฒนาพฤตกิ รรมภายใน หรือคุณสมบัติประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ เช่น ความเชื่อมั่นใน
ตนเอง รวมไปถึงการมีความเชื่อมั่นในการแต่งกายและการวางตัวที่เหมาะสม ความแนบเนียน
บางครง้ั ครูจำเปน็ ตอ้ งใช้จิตวิทยาในการพดู กับนกั เรียน ความกระตือรือรน้ ความไว้วางใจ ครตู ้องมีความจำท่ีดี มี

174

ความยับยั้งชั่งใจ ดังนั้น บุคลิกภาพที่ดีกับอาชีพครูจึงขาดกันเสียมิได้ จึงอาจกล่าวได้ว่าครูคนใด
มบี ุคลกิ ภาพท่ดี ีกส็ ามารถประสบความสำเร็จไปแลว้ ครึ่งหนงึ่ ที่เหลอื อีกคร่ึงหนึ่งก็น่าจะเป็นความรู้ ความสามารถ
เฉพาะตวั ของบุคคลนั้น ๆ ที่จะหลอมรวมกนั เพอ่ื สร้างความสำเรจ็ ในชวี ิตให้กบั ตนเอง

2. มีความเมตตาต่อศิษย์ ครูคือผู้มีเมตตาความเมตตาเป็นคุณธรรมที่สำคัญอีกประการหน่ึง
ของครทู จ่ี ะขาดเสยี มไิ ด้ ครทู ีส่ อนศษิ ยด์ ว้ ยความเมตตาจะอยใู่ นดวงใจของศษิ ย์ทุกคน

2.1 เมตตาต่อศิษย์ ครูควรมีเมตตาต่อศิษย์ทุกคน และควรถือว่าศิษย์ทุกคนเป็นเสมือนลูก
เสมือนหลาน ความเมตตาที่มีต่อศิษย์จะทำให้ครูมีความกระตือรือร้นในการสอน และสอนด้วยความสุข
เพราะในดวงจิตของครูมีแต่ความปรารถนาดีที่ต้องการให้ศิษย์มีความรู้ และมีอนาคตที่ดีในภายภาคหน้า
ครูที่มีเมตตาจะพูดกับศิษย์ด้วยคำพูดที่มีความไพเราะสุภาพ และอ่อนโยน และจะให้กำลังใจศิษย์อยู่เสมอ

2.2 เมตตาต่อญาติ ครูควรมีเมตตาต่อญาติพี่น้องด้วยการช่วยเหลือ อนุเคราะหแ์ ละ สนับสนุน
ให้ทุกคนมีการศึกษา มีความก้าวหน้าในชีวิตและก ารงาน และช่วยเหลือในการไกล่ เก ล่ีย
ข้อพิพาทบาดหมางระหว่างเครือญาติ มีเมตตาต่อญาติพี่น้องจะทำให้ครูเป็นแบบอย่างที่ดีของศิษย์
และ ของคนทกุ คน

2.3 เมตตาต่อมติ ร โดยธรรมชาติของอาชพี ครู ครจู ะมีแต่ผู้ท่เี ปน็ มิตรทงั้ ท่รี ู้จกั และไมร่ ูจ้ กั ดังน้ัน
ครูจึงต้องมีเมตตาต่อมิตรทุกคนด้วยการช่วยเหลือ การให้คำแนะนำ และอื่นๆตามอัตภาพ
การมีเมตตาต่อมิตรจะบ่งบอกถึงการมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีของครู ทำให้ครูเป็นที่รักและเคาร พแก่ศิษย์
แกบ่ ุคคลทัว่ ไป

2.4 เมตตาตอ่ ศัตรู การมีเมตตาตอ่ ศัตรูถอื เป็นคณุ ธรรมขน้ั สูงที่ครทู ุกคนพงึ มี เนอื่ งจากครู เปน็ ปู
ชนียบุคคล หมายความว่าเป็นบุคคลที่น่านับถือ ที่สำคัญคือครูเป็นตัวอย่างที่ดีของศิษย์
หากครูเป็นคนวู่วามใจร้อน และชอบผูกพยาบาท ครูก็จะเป็นตัวอย่างที่ดีไม่ได้ การมีเมตตาต่อศัตรูคือ
การไมโ่ กรธ ไมผ่ ูกพยาบาท และการใหอ้ ภัย

2.5 เมตตาต่อคนทุกคน เมื่อครูคือผู้ที่มีหน้าที่อบรมสั่งสอน ครูจึงต้องมีความเมตตา
ต่อคน ทกุ คนโดยไม่เลือกชน้ั วรรณะบทบาทของครูคอื บทบาทในการเผยแพรค่ วามเมตตาต่อชาวโลกท้งั มวล

3. รอบรู้ในสายวิชาชีพ ครูผู้สอนมีความรอบรู้ในทุกศาสตร์ เข้าใจ มีความเป็นครูอยู่ในตัวตน
มีความเป็นครูที่มีเจตจำนงอยากสอนศิษย์ และเป็นมืออาชีพที่สามารถชี้ชัดในวิชาการ และครูต้องสามารถ
ชวนลูกศิษย์ใหล้ งมือปฏบิ ตั ไิ ด้ และต้องรู้จกั เสียสละ ทมุ่ เท และประยุกต์งานต่าง ๆ เพื่อให้ นวตั กรรมใหม่ๆ ขึ้นมา
ทั้งนี้ครูต้องกล้าที่จะให้โอกาสศิษย์ ต้องกล้าหาญในเชิงจริยธรรม ที่สำคัญต้อง ปลูกฝังให้ศิษย์ร่าเริง
เบกิ บาน แจ่มใส

4. เทคนิคการสอนดี เทคนิควิธีการสอนและการปฏิบัติตนที่ดี 10 ประการสำหรับครู มีดังน้ี
4.1 ให้ความรักแก่นักเรียนพร้อม ๆ ไปกับเนื้อหาวิชาเรียน ครูควรแนะนำวิธีเรียนรู้

175

ให้แก่เด็ก ดูแลและเอาใจใส่นักเรียน ทำให้การเรียนการสอนนั้นมีความหมายขึ้นมาจนเกิดเป็นความผูกพัน
ระหวา่ งครูกบั ศิษย์

4.2 สอนให้นักเรียนเชื่อมโยงกับชีวิตจริง และฝึกให้นักเรียนคิดให้บ่อยที่สุด
ให้ผู้เรียนเข้าใจว่าความรู้ไม่ได้จำกัดอยู่แต่ในเฉพาะหนังสือเท่านั้น ครูยังควรเชื่อมช่องว่างระหว่าง
ทฤษฎีและการปฏิบัติทำให้นักเรียนเกิดความชำนาญในเรื่องที่นักเรียนสนใจ โดยครูให้คำปรึกษาช่วยเหลือ
ในการปฏิบัตแิ ละเช่ือมโยงสภาพชีวิตในชุมชนของนกั เรยี นกบั ความรูท้ ่ศี กึ ษาในโรงเรยี น

4.3 ตั้งใจฟังนักเรียน ครูต้องรู้จักตั้งคำถาม สามารถตอบข้อสงสัยแก่นักเรียนได้
และควรระลึกอยู่เสมอว่านักเรียนแต่ละคนในชั้นเรียนมีความแตกต่างกัน ครูควรกระตุ้นการตอบสนอง
การเรยี นรูแ้ ละการพฒั นาทักษะ การสื่อสารใหแ้ กน่ กั เรยี นด้วย

4.4 การจัดการเรียนรู้ต้องยืดหยุ่นเปลี่ยนแปลงได้ มีการทดลอง การสอนท่ีหลากหลาย
และครูควรปรับการสอนบ้างเมื่อมีวิธีการช่วยให้นักเรียนบางคนเรียนรู้ได้ดีขึ้น และควรสร้างสมดุล
ระหวา่ งเน้อื หาและความยดื หยนุ่ ในการสอน

4.5 สร้างบรรยากาศเป็นกันเอง ต้องทำให้นักเรียนเกิดความรู้สึกมีส่วนร่วม
4.6 มีอารมณ์ขัน พยายามอย่าทำตัวให้เครียด การมีอารมณ์ขันจะช่วยทลายกำแพง
ระหวา่ งครูกับนักเรยี นได้ ครคู วรเรยี นรู้ที่จะผอ่ นคลายบรรยากาศในห้องเรียน
4.7 เตรียมตัวให้พร้อม มีความเอาใจใส่ และอุทิศเวลาให้แก่การค้นคว้าหาวิธีถ่ายทอดความรู้
ด้านต่าง ๆ ให้แก่นักเรียน ครูดีต้องมีการเตรียมการสอนมาอย่างดี มีสื่อการสอนที่พร้อมและวิธีการสอน
ท่นี ่าสนใจ
4.8 ต้องได้รบั การสนับสนนุ อยา่ งจริงจังจากผ้บู ริหาร ท้ังในด้านทรพั ยากรและบุคลากร ผู้บริหาร
ควรให้การเสริมแรงครูอยู่อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดกำลังใจในการปฏิบัติหน้าที่ และสามารถทำงาน
ได้อยา่ งปราศจากอุปสรรคปัญหา
4.9 รู้จักทำงานร่วมกับเพื่อนครู เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์การจัดการเรียนการสอน
ตลอดจนการแก้ปัญหาตา่ ง ๆ ของครแู ต่ละคน
4.10 มีจินตนาการ จะเป็นครูที่ดีได้จะต้องรู้จักใช้จินตนาการบ้าง เพราะจะมีผล
ต่อความคิดริเริ่มใหม่ๆ ลองจ้องไปที่นักเรียนแถวหลังสุด นึกถึงเส้นประสาทที่เชื่อมต่อกันและประกอบกัน
มีรูปร่างรวมตัวเป็นมนุษย์ การเรียนรู้ของคนเราคงจะพัฒนาไปเร่ือยๆ อย่างไม่หยุดยั้ง หากครูไม่หยุดนิ่ง
ที่จะเรียนรู้และพัฒนาความสามารถของทั้งตนเองและนักเรียนไปพร้อมๆกัน ครู คือ วิศวกร
สังคมท่ีมีส่วนสำคัญย่ิงในการสร้างคนรนุ่ ใหมท่ ี่สมบูรณ์ข้นึ มา
5. มีจิตอาสา จิตอาสา คือ หัวใจของการบริการวิชาการ การที่คนเราจะประสบผลสำเร็จ
ไม่ว่าในอาชีพการงาน หรือสิ่งที่มุ่งหวังได้ มิใช่แค่เพียงเกิดจากความสามารถของตนเองเท่าน้ัน หากแต่เกิดจาก

176

การฟูมฟักของพ่อแม่และครูบาอาจารย์ที่พร่ำอบรมบ่มนิสัยและถ่ายทอดวิชาความรู้ ตลอดจนประสบการณ์
ที่สะสมมาลองนึกย้อนกลับไปจะพบว่า บูรพาจารย์ของเรา ท่านไม่ได้ทำหน้าที่แค่ส อนหนังสือเท่าน้ัน
แต่ท่านยังทำหน้าที่เสมือนญาติผู้ใหญ่และเป็นพี่เลี้ยงให้กับศิษย์อีกด้วย เพราะท่านมีหัวใจของการบริการ
อยู่ตลอดเวลาแต่คนที่มีจิตวิญญาณเป็นครู ท่านทำไปโดยไม่คิดหวังผลตอบแทนใด นอกจาก
อยากเห็นความก้าวหน้า เจริญรุ่งเรืองของศิษย์ท่านก็ปลื้มใจแล้ว ด้วยท่านมีจิตเมตตาและ มีจิตอาสา
ที่ไม่รู้จักคำว่าเหน็ดเหนื่อยทั้งนี้จิตอาสาของครูสัมฤทธิ์ผล และมีประสิทธิภาพในการให้บริการวิชาการ
มีองค์ประกอบของ 5 ย.ร่วมด้วย คือ ยิ้มแย้ม ยกย่อง ยอมแพ้ ยืดหยุ่น ยืนหยัด ดังนั้น คุณสมบัติของครูที่มีจติ
วญิ ญาณความเปน็ ครูนั้น ประกอบด้วย

1. ความมีเมตตาต่อศิษย์ ที่รวมถึงพฤติกรรมที่นักศึกษาได้รับรู้จากครู/อาจารย์ และนำไปใช้
เป็นแบบอย่างในด้านการปลูกฝัง ดูแลเอาใจใส่ลูกศิษย์ ให้ความช่วยเหลือเป็นกันเอง รับฟังความคิดเห็น
ของนักศกึ ษา และแกไ้ ขข้อบกพรอ่ งตา่ ง ๆ ให้กบั นกั ศกึ ษา

2. บคุ ลกิ ภาพดี คอื พฤตกิ รรมท่นี ักศกึ ษาแสดงออกด้วยความมนั่ ใจ มีการแตง่ กายถกู ต้อง ตาม
กฎระเบียบเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษยท์ ั้งกาย วาจา และใจ ระมัดระวงั คำพูดของตนเอง ปรับตัวและรับฟังความ
คิดเห็นของผูอ้ นื่

3. ความรอบรู้ โดยนกั ศึกษามีความรอบร้ใู นวิชาชพี ครู ในรายวิชาเอก และมีความ กระตือรอื ร้น
ในการเรียน มคี วามเออื้ เฟ้ือ ช่วยเหลือผอู้ ืน่ คน้ ควา้ หาความรอู้ ยเู่ สมอ

4. เทคนคิ การสอนดแี ละมคี วามหลากหลาย
5. ความสามารถถ่ายทอดข้อมูลได้อย่างถูกต้องเหมาะสม นำความรู้และประสบการณ์
จากการร่วมกิจกรรม/โครงการตา่ ง ๆ ส่บู ุคคลอ่ืน ๆ ท่ีรจู้ กั ได้
6. มีจติ อาสา มีหวั ใจของการบริการอยตู่ ลอดเวลา(ชตุ มิ า ประมวลสขุ .2563)
การพฒั นาให้มจี ิตวญิ ญาณความเป็นครู
การพัฒนาจิตสำนึกและวญิ ญาณของครู คอื ความพยายามในการเพิ่มระดับจิตสำนึกและวิญญาณความ
เป็นครูให้มีอยู่ในบุคคลที่ประกอบอาชีพครู แนวทางในการพัฒนาควรเริ่มต้นจาก การสร้างศรัทธา
คำว่าศรัทธาในที่นี้มีความหมาย 3 มิติ คือ ศรัทธาต่อตนเอง ต้องเชื่อและศรัทธาใน ความรู้ความสามารถ
ของตนเองว่าจะเปน็ ครูที่ดีได้ ประการที่สองคือ ศรัทธาต่ออาชพี ครู รักษาเกยี รติ และศักดิ์ศรีแห่งความเป็นครูที่
เป็นวิชาชีพชั้นสูง เห็นคุณค่าของวิถีชีวิตที่เป็นครู ประการที่สามคือ ศรัทธาต่อองค์กร รักษาชื่อเสียง
ของสถานศึกษาและองค์กรวิชาชีพครู ประพฤติและปฏิบัติตาม มาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพครู
สอดคล้องกับ สมศักดิ์ ดลประสิทธิ์ (2543) ที่ได้กล่าวถึงครู กับครูอาชีพว่า เมื่อครูศรัทธาต่อวิชาชีพตนเอง
ก็จะยกย่องเชิดชูวิชาชีพครูให้เป็นวิชาชีพชั้นสูง จะปฏิบัติตามจรรยาบรรณของวิชาชีพอย่างเคร่งครัด
มคี วามม่งุ มั่นท่ีจะรักษาและสง่ เสรมิ เกียรติคุณ ช่ือเสียงของวิชาชีพครูใหเ้ ปน็ ท่ีเชอ่ื ถือและศรทั ธาแก่สังคมได้ และ

177

ยังได้เปรียบเทียบความศรัทธาใน อาชีพครูเหมือนกับผู้นับถือศาสนา ไม่ว่าศาสนาใดจุดเริ่มก็อยู่ที่
ความศรัทธา เมื่อศรัทธาก็ประกาศตน เป็นผู้นับถือศาสนานั้น และปฏิบัติตามคำสั่งสอนของศาสนา คำภีร์หรือ
พระธรรมวินัยต่อไป หากครู ศรัทธาต่อวิชาชีพครูแล้ว ย่อมมีความมุ่งมั่นในการปฏิบัติหน้าที่เป็นอย่างดี
และพร้อมทจ่ี ะพฒั นา ตนเองใหม้ จี ติ ใจและวิญญาณของความเปน็ ครู

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ได้พระราชทาน พระบรมราโชวาทแก่ครูอาวุโส
เมื่อวนั ที่ 29 ตุลาคม 2522 มขี อ้ ความทีเ่ กี่ยวกับลักษณะครทู ดี่ ี 3 ประการ คอื “ความเปน็ ครู นัน้ ประกอบขึน้ ดว้ ย
สิ่งที่มีคุณค่าสูงหลายอย่าง อย่างหนึ่งได้แก่ ปัญญา คือ ความรู้ที่ดีประกอบด้วย หลักวิชาอันถูกต้อง
ที่แน่นแฟ้น กระจ่างแจ้งในใจ รวมทั้งความฉลาดที่จะพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ตลอดจนกิจที่จะทำ คำที่จะพูด
ทุกอย่างได้โดยถูกต้อง ด้วยเหตุผลอย่างหนึ่งได้แก่ ความดี คือความ สุจริต ความเมตตากรุณา
เห็นใจและปรารถนาดีต่อผู้อื่นโดยเสมอหน้าอีกอย่างหนึ่งได้แก่ ความสามารถ ที่จะเผื่อแผ่และถ่ายทอดความรู้
ความดีของตนเองไปยังผู้อ่ืนอย่างได้ผล ความเป็นครูมี อยู่แล้ว ย่อมฉายออกให้ผู้อื่นได้รับประโยชน์ด้วย
ผู้ที่มีความเป็นครูสมบูรณ์ในตัวนอกจากจะมีความดี ด้วยตนเองแล้ว ยังจะช่วยให้ทุกคนที่มีโอกาส
เข้ามาสัมพนั ธ์เก่ยี วขอ้ งบรรลถุ ึงความดขี องความเจริญไป ด้วย” (กรมวิชาการ, 2540 : 88)

ครูเป็นบุคคลที่มีความสำคัญที่สุดในวงการศึกษา เพราะเป็นผู้ที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้
อันจะเป็นประโยชน์ต่อสังคมและโลก นอกจากนั้นยังเป็นผู้มีอิทธิพลต่อการสร้างบัณฑิตอย่างมาก
บัณฑิตจะมีความคิดที่ดี มีวิธีการวิเคราะห์อย่างถูกต้องและมีระบบระเบียบในการปฏิบัติงาน ตลอดจน
การพัฒนาบุคลิกภาพเชิงวิชาการ เชิงวิชาชีพ ซึ่งควรได้รับการปลูกฝังอบรมจากครูผู้สอน และบุคลิกภาพ
ของครูย่อมส่งผลไปสู่บัณฑิต ดังคำกล่าวของ ม.ล.ปิ่น มาลากุล ที่ว่า “อยากรู้ว่าตัวครูเป็นฉันใดจงดู
ได้จากศิษย์ที่สอนมา” (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2553) สิ่งแรกที่ครูต้องพัฒนาก็คือ
การสร้างคุณธรรมหรอื ครธุ รรมให้เกิดขน้ึ ซ่ึงความเป็นจรงิ นนั้ “คณุ ธรรม” คอื ธรรมสำหรบั ครู เป็นสิ่งที่ครูหลาย
ทา่ นทราบได้ปฏิบัตแิ ล้ว แต่กม็ อี ีกหลายท่านทีย่ งั ไม่ ทราบและไม่ปฏิบัติ ครธุ รรมเปน็ ส่ิงที่จำเป็นมากสำหรับการ
ประกอบอาชีพครูแต่ครูที่ขาด คุณธรรม จะเปรียบเสมือนเรือที่ขาดหางเสือ ดังนั้นการจะพาศิษย์ไปสู่จุดหมาย
ปลายทางอย่างถูกต้องย่อมเป็นสิ่งที่ทำได้ยากอย่างแน่นอน ท่านพุทธทาสกล่าวว่า “ธรรม”
คือ หน้าที่ ผู้ที่มีธรรมะคือผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่อย่างดีแล้ว ครุ ธรรมจึงเป็น “หน้าท่ี ของครู ก็คือการอบรม
สง่ั สอนศิษย์” แตก่ ารอบรมสง่ั สอนศิษย์ของครแู ต่ละคนก็ มกี ารปฏบิ ัติที่แตกต่างกัน เพราะความเป็นจริงน้ัน ครู
มิได้สอนแต่หนงั สืออย่างเดียว แต่ต้องสอนคนให้ เป็นบัณฑิตที่สมบูรณด์ ้วยการท่ีครจู ะปฏบิ ัติหน้าท่ีของครูอยา่ ง
เตม็ ศกั ด์ศิ รีและเตม็ ความภาคภมู ิได้นัน้ ครจู ำเปน็ ตอ้ งมีหลกั ยดึ เพอ่ื นำตนไปส่สู ิ่งทีส่ ูงสดุ หรอื เปน็ อุดมคติของอาชีพ
นน่ั กค็ ือการมอี ุดมการณ์ครู อุดมการณ์ครู มหี ลักการทจ่ี ะยึดไว้ประจำใจทุกขณะที่ประกอบภารกิจของครูมีอยู่ 5
ประการ คือ เต็มรู้ เตม็ ใจ เตม็ เวลา เต็มคน เตม็ พลัง

1. เต็มรู้ คือ มีความรู้บรบิ ูรณ์ ดว้ ยความรู้ 3 ประการคอื

178

1.1 ความรู้ด้านวิชาการและวิชาชีพ ครูจะต้องแสวงหาความรูท้ ีเ่ ป็นประโยชน์และเหมาะสมให้
ผเู้ รยี น เรียนอย่างครบถ้วนเหมาะสมตามระดับความรู้น้ัน

1.2 ความรู้ทางโลก นอกเหนือจากตำราวิชาการครูแสวงหาความรู้รอบตัวด้านอื่น ๆ
ให้บรบิ รู ณโ์ ดยเฉพาะความเป็นไปของระเบยี บ ประเพณี สงั คม วฒั นธรรม

1.3 ความรู้เรื่องธรรมะ ครูที่มีความรู้ด้านธรรมะ จะสามารถหยิบยกเรื่องธรรมะ
มาเป็นอุทาหรณ์ สำหรับสั่งสอนศิษย์ได้ เช่น จะสอนให้ศิษย์ประสบผลสำเร็จด้านการศึกษาเล่าเรียนได้ดี
กย็ กหัวขอ้ ธรรมะอย่างอธบิ าท 4 คือ

1.3.1 พอใจในการศกึ ษา รกั และสนใจในวชิ าท่ตี นเรียน
1.3.2 มีความ เพียรทจ่ี ะเรียนไมย่ ่อทอ้
1.3.3 เอาใจใส่ในบทเรยี นการบ้าน รายงาน
1.3.4 หม่นั ทบทวนอยเู่ สมอ เปน็ ตน้
2. เตม็ ใจ คือ ความมใี จเป็นครู พทุ ธศาสนาถือว่า “ใจนัน้ และเป็นใหญ่ ทกุ ส่ิงทุกอย่างเกิดจากใจท้ังน้ัน”
คนจะเป็นครทู มี่ ี อุดมการณ์ตอ้ งสรา้ งใจที่เต็มบริบรู ณ์ด้วยการมีใจเป็นครู การทำใจให้เตม็ มีความหมาย 2 ประการ
คือ
2.1 ใจครู การทำใจให้เตม็ บริบูรณ์ต้องถงึ พรอ้ มดว้ ยองค์ประกอบ ดังนี้
2.1.1 รกั อาชีพครู ตอ้ งมที ัศนคติที่ดีต่ออาชีพ เห็นว่าอาชีพครมู เี กียรติ มีกุศล ได้ความภูมิใจ
แสวงหาวธิ สี อนทด่ี ีเพอื่ ศิษย์
2.1.2 รักศิษย์ มีใจคิดอยากให้ศิษย์ทุกคนมีความสุข และเสียสละเพื่อศิษย์ได้
2.2 ใจสูง ครูควรพยายามทำให้ใจสูงส่ง มีจิตใจที่ดีงามมีข้อที่ลองถามตัวเองได้ เช่น
2.2.1 ทำงานอยูท่ ่ใี ด ทา่ นมกั จะด่าว่านินทาเจา้ นายแหง่ นั้น หรือดูถกู สถาบันหรือเปล่า
2.2.2 ท่านมักจะคิดวา่ เพ่อื น ๆ ร่วมงานของท่านนิสัยไมด่ สี ่วนใหญ่หรอื เปลา่
2.2.3 ทำไมท่าน ก็ทำดี แต่เจา้ นายไมเ่ หน็
2.2.4 ทำไมคนอื่น ๆ จึงโง่และเลว
2.2.5 ท่านยอมไม่ไดท้ จ่ี ะให้คนอนื่ ดกี ว่า เพราะทา่ นคิดว่าท่านดกี ว่าคนอ่ืน
2.2.6 ทำไมท่ีทำงานของท่านจึงเอาเปรียบท่านและกีดกันท่านตลอด ดังน้ัน
การทำจิตใจให้สูง ก็คือการท่ีมองเห็นคุณค่าของมนุษย์โลกและการคิดที่จะสร้างสรรค์ให้โลกมีแต่สิ่งที่ดีงาม
ยอมรับขอ้ ดีและข้อเสีย ของตนเองและคนอนื่ ไม่คดิ วา่ ตนเองฉลาดหรอื เก่งกว่าผ้ใู ด ไม่คดิ ว่าตนเองดีกวา่ คนอื่น คดิ
อย่างเปน็ ธรรมว่าตนเองมีขอ้ บกพรอ่ งเชน่ กนั
3. เต็มเวลา คือ การรับผิดชอบ การทุ่มเทเพื่อการสอน ครูที่มีอุดมการณ์ จะต้องใช้ชีวิตครู
อยา่ งเต็มเวลาทงั้ 3 สว่ น คอื

179

3.1 งานสอน ครูต้องใช้เวลาในการเตรียมการสอนอย่างเต็มที่ วางแผนการสอนค้นคว้า
หาวธิ กี ารทีจ่ ะสอนศิษยใ์ นรูปแบบตา่ ง ๆ

3.2 งานครู นอกเหนือไปจากการสอน ครูต้องให้เวลาแก่งานธุรการงานบริหาร บริการ
และงานทจี่ ะทำใหส้ ถาบันก้าวหน้า

3.3 งานนักศึกษา ให้เวลาให้การอบรม แนะนำสั่งสอนศิษย์เมื่อศิษย์ต้องการคำแนะนำ
หรือตอ้ งการความชว่ ยเหลอื

4. เต็มคน คือ การพัฒนาตนเองให้มีความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ การพัฒนาตนเองให้เป็นแม่พิมพ์
หรือพ่อพิมพ์ท่ีคนในสังคมคาดหวังไว้สูง ครูจึงจำเป็นที่ จะต้องมีความบริบูรณ์ เป็นมนุษย์ทั้งร่างกาย จิตใจ
อารมณ์สังคม สำรวมกาย วาจา ใจ ให้มีความ มั่นคงเป็นแบบอย่างที่ดี ปฏิบั ติงานถูกต้อง หมั่นคิด
พจิ ารณาตนเองเพื่อหาทางแก้ไขปรบั ปรุงตนเอง ใหม้ คี วามบรบิ ูรณ์อยู่เสมอ

5. เต็มพลงั คือ การท่มุ เทพลังสติปัญญาและความสามารถเพื่อการสอน ครจู ะต้องใชค้ วามสามารถอย่าง
เต็มที่ ทุ่มเทไปเพื่อการสอนวิชาการ ศิษย์ และอุทิศตน อย่างเต็มที่ เพื่อผลงา นที่สมบูรณ์นั้น ก็คือ
การปั้นศิษย์ให้มีความรู้ ความประพฤติงดงาม เป็นที่พึงประสงค์ของสังคม ครูที่มีหลักยึดครบเต็ม 5 ประการน้ี
ย่อมเป็นครูที่มีคุณธรรม ที่พร้อมจะเป็นผู้ชี้ทางแห่ง ปัญญาทางแห่งชีวิต และทางแห่งสังคมในอนาคต
ได้เป็นอย่างดี ดังนั้นครูควรสร้างอุดมการณ์ครูเพื่อ ความก้าวหน้าของสังคมไทย และการพัฒนาวิชาชีพครู
(ชุติมา ประมวลสุข.2563)
วิธีการพฒั นาจิตวิญญาณความเป็นครู

สจวี รรณ ทรรพวสุ อธบิ ายถึง แนวทางการพฒั นาจติ วิญญาณความเป็นครู ของนกั ศกึ ษาคณะครุศาสตร์
ได้แก่ การจดั การเรียนการสอน โดยปลูกจิตสำนกึ ของความเปน็ ครูก่อนเป็นอันดับแรก หลังจากน้ันจงึ ส่งเสริมการ
ปฏิบัติหนา้ ที่ครูตามกระบวนการ ของหลักวชิ าโดยมงุ่ เน้นจัดการเรียนการสอนผ่านประสบการณ์หรอื ใช้
กรณศี ึกษา การสรา้ งแรงจงู ใจและ ความภาคภมู ิใจในวิชาชพี แลกเปล่ยี นเรยี นรู้มีเทคนิค การสอนที่หลากหลาย
รวมท้งั ควรใช้แนวทางCoaching และ Mentoring เปน็ กลวิธีทเ่ี หมาะสมในการพัฒนาจัด กจิ กรรมเสรมิ
สรา้ งสรรคค์ ณุ ธรรมจริยธรรม ความท่ีสอดคล้องกันเพอื่ ใหเ้ กิดผลลัพธ์ตามสมรรถนะและทกั ษะวชิ าชพี โดยให้
นักศึกษามสี ่วนรว่ มในการจดั การเรียนการสอน ประเมนิ ผลกลยทุ ธ์การพัฒนาจติ วิญญาณความเป็นครขู อง คณะ
ครศุ าสตร์ พบวา่ มกี ลยทุ ธ์หลกั และกลยุทธ์รอง ดังนี้

180

กลยทุ ธห์ ลกั ที่ 1 พฒั นาการจดั การเรียนการสอนวชิ าชีพครูในการเขา้ ถึงแก่นแท้ของการมจี ติ วญิ ญาณในวชิ าชพี

เป้าประสงค์ กลยทุ ธร์ องการพฒั นาจติ วิญญาณความเปน็ ครู

1.อาจารยผ์ ู้สอนมีจิตวญิ ญาณและมีสมรรถนะการสอน 1. พัฒนาอาจารย์ผู้สอนเกี่ยวกบั การออกแบบ
วิชาชีพครใู หน้ ักเรยี นมีจิตวิญญาณความเปน็ ครูส่กู าร กิจกรรมและสื่อการเรียนการสอนท่เี สรมิ สรา้ งจิต
ปฏิบตั หิ นา้ ที่ครู วญิ ญาณความเป็นครู

2. นกั ศึกษามีความรัก ศรัทธา เช่อื มน่ั ท่ีประกอบอาชพี 2. สรา้ งระบบเครอื ข่ายครตู น้ แบบหรือครดู เี ด่นในแต่
ครดู ้วยจิตวิญญาณความเป็นครู ล่ะสาขาวิชามาพัฒนาจิตวญิ ญาณความเปน็ ครแู ละ
บูรณาการระหวา่ งสาขาวชิ า

3. เกิดนวตั กรรมการจดั การเรยี นการสอนวชิ าชีพครูและ เร่งรัดการทำวจิ ยั และพฒั นานวตั กรรมเกย่ี วกบั จิต

เครือขา่ ยครตู ้นแบบหรอื ครดู ีเดน่ ในการพัฒนาจติ วญิ าณ วญิ ญาณความเปน็ ครูของนักศึกษาและการจัดการ

ความเป็นครู นกั ศกึ ษาครู เรียนการสอนวิชาชพี ครู

การปลูกฝงั จติ วญิ ญาณความเปน็ ครู

1. ด้านความรัก ความเมตตาตอ่ ศิษย์ ควรปลกู ฝังให้ ครมู ีใจผกู พันดว้ ยความห่วงใยศิษย์ สามารถแนะนำ
ใหก้ ำลงั ใจ แกศ่ ิษยท์ กุ คนได้ มีจติ ใจโอบออ้ มอารี ความรกั ต่อศิษย์

2. ดา้ นความรับผิดชอบ ควรปลูกฝงั ให้ครูมีความ รับผิดชอบ คือ การยอมรับผลทง้ั ท่ีดีและไม่ดีในกิจการ
ท่ีตนได้ ทำลงไปหรือทอี่ ยู่ในความดูแลของตน

3. ด้านความรักและศรัทธาในวิชาชพี ครู ควรปลกู ฝัง ใหค้ รูมคี วามเชอื่ ถอื ความเลอ่ื มใสและความผูกพัน
ด้วย ความหว่ งใยตอ่ บุคคลหรอื องค์กรวิชาชีพครู

4. ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ควรปลกู ฝังให้ครูมีความขยัน ประหยดั ซือ่ สัตย์ วินัย สภุ าพ สะอาด สามัคคี
และมีนำ้ ใจ

5. ดา้ นความเสยี สละและความอดทน ควรปลูกฝังให้ ครมู คี วามเสียสละ คือการใหค้ รูยินยอมให้สิ่งของท่ี
ตนมีอยู่ ให้กับศิษย์ เพื่อนครู ผู้บริหาร ผู้ปกครอง ผู้อื่นหรือส่วนรวม สำหรับความอดทนเป็นการปลูกฝังให้ครู
ยอมรับสภาพ ความยากลำบาก ในสงิ่ ที่ไมเ่ ปน็ ทพ่ี อใจหรือตอ่ อารมณ์หรือ ถ้อยคำท่ีทำใหเ้ จบ็ ใจ

6. ด้านการมีมนษุ ยส์ มั พันธ์ ควรปลกู ฝังให้ครูการรู้จักตน การเขา้ ใจผอู้ ่ืน และการมสี ภาพแวดล้อมทีด่ ี
7. ด้านการเป็นแบบอย่างที่ดีต่อศิษย์ ควรปลูกฝังให้ ครูเป็นแบบอย่างที่ดี คือ การให้ครูประพ ฤติ
ประพฤติตน เปน็ ตวั อย่างทด่ี ีทั้งทางกาย วาจาและจิตใจ (ชุติมา ประมวลสขุ .2563)

181

จิตวญิ ญาณความเป็นครูในต่างประเทศ

สิงคโปร์ เน้นการเตรียมและพัฒนาการพัฒนาครูเป็นมืออาชีพในศตวรรษท่ี21 มีลักษณะของครูที่ดี
3 ด้าน คือ ดา้ นเจตคติและค่านยิ ม ด้านทกั ษะ และด้านความรู้ ดังนี้

1. ด้านเจตคติและค่านยิ ม
1.1 ผเู้ รียนเปน็ ศูนย์กลางของการเรียนรู้ ความเห็นอกเหน็ ใจ เชอ่ื มน่ั เด็กทุกคนสามารถเรียนรู้ได้

เชอ่ื มัน่ ในการพัฒนาเดก็ อย่างเตม็ ศักยภาพ และการเห็นคณุ คา่ ของความแตกต่างหลากหลาย
1.2 ลักษณะของครู มีมาตรฐานสูงในการทำงาน ความรักในธรรมชาติ รักการเรียนรู้

พัฒนาตนเองต่อเนื่อง มีความปรารถนาอันแรงกล้า รู้จักปรับตัวและมีความยืดหยุ่น มีศีลธรรม
และมีความเปน็ มืออาชีพ

1.3 การช่วยเหลือบุคลากรในวิชาอาชีพและต่อชุมชน ทำงานและเรียนรู้ร่วมกัน
การพฒั นาตนเองผ่านการลงมือปฏบิ ตั แิ ละระบบพเี่ ลี้ยง ความรับผดิ ชอบต่อสังคม และความเอ้ืออาทร

2. ด้านทักษะ
ทักษะการสะท้อนและการคิด ทักษะด้านการเรียนการสอน ทักษะด้านการจัดการคน
ทักษะด้านการบริหารจัดการตนเอง ทักษะด้านการจัดการและการบริหาร ทักษะด้านการสื่อสาร
ทักษะด้านการประสานงาน ทักษะด้านเทคโนโลยี ทักษะด้านนวัตกรรมและผู้ประกอบการ ทักษะด้านอารมณ์
และสงั คม
3. ด้านความรู้

รู้ตนเอง รู้นักเรียน ชุมชน เนื้อหาวิชาที่สอน วิธีการเรียนการสอน นโยบายและพื้นฐาน
ด้านการศึกษา ความรู้พหุวัฒนธรรม ความตระหนักรู้ด้านการเปลี่ยนแปลงไปของโลก ความตระหนักรู้
ด้านสิ่งแวดลอ้ ม

ออสเตรเลยี นำเสนอคณุ ลกั ษณะ 10 ประการของครสู อนด(ี Good Teacher) ไว้ ดังน้ี
1. มที ักษะในการอธบิ าย
2. รักการพบปะผ้คู น
3. มีความกระตอื รือรน้
4. มคี วามรูใ้ นเนือ้ หาวชิ าทส่ี อน
5. มีความเป็นผู้จดั การ โดยเฉพาะดา้ นเวลา
6. มีทักษะการทำงานเปน็ ทีมและความคดิ ริเริ่ม
7.สามารถรบั แรงกดดนั ได้ดี
8. มีความอดทนและอารมณ์ขัน
9. รกั ความยตุ ธิ รรม

182

10. สามารถรบั มอื กับความเปลย่ี นแปลงได้
ฟินแลนด์ มีแนวคิดว่าประชากรคือทรัพยากรที่สำคัญ ดังนั้นการจะพัฒนาประเทศได้ต้องเริ่มจากการ
พัฒนาคุณภาพประชากร รัฐจึงเริ่มให้ความสำคัญกับการศึกษาและอาชีพครู Marjo Vesalainen Senior
Ministerial Adviser, Ministry of Education and Culture, Finland ก ล ่ า ว ว ่ า อ า ช ี พ ค รู
ในประเทศฟินแลนดเ์ ปน็ อาชีพในสาขางานวิชาการ ปรญิ ญาครูจึงเปน็ เป็นสิ่งที่ดึงดูดนกั เรียนท่ีมีความสามารถให้
มาเรียนในสาขานี้ มหาวิทยาลัยที่ทำการสอนครูในประเทศฟินแลนด์มีประสิทธิภาพในการสอนมากทำให้
ไดบ้ ุคลากรด้านการศึกษาทม่ี ปี ระสิทธภิ าพในการสอนมาก อีกทงั้ ยังไมม่ ีการสอบในการศกึ ษาภาคบงั คบั ไมม่ กี าร
เข้าไปตรวจสอบโรงเรียนไมว่ า่ จะในระดบั ไหน จงึ เปน็ เป็นสญั ญาณท่แี สดงให้เหน็ ถึงความเชอ่ื มั่นต่อความสามารถ
ครใู นการตัดสนิ ใจพัฒนางานและวดั ผลนักเรียนของตัวเอง ครใู นประเทศฟินแลนด์จงึ มีอิสระมากและเป็นอาชีพท่ี
ได้รับความเคารพ ได้ความเชื่อถือจากสังคม การเปลี่ยนอาชีพจากครูไปทำอาชีพอื่นจึงค่อนข้างเห็นได้น้อย
นอกจากน้คี รูในประเทศยงั ใช้เวลาทัง้ หมดไปท่ีการเรียนการสอน ไดท้ ำงานเอกสารที่น้อยและต่ำท่ีสุดในประเทศ
OECD (องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ) ดังนั้นครูจึงมีเวลาที่จะออกแบบกระบวนการ
การเรียนการสอนได้เต็มท่ี ขณะเดียวกันมหาวิทยาลัยในประเทศฟินแลนดก์ ็มีอิสรภาพในการออกแบบหลักสูตร
ของตวั เองอยา่ งมาก ดังน้ันแม้ว่าหลกั สตู รครูในแต่ละมหาวิทยาลัยจะต่างกนั แต่ก็มีแนวคดิ ทอ่ี ยู่ในกรอบเดยี วกันท่ี
ม่งุ หวังเร่ืองความสำเร็จและความสขุ ในการเรยี นของเดก็ เปน็ หลั
ญปี่ ่นุ เป็นประเทศที่คล้ายกบั เกาหลี คอื พ่อแม่คาดหวงั ในตัวลกู สูงมาก จึงสนใจเร่อื งการศึกษาของลูกๆ
เป็นอย่างมาก และทำใหก้ ารคดั เลอื กบคุ ลากรครูตอ้ งเขม้ งวดอย่างมากเช่นกัน ใครทอี่ ยากเปน็ ครูในประเทศญี่ปุ่น
จะต้องเรยี นโรงเรียนผลิตครูโดยเฉพาะ คนที่สอบผา่ นเข้ามาเรียนได้จะมีเพยี งรอ้ ยละ 14 คนเทา่ นั้น เม่ือเรียนจบ
แล้วต้องผ่านการสอบและการประเมินโดยรัฐ จึงจะได้เป็นครูอย่างที่ต้องการ หรือถ้าจบสายอื่นมาก็ต้องสอบ
ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพครใู หผ้ ่าน

ค่านิยมของครู

ค่านิยมของครู หมายถึง แนวความคิดหรือความประพฤติอันดีงามของสังคมท่ีครูจะต้อง
ยึดถือเป็นหลักประจำใจ และปฏิบัติตามสิ่งที่ได้ยึดถือนั่นเป็นประจำ ค่านิยมของครูจะต้องเป็นไป
ตามคุณลักษณะของคนไทยที่ประเทศชาติต้องการและจะต้องสอดกับค่านิยมที่ดีงามของสังคมไทย
ดังนั้น ค่านยิ มทีพ่ ึงประสงคข์ องครู จงึ ควรมีดังนี้

1. ความมรี ะเบียบวนิ ัย
2. ความซ่อื สัตย์ สจุ รติ และความยุติธรรม
3. ความขยัน ประหยัด อดทน การยึดมนั่ ในสัมมาอาชีพ
4. ความสำนึกในหนา้ ท่ี และความรบั ผิดชอบต่อสังคมและประเทศชาติ
5. มคี วามคิดริเริม่ วิจารณ์และตัดสินอยา่ งมเี หตุผล
6. ความกระตือรอื รน้ ในการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตย รักและเทิดทูน ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
7. การร้จู กั รักษาพลานามยั ของร่ายกายจติ ใจให้สมบรู ณ์

183

8. การพง่ึ ตนเอง และมอี ดุ มการณ์แห่งวิชาชพี
9. ความภาคภมู ิใจ และมีอุดมการณแ์ หง่ วชิ าชีพ
10. ความเสยี สละ เมตตาอารี กตญั ญูกตเวที กลา้ หาญ และสามัคคี
11. ความนยิ มไทย
12. ความหม่ันในการศกึ ษาความร้อู ย่เู ปน็ นจิ
13. การเคารพยกย่อง คนดีมคี ณุ ธรรม
14. การมอี ิสรภาพทางวชิ าการ ความคดิ และการกระทำ
15. ความสันโดษ
16. ความสภุ าพออ่ มนอ้ ม ถอ่ มตน
17. ความยึดม่ันและปฏบิ ัติตามคำสอนในศาสนา
ค่านยิ มท่ไี มพ่ ึงประสงคข์ องครู มีค่านิยมบางประการในสังคมไทยทค่ี รไู มค่ วรนยิ ม
หรอื ยึดถือปฏิบัติ เช่น
1. การรักในความสนุกสนาน เพลิดเพลิน
2. ความโออ่ า่ หรหู รา ฟมุ่ เฟือย
3. การแสวงหาโชคลาภ
4. ความนยิ มในศิลปวัฒนธรรมต่างชาติ
5. การทำอะไรตามสบาย จนทำใหข้ าดระเบียบวินยั
6. การถือฤกษ์ สิง่ ศักดิ์สิทธ์ิ
7. ความนยิ มของนอก
8. การเชอื่ ถือ สงิ่ ศักด์ิสทิ ธ์ิ
9. การใชส้ ิ่งเสพติด มึนเมา เป็นสอ่ื สัมพันธม์ ติ รภาพ
10. การยกยอ่ งบคุ คลผู้ประพฤติผิดคุณธรรมให้เปน็ บุคคลสำคัญ(ชุตมิ า ประมวลสขุ .2563)

184

สรุป
จิตวิญญาณความเป็นครู และคา่ นิยม

จติ วิญญาณความเปน็ ครูเป็นคุณลักษณะสำคญั ของวิชาชีพครู ทีก่ ำหนดไว้ใน ประกาศคณะกรรมการคุรุ
สภา เร่ือง สาระความรู้ สมรรถนะและประสบการณ์ของผู้ประกอบวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหาร
การศึกษา และศึกษานิเทศก์ ตามข้อบังคับคุรุสภาว่า ด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556 ในหมวด 1 ผู้ประกอบ
วชิ าชีพครู ซึ่งกำหนดสาระความร้แู ละ สมรรถนะของผปู้ ระกอบวิชาชพี ครตู ามมาตรฐานความรู้ ข้อ 1. ความเป็น
ครู ซง่ึ แสดงถงึ การที่ องคก์ รวชิ าชพี ทางการศกึ ษาไดใ้ หค้ วามสำคัญกับจิตวิญญาณความเป็นครู ดังนน้ั ผู้ท่ีจะเข้าสู่
วิชาชีพครู และวิชาชีพทางการศึกษาย่อมได้รับการคาดหวังจากองค์กรวิชาชีพทางการศึกษา ผู้รับบริการ และ
สังคม ในด้านคุณลักษณะครูที่มีจิตวิญญาณความเป็นครูเป็นอย่างสูงยิ่ง ทั้งใน เรื่องของการมีคุณลักษณะตาม
เกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพ และผลกระทบที่จะเกดิ กับผเู้ รียน รวมทงั้ การยอมรับนบั ถอื และความศรทั ธาจากสงั คม

185

อ้างองิ

กรมวชิ าการ. (2540). แนวทางการสอนทีเ่ นน้ ทักษะกระบวนการ. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพค์ รุ ุสภา ลาดพร้าว.
กิตินันท์ โนสุ และเสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2557). องค์ประกอบและตัวบ่งชี้จิตวิญญาณความเป็นครู

ส ั ง ก ั ด ส ำ น ั ก ง า น เ ข ต พ ื ้ น ท ี ่ ก า ร ศ ึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด ภ า ค เ ห น ื อ ต อ น บ น . ว า ร ส า ร ก า ร ว ิ จั ย
กาสะลองคำ8, 1 : 53-65. เชยี งราย : มหาวิทยาลัยราชภฏั เชยี งราย.
ชุติมา ประมวลสุข.(2563).เอกสารประกอบการสอนวิชาความเป็นครู มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต,
จาก https://anyflip.com/dedoj/tarx/basic/301-319
ณัฏฐภรณ์ หลาวทอง และปิยวรรณ วิเศษสุวรรณภูมิ. (2553). การพัฒนาแบบวัดจิตวิญญาณ ความเป็นครู.
กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทัศนา ประสานตรี. การปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครู. วารสารวิชาการหลักสูตรและการสอน
มหาวทิ ยาลัยราชภัฎสกลนคร จาก
ธรรมนันทิกา แจ้งสว่าง. (2554). ประสบการณ์ของการเป็นครูผู้มีจิตวิญญาณความเป็นครู : การศึกษาเชิง
ปรากฏการณ์วิทยา. ปริญญานิพนธ์ วทด. (การวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์) กรุงเทพฯ : บัณฑิต
วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทร์วโิ รฒ.
ธวัชชัย เพ็งพินิจ. (2550). ศาสตร์ว่าด้วย “จิตวิญญาณครู”. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 14 เมษายน 2563,
จาก http://gotoknow.org/blog/spirituality/153240.
ยนต์ ชุ่มจติ . (2524). ปรชั ญาและคณุ ธรรมสำหรับคร.ู กรงุ เทพฯ : แพร่พทิ ยา.
ศักด์ชิ ยั ภู่เจริญ .ลกั ษณะของครทู ี่ดใี นประเทศเพอ่ื นบ้าน, จาก http://www.kruinter.com/file/
33320150406110130-[kruinter.com].pdf
สจีวรรณ ทรรพวสุ.กลยทุ ธ์การพัฒนาจิตวญิ ญาณความเปน็ ครเู พอ่ื ส่งเสริมความเปน็ ครวู ิชาชีพของนกั ศึกษา
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา, จาก https://so05.tci-thaijo.org/
index.php/Ratchaphruekjournal/article/view/90765
สุพิชญา โคทวี. (2557). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาเพื่อเสริมสร้างจิต
วิญญาณความเปน็ ครู สำหรับนักศึกษาครุศาสตร์ ในสังกดั มหาวิทยาลัยราชภฏั . ปริญญานพิ นธ์ ก ศ . ด .
(หลักสตู รและการสอน). พษิ ณุโลก : มหาวทิ ยาลัยนเรศวร.
อมรรัตน์ แก่นสาร. (2558). การพัฒนาตัวบ่งชี้จิตวิญญาณความเป็นครูของครูสังกัดสำนักงาน คณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา,
สำนกั บัณฑติ ศกึ ษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

186

บทท่ี 8
กฎหมายการศึกษา

วิวัฒนาการกฎหมายไทย

1. ก่อนสโุ ขทยั
2. สุโขทยั
3. อยธุ ยา
4. ธนบรุ ี
5. รตั นโกสินทร์

ประวตั ิศาสตร์กฎหมายไทย
กอ่ นสุโขทยั

กฎหมายไทยมีการววิ ฒั นาการมานาน เชน่ เดยี วกนั กับกฎหมายของประเทศตา่ งๆ กอ่ นที่ประเทศไทยจะ
ได้ใช้ระบบประมวลกฎหมาย ไทยก็มีระบบกฎหมายใช้เป็นของตนเองเช่นกัน ซึ่งจะอยู่ในรูปของกฎหมายจารีต
ประเพณี ซึ่งได้ถูกปฏิบัติสืบต่อกันมาจนยอมรับว่าเป็นกฎหมายในที่สุด และก็ได้มีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์
อักษรในกาลต่อมา เพอ่ื ใหส้ มาชิกในชมุ ชนไดร้ ู้และปฏิบตั ิตาม

กฎหมายในยุคสโุ ขทัย

ปรากฎอยูใ่ นศิลาจารึกพอ่ ขุนรามคำแหง ( ปีพ.ศ. 1828-1835 ) เรียกกนั วา่ กฎหมายสี่บท ไดแ้ ก่
1. บทเร่ืองมรดก
2. บทเรอื่ งทด่ี นิ
3. บทวิธีพิจารณาความ
4. บทลกั ษณะฎีกา
และมีการเพิ่มเติมกฎหมายลกั ษณะโจรลงไปในครงั้ รชั สมยั พญาเลอไทย กษัตริยส์ โุ ขทัยองค์ที่ 4 ซ่ึงมสี ่วน
ของการนำกฎหมายพระธรรมศาสตร์มาใช้ ซึ่งไดร้ บั อทิ ธพิ ลมาจากพราหม ซึ่งไดม้ สี ว่ นขยาย ทเ่ี รียกวา่ ‘พระราช
ศาสตร์’ มาใชป้ ระกอบด้วย

กฎหมายกรุงศรีอยธุ ยา

กรงุ ศรอี ยธุ ยาเปน็ ชารธานีแห่งท่ีสองของไทย ไดก้ อ่ ตั้งขึ้นเม่ือ พ.ศ. 1839 - 2310 พระมหากษัตริย์ในยุค
นั้น ได้สร้างกฎหมายซึ่งเรียกว่าพระราชศาสตร์ไว้มากมาย พระราชศาสตร์เหล่านี้ เมื่อเริ่มต้นได้อ้างถึงพระ
ธรรมศาสตร์ฉบบั ของมนูเป็นแมบ่ ท เรียกกันว่า ‘มนูสาราจารย์’ พระธรรมศาสตร์ฉบบั ของมนูสาราจารย์นี้ เป็น
กฎหมายที่มีต้นกำเนิดในอินเดีย เรียกว่าคำภีร์พระธรรมศาสตร์ ต่อมามอญได้เจริญและปกครองดินแดนแหลม
ทองมาก่อน ได้แปลต้นฉบับคำภีร์ภาษาสันสกฤตมาเป็นภาษาบาลีเรียกว่า ‘คำภีร์ธรรมสัตถัม’ และได้ดัดแปลง
แก้ไขบทบัญญัติบางเรื่องให้มีความเหมาะสมกับชุมชนของตน ต่อจากนั้นนักกฎหมายไทยในสมัย

187

พระนครศรอี ยธุ ยาจงึ นำเอาคำภีร์ของมอญของมอญมาเป็นหลกั ในการบัญญตั ิกฎหมายของตน ลกั ษณะกฎหมาย
ในสมัยน้ันจะเปน็ กฎหมายอาญาเสียเป็นส่วนใหญ่ ในยุคนั้น การบันทึกกฎหมายลงในกระดาษเริ่มมขี ึน้ แล้ว เช่ือ
กนั ว่าการออกกฎหมายในสมัยกอ่ นนนั้ จะคงมีอยู่ในราชการเพียงสามฉบับเท่านั้น ได้แก่ ฉบับท่ีพระมหากษัตริย์
ทรงใชง้ าน ฉบบั ให้ขุนนางข้าราชการทวั่ ไปไดอ้ ่านกนั หรือคดั ลอกนำไปใช้ ฉบบั สดุ ท้ายจะอยู่ที่ผู้พิพากษาเพ่ือใช้
ในการพิจารณาอรรถคดี

กฎหมายสมัยกรงุ ธนบรุ ี

กฎหมายสมัยกรงุ ธนบุรี เน่อื งจากเป็นระยะเวลาท่ีต้องกอบบ้านกู้เมอื ง หรอื ก่อบา้ นสร้างเมืองประกอบ
กบั สมเดจ็ พระเจา้ ตากสินมหาราช ไดม้ ีพระราชหฤทัยในการคิดป้องกนั บ้านเมอื งเพอ่ื มิให้ขา้ ศึกมารุกรานและเน้น
การรวบรวมกลมุ่ คนไทยท่ตี อ้ งอยู่กับอยา่ งกระจัดกระจาย ลม้ หายตายจากและถูกข้าศึกเทครวั กลับไปยังประเทศ
พมา่ ประกอบกบั บา้ นเมืองหลงั จากเกดิ ศึกสงคราม ไดร้ บั ความบอบชำ้ มาอยา่ งหนกั และพระองค์มจี ติ คิดฝักใฝ่
ในเรื่องธรรมมะในช่วงระยะเวลาสุดท้ายของพระชนม์ชีพ กฎหมายของกรงุ ธนบุรีจึงอ้างอิงมาจากกรุงศรีอยุธยา
เสยี เปน็ สว่ นใหญ่

กฎหมายกรงุ รตั นโกสินทร์

ในสมยั นน้ั พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช รชั กาลที่ 1 เหน็ วา่ กฎหมายที่ใชก้ ันแต่ก่อน
มานั้นขาดความชัดเจน และไม่ได้รับการจัดเรียงไวเ้ ป็นหมวดหมู่ง่ายต่อการศึกษาและนำมาใช้ จึงโปรดเกล้าให้มี
การชำระกฎหมายขึ้นมาใหม่ ในคำภีร์พระธรรมศาสตร์ โดยนำมารวบรวมกฎหมายเดมิ เข้าเป็นลักษณะๆ สำเร็จ
เม่อื พ.ศ. 2348 และนำมาประทับตราเข้าเปน็ ตราพระราชสีห์ ซึง่ เปน็ ตราของกระทรวงมหาดไทย ตราคชสหี ์ ของ
พระทรวงกลาโหม และตราบัวแก้ว ซึง่ เป็นตราของคลัง บนหนา้ ปกแตล่ ะเลม่ ตามลกั ษณะระของการปกครองใน
สมัยนั้น กฎหมายฉบับนัน้ เรียกกันวา่ ‘กฎหมายตราสามดวง’ กฎหมายตราสามดวงน้ี ถือเป็นประมวลกฎหมาย
ของแผ่นดินที่ได้รับการปรับปรุงให้มีความรัดกุม ยุติธรรมทั้งทางแพ่งและอาญา นอกจากจะได้บรรจุพระ
ธรรมศาสตรต์ ั้งแตส่ มยั อยุธยาแลว้ ยังคงมีกฎหมายสำคัญๆอีกหลายเรือ่ ง อาทิ กฎหมายลักษณะพยาน ลักษณะ
ทาส ลกั ษณะโจร และต่อมาได้มีการตราข้นึ อีกหลายฉบับ ต่อมาประเทศไทยมกี ารติดต่อสัมพนั ธ์ไมตรกี ับประเทศ
ต่างๆมาก พึงเห็นได้ว่ากฎหมายเดิมนั้นไม่ได้รับการยอมรับจากนานาอารยประเทศ จนทำให้ไทยต้องเสียสิทธิ
สภาพนอกอาณาเขต นอกจากน้นั ยงั ไม่สามารถนำมาใชบ้ งั คับได้ทุกกรณี พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
จึงทรงตรากฎหมายขึ้นใหม่ อาทิ พระราชบัญญัติมารดาและสินสมรส ครั้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงจัดวางระบบศาลขึ้นมาใหม่ และได้ให้ผู้เชี่ยวชาญทางกฎหมายทั้งจากอังกฤษ
ฝรงั่ เศส เบลเยย่ี ม ญป่ี ุน่ และลงั กามาเปน็ ท่ีปรึกษากฎหมาย และในสมยั นั้น พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงราชบุรี
ดเิ รกฤทธ์ิ ก็ได้แก้ไขชำระกฎหมายตราสามดวงเดมิ ขน้ึ ใหม่ และจดั พิมพ์ข้นึ ในชื่อของ ‘กฎหมายราชบรุ ี’ ในปีพ.ศ.
2440 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจา้ อยู่หัวได้ทรงแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจชำระและร่างกฎหมายขึ้นมา
ใหม่ ทำการร่างกฎหมายลักษณะอาญา กฎหมายว่าด้วยการเลิกทาส กฎหมายวธิ สี บัญญัติ รา่ งประมวลกฎหมาย
แพง่ และกฎหมายที่สำคัญหลายๆฉบับ และในรชั สมยั ตอ่ มา กฎหมายไทยได้ถกู พัฒนาสบื ต่อกนั ยาวนาน ตราบจน
ทุกวันน้ี มีการจัดทำประมวลกฎหมาย และร่างกฎหมายต่างๆเป็นจำนวนมาก ซึ่งกฎหมายไทยนั้น ได้รับอิทธิพล
ท้ังจากกฎหมายภาคพ้ืนยุโรป อาทกิ ฎหมายองั กฤษ กฎหมายฝรงั่ เศส รวมทัง้ จารีตประเพณีเดิมของไทยด้วย ( มี

188

อยู่ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ บรรพ5 และ 6 วา่ ดว้ ยเรอื่ งครอบครวั และมรดก ) และไดร้ บั การแก้ไขให้
มีความสอดคล้องกับสังคมที่เปลี่ยนไปอยู่ตลอดเวลา มีกฎหมายที่ทันสมัยถูกตราขึ้นใหม่ๆตลอด เช่นกฎหมาย
ทรัพย์สนิ ทางปัญญา หรือท่เี กีย่ วกบั การคา้ ระหว่างประเทศ (อ้างองิ :รวมความเห็นนกั วชิ าการ คดหี ม่ินฯ ร.๔)

ลำดบั ช้นั กฎหมายไทย
รฐั ธรรมนญู

รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศหรือเป็นกฎหมายแม่บทที่มีสถานะสูงสุดเหนือ
กฎหมายอ่นื ๆ ในการปกครองประเทศโดยกำหนดบทบาทอำนาจหนา้ ทแ่ี ละความสัมพนั ธ์ระหว่างกันของสถาบัน
ทางการเมอื งการปกครองตลอดจนความสัมพันธ์ระหวา่ งรัฐกับประชาชนและสิทธิของประชาชนท่ีมีอยู่ภายในรัฐ
เปน็ กฎหมายทก่ี ำหนดระบบการปกครองโครงสรา้ งการปกครองกติกาทางการเมืองของรฐั และจัดสรรอำนาจตาม
กฎหมายให้แก่สถาบันทางการเมือง ฉะนั้นการปกครองประเทศไม่วา่ จะปกครองในระบอบใดก็ตาม รัฐธรรมนูญ
จะกำหนดหรือยตุ ริ ะบอบการปกครองและกติกาทางการเมอื งต่าง ๆ ไวใ้ นรฐั ธรรมนูญรฐั ธรรมนูญจงึ เปน็ กฎหมาย
ที่กำหนดองค์กรของรัฐที่เป็นผู้ใช้อำนาจขณะเดียวกันก็ จำกัดอำนาจของการใช้อำนาจน้ันเพื่อประกันสิทธิของ
ปัจเจกชนดว้ ย

เดชชาติ วงศโ์ กมลเชษฐ์ อธิบายว่า รฐั ธรรมนญู เปน็ กฎหมายหลักของประเทศ ซ่งึ บัญญัติวา่ ด้วยรูปของ
รัฐ รปู ของรฐั บาลการแบ่งอำนาจอธปิ ไตย องค์การทีใ่ ชอ้ ำนาจอธิปไตย และความสัมพนั ธ์ระหวา่ งองคก์ ารท่ีใช้
อำนาจ อธิปไตย ตลอดจนสิทธิและหน้าท่ีของประชาชน

รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย เปน็ กฎหมายลำดับศักดิ์สงู สุดแห่งราชอาณาจักรไทย กฎหมายอ่ืนใด
จะขัดหรือแย้งตอ่ รัฐธรรมนูญไม่ได้ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายว่าด้วยการจัดระเบียบการปกครองของประเทศ ซึ่ง
ตั้งแต่ วันที่ 27 มิถุนายน 2475 ถือเป็นวันที่ประกาศใช้รัฐธรรมนูญเป็นฉบับแรกในประวัติศาสตร์ไทย คือ
“พระราชบญั ญัตธิ รรมนญู การปกครองแผน่ ดินสยามช่ัวคราว พ.ศ. 2475” ซง่ึ เปน็ กฎหมายสงู สุดในการปกครอง
รัฐ หลังจากที่คณะราษฎรทำการปฏิวัติเปลี่ยนการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์อำนาจสูงสุดเป็นของ
กษตั รยิ ม์ าเปน็ ระบอบประชาธปิ ไตยที่อำนาจสูงสดุ เป็นของประชาชนเมื่อวันท่ี 24 มิถนุ ายน 2475 แมจ้ ะใช้ชื่อว่า
“พระราชบัญญัติ ‘ธรรมนูญการปกครองแผ่นดิน’ สยามชั่วคราว พ.ศ. 2475” แต่ก็มีสถานะเปน็ รัฐธรรมนญู อนั
เป็นกฎหมายสูงสดุ ซึ่งตอ่ มาภายหลังไดม้ กี ารบัญญตั ิคำวา่ ‘รัฐธรรมนญู ’

ตั้งแต่ พ.ศ. 2475 ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญแล้วทั้งสิ้น 20 ฉบับ รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน คือ
รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2560

รัฐธรรมนูญไทยระบุว่าประเทศไทยมีรปู แบบรัฐเด่ียว และปกครองในระบอบประชาธิปไตยแบบรฐั สภา
กำหนดให้มีการแบ่งแยกอำนาจระหว่างอำนาจนิติบัญญัติ บริหารและตุลาการ กำหนดให้สมาชิกผู้แทนราษฎร
และสมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั้งและการแต่งตั้งแตกต่างกันไป เช่นเดียวกับพระราชอำนาจของ
พระมหากษตั ริย์

189

รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทยมี 20 ฉบับ
ศาลรัฐธรรมนญู

เป็นองค์กรหลกั ทที่ ำหน้าทตี่ ีความรัฐธรรมนญู และวนิ ิจฉัยขอ้ ขัดแย้งข้อพพิ าททเี่ ก่ยี วขอ้ งกบั รัฐธรรมนูญ
รฐั ธรรมนญู ฉบับแรกของไทยชื่อวา่ “พระราชบัญญตั ธิ รรมนญู การปกครองแผน่ ดนิ สยามชั่วคราว
พทุ ธศักราช 2475” จากนน้ั ราชอาณาจกั รไทยกไ็ ด้ประกาศใช้รฐั ธรรมนูญมาตามลำดับ ดงั น้ี
1. พระราชบญั ญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชวั่ คราว พทุ ธศักราช ๒๔๗๕
2. รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรสยาม
3. รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2489
4. รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย (ฉบบั ชว่ั คราว) พุทธศักราช 2490
5. รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2492
6. รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2475 แก้ไขเพม่ิ เติม พทุ ธศกั ราช 2495
7. ธรรมนญู การปกครองราชอาณาจกั ร พทุ ธศักราช 2520
8. รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511
9. ธรรมนญู การปกครองราชอาณาจกั ร พุทธศกั ราช 2511
10. รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2517
11. รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2519
12. ธรรมนญู การปกครองราชอาณาจักร พทุ ธศักราช 2520
13. รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521
14. ธรรมนญู การปกครองราชอาณาจักร พทุ ธศักราช 2534
15. รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2534
16. รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2540
17. รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย (ฉบบั ช่ัวคราว) พทุ ธศกั ราช 2549
18. รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
19. รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย (ฉบับช่วั คราว) พุทธศักราช 2557
20. รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2560
อา้ งองิ :บวรศักดิ์ อุวรรณโณ,กฎหมายมหาชน เลม่ 3 ที่มาและนิติวธิ ี,กรุงเทพ,สำนักพิมพน์ ติ ธิ รรม,พมิ พ์คร้งั ที่
1,2538 ใจจริง, ณัฐพล (2556). ขอฝนั ใฝ่ในฝันอนั เหลอื เช่อื : ความเคลอ่ื นไหวของขบวนการปฏิปักษป์ ฏวิ ัติสยาม
(พ.ศ. 2475-2500) (1 ed.). ฟ้าเดยี วกนั .

190

พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ คือ กฎหมายที่มีลักษณะพิเศษที่รัฐธรรมนูญระบุชื่อและหลักการ
สำคญั เอาไว้โดยเฉพาะ เพ่ือขยายความเพิ่มเติมจากหลักการสำคัญของรฐั ธรรมนูญ ซง่ึ จะทำให้รัฐธรรมนญู มีความ
สมบรู ณ์ยิ่งขน้ึ โดยไม่ตอ้ งมีจำนวนมาตรามากมายจนเกินความจำเปน็

ซ่ึงพระราชบัญญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู ตามรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2560
ประกอบดว้ ย

1. พระราชบัญญตั ิประกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ด้วยการเลอื กตง้ั สมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎร
2. พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนญู ว่าด้วยการไดม้ าซึง่ สมาชิกวุฒสิ ภา
3. พระราชบัญญัติประกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ด้วยคณะกรรมการการเลอื กตั้ง
4. พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนญู วา่ ด้วยพรรคการเมือง
5. พระราชบัญญัติประกอบรฐั ธรรมนูญวา่ ดว้ ยวิธพี ิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ
6. พระราชบญั ญตั ิประกอบรัฐธรรมนญู วา่ ด้วยวธิ ีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมอื
7. พระราชบัญญัติประกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยผตู้ รวจการแผ่นดิน
8. พระราชบัญญตั ิประกอบรัฐธรรมนญู วา่ ด้วยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ
9. พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู ว่าด้วยการตรวจเงินแผน่ ดิน
10. พระราชบญั ญัติประกอบรฐั ธรรมนญู ว่าดว้ ยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
อ้างองิ :ปรดี ี หงษส์ ตน้ . “เชอื ดไกใ่ หล้ งิ ดู: รัฐไทยกับการทำลายศตั รดู ้วยนาฏกรรม.” วารสารประวัติศาสตร์
ธรรมศาสตร์ 1, 2 (ต.ค. 2557 -มี.ค. 2558), น. 53-99.

พระราชบญั ญัติ

พระราชบัญญัติ (มตี ัวย่อวา่ "พ.ร.บ.") เป็นกฎหมายที่ออกโดยฝ่ายนิติบญั ญัติ ซ่งึ มีรัฐสภาเป็นฝ่ายท่ีออก
กฎหมายนี้ พระราชบัญญัติถือว่าเป็นการออกกฎหมายเพื่อบังคับใช้เป็นชีวิตประจำวัน กำหนดกฎเกณฑ์ซึ่งมี
เนื้อหาเป็นการทั่วไป ไม่มุ่งเฉพาะเจาะจงต่อบุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือใช้บังคับแก่กรณีใดกรณีหนึ่ง ถือว่าเป็น
กฎหมายลายลักษณ์อักษรที่รัฐได้ตราขึน้ ไว้เป็นขอ้ บังคับกำหนดความประพฤติบคุ คล พระราชบัญญัติถือว่าเปน็
กฎหมายท่ีมีศักดิส์ งู กว่าบทกฎหมายประเภทอน่ื ๆ เปน็ รองเพียงรัฐธรรมนูญเท่าน้นั

การตราพระราชบญั ญัตินัน้ จะทำไดก้ ็แต่โดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา และเมื่อพระมหากษตั ริย์
ไดท้ รงลงพระปรมาภไิ ธย และประกาศในราชกิจจานุเบกษากม็ ผี ลใช้บงั คบั เปน็ กฎหมายได้

คำว่า พระราชบัญญัติ เป็นชื่อเรียกกฎหมายที่บัญญัติขึ้นโดยประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นผูอ้ นุญาต
สำหรบั ประเทศอน่ื ที่พระมหากษัตรยิ ์ไมใ่ ช่ผู้อนุญาต (เชน่ ประธานาธิบด)ี จะเรยี กวา่ รฐั บญั ญัติ

พระราชกำหนด

พระราชกำหนด (พ.ร.ก.) หรอื รัฐกำหนด หมายถงึ กฎหมายรปู แบบหน่งึ ซ่งึ พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้น
โดยคำแนะนำและยนิ ยอมของคณะรัฐมนตรี โดยอาศยั อำนาจตามท่รี ฐั ธรรมนูญวางไว้ว่าเปน็ กรณีฉุกเฉนิ ทมี่ คี วาม
จำเป็นรีบด่วนอันมอิ าจหลีกเลี่ยงได้ เพื่อประโยชน์ในการรกั ษาความปลอดภัยของประเทศ หรือความปลอดภัย

191

สาธารณะหรือความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะ หรือในกรณีที่มีความ
จำเป็นต้องมีกฎหมายเกี่ยวด้วยการภาษีอากรหรือเงินตรา ซึ่งจะต้อง ได้รับการพิจารณาโดยด่วนและลับ เพ่ือ
รักษาประโยชน์ของแผ่นดิน พระราชกำหนดมีผลใช้บังคับได้ดังพระราชบัญญัติ ดังนั้นพระราชกำหนดจึงแก้ไข
เพิ่มเติม หรอื ยกเลิกพระราชบญั ญัติได้

พระราชกำหนดไวเ้ รียกกฎหมายเช่นนั้นซึ่งประกาศใช้ในประเทศอันมีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข
ส่วนรฐั กำหนดสำหรับประเทศอันมีประธานาธบิ ดเี ปน็ ประมุข

พระราชกำหนดของไทย

สถานการณ์ท่ีจะประกาศใช้พระราชกำหนดได้
พระราชกำหนดของไทยแบง่ ออกเป็นสองประเภทตามความในรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย (พ.ศ.
2550) ไดแ้ ก่
1. พระราชกำหนดทั่วไป ออกได้ในกรณีฉุกเฉินที่มีความจำเป็นรีบด่วนอันมิอาจหลีกเลี่ยงได้เพื่อ
ประโยชนใ์ นการรักษาความปลอดภยั ของประเทศ เพ่ือความมน่ั คงทางเศรษฐกจิ หรอื เพื่อปอ้ งปัดพบิ ตั ิสาธารณะ
2. พระราชกำหนดเกี่ยวกับภาษีอากรหรือเงินตรา ออกได้ในกรณีที่มีความจำเป็นที่จะต้องมีกฎหมาย
เกี่ยวกับภาษีอากรหรือเงินตราซึ่งต้องได้รับพิจารณาโดยด่วนและลับ เพื่อรักษาผลประโยชน์ของแผ่นดิน ทั้งน้ี
ภายในระหวา่ งสมัยประชมุ ของรฐั สภาเท่านน้ั

กระบวนการตราพระราชกำหนด

พระราชกำหนดมีคณะรัฐมนตรีเป็นผู้พิจารณาร่าง และเมื่อคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้ว
นายกรัฐมนตรีจึงจะนำรา่ งนัน้ ขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายต่อพระมหากษัตริยเ์ พ่ือทรงลงพระปรมาภิไธยและประกาศใช้
บงั คบั เช่นพระราชบัญญตั ิ ทงั้ นี้ โดยไมต่ ้องนำเสนอร่างพระราชกำหนด เช่นว่าให้รฐั สภาพจิ ารณาใหค้ วามเห็นชอบ
ก่อน

พระราชกฤษฎกี า

พระราชกฤษฎกี า (พ.ร.ฎ.) หรือ รัฐกฤษฎีกา บทบัญญัตแิ ห่งกฎหมายท่ีพระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดย
อาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแหง่ กฎหมายตามความหมายของรัฐธรรมนูญ โดยคำแนะนำของคณะรัฐมนตรี และ
เพ่ือกำหนดความสัมพนั ธร์ ะหว่างรัฐบาลกับรัฐสภา (เช่นในกรณกี ารยุบสภาผูแ้ ทนราษฎร) พระราชกฤษฎีกาจึงมี
ศักด์ทิ างกฎหมายต่ำกว่ารฐั ธรรมนูญ พระราชบัญญัติ ประมวลกฎหมาย และพระราชกำหนด

การตราพระราชกฤษฎกี า

พระราชกฤษฎีกา คือ บทบญั ญตั แิ หง่ กฎหมายท่พี ระมหากษัตรยิ ท์ รงตราข้ึนโดยอาศยั อำนาจตาม
รฐั ธรรมนญู พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู พระราชบัญญัติ หรือพระราชกำหนด เพือ่ ใช้ในการบริหาร
ราชการแผน่ ดนิ โดยคำแนะนำของคณะรฐั มนตรี มศี ักด์ิต่ำกว่ารัฐธรรมนูญ พระราชบัญญตั ิ ประมวลกฎหมาย
และพระราชกำหนด

ในการตราพระราชกฤษฎีกา ตามรัฐธรรมนญู ฉบับปัจจุบนั สามารถแบง่ เปน็ 3 กรณี คือ
1. พระราชกฤษฎีกาที่รฐั ธรรมนูญกำหนดให้ตราพระราชกฤษฎกี าในกิจการท่ีสำคัญอนั เก่ียวกับฝ่าย

192

บริหารและฝา่ ยนติ ิบัญญตั ิ ซงึ่ จะเป็นการกำหนดรายละเอยี ดปลกี ยอ่ ยของกฎหมาย เพ่ือใหก้ ารปฏิบัตติ าม

กฎหมายมคี วามชัดเจนเปน็ รูปธรรมมากยิ่งขึ้น เช่น พระราชกฤษฎกี าเรยี กประชมุ รัฐสภา พระราชกฤษฎกี ายบุ

สภาผูแ้ ทนราษฎร พระราชกฤษฎีกาใหม้ ีการเลือกตง้ั สมาชกิ วฒุ ิสภา และพระราชกฤษฎกี าว่าด้วยการเลือกตั้ง

สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร เป็นตน้

2. พระราชกฤษฎีกา ทีอ่ อกมาเพอ่ื ใช้กับฝ่ายบริหารเพียงอยา่ งเดยี วไมบ่ งั คบั ใชก้ ับประชาชนทัว่ ไป ซ่ึง

เป็นกรณที ร่ี ฐั บาลเห็นสมควรตราขอ้ บังคับใชใ้ นการบริหารงานทั่วไป ในกิจการของฝ่ายบรหิ าร เช่น พระราช

กฤษฎีกาวา่ ด้วย เบีย้ ประชมุ กรรมการ พระราชกฤษฎกี าวา่ ด้วยการเบกิ คา่ เชา่ บ้านของข้าราชการ เป็นต้น

3. พระราชกฤษฎกี าท่ีออกโดยอาศยั อำนาจตามกฎหมายแมบ่ ท คือ พระราชบญั ญัติหรือพระราชกำหนด

ทใี่ ห้อำนาจตราพระราชกฤษฎีกาได้ โดยการวางหลกั เกณฑ์ วธิ ีการ เงอ่ื นไข หรือการจดั ระเบยี บการบริหาร

ราชการไว้ เชน่ พระราชบัญญัตจิ ุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั พ.ศ. 2522 กำหนดว่าการให้ปริญญาใด ๆ ใน

จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ตอ้ งตราเปน็ พระราชกฤษฎกี า กรณนี ีก้ ฎหมายแม่บทจะกำหนดแต่หลักสาระสำคัญไว้

สว่ นรายละเอยี ดใหอ้ อกเปน็ พระราชกฤษฎีกา หรือใหอ้ อกเปน็ กฎกระทรวง

การตราพระราชกฤษฎีกา รัฐมนตรซี ่งึ มหี น้าที่เกีย่ วขอ้ งจะอาศยั อำนาจตามรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ

หรือพระราชกำหนดน้นั ๆ เสนอรา่ ง พระราชกฤษฎกี าต่อคณะรัฐมนตรใี ห้พิจารณา โดย รา่ ง

พระราชกฤษฎีกานั้นจะต้องไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ หรือพระราชกำหนดที่ เกี่ยวข้อง

เมอ่ื คณะรฐั มนตรีพจิ ารณาแล้วจะต้องนำรา่ งพระราชกฤษฎกี าขึน้ ทลู เกล้าฯถวายพระมหากษตั ริยเ์ พ่ือทรง

ตราพระราชกฤษฎีกานน้ั ๆ นายกรัฐมนตรี จะเปน็ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ จากน้นั จงึ นำไปประกาศในราช

กจิ จานเุ บกษา บังคับใช้ตอ่ ไป

กฎกระทรวง

กฎกระทรวง เป็นกฎหมายลายลักษณ์อักษรประเภทหนึ่งของประเทศไทย ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวง

ตราขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติ หรือแห่งกฎหมายที่มีฐานะเสมอกัน เป็นต้นว่า

ประมวลกฎหมาย พระราชกำหนด กฎกระทรวงนนั้ เดมิ เรยี กวา่ กฎเสนาบดี

การตรากฎกระทรวง

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงผู้รักษาอำนาจตามพระราชบัญญัติหรือพระราชกำหนดซึ่งให้อำนาจรัฐมนตรี

กระทรวงน้ัน ๆ ออกกฎกระทรวง จะเปน็ ผู้เสนอร่างกฎกระทรวงตอ่ คณะรัฐมนตรี เม่ือคณะรฐั มนตรีมีมติเหน็ ชอบ

แล้ว รัฐมนตรีว่าการกระทรวงนั้นประกาศใช้ร่างกฎกระทรวงนั้นเป็นกฎหมายได้ โดยจะมีผลใช้บังคับเมื่อได้

ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วอ้างอิง : กำธร พันธุ์ลาภ. (2526). "กฎกระทรวง". สารานุกรมไทยฉบับ

ราชบัณฑติ ยสถาน, (เล่ม 1 : ก-กลากเหลก็ ). (พิมพ์คร้ังท่สี าม). กรุงเทฯ : ไพศาลศลิ ป์การพมิ พ.์ หนา้ 27-38.

193

ข้อบัญญัติท้องถ่นิ

กฎหมายที่องค์การบริหารส่วนท้องถ่ินตราขึ้นเพ่ือใช้บังคับในเขตขององค์การบริหารส่วนท้องถิ่นนั้น ๆ
เช่น ข้อบัญญตั ิจงั หวัด ขอ้ บญั ญตั กิ รุงเทพมหานคร ข้อบัญญตั ิเมืองพัทยา

1. ต้องมีกฎหมายแมบ่ ทใหอ้ ำนาจไว้
2. ออกข้อบญั ญัตทิ ้องถ่นิ เกนิ กวา่ อำนาจทกี่ ฎหมายแม่บทใหไ้ ว้ไมไ่ ด้
3. ตอ้ งออกตามข้นั ตอนท่ีกฎหมายกำหนด
4. หลกั “ไม่มีกฎหมายไม่มีความผดิ ”
(อา้ งอิง :ศูนย์บรหิ ารกฎหมายสาธารณสุขกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.)

การปฏิรูปการศึกษา

การปฏิรูป คือ การทำให้สิ่งที่เป็นปัญหา หรือผิดไปจากสภาพที่เหมาะสม มาจัดรูปแบบใหม่ ดังนั้นการ
ปฏริ ปู การศึกษา หมายถงึ การเปล่ียนแปลงโครงสร้างของระบบการศกึ ษา

การปฏริ ปู การศกึ ษาหลังการเปลีย่ นแปลงการปกครอง พ.ศ 2547 มจี ำนวน 4 ครั้ง
ครั้งที่ 1 การปฏริ ปู การศกึ ษาในปี พ.ศ 2517 เปน็ การศกึ ษาเพื่อชีวิตและสังคม

สาเหตุของการปฏิรูป คณะกรรมการการวางพื้นฐานเพ่ือปฏริ ปู การศึกษา เห็นวา่ ควรมีการปฏริ ปู
ดว้ ยสาเหตดุ งั นี้

1. ปัญหาอันเกดิ จากการเปลีย่ นแปลงทางสังคมและสิง่ แวดล้อม
2. ปญั หาอนั เกดิ จากการการเปลยี่ นแปลงทางความคิด
3. ปัญหาอันเกดิ จากระบบการศกึ ษา
คร้งั ที่ 2 การปฏิรปู การศกึ ษาในปี พ.ศ.2537 การศึกษาเพือ่ นำทางส่สู ังคมแหง่ ปัญญาและการเรยี นรู้
เป็นการปฏิรูปการศึกษาโดยภาคเอกชน นำโดยนายบัณฑูร ล่ำซำ กรรมการผู้จัดการธนาคาร
กสิกรไทย โดยจัดตั้ง คณะศึกษาการศึกษาไทยในยุคโลกาภิวัตน์ เพื่อศึกษาและเสนอแนะการปฏิรูป
การศึกษา โดยธนาคารกสิกรไทยเป็นผู้สนับสนุน คณะศึกษาฯประกอบไปด้วยผู้ที่มีประสบการณ์
ภาคเอกชน ภาครัฐ ภาคราชการ ภาคประชาชน ฯลฯ น่วมกันทำงานนี้ โดยได้วางยุทธศาสตร์ไว้ 4
ขน้ั ตอนคือ
1. จุดประกาย
2. ขายความคดิ
3. พชิ ิตความเปล่ียนแปลง
4. ออกแรงผลกั ดันสคู่ วามสำเรจ็
ครั้งที่ 3 “ปฏิรูปการศึกษา” ไม่ใช่คำใหม่ที่ไม่คุ้นชิน แต่กลับเป็นคำคุ้นเคยอยู่คู่กับการศึกษาไทยมา
ยาวนานถึง 20 ปี หากจะเร่ิมนับจากการปฏิรปู การศกึ ษาในปี พ.ศ.2542 ปฏิเสธไมไ่ ดว้ ่า การศึกษาไทย
ติดหลม่ กับคำว่า ล้าหลงั และลม้ เหลว มาเป็นหว้ งเวลานาน ประสิทธผิ ลทางการศึกษาของไทย ไม่ว่าจะ
ผลลัพธ์หรือผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาต่างมีปัญหา ตัวเลขชี้วัดการทดสอบต่างๆ สะท้อนปัญหาการคิด
วิเคราะห์ของเด็กไทย หรือแม้แต่ตัวเลขชี้วัดคุณภาพทางการศึกษาไม่ได้สะท้อนผลที่แท้จริงออกมา

194

ด้วยปัจจัยหลากหลายที่สง่ ผลเกี่ยวโยงกัน เป็นปัญหาใหญ่ท่ีฝงั รากลกึ จนทำให้การศกึ ษาไทยก้าวไม่ทัน
กับการพัฒนาประเทศให้เทียบเท่าสากล
การปฏิรปู การศกึ ษา เมอ่ื ปี 2542 มหี ลกั การจัดการศึกษาท่ีสำคัญ คอื การกระจายอำนาจ การมีสว่ นร่วมของ
ทุกฝ่าย การยึดมาตรฐาน และการยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ นำมาสู่ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2542 มีการ
ปรับเปลี่ยนเชิงโครงสร้างของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เนื่องจากหลากหลายองค์กรมปี ัญหาและบรหิ ารจัดการได้ไม่
คลอ่ งตัว จงึ เปล่ียนจาก 14 กรม มาเปน็ 5 องคก์ รหลัก อีกทงั้ ยังเกิดการปฏริ ปู องค์ประกอบตา่ ง ๆ ที่เกีย่ วข้องกับ
การจัดการศกึ ษาใน 7 ด้าน คอื

1.หลกั สูตรและกระบวนการเรียนรู้

การศึกษาในระบบ โดยทั่วไปแล้วจัดการเรียนการสอนโดยครูวิชาชีพอย่างเป็นระบบ ซึ่งมักเป็นการจัดการ
เรยี นการสอนในระดับโรงเรียน วทิ ยาลัย และในระดับมหาวิทยาลัย องค์การเพือ่ ความร่วมมอื ทางเศรษฐกิจและ
การพัฒนาได้จัดการศึกษาในระบบเป็น 1 ใน 3 รูปแบบทางการศึกษา ซึ่งประกอบไปด้วย การศึกษาในระบบ
การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย สำหรับการศึกษาในระบบนั้นเป็นการศึกษาที่มีการกำหนด
จุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา ระยะเวลาในการศึกษา การวัดประเมินผล หลักสูตรและเงื่อนไขการศึกษาที่แน่นอน
โดยในประเทศไทยแบ่งการศึกษาในระบบออกเป็น 2 รูปแบบคือการศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและ
การศกึ ษาในระดบั อุดมศกึ ษา (พระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542)

การศึกษานอกระบบ หรือการศึกษานอกระบบโรงเรียนเป็นการศึกษาที่มีการจัดหลักสูตร ระยะเวลาในการ
เรียนและการวัดและประเมินผลยืดหยุ่นสอดคล้องกับสภาพและความต้องการของผู้เรียน โดยไม่เป็นการจำกัด
อายุ รปู แบบการเรียนการสอนหรือสถานท่ีสำหรับประเทศไทยมีการจัดการเรยี นการสอนรูปแบบการศึกษานอก
โรงเรียนอยู่เป็นจำนวนมาก โดยนิยมจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ชุมชนหรือศูนย์การเรียนรู้นอกระบบโรงเรียน เพื่อให้
ประชาชนเข้ามาเรยี นรู้ได้ โดยภายในศูนย์จะมอี าจารย์ประจำและอาจารย์อาสาสมัครเป็นผู้จัดกิจกรรมการเรียน
การสอน สำหรบั การศึกษารปู แบบนเ้ี ป็นหนง่ึ ในรูปแบบการศึกษาหนึ่งในสามรูปแบบหลักตามการจัดขององค์การ
เพ่อื ความร่วมมือทางเศรษฐกจิ และการพัฒนา (พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542

การศกึ ษาตามอธั ยาศัย เปน็ การศึกษาท่ไี มม่ ีรูปแบบตายตวั ไมม่ ีหลกั สตู รและระยะเวลาในการเรยี นที่แน่นอน
โดยการจัดการศึกษาในรูปแบบนี้เป็นการศึกษาองค์ความรู้ต่าง ๆ ผ่านประสบการณ์ตรงที่ได้ประสบใน
ชีวิตประจำวัน โดยการศึกษาตามอธั ยาศัยจะกลายเป็นรากฐานสำคญั ของการศึกษาตลอดชวี ิต (พระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542)

2. ครู คณาจารยแ์ ละบุคลากรทางการศกึ ษา

ใหก้ ระทรวงส่งเสรมิ ใหม้ รี ะบบ กระบวนการผลติ การพัฒนาครูคณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาให้
มคี ุณภาพและมาตรฐานท่ีเหมาะสมกับการเป็นวชิ าชพี ชั้นสูง โดยการกำกบั และประสานให้สถาบนั ท่ีทำหน้าท่ีผลิต
และพัฒนา ครู คณาจารย์ รวมทั้งบุคลากรทางการศึกษาให้มีความพร้อมและมีความเข้มแข็งในการเตรียม
บุคลากรใหม่และการพฒั นาบคุ ลากรประจำการอยา่ งตอ่ เน่ืองและเพ่มิ หลกั สูตรผลติ ครูจาก 4 ปเี ป็น5ปี โดยที่ครู
ผ้บู รหิ าร นิเทศศึกษา ต้องมีใบอนุญาต (พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2542)


Click to View FlipBook Version