The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง(1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nad_natrada, 2021-04-01 05:31:26

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง(1)

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง(1)

195

3. ระบบสื่อและเทคโนโลยีเพ่ือการศกึ ษา

มีการพัฒนาในการเรียนการสอนโดยการใช้สื่อและเทคโนโลยีต่างๆ เพื่อเพ่ิมความหลากหลายในการ
เรียนรู้ เช่น คลื่นวิทยเุ พอ่ื การศกึ ษา DLT TV เป็นตน้

4. โครงสรา้ งการบริหารและการจดั การ

มีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างการบริหารและการจัดการโดยการเปลี่ยนจาก 14 องค์กร เหลือเพียง 5
สำนัก ได้แก่ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ, สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สำนักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา, สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, และสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
(พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542)

5. ระบบตรวจสอบประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา

มาตรฐานท่ี 1 ดา้ นคุณภาพผู้เรียน ผลการเรียนรทู้ ่เี ป็นคุณภาพของผู้เรียนท้ังด้านผลสมั ฤทธ์ิทางวิชาการ
ประกอบด้วย ความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร การคิดคำนวณ การคิดประเภทต่าง ๆ การสร้าง
นวตั กรรมการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตราตรฐานการศึกษาข้ัน
พนื้ ฐาน (สำนักทดสอบทางการศึกษา, สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน 2561)

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ เป็นการจัดระบบบริหารจัดการคุณภาพของ
สถานศึกษามีการกำหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจอย่างชัดเจนสามารถดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้ น
คุณภาพผ้เู รียนรอบด้านตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาในทกุ กลุ่มเป้าหมายจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
ดำเนินการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ (สำนักทดสอบทางการศึกษา, สำนักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน 2561)

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เป็นกระบวนการจัดการเรียน
การสอนตามศักยภาพของผู้เรียนแต่ละบุคคลตามที่ระบุไว้ในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลที่สอดคล้องกบั
หลักสูตรของสถานศึกษาสรา้ งโอกาสให้ผเู้ รยี นมสี ่วนรว่ มในการเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคดิ และปฏิบตั จิ ริง
การประเมนิ คณุ ภาพ (สำนักทดสอบทางการศึกษา, สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน 2561)

การประกันคุณภาพภายนอก เป็นการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา เพื่อให้มีการติดตามและ
ตรวจสอบคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา โดยคำนึงถงึ ความมุ่งหมาย หลักการ และแนวการจัด
การศึกษาในแต่ละระดับ ซึ่งประเมินโดย “สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การ
มหาชน) หรือเรียกช่ือย่อว่า“สมศ.” พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบบั ที่2) พ.ศ.
2454 ได้กำหนดให้สถานศกึ ษาทุกแหง่ ต้องได้รบั การประเมนิ คุณภาพภายนอกอย่างนอ้ ย 1 คร้งั ในทกุ รอบ 5
ปี นับตั้งแต่การประเมินครั้งสุดท้าย และเสนอผลการประเมินต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน (สำนัก
ทดสอบทางการศกึ ษา, สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน 2561)

การประเมินภายใน คือการที่สถานศึกษาประเมินตนเอง และหน่วยงานต้นสังกดั เข้ามาประเมนิ โดยมี
จุดมุ่งหมายที่จะประเมินผลการดำเนินงานของตนเอง หรือหน่วยงานในสังกัดว่ามีคุณภาพระดับใด มีปัญหาท่ี

196

ต้องการการแกไ้ ขหรอื ความช่วยเหลือตรงไหน ทง้ั นเ้ี พอ่ื ใหเ้ กิดการพฒั นาอย่างย่ังยืนและตอ่ เน่ือง (สำนักทดสอบ
ทางการศึกษา, สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน 2561)

6. ระบบงบประมาณและทรัพยากรเพอ่ื การศกึ ษา

มีการระดมทนุ เพอื่ มาใช้ในเรื่องของการศกึ ษา ไม่วา่ จะเป็น โครงการเรียนฟรี 15 ปี หรอื กองทนุ กูย้ ืมเพื่อ
การศกึ ษาทั้งภาครัฐและเอกชน

7. การมสี ่วนร่วมของสงั คมในการจัดการศึกษา

สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ไม่ว่าจะเป็นสื่อตัวนำและโครงสร้างพื้นฐานอื่นที่จำเป็นต่อการสง่
วทิ ยกุ ระจายเสียง วิทยโุ ทรทัศน์ วทิ ยโุ ทรคมนาคม หรอื ศูนย์การศกึ ษานอกสถานที่ และการสื่อสารในรปู อ่ืน เพื่อ
ใชป้ ระโยชน์สำหรบั การศกึ ษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบ การศกึ ษาตามอัธยาศัย ( พ ร ะ ร า ช บ ั ญ ญ ั ติ
การศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542)
ครั้งที่ 4 การปฏริ ปู การศกึ ษาในปี พ.ศ. 2562 เพ่อื พัฒนาประเทศไทย 4.0 ตามยุทธศาสตร์ ชาติ 20 ปี

ดว้ ยรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ 2560 มาตรา 258 จ.โดยสรปุ ได้บญั ญตั ใิ หม้ ีการดำเนินการ
ปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ทั้งนี้บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ฯ มาตรา 261 กำหนดให้การปฏิรูปตามมาตรา
258 จ. ด้านการศกึ ษา มีคณะกรรมการทม่ี ีความเป็นอิสระคณะหน่งึ ที่คณะรฐั มนตรีแตง่ ต้งั (คณะกรรมการอิสระ
เพื่อการปฏิรูปการศึกษา (กอปศ)) ดำเนินการศึกษาและจัดทำข้อเสนอและร่างกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้บรรลุ
เปา้ หมายเพ่ือเสนอคณะรัฐมนตรดี ำเนินการต่อไป

กอปศ ไดส้ รปุ ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาของไทยไว้ 7 เรื่อง ได้แก่
1. ปัญหาของระบบการศึกษาของไทยมีความซบั ซ้อนสงู
2. คุณภาพของการศกึ ษาตำ่
3. ความเหล่ือมลำ้ ทางการศึกษาสูง
4. ปญั หาของระบบการศกึ ษาเปน็ อุปสรรคอยา่ งยง่ิ ต่อการขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ระดับประเทศ
5. การใชท้ รัพยากรทางการศึกษายังไมม่ ปี ระสทิ ธิภาพ
6. การกำกับดูแลและการบริหารจัดการระบบการศึกษาของภาครัฐในด้านธรรมาภิบาลเป็นอุปสรรค

สำคญั ทีบ่ ั่นทอนประสทิ ธผิ ลของการนำประเด็นการปฏริ ปู การศึกษาสกู่ ารปฏิบตั ิ
7. บริบทของประเทศและของโลกกำลงั เปล่ยี นแปลงอย่างรวดเร็ว
กอปศ. ได้กำหนดแผนงานเพ่ือการปฏริ ูปไวด้ ้วย 7 เรือ่ ง เพือ่ บรรลุวัตถปุ ระสงค์ของการปฏิรูปการศึกษา
ไว้ดังน้ี
1. การปฏริ ูประบบการศกึ ษาและการเรยี นร้โู ดยรวมของประเทศ โดย พรบ.การศกึ ษาแหง่ ชาติฉบับใหม่

และกฎหมายลำดับรอง
2. การพัฒนาเดก็ เล็กและเดก็ กอ่ นวยั เรียน
3. เพื่อลดความเหลือ่ มล้ำทางการศกึ ษา
4. การปฏริ ูปกลไกและระบบการผลติ คดั กรอง และพัฒนาผปู้ ระกอบวิชาชพี ครแู ละอาจารย์
5. การปฏริ ูปการจัดการเรยี นการสอนเพ่อื ตอบสนองการเปลีย่ นแปลงในศตวรรษที่ 21

197

6. การปรับโครงสร้างของหน่วยงานในระบบการศึกษา เพื่อบรรลุเป้าหมายในการปรบั ปรุงการจัดการ
เรยี นการสอนและยกระดบั คณุ ภาพของการจัดการศกึ ษา

7. การปฏิรปู การศกึ ษาและการเรียนรู้โดยการพลกิ โฉมด้วยระบบดิจิทลั
การบรรลุผลของการปฏริ ูปการศกึ ษาตามแผนข้างต้น จะแบง่ เปน็ 3 ระยะ คือ

1. ระยะเรง่ ด่วนหรือภายในวนั ท่ี 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ซึ่งครบวาระการทำงานของ กอปศ.
2. ระยะสัน้ หรอื ภายใน 3 ปี
3. ระยะกลาง-ระยะยาว หรือภายใน 5-10 ปี

โทษบุคคลากรทางการศกึ ษา
1.โทษทางวินัยของครู

วินัยมลี กั ษณะเปน็ ขอ้ บญั ญตั เิ พื่อควบคุมและส่งเสรมิ ใหข้ ้าราชการอยู่ในกรอบแห่งความประพฤติอนั
ดีงาม ระเบยี บวินัยโดยทัว่ ไปมไี ว้ เพ่ือให้บุคคลในสงั คมปฏิบตั ริ ่วมกันในทิศทางและแนวทางเดียวกนั
เพื่อให้สามารถอย่รู ่วมกันได้ อยา่ งสงบ สันติ เคารพในสิทธิและหน้าทขี่ องกนั และกนั

วินยั ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา หมายถงึ ขอ้ บัญญัติที่กาํ หนดเปน็ ขอ้ ห้าม และขอ้ ปฏิบตั ิ
ตามหมวด 6 แห่งพระราชบัญญัติระเบยี บข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 มาตรา 82
– มาตรา 97

การพิจารณากำหนดโทษ

การกำหนดโทษ คอื การกำหนดระดบั โทษผูก้ ระทำความผิดใหเ้ ป็นไปตามการปรบั บทความผิดวา่ เป็น
ความผดิ ตามมาตราใดของบทบญั ญตั ทิ างวินยั ตามหมวด 6 ( มาตรา 96 ) ไดก้ ำหนดโทษทางวนิ ยั ไว้ 5 สถาน
แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท ไดแ้ ก่

โทษ 5 สถาน

1.รบิ ทรัพยส์ นิ 4.จำคกุ

2.ปรับ 5.ประหารชวี ิต

3.กกั ขงั

ความผิดไมร่ า้ ยแรง วธิ พี ิจารณากฏหมายไม่บงั คับใหต้ ้องตงั้ คณะกรรมการสอบสวน ผู้บังคับบญั ชา
ลงโทษไดเ้ อง เพยี งใหผ้ ถู้ กู กล่าวหาได้ชแี้ จงแกข้ ้อหากล็ งโทษได้

ความผิดร้ายแรง วิธีพจิ ารณาแต่งต้งั คณะกรรมการขนึ้ ทำการสอบสวน เสนอ อนกุ รรมการข้าราชการ
ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา (อ.ก.ค.) พิจารณามมี ติให้ลงโทษเสยี ก่อน ผ้บู ังคับบัญชาจงึ สั่งลงโทษไดข้ อ้ ยกเว้นท่ี
ไม่ตอ้ งสอบสวน ให้ถอ้ ยคำรบั สารภาพเปน็ หนงั สือต่อผู้บงั คบั บญั ชาจงึ สงั่ ลงโทษหรอื ต่อคณะกรรมการสอบสวน

198

1. การสอบสวนทางวินยั
1.1 การสอบสวนทางวนิ ยั ไมร่ า้ ยแรง การสอบสวนประเภทน้หี วั หนา้ สถานศึกษา มอี ำนาจ แต่งตง้ั

กรรมการสอบสวน
2. การสอบสวนทางวนิ ัยรา้ ยแรง หัวหน้าสถานศกึ ษาไมม่ ีอำนาจแตง่ ตงั้ กรรมการสอบสวน ผู้มีอำนาจ
ได้แก่

2.1. ระดับจังหวดั คอื ผ้วู ่าราชการจงั หวดั
2.2. ระดับกรม คอื อธิบดีกรมสามัญศกึ ษา

การสัง่ ลงโทษ

1. ตอ้ งออกเปน็ คำส่งั
2. ในคำสัง่ ให้แสดงวา่ ผู้ถกู ลงโทษกระทำความในกรณใี ด ตามมาตราใด

อำนาจการส่ังลงโทษของหวั หน้าสถานศึกษา

1. ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนและอาจารยใ์ หญ่ ลงโทษข้าราชการครใู นบังคับบญั ชาดงั น้ี
1.1. ภาคทัณฑ์
1.2. ตดั เงินเดือนครง้ั หนึ่งไมเ่ กนิ 10% เป็นเวลาไมเ่ กิน 2 เดอื น

2. โทษทางจรรยาบรรณครู

ในสว่ นมาตรฐานวชิ าชีพการปฏิบตั ิตน มขี อ้ กำหนดเกี่ยวกบั การประพฤตติ นของผู้ประกอบวิชาชีพหาก
ผู้ประกอบวิชาชีพผู้ใดประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพทำให้เกิดความเสียหายแก่บุ คคลอื่นจนได้รับการ
รอ้ งเรียนถงึ คุรสุ ภาแล้ว ผู้น้นั อาจถูกคณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชีพวนิ จิ ฉัย ช้ีขาดอย่างใดอย่างหน่งึ

โทษ 5 สถาน

1. ยกข้อกลา่ วหา 4. พักใช้ใบอนุญาตมีกำหนดเวลาตามที่
เห็นสมควรแตไ่ ม่เกิน 5 ปี

2. ตกั เตอื น 5.เพิกถอนใบอนญุ าต

3. ภาคทัณฑ์

(การครุ ุสภาครงั้ ท่ี 6/2548, ออนไลน์)

3. โทษทางอาญา

ประมวลกฎหมายอาญา กลา่ วว่า ผู้กระทำการใดๆทกี่ ฎหมายกำหนดวา่ เป็นความผิดจะต้องรับผดิ ทาง
อาญา ตอ่ เม่อื ได้กระทำโดยเจตนาเท่านน้ั (มาตรา 59)

3.1 เหตุยกเว้นโทษทางอาญา ถือวา่ ยังเปน็ ความผิดแต่ไม่ตอ้ งรบั โทษ
3.2. การกระทำความผิดด้วยความจำเป็น
3.3. การกระทำความผิดเพราะความบกพรอ่ งทางจิต

199

3.4. การกระทำความผิดเพราะความมึนเมา
3.5. การกระทำตามคำสัง่ ของเจา้ พนกั งาน
3.6. สามี ภริยา กระทำความผิดตอ่ กันในเรอ่ื งทรพั ย์
3.7. เด็กอายุไมเ่ กนิ 14 ปี กระทำความผดิ
(ทวีเกียรติ มนี ะกนษิ ฐ. ประมวลกฎหมายอาญา ฉบบั อา้ งองิ , ออนไลน)์

กฎหมายอ่นื ที่เกี่ยวข้องกบั การศกึ ษา
สิทธิเดก็

ความหมายของสิทธิเดก็ ได้รบั การรบั รองโดยองคก์ ารสหประชาชาติ ซงึ่ ตอ่ มาไดพ้ ัฒนานำ
หลักการตา่ งๆ มารวบรวมไวเ้ ป็นกฎหมายระหว่างประเทศในรูปของอนสุ ัญญาคือ อนสุ ัญญาว่าด้วยสทิ ธเิ ดก็
(Convention on the Rights of the Child = CRC) เป็นสัญญาด้านสิทธิมนษุ ยชนระหวา่ งประเทศท่ี
สหประชาชาตโิ ดยเฉพาะองคก์ ารกองทุนเพ่ือเด็กแหง่ สหประชาชาตไิ ด้รา่ งขน้ึ โดยมปี ระเทศเข้าเป็นภาคีสมาชกิ
195 ประเทศ ยกเว้นประเทศโซมาเลียและ สหรัฐอเมริกา

“เดก็ ” ตามพระราชบัญญตั คิ ุ้มครองเดก็ พ.ศ. 2546 “เดก็ ” หมายความวา่ บุคคลซง่ึ มอี ายตุ ำ่ กว่าสิบ
แปดปบี รบิ ูรณ์ แตไ่ มร่ วมถงึ ผทู้ ่บี รรลุนิติภาวะด้วยการสมรส

“สทิ ธิ” (Right) หมายถึง สงิ่ น้ันเปน็ ส่งิ ทค่ี นผู้นั้น พึงมพี ึงได้อย่างถูกต้อง คนอนื่ ตอ้ งยอมรับจะขดั ขวาง
หรือลิดรอนไม่ได้ (วีระ สมบรู ณ์, 2545)

“สทิ ธิ” ตามพจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน แปลว่า อำนาจอันชอบธรรม (ราชบัณฑิตยสถาน,
2525)

“สทิ ธิเดก็ ” หมายถงึ บุคคลซ่ึงมีอายุตำ่ กวา่ สบิ แปดปีบรบิ รู ณ์ แตไ่ ม่รวมถงึ ผ้ทู ่ีบรรลนุ ิติภาวะด้วยการ
สมรส มีอำนาจอนั ชอบธรรมท่ีจะกระทำการใด ๆ ได้อย่างอิสระ โดยได้รับการรับรองคุ้มครองจากกฎหมาย

สทิ ธพิ ้ืนฐานตามอนสุ ญั ญาว่าดว้ ยสิทธิเด็ก

อนุสญั ญาว่าดว้ ยสิทธเิ ดก็ มสี าระสำคัญทีม่ ุ่งคุม้ ครองสิทธิเดก็ ทุกคนไมว่ ่าจะเปน็ เด็กทด่ี อ้ ยโอกาส
ในลักษณะใดก็ตาม เช่น เดก็ พิการ เด็ก ท่ถี กู ทอดทง้ิ เด็กเร่รอ่ น เด็กถกู ทารุณกรรม เด็กที่ถูกใช้แรงงานอย่างผิด
กฎหมาย โดยเด็กทกุ คนจะได้รับสทิ ธิพ้ืนฐาน 4 ประการ คือ

1. สิทธกิ ารมีชีวิตอย่รู อด (Right of Survival) สทิ ธิการมีชีวติ อยรู่ อด หมายถงึ สทิ ธขิ องเด็กท่ีคลอดออก
มาแลว้ จะตอ้ งมีชวี ติ อยูร่ อดอย่างปลอดภัย เมอื่ ทุกคนเกิดมาแล้วจะมีสิทธิท่ีจะมชี ีวิตอยูไ่ มว่ ่าจะเกิดมามีร่างกายที่
สมบูรณห์ รือไม่ก็ตาม โดยเดก็ ท่เี กดิ มาต้องไดร้ บั การจดทะเบยี นการเกิดรวมท้งั มสี ิทธติ ามความจำเป็น ขนั้ พื้นฐาน
ในการดำรงชีวิต เช่น ได้รับการอบรมเลี้ยงดูจากพ่อแม่บุคคลในครอบครัว ได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ได้รับการ
สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค รวมทั้งได้รับการรักษาพยาบาลขั้นพื้นฐานมีที่อยู่อาศัยที่ถูกสุขลักษณะ และอยู่ใน
ส่งิ แวดลอ้ มทีไ่ มเ่ ปน็ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพกายและจิตใจ

2. สิทธิในการพัฒนา (Right of Development) สิทธิในการพัฒนา หมายถึง การได้รับโอกาสในการ
พัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพ เมื่อเด็กเจริญเติบโตขึ้นมีสิทธิที่จะได้รับพัฒนาการ ทางด้านร่างกาย จิตใจ

200

ความรสู้ ึกนึกคิด ศีลธรรม รวมท้ังส่ิงทเ่ี ดก็ ต้องการเพอ่ื บรรลเุ ป้าหมายตามความสามารถ เชน่ ได้รับการศึกษาขั้น
พืน้ ฐานไม่น้อยกวา่ 12 ปที ีร่ ัฐจะตอ้ งจัดให้โดยไม่เก็บคา่ ใชจ้ า่ ย

3. สิทธิในการได้รับการคุ้มครอง (Right of Protection) สิทธิในการได้รับการคุ้มครอง หมายถึง การ
ไดร้ ับการคุม้ ครองจากการเลอื กปฏิบตั ิการล่วงละเมิดการถูกกล่ันแกล้งการถกู ทอดท้ิงการกระทำทารุณหรือการใช้
แรงงานเด็ก โดยรฐั มนี โยบายคมุ้ ครองเด็กจัดใหม้ ีกองทุนคุ้มครองเด็กและคณะกรรมการคมุ้ ครองเด็กแห่งชาติผู้ใด
พบเหน็ เด็กทีถ่ ูกปฏบิ ตั โิ ดยมิชอบจะตอ้ งใหก้ ารช่วยเหลอื เบื้องตน้ และต้องแจง้ ตอ่ เจา้ หน้าที่เกี่ยวขอ้ ง โดยเร่งด่วน
ผู้ปกครองต้องดูแลและคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กที่อยู่ในความปกครองของตนมิให้ตกอยู่ใน สถานการณ์ที่จะเกิด
อนั ตรายตอ่ ร่างกายและจติ ใจ

4. สิทธิในการมีส่วนร่วม (Right of Participation) สิทธิในการมีส่วนร่วม หมายถึง การให้เด็กได้รับ
บทบาทที่สำคญั ในชุมชน เด็กมีสิทธทิ จ่ี ะมีสว่ นรว่ มในกิจกรรมในสังคมมีอิสระในการแสดงความคิดเห็นในเร่ืองท่ีมี
ผลกระทบตอ่ ชีวติ ของตนเอง และไดร้ บั โอกาสในการเข้าร่วมกจิ กรรมที่เปน็ ประโยชนต์ ่อสังคมเม่อื เตบิ โตขน้ึ
ทม่ี า : ฟา้ ดาว อ่อนกล่นั .(2535). สทิ ธิเดก็ ตามบทบญั ญตั ขิ องรัฐธรรมนญู

ความรบั ผิดของเดก็ ในการทำผดิ ทางอาญา

โดยทว่ั ไปแลว้ เม่อื มกี ารกระทำความผิดอาญาขึ้น กฎหมายเห็นวา่ พวกเขาเหลา่ นอ้ี าจมีความรู้สึก
ผดิ ชอบอยา่ งจาํ กดั ไม่เหมอื นกับกรณีที่ผู้ใหญเ่ ป็นผ้กู ระทำความผิด ดงั น้ันกฎหมายอาญาจงึ กำหนดเรอ่ื ง ความรับ
ผดิ ทางอาญาของเดก็ ไว้แบ่งกลมุ่ อายุของเดก็ ท่กี ระทำความผิดไว้ดังน้ี

1. เด็กอายุไม่เกิน 12 ปี สามารถกระทำความผิดทางอาญาได้เช่นเดียวกับผู้ใหญ่ ซึ่งถือว่าเด็กนั้นเป็น
ผู้กระทำความผิดได้แต่กฎหมายยกเว้นโทษแก่เด็กน้ัน โดยห้ามมิให้ลงโทษแก่เด็กนั้นเลยแต่ทัง้ นี้ หมายความว่า
การกระทำของเดก็ อายไุ ม่เกิน 12 ปีนน้ั ยงั เป็นความผดิ กฎหมายอาญาอยู่ เพียงแต่กฎหมายไม่เอาโทษเทา่ นน้ั ให้
พนักงานสอบสวนส่งตัวเดก็ น้ันใหพ้ นกั งานเจ้าหน้าทต่ี ามกฎหมายวา่ ดว้ ยการคุ้มครองเดก็ เพื่อดำเนนิ การคมุ้ ครอง
สวัสดภิ าพตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการนัน้

2. เด็กอายุ 12 ปีไม่เกิน 15 ปี กระทำความผิดอาญาได้เช่นเดียวกับผู้ใหญ่ โดยถือว่าเด็กนั้นอาจเป็น
ผู้กระทำความผิดได้แต่อย่างไรก็ตาม เด็กในวัยนี้กฎหมายก็ยังถือว่ามีความรู้สึกผิดชอบชั่วดีอย่างจํากัด
เช่นเดียวกัน จึงใหม้ ีการยกเวน้ โทษแก่เด็กทกี่ ระทำความผิด โดยหา้ มมิให้ลงโทษทางอาญาแก่เด็กน้นั เลย แต่ ท้ังน้ี
หมายความว่า การกระทำของเด็กนั้นยังเป็นความผิดกฎหมายอาญาอยู่ เพียงแต่กฎหมายไม่เอาโทษเท่านั้น
อย่างไรก็ตามสำหรับเด็กอายุ 10 ปีไม่เกิน 15 ปีที่กระทำความผิดนี้กฎหมายก็เปดิ ช่องให้ศาลใช้ดลุ พินิจที่จะ ใช้
"วธิ กี ารสำหรบั เด็ก" ไดซ้ ่งึ จะเปน็ เครือ่ งมอื สำหรบั ปรับปรุงเดก็ ให้เป็นคนดีและไม่กระทำความผดิ ข้ึนอีกในอนาคต
วธิ กี ารสำหรบั เดก็ ตามท่กี ฎหมายกำหนดไว้ ได้แก่

1. การว่ากลา่ วตกั เตอื นแก่เด็กท่ีกระทำความผิด หรือแก่บดิ า มารดา ผู้ปกครอง หรือบุคคล ที่เด็กอาศัย
อยู่ 2. การเรียกบิดามารดา ผู้ปกครอง หรือบุคคลที่เด็กอาศัยอยู่มาทำทัณฑ์บนว่าจะระวังไม่ให้ เด็กก่อ
เหตุรา้ ยขึ้นอกี

3. การใชว้ ิธกี ารคมุ ประพฤตสิ ำหรบั เดก็ โดยมพี นักงานคุมประพฤติคอยควบคุมสอดสอ่ ง
4. สง่ ตัวไปอยกู่ ับบคุ คลหรอื องค์กรท่ียอมรับเดก็ เพ่ือสั่งสอนอบรม

201

5. ส่งตวั ไปโรงเรียนหรอื สถานฝกึ และอบรม หรอื สถานท่ีตัง้ ข้นึ เพือ่ ฝึกและอบรมเด็ก (แต่ ไม่ใหอ้ ยู่จน
อายเุ กนิ 18 ปี)

3. เด็กอายุ 15 ปไี มเ่ กิน 18 ปี กระทำความผิด กฎหมายถือวา่ มีความรสู้ ึกผิดชอบตามสมควร แลว้ แต่กไ็ ม่
อาจถือว่ามีความรู้สกึ ผิดชอบอย่างเต็มท่ี เช่น กรณีผใู้ หญก่ ระทำความผิด กฎหมายจงึ เปิดโอกาสให้ศาลใชด้ ุลพินิจ
ได้โดยศาลที่พิจารณาคดอี าจเลือกลงโทษทางอาญาแกเ่ ดก็ นนั้ เช่นเดียวกบั กรณีคนทัว่ ไป (แตใ่ ห้ลดโทษลงกง่ึ หนึ่ง
ของโทษทกี่ ฎหมายกำหนดไว้ก่อน) หรอื ศาลอาจจะเลือกใช้ "วธิ กี ารสำหรับเด็ก" อยา่ งท่ใี ช้ กับเด็กอายุ 12 ปีไม่
เกนิ 15 ปกี ็ได้ ทงั้ น้ีการทีศ่ าลจะใช้ดุจพินิจลงโทษเดก็ นัน้ หรอื เลอื กใช้ "วธิ กี ารสำหรับเด็ก" ศาลตอ้ งพิจารณาถงึ
"ความรูผ้ ดิ ชอบและส่ิงอืน่ ทั้งปวง เก่ยี วกบั ผนู้ ัน้ " เพอ่ื พจิ ารณาวา่ สมควรจะเลอื กใช้วิธใี ดระหว่างการลงโทษทาง
อาญากับการใช้วธิ ีการสำหรับเด็ก และถา้ ศาลเห็นสมควรลงโทษทางอาญาศาลก็ตอ้ งลดโทษลงกง่ึ หนง่ึ ของโทษท่ี
กฎหมายกำหนดไว้กอ่ นดว้ ย

4. เด็กอายุ 18 ปีไม่เกนิ 20 ปีโดยปกติแลว้ ผกู้ ระทำความผิดท่มี อี ายุ 18 ปีไม่เกนิ 20 ปี จะตอ้ งรบั โทษทาง
อาญาเชน่ เดยี วกับผู้ใหญ่ แต่ศาลอาจใชพ้ นิ จิ ลดโทษใหห้ นึ่งในสาม หรือกึ่งหนงึ่ ของโทษทีก่ ฎหมายกำหนดไวก้ อ่ นก็
ไดห้ ากศาลพจิ ารณาแล้วเห็นว่าความรสู้ ึกผิดชอบของเขายงั มีไมเ่ ต็มท่ี ซงึ่ เป็นเหตุที่พจิ ารณาจากตวั เดก็ ท่กี ระทำ
ความผดิ นั้นเอง (ทีม่ า : จิตติ ติงศภัทิย.์ (2546). กฎหมายอาญา ภาค 1. กรงุ เทพมหานคร. เนตบิ ัณฑิตยสภา.)

ผูป้ กครอง

กฎหมายกำหนดหน้าที่ของพ่อแม่ และผู้ปกครองไว้ว่าต้องให้การอุปการะเลี้ยงดูอบรมสั่งสอน และ
พัฒนาเด็กท่ีอยู่ในความปกครองดูแลของตนตามสมควรแก่ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวฒั นธรรมแหง่ ท้องถนิ่
และต้องคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กที่อยู่ในความปกครองดูแลของตนมิให้ตกอยู่ในภาวะอันน่าจะเกิดอันตรายแก่
ร่างกายหรือจิตใจ โดยผ้ปู กครองต้องไม่กระทำการดงั ต่อไปนี้

- ทอดทิ้งเด็กไว้ในสถานรับเลี้ยงเด็ก หรือสถานพยาบาล หรือไว้กับบุคคลที่รับจ้างเลี้ยงเด็ก หรือที่
สาธารณะ หรือสถานทใี่ ด โดยเจตนาท่ีจะไม่รบั เดก็ กลบั คืน

- ละทิ้งเด็กไว้ ณ สถานทใี่ ด ๆ โดยไม่จดั ให้มีการป้องกนั ดแู ลสวัสดภิ าพ หรอื ให้การเล้ียงดทู ี่เหมาะสม
- จงใจหรอื ละเลยไม่ให้สิ่งที่จำเปน็ แกก่ ารดำรงชีวิต หรือสขุ ภาพอนามยั จนน่าจะเกิดอันตรายแก่ร่างกาย
หรือจิตใจของเดก็
- ปฏิบตั ติ อ่ เดก็ ในลักษณะที่เป็นการขดั ขวางการเจรญิ เติบโต หรอื พฒั นาการของเดก็
- ปฏบิ ตั ิตอ่ เด็กในลักษณะท่ีเป็นการเล้ยี งดูโดยมิชอบ
ซ่งึ หากเดก็ มพี ฤติกรรมเส่ียงต่อการกระทำผิดตามที่กฎหมายท่ีกำหนดคอื
1. เด็กทป่ี ระพฤตติ นไมส่ มควร ไดแ้ ก่ ประพฤตติ นเกเรหรือข่มเหงรังแกผอู้ นื่ , มั่วสุมในลักษณะท่ีก่อความ
เดือดร้อนรำคาญแก่ผู้อ่นื , เลน่ การพนนั หรือม่ัวสุมในวงการพนัน, เสพสรุ า สบู บุหรี่ เสพยาเสพติดให้โทษ, ซ้ือหรือ
ขายบริการทางเพศ, ไม่เข้าเรยี นในโรงเรียน หรอื สถานศกึ ษาตามกฎหมายว่าดว้ ยการศึกษาภาคบงั คับ
2. เด็กท่ีประกอบอาชีพท่ีนา่ จะชักนำไปในทางกระทำผิดกฎหมายหรือขัดตอ่ ศลี ธรรมอนั ดี ได้แก่
ประกอบอาชีพหรือกระทำการใดอันเป็นการแสวงหาประโยชนโ์ ดยมิชอบด้วยกฎหมาย, เด็กที่คบหาสมาคมกับ
บคุ คลทีน่ ่าจะชักนำไปในทางกระทำผิดกฎหมาย หรอื ขดั ต่อศีลธรรม

202

3. เด็กที่อยู่ในสภาพแวดล้อมหรือสถานที่อันอาจชักนำไปในทางเสียหาย ได้แก่ เด็กที่อยู่ใน
สภาพแวดล้อมหรอื สถานทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับยาเสพติดให้โทษ หรือให้บรกิ ารทางเพศ (ท่มี า : ฟ้าดาว ออ่ นกล่ัน.(2535).
สิทธิเด็กตามบทบญั ญตั ขิ องรัฐธรรมนูญ)

ดังนัน้ หากเด็กมีพฤติการณอ์ ย่างหนึ่งอย่างใดตามทก่ี ำหนดในกฎกระทรวงย่อมเปน็ กรณี “เด็กท่ีเส่ียงต่อ
การกระทำความผิด” ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 มาตรา 4 แล้วและเมื่อพิจารณาตาม นิยาม
ของคำวา่ “เด็กทเ่ี สี่ยงตอ่ การกระทำความผิด”จะเห็นไดว้ า่ กรณีท่ี “เดก็ มีความประพฤติเสย่ี งตอ่ การ กระท าผิด”
ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 มาตรา 26 (3) อันนำไปสู่ความรับผิดและลงโทษ ผู้ปกครองตาม
มาตรา ๗๘ ที่มีอัตราโทษ “จำคุกไม่เกนิ สามเดอื น หรือปรับไม่เกินสามหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้ง ปรับ”ความรบั ผดิ
และการลงโทษน้นั นำไปใชก้ ับผปู้ กครองทุกกรณที ี่เดก็ มคี วามประพฤตเิ สยี่ งต่อการกระทำผดิ
(ที่มา : ดวงพร เพชรคง.(2559). กฎหมายกับการกระทำความผิดของเด็กและเยาวชน)

ครู

จากระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวา่ ด้วยการลงโทษนักเรยี นและนกั ศึกษา พ.ศ. 2548 ไดใ้ หค้ วามหมาย
“กระทำความผิด” หมายความวา การท่ีนกั เรียนหรอื นกั ศกึ ษาประพฤติฝาฝนระเบยี บ ข้อบังคบั ของสถานศึกษา
หรือของกระทรวงศึกษาธิการ หรือกฎกระทรวงวาด้วยความประพฤติของนักเรยี น และนักศึกษา“การลงโทษ”
หมายความวา การลงโทษนักเรยี นหรือนักศกึ ษาท่กี ระทำความผดิ โดยมคี วามมุ่งหมาย เพอ่ื การอบรมสงั่ สอน

โทษทจ่ี ะลงโทษแกนักเรยี นหรอื นกั ศกึ ษาท่ีกระทำความผดิ มี 4 สถาน ดังนี้

1. วากลาวตกั เตอื น ใชในกรณีนักเรยี นหรือนกั ศึกษากระทำความผดิ ไมรา้ ยแรง
2. ทำทัณฑบน ใชในกรณีนักเรียนหรือนักศึกษาที่ประพฤติตนไมเหมาะสมกับสภาพนักเรียนหรือ
นักศึกษา ตามกฎกระทรวงวาด้วยความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา หรือกรณีทำใหเสื่อมเสียชื่อเสียงและ
เกยี รติศกั ด์ิของสถานศกึ ษา หรือฝาฝนระเบียบของสถานศึกษา หรอื ไดรับโทษวากล่าว ตกั เตอื นแล้ว แตยังไมเข็ด
หลาบ การทำทัณฑบนใหทำเปนหนังสือ และเชิญบิดามารดาหรือผูปกครองมาบันทึกรับทราบความผิด และ
รับรองการทําทณั ฑบน
3. ตัดคะแนนความประพฤติ ใหเปนไปตามระเบียบปฏิบตั ิวาด้วยการตัดคะแนนความประพฤตินักเรียน
และนกั ศึกษาของแตละสถานศึกษากาํ หนด และใหทาํ บันทกึ ข้อมลู ไวเปน็ หลกั ฐาน
4. ทํากิจกรรมเพอ่ื ใหปรบั เปลี่ยนพฤตกิ รรม ใชในกรณีทน่ี กั เรียนและนักศึกษากระทาํ ความผดิ ทส่ี มควรต
องปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจัดกิจกรรมใหเปนไปตามแนวทางที่กระทรวงศึกษาธิการกําหนด ห้ามลงโทษ
นกั เรียนและนักศึกษาด้วยวธิ ีรุนแรง หรือแบบกลั่นแกล้งหรอื ลงโทษ ดว้ ยความโกรธ หรอื ด้วยความพยาบาท โดย
ใหคํานึงถงึ อายุของนักเรียนหรือนกั ศกึ ษา และความร้ายแรงของพฤติการณประกอบการลงโทษดวย การลงโทษ
นักเรียนหรือนักศึกษาใหเปนไปเพื่อเจตนาที่จะแก้นิสัยและความประพฤติไมดี ของนักเรียนหรือนักศึกษาใหรู
สํานึกในความผิด และกลับประพฤติตนในทางที่ดีตอไปให้ผูบริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษา หรือผูที่ผูบริหาร
โรงเรียนหรือสถานศึกษามอบหมาย เปนผูมีอํานาจในการลงโทษนกั เรยี น นักศึกษา ที่มา : ราชกิจจานุเบกษา ,
เล่ม 122 ตอนพิเศษ 35 ง ,หนา้ 18

203

กฎหมายตา่ งประเทศดา้ นการศึกษา
กฎหมายด้านการศึกษาของประเทศไทย

กฎหมายเกี่ยวกบั การศึกษา ประกอบด้วย พระราชบญั ญตั ิ พระราชกฤษฎกี า กฎกระทรวง และ
อ่นื ๆซึ่งจัดหมวดหมู่ได้ 12 หมวด ดงั น้ี

1. โครงสร้างการบรหิ าร
2. การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
3. อาชีวศกึ ษา
4. การศกึ ษาเอกชน
5. การส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
6. อดุ มศกึ ษา
7. อุดมศกึ ษาเอกชน
8. ครูและบุคลากรทางการศึกษา
9. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
10. เด็ก เยาวชน คนพิการ ผ้สู ูงอายุ
11. ภาษีการศึกษา
12. อนื่ ๆ
ท้งั น้ี มรี ายละเอียดข้อมลู ดงั นี้

1. โครงสร้างการบรหิ าร
พระราชบญั ญัติ

- พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2524
- พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545
- พระราชบญั ญัติระเบยี บบรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546
- พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553
- พระราชบัญญัติระเบียบบรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2553

กฎกระทรวง

- กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2546
- กฎกระทรวงแบง่ สว่ นราชการสำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงแบง่ ส่วนราชการสำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2546
- กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ
พ.ศ. 2546
- กฎกระทรวงแบ่งสว่ นราชการสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2546
- กฎกระทรวงแบ่งสว่ นราชการสำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ ารพ.ศ. 2546

204

- กฎกระทรวงก าหนดจำนวนกรรมการ คุณสมบัติ หลกั เกณฑ์ และวิธีสรรหา การเลอื ก
คณะกรรมการ วาระการดำรงตำแหน่งและการพ้นจากตำแหน่งของกรรมการในคณะกรรมการสภา
การศึกษา พ.ศ. 2546

- กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑก์ ารแบ่งส่วนราชการภายในส านกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา พ.ศ 2546
- กฎกระทรวงกำหนดจำนวนกรรมการ คณุ สมบัติ หลกั เกณฑ์ และวธิ ีการสรรหา การเลือกประธาน
กรรมการและกรรมการวาระการดำรงตำแหน่งและการพ้นจากตำแหน่งของคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
พ.ศ. 2546
- กฎกระทรวงว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาต่ำกว่าปริญญารูปแบบวิทยาลัยชุมชน
พ.ศ. 2546
- กฎกระทรวงก าหนดจำนวนกรรมการ คุณสมบตั ิ หลักเกณฑ์ และวธิ ีการสรรหา การเลือกประธาน
กรรมการและกรรมการ วาระการด ารงตำแหนง่ และการพน้ จากตำแหน่งของคณะกรรมการสถานศึกษา
ขนั้ พื้นฐาน พ.ศ. 2546
- กฎกระทรวงกำหนดจำนวนกรรมการ คณุ สมบัตหิ ลักเกณฑ์ และวิธีการสรรหา การเลอื กประธาน
กรรมการและกรรมการวาระการดำรงตำแหนง่ และการพ้นจากตำแหน่งของคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
พ.ศ. 2546
- กฎกระทรวงกำหนดจำนวนกรรมการ คณุ สมบตั ิ หลักเกณฑ์ และวิธกี ารสรรหา การเลือกประธาน
กรรมการและกรรมการวาระการดำรงตำแหนง่ และการพน้ จากตำแหน่งของคณะกรรมการการอุดมศึกษา
พ.ศ. 2546
- กฎกระทรวงกำหนดจำนวนกรรมการ คณุ สมบตั ิ หลักเกณฑ์ และวิธกี ารสรรหา การเลอื กประธาน
กรรมการและกรรมการวาระการดำรงตำแหนง่ และการพน้ จากตำแหนง่ ของคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
พ.ศ. 2546
- กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑก์ ารแบง่ ส่วนราชการภายในสถานศกึ ษา ทีจ่ ัดการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
หรอื สว่ นราชการทีเ่ รียกช่อื อยา่ งอ่นื พ.ศ. 2547
- กฎกระทรวงกำหนดหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และลกั ษณะของงานทีจ่ ะใหส้ านักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา
เป็นผรู้ บั ผิดชอบปฏิบัตงิ านเฉพาะอยา่ งแทนสถานศึกษาทจี่ ัดการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานและ สว่ นราชการทเี่ รยี กชื่อ
อย่างอืน่ พ.ศ.2547
- กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการประเมนิ ความพร้อมในการจัดการศึกษาข้นั พนื้ ฐานของ
องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน พ.ศ. 2547
- กฎกระทรวงว่าดว้ ยการบรหิ ารงานบุคคลของข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2547
- กฎกระทรวงกำหนดจำนวน หลักเกณฑ์ และวธิ กี ารได้มาของคณะกรรมการตดิ ตาม
ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศกึ ษาของเขตำพ้ืนที่การศกึ ษา พ.ศ.2548
- กฎกระทรวงกำหนดจำนวน หลกั เกณฑ์ และวิธกี ารได้มาของคณะกรรมการสง่ เสริมการศกึ ษาพิเศษ
พ.ศ.2548

205

- กฎกระทรวงกำหนดจำนวน หลกั เกณฑ์ และวธิ ีการได้มาของคณะกรรมการสง่ เสรมิ สนับสนุนและ
ประสานความร่วมมือการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2548

- กฎกระทรวงกำหนดจำนวน หลักเกณฑ์ และวธิ ีการไดม้ าของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และ
ประเมินผล การจัดการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2549

- กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวธิ ีการประเมนิ ความพร้อมในการจดั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐานของ
องคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2549

ประกาศกระทรวง

- ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เร่อื ง มาตรฐานสถาบนั อดุ มศึกษา พ.ศ.2554

2. การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
พระราชบัญญัติ

- พระราชบัญญัติการศกึ ษาภาคบงั คบั พ.ศ. 2545

พระราชกฤษฎีกา

- พระราชกฤษฎกี าจัดต้งั โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ พ.ศ.2543

กฎกระทรวง

- กฎกระทรวงก าหนดหลักเกณฑ์และวิธีการนบั อายเุ ด็กเพ่ือเขา้ รบั การศกึ ษาภาคบงั คบั พ.ศ.2545
- กฎกระทรวงว่าดว้ ยการแบ่งระดบั และประเภทการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พ.ศ.2546
- กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวธิ ปี ระกนั คุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษาระดับ
การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พ.ศ.2546
- กฎกระทรวงว่าดว้ ยสทิ ธใิ นการจัดการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐานโดยครอบครัว พ.ศ. 2547
- กฎกระทรวงว่าด้วยสิทธขิ องสถานประกอบการในการจดั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐานในศนู ย์การเรียน
พ.ศ.2547
- กฎกระทรวงวา่ ด้วยสทิ ธิในการจดั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐานโดยสถาบันพระพทุ ธศาสนา พ.ศ.2548
- กฎกระทรวงวา่ ดว้ ยสิทธขิ ององค์กรวชิ าชีพในการจัดการศึกษาขั้นพน้ื ฐานในศูนย์การเรยี น พ.ศ. 2554
- กฎกระทรวงว่าดว้ ยสิทธขิ ององคก์ รเอกชนในการจัดการศึกษาข้นั พน้ื ฐานในศนู ย์การเรยี นรู้ พ.ศ. 2555

3. อาชีวศกึ ษา
พระราชบัญญตั ิ

- พระราชบญั ญตั กิ ารอาชวี ศกึ ษา พ.ศ.2551

4. การศกึ ษาเอกชน
พระราชบัญญตั ิ

- พระราชบญั ญตั โิ รงเรยี นเอกชน พ.ศ.2550
- พระราชบญั ญัตโิ รงเรยี นเอกชน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554

206

กฎกระทรวง

- กฎกระทรวงวา่ ด้วยการกำหนดคณุ สมบัติและลักษณะต้องหา้ มของผู้บรหิ ารโรงเรียนนอกระบบ
พ.ศ.2553

- กฎกระทรวงกำหนดคา่ ธรรมเนียมสำหรบั การประกอบกิจการโรงเรยี นเอกชน พ.ศ. 2553

5. การส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
พระราชบญั ญตั ิ

- พระราชบัญญตั ิส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย พ.ศ2551

กฎกระทรวง

- กฎกระทรวงว่าด้วยการแบ่งระดบั และการเทียบระดบั การศึกษานอกระบบ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย
พ.ศ.2546

6. อุดมศึกษา
พระราชบญั ญตั ิ

- พระราชบญั ญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ. 2547
- พระราชบัญญตั ิระเบียบขา้ ราชการพลเรือนในสถาบนั อดุ มศกึ ษา พ.ศ.2547
- พระราชบัญญตั สิ ถาบันเทคโนโลยปี ทุมวนั พ.ศ.2547
- พระราชบญั ญัตมิ หาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล พ.ศ.2548
- พระราชบัญญัติสถาบันการพลศึกษา พ.ศ.2548
- พระราชบญั ญตั มิ หาวิทยาลัยนราธวิ าสราชนครนิ ทร์ พ.ศ.2548
- พระราชบญั ญัติมหาวทิ ยาลยั นครพนม พ.ศ.2548
- พระราชบัญญัตกิ ารบริหารสว่ นงานภายในของสถาบันอดุ มศกึ ษา พ.ศ.2550
- พระราชบญั ญัติมหาวิทยาลยั มหิดล พ.ศ.2550
- พระราชบญั ญตั มิ หาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนอื พ.ศ.2550
- พระราชบัญญตั ิมหาวทิ ยาลัยบรู พา พ.ศ.2550
- พระราชบญั ญตั จิ ฬุ าภรณม์ หาวิทยาลัย พ.ศ.2551
- พระราชบัญญตั มิ หาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ.2551
- พระราชบัญญัตมิ หาวิทยาลัยพะเยา พ.ศ.2553
- พระราชบญั ญตั ิมหาวทิ ยาลยั กรุงเทพมหานคร พ.ศ.2553

กฎกระทรวง

- กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวธิ ีประกันคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
ระดบั อดุ มศกึ ษา พ.ศ.2546

- กฎกระทรวงจดั ตงั้ สว่ นราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั กาญจนบุรี กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตั้งสว่ นราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏกาฬสนิ ธ์ุ กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2548

207

- กฎกระทรวงจัดตั้งส่วนราชการในมหาวทิ ยาลัยราชภฏั กำแพงเพชร กระทรวงศึกษาธกิ าร
พ.ศ. 2548

- กฎกระทรวงจัดตัง้ สว่ นราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั จนั ทรเกษม กระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. 2548

- กฎกระทรวงจัดตง้ั ส่วนราชการในมหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชัยภมู ิ กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตง้ั ส่วนราชการในมหาวิทยาลยั ราชภฏั เชียงราย กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตั้งสว่ นราชการในมหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชยี งใหม่ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ.2548
- กฎกระทรวงจดั ตง้ั สว่ นราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตั้งส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภฏั ธนบุรี กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตั้งสว่ นราชการในมหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตง้ั สว่ นราชการในมหาวิทยาลยั ราชภัฏนครพนม กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตั้งส่วนราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตง้ั สว่ นราชการในมหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครศรีธรรมราช กระทรวงศกึ ษาธิการ
พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตง้ั ส่วนราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครสวรรค์ กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ต้ังสว่ นราชการในมหาวิทยาลยั ราชภัฏบ้านสมเดจ็ เจา้ พระยา กระทรวงศึกษาธกิ าร
พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตัง้ ส่วนราชการในมหาวทิ ยาลัยราชภัฏบรุ ีรมั ย์ กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตง้ั สว่ นราชการในมหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนคร กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตง้ั สว่ นราชการในมหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยุธยา กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ
2548
- กฎกระทรวงจดั ตง้ั สว่ นราชการในมหาวทิ ยาลัยราชภัฏพบิ ูลสงคราม กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตง้ั ส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตั้งสว่ นราชการในมหาวิทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถมั ภ์

กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2548

- กฎกระทรวงจัดตั้งส่วนราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบูรณ์ กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตัง้ สว่ นราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ภูเก็ต กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตัง้ สว่ นราชการในมหาวิทยาลัยราชภฏั มหาสารคาม กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตั้งส่วนราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจัดตั้งส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครนิ ทร์ กระทรวงศึกษาธกิ าร
พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตั้งส่วนราชการในมหาวทิ ยาลัยราชภฏั ร้อยเอ็ด กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจดั ตั้งสว่ นราชการในมหาวทิ ยาลัยราชภฏั รำไพพรรณี กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2548

208

- กฎกระทรวงจดั ตงั้ สว่ นราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเลย กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดต้งั ส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภฏั ลำปาง กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดต้งั สว่ นราชการในมหาวทิ ยาลัยราชภัฏศรสี ะเกษ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตง้ั ส่วนราชการในมหาวิทยาลยั ราชภฏั สกลนคร กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตั้งส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตั้งส่วนราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนดุสิต กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดต้งั สว่ นราชการในมหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสุนันทา กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดต้ังส่วนราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านี กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตัง้ สว่ นราชการในมหาวิทยาลยั ราชภฏั สรุ ินทร์ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตง้ั ส่วนราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหมบู่ ้านจอมบงึ กระทรวงศกึ ษาธิการ
พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตั้งส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภฏั อดุ รธานี กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตง้ั สว่ นราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏอตุ รดิตถ์ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตั้งส่วนราชการในมหาวิทยาลยั ราชภัฏอบุ ลราชธานี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2548

7. อุดมศกึ ษาเอกชน
พระราชบัญญตั ิ

- พระราชบัญญตั ิสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชน พ.ศ. 2546
- พระราชบัญญตั สิ ถาบันอดุ มศึกษาเอกชน (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2550

กฎกระทรวง

- กฎกระทรวงกำหนดลักษณะของมหาวิทยาลัย สถาบัน และวทิ ยาลัยของสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชน
พ.ศ.2549

- กฎกระทรวงกำหนดหลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเงอื่ นไขในการขอรบั ใบอนุญาตและการออกใบอนุญาต
ใหจ้ ัดตง้ั สถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ.2549

- กฎกระทรวงกำหนดลกั ษณะและเน้ือทดี่ ินทจี่ ะใชเ้ ป็นที่จัดสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชน พ.ศ.2549
- กฎกระทรวงว่าด้วยหลกั เกณฑ์ใหอ้ นุปรญิ ญาสำหรับผทู้ ่ีสอนไวไ้ ดค้ รบทุกลกั ษณะวิชา ตามหลกั สูตร
ปริญญาตรี พ.ศ. 2549
- กฎกระทรวงกำหนดชัน้ สาขาของปรญิ ญา และหลกั เกณฑ์การให้ปรญิ ญากิตตมิ ศักดขิ์ อง
สถาบันอดุ มศึกษาเอกชน พ.ศ.2549
- กฎกระทรวงก าหนดลกั ษณะ ชนิด ประเภท และสว่ นประกอบของครุยวิทยฐานะ และเขม็ วทิ ย -
ฐานะของสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชน พ.ศ.2549
- กฎกระทรวงว่าดว้ ยการคมุ้ ครองการท างานและผลประโยชน์ตอบแทนของผปู้ ฏบิ ัตงิ านใน
สถาบันอดุ มศึกษาเอกชน พ.ศ.2549

209

8. ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
พระราชบญั ญัติ

- พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบริหารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2546
- พระราชบญั ญตั ิบำเหน็จบ านาญข้าราชการ (ฉบับท่ี 22) พ.ศ. 2547
- พระราชบญั ญัตริ ะเบยี บข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547
- พระราชบญั ญัตเิ งนิ เดอื น เงนิ วทิ ยฐานะ และเงินประจำตำแหนง่ ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการ
ศกึ ษา พ.ศ.2547
- พระราชบัญญัติเงนิ เดอื นและเงินประจำตำแหน่ง (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2547
- พระราชบญั ญัติระเบียบขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2551
- พระราชบัญญตั ิระเบียบข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553

พระราชกฤษฎีกา

- พระราชกฤษฎีกาการปรับอัตราเงนิ เดือนข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2549
- พระราชกฤษฎีกาการปรับอตั ราเงินเดือนขา้ ราชการครู และบคุ ลากรทางการศึกษา (ฉบับที่ 2)
พ.ศ.2550
- พระราชกฤษฎีกาการได้รับเงินประจำตำแหนง่ ของขา้ ราชการ และผู้ดำรงตำแหนง่ ผู้บรหิ าร ซ่งึ ไม่เป็น
ข้าราชการ (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2547
- พระราชกฤษฎีกาการได้รับเงินประจำตำแหนง่ ของขา้ ราชการ และผู้ดำรงตำแหน่งผู้บริหาร ซึง่ ไมเ่ ป็น
ขา้ ราชการ (ฉบบั ท่ี 9) พ.ศ.2549

กฎกระทรวง

- กฎกระทรวงการประกอบวชิ าชีพควบคุม พ.ศ.2549

9. วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
พระราชบัญญัติ

- พระราชบญั ญัติสถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2548
- พระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมแห่งชาติ พ.ศ.2551

10. เดก็ เยาวชน คนพิการ ผ้สู งู อายุ
พระราชบัญญตั ิ

- พระราชบญั ญัตคิ มุ้ ครองเด็ก พ.ศ. 2546
- พระราชบญั ญัติผสู้ ูงอายุ พ.ศ.2546
- พระราชบญั ญตั ิส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.2550
- พระราชบญั ญตั กิ ารจดั การศึกษาสำหรบั คนพกิ าร พ.ศ.2551

210

กฎกระทรวง

- กฎกระทรวงกำหนดหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารใหค้ นพิการมีสิทธิไดร้ บั สง่ิ อำนวยความสะดวก ส่ือ บริการ
และความช่วยเหลอื อื่นใดทางการศกึ ษา พ.ศ.2550

- กฎกระทรวงกำหนดหลกั เกณฑ์และวิธกี ารจัดสรรงบประมาณทางการศึกษา สำหรบั คนพิการ
พ.ศ 2545

- กฎกระทรวงกำหนดหลกั เกณ์และวธิ กี ารใหค้ นพิการมีสิทธไิ ด้รบั สิ่งอ านวยความสะดวก ส่อื บริการ
และความช่วยเหลอื อ่ืนใดทางการศกึ ษา พ.ศ. 2550

11. ภาษีการศกึ ษา
พระราชกฤษฎกี า

- พระราชกฤษฏกี าออกตามความในประมวลรัษฎากรวา่ ด้วยการยกเวน้ รษั ฎากร (ฉบบั ที่ 284)
พ.ศ. 2538

- พระราชกฤษฏีกาออกตามความในประมวลรษั ฎากรวา่ ด้วยกำหนดกิจการที่ไดร้ ับยกเวน้ ภาษีธรุ กิจ
เฉพาะกจิ (ฉบบั ที่ 386) พ.ศ.2544

- พระราชกฤษฏกี าออกตามความในประมวลรัษฎากรวา่ ด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบบั ท่ี 420)
พ.ศ. 2547

- พระราชกฤษฏีกาออกตามความในประมวลรษั ฎากรว่าด้วยการยกเว้นภาษมี ูลคา่ เพ่มิ (ฉบับท่ี 422)
พ.ศ. 2547

- พระราชกฤษฏีกาออกตามความในประมวลรษั ฎากรว่าดว้ ยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบบั ที่ 427)
พ.ศ. 2548

- พระราชกฤษฏกี าออกตามความในประมวลรัษฏากร ว่าดว้ ยการยกเว้นรัษฏากร (ฉบับท่ี437) พ.ศ.
2548

- พระราชกฤษฏีออกตามความในประมวลรัษฎากรวา่ ดว้ ยการยกเว้นรษั ฎากร (ฉบบั ท่ี 476) พ.ศ. 2551
- พระราชกฤษฏอี อกตามความในประมวลรษั ฎากรวา่ ดว้ ยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบบั ที่ 256) พ.ศ. 2554

12. อนื่ ๆ
พระราชบัญญตั ิ

- พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.2551

พระราชกฤษฎีกา

- พระราชกฤษฎีกาจดั ตง้ั ส านักงานบรหิ ารและพฒั นาองค์ความรู้ (องคก์ รมหาชน) พ.ศ. 2547
- พระราชกฤษฎีกาจัดตัง้ สถาบนั ทดสอบทางการศึกษาแหง่ ชาติ (องคก์ ารมหาชน) พ.ศ. 2548

กฎกระทรวง

- กฎกระทรวงวา่ ดว้ ยการจัดการศึกษาเฉพาะทาง พ.ศ. 2547
- กฎกระทรวงวา่ ดว้ ยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธกี ารประกันคุณภาพทางการศึกษา พ.ศ.2553

211

(อา้ งอิง : นายวชญิ ์ รตั นสุทธิกลุ วิทยากรช านาญการและ นางสาวสริ นิ ทรา ขวญั สง่า. (2546). กฎหมายด้าน
การศกึ ษา และที่เกี่ยวขอ้ ง. สืบคน้ เมื่อวันท่ี 9 มีานคม 2564.)

กฎหมายดา้ นการศกึ ษาของประเทศฟนิ แลนด์

กระทรวงศึกษาและวัฒนธรรมจัดกฎหมายการศึกษาเปน็ 7 กลุม่ ครอบคลุมทุกชว่ งวัย ระดับและประเภท
การศึกษา และผเู้ กี่ยวข้อง แตล่ ะกล่มุ มีกฎหมาย 2 ระดับ ทกุ กลุ่มมีสาระหลัก ลกั ษณะดังนี้

Act เทียบไดก้ ับ พระราชบัญญตั เิ พื่อเขียนจดุ มุ่งหมาย แนวทาง หลักสตู ร การจัดการเรยี นการสอน การ
วัดผล ประเมินผล สิทธิ หนา้ ท่ี ความรบั ผิดชอบ และ กฎหมายรอง Decree เพือ่ กำหนดแนวทางการจัดการ
ภาคปฏิบตั ิ เชน่ การจัดเวลาเรยี น การวางแผนจดั การเรียนการสอน การแนะแนว ช่ัวโมงเรยี น และรายละเอยี ด
อน่ื ๆ

กฎหมายการศกึ ษาของฟินแลนด์ 7 กลุ่ม

1. การศกึ ษากอ่ นประถมศึกษาและขัน้ พื้นฐาน
2. การศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลายและการสอบวดั ผล
3. การศกึ ษาศลิ ปะข้นั พื้นฐาน
4. งานการศกึ ษาฟรี
5. การจัดหาเงินทุนของกิจกรรมการศึกษาและวฒั นธรรม
6. การบริหารการศึกษาของรฐั และเอกชน
7. ขอ้ กำหนดคุณสมบตั ิของอาจารย์ผู้สอน

กฎหมายสำคญั เก่ยี วกบั การศกึ ษา

หนงั สอื กฎหมาย. ภาพ: OKMไซตน์ ีม้ รี ายการลิงก์ไปยงั กฎหมายและข้อบงั คบั ดา้ นการศึกษาทีส่ ำคัญ
หากเปน็ ไปได้ลงิ ก์จะนำคุณไปยังกฎหมายท่เี ป็นปัจจบุ นั ของ Finlex Legislative Database โดยตรงซ่ึง
รวมถึงการเปล่ยี นแปลงที่เกดิ ขน้ึ กับกฎหมายหรือข้อบังคบั ด้วย

1.การศึกษากอ่ นประถมศกึ ษาและขั้นพ้ืนฐาน

พระราชบัญญัติการศึกษาขัน้ พื้นฐาน (628/1998) กฎหมายควบคุมการศึกษาขั้นพืน้ ฐานและการศึกษา
ภาคบงั คบั การศึกษาก่อนวัยเรยี นการศึกษาเสรมิ การศกึ ษาก่อนประถมศกึ ษาและกิจกรรมในชว่ งเชา้ และบ่าย

ระเบยี บการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (852/1998) ข้อบังคบั ให้เช่น เวลาในการสอนและการทำงานการประเมิน
การค้มุ ครองทางกฎหมายและการอนุญาตให้จัดฝกึ อบรม

พระราชกฤษฎีการัฐบาลว่าด้วยวัตถุประสงค์แห่งชาติสำหรับการสอนที่อ้างถึงในพระราชบัญญั ติ
การศึกษาขั้นพื้นฐานและการกระจายชั่วโมงในการศึกษาขั้นพื้นฐาน (422/2555) ระเบียบดังกล่าวกำหนด
เป้าหมายท่ัวไปของการสอนระดับชาติและการแบ่งช่วั โมง

2.การศกึ ษาระดบั มัธยมศึกษาตอนปลายและการสอบวัดผล

กฎหมายระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย (714/2018)

212

พระราชบญั ญตั ิโรงเรยี นมัธยมในอดตี (629/1998) ให้ใชบ้ ังคบั ในชว่ งเปลยี่ นผ่านตามขอบเขตที่กำหนดไว้
ในบทเฉพาะกาล กฎหมายกำหนดเชน่ วตั ถปุ ระสงคข์ องการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายการจัดการศึกษา
การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายการสมัครและการเข้าศึกษาในสถาบันการศึกษาสิทธิและหน้าที่ของ
นักเรียนการสำเร็จหลักสูตรและการประเมนิ นกั เรียนและสภาพแวดล้อมการเรียนที่ปลอดภัย พระราชกฤษฎีกา
การศกึ ษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (810/2018)

โรงเรยี นมัธยมกอ่ นหน้า(810/1998)เ่ และพระราชกฤษฎกี ารัฐบาลว่าด้วยเปา้ หมายระดับชาติท่ัวไปและ
การแบง่ ชวั่ โมงในการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (242/2557)่ ใหใ้ ชบ้ ังคบั ในชว่ งเปลีย่ นผ่านตามขอบเขตท่ี
กำหนดไว้ในบทเฉพาะกาล

กฎระเบียบดงั กล่าวกำหนดวัตถปุ ระสงค์ทวั่ ไปของประเทศสำหรับการศกึ ษาความรู้และทักษะการเรียนรู้
ตลอดชีวิตวัตถุประสงคข์ องการศึกษาเตรียมอุดมศึกษาวัตถปุ ระสงค์เฉพาะของการศกึ ษาระดบั มัธยมศกึ ษาตอน
ปลายสำหรบั ผู้ใหญก่ ารขอใบอนญุ าตเง่ือนไขในการมอบรางวัลการฝึกอบรมพิเศษ การมอบหมายเกรดขนาดและ
โครงสร้างของการศึกษา

กฤษฎีกากระทรวงศึกษาธิการเรื่องหลักเกณฑ์การคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอน
ปลาย (856/2549) มีการแก้ไข(948/2007), (820/2018)

พระราชบญั ญัตกิ ารสอบการบวช (๕๐๒/๒๐๑๙)
กฎหมายกอ่ นหน้าว่าดว้ ยการจัดสอบการบวช (672/2005) ใหใ้ ชบ้ ังคับในช่วงเปลี่ยนผา่ นตามขอบเขตที่
กำหนดไวใ้ นบทเฉพาะกาล
กฎหมายกำหนดเช่น คณะกรรมการการสอบการบวช, องค์กรของการสอบ, การสอบสำหรับการสอบ,
การลงทะเบยี นสำหรับการสอบ, เงือ่ นไขการเข้าร่วมในการสอบ, การเตรียมการพเิ ศษและการเสรจ็ สิ้น ของ
การสอบ
พระราชกฤษฎกี าการสอบคดั เลอื กของรฐั บาล (612/2019)
ระเบียบการสอบการบวชก่อนหน้าน้ี(915/2005) ให้ใช้บังคับในช่วงเปลี่ยนผ่านตามขอบเขตทีก่ ำหนดไว้ในบท
เฉพาะกาล ขอ้ บงั คับให้เชน่ การแตง่ ตั้งคณะกรรมการการสอบการบวชกฎเกณฑข์ องคณะกรรมการการสอบการ
เตรยี มการสอบและผลการเรียน

3.การศึกษาศิลปะขน้ั พ้ืนฐาน

พระราชบัญญตั ิการศึกษาศิลปะข้ันพ้ืนฐาน (633/1998) กฎหมายกำหนดเชน่ ผู้จัดงานและองค์กรของ
การศกึ ษาศิลปะขั้นพนื้ ฐานหลักสูตรการรบั สมคั รการประเมินบุคลากรการบรจิ าคของรฐั และคา่ ธรรมเนียม

อนุบัญญัติศลิ ปศึกษาขนั้ พื้นฐาน (813/1998) ระเบียบดังกล่าวกำหนดหลักสูตรปรมิ าณการสอนการต่อ
อายแุ ละการแกไ้ ขการประเมินและการขอใบอนญุ าตจดั การศกึ ษา

4.งานการศกึ ษาฟรี

กฎหมายเก่ยี วกบั งานการศกึ ษาฟรี (632/1998) และกฎระเบียบ (805/1998) กฎหมายกำหนดเชน่ ผูจ้ ัด
งานและองคก์ รของงานการศึกษาฟรีใบอนุญาตบำรุงรกั ษาของสถาบันการศึกษาบุคลากรส่วนแบ่งของค่าใชจ้ ่าย
ในการดำเนนิ งานและเงนิ อดุ หนนุ จากรัฐ

213

5.การจัดหาเงินทนุ ของกจิ กรรมการศกึ ษาและวัฒนธรรม

พระราชบัญญัติการจดั หาเงินทนุ ของกิจกรรมการศกึ ษาและวัฒนธรรม (1705/2009) กฎหมายกำหนด
เช่น การบริจาคของรัฐและเงินชว่ ยเหลอื สำหรับกจิ กรรมท่ีอ้างถึงในพระราชบัญญตั ิการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน (VM)

พระราชกฤษฎีกาของรัฐบาลเกี่ยวกับการจัดหาเงินทุนสำหรับกิจกรรมการศึกษาและวัฒนธรรม
(1766/2009)

พระราชบญั ญตั ิการมสี ว่ นร่วมของรัฐในการบริการขั้นพ้ืนฐานของเทศบาล (1704/2009) กฎหมายบังคับ
ใช้กับส่วนแบ่งที่รัฐมอบให้สำหรับต้นทุนการดำเนินงานเช่น งานของเทศบาลตามที่กำหนดไว้ในพระราชบญั ญัติ
การศึกษาขัน้ พน้ื ฐานและพระราชบญั ญตั ศิ ิลปะการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน (VM)

พระราชบญั ญัติความช่วยเหลือของรัฐ (688/2011)
กฎหมายกำหนดหลักเกณฑ์และขั้นตอนที่ต้องปฏิบัติเมื่อให้ทุนสนับสนุนเพื่อช่วยเหลือกิจกรรมหรือ
โครงการ (VM)
กฤษฎีกากระทรวงศึกษาธิการเรื่องค่าธรรมเนียมบางประการที่เรียกเก็บจากนักเรียนและนักศึกษา
(1323/2544)
กฤษฎีกากระทรวงศึกษาธิการและวัฒนธรรมเรื่องการจ่ายค่าบริก ารของคณะกรรมการสอบนักเรียน
(908/2553)
การตดั สินใจของกระทรวงศกึ ษาธิการเก่ยี วกับบรกิ ารชำระค่าธรรมเนยี มของสถาบนั การศกึ ษาของรัฐบาง
แห่ง (1097/1998)

6.การบริหารการศึกษาของรฐั และเอกชน

กฎหมายว่าด้วยการบริหารการศึกษาของรัฐและเอกชน (634/1998) กฎหมายกำหนดเช่น
คณะกรรมการหลักข้อบังคับการให้ทุนและการบริจาคการควบคุมความชอบด้วยกฎหมายและการฝึกอบรม
เกย่ี วกบั การใชพ้ ระราชบัญญัติวธิ ปี ฏบิ ัติราชการทางปกครอง

พระราชบัญญตั ินกั เรียนและสวสั ดกิ ารนกั ศึกษา (1287/2556) กฎหมายกำหนดเช่น สทิ ธขิ องนักเรียนใน
ระดับกอ่ นประถมศกึ ษาและประถมศึกษาและนักเรียนในระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายในการดูแลการศกึ ษา

พระราชกฤษฎีกาการประเมนิ ผลการศึกษาของรัฐบาล (1061/2552)
กฤษฎีกากระทรวงศกึ ษาธกิ ารและวัฒนธรรมเร่ืองคณะกรรมการสถานศกึ ษาของรฐั บางแหง่ (410/2554)

พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยระบบสภาการศกึ ษา (882/2553)
พระราชกฤษฎกี ารฐั บาลว่าด้วยการสมคั รเรยี นรว่ มอาชวี ศกึ ษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (30/2561)

7.ข้อกำหนดคณุ สมบัตขิ องอาจารยผ์ ู้สอน

ระเบียบเกี่ยวกับข้อกำหนดคุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน (986/1998) ข้อบังคับให้เช่น ข้อกำหนด
คุณสมบัติสำหรับบุคลากรด้านการสอนเช่นครูก่อนวัยเรียนครูใหญ่ครูและอาจารย์ที่อ้างถึงในพระราชบัญญัติ
การศึกษาข้ันพื้นฐานพระราชบัญญัติโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายพระราชบัญญัติการศึกษาฟรีและ
พระราชบญั ญตั ิการศึกษาศิลปะขั้นพ้ืนฐาน

214

ขอ้ บังคบั เก่ียวกบั ความสามารถในการสอนของครศู ลิ ปะบางประเภท (941/1998)
พระราชกฤษฎีกาของรัฐบาลเกี่ยวกับคุณสมบัติของการศึกษาบางอย่างที่เสร็จสมบูร ณ์ท่ี
มหาวทิ ยาลยั Oulu สำหรบั การสอนงานด้านเทคนคิ (780/2001)
พระราชบัญญัติกำหนดประวัติอาชญากรรมของผู้ที่ทำงานกับเด็ก (504/2002)กฎหมายบังคับใช้เช่น
สำหรบั การได้มาซึ่งกจิ กรรมในชว่ งเชา้ และชว่ งบา่ ยทีอ่ า้ งถงึ ในพระราชบัญญตั กิ ารศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
พระราชบญั ญตั คิ ุ้มครองเด็ก (417/2550)่ กฎหมายมบี ทบญั ญตั ิเก่ยี วกับการคุม้ ครองเด็กเฉพาะเด็กและ
ครอบครัวและการคุ้มครองเด็กเชิงป้องกัน กฎหมายกำหนดให้มีการพัฒนาบริการเพื่อสนับสนุนการศึกษา
พระราชบัญญัติสวัสดิภาพเด็กกำหนดภาระหน้าที่ในการดูแลสังคมและสุขภาพกิจกรรมของโรงเรียนและ
หน่วยงานอืน่ ๆ ในการจัดทำรายงานการคุม้ ครองเดก็ และอาชญากรรม (STM)
พระราชบญั ญตั ิเงนิ บำนาญบางอยา่ งในภาคการศึกษา (662/1998) (VM)
(อ้างองิ : กระทรวงศึกษาธิการและวฒั นธรรม. (2549). กฎหมายสำคัญเกีย่ วกับการศกึ ษา
. สืบค้นเมื่อวนั ท่ี 9 มีานคม 2564.)

กฎหมายดา้ นการศกึ ษาของประเทศญ่ีปนุ่

พระราชบญั ญัติการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน (พระราชบัญญตั ฉิ บบั ท่ี 120 วนั ท่ี 22 ธันวาคม 2549)
บทท่ี 1 จุดมงุ่ หมายและหลักการศึกษา
บทท่ี 2 ความรู้พ้ืนฐานเกีย่ วกบั การจัดการศึกษา
บทที่ 3 การบรหิ ารการศกึ ษา
บทท่ี 4 การตรากฎหมายและข้อบงั คับ

ชาวญี่ปุ่นปรารถนาท่ีจะพัฒนารัฐประชาธิปไตยและวัฒนธรรมที่เราสรา้ งข้ึนด้วยความพยายามอย่างไม่
ร้จู ักเหนด็ เหนอ่ื ยนอกจากนยี้ งั หวงั ว่าจะมสี ว่ นร่วมในสนั ตภิ าพของโลกและเพอ่ื พัฒนาสวัสดิภาพของมนุษยชาติ

เพื่อให้ตระหนักถึงอุดมคติเหล่านี้เราจะดำเนินการศึกษาที่ให้ความสำคัญกับศักดิ์ศรีของแต่ละบุคคลที่
พยายามปลูกฝงั คนที่ร่ำรวยดว้ ยความเป็นมนุษยแ์ ละความคดิ สร้างสรรคท์ ี่ปรารถนาความจรงิ และความยตุ ิธรรม
และผู้ทีใ่ ห้เกียรติจิตวิญญาณสาธารณะทีส่ ่งต่อประเพณแี ละมจี ุดมงุ่ หมายเพ่อื สร้างวัฒนธรรมใหม่

เราจงึ ออกพระราชบัญญัตินต้ี ามเจตนารมณ์ของรฐั ธรรมนูญของญ่ีปุ่นเพื่อสร้างรากฐานของการศกึ ษา
และสง่ เสริมการศึกษาทเี่ ปดิ ทางไปสู่อนาคตของประเทศของเรา

บทท่ี 1 จดุ มุง่ หมายและหลกั การศกึ ษา
จุดมงุ่ หมายของการศึกษา

มาตรา 1 การศึกษาต้องจัดใหม้ ีจดุ ม่งุ หมายในการพัฒนาคณุ ลักษณะของแตล่ ะบคุ คลอยา่ งเตม็ ทใ่ี นขณะท่ี
เราพยายามปลูกฝังคนที่มีจิตใจและร่างกายที่ดีและเต็มไปด้วยคุณสมบัติที่จำเป็นสำหรับคนที่ประกอบกันเป็น
ประเทศทีส่ งบสุขและเป็นประชาธปิ ไตยและ สงั คม.

215

วตั ถปุ ระสงคข์ องการศึกษา

ข้อ 2 เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายดังกล่าวการศึกษาจะต้องจัดให้มีขึ้นในลักษณะที่จะบรรลุวัตถุประสงค์
ดังต่อไปนใ้ี นขณะทเ่ี คารพเสรีภาพทางวชิ าการ

1. ให้นักเรียนได้รับความรู้และวัฒนธรรมที่หลากหลายส่งเสริมคุณค่าของการแสวงหาความจริงและ
ปลกู ฝงั ความมีสตสิ ัมปชญั ญะและความสำนึกในคุณธรรมตลอดจนการเสรมิ สรา้ งสุขภาพรา่ งกาย

2. การพัฒนาความสามารถของแต่ละบุคคลการปลูกฝังความคิดสร้างสรรค์และการเสริมสร้างจิต
วิญญาณแห่งความเป็นอิสระและความเป็นอิสระโดยเคารพในคุณค่าของแต่ละบุคคลรวมทั้งเน้นความสัมพันธ์
ระหว่างอาชีพการงานกบั ชีวิตประจำวันของตนและส่งเสริมคณุ คา่ ของการเคารพการทำงานหนกั

3. ส่งเสรมิ คุณคา่ ของการเคารพความยุติธรรมความรับผิดชอบความเสมอภาคระหว่างชายและหญิงการ
เคารพและความร่วมมือซึ่งกนั และกันตลอดจนคุณคา่ ของการมสี ว่ นรว่ มอยา่ งแขง็ ขนั ในการสรา้ งสังคมของเราและ
มสี ว่ นในการพฒั นาในจิตวิญญาณสาธารณะ

4. ส่งเสริมคุณค่าของการเคารพชีวิตห่วงใยธรรมชาติและปรารถนาที่จะมีส่วนร่วมในการรักษา
สง่ิ แวดลอ้ ม และ

5. ส่งเสริมคุณค่าของการเคารพประเพณีและวฒั นธรรมและความรักของประเทศและภมู ิภาคที่เลี้ยงดู
เราตลอดจนคณุ ค่าของการเคารพประเทศอืน่ ๆ และความปรารถนาทีจ่ ะมีส่วนร่วมในสันติภาพของโลกและการ
พัฒนาของประชาคมระหว่างประเทศ

แนวคดิ การเรยี นรู้ตลอดชีวิต
ข้อ 3 สังคมจะต้องถูกนำมาสู่การเป็นที่ซึ่งผู้คนสามารถเรียนรู้ต่อไปได้ตลอดชีวิตในทุกโอกาสและทุก

สถานทีแ่ ละพวกเขาสามารถประยกุ ต์ใช้ผลลพั ธข์ องการเรียนรู้ตลอดชีวติ เพ่อื ขดั เกลาตนเองและนำไปสู่ชีวิตท่ีเติม
เต็มได้อยา่ งเหมาะสม

โอกาสที่เท่าเทียมกนั ในการศึกษา
ขอ้ 4 ประชาชนจะตอ้ งได้รบั โอกาสทีเ่ ท่าเทยี มกนั ในการได้รบั การศกึ ษาทเ่ี หมาะสมกับความสามารถของ

ตนและจะต้องไม่ถูกเลอื กปฏิบตั ิในการศึกษาเนือ่ งจากเช้อื ชาติความเช่ือเพศสถานะทางสงั คมฐานะทางเศรษฐกิจ
หรือท่มี าของครอบครัว

1. รฐั บาลระดับชาติและระดับท้องถน่ิ จะต้องให้การสนับสนนุ ด้านการศึกษาท่ีจำเปน็ เพื่อให้แน่ใจว่าคน
พิการไดร้ ับการศกึ ษาท่เี พียงพอตามระดบั ความพิการของพวกเขา

2. รัฐบาลระดับชาติและระดับท้องถิ่นจะต้องดำเนินมาตรการเพื่อให้ความช่วยเหลอื ทางการเงนิ แกผ่ ู้ท่ี
แมจ้ ะมีความสามารถ แต่กป็ ระสบปัญหาในการไดร้ บั การศกึ ษาด้วยเหตุผลทางเศรษฐกิจ

บทที่ 2 ความรูพ้ ื้นฐานเกีย่ วกบั การจัดการศกึ ษา
การศึกษาภาคบังคบั

มาตรา 5 ประชาชนมีหน้าที่ต้องให้เด็กที่อยู่ภายใต้การคุ้มครองของพวกเขาได้รับการศึกษาทั่วไปตาม
บทบัญญัตขิ องพระราชบัญญตั อิ ่ืน ๆ

216

1. การศึกษาทั่วไปที่จัดให้มีขึ้นในรูปแบบของการศึกษาภาคบังคับมีวัตถุประสงค์เพื่อปลูกฝังรากฐาน
สำหรับชีวิตที่เป็นอิสระในสังคมในขณะที่พัฒนาความสามารถของแต่ละคนและยังมีจุดมุ่งหมายเพื่อส่งเสริม
คุณสมบตั พิ ้ืนฐาน ทีจ่ ำเปน็ สำหรบั คนที่ประกอบกนั เปน็ ประเทศและสงั คมของเรา

2. เพอื่ ประกนั โอกาสในการศกึ ษาภาคบงั คับและใหม้ มี าตรฐานท่ีเพียงพอรฐั บาลระดบั ชาติและท้องถ่ินมี
หน้าทรี่ บั ผดิ ชอบในการดำเนินการจดั การศึกษาภาคบงั คับผ่านการแบง่ ปันบทบาทท่ีเหมาะสมและความรว่ มมือซ่ึง
กนั และกัน

3. ไมม่ กี ารเรียกเก็บคา่ เล่าเรยี นสำหรบั การศกึ ษาภาคบังคับในโรงเรยี นท่ีจดั ตั้งโดยรฐั บาลระดับชาติและ
ระดับท้องถ่ิน

การศึกษาในโรงเรียน

ขอ้ 6 โรงเรียนทก่ี ฎหมายกำหนดมลี กั ษณะเปน็ สาธารณะและมีเพียงรัฐบาลระดับชาตแิ ละระดับท้องถ่ิน
และคณะนิติศาสตรท์ ีก่ ฎหมายกำหนดเทา่ นน้ั ที่จะจัดตัง้ ได้

1. เพ่ือให้บรรลวุ ัตถุประสงค์ของการศึกษาโรงเรียนทอ่ี ้างถึงในวรรคก่อนหน้าจะต้องจัดการศึกษาอย่าง
มีแบบแผนในรูปแบบทเี่ ป็นระบบระเบยี บที่เหมาะสมกบั พฒั นาการทางจิตใจและร่างกายของผ้ไู ดร้ บั การศึกษานั้น
ในการนี้การศกึ ษาจะต้องไดร้ ับการปลกู ฝังความเคารพในระเบียบวินัยท่จี ำเป็นในการจัดการชีวติ ในโรงเรียนของผู้
ท่ีไดร้ ับการศึกษานนั้ และเนน้ ให้พวกเขาเสรมิ สรา้ งแรงจงู ใจในการเรียน

มหาวิทยาลยั

ข้อ 7 มหาวิทยาลัยในฐานะแกนกลางของกจิ กรรมทางวชิ าการคอื การมีส่วนร่วมในการพฒั นาสังคมโดย
การปลกู ฝงั ความรขู้ น้ั สูงและทักษะเฉพาะทางสอบถามความจรงิ อยา่ งลึกซึง้ เพ่อื สร้างความรู้ใหม่และเสนอผลของ
ความพยายามเหล่านี้ให้กับสงั คมในวงกวา้ ง

1. ความเปน็ อสิ ระของมหาวิทยาลัยความเป็นอสิ ระและลกั ษณะเฉพาะอน่ื ๆ ของการศกึ ษาและการวิจัย
ของมหาวิทยาลยั ต้องได้รบั การเคารพ

โรงเรยี นเอกชน

มาตรา 8 โดยคำนึงถึงลักษณะสาธารณะของโรงเรียนที่จัดตั้งขึ้นโดยเอกชนและบทบาทสำคัญใน
การศึกษาของโรงเรียนรัฐบาลทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่นจะต้องพยายามส่ง เสริมการศึกษาในโรงเรียน
เอกชนด้วยเงินอุดหนนุ และวิธีการอืน่ ๆ ที่เหมาะสมในขณะท่เี คารพในความเปน็ อสิ ระของโรงเรียน

ครู

ขอ้ 9 ครูของโรงเรียนทก่ี ฎหมายกำหนดจะต้องพยายามทำหนา้ ทข่ี องตนให้สำเร็จในขณะที่ยงั คงตระหนัก
ถึงธรรมชาตอิ ันสูงส่งของการเรยี กร้องของพวกเขาและอทุ ศิ ตนให้กับการคน้ ควา้ และพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเนอ่ื ง

1. ในการพิจารณาถึงความสำคัญของการเรียกร้องและหน้าที่ของครูที่อ้างถึงในย่อหน้าก่อนหน้าน้ี
สถานะของครูจะต้องได้รับการเคารพการปฏิบัติที่เป็นธรรมและเหมาะสมของพวกเขาและต้องใช้มาตรการเพ่อื
ปรับปรงุ การศกึ ษาและการฝกึ อบรมของพวกเขา

217

การศึกษาในครอบครวั

มาตรา 10 มารดาบิดาและผู้ปกครองคนอื่น ๆ ซ่ึงมหี น้าท่หี ลักในการศึกษาของบตุ รหลานของตนจะต้อง
พยายามสอนนิสัยท่ีจำเปน็ สำหรับชวี ิตให้พวกเขาส่งเสริมให้มจี ิตวญิ ญาณแห่งความเป็นอสิ ระและดูแลพัฒนาการ
ทสี่ มดลุ ของร่างกายและจติ ใจของพวกเขา

1. รัฐบาลระดับชาติและระดับท้องถิ่นจะพยายามดำเนินมาตรการที่จำเป็นเพื่อสนับสนุนการศึกษาใน
ครอบครัวเช่นการให้โอกาสผู้ปกครองของเด็กในการเรียนรู้และรับข้อมูลในขณะที่เคารพความเป็นอิสระใน
การศึกษาของครอบครวั

การศึกษาปฐมวัย

มาตรา 11 ในการพิจารณาถึงความสำคัญของการศึกษาปฐมวัยเป็นพ้ืนฐานในการสรา้ งตัวละครตลอด
ชีวิตรัฐบาลระดับชาติและระดับท้องถิ่นจะพยายามส่งเสริมการศึกษาดังกล่าวโดยจัดให้มีสภาพ แวดล้อมท่ี
เอื้ออำนวยต่อการเติบโตอยา่ งมีสุขภาพดขี องเด็กเล็กและโดย วธิ ีการอนื่ ที่เหมาะสม

การศกึ ษาทางสงั คม

มาตรา 12 รฐั บาลระดับชาตแิ ละระดบั ทอ้ งถน่ิ จะต้องส่งเสรมิ การศึกษาที่เกิดข้ึนภายในชมุ ชนและสังคม
เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของบุคคลและของชุมชนและสังคมโดยรวม (2) รัฐบาลระดับชาติและระดับ
ท้องถิ่นจะพยายามส่งเสริมการศึกษาทางสังคมโดยการจัดตั้งห้องสมุดพิพิธภัณฑ์ห้องโถงชุมชนและสิ่งอำนวย
ความสะดวกอื่น ๆ สำหรับการศึกษาทางสังคมโดยใช้สิ่งอำนวยความสะดวกของโรงเรียนโดยให้โอกาสในการ
เรียนรแู้ ละข้อมูลท่ีเกีย่ วข้องและในรูปแบบอ่ืน ๆ ทีเ่ หมาะสม
(ความรว่ มมือและความร่วมมือระหวา่ งโรงเรียนครอบครวั และผ้อู ยู่อาศัยในท้องถิ่น)

มาตรา 13 โรงเรียนครอบครัวผู้อยู่อาศัยในท้องถิ่นและบุคคลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องจะต้องรักษาความ
ตระหนักในบทบาทและความรับผิดชอบของแต่ละฝ่ายเกี่ยวกับการศึกษาตลอดจนพยายามพัฒนาความร่วมมือ
ระหวา่ งกนั และรว่ มมอื กนั

การศึกษาทางการเมือง

มาตรา 14 ความรทู้ างการเมืองท่ีจำเปน็ สำหรบั การเป็นพลเมืองที่สมเหตุสมผลต้องได้รับการประเมินค่า
ในการศกึ ษา

1. โรงเรยี นที่กฎหมายกำหนดจะตอ้ งละเวน้ จากการศึกษาทางการเมืองเพื่อสนับสนุนหรือต่อต้านพรรค
การเมอื งใด ๆ และจากกิจกรรมทางการเมืองอ่ืน ๆ

การศกึ ษาศาสนา

มาตรา 15 ความอดทนทางศาสนาความรู้ทัว่ ไปเกี่ยวกับศาสนาและจุดยืนของศาสนาในชีวติ ทางสังคม
จะต้องมคี ณุ ค่าในการศึกษา

1. โรงเรียนท่ีจัดตั้งโดยรฐั บาลระดบั ชาติและระดับท้องถิ่นจะต้องละเวน้ จากการศึกษาทางศาสนาเพ่อื
สนับสนุนศาสนาใดศาสนาหน่ึงและจากกจิ กรรมทางศาสนาอื่น ๆ

218

บทท่ี 3 การบรหิ ารการศกึ ษา
การบรหิ ารการศึกษา

มาตรา 16 การศึกษาต้องไม่อยู่ภายใต้การควบคุมที่ไม่เหมาะสมและจะต้องจัดให้เป็นไปตาม
พระราชบัญญัตินี้และพระราชบัญญัติอืน่ ๆ การบริหารการศกึ ษาต้องดำเนินไปอย่างยุติธรรมและเหมาะสมผ่าน
การแบ่งปนั บทบาทและความร่วมมือท่เี หมาะสมระหวา่ งรฐั บาลระดบั ชาติและระดบั ท้องถิน่

1. รัฐบาลแห่งชาติจะต้องกำหนดและดำเนินมาตรการทางการศึกษาอยา่ งครอบคลุมเพื่อให้มีโอกาสท่ี
เท่าเทียมกนั ทางการศกึ ษาและเพ่ือรกั ษาและเพม่ิ มาตรฐานการศกึ ษาทัว่ ประเทศ

2. รัฐบาลท้องถิ่นจะกำหนดและดำเนินมาตรการทางการศึกษาที่สอดคล้องกับสถานการณ์ในภูมิภาค
เพ่ือสง่ เสรมิ การศกึ ษาในภมู ิภาคของตน

3. รัฐบาลระดบั ชาติและระดับท้องถนิ่ จะต้องดำเนนิ มาตรการทางการคลังที่จำเป็นเพื่อให้แน่ใจว่ามีการ
จัดการศกึ ษาอยา่ งราบรน่ื และตอ่ เนือ่ ง
แผนพ้ืนฐานส่งเสริมการศึกษา

มาตรา 18 เพื่ออำนวยความสะดวกในการดำเนินนโยบายส่งเสริมการศึกษาอย่างครอบคลุมและเป็น
ระบบรฐั บาลต้องจัดทำแผนข้ันพนื้ ฐานที่ครอบคลุมหลักการพนื้ ฐานมาตรการท่ีตอ้ งดำเนนิ การและรายละเอียดอื่น
ใดทจี่ ำเป็นของนโยบายสง่ เสรมิ การศึกษาและจะต้องรายงานเร่ืองนี้ วางแผนทีจ่ ะไดเอทและเปิดเผยต่อสาธารณะ

1. รัฐบาลท้องถิ่นจะปรึกษาแผนที่กำหนดไว้ในย่อหน้าก่อนหน้านี้และพยายามจัดทำแผนพื้นฐานท่ี
สอดคลอ้ งกับสถานการณ์ในภูมภิ าคสำหรับนโยบายส่งเสรมิ การศึกษา

บทที่ 4 การตรากฎหมายและขอ้ บังคบั

มาตรา 18 ตอ้ งตรากฎหมายและขอ้ บงั คับทจ่ี ำเป็นในการดำเนินการตามบทบญั ญตั ิท่ีกำหนดไว้ใน
พระราชบัญญัตินี้ (กองวางแผนและประสานงานนโยบายสำนักนโยบายการเรยี นรู้ตลอดชีวติ )
(อา้ งองิ : กระทรวงศึกษาธกิ ารและวฒั นธรรม. (2549). พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน (พระราชบัญญัติ
ฉบับท่ี 120 วนั ท่ี 22 ธันวาคม 2549). สบื ค้นเม่ือวันท่ี 1 มาี นคม 2564.)

219

สรปุ
กฎหมายการศึกษา

พระราชบญั ญัตฉิ บบั น้ีตราข้นึ เม่อื เพอ่ื มุ่งคมุ้ ครองสิทธิให้แกเ่ ด็กหรอื เยาวชนในด้านการศึกษา โดยเด็ก ทกุ
คนจะต้องไดร้ บั การศึกษาตามหลักสูตรทีก่ ระทรวงกำหนดไว้เป็นมาตรฐาน โดยผู้ปกครองต้องเป็น ผู้รับผิดชอบ
ดูแลหรือในกรณที ี่เดก็ ไม่มผี ปู้ กครองเจา้ หน้าท่ีจะตอ้ งดูแล หากปล่อยปะละเลยจะมีบทลงโทษแก่ผู้ นนั้ นับว่าเป็น
พระราชบัญญัติฉบับหนึ่งของไทยที่คุ้มครองและส่งเสริมสิทธิในด้านการศึกษาอย่างเต็มที่ เนื่อง ด้วยเด็ก
เปรยี บเสมอื นเปน็ กำลังสำคญั ของชาติที่จะต้องเตมิ โตไปเป็นผู้ใหญ่ท่ีดี หากไมไ่ ดร้ บั การศกึ ษาอย่าง ถกู ต้อง เด็กก็
จะไม่มีความรเู้ พ่ือน าไปพัฒนาประเทศชาตแิ ละเลยี้ งตนเอง

กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ ได้กำหนดกรอบการบริหารและการจัดการศึกษาของ เอกชนให้มี
ความเป็นอิสระ โดยมีการกำกับ ติดตามการประเมนิ คุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาจากรัฐ เพ่อื ให้ สถานศึกษา
ของเอกชนทจี่ ดั การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาดำเนนิ กจิ การไดโ้ ดยอิสระ สามารถพัฒนาระบบบริหาร และการจัดการที่
เป็นของตนเอง มคี วามคลอ่ งตวั มีเสรีภาพทางวชิ าการและอยภู่ ายใตก้ ารกำกบั ดูแลของ สภาสถานศึกษา และได้
กำหนดให้มีคณะกรรมการอุดมศึกษา เพื่อทำหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการ
อุดมศึกษาของรัฐและเอกชนรวมทั้งเพื่อเป็นการสนับสนุนสถาบันอุดมศึกษาเอกชนให้ธำรง รักษามาตรฐาน
การศกึ ษาให้เหมาะสมยง่ิ ข้ึน มคี วามมน่ั คงและเอ้ืออำนวยตอ่ การขยายกิจการในการจัดการ อดุ มศึกษาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ

220

เอกสารอา้ งองิ

ภาษาไทย
หนงั สอื
การครุ ุสภาครงั้ ที่ 6/2548 วนั ท่ี 18 เมษายน 2548
กำธร พันธุล์ าภ. (2562). "กฎกระทรวง". สารานกุ รมไทยฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน, (เล่ม 2 : ก-กลากเหล็ก).

(พิมพ์ครง้ั ท่ีสาม). กรุงเทฯ : ไพศาลศลิ ปก์ ารพิมพ.์ หนา้ 27-38.
จิตติ ติงศภัทยิ .์ (2546). กฎหมายอาญา ภาค 1. กรุงเทพมหานคร. เนตบิ ัณฑติ ยสภา.
ดวงพร เพชรคง.(2559). กฎหมายกับการกระทำความผิดของเดก็ และเยาวชน
บวรศกั ดิ์ อุวรรณโณ,กฎหมายมหาชน เล่ม 3 ที่มาและนิติวธิ ี,กรุงเทพ,สำนกั พิมพ์นิติธรรม,พมิ พค์ รง้ั ที่1,2538
ใจจรงิ , ณฐั พล (2556). ขอฝนั ใฝใ่ นฝันอนั เหลือเช่ือ: ความเคล่ือนไหวของขบวนการปฏปิ กั ษป์ ฏิวตั สิ ยาม (พ.ศ.

2475-2500) (1 ed.). ฟ้าเดียวกัน.

ปรีดี หงษส์ ตน้ . “เชอื ดไกใ่ ห้ลงิ ดู: รัฐไทยกับการทำลายศัตรูดว้ ยนาฏกรรม.” วารสารประวตั ิศาสตร์
ธรรมศาสตร์ 1, 2 (ต.ค. 2557-มี.ค. 2558), หน้า 43-99.

ฟ้าดาว ออ่ นกล่ัน.(2535). สทิ ธิเดก็ ตามบทบญั ญัตขิ องรฐั ธรรมนญู
ราชกิจจานุเบกษา ,เลม่ 122 ตอนพิเศษ 35 ง ,หน้า 18
เว็บไซต์
กระทรวงศกึ ษาธิการและวัฒนธรรม. (2549). กฎหมายสำคัญเก่ียวกับการศกึ ษา. สืบคน้ เมื่อวันที่ 9 มาี นคม

2564. จากเว็บไซต์: https://minedu.fi/yleissivistava-koulutus-lainsaadanto
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและวฒั นธรรม. (2549). พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน (พระราชบัญญตั ิฉบับที่ 120

วนั ที่ 22 ธันวาคม 2549). สืบค้นเม่อื วันท่ี 9 มีานคม 2564. จาก
เวบ็ ไซต:์ https://www.mext.go.jp/en/policy/education/lawandplan/title01/detail01/137
3798.htm
คณะกรรมการอสิ ระเพ่ือการปฏริ ปู การศกึ ษา, ปี 2562, แผนการปฏริ ูปประเทศด้านการศกึ ษา. (ออนไลน์). จาก
เวบ็ ไซต:์ http://backoffice.onec.go.th/uploads/Book/1699-file.pdf
ทวเี กยี รติ มนี ะกนิษฐ. ประมวลกฎหมายอาญา ฉบบั อ้างองิ . https://nisaratpalm.wordpress.com/
รวมความเหน็ นักวชิ าการ คดหี ม่ินฯ ร.4.จาก
เว็บไซต:์ https://www.law.cmu.ac.th/law2011/journal/e1473343066.pdf
รศ.ดร.ไพศาล ไกรสิทธิ์, ปี 2562, การปฏริ ูปการศึกษาเปน็ อยา่ งไร (ออนไลน์).จากเวบ็ ไซต์
: https://paisarnkr.blogspot.com/2019/08/blog-post_12.html
รศ.ดร.ไพศาล ไกรสทิ ธิ์, ปี 2562, การปฏิรปู การศึกษาไทยปี พ.ศ. 2517. (ออนไลน)์ ,
จากเว็บไซต์ https://paisarnkr.blogspot.com/2019/08/2517.html

221

สปิ ปนนต์ เกตุทตั , (2545). จากอดีตและปจั จบุ ัน สอู่ นาคตการปฏิรปู การศกึ ษาไทยสู่สงั คมแห่งปัญญาและการ
เรยี นร.ู้ วารสารราชภฏั เพชรบุรี. 10. หนา้ 45-56
จากเว็บไซต์ : https://lib.dpu.ac.th//upload/content/file/pdf_file/10_2_2544.pdf

วชิญ์ รตั นสทุ ธกิ ุล วทิ ยากรชำนาญการและ สริ ินทรา ขวญั สง่า. (2546). กฎหมายด้านการศกึ ษา และท่ี
เกย่ี วขอ้ ง. สบื ค้นเม่อื วันท่ี 9 มีานคม 2564. จาก
เว็บไซต์: https://www.parliament.go.th/ewtcommittee/ewt/edu/download/article/article
_20141126092444.pdf

วนิ ยั และจรรยาบรรณวิชาชพี ครู. สืบคน้ เม่ือวันท่ี 4 มนี าคม 2564. จากเวบ็ ไซต์ :
http://1.179.134.197/TEPE/A23/subject03/content4/index.php

ศนู ย์บริหารกฎหมายสาธารณสุขกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข . จากเว็บไซต์ :
http://laws.anamai.moph.go.th/index.htm

222

บทที่ 9

การเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ี มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม เปน็ พลเมอื งท่เี ขม้ แข็ง ดำรงตนให้เป็นที่

เคารพศรัทธาของผเู้ รยี นและสมาชกิ ในชมุ ชน

ความหมายคณุ ธรรม

พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ใหค้ วามหมายวา่ คุณธรรม หมายถึง"สภาพคุณงามความดี"
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ยุตโต) (2540:14) ได้กล่าวว่าคุณธรรมเป็น ภาพของจิตใจกล่าวคือคุณสมบัติท่ี

เสรมิ สรา้ งจติ ใจให้ดงี าม ใหเ้ ปน็ จิตใจท่สี งู ประณีตและประเสริฐ เชน่ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา จาคะ
พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร ธมมจิตโต)(2538:15-16) กล่าวว่า คุณธรรมคือคุณสมบัตทิ ี่ดีของจิตใจ ถ้า

ปลกู ฝงั เรอื่ งคณุ ธรรมได้จะเป็นพืน้ ฐานจรรยาบรรณ
วศนิ อินทสระ (2541: 106,113) กลา่ วตามหลักจรยิ ศาสตร์วา่ คณุ ธรรม คอื อปุ นสิ ยั อนั ดงี ามซึ่งส่ังสมอยู่

ในดวงจติ อปุ นสิ ัยอันนไ้ี ดม้ าจากความพยายามและความประพฤติตดิ ต่อกนั มาเปน็ เวลานาน
พระวจิ ติ รธรรมาภรณ์ (2558) กล่าววา่ คณุ ธรรม คอื ความดีงามท่ถี ูกปลูกฝงั ขน้ึ ในจิตใจ มีความกตัญญู

ขยัน ประหยดั ซ่ือสตั ย์ สามัคคี มีวนิ ยั มีน้ำใจ และ เป็นสุภาพชน เป็นต้น จนเกิดจติ สำนกึ ท่ดี ี รู้สึกรับผดิ ชอบ ช่ัว
ดี เกรงกลวั ตอ่ การกระทำความช่วั โดยประการต่างๆ เม่ือจิตเกดิ คุณธรรมขน้ึ แลว้ จะทำให้เปน็ ผมู้ ีจิตใจดี และคิด
แต่ส่งิ ทด่ี ี จงึ ไดช้ อ่ื วา่ "เปน็ ผ้มู คี ณุ ธรรม"

จะเห็นว่าคุณธรรม หมายถึง หลักของความดี ความงาม ความถูกต้องในการแสดงออกทั้งกาย วาจา ใจ
ของแตล่ ะบุคคลซึง่ ยึดมนั่ ไว้เป็นการประพฤตปิ ฏิบัติจนเกดิ เป็นนิสัยซงึ่ อาจสง่ ผลให้การอยูร่ ่วมกันในสังคมอย่างมี
ความสุขจะทำใหเ้ กิดประโยชน์ตอ่ ตนเองและสังคม

คุณธรรม (Morality /Virtue)และจริยธรรม (Ethic) เป็นคำศัพท์ที่มีความหมายใกล้เคียงกันทั้งใน
ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ตามท่ีบัญญัตไิ วใ้ น (พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน,2552)
"คณุ ธรรม" หมายถงึ สภาพคุณงามความดี เปน็ สภาพคุณงามความดีทางความประพฤติและจิตใจ ซึง่ สามารถแยก
ออกเปน็ 2 ความหมาย คอื

1. ความประพฤติดีงาม เพื่อประโยชน์สุขแก่ตนและสังคม ซึ่งมีพื้นฐานมาจากหลักศีลธรรมทางศาสนา
คา่ นิยมทางวฒั นธรรม ประเพณี หลักกฎหมาย จรรยาบรรณวชิ าชีพ

2. การรู้จักไตร่ตรองว่าอะไรควรทำ ไม่ควรทำ และอาจกล่าวได้ว่า คุณธรรม คือจริยธรรมแต่ละข้อท่ี
นำมาปฏบิ ัตจิ นเปน็ นิสัย เช่น เปน็ คนชื่อสตั ย์ เสยี สละ อดทน มีความรับผดิ ชอบ

นอกจากน้ี ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ พ.ศ.2550 ลงวันท่ี 13
กรกฎาคม พ.ศ.2550 " ซ่ึงได้ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เมือ่ วันที่ ๒5 กรกฎาคม 2550 ได้กำหนดความหมาย
ของ "คุณธรรม" วา่ หมายถงึ สิ่งทีม่ ีคณุ ค่า มีประโยชน์ เป็นความดงี าม เปน็ มโนธรรม เป็นเคร่อื งประคับประคอง

223

ใจใหเ้ กลยี ดความชวั่ กลัวบาป ใฝ่ความดี เป็นเคร่ืองกระตุน้ ผลักดนั ให้เกิดความรู้สกึ รับผิดชอบ เกิดจิตสำนึกที่ดีมี
ความสงบเย็นภายใน เป็นส่งิ ที่ต้องปลกู ฝงั โดยเฉพาะเพอื่ ใหเ้ กดิ ขน้ึ และเหมาะสมกับความต้องการในสังคมไทย

สทุ ัศน์พงษ์ กุลบุตร. (2550) กระทวงศกึ ษาธิการ ไดป้ ระกาศนโยบายเร่งรดั การปฏริ ูปการศึกษา โดยยืด
คณุ ธรรมนำความรู้ สร้างความตระหนักสำนึกในคณุ คำของปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ความสมานฉันท์ สนั ตวิ ิธี วถิ ี
ประชาธิปไตย พัฒนาคนโดยใช้คุณธรรมเปน็ พ้ืนฐานของกระบวนการเรียนรู้ท่ีเช่ือมโยง ความร่วมมือของสถาบัน
ครอบครวั ชุมชน สถาบันศาสนา และสถาบันการศึกษา โดยมจี ุดเน้นเพ่ือพัฒนาเยาวชนใหเ้ ป็นคนดี มีความรู้ และ
อยู่ดีมีสขุ

ดังนั้น เพื่อให้การขับเคลื่อนดังกล่าวมีความชัดเจน เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และสามารถนำไปสู่การ
ปฏิบตั ิไดอ้ ย่างเปน็ รปู ธรรมด้วย "คุณธรรมพ้ืนฐาน 8 ประการ" ที่ควรเรง่ ปลูกฝังแก่ผ้เู รยี น ดงั นี้

1. ขยนั คอื ความต้งั ใจเพยี รพยายามทำหน้าท่ีการงานอยา่ งต่อเน่ือง สม่ำเสมอ อดทนไม่ท้อถอยเมื่อพบ
อุปสรรค ความขยันต้องควบคูก่ ับการใช้ปัญญา แก้ปัญหาจนเกิดผลสำเร็จตามความมุ่งหมายผู้ที่มีความขยัน คือ
ผทู้ ี่ต้งั ใจทำอย่างจริงจงั ต่อ เน่ืองในเร่อื งทถี่ ูกท่ีควร เปน็ คนสู้งาน มีความพยายาม ไมท่ ้อถอย กล้าเผชิญอุปสรรค
รักงานท่ีทำ ต้งั ใจทำหน้าที่อยา่ งจริงจงั

2. ประหยดั คอื การรจู้ ักเก็บออม ถนอมใช้ทรพั ยส์ ิน สิ่งของใหเ้ กิดประโยชน์ค้มุ คา่ ไม่ฟ่มุ เฟอื ยฟุ้งเฟ้อ ผู้
ท่ีมคี วามประหยัด คือ ผทู้ ด่ี ำเนินชีวติ เรียบงา่ ย รู้จกั ฐานะการเงินของตน คดิ กอ่ นใช้ คิดก่อนซอื้ เก็บออม ถนอมใช้
ทรพั ย์สนิ ส่ิงของอย่างคมุ้ คา่ รู้จักทำบญั ชรี ายรับ-รายจา่ ยของตนเองอยูเ่ สมอ

3. ซือ่ สตั ย์ คอื ประพฤติตรง ไม่เอนเอียง ไม่มเี ลห่ ์เหลี่ยม มีความจรงิ ใจ ปลอดจากความร้สู กึ ลำเอียงหรือ
อคติ ผู้ทม่ี คี วามซ่อื สตั ย์ คือ ผูท้ ี่มีความประพฤติตรง ทั้งตอ่ หนา้ ที่ ต่อวชิ าชีพ ตรงต่อเวลา ไมใ่ ช้เล่ห์กล คดโกง ทั้ง
ทางตรงและทางออ้ ม รับรหู้ น้าท่ีของตนเองและปฏิบตั อิ ย่างเตม็ ทถ่ี ูกตอ้ ง

4. มีวินัย คือ การยึดมั่นในระเบียบแบบแผน ข้อบังคับ และข้อปฏิบัติ ซึ่งมที ัง้ วนิ ัยในตนเองและวินัยตอ่
สังคม ผู้ทีม่ ีวินัย คือ ผูท้ ปี่ ฏบิ ัตติ นในขอบเขต กฎระเบียบของสถานศึกษา สถาบัน/องคก์ ร/สังคมและประเทศ โดย
ท่ตี นเองยนิ ดปี ฏิบตั ิตามอย่างเต็มใจและตงั้ ใจ

5. สุภาพ คือ เรียบรอ้ ย ออ่ นโยน ละมุนละมอ่ ม มกี ริ ิยามารยาททด่ี งี าม มีสัมมาคารวะ ผู้ท่ีมีความสุภาพ
คือ ผู้ที่อ่อนน้อมถ่อมตนตามสถานภาพและกาลเทศะ ไม่ก้าวร้าว รุนแรง วางอำนาจข่มผู้อื่น ทั้งโดยวาจาและ
ทา่ ทาง แต่ในเวลาเดียวกนั ยังคงมีความมนั่ ใจในตนเอง เปน็ ผทู้ ม่ี มี ารยาท วางตนเหมาะสมตามวัฒนธรรมไทย

6. สะอาด คือ ปราศจากความมัวหมอง ทั้งกาย ใจ และสภาพแวดลอ้ ม ความผ่องใส เป็นที่เจริญตา ทำ
ให้เกิดความสบายใจแก่ผู้พบเห็น ผู้ที่มีความสะอาด คือ ผู้รักษาร่างกาย ที่อยู่อาศัย สิ่งแวดล้อมถูกต้องตาม
สุขลกั ษณะ ฝึกฝนจิตใจมิใหข้ ุ่นมวั มีความแจ่มใสอยู่เสมอ

7. สามัคคี คือ ความพร้อมเพรียงกัน ความกลมเกลียวกัน ความปรองดองกัน ร่วมใจกันปฏิบัติงานให้
บรรลุผลตามท่ีต้อง การเกิดงานการอยา่ งสร้างสรรค์ ปราศจากกรทะเลาะววิ าท ไม่เอารดั เอาเปรยี บกัน เป็นการ
ยอมรับความมเี หตุผล ยอมรบั ความแตกตา่ งหลากหลายทางความคดิ ความหลากหลายในเร่ืองเชอื้ ชาติ ความกลม
เกลียวกนั ในลักษณะเชน่ น้ี เรียกอกี อยา่ งวา่ ความสมานฉันท์

224

8. มีน้ำใจ คือ ความจริงใจที่ไม่เห็นแก่เพียงตัวเองหรือเรื่องของตัวเอง แต่เห็นอกเห็นใจ เห็นคุณค่าใน
เพอื่ นมนุษย์ มคี วามเอ้ืออาทร เอาใจใส่ ให้ความสนใจในความต้องการ ความจำเปน็ ความทกุ ข์สุขของผู้อ่ืน และ
พร้อมที่จะให้ความช่วยเหลอื เก้ือกูลกันและกนั ผู้ท่ีมีน้ำใจ คอื ผู้ใหแ้ ละผู้อาสาช่วยเหลือสงั คม

อา้ งอิง : https://www.thaisuprateacher.org

คุณธรรมสำหรบั ครู

คณุ ธรรม (Virtue หรอื Morality) เป็นสภาพคุณงามความดีที่อยู่ประจำใจของแต่ละคนเปน็ ความรู้สึกผิด
ชอบชั่วดี ท่ีเกดิ ขน้ึ จากการเรียนรู้ การวเิ คราะห์ พิจารณาไตรต่ รองแลว้ พบว่าสิง่ ใดดี สง่ิ ใดไม่ดี สง่ิ ใดควรปฏบิ ัติ ส่ิง
ใดไมค่ วรปฏบิ ตั ิ สง่ิ ใดถูกตอ้ ง สิ่งใดไม่ถูกตอ้ ง เปน็ ตน้ เม่อื พจิ ารณาไตร่ตรองแลว้ จงึ นำมาปฏิบัติในชีวิตประจำวัน
เพื่อให้ชีวิตดำเนินไปอย่างถูกต้อง มีความสุขและยุติธรรม เรามักพบเสมอว่า คนที่มีคุณธรรมจะรักษาความ
ยุติธรรม และมีเมตตาต่อคนอื่นเสมออาชีพครูได้รับการยกย่องว่าเป็นวิชาชีพชั้นสูง เช่น เดียวกับผู้ที่ประกอบ
อาชีพแพทย์ ทนายความ

ดงั นัน้ คนเป็นครูคงไมใ่ ช่เป็นเพยี งเรือจา้ ง มหี นา้ ทีน่ ำพาศิษย์ ข้ามไปสฝู่ ังฝนั อยา่ งปลอดภยั เท่านนั้ (ทำให้
ศษิ ยซ์ ่ึงเป็นผูท้ ไ่ี ม่รู้ ให้เปน็ ผูร้ ู้ ผูต้ น่ื ผ้เู บิกบาน) ครใู นยุดน้ีต้องเปน็ คนทที่ ันโลก ทนั สมัย ทนั เทคโนโลยี และทนั การ
เปลยี่ นแปลง เปน็ ครอู าชพี ไม่ใชอ่ าชีพครู ดงั คำกลา่ วท่ีพลเอกเปรม ติณสลานนท์ ประธานองคมนตรีและรัฐบุรุษ
กลา่ ววา่ "ครูอาชพี คือ ครูทีเ่ ป็นครูด้วยใจรัก เปน็ ครดู ว้ ยจติ และวญิ ญาณ มคี วามเปน็ ครทู กุ ลมหายใจตั้งแต่เกิดจน
ตาย เป็นครูที่รักและหวงแหน ห่วงใยอาทรต่อนกั เรียน ต่อศิษย์ดุจลูกในไส้ของตน จะทำทุกวิถีทางที่จะให้ศิษย์
เป็นคนดี ไม่ยินยอมให้ศิษย์เป็นคนไม่ดีเป็นอันขาด จะติดตามสอดส่องศิษย์ทุกเมื่อเชื่อวันโดยไม่ละทิ้ง และมี
ความสขุ มากในการที่ได้เกดิ มาเปน็ ครู รักเกียรตเิ ทดิ ทูนสถาบันครอู ย่างภาคภูมิใจ ในขณะท่ี อาชพี ครู คือคนท่ีมา
ยึดการเปน็ ครอู าชีพเพอ่ื ใหไ้ ด้คา่ ตอบแทน ขาดจติ วิญญาณของความเป็นครู ซึ่งขณะนีค้ รขู องไทยมีลักษณะอาชีพ
ครูเป็นจำนวนมาก ถา้ ไมไ่ ดร้ บั การแกไ้ ขจะเปน็ เงอ่ื นไขทีจ่ ะทำลายความหวงั ของการปฏิรูปการศกึ ษา เพราะครูคือ
ความหวังทจี่ ะนำสู่ความสำเรจ็ ของการปฏริ ูปการศึกษา"

นอกจากจะต้องเป็นครูอาชีพแล้ว ครูต้องมีบทบาทหน้าที่ที่สำคัญในการอบรมสั่งสอนศิษย์ให้เป็นคนดี
คนเกง่ และมีความสุข บทบาทหน้าทนี่ ้ี รองศาสตราจารย์ รังสรรค์ แสงสขุ อดีตอธิการบดีมหาวทิ ยาลยั รามคำแหง
กลา่ ววา่ ครตู ้องเป็นผู้ให้ ผเู้ ดมิ เตม็ และผมู้ เี มตตา คือ

ครคู ือผ้ใู ห้ ใหโ้ อกาส ให้ความคิด ให้ชีวิต ให้อภัย
ครูคือผู้เติมเตม็ เตม็ ความรู้ เต็มประสบการณ์ เต็มสตปิ ัญญา

225

ครูคือผมู้ เี มตตา ตอ่ ศษิ ย์ ต่อญาติ ตอ่ มติ ร ตอ่ ศัตรู
ครูที่จะเป็นครูอาชีพ เป็นผู้ให้ ผู้เติมเต็ม และผู้มีเมตตา ทำหน้าที่อบรม สั่งสอน ฝึกฝนศิษย์ให้เป็นคนดี
มีความรู้ อยู่ในสงั คมได้อยา่ งมีความสขุ นั้น จำเป็นตอ้ งมีคณุ ธรรมประจำตน ในเร่ือง คณุ ธรรม ๔ ประการ ฆราวาส
ธรรม สปั ปรุ ิสธรรม 7 และหริ ิ โอตตัปปะ ดงั น้ี

1. คณุ ธรรม 4 ประการ

ผู้ที่ประกอบอาชีพครูต้องน้อมนำพระราชดำรัสในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเม่ือคราวเสดจ็ พระราช
ดำเนินทรงประกอบพระราชพธิ ีบวงสรงสมเด็จพระบรู พมหากษัตรยิ าธิราชพระราชพธิ ีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60
ปี เมือ่ วนั ที่ 9 มิถุนายน 2445 ความวา่

คุณธรรม ซึ่งเป็นท่ีตั้งของความรักความสามคั คี ที่ทำให้คนไทย เราสามารถร่วมมือร่วมใจกนั รกั ษา และ
พัฒนาชาติบ้านเมืองให้เจริญรุ่งเรืองสืบต่อกันไปได้ตลอดรอดฝั่ง ประการแรก คือการที่ทุกคนคิดพูด ทำ ด้วย
ความเมตตามุ่งดีมุ่งเจรญิ ตอ่ กนั ประการท่ีสอง คอื การท่แี ต่ละคนต่างช่วยเหลือเก้ือกูลกนั ประสานงาน ประสาน
ประโยชน์กันให้งานที่ทำสำเร็จผล ทั้งแก่ตน แก่ผู้อื่น และกับประเทศชาติ ประการที่สาม คือ การที่ทุกคน
ประพฤติปฏิบตั ิคนอยู่ในความสุจริตในกฎกติกาและในระเบียบแบบแผน โดยเท่าเทียมเสมอกัน ประการที่สี่ คือ
การที่ต่างคนต่างพยายามทำความคิด ความเห็นของคนให้ถูกต้องเที่ยงตรง และมั่นคงอยู่ในเหตุในผล หาก
ความคดิ จิตใจและการประพฤตปิ ฏิบัติทล่ี งรอยเดียวกันในทางท่ีดี ท่ีเจรญิ น้ี ยังมพี รอ้ มมูลในกายในใจของคนไทย
กม็ ั่นใจไดว้ า่ ประเทศชาตไิ ทย จะดำรงม่ันดงอยตู่ ลอดไปได้ จึงขอให้ทา่ นทงั้ หลายในมหาสมาคมนี้ท้ังประชาชนชาว
ไทยทุกหมเู่ หล่า ได้รักษาจิตใจและคุณธรรมน้ีไว้ใหเ้ หนยี วแน่น และถา่ ยทอดความคิดจิตใจนก้ี ันต่อไปอย่าให้ขาด
สายเพอื่ ให้ประเทศชาตขิ องเราดำรงยืนยงอยู่ด้วยความรม่ เย็นเปน็ สขุ ทั้งในปจั จบุ ันและในภายหนา้ "

2. มราวาสธรรม 4

หลักธรรมสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพครูที่จะไร้ยึดถือเป็นคุณธรรมพื้นฐานของจิตใจ ในการครองชีวิต
ครองเรือนให้ประสบความสขุ สมบรู ณ์ และเปน็ แบบอยา่ งทด่ี แี กบ่ ุคคลทัง้ หลายประกอบดว้ ยธรรม 4 ประการ คือ

2.1 สัจจะ หมายถึง ความซื่อสัตย์ จริงใจต่อกัน ผู้ประกอบวชิ าชีพดรูจำเป็นต้องอยูร่ ่วมกับบุคคลอื่นใน
สังคม การทจี่ ะให้ผ้รู ว่ มงานเกดิ ความไวว้ างใจ และมไี มตรีจิตสนิทต่อกันจำเปน็ ตอ้ งเปน็ คนที่มีความซอื่ สตั ย์ จริงใจ
ต่อกัน ถ้าไม่มีสัจจะเมื่อใดย่อมเป็นเหตุให้เกิดความหวาตระแวงแคลงใจกันเป็นจุดเริ่มตันแห่งความร้าวฉาน ซงึ่
ยากนกั ทจ่ี ะประสานให้คืนดีได้ดังเดมิ

2.2 ทมะ หมายถึง การรู้จักบังคับควบคุมอารมณ์ ข่มใจระงับความรู้สึกต่อความผิดพลาความบกพร้อง
ของตนเองและผูอ้ ่นื ผู้ท่จี ะเปน็ ครทู ด่ี ตี ้องรจู้ ักฝึกฝน แกไ้ ขข้อบกพร่องปรบั ปรงุ ลักษณะนสิ ยั ส่วนตน ไม่เป็นคนด้ือ
ด้านเอาแจและอารมณ์ของตนเองเป็นสำคัญ ถ้าผู้ที่ประกอบวิชาชีพครูขาดหลักธรรมขอ้ นี้ จะกลายเป็นคนที่ไม่
สามารถควบคมุ ตนเองได้ เปน็ ผ้ทู ีไ่ ม่มคี วามฉลาดทางอารมณ์ (Emotional quotient) ไม่สามารถจัดการอารมณ์
ความรู้สึกของตนเองทำใหข้ าดสัมพนั ธภาพทีด่ ีตอ่ ผรู้ ่วมงาน

2.3 ขันติ หมายถึง ความอดทน อดกลนั้ ตอ่ ความยากลำบาก ความเลวร้ายอุปสรรคทัง้ ปวง ทีเกิดข้ึนท้ัง
ตอ่ ตนเองและการปฏบิ ตั ิงานในหน้าท่ี การอยู่รว่ มกับคนหม่มู ากยอ่ มมกี ารกระทบกระทงั่ กนั บ้าง ทั้งเรอ่ื งความคิด
ความเชื่อ ทศั นคติ การกระทำตา่ ง ๆ มีเหตุลว่ งเกนิ กนั อย่างรนุ แรง ซงึ่ อาจจะเป็นถ้อยคำหรอื กิริยาอาการ จะโดย

226

ตง้ั ใจหรือไมก่ ็ตาม ก็ต้องรจู้ ักอดกลนั้ ระงับใจ ไมก่ อ่ เหตใุ ห้เร่ืองลกุ ลามกว้างขยายต่อไป นอกจากนี้ ยังต้องมีความ
อดทนต่อความยากลำบากในการประกอบงานอาชพี โดยเฉพาะเมื่อเกิดความผิดพลาด ความบกพร่อง ความไม่
เข้าใจไม่กา้ วหนา้ กต็ อ้ งไม่ตโี พยตพี าย แตม่ สี ติอดกล้ัน คิดหาอุบาย ใชป้ ญั ญาหาทางแกไ้ ขสถานการณ์เหตุการณ์
ต่าง ๆ ให้ลลุ ว่ งไปดว้ ยตี

2.4 จาคะ หมายถึง ความเสียสละ มีน้ำใจ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ แบ่งปันกัน การอยู่ร่วมกัน ในสังคมถ้าครูมี
ความเห็นแก่ตัว คอยจอ้ งแตจ่ ะเป็นผรู้ ับ เอาแตป่ ระโยชน์ใสต่ วั โดยไมค่ ำนึงถึงคนอน่ื กจ็ ะเปน็ คนที่ไม่มีความสุข ไม่
มีเพื่อน ไม่มีคนคบค้าสมาคมด้วย การจะเป็นคนท่ีได้รับการยอมรับ เป็นที่รักของเพื่อน ๆ จะต้องรู้จกั ความเป็น
ผู้ให้ด้วย การให้มีใช่หมายถึงแต่เพียงการเอื้อเฟื้อ เผ่ือแผ่ แบ่งปันทรัพย์ สิ่งของซึ่งมองเห็นและเข้าใจได้ง่ายๆ
เท่านั้น แต่ยังหมายถงึ การให้น้ำใจแกก่ ันและกนั ดว้ ย

3. สัปปรุ สิ ธรรม 7

คุณธรรมนี้เหมาะสำหรับครูเป็นอย่างยิ่ง เพราะจะช่วยให้เป็นคนสมบูรณ์แบบหรือคนที่สมบูรณ์พร้อม
สง่ ผลใหม้ ีความเช่อื ม่นั เปน็ ผูน้ ำ สอนสั่งลูกศษิ ย์ให้มชี วี ิตทีเ่ ปน็ สขุ ไดน้ อกจากน้ยี ังใช้เป็นหลักช่วยในการพิจารณา
วา่ บุคคลใดเปน็ คนดหี รือไมด่ ไี ด้อีกด้วย คนดตี ้องมี คุณสมบตั ิ 7 ประการ ดงั นี้

3.1 ธมั มัญญตุ า รหู้ ลักและร้จู กั เหตุ รหู้ ลักการและกฎเกณฑข์ องส่งิ ทัง้ หลายทตี่ นเข้าไปเก่ียวข้องในการ
ดำเนินชวี ติ ในการปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีและดำเนนิ กจิ การต่าง ๆ รเู้ ข้าใจสงิ่ ทีต่ นจะตอ้ งประพฤติปฏิบตั ิตามเหตุผล เช่น รู้
วา่ ตำแหนง่ ฐานะ อาชีพการงานของตนเองเป็นอย่างไร มหี น้าท่ีและความรับผดิ ชอบอย่างไร นอกจากน้ียังต้องรู้
หลักความจริงของธรรมชาติว่า"ของหลกั การท่ีตนปฏิบตั ิ เข้าใจวตั ถปุ ระสงคข์ องานท่ีตอ้ งปฏิบตั ิ รวู้ า่ สง่ิ ที่ตนทำอยู่
ดำเนินชีวิตอยนู่ ั้น เพอื่ ประโยชน์อะไร หรอื ควรจะไดร้ ับอะไร การทำงานตามหนา้ ที่ ตำแหนง่ ฐานะการงานอย่าง
นัน้ ๆ เขากำหนดวางกันไวเ้ พื่อความมงุ่ หมายอะไร งานทตี่ นทำอยขู่ ณะน้เี มอื่ ทำไปแล้วจะบังเกิดผลอะไรบ้างเป็น
ผลดหี รอื ผลเสียอยา่ งไรเป็นต้น

3.2 อัตถัญญุตา รู้จักผล ความรู้จักอรรถ รู้ความมุ่งหมาย หรือ รู้จักผล คือ รู้ความหมาย รู้ความมุ่ง
หมาย รู้ประโยชน์ที่ประสงค์ รู้จักผลที่จะเกิดขึ้นสืบเนื่องจากการกระทำหรือความเป็นไปตามหลัก เช่น รู้ว่า
หลกั ธรรมหรอื ภาษิตขอ้ นัน้ ๆ มคี วามหมายว่าอย่างไร หลกั นั้นๆ มคี วามมุ่งหมายอย่างไร กำหนดไว้หรือพึงปฏิบัติ
เพื่อประสงคป์ ระโยชน์อะไร การท่ีตนกระทำอยูม่ ีความม่งุ หมายอย่างไร เมอ่ื ทำไปแลว้ จะบังเกดิ ผลอะไรบ้างดังน้ี
เป็นต้น

3.3 อัตตัญญุตา รู้จักตน ความรู้จักตน คือ รู้ว่าตัว เรานั้น ว่ามีสถานภาพเป็นอะไร ฐานะ ภาวะ เพศ
กำลัง ความรู้ ความสามารถ ความถนดั และคณุ ธรรม เป็นตน้ วา่ ขณะน้ี เทา่ ไร อยา่ งไร แล้วประพฤติใหเ้ หมาะสม
และรู้ทจ่ี ะแกไ้ ขปรบั ปรุงตอ่ ไป

3.4 มัตตญั ญุตา รจู้ ักประมาณ ความรจู้ กั ประมาณ คือ ความพอดี เช่น ภิกษรุ จู้ ักประมาณในการรบั และ
บริโภคปัจจัยสี่ คฤหัสถร์ ูจ้ ักประมาณในการใช้จ่ายโภคทรพั ย์ นักเรยี นร้จู กั ประมาณ กำลังของตนเองในการทำงาน
รัฐบาลรจู้ กั ประมาณการเก็บภาษแี ละการใช้งบประมาณในการบรหิ ารประเทศ เป็นตน้

5. กาลัญญุตา รู้จักกาล ความรู้จักกาล คือ รู้กาลเวลาอันเหมาะสม และระยะเวลาที่จะต้องใช้ในการ

ประกอบกิจ กระทำหนา้ ท่ีการงาน เช่น ใหต้ รงเวลา ใหเ้ ปน็ เวลา ใหท้ นั เวลา ใหพ้ อเวลา ใหเ้ หมาะเวลา เปน็ ต้น

227

6. ปริสัญญุตา รู้จักชุมชน ความรู้จักบริษัท คือ รู้จักกลุ่มบุคคล รู้จักหมู่คณะ รู้จักชุมชน และรู้จักท่ี
ประชุม รู้กิริยาที่จะประพฤติตอ่ ชุมชนนั้นๆ ว่า ชุมชนนี้เมื่อเข้าไปหา ต้องทำกิริยาหรือปฏิบัติแบบนี้ จะต้องพูด
อย่างไร ชมุ ชนนคี้ วรสงเคราะหอ์ ย่างไร เป็นตน้

7. ปุคคลปโรปรัญญุตา รู้จักบุคคล ความรู้จักบุคคล คือ ความแตกต่างแห่งบุคคลว่า มีอัธยาศัย มี
ความสามารถ มีคุณธรรม เปน็ ต้น ผูใ้ ดหย่ิงหรอื หย่อนอย่างไร และรูท้ ี่จะปฏิบัติต่อบคุ คลน้นั ๆ ด้วยดี วา่ ควรจะคบ
หรือไม่ จะใช้ จะตำหนิ หรือยกย่อง และแนะนำส่ังสอนอยา่ งไร เป็นตน้

4. หิริ โอตตัปปะ

หลกั ธรรมนี้เมอ่ื ผู้ท่ีประกอบอาชีพครูปฏิบัตแิ ลว้ จะช่วยให้อย่รู ่วมกนั ในสังคมโลกได้อย่างสันติสุข ถือว่า
เป็นคณุ ธรรมท่ีใช้คำ้ จนุ คมุ้ ครองโลกให้มีความสุขได้นน่ั เอง ก่อนอน่ื คงตอ้ งทำความเข้าใจความหมายของคำสอง
คำนกี้ อ่ น คอื

หิริ แปลว่า ความละอายแก่ใจ, ความละอายในการประพฤติชั่ว
โอตตัปปะ แปลว่า ความเกรงกลัวต่อผลการทำชั่ว, ความหวาดกลัวต่อผลชั่วไม่กล้าทำเหตุชั่วต่อไปอีก
(เกษม วัฒนชยั ฒ,2549,167) เสนอแนะเง่ือนไขสู่การมี หิริ โอตตัปปะไว้ ดังนี้
1. ตอ้ งรจู้ ักแยก "ผดิ ชอบชว่ั ด"ี
2. ชอ่ื ในผลของความผิด-ชว่ั ชอบ-ดี
3. จักเลือก "ทางท่ีชอบ-ท่ีด"ี และยดึ มนั่ ปกปอ้ งในความถกู ตอ้ งเทยี่ งธรรม
4. ปฏเิ สธและไมย่ อมรบั "ทางผิด-ทางชัว่ "
5. หริ ิ-โอตตัปปะเปน็ หลักคดิ เป็นแนวทางในการตดั สนิ ใจอยา่ งมีสติ
สมศักด์ิ คลประสิทธ์ิ (อ้างใน ปราชญา กล้าผจัญ, 2549, 41) ได้เสนอแนะเส้นทางที่จะพัฒนาจิตใจสู่
คุณธรรมอย่างแทจ้ ริง ไวด้ ังน้ี
1. ประกอบอาชพี สุจริต (เปน็ มืออาชพี )
2. ฝกึ นิสยั การประหยดั อดออม ทั้งคนจน คนรวย และคนเคยรวย
3. ปรับพฤติกรรมการบริโภค โดยเน้นจิตสำนึกในการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด โดยเฉพาะ
สาธารณปู โภค
4. เสียภาษี และรว่ มกจิ กรรมพฒั นาชมุ ชนของตนเอง
5. เผยแพรว่ ฒั นธรรมไทย เอ้อื เฟ้ือ และสร้างความประทับใจแก่ผู้มาเยือน
6. อดทน และมงุ่ มั่นในการประกอบอาชีพอยา่ งสจุ ริต
7. บรโิ ภคแตส่ งิ่ ท่ีจำเปน็ ตอ่ ร่างกาย และออกกำลังกายด้วยการเลน่ กีฬาที่ประหยดั
8. ปฏิบัตติ นให้สอดคล้องกบั บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนญู
ดังนัน้ การแสดงถงึ ความเป็นผู้ที่มีคุณธรรมของผู้ประกอบวิชาชีพครูจึงต้องมคี วามมุ่งมั่นในการประกอบ

อาชีพอย่างซอ่ื สัตย์ สจุ รติ อดทนอดกลั้น คดิ พจิ ารณาและตัดสินใจอยา่ งมสี ติ

228

คุณธรรมตามหลกั ศาสนา

ศาสนาพทุ ธ
พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) (2547, น. 21-22) ไดร้ ะบวุ า่ คนมีศลี ธรรมหรือมีมนษุ ยธรรมท่ีเรียก

ได้ว่าเป็นอารยชน เป็นผู้มีธรรม 10 ข้อ เรียกว่า กุศลธรรมบถ (ทางทำกรรมดี) หรือธรรมจริยาซึ่งจัดเป็นอารย
ธรรมท่คี รบถว้ นสมบรู ณโ์ ดยทำใหค้ นเจรญิ ข้ึนพรอ้ มทัง้ ทางกาย ทางวาจา ทางใจ

ศาสนาครสิ ต์
หลกั คณุ ธรรมจริยธรรมสาํ คัญของศาสนาครสิ ต์ คือ ความรกั ซึ่งมี 2 ลักษณะ คอื ความรกั ในพระเจ้าซ่ึง

เป็นความรักทีแ่ ท้จรงิ สูงสุด และความรักในเพื่อนมนุษย์ การปฏิบตั ิความรักแท้จะตอ้ งกระทำ (จินตนา ยูนิพันธุ์,
2548, น. 360)

ศาสนาอิสลาม
คุณธรรมในศาสนาอสิ ลาม หมายถงึ การที่มนษุ ยเ์ คารพภกั ดีตอ่ อัลลอฮ์เสมอื น หนึง่ วา่ มองเหน็ พระองค์

การมีคุณธรรมจึงหมายถึงการที่มุสลิมทุกคนจะต้องตระหนักว่าการดําเนินชีวิตของตนทุกอิริยาบถ และทุกการ
กระทําของตนพงึ อย่รู ะหวา่ งการภักดี การระลกึ ถึงพระองค์กระทําไดห้ ลายวิธี (จินตนา ยูนิ พนั ธุ์, 2548, น. 361)

ศาสนาซกิ ข์
(จินตนา ยูนิพนั ธ์ุ, 2548, น. 361)หลกั คำสอนท่สี ำคัญของศาสนาซกิ ข์เพ่ือบรรลุจุดม่งุ หมายสงู สดุ คือ

การเข้าถึงสขุ อนั เป็นนริ ันดห์ รอื นิรวาณ ประกอบด้วยหลกั 5 ประการได้แก่
1. ธรัมขณั ฑ์ คือ การประกอบกรรมดี
2. คอิ านขัณฑ์ คือ การมปี ัญญา
3. สรนั ขัณฑ์ คอื ความปตี อิ มิ่ เอบิ ใจในธรรม
4. กรมั ขัณฑ์ คอื การมีกำลงั จติ แนว่ แน่มัน่ คงไม่หวาดกลัว
5. สจั ขณั ฑ์ คอื การเขา้ ถงึ สจั จะ หรือการหลอมรวมเป็นอันหนึง่ อนั เดียวกบั พระผ้เู ป็นเจา้

จริยธรรม

ความหมายของจริยธรรม

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2556,น.303) ให้ความหมายจริยธรรมไว้ว่า จริยธรรม หมายถึง
ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ ศีลธรรม กฎศีลธรรม ซึ่งก็คือกฎเกณฑ์ความประพฤติของมนุษย์ ซึ่งเกิดขึ้นจาก
ธรรมชาติของมนุษย์เอง ความเป็นผู้มีปรีชาญาณ (ปัญญาและเหตุผล) ทำให้มนุษย์มีมโนธรรม รู้จักแยกแยะ
ความถูก ผดิ ควร ไมค่ วร โดยจรยิ ธรรมมลี ักษณะ 4 ประการ คือ

1. การตัดสินทางจริยธรรม (Moral Judgement) บุคคลจะมีหลกั การของตนเอง เพื่อตัดสินการกระทำ
ของผู้อื่น

2. หลักการของจริยธรรมและการตัดสินตกลงใจเป็นความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นในตัวบุคคลก่อนที่จะ
ปฏบิ ตั กิ ารต่างๆ ลงไป

229

3. หลักการทางจริยธรรมเป็นหลักการสากลที่บุคคลใช้ตัดสินใจในการกระทำสิ่งต่าง ๆทัศนะเกี่ยวกับ
จริยธรรมได้มาจากความคิดของบุคคลหรืออุดมคติของสังคมจนเกิดเป็นทัศนะในการดำรงชีวิตของตน และของ
สังคมทต่ี นอาศัยอยู่

พจนานุกรมลองแมน (Longman, 2003,น.533) ได้ให้ความหมายของคำว่าจริยธรรม ดังนี้จริยธรรม
(Ethic) คือ ความคดิ หรือความเชื่อที่มอี ทิ ธพิ ลตอ่ ความประพฤตแิ ละเจตคติของบุคคล หลกั การของความประพฤติ
สำหรบั การตัดสนิ ใจว่าสิ่งใดผิดหรือถูก

(ผศ.ดร.ดวงเดือน พนิ สวุ รรณ,2562,น.563-600) ความหมายของคุณธรรมจริยธรรมที่ใช้ในสังคมจึงยังไม่
ชัดเจนตายตัว แต่ก็มีความหมายหลักในแนวทางเดียวกันคือเป็นหลักของการทำดีเพื่อประโยชน์ของผู้ปฏิบัติ
ผู้เกย่ี วข้อง และสงั คม โดยคณุ ธรรมเป็นสภาพที่พงึ ประสงค์ในด้านความดี-ความควรความถูกตอ้ ง ส่วนจริยธรรม
เป็นการปฏิบัติไปสู่สภาพที่พึงประสงค์นั้น คุณธรรมจึงเป็นสภาพทางจิตใจที่จะโน้มนำการกระทำให้เกิดการ
ประพฤติปฏิบัติสิ่งที่ดี และไม่ประพฤติสิ่งที่ไม่ดี ดังนั้นคุณธรรมจะเป็นปัจจัยเกื้อหนุนให้เกิดจริยธรรม และ
จริยธรรมเป็นผลของการมีคุณธรรม หรืออีกนัยหนึ่งคุณธรรมเป็นเรื่องของความจริงแท้หรือสัจธรรม ส่วน
จริยธรรมเป็นสงิ่ ท่มี นษุ ยท์ ำขน้ึ แตง่ ขนึ้ ตามเหตผุ ลของมนษุ ย์ หรือตามความตอ้ งการของมนษุ ย์

จรยิ ธรรมสำหรับครู

ปราชญา กล้าผจัญ. (2549) กล่าวไว้ว่า จริยธรรม (Ethics) เป็นเรื่องของความรู้สึก เป็นจิตสำนึกของ
บคุ คล เปน็ พฤตกิ รรมที่ถูกตอ้ งดงี าม ทง้ั ทางกาย วาจา และใจ เป็นปฏิสัมพันธท์ ่เี หมาะสมทางสงั คม เป็นรากฐาน
ของสนั ติสขุ ทยี่ ่ังยนื คนเป็นครจู งึ ควรตอ้ งสร้างจิตสำนึกท่ีดงี ามให้เกิดข้นึ ในตนเอง ในสังคม ต้องซ่ือสัตย์สุจริตต่อ
วิชาชีพของตนเอง มีการประพฤติปฏิบัติที่แสดงถึงความเป็นผู้มีธรรมะในใจ และต้องมีพันธสัญญา
(Commitment) ต่อตนเอง ต่อเพื่อนร่วมงาน ต่อหน่วยงานที่สังกัด และต่อประเทศชาติ เช่น มีเมตตากรุณา
ซือ่ สัตย์สุจรติ เสียสละ รับผดิ ชอบ ยุติธรรม

ความสำคญั ของคณุ ธรรมจรยิ ธรรมตอ่ ครู

1.ความสำคัญต่อการดำรงชีวิตประจำวนั การมีคุณธรรมจริยธรรมช่วยให้ครูมีการดำรงชีวิตท่ีดีทั้งการมี
สขุ ภาพทางกายและสุขภาพจติ ท่ีดี เชน่

1.1 ดา้ นสขุ ภาพทางกาย หลกั คณุ ธรรมจริยธรรมท่สี งั คมยึดถือนนั้ มขี อบขา่ ยสาระทช่ี ว่ ยพฒั นาทั้งรา่ งกาย
และจติ ใจของคน การใชห้ ลกั คุณธรรมจรยิ ธรรมจึงเกดิ ผลดที างรา่ งกาย เช่น ครทู ี่มคี ุณธรรมเกี่ยวกบั ทางสายกลาง
จะมีพฤติกรรมบริโภคอาหารแตพ่ อสมควร ครจู ึงไม่อ้วนเกนิ ควรและไมเ่ ปน็ โรคตา่ ง ๆ อนั เน่อื งจากการบริโภค ทำ
ให้สามารถประกอบฮาชีพเลีย้ งตนและครอบครัวได้เป็นปกติ และมคี วามแคลว่ คลอ่ งในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ใน
ชีวิต นอกจากนั้นจะทำให้ครูเปน็ ผู้มีบคุ ลกิ ภาพทด่ี ี เป็นทช่ี ่ืนชมของบคุ ลอืน่

1.2 ด้านสุขภาพจิต หากครูดำรงตนในคุณธรรมจริยธรรมแล้ว ครูจะเป็นผู้ประพฤติในทางที่ดีหลีกเลี่ยง
หรือลดเลิกการประพฤติที่ไม่ดี สามารถใช้คุณธรรมเป็นเครื่องประคับประคองจิตใจและการดำรงชวี ิตให้เป็นไป
ในทางทเ่ี ปน็ ผลดีต่อตน คนอื่น และสงั คม เช่น มีการประ กอบอาชีพโตยสุจริต ไมห่ ลงในลาภยศของตนเองมีการ
คดิ การพดู และการกระทำของตนเองที่สอดคลอ้ งกัน ไม่พดู อย่างหน่งึ แต่ทำอีกอยา่ งหนงึ่ ไม่ทำดใี นเร่อื งหน่ึงแต่ทำ

230

ชั่วในอีกเรื่องหนึ่ง นอกจากนั้นครูที่มีคุณธรรมจริยธรรมสามารถเผชิญชีวิตอย่างมีสติปัญญาและสุขภาพจิตที่ดี
รวมทง้ั ได้รับการยอมรับยกย่องจากบคุ คลอืน่

2 ความสำคัญต่อการปฏิบตั ิงาน ในวชิ าชีพ
ครูที่มีจริยธรรม จะได้รับการเคารพจากศิษย์ได้รับการยอมรับจากผู้ปกครอง ได้รับการสนับสนุนจาก
เพื่อนและผู้บังคับบัญชา ทำให้มีความก้าวหน้าในการทำงานและการประกอบอาชีพ ซึ่งอาจได้รับการยกย่อง
ประกาศเกียรติคุณให้เป็นตัวอย่างที่ดีของบุคลากรในวิชาชีพในด้านภาระงานการเป็นผู้นำของสังคม ครูที่มี
จริยธรรมจะเป็นสมาชิกทีด่ ีของสงั คมที่ตนเปน็ สมาชิกอยู่รวมทั้งเป็นเพือ่ นมนุษย์ท่ีดีของคนในกลุ่มสงั คมอื่น เม่ือ
ครทู ีม่ คี ุณธรรมจริยธรรมหลาย ๆ คนมาอย่รู ่วมกนั ซึง่ แมแ้ ต่ละคนจะมีคุณลกั ษณะและความคิดแตกต่างกันก็ตาม
ครูเหล่านั้นจะมีวิธีการดำเนินงานและวิธีการหาข้อยุติในทางที่เปน็ คุณแกบ่ ุคคลและส่วนรวมได้โดยไมต่ ้องมีการ
ขัดแย้งกัน สังคมครูจึงเป็นสังคมท่ีดี ครูจึงเป็นตัวแบบที่ดีของสังคม สามารถนำให้สังคมมีคุณธรรมจริยธรรมที่ดี
และไดร้ ับการยกยอ่ งให้เป็นเป็นผนู้ ำท่ีดขี องสงั คม
3.การยกระดบั มาตรฐานวชิ าชพี
การที่ครูมีมาตรฐานการทำงานตามมาตรฐานวิชาชีพที่กำหนดไว้ ทำให้ครูมีวัฒนธรรมองค์การที่พึง
ประสงค์ องค์การทร่ี บั ผดิ ชอบเก่ยี วข้องกับการพัฒนาวชิ าชพี จงึ สามารถใชว้ ิชาการ งบประมาณ และทรัพยากรอื่น
ในการยกระดับวิชาชีพใหเ้ กิดคุณประโยชนต์ อ่ สงั คมมากยิ่งขึ้น
(ผศ.ดร.ดวงเดือน พินสุวรรณ,2550,น 563-600) จริยธรรม (Ethics) เป็นเรื่องของความรู้สึก เป็น
จิตสำนกึ ของบคุ คล เป็นพฤติกรรมท่ีถูกต้องดงี าม ทง้ั ทางกาย วาจา และใจ เป็นปฏิสมั พันธท์ เี่ หมาะสมทางส่ังคม
เป็นรากฐานของสันติสุขที่ยั่งยืน คนเป็นครูจึงควรต้องสร้างจิตสำนึกที่ดีงามให้เกิดขึ้นในตนเอง ในสังคม ต้อง
ซื่อสัตย์สุจริตต่อวิชาชีพของตนเอง มีการประพฤติปฏิบัติที่แสดงถึงความเป็นผู้มีธรรมะในใจ และต้องมีพันธะ
สัญญา (Commitment) ต่อตนเอง ต่อเพื่อนร่วมงาน ต่อหน่วยงานที่สังกัด และต่อประเทศชาติ เช่น มีเมตตา
กรณุ า ซอ่ื สตั ย์สจุ ริต เสยี สละ รบั ผิดชอบ ยุตธิ รรม
การทค่ี รูแตล่ ะคนจะมคี ณุ ธรรมจริยธรรมหรอื ไม่ เพียงใด จงึ ไม่ได้มีความสำคญั เฉพาะตอ่ ตัวครูเท่านนั้ แต่
มคี วามสำคัญอย่างยงิ่ ตอ่ สงั คมและวชิ าชีพ ผเู้ ป็นสมาชิกของวิชาชีพจึงต้องไม่ปล่อยปละละเลยการมีคุณธรรม ไม่
ควรพัฒนาคณุ ธรรมจรยิ ธรรมตามความพอใจของตนเอง แต่จะต้องพัฒนาตนให้เป็นคนที่สมบูรณแ์ ละครูท่ีสมบูรณ์
เพื่อสร้างนักเรียนทีส่ มบูรณ์ รวมทั้งการสร้างวิชาชีพที่สมบูรณ์ทั้งด้านภาพลักษณ์ของวิชาชีพ มาตรฐานวิชาชีพ
และศักดิ์ศรีของวิชาชพี

จริยธรรมของผ้ปู ระกอบอาชีพครู

1. จรยิ ธรรมต่อตนเอง
ประกอบอาชพี ครูตอ้ งปฏบิ ตั ิตนเปน็ แบบอย่างที่ดี มีคณุ ธรรมจริยธรรมเปน็ หลกั ยึดประจำตน เช่น รู้

รักสามัคคี ซื่อสัตย์สุจริต เสียสละ มีน้ำใจ เมตตากรุณา ยุติธรรม กตัญญูกตเวที รักษาระเบียบวินัย มีดวาม
อตุ สาหะ รู้จกั ความพอเพียง พอประมาณ มีเหตุมผี ล มีจติ สำนึกสาธารณะ(Public mind) เป็นตน้

231

2. จริยธรรมตอ่ บตุ รธิดา
บิดามารดามีหน้าท่ีเลย้ี งดูบุตรธดิ าให้มีความสขุ พอเหมาะกบั ฐานะของตนเองนอกจากนี้ ยังต้องให้

การอบรม สั่งสอน ชี้แนะแนวทางที่ถูกที่ควร ที่เหมาะสม เพื่อให้เป็นคนดีมีคุณธรรมอยู่ในสังคมอย่างมี
ความสขุ

3. จริยธรรมตอ่ ภรยิ าหรือสามี
บุคคลที่ได้ชื่อว่าเปน็ ภริยา หรือสามีถือว่าเป็นบุคคลคนเดียว ดังนั้น จึงต้องมคี วามรักใครปรองดอง

กัน ให้เกียรติซึ่งกันและกัน ภาระงานในบ้านก็ไม่ควรเกี่ยงกัน ต้องช่วยกันทำแบ่งเบาภาระซึ่งกันและกัน
ภรรยาก็ไมว่ ่าหรือนินทาสามี สามกี ไ็ ม่นนิ ทาว่ารา้ ยภรรยา ทัง้ ในและนอกบา้ น

4. จริยธรรมตอ่ บิดามารดา
บิดามารดาเป็นบุพการีผู้ให้กำเนิด บุตรจึงมีหน้าที่ตอบแทนพระคุณท่านในขณะที่มีชีวิตอยู่ เช่น

เลี้ยงดูท่านใหม้ ีความสขุ สบาย สมฐานะ ชว่ ยทำธุรการงานให้ท่านรักษาพยาบาลเม่อื เจ็บป่วย พูดคุยพาเท่ียว
เม่อื มโี อกาส ฯลฯ และเมือ่ ทา่ นลว่ งลบั ไปแล้วกท็ ำบุญอทุ ิศส่วนกุศลให้ทา่ นกล่าวถึงพระคุณทา่ นให้บุตรหลาน
รบั รู้เป็นต้น

5.จรยิ ธรรมต่อลกู ศิษย์
ครูตอ้ งใหค้ วามรักต่อลกู ศิษยเ์ หมอื นกบั บตุ รของตนเอง เพราะครูเปรยี บเหมอื นกบั บิดามารดาคนท่ี

สองของศษิ ย์ ดังนนั้ ครูตอ้ งมอบความรักให้กบั ศษิ ย์ มเี มตตากรุณา มีความยุติธรรม วา่ กล่าวตักเตือนเม่อื
ศิษยก์ ระทำผดิ ไมเ่ ปิดเผยความลับของศษิ ย์ เป็นตน้

6. จริยธรรมตอ่ ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ
ครูต้องปฏิบัติตนเป็นพลเมอื งดขี องชาติ เคารพกฎหมาย ปฏิบัติงานอาชีพดว้ ยความสุจรติ เสียภาษี

อากรอย่างถูกต้อง ไม่มัวเมาหลงใหลในยศ ตำแหน่ง ใช้จ่ายอย่างประหยัดไม่ฟุ้งเฟ้อ ไม่มัวเมาลุ่มหลงใน
อบายมขุ หรอื ทางทีน่ ำไปสู่ความเสอ่ื ม เปน็ ตน้ (สำนกั งานเลขาธิการครุ สุ ภา ,2539)

ประโยชนข์ องจรยิ ธรรม

ปราชญา กลา้ ผจัญ (2549). ไดก้ ล่าวถงึ ประโยชน์ของจริยธรรมไวด้ ังนี้
1. ด้านตนเอง การปฏิบัติตามหลักจริยธรรมทำให้คนเราเป็นคนดี คนดีย่อมมีความสบายใจ อิ่มเอิบใจ

เพราะไดท้ ำความดี

2. ดา้ นสงั คม คนดีย่อมทำประโยชน์แก่ตนเอง และคนอน่ื ด้วย การไมท่ ำช่วั เป็นการลดภาระของสังคมท่ี
ไม่ต้องแก้ปัญหา การทำดีจงึ เป็นประโยชน์แกส่ งั คม และชว่ ยให้สังคมพัฒนาไปสู่ความเจริญ

3 . ด้านการรกั ษาจริยธรรม จรยิ ธรรมเป็นสง่ิ ทดี่ มี คี ณุ คา่ ทง้ั แก่บคุ คลและสงั คมจะรักษาไว้ด้วยการปฏิบัติ
เพราะถา้ ไม่ปฏิบัตกิ ็จะเปน็ เพียงคำพูด หรือตวั หนงั สือทีเ่ ขียนไว้

232
4. การพฒั นาบ้านเมือง ตอ้ งพฒั นาจติ ใจก่อน หรอื อยา่ งนอ้ ยก็ต้องควบคู่ไปกับการพฒั นาเศรษฐกิจ สังคม
และอื่น ๆ ด้วย เพราะการพัฒนาที่ไม่มจี รยิ ธรรมเปน็ แกนนำก็จะสญู เปล่าเพราะทำใหบ้ ุคคลลุ่มหลงในวัตถุ และ
อบายมขุ มากขึน้
5. จรยิ ธรรมชว่ ยควบคมุ มาตรฐาน รับประกันคณุ ภาพและปรมิ าณที่ถกู ต้องในการประกอบอาชีพ

http://www.bizpromptinfo.com

พฤติกรรมทแี่ สดงถงึ ความเป็นผมู้ ีความยดึ มั่นในวชิ าชพี

ปราชญา กล้าผจัญ ( 2549, น.70-71) กลา่ วไวว้ ่า พฤตกิ รรมทแ่ี สดงถงึ ความเป็นผ้มู คี วามยึดมนั่ ในวิชาชพี มี
ดงั น้ี

1. ประพฤติตนดสี ม่ำเสมอ
2. มคี วามละอายต่อบาป
3. มคี วามอดทนอดกล้ันตอ่ ความยากลำบากตา่ ง ๆ
4. รักษาชื่อเสยี ง และค่านยิ มของหนว่ ยงาน
5. มีความสามารถในการส่งเสรมิ การทำงานเป็นทีม เป็นหมู่คณะได้ดี
6. เสริมสร้างความสมั พันธอ์ ันดีระหวา่ งผู้บังคบั บญั ชา เพ่ือนรว่ มงาน และชมุ ชน
7. วางตนเหมาะสม เขา้ กับชนทกุ ช้นั ได้ดี ไม่เยอ่ หยิ่ง ไมถ่ ือตวั
8. รู้จกั อปุ การะ คอื ทำคณุ ประ โยชน์แก่บุคคลอน่ื
9. ไมม่ อี คติใด ๆ ในการปฏบิ ัติงานกับผอู้ นื่

http://parichartservice3.blogspot.com

233

พลเมืองท่ีเข้มแขง็

ความหมาย

ปณิดา ปัตตาทานัง. (2021). พลเมืองท่ีดี หมายถึง ผู้ที่ปฏิบัตหิ น้าที่พลเมืองได้ครบถว้ น ทั้งกิจที่ตอ้ งทำ
และ กิจทีค่ วรทำ บคุ คลจะเปน็ พลเมอื งดีของสังคมนัน้ ต้องตระหนักถงึ บทบาท หน้าท่ี ท่จี ะตอ้ งปฏบิ ตั สิ อดคล้อง
กบั หลกั ธรรม วัฒนธรรม ประเพณี และรฐั ธรรมนูญที่กำหนดไวร้ วมทง้ั บทบาททางสังคมท่ตี นดำรงอยู่

เมื่อสามารถปฏบิ ัติหนา้ ท่ไี ด้อย่างถกู ตอ้ งสมบรู ณ์ ย่อมเกิดความภาคภมู ิใจ และเกดิ ผลดที ั้งต่อตนเองและ
สังคม การเป็นพลเมืองที่ดีเคารพกฎหมาย เคารพสิทธิเสรีภาพของผู้อ่ืน มีความกระตือรื้อร้น ที่จะเข้ามามีส่วน
ร่วมในการแกป้ ญั หาของชุมชนและสงั คม มีคณุ ธรรมจรยิ ธรรมเปน็ หลัก ในการดำเนินชวี ิตอย่างสงบสุข

หน้าท่ีพลเมอื ง

1.คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม มากกว่าประโยชน์ส่วนตัว ได้แก่ การลดความเห็นแก่ตัว เสียสละแรงกาย
แรงใจ เพอ่ื ทำประโยชน์ต่อสว่ นรวม ช่วยกันดแู ลทรัพยส์ ินทเ่ี ปน็ สาธารณะสมบัติ

2.วนิ ยั ไดแ้ ก่ การฝึก กาย วาจา และใจใหส้ ามารถควบคุมความประพฤตขิ องตนเองให้อยู่ในระเบียบแบบ
แผนอนั ดีงาม

3. ความรบั ผิดชอบต่อหน้าที่ ไดแ้ ก่ การเอาใจใส่ ต้ังใจ และมุง่ มนั่ ปฏิบัติหน้าท่ีตามบทบาทของตนอย่าง
เต็มความสามารถ

4. ความอดทน ได้แก่ การมีจติ ใจหนักแน่น เยอื กเยน็ ไมห่ ุนหันพลนั แลน่ สามารถความคมุ อารมณ์ และ
พฤตกิ รรม ให้เป็นปกติเม่ือตอ้ งเผชิญกบั ส่ิงท่ีเปน็ ปญั หาหรือส่งิ ทีไ่ ม่พอใจ

5. รูจ้ ักประหยดั และอดออม ได้แก่ การรูจ้ ักใชจ้ า่ ยตามความจำเป็นอย่างคุม้ ค่า และเกิดประโยชน์สูงสุด
6. การมนี ำ้ ใจเปน็ นกั กฬี า ไดแ้ ก่ การมจี ติ ใจเปดิ เผย รู้แพ้รูช้ นะ และใหอ้ ภัยแกก่ นั
7. ความซื่อสัตย์สุจริต ได้แก่ มีความจริงใจ ไม่อคติ ปฏิบัติตนปฏิบัติงานตรงไปตรงมา ไม่ใช้เล่ห์เลี่ยม
หรอื กลโกง
8. การอนุรักษณ์ความเป็นไทย ได้แก่ มีจิตสำนึกในความเป็นไทย เช่น พูด เขียน และใช้ภาษาไทยให้
ถูกต้อง อนุรักษ์วัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย และนำความเป็นไทยมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ตลอดจนถ่ายทอด
ความเป็นไทย ไปสคู่ นรุ่นหลงั ได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม
พลเมืองทเี่ ข้มแขง็ คือ บคุ คลตน้ แบบท่ีลว้ นแตก่ ่อเกิดแรงผลกั ดนั ในการพัฒนาตนเองและพัฒนาผู้อ่ืนให้
เปน็ พลเมืองดี มคี วามรักชาติ รกั ทอ้ งถนิ่ รถู้ กู ผดิ มีจิตสำนกึ เป็นพลเมอื งไทยและพลโลก มจี ติ อาสา มีอุดมการณ์
และมีส่วนร่วมในการพัฒนาชาติ บนหลักการประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเสมอภาค เพื่อการจัดการ
ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมท่ยี ัง่ ยืนและการอยู่ร่วมกันในสงั คมไทยและประชาคมโลกอย่างสันติ

234

ตัวอย่างพลเมืองเขม้ แข็ง

โซโฟคลิส (Sophocles.495-406 B.C.) โสเครตีส (Socratic) วิลเลย่ี ม วอลลัส (William Wallace)

มหาตมา คานธี (Mohandas เพลโต้ (Plato.429-347 B.C.) อรสิ โตเตล้ิ (Aristotle. 384-322 B.C.)
Karamchand Gandhi)

235

ตวั อย่างพลเมอื งเข้มแข็ง

เจน แอด๊ ดัมส์ (Jane Addams.1860-1935) เบอรท์ รันด์ รัสเซล (Bertrand Russell.1872-1970)

ปรัชญาและคุณธรรมสำหรับครู และลักษณะครทู ดี่ ี

ปรัชญาและคุณธรรมสำหรับครู และลักษณะครูที่ดี ปรัชญาและคุณธรรมสำหรับครู ในความหมายของ
ปรัชญาจัดว่าเป็นแนวอุดมคติในการดำเนนิ งานใด ๆ โดยใช้ปัญญา เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามที่คาดหวังไว้ เม่ือ
บุคคลไดเ้ กดิ ความสนใจและใฝ่หาความรจู้ ากวิชาปรัชญาก็ย่อมได้รับอัตถประโยชนอ์ ย่างมากมาย พอสรุปได้ดังน้ี

1. ปรัชญาสอนให้รู้จกั ความจรงิ อนั ส้ินสดุ เชน่ พระเจ้ามีจรงิ หรอื ไม่
2. ปรัชญาสอนให้รจู้ กั ทฤษฎีแหง่ ความรู้ เชน่ การวิจยั จะนำไปสูก่ ารคน้ หาคำตอบได้
3. ปรัชญาสอนให้รจู้ ักความดแี ละความถูกต้อง เช่น การทำประโยชนใ์ ห้แกส่ งั คมถือวา่ เปน็ ความดี
4. ปรชั ญาสอนใหร้ ูจ้ กั ความงาม เชน่ การประพฤติปฏบิ ัตใิ นสง่ิ ท่ีเปน็ ท่ีชนื่ ชอบของสงั คม อนั กอ่ ใหเ้ กิด
ความเพลิดเพลินและเปน็ สุขใจ
5. ปรัชญาสอนให้เกิดอุดมคติในการดำเนินชวี ิตและการปฏบิ ตั หิ นา้ ทก่ี ารงาน เช่น สอนใหบ้ ุคคลเป็นครู
ในอุดมคติ หรอื เปน็ ครทู ีม่ ีอุดมการณ์ท่ีจะชว่ ยพัฒนาชนบทอย่างแท้จริง
6. ปรัชญาสอนให้รจู้ กั ประเมินคณุ คา่ ในพฤติกรรมของบุคคลว่าถกู ตอ้ งและเหมาะสมหรอื ไม่ ดังไดก้ ลา่ ว
แลว้ ว่า ปรชั ญาเปน็ แนวอดุ มคติในการดำเนินงานใด ๆ โดยใชป้ ัญญาเพื่อใหบ้ รรลุเป้าหมายท่ีคาดหวังเอาไว้
สำหรับคุณธรรมคณุ งามความดขี องบุคคลทีก่ ระทำไปด้วยความสำนึกในจิตใจ โดยมเี ป้าหมายว่า เป็นการกระทำ
ความดี หรอื เป็นพฤติกรรมท่ดี ีซ่งึ เปน็ ท่ียอมรบั ของสังคม

236
ดงั นั้น คุณธรรมสำหรับครู กค็ อื คณุ งามความดีของบคุ คลทีเ่ ป็นครู ซ่ึงไดก้ ระทำไปดว้ ยความสำนกึ ในจติ ใจ
โดยมเี ป้าหมายว่าเป็นการกระทำความดี หรอื เปน็ พฤติกรรมทดี ซี ึง่ เปน็ ทย่ี อมรบั ของสงั คม เชน่ ครูที่มคี วาม
เสยี สละ ครูทมี่ นี ้ำใจงาม ครูที่มีความเกรงใจ ครูท่ีมีความยุติธรรม ครูที่รกั เด็กและรกั เพ่อื นมนุษย์ ครทู ม่ี ีความเห็น
อกเหน็ ใจ ลูกศิษย์ และครูที่มมี ารยาททีง่ ดงามถือว่าเปน็ ครูที่มคี ุณธรรมทง้ั ส้ิน
โดยหลกั การ ครูจะต้องเป็นทั้งนกั ปราชญ์ และผ้ทู รงศลี เพราะสงั คมยกย่องให้ครูเป็นปชู นยี บุคคล เปน็ ผู้
ประเสริฐและประสาทความรู้ สร้างความเปน็ คนและอบรมส่ังสอนเดก็ ให้เปน็ เด็กทด่ี ีของสงั คม ความจำเปน็ ท่ี
จะต้องใหค้ รเู ปน็ ทัง้ นักปราชญ์ และผทู้ รงศีลดงั กล่าวแลว้ ชีใ้ ห้เหน็ วา่ ความเปน็ นกั ปราชญข์ องครูนนั้ ครูจะตอ้ งมี
ความดแี ละถ่ายทอดดี สอนให้เดก็ ได้รบั ความรู้และสนกุ มีชีวิตชีวา ส่วนความเป็นผ้ทู รงศลี ของครู ในฐานะท่ีครู
เป็นแมแ่ บบของชาติหรอื เปน็ ตน้ แบบในพฤตกิ รรมท้ังปวง จะชว่ ยใหค้ รเู ป็นคนดี วางตวั ดี เป็นทเี่ คารพและเป็นที่
นา่ เชื่อ ฟงั ของลูกศษิ ย์
จึงกลา่ วได้ว่า ครูต้องมคี ณุ ธรรม หรือคุณธรรมสำหรับครเู ป็นส่ิงจำเปน็ สำหรบั ครอู ยา่ งย่ิง ถึงแม้วา่ ครู
จำเป็นต้องมีคุณธรรม แต่คุณธรรมอย่างเดียวไมเ่ พยี งพอครตู ้องเปน็ นกั ปรชั ญาด้วย การเป็นนกั ปราชญข์ องครู จะ
ชว่ ยให้ครูมคี วามรู้รอบ และรอบรมู้ ีทัศนะกวา้ งไกลและลึก มองเห็นชวี ติ ของตนเองทั้งในปัจจุบนั และอนาคตอยา่ ง
ทะลุปุโปรง่ และชว่ ยมองอนาคตของเด็กให้ทะลุปุโปร่งดว้ ย เพ่อื จะไดป้ ระคบั ประคองสนับสนนุ และสง่ เสริม ให้
เด็กเจริญกา้ วหน้าอย่างเตม็ ท่ี
จึงสรุปได้วา่ ปรชั ญาและคุณธรรมสำหรบั ครูเปน็ สิง่ จำเปน็ สำหรบั ผู้ทเ่ี ป็นครูเปรยี บเสมือนกับโลหะธาตุที่
มเี นื้อธาตุดี ย่อมเปน็ โลหะที่ดเี ช่นเดียวกัน ถา้ ครูมีปรัชญาและคณุ ธรรมก็จะได้รับความยกยอ่ งวา่ เป็นครูดีของ
สังคมได้ (สงวน สุทธเ์ิ ลิศอรุณ, 2536,น.20-21)

ทมี่ า https://th.lovepik.com

237

การดำรงตนให้เปน็ ที่เคารพศรทั ธา

ความหมาย

(พระมหาบุญมี มาลาวชโิ ร, 2550) ไดก้ ล่าวถงึ ความหมายการครองตน การครองคนและการครองงานไวด้ ังนี้
1. การครองตน การมีความประพฤติและปฏบิ ตั ิตน ประกอบไปดว้ ยคณุ ธรรม ควรแก่การยกยอ่ ง
2. การครองคน การมีความสามารถในการติดต่อสมั พันธ์กับผู้อื่น สามารถจูงใจให้เกิดการยอมรับและ

ให้ความร่วมมอื
3. การครองงาน การมคี วามสามารถปฏิบัติงานในหนา้ ท่ีและงานท่ไี ดร้ ับมอบหมายอยา่ งดี

การสร้างความศรัทธาและเจตคตทิ ี่ดีต่อวิชาชพี ครู

คือการแสดงออกด้วยความชื่นชมและเชื่อมั่นในอาชีพครู ตระหนักว่าอาชีพนี้เป็นอาชีพที่มีเกียรติ มี
ความสำคัญและจำเปน็ ตอ่ สงั คม ครูพงึ ปฏิบัติงานด้วยความเตม็ ใจและภูมใิ จ รวมทัง้ ปกป้องเกยี รติภูมิของอาชพี ครู
และเขา้ รว่ มกจิ กรรมและสนบั สนนุ องคก์ รวิชาชพี ครู (พรรณอร อุชภุ าพ, 2561)

เจตคตขิ องครูทมี่ ตี ่อวิชาชพี ครู

(พรรณอร อชุ ุภาพ, 2561)ผ้ปู ระกอบอาชพี ครตู อ้ งมีคณุ ลักษณะ และคุณสมบัติท่ีสำคญั หลายประการ
และมเี จตคติทดี่ ีตอ่ วิชาชีพครจู ึงจะประสบความสำเร็จในหน้าทกี่ ารงานก่อใหเ้ กิดผลดีตอ่ สงั คมและประเทศชาติ

อ้างองิ : https://www.thaipost.net/main/detail/51408

มาตรฐานวิชาชพี ทางการศึกษา
ความหมาย

(ไพฑูรย์ สินลารัตน์, 2560) ความหมายของมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา มาตรฐานวิชาชีพทาง
การศกึ ษา คือ ข้อกำหนดเกยี่ วกับคุณลักษณะและคณุ ภาพที่พงึ ประสงคใ์ นการประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ซ่ึงผู้
ประกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษาต้องประพฤติปฏิบัติตามเพื่อให้เกิดคุณภาพในการประกอบวิชาชีพ สามารถสร้าง
ความเชื่อมั่นศรัทธาให้แก่ผู้รับบรกิ ารจากวิชาชีพไดว้ ่าเป็นบริการที่มีคุณภาพ ตอบสังคมได้ว่าการที่กฎหมายให้
ความสำคัญกับวิชาชีพทางการศึกษา และกำหนดให้เป็นวิชาชีพควบคุมนั้น เนื่องจากเป็นวิชาชีพที่มี
ลักษณะเฉพาะ ตอ้ งใชค้ วามรู้ ทกั ษะ และความเชี่ยวชาญในการประกอบวิชาชพี ตามพระราชบญั ญตั สิ ภาครูและ
บุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2546 มาตรา 49 กำหนดใหม้ มี าตรฐานวชิ าชพี 3 ดา้ น ประกอบดว้ ย

238

1. มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ หมายถึง ข้อกำหนดสำหรับผู้ที่จะเข้ามาประกอบวิชาชพี
จะต้องมคี วามรู้และมีประสบการณ์วิชาชีพเพยี งพอที่จะประกอบวิชาชีพจึงจะสามารถขอรบั ใบอนุญาตประกอบ
วิชาชีพเพื่อใช้เป็นหลักฐานแสดงว่าเป็นบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ และมีประสบการณ์พร้อมที่จะประกอบ
วชิ าชพี ทางการศกึ ษาได้

2. มาตรฐานการปฏิบัติงาน หมายถึง ข้อกำหนดเก่ียวกับการปฏบิ ัตงิ านในวิชาชีพ ให้เกิดผลเป็นไปตาม
เปา้ หมายทีก่ ำหนด พรอ้ มกบั มีการพัฒนาตนเองอย่างตอ่ เนื่อง เพอื่ ใหเ้ กิดความชำนาญในการประกอบวิชาชีพ ท้ัง
ความชำนาญเฉพาะดา้ นและความชำนาญตามระดับคุณภาพของมาตรฐานการปฏิบัตงิ าน หรืออยา่ งนอ้ ยจะต้องมี
การพัฒนาตามเกณฑ์ที่กำหนดวา่ มีความรู้ความสามารถ และความชำนาญเพียงพอที่จะดำรงสถานภาพของการ
เป็นผปู้ ระกอบวชิ าชีพต่อไปไดห้ รือไม่ น่ันกค็ ือการกำหนดให้ผู้ประกอบวชิ าชีพจะตอ้ งตอ่ ใบอนญุ าตทุก ๆ 5 ปี

3. มาตรฐานการปฏิบัติตน หมายถึง ข้อกำหนดเกี่ยวกับการประพฤติตนของผู้ประกอบวิชาชีพ โดยมี
จรรยาบรรณของวิชาชีพเป็นแนวทางและข้อพงึ ระวงั ในการประพฤติปฏิบัติ เพือ่ ดำรงไว้ซึ่งช่ือเสยี ง ฐานะ เกียรติ
และศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพ ตามแบบแผนพฤติกรรม ตามจรรยาบรรณของวิชาชีพที่ครุ ุสภาจะกำหนดเป็นข้อบังคบั
ต่อไป หากผปู้ ระกอบวิชาชพี ผใู้ ดประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชพี ทำให้เกดิ ความเสยี หายแกบ่ ุคคลอ่ืนจนได้รับ
การรอ้ งเรยี นถึงคุรสุ ภาแลว้ ผนู้ ั้นอาจถกู คณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชพี วินจิ ฉัยช้ขี าดอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ดงั ต่อไปนี้

(1) ยกข้อกล่าวหา
(2) ตกั เตอื น
(3) ภาคทัณฑ์
(4) พักใชใ้ บอนญุ าตมกี ำหนดเวลาตามท่ีเห็นสมควร แตไ่ ม่เกนิ 5 ปี
(5) เพกิ ถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ (มาตรา 54)

จรรยาบรรณวิชาชพี
ความหมาย

(รศ.ยนต์ ชมุ่ จิต, 2558) ใหค้ วามหมายของ จรรยาบรรณวิชาชีพไวว้ า่ หมายถงึ มาตรฐานการปฏบิ ัติตนที่
กำหนดข้นึ เปน็ แบบแผนในการประพฤติตน ซึง่ ผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษาต้องปฏบิ ัติตามเพื่อรักษา และ
สง่ เสริมเกียรติคุณชอื่ เสียง และฐานะของผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา จรรยาบรรณวชิ าชพี (มาตรฐานการ
ปฏบิ ตั ติ น) มี 5 ด้าน 9 ขอ้ ดงั น้ี

1.จรรยาบรรณตอ่ ตนเอง

ข้อท่ี 1 ผปู้ ระกอบวิชาชพี ทางการศึกษา ต้องมวี นิ ัยในตนเอง พัฒนาตนเองดา้ นวชิ าชพี บคุ ลกิ ภาพ และ
วสิ ัยทัศน์ ให้ทันตอ่ การพัฒนาทางวทิ ยาการ เศรษฐกจิ สังคม และการเมืองอยูเ่ สมอ

2. จรรยาบรรณตอ่ วชิ าชีพ

ข้อที่ 2 ผปู้ ระกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา ตอ้ งรกั ศรัทธา ซื่อสัตยส์ ุจรติ รบั ผดิ ชอบต่อวชิ าชพี และเป็น
สมาชิกที่ดขี ององค์กรวชิ าชีพ

239

3.จรรยาบรรณต่อผูร้ บั บรกิ าร

ขอ้ ที่ 3 ผปู้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตอ้ งรกั เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสรมิ ให้กาํ ลงั ใจแกศ่ ิษย์
ขอ้ ที่ 4 ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ตอ้ งสง่ เสริมใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ ทกั ษะ และนสิ ัยท่ีถกู ต้องดงี ามแก่
ศิษย์ และผู้รบั บริการ ตามบทบาทหนา้ ทอ่ี ยา่ งเต็มความสามารถ ดว้ ยความบรสิ ทุ ธ์ิใจ
ขอ้ ท่ี 5 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา ต้องประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นเป็นแบบอย่างที่ดี ทง้ั ทางกาย วาจา และ
จิตใจ
ขอ้ ที่ 6 ผปู้ ระกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา ตอ้ งไม่กระทําตนเปน็ ปฏิปกั ษ์ต่อความเจรญิ ทางกาย สติปญั ญา
จติ ใจ อารมณ์ และสงั คมของศิษย์ และผรู้ บั บริการ
ข้อที่ 7 ผ้ปู ระกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา ต้องใหบ้ ริการดว้ ยความจรงิ ใจและเสมอภาค โดยไม่เรียกรับหรอื
ยอมรับผลประโยชนจ์ ากการใช้ตําแหน่งหนา้ ที่โดยมิชอบ

4.จรรยาบรรณต่อผู้รว่ มประกอบวิชาชีพ

ข้อที่ 8 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงชว่ ยเหลอื เกอ้ื กลู ซง่ึ กันและกนั อยา่ งสร้างสรรค์โดยยึดมน่ั ใน
ระบบคณุ ธรรม สรา้ งความสามคั คีในหมคู่ ณะ

5.จรรยาบรรณต่อสงั คม

ข้อท่ี 9 ผปู้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงประพฤติปฏิบัติตนเป็นผูน้ ําในการอนรุ ักษ์และพฒั นา
เศรษฐกจิ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมปิ ัญญา สงิ่ แวดลอ้ ม รักษาผลประโยชนข์ องสว่ นรวม และยึดม่ันใน
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ

ครแู บบอย่างทีด่ ี

คุณลักษณะที่ดีของครู หมายถงึ เคร่อื งหมายหรือสิ่งที่ช้ีใหเ้ ห็นความดี หรอื ลกั ษณะท่ีดีของครูและเป็น
ลกั ษณะท่ตี อ้ งการของสงั คม

ลักษณะครูท่ีดคี วรมคี วามรักและความเมตตาต่อศิษย์ มีความเสียสละ หมั่นเพียรศึกษา ปรับปรุงวิธีการ
สอน เพื่อพัฒนาตนเองอยูเ่ สมอ ต้องมีความเข้าใจและเอาใจใส่ตัวศิษย์ทุกคน เป็นกำลังใจและช่วยสร้างแรงบลั
ดาลใจให้กบั ศิษย์เพ่ือให้เขาเป็นคนใฝ่เรยี นรู้ เป็นแบบอย่างที่ดมี ีจรรยาบรรณในวิชาชพี ครู มีจติ วิญญาณของความ
เป็นครู สามารถถ่ายทอดความรู้ได้เป็นอย่างดี มีวิธีการสอนที่หลากหลาย มีวิสัยทัศน์กวา้ งไกล มีความยุตธิ รรม
ยอมรับฟงั ความคดิ เหน็ ของผอู้ ่ืน รวมถงึ การยอมรับและเข้าใจความแตกต่างของเด็กแต่ละคน (จรี ะวฒุ ิ โคกใหญ่,
2557)

การเป็นแบบอย่างทด่ี ี ระดับโลก
รางวัลครูดีเดน่ โลก (Global Teacher Prize)

มูลนิธิ Varkey ได้จัดทำโครงการการประกวดครูโลกขึ้นในปี 2014 เพื่อสนับสนุนการอุทิศตนเพื่อ
การศึกษา ซ่งึ เรากำลงั คน้ หาครูดเี ดน่ เพือ่ การยกยอ่ ง ครูผซู้ ง่ึ ใหแ้ รงบันดาลใจแก่นกั เรยี นและชมุ ชนโดยรอบ มูลนิธิ

240

ของเราเชื่อว่าการศึกษาที่ดีและมีชีวิตชีวาจะปลุกขีดความสามารถสูงสุดของคนหนุ่มสาวให้ตื่นขึ้นมาได้ เพราะ
สถานะในสังคมของครูในวัฒนธรรมของเราคือกญุ แจสโู่ ลกอนาคต

โดยรางวัลโนเบลสาขาการสอน อยู่ภายใต้การอุปถัมภ์ของ His Highness Sheikh Mohammed bin
Rashid Al Maktoum รองประธานาธบิ ดี รัฐมนตรีฯ และผ้ปู กครองแหง่ สหรัฐอาหรบั เอมเิ รตส์

รางวัลครูดเี ดน่ โลก (Global Teacher Prize) ก่อตั้งโดย มูลนิธิวาร์คีย์ฟาวเดช่ัน นครดูไบ สหรัฐอาหรบั
เอมเิ รตส์ (ดร.อษุ ณยี ์ ธโนศวรรย์, 2562)

Global Teacher Prize

เกณฑก์ ารตัดสนิ รางวลั ครดู เี ด่นของโลก

ผู้ที่จะได้รับคดั เลอื กให้ได้รับรางวัลครขู องโลก ( Global Teacher Prize) จะได้รับการตัดสินตามเกณฑ์
กำหนดทเี่ คร่งครัด เพือ่ ท่จี ะได้ครดู ีเด่นท่ีมผี ลงานทโ่ี ดดเด่นในการทำงาน โดยสถานศกึ ษาจะต้องมหี ลักฐาน ดังน้ี

- การรับรองของผลสัมฤทธ์ิครูในหอ้ งเรียน จากนักเรียน ผรู้ ว่ มงาน ครูใหญ่ หรอื สมาชกิ ผู้นำของชุมชน
(ยกตวั อย่างเช่น รางวัลครขู องท้องถน่ิ หรือแห่งชาติ การรับรองจะตอ้ งมีในข่าวท้องถิ่นหรือประเทศ หรือ
สง่ิ ตีพมิ พ์ทางราชการ ผรู้ ับรองหรือหนงั สือรับรองต้องมาจากนกั เรียนท่ีประสบความสำเร็จระดับสูง คนที่มีฐานะ
หรอื ตำแหน่งเท่ากัน หรือผ้บู รกิ าร สมาชิกอาวุโสขององคก์ ารต่างประเทศหรอื หนว่ ยงานที่เกย่ี วกบั การศึกษา)
- การเชิญชวนให้คนอื่นมาประกอบอาชีพครู การส่งงานเขียนเพื่อตีพิมพ์ในหัวข้อเกี่ยวกับอาชีพครู
บทความ บล็อก การมีสว่ นรว่ มกับสอื่ แคมเปญทางสือ่ สังคม การจดั งานหรือการประชุม
(ยกตัวอย่างเช่น ครูผู้สอนหรือผู้ช่วยที่โรงเรียนของคุณหรือครูฝึกสอน โปรดระบุตัวอย่างสิ่งที่คุณได้ทำ
เพื่อการเล่อื นตำแหน่งครูในประเทศของคุณ )
- การเรยี นการศกึ ษาท่มี ีการประยุกตใ์ ช้นวัตกรรมการสอนท่ีน่าสนใจและผลสัมฤทธ์ทิ พี่ ิสูจนไ์ ดใ้ นชั้นเรยี น
(ยกตัวอยา่ งเชน่ การใชเ้ ทคโนโลยกี ารเรียนการสอน หรอื วิธกี ารพเิ ศษ)
- ผลสัมฤทธท์ิ ีพ่ ิสูจน์ได้ของนักเรียนในชั้นเรยี น
(ยกตัวอย่างเช่น การปรับปรุงการเลื่อนชั้นของนักเรียน การเข้าเรียน/พฤติกรรมท่ีส่งผลต่อการประสบ
ความสำเรจ็ ในการทำงานในระดบั โลก)
- ความสำเร็จในสังคมในหอ้ งเรียนทำให้เกิดรูปแบบทีม่ ีเอกลกั ษณ์และความแตกต่างในด้านของศักยภาพ
ในกระบวนการสอนและอืน่ ๆ
(การสรา้ งการจดจำผ่านส่ือสมัยใหม่ รางวัลแหง่ สงั คม การเสวนา และการแลกเปล่ยี นความคิด ส่ิงเหล่านี้
คือองค์กรเล็กภายในชุมชน แต่คุณจะนำเอาสังคมรอบข้างมาไว้ในชั้นเรียนได้อย่างไร? คุณจะทำให้มันสำเร็จได้
อยา่ งไร?)

241

การเปน็ แบบอย่างทด่ี ี ระดับชาติ
- ต้องมั่นใจว่าเยาวชนจะได้รับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานที่เตรียมพร้อมพวกเขาให้เป็นพลเมืองโลกที่ดี ซ่ึง
จะตอ้ งพบเจอกบั ผู้คนท่ีมาจากพ้นื ที่แตกตา่ ง ตา่ งวัฒนธรรมและชนชาติ
(ยกตัวอย่างเช่น การเชื่อมโยงโรงเรียนต่างๆ ในโลกเข้าด้วยกัน โดยสนับสนุนโครงการนักเรียน
แลกเปลี่ยน อธิบายแนวคิดของคุณในการปลูกฝังความรู้สึกในการเป็นพลเมืองโลกในหอ้ งเรียน คุณจะทำให้มัน
สำเร็จไดอ้ ยา่ งไร?)
- ตดั สินผู้ชนะโดยคณะกรรมการการประกวดครูโลกที่ประกอบไปด้วยคณุ ครผู ูท้ รงกติ ติมศักดิม์ ากมาย ทง้ั
ผู้เชี่ยวชาญด้านการสอน นักวิจารณ์ บรรณาธิการ ข้าราชการ นักแปล เจ้าของกิจการ และนักวิทยาศาสตร์จาก
ทว่ั โลก

การเปน็ แบบอย่างทดี่ ี ระดบั ชาติ

รางวัลสมเดจ็ เจา้ ฟา้ มหาจักรี (Princess Maha Chakri Award)
ในวโรกาสท่สี มเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี จะทรงมีพระชนมายคุ รบ ๖๐ พรรษา ใน

ปี ๒๕๕๘ สำนักงานเลขาธิการครุ ุสภา กระทรวงศกึ ษาธิการ รว่ มกบั ผู้ปฏิบตั ิงานดา้ นการศกึ ษา ได้ขอพระราชทาน
พระราชานุญาตจัดตั้งรางวัลระดับนานาชาติเพ่ือเฉลิมพระเกียรติ พระปรีชาด้านการศึกษา ที่ทรงอุทิศพระองค์
เพื่อส่งเสริมการศึกษาให้แก่เด็กและเยาวชนในระดับต่างๆ มาโดยตลอด โดยเฉพาะเด็กเยาวชนผู้ด้อยโอกาสใน
ท้องถิ่นห่างไกลทั่วประเทศ โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราชานุญาตตั้งพระนามรางวัลว่า

“รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี” หรือ Princess Maha Chakri Award และพระราชทานพระราชานุญาตให้

จัดตั้ง “มูลนิธิรางวัล สมเด็จเจ้าฟา้ มหาจักรี” เพื่อเป็นองคก์ รหลกั ในการวางแผนการดำเนินงานและพจิ ารณา
รางวลั

เกณฑก์ ารตัดสนิ รางวัลสมเด็จเจ้าฟา้ มหาจักรี (Princess Maha Chakri Award)

คณุ สมบัตทิ ่วั ไป
1. มสี ญั ชาตไิ ทย และมีถนิ่ ท่อี ยู่ในประเทศไทย
2. ปฏิบตั หิ นา้ ที่อยา่ งใดอย่างหนง่ึ ดงั ตอ่ ไปนี้
2.1 เปน็ หรอื เคยเปน็ ครูผู้สอนระดบั การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ในสถานศกึ ษาของรัฐ เอกชน หรอื องค์กร

ปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน
2.2 เป็นหรอื เคยเปน็ ครูนอกสถานศกึ ษาทสี่ อนผู้เรยี นในวยั การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน

3. มีประสบการณ์ปฏิบัติงานสอนอย่างต่อเนื่องมาแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 15 ปี นับถึงวันที่ออก
ประกาศนี้

4. ปฏบิ ตั ิงานสอนอยูจ่ นถงึ วนั ประกาศผลการพจิ ารณาตัดสินตามขอ้ 8.3
ในกรณที ีเ่ ป็นผู้บรหิ ารสถานศึกษาต้องมชี ่วั โมงสอนในรายวชิ าอย่างตอ่ เนือ่ ง

5. ไม่เปน็ ครสู อนพเิ ศษเปน็ อาชพี หลัก

242

คุณสมบตั เิ ฉพาะ

คณุ สมบตั เิ ฉพาะและแนวทางการพจิ ารณา มดี ังนี้

1. เปน็ ผู้สรา้ งการเปลยี่ นแปลงในชีวิตลูกศษิ ย์

คุณสมบัติเฉพาะ แนวทางพจิ ารณา

1. เป็นผู้สร้างการเปลย่ี นแปลงในชีวติ ลกู ศษิ ย์ 1. เป็นผ้สู ร้างการเปลย่ี นแปลงในชีวติ ลกู ศษิ ย์

สรา้ งแรงบนั ดาลใจและจดั การเรียนรู้ให้ลกู พจิ ารณาจากขอ้ มูลเชงิ ประจกั ษ์ในประเดน็ ต่อไปน้ี

ศษิ ย์มีความเจริญกา้ วหน้าและความสำเรจ็ ในชีวิต มี (1) ลกั ษณะการสอนและการจัดการเรียนรู้

ความอตุ สาหะในการทำภารกจิ ความเป็นครูมาโดย ของครู สามารถนำไปสู่การเปลี่ยนแปลง

ตลอดดว้ ยจิตวิญญาณความเปน็ ครู และเป็น พฤติกรรมการเรียนรแู้ ละคุณภาพชีวิต

แบบอย่างทางคณุ ธรรมจรยิ ธรรม มีลกู ศษิ ย์ท่ีประสบ ของลูกศษิ ยใ์ ห้ดขี ึน้ อยา่ งชดั เจน โดย

ความสำเร็จในหลากหลายแวดวงอาชีพกลา่ วยกย่อง ปฏบิ ัตติ ่อลกู ศิษย์ทกุ คนอยา่ งสมำ่ เสมอ

ถึงคุณงามความดี ตลอดชวี ติ ความเปน็ ครุ

(2) ผลการสอนและการจดั การเรียนร้ทู ำให้

ลูกศิษยป์ ระสบความสำเรจ็ ท้งั ในด้าน

การเรียนการอาชพี และการดำเนนิ ชีวิต

คณุ สมบัตเิ ฉพาะ แนวทางพิจารณา

(3) มจี ิตวญิ ญาณความเปน็ ครู รักและศรัทธาใน

วิชาชีพครู มีความรกั เมตตา เอาใจใส่

ชว่ ยเหลอื สง่ เสรมิ ใหก้ ำลังใจแกล่ กู ศษิ ย์

โดยเสมอหน้า อบรม ฝึกฝน เสรมิ ความรู้

ทกั ษะ และมีวินยั ท่ีดงี ามแกล่ กู ศษิ ยอ์ ย่าง

เต็มความสามารถ เนน้ ผลสมั ฤทธท์ิ ี่เกดิ ขน้ึ

กับลกู ศษิ ย์ทกุ ด้าน

(4) มพี ฤตกิ รรมท่ดี ีงาม ท้ังกาย วาจา ใจ

ประพฤติ

(5) ไดร้ บั การยกย่องจากลกู ศษิ ยแ์ ละผู้ท่ีเก่ียว

ข้อง เช่น ผู้บงั คับบัญชาในอดตี และปจั จุบัน

เพอื่ นครู ผู้ปกครอง และผนู้ ำชุมชน เป็นตน้

243

2. เปน็ ผมู้ คี ุณปู การตอ่ การศึกษา

คุณสมบัตเิ ฉพาะ แนวทางพจิ ารณา

2. เปน็ ผมู้ ีคณุ ูปการต่อการศึกษา 2. เปน็ ผ้มู ีคุณปู การต่อการศึกษา

ปฏิบัติงานสอนหรอื การจดั การเรยี นรคู้ ้นควา้ พจิ ารณาจากขอ้ มูลเชิงประจักษ์ในประเดน็ ต่อไปน้ี

พฒั นาการสอนหรือการจดั การเรยี นรู้ด้วยความทุม่ เท (1) ปฏบิ ัตงิ านสอนหรือการจัดการเรยี นรู้ดว้ ย

เสียสละ มีความแตกฉานทงั้ ในเน้อื หาและวิธกี าร ความทุ่มเทเสยี สละ ไม่ยอ่ ทอ้ ตอ่ ขอ้ จำกดั

จัดการเรียนร้ใู น่สว่ นท่ีรบั ผดิ ชอบ เป็นแบบอยา่ งของ และความยากลำบาก

ความสำเรจ็ ได้อย่างกว้างขวาง (2) คน้ ควา้ พฒั นาการสอนหรือการจัดการ

เรยี นรู้ในส่วนท่ีรับผิดชอบ และนำไป

ปฏบิ ัติได้จรงิ

(3) มคี วามแตกฉาน ทงั้ ในเนอื้ หา ความรู้

มอี งค์ความรู้ นวัตกรรม หรอื ผลงานทีม่ ี

คณุ ภาพ สามารถนำไปเผยแพร่ในระดบั

ประเทศหรือระดับนานาชาติ

คุณสมบตั ิเฉพาะ แนวทางพิจารณา

(4) เปน็ แบบอยา่ ง ไดร้ ับการยอมรบั และนำไป

ขยายผลอยา่ งกว้างขวาง มผี ลท่ีเกดิ จาก

การทำงานท่สี ามารถเปน็ แบบอย่างแก่

เพอ่ื น

ครู และนำไปปฏิบัตไิ ด้จริง

การถอดถอนรางวลั

ผู้ที่ได้รับรางวลั ตามประกาศนี้ หากในภายหลงั ปรากฏในกรณีดังต่อไปน้ี มูลนิธิรางวัลสมเดจ็ เจ้าฟา้ มหา

จกั รี โดยคณะกรรมการ มสี ทิ ธถิ อดถอนรางวัลนน้ั ได้

1. ผไู้ ด้รับรางวลั ได้รับการเสนอช่ือไมถ่ กู ต้องตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารในประกาศนี้

2. ผู้ได้รบั รางวลั ขาดคณุ สมบัติตามประกาศนี้อยู่กอ่ นวนั ท่ีไดร้ ับรางวัล

3. ผูไ้ ด้รับรางวัลมีพฤตกิ รรมเสือ่ มเสยี หลังจากไดร้ ับรางวัลแล้ว

รางวลั

ในการคัดเลือกครั้งนี้นอกจากมีรางวัลสูงสุด คือ รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรีแล้ว ยังมีรางวัลคุณากร

รางวัลครูยงิ่ ครู และรางวลั ครูขวญั ศษิ ย์ รวม 4 รางวัล ดังนี้

1. ครูผู้มีคะแนนสูงสุดจากการตัดสินของคณะกรรมการมูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรีจะได้รับ

“รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี” ประกอบด้วย เหรียญทองรางวัลสมเดจ็ เจ้าฟ้ามหาจักรี เข็มเชิดชูเกียรติทองคำ

พระราชทาน โล่ประกาศเกยี รติคุณ และเงินรางวัลจำนวน 10,000 เหรยี ญสหรฐั

244

2. ครูที่มีคะแนนลำดับที่ 2 และลำดับที่ 3 จากการตัดสินของคณะกรรมการมูลนิธริ างวัลสมเด็จเจ้าฟ้า
มหาจักรี จะได้รับ “รางวัลคุณากร” ประกอบด้วย เหรียญเงินรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี เข็มเชิดชูเกียรติ
พระราชทาน และเกียรติบัตร

3. ครูที่มีคะแนนลำดับที่ 4 ถึงลำดับที่ 20 จากการตัดสินของคณะกรรมการคัดเลือกส่วนกลางจะได้รับ
“รางวลั ครยู งิ่ คณุ ” ประกอบดว้ ย เหรยี ญทองแดงรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี เขม็ เชิดชเู กียรติพระราชทาน และ
เกียรติบตั ร

4. ครผู ไู้ ดร้ ับการคัดเลือกจากคณะกรรมการคัดเลือกระดบั จังหวัดและองคก์ รทมี่ รี างวัลตามเกณฑ์ ที่ผ่าน
ความเห็นชอบจากคณะกรรมการคัดเลือกส่วนกลาง จะได้รับ “รางวัลครูขวัญศิษย์” ประกอบด้วย เข็มเชิดชู
เกียรตพิ ระราชทาน และเกยี รติบตั ร (มูลนิธิรางวลั สมเดจ็ เจา้ ฟ้ามหาจักรี, 2563)

รางวลั ครดู ีของแผ่นดิน เจรญิ รอยตามเบอื้ งพระยคุ คลบาท

มูลนิธคิ รดู ขี องแผ่นดิน (Foundation of Thai Suprateacher : FTST)
องค์กรไม่แสวงหาผลกำไร จดทะเบียนอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ.2560 โครงการ

เครือข่ายครูดีของแผ่นดิน เจริญตามรอยเบื้องพระยุคลบาท ขอเป็นฟันเฟืองหนึ่งที่จะขับเคลื่อนคุณภาพวง
การศึกษาไทยและครไู ทยให้ก้าวไกลรุดหน้า เพื่อสร้างสังคมแห่งคุณค่าและมีคุณภาพในอนาคต ภายใต้วิสัยทศั น์
“สร้างคนดีให้แผ่นดิน” ได้จัดพิธีมอบเกียรติบัตรแก่กลุ่มครูดีของแผ่นดิน 73 กลุ่ม เพื่อเป็นขวัญกำลังใจที่ได้
ประพฤตปิ ฏิบัติตนเปน็ ครูดีของแผน่ ดนิ เจรญิ รอยตามเบอื้ งพระยุคลบาท ในพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิ
พลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ซึ่งกลุ่มครูดีของแผ่นดินที่ได้รับรางวัลเบื้องต้นต้องพัฒนาตนเองอย่าง
สม่ำเสมอ และผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 3 ด้านคือ การครองตน ครองคน และครองงาน ตลอดจนเจริญรอยตามบาท
แหง่ พระราชา เพอื่ รับรางวัลเครอื ขา่ ยครดู ีของแผน่ ดนิ ระดับชาติ

ดงั นน้ั รางวลั “ครูดขี องแผ่นดนิ เจริญตามรอยเบื้องพระยคุ ลบาท” จงึ เกดิ ขน้ึ พรอ้ มพลังและความตั้งใจ
อนั ดงี าม มอบใหก้ ับคณุ ครูและผู้บรหิ ารสถานศึกษาทว่ั ประเทศ ด้วยการยกยอ่ ง เชดิ ชูเกยี รติ คุณครูและผู้บริหาร
สถานศกึ ษาให้เปน็ ท่ีประจกั ษ์แก่สาธารณชน นำมาซ่งึ การยกระดับมาตรฐานความเป็นครูมืออาชพี ในวงกว้าง อีก
ทั้งยังเป็นหลักฐานประกอบการพิจารณาวิทยฐานะ สำหรับครูอาจารย์และผู้บริหาร สถานศึกษาผู้ตั้งใจปฏิบัติ
หนา้ ท่ีอยา่ งนา่ ช่นื ชมอกี ดว้ ย โดยมีจุดประสงค์

1. อยากใหค้ ณุ ครูทส่ี ร้างคนดใี ห้แผ่นดิน มีท่ียืน มคี วามภาคภมู ใิ จในตนเอง เพราะรางวลั ท่ัวไปมีแต่รางวัล
ทางวิชาการเป็นส่วนใหญ่ ไม่ค่อยมีรางวัลเกี่ยวกับการสร้างคนดีมากนกั

2. อยากให้ครชู ่วยครู เกดิ การชว่ ยเหลอื ซ่ึงกันและกันระหว่างครูด้วยกนั เพราะทผ่ี า่ นมาหลายรางวลั เมื่อ
ครไู ดไ้ ปแลว้ รางวลั กต็ ้องแก่งแย่งแข่งขนั กนั มักจะไมแ่ บ่งปนั ความรแู้ ละความดีๆ กบั ผอู้ นื่ แต่โครงการน้ีออกแบบ
ใหค้ รชู ่วยครูเป็นสำคัญ จนเกดิ เป็นกลมุ่ เครือข่าย ซง่ึ 1 กลุ่มมี 3-8 คน และดแู ลไมเ่ กนิ 3 กลมุ่ คอื 34 คน ซ่ึงครู
แตล่ ะกล่มุ จะตอ้ งปฏบิ ตั ิตามเกณฑป์ ระมาณ 1 ปี จนกวา่ จะผ่านเกณฑท์ ี่กำหนด

3. รางวัลน้ีไม่มีแพ้คัดออก ไม่ต้องมาแข่งขันกันวา่ ใครดีกว่าใคร หากได้ตามเกณฑ์ท่ีกำหนดทุกคนมีสิทธิ์
รบั รางวลั ทกุ คน แตห่ ากไมไ่ ดต้ ามเกณฑท์ ีก่ ำหนดใหค้ ุณครูพัฒนาตนเองต่อไปเรอ่ื ยๆ จนกว่าจะไดร้ างวลั สงู สุด คือ
รางวลั ครขู องแผ่นดนิ ชั้นท่ี 1


Click to View FlipBook Version