The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง(1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nad_natrada, 2021-04-01 05:31:26

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง(1)

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง(1)

ปรชั ญาการศึกษา คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณความเปน็ ครู

เสนอ

รองศาสตร์ตราจารย์ ดร. ฐิติพร พิชญกลุ

จดั ทำโดย

นกั ศกึ ษาประกาศนยี บัตรบณั ฑิตวชิ าชีพครู รนุ่ ที่ 8 หมทู่ ี่ 5
คณะ ครุศาสตร์

รายงานนี้เปน็ ส่วนหนึ่งของวชิ าปรัชญาการศึกษา คุณธรรม จริยธรรม
และจรรยาบรรณความเป็นครู (ETP510)

มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์
ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563

คำนำ

รายงานเล่มนเี้ ป็นสว่ นหนึ่งของวิชาปรชั ญาการศกึ ษาคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณความเปน็ ครู
(ETP510) จดั ทำข้ึนเพื่อรวบรวมเนอ้ื หารายงานปรัชญาการศึกษาคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณความเปน็
ครู ไดแ้ ก่เรอ่ื ง ทฤษฎพี ัฒนาการดา้ นสตปิ ญั ญา /ทฤษฎีเชาวน์ปญั ญา,ปรัชญาตะวนั ตก และ ปรชั ญาตะวนั ออก,
อภิปรัชญาญาณวิทยาและคุณวิทยา,ทฤษฎกี ารเรียนรู้,ความเป็นครู จรรยาบรรณวชิ าชีพครู/เกณฑ์มาตรฐาน
วิชาชีพ จิตวิญญาณความเป็นครู คา่ นยิ มครู,กฎหมายการศึกษา ,การเปน็ แบบอยา่ งทดี่ ี มีคณุ ธรรม จริยธรรม เปน็
พลเมอื งทเี่ ข้มแข็ง ดำรงตนใหเ้ ป็นท่ีเคารพศรทั ธาของผูเ้ รยี นและสมาชกิ ในชมุ ชน ,สภาพการณพ์ ฒั นาวชิ าชพี ครู
กลวิธีการพัฒนาการศึกษาท่ยี ั่งยืน ความรอบรู้ ทนั สมัย ทนั ตอ่ การเปล่ยี นแปล

คณะผู้จัดทำหวงั เปน็ อย่างยง่ิ วา่ รายงานเล่มนี้จะเปน็ ประโยชน์สำหรบั นักศึกษาครูและผูท้ ่ีสนใจจะศกึ ษา
เพอื่ จะไดม้ คี วามรขู้ ั้นพืน้ ฐาน เป็นการเตรยี มความพรอ้ มสำหรับการเป็นครโู ดยนำความรู้ความเขา้ ใจเก่ยี วกับ
ความสำคัญของปรชั ญาการศกึ ษาคุณธรรมจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณความเป็นครแู ละเพื่อเป็นพืน้ ฐานการเรยี น
ในรายวิชาอ่ืนๆ ทเี่ ก่ยี วข้อง

คณะผจู้ ัดทำ
มีนาคม 2564

สารบญั หนา้

คำนำ 1
สารบญั 1
บทท่ี 1 ทฤษฎีการพฒั นาสตปิ ญั ญา/ทฤษฎเี ชาวป์ ญั ญา 1
8
ความหมายสติปัญญา/ความหมายการพัฒนาสตปิ ัญญา 9
ทฤษฎีพัฒนาพฒั นาการทางสติปัญญา 11
ความหมายและแนวคิดเชาวป์ ัญญา 16
ทฤษฎเี ชาวน์ปัญญา 17
การวดั เชาวน์ปัญญา 18
สรปุ ทฤษฎกี ารพฒั นาสติปญั ญา/ทฤษฎีเชาวน์ปญั ญา 18
อ้างองิ 23
บทที่ 2 ปรัชญาตะวันตกและปรัชญาตะวันออก 32
ความหมายของปรัชญา 39
ปรชั ญาตะวนั ออก 53
ปรัชญาการศกึ ษา 55
ปรชั ญาตะวนั ตก 58
สรุปปรชั ญาตะวันตกและปรชั ญาตะวันออก 58
อ้างอิง 63
บทที่ 3 อภปิ รัชญา 64
ความหมายของอภิปรชั ญา 65
หน้าที่ของอภิปรชั ญา 67
ความสัมพันธข์ องอภิปรัชญากบั ศาสตร์อนื่ 71
ทฤษฎีทางอภิปรชั ญา 72
ลัทธิทางอภปิ รัชญา
สรปุ อภปิ รชั ญา
อา้ งอิง

สารบญั (ตอ่ ) หนา้
73
บทที่ 4 ญาณวทิ ยาและคณุ วิทยา 73
ความหมายและความสำคัญของญาณวทิ ยาและคุณวิทยา 75
ความสัมพันธ์ญาณวทิ ยากับศาสตร์ตา่ งๆ 78
ปรัชญาลัทธิกบั ญาณวิทยา 80
คา่ นิยมเกีย่ วกบั คณุ วิทยา 83
ปรัชญาลทั ธิและคณุ วิทยา 85
สรปุ ญาณวิทยาและคุณวิทยา 86
อ้างอิง 87
88
บทที่ 5 ทฤษฎกี ารเรียนรู้ 100
กลุ่มพฤตกิ รรมนิยม 111
กลุ่มพุทธนิ ิยม 112
ทฤษฎกี ารเรยี นรูท้ างสังคม 124
กลุ่มมนษุ ยน์ ยิ ม 127
กลมุ่ ผสมผสาน 128
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้ 129
อ้างอิง
129
บทที่ 6 ความเป็นครู จรรยาบรรณวิชาชพี ครู เกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพ 137
และการเปลย่ี นแปลงบรบิ ทโลก 141
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ 148
ความสำคัญของครู 157
ครุ สุ ภาและจรรณยาบรรณ 162
มาตรฐานวิชาชีพ
แนวโนม้ จรรยาบรรณครใู นบรบิ ทโลก 163
สรปุ ความเปน็ ครู จรรยาบรรณวิชาชพี ครู เกณฑม์ าตรฐานวิชาชพี
และการเปล่ยี นแปลงบรบิ ทโลก
อา้ งอิง

สารบัญ(ต่อ)

บทท่ี 7 จิตวิญญาณความเป็นครูและคา่ นยิ ม หน้า
164
ความหมายของจิตวญิ ญาณความเป็นครู 164
องคป์ ระกอบจติ วิญญาณความเปน็ ครู 170
แนวทางการพัฒนาจติ วญิ ญาณความเป็นครู 174
การปลูกฝงั จติ วญิ ญาณความเป็นครู 181
จติ วิญญาณครูในต่างประเทศ 181
สรุปจติ วิญญาณความเปน็ ครูและคา่ นิยม 185
อา้ งองิ 186
บทท่ี 8 กฎหมายการศึกษา 187
ววิ ฒั นาการกฎหมายไทย 187
ลำดับชั้นกฎหมายไทย 189
การปฏริ ปู การศึกษา 194
โทษ บคุ ลากรทางการศึกษา 198
กฎหมายท่ีเกย่ี วขอ้ งการศึกษา 200
สรุปกฎหมายการศึกษา 221
อ้างองิ 222
บทท่ี 9 การเป็นแบบอยา่ งทด่ี ี มีคณุ ธรรม จริยธรรม เปน็ พลเมอื งทเ่ี ข้มแขง็ 224

ดำรงตนให้เปน็ ท่เี คารพศรัทธาของผเู้ รยี นและสมาชกิ ในชมุ ชน 224
235
คณุ ธรรมและจริยธรรม 239
พลเมอื งทเี่ ข้มแขง็ 241
การดำรงตนใหเ้ ป็นท่ีเคารพศรทั ธา 251
ครแู บบอย่างท่ีดี
สรปุ การเป็นแบบอย่างที่ดี มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม เปน็ พลเมืองท่ี 252
เข้มแขง็ ดำรงตนให้เปน็ ที่เคารพศรทั ธาของผู้เรียนและสมาชกิ ในชุมชน
อา้ งอิง

สารบญั (ต่อ)

บทที่ 10 สภาพการณ์พฒั นาวิชาชีพครู กลวิธีการพัฒนาการศึกษาทีย่ ่ังยนื หนา้
254
ความรอบรู้ ทนั สมยั ทนั ตอ่ การเปลยี่ นแปลงในบริบทโลก
254
สภาพการณ์พัฒนาวชิ าชพี ครู 261
กลวธิ ีการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน 264
ความรอบรู้ 267
ความทันสมยั 280
ทนั ต่อการเปลี่ยนแปลงในบริบทโลก 285
สรุปสภาพการณ์พฒั นาวชิ าชีพครู กลวิธกี ารพฒั นาการศกึ ษาท่ียงั่ ยืน
ความรอบรู้ ทันสมัย ทนั ตอ่ การเปลยี่ นแปลงในบรบิ ทโลก 287
อ้างองิ
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก รายชอื่ สมาชกิ รุ่นที่ 8 หมู่ที่ 5
ภาคผนวก ข รายชอ่ื สมาชิกผู้จัดทำ

1

บทท่ี 1

ทฤษฎีการพฒั นาสตปิ ัญญา/ทฤษฎีเชาวนป์ ัญญา

ความหมายของสติปญั ญา

สตปิ ญั ญาตรงกับภาษาอังกฤษว่า Intelligence มีความหมายท่ียังสับสนไม่ตรงกันเปน็ หนง่ึ เดยี ว นักจติ วทิ ยา
และนักการศึกษาไดใ้ หค้ วามหมายสตปิ ญั ญาดงั นี้

สติปัญญา หมายถึง ความถนัดของบุคคลที่มี ลักษณะรวมๆ หลายสภาวะ และความถนัดน้ีทาให้บุคคล
สามารถเรียนรู้ได้ ซเู ปอร์ (Super), 1949 : 58-59)

สตปิ ญั ญา หมายถงึ ความสามารถที่ไดร้ ับ การพฒั นามาจากประสบการณ์ท่มี ปี ระโยชน์ ความสามารถในการ
ปรับตนเองใหเ้ ขา้ กับ ส่ิงแวดลอ้ ม ความสามารถในการการปฏิบัติ หรือความสามารถในการเรียนรู้ (เวอร์นอน
(Vernon), 1960 : 28)

สรุป สติปัญญา หมายถึง ความสามารถในการเรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ใน การปรับตนและแกไ้ ข
ปัญหาต่าง ๆ (กฤตวรรณ คำสม. (ตุลาคม 2557). การใช้ฐานข้อมูล [PDF]. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา
จติ วทิ ยาสำหรับครู, อุดรธานี : มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอดุ รธาน)ี

ความหมายของคำวา่ “พฒั นาการสตปิ ัญญา”

เฮอร์ลอค ได้ให้ความหมายของพัฒนาการไว้ว่า หมายถึง การเปลี่ยนแปลงต่างๆที่มีลำดับขั้นตอนต่อเนื่อง
เน้นขบวนการการเปลีย่ นแปลงท้ังทางรา่ งกาย จิตใจ สติปญั ญา ผสมผสานกนั

เพียเจท์ เชื่อว่าพัฒนาการทางสติปัญญานั้นหมายถึง ความสามารถที่จะคิดค้นสิ่งที่เป็นนามธรรมอย่างมี
เหตุผล

จากความหมายข้างตน้ จะเห็นว่า สุมนา พานิช กล่าววา่ พฒั นาการทางสติปัญญา หมายถงึ ความสามารถใน
การจำ การรู้จักคิด การใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา การที่เด็กจะมีความสามารถดังกล่าวได้ จำเป็นต้องได้รับการ
พฒั นาไปตามขัน้ ตอน เริม่ จากการรบั ร้สู ่ิงตา่ งๆ ด้วยประสาทสมั ผัสท้งั ห้า คือการจับต้อง การเหน็ การได้ยนิ การ
รูร้ ส และการได้กลิ่น การกระตนุ้ เขา้ ประสาทสัมผัสทง้ั ห้าของเดก็ ทำใหเ้ กดิ พัฒนาการทางสติปัญญา
(Brain Kiddy. (2562). พฒั นาการเด็ก อายุ1-6 ปี ดา้ นสติปัญญา สบื ค้นเม่ือ 16 กุมภาพนั ธ์ 2564.)

ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญั ญาของเพียเจต์

เพียเจต์ (Piaget) ได้ศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาการทางด้านความคิดของเด็กว่ามีขั้นตอนหรือกระบวนการ
อยา่ งไร ทฤษฎขี องเพียเจต์ตั้งอยู่บนรากฐานของทั้งองค์ประกอบทเ่ี ป็นพนั ธุกรรม และสิง่ แวดล้อม เขาอธิบายว่า
การเรียนรู้ของเด็กเป็นไปตามพัฒนาการทางสติปัญญา ซึ่งจะมีพัฒนาการไปตามวัยต่าง ๆ เป็นล ำดับข้ัน
พัฒนาการเป็นสิ่งที่เป็นไปตามธรรมชาติ ไม่ควรที่จะเร่งเด็กให้ข้ามจากพัฒนาการจากขั้นหนึ่งไปสู่อีกขั้นหน่ึง
เพราะจะทำให้เกดิ ผลเสียแกเ่ ด็ก แต่การจัดประสบการณ์ส่งเสรมิ พฒั นาการของเดก็ ในช่วงที่เด็กกำลังจะพัฒนา
ไปสู่ขั้นทีส่ ูงกวา่ สามารถช่วยให้เด็กพฒั นาไปอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตาม เพียเจต์เน้นความสำคญั ของการเข้าใจ
ธรรมชาติและพฒั นาการของเดก็ มากกวา่ การกระตนุ้ เด็กใหม้ พี ัฒนาการเรว็ ข้นึ เพยี เจตส์ รุปว่า พฒั นาการของเด็ก

2

สามารถอธิบายได้โดยลำดับระยะพัฒนาทางชีววิทยาที่คงที่ แสดงให้ปรากฏโดยปฏิสัมพันธ์ของเด็กกับ
สิ่งแวดล้อม

พัฒนาการทางสติปัญญาของบคุ คลเปน็ ไปตามวัยตา่ ง ๆ เป็นลำดับขน้ั ดงั น้ี
1. ขั้นประสาทรับรู้และการเคลื่อนไหว (Sensori-Motor Stage) ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 2 ปี มี
ระยะ พัฒนาการ 6 ระดบั
ระดบั ท่ี 1 Reflex Activity ( อายุแรกเกดิ -1 เดือน) เดก็ อาศัยปฏิกริ ิยาสะท้อนทางร่างกาย
ระดับที่ 2 First Differentiations (อายุ 1 - 4 เดือน) เด็กเกิดพฤติกรรมใหม่แทนปฏิกริ ิยาสะท้อน ซึ่ง
เป็นผลของการทำงานท่ปี ระสานกันของอวัยวะรา่ งกาย
ระดับที่ 3 Reproduction of interesting event (อายุ 4-8 เดือน ) ความสามารถทางร่างกายของเดก็
ได้เพิ่มมากขึ้น เด็กสามารถจับและกระทำกับวัตถุต่างๆ ได้ด้วยความตั้งใจสามารถทำงานประสานสัมพันธ์กัน
ระหวา่ งการเคลื่อนไหวของสายตาและมือโดยเฉพาะพฤตกิ รรมท่ีเคยทำมาแลว้ จะทำซ้ำได้อีก
ระดับที่ 4 Coordination of Schemata (อายุ 8-12 เดือน) เด็กมีพฤติกรรมการกระทำตาม
ความสามารถทางด้านสติปญั ญาของเดก็ แตล่ ะคนที่ประสานกนั ของอวยั วะร่างกาย
ระดับที่ 5 Invention of New Means (อายุ 12-18 เดือน) เด็กเริ่มต้นแสวงหาปัญหาใหม่ๆและใช้วิธี
แกป้ ญั หาด้วยการทดลองซง่ึ ไมใ่ ช่ลักษณะที่คนุ้ เคยอกี ตอ่ ไป
ระดับที่ 6 Representation (อายุ 18-24 เดือน) ความสามารถคิดในขั้นประสาทสัมผัสและการ
เคลื่อนไหวได้เปลย่ี นเปน็ สามารถคดิ ตามหลกั ตรรกศาสตรไ์ ด้
2. ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด (Preoperational Stage) ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่อายุ 2-7 ปี แบ่งออกเป็นขั้นย่อย
อีก 2 ระดับ คอื

2.1. ระดับก่อนเกิดสังกัป (Preconceptual Thought) เป็นขั้นพัฒนาการของเด็กอายุ
2-4 ปี เป็นช่วงที่เด็กเริ่มมีเหตุผลเบื้องต้น สามารถจะโยงความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ ๒ เหตุการณ์หรือ
มากกว่ามาเป็นเหตุผลเกี่ยวโยงซึ่งกันและกัน แต่เหตุผลของเด็กวัยนี้ยังมีขอบเขตจำกัดอยู่ เพราะเด็กยังคงยึด
ตนเองเป็นศูนย์กลาง คือถอื ความคดิ ตนเองเปน็ ใหญ่ และมองไม่เห็นเหตุผลของผอู้ ื่นความคิดและเหตุผลของเด็ก
วัยนี้จึงไม่ค่อยถูกต้องตามความเป็นจริงนัก นอกจากนี้ความเข้าใจต่อสิ่งต่างๆ ยังคงอยู่ในระดับเบื้องต้น เช่น
เข้าใจว่าเด็กหญิง 2 คน ชื่อเหมือนกันจะมีทุกอย่างเหมือนกันหมด แสดงว่าความคิดรวบยอดของเด็กวัยนี้ยังไม่
พฒั นาเต็มท่แี ตพ่ ฒั นาการทางภาษาของเดก็ เจริญรวดเร็วมาก

2.2. ระดับการคิดแบบญาณหยั่งรู้นึกออกเองโดยไม่ใช้เหตุผล (Intuitive Thought) เป็นขั้น
พัฒนาการของเดก็ อายุ 4-7 ปี ขั้นนีเ้ ดก็ จะเกิดความคิดรวบยอดเก่ียวกบั ส่ิงต่างๆ รวมตวั ดขี ้ึน รู้จักแยกประเภท
และแยกชิ้นส่วนของวัตถุ เข้าใจความหมายของจำนวนเลขเร่ิมมีพัฒนาการเกี่ยวกับการอนุรกั ษ์แต่ไม่แจ่มชดั นัก
สามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้โดยไม่คิดเตรยี มล่วงหน้าไวก้ ่อน รู้จักนำความร้ใู นสงิ่ หน่ึงไปอธิบายหรือแก้ปัญหา
อน่ื และสามารถนำเหตุผลทว่ั ๆ ไปมาสรุปแกป้ ัญหา โดยไมว่ เิ คราะหอ์ ย่างถ่ถี ้วนเสยี ก่อนการคดิ หาเหตุผลของเด็ก
ยังข้นึ อยู่กบั สิง่ ท่ีตนรับรหู้ รอื สมั ผัสจากภายนอก

3

3. ขั้นปฏิบัติการคิดด้านรูปธรรม (Concrete Operation Stage) ขั้นนี้จะเริ่มจากอายุ 7-11 ปี
พฒั นาการทางดา้ นสติปัญญาและความคิดของเดก็ วัยน้ีสามารถสรา้ งกฎเกณฑแ์ ละตัง้ เกณฑใ์ นการแบ่งสง่ิ แวดล้อม
ออกเปน็ หมวดหมไู่ ด้ เด็กวัยน้ีสามารถท่ีจะเข้าใจเหตุผลรู้จกั การแกป้ ญั หาส่งิ ต่างๆ ท่ีเปน็ รูปธรรมได้ สามารถที่จะ
เข้าใจเกี่ยวกับเร่ืองความคงตัวของสิ่งต่างๆ โดยท่ีเด็กเข้าใจว่าของแข็งหรือของเหลวจำนวนหนึ่งแมว้ ่าจะเปลีย่ น
รูปรา่ งไปก็ยงั มีน้ำหนัก หรอื ปริมาตรเทา่ เดิมสามารถที่จะเข้าใจความสัมพันธ์ของส่วนยอ่ ย สว่ นรวม ลักษณะเด่น
ของเด็กวัยนี้คือ ความสามารถในการคิดย้อนกลับ นอกจากนั้นความสามารถในการจำของเด็กในช่วงนี้มี
ประสิทธิภาพขนึ้ สามารถจดั กลุ่มหรือจดั การได้อย่างสมบูรณ์

4. ข้นั ปฏิบตั ิการคิดด้วยนามธรรม (Formal Operational Stage) น้ีจะเรม่ิ จากอายุ 11-15 ปี ในขั้นนี้
พัฒนาการทางสติปญั ญาและความคดิ ของเดก็ วัยน้เี ปน็ ขั้นสุดยอด คือเดก็ ในวยั นจ้ี ะเริ่มคิดแบบผูใ้ หญ่ ความคิด
แบบเดก็ จะสิน้ สดุ ลง เด็กจะสามารถทจ่ี ะคิดหาเหตผุ ลนอกเหนอื ไปจากขอ้ มูลท่ีมีอยู่ สามารถที่จะคิดแบบ
นักวทิ ยาศาสตร์สามารถที่จะต้ังสมมตุ ิฐานและทฤษฎี และเหน็ วา่ ความเปน็ จริงท่ีเห็นดว้ ยการรับรู้ทีส่ ำคัญเท่ากับ
ความคิดกับส่งิ ที่อาจจะเป็นไปได้ เด็กวัยนม้ี ีความคดิ นอกเหนือไปกว่าสง่ิ ปัจจบุ ันสนใจที่จะสรา้ งทฤษฎีเก่ียวกับทุก
สงิ่ ทุกอย่างและมีความพอใจท่จี ะคดิ พิจารณาเกยี่ วกับสิ่งทไี่ ม่มตี วั ตน หรือสิ่งทีเ่ ป็นนามธรรมพัฒนาการทางการรู้
คดิ ของเด็กในชว่ งอายุ 6 ปแี รกของชวี ติ

ทฤษฎีพฒั นาการทางสตปิ ัญญาของบรูเนอร์ (Jerome Bruner: ค.ศ.1915)

บรูเนอร์เปน็ ชาวอเมริกัน เกดิ ท่ีเมือง New York ประเทศสหรฐั อเมริกา เมื่อปี ค.ศ.1915 บดิ ามารดา
คาดหวงั ให้เปน็ นกั กฎหมาย แตบ่ รเู นอร์กลบั มาสนใจทางด้านจิตวทิ ยา (พรรณี ช.เจนจติ , 2528) ทฤษฎพี ฒั นาการ
ทางสติปัญญาของบรูเนอร์ (Bruner, 1966 อ้างถึงใน ธวชั ชัย ชัยจรยิ ฉายุล. 2529) ได้แบ่งการพฒั นาการทาง
สติปญั ญาของมนษุ ยเ์ ปน็ 6 ลกั ษณะ คือ

1.ความเจรญิ เติบโตทเ่ี พมิ่ ขน้ึ สังเกตได้จากการเพิม่ การตอบสนองที่ไม่ผูกพนั กบั สง่ิ เรา้ เฉพาะตาม
ธรรมชาตทิ ่ีเกดิ ขนึ้ ในขณะน้ัน

2. ความเจรญิ เตบิ โตขนึ้ อยกู่ ับเหตกุ ารณ์ ทเ่ี กิดข้ึนภายในตวั คนไปสู่ "ระบบเกบ็ รกั ษา" ที่สอดคลอ้ งกบั
ส่ิงแวดล้อม

3. ความเจรญิ เตบิ โตทางสติปญั ญา เกยี่ วข้องกับการเพมิ่ ความสามารถทจี่ ะพูดกบั ตนเองและคนอืน่ ๆโดย
ใช้คำพูดและสญั ญาลักษณ์ในสง่ิ ทีบ่ คุ คลนน้ั ๆ ได้ทำไปแลว้ หรือสิง่ ท่ีจะทำ

4. ความเจรญิ เติบโตทางสตปิ ัญญาข้นึ อยกู่ บั ปฏิสัมพันธท์ ี่เป็นระบบและโดยบังเอญิ ระหวา่ งผสู้ อน และ
ผเู้ รียน

5. การสอนสามารถอำนวยความสะดวกได้โดยสือ่ ทางภาษา ซ่ึงจบลงโดยไม่เพียงแตเ่ ปน็ สอ่ื สำหรับการ
แลกเปลี่ยนเทา่ นนั้ แตย่ ังเป็นเครื่องมอื ทีผ่ ู้เรยี นสามารถใชใ้ ห้ตนเองนำคำสง่ั ไปยังสิ่งแวดลอ้ มด้วย

6. การพฒั นาทางสตปิ ัญญาเห็นไดจ้ ากการเพิม่ ความสามารถทจ่ี ะจดั การกับตวั เลอื กหลาย ๆ อย่างใน
เวลาเดยี วกัน ความสามารถทจ่ี ะเฝ้าดขู ้นั ตอนตา่ งๆ ในระยะเวลาเดียวกนั และความสามารถที่จะจัดเวลาและการ
เขา้ ร่วมกิจกรรมในลกั ษณะทเ่ี หมาะสมกับความต้องการหลายๆ อยา่ ง

4

พรรณี ช.เจนจติ (2528) กล่าวถงึ พฒั นาการทางสมองของบรเู นอรเ์ น้นท่ีการถา่ ยทอดประสบการณด์ ้วย
ลักษณะตา่ ง ๆ ดงั นี้

1. Enactive representation ตั้งแต่แรกเกดิ จนอายุประมาณ 2 ปี เปน็ ช่วงท่เี ด็กแสดงให้เห็นถึงความมี
สติปัญญาด้วยการกระทำและการกระทำด้วยวิธีนี้ยังดำเนินต่อไปเรื่อยๆ เป็นลักษณะของการถ่ายทอด
ประสบการณด์ ้วยการกระทำซง่ึ ดำเนนิ ต่อไปตลอดชวี ิตมิไดห้ ยุดอยู่เพียงในช่วงอายุใดอายุหนึ่งบูรเนอร์ได้อธิบาย
วา่ เด็กใช้การกระทำแทนส่ิงต่าง ๆ หรือประสบการณต์ ่างๆ เพอ่ื แสดงให้เห็นถึงความรคู้ วามเข้าใจ บรูเนอร์ได้
ยกตัวอยา่ ง การศกึ ษาของเพียเจท์ ในกรณที ี่ เด็กเลก็ ๆ นอนอยใู่ นเปลและเขย่ากระด่ิงเลน่ ขณะท่ีเขาบังเอิญทำ
กระดิ่งตกข้างเปล เด็กจะหยุดครู่หนึ่งแล้วยกมือขึ้นดูเด็กทำท่าประหลาดใจและเขย่ามือเล่นต่อไป ซึ่งจาก
การศกึ ษาน้ี บรูเนอรไ์ ดใ้ ห้ขอ้ สงั เกตวา่ การที่เด็กเขย่ามือต่อไปโดยทไ่ี ม่มกี ระดงิ่ นน้ั เพราะเด็กคิดว่ามอื นั้นคือกระด่ิง
และเมอ่ื เขย่ามอื กจ็ ะไดย้ ินเสยี งเหมือนเขยา่ กระดง่ิ นน่ั คือเด็กถา่ ยทอดสิง่ ของ (กระด่ิง) หรือประสบการณ์ดว้ ยการ
กระทำตามความหมายของบรเู นอร์

2. Iconic representation พัฒนาการทางความคิดในขัน้ น้ีอยู่ที่การมองเห็น และการใช้ประสาทสัมผัส
ต่างๆ จากตัวอยา่ งของเพียเจท์ดงั กลา่ วแล้ว เมื่อเด็กอายมุ ากขึ้นประมาณ ๒-๓ เดือน ทำของเล่นตกข้างเปลเดก็
จะมองหาของเล่นนั้น ถ้าผู้ใหญ่แกล้งหยิบเอาไปเด็กจะหงุดหงิดหรือร้องไห้เมื่อมองไม่เห็นของเล่นนัน้ บรูเนอร์
ตคี วามว่าการท่ีเดก็ มองหาของเลน่ และร้องไห้หรอื แสดงอาการหงดุ หงิดเมื่อไม่พบของแสดงใหเ้ หน็ ว่าในวัยนี้เด็กมี
ภาพแทนในใจ (iconic representation) ซ่ึงตา่ งจากวัย enactive เดก็ คดิ วา่ การสนั่ มอื กับการสัน่ กระด่ิงเป็นของ
สิ่งเดียวกัน เมื่อกระดิ่งตก หายไป ก็ไม่สนใจ แต่ยังคงสั่นมือต่อไป การที่เด็กสามารถ่ายทอดประสบการณ์หรือ
เหตกุ ารณ์ต่าง ๆ ด้วยการมีภาพแทนในใจแสดงใหเ้ ห็นถงึ พัฒนาการทางความรู้ความเข้าใจซง่ึ จะเพิ่มข้ึนตามอายุ
เด็กโตจะยิ่งสามารถสร้างภาพในใจไดม้ ากขนึ้

3. Symbolic representation หมายถึง การถ่ายทอดประสบการณ์หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ โดยการใช้
สัญลักษณ์ หรือภาษา ซึ่งภาษาเป็นส่ิงที่แสดงให้เห็นถึงความคิด ขั้นนี้เป็นขั้นที่บรูเนอร์ถือว่าเป็นขั้นสูงสุดของ
พัฒนาการทางความรคู้ วามเข้าใจเด็กสามารถคดิ หาเหตผุ ลและในท่ีสุดจะเข้าใจส่ิงที่เปน็ นามธรรมได้และสามารถ
แก้ปัญหาไดบ้ รเู นอร์มีความเหน็ วา่ ความรคู้ วามเขา้ ใจและภาษามพี ฒั นาการข้ึนมาพรอ้ ม ๆ กนั

ทฤษฎีพัฒนาการทางสตปิ ัญญาของกาเย่ (Gagne)

การพัฒนาทางสติปัญญา ได้แก่การสร้างความสามารถในการเรียนรู้สิ่งที่ซับซ้อนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ระยะ
หรอื ขัน้ ของการพฒั นาการดูเหมือนว่าจะสมั พนั ธ์กับอายุของเด็ก เน่อื งจากการเรียนรู้ตอ้ งใช้เวลา มีข้อจำกัดทาง
สังคมเป็นตัวกำหนด หรือกฎเกณฑ์เกี่ยวกับอัตราความเรว็ ในการให้ความรู้และขา่ วสารแก่เด็ก สำหรับกาเย่แลว้
ความสามารถในการเรยี นร้อู าจต้องรอการฝกึ ฝนท่เี หมาะสม

ดา้ นทางปญั ญา (intellectual skills ทกั ษะยอ่ ย 4 ระดับ ประกอบด้วย
1. การจำแนกแยกแยะ (discriminations) หมายถึง ความสามารถในการแยกแยะคุณสมบัติทาง
กายภาพของวตั ถุตา่ งๆ ที่รับรู้ว่าเหมือนหรอื ไม่เหมอื นกนั โดยผ่านระบบประสาทสมั ผัสและการรบั รู้ของสมอง

5

2. การสร้างความคิดรวบยอด (concepts) หมายถึง ความสามารถในการจดั กลุ่มวัตถุหรือส่ิงต่างๆ โดย
ระบุคุณสมบัติร่วมกันของวัตถุ หรือสิ่งนั้นๆ ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่ทำ ให้กลุ่มวัตถุ หรือสิ่งต่างๆ เหล่านั้น ต่างจาก
กลมุ่ วัตถุหรอื สิ่งอ่ืนๆ ซง่ึ แบ่งเป็น 2 ระดบั ย่อย คอื

2.1. ความคิดรวบยอดระดับรปู ธรรม
2.2. ความคดิ รวบยอดระดบั นามธรรมทก่ี ำหนดขน้ึ ในสังคม หรอื วัฒนธรรมตา่ งๆ
3. การสร้างกฎ (rules) หมายถงึ ความสามารถในการนำความคิดรวบยอดต่างๆ มารวมเป็นกลุ่ม ตั้งเป็น
กฎเกณฑข์ ้นึ เพอ่ื ใหส้ ามารถสรุปอา้ งอิง และตอบสนองตอ่ สง่ิ เรา้ ได้อยา่ งถกู ต้อง
4. การสร้างกระบวนการหรอื กฎชั้นสงู (procedures of higher order rules) หมายถงึ ความสามารถใน
การนำกฎหลายๆขอ้ ทสี่ ัมพนั ธก์ นั มาประมวลเข้าดว้ ยกัน ซึ่งนำไปสคู่ วามรูค้ ความเขา้ ใจท่ซี บั ซอ้ นย่งิ ข้นึ

ทฤษฎพี ฒั นาการทางสตปิ ัญญาของเลฟ เซเมโนวิช ไวก๊อตสก้ี

เลฟ เซเมโนวิช ไวกอ๊ ตสกี้ (Lev Semenovich Vygotsky) เป็นนกั จิตวทิ ยาชาวรสั เซีย เชอ้ื สายยิว เกิด
ในปี ค.ศ. 1896 ผลงานของเขาได้จุดประกายความคิดใหน้ กั จิตวทิ ยาปัจจุบันยอมรบั ว่าวัฒนธรรมแวดล้อมเป็น
ตัวกำหนดพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็ก โดยพิจารณาการเรียนรู้โลกของเด็กว่าเขาเรียนรู้อะไร และ
อย่างไร ทฤษฎีของวีก๊อทสกี้เน้นความสัมพันธ์ของการปฏิสัมพันธ์ทางสังคมที่มีผลต่อพฒั นาการทางสติปัญญา
ขณะท่ีพอี าเจต์เปรยี บเดก็ ว่าเป็นนกั วทิ ยาศาสตรน์ ้อยทีส่ ร้างและเข้าใจโลกกวา้ งใหญน่ ี้ดว้ ยตนเอง แต่
ไวก๊อตสก้กี ล่าวว่าพฒั นาการทางสติปัญญาของเด็กข้ึนอยู่กับปฏิสัมพันธ์ทางสังคมโดยมีวัฒนธรรมเป็นตัวกำหนด
ความรู้ ความคิด เจตคติ และคา่ นิยมให้กบั เด็ก เขาเช่ือวา่ สง่ิ ที่เด็กได้สัมผัสรับรไู้ ม่ว่าจะเป็นประสบการณ์ตรงหรือ
ผ่านทางสื่อต่างๆ เช่น หนังสือ วิทยุ โทรทัศน์ (ปัจจุบันหมายรวมถึงคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีต่างๆ
ด้วย) ตัวเลข ระบบทางคณิตศาสตร์ เครื่องหมาย และสัญลักษณ์ ฯลฯ ล้วนมีภาษาเป็นเครื่องมือสำคัญทีช่ ่วยให้
เด็กเกิดพฒั นาการทางสตปิ ัญญา (Woolfolk,1998)
วกี อ๊ ทสกีอ้ ธิบายว่าพัฒนาการทางสตปิ ัญญาสามารถแบ่งไดเ้ ปน็ สองข้นั (Diaz & Berk,๑๙๙๒) คือ

1. ระดับสติปัญญาขั้นพื้นฐาน (elementary mental process) เป็นความสามารถที่เกิดขึ้นตาม
ธรรมชาตโิ ดยไมต่ อ้ งอาศยั การเรยี นรู้ เช่น การดูดนม การจับสิ่งของ ฯลฯ

2. ระดับสตปิ ัญญาข้ันสงู (higher mental process) เป็นความสามารถทพ่ี ฒั นามาจากการมีปฏิสัมพันธ์
กบั บคุ คลและสภาพแวดล้อม การอบรมเลย้ี งดโู ดยมีภาษาเปน็ เครอื่ งมอื สำคญั ในการคดิ และพฒั นาสตปิ ญั ญา

เนื่องจากวีก๊อทสกี้ให้ความสำคัญกับภาษาว่าเป็นเครื่องมือหลักในการพัฒนาสติปัญญา โดยเขาได้แบ่ง
พัฒนาการทางภาษาออกเป็น 3 ขนั้ ไดแ้ ก่

ภาษาสังคม (social speech) เป็นภาษาที่เด็กใช้ในการติดตอ่ สัมพันธก์ ับผู้อื่นในช่วงอายุ0-3ปี เพื่อ
ส่ือสารความคิด ความต้องการ อารมณค์ วามรสู้ ึกของตนเองกับผู้อ่ืน

ภาษาพูดกับตนเอง (egocentric speech) เป็นภาษาที่เด็กใช้พูดกับตนเองในช่วงอายุ 3-7 ปี โดยไม่
เก่ยี วข้องกบั ผ้อู ืน่ เพ่อื ชว่ ยในการคดิ ตัดสินใจแสดงพฤตกิ รรม

ภาษาในตนเอง (inner speech) วิก๊อทสกี้อธิบายว่ามนุษย์ต้องใช้ภาษาในการคิด เด็กจะต้องพัฒนา
ภาษาในใจ ซึ่งเป็นการช่วยให้พัฒนาการทางสติปัญญาพัฒนาสูงขึ้นตามระดับอายุ การพัฒนาภาษาภายใน

6

ตนเองเกิดขึ้นในช่วงอายุประมาณ 7 ปี เมื่อเด็กพบปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้น เขาเรียนรู้ที่จะแก้ปัญหาไปตาม
ข้ันตอนโดยใช้ภาษาภายในตนเอง ในขณะที่เด็กเรยี นรทู้ ีจ่ ะแกป้ ัญหาดว้ ยตนเองนนั้ เขาอาจพบบางปัญหาท่ีเขา
คิดเองไม่ออก แตห่ ากไดร้ ับคำแนะนำชว่ ยเหลอื บางสว่ นจากผู้ใหญ่ หรือได้รับความรว่ มมือจากกลมุ่ เพือ่ นเขาจะ
สามารถแก้ปัญหานั้นได้สำเร็จ วีก๊อทสกี้เรยี กระดับความสามารถนีว้ ่า จุดที่เด็กสามารถแกป้ ัญหาได้สำเร็จหาก
ได้รบั ความช่วยเหลอื สนับสนนุ

ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของบลูม

Bloom’s Taxonomy กล่าวถึงการจำแนกการเรียนรูต้ ามทฤษฎีของบลูม ซึ่งแบ่งเป็น 3 ด้าน คือ ด้าน
พทุ ธิพสิ ยั ดา้ นจิตพสิ ัย และดา้ นทกั ษะพสิ ัย โดยในแตล่ ะด้านจะมีการจำแนกระดับความสามารถจากต่ำสุดไปถึง
สูงสุด เช่น ด้านพุทธิพิสัย เริ่มจากความรู้ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การประเมิน
นอกจากนี้ยังนำเสนอระดับความสามารถที่มีการปรับปรุงใหม่ตามแนวคิดของ Anderson and Krathwohl
(2001) เป็น การจำ(Remembering) การเข้าใจ(Understanding) การประยุกต์ใช้(Applying) การวิเคราะห์
(Analysing) การประเมินผล (Evaluating) และการสร้างสรรค์ (Creating) ด้านจิตพิสัย จำแนกเป็น การ
รับรู้, การตอบสนอง, การสร้างค่านิยม, การจัดระบบ และการสร้างคุณลักษณะจากค่านิยม ด้านทักษะพิสัย
จำแนกเปน็ ทกั ษะการเคลอ่ื นไหวของรา่ งกาย, ทักษะการเคล่อื นไหวอวยั วะสองสว่ นหรือมากกว่าพรอ้ มๆ กนั

พทุ ธิพิสัย
พฤตกิ รรมด้านสมองเปน็ พฤติกรรมเกยี่ วกบั สตปิ ญั ญา ความรู้ ความคดิ ความเฉลยี วฉลาด ความสามารถใน

การคดิ เรอ่ื งราวตา่ งๆ อยา่ งมีประสิทธิภาพ ซงึ่ เปน็ ความสามารถทางสตปิ ญั ญา พฤตกิ รรมทางพุทธิพิสยั 6 ระดับ
ไดแ้ ก่

แบบเกา่

1. ความรู้ความจำ ความสามารถในการเก็บรักษามวลประสบการณ์ต่าง ๆ จากการทไี่ ด้รับรไู้ ว้และระลึก
สิ่งนั้นได้เมื่อต้องการเปรียบดังเทปบันทึกเสียงหรือวีดิทัศน์ที่สามารถเก็บเสียงและภาพของเรื่องราวต่างๆได้
สามารถเปิดฟงั หรือ ดภู าพเหลา่ นนั้ ได้เมอ่ื ต้องการ

2. ความเข้าใจ เป็นความสามารถในการจับใจความสำคัญของสื่อ และสามารถแสดงออกมาในรูปของ
การแปลความ ตคี วาม คาดคะเน ขยายความ หรอื การกระทำอน่ื ๆ

3. การนำความรู้ไปใช้ เป็นขั้นที่ผู้เรียนสามารถนำความรู้ ประสบการณ์ไปใช้ในการแก้ปัญหาใน
สถานการณต์ า่ ง ๆ ได้ ซึ่งจะตอ้ งอาศยั ความรูค้ วามเข้าใจ จึงจะสามารถนำไปใช้ได้

4. การวิเคราะห์ ผูเ้ รยี นสามารถคิด หรือ แยกแยะเรือ่ งราวส่ิงต่าง ๆ ออกเปน็ สว่ นย่อยเปน็ องค์ประกอบ
ที่สำคัญได้ และมองเห็นความสัมพันธ์ของส่วนที่เกี่ยวข้องกัน ความสามารถในการวิเคราะห์จะแตกต่างกันไป
แล้วแต่ความคิดของแตล่ ะคน

5. การสังเคราะห์ ความสามารถในการที่ผสมผสานส่วนย่อย ๆ เข้าเป็นเรื่องราวเดียวกันอย่างมีระบบ
เพ่ือใหเ้ กดิ สงิ่ ใหม่ที่สมบูรณแ์ ละดกี ว่าเดมิ อาจเปน็ การถ่ายทอดความคิดออกมาให้ผู้อื่นเข้าใจได้ง่าย การกำหนด
วางแผนวิธกี ารดำเนินงานข้ึนใหม่ หรือ อาจจะเกิดความคิดในอันที่จะสร้างความสัมพันธ์ของสิ่งทีเ่ ป็นนามธรรม
ขึ้นมาในรูปแบบ หรือ แนวคดิ ใหม่

7

6. การประเมนิ ค่า เปน็ ความสามารถในการตัดสิน ตีราคา หรอื สรปุ เกย่ี วกับคุณค่าของสงิ่ ต่าง ๆ ออกมา
ในรูปของคุณธรรมอยา่ งมีกฎเกณฑ์ท่เี หมาะสม ซึ่งอาจเปน็ ไปตามเนือ้ หาสาระในเรอื่ งนน้ั ๆ หรอื อาจเปน็
กฎเกณฑ์ทส่ี ังคมยอมรับก็ได้แบบใหม่

1. ระดบั ความรู้ความจำ (Remembering) คอื การทผี่ ้เู รยี นสามารถตอบได้วา่ สง่ิ ท่ีเรียนมาจากไหน
เพราะเกิดจากการจดจำ

2. ระดบั ความเขา้ ใจ (Understanding) คอื การท่ีผเู้ รยี นเขา้ ใจความสมั พันธ์ของสิ่งที่ได้เรยี นมา
สามารถอธบิ ายตามความเขา้ ใจของตวั เองได้

3. ระดบั การประยุกต์ใช้ (Applying) คอื การท่ีผู้เรียนสามารถนำความรู้ทไี่ ดร้ บั มาใชใ้ นการแก้ไข
ปญั หาตา่ งๆ ได้

4. ระดับการวิเคราะห์ (Analyzing) คือการทผ่ี ้เู รียนสามารถนำความรูท้ ่ีได้เรยี นมาคิดอยา่ งลกึ ซง้ึ รวม
ท้งั เเยกเเยะหาความสัมพนั ธ์ เเละเหตุผลได้

5. ระดับการประเมนิ ผล (Evaluating) คอื การท่ีผู้เรียนสามารถต้งั เกณฑต์ ัดสนิ เปรยี บเทยี บคุณภาพ
หรือประสทิ ธิภาพของการเรยี นรู้ได้

6. ระดับการสรา้ งสรรค์ (Creating) คอื การทผ่ี ู้เรียนสามารถคดิ ประดษิ ฐส์ ิง่ ใหมๆ่ ไดด้ ว้ ยตนเอง หรอื
สามารถปรับปรงุ แก้ไขออกแบบ ตั้งสมมตุ ิฐานใหม่ๆ ได้

การเรยี นรเู้ พ่ือพฒั นาการทางสติปญั ญา

เดก็ แตล่ ะคนมวี ธิ ีการเรียนรู้ท่ีแตกตา่ งกนั เปรียบเหมอื นสายรุ้งท่ีหลากสี บคุ คลจงึ มหี ลากหลาย รสนิยม
มีความแตกต่างของบุคลิกภาพ ครูและผู้ปกครองต้องตระหนักและมองเห็นคุณค่าของความแตกต่างเพื่อการ
ค้นหาให้พบว่า เด็กมีลักษณะการเรียนรู้หรือความสามารถที่จะเรียนรู้ในทางใด เพื่อจะได้ดำเนินกิจกรรมการ
พัฒนาเด็กใหเ้ ต็มตามศักยภาพและได้ใชค้ วามสามารถได้สูงสุด (ณชั นัน แกว้ ชยั เจริญกจิ , 2550,หนา้ 2)
โดยแตล่ ะขั้นพฒั นาการจะมีความสามารถทางสตปิ ญั ญาทีเ่ ป็นเอกลกั ษณเ์ ฉพาะตน

1. ไดม้ าจากพฒั นาการทางชวี วทิ ยา
2. ส่ิงท่ีมชี วี ติ ดำรงชพี อยไู่ ด้ดว้ ยการปรับตวั ที่เหมาะสมกบั สภาพแวดลอ้ ม
3. วิวัฒนาการทางร่างกายเกิดจากการเปลีย่ นแปลงร่วมกันของลักษณะทางกรรมพนั ธุแ์ ละสิ่งแวดลอ้ ม
4. พัฒนาการทางปัญญาก็คือการเปลี่ยนแปลงโครงสรา้ งความรคู้ วามคดิ (Cognitive structure) หลังจาก

การมีปฏิสมั พนั ธก์ ับสิ่งแวดลอ้ ม

ทฤษฎพี ฒั นาการทางสตปิ ญั ญา

1. ทฤษฎพี ฒั นาการทางสติปัญญาของเพยี เจต์
นักเรียนทม่ี อี ายเุ ท่ากนั อาจมขี น้ั พัฒนาการทางสติปญั ญาทีแ่ ตกต่างกัน ดงั นั้นจงึ ไมค่ วรเปรยี บเทียบเดก็ ควรให้เด็ก
มีอิสระที่จะเรียนรู้และพัฒนาความสามารถของเขาไปตามระดับพัฒนาการของเขา
(พรรณี ช. เจนจิต, 2582, หน้า 47)

8

2. ทฤษฎพี ฒั นาการทางสตปิ ญั ญาของบรุนเนอร์

กระบวนการค้นพบการเรยี นรู้ด้วยตนเอง เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ดีมีความหมายสำหรับผู้เรียน การวิเคราะห์
และจัดโครงสร้างเนื้อหาสาระการเรียนรู้ให้เหมาะสมเป็นสิ่งที่จำเป็นที่ต้องทำก่อนการสอน
(ชยั วฒั น์ สุทธริ ตั น์,2552 : หนา้ 27-28)

3. ทฤษฎีพฒั นาการทางสตปิ ัญญาของกาเย่
การจำแนกแยกแยะ (Discriminaitons) หมายถึง ความสามารถในการแยกแยะคุณสมบัติทางกายภาพของวัตถุ
ตา่ ง ๆที่รับรเู้ ข้ามาว่าเหมือน (วีระวรรณ ศรตี ะลานุคค, 2552, หนา้ 111)

เปรยี บเทียบระหวา่ งทฤษฎพี ัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา

เพียเจต์ (Piaget) มีขอ้ แตกต่างจาก บรนุ เนอร์ เจโรม (Jerome Bruner) โดยสามารถอธบิ ายไดด้ งั น้ี
ทฤษฎขี องเพยี เจตเ์ น้นพฒั นาการทางสมองของเดก็ มีขั้นตอนซ่ึงขนึ้ อยู่กบั อายุ แตกต่างจากทฤษฎี ของบรุนเนอร์
ไม่คำนงึ ถึงอายุ

ทฤษฎขี องเพียเจต์คำนึงถึงพัฒนาการทางสมองในแง่ของความสามารถในการกระทำสง่ิ ต่างๆ ในแต่ละวัย
ที่จะเกิดพัฒนาทางสตปิ ัญญา ในขณะทบ่ี รนุ เนอร์มุง่ คำนึงถงึ ในแง่ของกระบวนการ (process) ท่ตี ่อเนอ่ื งไปตลอด
ชวี ิตและให้เน้นความสมั พนั ธร์ ะหว่างวฒั นธรรมหรอื สิง่ แวดลอ้ ม เพราะเช่ือวา่ ส่ิงแวดล้อมเปน็ ส่วนช่วยให้เกิดการ
พัฒนาสตปิ ญั ญา

ความหมายและแนวคดิ เชาวน์ปญั ญา
ความหมายของเชาวนป์ ญั ญา

ความหมาย เชาวน์ปัญญา หมายถึง ความฉลาด ความสามารถในการทำความเข้าใจสิ่งต่าง ๆ
ความสามารถในการแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งศักยภาพในการเรียนรู้จากประสบการณ์ ปัจจุบัน
นักจิตวิทยาได้จัดลำดับลักษณะความสำคัญของคุณสมบัติที่ใช้เป็นตัวแทนในการแสดงถึง ความสามารถทาง
เชาวน์ปญั ญาของมนษุ ยอ์ อกเป็น 3 ลักษณะ คือ

1. ความสามารถที่เก่ียวข้องกับเรือ่ งความคิด สัญลักษณ์ การสร้างความสัมพันธ์ความคิดรวบ ยอด และ
ความสามารถในทำความเขา้ ใจกฎเกณฑ์ตา่ ง ๆ

2. ความสามารถในการแก้ปัญหา ซ่ึงจะเนน้ ในเรือ่ งความสามารถในการปรับตวั เขา้ กับ สภาพการณ์ใหม่
ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

3.ความสามารถในเรื่องต่าง ๆ เช่น ความสามารถทางด้านภาษา สัญลักษณ์ ความสามารถ ทาง
คณิตศาสตร์ ความสามารถทางด้านมติ ิสมั พนั ธ์

บเิ นต์ (Binet, 1916, อา้ งถงึ ใน สรุ ศกั ด์ิ อมรรันตศักดิ์, 2544, หนา้ 4) ไดใ้ ห้ความหมายเชาวน์ปัญญาไว้
ว่า คือแนวโน้มในการใช้ความสามารถที่จะเข้าใจสิ่งใดสิ่งหนึ่งตามธรรมชาติของสิ่งนั้นๆ แล้วสามารถเอาความ
เข้าใจนัน้ ไปดัดแปลง แกไ้ ข สร้างสรรค์ แก้ปัญหาให้บรรลุตามเป้าประสงค์ และยังรวมถงึ ความสามารถในการใช้
วจิ ารญาณอีกดว้ ย

9

กอดดาร์ด (Goddard, 1946, อ้างถึงใน จำเนียร ช่วงโชติ, 2547, หน้า 31) ได้ให้ความหมายเชาวน์
ปัญญาไว้วา่ หมายถงึ ความสามารถในการทำกิจกรรมตา่ งๆ ซ่งึ มลี ักษณะดังตอ่ ไปนี้

1. ยาก
2. ซบั ซอ้ น
3. เปน็ นามธรรม
4. ประหยดั ทางเศรษฐกิจ
5. มกี ารปรบั ตวั ให้บรรลถุ ึงเปา้ หมาย
6. ใหค้ ณุ คา่ ทางสังคม
7. มกี ารกระทำที่คิดข้นึ เอง และยงั คงรักษากจิ กรรมเหลา่ นน้ั ไว้ไดภ้ ายใต้สภาวการณ์ ซ่ึงต้องการมีสมาธิ
ของพลงั งานและการตอ่ ตา้ นแรงอารมณ์

ความเป็นมาของการวัดเชาวนป์ ัญญา

ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 นักจติ วิทยาได้เร่ิมตื่นตัวและใหค้ วามสำคญั ท่ีบุคคลที่มคี วามผิดปกติ เช่น เป็นโรค
จิต ปัญญาอ่อนมากข้นึ ไดม้ กี ารสร้างสถานพยาบาทสำหรับคนผิดปกติข้นึ ไดม้ ีความพยายามที่จะสร้างเคร่ืองมือ
เพือ่ จะวัดความผดิ ปกตขิ องคนเพื่อจะแยกคนผิดปกตอิ อกจากกัน โดยเฉพาะคนทวี่ ิกลจริตกับคนปญั ญาอ่อน โดย
นักจิตวิทยามีความเห็นว่าคนวิกลจริตจะบกพร่องทางอารมณ์หรือจิตใจ แต่คนปัญญาอ่อนจะพกพร่องทาง
สติปัญญา

Gaiton เป็นนักชีววิทยาที่สนใจศึกษาเรื่องพันธุกรรมได้สร้างเครื่องมือวัดความคล่องแคล่วของการใช้
อวยั วะและประสาทสัมผัสต่างๆ มีความเชือ่ คุณลกั ษณะบางประการทางด้านร่างกาย มคี วามเก่ียวข้องกับเชาวน์
ปัญญาของคน ในเวลาต่อมา Cattell ได้สร้างแบบทดสอบวัดเชาวน์ปัญญาขึ้นโดยยึดลักษณะทางด้านร่างกาย
ตามแนวทางของ Calton และ Cattell เปน็ คนแรกท่ีใชค้ ำว่า Mental Test ต่อมา Binet มคี วามเช่ือเรอื่ งเชาวน์
ปัญญาควรมาจากความสามารถทางสมองด้านต่างๆ เช่น ความจำ ความเข้าใจ การคิดหาเหตุผลเป็นต้น
แบบทดสอบวัดเชาวน์ปัญญา จึงควรวัดความสามารถเหล่าน้ี Binet และ Simon ได้ร่วมกันสร้างแบบวัดเชาวน์
ปัญญาเป็นฉบับแรกที่เรียกว่า Binet-Sinet Scale ในตอนเริ่มต้นสร้างขึ้นเพื่อใช้กับเด็กอายุ 3-11 ปี ต่อมาได้มี
การปรับแบบทดสอบให้ใช้ไดจ้ นถงึ ระดับมหาวทิ ยาลัย

ในระยะต่อมา Terman กับคณะได้สร้างแบบทดสอบเช้าปัญญาโดยการปรับปรุงจากการทดสอบของ
Binet โดยใช่ชื่อแบบทดสอบนี้ว่า Stanford -Binet Scale และในระยะต่อมาได้มีการพัฒนาแบบทดสอบ
วดั เชาสนป์ ญั ญาให้เหมาะกบั การใช้งานทงั้ รายบุคคลและรายกลมุ่

ทฤษฎเี กยี่ วกับเชาวน์ปัญญา

ทฤษฎีเกี่ยวกับเชาวน์ปัญญามมี ากมายหลายทฤษฎี แตกต่างกันไปตามความเชื่อและการศึกษาค้นคว้า
ของแตล่ ะบุคคล เพอื่ ยดึ ถอื เปน็ หลักในการสร้างแบบทดสอบวัดเชาวน์ปัญญา (สุรศักดิ์ อมรรัตนศกั ดิ์ 2544, หน้า
45-55) ไดก้ ลา่ วถงึ ทฤษฎเี ก่ียวกบั เชาวน์ปญั ญา ดงั ต่อไปนี้

1. ทฤษฎีองค์ประกอบเดียว (Un-Factor Theory) บางทีเรยี กทฤษฎนี ้วี ่า Global Factor ทฤษฎี
นี้มีความเชื่อว่า เชาวน์ปัญญามีลักษณะเป็นอันหนึ่งอันเดียว ไม่แยกเป็นส่วนย่อยซึ่งมีลักษณะคล้ายกับ

10

ความสามารถทั่วๆไป (General Ability) ผู้คิดทฤษฎีนี้คือ Binet และเขาได้สร้างแบบทดสอบวัดเชาวน์ปัญญา
ตามแนวคดิ น้ี โดยคิดคะแนนจากความสามารถรวม ๆ แลว้ แปลความหมายเชาวนป์ ญั ญา

2. ทฤษฎีสององค์ประกอบ (Two-Factor Theory) ชาร์ล สเปียร์แมน เป็นผู้คิดทฤษฎีนี้ขึ้นมา
โดยมคี วามเชอ่ื วา่ ความสามารถทางสมองของมนษุ ย์มี 2 องคป์ ระกอบคือ

2.1. ความสามารถทั่วๆไป (General Factor) เป็นความสามารถในการทำกิจกรรมต่างๆทุก
ชนดิ ซ่ึงสอดแทรกอย่ใู นทุกอริ ยิ าบถของความคดิ และการกระทำของมนษุ ยแ์ ต่ละคนจะมีความสามารถ
ทั่วไป แตกต่างกนั ไปแต่ละบุคคล

2.2. ความสามารถเฉพาะ (Specific Factor) เป็นความสามารถเฉพาะในการทำกจิ กรรมอย่าง
ใดอย่างหนง่ึ ความสามารถเฉพาะนบั ว่าเป็นองค์ประกอบสำคัญทที่ ำให้มนุษย์มีความแตกต่างกันและเป็น
ความสามารถพิเศษที่มีอยู่ในตัวบุคคล เช่น ความสามารถทางคณิตศาสตร์ ความสามารถทางภาษา
ความสามารถทางจกั รกล และความสามารถทางดนตรีเปน็ ต้น

3. ทฤษฎีหลายองค์ประกอบ (Multiple Factor Theory) ผู้นำคนหนึ่งของทฤษฎีหลาย
องคป์ ระกอบคอื Thurstone เปน็ ผูท้ นี่ ำเอาการวเิ คราะหอ์ งค์ประกอบ (Factor Analysis) แบบ Centroid มาใช้
ในการวิเคราะห์ผลการสอบจากแบบทดสอบหลายฉบับ ทำให้สามารถแยกแยะความสามารถทางสมองออกเป็น
ส่วนย่อย ๆ ได้หลายอย่างโดยที่ Thurstone ไดส้ รปุ ลกั ษณะความสามารถพน้ื ฐานทางสมองที่สำคัญ มดี ังนี้

3.1. ความสามารถดา้ นภาษา (Verbal Factor) เป็นความสามารถในการเขา้ ใจคำศัพท์ ขอ้ ความ
เรื่องราวทางภาษา และเลอื กใช้ภาษาไดเ้ หมาะสม

3.2. ความสามารถด้านตัวเลข (Number Factor) เป็นความสามารถในการคิดคำนวณตัวเลข
ด้วยวธิ กี ารทางคณติ ศาสตร์ไดถ้ ูกตอ้ ง รวดเรว็

3.3. ความสามารถทางด้านเหตุผล (Reasoning Factor) เป็นความสามารถในการคิดอย่างมี
เหตุผลซึ่งมีทั้งการคิดแบบอนุมาน และแบบอุปมาน และเหตุผลทั่วๆ ไป เช่น ความสามารถในการคิดแก้ปัญหา
ต่าง ๆ

3.4. ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ (Spatial Factor) เป็นความสามารถในการมองเห็นและ
เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุหรือรูปภาพในมิติต่างๆ ได้แก่ ความสั้น ยาว ใกล้ ไกล พื้นที่ ปริมาตร รูปทรง
เป็นต้น ซึ่งเป็นความสามารถในการจนิ ตนาการ ให้เห็นส่วนย่อยของวัตถตุ ่างๆ เมื่อแยกออก และเห็นโครงสร้าง
ของวตั ถุ เม่ือนำมาประกอบเขา้ ดว้ ยกัน

3.5. ความสามารถด้านการจำ (Memory Factor) เป็นความสามารถในการจำเรื่องราว
เหตุการณ์ หรือส่งิ ต่าง ๆ และสามารถถ่ายทอดออกมาได้

3.6. ความสามารถด้านการรับรู้ (Preception Factor) เป็นความสามารถในการเห็น
รายละเอียด ความคลา้ ยคลงึ หรอื ความแตกตา่ ง ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง และรวดเร็ว

3.7. ความสามารถด้านความคล่องแคล่วในการใช้คำ (Word Fluemy Factor) เป็น
ความสามารถ ในการใช้ถอ้ ยคำต่างๆ ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง และรวดเรว็

11

แบบทดสอบวัดเชาวน์ปญั ญา (Intelligence Test)
แบบทดสอบ Standford-Binet

เปน็ แบบทดสอบวดั ความสามารถทางสมองเป็นรายบุคคลแบบทดสอบแบง่ เปน็ หลายฉบับตามระดับอายุ
สามารถวดั เชาวนป์ ญั ญาของเดก็ ไดต้ ้งั แต่อายุ 2 ปจี นถึงระดับผใู้ หญด่ ังรายละเอยี ดของแบบทดสอบต่อไปนี้

แบบทดสอบสำหรับเด็กอายุ 2 ปจี ะประกอบดว้ ยขอ้ สอบดงั นี้
1. ฟอร์มบอร์ด (Three-Hole Form Board) ให้นำชิ้นส่วนรูปทรงต่างๆ ใส่ลงในช่อง

แผ่นกระดาษท่ีเจาะรไู ว้ให้ถูกตอ้ ง
2. รอคำตอบ (Delayed Response) เป็นการเอาตุ๊กตาแมวซ่อนไว้ใต้กล่องแล้วเอาฉากมากน้ั

กล่องมกี ล่องอยู่ 3 ใบให้เลอื กกลอ่ งท่ีมตี ุก๊ ตาแมวซ่อนอยูไ่ ด้คะแนนเม่ือตอบถูก 2 ใน 3 คร้ัง
3. ชสี้ ว่ นของร่างกาย (Identifying Parts of Body) ใหช้ สี้ ่วนตา่ งๆ ของรา่ งกายจากภาพตกุ๊ ตาที่

กำหนดให้ได้คะแนนเม่ือตอบถกู 3 สว่ น
4. ตอ่ ลูกบาศก์ (Block Building) ใหก้ อ่ หอคอยโดยใช้ลูกบาศก์ 4 แห่งให้เหมอื นกับตัวอย่างถ้า

ทำไดจ้ ะได้คะแนน
5. บอกชื่อสิ่งของในภาพ (Picture Vocabulary) ให้ดูภาพสิ่งของต่างๆ จากกระดาษแล้วถาม

จะตอ้ งบอกช่ือให้ถกู ตอ้ งอยา่ งน้อย ๒ ช่อื จงึ จะได้คะแนน
6. ประกอบคำ (Word Combination) ผู้ดำเนินการสอบจะสังเกตเด็กขณะกำลังสอบว่า

สามารถพูดคำประกอบตั้งแต่ 2 คำขึ้นไปได้ถ้าพูดได้ก็จะได้คะแนนแบบทดสอบสำหรับเด็กอายุ6ปี
ประกอบด้วยข้อสอบดังนี้

1. คำศัพท์ (Vocabulary) เป็นการถามความหมายของคำที่กำหนดมาให้ 45 คำจะได้คะแนน
เม่ือตอบถูก 5 คำ

2. ความแตกต่าง (Difference) ใหอ้ ธิบายความแตกตา่ งของ 2 สง่ิ จำนวน 3 คูจ่ ะไดค้ ะแนนเม่ือ
ตอบได้อย่างน้อย ๒ คู่

3. หาส่วนที่ขาดหายไป (Mutilated Pictures) ให้หาส่วนทีข่ าดหายไปของรูปภาพจะต้องตอบ
ถกู ต้องตงั้ แต่ 4 ภาพขนึ้ ไป

4. ความเข้าใจเกี่ยวกับจำนวน (Number Concept) ให้หยิบแท่งไม้ตามจำนวนที่สั่งต้องหยิบ
ถูกตอ้ ง 3 ใน 4 ครงั้

5. อุปมาอุปมัยในลกั ษณะตรงกันข้าม (Opposite Analogies) ใหต้ อบคำถามเช่นโต๊ะทำมาจาก
อะไรจะต้องตอบถูกอยา่ งนอ้ ย 3 คำตอบ

6. เขาวงกต (Maz) ใหด้ วู งกต 3 แบบแตล่ ะแบบมีทางเดนิ กลับบ้านทางทางหนึง่ สั้นอีกทางหนึ่ง
ยาวให้เลือกเดินทางที่สั้นกว่าต้องทำให้ถูกอย่างน้อย 2 ในแบบทดสอบสำหรับเด็กอายุ 10 ปี
ประกอบดว้ ยขอ้ สอบดงั น้ี

1. คำศัพท์ (vocabulary) ให้บอกความหมายของคำต่างๆ จะต้องตอบถูกอย่างน้อย 11 คำ
จึงจะได้คะแนน

12

2. นับลูกบาศก์ (Block Counting) ให้บอกจํานวนแท่งลูกบาศกใ์ นแต่ละภาพจะได้คะแนนเม่อื

ตอบถกู 8 ใน 13 ภาพ

3. คำนามธรรม (Abstract Words) ใหบ้ อกความหมายของคำท่ีเปน็ นามธรรมต้องตอบถูกอย่าง

นอ้ ย 2 ใน 4 คำที่กำหนดให้

4. คดิ หาเหตผุ ล (Finding Reasons) ใหบ้ อกเหตุผลของกฎเกณฑท์ างสังคมมา 2 ข้อ

5. บอกชื่อสิ่งของ (Word Naming) ให้บอกชื่อสิ่งของให้ได้มากที่สุดภายใน 2 นาที อย่างน้อย

28 คำขึน้ ไป

6. ทบทวนตัวเลข (Repeating Six Digits) ให้ทบทวนตัวเลขจากลำดับ หลังจากอ่านให้ฟัง 1

วินาทจี ะตอ้ งทบทวนไดอ้ ย่าถูกตอ้ งอยา่ งน้อย 1 ชดุ จาก 3 ชุด

แบบทดสอบสำหรบั ผูใ้ หญ่ (อายุมากกว่า 15 ปี) ประกอบดว้ ยขอ้ สอบดังน้ี

1. คำศัพท์ (Vocabulary) ใหบ้ อกความหมายของคำตา่ งๆ ทก่ี ำหนดใหจ้ ะตอ้ งตอบถูกอย่างน้อย

20 คำข้นึ ไป

2. คิดหาเหตุผล (Ingenuity) ให้วิธีคิดแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล จะต้องแก้ไขปัญหาให้ได้อย่าง

น้อย 2 ปัญหา จาก 3 ปญั หา

3. ความแตกตา่ งระหว่างคำท่เี ปน็ นามธรรม (Difference Between Abstract Words) ให้บอก

ความแตกตา่ งของคำนามธรรมจะต้องตอบถูกอยา่ งนอ้ ย 2 ค่ใู น 3 คู่ท่กี ำหนดให้

4. เลขคณิต (Arithmetical Reasoning) ให้แกโ้ จทยป์ ญั หาคณิตศาสตร์จะต้องตอบถกู 2 ใน 3

ปัญหา

5. คำพังเพย (Proverbs) ให้อธบิ ายความหมายของคำพังเพยที่กำหนดให้จะต้องให้ความหมาย

ถกู ตอ้ งอย่างน้อย 2 ใน 3 คำพังเพยทก่ี ำหนดให้

6. บอกทศิ (Orientation) สามารถบอกทศิ ไดจ้ ะตอ้ งตอบถูก 4 ใน 5 คร้ัง

7. ความแตกตา่ ง (Essential Difference) ใหบ้ อกความแตกตา่ งระหว่างกิจกรรมต่างๆ จะต้อง

ตอบถูก 2 ใน 3

8. คำนามธรรม (Abstract Words) ให้บอกความหมายของคำที่เป็นนามธรรมตอ้ งตอบถูกอย่าง

น้อย 4 ใน 5 คำท่ีกำหนดให้

การหาค่า I.Q. จากแบบทดสอบ Standford-Binet เริ่มต้นจากการหาอายุสมอง (Mental

Age) ได้จากอายุฐาน (Based Age) ซึ่งเป็นช่วงอายุของแบบทดสอบ ที่ผู้สอบทำแบบทดสอบได้ทุกข้อ

รวมกบั คะแนนท่ที ำไดใ้ นแต่ละระดับอายุจนถงึ อายเุ พดาน (Ceiling Age) ซึ่งหมายถงึ ช่วงอายุท่ีผู้สอบทำ

แบบทดสอบน้ันไม่ได้เลยแลว้ นำอายสุ มองทร่ี วมไดไ้ ปคำนวณหาคา่ I.Q. จากสูตร

I.Q. = = 100

MA คอื Mental Age หรืออายุสมอง

CA คอื Chronological Age หรืออายุจรงิ ตามปฏิทิน

13

แบบทดสอบ Mechisier Scale

ในการสร้างแบบทดสอบของ Wechisier มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้มีแบบทดสอบวัดเชาวน์ปัญญา
สำหรบั ผใู้ หญ่เพราะแบบทดสอบท่ีมีมากอ่ นมกั จะทำขน้ึ สำหรับเด็กแลว้ ดัดแปลงใช้กับผู้ใหญ่เน้ือหาของ
แบบทดสอบจึงไม่น่าสนใจสำหรับผู้ใหญ่แบบทดสอบวัดเชาวน์ปัญญาของ Wechsler จึงได้สร้างและ
พฒั นาสำหรบั คนแต่ละวยั แบ่งเปน็ 3 ชดุ คือ (สุรศักด์ิ อมรรัตนศักด์ิ, 2544 หนา้ 65-72)

1. Wechsler Intelligence Scale (WAIS)
2. Wechsler Intelligence Scale for Children (WISC)
3. Wechsler Preschool and Primary Scale of Intelligence (WPPSI)
ลักษณะแบบทดสอบวัดเชาวน์ปัญญาของ Wechsler แต่ละชุดมีการวัดที่คล้ายกันมาก
แบบทดสอบทกุ ระดับจะแบ่งออกเป็น 2 องค์ประกอบท่ีมคี วามแตกต่างกนั เพียงความยากของตัวคำถาม
แต่ละขอ้ องคป์ ระกอบของแบบทดสอบมีลักษณะดังต่อไปนี้
1. แบบทดสอบทางภาษา (Verbal Scale) แบง่ ออกเปน็ แบบทดสอบยอ่ ยดงั ตอ่ ไปน้ี
1.1. Information เป็นคำถามเก่ียวกบั ความร้ทู วั่ ๆ ไปเชน่ หนึ่งสปั ดาหม์ กี ่ีวนั เปน็ ต้น
1.2. Comprehension เป็นคำถามเกี่ยวกับสามัญสำนึกหรือการตัดสินใจเช่นทำไมประชาชน
ตอ้ งเสียภาษีเป็นตน้
1.3. Arithmetic เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ในรูปแบบที่เคยเรียน
มาแล้วการให้คะแนนจะคดิ จากความถูกต้องและรวดเรว็
1.4. Similarities เป็นคำถามที่ให้ผู้สอบบอกสิ่งที่คล้ายกันของสองสิ่งที่กำหนดมาให้เช่นกล้วย
กบั ส้มเปน็ ต้น
1.5. Vocabulary เป็นการวัดความสามารถด้านภาษาโดยให้ผู้สอบบอกความหมายของคำท่ี
กำหนดให้
1.6. Digit Span เป็นความสามารถในการทำสำดับตัวเลขโดยมากจะมีเลขโดดเรียงกัน 3 ตัว
หรอื มากกวา่ ผู้ดำเนินการสอบจะอ่านตัวเลขเหล่าน้ันใหฟ้ งั แล้วผู้ตอบตอ้ งพูดตามในทันทีซ่ึงอาจจะให้พูด
ทวนกลบั หลงั กไ็ ด้เช่นถา้ ไดย้ ิน 6 5 7 1 ก็ตอ้ งตอบเป็น 1 7 5 6 เปน็ ตน้
2. แบบทดสอบด้านการปฏบิ ัติ (Performance Scale) แบง่ ออกเปน็ แบบทดสอบย่อยดงั น้ี
2.1. Picture Completion ให้ผู้ตอบดูภาพที่ไม่สมบูรณ์แล้วให้ตอบว่าภาพนั้นมีส่วนใดขาด
หายไปเช่นคภู าพใบหนา้ คนท่ีจมูกหายไป
2.2. Picture Arrangement จะมภี าพชุดเป็นเร่ืองราวแต่ละชุดจะประกอบดว้ ยภาพ ๓-๔ ภาพ
ใหเ้ รียงลำดับภาพในแต่
2.3. Object Assembly ให้นำชิ้นส่วนต่างๆ มาประกอบกันเป็นภาพตามที่กำหนดให้อย่าง
ถกู ตอ้ งและรวดเร็ว
2.4. Block Design ใหต้ ่อแท่งไม้เปน็ รูปตา่ งๆ ทีก่ ำหนดใหแ้ ทง่ ไมจ้ ะเปน็ รูปลูกบาศก์ทาสีแดงสี
ขาวและสีแดง-ขาว

14

2.5. Coding กำหนดตวั เลขและสัญลักษณ์ใหแ้ ลว้ ใหผ้ ้สู อบจับคู่ตัวเลขกับสัญลักษณ์
2.6. Mazes เป็นข้อสอบที่ให้ผู้สอบหาทางออกจากทางเดินที่ซับซ้อนเช่นเขาวงกตโดยหาทาง
ออกที่สั้นที่สุดแบบทดสอบ WAIS ประกอบด้วยแบบทดสอบย่อย 11 ชุดเป็น Verbal Scale 6 ชุดและ
Performance Scale 5 ชุดดงั นี้
1. Verbal Scale ประกอบดว้ ย

1.1. Information
1.2. Comprehension
1.3. Arithmetic
1.4. Similarities
1.5. Digit Span
1.6. Vocabulary
2. Performance Scale ประกอบด้วย
2.1. Picture Completion
2.2. Picture Arrangement
2.3. Object Assembly
2.4. Block Design
2.5. Digit Symbol
แบบทดสอบ WISC ประกอบดว้ ยแบบทดสอบยอ่ ย 10 ชดุ เป็น Verbal Scale 5 ชุด และ Performance
Scale 5 ชดุ ดงั น้ี
1. Verbal Scale ประกอบดว้ ย
1.1 Information
1.2 Comprehension
1.3 Arithmetic
1.4 Similarities
1.5 Vocabulary
2. Performance Sale ประกอบดว้ ย
1.1 Picture Completion
1.2 Picture Arrangement
1.3 Block Design
1.4 Object Assembly
1.5 Coding (or Mazes)

15

แบบทดสอบ WPPSI ประกอบดว้ ยแบบทดสอบยอ่ ย 10 ชุดเปน็ verbal Scale 6 ชดุ และ Performance
Scale 4 ชุดดงั น้ี

1. Verbal Scale ประกอบด้วย
1.1. Information
1.2. Vocabulary
1.3. Arithmetic
1.4. Similarities
1.5. Comprehension
1.6. Sentence

2. Performance Scale ประกอบดว้ ย
2.1. Animal House
2.2. Picture Completion
2.3. Mazes
2.4. Geometric Design

การหาค่า I.Q. จากการใช้แบบทดสอบของ Wechisier ได้มีการสร้างตาราง Scale Score ไว้สำหรับ
เทยี บหา I.Q. ของแบบทดสอบแตล่ ะระดับอายุ หลังจากทดสอบแล้วจะได้คะแนนดิบจากแบบทดสอบย่อยแต่ละ
ชดุ แลว้ นำคะแนนดบิ นน้ั มาเทียบกับคะแนนจากตาราง Scale Score โดยเทียบไปตามแบบทดสอบย่อยแต่ละชุด
แลว้ จงึ นำคะแนนรวม Scale Score จากแบบทดสอบย่อยแต่ละชุดไปเทียบกับตารางหาค่า I.Q. จะได้คา่ I.Q. ใน
แตล่ ะสว่ นถา้ จะหา 10 รวมใหเ้ อาคะแนน Scale Score ของแต่ละสว่ นมารวมกนั ก่อนจึงจะนำไปเทียบกับตาราง
หาคา่ I.Q.

แบบทดสอบ Otis-Lennon Mental Ability Test

เป็นแบบทดสอบวัดเชาวน์ปัญญาแบบกลุ่มสร้างโดย Otis และ Lennon ในปี ค.ศ. 1967 เป็น
แบบทดสอบทสี่ ร้างขน้ึ เพอื่ วดั ความสามารถท่ัวไปโดยแบ่งออกเปน็ 6 ระดับคือตั้งแต่ระดับอนบุ าลจนถงึ ชั้น 12 ใช้
เวลาในการทดสอบนาน 30-45 นาทขี ้ึนอย่กู บั เด็กแต่ละระดับมีการวัดความเข้าใจทางด้านภาษาและเหตุผลทาง
ภาษา (สรุ ศกั ด์ิ อมรรตั นศกั ดิ์, 2544, หนา้ 61-64)

16

สรปุ

ทฤษฎีพัฒนาการดา้ นสติปัญญาทฤษฎีเชาว์นปญั ญา
พฒั นาการดา้ นสติปญั ญาเป็นความสามารถในตวั บุคคล ที่จะทราบไดจ้ ากพฤตกิ รรมที่บคุ คล แสดงออก
ระดับของสติปัญญาสังเกตได้จากการแสดงออกทีม่ คี วามคลอ่ งแคล่ว รวดเร็ว ความถูกต้อง ความสามารถในการ
คดิ การแก้ปญั หาและการปรบั ตวั การใชแ้ บบทดสอบวัดสติปัญญาจะทำให้ทราบระดับสตปิ ัญญาชัดเจนขึ้นทฤษฎี
ทางสติปญั ญา
เชาว์นปญั ญา มคี วามสำคญั และมีผลตอ่ ความสำเร็จทางดา้ นต่าง ๆ ของมนุษยก์ ็จรงิ อยแู่ ต่มิใช่ ว่าเชาวน์
ปัญญาเป็นองค์ประกอบเดียวที่จะท าให้มนษุ ยป์ ระสบความสำเร็จ เพราะความสำเร็จของ มนษุ ย์ขึ้นอยู่กับปัจจัย
ประกอบอื่น ๆ อีกมากมาย ทั้งปัจจัยด้านร่างกาย การรู้จักตั้งเป้าหมาย ตั้ง ความหวัง สร้างแรงจูงใจ และ
ความสามารถในการเลือกเดินทางเพื่อไปสู่เป้าหมายที่ต้องการได้อย่าง ถูกต้องเหมาะสม การศึกษาเรื่องเชาวน์
ปญั ญาของบคุ คล มใิ ชเ่ พอ่ื ใชเ้ ป็นเคร่อื งมอื ในการตัดสินความ ฉลาดมากนอ้ ยของคนเพยี งอย่างเดียวเทา่ น้นั

17

อา้ งอิง

ชัยวฒั น์ สุทธริ ตั น.์ (2555). นวัตกรรมการจัดการเรยี นรู้ทเี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาํ คญั ู. กรงุ เทพฯ : แดเน็กซ์
อนิ เตอร์คอร์ปอเรชนั . หนา้ 80.

พรรณีช. เจนจิต. (2528). จิตวทิ ยาการเรยี นการสอน. กรงุ เทพฯ : อมรินทรก์ ารพิมพ์. พระเทพเมธาจารย์
วรี ะวรรณ ศรีตะลานุคค (2552.) วธิ ีการสอนท่มี ีผลต่อพฒั นาการของนักศกึ ษาตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิ

ระดบั อดุ มศึกษา พ.ศ. 2552 และความพรอ้ มเข้าสปู่ ระชาคมอาเซยี น. สุรนิ ทร์: มหาวิทยาลยั
เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน วทิ ยาเขตสุรนิ ทร.์
สรุ ศกั ดิ์ อมรรัตนศักด.์ิ 2544. ระเบยี บวิธวี จิ ัย : หลกั การและแนวปฏิบัติ.กรุงเทพฯ : ศนู ยส์ ่งเสรมิ วิชาการ,
2544. 45-55.
Binet, 1916, อา้ งถงึ ใน สรุ ศกั ดิ์ อมรรันตศักดิ์, 2544, ระเบียบวธิ ีวิจัย : หลักการและแนวปฏิบตั ิ. กรงุ เทพฯ :
ศูนยส์ ง่ เสรมิ วิชาการ, 2544. หนา้ 4
Goddard, 1946, อ้างถึงใน จำเนยี ร ชว่ งโชติ, 2447, การตลาดสำหรับการบริการแนวคิดและกลยทุ ธ์, พิมพ์
ครง้ั ที่ 1 กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั . หนา้ 31.
Lall and Lall ( 1983) . introduced his theory of multiple intelligence, arguing that
intelligence is something to be used to improve lives not to measure
and quantify human beings.
Super, 1949: 58- 59. Boulder Conference outlines scientist- practitioner model of clinical
psychology, looking at the M.D. versus Ph.D. used by medical providers and researchers,
respectively.
Vernon, 1960: 28. The FDA approves the use of chlordiazepoxide ( known as Librium) for
treatment of non- psychotic anxiety in 1960. A similar drug, diazepam ( Valium) , is
approved in 1963.
กฤตวรรณ คำสม. (ตุลาคม 2557). การใช้ฐานขอ้ มลู [PDF]. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาจติ วทิ ยาสำหรบั
ครู, อุดรธานี : มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุดรธานี สบื ค้นเมือ่ 17 กุมภาพนั ธ์ 2564, จากเว็บไซด์ http://1ab.in/Top
p0y
สิทธิชัย ร่าหมึ . (2559) ขอ้ แตกตา่ งระหว่างทฤษฎขี องเพียเจตแ์ ละบรูเนอร์. สืบค้นจาก
http://sittichai1997.blogspot.com/p/blog-page_71.html.
ภาษาองั กฤษ
เวบ็ ไซต์
Brain Kiddy. (2562). พัฒนาการเดก็ อายุ 1-6 ปี ดา้ นสติปญั ญา สืบคน้ เมื่อ 16 กมุ ภาพนั ธ์ 2564, จากเวบ็ ไซด์
http://www.brainkiddy.com/b/46

18

บทท่ี 2
ปรัชญาตะวนั ตก และ ปรชั ญาตะวนั ออก

ความหมายของปรชั ญา

คำว่า “ปรัชญา” นั้นเป็นศัพท์ที่พระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (พระองค์เจ้าวรรณไว
ทยากร) ไดท้ รงบัญญัติขึ้นเพ่อื ใช้คูก่ ับคำภาษาอังกฤษวา่ “Philosophy” เป็นคำมาจากรากศัพท์ภาษาสันสฤต 2
คำ คือ

1. ปร : ประเสริฐ
2. ชญา : ความรู้, รู้, เขา้ ใจ
เม่ือรวมกันแลว้ เปน็ “ปรชญา” (ปรัชญา) แปลว่า ความรอู้ ันประเสริฐ เป็นวชิ าทว่ี ่าดว้ ยหลักแห่งความรู้
และความจรงิ
คำว่า “ปรัชญา” ตรงกับคำภาษาบาลีที่ว่า “ปัญญา” ซึ่งมีรากศัพท์มาจาก ป (อุปสรรค = ทั่ว) + ญา
(ธาตุ = รู)้ เมอ่ื รว่ มกนั แล้ว แปลวา่ รทู้ ว่ั , รรู้ อบ
ในพจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 (ราชบณั ฑิตสถาน, 2525) ได้นิยามความหมายของคำ
ว่า “ปัญญา” เอาไว้ว่า “ความรู้แจ้ง, ความรอบรู้, ความสุขุม, ความฉลาด” และนิยามความหมายของคำว่า
“ปรัชญา” ว่าเป็นวิชาที่ว่าด้วยหลักแห่งความรู้และความจริง หมายความว่า ปรัชญามีหน้าที่สืบเสาะหาความรู้
เก่ียวกบั ความจริงของสรรพสงิ่ ท้งั ทีเ่ ป็นรูปธรรมและนามธรรม
จะเห็นได้ว่าความหมายของคำวา่ “ปรัชญา” ที่ใชอ้ ย่ใู นปัจจุบันไม่ตรงกบั ความหมายของคำวา่ “ปญั ญา”
เพราะการบญั ญตั ิศัพทค์ ำว่า “ปรชั ญา” ไมไ่ ดบ้ ญั ญตั มิ าจากคำว่า “ปัญญา” แตบ่ ญั ญตั มิ าจากคำว่าภาษาอังกฤษ
วา่ “Philosophy” คำว่า “Philosophy” ในภาษาองั กฤษมาจากคาในภาษาฝร่ังเศสโบราณว่า “Philosophie”
ซึ่งมาจากคำในภาษาลาตินอีกทีหนึ่งว่า “Philosophia” (ฟิลอสโซฟิยา) ที่แผลงมาจากคำภาษากรีกว่า
“Philosophia” (ฟิลอสโซเฟยี ) อกี ตอ่ หน่ึง ดังน้ัน คำว่า “Philosophy” จงึ มาจากคำภาษา
กรีกวา่ “Philosophia” ซึง่ มีรากศพั ท์มาจาก 2 คำคอื
1. Philos : Love of หรอื Loving of (ความรัก)
2. Sophia : Wisdow หรอื Knowledge (ความรู้, ปัญญา, ความฉลาด)
เมื่อรวมกันแล้ว คำว่า “Philosophy” จึงหมายถึง “Loving of Wisdom” ความรักปัญญา, ความรักในความรู้,
ความรักในการแสวงหาความรู้ หรือ การใสใ่ จในการแสวงหาความรู้

19

จะอย่างไรกต็ าม เมอื่ พิจารณาตามคำแประหวา่ ง คำวา่ “ปรัชญา” ทม่ี าจากภาษากรีกกับท่มี าจากภาษาสันสกฤต
จะแตกต่างกัน กล่าวคือ ที่แปลจากภาษากรีกแปลว่า ความรักในความรู้หรือความรักปัญญา เพราะความรู้หรอื
ปัญญา เป็นพระเจ้าแต่ผู้เดียว มนุษย์มีสิทธิเพียงสามารถที่จะรกั หรือสนใจที่จะแสวงหาเท่านั้น ไม่สามารถเปน็
เจ้าของได้

สว่ นทแ่ี ปลจากภาษาสนั สกฤต แปลวา่ ความรูอ้ นั ประเสริฐ หรอื ความรอบรู้ มนุษย์ทกุ คนสามารถมีความ
รอบรู้ หรือมีความรู้อันประเสริฐได้ อันเนื่องมาจากความรู้ที่สมบูรณ์ สูงสุดนั้นได้สิ้นความสงสัย (พนายุทธ เชย
บาล, 2560, น.32-51)

ความหมายของปรชั ญาตะวนั ออก

ปรัชญาตะวันออกเกิดขึน้ มาในความเป็นศาสนา ซึ่งจะมีความเกี่ยวข้องกันอย่างแทบจะแยกไม่ได้ โดย
ศาสนาน้นั มีรากเหง้ามาจากความเชื่อ ความศรัทธาทีจ่ ะปฏิบตั ิตามคำส่งั สอนหรอื เนอื้ หาของศาสนานนั้ ๆ นำไปสู่
พิธีกรรมต่างๆท่ีมงุ่ สูม่ รรคผล โดยปรัชญานั้นประกอบแนบแน่นกันกับศาสนาในตัวของความรู้ และวิธีการไดม้ าซ่งึ
ความรู้ (สมหมาย ปวะบตุ ร, 2558, น. 19-36)

ในที่นี้จะกลา่ วโดยสังเขปถึงรายละเอียดปรัชญาตะวันออกของแต่ละลัทธิหรือศาสนา อันได้แก่ ปรัชญา
จีน ปรชั ญาเซน และ ศาสนาฮินดดู งั น้ี

1.ปรัชญาจีน หลกั ของปรชั ญาจีนแต่น้ันเดิมบูชาเทพเจา้ ต่อมามีประชากรจำนวนมากขึ้น มีสงั คม
ความเปน็ อยทู่ ่ีต้องแบ่งปนั ทรัพยากรกนั มากข้ึน เกิดปญั หาการแก่งแย่งชิงดชี ิงเด่น ทำใหเ้ กิดนักคิดขึ้นมาเพ่ือหา
แนวทางแก้ไขปัญหาสงั คม ทีเ่ ดน่ ชดั และเป็นแนวทางปฏบิ ตั มิ าจนถึงปัจจุบันได้แก่

1.1 ลัทธิขงจื้อ เน้นความมีคุณธรรม จริยธรรม เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยและการ
ปกครองที่ดีของสังคม แต่ก็ยังมีบางส่วนที่แสดงถึงความเคร่งครัดจนเกินไป ซึ่งการเกิดลัทธินีก้ เ็ พ่ือใหป้ ระชาชน
ทงั้ หมดอยู่กันอย่างสงบสุข

1.2 ลัทธิเต๋า เน้นความเป็นธรรมชาติ ความเป็นจริง ละวางตัวฉัน ของฉัน การนิ่ง สงบ การ
ปกครองไมต่ อ้ งใช้กฎหมาย ถอื วา่ การบังคบั จะทำใหเ้ กดิ ความเสือ่ มทางจริยธรรม

โดยสรปุ แล้วทง้ั สองปรัชญาเกิดข้ึนในราชวงค์เดยี วกัน มองปญั หาไม่แยกสว่ น เกดิ เนื่องจากปัญหาความ
ไมส่ งบสขุ ของประชาชน จากการปกครองท่ีมคี วามเลอ่ื มล้ำไม่เป็นธรรม โดยการแยง่ ชิง การใช้อำนาจ อย่างเห็น
แก่ตวั แตท่ งั้ สองลทั ธมิ แี นวทางปฏบิ ตั ทิ ่ีแตกต่างกนั อย่างสุดขัว้ ทำให้ลูกศิษย์ของแต่ละสำนกั เกิดข้อโต้แย้งกันอยู่
เนือง ๆ แต่ที่แสดงออกอย่างชัดเจนของ 2 ลัทธินี้ก็คือ ลดความวุ่นวายต่างๆ จากการยกระดับของจิตใจ ทำให้
เกดิ ความสงบของจิตใจของตนเองเสยี ก่อน คอื การสรา้ งความสงบในใจ น่ันเอง

20

2.ปรัชญาเซน หมายรวมถึง ผชู้ นะ ความใคร่ ความเกลยี ด การบรรลคุ วามหลุดพน้ เซนยอมรับแหล่ง
การเกิดความรจู้ าก 3 แหลง่ คอื ประจักษ์ อนมุ าน และ ศพั ท์ประมาณ เป็นการสง่ ผา่ นลัทธหิ รอื ความเชอื่ นำไปสู่
สิ่งที่เขาเรียกกันว่า Satori ความสงบของจิตใจ หรือความหลุดพ้นนั่นเอง ซึ่งมีหลายนิกาย หลายสำนัก เช่น
สำนักรินไซ มีวิธกี ารคิดอย่างไตร่ตรองลกึ ซึ้งเรียกวา่ โกอาน (Koan) ส่วนสำนกั โซะโตะ มีวิธีการนั่งบำเพ็ญสมาธิ
เรียกกว่า ซาเซน็ (Zazen) บางนกิ ายกม็ คี วามเช่อื ในเรื่องวญิ ญาณ ชีวะมอี ยูใ่ นทุกตัวตน และมีความเชื่อในเร่ือง
เป็นชายเทา่ นั้นทีจ่ ะบรรลไุ ด้ และสตรไี มส่ ามารถบรรลไุ ดโ้ ดยสรุปปรัชญาเซน ยอมรบั ในการมอี ยขู่ องวญิ ญาณ ยึด
หลักการไมเ่ บยี ดเบยี น ผสมผสาน การถา่ ยทอดนกั คิดเพอ่ื ใหเ้ กิด ความสงบของจติ ใจ หรือ ความหลดุ พ้น

3.ศาสนาฮินดู เป็นเทวนิยมการนับถอื พระเจ้า เรม่ิ ต้นมาจากการพยายามอธบิ ายสง่ิ ที่เป็นไปจากการเกิด
เหตุการณ์ทางธรรมชาติ โดยการบูชาส่ิงที่เป็นสมมุติ คือการเคารพนับถือพระเจา้ ที่ทำให้เกิด ทำให้ทำลาย และ
การปกป้อง โดยหาพิธีกรรมต่างมาบวงสรวงพระเจ้าอันได้แก่ พระพรหมเป็นพระผู้สร้าง พระศิวะเป็นผู้ทำลาย
และพระวษิ ณุหรอื พระนารายณ์เป็นผู้ปกป้อง

โดยสรุปการเกิดศาสนาฮินดูขึ้นมา เกิดจากอารยธรรมกลุ่มแม่น้ำสินธุ ซึ่งมีทั้งนับถือเทพเจ้า และไม่
นิยมรูปเคารพ มีคัมภีร์พระเวท เป็นเทพโองการเปิดเผยแก่มนุษย์ มีเป้าหมายเพื่อ การแสวงหาความรู้และ
ความสขุ ผา่ นการปฏบิ ตั ทิ างพธิ กี รรมต่างๆ

จากปรัชญาตะวันออกท่ีมีความเก่ียวข้องเชอื่ มโยงกับศาสนาน้นั พบวา่ มีฐานคดิ จากความต้องการความ
สงบในจิตใจเพือ่ ยกระดบั ให้จิตใจมีความสูงสง่ หลุดพน้ ไปจากความทุกข์ท้งั ปวง เนน้ ในเรอ่ื งการที่คนจะรับรู้สิ่งที่
เกิดขึ้น และอยู่ด้วยกนั อย่างสงบสุขรม่ เยน็ ก็ด้วยความเป็นไปตามธรรมชาติ โดยการยอมรับจากภายใน ไม่มอง
อย่างแยกส่วนเพราะทุก ๆ ส่วนมีความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกัน แล้วสามารถแสดงออกภายนอกได้อย่างสมดุล
สามารถอยู่รว่ มกนั ในครอบครวั สงั คม ชุมชน และประเทศไดอ้ ย่างสงบสขุ

ความหมายของปรัชญาตะวนั ตก

ปรัชญาตะวันตก หมายถึง แนวความคิด หลักการ ความรู้ทางปรัชญาที่เกิดขึ้นในซีกโลกตะวันตก
ทั้งหมด ซึ่งนักปรัชญาเมธีเชื่อชาตินั้น ๆ ทางซีกโลกตะวันตกได้คิดคน้ ข้ึน ก่อให้เกิดขึ้นหรือตั้งสำนกั ขึ้น โดย
ปกตแิ ล้วมกั จะถือกันว่า ปรชั ญาตะวันตกเร่ิมกอ่ ตัวข้นึ ประมาณ 600 ปี กอ่ นคริสตศกั ราช และเม่ือเกิดขึ้นก็ได้มี
ความเจรญิ ววิ ัฒนาการทางดา้ นความรู้ ความคดิ เรือ่ ยมาจนกระทงั่ ปัจจุบัน (สมหมาย ปวะบตุ ร, 2558, น. 19-36)

21

ปรชั ญาตะวันตกแบ่งยคุ ได้ดังน้ี
1.ยคุ ดกึ ดำบรรพ์ จากการศกึ ษาผคู้ นในยุคนีเ้ ช่อื เรื่องเทพเจ้านบั ถือเทพเจา้ Zeus เปน็ เทพสงู สุด และถือ

วา่ การเปลย่ี นแปลงของโลกขึ้นอยู่กบั เทพเจ้า คตแิ ห่งยุคดกึ ดำบรรพ์ คือ ทกุ ส่งิ ขึ้นอยกู่ บั นำ้ พระทัยเบอ้ื งบน
2. ยคุ โบราณ จากการศึกษายอ้ นหลัง ไปอยา่ งน้อยที่สุดในศตวรรษที่ 4 กอ่ นครสิ ตศกั ราชต่อเน่ืองกันมา

จนถึงปัจจุบันต้องถือว่านักปรัชญาคนแรกของกรีซ คือ ธาเลส เหตุผลที่ส่งให้เป็นปรัชญาคนแรกของกรีกก็
เพราะว่าเป็นคนแรกทีอ่ ธิบายเรือ่ ง จุดกำเนิดของโลกโดยใช้เหตุผลตามธรรมชาติ ไม่มีเรื่องของเทววิทยาเขา้ มา
เกีย่ วข้อง

3. ยุคกลาง เป็นลักษณะของปรชั ญาท่ีประนีประนอมครสิ ต์ศาสนากบั ปรัชญากรีก ในคร่ึงแรกแหง่ ยุค ก็
ประนีประนอมโดยใช้ปรัชญาของเพลโตอธิบายคำสอนแนวคิดศาสนา ได้ชื่อลัทธิว่า ปรัชญาปิตาจารย์ หรือลัทธิ
ปติ าจารยน์ ยิ ม ในครึง่ หลงั แห่งยุค นักปรัชญาหันมานยิ มใช้ปรชั ญาของอรสิ โตเตลิ อธบิ าย ไดช้ อ่ื ลัทธวิ า่ ปรัชญาอัส
มาจารย์ หรือลัทธอิ ัสมาจารย์นยิ ม ครง่ึ หลังน้ีมกี ารพยายามใชต้ รรกวทิ ยาสรา้ งระบบความคิดกันอย่างจรงิ จงั

4. ยุคใหม่ ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่ (ค.ศ. 1600 –1700 ) เริ่มขึ้นด้วยการคัดค้านแนวความคิดทาง
ปรัชญาของสมัยกลางที่เน้นหนักในเร่ืองศรัทธาในพระเจ้าของศาสนาคริสต์ ที่มุ่งการประนีประนอม ความเชื่อ
หรอื ศรัทธาในคริสต์ศาสนา ซง่ึ ในตอนนั้นได้พยายามเอาปรัชญาของเพลโตมาอธบิ ายคำสอนศาสนาคริสต์ และ
ตอ่ มาไดน้ ำเอาปรัชญาของอรสิ โตเตลิ มาอธบิ ายคำสอนของศาสนาคริสต์

5. ยุคปัจจุบัน สมัยปัจจุบันเริ่มต้นหลังจากปีที่ ค้านท์สิ้นชีวิต เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน ปรากฏว่า
แนวความคดิ ของค้านท์มีอิทธิพลต่อนักปรัชญาสมัยนม้ี าก แทบทกุ คนจะเชื่อทฤษฎีของค้านท์ที่ว่าสมรรถภาพใน
การคดิ ของทกุ คนมกี ลไกคลา้ ยคลึงกนั จงึ ได้รับความร้คู ลา้ ยๆกนั แต่นกั ปรัชญาส่วนใหญ่ไมย่ อมรับโครงสร้างของ
กลไกการรบั ร้ขู องค้านท์ พวกเขาเหน็ พอ้ งกันว่ากลไกการรบั รซู้ ับซ้อนยง่ิ กว่านนั จงึ ได้พยายามอธิบายเร่ืองนี้ต่างๆ
นานา เรียกลัทธิเหล่านี้ว่า ลัทธิค้านท์ใหม่ ซึ่งต่างก็ขบคิดปัญหาสำคัญประการหนึ่งว่า สมองของคนเราทำ
กิริยาอย่างไรในขณะที่เรากำลังคิด ผลแห่งความพยายามดังกล่าวทำให้เกิดลัทธิปรัชญาขึ้นมาอีกมากมาย มี
ลักษณะแตกตา่ งกนั เป็นกลมุ่ ๆ เชน่

22

นกั ปรัชญาสำคญั ของตะวนั ออกและตะวันตก

นักปรัชญาตะวนั ตก
ธาเลส (Thales) ได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาของปรัชญาตะวันตก ธาเลสเป็นคนแรกท่ี

คำนวณหาความสูงของพีระมิดในอียิปต์โดยใช้เงา เขาได้ทำนายว่าจะเกิดสุริยคราสล่วงหน้าซึ่งได้เกิดขึ้นก่อน
พุทธศักราช 42 ปี รจู้ กั พิสจู นท์ ฤษฎีบททางเรขาคณิต เช่น เสน้ ผ่านศูนย์กลางจะแบ่งครง่ึ วงกลม มมุ ที่ฐานของรูป
สามเหล่ียมหน้าจ่ัวเทา่ กนั และมมุ ในครึ่งวงกลมเป็นมุมฉาก

เพลโต (Plato) (ประมาณปี 427-347 ก่อนสากลศักราช) เป็นนักปรัชญากรีกเพลโตได้รับ
อิทธพิ ลอย่างมากจากแนวคิดของโสกราตีสนักปรชั ญาผมู้ ีชือ่ เสียงและเหล่าศิษย์ของพีทากอรัสผเู้ ป็น
นกั คณิตศาสตร์และนักปรชั ญากรกี “บดิ าแห่งวิชาปรัชญาการเมือง”

อริสโตเติล (Aristotle) (384 ปีก่อนคริสตกาล – 7 มีนาคม 322 ปีก่อนคริสตกาล) เป็นนัก
ปรัชญากรีกโบราณ เป็นลูกศิษย์ของเพลโต และเป็นอาจารย์ของอเลก็ ซานเดอร์มหาราช เขาและเพลโตได้รับยก
ย่องให้เป็นหนึ่งในนักปรัชญาท่ีมีอิทธิพลสูงที่สุดคนหนึง่ ในโลกตะวันตก ด้วยผลงานเขยี นหนังสอื เกี่ยวกับฟิสิกส์
ตรรกศาสตร์ กวีนิพนธ์ สตั ววทิ ยา การเมอื ง การปกครอง จรยิ ศาสตร์ และชวี วิทยา และได้ขนานนามว่าเป็นบิดา
แห่งศาสตรต์ า่ งๆ ดงั น้ี

- บดิ าแหง่ ตรรกศาสตรต์ ะวนั ตก
- บิดาแหง่ วิทยาศาสตร์
- บดิ าแหง่ ชีววทิ ยา
- บิดาแหง่ รัฐศาสตร์
นักปรชั ญาตะวนั ออก

เล่าจื๊อ เป็นนักปราชญ์ที่มีชื่อเสียงชาวจีนที่สุดท่านหนึ่ง เล่าจื๊อได้เขียนตำราอันเป็นแบบแผน
ในทางเตา๋ น่ันคอื “เต๋าเต็กเก็ง ซง่ึ เปน็ ผลงานทางลัทธเิ ตา๋ ที่ยังคงตกทอดมาถึงยคุ ปจั จบุ นั น้ี เล่าจือ๊ เป็นนักปราชญ์
ทเ่ี ชี่ยวชาญทางเต๋า ประวตั ิศาสตร์ ภมู ศิ าสตร์ ดาราศาสตร์ มแี นวคดิ ทมี่ ีคณุ ค่าและยงั คงมน่ั คงในโลกยุคสมัยใหม่
ที่เหมาะกับนักคิดในรุ่นปัจจุบันสามารถศึกษาให้เข้าใจได้อย่างง่ายดาย พร้อมการนำเอามาเป็นแนวคิดในการ
ดำเนินชีวิตและการทำงานไดเ้ ป็นอยา่ งดี ปรชั ญาและวิถีแห่งเต๋าเน้นท่คี วามสันโดษ ความกลมกลืนไปกับธรรมชาติ
เพราะปญั หาของมนุษยน์ ้นั ไมส่ ามารถแก้ไขไดด้ ว้ ยการสรา้ งกฎกติกาขึน้ มาโดยมนษุ ยด์ ว้ ยกนั เพอื่ นำมาบงั คบั ใช้ใน
สังคม แต่ที่สุดของความสุขคอื ความนอบนอ้ มถอ่ มตนอยกู่ ับธรรมชาติ ก็เชน่ เดียวกับการทำงานทเี่ ม่ือเข้าสู่องค์กร
ก็ตอ้ งรูจ้ กั นอบนอ้ มถอ่ มตน ทำตวั ใหด้ กู ลมกลนื ไปกบั ธรรมชาตขิ ององคก์ ร และเม่ือมเี ร่ืองท่ีไมถ่ ูกใจก็ใชว่ า่ จะเพียง
ต้ังกฎข้นึ มาบงั คับเพียงเทา่ นนั้ แตจ่ ะตอ้ งเนน้ ความรบั ผดิ ชอบร่วมกัน และสามารถอยรู่ ว่ มกันได้ด้วยความถ่อมตน
อีกด้วย

23

ซือหม่าเชียน เป็นนักประวัติศาสตร์และนกั ประพันธ์วรรณคดีในสมัยราชวงศ์ฮ่ันตะวันตกของ
จีนเมื่อกว่า 2 พันปีก่อน บิดาของเขาเป็นขุนนาง ทำหน้าที่บันทึกประวัติศาสตร์ในราชสำนกั ฮั่น ว่ากันว่าซือหมา่
เชียนเป็น คนช่างคิดตั้งแต่เด็ก เขามักจะมีความคิดเห็นที่เป็นตัวของตัวเอง เกี่ยวกับบุคคลและเหตุการณ์สำคญั
สมยั กอ่ นในตำนานต่างๆ เม่ือเขายังหน่มุ เขาเคยออกเดินทางไปทศั นาจรทั่วประเทศ เพอ่ื ศกึ ษาชวี ิตความเป็นอยู่
ของประชาชน ขนบธรรมเนยี ม สภาพสังคม เศรษฐกจิ และเกษตรกรรม เยย่ี มเยือนสถานที่ ท่องเที่ยวท่ีมีช่ือเสียง
ในท้อง ถิ่นต่างๆของจีน รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ บุคคลและเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์ (ภวิศา พงษ์เล็ก,
2560, น.5)

ปรัชญาตะวนั ออก

ปรชั ญาอนิ เดีย

ปรัชญาอินเดียเร่ิมปรากฏหลักฐานว่ามีมาตั้งแต่ 3,000 ปีก่อน ค.ศ. ปรัชญาที่กล่าวถึงน้ีก็ คือ พระเวท
ปรัชญาอินเดียล้วนเกิดจากคำสอนใน “คัมภีร์พระเวท” เริ่มตั้งแต่มีการเกิดมีพระเวทขึ้นตามประวัติระบบแหง่
แนวความคิดของอนิ เดยี คมั ภีรพ์ ระเวทนนั้ เปน็ คมั ภรี ท์ ี่เกา่ แก่ทส่ี ุด แบง่ ออกเป็น 4 อย่างคือ

ฤคเวท มีลกั ษณะเป็นคำฉนั ท์ เปน็ บทรอ้ ยกรอง
ยชุรเวท มีลักษณะเปน็ ร้อยแก้ว วา่ ด้วยระเบยี บวิธีในการประกอบพิธีบชู ายัญ
สามเวท มีลกั ษณะเป็นคำฉันท์ใชส้ ำหรับสวดขับกลอ่ มเทพเจา้
อถรรพเวท เป็นที่รวบรวมเวทมนต์คาถาอาคมต่าง ๆ สำหรับใช้ร่ายแก้ของไม่ดี และเพื่อใช้
ทำลายหรือใหเ้ กิดผลร้ายแกศ่ ตั รู
1.มหากาพย์ “รามายณะ” เป็นมหากาพย์ของอินเดีย ซึ่งที่คนไทยรู้จักกันเป็นอย่างดี คือ รามเกียรติ์
เชอื่ ว่าเป็นนิทานที่เล่าสบื ต่อกนั มายาวนานในหลากหลายพืน้ ที่ของชมพูทวีป แต่ผู้ไดร้ วบรวมแต่งให้เป็นระเบียบ
ครั้งแรก คอื ฤๅษวี าลมีกิ ตวั ละครมี พระลักษณ์ พระราม นางสีดา หนมุ าน ทศกัณฑ์ (ทมี่ า: เบญจมาพร ทองรัก.
มหาภารตะ. 2556 ) ฉบับของไทยกับต้นฉบบั อินเดยี นน้ั มบี ทบาทของตัวละครได้เปลี่ยนแปลงตามท่ี สจุ ิตต์ วงษ์
เทศ เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ (กวีนิพนธ์) กล่าวว่า “หนุมานในตน้ ฉบบั นัน้ เป็นลิงที่จงรกั ภกั ดี และ
หวั ใจของหนุมานมเี พียง 2 คนเทา่ นั้น คอื พระรามกับนางสีดา แต่ฉบับของไทยน้ัน หนุมานถกู ปรับบทบาทให้เป็น
ลงิ เจา้ ชู้ มีหลายเมยี ” (ทมี่ า: สุจติ ต์ วงษเ์ ทศ. รามายณะ มหาภารตะ ในอษุ าคเนย์ ประวัติศาสตรน์ อกตำรา)
2. มหากาพย์ “มหาภารตะ” หรอื “ภารตะ” เปน็ มหากาพยท์ ย่ี งิ่ ใหญข่ องอนิ เดีย นบั เปน็ มหากาพย์ท่ยี าว
ทีส่ ุดในโลก ด้วยมีจำนวนคำ 1.8 ลา้ นคำ นับวา่ ยาวกว่ามหากาพย์อีเลยี ด หรือมหากาพย์โอดิสซี ของกรีกโบราณ
(ที่มา: รายการแฟนพนั ธ์แุ ท.้ มหาภารตะ. 2557) มเี น้ือหาซบั ซ้อน เลา่ เรอ่ื งอันยืดยาวท่ีเกย่ี วขอ้ งกับเทพปกรณัม
การสงคราม และหลักปรัชญาของอินเดีย ท้ังนี้ยังมีเรื่องย่อย ๆ แทรกอยู่มากมาย ตามตำนาน กล่าวว่า ผู้แต่ง
มหากาพยเ์ ร่ืองนีค้ อื ฤๅษวี ยาส ซง่ึ มผี ้ทู ำหนา้ ท่จี ดบันทกึ ทกุ เรือ่ งราวคือ พระพฆิ เนศ ซึง่ เป็นเรื่องราวความขัดแย้ง

24

ของพีน่ อ้ งสองตระกูล ระหวา่ ง ตระกูลเการพ และตระกูลปาณฑพ ซึง่ ทงั้ สองตระกลู ต่างก็สืบเชื้อสายมาจากท้าว
ภรต แห่ง กรุงหัสตนิ าปรุ ะ จนบานปลายไปสมู่ หาสงครามที่ท่งุ กุรุเกษตร จำนวน 18 วนั ซึง่ มีพันธมิตรของแต่ละ
ฝ่ายเขา้ ร่วมรบด้วยเปน็ จำนวนมาก ฝ่ายปาณฑพกเ็ ปน็ ผู้ชนะในสงครามครั้งน้ี (ทีม่ า: สุรยิ ะบตุ รเร่อื งเล่า. เรื่องย่อ
มหาภารตะ. 2562) (ท่มี า: อ.วรี ะธรี ภัทรเล่ามหากาพยม์ หาภารตะ. 2556)
เรือ่ งย่อ

จดุ เร่มิ ตน้ ก่อเกดิ เร่ืองราวจนเปน็ มหากาพย์ตำนานอันยง่ิ ใหญ่ ''มหาภารตะ'' เปน็ การเปิดตำนานเล่าเร่ือง
โดยเริ่มต้นจากการลำดับวงศก์ ษัตริย์แห่งราชวงศ์กรุ โุ ดยตำนานเริ่มจากพระราชาชือ่ ท้าวศานตนแุ หง่ ราชวงศก์ รุ ุ
เปน็ สำคญั ท้าวศานตนุแต่งงานกับเจ้าแมค่ งคามีลกู ชายดว้ ยกนั ชอ่ื ภีษมะ

ต่อมาท้าวศานตนุแต่งงานใหม่กับลูกสาวชาวประมงช่ือ สัตยวดี มีลูกชายด้วยกันสองคนคือ จิตรางคทะ
กับวิจิตรวีรยะ ลูกชายของท้าวศานตนุที่เกิดจากนางสัตยวดี เพราะความโลภของสัตยวดีและการเสียสละของ
ภีษมะ และศานตนุ ตา่ งฝ่ายต่างกอ่ ให้เกิดคำสัตย์สาบานทีน่ ่าเกรงกลวั ข้ึนท่ีริมฝั่งแม่น้ำคงคา เรอ่ื งราวยังคงดำเนิน
ต่อมาอกี 25 ปี จนถึงยุคของเจ้าชายแห่งหัสตนิ าปุระ วิจิตรวีรยะท่มี ีแตค่ วามอ่อนแอและไมเ่ อาไหน เพราะยึดติด
กบั คำสาบาน ภษี มะต้องคอยช่วยเหลือเขาอยรู่ ่ำไป สัตยวดดี ้วยสญั ชาตญาณของมารดา เข้าข้างบุตรของตนและ
เตือนภีษมะวา่ วิจิตรวีรยะคอื ความรบั ผิดชอบของเขา พอถึงวัยเติบโต ความปรารถนาของสตั ยวดีและคำสัตย์ของ
ภีษมะ นำมาซึ่งผลหลายอย่าง เพื่อการอภิเษกสมรสของเจ้าชายที่ออ่ นแอเช่นวิจิตรวีรยะ สัตยวดีสั่งให้ ภีษมะ
เดนิ ทางไปส่ขู อบุตรสาวทัง้ 3 ของกษตั ริย์แคว้นกาสี ภีษมะได้ทำให้เกดิ เรื่องทีม่ ิได้เจตนาและมิอาจรู้ว่าได้ทำลาย
ความรักของอัมพาและมหาราชย์ศาลวะ ความอับอายนีท้ ำให้นางโกรธแค้นและนำไปสู่การต่อสู้กันระหว่างปรศุ
รามและภษี มะ อาจารยแ์ ละศิษย์ จนมหาเทพไดป้ รากฎกายขึ้นและยุติการต่อสใู้ นคร้งั นี้ อมั พาผู้ที่ตกอยู่ในความ
เจ็บปวดภาวนาและวิงวอนต่อองค์มหาเทพศิวะ มหาเทพตอบเพียงว่าหลังจาก 25 ปี นางจึงจะได้รับความ
ชว่ ยเหลือ นางจงึ บูชายญั ตวั เองเป็นการตอบโต้ (ทมี่ า: อ.วีระธีรภทั รเลา่ มหากาพยม์ หาภารตะ. 2556)

ต่อมา วิจิตรวีรยะตายไปโดยไม่มีลูกสืบวงศ์ต่อ ในขณะที่ภีษมะเองก็ถือคำสัตย์สาบานจะไม่ยุง่ เก่ียวกบั
ผู้หญงิ ทำใหพ้ ระนางสตั ยวดีต้องไปขอรอ้ งใหว้ ยาสซ่ึงเป็นลกู นอกสมรสท่ีเกิดกบั ฤๅษีปราศร ต้งั แต่ยังไม่ได้กับท้าว
ศานตนุ ซึ่งบวชเป็นฤๅษีให้มาช่วยเป็นต้นเชื้อเพื่อมิให้สิ้นราชวงศ์ ฤๅษีวยาสซึ่งมีรูปร่างหน้าตาน่าเกลี ยดและ
สกปรกรกรุงรังยอมตกลงมามคี วามสัมพนั ธก์ บั เมียหม้ายของวิจิตรวีรยะทงั้ สองคน คนแรกตอนมีความสัมพันธ์กัน
นั้นนอนหลับตาด้วยความขยะแขยงลูกที่ออกมาจึงตาบอดและมีชื่อว่า ธฤตราษฎร์ ส่วนคนที่สองตอนมี
ความสมั พันธก์ ัน แม้ไมไ่ ด้หลบั ตาแต่กก็ ลวั จนเน้อื ตัวซีดขาวไปหมด ลูกท่ีออกมาจงึ ไม่แข็งแรงและมีเนื้อตัวซีดขาว
ตามไปด้วย เดก็ คนน้ีมีชือ่ วา่ ปาณฑุ

ฤๅษวี ยาสยงั ไปมคี วามสมั พนั ธ์กบั คนรบั ใช้ในราชสำนกั แบบเผ่ือเหลือเผือ่ ขาดเอาไว้อกี คน สำหรับรายน้ี
ซึ่งมีความสมั พนั ธก์ ันปกติและไมไ่ ดร้ ังเกียจอะไรลกู ทีอ่ อกมาจึงเปน็ ปกติมีช่ือว่า วฑิ รู เมอื่ ลูกชายสามคนของฤๅษีว
ยาสโตขึน้ เจ้าชายปาณฑุขน้ึ ครองราชย์เปน็ พระราชาแควน้ กุรุเม่ือถึงวัยอันควร ตามลำดบั ตอ้ งเป็นธฤตราษฎร์ลูก

25

คนโต แต่ด้วยความเหมาะสม เน่อื งจากธฤตราษฎร์ตาบอด บลั ลังก์จึงตกแกน่ ้องชาย เปน็ เหตุใหม้ กี ารผิดใจกันอยู่
กลายๆภษี มะซงึ่ ทำหน้าทีอ่ ภบิ าลรว่ มกับพระนางสัตยวดไี ดจ้ ัดการให้หลานชายทั้งสองคนแตง่ งาน เจ้าชายคนท่ีตา
บอดแต่งงานกับเจ้าหญิงคานธารี คานธารีเม่ือเห็นว่าพระสวามีตาบอดจึงปิดตาเพือ่ จะไดเ้ ข้าใจในความทุกข์ของ
สวามีโดยให้สัตจะว่าจะไม่เปิดผ้าปิดตาออกอีกตลอดไป และมีลูกด้วยกัน 100 คน ลูกชายคนโตชื่อ ทุร
โยธน์ (ที่มา: สุริยะบุตรเรื่องเล่า. เรื่องย่อมหาภารตะ. 2562) (ที่มา: อ.วีระธีรภัทรเล่ามหากาพย์มหาภารตะ.
2556)

ส่วนเจา้ ชายปาณฑมุ ีเมียสองคน เมียคนแรกชอื่ กุนตี ซึง่ กอ่ นจะมาแต่งงานด้วยความไม่รู้ หลังจากได้พร
ในการขอบุตรจากเทพ ทำให้นางได้ขอบุตรจากเทพพระอาทติ ยช์ ื่อวา่ กรรณะ การเชิญเทพของนางในครั้งนี้เกิด
ดว้ ยความรูเ้ ท่าไมถ่ ึงการณ์ ไมท่ ันไดน้ ึกถงึ ผลทต่ี ามมา เลยทำให้ต้องท้ิงลูกชายไปเพราะเป็นบุตรที่เกดิ โดยที่นางยัง
ไม่มีสวามี แล้วมาแต่งงานกับเจ้าชายปาณฑุ ส่วนเมียคนที่สองชื่อ มัทรี แต่ก็เกิดเหตุแห่งคำสาปแช่งทำให้ไม่
สามารถมบี ุตร จึงสละราชย์ไปอยใู่ นป่า (ท่มี า: สรุ ิยะบตุ รเร่ืองเลา่ . เร่ืองย่อมหาภารตะ. 2562)
และไดข้ อลกู จากเหล่าเทพด้วยพรของกนุ ตีมีลูกด้วยกนั สามคน คือ ยุธษิ ฐิระ เปน็ ลกู ที่เกดิ จากธรรมเทพ ซ่ึงเป็น
เทพเจ้าแห่งความยุติธรรม ภีมะเป็นลูกที่เกิดจากเทพวายุ อรชุนเป็นลูกที่เกิดจากพระอินทร์ ส่วน มัทรี นั้นได้
ขอให้กุนตใี ห้พรน้ันแก่ตนบ้างจึงได้มีลูกแฝดชอื่ นุกุล กับ สหเทพ เกิดจาก เทพแฝดคือ เทพอศั วิน

แต่แลว้ เจ้าชายปานฑพุ ระชนมายุไม่ยืนสน้ิ พระชนมไ์ ปกอ่ นเวลาอันควร ทำให้ราชสมบัติท่ีได้ตกเป็นของ
พี่ชายคือเจ้าชายธฤตราษฎร์ไปและเคยมีข้อตกลงเป็นนัยว่าจะส่ งมอบราชสมบัติให้กับลูกของเจ้าชายปาณฑุ
กลบั คนื ไปเมือ่ ถึงเวลาอนั ควร ด้วยเหตนุ ี้ลูกท้งั ห้าของพระราชาปาณฑุและลกู ทั้งร้อยของพระราชาธฤตราษฎร์จึง
ได้รบั การเลี้ยงดภู ายในราชสำนักกรุงหัสตนิ าปรุ ะแบบโตมาดว้ ยกันแตน่ ่าเสยี ดายว่าได้เกิดความบาดหมางระหว่าง
ลกู พล่ี ูกนอ้ งตงั้ แต่วัยเยาว์ ซึ่งนา่ จะเปน็ เพราะเรื่องในอนาคตว่าฝ่ายใดจะได้ขน้ึ มาเป็นกษัตริย์ ลูกของท้าวปาณฑุ
หรือวา่ ลกู ของทา้ วธฤตราษฎรเ์ ปน็ สำคัญ (ทม่ี า: สรุ ยิ ะบุตรเรอื่ งเลา่ . เรอื่ งยอ่ มหาภารตะ. 2562)

ช่วงเยาว์วัยถึงวัยหนุ่มของเหลาเจ้าชาย ภีษมะตอนนี้ทรงชราภาพแล้วเข้ามารับผิดชอบอบรมเลี้ยงดู
ภราดาทั้งสองกลุ่ม เจ้าชายทั้งสองฝ่ายนี้ตา่ งก็เอาแต่แขง่ ขันต่อสู้กันอยูต่ ลอดเวลา พยายามแม้กระทั่งสังหารอีก
ฝา่ ย วนั หนึ่งโทรณะ ครูและผชู้ ำนาญสรรพาวุธ ปรากฏตัวข้นึ และเสนอตัวเข้ามาสอนเจ้าชายน้อยท้งั ปวง โทรณะ
มีภารกิจลับนนั่ คือการแก้แคน้ การดถู ูกเหยียดหยามที่เพ่ือนเก่าคนหนง่ึ กระทำไวแ้ กต่ นขณะยังหนุ่ม ในการอบรม
เจ้าชายทัง้ 105 คน นั้นทง้ั หมดตกอยูภ่ ายใตก้ ารอำนวยของทา้ วภีษมะท่ีเปน็ ปโู่ ดยมีอาจารย์สองคนทำหน้าท่ีเป็น
ผู้สอนศิลปะวิทยาการแขนงต่างๆให้ นั่นก็คือ กฤปาจารย์ และ โทรณาจารย์ ในการนี้ยังมีเด็กชายอีกคนท่ีมิใช่
ลกู หลานกษัตริย์โดยตรงเข้าร่วมเรียนด้วย คือ อัศวถามา ซึง่ เป็นลูกชายของโทรณาจารย์ (ท่มี า: สุริยะบุตรเรื่อง
เล่าเร่ืองย่อมหาภารตะ. 2562)

ในการอบรมศษิ ย์ท้ังหลายนัน้ โทรณาจารย์ก็เฝา้ จับตาดคู วามก้าวหน้าของเหลา่ ศิษยก์ พ็ บว่ามรี าชกุมาร
พระองค์หนึ่งมีความก้าวหน้าในการเรียนรูศ้ ิลปวิทยาทีส่ ั่งสอนได้รวดเร็วยิ่งกว่าราชกุมารพระองค์อื่น ราชกุมาร

26

พระองค์นัน้ คือ ''อรชุน'' ด้วยเหตุนีจ้ ึงกลายเป็นศิษยเ์ อก (ที่มา: สุริยะบุตรเรือ่ งเลา่ . เรื่องย่อมหาภารตะ. 2562)
(ที่มา: อ.วรี ะธรี ภทั รเล่ามหากาพย์มหาภารตะ. 2556)

และโดยการช่วยชวี ิตของโทรณาจารย์จากภยนั ตราย แสดงใหเ้ ห็นถงึ ความไม่กลวั ตายของเขาในการอุทิศ
ตน ความประทับใจในทักษะและการอุทิศตนของเขา,โทรณาจารย์ ตัดสินใจที่จะทำใหอ้ รชนุ เป็นมือธนูท่ีดีท่ีสุดใน
โลกา ในขณะเดียวกัน กรรณะพยายามหาอาจารย์ที่จะสอนวิชาให้กบั ตนแต่เพราะการแบ่งชนชั้นวรรณะ ทำให้
กรรณะต้องฝ่าความฝันเพยี งลำพงั และโกหกวรรณะตวั เองต่อปรศุราม เพื่อพสิ จู น์วา่ เขาคือมือธนูที่ดีท่ีสุดในโลกา
เวลาผา่ นมาจนจบการเล่าเรียนโทรณะจัดเวทแี ขง่ ขนั เพอ่ื อวดทกั ษะของปาณฑพและเการพแต่ละองค์ จนการต่อสู้
มาถึงอรชุนและทุรโยธน์ กับมีบุรุษแปลกหน้าคนหนึ่งกลับปรากฏกายข้ึนมาท้าทายอรชุนและมีฝีมือเชิงธนู
ทดั เทียมกับอรชุน (ทีม่ า: สรุ ิยะบุตรเรอื่ งเลา่ เรอื่ งย่อมหาภารตะ. 2562)

บุรุษคนนี้คือ กรรณะ ที่ผู้อ่านทราบมาแล้วว่าเป็นโอรสองค์แรกของกุนตี เกิดแต่สูรยเทพหรือเทพแห่ง
ตะวัน พระนางกุนตีมีความจำเป็นก่อนอภิเษกสมรสกับปาณฑุ จึงลอยกรรณะไปในตระกร้ากับสายน้ำดังน้ัน
กรรณะจงึ เป็นเชษฐาองค์โตของภราดาปาณฑุนั่นเองอยา่ งไรก็ตามกรรณะไม่ทราบว่ามารดาที่แท้จรงิ ของตนเป็น
ใคร สารถีเกบ็ ไดแ้ ลว้ นำไปเลยี้ งจนเตบิ โต เหลา่ ปาณฑพไม่เหน็ ด้วยกับการประลองเพราะสถานภาพทางสังคมอัน
ต่ำตอ้ ยของกรรณะและจะไม่ทรงตอ่ สู้กับใครกต็ ามท่ีไมม่ ีพระชาติ เป็นขตั ตยิ ะมาต้งั แตเ่ กิด

แตท่ ุรโยธนล์ ูกพล่ี กู นอ้ งของภราดาปาณฑพเลง็ เหน็ โอกาสสร้างพันธมติ รกบั กรรณะ โดยไมใ่ ส่ใจต่อกฎอัน
เข้มงวดแหง่ วรรณะ ทรุ โยธน์ยกอาณาจกั รเล็กๆแห่งหน่ึงให้แก่กรรณะ ทำใหก้ รรณะซาบซ่ึงใจจึงสาบานเป็นมิตร
กับเหล่าเการพตลอดไปในเวลาต่อมาเมื่อท้าวธฤตราษฎร์ทรงจะแต่งตั้งมกุฎราชกุมาร ที่จำเป็นต้องตกแก่เหล่า
ปานฑพ แต่เกิดความลำเองในใจโทรณาจารย์จึงขอให้ศิษย์ของตนได้ ไปทำศึกกับมหาราชย์แห่งปัณจาละ เพ่ือ
ตอบแทนอาจารณ์และหาผู้เหมาะสมกับ มกุฎราชกุมาร สุดท้ายก็เป็นเหล่าปาณฑพที่ทำการสำเร็จก็แต่งตั้งให้
ยุธิษฐิระพี่ชายคนโตของพวกปาณฑพข้ึนเป็นมกฎุ ราชกุมารแห่งแคว้นกุรมุ สี ิทธิในการขึ้นครองราชย์ แต่เดิมของ
ท้าวปานฑุ ผลจากการนี้ทำให้พวกปานฑพยิ่งได้รับการยกย่องนับถือและมีอำนาจมากขึ้น การวางแผนเพื่อจะ
ทำลายลา้ งพวกปาณฑพ โดยทุรโยธนพ์ ช่ี ายคนโตของพวกเการพ เป็นต้นคดิ กเ็ กิดขนึ้ โดยมนี อ้ งชายคนสำคัญคือ ธุ
ชาศันย์และลงุ ของพน่ี ้องเการพคือ ท้าวศกุ นุ พิ ชี่ ายของพระนางคานธารี ซงึ่ เปน็ มีเลห่ ์เหล่ยี มรา้ ยกาจและเป็นจอม
วางแผนให้ รวมทั้งยังมีกรรณะเป็นคนให้การสนับสนุนเป็นสำคัญรวมอยู่ด้วย แผนการสังหารพวกพี่น้องปาณฑ
พถกู วางเอาไว้อย่างแยบยล ด้วยการใหม้ ีการสร้างบา้ นรับรองทีท่ ำด้วยขผ้ี งึ้ ติดไฟงา่ ยรอทา่ ไว้ และหลงั จากนัน้ ก็ไป
เชือ้ เชิญใหเ้ จา้ ชายปาณฑพท้งั ห้าพร้อมกับพระนางกุนตีไปพักผอ่ น (ทม่ี า: สุรยิ ะบตุ รเร่ืองเลา่ เรือ่ งย่อมหาภารตะ.
2562)

ในการนี้ทางราชสำนักกรุงอินทรปรัสถ์ได้เชื้อเชิญพระราชาจากแว่นแคว้นใกล้เคียงกัน ให้มาร่วมพิธี
บวงสรวง ราชศูรยะ เพื่อเฉลืมพระเกียรติ การดำเนินการดังกล่าวของพวกปาณฑพเป็นไปท่ามกลางความอิจฉา
ริษยาและเกลียดชังของพวกเการพเป็นอันมาก และเพื่อเป็นการตอบโต้และลดทอนอิทธิพลของพวกปาณฑพ

27

ท้าวศกุนิผู้เป็นลุงของทุรโยธน์ ได้แนะนำให้ใช้วิธีเชิญท้าวยุธิษฐิระมาเล่นเกมทอดสกาพนันกัน เพราะศกุนิซึ่ง
ได้ชื่อว่าเป็นคนมีวิชาในการเล่นสกา เชื่อว่าตัวเองจะเอาชนะและสร้างความอับอายให้กับพวกปาณฑพได้
(ทมี่ า: อ.วรี ะธรี ภัทรเลา่ มหากาพยม์ หาภารตะ. 2556)

มหาราชธฤตราษฎร์ผู้เปน็ พ่อของทุรโยธน์ ได้รบั การรอ้ งขอให้เอ่ยปากชวนยุธิษฐิระมาเล่นสกากัน แม้ว่า
ในตอนแรกท้าวธฤตราษฎร์จะไมค่ ่อยเหน็ ดว้ ยกับเล่หก์ ลดังกลา่ ว แต่ในที่สดุ ก็ทำตามคำขอรอ้ งของทุรโยธน์ โดยให้
ทา่ นวิฑูรเป็นคนเชิญให้ยุธษิ ฐริ ะมาเลน่ สกากนั ท่ีกรุงหัสตนิ าปุระการเลน่ ทอดสกาเกดิ ขึน้ ภายในอาคารที่ประชุมที่
เรียกวา่ สภา และเรือ่ งสำคัญเกิดขึ้น ณ ท่ีแห่งนีจ้ งึ ทำใหต้ อนนี้ ของมหากาพย์มหาภาระมีชือ่ ว่า สภาตอน ในการ
เล่นทอดสกาเพื่อพนันขันต่อกันนั้น ปรากฎว่ายุธิษฐิระปราชัยอย่างย่อยยับต้องเสียทรัพย์สมบัติ อัญมณี
เครือ่ งประดับทม่ี ีคา่ รถมา้ ศกึ ขา้ ทาสบรวิ าร ชา้ งม้า และในท้ายท่ีสดุ ยุธิษฐริ ะได้ขอเดมิ พนั ด้วยอาณาจักรที่ตนเอง
ปกครอง ซึ่งก็เสียพนันอีก ยุธิฐิระซึ่งบัดนี้ตกอยู่ในภาวะอันบ้าคลั่งของการพนันขันต่อก็เอาตัวเองและพี่น้อง
ปาณฑพอกี สี่คนเปน็ เดมิ พนั

แต่ก็แพ้อีกและถูกยั่วยจุ ากทรุ โยธนก์ ับศกุนใิ ห้ใชพ้ ระนางเทราปตีเป็นเดิมพัน ยุธษิ ฐิระต้องการเอาชนะให้
ได้ กต็ งลงเดิมพันดว้ ยพระนางเทราปตีและต้องพ่ายแพ้อีกครัง้ หนงึ่ เมือ่ พ่ายแพ้ ทุรโยธน์ก็บังคับให้ส่งตัวพระนาง
เทราปตีซง่ึ มีฐานะเปน็ ทาสจากการพนันให้ แตพ่ ระนางเทราปตไี ม่ยอมมาปรากฏตวั ทำให้ทุหศาสันลุแก่โทสะไป
จิกหัวลากตวั มาจากทีพ่ ักและนำตวั มายงั ที่ประชุมในสภา ทง้ั ยังดึงเสอ้ื ผา้ ของนางออกแต่ได้มนตข์ อง กฤษณะช่วย
ไวท้ ำใหผ้ า้ ที่ดึงยาวจนไม่หลุดออกจากตวั เทราปตี (ทม่ี า: สรุ ยิ ะบุตรเรือ่ งเลา่ เร่อื งยอ่ มหาภารตะ. 2562)

แต่การกระทำย่ำยีครัง้ นี้ทำให้ภีมะทนไม่ได้ประกาศก้องกลางที่ประชุมใหส้ ัตยส์ าบานว่าจะฉีกอกทุหศา
สันเพื่อดื่มเลือดสดๆ ถ้าหากจะต้องทำสงครามล้างอายในวันข้างหน้า ส่วนทุรโยธน์ซึ่งล่วงเกินพระนางเทราปตี
โดยบังคับให้มานัง่ บนตกั นั้น ภีมะก็ประกาศวา่ จะล้างแค้นด้วยการจะใช้คทาทุบสะโพกของทุรโยธน์ให้หักสะบั้น
เม่อื เหตกุ ารณ์รนุ แรงลุกลามบานปลายมาจนถึงขนั้ นี้ มหาราชธฤตราษฎรก์ เ็ ข้ามาไกล่เกลี่ยตามคำร้องขอของพระ
นางเทราปตี มหาราชธฤตราษฎร์ให้ยุติการเล่นพนันกินบ้านกินเมืองแล้วสั่งให้ทุรโยธน์ส่งมอบทุกสิ่งทุกอย่างที่
ยุธิษฐิระแพ้พนันกลับคืนให้จนหมดสิ้นเพื่อให้เลิกแล้วต่อกัน แต่ทุรโยธน์ซึ่งยังไม่หายแค้นก็ยังดันทุรังขอให้
มหาราชธฤตราษฎรผ์ เู้ ป็นบดิ าซ่งึ เป็นคนออ่ นไหวโลเล และตามใจลกู ชายให้เชญิ ยธุ ษิ ฐิระมาเล่นพนันทอดสกาเป็น
คร้งั สุดทา้ ย คราวน้ีตกลงกันวา่ ถ้าหากใครแพค้ นน้ันจะต้องลีภ้ ัยเป็นเวลาสิบสองปี และจะตอ้ งซ่อนตัวไม่ให้ใครพบ
เห็นในปีที่สิบสามอีกหนึ่งปี ก่อนจะกลับมาอยู่อยา่ งปกติในปีที่สิบสี่ (ที่มา: สุริยะบุตรเรื่องเล่า. เรื่องย่อมหาภา
รตะ. 2562) (ทีม่ า: อ.วรี ะธีรภัทรเลา่ มหากาพย์มหาภารตะ. 2556)

ในขณะทีค่ วามพยายามจะหาทางตกลงเพ่อื หลีกเล่ยี งสงครามดำเนินไปนน้ั ตา่ งฝ่ายต่างก็พยายามก่อต้ัง
พันธมิตรเพื่อเตรียมทำสงครามใหญ่ กฤษณะเองไดร้ ับการติดต่อจากสองฝ่ายเพื่อให้ร่วมกับฝ่ายตนและตกลงยก
กองทหารของตนให้กับทรุ โยธน์ไป ในขณะทีต่ กลงให้คำแนะนำทำหน้าท่ีปรึกษาและให้การสนับสนุนฝ่ายปาณฑพ
ตามคำขอของอรชุน ท้าวศัลยะเข้าร่วมรบกับฝ่ายเการพ แม้จะมีฐานะเป็นลุงของฝ่ายปาณฑพโดยทำหน้าที่เป็น

28

สารถีให้กับกรรณะ แต่ท้าวศัลยะก็รบั ปากกับยุธษิ ฐิระวา่ แม้จะตอ้ งทำหนา้ ทเ่ี ปน็ สารถบี งั คบั รถมา้ ศึกใหก้ รรณะ แต่
ก็จะพยายามทำทุกวิถที างเพื่อมใื ห้กรรณะได้เปรยี บในการทำศึกในระหว่างการเจรจาเพื่อหาทางยตุ ิสงคราม ทุร
โยธน์ปฏเิ สธที่จะทำข้อตกลงสันติภาพ แม้ว่าบรรดาผู้อาวุโสไม่ว่าจะเป็นท้าวธฤตราษฎร์ ผู้เป็นบิดาและพระนาง
คานธผี ู้เปน็ มารดาจะขอรอ้ งกต็ ามที สว่ นกฤษณะเองก็ใชค้ วามพยายามอย่างหนัก เพือ่ ชกั ชวนให้กรรณะมาอยู่ข้าง
ฝา่ ยปาณฑพเชน่ เดียวกับพระนางกนุ ตีก็ยอมเปิดเผยตัวในระหวา่ งไปพบเปน็ การส่วนตวั กับกรรณะ วา่ เป็นแม่ที่ให้
กำเนดิ เพอื่ ขอให้กรรณะยา้ ยขา้ งมาอยู่กับฝ่ายปาณฑพแต่ไมเ่ ป็นผลสำเรจ็ กรรณะตัดสินใจอยูก่ บั ฝ่ายเการพเพ่ือย้ำ
มิตรภาพระหว่างตนกับทุรโยธน์ แม้จะรู้ความลับชาติกำเนิดแล้ววา่ ตนเองเป็นลูกพระอาทิตย์กับพระนางกุนตีก็
ตามทีเมื่อถึงเวลากองทหารฝ่ายเการพและปาณฑพก็เดนิ ทางเขา้ สูส่ มรภูมิรบที่ทุ่งกุรุเกษตร ทางฝ่ายปาณฑพมีธ
ฤตทยุมน์เป็นผู้บัญชาการรบ ส่วนท้าวภีษมะรับหน้าที่เป็นผู้บัญชาการรบฝา่ ยเการพ (ที่มา: สุริยะบุตรเรื่องเล่า
เรอ่ื งยอ่ มหาภารตะ. 2562)

ถือเป็นเร่ืองการต่อสู้ระหวา่ งธรรมะกับอธรรมกเ็ กิดสงครามท่ีทุ่งกุรุในมหากาพย์มหาภารตะทีเ่ กิดข้นึ มา
ประมาณสามสี่พันปี ในระหว่างนั้น ยุธิษฐิระได้แสดงความวิตกกังวลถึงความร้ายกาจของกรรณะเพราะรู้ว่า
กรรณะได้รับของประทานจากเทพพระอาทิตย์โดยไม่มีใครสามารถทำลายชีวิตได้ ทำให้พระอินทร์ซึ่งได้รับ
คำแนะนำจากพราหมณ์ตอ้ งดำเนนิ การแก้ไขปญั หานี้ โดยท่กี รรณะได้รบั คำเตือนจากเทพพระอาทิตย์ไว้ก่อนแล้ว
วา่ พระอนิ ทร์ปลอมตัวไปขอเส้ือเกราะและต่างหูทเ่ี ปน็ อุปกรณ์รักษาชวี ิตจากกรรณะ ทำใหก้ รรณะต้องคิดหนักใน
เรอื่ งน้ี ติดตามความเข้มขน้ ที่มาถึงจุดแตกหกั กันถึงท่ีสุดแหง่ มหากาพย์ ในตอนนี้เองทเี่ รอ่ื งราวอันเป็นบทสนทนา
โตต้ อบทม่ี ีความยาวประมาณ 18 บทซ่ึงรจู้ ักกนั ในชื่อว่า ภควทั คีตา ได้สอดแทรกเขา้ มาเปน็ เนอ้ื หาหลัก เนื้อหาใน
บทสนทนาเป็นตอนที่กฤษณะส่ังสอนอรชนุ มิให้ลงั เลในการทำสงคราม แม้ว่าศัตรจู ะเปน็ ญาติของตนก็ตามที บท
สนทนาอันสวยสดงดงามและมีความยาวพอสมควร รวมถงึ มีฉากในการแสดงร่างอวตารของมหาเทพ การต่อสู้ซ่ึง
ดำเนนิ ไปเป็นเวลาสิบวนั มีเหตใุ หว้ าสเุ ทพกฤษณะ ได้แสดงถงึ อำนาจอกี ครัง้ โดยมนี ักรบวรี ชนคนกล้าของฝ่ายต่าง
รบกนั อยา่ งเอาเปน็ เอาตาย จนมีเหตุให้วาสเุ ทพกฤษณะ จนภีษมะวา่ ตนจะยตุ กิ ารสู้รบวางอาวุธดว้ ยเหตุเดยี ว คือ
เม่ือเผชญิ หนา้ กับ ศขิ ณั ฑิณ แล้วเม่ือนั้นจะวางอาวุธ (ท่มี า: อ.วีระธีรภัทรเลา่ มหากาพยม์ หาภารตะ. 2556)

พวกปาณฑพอาศยั คำแนะนำของภีษมะดงั กล่าว ดำเนินการใหศ้ ิขณั ฑณิ เผชญิ หน้ากับภีษมะ ภษี มะถกู ลูก
ธนูของศิขัณฑิณได้รับบาดเจ็บสาหัสจนร้องขอหลานของตนเหลา่ ปานฑพให้ทำการปลดปล่อยตนและลม้ ลงนอน
บนเตียงท่ที ำจากลูกศรท่ีอรชุนยงิ ถล่มเข้าใส่ทัว่ ร่างกายน่ันเอง เร่ืองราวมาจบลงตรงท่ีนักรบฝ่ายปาณฑพและเกา
รพต่างไปชมุ นมุ เพ่ือแสดงความเคารพต่อท้าวภีษมะทีน่ อนรอความตายอยู่บนเตียงลกู ศรกลางสมรภูมิ เรอ่ื งราวใน
ตอนต่อมา ในชื่อเรียกว่า โทรณตอน ซึ่งเป็นเรื่องราวการทำสงครามบนทุ่งกุรุเกษตรต่อไป และเนื่องจากโทรณา
จารย์ทำหน้าที่เป็นผู้บัญชาการรบฝ่ายเการพแทนท้าวภีษมะ จึงเป็นตัวละครที่มีบทบาทมากที่สุดตามการเรียก
ขานชอ่ื นีน้ ่ันเองเรือ่ งราวดำเนินต่อไป เมอ่ื โทรณาจารยร์ บั ช่วงต่อจากทา้ วภษี มะเปน็ ผ้บู ัญชาการรบฝ่ายเการพ ใน
การทำศกึ และกำลังจะเกดิ การสรา้ งความโกรธแคน้ ของท้ังสองฝ่ายจนทำใหเ้ กิดความสญู เสียทไ่ี ม่อาจจะเลี่ยงได้

29

ตอนอวสานสงครามบนทุ่งกรุ ุเกษตร ถือเปน็ ตอนจบอย่างสมบรู ณ์ ซ่งึ เรอื่ งราวท่เี หลือดำเนินไปถึงตอน
สุดท้ายในกรุงทวารกาของ พระกฤษณะ ตามคำสาปของ พระนางคานธารี ก่อนจะยุติลงเป็นตอนอวสานเมื่อ พี่
น้องปาฑพ เดินทางสู่สวรรค์และต้องล้มตายระหว่างทางทีละคนจนเหลือ คนสุดท้ายคือ ท้าวยุธิษฐิระ ความ
โกลาหลในโลกมนษุ ย์ จงึ ระงบั ลงไดด้ ้วยการอวตารลงมาปราบยุคของ พระกฤษณะ อันเปน็ นารายณ์อวตารปางท่ี
8 ในทีส่ ดุ (ท่มี า: สรุ ยิ ะบตุ รเร่อื งเลา่ . เรอื่ งย่อมหาภารตะ. 2562) (ทีม่ า: อ.วรี ะธีรภัทรเลา่ มหากาพย์มหาภารตะ.
2556)

การแบ่งกลมุ่ ของปรัชญาอินเดียจึงแบง่ ออกเปน็ กลุ่มใหญๆ่ ได้ 2 กลุ่ม คอื
1. กลุ่มอาสติกะ (Orthodox) คอื กลุม่ ท่ีเช่ือถอื คมั ภีร์พระเวทและยอมรบั ความสำคญั ของคัมภีร์

พระเวท กลุ่มอาสติกะยังแบ่งออกไปอกี 6 ระบบ คือ ปรัชญานยายะ ปรชั ญาไวเศษิกะ ปรัชญาสางขยะ ปรัชญา
โยคะ ปรัชญามีมางสา และ ปรัชญาเวทานตะ

2. กลุ่มนาสติกะ (Heterodox) คือ กลุ่มที่ไม่ยอมรับความสำคัญของคัมภรี ์พระเวทและไม่เชอื่
ถือในความศักดิ์สิทธิ์ของคัมภีร์พระเวท มี 3 ระบบ คือ ปรัชญาพุทธศาสนา ปรัชญาเชน และ ปรัชญาจารวาก
(พระมหามฆวินทร์ ปุริสุตฺตโม. มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย . ปรัชญาสากล : วิเคราะห์และวิจารณ์)
ปรัชญา 3 ระบบหลังนี้ปฏิเสธความสำคัญของพระเวทและแสดงท่าทีเป็นปฏิปักษ์ต่อคัมภีร์พระเวท
โดยโจ่งแจ้ง เช่น นักปรัชญาจารวากกล่าวว่า “พระเวทมีเนื้อความคลุมเครือ ไม่แจ้งชัด เต็มไปด้วยข้อความ
ที่หลอกลวง มีวิธีการชักจูงคนโง่เขลาให้เชื่อตามอย่างงมงาย การกล่าวถึงความสุขในสวรรค์นั้นเป็นการ
กล่าวอย่างเลื่อนลอยและไร้สาระ” นักปราชญ์เชนก็เช่นกัน ไม่เชื่อถือในพระเวทและตำหนิอย่างรุนแรง พอๆ
กบั พวกจารวาก สว่ นพุทธปรัชญาน้นั แมว้ า่ จะไม่เชือ่ ถือและไม่ยอมรบั ความสำคัญของพระเวทกต็ าม แต่กไ็ มต่ ำหนิ
เพียงแต่จะให้ผู้ศรัทธานับถือใคร่ครวญด้วยปัญญาอันมีเหตุผลเท่านั้น (พระมหามฆวินทร์ ปุริสุตฺตโม.
มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั . ปรัชญาสากล : วิเคราะห์และวิจารณ์)

ศาสนาในอนิ เดยี

ศาสนาฮินดู
คัมภีร์พระเวทเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และเก่าแก่ที่เกิดขึ้นในแถบลุ่มแม่น้ำสินธุ มากกว่า 3,000 ปี

พราหมณ์เป็นผู้แทนจากพระเจ้า พระเจ้าสมัยฮินดูเปลี่ยนจากการถือว่าพระพรหมเป็นเทพสูงสุด มานับถือ
นารายณ์เปน็ เทพสงู สุดเรียกว่า ปรพรหม พระองคป์ ระสงค์จะสร้างโลกจึงแบง่ เปน็ สามภาคเรยี กว่าตรีเทพหรือตรี
มรู ติถอื พระพรหมใหเ้ ป็นผสู้ ร้างโลก พระวษิ ณุใหเ้ ป็นผู้บรหิ ารโลก และพระศวิ ะให้เปน็ ผู้ทำลายโลก เป็นศาสนาที่
คนอินเดียนับถือมากที่สุด (ที่มา: สำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม โครงการ หอมรดกไทย. ประเทศเพื่อนบ้าน
ของไทย. ประเทศอนิ เดีย)

30

ศาสนาพทุ ธ
ถือกำเนิดในอินเดีย มากว่า2,500 กว่าปี เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา พระพุทธเจ้า

คัมภีร์ คือ พระไตรปิฎก ได้ทรงเริ่มออกเผยแผ่คำสอนในชมพูทวีป ตั้งแต่สมัยพุทธกาล แต่หลังปรินิพพานของ
พระพุทธเจ้า ได้ถูกรวบรวมเป็นหมวดหมู่ด้วยการสังคายนาพระธรรมวินัย จนมีขึ้นเป็นพระไตรปิฎก
พุทธปรัชญาเป็นปรัชญาที่ค้นพบโดยพระพุทธเจ้า เป็นปรัชญาที่หนักในความจริงที่เรียกว่า สัจนิยม (ที่มา:
พระไตรปฎิ ก เล่มท่ี 9 พระสุตตนั ตปฎิ ก เลม่ ที่ 1 ทฆี นกิ าย สีลขนั ธวรรค กฏู ทันตสตู ร. พระไตรปฎิ กฉบบั สยามรัฐ)

ศาสนาเชน
ศาสนาเชนเกิดขึ้นในประเทศอินเดีย “เชน” มาจากภาษาสันสกฤตว่า ไชน แปลว่าผู้

ชนะ ศาสนาเชนมีศาสดามาแล้ว 24 องค์ด้วยกัน ศาสดาองค์สุดท้ายมีนามว่า มหาวีระ มีชีวิตอยู่ ในยุคเดียวกับ
พระพทุ ธเจา้ คำว่า คมั ภีรท์ ่สี ำคัญ คือ คมั ภรี อ์ าคมะ หรือเรยี กอีกอยา่ งหนง่ึ วา่ สทิ ธานตะ (ท่ีมา: บรษิ ัท อมรนิ ทร์พ
ร้ินต้งิ แอนด์พับลิชชิ่ง จำกดั (มหาชน). ศาสนาเชน: วิถีแหง่ อหิงสา)

ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ หรือ ศาสนาสิข เป็นศาสนาใหม่ ถือกำเนิดขึ้นในประเทศอินเดีย เมื่อ พ.ศ. 2012

เกดิ ขน้ึ ระหวา่ งความขัดแย้งของศาสนาฮนิ ดูกับศาสนาอิสลาม ศาสนาซิกข์เปน็ ศาสนาโดยครุ ุศาสดาพระองค์แรก
คุรุนานัก และถูกนิยามว่าเป็นทั้งศาสนาเอกเทวนยิ ม และ พหุเทวนิยม ให้ถือพระคัมภีร์ คุรุกรันตสาหิบ (ที่มา:
เบญจภรณ์ ศรีเมอื ง. ศาสนาซิกข)์

ปรชั ญาจีน

ศาสนาในจนี
ลทั ธิเลา่ จ๊อื -เตา๋ เกดิ 600 ปีกอ่ นค.ศ. เล่าจ้ือเป็นปรมาจารย์ผู้ให้กำเนิดปรัชญาเต๋า มีชีวิตอยู่ในช่วงร่วม

สมยั กับขงจ้ือ เตา๋ ใช้เรียกแทนสง่ิ สมบูรณ์อันเปน็ เอกภาพของจกั รวาล เล่าจอื๊ สอนใหม้ ีเต๋าเปน็ อุดมคตเิ ป็นจดุ หมาย
ปลายทางสูงสุด มีจุดมุ่งหมายให้คนมุ่งเขา้ ทางธรรมหรอื สัจธรรม สละทางโลก ไม่สนใจลาภยศ มุ่งหาความสงบ
ดำรงชีวิตอย่างเรียบง่าย กลมกลืนกับธรรมชาติ มีคติมีเมตตากรุณา (ที่มา: ปานทิพย์ ศุภนคร มหาวิทยาลัย
รามคำแหง. ปรชั ญาจนี (Chinese Philosophy). E-book)

เครอื่ งหมายหยิน – หยาง ของลัทธิเล่าจือ๊ -เต๋า
สัญลกั ษณ์ประจำลทั ธิเตา๋ อนั หมายถึง อำนาจทีม่ บี ทบาทต่อกันของจักรวาลนักปราชญ์

สีดำ คือ หยิน หมายถึง ดวงจันทร์ เป็นตัวแทนของการเต็มใจ รับหรือยอมเปน็ ฝา่ ยถูกกระทำ เป็นพลงั
แห่งสตรีเพศ ความเยือกเยน็ การหยดุ น่งิ การเคลือ่ นลงตำ่ การเก็บรักษา การยับยงั้

สีขาว คือ หยาง หมายถึง ดวงอาทิตย์ อันเป็นสัญลักษณ์ของพลังแห่งบุรุษเพศ การเคลื่อนไหว ความ
กระตือรือร้น การเคล่ือนขึ้นไปด้านบน การเจริญเติบโต เจรญิ รงุ่ เรือง ความรอ้ นแรง

31

สัญลักษณ์หยิน-หยาง จึงแทนความสมดุลของพลังในจักรวาล (ที่มา: พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มหาวีร
วงศ์ นครราชสมี า. เครือ่ งหมายหยนิ – หยาง)

ลัทธิขงจื๊อ เกิด 551 ปีก่อนค.ศ. ขงจื้อเป็นนักปราชญ์ที่มีชื่อเสียงที่สุดในจีน เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลทาง
ความคิดมากที่สุดคงจะเป็นผู้ให้กำเนิดลักษณะเด่นของปรัชญาจีน คือ มันมนุษยนิยม ซึ่งหมายถึงการให้
ความสำคัญแก่บุคคลและสังคมมากกว่าพระเจ้าหรืออำนาจนอกเหนือธรรมชาติอื่นๆ (ที่มา: ปานทิพย์ ศุภนคร
มหาวิทยาลัยรามคำแหง. ปรัชญาจนี (Chinese Philosophy). E-book)

ลัทธิม่อจ๊อื เกิด 479-438 ปกี อ่ นค.ศ. ยึดความดีของกษตั ริย์โบราณ คือเป็นผูอ้ ทุ ิศตนเพื่อคนอ่ืนอย่างไม่
เห็นแก่ตัวไม่เห็นแก่ความเหน็ดเหนื่อย ตั้งใจที่จะมีชีวิตอยู่เพื่อช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ยาก สนใจที่จะแต่งกายให้
งดงามและสานศุ ิษย์แต่งกายด้วยเส้ือผ้าหยาบ รองเท้าฟาง ทำงานหนักทั้งวันทั้งคนื โดยไม่หยุด (ที่มา: ปานทิพย์
ศภุ นคร มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง. ปรัชญาจีน (Chinese Philosophy). E-book)

ลัทธิหยางจื้อ-เอี้ยงจือ๊ เกิด 440-366 ปีก่อนค.ศ. หยางจื้อ กล่าวว่า ความสุขของชีวิตนั้นคือ อาหารอัน
โอชะ เสื้อผ้าอันสวยงาม ดนตรีที่ไพเราะ และสิ่งสวยงามเจริญตาเจริญใจทั้งปวง หยางจื้อสอนให้แสวงหาความ
เกษมสำราญ ความอภิรมย์ของชีวิต เขาสอนให้คำนึงถึงผลประโยชน์ของตัวเองในจุดสำคัญเพราะสัญชาตญาณ
ของสัตว์โลกย่อมมีความรักตัวเอง ซ่ึงหยางจือ้ ขดั กบั ลัทธิม่อจื้อทีอ่ ทุ ิศตนทำเพื่อคนอ่ืน (ที่มา: ปานทิพย์ ศุภนคร
มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง. ปรัชญาจีน (Chinese Philosophy). E-book)

ลัทธิเม่งจื๊อ เกดิ 390-305 ปีก่อนค.ศ. เมง่ จอ๊ื หน่งึ ในกลมุ่ ผู้ตีความของขงจื้อที่มีชีวิตอยู่ช่วงก่อนราชวงศ์
ฮ่ัน เพิ่งจะรู้จักกนั ดีวา่ เป็นปราชญผ์ ยู้ งิ่ ใหญค่ นหน่ึง ถือวา่ เป็นศิษยเ์ อกของขงจื้อ เพราะเป็นคนรวบรวมคำสอนของ
ขงจื้อ (ที่มา: ปานทพิ ย์ ศภุ นคร มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง. ปรชั ญาจนี (Chinese Philosophy). E-book)

ลัทธิจังจ้ือ - จวงจื้อ เกิด 369-286 ปีก่อนค.ศ. จังจื้อ เลื่อมใสในคำสอนของเล่าจ๊ือมาก ได้อุทิศตน
ประกาศคำสอนของเล่าจือ๊ ไปอย่างกว้างขวาง ปรชั ญาของจงั จ้อื มงุ่ สอนใหค้ นดำเนนิ ชีวติ ท่สี อดคล้องกับธรรมชาติ
กลมกลืนกบั ธรรมชาติ ดำรงชีวติ อยอู่ ยา่ งเรียบง่ายเป็นอสิ ระโลกและชีวติ เป็นสรรพสิ่งลว้ นเกดิ จากธรรมชาติ จังจื้
อปฏิเสธการสร้างโลกของพระเจ้าเพราะทุกอย่างเกิดขึ้นมาและเป็นไปตามกฎธรรมชาติ

ลทั ธิซุนจือ๊ เกิด 298-238 ปีกอ่ นค.ศ. ซุนจ่อื มีชีวติ อยใู่ นชว่ งปลายราชวงศโ์ จว หลังจากท่ีเม่งจื้อเสียชีวิต
จึงได้เป็นขนึ้ ชื่อว่าผู้ท่ีเด่นอีกคนหน่ึง คำสอนของซุนจื้อ คอ่ นขา้ งจะแตกตา่ งจากคำสอนของเม่งจ้ืออยู่มาก เพราะ
ซนุ จ้ือเชอื่ วา่ ธรรมชาตขิ องมนษุ ย์มคี วามคิดทแี่ ตกตา่ งจากของเม่งจ้อื ท่เี ชื่อถอื วา่ มนุษยม์ ธี รรมชาติท่ีดีโดยธรรมชาติ
ส่วนซุนจื้อกลบั มคี วามเชื่อว่ามนุษย์มีธรรมชาติที่ชัว่ ร้ายโดยธรรมชาติ ซึ่งกล่าวว่าธรรมชาติของมนุษย์น้ันชัว่ ร้าย
ความดีของมนุษย์เป็นผลจากการกระทำ (ที่มา: ปานทิพย์ ศุภนคร มหาวิทยาลัยรามคำแหง. ปรัชญาจีน
(Chinese Philosophy). E-book)

ศาสนาพุทธในจีน พระพุทธศาสนาได้เข้ามาในประเทศจีน เมื่อประมาณ พ.ศ. 608 ในสมัยของ
พระจักรพรรดิเมง่ เตแ้ ห่งราชวงคฮ์ นั่ ไดจ้ ดั สง่ คณะทตู 18 คน พระพทุ ธศาสนาจะเปน็ ท่ีเลอ่ื มใสแตก่ ็ยงั จำกัดอยู่ใน

32

วงแคบ นักปราชญ์ได้แสดงหลักธรรมของพระพุทธศาสนา ให้ชาวเมืองได้เห็นถึงพระพุทธศาสนาเหนือกว่าลัทธิ
เดิม กับอาศัยความประพฤติอันบริสุทธิ์ของพระสงฆ์เป็นเครื่องจูงใจให้ชาวจีนเกิดศรัทธาเลื่อมใส จนทำให้
ชาวเมืองหันมานับถือพระพุทธศาสนามากกว่าลัทธิศาสนาอื่นๆ พระพุทธศาสนาก็เจริญรุ่งเรือง เริ่มเสื่อมลงเมอื่
พระเจ้าบจู๊ งขนึ้ ปกครองประเทศ เพราะพระเจา้ บู๊จงทรงเลอ่ื มใสในลทั ธิเตา๋ ปัจจุบนั ไดม้ กี ารฟน้ื ฟูพระพุทธศาสนา
ลัทธิมหายานข้ึนใหม่ นอกจากนี้รัฐบาลจีนยังให้การสนับสนุนจัดตั้งพุทธสมาคมแห่งประเทศจีน และสภ า
การศึกษาพระพุทธศาสนาแห่งประเทศจีนขึ้นในกรุงปักกิ่งอีกด้วย เพื่อเป็นศูนย์กลางการติดต่อเผยแผ่
พระพุทธศาสนากบั ประเทศต่างๆ ท่วั โลก และชาวจนี สว่ นใหญน่ ับถือพระพุทธศาสนาคไู่ ปกับลัทธิขงจ้ือ และเต๋า
(ท่ีมา: กองคลงั มหาวทิ ยาลัยหวั เฉียวเฉลมิ พระเกยี รติ. พระพุทธศาสนาบนแผน่ ดนิ จีน)

ปรัชญาการศกึ ษา

ในช่วงตน้ ของการสร้างกรงุ รัตนโกสนิ ทร์ คือ ระหวา่ งปี พ.ศ.2325-2426ความมุ่งหมายของการศึกษาใน
ขณะนั้นคือ การให้สามารถ อ่าน-เขียนภาษาไทย และคิดเลข สมัยรัชกาลที่ 5 ประเทศไทยได้รับอิทธิพลจาก
แนวคิดการจัดการศึกษาของประเทศยุโรป พระองค์ทรงตั้งโรงเรียนพระตำหนกั สวนกุหลาบขึ้น สมัยรัชกาลที่ 6
ประเทศไทยเริ่มมีแผนการศึกษาและเริ่มมกี ารนำปรัชญาและทฤษฏกี ารศึกษาจากประเทศยุโรปมาดัดแปลงใช้ใน
โรงเรียนฝกึ หดั ครู

การแบ่งยคุ ของการศกึ ษาไทย
การจัดการศึกษาของไทยมีวิวัฒนาการมาตั้งแต่สมัยโบราณเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ด้วยความเชื่อที่ว่า
การศึกษาช่วยกำหนดทศิ ทางของชาติ เพื่อพัฒนาคนไทยให้มคี วามพร้อมที่จะเป็นกำลงั สำคัญสำหรบั การพัฒนา
ประเทศให้เจริญกา้ วหนา้ การศึกษาไทยแบ่งออกเปน็ 3 ยุค ดังน้ี (การศึกษาในสงั คมไทย, 2554 : ออนไลน์)
1. การศึกษาไทยสมยั โบราณ (พ.ศ.1780 – 2411)

1.1 การศกึ ษาไทยสมยั กรุงสุโขทัย (พ.ศ.1781 – 1921)
1.2 การศึกษาไทยสมยั กรุงศรีอยุธยา (พ.ศ.1893 – 2310)
1.3 การศกึ ษาไทยสมยั กรงุ ธนบรุ ีและกรงุ รตั นโกสนิ ทรต์ อนต้น (พ.ศ.2311 – 2411)
2. การศกึ ษาไทยสมยั ปฏริ ูปการศกึ ษา (พ.ศ.2412 - พ.ศ.2474)
3. การศกึ ษาไทยสมัยการปกครองระบอบรฐั ธรรมนูญถงึ ปัจจบุ นั (พ.ศ.2475 – 2554)
การศกึ ษาในรปู แบบโรงเรียนของไทยนนั้ เพ่ิงจะเกิดข้นึ อย่างเป็นทางการในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัวฯ เปน็ ตน้ มา การศกึ ษาของก่อนหน้าน้ันจะเป็นอย่างไรหลักฐานทีแ่ น่นอนถูกต้องตาม
ความในเรื่องนี้มีอยู่ไม่มากนัก และที่มีอยู่ก็เป็นแค่การสันนิษฐานเอาเอง โดยอาศัยหลักฐานแวดล้อมจาก
พงศาวดารหลายฉบบั แต่กพ็ อจะทราบว่าการจัดการศกึ ษาของไทยมีววิ ัฒนาการมาโดยตลอด อาจจะเป็นเพราะ
มีปจั จยั ทง้ั ภายในและภายนอกประเทศทำให้สังคมมีการเปล่ียนแปลง กล่าวคือปจั จยั ภายในเกดิ จากความต้องการ
พัฒนาสังคมใหม้ ีความเจรญิ และทนั สมยั ส่วนปัจจยั ภายนอกเกิดจากกระแสความเปลยี่ นแปลงของสังคมโลก ท้ัง

33

ด้านเศรษฐกิจและการเมือง ตลอดจนการติดต่อสื่อสารกันทำให้ไทยต้องปรับตัวเพื่อความอยู่รอดและพัฒนา
ประเทศให้ทัดเทียมกับนานาประเทศ การจัดการศึกษาของไทยมวี ิวัฒนาการเรื่อยมา ซึ่งเป็นปัจจัยที่ช่วยเสรมิ
ความเจริญกา้ วหนา้ ทง้ั ทางดา้ นสังคม เศรษฐกิจและการเมืองของชาติ

ปรัชญาการศกึ ษา ตามแนวพุทธธรรมโดยพระธรรมปิฎก

จากพระธรรมปิฎกตั้งแต่ครง้ั ยังดำรงสมณศกั ดเ์ิ ปน็ พระราชวรมุนี ไดอ้ ธิบายวา่ ชีวิตเกิดจาการรวมตวั ของ
องค์ประกอบต่าง ๆ จำนวนมากจึงไดจ้ ดั เป็น 2 ประเภท คือ องค์ประกอบทางรา่ งกายและจิตใจ ซงึ่ ทุกส่วนจะมี
การเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาไปตามสัมพันธ์แหง่ เหตุปัจจัยต่าง ๆ “การศึกษามีวตั ถุประสงค์เพื่อทำใหช้ ีวิตเข้าถึง
อิสรภาพคอื ทำใหช้ ีวติ หลุดพ้นจากอำนาจครอบงำของปัจจัยแวดล้อมภายนอกให้มากที่สุด และมีความเป็นใหญ่
ในตัวในการที่กำหนดความเป็นอยขู่ องตนให้มากทส่ี ุด

การมีความรู้ ความเข้าใจในสภาวะของสิ่งทั้งหลายตามความจริง เพื่อประโยชน์ในการปรับตัวและ
สิ่งแวดล้อมอย่างถูกตอ้ งและการแก้ปัญหาอย่างถูกต้อง การทำลายอวิชชา เป็นภาวะแห่งความไม่รู้หรือหลงผดิ
และการทำลายตัณหา

การปรับตัวเพื่อเพิ่มพูนความสามารถในการดำรงอยู่ การพัฒนาทางองค์ประกอบทางด้านร่างกายให้มี
สุขภาพดี แข็งแรง และการพัฒนาองค์ประกอบทางด้านจิตใจให้มีสติปัญญา และคุณธรรมมากขึ้นการรู้จักและ
เข้าใจ ถึงความเกีย่ วข้องสัมพันธ์กันของตนกับสิ่งแวดล้อมและการรู้จักปรับส่ิงแวดล้อมเปน็ ประโยชน์แก่ตน โดย
การรู้จกั เอาประโยชนจ์ ากส่งิ แวดลอ้ มแต่พอสมควรเทา่ ที่มอี ยู่

ปรชั ญาการศกึ ษาไทยตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ภมู พิ ลอดุลยเดช
ประเทศไทยเชน่ เดียวกับประเทศอื่น ๆ ทั่วโลกที่ต้องเผชญิ กบั ภาวะวกิ ฤตด้านต่าง ๆที่เปลี่ยนแปลงทาง
สังคม เศรษฐกจิ การเมอื ง และสิง่ แวดลอ้ ม

ความหมายของการศกึ ษา
จากกระแสพระราชดำรัสและพระราชกรณียกิจต่าง ๆ การศึกษาเป็นเสมือนเคร่ืองมือในการพัฒนา
มนษุ ยท์ กุ ดา้ น ทั้งดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ และสติปญั ญา เพ่ือชว่ ยใหเ้ ป็นพลเมอื งดีมีคุณภาพและมปี ระสิทธิภาพ

จุดมงุ่ หมายของการศกึ ษา
การศึกษาต้องมุ่งพัฒนาและเพิ่มพูนองค์ความรู้ใหม่ พัฒนาศักยภาพของผู้เรียน มุ่งสร้างปัญญา และ
คณุ ธรรมของชีวิตเพ่ือช่วยให้ผเู้ รยี นสามารถดำรงชีวิตเพอื่ ตนเอง พึ่งพาตนเองได้
แนวทางการจดั การศกึ ษา
เพ่ือใหบ้ รรลจุ ดุ มุ่งหมายของการศกึ ษา การจดั การศึกษาด้านวิชาการโดยการตอ่ ยอดความรคู้ วบคู่ไปกับ
การฝึกฝน ขัดเกลาทางความคิดความประพฤติและคุณธรรมโดยให้มีความเข้าใจในหลักเหตุผล มีความซื่อสัตย์
สจุ ริต ร้จู ักรบั ผดิ ชอบและตดั สินใจในทางที่ถูกตอ้ ง

34

หลกั แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง

การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่
ประมาท โดยคำนึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความ
รอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทำ
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มหี ลกั พจิ ารณาอยู่ 5 สว่ น ดังนี้

1. กรอบแนวคดิ เป็นปรัชญาที่ชแี้ นะแนวทางการดำรงอยแู่ ละปฏิบัติตนในทางท่ี ควรจะเป็น โดย มีพื้นฐาน
มาจากวถิ ีชวี ิตดง้ั เดิมของสังคมไทย สมารถนำมาประยกุ ต์ใชไ้ ด้ตลอดเวลา และเปน็ การมองโลกเชิงระบบท่ีมีการ
เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤต เพื่อ ความมั่นคง และ ความยั่งยืน ของการ
พฒั นา

2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการ
ปฏบิ ัติบนทางสายกลาง และการพฒั นาอย่างเปน็ ข้ันตอน
คำนยิ าม ความพอเพยี งจะตอ้ งประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ พรอ้ ม ๆ กัน ดังนี้

2.1 ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีท่ีไมน่ อ้ ยเกนิ ไปและไม่มากเกนิ ไปโดยไมเ่ บียดเบียนตนเองและ
ผูอ้ ื่น เช่นการผลติ และการบรโิ ภคทอ่ี ยใู่ นระดบั พอประมาณ

2.2 ความมีเหตผุ ล หมาย ถงึ การตดั สินใจเกีย่ วกับระดบั ของความพอเพยี งนัน้ จะตอ้ งเปน็ ไปอย่างมเี หตุผล
โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคำนึง ถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้น ๆ อย่าง
รอบคอบ

2.3 การมีภูมคิ มุ้ กนั ท่ดี ีในตัว หมาย ถึง การเตรียมตัวให้พรอ้ มรบั ผลกระทบและการเปล่ียนแปลงด้านต่าง
ๆ ทจี่ ะเกิดข้นึ โดยคำนงึ ถงึ ความเปน็ ไปไดข้ องสถานการณ์ ตา่ ง ๆ ทค่ี าดวา่ จะเกิดข้นึ ในอนาคตทงั้ ใกลแ้ ละไกล

3. เง่อื นไข การตัดสนิ ใจและการดำเนินกจิ กรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงน้นั ตอ้ งอาศยั ท้งั ความรู้ และ
คณุ ธรรมเปน็ พ้นื ฐาน กลา่ วคือ

4. เงอ่ื นไขความรู้ ประกอบ ดว้ ย ความรอบรู้เก่ียวกบั วชิ าการตา่ ง ๆ ทีเ่ ก่ียวขอ้ งอยา่ งรอบด้าน ความรอบคอบ
ที่จะนำความรูเ้ หลา่ นั้นมาพจิ ารณาใหเ้ ชือ่ มโยงกนั เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวงั ในข้ันปฏบิ ัติ

5. เงอ่ื นไขคุณธรรม ทีจ่ ะตอ้ งเสริมสร้างประกอบด้วย มคี วามตระหนักในคณุ ธรรม มคี วามซือ่ สัตย์สุจริตและ
มีความอดทน มีความเพยี ร ใช้สตปิ ัญญาในการดำเนนิ ชวี ติ

แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ จาก การนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การ
พัฒนาที่สมดลุ และยงั่ ยืน พร้อมรับตอ่ การเปลย่ี นแปลงในทกุ ด้าน ท้ังดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม ส่ิงแวดลอ้ ม ความรู้และ
เทคโนโลยี

35

“ ถา้ ไมม่ ี เศรษฐกิจพอเพยี ง เวลาไฟดบั …
จะพังหมด จะทำอย่างไร. ท่ที ่ีตอ้ งใชไ้ ฟฟา้ กต็ ้องแยไ่ ป.

… หากมี เศรษฐกิจพอเพยี ง แบบไมเ่ ตม็ ที่
ถ้าเรามเี คร่อื งปนั่ ไฟ กใ็ ห้ปั่นไฟ

หรือถา้ ขนั้ โบราณกวา่ มดื ก็จดุ เทยี น
คือมที างทีจ่ ะแกป้ ญั หาเสมอ.

… ฉะน้ัน เศรษฐกจิ พอเพียง นี้ ก็มีเป็นข้นั ๆ
แตจ่ ะบอกว่า เศรษฐกจิ พอเพียง นี้

ใหพ้ อเพียงเฉพาะตัวเองรอ้ ยเปอรเ์ ซน็ ต์ น่ีเป็นส่ิงท่ีทำไมไ่ ด.้
จะตอ้ งมกี ารแลกเปลยี่ น ต้องมีการชว่ ยกัน.

…… พอเพยี งในทฤษฎีหลวงน้ี คอื ให้สามารถที่จะดำเนนิ งานได.้ “
พระราชดำรัสเนอ่ื งในโอกาสวันเฉลิมพระชนพรรษา 23 ธนั วาคม 2542

การขับเคล่อื นเศรษฐกจิ พอเพียงด้านการศึกษา

ในการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการศึกษานั้น จะต้องมุ่งพัฒนาที่ตัวครูก่อนเป็น
อนั ดับแรก เพราะครถู อื วา่ เป็นทรพั ยากรที่สำคัญในการถ่ายทอดความรู้ และปลกู ฝังส่งิ ต่างๆ ใหแ้ ก่เด็ก ดังนั้นจึง
ควรส่งเสริมครใู ห้มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกับหลกั เศรษฐกิจพอเพียงอย่างถ่องแท้ก่อน เพราะเม่ือครูเข้าใจ ครูก็
จะได้เป็นแบบอย่างทีดีให้แก่เด็กได้ ครูจะสอนให้เด็กรู้จักพอ ครูจะต้องรู้จักพอก่อน โดยอยู่อย่างพอเพียงและ
เรียนรู้ไปพรอ้ มๆ กับเด็ก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ต้องมีสติในการเลือกรับข้อมลู ต่างๆ ที่เข้ามา รู้จักเลือกรับและร้จู กั
ต่อยอดองค์ความรทู้ ่ีมอี ยู่ หมนั่ ศกึ ษา เพิ่มพูนความรู้ อยา่ งเป็นขั้นเปน็ ตอน ไม่ก้าวกระโดด ในการเลือกรับข้อมูล
นั้น ต้องรู้จักพิจารณารับอย่างเป็นขั้นเป็นตอน รู้จักแก้ไขปัญหาอย่างเป็นขั้นเป็นตอน ประเมินความรู้และ
สถานการณ์อยู่ตลอดเวลา จะได้รู้จัก และเตรียมพร้อมทีจ่ ะรับมือกับสภาพ และผลจากการเปลีย่ นแปลงในมติ
ต่างๆได้อยา่ งรอบคอบและระมัดระวัง

เป้าหมายสำคัญของการขับเคลื่อน คือ การทำให้เด็กรู้จักความพอเพยี ง ปลูกฝัง อบรม บ่มเพาะให้เด็กมี
ความสมดลุ ทางเศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดลอ้ ม และวฒั นธรรม โดยสอดแทรกแนวคิดปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ให้เข้าเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตร สาระเรียนรู้ต่างๆเพื่อสอนให้เด็กรู้จักการใช้ชีวิตได้อย่างสมดุล ตามแนวทาง
เศรษฐกจิ พอเพียง เห็นคุณคา่ ของทรพั ยากรตา่ งๆ รจู้ ักอยรู่ ่วมกบั ผู้อ่ืน รูจ้ ักเออื้ เฟอ้ื เผอื่ แผ่และแบง่ ปัน มจี ติ สำนึก
รกั ษ์สิ่งแวดลอ้ ม และเห็นคณุ ค่าของวัฒนธรรมค่านยิ ม ความเปน็ ไทย ทา่ มกลางการเปล่ยี นแปลงต่างๆ รูว้ ่าตนเอง
เป็นองค์ประกอบหนึ่งในสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมของโลก การกระทำของตนย่อมมีผลและเชื่อมโยงกับ
สภาพแวดล้อมในโลกที่ตนเองเป็นสมาชิกอยูด่ ้วย ซึ่งการจะบรรลุเป้าหมายดังกล่าวข้างต้น สำคัญคือครูจะต้อง
รู้จักบูรณาการการเรียนการสอนให้เด็กและเยาวชนเห็นถึงความเชื่อมโยงในมิติต่างๆ ทั้งด้านสิ่งแวดล้อม

36

วัฒนธรรม สังคม และเศรษฐกจิ ซึ่งความเปน็ องค์รวมนีจ้ ะเกดิ ขน้ึ ได้ ครูต้องโดยใช้ความรู้และคุณธรรมเป็นปัจจัย
ในการขับเคลอ่ื น

นอกจากนี้ ในการส่งเสริมให้นำหลักปรัชญาฯไปใช้ในสถานศึกษาต่างๆ นั้น อาจจะใช้วิธี “เข้าใจ เข้าถึง
และพัฒนา” ตามหลักการของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวว่า สำคัญที่สุดครูต้องเข้าใจเรื่องปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี งกอ่ น โดยเขา้ ใจว่าแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งน้นั เปน็ แนวคดิ ทส่ี ามารถเรม่ิ ต้น และ
ปลูกฝังได้ผ่านการทำกจิ กรรมต่างๆ ในโรงเรยี น เช่น กิจกรรมการรักษาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนการกำจัดขยะใน
โรงเรยี นการสำรวจทรัพยากรของชุมชนฯลฯ

กอ่ นอน่ื ครตู ้องเขา้ ใจเรอ่ื งเศรษฐกิจพอเพยี ง ทำตัวเป็นแบบอย่างท่ีดี โดยกลับมาพจิ ารณาและวิเคราะห์ดู
ว่า ในตัวครูนั้นมีความไม่พอเพียงในด้านใดบ้าง เพราะการวิเคราะห์ปัญหาจะทำให้รูแ้ ละเข้าใจปัญหา ที่เกิดจาก
ความไม่พอเพียง รวมทั้งควรให้เด็กมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ปัญหาด้วย โดยการวิเคราะห์นี้ต้องดำเนินไปบน
พื้นฐานของความรูแ้ ละคณุ ธรรม โดยเฉพาะคุณธรรมนั้น เป็นสิ่งที่ควรปลูกฝงั ให้เกดิ ขึ้นในใจเด็กให้ได้ก่อน ผ่าน
กิจกรรมที่ครูเป็นผู้คิดขึ้นมา โดยครูในแต่ละโรงเรียนจะต้องมานั่งพิจารณาก่อนว่า จะเริ่มต้นปลูกฝัง แนวคิด
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งจากจดุ ไหน ทุกคนควรมาร่วมกันคดิ ร่วมกันทำ สามัคคีกันในกระบวนการหารือ

หลังจากที่ครูได้ค้นหากิจกรรมที่จะปลูกฝังแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแล้ว ครูควรจะต้องตั้ง
เป้าหมายการสอนก่อนว่าครูจะสอนเด็กให้รู้จักพัฒนาตนเองได้อย่างไรโดยอาจเริ่มต้นสอนจากกิจกรรม
เล็กๆนอ้ ยๆ ที่สามารถเรม่ิ ตน้ จากตัวเดก็ แต่ละคนให้ได้ก่อน เช่น การเกบ็ ขยะ การประหยัดพลังงาน ฯลฯ เพื่อให้
เดก็ ไดเ้ รยี นรูถ้ ึงความเชอ่ื มโยงระหวา่ งปจั จัย ที่ตนเองมีตอ่ สิง่ แวดล้อมภายนอกในดา้ นต่างๆ 4 มิติ

ในส่วนของการเขา้ ถึงน้ัน เม่อื ครเู ข้าใจแล้ว ครตู ้องคดิ หาวิธีที่จะเข้าถึงเดก็ พจิ ารณาดูก่อนว่าจะสอดแทรก
กิจกรรมการเรยี นรู้เศรษฐกจิ พอเพยี ง เข้าไปในวธิ ีคดิ และในวชิ าการตา่ งๆ ได้อย่างไร ทัง้ น้ี อาจจัดกจิ กรรมกลุ่มให้
นักเรียนได้ร่วมกันคิด ร่วมกันทำ รู้จักแบ่งหน้าที่กันตามความสามารถของเด็กในแตล่ ะช่วงชั้น เช่น ในกิจกรรม
การเกบ็ ขยะเพอื่ รกั ษาความสะอาดของโรงเรียนนัน้ ครูอาจจดั กจิ กรรมสำหรับเดก็ ในแต่ละช่วงช้ัน คือ ชว่ งช้ันท่ี 1
สร้างกิจกรรมที่สนับสนุนให้เด็กช่วยกันเก็บขยะ (ให้เด็กรู้หน้าที่ของตน ในระดับบุคคล)/ ช่วงชั้นที่ 2 สร้าง
กจิ กรรมที่สนบั สนนุ ให้เด็กชว่ ยกันเก็บขยะและนับขยะ (ใหร้ ูจ้ กั การวเิ คราะหแ์ ละรู้ถึงความเชอ่ื มโยงของตนเองกับ
สมาชิกคนอื่นๆ ในโรงเรียน) / ช่วงชั้นที่ 3 สร้างกิจกรรมที่สอนให้เด็กรู้จักเชื่อมโยงกับชุมชนภายนอกรอบๆ
โรงเรียน เช่น สร้างกิจกรรมที่สอนให้เด็กรู้จักแบ่งแยกขยะ ร่วมมือกับชุมชนในการรักษาสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ที่
โรงเรยี นและชุมชนของเขาต้งั อยดู่ ว้ ย

กิจกรรมทั้งหมดนี้สำคัญคอื ต้องเน้นกระบวนการมสี ่วนร่วมของทกุ ฝ่าย โดยสถานศึกษาควรตั้งเป้าให้เกิด
การจดั การศึกษาตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียง สอดแทรกเขา้ ไปในกระบวนการเรียนรู้ สอนใหเ้ ดก็ พ่งึ ตนเอง
ใหไ้ ด้กอ่ นจนสามารถเป็นที่พึ่งของคนอน่ื ๆในสงั คมไดต้ อ่ ไป

37

การจัดการศึกษาตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพยี ง

การจัดการศึกษาตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถดำเนินการได้ใน 2 ส่วน ส่วนที่เกี่ยวข้องกับ
การบริหารสถานศึกษา และส่วนทีเ่ ป็นการจัดการเรยี นรู้ของผูเ้ รียน ซึ่งส่วนท่ี 2 นี้ ประกอบดว้ ย การสอดแทรก
สาระเศรษฐกิจพอเพียง ในหลักสูตรและสาระเรียนรู้ในห้องเรียนและประยุกต์หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการจัด
กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน

การขับเคลื่อนเศรษฐกจิ พอเพียงด้านการศกึ ษาในระยะแรก ไดเ้ ริ่มจากการไปค้นหากิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี นท่ี
มีคุณลักษณะ และการจัดการที่สอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือพอประมาณกับศักยภาพของนักเรียน
พอประมาณกับภูมิสังคมของโรงเรียนและชุมชนที่ตั้ง เช่น เด็กช่วงชั้นที่ 2 ทำสหกรณ์ได้ เด็กช่วงชั้นที่ 4 ดูแล
สิ่งแวดล้อม มีการส่งเสริมให้ใช้ความรู้อย่างรอบคอบระมัดระวัง ฝึกให้เด็กคิดเป็นทำเป็นอย่างมีเหตุผล และมี
ภูมิคุ้มกันส่งเสริมใหเ้ ด็กทำงานร่วมกับผู้อืน่ มีความซื่อสัตย์ สุจริต รับผิดชอบ ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่น มีวินัย มี
สัมมาคารวะ ปลูกฝังจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม สืบสานวัฒนธรรมไทย กล่าวคือ สอนให้ผู้เรียน ยึดมั่นในหลัก
ศีลธรรม พัฒนาคนให้เขารู้จักทำประโยชน์ให้กับสังคมและช่วยดูแลรักษาส่ิงแวดล้อม และตัวกิจกรรมเองก็ตอ้ ง
ยงั่ ยนื โดยมีภูมคิ ุม้ กนั ในด้านตา่ งๆ ถงึ จะเปล่ียนผอู้ ำนวยการแตก่ จิ กรรมก็ยังดำเนินอย่อู ยา่ งนี้เรยี กว่ามีภมู คิ มุ้ กัน

การค้นหาตัวอย่างกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ก็เพื่อให้มีตัวอย่างรูปธรรม ในการสร้างความเข้าใจภายในวง
การศึกษาว่าหลักเศรษฐกจิ พอเพยี งหมายความว่าอยา่ งไร และสามารถนำไปใชใ้ นกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนได้อยา่ งไร
บ้าง หลงั จากนน้ั กส็ ่งเสรมิ ใหบ้ ูรณาการการเรียนรผู้ ่านกิจกรรมเหลา่ นี้ เขา้ ไปในการเรียนรสู้ าระตา่ งๆ บูรณาการ
เข้ากับทุกสาระเรยี นรู้ เช่น วิทยาศาสตร์ เพื่อทำให้เกิดสมดุลทางสิ่งแวดล้อม บูรณาการเข้ากบั วชิ าคณิตศาสตร์
ในการสอนการคำนวณที่มีความหมายในการดำรงชีวิตอย่างพอเพียง หรือบูรณาการเข้ากับสาระภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ สุขศึกษา พลศึกษา การงานอาชพี เทคโนโลยตี ่างๆ ไดห้ มด นอก เหนอื
จากการสอนในสาระหลกั คือในกลมุ่ สาระสงั คมศกึ ษาศาสนาวฒั นธรรมเท่านั้น

สำหรับมาตรฐานการเรียนรู้ มีวัตถุประสงค์ให้ทุกช่วงชั้นเข้าใจหลักเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถ
ประยุกต์ใชไ้ ด้ แต่ถา้ มาตรฐานเรยี นรขู้ องทกุ ชว่ งช้นั เหมือนกนั หมดกจ็ ะมีปัญหาทางปฏบิ ัติ จงึ ต้องกำหนดขอบเขต
ท่ีชดั เจนในการเรยี นการสอนของแต่ละชว่ งชั้นและแตล่ ะชน้ั ปีดงั น้ี

ช่วงชั้นที่ 1 เน้นให้เด็กพึ่งตนเองได้ หรือใช้ชีวิตพอเพียงระดับบุคคลและครอบครัว เช่น ประถม 1
ช่วยเหลอื คณุ พ่อคุณแม่ล้างจานชาม เกบ็ ขยะไปทิ้ง กวาดบา้ น จัดหนงั สือไปเรียนเอง แบ่งปันส่ิงของให้เพ่ือน กิน
อาหารให้หมดจาน ประถม 2 วิเคราะห์รายจ่ายของครอบครวั จะมเี ป็นตารางกรอกค่าใชจ้ ่ายต่างๆ ของครอบครัว
คุณแม่ซื้ออะไรบ้าง คุณพ่อซื้ออะไรบ้าง เด็กจะได้รู้พ่อแม่หาเงินมายากแค่ไหน เช่น ยาสีฟันหลอดละ 46 บาท
จะต้องไม่เอามาบีบเล่น จะต้องสอนใหเ้ ด็กเห็นคุณค่าของสิ่งของ ให้เด็กตระหนักถึงคุณค่าของเงินทอง จะได้ฝึก
นิสัยประหยัด ครอบครัวมีรายได้และรายจ่ายเท่าไร เด็กจะได้ฝึกจิตสำนึกและนิสัยพอเพียง มีหลายโรงเรียนทำ

38

แล้ว ประถม 3 สอนให้รู้จักช่วยเหลือครอบครัวอย่างพอเพียงและรู้จักแบ่งปันช่วยเหลือผู้อื่นมีส่วนร่วมสร้าง
ครอบครัวพอเพียง

ช่วงชั้นที่ 2 ฝึกให้เด็กรูจ้ ักประยุกต์ใชห้ ลักความพอเพียงในโรงเรียน สามารถวิเคราะหว์ างแผนและจดั ทำ
บันทึกรายรับ-รายจ่ายของตนเองและครอบครัวอย่างมีประสิทธภิ าพ มีส่วนรว่ มในการสรา้ งความพอเพยี งระดบั
โรงเรียน และชุมชนใกล้ตัว โดยเริ่มจากการสำรวจทรัพยากรต่างๆ ในโรงเรียนและชุมชน มีส่วนร่วมในการดแู ล
บำรงุ รักษาทรพั ยากรต่างๆ ท้งั ดา้ นวตั ถุ สงิ่ แวดล้อม ภูมปิ ญั ญา วฒั นธรรม และรวบรวมองค์ความรู้ตา่ งๆ มาเป็น
ข้อมลู ในการเรยี นร้วู ิถชี ีวติ ของชมุ ชนและเหน็ คุณคา่ ของการใชช้ ีวติ อย่างพอเพยี ง

ช่วงชั้นที่ 3 ประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงกับชุมชน มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน สามารถ
สำรวจและวิเคราะห์ความพอเพียงในระดับตา่ งๆ และในมิติตา่ งๆ ทั้งทางวัตถุ สงั คม สง่ิ แวดลอ้ ม และวัฒนธรรม
ในชุมชนใกล้ตัว เห็นคุณค่าของการใช้หลักพอเพียงในการจัดการชุมชน และในที่สุดแล้วสามารถนำหลักการ
พอเพียงมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันของแต่ละคน จนนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสู่ความพอเพียงได้ใน
ทส่ี ดุ

ช่วงชนั้ ท่ี 4 เตรียมคนให้เปน็ คนทดี่ ตี ่อประเทศชาติสามารถทำประโยชน์ใหก้ ับสงั คมได้ ตอ้ งเรมิ่ เข้าใจความ
พอเพียงระดับประเทศ และการพัฒนาประเทศภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ เช่น การวิเคราะห์สถานการณ์การค้า
ระหว่างประเทศ หรือการศึกษาสถานการณส์ ิ่งแวดล้อมสภาพปญั หาด้านสังคมเป็นอย่างไรแตกแยกหรือสามัคคี
เปน็ ต้น

ขณะนี้คณะทำงานขับเคล่ือนดา้ นการศกึ ษาและเยาวชน ทำงานรว่ มกบั กระทรวงศกึ ษาธิการ และอกี หลาย
หน่วยงาน วิสยั ทศั นข์ องการขบั เคลือ่ น คือ สานเครอื ขา่ ย ขยายความรู้ ควบคู่ประชาสมั พันธ์ เพ่ือส่งเสริมความรู้
ความเข้าใจในหลกั ปรัชญาฯ และใหบ้ ุคลากรด้านการศกึ ษา สามารถนำหลักคิดหลักปฏิบัติเศรษฐกิจพอเพียง มา
บูรณาการสู่การเรียนการสอนในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ของทุกระดับได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และเป็นรูปธรรม
ตลอดจนผบู้ ริหารสามารถนำหลกั ปรัชญาฯ ไปใชใ้ นการบรหิ ารสถานศึกษาเพอื่ ให้เกิดประโยชน์และความสุข

39

ปรัชญาตะวนั ตก

ประยรู ธมมุ จิตโุ ต (ม.ป.) ไดศ้ กึ ษาหลักการทางปรชั ญาตะวันตกพบวา่ แบง่ ออกเป็น 5 ยุค ไดแ้ ก่
1.ยุคดกึ ดำบรรพ์ (Primitive Paradigm) ถือวา่ มนุษย์คนแรกกเ็ ร่มิ คิดได้เม่อื 2-3 ล้านปีทแ่ี ลว้ และสืบ

ต่อความคิดมาอยา่ งต่อเน่อื ง ความกลวั ภยั ธรรมชาตทิ ำใหค้ ิดหาคำตอบว่าภยั ธรรมชาติมาจากไหน
- มนุษย์คดิ ว่าความน่ากลวั ของภัยธรรมชาติเกิดจากอำนาจลึกลับของส่งิ ศักดิ์สิทธิ์เบอ้ื งบนดังน้ัน

เพื่อความอยู่รอด มนุษย์จงึ ได้พยายามเอาใจส่ิงศกั ดิส์ ิทธ์ิเบือ้ งบนด้วยการแสดงความเคารพสักการะเยื้องบนโดย
หวังว่าสิ่งศักดิ์สิทธิ์จะคุ้มครองพวกเขาให้ปลอดภัยจากภัยธรรมชาติท้ังปวง พยายามเอาใจเบื้องบนให้ท่านพึง
พอใจมากท่สี ดุ ทา่ นจะไดเ้ มตตาตน ไมใ่ ห้เกดิ ภยั ธรรมชาติแก่ตน

- จงึ ไดค้ ติแห่งยคุ ว่า “ทกุ อยา่ งอยทู่ ่ีนำ้ พระทยั ของเบอ้ื งบน”
- โลกตามยุคนไี้ ดช้ ือ่ ว่ากลีภพ (Chaos)
2.ยคุ โบราณ (Ancient Paradigm) มองทกุ อย่างวา่ มาจากกฏเกณฑ์ตายตัว ซ่ึงอาจเป็นกฎไสยศาสตร์
ตำนานปรมั ปรา หรอื ระบบเครอื ข่ายของเจ้าสำนัก แบง่ เป็น 3 ยคุ ไดแ้ ก่ ยคุ เริม่ ต้น ยคุ รุ่งเรอื งและยคุ เสอ่ื ม
- มนษุ ย์ในยุค 1,000 ปกี ่อนคริสตศักราช ไมพ่ อใจกบั ความรเู้ ทา่ ท่ีรู้ เร่ิมมีปญั หาว่าเราจะอธิบาย
เหตุการณ์ทั้งหลายในธรรมชาติโดยไม่ต้องอ้างเบื้องบนจะได้ไหม คำตอบ คือ ได้พวกเขารับรู้ว่าโลกมีกฎระเบียบ
ซ่ึงปญั ญาเข้าถึงไดจ้ ากการสังเกต และเก็บรวบรวมขอ้ มูล จนสามารถสรปุ ไดว้ ่า ภยั ธรรมชาตมิ ักเกดิ ขึ้นซำ้ ไปซ้ำมา
เปน็ วงจรของธรรมชาติ คือมีกฎ (Law of Nature) ท่ีตายตวั ไม่เข้าใครออกใคร
- ความรู้ได้ถูกรวบรวมเพื่อสรุปเป็นระเบียบแบบแผนไว้ และกำหนดกฎเกณฑ์ต่างๆ โดยมี
เป้าประสงค์ในการที่มนุษย์จะได้มีความสุขในโลกนี้ โดยรู้และทำตามกฎธรรมชาติ จึงได้คติแห่งยุคว่า “Ipse
dixit” “ดังทา่ นว่าไว้”
- โลกในยคุ นไ้ี ดช้ ่ือวา่ เอกภพ (Cosmos)
3.ยุคกลาง (Medieval Paradigm) มนุษย์เริ่มพบวา่ แม้จะรู้กฎธรรมชาติและปฏิบัตติ ามแล้วก็ยังคงมี
ความทกุ ข์จงึ พยายามหาความสุขอยา่ งมหี วงั
- ศาสนาได้เขา้ มามบี ทบาทหลกั เกดิ ความเชอ่ื ทวี่ า่ ทกุ อย่างท่ีกระทำในโลกนีก้ ็เพอ่ื ส่งผลดีในโลก
หนา้ เกดิ ความศรทั ธาต่อศาสนาและปฏิบัตติ ามกฎเกณฑค์ ำสอนของศาสนาอย่างเครง่ ครดั
- มนุษย์จึงสละโลก บำเพ็ญพรต ศกึ าคมั ภีร์
- ต้องอดทนและหมน่ั กระทำความดี หลีกเล่ยี งความช่ัว เพราะจะมีความสุขในโลกหนา้ ทร่ี ออยู่
- จงึ มีคติแห่งยคุ ว่า “ความดีบญั ญตั ไิ วต้ ามคัมภีร์”
4.ยุคใหม่ (Modern Paradigm) เริ่มเมื่อคริศต์ศตวรรษที่ 16 จากการค้นพบวิธีการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตรจ์ ะทำให้รกู้ ฏเกณฑ์ท้ังหมดของโลก
- วิทยาศาสตร์แก้ปญั หาทกุ อย่างของมนษุ ยไ์ ด้ และโลกนจ้ี ะนา่ อยู่โดยไมต่ ้องรอโลกหนา้
- ความก้าวหนา้ ทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยจี ะทำใหค้ ณุ ภาพชวี ิตมนษุ ยด์ ขี ึ้น
- ศาสนาเปน็ เพยี งสง่ิ มอบเมาประชาชน
- คตแิ หง่ ยุควา่ “ทกุ อยา่ งเปน็ ไปตามกระบวนการวทิ ยาศาสตร”์

40

- ยคุ ใหม่เช่อื มน่ั ว่ามนษุ ย์สามารถเขา้ ใจกฎและระบบเครือขา่ ยไดต้ ามความเปน็ จรงิ และสามารถ
สร้างภาษาอุดมการณเ์ พอ่ื สื่อความรูไ้ ดต้ รงตามความเข้าใจ

5.หลังยุคใหม่-ปัจจุบัน (Postmodern Paradigm) เริ่มเมื่อปรัชญาของคานท์ (Immanuel Kant,
1724-1804) ได้เสนอว่ามนุษยม์ รู้ความจรงิ ก็จากกระบวนการของสมอง ดังนน้ั มนษุ ย์จงึ ไมร่ ูค้ วามเป็นจริง

- วิทยาศาสตร์พัฒนาโลก แต่กท็ ำลายล้างโลกด้วยสงครามโลกครงั้ ที่ 2 คร้ัง
- วทิ ยาศาสตร์ค้นพบกฎของความไม่แน่นอน แล้วจะมสี ิง่ ใดท่ีแน่นอน
- เพราะมนุษย์ยึดมั่นถือมั่น ทำให้จับกลุ่มคนที่คิดเหมือนกัน และแยกกลุ่มกับคนที่คิดไม่
เหมือนกนั เกิดการแขง่ ขนั ใหม้ ีพวกมากเข้าไว้เพอื่ มน่ั คง ปลอดภัย จนกลายเป็นความขดั แยง้
- โลกต้องมุ่งสรา้ งสันตภิ าพและการเน้นศักดศิ์ รคี วามเปน็ มนุษย์
- ต้องลดความยึดมนั่ ถอื มั่น ผ่านการวเิ คราะห์ วพิ ากษ์และการตคี วามใหม่
- คติยุคปัจจุบนั คอื จงรอ้ื ถอนความหมาย
- คติยคุ ปัจจบุ นั สายกลาง คือ การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ เพือ่ ความสุขแท้ตามความเปน็ จรงิ

ยคุ ดึกดำบรรพ์

ชาวกรีกเชื่อตาม Cosmogony of Hesiod (7-8 ร้อยปี ก่อน ค.ศ.) ว่าด้วยกำเนิดโลกจาก Chaos Gaia
Tartarus Eros ซึ่งถือกำเนดิ เทพองคแ์ รกคอื Gaia

- เทพแหง่ ฟา้ คอื Urenus เทพแหง่ ดนิ คือ Gaia เกดิ ไททัน 12 องคแ์ ละอ่นื ๆ
- Urenus จับลูกๆขังไว้ในคุกนรกทาร์ทารัส ต่อมา Gaia จึงสร้างเคียววิเศษและปล่อย Cronus ออกมา
ยดึ อำนาจ Urenus ได้
- Cronus กับ Rhea ให้กำเนิด Hera, Zeus, Poseidon, Hades, Demeter, Hestia แต่ก็กลัวลูกจะฆา่
ตัวเองจึงกลืนลูกตัวเองเข้าไปในท้อง แต่ Rhea ก็สามารถช่วยลูกคนสุดท้ายได้ก็คือ Zeus ออกมาได้และยึด
อำนาจของ Cronus สำเรจ็ จนเกดิ เร่อื งราวของมหาเทพแห่งโอลิมปัส

เรอ่ื งราวเทพ

- Zeus : เป็นพระโอรสองคส์ ดุ ทา้ ยของ Cronus & Rhea ซง่ึ เปน็ เทพไททัน Zeus ถือเป็นราชาแห่งทวย
เทพ ผู้ปกครองเขาโอลิมปัส และเทพแห่งท้องฟ้า ลักษณะนิสัยเป็นเทพที่มีความเจ้าชู้ มีบุตรที่สำคัญคือ Ares
Hephaestus Hermes Apollo Artemis เปน็ ต้น และมภี รรยาเอกคือ Hera ซงึ่ เป็นลกู พีล่ กู น้องและภรรยาน้อย
ท่ีสำคัญคอื Maia Leto เป็นตน้

- Poseidon : เปน็ เทพแหง่ มหาสมทุ รและพายุ มีภรรยาคอื Medusa
- Hades : เปน็ เทพเจา้ ผูป้ กครองนรกและโลกหลังความตาย ในตำนานถอื วา่ มศี ักด์ิเป็นพ่ีชายของ Zeus
มีภรรยาคือ Persephone ซึง่ เป็นธิดาแห่ง Demeter
- Hera : ถือเปน็ ราชินขี องเทพธิดาท้งั ปวง เพราะเธอเปน็ ชายาของ Zues
- Demeter : เปน็ เทวผี ู้ถือครองสัญลกั ษณ์คือรวงขา้ วซ่งึ หมายถึงการเกษตรกรรมนน้ั เอง มีธิดาหนึ่งองค์
นามวา่ Persephone

41

- Hestia : เป็นเทพแี ห่งไฟที่มกี ารเคารพนับถือเป็นอย่างมาก ซ่ึง Hestia เปน็ เทวที ่คี รองพรหมจารีอย่าง
ยอดเยี่ยม ซึ่งทำให้ประชาชนสว่ นใหญ่ให้ความเคารพนบั ถือ

- Apollo : เป็นบตู รของ Zeus & Leto ซ่งึ ถือว่าเป็นเทพแห่งดวงอาทติ ย์
- Artemis : เปน็ ธิดาของ Zeus & Leto ซงึ่ ถอื ว่าเป็นเทพแี ห่งดวงจันทร์
- Hermes : เป็นบุตรของ Zeus & Maia ซึ่งถือว่าเป็นเทพผู้คุ้มครองเหล่านักเดินทางและคนเลี้ยงแกะ
ซงึ่ มีของพิเศษคือหมวกและรองเท้าปกี
- Ares : คือบุตรของ Zeus & Hera ซึ่งถือเป็นเทพแห่งสงคราม การต่อสู้และศาสตาวธุ ตา่ งๆ แต่มีนิสยั
ป่าเถ่อื น หยาบช้าและมีบตุ รทส่ี ำคญั กับ Aphrodite คือ Cupid
- Hephaestus : คือบุตรของ Zeus & Hera ตามตำนานตอนเกิดมาไม่ได้มีหน้าตาต้องตาเฉกเช่นเทพ
องค์อื่น จึงถูกมารดาโยนลงจากเขาโอลิมปัส แต่ด้วยความสามารถที่สามารถสร้างอาวุธพิเศษได้จึงได้กลับข้ึน
สวรรคอ์ ีกครงั้ และZeus ยงั ประทาน Aphrodite ให้เป็นรางวัล
- Aphrodite : ตามตำนานกล่าวว่าเทพองค์นี้งดงามมากและยงั เป็นภรรยาของเทพ Hephaestus ด้วย
ซง่ึ เปน็ แค่ในนามเท่านัน้ แต่กลับไปเป็นชู้กบั เทพ Ares จนถือกำเนดิ ลูกมากมายแตท่ ่ีสำคญั คอื Cupid
- Cupid : เป็นบตุ รของ Ares & Aphrodite ซงึ่ ถือว่าเป็นกามเทพแหง่ ความรกั
- Athena : ตามตำนานเล่าว่าเกิดจาก Zeus ปวดหวั จึงให้ Hephaestus เอาขวานมาผา่ หัวและ Athena
กระโจนออกมาพรอ้ มชดุ เกราะ และ Athena ถอื วา่ เปน็ เทพแห่งสตปิ ญั ญา (ชยั จกั ร ทวยทุ ธานนท,์ 2560)

ยคุ ดึกโบราณ แบง่ เปน็ 3 ยคุ ดว้ ยกัน (ก.ค.ศ.650 - ค.ศ.529)

Pre-Socratic philosophyเปน็ ช่วงเรง่ หากฎของโลกคอื ยุคปรัชญากรกี สมยั เรม่ิ ตน้ (ก.ค.ศ.650-450)
1. ปรัชญายุคดึกดำบรรพ์ถูกสั่นคลอนจนกลายเป็นปรัชญาโบราณเมื่อ ธาเรส (Thales of

Miletus, 624-546 B.C.) เขาเรมิ่ ปรชั ญาดว้ ยคำว่าอะไรคอื ปฐมธาตุของโลกธาเรสตอบว่านำ้ เปน็ ปฐมธาตุของโลก
ไดร้ บั ยกยอ่ งให้เป็นบดิ าของปรัชญาตะวนั ตก

2. Anaximander of Miletus (ก.ค.ศ.610-545) เป็นลกู ศษิ ยข์ อง Thales เปน็ ลูกศษิ ยส์ ้คู รู คือ
เห็นด้วยกับทุกคำสอน ยกเว้นปฐมธาตคุ ือน้ำ โดยคิดว่า เพราะน้ำมีอยู่ทั่วไปจนเหมือนเป็นส่ิงสำเรจ็ รูป ปฐมธาตุ
ควรเป็นสง่ิ ท่ไี ม่มลี ักษณะของการเปน็ ของสำเรจ็ รปู จงึ เสนอว่าปฐมธาตคุ ือ สารไร้รู้ (formless material) เรียกว่า
apeiron ซงึ่ แปลวา่ อนนั ต์ มอี ยูเ่ ต็มไปหมด

3. Anaximenes of Miletus (ก.ค.ศ.585-528) เชื่อว่าเป็นลูกศิษย์ของ Thales และ
Anaximander จึงเห็นว่ามีปฐมธาตุจริง และควรมีอยู่มาก จึงเสนอว่าปฐมธาตุคือธาตุชื่อ aither เป็นสารที่มี
ลักษณะเจือจางลอยอยู่เต็มห้วงอากาศ เมื่อเข้มข้นถึงจุดหนึ่งก็จะเป็นอากาศที่เราหายใจ เข้มข้นไปอีกก็เป็นน้ำ
เป็นก้อนหิน ต้นไม้ สตั ว์ ซึ่งสิง่ ตา่ งๆ เมื่อตายลง จางลง ก็จะกลับไปเป็น aither น่ันเอง

4. Empedocles (ก.ค.ศ. 492-430) อยใู่ นอาณานิคมกรกี Argrigento ตอนใตข้ องอิตาลี เสนอ
วา่ ปฐมธาตุมี 4 (4 classic elements) อย่าง คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ

5. Democritus (ก.ค.ศ. 460-370) ปฐมธาตุคือสงิ่ ทีย่ ่อยเล็กทีส่ ุก เรยี กวา่ atom

42

Classical Greek philosophy เป็นช่วงเร่งหากฎความจริง คือ ยุคปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรือง
(ก.ค.ศ.450-322)

1. Socrates (ก.ค.ศ.470-399) Socrates เสนอแนวคดิ ทจ่ี ะทำใหส้ ังคมอยอู่ ยา่ งสงบสขุ นั่นคอื มี
ความยุติธรรม ยุติธรรมจะเกิดได้ต้องมีมาตรการเดียวสำหรับตัดสินความจริงและความดี มาตรการสากลคือ
ความรู้ทตี่ รงกับวัตถแุ ห่งความรู้ มนษุ ย์มปี ัญญาคิดไดเ้ อง (Know thyself) แต่มีกิเลสจงึ ทำใหเ้ ห็นผิดได้ จึงควรฝึก
เพ่งพนิ จิ (contemplation) Socrates เสนอ

2. Plato (ก.ค.ศ.427-347) เสนอให้มีการรื้อฟื้นความทรงจำ (reminiscence) ผ่าน 3 ขั้นตอน
มปี ระสบการณ์ (experience) การเรยี นรู้ (learning) การเพ่งพินิจ (contemplation)
โลกน้เี ปล่ยี นแปลงไปเรอื่ ยๆ จงึ ไม่อาจบรรจุความจริงสากลได้ ความจรงิ สากลจึงต้องอยูใ่ นอกี โลกหน่งึ

3. Aristotle (ก.ค.ศ.384-322) เกิดในตระกูลแพทย์ เรียนที่สำนัก Academic เมื่อได้ไปสอน
Alexander of Macedon จึงได้ตั้งสำนัก Lyseum โดยเสนอว่ามาตรการความจริง คือ ประสบการณ์

4. จากประสบการณต์ อ้ งถอดความจริงสากล (abstractation) ด้วย
วเิ คราะห์ (analysis)
คัดออก (elimination)
สังเคราะห์ (synthesis)

Hellenistic philosophy เปน็ ชว่ งเร่งหากฎความสขุ คือ ยุคปรัชญากรีกสมยั เส่อื ม (ก.ค.ศ.322- ค.ศ.529)
ยุคนี้นับต้ังแต่ Aristotle เสียชีวิต จนถึงจักรพรรดิ Justinian ประกาศรับรองศาสนาคริสต์เป็นศาสนา

ประจำอาณาจักรโรมัน เมื่อ Alexander the great สิ้นพระชนม์ (ครองราชย์ ก.ค.ศ.336-323) ทำให้อาณาจักร
Macedon แตก แม่ทัพแต่ละส่วนได้แยกปกครองตนเอง แย่งชิงอำนาจระหว่างกัน นครรัฐในกรีกรบกันเอง
นักการเมืองแบง่ ฝกั แบ่งฝ่าย มกี ารลอบสังหาร และติดสนิ บนอย่างรนุ แรง นกั ปรัชญาเพียงร้ือฟ้ืนคำสอนเพื่อชี้ถึง
การดำรงชวี ิตอยา่ งมคี วามสุขในสังคมได้ เนน้ จริยศาสตร์ 6 สำนกั เพอ่ื ตอบคำถาม How to live well?

ปรัชญาตะวนั ตกยุคกลาง (Medieval Philosophy) (ค.ศ.529-1600)

จำแนกตามพื้นฐานความเชื่อเรื่องโลกหน้าอันเป็นคำสอนทางศาสนาของศาสนาที่นับถือพระเจ้า และ
ศาสนาท่เี ชอื่ ว่ามเี ทวะ การแบ่งขอบเขตยคุ จึงยุ่งยากในแตล่ ะศาสนา

1. ยุคกลางของตะวันตก นับจากปี ค.ศ.529 ซึ่งศาสนาคริสต์ได้รับการยกเป็นศาสนาประจำ
อาณาจักรโรมัน และมีการห้ามนับถือศาสนาอื่น ทำให้อิทธิพลของศาสนาคริสต์เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางกว่า
1,000 ปี

2. ยคุ กลางในศาสนาอิสลามนับเร่มิ ตั้งแต่ ปี ค.ศ.622 ซึ่งเป็นปที ี่ 1 แห่งฮจิ เราะห์ศกั ราช
3. ยุคกลางในศาสนาพทุ ธ นบั เรม่ิ ตงั้ แต่ ปี ก.ค.ศ.543 ซง่ึ เปน็ ปที ่ี 1 แหง่ พุทธศักราช
นักปรัชญาท่ีเป็นแกนแห่งยุคกลาง ( Augustine 354-430) เสนอลทั ธไิ ตรเอกานภุ าพ (Doctrine of The
Trinity) พระเจ้านั้นเป็นหนึ่ง คือเป็นองค์เดียวแต่แบ่งเป็น 3 ภาค คือ พระบิดา (The Father), พระบุตร
(The Son), พระจติ (The Spirit)

43

ความรู้มคี า่ ที่สุด หรอื ความรู้เกี่ยวกับพระเปน็ เจ้าและวญิ ญาณ ความรปู้ ระเภทอ่นื จะมคี า่ กต็ อ่ เมอื่ นำมาสนบั สนนุ
ความรู้เกี่ยวกับพระเจา้ เพือ่ ใหเ้ ขา้ ใจพระเจา้ เทา่ น้ัน เป็นหน้าท่ขี องมนษุ ย์ท่จี ะตอ้ งเข้าใจส่ิงท่ีตนเองเช่ืออยา่ งแนว่
แน่ และพยายามหาพนื้ ฐานของศรทั ธาด้วยเหตุผล (กีรติ บญุ เจอื , 2558)

ยคุ ใหม่

ปรัชญากระบวนทรรศน์นวยุค (Modern Philosophy) นับเริ่มประมาณ ค.ศ.1600 ทำไมจึงเปลี่ยน
กระบวนทรรศน์ เพราะว่าปรชั ญายคุ กลางในสมยั อัสสมาจารย์ (scholastic period) ไดน้ ำปรัชญาของ Aristotle
มาอธิบายศาสนา ทำให้เกิดการถกปัญหาปรัชญาศาสนาจนถึงระดับอิ่มตัว นักปรัชญาจึงหันมาสนใจปรัชญา
วิทยาศาสตร์ (science=ความรู้) ซึ่งในระหว่างยุคกลางนัน้ ชาวยุโรปได้รับวิชาเคมีมาจากทางเปอร์เซีย จึงนำมา
ทดลองในชื่อ Alchemy ซึ่งศาสนจักรออกกฎหมายห้าม เมื่ออาณาจักรไบเซนไทน์แตก ทำให้นักปรัชญาและ
ตำราต่างๆ กลับมาสู่ยุโรป มีการรื้อฟื้นความรุ่งเรอื งของกรกี -โรมัน เรียกว่ายุคฟื้นฟู (Renaissance) เกิดปัญหา
การเมืองกับศาสนจักร ทำให้หมดความศรัทธาในองค์กรศาสนา จึงมีกระแสแยกอาณาจักรออกจากศาสนจักร
สนใจวิธกี ารวิทยาเพ่อื คน้ หาความจริง เกิดคำถามสำคญั คือ “คดิ อย่างไรจงึ จะไดค้ วามจรงิ ” นกั ปรัชญาคนสำคัญ
ไดแ้ ก่

1. Francis Bacon (1561-1626) แม้มนษุ ยไ์ มม่ กี ิเลส คนเรากค็ ดิ ไมต่ รงกนั นนั่ คือนกั บุญทงั้ หลายก็ไม่ได้
คิดตรงกนั จงึ เป็นไปได้วา่ นา่ จะมีอคติ (prejudices = สิ่งทอ่ี ยกู่ ่อนการตดั สินใจ) ซ่งึ นา่ จะมไี ด้ Idols คือเทวรูปที่
คนอ่ืนเคารพ แต่เราไมเ่ คารพ 4 ประการ

1.1 Idol of the tribe ความโนม้ เอยี งเนื่องจากสายเลือด สายตระกลู เผา่ พันธ์ุ
1.2 Idol of the den ความโน้มเอียงจากสง่ิ แวดลอ้ มและการเลย้ี งดู
1.3 Idol of the marketplace ความโน้มเอียงจากภาษาทใ่ี ช้จนเคยชนิ
1.4 Idol of the theatre ความโนม้ เอียงจากขนมธรรมเนยี ม ประเพณี ศาสนา
มาตรการความจริง คือ ความรู้ที่หามาได้อย่างถูกวิธีและไร้อคติใดๆ ทั้งสิ้นวิธีการวิทยาคือ Induction by
elimination หาสิ่งเฉพาะหนว่ ยให้มาก แล้วคัดไว้เฉพาะหน่วยท่ีมีลักษณะทีต่ ้องการเอามาเรียงลำดบั เพือ่ เข้าใจ
สาเหตุ และจะไดต้ ัดอคติออกไปได้
2. Rene Descartes (1596-1650) ปัญหาของวิธคี ิดตา่ งหากเป็นปญั หาที่แท้จรงิ ประสบการณ์เฉพาะ
หน่วยย่อมหลอกเราได้ มาตรการความจริง คือ เรขาคณิต ซึ่งเริม่ จากมูลบท (postulate) และสัจพจน์ (axiom)
อันนำไปส่ปู ฐมบท (assumption) เสนอมลู บท 3 ได้แก่ I doubt, I think therefore I am.
ทฤษฎีบท 3 ได้แก่ what is clear and distinct is true, God is exists, matter exists as
extension เสนอวิธี Methodical (universal) Doubt

44

1. Benedict of Spinoza (1632-1677) ส่งเสริมวิธีคิดของ Descartes โดยเสนอการพิสูจน์
ทฤษฎีบท มาเพิ่มเป็นส่วนของ E.D. (quod erat demonstradum; ซึ่งต้องพิสูจน์) โดยมีนิยาม 8 ข้อความ มูล
บท 7 ขอ้ ความ รวมปฐมบททง้ั หมด 15 ข้อความ พสิ ูจน์ทฤษฎีบทใดแลว้ เอามาใช้อ้างเพ่ือยืนยนั เหตุผลต่อไปได้
เพราะพระเจา้ สร้างปัญญามนุษย์มาใหพ้ สิ ูจน์ความร้ทู ุกอยา่ งได้ตามความเป็นจรงิ ดังคติ God doesn’t fail

2. John Locke (1632-1704) เสนอว่าไม่มีมูลบทใดที่ดีพอ ดังนั้นความรู้น่าจะเริ่มต้นจาก
ประสบการณ์ มนุษย์เกิดมาเหมือนกระดาษเปล่า (tabula rosa) All knowledge comes from experience
ศาสนากับศลี ธรรม มลู บทไม่ไดม้ าจากประสบการณ์แต่มาจากววิ รณ์ (revelation) ของพระเจา้ แลว้ จึงค่อยพสิ ูจน์
ต่อไปล็อกทำให้เกิดแนวคดิ เบอ้ื งต้นสำหรับ Enlightenment movement คือ มนุษยเ์ ช่ือได้เฉพาะประสบการณ์
และความจริงทีพ่ สิ จู นไ์ ด้จากประสบการณเ์ ท่านนั้ ความรอู้ ื่นถอื เป็นส่งิ งมงาย

3. David Hume (1711-1776) เสนอวา่ ความรู้เรมิ่ ต้นจากประสบการณ์ อะไรท่ีมีประสบการณ์
ไม่ได้กไ็ มค่ วรรบั รอง และเสนอหลกั การใหม่ท่เี ครง่ ครดั ว่า

3.1 All knowledge is analysed into ideas.
3.2 All ideas come from experiences.
3.3 All experiences come by way of the senses.
มนุษย์เสียเวลาศึกษาเรื่องที่เกินกว่าประสบการณ์ งมงายในความเชื่อโบราณ อันได้แก่ Substance, Matter,
Spirit, Principle of causality และ Uniformity of nature
4. Immanuel Kant (1724-1804) เห็นว่าเหตุผลนิยมได้ทำลายศาสนาและศีลธรรม
ประสบการณ์นยิ มทำลายคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ความจรงิ มไิ ด้ข้ึนกับผัสสะและเหตุผล แต่ข้ึนกับ
โครงสร้างสมอง (ปัญญา) ของมนุษย์ ความร้ขู องมนุษยจ์ ึงเป็นเพียงความรู้เท่าท่ีปรากฏ (phenomena)
และไม่มีทางรู้ noumena ปญั ญามีกลไกสำคญั คอื
4.1 Pure forms of sensation รู้สงิ่ เฉพาะหนว่ ยในระบบ time-space
4.2 Pure forms of understanding ความรเู้ ฉพาะหน่วยกลายเป็นความรู้สากล
สมรรถภาพปญั ญาได้บิดผนั ความเป็นจรงิ ทีร่ บั รู้ โดยปรุงแต่งเป็นความจรงิ สำเร็จรปู
4.3 Pure reason สำหรับรบั ร้คู ณิตศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์
4.4 Practical reason สำหรับรบั รูศ้ ลี ธรรมและศาสนา ไม่ผ่านกลไกสมอง รับรู้โดยตรง
และปฏิบัตอิ ย่างไม่ใชเ้ หตุผล (Category Imperative; duty to be done)
ช่วงปลายกระบวนทรรศน์วิทยาศาสตร์
เมือ่ เกดิ ความกังขาตอ่ การรบั รู้ความเปน็ จรงิ จงึ นำไปสู่ยคุ กงั ขาปรัชญากระบวนทรรศนน์ วยุคถูกส่ันคลอน
ด้วยแนวคดิ ของ Kant อยา่ งเด่นชดั ตง้ั แต่ ค.ศ.1800


Click to View FlipBook Version