The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง(1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nad_natrada, 2021-04-01 05:31:26

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง(1)

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง(1)

245

4. เรามีนวัตกรรมสร้างคนดีใหแ้ ผ่นดิน และโครงการเครือข่ายการสร้างคนดีให้แผ่นดิน เป็นเหมือนเข็ม

ทิศชี้แนะแนวทางในการสร้างคนดีให้กับคุณครู โดยมุ่งเน้นให้ครูพัฒนาตนเองเป็นจุดเริ่มต้นพื้นฐาน แล้วขยาย

ตอ่ ไปยังคนรอบข้าง โดยครทู ่เี ขา้ ร่วมโครงการตอ้ งพฒั นาตนเอง 3 หมวด 19 ตวั บง่ ช้ี ครองตน ครองคน ครองงาน

ซง่ึ มีรายละเอียดอยู่ในเอกสารโครงการ

เกณฑ์การพจิ ารณา

ตัวชี้วดั ในโครงการเครอื ขา่ ยครดู ขี องแผน่ ดิน เจรญิ รอยตามเบอ้ื งยุคคลบาท

องค์ประกอบหลกั ตวั บ่งช้ี

ครองตน 1. รัก เขา้ ใจ หว่ งใยลูกศิษย์

9 ตัวบง่ ชี้ 2. หน้าท่ีครตู อ่ ศิษย์ ตามหลกั ทิศ 6

3. ไม่สร้างหนเ้ี พมิ่

4. จติ สาธารณะ

5. ปฏิบตั ติ นอยู่ในศีล 5 และความดีสากล 5

6. มีความรับผิดชอบ พูดอย่างไรทำอย่างนัน้ ทำอยา่ งไรพูดอย่างนั้น

7. เรียนรตู้ ลอดเวลา

8. ร้เู ทา่ ทันตนเอง

9. ละอายและเกรงกลวั ตอ่ บาป

ครองคน 10. เป็นผหู้ วังดีให้ด้วยจิตเมตตา

3 ตวั บง่ ชี้ 11. ปฏบิ ตั ติ นตามแบบแผนและปรับแนวคดิ ให้ถกู ต้องตรงกนั

12. ปฏิบัติตนกับบุคคลรอบข้างอย่างเหมาะสม

ครองงาน 13. มีความคดิ สร้างสรรค์ (Creativity)

7 ตัวบง่ ชี้ 14. มีความคดิ วิเคราะห์ (Critical Thinking)

15. มีทกั ษะดา้ นความรว่ มมือและการทำงานเปน็ ทมี (Collaboration and

Teamwork)

16. มีทักษะการสื่อสาร (Communication)

17. ร้คู อมพิวเตอร์และไอซีที (Computing & ICT Literacy)

18. มที ักษะอาชีพและทกั ษะการเรียนรู้ (Career & Learning Skill)

19. ผสมผสานทางวัฒนธรรม (Cross-cultural)

(มูลนธิ คิ รดู ขี องแผน่ ดนิ , 2560)

246

การเปน็ แบบอย่างทดี่ ี ระดบั ประเทศ

1. รางวลั คุรุสภา
การกอ่ ตั้งมูลนธิ ริ างวลั คุรุสภาท่ีใหร้ างวัลแกส่ มาชิกครุ ุสภาผูป้ ฏิบัติงานมีผลงานดีเดน่ มีวัตถุประสงค์เพื่อ

สง่ เสริมและยกย่องเชดิ ชูเกียรติผู้ประกอบวิชาชพี ทางการศึกษาทีม่ าตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพดีเด่นใน
เป็นแบบอย่างที่ดี สร้างแรงบันดาลใจในการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติหน้าที่ตามกรอบมาตรฐานวิชาชีพด้วย
เทคโนโลยที ีเ่ หมาะสม สง่ เสรมิ ขวญั และกำลังใจแก่ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาท่ีมีผลงานดเี ดน่ ส่งเสริมและ
กระตุ้นใหเ้ กดิ การสรา้ งนวัตกรรมการจัดการเรียนรทู้ ่ีส่งผลต่อคุณภาพของผู้เรยี น และเปิดโอกาสให้ผู้ได้รับรางวัล
ได้แลกเปลี่ยนเรยี นรูแ้ ละถ่ายทอดประสบการณท์ างวชิ าชีพ รางวัลครุ สุ ภา แบ่งเปน็ 2 ระดับ ได้แก่

- ระดบั ดีเด่น จำนวน 9 รางวลั รางวลั ทีจ่ ะไดร้ บั ประกอบดว้ ย โลป่ ระกาศเกยี รติคุณ เข็มทองคำ
“ครุ สุ ภาสดุด”ี เกยี รตบิ ตั ร และเงินรางวลั จำนวน 50,000 บาท

- ระดับดี จำนวน 18 รางวลั รางวลั ทจ่ี ะได้รบั ประกอบดว้ ย เขม็ “ครุ ุสภาสดุดี” เกยี รตบิ ตั ร และ
เงินรางวลั จำนวน 10,000 บาท รวมจำนวน 27 รางวลั
คณุ สมบัตขิ องผมู้ สี ิทธิได้รบั รางวัลคุรสุ ภา

1. เป็นผู้ประกอบวิชาชีพทางการศกึ ษาและมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ตามพระราชบญั ญัตสิ ภาครูและ
บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 ได้แก่ ครู ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ผู้บรหิ ารการศกึ ษา และศึกษานิเทศก์

2. มรี ะยะเวลาการปฏิบตั ิงานไมน่ อ้ ยกว่า 10 ปี โดยปฏิบตั งิ านในประเภทที่ส่งผลงานเข้ารับการคัดเลือก
ตอ่ เนื่องกันไมน่ ้อยกวา่ 5 ปี นบั ถึงวนั ท่ีออกประกาศ

3. ไม่เคยไดร้ ับรางวัลคุรสุ ภา ระดบั ดีเด่นในประเภทเดยี วกันมากอ่ น
4. ไม่เคยกระทำความเสื่อมเสียใด ๆ อันเป็นการบกพร่องในศีลธรรมอันดี และการประกอบวิชาชีพ
ทางการศกึ ษา
5. ไม่อยู่ระหว่างการถูกแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนวินัย ถูกดำเนินการทางวินัยหรือเป็นผู้เคยถูก
ลงโทษทางวินัย แม้จะไดร้ ับการล้างมลทนิ ตามพระราชบญั ญัตลิ า้ งมลทินแลว้ กต็ าม รวมทัง้ การดำเนนิ การเก่ียวกับ
การประพฤติผดิ จรรยาบรรณของวชิ าชพี
เกณฑ์การพิจารณา
1. ต้องเป็นผปู้ ฏิบตั ิงานตามมาตรฐานวชิ าชีพทางการศกึ ษาตามขอ้ บังคับคุรุสภา วา่ ด้วยมาตรฐานวิชาชีพ
พ.ศ. 2556 และขอ้ บงั คบั ครุ สุ ภา วา่ ดว้ ยจรรยาบรรณของวชิ าชพี พ.ศ. 2556 ได้แก่

1.1 มาตรฐานความรูแ้ ละประสบการณว์ ิชาชีพ
1.2 มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน
1.3 มาตรฐานการปฏบิ ัตติ น (จรรยาบรรณของวิชาชีพ)
2. ต้องเป็นผู้ที่จัดการเรียนรู้ จัดการศึกษา ที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนทั้งด้านผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (สำนักงานเลขาธกิ ารคุรสุ ภา, 2563)

247

รางวลั ครูดีในดวงใจ

รางวลั โครงการ “ครดู ใี นดวงใจ” ครั้งท่ี 18 พ.ศ. 2564 เพ่อื สรรหาและคัดเลอื กขา้ ราชการครูสายงานการ
สอน ผู้เป็นที่ศรัทธา ยกย่อง ยอมรับของนกั เรียน เพื่อนครู และสังคม ว่าเป็นแบบอย่างของผู้มีจิตวญิ ญาณแห่ง
ความเป็นครู และได้ทุ่มเทเสียสละ เพื่อช่วยดูแลนักเรียนอยา่ งต่อเน่ืองจนเกิดผลงานเปน็ ที่ประจกั ษ์ โดยเป็นผู้มี
ผลงานส่งผลตอ่ การยกระดับผลสัมฤทธิข์ องนักเรยี น เชน่ เปน็ เดก็ เก่ง เด็กทีม่ ปี ญั หาการเรยี นรู้ เดก็ พเิ ศษ เดก็ ด้อย
โอกาส หรือเด็กที่มีปัญหาทางพฤติกรรม ทั้งนี้ นักเรียนที่อยู่ในความรับผิดชอบส่วนใหญ่ มีผลการประเมิน
มาตรฐานในเกณฑ์ดี หรือมีพัฒนาการสูงขึ้นตามลำดับ มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนและ
ส่งเสริมการเรียนร้ขู องนักเรียน จนส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพของนกั เรยี นอย่างเป็นรปู ธรรมเปน็ บุคคล ที่ครอง
ตน ครองคน และครองงานได้อย่างเหมาะสมให้ได้รับยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็น “ครูดีในดวงใจ” และเผยแพร่
ผลงานความดีใหป้ รากฏต่อสาธารณชน เพื่อเปน็ แบบอย่างของครูและเด็กให้ทำความดี
เกณฑ์การพจิ ารณา

กรอบแนวคดิ สำคญั ของแบบประเมนิ ครดู ีในดวงใจ ดังนี้
1. แบบประเมินตอนที่ 1 ประเมินจิตวิญญาณแห่งความเป็นครู ประกอบด้วยครูมีความรักและเมตตา
ประพฤตติ นเป็นแบบอยา่ งทดี่ ตี ่อนักเรยี น มีความรกั และศรัทธาในวชิ าชพี ครแู ละเปน็ สมาชกิ ท่ดี ขี ององคก์ รวิชาชีพ
ครู มีการช่วยเหลือเกื้อกูลเพื่อนครูและชุมชนในทางสร้างสรรค์ และมีความเป็นผู้นำในการอนุรักษ์พัฒนา ภูมิ
ปญั ญาทอ้ งถ่นิ และวัฒนธรรมไทย 20 คะแนน
2. แบบประเมินตอนที่ 2 ประเมินความสามารถในการจัดการเรียนการสอน ประกอบด้วยครูมีความ
มุ่งมั่นในการพฒั นาตนเพ่ือปฏิบัตหิ น้าที่ให้มีคุณภาพ ถูกต้อง ครบถ้วน และสมบูรณ์ มีความตั้งใจและเต็มใจใน
การให้บริการแก่ผู้รับบริการ สร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมในการพัฒนาองค์กรและพัฒนาวิชาชีพ มีความรู้
ความสามารถในการออกแบบและจัดทำหน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้ มีการจัดการเรียนรู้ที่เน้น
ผเู้ รยี นเป็นสำคญั มีการใชแ้ ละพฒั นาสือ่ นวตั กรรมเทคโนโลยีเพอื่ จดั การเรียนรู้ มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ที่มีประสิทธิภาพ มีการจัดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมการเรียนรู้ ความสุข และ
ความปลอดภัยของผเู้ รียน และมกี ารวิเคราะห์สภาพปญั หาของนักเรียน นำไปสงั เคราะห์หาแนวทาง วิธีการ เพื่อ
พฒั นาผเู้ รยี น 35 คะแนน
3. แบบประเมินตอนที่ 3 ประเมินการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย ครูใช้หลัก
คุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความคุ้มค่า และหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการ
ปฏิบตั ิงาน 15 คะแนน
4. แบบประเมินตอนที่ 4 ประเมินผลงานเชิงประจักษ์จากการปฏิบัติหน้าที่ ประกอบด้วยผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนของผูเ้ รียน ผลการพัฒนาคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ผู้เรียนมีผลงานดีเด่นเป็นทีป่ ระจักษ์และครูมี
ผลงานดีเด่นเป็นท่ีประจักษ์ 30 คะแนน (สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต 1, 2563)

รางวัลครเู จา้ ฟา้ กรมหลวงนราธวาสราชนครินทร์

โครงการพระเมตตาสมเด็จย่าได้เห็นถึงความเสียสละของครูที่ปฏิบัติหน้าที่อยู่ในถิ่นทุรกันดาร ซึ่งเป็น
แม่พิมพแ์ ละแบบอย่างของการพัฒนาเยาวชนและประชาชนให้เปน็ คนดีและคนเก่ง ตามพระปณธิ านของสมเดจ็

248

พระศรีนครินทราบรมราชชนนี และ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราช
นครินทร์ จึงได้จัดทำโครงการครูดีเด่น “รางวัลครูเจ้าฟ้ากรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์” เพื่อเป็นการเชิดชู
เกียรติ เป็นขวัญกำลังใจ โดยมอบรางวัลแก่ครทู ี่ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเสียสละความสุขส่วนตัวเพื่อส่วนรวมมา
โดยตลอด และเปน็ การเผยแพร่ผลงานคณุ งามความดี และยกยอ่ งเชิดชูเกยี รติผ้ไู ด้รบั รางวัล ให้เปน็ แบบอย่างการ
ทำความดีให้ปรากฏแก่ครู นักเรียน และประชาชนทั่วไป กำหนดวันรับ “ รางวัลเจ้าฟ้ากรมหลวงนราธิวาสราช
นครินทร์” ในวันที่ 6 พฤษภาคม (ของทุกปี) ซึ่งวันคล้ายวันประสูติของสมเด็จพระพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลป์ยาณิ
วฒั นา กรมหลวงนราธวิ าสราชนครินทร์
เกณฑก์ ารพิจารณา

1. เปน็ ผ้ทู ่ีมคี วามซื่อสตั ยต์ ่อตนเองและผู้อืน่ มคี ุณธรรม ยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ

2. มีความรับผิดชอบ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการนำนวัตกรรมการเรียนการสอน หรือการจัด
กระบวนการเรียนรมู้ าพัฒนางานตนเอง

3. เป็นผู้นำในการพัฒนาโรงเรียน/ศูนย์การเรียนฯ/ชุมชน และนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา
ประยุกต์ใช้กับตนเอง และงานที่รับผิดชอบ

4. มีผลงานเชิงประจักษ์ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในโรงเรยี นเรยี น/ศนู ยก์ ารเรียนฯ/ชุมชน (โครงการพระเมตตาสมเด็จย่า,
2552)

249

สรุปการเป็นแบบอยา่ งท่ีดี การมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม การเปน็ พลเมอื งท่เี ขม้ แขง็
การดำรงตนใหเ้ ป็นทเ่ี คารพและศรทั ธาแกผ่ ู้เรียนและสมาชิกในชุมชน

การปฏบิ ตั ติ นเปน็ แบบอยา่ งที่ดี เป็นการแสดงออก การประพฤติและปฏบิ ัติในดา้ นบุคลิกภาพทวั่ ไป การ
แต่งกาย กิริยา วาจา คุณธรรมและจริยธรรมที่เหมาะสมกับความเป็นครูอย่างสม่ำเสมอ ที่ทำให้ผู้เรียนเลื่อมใส
ศรัทธา และถอื เป็นแบบอย่าง

การท่จี ะเปน็ แบบอย่างทด่ี ไี ดน้ ั้น จะตอ้ งมคี วามดีพร้อม ท้ังในด้านการมีคณุ ธรรมและจริยธรรมต่อตนเอง
ต่อครอบครัว ต่อผู้เรียน เพื่อนร่วมงาน สังคม และประเทศฃาติ ผู้ที่ขึ้นชื่อว่าเป็นแบบอย่างจะต้องดำรงตนไป
ในทางที่เหมาะสมเพราะคณุ ครูเปรียบเสมือนแม่แบบของเด็กๆเมื่อครูอยู่ในสถานศึกษาควรรู้หน้าที่และบทบาท
ตนเองในการปฏิบัติตนต่อผู้เรียนและมีน้ำใจเอื้อเฟื้อต่อเพื่อนร่วมงาน เมื่อหมดหน้าที่ในโรงเรียนแล้วบทบาท
หน้าที่ต่อไปของคุณครูคือสมาชิกของครอบครัว คุณครูก็จะมีหน้าที่ไปอีกรูปแบบหน่ึงในการดูแลครอบครัวและ
เปน็ สมาชิกท่ดี ขี องครอบครัว นอกจากเป็นสมาชิกที่ดขี องครอบครวั แล้วเมอื่ อยู่ในสงั คมบคุ คลที่ขึ้นชื่อว่าครูก็จะมี
บทบาทกับสังคมไปในอกี รปู แบบหนึ่งในฐานะของผู้พฒั นาบคุ ลากรที่มคี ุณภาพใหแ้ ก่ประเทศชาติ

จะเห็นได้คนเป็นครูจะสอนเป็นอย่างเดียวไม่ได้แต่พึงจะต้องมีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตนเป็น
แบบอยา่ งท่ีดีใหเ้ ป็นทเ่ี คารพศรัทธาท้ังกับครอบครวั ผู้เรียน เพอื่ นร่วมงาน และสมาชิกในชมุ ชนด้วย

250

อา้ งองิ

โครงการพระเมตตาสมเดจ็ ย่า. (2552). รางวลั ครเู จ้าฟา้ กรมหลวงนราธวาสราชนครนิ ทร์ (ออนไลน)์ .
เข้าถึงไดจ้ าก: https://www.somdejya.org. (วันท่ีสบื คน้ ข้อมูล: 8 มีนาคม 2564)

จินตนา ยนู ิพันธ์ุ, หลกั คุณธรรมจริยธรรมสําคญั ของศาสนาคริสต์. (2548). (ออนไลน์).
เข้าถึงได้จาก : https://socialkrutik.wordpress.com (วนั ที่สืบคน้ ข้อมลู 1 มนี าคม 2564)

จรี ะวฒุ ิ โคกใหญ่. (2557). ลักษณะของครูท่ดี ี. (ออนไลน์).
เขา้ ถึงได้จาก : https://sites.google.com/site/krutubtib/khru/laksna-khxng-khru-thi-di.
(วันท่สี บื ค้นข้อมูล 7 มีนาคม 2564)

ปณดิ า ปัตตาทานัง. (2021). หนา้ ทีพ่ ลเมือง. (ออนไลน)์ .
เข้าถึงได้จาก : http://panidar7241.blogspot.com/2013/07/blog-post_27.html
(วันท่ีสบื คน้ ข้อมลู : 7 มีนาคม 2564)

ปราชญา กลา้ ผจญั . (๒๕๔๙). คณุ ธรรมจรยิ ธรรมผ้นู ำรัฐ. กรงุ เทพฯ: ก. พล การพมิ พ์ จำกดั .
(วันท่ีสบื คน้ ขอ้ มลู : 4 มนี าคม 2564)

ผูช้ ว่ ยศาสตราจารยด์ ร.ดวงเดือน พนิ สุวรรณ.(2562).คุณธรรมจริยธรรมสำหรับครู. (ออนไลน์).
เข้าถึงได้จาก : https://graduate.sru.ac.th. (วันท่สี ืบค้นข้อมูล: 8 มีนาคม 2564)

พรรณอร อชุ ภุ าพ.(2561 ) การศกึ ษาวชิ าชีพครู. สำนักพิมพแ์ ห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั .
พระธรรมปฎิ ก (ป.อ.ยุตโต )(2540).ความหมายของคุณธรรม.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโฺ ต). (2547, น. 21-22). คณุ ธรรมตามหลักศาสนาพทุ ธ.
พระมหาบญุ มี มาลาวชโิ ร.(2547). หนงั สือครองตน ครองคน ครองงาน.
พระเมธธี รรมาภรณ์ (ประยรู ธมมจิตโต). (2538: น.15-16). ความหมายของคณุ ธรรม.
ไพฑรู ย์ สนิ ลารตั น์.(2561). มาตรฐานวิชาชพี ทางการศึกษา. วทิ ยาลัยครศุ าสตร์, มหาวิทยาลยั ธรุ กิจบัณฑิตย์.
มูลนิธิครูดีของแผน่ ดิน.( 2560). ครูดขี องแผ่นดนิ เจรญิ ตามรอยเบื้องพระยุคลบาท.(ออนไลน)์

เขา้ ถึงได้จากจาก : http://www.thaisuprateacher.org. (วันทีส่ ืบคน้ ข้อมลู :10 มีนาคม 2564)
มลู นธิ ิรางวัลสมเดจ็ เจา้ ฟา้ มหาจักรี. (2563). รางวลั สมเด็จเจา้ ฟา้ มหาจกั รี.

251

(Princess Maha Chakri Award). (ออนไลน)์
เข้าถึงได้จาก : https://www.pmca.or.th (วนั ที่สบื ค้นขอ้ มลู : 7 มนี าคม 2564 )
รศ.ยนต์ ชุ่มจติ .(2558). ความเป็นครู.โอเดียนสโตร์, สนพ.

สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1. (2563). รางวัลโครงการ
“ครูดใี นดวงใจ” ครั้งท่ี 18 พ.ศ. 2564. (ออนไลน)์
เขา้ ถึงได้จาก : http://www.surinarea1.go.th. (วนั ทส่ี ืบค้นข้อมูล: 8 มีนาคม 2564 )

สำนักงานเลขาธกิ ารคุรสุ ภา. (2539). แบบแผนพฤตกิ รรมจรรยาบรรณครู พ.ศ. 2539.

กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพค์ รุ สุ ภาพลาดพร้าว. 2541. (ออนไลน์)

เขา้ ถึงไดจ้ าก : https://www.kruupdate.com/36567/ . (วันท่ีสืบค้นขอ้ มูล: 4 มีนาคม 2564)

สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2563). การคัดเลือกผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาเพื่อรับรางวัลคุรุสภา
ประจำปี 2563. (ออนไลน์)

เขา้ ถงึ ได้จาก : https://www.ksp.or.th. (วันท่สี บื ค้นข้อมูล: 8 มีนาคม 2564)
อษุ ณีย์ ธโนศวรรย.์ (2562). The 2019 Global Teacher Prize: ครทู ่ดี ที ีส่ ุดในโลก. (ออนไลน์)

เขา้ ถงึ ได้จาก : https://www.kroobannok.com/86487. (วันท่ีสืบค้นข้อมลู : 7 มีนาคม 2564)

252

บทท่ี 10

สภาพการณพ์ ฒั นาวชิ าชีพครู กลวิธีการพัฒนาการศกึ ษาทย่ี ง่ั ยืน ความรอบรู้ ทนั สมัย

ทันต่อการเปลยี่ นแปลงในบรบิ ทโลก

สภาพการณพ์ ัฒนาวิชาชีพครู

1.การผลติ

1.1 สถาบนั ผลติ ครู/มหาวทิ ยาลัย ปรญิ ญาตรี (หลักสูตร 4 ปี / หลกั สูตร 5 ปี)
มหาวทิ ยาลัย และสถาบันการผลติ ที่เปิดหลักสตู รทางการศกึ ษาอยู่ในประเทศไทย

1.1.1 กลมุ่ มหาวิทยาลยั รัฐ
1.1.2 กล่มุ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี
1.1.3 กลุม่ สถาบนั พัฒนศิลป์
1.1.4 กลุ่มคณะศกึ ษาศาสตร์ สถาบันการพลศกึ ษา
1.1.5 กลุ่มมหาวิทยาลยั ราชภฏั
1.1.6 สถาบนั ผลติ ภาคเอกชน (ท่ีมา: ครูวันด.ี สถาบนั ผลติ ครูปี2563 หลังคุรุสภารับรอง
หลกั สตู ร. 2564)
มาตรฐานทางวิชาชพี ระหว่างครู 4ปี และครู 5 ปี แตกต่างกันหรือไม่? ในการจัดทำขอ้ เสนอการผลติ ครู
ทั้งระบบ ซึ่งประกอบด้วย 3 ส่วนสำคัญคอื การปรับมาตรฐานวิชาชพี ครู ซึ่งเดิมมีทั้งหมด 11 มาตรฐาน มาเป็น
มาตรฐานที่อิงสมรรถนะมากขึ้น ส่วนที่สองคือ การปรับวิธีการได้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ จากเดิมผู้ที่เรียน
คณะครศุ าสตร์/ศึกษาศาสตรจ์ ะได้ใบอนุญาตประกอบวิชาชพี โดยอัตโนมัติมาเป็น การสอบเพ่ือขอรับใบอนญุ าตฯ
แทน และที่สำคัญคือ การปรับหลักสูตรจากหลักสูตรผลิตครู 5 ปี เป็นหลักสูตรผลิตครู 4 ปี แต่จะต้องเป็น
หลักสูตรที่ได้มาตรฐาน รวมถึงจะต้องดูแลไม่ให้ผู้ที่เรียนในหลักสูตรครู5 ปีเสียสิทธ์ิ เพราะหลักสูตรต้องมีแผน
เพราะครุศาสตรไ์ มใ่ ชแ่ ค่โรงผลติ ครู
ผศ.อรรถพล อนันตวรสกุล จากคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย สถาบันผลิตครูให้กับประเทศ
ผศ.อรรถพลกล่าวว่านโยบายกล่าวถูกชงจากสภาคณบดีคณะครุศาสตร์ ศกึ ษาศาสตรแ์ ห่งประเทศไทย โดยความ
เชื่อที่ว่าการเรียนครู 4ปี หรือ 5ปี ให้ผลที่ไม่แตกต่างกัน แต่ไม่ได้ผลวิจัยมารองรับ ผศ.อรรถพลอธิบายว่าการ
เรยี นครู 5 ปีนัน้ เรม่ิ ใช้มาต้ังแตป่ ี 2547 โดยเช่อื ว่าการเรียนครูเพ่ิมอีก 1ปี ทำให้ครมู คี วามรูแ้ ละประสบการณ์การ
ฝึกสอนที่แน่นกว่า และยังมีความสอดคล้องกับการใช้เทคโนโลยีใหม่ๆที่เพิ่มเติมเข้ามาในหลักสูตร (ที่มา: กอง
บรรณาธิการ วอยซท์ ีวี. ไขปม: เรียนครู หลกั สูตร 4 ปี - 5 ปี มีมาตรฐานตา่ งกันจริงหรอื .2560)

253

1.2 สถาบนั ผลติ ครู/มหาวทิ ยาลยั (ป.บัณฑิต)
ประจำปี 2563 จำนวน 43 แห่ง รัฐ/เอกชน ผา่ นการรบั รองจากครุ สุ ภา
ป.บัณฑิต หรือชื่อเต็มก็คือ หลักสูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพครู เป็นหลักสูตรสำหรับผู้ท่ีไมไ่ ด้จบสายครู
(คุรศุ าสตร)์ มาโดยตรง เช่น อกั ษรศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เป็นต้น ผู้ทส่ี ามารถเขา้ เรียนหลักสตู รนี้ได้ต้องเป็นผู้ท่ี
ประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษาในสถานศึกษาและมสี ญั ญาจ้างงานจากสถานศึกษาหรือไม่มี ก็ข้นึ อยู่หลักสูตรของ
กบั สถาบันผลิตครู (ป.บณั ฑติ )
1.3 ปัญหาทพ่ี บ

การผลติ ครไู มต่ รงกบั ความต้องการใช้งาน
การผลติ ครทู ่ขี าดความตอ่ เนอื่ ง เพราะนโยบายเปลยี่ นแปลงตามนโยบายนกั การเมอื ง
รฐั ลงทุนเพ่อื การผลิตครตู ่ำ ถ้าเทียบกับวชิ าชพี อ่นื ๆ

2. การพัฒนา

1 แบบบงั คับ
1.1 การอบรมตามที่คุรุสภากำหนด
อบรมการตอ่ ใบวิชาชพี อบรม 20ชม./ปี
ครูทม่ี ใี บประกอบฯ การต่อใบประกอบ 5ปี ต่อครั้ง เอกสารต่างๆที่เก่ียวข้อง หลกั ฐานการพัฒนาตนเอง

ไม่น้อยกว่า 3 กิจกรรม ในระยะเวลาใน 5 ปี (ที่มา: สำนักงานเลขาธิการกาคุรุสภา. คำแนะนำกาขอหนังสือขอ
อนญุ าตให้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา โดยไม่มีใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพ)

ครทู ี่ไม่มใี บประกอบฯ การตอ่ ใบประกอบ ทำหนงั สอื ขออนุญาตให้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา โดยไม่
มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ให้ประกอบวิชาชีพครั้งละไม่เกนิ 2 ปี โดยอนุญาตไมเ่ กิน 3 ครั้ง (ที่มา: สำนักงาน
เลขาธิการกาคุรุสภา. คำแนะนำกาขอหนังสือขออนุญาตให้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา โดยไม่มีใบอนุญาต
ประกอบวิชาชีพ)

1.2 การอบรมโดยสถานศกึ ษา/เขตพืน้ ที่การศกึ ษา/สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นึ พ้นื ฐาน
สถานศกึ ษามีการจดั อบรม เพอ่ื พฒั นาศักยภาพครูและบุคลากรในสถานศึกษา และไดผ้ ลสัมฤทธิ์การเรียนของ
นักเรียนเพมิ่ ข้ึนเขตพ้ืนท่ีการศึกษา จดั อบรม โดยใหโ้ รงเรยี นในสงั กัดส่งตวั แทนมาเข้ารว่ มอบรมตามกลุ่มงานนน้ั
สพฐ.จัดอบรม เพ่ือสนับสนนุ การจัดการเรียนการสอน ให้ไดต้ ามเป้าหมายของการจัดการศึกษา มีอบรมออนไลน์

2. แบบไม่บงั คบั
2.1 การอบรม
อบรมตามทีอ่ ยากอบรม หรือ มีความสนใจ หรอื อบรมตามสาขาเอกวชิ าทีส่ อน
2.2 การอบรมวุฒลิ กู เสือ
วุฒิทางลูกเสือที่เรียกตามประเภทของลูกเสือ (ใช้อักษรภาษาอังกฤษแทนความหมายตาม

ประเภทลูกเสือ) C = ลูกเสือสำรอง S = ลูกเสือสามัญ S.S. = ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ R = ลูกเสือวิสามญั
(ท่มี า: สำนกั งานลูกเสอื เขตพืน้ ท่กี ารศึกษากำแพงเพชร เขต 2 .วุฒิทางลูกเสือ) ยกตัวอย่าง ลูกเสือสำรอง

254

1.C.B.T.C. ผ่านการฝึกอบรมวชิ าผูก้ ำกบั ลกู เสือสำรองข้นั ความรูเ้ บ้อื งตน้
2.C.A.T.C. ผา่ นการฝึกอบรมวชิ าผูก้ ำกับลูกเสอื สำรองข้นั ความรู้ชัน้ สงู
3.C.W.B. ผา่ นการตรวจขั้นท่ี 5 และไดร้ บั เครอื่ งหมายวดู แบดจ์ 2 ทอ่ น ประเภทสำรองแลว้
เมือ่ ไดร้ บั เครอ่ื งหมายวูดแบดจ์ 2 ทอ่ นแล้วก็ปฏิบตั งิ านตามแนวปฏิบตั ิในการขอเครื่องหมายลูกเสือที่สูงข้ึนแลว้
จึงสง่ เอกสารหลกั ฐานเสนอขอรับเครื่องหมายท่สี ูงขึ้น
A.L.T.C. ผ่านการฝกึ อบรมข้ันผู้ชว่ ยให้การฝกึ อบรม (3 ท่อน)
A.L.T. ไดร้ บั อนมุ ัตใิ ห้ไดร้ บั เครื่องหมายวดู แบดจ์ 3 ท่อนแลว้
L.T.C. ผ่านการฝึกอบรมขั้นผู้ใหก้ ารฝึกอบรม (4 ท่อน)
L.T. ไดร้ บั อนุมตั ใิ หไ้ ด้รบั เครอ่ื งหมายวูดแบดจ์ 4 ทอ่ นแลว้
1. วิชาผู้กำกับลูกเสือขั้นความรู้เบื้องต้น เดิมภาษาอังกฤษเรียกว่า Preliminary Training Course (
P.T.C. ) เดี๋ยวนี้เปลี่ยนหลังสูตรและเรียกชื่อใหม่เป็น Basis Unit Leaders Training Course ( B.T.C. ) (ที่มา:
สำนักงานลูกเสือเขตพื้นที่การศึกษากำแพงเพชร เขต 2 .วุฒิทางลูกเสือ) หมายเหตุ มอบหมายอำนาจให้เขต
การศกึ ษาเป็นผู้ ให้เลขรุ่นและจัดการฝกึ อบรมเองได้ ตงั้ แต่ 2 กรกฎาคม 2522
2. วิชาผู้กำกับลูกเสือขั้นวูดแบดจ์หรือขั้นความรู้ชั้นสูง เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2503 เดิมในภาษาอังกฤษ
เรียกว่า Wood Badge Training Course เดี๋ยวนี้เปล่ียนหลักสูตรและเรียกช่ือใหม่เป็น Advance Unit Leader
Training Course ( A.T.C. )
2.1 วชิ าผกู้ ำกบั ลกู เสือสำรอง ข้นั ความรชู้ นั้ สงู รบั เคร่อื งหมายวูดแบดจ์ ชนิด 2 ท่อน
2.2 วชิ าผกู้ ำกับลกู เสือสามญั ข้นั ความรู้ชัน้ สงู รบั เครอ่ื งหมายวดู แบดจ์ ชนดิ 2 ท่อน
2.3 วิชาผกู้ ำกับลูกเสอื สามัญร่นุ ใหญ่ ขัน้ ความรู้ช้ันสูง รบั เครือ่ งหมายวูดแบดจ์ ชนิด 2 ทอ่ น
2.4 วชิ าผูก้ ำกับลูกเสือวิสามัญ ขั้นความรู้ชั้นสงู รับเคร่ืองหมายวดู แบดจ์ ชนดิ 2 ทอ่ น
2.5 วิชาผบู้ ังคับบญั ชาลูกเสือระดบั ผนู้ ำ ขนั้ ความรู้ช้นั สูง รบั เครื่องหมายวดู แบดจ์ ชนดิ 2 ทอ่ น
3. วิชาผู้กำกับลูกเสือข้ันผู้ช่วยผู้ให้การฝึกอบรมเดิมภาษาอังกฤษเรียกว่า National Trainers Course
(N.T.C) เด๋ยี วนีเ้ ปลย่ี นหลักสตู รและเรยี กชอ่ื ใหม่เป็น Advance Leader Training Course ( A.L.T.C. )
รบั เครื่องหมายวดู แบดจ์ ชนิด 3 ท่อนและได้รับการแตง่ ตง้ั ใหเ้ ปน็ ผู้ชว่ ยผู้ ให้การฝึกอบรม (A.L.T. )
4. วิชาผกู้ ำกับลกู เสอื ข้ันหัวหน้าผู้ให้การฝกึ อบรมเดมิ ภาษาอังกฤษเรยี กว่า National Trainers the
teamCourse ( I.T.T.C )เดีย๋ วนีเ้ ปล่ียนหลกั สูตรและเรยี กช่ือใหมเ่ ป็น Leader Training Course ( L.T.C. ) รับ
เครอ่ื งหมายวดู แบดจ์ ชนิด 4 ทอ่ นและได้รบั การแตง่ ตั้งให้เปน็ หวั หนา้ ผู้ ให้การฝึกอบรม ( L.T. ) การอยู่คา่ ยพัก
แรมของลกู เสอื เนตรนารี ยุวกาชาด และผู้บำเพ็ญประโยชน์ ณ ค่ายลูกเสือวชริ าวธุ (ท่ีมา: สำนักงานลกู เสือเขต
พนื้ ที่การศึกษากำแพงเพชร เขต 2 .วุฒทิ างลูกเสือ)

255

2.3 การทำวิทยฐานะ
วทิ ยฐานะเกณฑ์ ว21/2560 คณุ สมบัตกิ ารขอ

1. ระยะเวลาของการดำรงตำแหนง่ ครู กำหนดให้แต่ละช่วงเปน็ ระยะเวลา 5 ปี นับถึงวนั ทยี่ ืน่ คำขอ
2. ชว่ั โมงการปฏบิ ตั งิ านในตำแหนง่ ครู ซง่ึ มกี ารกำหนดภาระงานสอนข้นั ต่ำ 12 ชม./สปั ดาห์ รวมแล้วปี
ละ 800 ชม./ปี และในระยะ 5 ปี ตอ้ งได้ 4000 ชม.
3. สำหรับการขอมีวิทยฐานะชำนาญการและชำนาญการพิเศษ และ 900 ชม/ปี รวมระยะเวลา 5 ปี ต้อง
ได้ 4500 ช.ม. สำหรับวิทยฐานะเชี่ยวชาญ โดยตอ้ งมชี ม. PLC ไมน่ อ้ ยกว่าปลี ะ 50 ชม.
4. ไม่เคยถกู ลงโทษทางวินยั หรือจรรยาบรรณวิชาชพี
5. ผา่ นการพฒั นาตามเกณฑแ์ ละวิธีการตามที่ กคศ.กำหนด ข้ันตำ่ ปีละ 12 ชม. แตใ่ นระยะเวลา 5 ปี
ตอ้ งได้ 100 ชม.หากในปใี ดมีชมการพฒั นาไม่ครบ 20 ชม.ใหน้ ำชม.ส่วนที่เกนิ จาก PLC 50ชม. มารวม
6. ผ่านการประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านในระยะเวลา 5 ปี ย้อนหลงั ไม่นอ้ ยกว่า 3 ปีการศกึ ษา (ทมี่ า: ครู
อาชพี ดอทคอม.การทำวิทยฐานะ ว21/2560. 2562)
การจัดทำผลงานเพอ่ื เลือ่ นวิทยฐานะ ว21/2560 ข้นั ตอนการทำ ว21
1. ดู กพ7 ครองตำแหนง่ วทิ ยฐานะปจั จุบนั วนั เดือน ปี อะไร
2. คำนวณ /ต้งั เป้าหมายวันทีม่ ีคณุ สมบตั หิ รอื วนั ท่ตี ้งั ใจจะขอเล่ือน วทิ ยฐานะ เพ่ือนับ รอบปี แตล่ ะปี
สำหรบั เตรียม วฐ 1( เกยี่ วขอ้ งกบั การ วางแผนเก็บ ชัว่ โมงอบรมและpIc)
3. เมื่อตั้งเปา้ หมายวันที่จะย่ืนขอเล่ือนขอ วทิ ยฐานะได้แล้วกม็ า ดวู ่า เราต้องประเมนิ ผล การปฏิบัติงาน
13 ตัวชี้วดั ใน วฐ 2 ปีการ ศึกษาไหนบา้ ง
4. จดั เตรยี มเอกสาร ตาม13 ตัวช้ีวดั แลว้ ทำวฐ 2 ประเมินตัวเอง แล้วย่นื ขอรบั การประเมินทกุ ส้นิ ปี
การศกึ ษา กรอกผลประเมนิ แต่ละปีลงไป ใน วฐ 3 เกบ็ ผลประเมนิ ไว้ทต่ี นเอง/รร (ย้าย ไปไหนก็หอบผลประเมิน
ไปด้วยไม่ตอ้ งกงั วล)
5. เมอ่ื ครบ 5ปี ท่ีมีคุณสมบตั ิ/วนั ทพี่ รอ้ ม วางแผนไว้แตต่ ันกย็ น่ื วฐ 1 วฐ2วฐ 3 (ท่ีเรา เก็บไวท้ ุกปี) แจง้
รร. ไปวา่ เราจะขอเล่อื น วทิ ยฐานะ ที่เหลือ รร จะตรวจสอบจัดสง่ เอกสารเอง
6. ป.ล. การทำ วฐ1 ตั้งเบา้ หมายยืน่ วนั ไหน ก็ ต้องยืน่ วนั นน้ั (ท่ีมา: Getupschool. 6 ขัน้ ตอน การทำ
ว.21 เพอ่ื เลื่อนวิทยฐานะ. 2563)
(วPA) Performance Agreement
Performan แปลวา่ สมรรถนะ, สมรรถภาพ , ประสิทธภิ าพ, พฤติกรรม
Agreement แปลว่า การเหน็ ดว้ ย, การเหน็ ชอบรว่ มกัน,การยอมรับร่วมกนั , ข้อตกลง, ความตกลง
สรุปแล้ว Performance Agreement คอื การประเมินผลการปฏบิ ัตงิ านตามขอ้ ตกลง (ทมี่ า: ครอู ัพเดท
ดอทคอม. แผนภาพอธบิ ายวิทยฐานะ ช่วงเปลยี่ นผา่ น จากเกณฑ์เก่าไป PA. 2564)
วันที่ 1 พฤษภาคม 2564 ก.ค.ศ ประกาศใช้หลักเกณฑ์ใหม่ วันที่ 1 ตุลาคม 2564 มีผลบังคับใช้ (ที่มา:
รศ.ดร.ประวติ เอราวรรณ์ รองเลขาธกิ าร ก.ค.ศ. ก.ค.ศ. ปรบั ปรุงมาตรฐานตำแหน่งและมาตรฐานวิทยฐานะเป็น

256

ของขวัญปีใหม่ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. 2562) คุณครูทุกคนต้องเริ่มทำเกณฑ์ PA โดยรอบ
การประเมนิ รอบท่ี 1 จะอยรู่ ะหวา่ งวนั ที่ 1 ตลุ าคม 2564 ถึงวันท่ี 30 กันยายน 2565

วทิ ยฐานะแนวใหม่ วPA/2564 นน่ั จะมีการประกาศใช้ในเร็วๆ น้ี คาดว่าประมาณ 16 พ.ค. 2564 ข้อดี
ทีส่ ุดของ การทำ วpa/2564 กค็ ือ เรื่องระยะเวลา เพราะลดลงจาก ว21 ทใี่ ช้เวลา 5-5-5-5 ปี เหลอื เพียง 4-4-4-
4 (ที่มา: รศ.ดร.ประวติ เอราวรรณ์ รองเลขาธิการ ก.ค.ศ. ก.ค.ศ. ปรับปรุงมาตรฐานตำแหน่งและมาตรฐานวิทย
ฐานะเป็นของขวัญปใี หมใ่ หข้ า้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา. 2562)
สามารถลดลงไปได้อีกเหลอื เพยี ง 3 ปี ถ้าเข้าเงอ่ื นไข ดังนี้

1. เป็นผู้มีความสามารถทางภาษาต่างประเทศ ซึ่งจะเทียบกับเกณฑ์ผลการทดสอบ CEFR ที่คุรุสภาได้
กำหนดหลกั เกณฑ์ไว้ในการประเมินสมรรถนะทางวิชาชพี ครฯู

2. เป็นผปู้ ฏบิ ัติงานในพน้ื ทพ่ี เิ ศษ (พน้ื ท่ีเกาะ ภูเขาสูง พน้ื ที่มคี วามเสย่ี งตอ่ ความมั่นคงของประเทศ)
3. เปน็ ผพู้ ฒั นาตนเองอยา่ งต่อเนื่อง (การไดร้ บั วฒุ กิ ารศึกษาที่สงู ข้นึ )
4. เป็นผู้ผ่านการประเมินสมรรถนะตามกรอบคุณวุฒิอาชีพ จากสถาบันคุณวุฒิวิชาชพี (ที่มา: ครูอาชีพ
ดอทคอม. ดร.รัชศกั ดิ์ แก้วมาลา. การทำวทิ ยฐานะ ว21/2560)
2.4 การศกึ ษาตอ่ ในประเทศ
-ภาคปกติ มี 2 ประเภท

ประเภท 1 หน่วยงานตน้ สังกดั คดั เลือกส่งไปศกึ ษา
ประเภท 2 ตอ้ งไปสมคั รสอบ หรือคดั เลือกในสถานศึกษา
-ภาคนอกเวลา
การศกึ ษาตอ่ ภาคนอกเวลาราชการ โดยใช้เวลาราชการบางส่วนไปศึกษา
การศกึ ษาตอ่ ภายนอกเวลาราชการ โดยไม่ใช้เวลาราชการไปศึกษา

การศึกษาตอ่ ในตา่ งประเทศ
การขออนญุ าตไปศกึ ษาต่างประเทศ ในการให้ข้าราชการไปศกึ ษาฝึกอบรม ศึกษาต่อ ปฏิบตั ิการวิจยั และ
ดงู านตา่ งประเทศนนั้ สถานศึกษาต้องพิจารณาถึงอตั รากำลงั ที่มอี ยู่ และมผี ปู้ ฏบิ ัติงานเพียงพอที่จะไม่ใหเ้ กดิ ความ
เสียหายต่อราชการ โดยไมต่ อ้ งแต่งตง้ั อตั รากำลงั เพมิ่
2.5 ปัญหาทพ่ี บ

ระเบยี บปฏิบตั ไิ ม่เออื้ ตอ่ การพัฒนางานและการพฒั นาตนเอง ครู ส่วนใหญ่เปน็ ข้าราชการทำให้
ครมู ีสถานภาพมั่นคง ไม่เห็นความสำคัญของการพฒั นาตนเอง

ขาดระบบการติดตามและประเมินผลที่มีประสทิ ธิผล การติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผล
การปฏบิ ตั งิ านของครใู นปจั จุบนั ดำเนนิ การโดยผู้บังคบั บัญชาของครู

ลดภาระงานตา่ งๆของครูเพือ่ เพ่มิ เวลาสำหรบั การเรยี นรู้ และการพัฒนาตนเอง

257

3.การใช้

3.1 ครูในประเทศ
ครทู ม่ี ีใบประกอบฯ
ครจู บจากสถาบนั การผลิตครูหรอื มหาวทิ ยาลยั เป็นขา้ ราชการแล้ว และยังเปน็ อัตราจา้ ง สอน
ในรายวชิ าทจี่ บ ในระดบั มัธยมตรงสาขาวชิ าทีเ่ รยี นมา ส่วนประถมจะรบั การสอนในหลายวิชาในชัน้ เรยี น
การต่อใบประกอบ 5ปี ตอ่ คร้ัง เอกสารต่างๆทีเ่ กยี่ วข้อง หลักฐานการพัฒนาตนเองไมน่ อ้ ยกว่า
3 กิจกรรม ในระยะเวลาใน 5 ปี (ทมี่ า: สำนกั งานเลขาธิกาคุรสุ ภา. คำแนะนำกาขอหนังสอื ขออนญุ าตให้
ประกอบวิชาชพี ทางการศึกษา โดยไม่มีใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพ)
ครทู ี่ไมม่ ใี บประกอบฯ
ครูสอนโรงเรยี นเอกชน/ครูอตั ราจา้ งในโรงเรียนรฐั สอนตามรายวชิ าท่ีโรงเรยี นจดั ให้ หรือขาด
แคลน
การต่อใบประกอบ ทำหนังสือขออนญุ าตใหป้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา โดยไมม่ ีใบอนญุ าต
ประกอบวชิ าชีพ ใหป้ ระกอบวิชาชีพครง้ั ละไม่เกนิ 2 ปี โดยอนุญาตไมเ่ กนิ 3 ครั้ง (ทมี่ า: สำนกั งานเลขาธิ
กาคุรุสภา. คำแนะนำกาขอหนังสือขออนญุ าตให้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา โดยไม่มใี บอนญุ าต
ประกอบวิชาชีพ)
3.2 ครตู า่ งชาติ

สอนในรายวิชา ภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาญป่ี นุ่ สว่ นมากมาจาก

ประเทศ 1. ฟิลิปปนิ ส์ 2. องั กฤษ 3. สหรฐั อเมรกิ า 4. จนี 5. ญปี่ ่นุ 6. อนื่ ๆ

การต่อใบประกอบ ทำหนงั สอื ขออนญุ าตให้ประกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา โดยไมม่ ีใบอนุญาต

ประกอบวิชาชีพ ให้ประกอบวิชาชพี ครงั้ ละไมเ่ กิน 2 ปี รวมระยะเวลาไมเ่ กนิ 6 ปีตอ่ เนอ่ื ง

ครตู ่างชาติ ทอ่ี ยากสอนอยใู่ นไทยต่อ

ขออนญุ าตทำงาน หรอื work permit = ชาวต่างชาติทีต่ อ้ งเดนิ ทางเข้ามาทำงานในประเทศ
ไทย เพอ่ื ประกอบธุรกจิ กจิ การ หรือ ลูกจ้าง ทุกอาชีพนน้ั จำเปน็ ตอ้ งยน่ื ขอการเปลย่ี นประเภทการลงตราตาม
กฎหมายของราชอาณาจักรไทย ต้องยืน่ ขอการเปล่ียนแปลงประเภทการลงตราเป็น Non-Immigrant Visa ''B''
หรอื วซี ่าประเภทธุรกิจ และเม่ือทำการเปล่ียนลงตราเรยี บร้อยแลว้ จำเปน็ ต้องยน่ื ขอใบอนญุ าตทำงาน หรอื work
permit ไมอ่ ยา่ งนน้ั กจ็ ะไม่สามารถทำงานในราชอาณาจักรไทยได้ (ทมี่ า: บริษัท โปรเฟสชน่ั แนล วีซ่า แอนด์ ทรา
เวล เซอรว์ สิ จำกดั . การย่นื ขอ Work permit ใบอนญุ าตทำงาน)

การขออนุญาตทำงานครั้งแรก หรือเมื่อใบอนุญาตเดิมขาดหมดอายุจึงขอใหม่ คุณสมบัติที่จะขอ
ใบอนุญาตทำงาน

1. มีถิ่นที่อยู่ราชอาณาจักรหรือได้รับอนุญาตให้เข้ามาในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวตาม
กฎหมายวา่ ดว้ ยคนเขา้ เมือง (NON-IMMIGRANT) โดยมใิ ชไ่ ด้รับอนญุ าตใหเ้ ขา้ มาในฐานะนักท่องเท่ยี ว

258

2.มีความรูแ้ ละความสามารถในการทำงานตามทขี่ ออนุญาต
3.ไม่เปน็ บุคลวกิ ลจรติ หรอื มีจิตฟั้นเฟือน ไมเ่ ปน็ ผูเ้ จบ็ ปว่ ยด้วยโรคเรือ้ น วัณโรคในระยะสุดท้าย
โรคตดิ ยาเสพติดให้โทษรา้ ยแรง
4.ไม่เคยต้องโทษจำคุกในความผิดตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง หรือกฎหมายว่าด้วยการ
ทำงานของคนต่างด้าวภายในระยะเวลา 1 ปี ก่อนวันขอรับใบอนุญาต (ที่มา: บริษัท Education Center
Angthong. ข้นั ตอนการขอใบอนญุ าตทำงานให้ครูชาวต่างประเทศ. 2562)
3.3 นักปราชญ์ทอ้ งถ่นิ
เปน็ ครูทมี่ ีความรู้ ความสามารถ ในรายวิชาหรืองานนนั้ ๆ เชน่ วชิ าพระพุทธศาสนา วชิ าการงาน
อาชพี วชิ าที่ตอ้ งใช้ความรู้เฉพาะตวั หรอื ชมรมท่ีต้องใช้ครเู ฉพาะดา้ น (สอนเป็นช่ัวโมง/ภาคเรียน)
3.4 ปัญหา
ครมู ภี าระงานนอกจากการสอนเยอะเกนิ ไป ใช้ครูไปตรงตำแหนง่ งานหน้าที่
คา่ ตอบแทนครตู ำ่ เมอ่ื เปรยี บเทียบกับวชิ าชีพอืน่ ๆ ทร่ี ับผิดชอบตอ่ อนาคตและความสงบ
เรยี บรอ้ ยของคนในชาติ เปน็ ต้นเช่น อัยการ ตุลาการ แพทย์
ขาดระบบการติดตามและประเมินผลทีม่ ปี ระสทิ ธิผลการใช้ครู

กลวธิ ีการพัฒนาการศึกษาทีย่ งั่ ยืน

จุดเรมิ่ ตน้ แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง

ผลจากการใชแ้ นวทางการพัฒนาประเทศไปสู่ความทนั สมยั ได้กอ่ ให้เกิดการเปลย่ี นแปลงแกส่ งั คมไทย
อย่างมากในทกุ ด้าน ไม่วา่ จะเป็นดา้ นเศรษฐกจิ การเมือง วฒั นธรรม สังคมและสิ่งแวดลอ้ ม อีกท้ังกระบวนการ
ของความเปลย่ี นแปลงมคี วามสลับซับซอ้ นจนยากท่ีจะอธิบายใน เชงิ สาเหตุและผลลัพธ์ได้ เพราะการ
เปลีย่ นแปลงทั้งหมดตา่ งเป็นปจั จัยเช่อื มโยงซ่ึงกันและกัน สำหรับผลของการพฒั นาในด้านบวกนน้ั ได้แก่ การ
เพ่ิมขน้ึ ของอตั ราการเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกจิ ความเจรญิ ทางวตั ถุ และสาธารณูปโภคตา่ งๆ ระบบส่ือสารท่ี
ทันสมัย หรอื การขยายปริมาณและกระจายการศึกษาอย่างทว่ั ถึงมากขึ้น แต่ผลดา้ นบวกเหล่านส้ี ่วนใหญ่กระจาย
ไปถึงคนในชนบท หรอื ผ้ดู อ้ ยโอกาสในสังคมนอ้ ย แต่วา่ กระบวนการเปลย่ี นแปลงของสังคมไดเ้ กิดผลลบติดตาม
มาด้วย เชน่ การขยายตัวของรฐั เขา้ ไปในชนบท ไดส้ ง่ ผลให้ชนบทเกดิ ความอ่อนแอในหลายด้าน ท้งั การต้องพ่ึงพงิ
ตลาดและพ่อค้าคนกลางในการสงั่ สินค้าทนุ ความเสอื่ มโทรมของทรพั ยากรธรรมชาติ ระบบความสัมพนั ธ์แบบ
เครอื ญาติ และการรวมกลุ่มกนั ตามประเพณีเพอ่ื การจดั การทรัพยากรทีเ่ คยมอี ยู่แต่เดิมแตก สลายลง ภมู คิ วามรทู้ ่ี
เคยใช้แกป้ ญั หาและสั่งสมปรบั เปลย่ี นกันมาถูกลมื เลือนและเริ่ม สญู หายไป สง่ิ สำคัญ ก็คอื ความพอเพียงในการ
ดำรงชีวติ ซง่ึ เป็นเงอื่ นไขพนื้ ฐานทท่ี ำให้คนไทยสามารถพง่ึ ตนเอง และดำเนนิ ชีวติ ไปไดอ้ ย่างมศี ักด์ิศรภี ายใต้
อำนาจและความมีอิสระในการกำหนด ชะตาชวี ติ ของตนเอง ความสามารถในการควบคมุ และจดั การเพื่อให้
ตนเองได้รับการสนองตอบตอ่ ความต้อง การตา่ งๆ รวมทั้งความสามารถในการจัดการปญั หาตา่ งๆ ไดด้ ว้ ยตนเอง
ซ่งึ ทั้งหมดนถี้ อื ว่าเปน็ ศกั ยภาพพน้ื ฐานท่คี นไทยและสังคมไทยเคยมีอยูแ่ ต่ เดิม ต้องถกู กระทบกระเทอื น ซงึ่ วิกฤต

259

เศรษฐกจิ จากปญั หาฟองสบู่และปญั หาความออ่ นแอของชนบท รวมท้งั ปัญหาอ่ืนๆ ทเ่ี กดิ ข้ึน ล้วนแต่เปน็ ขอ้ พิสจู น์
และยืนยันปรากฎการณน์ ไี้ ดเ้ ปน็ อย่างดี (เป้าหมายการพัฒนาที่ยง่ั ยืน, 2559)

พระราชดำริวา่ ด้วยเศรษฐกิจพอเพยี ง

แผนการศึกษาแห่งชาติ (2560-2579) ได้ระบไุ ว้วา่ “...การพฒั นาประเทศจำเปน็ ตอ้ งทำตามลำดับข้ัน
ตอ้ งสรา้ งพนื้ ฐานคอื ความพอมี พอกิน พอใชข้ องประชาชนส่วนใหญเ่ บอ้ื งตน้ กอ่ น โดยใชว้ ธิ กี ารและอปุ กรณท์ ่ี
ประหยัดแตถ่ ูกตอ้ งตามหลักวิชาการ เม่ือได้พน้ื ฐานความมนั่ คงพร้อมพอสมควร และปฏบิ ัตไิ ดแ้ ล้ว จงึ คอ่ ยสร้าง
ค่อยเสริมความเจริญ และฐานะทางเศรษฐกจิ ข้นั ท่สี งู ขน้ึ โดยลำดับต่อไป...” (18 กรกฎาคม 2517)
“เศรษฐกจิ พอเพยี ง” เปน็ แนวพระราชดำริในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว ท่ีพระราชทานมานานกวา่ 30 ปี เป็น
แนวคิดทีต่ ้ังอยบู่ นรากฐานของวฒั นธรรมไทย เปน็ แนวทางการพฒั นาทีต่ ง้ั บนพ้ืนฐานของทางสายกลาง และ
ความไม่ประมาท คำนึงถงึ ความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล การสรา้ งภมู คิ ุม้ กันในตัวเอง ตลอดจนใชค้ วามรแู้ ละ
คณุ ธรรม เป็นพ้นื ฐานในการดำรงชวี ิต ทส่ี ำคญั จะต้องมี “สติ ปญั ญา และความเพียร” ซง่ึ จะ
นำไปสู่ “ความสุข” ในการดำเนินชีวิตอย่างแทจ้ ริง

ความหมายของเศรษฐกจิ พอเพียง จึงประกอบด้วยคุณสมบัติ ดงั นี้

1. ความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดที ไี่ มน่ ้อยเกนิ ไปและไม่มากเกินไป โดยไมเ่ บยี ดเบียนตนเองและ
ผู้อ่นื เชน่ การผลิตและการบรโิ ภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ

2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเก่ยี วกับระดบั ความพอเพยี งนั้น จะตอ้ งเป็นไปอยา่ งมีเหตผุ ล
โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยท่เี กยี่ วข้อง ตลอดจนคำนงึ ถงึ ผลทค่ี าดวา่ จะเกิดข้นึ จากการกระทำนนั้ ๆ อย่างรอบคอบ

3. ภมู คิ ุม้ กนั หมายถงึ การเตรยี มตัวใหพ้ ร้อมรบั ผลกระทบและการเปลีย่ นแปลงดา้ นตา่ งๆ ที่จะเกิดขนึ้
โดยคำนงึ ถงึ ความเปน็ ไปไดข้ องสถานการณ์ตา่ งๆ ท่ีคาดว่าจะเกดิ ขน้ึ ในอนาคต

เงอื่ นไข ของการตัดสินใจและดำเนินกิจกรรมตา่ งๆ ใหอ้ ย่ใู นระดับพอเพียง 2 ประการ ดังน้ี

1. เงือ่ นไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบร้เู ก่ยี วกับวชิ าการตา่ งๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งรอบด้าน ความรอบคอบท่ี
จะนำความรูเ้ หลา่ นั้นมาพิจารณาใหเ้ ช่ือมโยงกัน เพ่ือประกอบการวางแผนและความระมัดระวงั ในการปฏบิ ัติ

2. เงื่อนไขคณุ ธรรม ทจี่ ะตอ้ งเสรมิ สรา้ ง ประกอบดว้ ย มคี วามตระหนักใน คณุ ธรรม มีความซื่อสัตย์สจุ รติ
และมีความอดทน มีความเพียร ใชส้ ติปญั ญาในการดำเนนิ ชีวิต

การนำเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใ์ ช้ ต้องคำนงึ ถงึ 4 มิตดิ ังนี้

1.เศรษฐกิจ ที่จะต้องลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ใช้ชีวิตอย่างพอควรคิดและวางแผนอย่างรอบคอบ มี
ภมู คิ ้มุ กนั ไมเ่ ส่ยี งเกินไป การเผือ่ ทางเลือกสำรอง

2.ด้านสงั คม ช่วยเหลอื เกื้อกลู รู้รักสามคั คี สรา้ งความเขม้ แขง็ ใหค้ รอบครัวและชมุ ชน
3.ด้านทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม รจู้ ักใช้และจดั การอยา่ งฉลาดและรอบคอบ เลือกใช้ทรัพยากร
ทม่ี อี ยูอ่ ยา่ งรู้คา่ และเกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ ฟื้นฟทู รพั ยากรเพอื่ ใหเ้ กิดความยัง่ ยนื สงู สดุ
4.ดา้ นวัฒนธรรม รักและเหน็ คณุ ค่าความเป็นไทย เอกลักษณไ์ ทย เหน็ ประโยชน์และคุ้มค่าของภูมปิ ัญญา
ไทย ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน รู้จักแยกแยะและเลอื กรบั วฒั นธรรมอน่ื ๆ

260

เก่ียวขอ้ งกับการศึกษาไทย

หลงั จากเกดิ วิกฤตการณก์ ารเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540 หรอื เรยี กทั่วไปในประเทศไทยว่า “วกิ ฤตตม้ ยำกุ้ง”
เป็นช่วงวิกฤตการณ์ทางการเงินซึ่งส่งผลกระทบถึงหลายประเทศในทวีปเอเชียเร่ิมตั้งแต่เดือนกรกฎาคม พ.ศ.
2540 ก่อให้เกิดความกลัวว่าจะเกิดการล่มสลายทางเศรษฐกิจทั่วโลกเนื่องจากการแพร่ระบาดทางการเงิน
ประเทศไทยก็มีรัฐธรรมนูญปี 2540 ซึ่ง มีแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี ตั้งแต่ 2540-2559 และรัฐธรรมนูญ ปี
พ.ศ.2550 มาตรา 83 รัฐตอ้ งส่งเสริมและสนับสนนุ ให้มีการดำเนนิ การตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

ปพี ทุ ธศกั ราช 2551 ประเทศไทยไดจ้ ดั ทำหลักสูตรแกนกลางขน้ึ โดยกล่มุ สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม ไดใ้ ส่แนวคดิ ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงไว้ใน มาตรฐาน ส 3.1 เขา้ ใจและสามารถ บรหิ าร
จดั การทรพั ยากรในการผลิตและการบรโิ ภค การใช้ทรพั ยากรที่มอี ยู่จำกัดไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพและคมุ้ ค่า
รวมทงั้ หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพอ่ื การดำรงชวี ติ อย่างมดี ลุ ยภาพ

1.มาตรฐานชว่ งชนั้ ที่ 1-2 (4) เข้าใจระบบและวิธกี ารของเศรษฐกจิ พอเพียงและสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้
กับชีวติ ประจำวันได้

2.มาตรฐานชว่ งช้นั ที่ 3-4 (5) เขา้ ใจเก่ยี วกับระบบและวิธกี ารของเศรษฐกจิ พอเพียง และสามารถนำไป
ประยุกต์ใชก้ ับชวี ิตประจำวนั ได้

การนำไปบูรณาการกับกลุ่มสาระอ่ืนโดยยึดหลักดังน้ี
1.ยึดสาระสงั คมเปน็ หลัก เพราะสังคมจะมหี วั ข้อเนือ้ หาชดั เจน ใหส้ อดแทรกความคิด/คณุ ค่า

คุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงคล์ งไปได้
2.ยทุ ธศาสตร์การสอนของครู สอดแทรกคุณธรรม วินัย ความรับผดิ ชอบ การคำนงึ ถึงการอยู่

รว่ มกับผอู้ ืน่ สภาพแวดล้อมและธรรมชาติ
3.เนน้ ใหเ้ ดก็ แสดงความคิดเหน็ อย่างมสี ว่ นรว่ ม วเิ คราะห์ปัญหาต่างๆ อยา่ งเป็นเหตุเป็นผล

รอบคอบ เปิดโอกาสใหค้ ิดแบบริเริ่มสร้างสรรค์ และมคี รคู อยแนะนำมีเพ่ือน แนะนำดว้ ยความจริงใจ
4.ยดึ ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงในการเรยี นรู้ เพือ่ อยู่รว่ มกนั อย่างเกดิ ประโยชนแ์ ละเป็นสขุ

รัฐธรรมนญู ปี 2560 มาตรา 257 (1) ประเทศชาติมีความสงบเรียบรอ้ ย มีความสามัคคีปรองดอง มีการ
พัฒนาอย่างย่ังยืนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีความสมดุลระหว่างการพัฒนาด้านวัตถุกับการ
พัฒนาดา้ นจติ ใจ

แผนการศึกษาแหง่ ชาติ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร โดยสำนกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษาจึงได้จัดทำแผนการศกึ ษาแห่งชาติ

พ.ศ. 2560 – 2579 โดยนำยุทธศาสตรช์ าติมาเป็นกรอบความคิดสำคญั ในการทำแผนการศึกษาแห่งชาติ มี
แนวคิด ซึ่งประกอบด้วย หลักการศึกษาเพื่อปวงชน (Education for all) หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(Sufficiency Economy)

261

สรุปเศรษฐกิจพอเพียง

เป็นวถิ กี ารดำเนินชีวติ ท่ีใช้คุณธรรมกำกับความรู้ เพื่อการพฒั นาตวั เอง ครอบครวั องคก์ ร ชุมชน สังคม
ประเทศชาติ ให้ก้าวหน้าไปพรอ้ มกับความสมดุล มั่นคง มงั่ คั่ง ย่งั ยืน เป็นหลกั คิดและหลักปฏิบตั ิ เพ่ือใหค้ นสว่ น
ใหญพ่ ออย่พู อกินพอใช้ไดอ้ ยา่ งมน่ั คง เพอื่ ใหค้ นในสงั คม สามารถอยูร่ ่วมกันได้อย่างสนั ติสุขเพือ่ ให้คนอย่รู ว่ มกับ
ธรรมชาติ ไดอ้ ย่างสมดุล ยั่งยนื และเพื่อให้แตล่ ะคนอยู่อย่างมีศกั ดิ์ศรี มรี ากเหงา้ ทางวัฒนธรรม

ความรอบรู้

บทบาท หนา้ ทแ่ี ละความรับผิดชอบของครูตามคำวา่ TEACHERS

ยนต์ ชมุ่ จิต (2553 : 76-83) ได้กลา่ วถงึ บทบาท หนา้ ท่ี และความรบั ผดิ ชอบของครตู ามคำวา่ TEACHERS
เอาไว้ ดงั ตอ่ ไปน้ี

1. T (teaching) การสอน: ครูมหี น้าท่แี ละความรบั ผดิ ชอบตอ่ การสอนศษิ ย์ เพ่อื ใหศ้ ิษยม์ คี วามรู้
ความสามารถในวิชาการทง้ั หลายทง้ั ปวง ซึ่งถอื ว่าเป็นงานหลักของผ้เู ปน็ ครูสอนทุกคน

2. E (ethics) จริยธรรม: ครตู ้องมหี น้าทแ่ี ละความรับผดิ ชอบตอ่ การอบรม ปลกู ฝังคุณธรรมจรยิ ธรรม
ใหแ้ กน่ ักเรียน ซึ่งถือว่าเปน็ หนา้ ท่หี ลกั อกี ประการหนง่ึ ของความเป็นครู

3. A (academic) วิชาการ: ครูตอ้ งมหี นา้ ท่แี ละความรับผดิ ชอบต่อวิชาการท้งั ของตนเองและของนกั เรียน
ซง่ึ ความจรงิ แลว้ งานของครตู อ้ งเกี่ยวขอ้ งกบั วชิ าการอยตู่ ลอดเวลา เพราะวิชาชพี ครูตอ้ งใช้ความรเู้ ป็นเครื่องมือใน
การประกอบวิชาชีพ

4. C (cultural heritage) การสืบทอดวัฒนธรรม: ครตู อ้ งมีหนา้ ทแี่ ละความรบั ผิดชอบต่อการสืบทอด
วัฒนธรรม การสอนศลิ ปะวทิ ยาการตา่ งๆ ให้กับลูกศษิ ยน์ ั้นยอ่ มถอื ว่าเปน็ การสืบทอดมรดกทางวฒั นธรรมจากคน
ร่นุ หน่ึงไปสู่คนอีกรนุ่ หนงึ่

5. H (human relationship) การมีมนุษยสัมพันธ์: ครตู อ้ งมีหน้าท่ีและความรับผดิ ชอบในการสรา้ งมนษุ ย
สัมพนั ธ์กบั บุคคลตา่ งๆ ที่ครูต้องเก่ียวข้องสมั พันธด์ ้วย เพราะการมีมนษุ ยสัมพันธ์ทด่ี จี ะก่อให้เกิดประโยชน์ตอ่
ตนเองและหมคู่ ณะ โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ประโยชนต์ ่อโรงเรียน

6. E (evaluation) การประเมินผล: ครูตอ้ งมีหน้าท่ีและความรับผิดชอบต่อการประเมนิ ผลต่อการเรยี น
ของศิษย์ งานของครใู นดา้ นน้ถี ือวา่ มคี วามสำคัญมากอีกประการหน่ึง ทั้งนเ้ี พราะการประเมินผลการเรยี นการสอน
เป็นการวัดความเจรญิ กา้ วหน้าของศษิ ย์ในดา้ นต่างๆ

7. R (research) การวจิ ัย: ครตู อ้ งมหี น้าท่ีและความรบั ผิดชอบโดยการตอ้ งพยายามหาความรคู้ วามจริง
เพือ่ แก้ปัญหาการเรยี นการสอนและแก้ปญั หาเกีย่ วกบั ตัวนักเรียน

8. S (service) การบริการ: ครตู ้องมหี นา้ ที่และความรบั ผิดชอบตอ่ การบรกิ ารศิษย์และผูป้ กครอง แต่
บางครัง้ กม็ คี วามจำเปน็ ที่จะตอ้ งให้บริการแก่ประชาชนในท้องถิ่นด้วย แตโ่ ดยธรรมชาตแิ ล้วงานบรกิ ารหลกั ของ
ครูคอื บรกิ าร

262

ใหค้ วามรู้เพอ่ื สร้างความเจริญงอกงามใหแ้ ก่นกั เรยี น สำหรบั ครนู น้ั นอกจากให้บริการนักเรียนแลว้
บางครง้ั ครยู งั ต้องให้บริการดา้ นคำปรึกษาหารือในดา้ นสขุ ภาพอนามัยแก่ชมุ ชน รวมทัง้ ช่วยแกป้ ญั หาใหแ้ กช่ ุมชน
รอบๆ โรงเรียนอกี ดว้ ย (ทม่ี า : ผศ.ดร.กัลยาณี พรมทอง. บทบาท หนา้ ท่ี และความรบั ผิดชอบของคร.ู (2559). )

จากบทบาท หน้าที่ทก่ี ล่าวข้างตน้ ครูจงึ ควรมีความรอบรู้ดังต่อไปนี้

ประสบการณ์

จากการศกึ ษาวจิ ัยของอรพรรณ ทมิ ครองธรรม ทวกิ า ประภา และสมจติ รา เรอื งศรี เรอ่ื ง “ปจั จัยที่สง่ ผล
ต่อการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของครูสหวิทยาเขตเบญจบูรพาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 2” วิจัยนี้ได้เรื่องประสบการณ์ของครูผู้สอนมาศึกษาวา่ มีผลต่อการจักการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี
21 หรือไม่ ผลปรากฏว่าส่งผล เพราะเมื่อประสบการณ์ของครูผู้สอนที่มากขึ้นจะมีวิธจี ัดการกับเนื้อหา กับเวลา
กับห้องเรยี นให้เกิดผลสำเร็จ เม่ือเทยี บกับประสบการณ์ของครูผู้สอนในชว่ งแรก (ท่ีมา: อรพรรณ ทิมครองธรรม
และคณะ. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดการเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ของครูสหวิทยาเขตเบญจบูรพา สังกัดสำนักงาน
เขตพื้นทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 2. (2560). )

ความรวู้ ชิ าท่สี อน

จากการศกึ ษาวารสารของผู้เขียนดร.จิติมา วรรณศรี เรอ่ื ง “คณุ ภาพการศึกษากับสมรรถนะของครูที่พึง
ประสงค์ ” ท่านได้กลา่ วถึงผลการเรยี นรูจ้ าก PISA 2003 ว่าอยู่ในระดับต่ำกว่ามาตรฐาน และได้เชือ่ มโยงกบั คำ
กล่าวที่ว่า “คุณภาพการศึกษาไม่สูงเกินไปกว่าคุณภาพของครู” ของบาร์เบอร์ (Barber, 2009) แสดงให้เห็นว่า
คณุ ภาพของการศึกษาย่อมข้นึ กับคุณภาพของครู นัน่ คอื หากครทู ำหน้าที่ของครูไดอ้ ยา่ งมีคุณภาพ ย่อมเช่ือม่ันได้
วา่ การศึกษาของชาตจิ ะมคี ุณภาพ แตก่ ารทคี่ ุณภาพการศกึ ษายงั ไมบ่ รรลุเป้าหมายดังที่เป็นอยู่ในปัจจบุ นั ปัจจัยที่
เป็นสาเหตุสำคัญก็คือ ครู ผู้ซึ่งมีหน้าที่หลักในการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียน โดยผลการศึกษาพบว่า
ผลสมั ฤทธิ์ของผู้เรียนแปรผันตามคณุ ภาพการสอนของครู กล่าวคือนกั เรยี นท่ีมผี ลสมั ฤทธิเ์ ทา่ กัน เม่อื เรยี นกับครูที่
มีผลการปฏบิ ัตงิ านสงู จะมีคะแนนสงู สว่ นนักเรยี นที่เรียนกบั ครทู ่ีมผี ลการปฏิบัติงานต่ำจะมีคะแนนต่ำ (ที่มา: ดร.
จิตมิ า วรรณศร.ี คุณภาพการศกึ ษากับสมรรถนะของครูทพี่ งึ ประสงค.์ (2552).)

ทฤษฎีการเรยี นรู้

จากการศึกษาทฤษฎีการเรียนรูต้ ่างๆ โดยคร่าวๆ ผู้เรียนแตล่ ะคนมีลักษณะทีแ่ ตกต่างกัน การเรียนร้จู งึ
ต่างกันด้วย ทฤษฏีการเรียนรู้เป็นทางเลือกให้ผู้สอนพิจารณาในการจัดการเรียนการสอนให้เหมาะกับผู้เรียน
เพราะการเรยี นท่คี รบถ้วนสมบรู ณ์ ผ้เู รยี นควรได้ศึกษากระบวนการในการคน้ ควา้ หาความร้เู พอื่ ให้เขา้ ถึงธรรมชาติ
ของสมองจะไดม้ คี วามคงทนในการเรียนไม่ลมื ง่าย และทสี่ ำคัญคอื จะได้พฒั นาศักยภาพของสมองใหเ้ ตม็ ที่ (ที่มา:
แบบเรียนของมหาวิทยาลัยรามคำแหง. หลักสูตรและสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์. บทที่ 4 แนวคิด/ทฤษฎีการ
เรยี นรทู้ เ่ี น้นพฤตกิ รรมและกระบวนการ.)

263

เพอื่ นรว่ มงาน

จากวทิ ายานิพนธข์ องนางศรีวรรณ แกว้ ทองดี เรอ่ื ง “แนวทางการพฒั นาตนเองของครใู นสถานศกึ ษา สห
วิทยาเขตบึงสามพันสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40” ได้มีกล่าวถึงเพื่อนร่วมงานไว้
ประมาณว่าความสมั พันธ์กับเพ่ือนร่วมงาน หมายถึง การติดต่อสมั พนั ธท์ ี่ดีตอ่ กันระหว่างเพือ่ นดว้ ยกัน เป็นปัจจัย
จูงใจเปน็ ปัจจยั ที่กระตนุ้ ให้เกิดแรงจงู ใจในการทำงาน ทำให้การทำงานมีประสิทธภิ าพเพ่ิมขน้ึ ผลผลติ เพิ่มขึ้น ทำ
ให้บุคคลพอใจในการทำงานส่วนปัจจัยค้ำจุนไม่ใช่สิ่งจูงใจที่จะทำให้ผลผลิตเพิ่มขึน้ แต่เป็นข้อกำหนดที่ป้องกัน
ไม่ให้พนักงานเกิดความไม่พอใจในงานที่ทำให้ ทั้งสองส่วนนี้จะทำให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิผลนั่นคือ มี
สมรรถนะในการปฏิบตั ิงาน (ทีม่ า: ศรวี รรณ แก้วทองด.ี แนวทางการพัฒนาตนเองของครใู นสถานศกึ ษา สหวิทยา
เขตบงึ สามพันสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 40. (2562).)

กฎหมาย

กฎหมายเหล่านี้ลว้ นมีความสำคัญกับการศึกษาโดยตรงและบุคลากรทางการศึกษาทุกคน เพราะจะช่วย
จัดระเบยี บ ค้มุ ครอง พฒั นาคณุ ภาพชีวิต และรับรสู้ ิทธิอนั พงึ มขี องตวั เอง ในฐานะประชาชนคนไทยคนหน่ึงบนผนื
แผน่ ดินประชาธปิ ไตย (ทมี่ า: ผศ.ดร.กัลยาณี พรมทอง. กฎหมายท่ีเกย่ี วข้องกับการศึกษา. (2560).

ข่าวสาร

ธงชัย สันติวงษ์(2539) กล่าวว่า ทัศนคติก่อตัวเกิดขึ้นมาและเปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากปัจจัยหลาย
ประการด้วยกัน จะยกมาแค่คำว่า ข่าวสารข้อมูล (Information) ทัศนคติจะมีพื้นฐานมาจากชนิดและขนาดของ
ข่าวสาร ทไี่ ดร้ บั รวมทั้งลกั ษณะของแหลง่ ที่มาของข่าวสาร ด้วยกลไกของการเลือกเฟน้ ในการมองเห็น และเข้าใจ
ปัญหาต่างๆ (Selective Perception) ข่าวสารข้อมูลบางส่วนที่เข้ามาสู่บุคคลนั้น จะทำให้บุคคลนั้นเก็บไปคิด
และสรา้ งเปน็ ทศั นคตขิ ้นึ มาได้ (ทีม่ า: ณัฐนรี ไชยภักด.ี การเปิดรบั ขา่ วสาร ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการมี
สว่ นร่วมในโครงการ 7 สี ปันรักให้โลกของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร. (2552)

วิจัยในชน้ั เรียน

การวิจัยในชั้นเรียนเปน็ การพัฒนาทางเลือกในการแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาคณุ ภาพได้อย่างเหมาะสมเกิด
ประสิทธิผล มีประสิทธิภาพที่สุดในชัน้ เรยี น เพราะการวิจัยในชั้นเรียนไมเ่ พียงแต่เป็นกระบวนการค้นหาคำตอบ
อย่างเป็นระบบ หรอื เปน็ การศึกษาหาคำตอบโดยอาศัยวิธีทน่ี ่าเช่อื ถือได้เทา่ นนั้ แต่ยังเนน้ การแก้ปญั หาในชั้นเรียน
อีกดว้ ย (ที่มา : สหไทย ไชยพันธ. ครผู ู้สอนกับแนวปฏิบตั ิในการทำาวิจัย : วจิ ัยในชน้ั เรียน. (2553).

264

ความทันสมยั

1.สมยั โบราณ(พ.ศ.1781-พ.ศ.2411)

การศกึ ษาสมยั นเ้ี ป็นการศึกษาแบบสืบทอดวัฒนธรรมประเพณที ่มี มี าแตเ่ ดมิ จำเป็นทคี่ นไทยในสมยั นนั้
ต้องขวนขวายหาความรู้จากผรู้ ู้ในชุมชนตา่ งๆ ซ่งึ การศึกษาในสมัยนี้มีบา้ นและวดั เปน็ ศนู ย์กลางของการศึกษา

1.1การศกึ ษาในสมัยสโุ ขทัย(พ.ศ.1781-พ.ศ.1921)
สมัยน้ีพ่อขุนรามคำแหงไดก้ ารประดิษฐอ์ กั ษรไทยขน้ึ คร้งั แรก โดยทรงดัดแปลงมาจากตัวหนงั สอื ขอม
และมอญ อนั เป็นรากฐานด้านอักษรศาสตร์จนนำมาส่กู ารพัฒนาปรบั ปรุงเป็นอักษรไทยในปจั จบุ นั ในศลิ าจารกึ
หลกั ที่ 1 จงึ เป็นศลิ าจารึกที่จารกึ เปน็ อักษรไทยให้ความรูเ้ กี่ยวกับประวตั ิความเป็นมาของสโุ ขทัยในด้าน
ประวัติศาสตร์ หลงั จากที่ทรงคดิ ประดิษฐอ์ กั ษรไทยแล้วงานด้านอกั ษรศาสตร์เจริญข้ึน

1.2 การศกึ ษาในสมยั อยธุ ยา (พ.ศ. 1893 - พ.ศ. 2310)

การศกึ ษาวชิ าสามัญ เน้นการอา่ น เขียน เรียนเลข อันเป็นวชิ าพน้ื ฐานสำหรบั การประกอบสัมมาอาชีพ
ของคนไทย พระโหราธิบดไี ด้แตง่ แบบเรยี นภาษาไทย ชอ่ื จนิ ดามณี ถวายสมเด็จพระนารายณม์ หาราชซง่ึ ใชเ้ ป็น
แบบเรียนสบื มาเปน็ เวลานาน การศึกษาทางดา้ นภาษาศาสตร์และวรรณคดี ปรากฏวา่ มกี ารสอนทั้งภาษาไทยบาลี
สันสกฤต ฝรั่งเศส เขมร พม่า มอญ และภาษาจนี ในรัชสมัยสมเด็จ พระนารายณม์ หาราชมวี รรณคดีหลายเลม่ เช่น
เสือโคคำฉันท์ สมุทรโฆษคำฉันท์ อนริ ทุ ธ์คำฉนั ท์ และกำสรวลศรปี ราชญ์ เปน็ ตน้ ในสมัยกรุงศรีอยุธยาน้ยี งั คง
เหมอื นกับสมัยสุโขทัยทีต่ ่างออกไป คือ มโี รงเรียนมิชชันนารี เป็นโรงเรียนที่ชาวตะวนั ตกได้เข้ามาสรา้ งเพอ่ื
เผยแพร่ศาสนาและขณะเดียวกันก็สอนวิชาสามัญด้วย สมยั ชาติตะวนั ตกเข้ามาแลว้ มีการเรียนวิชาชพี ชั้นสงู ดว้ ย
เช่น ดาราศาสตร์ การทำน้ำประปา การทำปืน การพาณิชย์ แพทยศาสตร์ ตำรายา การก่อสร้าง ตำราอาหาร

1.3 การศึกษาในสมยั ธนบรุ แี ละรัตนโกสนิ ทรต์ อนตน้ (พ.ศ. 2311 พ.ศ. 2411)
1.3.1 สมัยพระเจ้ากรุงธนบุรีเป็นระยะเก็บรวบรวมสรรพตำราจากแหล่งต่าง ๆ ที่รอดพ้นจาก

การทำลายของพมา่ เนน้ การทำนุบำรงุ ตำราทางศาสนา ศิลปะและวรรณคดี
1.3.2 สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงฟื้นฟูการศึกษาด้านอักษรศาสตร์

วรรณคดี มีการแต่งรามเกยี รติได้เคา้ โครงเร่ืองมาจากอนิ เดียเรอ่ื ง รามายณะ ศิลปะ กฎหมาย เชน่ กฎหมายตรา
3 ดวง และหลกั ธรรมทางศาสนา มกี ารสงั คายนาพระไตรปฎิ ก

1.3.3 สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เร่ิมมีชาวยุโรปเช่น ชาติโปรตุเกสเข้ามา
ติดต่อทางการค้ากับไทยใหม่ หลังจากเลิกราไปเมื่อประมาณปลายสมัยอยุธยา และชาติอื่น ๆ ตามเข้ามาอีก
มากมาย เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส ฮอลันดา เป็นต้น เนื่องจากยุโรปมีการปฏิวัติอุตสาหกรรมทำให้เปลี่ยนระบบการ
ผลิตจากการใช้มือมาใชเ้ คร่ืองจกั ร พลังงานจากไอน้ำสามารถผลติ สินค้าไดม้ ากข้นึ จึงตอ้ งหาแหล่งระบายสนิ ค้า ใน

265

สมัยนี้ได้ส่งเสริมการศึกษาทั้งวิชาสามัญ โหราศาสตร์ ดาราศาสตร์ จริยศาสตร์ มีการตั้งโรงทานหลวงขึ้นใน
พระบรมมหาราชวงั เป็นท่ใี หก้ ารศึกษา

1.3.4 สมยั พระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกลา้ เจ้าอย่หู ัว ทรงส่งเสรมิ การศกึ ษาด้านศาสนาเปน็ พิเศษ มี
การจารึกวิชาความรู้สามัญและวิชาชีพลงในแผ่นศิลาประดับไว้ตามระเบียงวัดพระเชตุพนจนมีผู้กล่าวว่าเป็น
มหาวิทยาลยั แห่งแรกของไทย มกี ารใช้หนังสอื ไทยช่ือ ประถม ก กา และประถมมาลา นับเป็นแบบเรียนเล่มที่ 2
และ 3 ต่อจากจินดามณีของพระโหราธบิ ดี ต่อมานายแพทย์ ดี บี บรัดเลย์ไดน้ ำกจิ การแพทย์สมยั ใหม่ เช่น การ
ผ่าตัดเข้ามารักษาคนไข้และการตัง้ โรงพิมพ์หนงั สือไทยเป็นครั้งแรกในปีพ.ศ. 2379 โดยรับจ้างพิมพ์เอกสารทาง
ราชการเรอื่ งหา้ มสบู ฝ่นิ จำนวน 9,000 ฉบับ เมือ่ ปีพ.ศ. 2382

1.3.5 สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในสมัยนี้ชาวยุโรป และอเมริกันเริ่มเข้ามา
ติดต่อค้าขายและสอนศาสนา มีการนำวิทยาการสมัยใหม่ ๆ เข้ามาปรับใช้ในเมืองไทยเพิ่มขึ้น และพระองค์ทรง
เหน็ ความสำคัญของการศึกษาจึงทรงจา้ งนางแอนนา เอช เลียวโนเวนส์ มาสอนสมเดจ็ พระเจ้าลูกยาเธอ เมื่อ พ.ศ.
2405 จนรอบรู้ภาษาองั กฤษเป็นอยา่ งดี ลักษณะการจดั การศึกษาเป็นแบบเดิมทัง้ วดั และบา้ น ในส่วนวิชาชีพและ
วชิ าสามัญ มอี ักษรศาสตร์ ธรรมชาตวิ ิทยาหรือวิทยาศาสตร์

2. การศึกษาของไทยสมัยปฏิรูปการศกึ ษา (พ.ศ. 2412 พ.ศ. 2475)

2.1 การศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั ทรงเห็นความสำคัญของการศึกษา
จึงได้มีการจดั การศึกษาอย่างมีระเบียบแบบแผน (Formal education) มีโครงการศึกษาชาติ มีโรงเรียนเกิดข้นึ
ในวังและในวัด มีการกำหนดวิชาทีเรียน มีการเรียนการสอบไล่ และมีทุนเล่าเรียนหลวงให้ไปศึกษาวิชา ณ
ต่างประเทศ ซึ่งปัจจัยท่ีมีผลในการปฏิรูปการศึกษาในครั้งนี้มีหลายปัจจัย การจัดตั้งสถานศึกษาปี พ.ศ. 2414
จดั ตงั้ โรงเรยี นหลวงขึ้นในพระบรมมหาราชวัง เพอ่ื ฝกึ คนใหเ้ ขา้ รับราชการ มีพระยาศรสี ุนทรโวหาร (นอ้ ย อาจาริ
ยางกูร) ในขณะนั้นเป็นหลวงสารประเสริฐเป็นอาจารย์ใหญ่ โดยมีการสอนหนังสือไทย การคิดเลข และ
ขนบธรรมเนียมราชการ นอกจากมีการจัดตั้งโรงเรยี นหลวงสำหรบั สอนภาษาอังกฤษในพระบรมมหาราชวัง เกิด
จากแรงผลักดันทางการเมอื งที่สง่ ผลใหไ้ ทยตอ้ งเรยี นร้ภู าษาองั กฤษ เพื่อจะไดเ้ จรจากับมหาอำนาจตะวนั ตก และ
มีการส่งนักเรียนไทยไปศึกษาวิชาครูที่ประเทศอังกฤษปี พ.ศ. 2423 จัดตั้งโรงเรียนสุนันทาลัยใน
พระบรมมหาราชวังเป็นโรงเรียนสตรี ปี พ.ศ. 2424 ปรับปรุงโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบให้เป็นโรงเรียน
นายทหารมหาดเล็ก ตอ่ มาได้กลายเป็นโรงเรียนขา้ ราชการพลเรือนในปี พ.ศ. 2453 และ ปี พ.ศ. 2459 ได้ตง้ั เป็น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยปี พ.ศ. 2425 จัดตั้งโรงเรียนแผนที่และในปี พ.ศ.2427 จัดตั้งโรงเรียนหลวงสำหรับ
ราษฎรขึ้นตามวัดในกรุงเทพมหานครหลายแห่ง และแห่งแรก คือ โรงเรียนมหรรณพาราม ปี พ.ศ. 2432 ต้ัง
โรงเรยี นแพทย์ข้ึน เรียกว่า โรงเรียนแพทยากร ตั้งอยูท่ ี่ริมแม่น้ำหน้าโรงพยาบาลศิริราช ใช้เป็นท่ีสอนวชิ าแพทย์
แผนปจั จุบนั ปี พ.ศ. 2435 จัดตง้ั โรงเรยี นมูลศึกษาขึน้ ในวัดท่วั ไปท้งั ในกรุงเทพมหานครและหวั เมือง โดยประสงค์
จะขยายการศึกษาเล่าเรียนหนังสือไทยใหแ้ พรห่ ลายเปน็ แบบแผนยิง่ ขึ้น และตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูเป็นแหง่ แรกท่ี
ตำบลโรงเลี้ยงเด็ก ต่อมาย้ายไปอยู่ที่วัดเทพศิรินทราวาส ปี พ.ศ. 2437 นักเรียนฝึกหัดครูชุดแรก 3 คนสำเร็จ

266

การศกึ ษาได้รับประกาศนีย บัตรเป็นครูสอนภาษาไทยและภาษาองั กฤษ ปี พ.ศ. 2449 ยา้ ยโรงเรียนฝกึ หดั ครู ซึ่ง
ต้งั อยู่ท่ีวดั เทพศิริทราวาส ไป รวมกับโรงเรยี นฝึกหดั ครูฝัง่ ตะวันตก (บ้านสมเดจ็ เจ้าพระยา) ปรับปรุงหลักสูตรให้
สูงขึ้นเป็น โรงเรียนฝกึ หัดอาจารย์สอนหลักสตู ร 2 ปี รับนักเรียนท่ีสำเร็จมัธยมศึกษา ปี พ.ศ. 2456 ตั้งโรงเรยี น
ฝึกหดั ครูหญงิ ขน้ึ เป็นคร้ังแรกท่ีโรงเรียนเบญจมราชาลัย การจดั แบบเรยี นหลกั สูตรและการสอบไล่ปี พ.ศ. 2414
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหพ้ ระยาศรีสนุ ทรโวหาร(น้อย อาจาริยางกรู ) เรยี บเรยี งแบบเรียนหลวงข้ึน 1 เลม่ ชุด
มูลบรรพกิจ เพื่อใช้เป็นบทหลักสูตรวิชาชั้นต้นปี พ.ศ. 2427 กำหนดหลักสูตรชั้นประโยคหนึ่ง โดยอนุโลมตาม
แบบเรียนหลวงหกเล่ม นับเป็นปีแรกท่ีจัดให้มีการสอบไล่วิชาสามัญ และมีการกำหนดหลักสตู รชั้นประโยคสอง
ซ่งึ เป็นหลกั สูตรทีเ่ กี่ยวกับวชิ าสามญั ศึกษา หมายถึง ความรตู้ ่าง ๆ ทตี่ ้องการใช้สำหรับเสมียนในราชการพลเรือน
ตามกระทรวงต่าง ๆปี พ.ศ. 2431 กรมศึกษาธิการ จัดทำแบบเรียนเร็วใช้แทนแบบเรียนหลวงชุดเดิม ผู้แต่งคือ
พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร (กรมพระยาดำรงราชานุภาพ) 1 ชุด มี 3 เล่มปี พ.ศ. 2433 ประกาศใช้พระราชบัญญัติ
วิชา พ.ศ. 2433 มผี ลทำให้หลักสูตรภาษาไทยแบ่งออกเป็น 3 ประโยค หลกั สตู รภาษาอังกฤษแบง่ ออกเป็น 6 ชั้น
ปี พ.ศ. 2434 ได้แกไ้ ขการสอบไล่จากเดิมปีละครงั้ เปน็ ปีละ 2 ครัง้ เพือ่ ไม่ให้นักเรยี นเสียเวลานานเกินไป

2.2 การศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงนำเอาวิชาลูกเสือจากประเทศ
องั กฤษเข้ามาจัดตง้ั กองเสือปา่

2.3 การจัดการศกึ ษาในรชั สมัยพระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจา้ อยหู่ ัว

3.สมยั การปกครองระบอบรฐั ธรรมนูญ (พ.ศ. 2475-ปจั จบุ ัน)

การจัดการศึกษามสี ามรูปแบบ คือ การศกึ ษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั คือ
3.1 การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาที่กำหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของ

การศกึ ษา การวัดและการประเมนิ ผล ซึง่ เปน็ เงอ่ื นไขของการสำเร็จการศกึ ษาท่แี น่นอน
3.2 การศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกำหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบวิธีการจัด

การศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขสำคัญของการสำเร็จการศึกษา โดย
เนื้อหาและหลกั สตู รจะตอ้ งมคี วามเหมาะสมสอดคล้องกบั สภาพปัญหาและความต้องการของบคุ คลแต่ละกลมุ่

3.3 การศึกษาตามอธั ยาศยั เป็นการศกึ ษาที่ใหผ้ ู้เรยี นไดเ้ รียนรูด้ ้วยตนเองตามความสนใจศักยภาพ ความ
พร้อมและโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้อม หรือแหล่งความรู้อื่นๆ (ที่มา:
นางสาวรศั มี เกยจอหอ และคณะ. วิวัฒนาการการศึกษาไทย. (2556).)

267

โลกาภวิ ัตน์

โลกาภิวัตน์ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 (ราชบัณฑิตยสถาน, 2542) หมายถึง
"การแพรก่ ระจายไปทว่ั โลก การทปี่ ระชาคมโลกไม่วา่ จะอยู่ ณ จุดใด สามารถรบั รู้ สมั พนั ธ์ หรอื รบั ผลกระทบจาก
ส่ิงท่เี กิดข้นึ ได้อย่างรวดเร็วกว้างขวาง ซึ่งเนอ่ื งมาจากการพฒั นาระบบสารสนเทศเป็นต้น" โลกาภวิ ัตน์ เปน็ คำศพั ท์
เฉพาะที่บัญญัติขึ้นเพื่อตอบสนองปรากฏการณ์ของสังคมโลกที่เหตุการณ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง สิ่งแวดล้อม
และวัฒนธรรมที่เกิดข้นึ ในส่วนหนึง่ ของโลก สง่ ผลกระทบอนั รวดเร็วและสำคัญต่อสว่ นอ่นื ๆของโลก

ระบบการศกึ ษาไทยในยุคโลกาภิวัตน์

การศึกษาบนฐานโลกาภิวัตน์ หรือการเช่ือมโยงโลกทั้งโลกเข้าไว้ด้วยกันเพื่อการศึกษา เรียนรู้และนำ
ทรัพยากรหรือประเด็นทางการศึกษาที่แผ่ขยายหรือแพร่กระจายอย่างกวา้ งขวางทั่วโลกมาเปน็ ประโยชน์ตอ่ การ
พฒั นาการเรียนรู้ใหแ้ ก่ผู้เรียน โดยการศกึ ษาบนฐานโลกาภิวัฒน์ดังกลา่ วนีเ้ ปน็ 1 ในหลักปรัชญาการพฒั นาคน 9
ประการ

หลักปรชั ญาการพฒั นาคน 9 ประการ ประกอบด้วย
1. การศกึ ษาบนฐานปรัชญา (Philosophy based Education)
2. การศึกษาบนฐานโลกาภวิ ัตน์ (Globalization based Education)
3. การศกึ ษาบนฐานการบรู ณาการ (Integration based Education)
4. การศกึ ษาบนฐานสมรรถนะ (Competency based Education)
5. การศกึ ษาบนฐานการเมือง (Politics based Education)
6. การศกึ ษาบนฐานเศรษฐกิจ (Economic based Education)
7. การศกึ ษาบนฐานเทคโนโลยี (Technology based Education)
8. การศึกษาบนฐานวัฒนธรรม (Culture based Education)
9. การศึกษาบนฐานมนุษย์ (Human based Education).

การเปลี่ยนแปลงการศกึ ษาไทยในยคุ โลกาภวิ ัฒน์

คุณภาพทางการศึกษาขึ้นอยู่กับหลักสูตรการสอนของครู ระบบการเรียนการสอนของนักเรียน การ
ทดสอบ การประเมิน หากผิดพลาดในเรื่องเหล่านี้ก็จะผิดพลาดหมดครูและ อาจารย์ผู้สอนเป็นปัจจัยตัวแปรที่
สำคัญในการพัฒนาคุณภาพของการเรียนการสอน ผู้นำทางการศึกษาในระดับกระทรวงจะพูดจะพดู ถึงโครงการ
ขยายการศึกษามากกว่าการปรับปรุงคุณภาพทางการศึกษา แนวคิดการจัดการศึกษาไทยให้มีคุณถาพ ควรมี
จดุ เน้นตา่ งๆดังน้ี (ทรสิ า ยงวรรณกร, 2556)

จุดเน้นท่ี 1 คือปรัชญาการศึกษาเพื่อเตรียมคนใหส้ ามารถเรียนรู้ได้อย่างตลอดชีพอย่างมีประสิทธิภาพ
ทกั ษะสมรรถนะดงั กลา่ วเรยี กวา่ “Portable Skills” ซ่งึ ไดแ้ ก่การเรยี นรดู้ ้านภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ในยุค
สมัยใหมค่ วามรู้เปลี่ยนแปลงรวดเร็วตามกระแสการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยีเยาวชนไทย
เพียงแค่จบการศึกษาจากระบบโรงเรยี นและมหาวิทยาลัยจะตามไม่ทันและแตล่ ะสมัยจำเป็นต้องปรบั การศึกษา

268

และการเรียนรู้ของคนในสงั คมให้เปน็ ระบบการศกึ ษาตลอดชพี ซึ่งประกอบไปดว้ ยองค์ประกอบ 3 องค์ประกอบ
คอื องคป์ ระกอบดา้ นฮาร์ดแวร์ ดา้ นซอฟต์แวร์ และดา้ นสังคม

องคป์ ระกอบด้านฮาร์ดแวร์ไดแ้ ก่ระบบคมนาคมส่ือสารระบบคอมพวิ เตอรร์ ะบบห้องสมดุ ควรสง่ เสริมให้
มสี ถานโี ทรทัศน์เพื่อการศึกษาและวทิ ยุเพอ่ื การศึกษาหลายๆช่อง เชน่ สำหรับเด็กผู้ใหญ่ประถมศกึ ษามัธยมศึกษา
อุดมศกึ ษาและช่องการศกึ ษาทว่ั ไปเผยแพร่ตลอด 24 ชว่ั โมง จดั บรกิ ารให้ท่ัวถงึ เปดิ บรกิ าร ถงึ เท่ยี งคนื

องคป์ ระกอบด้านซอฟต์แวร์การสร้างซอฟต์แวร์ทางด้านการศกึ ษาอาจจะยากยิ่งกว่าการสร้างฮาร์ดแวร์
ซอฟต์แวร์ได้ แก่ ข้อมูล ข่าวสารเนื้อหาสาระวิชาการที่บรรจุในเทปเอกสารและโปรแกรมคอมพิวเตอร์ต้องมี
นโยบายทีแ่ นช่ ัดใหร้ ัฐบาลและเอกชนพัฒนาด้านซอฟต์แวร์เช่นสง่ เสริมสนับสนุนให้มีศูนย์การผลิตและการแปลง
ข้อมูลเอกสารตำราวิชาการทุกๆวิชาโดยให้มีการเชื่อมโยง ประสานงานกันระหว่างหน่วยงานที่รับผิดชอบด้าน
ฮารด์ แวรก์ ับซอฟตแ์ วร์ปรับ มาตรการดา้ นภาษี เพอื่ จงู ใจใหภ้ าคเอกชนมาลงทุนผลิตงานพมิ พ์ต่างๆเช่นวารสารท่ี
ม่งุ เนน้ ดา้ นการเรียนรู้

องค์ประกอบด้านสังคม people ware การสร้างสังคมการเรียนรูท้ ำได้ยากสร้างทัศนคติของประชาชน
ให้รกั ทีจ่ ะเรยี นรู้ทำใหก้ ารเรียนรู้ทัง้ สนุกมคี ุณค่าแก่ชีวิตมกี ารปรับระบบการเรียนการสอนท้ังในโรงเรียนและนอก
โรงเรยี นเชน่ สง่ เสรมิ ให้ครูอาจารยม์ ีแรงจูงใจท่ีจะศึกษาเพิ่มเติมเพอ่ื นำความรู้ใหมม่ าประกอบ การพิจารณาเลื่อน
วิทยฐานะของตนเอง ส่งเสริมให้เกดิ บรรยากาศทางวิชาการ และชุมชนวชิ าการในสถานศึกษา แล้วสาธารณะเช่น
จัดรายการศึกษาแกป่ ระชาชนให้สถานศกึ ษายอมรบั ผลการเรยี นรู้ที่เกิดจากนอกระบบหรอื การเรียนรู้โดยตนเอง
โดยจัดมาตรฐานการทดสอบท่ีเหมาะสมส่งเสริมการฝกึ อบรมเพิ่มเตมิ ให้ทกุ ๆคนมีโอกาสเท่ากนั

จุดเน้นท่ี 2 คือปรบั เนื้อหาสาระใหส้ อดคลอ้ งกับวยั วุฒขิ องผเู้ รยี นเหมาะสมกบั ยุคสมัยในระดับอุดมศึกษา
เมื่อจบหลักสูตร 4 ปี แล้วควรฝึกให้นักศึกษาทุกคนเป็นนักศึกษาค้นคว้าได้เป็นนักวิจัยทั่วๆไปได้ไม่ควรรอถึง
ปรญิ ญาโทปรญิ ญาเอกนั้นเป็นการเพมิ่ ศักยภาพทางด้านวชิ าการค้นคว้าทมี่ อี ยู่แล้ว

จุดเน้นที่ 3 กระบวนการทดสอบการวัดผลการวัดผลในปัจจุบันมีแนวโน้มที่จะใช้ข้อสอบแบบตัวเลือก
มากเกินไปทำใหเ้ นน้ ความจำหรอื การเรียนเนือ้ หาจนเกนิ พอดคี วรใช้การทดสอบแบบเปิดโอกาสหรอื ส่งเสริมให้ได้
แสดงความคิดเห็นของตนเองคอื ตัง้ คำถามแบบปลายเปดิ การจัดทำโครงการการรายงานและการเขยี น เรียงความ
เพือ่ วิเคราะหอ์ ภปิ รายปญั หา

จุดเน้นที่ 4 การปฏิรูประบบการฝึกหัดครูและพัฒนาครูครูเป็นปัจจัยตัวแปรทีส่ ำคัญที่สุดในการพัฒนา
คุณภาพของการเรียนบุคลากรครูในที่นี้หมายถึงอาจารย์ในมหาวิทยาลัยครูในโรงเรียนครูการศึกษาผู้ ใหญ่
การศึกษาตลอดชีพทเี่ ก่ยี วขอ้ งกบั ระบบเทคโนโลยีดา้ นการศกึ ษาทางไกล แผนหลักของการปฏริ ปู การฝึกหัดครไู ด้
ผ่านความเหน็ ชอบของคณะรัฐมนตรีเป็นนโยบาย สำคญั ของรัฐบาลไดแ้ ก่ ระบบการสรรหาคนเกง่ คนดีมาสู่อาชีพ
ครผู ้เู รียนดีมีเจตคติบุคลิกภาพเหมาะสมการปรับระดับเงินเดือน ระดบั ความกา้ วหนา้ และบรรยากาศการทำงาน
ของครูเป็นจดุ ดงึ ดูดใหเ้ ขา้ สู่อาชพี นี้

จุดเน้นที่ 5 การปฏิรูประบบการบริหารการจัดการด้านการศึกษา ปัจจุบันเป็นยุคของการแข่งขันทาง
เศรษฐกิจและเทคโนโลยี เป็นการแข่งขันกันในระบบเปิดเสรี การบริหารและการจดั การอย่างมีประสิทธิภาพจึง
ต้องมีการเงื่อนไขที่แตกต่างออกไปจากเดิมการจัดองค์กรท่ีมีสายบังคับ ในแนวด่ิงยืดยาดล่าช้าไม่มีประสิทธิภาพ

269

ควรจัดในแนวราบการแบ่งหน่วยงานเป็นหน่วยงานขนาดเล็กแต่มีคุณภาพใช้เทคโนโลยีสูงและการทำงานเ ป็น
เครอื ขา่ ยซึ่งกนั และกนั ดูจะเป็นรูปแบบของยุคสมัยใหมร่ ะบบการบริหารงานจัดการของสถานศึกษาจึงต้องจัดรูป
องค์กรเป็นแบบแบนราบมีสายบงั คับบญั ชาเพยี งอาจารย์ใหญ่ เหนือขน้ึ ไป 1 ทา่ นส่วนคนอ่นื ๆก็เป็นเพียง หนึ่งใน
พวก ทเ่ี ทา่ กัน

สรุปสังคมไทยในยุคโลกโลกาภวิ ัฒนต์ ้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงมากมายทางเทคโนโลยีทางเศรษฐกิจ
การเมืองและวัฒนธรรมอย่างรวดเร็วการเผชิญหน้าระหว่างคนในยุคสมัยหนึ่งกับปรากฏการณ์ของสังคม
อุตสาหกรรมและสังคมข่าวสารของอีกสมัยหนึ่ง ย่อมนำมาซึ่งปัญหาและความสับสนการศึกษาเท่านั้นที่จะเปน็
กระบวนการปรับเปล่ียนให้เกิดความเขา้ ใจการยอมรับหรือปฏเิ สธ การให้การศกึ ษาที่มคี ุณภาพแก่ประชากรส่วน
ใหญ่ของประเทศจงึ เป็นภารกิจที่สำคญั อย่างย่ิงยวดถึงเวลาแลว้ ทจ่ี ะตอ้ งหันมาดูแลระบบการศกึ ษาของเราว่าสอน
ให้คนคดิ อยา่ งไรมเี หตุผลหรือสอนให้จำแต่ขอ้ มูลข่าวสารถึงเวลาแล้วท่ีเราจะต้องวิเคราะห์กระบวนการเรียนการ
สอนในห้องเรียนของทุกระดับไม่ยกเว้นแม้แต่อุดมศึกษาว่าเป็นกระบวนการของปัญหาหรือกระบวนการป้อน
ปัญหาเราต้องถามตนเองอยู่เสมอวา่ นกั ศึกษาของเราเดินออกจากห้องเรยี นไปดว้ ยความงงหรอื ด้วยความสว่างไสว
ในจิตใจด้วย ความเบิกบานหรือ ความเหนื่อยหน่ายและรวมละอายครูอาจารย์ต้องถามตนเองว่าทุกครั้งที่มี
บทบาท การสอน บทเรียนให้ความหมายและการเรียนรู้หรอื ไมก่ ารปฏริ ูปการศกึ ษาทางดา้ นปรชั ญาการเรียนการ
สอนหลักสตู รการสอนระบบการเรยี นระบบการทดสอบการประเมนิ ผลการบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ
และเป็นแนวทางการปฏิรปู เพ่อื ปรับปรงุ การศึกษาของ ใช้ใหท้ นั สมัยทนั เหตุการณ์โดยเฉพาะในยุคแห่งเทคโนโลยี
ที่เปล่ียนแปลงการเรียนร้ไู ดอ้ ย่างตลอดชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพคอื ปรัชญาการศกึ ษาที่สำคัญ คร้ังต่อผู้เรียนและ
ผสู้ อน

การเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21

ความท้าทายด้านการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในการเตรียมนักเรียนให้พร้อมกับชีวิตในศตวรรษที่
21 เป็นเรื่องสำคัญของกระแสการปรับเปลี่ยนทางสังคมที่เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 21 ส่งผลต่อวิถีการดำรงชีพของ
สังคมอย่างทว่ั ถึง ครจู ึงต้องมีความต่นื ตัวและเตรยี มพรอ้ มในการจัดการเรียนรู้เพื่อเตรียมความพรอ้ มให้นักเรียนมี
ทักษะสำหรับการออกไปดำรงชวี ิตในโลกในศตวรรษที่ 21 ที่เปลี่ยนไปจากศตวรรษท่ี 20 และ 19 โดยทักษะแห่ง
ศตวรรษที่ 21 ทส่ี ำคญั ท่สี ุด คอื ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skill) ส่งผลใหม้ ีการเปล่ียนแปลงการจัดการเรียนรู้
เพื่อให้เด็กในศตวรรษท่ี 21 นี้ มีความรู้ ความสามารถ และทักษะจำเป็น ซึ่งเป็นผลจากการปฏิรูปเปลี่ยนแปลง
รปู แบบการจดั การเรียนการสอน ตลอดจนการเตรียมความพร้อมด้านต่างๆ

สาระวิชาหลกั (Core Subjects) ประกอบดว้ ย

ภาษาแม่ และภาษาสำคัญของโลก
ศิลปะ
คณิตศาสตร์
การปกครองและหนา้ ที่พลเมือง
เศรษฐศาสตร์

270

วิทยาศาสตร์
ภมู ิศาสตร์
ประวตั ศิ าสตร์

โดยวชิ าแกนหลักนจ้ี ะนำมาสกู่ ารกำหนดเปน็ กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์สำคัญตอ่ การจัดการเรียนรู้ใน
เนือ้ หาเชงิ สหวทิ ยาการ (Interdisciplinary) หรอื หวั ขอ้ สำหรับศตวรรษที่ 21 โดยการส่งเสริมความเขา้ ใจใน
เนือ้ หาวชิ าแกนหลกั และสอดแทรกทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 เขา้ ไปในทกุ วิชาแกนหลกั ดังนี้

ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21

ความรู้เก่ยี วกับโลก (Global Awareness)
ความรู้เกย่ี วกับการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกจิ และการเป็นผูป้ ระกอบการ (Financial, Economics,
Business and Entrepreneurial Literacy)
ความรดู้ ้านการเป็นพลเมืองทด่ี ี (Civic Literacy)
ความรดู้ ้านสุขภาพ (Health Literacy)
ความรู้ด้านสิ่งแวดลอ้ ม (Environmental Literacy)

ทกั ษะด้านการเรยี นรู้และนวัตกรรม

จะเปน็ ตัวกำหนดความพรอ้ มของนกั เรียนเข้าสโู่ ลกการทำงานที่มคี วามซับซ้อนมากขึ้นในปัจจบุ ัน ไดแ้ ก่
1.ความรเิ ริ่มสร้างสรรค์และนวัตกรรม
2.การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและการแก้ปัญหา
3.การสอ่ื สารและการร่วมมอื
แนวคดิ ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การเรยี นร้ใู นศตวรรษท่ี 21 และกรอบแนวคิดเพอื่ การเรยี นรใู้ นศตวรรษที่

21 การเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 เปน็ การกำหนดแนวทางยทุ ธศาสตร์ในการจัดการเรียนรู้ โดยรว่ มกันสร้างรูปแบบ
และแนวปฏิบตั ิในการเสรมิ สรา้ งประสิทธภิ าพของการจัดการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 โดยเนน้ ที่องคค์ วามรู้ ทักษะ
ความเชย่ี วชาญและสมรรถนะท่เี กดิ กบั ตัวผูเ้ รียน เพือ่ ใช้ในการดำรงชีวิตในสงั คมแห่งความเปล่ียนแปลงในปัจจุบัน
โดยจะอา้ งถึงรปู แบบ (Model) ทีพ่ ฒั นามาจากเครือขา่ ยองคก์ รความร่วมมอื เพือ่ ทกั ษะแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษ
ท่ี 21 (Partnership For 21st Century Skills) (www.p21.org ) ทีม่ ีช่อื ยอ่ วา่ เครอื ขา่ ย P21 ซึง่ ได้พัฒนากรอบ
แนวคิดเพือ่ การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 โดยผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะเฉพาะด้าน ความชำนาญการและความ
รู้เทา่ ทนั ดา้ นตา่ งๆ เข้าดว้ ยกนั เพ่อื ความสำเร็จของผเู้ รียนท้ังดา้ นการทำงานและการดำเนินชวี ิต

คุณสมบตั หิ รอื ทกั ษะท่สี ำคัญ คือ 3R และ 8C ไดแ้ ก่

3R คือ
1. Reading-อา่ นออก, (W)
2. Riting-เขยี นได้, (A)
3. Rithmatic-มีทกั ษะในการคำนวณ

271

8C คอื
1. Critical Thinking and Problem Solving : มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ

และแกไ้ ขปญั หาได้
2. Creativity and Innovation : คดิ อย่างสร้างสรรค์ คิดเชงิ นวัตกรรม
3. Collaboration Teamwork and Leadership : ความร่วมมอื การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ ำ
4. Communication Information and Media Literacy : ทักษะในการสอ่ื สาร และการรเู้ ท่าทนั สือ่
5. Cross-cultural Understanding : ความเข้าใจความแตกต่างทางวัฒนธรรม กระบวนการคิดข้าม

วัฒนธรรม
6. Computing and ICT Literacy : ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ และการรู้เท่าทันเทคโนโลยี ซึ่งเยาวชน

ในยุคปัจจุบันมีความสามารถด้านคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยีอยา่ งมากหรือเป็น Native Digital ส่วนคนรุ่นเก่า
หรือผู้สูงอายเุ ปรยี บเสมือนเป็น Immigrant Digital แต่เราต้องไม่อายทจี่ ะเรียนร้แู มว้ ่าจะสงู อายแุ ล้วกต็ าม

7. Career and Learning Skills : ทกั ษะทางอาชีพ และการเรยี นรู้
8. Compassion : มีคุณธรรม มีเมตตา กรุณา มีระเบียบวินัย ซึ่งเป็นคุณลักษณะพื้นฐานสำคัญของ
ทักษะขน้ั ต้นทัง้ หมด และเปน็ คุณลักษณะที่เดก็ ไทยจำเป็นตอ้ งมี
ทกั ษะทงั้ หมดท่ีได้กล่าวมาเป็นสงิ่ ทจ่ี ำเป็นสำหรบั นกั เรียนในยคุ การเรยี นรแู้ หง่ ศตวรรษท่ี 21 เปน็ อย่าง
มาก ซ่งึ มคี วามแตกต่างจากการเรียนรู้ในสมยั ก่อน ทำให้การเรยี นรูข้ องนกั เรยี นในศตวรรษที่ 21 มคี ุณภาพมาก
ยง่ิ ข้นึ นอกจากการศึกษาท่ีก้าวหนา้ และมีคุณภาพแล้ว การบรหิ ารโรงเรยี นหรอื สถานศกึ ษากจ็ ำเป็นไม่แพ้กนั
โรงเรยี นหรือสถานศกึ ษาควรมรี ะบบบริหารโรงเรยี นทดี่ ี เพือ่ พฒั นาควบคู่ไปกบั การเรียนการสอนภายในโรงเรียน
ระบบ”จับจ่าย for School” เปน็ ระบบบริหารงานโรงเรียนทคี่ รอบคลมุ มากทสี่ ุด ทำใหก้ ารพฒั นาระบบบริหาร
โรงเรยี นควบคู่กับการศกึ ษาของนักเรยี นเป็นไปไดอ้ ยา่ งง่ายมากขึ้นกว่าสมัยกอ่ น (ศน. สวุ ทิ ย์ บ้งั เงนิ , ม.ป.ป)

การศึกษา 4.0 (Thailand 4.0)

ไทยแลนด์ 4.0 เป็นโมเดลในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ที่มีมาไม่น้อยกว่า 50 ปี โดยในปี พ.ศ.
2504 เริ่มมีแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับแรก ยุคนั้นเป็นไทยแลนด์ 1.0 สังคมเกษตรกรรมท่เี น้น
การเกษตรเป็นหลกั นบั ว่าเป็นความพยายามของรัฐบาลที่จะสง่ เสริมให้ประชาชนมรี ายได้ยุคไทยแลนด์ 1.0 เป็น
ยคุ ท่ยี าวนาน ตอ่ มาเขา้ ส่ยู คุ ไทยแลนด์ 2.0 ทีม่ งุ่ เน้นอตุ สาหกรรมเบา ทโ่ี ดง่ ดังมากคือ อตุ สาหกรรมส่งิ ทอ เขา้ สู่ยุค
ไทยแลนด์ 3.0 มุ่งสอู่ ุตสาหกรรมท่มี คี วามซบั ซ้อนมากขน้ึ มกี ารเปดิ นคิ มอุตสากรรมมากมาย ตา่ งชาติเข้ามาลงทุน
อย่างหลากหลาย อตั ราการขยายตัวทางเศรษฐกจิ 7 - 8% ต่อปี มีการค้นพบกา๊ ซธรรมชาติ ประเทศไทยเป็นเพยี ง
แคร่ บั จา้ งในการผลิตเท่าน้นั เช่น อุตสาหกรรมรถยนต์ อุตสาหกรรมไฟฟา้ อเิ ล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมพลาสติก
อื่นๆ ท่เี ห็นชัดเจนท่ีสุด คืออุตสาหกรรมรถยนต์ เราเป็นแหล่งผลิตรถยนต์ส่งขายท่ัวโลก แต่เราไม่มีรถยนต์ท่ีเป็น
นวัตกรรมของคนไทยเอง ในขณะที่ประเทศไทยมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 1 เกาหลีใต้ประเทศยังไม่สามารถ
กำหนดอนาคตของประเทศได้เลยว่าจะเดินไปทางใด เพราะอยู่ในภาวะสงคราม ประชาชนยากจน แต่ปัจจุบัน
เกาหลีใตเ้ ป็นประเทศช้นั นำของเอเชยี มนี วตั กรรมเป็นของตนเอง ไม่ว่ารถยนต์ เครื่องใชไ้ ฟฟ้า โทรศัพทท์ ีส่ ามารถ
แข่งขนั กับของอเมรกิ าได้อย่างภาคภมู ใิ จ

272

การเข้าสไู่ ทยแลนด์ 4.0 เป็นการเข้าสู่ยุคทป่ี ระเทศไทยต้องมีนวตั กรรมเป็นของตนเอง ไม่ต้องพง่ึ จาก
ตา่ งชาติ มีทรพั ยากรทมี่ อี ย่ใู นประเทศมากมาย เช่น ข้าว ยางพารา แร่ ผลผลิตทางการเกษตรอื่นๆ มผี ลติ ภัณฑ์
เกี่ยวกบั เร่ืองขา้ วท่ีมากกว่าอาหารประจำวนั ซ่งึ เปน็ ของคนไทยผลิตโดยคนไทย แต่เสียดายไมไ่ ด้ต่อยอดและต้อง
ปิดตัวเองไป ถึงเวลาที่ทกุ ภาคส่วนต้องเขา้ มาช่วยระดมความคดิ ในการพฒั นาประเทศใหเ้ ข้าสู่ไทยแลนด์ 4.0
ฉะนั้นแตล่ ะกระทรวงจงึ มสี โลแกนของตัวเองตอ่ ดว้ ย 4.0 กระทรวงศึกษาฯเองก็มีสโลแกน “การศกึ ษา 4.0”

การศกึ ษา 1.0 เปน็ ยคุ พ.ศ. 2503 หรือเรียกว่า หลักสูตร 2503 (ซึ่งก่อนหน้านี้ต้งั แต่พระบาทสมเด็จพระ
มงกุฎเกล้าเจา้ อยู่หวั ตราพระราชบญั ญตั ปิ ระถมศกึ ษา ในปี พ.ศ. 2464 ส่วนใหญ่จะเปน็ การเรยี นตามตำรา ไม่ได้
กำหนดเป็นหลกั สูตร) เปน็ ยุคที่เน้นให้นกั เรยี นเกดิ ทักษะ 4 ด้าน คอื พุทธศิ กึ ษา จริยศกึ ษา หัตถศึกษา และพล
ศึกษา การวัดผลวดั เป็นองคร์ วม โดยตัดสินเป็นรอ้ ยละ ใครสอบผา่ นรอ้ ยละ 50 ถอื วา่ ผา่ น ตํ่ากวา่ เป็นการสอบตก
ต้องเรียนซาํ้ ชนั้ การสอนของครู เน้นการบรรยาย เป็นลักษณะบอกเล่า จดในกระดานหรอื ตามคำบอก ครูว่า
อย่างไรนักเรียนจะเชือ่ ครทู ้ังหมด นักเรียนไม่สามารถเข้าถงึ แหลง่ เรียนรู้ ได้ฟังครอู ยา่ งเดยี ว หนังสอื เรียนสำคญั
ที่สดุ ส่ือการสอนกระดาน ชอล์ค บัตรคำ รูปภาพ โครงสร้างเวลา 4 : 3 : 3 : 2 ประถมตน้ เรยี น 4 ปี ประถม
ปลายเรยี น 3 ปี มธั ยมต้นเรยี น 3 ปี มธั ยมปลายสายสามญั เรียน 2 ปี สายอาชพี เรยี น 3 ปี หลักการ/แนวคดิ
สนองความต้องการของสงั คม เปน็ หลักสูตรแบบเนน้ วชิ า

การศึกษา 2.0 เป็นยุค พ.ศ. 2521 หลงั จากสงั คมมกี ารเปล่ยี นแปลง ประชากรมากข้นึ จงึ จำเปน็ ตอ้ ง
เปล่ยี นหลกั สูตร เปน็ การเปล่ยี นใหม่ทั้งระบบ ให้มีระดบั ประถมศึกษา 6 ปี ยกเลิกชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 7 ระดับ
มัธยมศึกษา 6 ปี ระดบั มัธยมศกึ ษาใช้อกั ษรย่อวา่ “ม.” ทงั้ มัธยมศกึ ษาตอนตน้ และมัธยมศกึ ษาตอนปลาย การ
จดั การเรียนการสอนเนน้ นักเรียนเปน็ ศูนย์กลาง มวี ชิ าเลอื กมากมายนกั เรียนสามารถเลอื กเรียนตามความถนดั
ความสนใจ เริ่มมสี อื่ การสอนท่ีเรา้ ใจ เช่น มภี าพสไลด์ มี วดิ ีโอ มีภาพยนตร์ ฯลฯ เป็นสอื่ ในการจัดการเรียนสอน
การวัดประเมนิ ผลเปน็ การประเมนิ แยกสว่ น หมายถึงประเมินเปน็ รายวิชา สอบตกรายวิชาใดกส็ ามารถซ่อมใน
รายวิชานั้นๆ ไม่มกี ารเรียนซ้ำช้นั ข้อจำกัดของหลักสตู รการศึกษาพุทธศักราช 2521

1. การกำหนดหลกั สูตรไมส่ ามารถสะท้อนสภาพความตอ้ งการของทอ้ งถ่นิ
2. การจัดการเรียนการสอนทางด้านคณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยียังไมส่ ามารถผลักดันให้
ประเทศไทยเปน็ ผู้นำด้านคณิตศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
3. การนำหลักสตู รไปใชไ้ ม่สามารถสร้างพื้นฐานทางการคิดวิเคราะใหก้ บั ผู้เรียน
4. การจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาต่างประเทศยงั ไมส่ ามารถสอื่ สารและค้นควา้ หาความรไู้ ด้ อย่างมี
ประสิทธิภาพ จากเหตุผลดงั กลา่ ว จึงปรับปรุงหลักสูตรเปน็ หลักสูตรการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานพุทธศกั ราช 2544
การศกึ ษา 3.0 เปน็ ยคุ 2551 จากข้อจำกดั ของหลกั สตู รการศกึ ษาพุทธศักราช 2521 และหลักสูตร
การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานพุทธศักราช 2544 และพบว่า มคี วามสับสนของผูป้ ฏิบัติการในสถานศกึ ษา เป็นหลกั สตู ร
เน้ือหาแนน่ เกินไปเรยี นทง้ั วนั มีปัญหาในการเทียบโอน และปญั หาคุณภาพผเู้ รยี นในด้านความรู้ ทักษะ และ
คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ จึงเปลี่ยนมาใช้ หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 โดยเพิม่
สมรรถสำคญั ของผเู้ รียนและคุณลักษณะอันพึงประสงคข์ องผเู้ รียน มกี ารกำหนดตวั ชวี้ ดั มาให้ เปน็ การจัดหลกั สตู ร
ท่ใี ห้สอดคลอ้ งกับการเปล่ียนแปลงของสภาพสงั คม เศรษฐกจิ วัฒนธรรม และการเมือง ความเจริญก้าวหน้าทาง

273

วิทยาการดา้ นตา่ งๆ ของโลกยคุ ปัจจุบัน มศี กั ยภาพพร้อมท่จี ะแข่งขนั และรว่ มมอื อยา่ งสร้างสรรค์ในเวทโี ลก
จดุ หมายของหลักสตู ร มุ่งพัฒนาผู้เรยี นใหเ้ ปน็ คนดีมีปัญญา มคี วามสุข มศี ักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบ
อาชพี จึงกำหนดเปน็ จดุ หมายเพอื่ ให้เกดิ กับผู้เรยี นจบการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ดังน้ี

1. มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมท่ีพงึ ประสงค์ เห็นคณุ คา่ ของตนเอง มีวินยั ในการปฏบิ ตั ติ นตาม
หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนบั ถอื ยึดมัน่ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

2. มีความรู้ ความสามารถในการสอื่ สาร การคดิ การแกป้ ญั หา การใช้เทคโนโลยีและมที ักษะชวี ติ
3. มีสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตทด่ี ี มีสขุ นิสัย และรกั การออกกำลงั กาย
4. มีความรักชาติ มีจติ สำนึกในความเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ยดึ ม่นั ในวถิ ชี ีวิตและการปกครองตาม
ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข
5. มีจติ สำนกึ ในการอนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมและภมู ปิ ัญญาไทย การอนุรักษ์ส่งิ แวดล้อม มจี ิตสาธารณะทม่ี งุ่
บำเพ็ญประโยชนแ์ ละสร้างส่งิ ทดี่ งี ามในสงั คม และอยรู่ ว่ มกันในสังคมอยา่ งมีความสขุ
การศกึ ษา 4.0 จากปัญหาต่างๆ ของประเทศไทย เช่น เศรษฐกิจลม้ เหลว การเมืองล้มแลว้ สังคมล้มเหลว
หรือทกุ ๆ ปัญหาทลี่ ม้ เหลวต่างก็โทษการศกึ ษาล้มเหลว ไทยแลนด์ 4.0 เป้าหมายต้องการให้ประเทศไทยมี
นวัตกรรมเป็นของตนเอง โดยกระทรวงศึกษาต้องเป็นผนู้ ำท่ีตอ้ งเดนิ พรอ้ มไปกบั โรงเรยี นท่เี ปน็ หน่วยปฏิบตั ิ
โดยตรง ดังน้ี
1. ตอ้ งกำหนดนโยบายหรอื ออกกฎกระทรวงนกั เรียนตอ่ ห้องต้องไมเ่ กิน 36 คน เพอ่ื ใหเ้ กิดประสิทธิการ
ในการสอนอยา่ งจริงจัง ครูสามารถดแู ลนกั เรยี นในการจัดกจิ กรรมการสอนไดอ้ ย่างทัว่ ถึง จะออกขอ้ สอบอัตนยั
ครูก็สามารถทจ่ี ะตรวจขอ้ สอบได้ในเวลาที่พอเหมาะ ไม่ใช่นักเรยี นห้องละ 50 ครดู ูแลไมท่ วั่ ถงึ ใครไม่สนใจครู
จำเป็นต้องปล่อย ปจั จุบันอตั ราการเกดิ ของประชากรน้อยมาก นกั เรียนก็ลดลงทุกโรงเรียน ฉะนัน้ โรงเรยี น
สามารถรบั นกั เรยี นไดอ้ ยา่ งเพียงพอ
2. การจดั ความพร้อมของโรงเรยี น หมายถึงโรงเรียนทัง้ ประเทศอย่างน้อยในทุกตำบล หรืออำเภอ หรือ
จงั หวดั ตอ้ งมคี วามพรอ้ มเทา่ เทียมกนั ท้งั สอ่ื อปุ กรณ์ ครู อาคารสถานท่ี ตอ้ งมคี วามพร้อมเท่ากนั ไม่ให้เกดิ การ
เปรียบเทียบถึงความแตกต่าง
3. หลักสูตรต้องมีการปรับปรงุ อาจจะหลักสตู รรายวิชา มกี ารยกระดบั วิชาคอมพวิ เตอร์ วชิ าเทคโนโลยี มา
เป็นวชิ าหลัก ไม่ใช่เป็นส่วนหน่ึงของวชิ าการงานอาชีพ การเรยี นเปน็ รายวิชาจะมีข้อดี คือสามารถจะเปล่ียน
รายวิชาไดท้ ุกปี เป็นวิชาท่ีโรงเรยี นสามารถจัดให้นักเรียนเรียนวชิ าท่ีทนั ยคุ ทนั สมัยได้เลย ไม่กำหนดตายตัว
4. ตอ้ งนำสะเตม็ ศึกษา (STEM EDUCATION) และ Active Learning เข้ามาจดั การเรียนการสอนใน
โรงเรยี น คำวา่ “สะเต็ม” หรือ “STEM” เปน็ คำย่อจากภาษาองั กฤษของศาสตร์ 4 สาขาวิชา ได้แก่ วทิ ยาศาสตร์
(Science) เทคโนโลยี (Technology) วศิ วกรรมศาสตร์ (Engineering) และคณิตศาสตร์
(Mathematics) หมายถงึ องคค์ วามรู้ วิชาการของศาสตร์ท้ังส่ีที่มคี วามเชื่อมโยงกันในโลกของความเปน็ จริงทต่ี อ้ ง
อาศยั องค์ความรู้ตา่ งๆ มาบูรณาการเข้าดว้ ยกันในการดำเนนิ ชวี ติ และการทำงาน การจดั การเรียนการสอนของ
ไทยเรา ครูผู้สอนจะสอนแยกส่วน เช่น สอนเคมี กเ็ คมีลว้ นๆ ฟสิ ิกส์ กฟ็ สิ กิ สล์ ้วนๆ หรอื คณิตศาสตร์กค็ ณิตศาสตร์
ล้วนๆ ไม่เคยนำมาบูรณาการในช้นิ งาน หลกั ของวัตกรรมทั้งหมดเกดิ จากการบูรณาการของคณติ ศาสตร์และ

274

วิทยาศาสตรเ์ ป็นส่วนใหญ่ แล้วจึงเกดิ นวัตกรรมจนกลายเปน็ เทคโนโลยี ตอ่ มามนี ำการนำเทคโนโลยีมาบรู ณาการ
กับวทิ ยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ จึงเกิดนวตั กรรมใหมต่ อ่ ยอดไปเรอ่ื ยๆ ทั้งน้ี โดยใช้กระบวนการทางวิศวกรรมใน
การสรา้ งนวตั กรรม

การสอนให้นักเรยี นสรา้ งนวตั กรรมนัน้ ต้องสอนให้นักเรยี นรู้แบบโครงงาน หรอื การสรา้ งชิ้นงาน โดยใน
โครงงานหรอื ชนิ้ งานนั้น นักเรียนตอ้ งตอบได้วา่ มีคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรอื เทคโนโลยเี ขา้ มาเก่ียวข้องอย่างไร
ในอดีตการสร้างช้ินงานของนกั เรยี น เราไม่เคยนำวิชา STEM เขา้ มาบูรณาการ ตวั อย่างเชน่ อดีตการหงุ ข้าวเปน็
วถิ ชี วี ิตประจำวนั แมบ่ อกใหก้ รอกข้าว 1 หรอื 2 กระปอ๋ ง ใส่น้ำให้สูงจากขา้ วสาร 1 ข้อ หรือแลว้ แตบ่ างคนให้
ท่วมหลังมอื การหุงข้าวใชไ้ มฟ้ นื หรอื ถ่าน หงุ ข้าวสุกไมด่ บิ สามารถรับประทานได้เสรจ็ ก็จบ แต่เราไม่เคยนำหลัก
คณติ ศาสตรเ์ รื่องการตวง เรื่องปริมาตร หลักวิทยาศาสตร์ เรอื่ งความร้อน เข้ามาคดิ ในเรอ่ื งการหงุ ขา้ ว ญีป่ ุ่นนำ
หลักของ STEM มาใช้ในการหงุ ข้าว โดยใช้หลักของคณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ เชน่ เร่ืองของปรมิ าตร การตวง
เรือ่ งของความร้อน เรอื่ งของเวลา จนสามารถสรา้ งหมอ้ หงุ ข้าวไฟฟา้ ไดส้ ำเร็จ และมีการพัฒนาขึน้ มาเร่อื ยๆ เชน่
กำหนดเวลาในการหงุ ขา้ ว การอุ่นข้าว การตม้ ขา้ ว ฯลฯ

5. ต้องสร้างตัวชี้วัดระดบั บุคคลในการประเมินผลการปฏบิ ตั ิงานของครู เพือ่ จะทำให้ทราบจุดเดน่ จุดดอ้ ย
ตอ้ งพฒั นาครูเป็นรายบุคคล กระทรวงตอ้ งการใหค้ รเู ป็นอย่างไรกก็ ำหนดตัวชี้วดั มาประเมนิ ในส่ิงท่ตี ้องการใหเ้ ปน็
ปัจจบุ ันตอบไมไ่ ด้วา่ ครแู ต่ละคนมีสิง่ ที่จะตอ้ งพฒั นาอะไรบา้ ง จุดเดน่ ของครูมีอะไรบา้ ง เช่น ต้องการใหค้ รนู ำ
เทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนการสอน ก็ตอ้ งสร้างตัวชว้ี ดั เพอื่ ประเมินครวู ่ามีการใช้ไดห้ รอื เปล่า เชน่ กระทรวงมี
นโยบายอย่างไร นโยบายจะสำเร็จหรือไม่ตอ้ งกำหนดตวั ชี้วัดของนโยบายนั้นๆ ระดับโรงเรียน และระดบั ตัวบคุ คล
ของแต่ละนโยบาย ถึงจะตอบโจทย์แห่งความสำเร็จน้นั ได้
กระบวนการเรยี นรู้หลกั ของการศกึ ษา 4.0 ประกอบด้วย

1. กระบวนการเรียนรเู้ ชงิ ผลิตภาพ (Productive-Based Learning) เนน้ ให้ ผเู้ รียนเรียนร้โู ดยสรา้ งผลงานท่ี
มีคุณค่า มกี ารกำหนดเป้าหมายท่มี ุ่งสร้างหรอื ผลิต เปา้ หมายอาจเปน็ แนวปฏิบัตทิ ่ีเป็นพลังสรา้ งสรรค์
สังคม กระบวนการเรยี นและการปฏิบตั ิการเรียนรสู้ ามารถใช้ กระบวนการไดห้ ลากหลาย

2. กระบวนการเรียนรู้ท่มี ุ่งผลลัพธ์ (Outcome – Based Learning) เน้นให้ ผเู้ รียนเรยี นรคู้ วบค่กู ับการทำ
กจิ กรรม (Activity-based Learning) มีการกำหนดผลลัพธท์ ี่ผูเ้ รยี นควร จะไดห้ รือควรจะเปน็ หลังจาก
เสรจ็ สนิ้ การเรียน ซึง่ จะตอ้ งแจง้ ให้ผเู้ รียนทราบว่าเมอื่ เรียนวิชานี้จบไป แลว้ จะสามารถทำอะไรได้บา้ ง
จากนั้นจึงออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือมงุ่ ไปสู่ผลลัพธ์นั้น รวมไปถงึ การให้ผ้เู รยี นไดส้ รปุ บทเรยี นการ
เรียนรู้ (Reflection) อยา่ งสมำ่ เสมอ เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นไดแ้ ลกเปล่ยี นเรียนรู้ซ่งึ กนั และกนั และต้องมกี าร
ประเมนิ ผลหรือประเมินผลลัพธ์ เพือ่ ให้ผ้เู รยี นได้เกดิ การพัฒนาตนเอง และเพ่ือให้อาจารย์ผู้สอนได้ทราบ
ว่าวธิ กี ารทใี่ ช้นนั้ ไดผ้ ลหรือไม่ ถ้าไม่ไดผ้ ล หรอื ไดผ้ ลน้อย ก็ ต้องปรับวิธีการใหไ้ ดผ้ ลมากขึ้นในคร้งั ต่อไป
ไทยแลนด์ 4.0 เป็นสิง่ ท่ีดี ถา้ เปน็ ไปตามโมเดลน้ี ประเทศจะตอ้ งมีนวตั กรรมเปน็ ของตนเองอยา่ งแน่นอน

ฉะน้ัน การศกึ ษา 4.0 เป็นสว่ นหน่ึงของไทยแลนด์ 4.0 ทจ่ี ะนำพาไปสคู่ วามสำเร็จ จึงตอ้ งอาศยั ทุกภาคส่วนให้

ความรว่ มมือ โดยเฉพาะครตู อ้ งปรบั การเรยี นการสอนตามแนวทางสะเต็มศกึ ษา (STEM) และ Active Learning

275

นำมาใชใ้ นการเรยี นการสอนอยา่ งจริงจงั ผบู้ รหิ ารโรงเรียนตอ้ งเป็นผู้นำทางวชิ าการ การปฏิรูปการศึกษาตอ้ งเนน้

ทหี่ อ้ งเรยี น ตดิ ตามพฤติกรรมการสอนของครโู ดยสร้างตัวชวี ดั ผลการปฏบิ ัตงิ าน โรงเรียนทกุ โรงเรยี นตอ้ งมี

มาตรฐานเดยี วกัน ภายใน 10 ปี ประเทศไทยตอ้ งมีนวตั กรรมเปน็ ของตนเองแน่นอน (ดร. โพยม จนั ทรน์ ้อย,

2556)

การศึกษาไทยในยคุ โควิด

นายอมั พร พินะสา เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน (เลขาธิการ กพฐ.) เปน็ ประธานในการ
ประชมุ ทางไกลผ่านระบบวิดีโอคอนเฟอเรนซ์ เพื่อชแ้ี จงแนวทางปฏบิ ัติในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติด
เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำหรับผอู้ ำนวยการสำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาท่วั ประเทศ โดยมีผู้บริหาร
ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน (สพฐ.) ชีแ้ จงแนวทางปฏิบตั ใิ นดา้ นตา่ งๆ อาทิ นโยบายการจัด
การศึกษา สพฐ. ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยนายอัมพร พิ
นะสา เลขาธิการ กพฐ. / การบรหิ ารจดั การทว่ั ไป การเตรียมความพร้อม การเปิด-ปิดสถานศึกษา

การแพรร่ ะบาดคร้ังใหมน่ ี้มีความรนุ แรง มปี ริมาณการขยายตัวในวงกว้างและรวดเร็วมากกว่าคร้ังที่ผ่าน
มา ดงั นน้ั เพื่อเป็นการเตรียมความพรอ้ มรองรับสถานการณ์ ใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรการของ ศบค. จงึ ได้เน้นย้ำใน 3
เรอื่ ง คือ สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาและสถานศึกษาทุกแหง่ ต้องสือ่ สารสรา้ งความเข้าใจพรอ้ มดำเนินการตาม
มาตรการเพื่อให้นกั เรยี นหรือบคุ ลากรปลอดภัยจากการติดเชื้อโควดิ -19 โดยปฏบิ ตั ติ ามมาตรการของ ศบค. ทง้ั ใน
เรื่องการเว้นระยะห่าง การล้างมือ การใส่หน้ากากอนามัย การดูแลสุขอนามัย และการเปิด-ปิดสถานศึกษาใน
กรณีที่จำเป็น รวมถึงปฏิบัติตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ และปฏิบัติตามประกาศของจังหวัดแต่ละ
จังหวัด โดยคำนึงถึงความปลอดภัยของนักเรียนและบุคลากรเป็นสำคัญ (รองศาสตร์จารย์ ดร.เทื้อน ทองแก้ว,
2564)
การดำเนนิ การเรยี นการสอน

รปู แบบการเรยี นการสอน 5 รปู แบบ
1. On Site คือใหม้ าเรยี นตามปกตไิ ด้ในพื้นทท่ี ไ่ี ม่ใช่สีแดง แตต่ ้องเว้นระยะหรอื ลดจำนวนนกั เรยี นตอ่
ห้องลง สำหรับจังหวดั พ้นื ท่ีสเี ขยี ว สามารถจัดการเรียนการสอนในโรงเรยี นได้ตามปกติ
2. On Air คือการออกอากาศผา่ น DLTV เปน็ ตัวหลักในการกระจายการสอน โดยใชโ้ รงเรยี นวงั ไกล
กังวลเปน็ ฐานในการจัดการเรียนการสอน สามารถดไู ด้ท้ังรายการท่อี อกตามตาราง และรายการที่ดู
ย้อนหลงั
3. Online ให้ครูเปน็ ผจู้ ัดการเรยี นการสอน ผ่านเครื่องมอื ทท่ี างโรงเรยี นกระจายไปส่นู กั เรียน เปน็
รูปแบบท่ถี กู ใช้ในการจัดการเรียนการสอนจำนวนมากทีส่ ดุ
4. On Demand เป็นการใช้งานผ่านแอปพลเิ คชั่นต่างๆ ท่ีครกู ับนักเรียนใชร้ ว่ มกนั
5. On Hand หากจดั ในรปู แบบอื่นๆ ท่กี ล่าวมาไมไ่ ด้ ให้โรงเรียนจดั แบบ On Hand คอื จดั ใบงาน
ให้กบั นักเรยี น เป็นลักษณะแบบเรียนสำเร็จรูป ให้นักเรยี นรบั ไปเปน็ ชุดไปเรียนด้วยตัวเองทบ่ี ้าน

276

โดยมคี รอู อกไปเยย่ี มเป็นคร้งั คราว หรือใหผ้ ู้ปกครองทำหน้าทีเ่ ป็นครคู อยช่วยเหลอื เพ่ือให้นกั เรยี น
สามารถเรยี นได้อยา่ งตอ่ เนือ่ ง ถึงแมโ้ รงเรียนจะปดิ แตต่ อ้ งไม่หยุดการเรียนรู้
ขอ้ ดีของการเรยี นออนไลน์ คือคณุ ครสู ามารถจัดทำแผนการเรยี นการสอนได้ทันสมยั และให้เดก็ ๆ
เข้าถงึ ข้อมูลจากการค้นหาเพิ่มเติมไดด้ ้วย แต่ก็มขี ้อจำกัดระหว่างผู้เรียน และผสู้ อน ดงั น้ี
ข้อดี
1. ลดเวลาการเดินทาง ท้ังครูผสู้ อน และผ้เู รยี น
2. มโี ปรแกรมช่วยบรหิ ารจดั การ เช็กชอื่ นักเรียนเข้าเรียน และรับเอกสารแบบทดสอบ เพื่อใชป้ ระเมนิ
การเรยี นไดส้ ะดวกมากข้นึ
3. มีชอ่ งทางส่ือสารระหวา่ งครผู ้สู อน และผ้เู รยี นได้สะดวก
4. ใชเ้ ครือ่ งมอื ออนไลน์คน้ ควา้ ขอ้ มูลเพ่ิมเตมิ ได้มากขนึ้
ขอ้ เสีย
1. การสอนท่เี ป็นการส่อื สารทางเดียว มีโอกาสเกิดความผิดพลาดในการรบั รู้ เพราะฉะน้นั ต้องมี
แบบทดสอบท่ีประเมินการเรียนรขู้ องผู้เรยี น
2. การเข้าถึงอุปกรณ์เรียนออนไลน์ไมว่ า่ จะเป็น โทรทศั น์, โทรศัพทม์ อื ถือ, แท็บเล็ต หรือสญั ญาณ
อนิ เทอรเ์ น็ตมีข้อจำกัด
3. เด็กนกั เรียนไมม่ ีสมาธใิ นการเรยี น หากให้ใชม้ ือถอื ก็จะแอบเอามือถอื มาเลน่ ระหว่างเรียน
4. เดก็ นกั เรียนไมส่ ามารถไตรต่ รองความถกู ตอ้ งของข้อมูล จากการเข้าถงึ ข้อมลู ท่ีไมน่ ่าเช่ือถือ
5. เดก็ นกั เรียนใชเ้ วลาเสพออนไลน์มากเกินควร
6. ผปู้ กครองตอบคำถามหรอื ทำการบา้ นแทนเด็ก
7. ผูป้ กครองไมม่ ีเวลาเฝา้ ดแู ลเด็ก เพราะต้องทำงาน
ขอ้ ปฏิบัตสิ ำหรับโรงเรียนและสถาบนั ศกึ ษาในสถาณการณโ์ ควดิ 19
1. แจง้ ผ้ปู กครองเมอื่ บตุ รหลานมอี าการเจบ็ ป่วย
2. คดั กรองนกั เรียนบรเิ วณทางเขา้ โรงเรียน
3. ทำความสะอาดอุปกรณแ์ ละสถานที่ตา่ ง ๆ เมือ่ มผี ูก้ ลบั มาจากพื้นทเี่ ส่ียงเข้าไปในสถานท่ีดงั กล่าว
4. พิจารณาการจัดกจิ กรรมในโรงเรียน
5. จดั ใหม้ ีการดแู ลอาคารและยานพาหนะ
6. จัดให้มีการดูแลร้านอาหาร การจำหน่ายอาหาร โรงอาหาร
7. ทำความสะอาดและดูแลห้องนำ้
8. ควบคุมครูและบุคลากรในโรงเรยี น
9. ใหค้ วามรู้ผู้ปกครองและนักเรยี นเกย่ี วกบั โรคโควิด 19

277

ทันต่อการเปลย่ี นแปลงในบรบิ ทโลก

การจดั การศึกษาต่างประเทศ

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (2542) ได้ระบุว่าในปี พ.ศ. 2540-2541 สำนักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาแหง่ ชาติได้สนับสนุนใหม้ ีการวิจัยและจดั สัมมนาเกี่ยวกับการปฏริ ูปการศกึ ษาของประเทศต่างๆ หลาย
ประเทศ ทั้งในประเทศพัฒนาอุตสาหกรรมและประเทศแถบเอเชีย เพื่อนำผลการศึกษามาประยุกต์ใช้กับการ
ปฏิรูปการศึกษาไทย และเป็นการกระตุน้ ให้เกดิ การต่นื ตัวในการปฏริ ปู การศกึ ษาเพื่อไมใ่ หล้ า้ หลังประเทศอ่นื ๆ ซงึ่
ตัวอยา่ งของการปฏิรปู การศกึ ษาท่มี ีการศึกษาและใช้เป็นแนวทางในการปฏริ ปู การศกึ ษาของไทย ได้แก่ ฟนิ แลนด์
เอสโตเนยี และสิงคโปร์

ประเทศฟินแลนด์ Finland

สโลแกนการศกึ ษาของประเทศฟนิ แลนด์ “No Child Left Behind (NCLB)” ไมม่ ีเด็กคนใดถกู ท้งิ ไว้ข้างหลงั
หลักสูตรใหม่ “ฟนิ แลนด์” พฒั นา7ทกั ษะสรา้ งคนแห่งอนาคต (2560) ไดบ้ รรยายว่าประเทศฟินแลนดม์ ี

ชือ่ เรียกอย่างเป็นทางการวา่ สาธารณรัฐฟินแลนด์ (ฟินแลนด:์ Suomen tasavalta; สวีเดน:Republiken
Finland) เปน็ ประเทศในกล่มุ นอร์ดกิ ตั้งอยทู่ างตะวนั ออกเฉียงเหนือของทวีปยโุ รป เขตแดนดา้ นตะวันตกเฉียงใต้
จรดทะเลบอลติกทางด้านใต้จรดอ่าวฟนิ แลนดท์ างตะวนั ตกจรดอ่าวบอทเนยี ประเทศฟนิ แลนด์มชี ายแดนตดิ กบั
ประเทศสวเี ดนนอรเ์ วยแ์ ละรสั เซยี สำหรับหมเู่ กาะโอลนดั ์ทอ่ี ยูห่ า่ งจากชายฝง่ั ตะวนั ตกเฉยี งใต้ อยูภ่ ายใต้การ
ปกครองของฟินแลนด์แตเ่ ป็นเขตปกครองตนเองเคยถกู รสั เซยี ยึดครองและเปน็ ดินแดนสว่ นหนึ่งของรัสเซยี เมือง
หลวงและเมอื งที่ใหญ่ท่ีสุด คือเฮลซิงกิเมืองสำคัญอน่ื ๆไดแ้ ก่ เอสโป วนั ตา ตัมเปเร โอวลุ และ ตุรกุ

การศึกษาเป็นสทิ ธขิ ้นั พืน้ ฐานของพลเมืองฟนิ แลนด์ทกุ คน เป้าหมายหลัก ของการจัดการศึกษา คอื การ
ยกระดับคุณภาพและการให้โอกาสทางการศึกษาที่เสมอภาคกัน จุดมุ่งหมายของการศึกษาคือ เพื่อสนับสนุน
พัฒนาการของนกั เรยี นให้ เตบิ โตเปน็ มนุษยท์ ส่ี มบรู ณ์ และเปน็ สมาชกิ ของสงั คมทีร่ บั ผดิ ชอบอย่างมีจรรยาบรรณ
และเพอ่ื ให้ความรู้และทักษะต่าง ๆ ทจ่ี ะเป็นในการดำรงชีวติ เปา้ หมาย ของการศกึ ษาก่อนประถม มุ่งปรบั ปรงุ ขีด
ความสามารถในการ เรียนรู้ของเด็ก ส่งเสริมความมอี ารยธรรม (Promote Civilization) และ ความเทา่ เทียมกัน
ในสังคม เตรยี มเดก็ เขา้ สู่ระบบการศกึ ษาและการพฒนั าตนเองชว่ั ชวี ติ ฟนิ แลนดใ์ ห้ความสำคญั กบั ความเสมอภาค
โดยไมเ่ กบ็ คา่ เล่าเรยี น จดั การศึกษาภาคบังคบั 9 ปี ต้ังแต่ อายุ 7-16 ปี โรงเรยี นรฐั จะบริการอาหารกลางวนั
ฟรี มกี ารจัดเตรยี มอดุ มศกึ ษาในสายสามญั และอาชีวศึกษาและใน ระดับอุดมศกึ ษาจะมีมหาวทิยาลยั และวทิ ยาลัย
อาชีวศึกษาขั้นสูง จากการทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาขององค์การ เพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและ
การพฒนั า (OECD-PISA) ปี พ.ศ. 2546 พบว่านกั เรยี นอายุ15 ปี ของฟนิ แลนดท์ ำคะแนนสงู สุดในความสามารถ
ดา้ นการอ่าน และวทิ ยาศาสตร์ และ ไดอ้ ันดบั สองด้านคณิตศาสตร์และการ แก้ปัญหา ประชากรที่ อายเุ กนิ 15 ปี
อา่ นออกเขยี นได้100 เปอรเ์ ซ็นต์ และจำนวนผ้เู รยี นการศึกษานอกระบบและตามอธั ยาศัย มีจำนวน 1.5 ล้านคน
หรือคิดเปน็ ร้อยละ 45 ของประชากร

278

หลักสูตรใหม่ที่พฒั นาขึน้ ต้องสอดรบั กับรากฐานการศกึ ษาของฟนิ แลนด์ซงึ่ มี4ด้านได้แก่
สรุ ยิ า ฆอ้ งเสนาะ (2560) ได้กล่าวถึงหลักสูตรใหม่ของการศึกษาในประเทศฟนิ แลนด์ว่า

1. ความเสมอภาคโรงเรยี นทุกแห่งตอ้ งเปน็ โรงเรียนท่ดี ีใสใ่ จคนที่เรยี นลา้ หลัง และสนบั สนนุ คนท่เี รียนรู้
ตามปกติ

2. สนับสนนุ การเงนิ หรอื ไม่มกี ารเกบ็ ค่าเล่าเรียน
3. ประเมนิ ผลการเรียน จะไมม่ กี ารจัดอันดับครูหรอื นักเรียนแตเ่ ป็นการประเมินผลเพ่อื เกบ็ ขอ้ มูลไปใชใ้ น
การ พัฒนาศักยภาพทางการศึกษาเท่านน้ั
4. หลกั การเรยี นรู้ตลอดชวี ิต ผ่านการเรียนร้แู บบองคร์ วมเพ่อื ให้ผเู้ รยี นสามารถนำองคค์ วามร้ไู ปใช้ได้
ต้ังแต่วยั เด็กถึง ผใู้ หญ่

ประเทศเอสโตเนยี Estonia

เป็นประเทศเลก็ ๆ ในยุโรป (ตอนเหนือของประเทศฟนิ แลนด)์ ทม่ี ีประชากรเพียง 1.3 ลา้ นคน
ในชว่ งระยะเวลาเพียง 20 ปี สง่ิ หนึง่ ท่ที ุ่มความสำคญั ในการพัฒนาและเปลยี่ นแปลงมากทสี่ ุด คือ ด้านการศึกษา
เห็นได้ชัดอย่างเป็นรูปธรรม จากผลการสอบ PISAด้านวิทยาศาสตร์ เอสโตเนียอยู่อันดับที่ 3 ของโลกเป็นรอง
เพยี งสิงคโปร์ และญ่ปี ่นุ และเป็นอันดับ 1 ในยุโรป แซงหนา้ ฟินแลนด์ ทัง้ ยังได้อันดับ 6 ดา้ นการอ่าน และอันดับ
9 ด้านคณิตศาสตร์ อกี ดว้ ย

ยทุ ธศาสตร์การเรยี นรตู้ ลอดชวี ิตของประเทศเอสโตเนียปี 2020

ภาคีเพอื่ การศึกษาไทย Thailand Education Partnership (TEP) (2563) ไดร้ ะบไุ วว้ ่า
1. เปลยี่ นวิธีการเรียนรู้
มหี น่วยงานเฉพาะเพ่อื กำหนดหลักสูตรแหง่ ชาติท่ีทันสมยั สอดคลอ้ งกบั สภาพเศรษฐกิจและสังคม เน้น

การจดั พื้นทท่ี ่ีปลอดภยั และเอื้อต่อการเรียนรใู้ หก้ ับเด็กสู่ความคดิ สร้างสรรค์ คดิ แบบมีตรรกะ เดก็ ทุกคนตอ้ งได้
เรียนอยา่ งนอ้ ย 3 ภาษา

2.สร้างความสามารถและแรงจูงใจครูและผู้บริหารโรงเรียน
ก่อต้งั “ศนู ยส์ มรรถนะ” ในโรงเรียนเพ่อื พฒั นาผ้นู ำโรงเรยี น ครูสามารถออกแบบช้นั เรยี นด้วยตัวเอง ยดึ
หลักนกั เรยี นทุกคนแตกตา่ งกัน
3.สรา้ งโอกาสการเรยี นรตู้ ลอดชีวิต สอดคล้องตลาดแรงงาน
ให้ความสำคัญกบั โรงเรียนสายอาชพี ทุกเขต มกี องทนุ สนับสนนุ จากภาครัฐท่ีมอบใหร้ ะยะยาวในหลาย
สาขาอาชพี ท้งั การศกึ ษาในและนอกระบบ ทำให้ตัวเลขคนเรยี นต่อในเอสโตเนียสงู กวา่ คา่ เฉล่ยี ในยโุ รป
4.เน้นเทคโนโลยีดิจทิ ัลเออื้ ประโยชน์ตอ่ การเรยี นรู้ตลอดชวี ิต
การนำเทคโนโลยมี าใช้ในการศึกษา ทัง้ ระบบออนไลน์ E-learning ท่ีสามารถเข้าถึง 100% ทว่ั ประเทศ

สนบั สนุนใหเ้ ดก็ ใช้โทรศัพท์มอื ถอื ในหอ้ งเรียนแทนคอมพวิ เตอร์สว่ นตวั เพื่อเปน็ เคร่ืองมอื ในการเรียนรู้

279

5. สรา้ งความเสมอภาค และการมีสว่ นร่วมในการเรยี นรู้ตลอดชีวิต
ทุกคนได้เรยี นฟรี อาหารกลางวันฟรสี ำหรับทกุ คน มที ุนการศกึ ษาเพ่ิมเตมิ สำหรับโรงเรียนในชนบทและ
นักเรียนท่ขี าดแคลน ทำให้สามารถทุ่มเทให้กับการเรยี นได้อยา่ งเตม็ ที่ โดยไมต่ อ้ งกังวลเร่ืองค่าใช้จา่ ยหรอื พ้นื ฐาน
ทางเศรษฐกิจของครอบครัว

ประเทศสงิ คโปร์ Singapore

จ ุ ด ม ุ ่ ง ห มา ยท า ง ก าร ศ ึก ษา ใ น ระ บ บ โร ง เ รีย น ข อง ส ิ ง ค โป ร์ เ พื ่อ พัฒ น าเ ย าว ช น ใ ห้ ม ีท ั ก ษะ ความรู้
ความสามารถเพื่อการดำรงชีพ มีคุณธรรมจริยธรรม มีความรับผิดชอบและเป็นพลเมืองดีของชาติ
กระบวนการพัฒนาการศกึ ษามงุ่ ให้เด็กแต่ละคนสามารถพัฒนาศักยภาพใหไ้ ด้สูงสดุ การศึกษาของสิงคโปร์กำหนด
การศึกษาขั้นพื้นฐาน 10 ปี เป็นการศึกษาภาคบังคับ เพื่อให้เด็กทุกคนต้องอยู่ในระบบโรงเรียนอย่างต่ำ 10 ปี
กอ่ นออกไปสู่การทำงาน กล่าวคอื ประถมศึกษา 6 ปี และมธั ยมศึกษา 4 ปี โดยเด็กตอ้ งเข้าเรียนเมื่ออายุ 6 ปี ผู้ท่ี
จะเข้าศกึ ษาในระดับมหาวิทยาลัยจะตอ้ งศึกษาข้ันเตรียมมหาวิทยาลัย อกี 2 ปี การศึกษาภาคบังคับของสิงคโปร์
จะต้องเรียนรู้ 2 ภาษาควบคู่กันไป ได้แก่ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก และเลือกเรียนภาษาแม่ (Mother
Tongue) อีก 1 ภาษา คือ จนี (แมนดารนิ ) มาเลย์ หรอื ทมฬิ (อินเดยี )

รัฐบาลสิงคโปรใ์ หค้ วามสำคญั กับการศกึ ษามาก โดยถือวา่ ประชาชนเปน็ ทรพั ยากรท่ีสำคัญ และมีค่าที่สุด
ของประเทศ ในการน้ี รฐั บาลไดใ้ หก้ ารอุดหนนุ ดา้ นการศึกษาจนเสมือนกับเป็นการศกึ ษาแบบให้เปลา่ โรงเรียนใน
ระดบั ประถม และมธั ยมลว้ นเปน็ โรงเรยี นของรฐั บาลหรอื กงึ่ รัฐบาล สถานศึกษาของเอกชนในสงิ คโปร์ มีเฉพาะใน
ระดับอนุบาล และโรงเรียนนานาชาติเท่านั้น ผู้ปกครองนักเรียนของสิงคโปร์จะส่งบุตรหลานเข้ารับการเตรียม
ความพรอ้ มใน โรงเรยี นเมื่อเดก็ มอี ายุ ได้ 2 ขวบครงึ่ เม่อื เดก็ อายุได้ 6 ปีก็จะเขา้ เรียนในระดบั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1

จุดเน้นของระบบการศึกษาของสงิ คโปร์

1. มจี ดุ เน้นในวชิ าหลกั ท่พี ัฒนาศกั ยภาพและความสามารถในการแขง่ ขันระดบั โลก คอื วชิ าคณิตศาสตร์
วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ที่ใช้เป็นตัวช้วี ดั ผลสมั ฤทธ์ิในระดบั นานาชาติ (TIMSS) และภาษาองั กฤษในฐานะเปน็ ส่ือสำหรบั
การแสวงหาวทิ ยาการใหม่ๆ ซงึ่ วัดได้จาก PIRLS

2. การจดั สอนในระบบสองภาษา (Bilingual Education) เน่อื งจากสงิ คโปร์เปน็ ประเทศทีม่ ีความ
หลากหลายทางเชอื้ ชาติและวัฒนธรรม (multi-cultural and multi-racial characteristics) จงึ มนี โยบายการ
เรยี นระบบสองภาษา (bilingual policy) โดยให้ความสำคัญยงิ่ กับ การเรยี นภาษาองั กฤษในฐานะภาษาราชการ
ใชใ้ นการศกึ ษาหาความรูแ้ ละการทำงานท่วั ไป เด็ก ทกุ คนตอ้ งเรยี นภาษาองั กฤษ แตก่ ็ไมล่ ะเลยการเรียนร้ภู าษา
แม่ (ภาษาจนี ภาษามาเลย์และภาษา ทมฬิ ) เพอ่ื รักษาเอกลักษณ์ทางเช้ือชาติความภมู ิใจ คุณค่าและมรดกทาง
วฒั นธรรม

3. การพัฒนาผู้เรียนรอบด้าน หลักสูตรของสิงคโปร์มีจุดเด่น คือ เป็น holistic and broad-based
education มุ่งพัฒนาผู้เรียนรอบด้าน ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์สังคม มีคุณธรรม และสุนทรียภาพ โดย
ปลูกฝังทักษะ 8 ด้าน ซึ่งนักเรียนที่จบการศึกษาแต่ละระดับชั้น คือ ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และเตรียม
อุดมศึกษา ต้องมีทักษะทั้ง 8 ด้านนี้ตามขีดความสามารถของ แต่ละระดับชั้น ได้แก่การพัฒนาลักษณะนิสัย
(Character Development) ทักษะการบริหารตนเอง (Self Management Skills) ทักษะทางสังคมและการ

280

ร่วมมือกับผู้อื่น (Social and Cooperative Skills) การรู้หนังสือและการคิดเลข (Literacy and Numeracy)
ทักษะการสื่อสาร (Communication Skills) ทักษะด้านสารสนเทศ Information Skills ทักษะการคิดและ
ความคิด ริเริ่ม (Thinking Skills and Creativity) ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้(Knowledge Application
Skills) หลักสตู ร broad-based curriculum ของสงิ คโปร์ ประกอบไปด้วย การรู้ หนังสือ (Literacy) การคิดเลข
(Numeracy) การเรียนสองภาษา (Bilingualism) วิทยาศาสตร์ (Sciences) มานุษยวิทยา (Humanities)
สุนทรียศาสตร์ (Aesthetics) พลศึกษา (Physical Education) หน้าที่พลเมืองและศีลธรรม (Civic and Moral
Education) และการศึกษาเอกลักษณ์ แห่งชาติ(National Education) หลักสูตรของสิงคโปร์มีความเข้มข้นใน
วิชาหลัก ซึ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความ สามารถทางวิชาการในคิดวิเคราะหก์ ารแก้ปัญหา การใช้ภาษา พร้อมทั้งมี
กิจกรรมเสริมหลักสูตร (Co-Curriculum Activities) เช่น กีฬา ดนตรีฯลฯ เพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ และกิจกรรม
การมีส่วนร่วมในชุมชน (Community Involvement Programmes) เพื่อพัฒนาความเป็นพลเมืองที่ดี ของ
สังคมและประเทศชาติ

4. ระบบการเรียนการสอนแบบบูรณาการระหว่าง “เนื้อหา ยุทธศาสตร์หรือ วิธีสอน และการ
ประเมินผล” หลักสูตรถูกออกแบบมาให้ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนแต่ละ คนตามความถนัดและความ
สนใจ โดยครจู ดั ให้ผู้เรยี นมีประสบการณ์การเรียนรูส้ ่งเสรมิ ให้ผ้เู รียนได้ ทดลอง และรู้จกั ตั้งคำถามเพื่อหาคำตอบ
โรงเรียนใดครูมีวิธีสอนที่มีประสิทธิภาพจะได้รับการยกย่อง ให้เป็นแบบอย่างและนำเสนอต่อสาธารณะ
(showcased)

5. มีเป้าหมายการศึกษาที่ชัดเจน โดยกำหนดผลลัพธ์ของการศึกษา (The Desired Outcome of
Education) ว่าคนสิงคโปร์จะมีคุณลักษณะอย่างไร ทั้งในเป้าหมายภาพรวม และเป้าหมายของแต่ละระดับ
การศึกษา

6. มีระบบการทดสอบแห่งชาติที่เข้มแข็งทุกระดับการศึกษา มีคุณค่าและ ความหมาย ที่แสดงถึงการ
สำเร็จการศึกษาในแต่ละระดับ ตั้งแต่ระดับประถมศึกษา จนถึงระดับ มัธยมศึกษา การสอบทำให้สามารถรักษา
ระดับมาตรฐานการศกึ ษา และผลการสอบถกู นำไปใชใ้ นการ กำหนดสายวชิ าท่จี ะเรยี นตอ่ ในชน้ั สงู ข้นึ และใช้เป็น
ตัวเทียบเคียง (Benchmarking) กับนานาชาติ ได้แก่ Primary School Leaving Examination (PSLE) เพื่อจบ
ชั้นประถมศกึ ษา SingaporeCambridge General Certificate of Education (GCE ‘O’ Level) Examination
เพื่อจบชั้น มัธยมศึกษาตามหลักสูตรสามัญสายวิชาการ (Normal Academic Course) SingaporeCambridge
General Certificate of Education (GCE ‘N’ Level) Examination เพื่อจบชั้น มัธยมศึกษาตามหลักสูตร
ส า ม ั ญ ส า ย อ า ช ี พ ( Normal Technical Course) แ ล ะ SingaporeCambridge General Certificate of
Education Advanced Level ( GCE ‘A’ Level) Examination ซ ึ ่ ง ด ำ เ น ิ น ก า ร โ ด ย the University of
Cambridge International Examinations (CIE), the Ministry of Education (MOE) and the Singapore
Examinations and Assessment Board (SEAB).

7. ครูที่สอนมีความเชี่ยวชาญในแต่ละสาขาวิชา ประเทศสิงคโปร์ให้ความสำคัญ กับการผลิตและพฒั นา
ครูอย่างยิ่ง สถาบันผลิตครูจะคัดเลือกผู้ที่มีผลสัมฤทธิ์จาก 30% ของกลุ่มสูง เข้ามาเรียนวิชาครูและเมื่อเข้าสู่
อาชีพแล้วจะตอ้ งพฒั นาสมรรถนะอย่างตอ่ เนือ่ ง ใช้เทคโนโลยีช่วย ในการสอนเพอื่ เพ่มิ พูนประสบการณ์การเรยี นรู้

281

ของผเู้ รยี น โดยกำหนดว่าครปู ระจำการต้องเขา้ รับ การพฒั นา 100 ชว่ั โมงต่อปรี วมทั้งตอ้ งทำวิจัยเพื่อพัฒนาการ
สอนและนำผลวจิ ยั นน้ั ไปปรบั ปรุง การสอนในชัน้ เรยี น

การผลติ ครู "ระบบปดิ " หมายถึง การรบั บคุ คลเข้าศกึ ษาชั้นปที ี่ 1 ตามหลักสูตรการผลติ ครู 5 ปหี รือ
หลักสตู รอน่ื ๆ ทค่ี ุรุสภาให้การรับรอง ตามจำนวนความตอ้ งการใช้ครขู องสถานศกึ ษาภาครฐั เมอ่ื สำเรจ็ การศกึ ษา
จะมีอัตราขา้ ราชการครรู องรับและจะไดร้ ับการบรรจุทันที ในระหว่างศกึ ษาอาจได้รับเงนิ ทนุ การศกึ ษาเปน็
ค่าธรรมเนยี มการศึกษาท่ีสถาบนั การผลติ เรยี กเก็บค่าอุปกรณก์ ารศึกษาและค่าใช้จ่ายสว่ นตวั อ่ืนๆ ดว้ ย ทัง้ น้ี
สถานศึกษาเอกชน อาจทำความตกลงรว่ มมอื กับสถาบนั ฝา่ ยผลติ (ประวิต เอราวรรณ์, ม.ป.ป.)

ตารางสรุปแต่ละประเทศทไ่ี ทยไดน้ ำมาประยกุ ตใ์ ช้ในการศกึ ษาไทย

282

สรุป
สภาพการณ์พฒั นาวชิ าชีพครู กลวิธีการพัฒนาการศึกษาทยี่ ่ังยืน

ความรอบรู้ ทนั สมัย ทันตอ่ การเปลยี่ นแปลงในบริบทโลก
สภาพการณ์พัฒนาวิชาชีพครู

สภาพการพฒั นาวิชาชพี ครู มกี ารผลติ ครโู ดยสถาบันผลติ ครหู รือมหาวิทยาลัยในระดับปรญิ ญาตรีและใน
ระดบั ป.บัณฑิต หรือหลกั สูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชีพครู เม่ือมีการผลติ ครูกม็ ีการพัฒนาครูโดยผ่านการอบรม
ตา่ งๆแบ่งเป็นออก 2 แบบคือแบบบงั คับและไม่บังคับ แบบบังคบั มกี ารอบรมครุ ุสภากำหนดโดยเป็นการอบรมต่อ
ใบประกอบวิชาชีพตามเกณฑ์ตา่ งๆ แบบไม่บังคับ เปน็ การอบรมตามความสนใจหรือตามสาขาวิชาที่เก่ียวข้องกับ
การสอน นอกจากน้ียงั มกี ารอบรมลูกเสอื และมกี ารทำวทิ ยฐานะ หากครูตอ้ งการทจ่ี ะพัฒนาตวั เองก็ต้องทำวิทย
ฐานะ และเปน็ ผลประโยชน์เรือ่ งค่าตอบแทน ซง่ึ ปัจจุบนั นนั้ ก.ค.ศ.มกี ารประกาศให้ใช้เกณฑ์การประเมนิ ใหม่ คอื
วPA ในการประเมนิ วทิ ยฐานะ เร่ิมใชว้ นั ที่ 1 พฤษภาคม 2564 และมผี ลบังคับใช้ 1 ตุลาคม 2564

กลวิธกี ารพฒั นาที่ยง่ั ยนื ของการศกึ ษาไทย ไดน้ ำเอาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งตามแนวพระราชดำริ
ของในหลวงรชั การท่ี 9 ซ่ึงได้พระราชดำริไวใ้ นปพี ทุ ธศกั ราช 2517 และหลังจากเกินวิกฤตเศรษฐกิจต้มยำกุง้ ปี
พทุ ธศกั ราช 2540 จงึ ได้นำแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ้ นการศกึ ษาปพี ุทธศักราช 2542 และได้
บัญญตั ไิ วใ้ นหลักสตู รแกนกลาง 2551 อยใู่ นกลุ่มสาระสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ซึ่งในปัจจุบันไดใ้ สไ่ ว้ใน
รัฐธรรมนญู ปี 2560 ทกุ กระทรวงในปจั จุบนั จงึ นำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้วยหลกั วา่ 3 ห่วง 2 เง่ือนไข 4
มิติ มาปรบั ใชเ้ พ่ือใหป้ ระเทศไทยพัฒนาอยา่ ง มั่นคง มง่ั คั่ง และยงั่ ยนื

ความรอบรู้ ทนั สมยั น้ัน จากการศกึ ษาเรือ่ งบทบาท หนา้ ทแ่ี ละความรับผิดชอบของครู ทำให้รวู้ า่ เรา
จะต้องมีความรอบรู้ประสบการณ์ ยงิ่ มีประสบการณ์ ย่งิ มีวิธจี ดั การกับปัญหา รอบรเู้ รือ่ งวชิ าท่ีสอน ความรขู้ อง
เดก็ เกิดจากความรู้ของเราถา้ เรามนี อ้ ยเดก็ ก็จะไดค้ วามรูจ้ ากเราไปนอ้ ย ความรอบรู้ด้านทฤษฎกี ารเรยี นรู้ ทำใหร้ ู้
วิธีจกั การกับการกับปัญหา รอบรู้เร่อื งเพื่อนรว่ มงานไม่ว่าจะเป็นคนในหมวด ตา่ งหมวด ตา่ งฝา่ ย นักเรยี น
ผู้ปกครอง ทุกคนคือเพื่อนร่วมงานเปน็ ปจั จยั ท่ีทำใหเ้ กดิ การกระตนุ้ ให้กบั ครู รอบรู้เรอื่ งกฎหมาย มนษุ ย์ทกุ คน
ควรรู้กฎหมาย รอบรขู้ ่าวสาร เปน็ ครูต้องทนั เหตกุ ารณ์ รอบรูเ้ รื่องวจิ ัย เพราะจะได้ทราบถงึ ปญั หาการจัดการ
เรียนการสอนเพ่อื หาวิธแี กไ้ ข ส่วนในความทันสมยั ตง้ั แต่สมยั สโุ ขทยั จะมีความทันสมัยในการเกิดตัวอกั ษร
ภาษาไทยขนึ้ สมยั อยธุ ยามแี บบเรยี นให้กับการศกึ ษา มโี รงเรียนสอนศาสนา รตั นโกสินทร์ตอนตน้ มแี บบเรยี นเพมิ่
มีโรงพิมพ์เอกสาร ร.4เหน็ ถงึ ความสำคญั ของภาษาส่งลูกเรียนภาษาตา่ งประเทศ ทำให้ ร.5มีการปฏิรปู การศึกษา
ครั้งสำคัญมกี ารจดั การศกึ ษาอยา่ งมรี ะบบ มโี รงเรยี นเกดิ ข้ึน มที ุนการศกึ ษาใหก้ ับประชาชน ร.6นำวิชาลูกเสือเข้า
มา ร.7 ปรับปรุงกระทรวงเพราะพิษเศรษฐกจิ และในปี 2475-ปัจจุบัน เกิดพระราชบญั ญัติ ประกาศใช้แผนการ

283

ศึกษาแหง่ ชาติ แล้วกป็ ฏิรูปการศึกษาอีกคร้งั ทำให้เกิดการศกึ แบบปัจจุบัน แตเ่ นื่องจากในปัจจบุ นั มีโรคโควิดทำให้
มีการศกึ ษาอีกหลายวิธเี พอื่ รับมอื กบั เหตกุ ารณใ์ นปัจจุบนั

การกา้ วสสู่ ังคมยุคเทคโนโลยยี ่อมสง่ ผลกระทบตอ่ การจดั การศกึ ษาและการเรยี นการสอนอย่างหลีกเล่ียง
ไม่ได้ที่สังคมต้องได้รับผลจากพัฒนาการทางด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ดังน้ัน
นักการศึกษาหลายท่านจึงได้มีการวิเคราะห์ผลการจัดการเรียนการสอนที่ผ่านมารวมทั้งการจัดการศึกษาตาม
สภาพการณ์ในปจั จุบันเพือ่ หาแนวทางการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตร วิธีสอน วสั ดุอุปกรณ์การเรียนการสอนและสิ่ง
อานวยความสะดวกต่างๆรวมท้ังเตรียมบุคลากรทเี่ ก่ียวขอ้ งทุกฝ่ายเพอ่ื ให้เกดิ ศักยภาพเพียงพอและเพือ่ ให้สอดรับ
กบั สภาพทางเศรษฐกิจสังคมดา้ นเทคโนโลยีข่าวสารขอ้ มูลท่ีเปลยี่ นไปไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกับบรบิ ททางสงั คมได้ ไทย
แลนด์ 4.0 เปน็ สิ่งทดี่ ปี ระเทศจะตอ้ งมีนวัตกรรมเป็นของตนเองการศกึ ษา 4.0 เป็นสว่ นหน่ึงของไทยแลนด์ 4.0 ท่ี
จะนำพาไปสูค่ วามสำเร็จ จึงต้องอาศัยทุกภาคสว่ นให้ความร่วมมือ โดยเฉพาะครูต้องปรบั การเรียนการสอนตาม
แนวทางสะเตม็ ศกึ ษา (STEM) และ Active Learning นำมาใช้ในการเรยี นการสอนอยา่ งจรงิ จงั และการเรียนรูใ้ น
ศตวรรษที่ 21 เป็นการกำหนดแนวทางยุทธศาสตร์ในการจัดการเรยี นรู้ โดยร่วมกันสรา้ งรูปแบบและแนวปฏบิ ัติ
ในการเสริมสร้างประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้21 โดยเน้นที่องค์ความรู้ ทักษะ ความเชี่ยวชาญและ
สมรรถนะที่เกิดกับตัวผู้เรียน เพื่อใช้ในการดำรงชีวิตในสังคมแห่งความเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันคุณสมบัติและ
ทักษะท่ีสำคัญคือ 3R8C เพ่ือพฒั นาระบบบริหารโรงเรียนควบคกู่ ับการศึกษาของนักเรียนเปน็ ไปได้อย่างง่ายมาก
ขึ้นกว่าสมัยก่อน และปัจจุบันต้องปรบั เปล่ียน มีการศึกษายคุ Covid-19 ทำให้คุณครูและนักเรียนต้องปรับตัวสู่
สภาวะการเรียนรทู้ ไ่ี มค่ นุ้ เคย และรบั ภาระที่เพมิ่ มากขึ้น คุณครูตอ้ งใช้เวลามากข้นึ ในการเตรียมการสอน นักเรยี น
รบั การบา้ นและต้องเรยี นรู้ด้วยตนเองทม่ี ากกว่าเรียนในชน้ั เรียนมากขึ้นการเรียนออนไลน์กลายมาเป็นค่านิยมใน
การเรียนรูปแบบใหม่ เพราะปัจจุบันในโลกออนไลน์น้ัน สามารถเรียนรู้ร่วมกนั ได้ ถ้ามีเวลาก็สามารถศึกษาด้วย
ตนเอง รวมท้ังเลอื กสง่ิ ท่ีจะเรียนและเวลาเรยี นได้อีกดว้ ย

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติได้สนับสนุนให้มกี ารวิจัยและจัดสัมมนาเกี่ยวกับการปฏิรูป
การศึกษาของประเทศต่างๆ เพือ่ กระตุ้นใหเ้ กดิ การต่นื ตวั ในการปฏริ ปู การศกึ ษาเพือ่ ไมใ่ หล้ ้าหลงั ประเทศอืน่ ๆ
ประเทศฟินแลนด์ Finland จุดมุ่งหมายของการศึกษาคือ เพื่อสนับสนุนพัฒนาการของนักเรียนให้ เติบโตเป็น
มนุษย์ทีส่ มบรู ณ์ และเป็นสมาชิกของสังคมที่รับผิดชอบอยา่ งมจี รรยาบรรณ และเพอ่ื ให้ความรแู้ ละทกั ษะต่าง ๆ ที่
จะเป็นในการดำรงชวี ติ

284

อา้ งอิง

Getupschool. 6 ขน้ั ตอน การทำ ว.21 เพื่อเลอ่ื นวิทยฐานะ. [ออนไลน]์ , เขา้ ถึงได้จาก
https://www.getupschool.com/articles/detail (2564, 16 มนี าคม)

กองบรรณาธิการ วอยซท์ ีวี ไขปม: เรยี นครู หลักสตู ร 4 ปี - 5 ปี มีมาตรฐานตา่ งกันจรงิ หรือ?. [ออนไลน์],
เขา้ ถึงไดจ้ าก : https://www.voicetv.co.th/read/504445 (วันท่ีค้นขอ้ มลู 2564, 17 มนี าคม)

ขน้ั ตอนการขอใบอนุญาตทำงานให้ครชู าวต่างประเทศ . [ออนไลน]์ , เข้าถงึ ได้จาก :
https://www.educationcenterthailand.com/news-education-center-angthong/6368703
(วนั ทค่ี น้ ข้อมูล 2564, 18 มีนาคม)

ครวู นั ดี. สถาบนั ผลติ ครปู ี2563 หลังครุ สุ ภารบั รองหลกั สตู ร . [ออนไลน]์ , เข้าถึงได้จาก :
https://www.kruwandee.com/news-id42621.html (วนั ท่ีคน้ ขอ้ มลู 2564, 17 มนี าคม)

ครูอัพเดทดอทคอม. แผนภาพอธิบายวิทยฐานะ ช่วงเปลี่ยนผ่าน จากเกณฑ์เก่าไป PA. [ออนไลน์], เข้าถึงได้
จาก https://www.kruupdate.com/35918/ (วนั ทคี่ ้นข้อมลู 2564, 16 มีนาคม)

ครูอาชพี ดอทคอม. ดร.รัชศักดิ์ แก้วมาลา. การทำวิทยฐานะ ว21/2560 . [ออนไลน]์ , เขา้ ถงึ ได้จาก :
https://www.kruachieve.com/(วนั ท่ีค้นขอ้ มูล 2564, 16 มีนาคม)

ณฐั นรี ไชยภักดี. (2552). การเปิดรบั ข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการมีส่วนรว่ มในโครงการ 7
สี ปันรกั ใหโ้ ลกของประชาชนในเขตกรงุ เทพมหานคร. [ออนไลน]์ , Available :
http://dspace.bu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/593/3/natnaree_chai.pdf. (วนั ทคี่ ้น
ข้อมลู 2564, 22 มนี าคม)

ดร.จิติมา วรรณศรี. (2552). คุณภาพการศึกษากับสมรรถนะของครูที่พึงประสงค์. [ออนไลน์], Available :
ThaiJOso02.tci-thaijo.org › EDKKUJ › article › download (2564, 16 มีนาคม)
นางสาวรัศมี เกยจอหอ และคณะ (2556). วิวัฒนาการการศึกษาไทย. [ออนไลน์], Available :
http://www.kruinter.com/file/40620150830222710-[kruinter.com].pdf. (วันที่ค้นข้อมูล
2564, 22 มนี าคม)

บรษิ ัท โปรเฟสช่นั แนล วซี า่ แอนด์ ทราเวล เซอร์วสิ จำกดั . การย่นื ขอ Work permit ใบอนุญาตทำงาน .
[ออนไลน]์ , เขา้ ถึงได้จาก : https://www.visatranslationteam.com/(วันท่ีคน้ ขอ้ มูล 2564, 16
มนี าคม)

แบบเรียนของมหาวิทยาลัยรามคำแหง. หลักสูตรและสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. บทที่ 4 แนวคิด/ทฤษฎี
กา รเ รีย น รู้ที่เ น้ น พ ฤติกรรมแ ล ะกระบ วน กา ร. [ อ อ น ไ ลน ์] , Available : http:/ / old-
book.ru.ac.th/e-book/s/SE742/chapter4.pdf. (วันทคี่ ้นข้อมูล 2564, 22 มนี าคม)

ประชาชาติ.2560.หลกั สตู รใหม่“ฟนิ แลนด์” พฒั นา7ทักษะสร้างคนแหง่ อนาคต (ออนไลน)์ .
http://news.voicetv.co.th/thailand/440763.html (2564, 16 มีนาคม)

285

http://www.birdkm.com/outside-classroom/outsideclass/thai-education-40 : ผู้เขียน ผศ.
ธงชัย สิทธิกรณ์.(วนั ทีค่ น้ ข้อมลู 2564, 16 มนี าคม)
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: http://osthailand. nic.go.th แผนพัฒนาสถิติทางการ/
แผนพัฒนาสถิติระดับพื้นที่/118-sdgs/257 sustainable-development-goals-sdgs.html. (16
มถิ ุนายน 2559)
ผศ.ดร.กลั ยาณี พรมทอง. (2559). บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคร.ู [ออนไลน์], Available :
http://www.ipebk.ac.th/bep/wp-content/uploads/2017/11/Kanlayanee-B3L03.pdf.
(วันท่ีค้นขอ้ มลู 2564, 22 มีนาคม)
ผศ.ดร.กัลยาณี พรมทอง. (2560). กฎหมายที่เกย่ี วข้องกับการศกึ ษา. [ออนไลน]์ , Available :
http://www.ipebk.ac.th/bep/wp-content/uploads/2017/11/Kanlayanee-B2L5.pdf. (วันท่ี
ค้นข้อมูล2564, 16 มีนาคม)
ผเู้ ขยี นศาสตราจารย์ ดร.พฤทธิ์ ศิรบิ รรณพิทกั ษ์ และคณะคุรุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.(ออนไลน)์ ,
เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://backoffice.thaiedresearch.org/ , มหาวิทยาลยั .(วันที่ค้นขอ้ มลู 2564, 16 มนี าคม)
แผนการศึกษาแห่งชาติ 2560-2579.(ออนไลน์), เขา้ ถึงจาก :
http://www.lampang.go.th/public60/EducationPlan2.pdf : สำนกั งานเลขาธกิ ารสภา
การศึกษา (2560) ,.(วนั ที่คน้ หาข้อมูล 2564, 16 มีนาคม)
ภาคีเพ่ือการศึกษาไทย Thailand Education Partnership (TEP)เลขท่ี 1168 ซ.พหลโยธิน 22 ถ.พหลโยธนิ
แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรงุ เทพฯ 10900โทรศัพท์ 0-2511-5855โทรสาร 0-2939-2239
รศ.ดร.ประวติ เอราวรรณ์ รองเลขาธกิ าร ก.ค.ศ. ก.ค.ศ. ปรบั ปรงุ มาตรฐานตำแหนง่ และมาตรฐาน
วิทยฐานะเปน็ ของขวญั ปใี หม่ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. [ออนไลน์], เข้าถึงได้
จากhttps://www.youtube.com/watch?v=Xe_yrSDY65E (วันท่ีคน้ ข้อมลู 2564, 17 มีนาคม)
ศรีวรรณ แก้วทองด.ี (2562). แนวทางการพฒั นาตนเองของครูในสถานศกึ ษา สหวทิ ยาเขตบงึ สามพัน สงั กดั
สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 40. [ออนไลน]์ , Available :
http://ns.nsru.ac.th/bitstream/nsruE0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%94
%E0%B8%B5.pdf. (วนั ทค่ี น้ ขอ้ มูล 2564, 16 มีนาคม)
สหไทย ไชยพนั ธ. (2553). ครผู ้สู อนกับแนวปฏิบตั ใิ นการทำาวจิ ยั : วจิ ยั ในชน้ั เรยี น. [ออนไลน]์ , Available
: ThaiJOli01.tci-thaijo.org › pnujr › article › view. (วนั ท่ีค้นขอ้ มลู 2564, 16 มีนาคม)
สำนักงานเลขาธิกาคุรุสภา. คำแนะนำกาขอหนังสือขออนุญาตให้ประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา โดยไมม่ ี
ใบอนุญาตประกอบวิชาชพี . [ออนไลน]์ , เขา้ ถงึ ได้จาก :
https://www.ksp.or.th/ksp2018/tmplicense/ (วนั ที่ค้นขอ้ มลู 2564, 18 มีนาคม)
สำนกั งานลกู เสือเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษากำแพงเพชร เขต 2 .วฒุ ทิ างลูกเสอื [ออนไลน์], เข้าถงึ ไดจ้ าก :
https://www.kpp2.go.th/scoutkpp2/inside_page.php?pageid=77 (วันท่ีคน้ ข้อมูล 2564, 16
มีนาคม)

286

สำนกั วชิ าการสำนกงั านเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร.น.1-9กรุงเทพ:สานกับเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.น.
เหตุผลที่ทำให้การศึกษาของฟินแลนด์ประสบความสำเรจ็ เดก็ ๆแฮปป้ี (26ธนั วาคม2562).

หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง (ออนไลน์),เข้าถงึ ได้จาก :
https://www.chaipat.or.th/site_content/item/3579-2010-10-08-05-24-39.html,จัดทำโดย
มลู นธิ ชิ ยั พฒั นา,(2564, 16 มนี าคม)

หลกั สตู รแกนกลาง 2551 (ออนไลน)์ , เข้าถงึ ได้จาก :
https://drive.google.com/file/d/0B9t56k6dmUe5Z202Wmw5S1dvOGM/view , (วันท่ี คน้ หา

ขอ้ มลู 2564, 16 มีนาคม)
อรพรรณ ทมิ ครองธรรม และคณะ. (2560). ปัจจัยทส่ี ง่ ผลต่อการจัดการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21

ของครูสหวทิ ยาเขตเบญจบรู พา สงั กดั สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 2.
[ออนไลน]์ , Available : ThaiJOwww.tci-thaijo.org › nakboot › article › download.(วันทค่ี น้
ข้อมลู 2564, 16 มีนาคม)

บรรณานุกรรม

กรมวชิ าการ. (2540). แนวทางการสอนที่เน้นทักษะกระบวนการ. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์คุรสุ ภา ลาดพร้าว.
กระทรวงศึกษาธิการ. คน้ หาจาก https://www.moe.go.th/
กระทรวงศึกษาธิการและวัฒนธรรม. (๒๕๔๙). กฎหมายสำคัญเกี่ยวกับการศึกษา. สืบค้นเมื่อวันที่ ๙ มีานคม

๒๕๖๔. จากเวบ็ ไซต:์ https://minedu.fi/yleissivistava-koulutus-lainsaadanto
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและวฒั นธรรม. (๒๕๔๙). พระราชบัญญัติการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน (พระราชบัญญตั ิฉบบั ที่

๑๒๐ วันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๙). สบื ค้นเมือ่ วนั ที่ ๙ มีานคม ๒๕๖๔. จาก

เว็บไซต:์ https://www.mext.go.jp/en/policy/education/lawandplan/title01/detail01/137

3798.htmกรงุ เทพฯ:

กฤตวรรณ คำสม. (ตุลาคม ๒๕๕๗). การใชฐ้ านข้อมลู [PDF]. เอกสารประกอบการสอนรายวชิ าจิตวิทยาสำหรับ
ครู, อุดรธานี : มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุดรธานี สืบค้นเมื่อ ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔, จากเว็บไซด์
http://1ab.in/Top p0y

กองบรรณาธกิ าร วอยซ์ทีวี ไขปม: เรยี นครู หลักสูตร 4 ปี - 5 ปี มีมาตรฐานต่างกันจรงิ หรอื ?. [ออนไลน์],
เขา้ ถงึ ได้จาก : https://www.voicetv.co.th/read/504445 (2564, 17 มนี าคม)

กนั ยา สวุ รรณแสง. (2532). จิตวิทยาทั่วไป.กรุงเทพฯ. สำนกั พมิ พ์ บำรงุ สานส์ .
การครุ สุ ภาคร้ังท่ี ๖/๒๕๔๘ วันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๔๘

การศกึ ษาบัณฑติ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมติ ร, 2517.
กำธร พันธุ์ลาภ. (๒๕๖๒). "กฎกระทรวง". สารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน, (เล่ม ๒ : ก-กลากเหล็ก).

(พิมพค์ รัง้ ท่สี าม). กรงุ เทฯ : ไพศาลศลิ ปก์ ารพมิ พ์. หนา้ ๒๗-๓๘
กิตินันท์ โนสุ และเสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2557). องค์ประกอบและตัวบ่งชี้จิตวิญญาณความ เป็นครู

ส ั ง ก ั ด ส ำ น ั ก ง า น เ ข ต พ ื ้ น ท ี ่ ก า ร ศ ึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศ ึ ก ษ า จ ั ง ห ว ั ด ภ า ค เ ห น ื อ ต อ น บ น . ว า ร ส า ร ก า ร ว ิ จั ย
กาสะลองคำ8, 1 : 53-65. เชยี งราย : มหาวิทยาลัยราชภฏั เชยี งราย.
กรี ติ บญุ เจือ. (2546) “เริม่ รู้จักปรชั ญา” ในชุด ปรชั ญาและศาสนาเซนต์จอหน์ , กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลัยเซนต์
จอห์น.
กญุ ชรี คา้ ขาย (2540).จิตวทิ ยาการเรยี นการสอน. ก รุงเทพมหานคร : ภาควิชาจิตวทิ ยาและการแนะ
แนวคณะครศุ าสตร์ สถาบนั ราชภฏั สวนสนุ ันทา.
แกว้ กล้า มีชัยโย.[ออนไลน์].
ขอ้ บงั คบั ครุ ุสภาวา่ ดว้ ยมาตรฐานวิชาชพี .(2562).
ขอ้ บงั คบั ครุ ุสภาวา่ ดว้ ยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวชิ าชพี พ.ศ. 2548, น 40)

ข้นั ตอนการขอใบอนญุ าตทำงานใหค้ รชู าวตา่ งประเทศ . [ออนไลน์], เข้าถึงไดจ้ าก :
https://www.educationcenterthailand.com/news-education-center-angthong/6368703 (2564, 18
มนี าคม) เข้าถงึ ได้จาก : http://dontong52.blogspot.com/ . วนั ที่สืบค้นข้อมูล 7 กรกฏาคม 2555.
คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา, ปี ๒๕๖๒, แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา (ออนไลน์)

แหล่งทมี่ า : http://backoffice.onec.go.th/uploads/Book/1699-file.pdf

ครูวันดี. สถาบันผลิตครปู ี2563 หลังครุ ุสภารบั รองหลกั สตู ร . [ออนไลน์], เขา้ ถงึ ไดจ้ าก :

https://www.kruwandee.com/news-id42621.html (2564, 17 มีนาคม)

ครูอัพเดทดอทคอม. แผนภาพอธบิ ายวทิ ยฐานะ ช่วงเปลยี่ นผา่ น จากเกณฑ์เก่าไป PA. [ออนไลน]์ , เขา้ ถึงได้

จาก https://www.kruupdate.com/35918/ (2564, 16 มีนาคม)

ครูอาชพี ดอทคอม. ดร.รชั ศักดิ์ แกว้ มาลา. การทำวทิ ยฐานะ ว21/2560 . [ออนไลน์], เข้าถึงไดจ้ าก :

https://www.kruachieve.com (2564, 16 มนี าคม)

ความเกรงใจของนักเรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ในเขตการศึกษา 3. ปรญิ ญานพิ นธ์ คอรป์ อเรช่ัน กรุงเทพฯ.
คาร์ล อาร์ โรเจอร์ . (2532). จิตวิทยาทัว่ ไป.กรุงเทพฯ. สำนกั พิมพ์ บำรุงสาส์น.

โครงการพระเมตตาสมเด็จย่า. (2552). รางวลั ครเู จ้าฟ้ากรมหลวงนราธวาสราชนครนิ ทร์
จาก : http://www.learners.in.th/blogs/posts/386486 . วนั ทีส่ ืบคน้ ขอ้ มลู
จาก http://panidar7241.blogspot.com/2013/07/blog-post_27.html
จาก http://www.thaisuprateacher.org.
จาก https://sites.google.com/site/krutubtib/khru/laksna-khxng-khru-thi-di

จติ ติ ตงิ ศภัทยิ ์.(๒๕๔๖). กฎหมายอาญา ภาค ๑. กรุงเทพมหานคร. เนติบณั ฑติ ยสภา.

จนิ ตนา ยูนิพันธ์ุ, หลักคุณธรรมจรยิ ธรรมสาํ คญั ของศาสนาครสิ ต์. (2548, น. 360).
จรี ะวฒุ ิ โคกใหญ.่ (2557). ลกั ษณะของครูที่ดี.7 มีนาคม 2564,
ชยั วฒั น์ สทุ ธิรตั น์. (๒๕๕๕). นวตั กรรมการจัดการเรยี นรท้ ีเน้นผู ้เรยี นเป็นสําคญั ู. กรงุ เทพฯ : แดเนก็ ซ์

อินเตอรค์ อร์ปอเรชัน. ๘๐
ชัยวฒั น์ สทุ ธิรตั น.์ สอนเด็กให้มจี ิตสาธารณะ. กรงุ เทพฯ : วี พรนิ ท์ , 2552.
ชยั วัฒน์ สุทธริ ัตน.์ (2552).80 นวตั กรรมการจัดการเรยี นรทู้ เี่ นน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ.แดเน็กซ์ อนิ เตอร์
ชุติมา ประมวลสุข.(2563).เอกสารประกอบการสอนวิชาความเป็นครู มหาวิทยาลัยราชภัฎ ภูเก็ต,
จาก https://anyflip.com/dedoj/tarx/basic/301-319
ณัชชากัญญ์ วริ ตั นชัยวรรณ. ทฤษฏกี ารเรยี นรู้กลุม่ มนษุ ยนิยม (Humanism). (ออนไลน)์ . เข้าถึงได้
ณัฏฐภรณ์ หลาวทอง และปิยวรรณ วิเศษสุวรรณภูมิ. (2553). การพัฒนาแบบวัดจิตวิญญาณ ความเป็นครู.
กรงุ เทพฯ : คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั .

ณฐั นรี ไชยภกั ด.ี (2552). การเปดิ รับข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในโครงการ 7 สี
ปนั รักให้โลกของประชาชนในเขตกรงุ เทพมหานคร. [ออนไลน]์ , Available :
http://dspace.bu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/593/3/natnaree_chai.pdf. (2564, 22 มีนาคม)

ดร.จิตมิ า วรรณศรี. (2552). คณุ ภาพการศึกษากับสมรรถนะของครทู พ่ี งึ ประสงค์. [ออนไลน์], Available :
ThaiJOso02.tci-thaijo.org › EDKKUJ › article › download (2564, 16 มีนาคม)
ดวงพร เพชรคง.(๒๕๕๙). กฎหมายกับการกระทำความผดิ ของเด็กและเยาวชน

ถนั แพรเพชร. การศกึ ษาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งการอบรมเลยี้ งดูเดก็ กับความคดิ สร้างสรรค์และ
ทวีเกยี รติ มีนะกนษิ ฐ. ประมวลกฎหมายอาญา ฉบับอ้างอิง. https://nisaratpalm.wordpress.com/
ทัศนา ประสานตรี. การปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครู. วารสารวิชาการหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัย

ราชภัฎสกลนคร ทางการอาชีวะและเทคนิคศึกษาสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหาร
ลาดกระบงั .
ทิศนา แขมมณี (2553) .ศาสตรก์ ารสอน:องค์ความรเู้ พื่อการจัดกระบวนการเรยี นร้ทู ี่มี
ทศิ นา แขมมณี (พิมพค์ รั้งที่ 8),ศาสตร์การสอน. กรุงเทพฯ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย 2551

ทศิ นา แขมมณ.ี (2545). ลัทธวิ ตั ถนุ ยิ มหรือสจั นยิ ม. ปรัชญาและปรชั ญาการศึกษา.
จาก https://sites.google.com/site/afathplas/
ทศิ นา แขมมณี. (2547). ศาสตรก์ ารสอน : องค์ความร้เู พ่อื การจัดกระบวนการเรยี นรูท้ มี่ ี
ทศิ นา แขมมณี. (2555) ศาสตร์การสอน. พมิ พค์ รง้ั ท่ี 15. กรงุ เทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์

ธรรมนันทิกา แจ้งสว่าง. (2554). ประสบการณ์ของการเป็นครูผู้มีจิตวิญญาณความเป็นครู : การศึกษาเชิง
ปรากฏการณ์วิทยา. ปริญญานิพนธ์ วทด. (การวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์) กรุงเทพฯ : บัณฑิต
วิทยาลยั มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทร์วโิ รฒ.

ธรรมะไทย การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาเขา้ สปู่ ระเทศจีน. [ออนไลน์], เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://old-
book.ru.ac.th/e-book/p/PY225/py225-1-1.pdf (2564, 26 กุมภาพันธ์)

ธวัชชัย เพ็งพินิจ. (2550) ศาสตร์ว่าด้วย “จิตวิญญาณครู”. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 14 เมษายน 2563, จาก
http://gotoknow.org/blog/spirituality/153240.

นวพร ดำแสงสวสั ด์ิ,พชั รี รัตนพงษ์, และสุธาสนิ ี เจียประเสรฐิ . (2562). ปรัชญาประสบการณน์ ิยม. ปรชั ญา
ประสบการณน์ ยิ ม และการพัฒนาสู่การจดั การศกึ ษาพยาบาลในศตวรรษท่ี 21. 62(1). 177.
นนั ทวฒั น์ บญุ ไธสง. (2543) ทฤษฎเี กสตัลท์ (Gestalt Theory). ออนไลน์,สืบคน้ จากอนิ เทอรเ์ น็ต

นางสาวรัศมี เกยจอหอ และคณะ (2556). ววิ ฒั นาการการศึกษาไทย. [ออนไลน์], Available :
http://www.kruinter.com/file/40620150830222710-[kruinter.com].pdf. (2564, 22 มนี าคม)
บริษทั โปรเฟสชัน่ แนล วีซ่า แอนด์ ทราเวล เซอร์วิส จำกดั . การย่ืนขอ Work permit ใบอนุญาต
ทำงาน . [ออนไลน์], เข้าถึงไดจ้ าก : https://www.visatranslationteam.com (2564, 18 มนี าคม)
บริษัท อมรนิ ทรพ์ ริ้นติง้ แอนดพ์ ับลชิ ช่ิง จำกดั (มหาชน). ศาสนาเชน: วิถีแห่งอหิงสา. [ออนไลน์], เข้าถงึ
ไดจ้ าก : https://ngthai.com/cultures/13974/jainism-religion/ (2564, 20 กุมภาพนั ธ์)
บริหารการศกึ ษา กลุม่ ดอนทอง 52. ทฤษฏกี ารเรยี นร้กู ลมุ่ มนุษยนิยม (Humanism). (ออนไลน)์ .

บวรศกั ด์ิ อุวรรณโณ,กฎหมายมหาชน เลม่ ๓ ทมี่ าและนิติวธิ ี,กรงุ เทพ,สำนกั พมิ พ์นิติธรรม,พิมพ์ครัง้ ที่๑,๒๕๓๘ใจ
จรงิ , ณัฐพล (๒๕๕๖). ขอฝนั ใฝใ่ นฝันอันเหลอื เชือ่ : ความเคลอ่ื นไหวของขบวนการปฏปิ ักษ์ปฏิวัติสยาม
(พ.ศ. ๒๔๗๕-๒๕๐๐) (๑ ed.). ฟา้ เดยี วกนั .

บาทหลวงวฒุ ิชัย อ่องนาวา. (2551). เปรียบเทยี บปรัชญษตะวนั ตกกับปรัชญาตะวันออก. [ออนไลน]์ , Available
: http://franciswut01.blogspot.com/. (2564, 17 กมุ ภาพนั ธ)์

เบญจภรณ์ ศรีเมอื ง. ศาสนาซกิ ข.์ [ออนไลน์], เข้าถงึ ไดจ้ าก
:https://sites.google.com/site/socialbuddhismm4/unit_9_4#:~:text (2564, 18 กุมภาพันธ์)

แบบเรียนของมหาวิทยาลยั รามคำแหง. หลกั สูตรและสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร.์ บทที่ 4 แนวคดิ /ทฤษฎีการ
เรยี นรทู้ ่ีเนน้ พฤติกรรมและกระบวนการ. [ออนไลน]์ , Available : http://old-book.ru.ac.th/e-
book/s/SE742/chapter4.pdf. (2564, 22 มนี าคม)

ปณดิ า ปตั ตาทานัง. (2021). หนา้ ทีพ่ ลเมอื ง,สบื ค้นเม่อื 7 มีนาคม 2564.
ประเทศเพอื่ นบ้านของไทย. ประเทศอนิ เดีย. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก :
http://www.thaiheritage.net/nation/neighbour/india2.htm (2564, 23 กุมภาพันธ)์

ประเทอื ง ภมู ภิ ัทราคม. (2540). การปรบั พฤติกรรม: ทฤษฎีและการประยุกต์ พมิ พ์คร้ังท่ี 1.
ประสาท อศิ รปรดี า. (2538). ทฤษฎกี ารเรยี นร.ู้ กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช.

ประสิทธภิ าพ. พิมพ์ครงั้ ท่ี 3 . กรุงเทพฯ: สำนักพมิ พ์แหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประสทิ ธภิ าพ.จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย.กรงุ เทพ
ปราชญา กล้าผจญั . (๒๕๔๙). คณุ ธรรมจรยิ ธรรมผ้นู ำรัฐ. กรงุ เทพฯ: ก. พล การพิมพ์ จำกัด.

ปรวิ ัตร เขือ่ นแก้ว. (2563). ปรชั ญาทางการศกึ ษา. จาก http://wijai48.com

ปรีดี หงษ์สต้น. “เชือดไก่ให้ลิงดู: รัฐไทยกับการทำลายศัตรูด้วยนาฏกรรม. ” วารสารประวัติศาสตร์
ธรรมศาสตร์ ๑, ๒ (ต.ค. ๒๕๕๗-มี.ค. ๒๕๕๘), น. ๔๓-๙๙.

ปานทพิ ย์ ศุภนคร มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง. ปรัชญาจนี (Chinese Philosophy). E-book. [ออนไลน]์ , เขา้ ถงึ
ไดจ้ าก : http://old-book.ru.ac.th/e-book/inside/html/dlbook.asp?code=PY225 (2564, 20
กมุ ภาพันธ)์

ปยิ ะฤทธิ์ พลายมณ.ี (2556). พระพุทธศาสนากบั ปญั หาทางอภิปรัชญา.เป้าหมายการพฒั นาท่ยี งั่ ยืน.(ออนไลน)์ .

แหล่งที่มา: http://osthailand. nic.go.th แผนพัฒนาสถิติทางการ/แผนพัฒนาสถิติระดับพื้นท่ี/

118-sdgs/257 sustainable-development-goals-sdgs.html. (16 มถิ นุ ายน 2559)

ผจญ คำชูสังข์. (2549). ลกั ษณะท่วั ไปของปรัชญาตะวนั ตก – ปรัชญาตะวนั ออก. [ออนไลน]์ , Available :
pirun.ku.ac.th › ~fhumpjk › word387512. (2564, 17 กุมภาพนั ธ์)

ผศ.ดร.กัลยาณี พรมทอง. (2559). บทบาท หน้าท่ี และความรบั ผดิ ชอบของคร.ู [ออนไลน์], Available :
http://www.ipebk.ac.th/bep/wp-content/uploads/2017/11/Kanlayanee-B3L03.pdf. (2564,
22 มนี าคม)

ผศ.ดร.กัลยาณี พรมทอง. (2560). กฎหมายทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกบั การศกึ ษา. [ออนไลน]์ , Available : http://
www.ipebk.ac.th/bep/wp-content/uploads/2017/11/Kanlayanee-B2L5.pdf. (2564, 16
มีนาคม)

ผศ.วิธาน สชุ ีวคปุ ต์. (2561). อภปิ รชั ญา,11,สำนักพิมพ์:มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง.

ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ดร.ดวงเดอื น พินสวุ รรณ,คณุ ธรรมจรยิ ธรรมสำหรบั ครู. (น. 563-600).
พนายทุ ธ เชยบาล, เอกสารประกอบการสอน “หลักการและปรชั ญาการศกึ ษา Principle and Educational

Philosophy” คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอดุ รธานี; 2560 (หน้า 32-51)
พนารัตน์ วงศ์อกนษิ ฐ์ (2549) พิมพ์ครง้ั ท่ี 1. กรงุ เทพมหานคร : สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารศึกษา
พรรณ ช. เจนจิต (พมิ พค์ ร้ังที่ 4), จติ วทิ ยาการเรยี น การสอน. กรงุ เทพฯ : ต้นออ้ แกรมมี่, 2538
พรรณอร อุชุภาพ. การศึกษาวิชาชพี ครู. สำนักพมิ พแ์ ห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ,2561
พรรณี ช.เจนจิต. จิตวิทยาการเรยี นการสอน. กรงุ เทพฯ : เสริมสิน พรเี พรส ซิสเท็ม , 2545.
พรรณีช. เจนจติ . (๒๕๒๘). จติ วิทยาการเรยี นการสอน. กรงุ เทพฯ : อมรนิ ทรก์ ารพิมพ์. พระเทพเมธาจารย์
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๙ พระสตุ ตนั ตปิฎก เลม่ ท่ี ๑ ทฆี นิกาย สลี ขันธวรรค กูฏทนั ตสูตร. พระไตรปิฎกฉบับ
สยามรฐั . [ออนไลน์], เขา้ ถงึ ได้จาก : https://th.wikipedia.org/wiki (2564, 18 กมุ ภาพันธ์)
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ยุตโต ).ความหมายของคุณธรรม. (2540: น.14).
พระปรยี ะพงษค์ ุณปญั ญา. (2557). ลัทธปิ ระสบการณน์ ิยม. ลัทธิปรชั ญา. 57(1).

จากhttp://wwwphilosophy-suansunandha.com

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโฺ ต). คุณธรรมตามหลักศาสนาพทุ ธ. (2547, น. 21-22).
พระมหาบุญมี มาลาวชิโร. หนังสอื ครองตน ครองคน ครองงาน
พระมหาปพน กตสาโร. (2561). การวิเคราะหอ์ ภิปรัชญาท่ีปรากฏในสารัตถะแห่งคมั ภีร์มิลินทปญั หา
พระมหามฆวินทร์ ปุรสิ ุตฺตโม. มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย . ปรัชญาสากล : วเิ คราะหแ์ ละวิจารณ์
พระเมธธี รรมาภรณ์ (ประยูร ธมมจิตโต). ความหมายของคุณธรรม. (2538: น.15-16).
พพิ ิธภัณฑสถานแห่งชาติ มหาวรี วงศ์ นครราชสีมา. เครอ่ื งหมายหยนิ – หยาง. [ออนไลน]์ , เขา้ ถงึ ได้จาก :

http://www.finearts.go.th/mahavirawongmuseum/view/12432- (2564, 25 กุมภาพนั ธ)์
ไพฑรู ย์ สนิ ลารตั น.์ มาตรฐานวชิ าชีพทางการศึกษา. วทิ ยาลยั ครุศาสตร์, มหาวิทยาลยั ธุรกิจบัณฑติ ย์,2561
ฟ้าดาว อ่อนกลัน่ .(๒๕๓๕). สทิ ธเิ ดก็ ตามบทบญั ญตั ขิ องรัฐธรรมนูญ
ภวศิ า พงษ์เล็ก. (2560). หลักการและปรัชญาการศึกษา. อุดรธานี.

ภวิศา พงษ์เลก็ , เอกสารประกอบการสอน“หลกั การและปรชั ญาการศึกษา Principle and Educational
Philosophy” คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏอุดรธานี; 2560 (หนา้ 5)

ภวิศา พงษ์เล็ก. (2560). หลกั การและปรัชญาการศกึ ษา. คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอดุ รธาน.ี

ภาคเี พือ่ การศึกษาไทย Thailand Education Partnership (TEP)เลขที่ 1168 ซ.พหลโยธนิ 22 ถ.พหลโยธิน
แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900โทรศัพท์ 0-2511-5855โทรสาร 0-2939-2239

มหาภารตะ (Mahabharata). [ออนไลน์], เขา้ ถึงได้จาก :
https://tidtipt2012.wordpress.com/2013/08/21/มหาภารตะ-mahabharata/ (2564, 20

กุมภาพนั ธ์)
มูลนธิ ิครูดขี องแผ่นดิน. 2560. ครูดีของแผน่ ดนิ เจริญตามรอยเบ้อื งพระยุคลบาท10 มนี าคม 2564,
มูลนิธริ างวัลสมเดจ็ เจ้าฟ้ามหาจักร.ี (2563). รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักร(ี Princess Maha Chakri Award).

เมอ่ื วนั ที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ.2555
ยนต์ ชุม่ จติ . (2524). ปรัชญาและคุณธรรมสำหรับคร.ู กรุงเทพฯ : แพรพ่ ิทยา.

รวมความเห็นนักวชิ าการ คดีหมิ่นฯ ร.๔ จาก
เวบ็ ไซต:์ https://www.law.cmu.ac.th/law2011/journal/e1473343066.pdf

รศ.ดร.ประวิต เอราวรรณ์ รองเลขาธกิ าร ก.ค.ศ. ก.ค.ศ. ปรบั ปรุงมาตรฐานตำแหน่งและมาตรฐานวิทยฐานะ
เป็นของขวัญปใี หม่ใหข้ ้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา. [ออนไลน์], เขา้ ถงึ ได้จาก
https://www.youtube.com/watch?v=Xe_yrSDY65E (2564, 17 มนี าคม)

รศ.ดร.ไพศาล ไกรสทิ ธ์ิ, ปี ๒๕๖๒, การปฏิรปู การศกึ ษาไทยปี พ.ศ. ๒๕๑๗ (ออนไลน)์ ,
รศ.ดร.ไพศาล ไกรสิทธ์ิ, ปี ๒๕๖๒, การปฏิรูปการศกึ ษาเป็นอย่างไร (ออนไลน)์

รศ.ยนต์ ชุ่มจติ .ความเปน็ ครู. โอเดียนสโตร์, สนพ.
ราชกจิ จานเุ บกษา ,เลม่ ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๓๕ ง ,หน้า ๑๘
ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ที่ 136 ตอนพเิ ศษ 68. หนา้ 3
รายการประวตั ศิ าสตรน์ อกตำรา. (สจุ ติ ต์ วงษเ์ ทศ). รามายณะ มหาภารตะ ในอุษาคเนย์ ประวตั ิศาสตรน์ อก
ตำรา. [ออนไลน์], เข้าถึงไดจ้ าก : https://www.youtube.com (2564, 20 กมุ ภาพนั ธ์)
รายการแฟนพนั ธุ์แท้ 2014_11 เม.ย. 57. มหาภารตะ. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก :

https://www.youtube.com/watch?v=_vlt2kzstyk (2564, 20 กุมภาพันธ์)
เร่อื งยอ่ มหาภารตะ. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก : https://www.youtube.com/ (2564, 20 กุมภาพันธ)์
วชญิ ์ รัตนสทุ ธิกุล วทิ ยากรชำนาญการและ สริ นิ ทรา ขวัญสง่า. (๒๕๔๖). กฎหมายด้านการศึกษา และที่

เกยี่ วข้อง. สืบค้นเม่อื วนั ที่ ๙ มีานคม ๒๕๖๔. จากเวบ็ ไซต:์ https://www.parliament.go.th/

วรเทพ วอ่ งสรรพการ. (2546). การอา้ งเหตุผลสนบั สนนุ การมีอยู่ของพระเจ้าตามทฤษฎีสหนัยนยิ ม.
วทิ ยานิพนธ์ปริญญามหาบณั ฑิต ภาควิชาปรชั ญา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย.

วารญี า ภวภตู านนท์ ณ มหาสารคาม. 2547. ปรชั ญาอตั ถภิ าวะนยิ ม.

วินัยและจรรยาบรรณวิชาชพี ครู. สืบคน้ เม่อื วนั ที่ ๔ มนี าคม ๒๕๖๔ จาก
http://1.179.134.197/TEPE/A23/subject03/content4/index.php

วีระวรรณ ศรีตะลานคุ ค (๒๕๕๒) วิธีการสอนทม่ี ีผลต่อพฒั นาการของนกั ศึกษาตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิ
ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๒ และความพรอ้ มเข้าสู่ประชาคมอาเซียน. สุรนิ ทร:์ มหาวทิ ยาลัย
เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตสรุ ินทร.์

ศรีวรรณ แก้วทองดี. (2562). แนวทางการพฒั นาตนเองของครใู นสถานศึกษา สหวิทยาเขตบึงสามพนั สงั กดั
สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 40. [ออนไลน์], Available :

http://ns.nsru.ac.th/bitstream/nsru/278/1 (2564, 16 มนี าคม)
ศักด์ชิ ยั ภเู่ จริญ . ลกั ษณะของครูท่ดี ีในประเทศเพื่อนบ้าน, จาก http://www.kruinter.com/file/

ศุภร ศรีแสน. (2526). ปรชั ญาการศึกษาเบือ้ งต้น. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ศนู ย์บรหิ ารกฎหมายสาธารณสุขกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข .

http://laws.anamai.moph.go.th/index.htm
สจีวรรณ ทรรพวสุ.กลยุทธ์การพัฒนาจิตวิญญาณความเป็นครูเพื่อส่งเสริม ความเป็นครูวิชาชีพของนักศึกษา

คณะครุศาสตร ์ มหาวิทยาลัยร าชภัฏสวน สุนัน ทา , จาก https://so05.tci-thaijo.org/
index.php/Ratchaphruekjournal/article/view/90765
สมหมาย ปวะบุตร, “ตำราหลักการศึกษา” คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา; 2558

สหไทย ไชยพนั ธ. (2553). ครผู ู้สอนกับแนวปฏบิ ตั ใิ นการทำาวิจยั : วจิ ยั ในชั้นเรยี น. [ออนไลน]์ , Available :

ThaiJOli01.tci-thaijo.org › pnujr › article › view. (2564, 16 มีนาคม)
สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์ เขต 1. (2563). รางวัลโครงการ “ครูดีในดวงใจ” ครัง้ ที่ 18

พ.ศ. 2564.

สำนักงานลกู เสือเขตพน้ื ท่ีการศึกษากำแพงเพชร เขต 2 .วุฒทิ างลูกเสือ [ออนไลน]์ , เข้าถงึ ได้จาก :

https://www.kpp2.go.th/scoutkpp2/inside_page.php?pageid=77 (2564, 16 มีนาคม)

สำนกั งานเลขาธกิ าคุรุสภา. คำแนะนำกาขอหนังสอื ขออนญุ าตใหป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา โดยไม่มี
ใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพ . [ออนไลน]์ , เข้าถึงไดจ้ าก :
https://www.ksp.or.th/ksp2018/tmplicense/ (2564, 18 มีนาคม)

สำนักงานเลขาธกิ ารคุรุสภา. (๒๕๓๙). แบบแผนพฤติกรรมจรรยาบรรณครู พ.ศ. ๒๕๓๙. กรุงเทพมหานคร : โรง
พมิ พ์คุรสุ ภาพลาดพร้าว. ๒๕๔๑.

สำนกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา. (2563). การคดั เลือกผู้ประกอบวิชาชีพทางการศกึ ษาเพอ่ื รับรางวลั ครุ ุสภา
ประจำปี 2563

สานกั งานเลขาธิการครุ ุสภา.(2541). แบบแผนพฤตกิ รรมตามจรรยาบรรณครู พ.ศ.2539.กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์
ครุ ุสภาลาดพรา้ ว

สำนักวิชาการสำนกงั านเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร.น.1-9กรุงเทพ:สานกับเลขาธกิ ารสภาผูแ้ ทนราษฎร.น.
เหตผุ ลทีท่ ำใหก้ ารศึกษาของฟนิ แลนดป์ ระสบความสำเรจ็ เด็กๆแฮปปี้ (26ธันวาคม2562).

สทิ ธิชยั ร่าหมึ .(๒๕๕๙) ข้อแตกตา่ งระหวา่ งทฤษฎีของเพยี เจต์และบรูเนอร์. สบื คน้ จาก
http://sittichai1997.blogspot.com/p/blog-page_71.html.

สปิ ปนนต์ เกตทุ ตั ,ปี ๒๕๔๕. จากอดตี และปัจจุบัน สอู่ นาคตการปฏิรูปการศึกษาไทยสู่สังคมแห่งปัญญาและการ
เรยี นร.ู้ วารสารราชภัฏเพชรบุร.ี ๑๐.หนา้ ๔๕-๕๖
สบื ค้น 1 มีนาคม 2564. จาก https://socialkrutik.wordpress.com

สืบคน้ 20 กุมภาพันธ์ 2564 จาก https://www.car.chula.ac.th
สบื ค้น 22 กุมภาพันธ์ 2564 จาก http://www.homebankstore.com/dl/ebookthbl

สืบค้น 3 มนี าคม 2564 จาก http://202.28.52.4/userfiles/file
สืบค้น 4 มีนาคม 2564.
สืบค้น 4 มนี าคม 2564. จาก https://www.kruupdate.com/36567/
สบื ค้น 7 มีนาคม 2564, https://www.pmca.or.th
สืบคน้ 8 มนี าคม 2564, https://www.somdejya.org.


Click to View FlipBook Version