ปรัชญาการศกึ ษา คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณความเปน็ ครู
เสนอ
รองศาสตร์ตราจารย์ ดร. ฐติ พิ ร พชิ ญกลุ
จัดทำโดย
นักศกึ ษาประกาศนยี บตั รบัณฑติ วชิ าชพี ครู รุ่นที่ 8 หมู่ท่ี 5
คณะ ครศุ าสตร์
รายงานนเี้ ปน็ สว่ นหน่ึงของวชิ าปรัชญาการศกึ ษา คุณธรรม จริยธรรม
และจรรยาบรรณความเปน็ ครู (ETP510)
มหาวิทยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์
ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563
คำนำ
รายงานเลม่ นเี้ ปน็ สว่ นหนงึ่ ของวิชาปรัชญาการศึกษาคุณธรรมจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณความเปน็ ครู
(ETP510) จดั ทำข้ึนเพื่อรวบรวมเน้อื หารายงานปรชั ญาการศึกษาคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณความเปน็
ครู ไดแ้ ก่เร่ือง ทฤษฎีพัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา /ทฤษฎีเชาวน์ปัญญา,ปรัชญาตะวันตก และ ปรชั ญาตะวนั ออก,
อภิปรัชญาญาณวิทยาและคุณวิทยา,ทฤษฎีการเรยี นรู้,ความเป็นครู จรรยาบรรณวิชาชีพคร/ู เกณฑ์มาตรฐาน
วิชาชพี จิตวิญญาณความเปน็ ครู ค่านยิ มครู,กฎหมายการศึกษา ,การเป็นแบบอยา่ งทด่ี ี มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม เปน็
พลเมอื งที่เข้มแข็ง ดำรงตนให้เป็นที่เคารพศรัทธาของผเู้ รียนและสมาชิกในชุมชน ,สภาพการณ์พัฒนาวชิ าชพี ครู
กลวิธีการพัฒนาการศึกษาทีย่ ั่งยืน ความรอบรู้ ทันสมัย ทันต่อการเปลี่ยนแปล
คณะผู้จัดทำหวงั เป็นอยา่ งยิ่งว่ารายงานเลม่ น้จี ะเปน็ ประโยชน์สำหรบั นักศึกษาครูและผู้ท่สี นใจจะศึกษา
เพอื่ จะได้มคี วามรู้ขั้นพืน้ ฐาน เป็นการเตรยี มความพร้อมสำหรับการเปน็ ครูโดยนำความรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกับ
ความสำคัญของปรชั ญาการศึกษาคุณธรรมจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณความเปน็ ครูและเพ่อื เป็นพน้ื ฐานการเรยี น
ในรายวิชาอ่ืนๆ ท่ีเก่ยี วข้อง
คณะผูจ้ ัดทำ
มีนาคม 2564
สารบัญ หนา้
คำนำ 1
สารบัญ 1
บทที่ 1 ทฤษฎกี ารพัฒนาสติปญั ญา/ทฤษฎีเชาว์ปญั ญา 1
8
ความหมายสติปัญญา/ความหมายการพฒั นาสตปิ ัญญา 9
ทฤษฎพี ฒั นาพฒั นาการทางสตปิ ญั ญา 11
ความหมายและแนวคิดเชาวป์ ัญญา 16
ทฤษฎเี ชาวนป์ ญั ญา 17
การวดั เชาวน์ปญั ญา 18
สรปุ ทฤษฎีการพัฒนาสติปญั ญา/ทฤษฎเี ชาวน์ปญั ญา 18
อ้างอิง 23
บทที่ 2 ปรชั ญาตะวนั ตกและปรชั ญาตะวนั ออก 32
ความหมายของปรัชญา 39
ปรชั ญาตะวันออก 53
ปรชั ญาการศึกษา 55
ปรชั ญาตะวนั ตก 58
สรปุ ปรัชญาตะวันตกและปรชั ญาตะวันออก 58
อา้ งอิง 63
บทที่ 3 อภิปรัชญา 64
ความหมายของอภปิ รัชญา 65
หนา้ ทขี่ องอภปิ รชั ญา 67
ความสมั พนั ธข์ องอภิปรัชญากับศาสตรอ์ ่ืน 71
ทฤษฎที างอภิปรัชญา 72
ลทั ธทิ างอภปิ รชั ญา
สรุปอภปิ รัชญา
อ้างอิง
สารบญั (ตอ่ ) หนา้
73
บทที่ 4 ญาณวิทยาและคุณวิทยา 73
ความหมายและความสำคัญของญาณวิทยาและคุณวิทยา 75
ความสัมพันธ์ญาณวิทยากบั ศาสตร์ต่างๆ 78
ปรัชญาลทั ธิกับญาณวิทยา 80
ค่านยิ มเกย่ี วกับคุณวิทยา 83
ปรชั ญาลัทธิและคณุ วทิ ยา 85
สรุปญาณวทิ ยาและคุณวทิ ยา 86
อา้ งอิง 87
88
บทที่ 5 ทฤษฎกี ารเรียนรู้ 100
กลมุ่ พฤตกิ รรมนิยม 111
กลุ่มพุทธนิ ยิ ม 112
ทฤษฎีการเรยี นรู้ทางสังคม 124
กล่มุ มนุษย์นิยม 127
กลมุ่ ผสมผสาน 128
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้ 129
อ้างอิง
129
บทที่ 6 ความเปน็ ครู จรรยาบรรณวชิ าชพี ครู เกณฑ์มาตรฐานวชิ าชพี 137
และการเปลีย่ นแปลงบริบทโลก 141
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ 148
ความสำคญั ของครู 157
ครุ สุ ภาและจรรณยาบรรณ 162
มาตรฐานวชิ าชีพ
แนวโน้มจรรยาบรรณครใู นบริบทโลก 163
สรุปความเป็นครู จรรยาบรรณวชิ าชีพครู เกณฑ์มาตรฐานวิชาชพี
และการเปล่ยี นแปลงบรบิ ทโลก
อ้างอิง
สารบัญ(ต่อ)
บทท่ี 7 จติ วิญญาณความเป็นครูและคา่ นยิ ม หน้า
164
ความหมายของจติ วญิ ญาณความเป็นครู 164
องคป์ ระกอบจิตวิญญาณความเปน็ ครู 170
แนวทางการพัฒนาจติ วิญญาณความเปน็ ครู 174
การปลกู ฝังจติ วญิ ญาณความเป็นครู 181
จติ วญิ ญาณครใู นต่างประเทศ 181
สรุปจติ วญิ ญาณความเปน็ ครูและคา่ นิยม 185
อา้ งอิง 186
บทท่ี 8 กฎหมายการศกึ ษา 187
ววิ ัฒนาการกฎหมายไทย 187
ลำดบั ชนั้ กฎหมายไทย 189
การปฏิรปู การศึกษา 194
โทษ บคุ ลากรทางการศกึ ษา 198
กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องการศึกษา 200
สรุปกฎหมายการศึกษา 221
อ้างองิ 222
บทท่ี 9 การเปน็ แบบอย่างที่ดี มีคณุ ธรรม จริยธรรม เปน็ พลเมอื งที่เข้มแขง็ 224
ดำรงตนให้เปน็ ท่เี คารพศรัทธาของผ้เู รียนและสมาชกิ ในชมุ ชน 224
235
คุณธรรมและจรยิ ธรรม 239
พลเมอื งทีเ่ ข้มแข็ง 241
การดำรงตนให้เปน็ ท่ีเคารพศรทั ธา 251
ครูแบบอยา่ งทีด่ ี
สรุปการเปน็ แบบอยา่ งท่ดี ี มีคุณธรรม จรยิ ธรรม เปน็ พลเมืองท่ี 252
เขม้ แข็ง ดำรงตนใหเ้ ปน็ ท่ีเคารพศรทั ธาของผู้เรียนและสมาชิกในชุมชน
อ้างองิ
สารบญั (ต่อ)
บทที่ 10 สภาพการณ์พัฒนาวิชาชีพครู กลวิธีการพัฒนาการศึกษาทีย่ ่ังยนื หนา้
254
ความรอบรู้ ทนั สมัย ทนั ตอ่ การเปลี่ยนแปลงในบริบทโลก
254
สภาพการณ์พัฒนาวชิ าชพี ครู 261
กลวิธีการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยนื 264
ความรอบรู้ 267
ความทันสมยั 280
ทนั ต่อการเปลี่ยนแปลงในบริบทโลก 285
สรุปสภาพการณ์พฒั นาวชิ าชพี ครู กลวิธกี ารพฒั นาการศกึ ษาท่ียงั่ ยืน
ความรอบรู้ ทันสมัย ทนั ตอ่ การเปลี่ยนแปลงในบรบิ ทโลก 287
อา้ งอิง
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก รายชอ่ื สมาชกิ รุ่นที่ 8 หมู่ที่ 5
ภาคผนวก ข รายช่อื สมาชิกผู้จัดทำ
1
บทที่ 1
ทฤษฎีการพัฒนาสติปญั ญา/ทฤษฎเี ชาวน์ปัญญา
ความหมายของสตปิ ญั ญา
สตปิ ัญญาตรงกับภาษาองั กฤษวา่ Intelligence มคี วามหมายทยี่ ังสับสนไม่ตรงกนั เป็นหนงึ่ เดยี ว นกั จิตวิทยา
และนักการศึกษาได้ให้ความหมายสติปญั ญาดังน้ี
สติปัญญา หมายถึง ความถนัดของบุคคลที่มี ลักษณะรวมๆ หลายสภาวะ และความถนัดนี้ทาให้บุคคล
สามารถเรียนร้ไู ด้ ซูเปอร์ (Super), 1949 : 58-59)
สติปัญญา หมายถงึ ความสามารถที่ได้รบั การพฒั นามาจากประสบการณ์ท่ีมปี ระโยชน์ ความสามารถในการ
ปรบั ตนเองใหเ้ ข้ากับ สง่ิ แวดลอ้ ม ความสามารถในการการปฏบิ ัติ หรอื ความสามารถในการเรียนรู้ (เวอร์นอน
(Vernon), 1960 : 28)
สรุป สติปัญญา หมายถึง ความสามารถในการเรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ใน การปรับตนและแก้ไข
ปัญหาต่าง ๆ (กฤตวรรณ คำสม. (ตุลาคม 2557). การใช้ฐานข้อมูล [PDF]. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา
จติ วทิ ยาสำหรับครู, อุดรธานี : มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุดรธาน)ี
ความหมายของคำวา่ “พัฒนาการสติปัญญา”
เฮอร์ลอค ได้ให้ความหมายของพัฒนาการไว้ว่า หมายถึง การเปลี่ยนแปลงต่างๆที่มีลำดับขั้นตอนต่อเนื่อง
เนน้ ขบวนการการเปล่ยี นแปลงทงั้ ทางรา่ งกาย จิตใจ สตปิ ัญญา ผสมผสานกัน
เพียเจท์ เชื่อว่าพัฒนาการทางสติปัญญานั้นหมายถึง ความสามารถที่จะคิดค้นสิ่งที่เป็นนามธรรมอย่างมี
เหตผุ ล
จากความหมายข้างต้นจะเห็นว่า สุมนา พานิช กล่าวว่า พัฒนาการทางสติปัญญา หมายถึง ความสามารถใน
การจำ การรู้จักคิด การใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา การที่เด็กจะมีความสามารถดังกล่าวได้ จำเป็นต้องได้รับการ
พัฒนาไปตามขั้นตอน เริ่มจากการรบั รู้ส่ิงต่างๆ ดว้ ยประสาทสัมผัสทั้งหา้ คอื การจับต้อง การเหน็ การได้ยิน การ
รรู้ ส และการไดก้ ลน่ิ การกระตนุ้ เข้าประสาทสมั ผสั ทั้งหา้ ของเด็กทำใหเ้ กิดพฒั นาการทางสติปัญญา
(Brain Kiddy. (2562). พัฒนาการเด็ก อายุ1-6 ปี ดา้ นสตปิ ัญญา สบื คน้ เม่อื 16 กมุ ภาพนั ธ์ 2564.)
ทฤษฎพี ฒั นาการทางสตปิ ญั ญาของเพยี เจต์
เพียเจต์ (Piaget) ได้ศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาการทางด้านความคิดของเด็กว่ามีขั้นตอนหรือกระบวนการ
อย่างไร ทฤษฎีของเพียเจต์ตั้งอยู่บนรากฐานของทั้งองค์ประกอบที่เป็นพันธุกรรม และสิ่งแวดล้อม เขาอธิบายว่า
การเรียนรู้ของเด็กเป็นไปตามพัฒนาการทางสติปัญญา ซึ่งจะมีพัฒนาการไปตามวัยต่าง ๆ เป็นล ำดับขั้น
พัฒนาการเป็นสิ่งที่เป็นไปตามธรรมชาติ ไม่ควรที่จะเร่งเด็กให้ข้ามจากพัฒนาการจากขั้นหนึ่งไปสู่อีกขั้นหนึ่ง
เพราะจะทำให้เกิดผลเสียแก่เด็ก แต่การจัดประสบการณ์ส่งเสริมพัฒนาการของเด็กในช่วงที่เด็กกำลังจะพัฒนา
ไปสู่ขั้นที่สูงกว่า สามารถช่วยให้เด็กพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตาม เพียเจต์เน้นความสำคัญของการเข้าใจ
ธรรมชาติและพัฒนาการของเด็กมากกว่าการกระต้นุ เด็กใหม้ ีพัฒนาการเรว็ ขนึ้ เพยี เจตส์ รุปวา่ พัฒนาการของเด็ก
2
สามารถอธิบายได้โดยลำดับระยะพัฒนาทางชีววิทยาที่คงที่ แสดงให้ปรากฏโดยปฏิสัมพันธ์ของเด็กกับ
สิ่งแวดล้อม
พัฒนาการทางสติปญั ญาของบคุ คลเปน็ ไปตามวยั ต่าง ๆ เป็นลำดับขัน้ ดงั นี้
1. ขั้นประสาทรับรู้และการเคลื่อนไหว (Sensori-Motor Stage) ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 2 ปี มี
ระยะ พัฒนาการ 6 ระดับ
ระดบั ท่ี 1 Reflex Activity ( อายแุ รกเกิด-1 เดอื น) เด็กอาศัยปฏกิ ิริยาสะทอ้ นทางร่างกาย
ระดับที่ 2 First Differentiations (อายุ 1 - 4 เดือน) เด็กเกิดพฤติกรรมใหม่แทนปฏิกิริยาสะท้อน ซึ่ง
เป็นผลของการทำงานทป่ี ระสานกนั ของอวยั วะร่างกาย
ระดับที่ 3 Reproduction of interesting event (อายุ 4-8 เดือน ) ความสามารถทางร่างกายของเด็ก
ได้เพิ่มมากขึ้น เด็กสามารถจับและกระทำกับวัตถุต่างๆ ได้ด้วยความตั้งใจสามารถทำงานประสานสัมพันธ์กัน
ระหวา่ งการเคลือ่ นไหวของสายตาและมอื โดยเฉพาะพฤติกรรมท่ีเคยทำมาแลว้ จะทำซำ้ ไดอ้ ีก
ระดับที่ 4 Coordination of Schemata (อายุ 8-12 เดือน) เด็กมีพฤติกรรมการกระทำตาม
ความสามารถทางด้านสติปัญญาของเด็กแตล่ ะคนท่ปี ระสานกนั ของอวัยวะรา่ งกาย
ระดับที่ 5 Invention of New Means (อายุ 12-18 เดือน) เด็กเริ่มต้นแสวงหาปัญหาใหม่ๆและใช้วิธี
แก้ปัญหาดว้ ยการทดลองซงึ่ ไมใ่ ช่ลกั ษณะท่ีคุ้นเคยอีกตอ่ ไป
ระดับที่ 6 Representation (อายุ 18-24 เดือน) ความสามารถคิดในขั้นประสาทสัมผัสและการ
เคลือ่ นไหวได้เปล่ียนเป็นสามารถคดิ ตามหลกั ตรรกศาสตรไ์ ด้
2. ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด (Preoperational Stage) ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่อายุ 2-7 ปี แบ่งออกเป็นขั้นย่อย
อีก 2 ระดบั คือ
2.1. ระดับก่อนเกิดสังกัป (Preconceptual Thought) เป็นขั้นพัฒนาการของเด็กอายุ
2-4 ปี เป็นช่วงที่เด็กเริ่มมีเหตุผลเบื้องต้น สามารถจะโยงความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ ๒ เหตุการณ์หรือ
มากกว่ามาเป็นเหตุผลเกี่ยวโยงซึ่งกันและกัน แต่เหตุผลของเด็กวัยนี้ยังมีขอบเขตจำกัดอยู่ เพราะเด็กยังคงยึด
ตนเองเป็นศูนย์กลาง คือถือความคิดตนเองเปน็ ใหญ่ และมองไม่เห็นเหตุผลของผู้อื่นความคิดและเหตุผลของเดก็
วัยนี้จึงไม่ค่อยถูกต้องตามความเป็นจริงนัก นอกจากนี้ความเข้าใจต่อสิ่งต่างๆ ยังคงอยู่ในระดับเบื้องต้น เช่น
เข้าใจว่าเด็กหญิง 2 คน ชื่อเหมือนกันจะมีทุกอย่างเหมือนกันหมด แสดงว่าความคิดรวบยอดของเด็กวัยนี้ยังไม่
พฒั นาเต็มท่แี ตพ่ ฒั นาการทางภาษาของเดก็ เจริญรวดเร็วมาก
2.2. ระดับการคิดแบบญาณหยั่งรู้นึกออกเองโดยไม่ใช้เหตุผล (Intuitive Thought) เป็นข้ัน
พัฒนาการของเด็ก อายุ 4-7 ปี ขั้นนี้เด็กจะเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รวมตัวดีขึ้น รู้จักแยกประเภท
และแยกชิ้นส่วนของวัตถุ เข้าใจความหมายของจำนวนเลขเริ่มมีพัฒนาการเกี่ยวกับการอนุรักษ์แต่ไม่แจ่มชัดนัก
สามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้โดยไม่คิดเตรียมลว่ งหน้าไว้ก่อน รู้จักนำความรู้ในสิ่งหนึ่งไปอธบิ ายหรือแก้ปัญหา
อื่นและสามารถนำเหตุผลทั่วๆ ไปมาสรุปแก้ปัญหา โดยไม่วิเคราะห์อย่างถี่ถ้วนเสยี ก่อนการคิดหาเหตุผลของเดก็
ยงั ข้นึ อยกู่ ับสิง่ ท่ตี นรับรหู้ รอื สัมผัสจากภายนอก
3
3. ขั้นปฏิบัติการคิดด้านรูปธรรม (Concrete Operation Stage) ขั้นนี้จะเริ่มจากอายุ 7-11 ปี
พฒั นาการทางดา้ นสติปัญญาและความคดิ ของเด็กวัยน้สี ามารถสร้างกฎเกณฑ์และตั้งเกณฑ์ในการแบง่ สงิ่ แวดล้อม
ออกเป็นหมวดหมู่ได้ เด็กวยั น้สี ามารถท่ีจะเข้าใจเหตุผลรู้จักการแก้ปัญหาสง่ิ ตา่ งๆ ท่ีเป็นรปู ธรรมได้ สามารถท่ีจะ
เข้าใจเกี่ยวกับเรื่องความคงตัวของสิ่งต่างๆ โดยที่เด็กเข้าใจว่าของแข็งหรือของเหลวจำนวนหนึ่งแม้ว่าจะเปลี่ยน
รูปร่างไปก็ยังมนี ำ้ หนัก หรือปริมาตรเท่าเดิมสามารถท่ีจะเข้าใจความสัมพนั ธ์ของส่วนย่อย ส่วนรวม ลักษณะเด่น
ของเด็กวัยนี้คือ ความสามารถในการคิดย้อนกลับ นอกจากนั้นความสามารถในการจำของเด็กในช่วงนี้มี
ประสทิ ธิภาพขึน้ สามารถจดั กลุ่มหรือจัดการได้อย่างสมบูรณ์
4. ขัน้ ปฏิบัตกิ ารคิดดว้ ยนามธรรม (Formal Operational Stage) นจี้ ะเริม่ จากอายุ 11-15 ปี ในขนั้ น้ี
พฒั นาการทางสตปิ ญั ญาและความคิดของเด็กวยั น้ีเป็นขั้นสุดยอด คือเดก็ ในวัยน้จี ะเรม่ิ คิดแบบผใู้ หญ่ ความคดิ
แบบเด็กจะสนิ้ สุดลง เดก็ จะสามารถทีจ่ ะคดิ หาเหตผุ ลนอกเหนือไปจากข้อมลู ที่มอี ยู่ สามารถทีจ่ ะคดิ แบบ
นกั วทิ ยาศาสตรส์ ามารถท่ีจะตงั้ สมมตุ ฐิ านและทฤษฎี และเห็นว่าความเปน็ จริงทีเ่ ห็นดว้ ยการรับรูท้ สี่ ำคัญเทา่ กับ
ความคดิ กบั ส่งิ ท่ีอาจจะเป็นไปได้ เดก็ วัยนม้ี ีความคิดนอกเหนือไปกว่าสิ่งปัจจบุ นั สนใจท่ีจะสรา้ งทฤษฎีเกย่ี วกบั ทุก
ส่ิงทุกอย่างและมคี วามพอใจที่จะคดิ พิจารณาเก่ยี วกบั สิง่ ท่ีไมม่ ีตัวตน หรือส่ิงท่ีเปน็ นามธรรมพฒั นาการทางการรู้
คดิ ของเด็กในช่วงอายุ 6 ปีแรกของชวี ติ
ทฤษฎีพฒั นาการทางสตปิ ญั ญาของบรูเนอร์ (Jerome Bruner: ค.ศ.1915)
บรูเนอร์เปน็ ชาวอเมริกนั เกดิ ทเี่ มือง New York ประเทศสหรฐั อเมริกา เม่ือปี ค.ศ.1915 บิดามารดา
คาดหวงั ใหเ้ ป็นนักกฎหมาย แตบ่ รเู นอรก์ ลบั มาสนใจทางด้านจิตวทิ ยา (พรรณี ช.เจนจิต, 2528) ทฤษฎีพฒั นาการ
ทางสตปิ ญั ญาของบรูเนอร์ (Bruner, 1966 อา้ งถึงใน ธวัชชยั ชยั จริยฉายุล. 2529) ได้แบ่งการพฒั นาการทาง
สติปัญญาของมนุษย์เปน็ 6 ลักษณะ คือ
1.ความเจริญเติบโตทเี่ พ่มิ ขน้ึ สังเกตไดจ้ ากการเพิ่มการตอบสนองทไ่ี มผ่ ูกพันกับสงิ่ เร้าเฉพาะตาม
ธรรมชาติทเี่ กิดขึ้นในขณะนั้น
2. ความเจริญเติบโตข้นึ อยู่กับเหตุการณ์ ท่ีเกิดขน้ึ ภายในตวั คนไปสู่ "ระบบเกบ็ รกั ษา" ทส่ี อดคล้องกับ
สงิ่ แวดล้อม
3. ความเจรญิ เตบิ โตทางสตปิ ัญญา เก่ยี วข้องกับการเพ่มิ ความสามารถท่จี ะพูดกับตนเองและคนอน่ื ๆโดย
ใชค้ ำพดู และสญั ญาลักษณ์ในสิ่งท่บี คุ คลนั้นๆ ได้ทำไปแลว้ หรอื ส่งิ ท่ีจะทำ
4. ความเจริญเตบิ โตทางสติปัญญาขน้ึ อยูก่ ับปฏิสมั พนั ธ์ที่เป็นระบบและโดยบังเอิญระหว่างผสู้ อน และ
ผู้เรยี น
5. การสอนสามารถอำนวยความสะดวกไดโ้ ดยส่อื ทางภาษา ซ่ึงจบลงโดยไมเ่ พยี งแต่เปน็ ส่ือ สำหรับการ
แลกเปลยี่ นเทา่ น้นั แตย่ งั เปน็ เคร่อื งมือทผ่ี เู้ รียนสามารถใช้ให้ตนเองนำคำสง่ั ไปยงั ส่งิ แวดลอ้ มดว้ ย
6. การพัฒนาทางสติปัญญาเหน็ ไดจ้ ากการเพิ่มความสามารถท่จี ะจดั การกับตัวเลอื กหลาย ๆ อย่างใน
เวลาเดยี วกนั ความสามารถที่จะเฝ้าดขู ้นั ตอนตา่ งๆ ในระยะเวลาเดียวกัน และความสามารถทีจ่ ะจดั เวลาและการ
เข้ารว่ มกจิ กรรมในลักษณะที่เหมาะสมกับความต้องการหลายๆ อยา่ ง
4
พรรณี ช.เจนจิต (2528) กล่าวถงึ พฒั นาการทางสมองของบรูเนอร์เน้นที่การถา่ ยทอดประสบการณ์ด้วย
ลกั ษณะต่าง ๆ ดังน้ี
1. Enactive representation ตั้งแต่แรกเกิดจนอายุประมาณ 2 ปี เป็นช่วงที่เด็กแสดงใหเ้ หน็ ถึงความมี
สติปัญญาด้วยการกระทำและการกระทำด้วยวิธีนี้ยังดำเนินต่อไปเรื่อยๆ เป็นลักษณะของการถ่ายทอด
ประสบการณ์ด้วยการกระทำซึ่งดำเนนิ ต่อไปตลอดชีวิตมิได้หยดุ อยู่เพียงในช่วงอายุใดอายหุ นึ่งบูรเนอร์ได้อธิบาย
ว่า เด็กใช้การกระทำแทนสิ่งต่าง ๆ หรือประสบการณ์ต่างๆ เพื่อแสดงให้เห็นถึงความรูค้ วามเข้าใจ บรูเนอร์ได้
ยกตัวอย่าง การศึกษาของเพียเจท์ ในกรณีที่ เด็กเล็ก ๆ นอนอยู่ในเปลและเขย่ากระดิ่งเลน่ ขณะที่เขาบังเอิญทำ
กระดิ่งตกข้างเปล เด็กจะหยุดครู่หนึ่งแล้วยกมือขึ้นดูเด็กทำท่าประหลาดใจและเขย่ามือเล่นต่อไป ซึ่งจาก
การศึกษาน้ี บรูเนอรไ์ ด้ให้ข้อสงั เกตวา่ การท่เี ด็กเขย่ามือต่อไปโดยท่ีไมม่ ีกระด่ิงนนั้ เพราะเด็กคิดวา่ มือน้ันคือกระด่ิง
และเมอื่ เขยา่ มือก็จะได้ยินเสียงเหมือนเขยา่ กระดิ่งน่ัน คือเด็กถ่ายทอดสิ่งของ (กระดิ่ง) หรอื ประสบการณ์ดว้ ยการ
กระทำตามความหมายของบรูเนอร์
2. Iconic representation พัฒนาการทางความคิดในขั้นนี้อยู่ที่การมองเห็น และการใช้ประสาทสัมผัส
ต่างๆ จากตัวอย่างของเพียเจท์ดังกล่าวแล้ว เมื่อเด็กอายุมากขึ้นประมาณ ๒-๓ เดือน ทำของเล่นตกข้างเปลเด็ก
จะมองหาของเล่นนั้น ถ้าผู้ใหญ่แกล้งหยิบเอาไปเด็กจะหงุดหงิดหรือร้องไห้เมื่อมองไม่เห็นของเล่นนั้น บรูเนอร์
ตคี วามว่าการท่ีเด็กมองหาของเล่นและร้องไหห้ รือแสดงอาการหงุดหงดิ เมื่อไม่พบของแสดงให้เห็นว่าในวัยนี้เด็กมี
ภาพแทนในใจ (iconic representation) ซ่ึงต่างจากวัย enactive เด็กคดิ ว่าการส่ันมือกับการสั่นกระดิ่งเป็นของ
สิ่งเดียวกัน เมื่อกระดิ่งตก หายไป ก็ไม่สนใจ แต่ยังคงสั่นมือต่อไป การที่เด็กสามารถ่ายทอดประสบการณ์หรือ
เหตุการณ์ต่าง ๆ ด้วยการมีภาพแทนในใจแสดงให้เห็นถึงพัฒนาการทางความรู้ความเข้าใจซึ่งจะเพิ่มขึ้นตามอายุ
เด็กโตจะย่ิงสามารถสรา้ งภาพในใจไดม้ ากขน้ึ
3. Symbolic representation หมายถึง การถ่ายทอดประสบการณ์หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ โดยการใช้
สัญลักษณ์ หรือภาษา ซึ่งภาษาเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงความคิด ขั้นนี้เป็นขั้นที่บรูเนอร์ถือว่าเป็นขั้นสูงสุ ดของ
พัฒนาการทางความรู้ความเขา้ ใจเดก็ สามารถคดิ หาเหตผุ ลและในท่ีสุดจะเข้าใจสงิ่ ท่ีเป็นนามธรรมได้และสามารถ
แกป้ ัญหาไดบ้ รูเนอร์มคี วามเหน็ วา่ ความรคู้ วามเข้าใจและภาษามีพัฒนาการข้นึ มาพรอ้ ม ๆ กนั
ทฤษฎีพฒั นาการทางสติปญั ญาของกาเย่ (Gagne)
การพัฒนาทางสติปัญญา ได้แก่การสร้างความสามารถในการเรียนรู้สิ่งที่ซับซ้อนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ระยะ
หรือขั้นของการพัฒนาการดูเหมือนว่าจะสัมพันธ์กับอายุของเด็ก เนื่องจากการเรียนรู้ต้องใช้เวลา มีข้อจำกัดทาง
สังคมเป็นตัวกำหนด หรือกฎเกณฑ์เกี่ยวกับอัตราความเร็วในการให้ความรู้และข่าวสารแก่เด็ก สำหรับกาเย่แล้ว
ความสามารถในการเรยี นรู้อาจตอ้ งรอการฝกึ ฝนทเ่ี หมาะสม
ดา้ นทางปญั ญา (intellectual skills ทักษะย่อย 4 ระดบั ประกอบด้วย
1. การจำแนกแยกแยะ (discriminations) หมายถึง ความสามารถในการแยกแยะคุณสมบัติทาง
กายภาพของวตั ถุตา่ งๆ ท่รี ับรวู้ ่าเหมอื นหรอื ไม่เหมือนกันโดยผ่านระบบประสาทสัมผัสและการรบั รูข้ องสมอง
5
2. การสร้างความคิดรวบยอด (concepts) หมายถึง ความสามารถในการจัดกลุ่มวัตถุหรือสิ่งต่างๆ โดย
ระบุคุณสมบัติร่วมกันของวัตถุ หรือสิ่งนั้นๆ ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่ทำ ให้กลุ่มวัตถุ หรือสิ่งต่างๆ เหล่านั้น ต่างจาก
กลุ่มวัตถหุ รอื ส่ิงอ่นื ๆ ซึ่งแบ่งเป็น 2 ระดบั ยอ่ ย คือ
2.1. ความคิดรวบยอดระดบั รปู ธรรม
2.2. ความคิดรวบยอดระดับนามธรรมทีก่ ำหนดขึ้นในสังคม หรือวฒั นธรรมตา่ งๆ
3. การสร้างกฎ (rules) หมายถงึ ความสามารถในการนำความคิดรวบยอดตา่ งๆ มารวมเปน็ กลุม่ ตัง้ เป็น
กฎเกณฑ์ขึน้ เพือ่ ใหส้ ามารถสรปุ อ้างอิง และตอบสนองต่อส่งิ เรา้ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
4. การสร้างกระบวนการหรอื กฎชั้นสูง (procedures of higher order rules) หมายถึงความสามารถใน
การนำกฎหลายๆขอ้ ทส่ี มั พันธก์ ันมาประมวลเขา้ ด้วยกนั ซึ่งนำไปสคู่ วามรคู้ ความเข้าใจท่ีซับซ้อนย่ิงขึน้
ทฤษฎีพัฒนาการทางสตปิ ญั ญาของเลฟ เซเมโนวิช ไวก๊อตสก้ี
เลฟ เซเมโนวชิ ไวก๊อตสก้ี (Lev Semenovich Vygotsky) เปน็ นักจิตวิทยาชาวรัสเซีย เช้ือสายยิว เกิด
ในปี ค.ศ. 1896 ผลงานของเขาได้จุดประกายความคิดให้นักจิตวิทยาปัจจุบันยอมรับว่าวัฒนธรรมแวดล้อมเป็น
ตัวกำหนดพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็ก โดยพิจารณาการเรียนรู้โลกของเด็กว่าเขาเรียนรู้อะไร และ
อย่างไร ทฤษฎีของวีก๊อทสกี้เน้นความสัมพันธ์ของการปฏิสัมพันธ์ทางสังคมที่มีผลต่อพัฒนาการทางสติปัญญา
ขณะที่พอี าเจตเ์ ปรยี บเดก็ ว่าเป็นนักวทิ ยาศาสตรน์ อ้ ยที่สรา้ งและเข้าใจโลกกวา้ งใหญ่นด้ี ว้ ยตนเอง แต่
ไวก๊อตสกี้กล่าววา่ พัฒนาการทางสติปัญญาของเดก็ ขึ้นอยู่กับปฏิสัมพันธ์ทางสังคมโดยมีวัฒนธรรมเปน็ ตัวกำหนด
ความรู้ ความคดิ เจตคติ และค่านยิ มให้กบั เด็ก เขาเชอ่ื วา่ ส่ิงท่ีเด็กได้สัมผัสรับรู้ไมว่ ่าจะเป็นประสบการณ์ตรงหรือ
ผ่านทางสื่อต่างๆ เช่น หนังสือ วิทยุ โทรทัศน์ (ปัจจุบันหมายรวมถึงคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีต่างๆ
ด้วย) ตัวเลข ระบบทางคณิตศาสตร์ เครื่องหมาย และสัญลักษณ์ ฯลฯ ล้วนมีภาษาเป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยให้
เดก็ เกดิ พฒั นาการทางสติปัญญา (Woolfolk,1998)
วกี ๊อทสกอี้ ธบิ ายวา่ พัฒนาการทางสติปญั ญาสามารถแบ่งไดเ้ ป็นสองขน้ั (Diaz & Berk,๑๙๙๒) คอื
1. ระดับสติปัญญาขั้นพื้นฐาน (elementary mental process) เป็นความสามารถที่เกิดขึ้นตาม
ธรรมชาติโดยไม่ต้องอาศยั การเรียนรู้ เช่น การดูดนม การจับส่ิงของ ฯลฯ
2. ระดับสตปิ ญั ญาขนั้ สูง (higher mental process) เปน็ ความสามารถท่ีพฒั นามาจากการมีปฏิสัมพันธ์
กับบุคคลและสภาพแวดลอ้ ม การอบรมเลี้ยงดโู ดยมีภาษาเปน็ เครือ่ งมอื สำคญั ในการคิดและพัฒนาสติปัญญา
เนื่องจากวีก๊อทสกี้ให้ความสำคัญกับภาษาว่าเป็นเครื่องมือหลักในการพัฒนาสติปัญญา โดยเขาได้แบ่ง
พฒั นาการทางภาษาออกเป็น 3 ขน้ั ได้แก่
ภาษาสังคม (social speech) เป็นภาษาที่เด็กใช้ในการติดต่อสัมพันธ์กับผู้อื่นในช่วงอายุ0-3ปี เพ่ือ
สอ่ื สารความคิด ความต้องการ อารมณค์ วามรสู้ ึกของตนเองกับผอู้ น่ื
ภาษาพูดกับตนเอง (egocentric speech) เป็นภาษาที่เด็กใช้พูดกับตนเองในช่วงอายุ 3-7 ปี โดยไม่
เกย่ี วขอ้ งกบั ผู้อ่ืน เพอื่ ชว่ ยในการคดิ ตดั สินใจแสดงพฤตกิ รรม
ภาษาในตนเอง (inner speech) วิก๊อทสกี้อธิบายว่ามนุษย์ต้องใช้ภาษาในการคิด เด็กจะต้องพัฒนา
ภาษาในใจ ซึ่งเป็นการช่วยให้พัฒนาการทางสติปัญญาพัฒนาสูงขึ้นตามระดับอายุ การพัฒนาภาษาภายใน
6
ตนเองเกิดขึ้นในช่วงอายุประมาณ 7 ปี เมื่อเด็กพบปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้น เขาเรียนรู้ที่จะแก้ปัญหาไปตาม
ขัน้ ตอนโดยใชภ้ าษาภายในตนเอง ในขณะท่ีเดก็ เรียนรู้ทีจ่ ะแก้ปัญหาดว้ ยตนเองนน้ั เขาอาจพบบางปัญหาที่เขา
คิดเองไมอ่ อก แตห่ ากได้รับคำแนะนำชว่ ยเหลือบางส่วนจากผู้ใหญ่ หรือได้รบั ความร่วมมอื จากกลุ่มเพ่ือนเขาจะ
สามารถแก้ปัญหานั้นได้สำเร็จ วีก๊อทสกี้เรียกระดับความสามารถนี้ว่า จุดที่เด็กสามารถแก้ปัญหาได้สำเร็จหาก
ไดร้ บั ความช่วยเหลือสนับสนนุ
ทฤษฎพี ัฒนาการทางสตปิ ัญญาของบลมู
Bloom’s Taxonomy กล่าวถึงการจำแนกการเรียนรู้ตามทฤษฎีของบลูม ซึ่งแบ่งเป็น 3 ด้าน คือ ด้าน
พุทธิพิสัย ด้านจิตพิสัย และด้านทักษะพิสัย โดยในแต่ละด้านจะมีการจำแนกระดับความสามารถจากตำ่ สดุ ไปถงึ
สูงสุด เช่น ด้านพุทธิพิสัย เริ่มจากความรู้ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเครา ะห์ การประเมิน
นอกจากนี้ยังนำเสนอระดับความสามารถที่มีการปรับปรุงใหม่ตามแนวคิดของ Anderson and Krathwohl
(2001) เป็น การจำ(Remembering) การเข้าใจ(Understanding) การประยุกต์ใช้(Applying) การวิเคราะห์
(Analysing) การประเมินผล (Evaluating) และการสร้างสรรค์ (Creating) ด้านจิตพิสัย จำแนกเป็น การ
รับรู้, การตอบสนอง, การสร้างค่านิยม, การจัดระบบ และการสร้างคุณลักษณะจากค่านิยม ด้านทักษะพิสัย
จำแนกเปน็ ทักษะการเคลอ่ื นไหวของร่างกาย, ทกั ษะการเคลอ่ื นไหวอวัยวะสองส่วนหรอื มากกว่าพรอ้ มๆ กัน
พทุ ธพิ ิสัย
พฤติกรรมดา้ นสมองเป็นพฤตกิ รรมเกยี่ วกับสตปิ ัญญา ความรู้ ความคิด ความเฉลียวฉลาด ความสามารถใน
การคิดเรอ่ื งราวต่างๆ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ซึง่ เป็นความสามารถทางสติปัญญา พฤติกรรมทางพุทธิพสิ ัย 6 ระดับ
ได้แก่
แบบเกา่
1. ความรคู้ วามจำ ความสามารถในการเก็บรกั ษามวลประสบการณ์ตา่ ง ๆ จากการทไี่ ด้รบั ร้ไู ว้และระลึก
สิ่งนั้นได้เมื่อต้องการเปรียบดังเทปบันทึกเสียงหรือวีดิทัศน์ที่สามารถเก็บเสียงและภาพของเรื่องราวต่างๆได้
สามารถเปิดฟังหรอื ดูภาพเหลา่ นั้นได้เมอื่ ตอ้ งการ
2. ความเข้าใจ เป็นความสามารถในการจับใจความสำคัญของสื่อ และสามารถแสดงออกมาในรูปของ
การแปลความ ตคี วาม คาดคะเน ขยายความ หรอื การกระทำอืน่ ๆ
3. การนำความรู้ไปใช้ เป็นขั้นที่ผู้เรียนสามารถนำความรู้ ประสบการณ์ไปใช้ในการแก้ปัญหาใน
สถานการณ์ต่าง ๆ ได้ ซ่งึ จะตอ้ งอาศัยความรู้ความเขา้ ใจ จึงจะสามารถนำไปใช้ได้
4. การวิเคราะห์ ผู้เรียนสามารถคิด หรือ แยกแยะเรื่องราวสิ่งตา่ ง ๆ ออกเป็นส่วนย่อยเป็นองค์ประกอบ
ที่สำคัญได้ และมองเห็นความสัมพันธ์ของส่วนที่เกี่ยวข้องกัน ความสามารถในการวิเคราะห์จะแตกต่างกันไป
แล้วแต่ความคิดของแต่ละคน
5. การสังเคราะห์ ความสามารถในการที่ผสมผสานส่วนย่อย ๆ เข้าเป็นเรื่องราวเดียวกันอย่างมีระบบ
เพื่อให้เกิดสิ่งใหม่ที่สมบูรณ์และดีกว่าเดิม อาจเป็นการถ่ายทอดความคิดออกมาให้ผู้อื่นเข้าใจได้ง่าย การกำหนด
วางแผนวิธีการดำเนินงานขึ้นใหม่ หรือ อาจจะเกิดความคิดในอันที่จะสร้างความสัมพันธ์ของสิ่งที่เป็นนามธรรม
ขึ้นมาในรูปแบบ หรอื แนวคิดใหม่
7
6. การประเมินค่า เปน็ ความสามารถในการตัดสนิ ตรี าคา หรอื สรปุ เกยี่ วกบั คุณคา่ ของส่งิ ต่าง ๆ ออกมา
ในรูปของคุณธรรมอย่างมีกฎเกณฑ์ท่ีเหมาะสม ซงึ่ อาจเปน็ ไปตามเนอื้ หาสาระในเร่ืองน้ัน ๆ หรอื อาจเป็น
กฎเกณฑท์ สี่ ังคมยอมรบั ก็ไดแ้ บบใหม่
1. ระดบั ความรคู้ วามจำ (Remembering) คือการที่ผเู้ รยี นสามารถตอบได้ว่าสิง่ ทเ่ี รียนมาจากไหน
เพราะเกิดจากการจดจำ
2. ระดับความเข้าใจ (Understanding) คอื การทผ่ี ูเ้ รียนเข้าใจความสัมพันธข์ องสงิ่ ที่ได้เรียนมา
สามารถอธิบายตามความเขา้ ใจของตัวเองได้
3. ระดบั การประยุกต์ใช้ (Applying) คือการทผ่ี เู้ รียนสามารถนำความร้ทู ี่ได้รบั มาใช้ในการแกไ้ ข
ปญั หาต่างๆ ได้
4. ระดับการวเิ คราะห์ (Analyzing) คือการที่ผูเ้ รยี นสามารถนำความรู้ท่ีได้เรยี นมาคิดอย่างลกึ ซ้งึ รวม
ท้งั เเยกเเยะหาความสมั พันธ์ เเละเหตผุ ลได้
5. ระดับการประเมินผล (Evaluating) คือการท่ีผูเ้ รียนสามารถตงั้ เกณฑต์ ดั สิน เปรยี บเทียบคุณภาพ
หรือประสิทธิภาพของการเรียนรูไ้ ด้
6. ระดบั การสร้างสรรค์ (Creating) คอื การท่ีผู้เรียนสามารถคดิ ประดิษฐส์ ง่ิ ใหม่ๆ ไดด้ ว้ ยตนเอง หรอื
สามารถปรบั ปรงุ แกไ้ ขออกแบบ ต้ังสมมตุ ฐิ านใหม่ๆ ได้
การเรยี นรู้เพื่อพัฒนาการทางสตปิ ญั ญา
เด็กแตล่ ะคนมวี ิธกี ารเรยี นรู้ทแี่ ตกตา่ งกนั เปรียบเหมอื นสายรงุ้ ที่หลากสี บคุ คลจึงมีหลากหลาย รสนิยม
มีความแตกต่างของบุคลิกภาพ ครูและผู้ปกครองต้องตระหนักและมองเห็นคุณค่าของความแตกต่างเพื่อการ
ค้นหาให้พบว่า เด็กมีลักษณะการเรียนรู้หรือความสามารถที่จะเรียนรู้ในทางใด เพื่อจะได้ดำเนินกิจกรรมการ
พัฒนาเดก็ ใหเ้ ตม็ ตามศักยภาพและได้ใช้ความสามารถไดส้ งู สดุ (ณัชนนั แก้วชยั เจริญกจิ , 2550,หน้า 2)
โดยแตล่ ะขน้ั พฒั นาการจะมีความสามารถทางสติปัญญาที่เป็นเอกลกั ษณเ์ ฉพาะตน
1. ได้มาจากพฒั นาการทางชวี วิทยา
2. สิ่งทม่ี ีชีวติ ดำรงชพี อยู่ไดด้ ว้ ยการปรับตัวทีเ่ หมาะสมกับสภาพแวดลอ้ ม
3. วิวัฒนาการทางรา่ งกายเกดิ จากการเปลย่ี นแปลงร่วมกนั ของลักษณะทางกรรมพันธแุ์ ละส่ิงแวดล้อม
4. พัฒนาการทางปัญญากค็ ือการเปล่ยี นแปลงโครงสรา้ งความรคู้ วามคิด (Cognitive structure) หลงั จาก
การมปี ฏสิ ัมพนั ธ์กับสงิ่ แวดล้อม
ทฤษฎีพัฒนาการทางสตปิ ัญญา
1. ทฤษฎีพฒั นาการทางสตปิ ัญญาของเพียเจต์
นกั เรียนท่มี อี ายเุ ทา่ กนั อาจมขี นั้ พัฒนาการทางสติปัญญาท่แี ตกต่างกนั ดงั นน้ั จงึ ไมค่ วรเปรียบเทียบเด็ก ควรให้เด็ก
มีอิสระที่จะเรียนรู้และพัฒนาความสามารถของเขาไปตามระดับพัฒนาการของเขา
(พรรณี ช. เจนจติ , 2582, หนา้ 47)
2. ทฤษฎพี ฒั นาการทางสตปิ ัญญาของบรนุ เนอร์
8
กระบวนการค้นพบการเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ดีมีความหมายสำหรับผู้เรียน การวิเคราะห์
และจัดโครงสร้างเนื้อหาสาระการเรียนรู้ให้เหมาะสมเป็นสิ่งที่จำเป็นที่ต้องทำก่อนการสอน
(ชัยวัฒน์ สทุ ธิรัตน์,2552 : หน้า 27-28)
3. ทฤษฎพี ฒั นาการทางสติปัญญาของกาเย่
การจำแนกแยกแยะ (Discriminaitons) หมายถึง ความสามารถในการแยกแยะคุณสมบัติทางกายภาพของวัตถุ
ตา่ ง ๆที่รับรเู้ ขา้ มาว่าเหมอื น (วีระวรรณ ศรีตะลานคุ ค, 2552, หน้า 111)
เปรียบเทียบระหวา่ งทฤษฎีพฒั นาการดา้ นสตปิ ัญญา
เพียเจต์ (Piaget) มขี ้อแตกตา่ งจาก บรุนเนอร์ เจโรม (Jerome Bruner) โดยสามารถอธบิ ายได้ดังน้ี
ทฤษฎีของเพียเจต์เน้นพัฒนาการทางสมองของเด็กมีขั้นตอนซึ่งขึ้นอยู่กับอายุ แตกต่างจาก
ทฤษฎี ของบรนุ เนอร์ท่ไี ม่คำนงึ ถงึ อายุ
ทฤษฎขี องเพียเจต์คำนงึ ถึงพัฒนาการทางสมองในแงข่ องความสามารถในการกระทำสิ่งต่างๆ ใน
แตล่ ะวยั ทีจ่ ะเกดิ พฒั นาทางสตปิ ญั ญา ในขณะท่บี รุนเนอร์ม่งุ คำนงึ ถึงในแง่ของกระบวนการ (process) ที่
ต่อเนื่องไปตลอดชีวิตและให้เน้นความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมหรือสิ่งแวดล้อม เพราะเชื่อ ว่า
ส่ิงแวดลอ้ มเปน็ สว่ นช่วยใหเ้ กดิ การพัฒนาสตปิ ัญญา
ความหมายและแนวคิดเชาวนป์ ญั ญา
ความหมายของเชาวน์ปัญญา
ความหมาย เชาวน์ปัญญา หมายถึง ความฉลาด ความสามารถในการทำความเข้าใจสิ่งต่าง ๆ
ความสามารถในการแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งศักยภาพในการเรียนรู้จากประสบการณ์ ปัจจุบัน
นักจิตวิทยาได้จัดลำดับลักษณะความสำคัญของคุณสมบัติที่ใช้เป็นตัวแทนในการแสดงถึง ความสามารถทาง
เชาวนป์ ญั ญาของมนษุ ย์ออกเป็น 3 ลกั ษณะ คอื
1. ความสามารถที่เกี่ยวข้องกับเรื่องความคิด สัญลักษณ์ การสร้างความสัมพันธ์ความคิดรวบ ยอด และ
ความสามารถในทำความเขา้ ใจกฎเกณฑต์ า่ ง ๆ
2. ความสามารถในการแก้ปัญหา ซึ่งจะเน้นในเรื่องความสามารถในการปรับตัวเข้ากับ สภาพการณ์ใหม่
ได้อย่างเหมาะสม
3.ความสามารถในเรื่องต่าง ๆ เช่น ความสามารถทางด้านภาษา สัญลักษณ์ ความสามารถ ทาง
คณติ ศาสตร์ ความสามารถทางด้านมิติสัมพนั ธ์
บิเนต์ (Binet, 1916, อ้างถึงใน สุรศักดิ์ อมรรันตศักดิ์, 2544, หน้า 4) ได้ให้ความหมายเชาวน์ปัญญาไว้
ว่า คือแนวโน้มในการใช้ความสามารถที่จะเข้าใจสิ่งใดสิ่งหนึ่งตามธรรมชาติของสิ่งนั้นๆ แล้วสามารถเอาความ
เข้าใจนั้นไปดัดแปลง แก้ไข สร้างสรรค์ แก้ปัญหาให้บรรลุตามเป้าประสงค์ และยังรวมถึงความสามารถในการใช้
วิจารญาณอกี ด้วย
กอดดาร์ด (Goddard, 1946, อ้างถึงใน จำเนียร ช่วงโชติ, 2547, หน้า 31) ได้ให้ความหมายเชาวน์
ปญั ญาไว้ว่า หมายถงึ ความสามารถในการทำกจิ กรรมตา่ งๆ ซง่ึ มีลกั ษณะดังต่อไปนี้
9
1. ยาก
2. ซับซ้อน
3. เปน็ นามธรรม
4. ประหยดั ทางเศรษฐกจิ
5. มีการปรับตวั ใหบ้ รรลถุ งึ เป้าหมาย
6. ใหค้ ณุ คา่ ทางสงั คม
7. มีการกระทำที่คิดขึ้นเอง และยังคงรักษากิจกรรมเหล่านั้นไว้ได้ภายใต้สภาวการณ์ ซึ่งต้องการมีสมาธิ
ของพลงั งานและการต่อต้านแรงอารมณ์
ความเป็นมาของการวดั เชาวนป์ ญั ญา
ในครสิ ต์ศตวรรษท่ี 19 นกั จติ วิทยาได้เร่มิ ต่ืนตัวและให้ความสำคญั ท่ีบุคคลที่มีความผิดปกติ เช่น เป็นโรค
จิต ปัญญาอ่อนมากขึ้น ได้มีการสร้างสถานพยาบาทสำหรับคนผิดปกตขิ ึ้น ได้มีความพยายามที่จะสรา้ งเครื่องมอื
เพอ่ื จะวัดความผิดปกตขิ องคนเพ่ือจะแยกคนผดิ ปกติออกจากกนั โดยเฉพาะคนที่วิกลจริตกบั คนปัญญาอ่อน โดย
นักจิตวิทยามีความเห็นว่าคนวิกลจริตจะบกพร่องทางอารมณ์หรือจิตใจ แต่คนปัญญาอ่อนจะพกพร่องทาง
สตปิ ัญญา
Gaiton เป็นนักชีววิทยาที่สนใจศึกษาเรื่องพันธุกรรมได้สร้างเครื่องมือวัดความคล่องแคล่วของการใช้
อวัยวะและประสาทสัมผัสต่างๆ มีความเชื่อคุณลักษณะบางประการทางด้านร่างกาย มีความเกี่ยวข้องกับเชาวน์
ปัญญาของคน ในเวลาต่อมา Cattell ได้สร้างแบบทดสอบวัดเชาวน์ปัญญาขึ้นโดยยึดลักษณะทางด้านร่างกาย
ตามแนวทางของ Calton และ Cattell เป็นคนแรกท่ีใช้คำว่า Mental Test ต่อมา Binet มีความเช่อื เรื่องเชาวน์
ปัญญาควรมาจากความสามารถทางสมองด้านต่างๆ เช่น ความจำ ความเข้าใจ การคิดหาเหตุผลเป็นต้น
แบบทดสอบวัดเชาวน์ปัญญา จึงควรวัดความสามารถเหล่านี้ Binet และ Simon ได้ร่วมกันสร้างแบบวัดเชาวน์
ปัญญาเป็นฉบับแรกที่เรียกว่า Binet-Sinet Scale ในตอนเริ่มต้นสร้างขึ้นเพื่อใช้กับเด็กอายุ 3-11 ปี ต่อมาได้มี
การปรบั แบบทดสอบให้ใชไ้ ด้จนถึงระดับมหาวิทยาลยั
ในระยะต่อมา Terman กับคณะได้สร้างแบบทดสอบเช้าปัญญาโดยการปรับปรุงจากการทดสอบของ
Binet โดยใช่ชื่อแบบทดสอบนี้ว่า Stanford -Binet Scale และในระยะต่อมาได้มีการพัฒนาแบบทดสอบ
วดั เชาสนป์ ญั ญาใหเ้ หมาะกบั การใชง้ านท้งั รายบุคคลและรายกลมุ่
ทฤษฎีเกยี่ วกับเชาวนป์ ญั ญา
ทฤษฎีเกี่ยวกับเชาวน์ปัญญามีมากมายหลายทฤษฎี แตกต่างกันไปตามความเชื่อและการศึกษาค้นคว้า
ของแตล่ ะบุคคล เพือ่ ยึดถือเป็นหลักในการสร้างแบบทดสอบวัดเชาวน์ปัญญา (สุรศกั ดิ์ อมรรตั นศักดิ์ 2544, หน้า
45-55) ได้กล่าวถึงทฤษฎีเกย่ี วกบั เชาวนป์ ญั ญา ดังต่อไปน้ี
1. ทฤษฎีองค์ประกอบเดียว (Un-Factor Theory) บางทีเรียกทฤษฎีนี้ว่า Global Factor ทฤษฎี
นี้มีความเชื่อว่า เชาวน์ปัญญามีลักษณะเป็นอันหนึ่งอันเดียว ไม่แยกเป็นส่วนย่อยซึ่งมีลักษณะคล้ายกับ
ความสามารถทั่วๆไป (General Ability) ผู้คิดทฤษฎีนี้คือ Binet และเขาได้สร้างแบบทดสอบวัดเชาวน์ปัญญา
ตามแนวคดิ นี้ โดยคิดคะแนนจากความสามารถรวม ๆ แล้วแปลความหมายเชาวนป์ ัญญา
10
2. ทฤษฎีสององค์ประกอบ (Two-Factor Theory) ชาร์ล สเปียร์แมน เป็นผู้คิดทฤษฎีนี้ขึ้นมา
โดยมคี วามเช่อื ว่า ความสามารถทางสมองของมนุษย์มี 2 องคป์ ระกอบคอื
2.1. ความสามารถทั่วๆไป (General Factor) เป็นความสามารถในการทำกิจกรรมต่างๆทุก
ชนิด ซึ่งสอดแทรกอยู่ในทุกอิริยาบถของความคิด และการกระทำของมนุษย์แต่ละคนจะมีความสามารถ
ทวั่ ไป แตกตา่ งกันไปแตล่ ะบคุ คล
2.2. ความสามารถเฉพาะ (Specific Factor) เป็นความสามารถเฉพาะในการทำกิจกรรมอย่าง
ใดอย่างหนงึ่ ความสามารถเฉพาะนับว่าเป็นองคป์ ระกอบสำคญั ท่ีทำให้มนษุ ย์มคี วามแตกตา่ งกันและเป็น
ความสามารถพิเศษที่มีอยู่ในตัวบุคคล เช่น ความสามารถทางคณิตศาสตร์ ความสามารถทางภาษา
ความสามารถทางจักรกล และความสามารถทางดนตรีเปน็ ตน้
3. ทฤษฎีหลายองค์ประกอบ (Multiple Factor Theory) ผู้นำคนหนึ่งของทฤษฎีหลาย
องค์ประกอบคือ Thurstone เปน็ ผูท้ ่นี ำเอาการวิเคราะห์องคป์ ระกอบ (Factor Analysis) แบบ Centroid มาใช้
ในการวิเคราะห์ผลการสอบจากแบบทดสอบหลายฉบับ ทำให้สามารถแยกแยะความสามารถทางสมองออกเป็น
สว่ นย่อย ๆ ได้หลายอย่างโดยท่ี Thurstone ได้สรุปลักษณะความสามารถพน้ื ฐานทางสมองทีส่ ำคญั มดี งั นี้
3.1. ความสามารถด้านภาษา (Verbal Factor) เป็นความสามารถในการเข้าใจคำศพั ท์ ข้อความ
เร่ืองราวทางภาษา และเลือกใชภ้ าษาได้เหมาะสม
3.2. ความสามารถด้านตัวเลข (Number Factor) เป็นความสามารถในการคิดคำนวณตัวเลข
ดว้ ยวธิ กี ารทางคณติ ศาสตร์ได้ถกู ตอ้ ง รวดเร็ว
3.3. ความสามารถทางด้านเหตุผล (Reasoning Factor) เป็นความสามารถในการคิดอย่างมี
เหตุผลซึ่งมีทั้งการคิดแบบอนุมาน และแบบอุปมาน และเหตุผลทั่วๆ ไป เช่น ความสามารถในการคิดแก้ปัญหา
ตา่ ง ๆ
3.4. ความสามารถด้านมิติสัมพันธ์ (Spatial Factor) เป็นความสามารถในการมองเห็นและ
เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุหรือรูปภาพในมิติต่างๆ ได้แก่ ความสั้น ยาว ใกล้ ไกล พื้นที่ ปริมาตร รูปทรง
เป็นต้น ซึ่งเป็นความสามารถในการจินตนาการ ให้เห็นส่วนย่อยของวัตถุต่างๆ เมื่อแยกออก และเห็นโครงสร้าง
ของวตั ถุ เมื่อนำมาประกอบเข้าดว้ ยกัน
3.5. ความสามารถด้านการจำ (Memory Factor) เป็นความสามารถในการจำเรื่องราว
เหตุการณ์ หรอื สง่ิ ต่าง ๆ และสามารถถา่ ยทอดออกมาได้
3.6. ความสามารถด้านการรับรู้ (Preception Factor) เป็นความสามารถในการเห็น
รายละเอียด ความคลา้ ยคลงึ หรอื ความแตกต่าง ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง และรวดเร็ว
3.7. ความสามารถด้านความคล่องแคล่วในการใช้คำ ( Word Fluemy Factor) เป็น
ความสามารถ ในการใช้ถ้อยคำตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง และรวดเรว็
11
แบบทดสอบวดั เชาวนป์ ญั ญา (Intelligence Test)
แบบทดสอบ Standford-Binet
เปน็ แบบทดสอบวัดความสามารถทางสมองเปน็ รายบุคคลแบบทดสอบแบ่งเปน็ หลายฉบับตามระดับอายุ
สามารถวดั เชาวนป์ ัญญาของเด็กไดต้ งั้ แต่อายุ 2 ปจี นถงึ ระดบั ผูใ้ หญ่ดังรายละเอียดของแบบทดสอบต่อไปนี้
แบบทดสอบสำหรบั เดก็ อายุ 2 ปจี ะประกอบดว้ ยข้อสอบดังนี้
1. ฟอร์มบอร์ด (Three-Hole Form Board) ให้นำชิ้นส่วนรูปทรงต่างๆ ใส่ลงในช่อง
แผน่ กระดาษทเี่ จาะรูไว้ให้ถกู ตอ้ ง
2. รอคำตอบ (Delayed Response) เป็นการเอาตุ๊กตาแมวซ่อนไว้ใต้กล่องแล้วเอาฉากมากั้น
กล่องมีกล่องอยู่ 3 ใบใหเ้ ลือกกล่องท่ีมตี กุ๊ ตาแมวซ่อนอยูไ่ ด้คะแนนเมื่อตอบถูก 2 ใน 3 ครง้ั
3. ชสี้ ว่ นของร่างกาย (Identifying Parts of Body) ใหช้ ี้สว่ นต่างๆ ของรา่ งกายจากภาพตุ๊กตาท่ี
กำหนดใหไ้ ด้คะแนนเมือ่ ตอบถูก 3 ส่วน
4. ต่อลูกบาศก์ (Block Building) ให้ก่อหอคอยโดยใช้ลูกบาศก์ 4 แห่งให้เหมือนกับตัวอย่างถ้า
ทำไดจ้ ะไดค้ ะแนน
5. บอกชื่อสิ่งของในภาพ (Picture Vocabulary) ให้ดูภาพสิ่งของต่างๆ จากกระดาษแล้วถาม
จะตอ้ งบอกชอื่ ใหถ้ กู ต้องอยา่ งนอ้ ย ๒ ช่อื จงึ จะไดค้ ะแนน
6. ประกอบคำ (Word Combination) ผู้ดำเนินการสอบจะสังเกตเด็กขณะกำลังสอบว่า
สามารถพูดคำประกอบตั้งแต่ 2 คำขึ้นไปได้ถ้าพูดได้ก็จะได้คะแนนแบบทดสอบสำหรับเด็กอายุ6ปี
ประกอบดว้ ยขอ้ สอบดงั น้ี
1. คำศัพท์ (Vocabulary) เป็นการถามความหมายของคำที่กำหนดมาให้ 45 คำจะได้คะแนน
เมอ่ื ตอบถูก 5 คำ
2. ความแตกต่าง (Difference) ให้อธิบายความแตกต่างของ 2 สิ่งจำนวน 3 คู่จะได้คะแนนเมือ่
ตอบได้อยา่ งน้อย ๒ คู่
3. หาส่วนที่ขาดหายไป (Mutilated Pictures) ให้หาส่วนที่ขาดหายไปของรูปภาพจะต้องตอบ
ถูกต้องต้ังแต่ 4 ภาพขึน้ ไป
4. ความเข้าใจเกี่ยวกับจำนวน (Number Concept) ให้หยิบแท่งไม้ตามจำนวนที่สั่งต้องหยิบ
ถูกตอ้ ง 3 ใน 4 คร้งั
5. อุปมาอปุ มัยในลักษณะตรงกันข้าม (Opposite Analogies) ให้ตอบคำถามเช่นโต๊ะทำมาจาก
อะไรจะตอ้ งตอบถูกอย่างนอ้ ย 3 คำตอบ
6. เขาวงกต (Maz) ให้ดูวงกต 3 แบบแต่ละแบบมีทางเดินกลับบ้านทางทางหน่ึงสั้นอีกทางหนง่ึ
ยาวให้เลือกเดินทางที่สั้นกว่าต้องทำให้ถูกอย่างน้อย 2 ในแบบทดสอบสำหรับเด็กอายุ 10 ปี
ประกอบดว้ ยขอ้ สอบดงั น้ี
1. คำศัพท์ (vocabulary) ให้บอกความหมายของคำต่างๆ จะต้องตอบถูกอย่างน้อย 11 คำ
จงึ จะไดค้ ะแนน
12
2. นับลูกบาศก์ (Block Counting) ให้บอกจํานวนแท่งลูกบาศก์ในแต่ละภาพจะได้คะแนนเมื่อ
ตอบถูก 8 ใน 13 ภาพ
3. คำนามธรรม (Abstract Words) ใหบ้ อกความหมายของคำท่ีเป็นนามธรรมต้องตอบถูกอย่าง
นอ้ ย 2 ใน 4 คำทก่ี ำหนดให้
4. คดิ หาเหตผุ ล (Finding Reasons) ใหบ้ อกเหตผุ ลของกฎเกณฑท์ างสงั คมมา 2 ขอ้
5. บอกชื่อสิ่งของ (Word Naming) ให้บอกชื่อสิ่งของให้ได้มากที่สุดภายใน 2 นาที อย่างน้อย
28 คำข้นึ ไป
6. ทบทวนตัวเลข (Repeating Six Digits) ให้ทบทวนตัวเลขจากลำดับ หลังจากอ่านให้ฟัง 1
วนิ าทีจะต้องทบทวนไดอ้ ยา่ ถูกตอ้ งอยา่ งน้อย 1 ชดุ จาก 3 ชุด
แบบทดสอบสำหรบั ผ้ใู หญ่ (อายุมากกว่า 15 ป)ี ประกอบดว้ ยข้อสอบดงั น้ี
1. คำศพั ท์ (Vocabulary) ให้บอกความหมายของคำตา่ งๆ ท่ีกำหนดให้จะตอ้ งตอบถกู อย่างน้อย
20 คำขึ้นไป
2. คิดหาเหตุผล (Ingenuity) ให้วิธีคิดแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล จะต้องแก้ไขปัญหาให้ได้อย่าง
น้อย 2 ปัญหา จาก 3 ปญั หา
3. ความแตกตา่ งระหว่างคำท่ีเป็นนามธรรม (Difference Between Abstract Words) ให้บอก
ความแตกตา่ งของคำนามธรรมจะตอ้ งตอบถูกอยา่ งน้อย 2 คู่ใน 3 คู่ทกี่ ำหนดให้
4. เลขคณิต (Arithmetical Reasoning) ให้แก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์จะต้องตอบถูก 2 ใน 3
ปัญหา
5. คำพังเพย (Proverbs) ให้อธิบายความหมายของคำพังเพยทีก่ ำหนดให้จะต้องให้ความหมาย
ถูกต้องอยา่ งน้อย 2 ใน 3 คำพังเพยทกี่ ำหนดให้
6. บอกทิศ (Orientation) สามารถบอกทิศไดจ้ ะต้องตอบถูก 4 ใน 5 ครง้ั
7. ความแตกต่าง (Essential Difference) ให้บอกความแตกต่างระหว่างกิจกรรมต่างๆ จะต้อง
ตอบถูก 2 ใน 3
8. คำนามธรรม (Abstract Words) ให้บอกความหมายของคำทเี่ ป็นนามธรรมต้องตอบถูกอย่าง
นอ้ ย 4 ใน 5 คำทกี่ ำหนดให้
การหาค่า I.Q. จากแบบทดสอบ Standford-Binet เริ่มต้นจากการหาอายุสมอง (Mental
Age) ได้จากอายุฐาน (Based Age) ซึ่งเป็นช่วงอายุของแบบทดสอบ ที่ผู้สอบทำแบบทดสอบได้ทุกข้อ
รวมกับคะแนนท่ีทำไดใ้ นแตล่ ะระดับอายจุ นถึงอายเุ พดาน (Ceiling Age) ซงึ่ หมายถงึ ช่วงอายุท่ีผู้สอบทำ
แบบทดสอบน้นั ไม่ไดเ้ ลยแล้วนำอายสุ มองทรี่ วมได้ไปคำนวณหาค่า I.Q. จากสตู ร
I.Q. = = 100
MA คอื Mental Age หรืออายสุ มอง
CA คอื Chronological Age หรืออายุจรงิ ตามปฏิทนิ
13
แบบทดสอบ Mechisier Scale
ในการสร้างแบบทดสอบของ Wechisier มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้มีแบบทดสอบวัดเชาวน์ปัญญา
สำหรับผู้ใหญ่เพราะแบบทดสอบที่มีมาก่อนมักจะทำขึ้นสำหรับเด็กแล้วดัดแปลงใช้กับผู้ใหญ่เนื้อหาของ
แบบทดสอบจึงไม่น่าสนใจสำหรับผู้ใหญ่แบบทดสอบวัดเชาวน์ปัญญาของ Wechsler จึงได้สร้างและ
พฒั นาสำหรับคนแตล่ ะวยั แบ่งเป็น 3 ชุดคอื (สรุ ศักด์ิ อมรรตั นศกั ด,์ิ 2544 หนา้ 65-72)
1. Wechsler Intelligence Scale (WAIS)
2. Wechsler Intelligence Scale for Children (WISC)
3. Wechsler Preschool and Primary Scale of Intelligence (WPPSI)
ลักษณะแบบทดสอบวัดเชาวน์ปัญญาของ Wechsler แต่ละชุดมีการวัดที่คล้ายกันมาก
แบบทดสอบทุกระดับจะแบ่งออกเปน็ 2 องค์ประกอบท่ีมคี วามแตกตา่ งกันเพียงความยากของตัวคำถาม
แต่ละขอ้ องค์ประกอบของแบบทดสอบมลี กั ษณะดังตอ่ ไปน้ี
1. แบบทดสอบทางภาษา (Verbal Scale) แบง่ ออกเปน็ แบบทดสอบยอ่ ยดงั ตอ่ ไปน้ี
1.1. Information เปน็ คำถามเก่ียวกับความรู้ท่ัวๆ ไปเชน่ หนึง่ สัปดาหม์ กี ี่วันเป็นต้น
1.2. Comprehension เป็นคำถามเกี่ยวกับสามัญสำนึกหรือการตัดสินใจเช่นทำไมประชาชน
ตอ้ งเสียภาษีเปน็ ต้น
1.3. Arithmetic เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ในรูปแบบที่เคยเรียน
มาแลว้ การใหค้ ะแนนจะคิดจากความถูกต้องและรวดเรว็
1.4. Similarities เป็นคำถามที่ให้ผู้สอบบอกสิ่งที่คล้ายกันของสองสิ่งที่กำหนดมาให้เช่นกล้วย
กับสม้ เป็นตน้
1.5. Vocabulary เป็นการวัดความสามารถด้านภาษาโดยให้ผู้สอบบอกความหมายของคำที่
กำหนดให้
1.6. Digit Span เป็นความสามารถในการทำสำดับตัวเลขโดยมากจะมีเลขโดดเรียงกัน 3 ตัว
หรือมากกว่าผู้ดำเนินการสอบจะอ่านตัวเลขเหล่านั้นให้ฟังแลว้ ผู้ตอบตอ้ งพูดตามในทนั ทซี ึ่งอาจจะให้พูด
ทวนกลบั หลงั กไ็ ดเ้ ช่นถา้ ได้ยนิ 6 5 7 1 ก็ต้องตอบเป็น 1 7 5 6 เปน็ ตน้
2. แบบทดสอบดา้ นการปฏิบตั ิ (Performance Scale) แบ่งออกเปน็ แบบทดสอบย่อยดงั น้ี
2.1. Picture Completion ให้ผู้ตอบดูภาพที่ไม่สมบูรณ์แล้วให้ตอบว่าภาพนั้นมีส่วนใดขาด
หายไปเชน่ คภู าพใบหนา้ คนทจ่ี มกู หายไป
2.2. Picture Arrangement จะมีภาพชุดเปน็ เรื่องราวแต่ละชุดจะประกอบดว้ ยภาพ ๓-๔ ภาพ
ใหเ้ รยี งลำดับภาพในแต่
2.3. Object Assembly ให้นำชิ้นส่วนต่างๆ มาประกอบกันเป็นภาพตามที่กำหนดให้อย่าง
ถูกต้องและรวดเรว็
2.4. Block Design ให้ต่อแท่งไม้เป็นรูปต่างๆ ที่กำหนดให้แท่งไม้จะเป็นรูปลูกบาศก์ทาสีแดงสี
ขาวและสแี ดง-ขาว
14
2.5. Coding กำหนดตวั เลขและสญั ลักษณ์ใหแ้ ลว้ ให้ผู้สอบจับคู่ตวั เลขกับสัญลักษณ์
2.6. Mazes เป็นข้อสอบที่ให้ผู้สอบหาทางออกจากทางเดินที่ซับซ้อนเช่นเขาวงกตโดยหาทาง
ออกที่สั้นที่สุดแบบทดสอบ WAIS ประกอบด้วยแบบทดสอบย่อย 11 ชุดเป็น Verbal Scale 6 ชุดและ
Performance Scale 5 ชดุ ดงั นี้
1. Verbal Scale ประกอบด้วย
1.1. Information
1.2. Comprehension
1.3. Arithmetic
1.4. Similarities
1.5. Digit Span
1.6. Vocabulary
2. Performance Scale ประกอบด้วย
2.1. Picture Completion
2.2. Picture Arrangement
2.3. Object Assembly
2.4. Block Design
2.5. Digit Symbol
แบบทดสอบ WISC ประกอบด้วยแบบทดสอบยอ่ ย 10 ชดุ เปน็ Verbal Scale 5 ชุด และ Performance
Scale 5 ชุดดังน้ี
1. Verbal Scale ประกอบด้วย
1.1. Information
1.2. Comprehension
1.3. Arithmetic
1.4. Similarities
1.5. Vocabulary
2. Performance Sale ประกอบด้วย
2.1. Picture Completion
2.2. Picture Arrangement
2.3. Block Design
2.4. Object Assembly
2.5. Coding (or Mazes)
แบบทดสอบ WPPSI ประกอบดว้ ยแบบทดสอบย่อย 10 ชดุ เปน็ verbal Scale 6 ชดุ และ Performance
Scale 4 ชดุ ดงั น้ี
15
1. Verbal Scale ประกอบด้วย
1.1. Information
1.2. Vocabulary
1.3. Arithmetic
1.4. Similarities
1.5. Comprehension
1.6. Sentence
2. Performance Scale ประกอบดว้ ย
2.1. Animal House
2.2. Picture Completion
2.3. Mazes
2.4. Geometric Design
การหาค่า I.Q. จากการใช้แบบทดสอบของ Wechisier ได้มีการสร้างตาราง Scale Score ไว้สำหรับ
เทียบหา I.Q. ของแบบทดสอบแต่ละระดับอายุ หลังจากทดสอบแล้วจะได้คะแนนดิบจากแบบทดสอบยอ่ ยแต่ละ
ชุดแล้วนำคะแนนดิบนั้นมาเทียบกับคะแนนจากตาราง Scale Score โดยเทียบไปตามแบบทดสอบย่อยแต่ละชดุ
แล้วจึงนำคะแนนรวม Scale Score จากแบบทดสอบย่อยแต่ละชดุ ไปเทียบกับตารางหาคา่ I.Q. จะไดค้ า่ I.Q. ใน
แต่ละส่วนถ้าจะหา 10 รวมให้เอาคะแนน Scale Score ของแต่ละส่วนมารวมกันก่อนจึงจะนำไปเทยี บกับตาราง
หาค่า I.Q.
แบบทดสอบ Otis-Lennon Mental Ability Test
เป็นแบบทดสอบวัดเชาวน์ปัญญาแบบกลุ่มสร้างโดย Otis และ Lennon ในปี ค.ศ. 1967 เป็น
แบบทดสอบท่สี รา้ งขึน้ เพ่อื วดั ความสามารถทัว่ ไปโดยแบ่งออกเป็น 6 ระดบั คือตงั้ แตร่ ะดบั อนุบาลจนถึงชัน้ 12 ใช้
เวลาในการทดสอบนาน 30-45 นาทีขึ้นอยู่กับเด็กแต่ละระดับมีการวัดความเข้าใจทางด้านภาษาและเหตุผลทาง
ภาษา (สรุ ศกั ดิ์ อมรรัตนศักด์ิ, 2544, หน้า 61-64)
16
สรปุ
ทฤษฎพี ฒั นาการด้านสตปิ ญั ญาทฤษฎเี ชาวน์ ปัญญา
พัฒนาการดา้ นสติปญั ญาเป็นความสามารถในตวั บุคคล ที่จะทราบไดจ้ ากพฤติกรรมท่ีบุคคล แสดงออก
ระดับของสติปัญญาสังเกตได้จากการแสดงออกที่มีความคล่องแคล่ว รวดเร็ว ความถูกต้อง ความสามารถในการ
คิด การแกป้ ัญหาและการปรับตัว การใชแ้ บบทดสอบวดั สติปัญญาจะทำให้ทราบระดับสติปัญญาชดั เจนข้ึนทฤษฎี
ทางสตปิ ัญญา
เชาว์นปัญญา มีความสำคัญและมผี ลต่อความสำเรจ็ ทางดา้ นต่าง ๆ ของมนุษยก์ จ็ ริงอยู่แต่มิใช่ วา่ เชาวน์
ปัญญาเป็นองค์ประกอบเดียวท่ีจะท าให้มนุษย์ประสบความสำเร็จ เพราะความสำเรจ็ ของ มนุษย์ขึ้นอยูก่ ับปัจจยั
ประกอบอื่น ๆ อีกมากมาย ทั้งปัจจัยด้านร่างกาย การรู้จักตั้งเป้าหมาย ตั้ง ความหวัง สร้างแรงจูงใจ และ
ความสามารถในการเลือกเดินทางเพื่อไปสู่เป้าหมายที่ต้องการได้อย่าง ถูกต้องเหมาะสม การศึกษาเรื่องเชาวน์
ปัญญาของบุคคล มิใชเ่ พอื่ ใชเ้ ปน็ เครือ่ งมือในการตดั สนิ ความ ฉลาดมากน้อยของคนเพียงอยา่ งเดียวเท่านน้ั
17
อ้างองิ
ชัยวัฒน์ สุทธิรตั น.์ (2555). นวตั กรรมการจัดการเรียนรู้ทเี น้นผู้เรยี นเปน็ สําคญั ู. กรงุ เทพฯ : แดเนก็ ซ์
อินเตอร์คอร์ปอเรชัน. หนา้ 80.
พรรณชี . เจนจิต. (2528). จติ วิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : อมรินทร์การพมิ พ.์ พระเทพเมธาจารย์
วรี ะวรรณ ศรตี ะลานคุ ค (2552.) วิธีการสอนที่มผี ลต่อพัฒนาการของนักศกึ ษาตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิ
ระดบั อุดมศึกษา พ.ศ. 2552 และความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซยี น. สุรนิ ทร์: มหาวิทยาลยั
เทคโนโลยีราชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตสุรินทร.์
สรุ ศักดิ์ อมรรตั นศักด.์ิ 2544. ระเบียบวธิ ีวิจยั : หลักการและแนวปฏิบตั ิ.กรุงเทพฯ : ศนู ย์สง่ เสรมิ วิชาการ,
2544. 45-55.
Binet, 1916, อ้างถึงใน สรุ ศักดิ์ อมรรนั ตศกั ด์ิ, 2544, ระเบยี บวธิ วี ิจยั : หลกั การและแนวปฏบิ ตั ิ. กรุงเทพฯ :
ศนู ยส์ ่งเสริมวิชาการ, 2544. หนา้ 4
Goddard, 1946, อ้างถึงใน จำเนยี ร ช่วงโชติ, 2447, การตลาดสำหรบั การบริการแนวคิดและกลยทุ ธ์, พิมพ์
ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. หนา้ 31.
Lall and Lall ( 1983) . introduced his theory of multiple intelligence, arguing that
intelligence is something to be used to improve lives not to measure
and quantify human beings.
Super, 1949: 58- 59. Boulder Conference outlines scientist- practitioner model of clinical
psychology, looking at the M.D. versus Ph.D. used by medical providers and researchers,
respectively.
Vernon, 1960: 28. The FDA approves the use of chlordiazepoxide ( known as Librium) for
treatment of non- psychotic anxiety in 1960. A similar drug, diazepam ( Valium) , is
approved in 1963.
กฤตวรรณ คำสม. (ตุลาคม 2557). การใช้ฐานข้อมลู [PDF]. เอกสารประกอบการสอนรายวชิ าจิตวิทยาสำหรบั
คร,ู อุดรธานี : มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อุดรธานี สบื ค้นเมอื่ 17 กุมภาพนั ธ์ 2564, จากเว็บไซด์ http://1ab.in/Top
p0y
สิทธชิ ัย รา่ หมึ . (2559) ขอ้ แตกตา่ งระหว่างทฤษฎขี องเพียเจตแ์ ละบรูเนอร์. สืบคน้ จาก
http://sittichai1997.blogspot.com/p/blog-page_71.html.
ภาษาองั กฤษ
เว็บไซต์
Brain Kiddy. (2562). พัฒนาการเด็ก อายุ 1-6 ปี ดา้ นสตปิ ญั ญา สืบคน้ เมื่อ 16 กมุ ภาพันธ์ 2564, จากเวบ็ ไซด์
http://www.brainkiddy.com/b/46
18
บทที่ 2
ปรัชญาตะวนั ตก และ ปรัชญาตะวันออก
ความหมายของปรชั ญา
คำว่า “ปรัชญา” นั้นเป็นศัพท์ที่พระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (พระองค์เจ้าวรรณไว
ทยากร) ได้ทรงบัญญัติขึ้นเพื่อใช้คูก่ ับคำภาษาอังกฤษว่า “Philosophy” เป็นคำมาจากรากศัพท์ภาษาสันสฤต 2
คำ คอื
1. ปร : ประเสรฐิ
2. ชญา : ความรู้, รู้, เขา้ ใจ
เมื่อรวมกันแล้วเป็น “ปรชญา” (ปรัชญา) แปลว่า ความรู้อันประเสริฐ เป็นวิชาที่ว่าด้วยหลักแหง่ ความรู้
และความจริง
คำว่า “ปรัชญา” ตรงกับคำภาษาบาลีที่ว่า “ปัญญา” ซึ่งมีรากศัพท์มาจาก ป (อุปสรรค = ทั่ว) + ญา
(ธาตุ = ร้)ู เมือ่ รว่ มกนั แล้ว แปลวา่ รทู้ ั่ว, ร้รู อบ
ในพจนานกุ รมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2525 (ราชบัณฑิตสถาน, 2525) ไดน้ ิยามความหมายของคำ
ว่า “ปัญญา” เอาไว้ว่า “ความรู้แจ้ง, ความรอบรู้, ความสุขุม, ความฉลาด” และนิยามความหมายของคำว่า
“ปรัชญา” ว่าเป็นวิชาที่ว่าด้วยหลักแห่งความรู้และความจริง หมายความว่า ปรัชญามีหน้าท่ีสืบเสาะหาความรู้
เกี่ยวกับความจริงของสรรพส่งิ ทง้ั ทเ่ี ปน็ รูปธรรมและนามธรรม
จะเห็นไดว้ า่ ความหมายของคำว่า “ปรัชญา” ทใ่ี ชอ้ ย่ใู นปัจจบุ ันไม่ตรงกับความหมายของคำวา่ “ปญั ญา”
เพราะการบญั ญัติศัพท์คำว่า “ปรชั ญา” ไมไ่ ด้บัญญัติมาจากคำวา่ “ปญั ญา” แตบ่ ัญญัติมาจากคำว่าภาษาอังกฤษ
วา่ “Philosophy” คำวา่ “Philosophy” ในภาษาองั กฤษมาจากคาในภาษาฝร่ังเศสโบราณวา่ “Philosophie”
ซึ่งมาจากคำในภาษาลาตินอีกทีหนึ่งว่า “Philosophia” (ฟิลอสโซฟิยา) ที่แผลงมาจากคำภาษากรีกว่า
“Philosophia” (ฟิลอสโซเฟยี ) อีกตอ่ หนึ่ง ดังนนั้ คำวา่ “Philosophy” จงึ มาจากคำภาษา
กรีกว่า “Philosophia” ซึง่ มีรากศัพทม์ าจาก 2 คำคอื
1. Philos : Love of หรอื Loving of (ความรกั )
2. Sophia : Wisdow หรอื Knowledge (ความร,ู้ ปญั ญา, ความฉลาด)
เมื่อรวมกันแล้ว คำว่า “Philosophy” จึงหมายถึง “Loving of Wisdom” ความรักปัญญา, ความรักในความรู้,
ความรกั ในการแสวงหาความรู้ หรอื การใสใ่ จในการแสวงหาความรู้
19
จะอย่างไรก็ตาม เมื่อพจิ ารณาตามคำแประหว่าง คำวา่ “ปรัชญา” ท่ีมาจากภาษากรีกกบั ท่ีมาจากภาษาสันสกฤต
จะแตกต่างกัน กล่าวคือ ที่แปลจากภาษากรีกแปลว่า ความรักในความรู้หรือความรักปัญญา เพราะความรู้หรือ
ปัญญา เป็นพระเจ้าแต่ผู้เดียว มนุษย์มีสิทธิเพียงสามารถที่จะรัก หรือสนใจที่จะแสวงหาเท่านั้น ไม่สามารถเป็น
เจ้าของได้
สว่ นท่ีแปลจากภาษาสันสกฤต แปลวา่ ความร้อู ันประเสรฐิ หรอื ความรอบรู้ มนุษยท์ กุ คนสามารถมีความ
รอบรู้ หรือมีความรู้อันประเสริฐได้ อันเนื่องมาจากความรู้ที่สมบูรณ์ สูงสุดนั้นได้สิ้นความสงสัย (พนายุทธ เชย
บาล, 2560, น.32-51)
ความหมายของปรัชญาตะวนั ออก
ปรัชญาตะวันออกเกิดขึ้นมาในความเป็นศาสนา ซึ่งจะมีความเกี่ยวข้องกันอย่างแทบจะแยกไม่ได้ โดย
ศาสนานั้นมรี ากเหง้ามาจากความเช่ือ ความศรัทธาทจี่ ะปฏิบตั ิตามคำส่งั สอนหรือเน้ือหาของศาสนาน้นั ๆ นำไปสู่
พิธกี รรมตา่ งๆทมี่ ุง่ สู่มรรคผล โดยปรชั ญานน้ั ประกอบแนบแน่นกันกบั ศาสนาในตวั ของความรู้ และวิธีการได้มาซ่ึง
ความรู้ (สมหมาย ปวะบุตร, 2558, น. 19-36)
ในที่นี้จะกล่าวโดยสังเขปถึงรายละเอียดปรัชญาตะวันออกของแต่ละลัทธิหรือศาสนา อันได้แก่ ปรัชญา
จนี ปรชั ญาเซน และ ศาสนาฮนิ ดูดังนี้
1.ปรชั ญาจีน หลกั ของปรัชญาจีนแต่นั้นเดมิ บูชาเทพเจา้ ตอ่ มามปี ระชากรจำนวนมากขึน้ มสี ังคม
ความเป็นอยู่ท่ีตอ้ งแบ่งปันทรัพยากรกันมากขึ้น เกิดปัญหาการแก่งแย่งชิงดีชิงเด่น ทำให้เกิดนักคิดขึ้นมาเพื่อหา
แนวทางแก้ไขปญั หาสังคม ท่เี ดน่ ชดั และเป็นแนวทางปฏบิ ตั มิ าจนถึงปัจจุบันได้แก่
1.1 ลัทธิขงจื้อ เน้นความมีคุณธรรม จริยธรรม เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยและการ
ปกครองที่ดีของสังคม แต่ก็ยังมีบางส่วนที่แสดงถึงความเคร่งครัดจนเกินไป ซึ่งการเกิดลัทธินี้ก็เพื่อให้ประชาชน
ท้ังหมดอยูก่ นั อยา่ งสงบสขุ
1.2 ลัทธิเต๋า เน้นความเป็นธรรมชาติ ความเป็นจริง ละวางตัวฉัน ของฉัน การนิ่ง สงบ การ
ปกครองไม่ต้องใช้กฎหมาย ถือวา่ การบังคับจะทำใหเ้ กิดความเสอ่ื มทางจรยิ ธรรม
โดยสรุปแล้วทั้งสองปรชั ญาเกิดขึ้นในราชวงค์เดยี วกัน มองปัญหาไม่แยกส่วน เกิดเนื่องจากปัญหาความ
ไม่สงบสุขของประชาชน จากการปกครองทีม่ ีความเลือ่ มล้ำไมเ่ ปน็ ธรรม โดยการแย่งชิง การใช้อำนาจ อย่างเหน็
แกต่ ัว แตท่ ัง้ สองลทั ธมิ แี นวทางปฏิบตั ิท่ีแตกต่างกันอยา่ งสดุ ขัว้ ทำให้ลูกศิษย์ของแต่ละสำนักเกิดข้อโต้แย้งกันอยู่
เนือง ๆ แต่ที่แสดงออกอย่างชัดเจนของ 2 ลัทธินี้ก็คือ ลดความวุ่นวายต่างๆ จากการยกระดับของจิตใจ ทำให้
เกิดความสงบของจิตใจของตนเองเสียก่อน คอื การสรา้ งความสงบในใจ นน่ั เอง
20
2.ปรัชญาเซน หมายรวมถึง ผู้ชนะ ความใคร่ ความเกลียด การบรรลุความหลุดพน้ เซนยอมรับแหลง่
การเกิดความรู้จาก 3 แหลง่ คอื ประจกั ษ์ อนุมาน และ ศพั ท์ประมาณ เปน็ การสง่ ผา่ นลทั ธหิ รือความเชื่อ นำไปสู่
สิ่งที่เขาเรียกกันว่า Satori ความสงบของจิตใจ หรือความหลุดพ้นนั่นเอง ซึ่งมีหลายนิกาย หลายสำนัก เช่น
สำนักรินไซ มีวิธีการคิดอย่างไตร่ตรองลึกซึ้งเรียกว่า โกอาน (Koan) ส่วนสำนักโซะโตะ มีวิธีการนั่งบำเพ็ญสมาธิ
เรียกกว่า ซาเซ็น (Zazen) บางนิกายก็มีความเชื่อในเรือ่ งวิญญาณ ชีวะมีอยู่ในทุกตัวตน และมีความเชื่อในเร่ือง
เปน็ ชายเทา่ นนั้ ทจ่ี ะบรรลุได้ และสตรีไม่สามารถบรรลุได้โดยสรุปปรัชญาเซน ยอมรับในการมีอยู่ของวิญญาณ ยึด
หลักการไม่เบียดเบยี น ผสมผสาน การถา่ ยทอดนกั คดิ เพ่ือให้เกดิ ความสงบของจิตใจ หรือ ความหลุดพน้
3.ศาสนาฮนิ ดู เป็นเทวนิยมการนับถอื พระเจ้า เร่ิมตน้ มาจากการพยายามอธิบายสิ่งทีเ่ ป็นไปจากการเกิด
เหตุการณ์ทางธรรมชาติ โดยการบูชาสิ่งที่เป็นสมมุติ คือการเคารพนับถือพระเจ้า ที่ทำให้เกิด ทำให้ทำลาย และ
การปกป้อง โดยหาพิธีกรรมต่างมาบวงสรวงพระเจ้าอันได้แก่ พระพรหมเป็นพระผู้สร้าง พระศิวะเป็นผู้ทำลาย
และพระวิษณหุ รอื พระนารายณเ์ ปน็ ผู้ปกป้อง
โดยสรุปการเกิดศาสนาฮินดูขึ้นมา เกิดจากอารยธรรมกลุ่มแม่น้ำสินธุ ซึ่งมีทั้งนับถือเทพเจ้า และไม่
นิยมรูปเคารพ มีคัมภีร์พระเวท เป็นเทพโองการเปิดเผยแก่มนุษย์ มีเป้าหมายเพื่อ การแสวงหาความรู้และ
ความสขุ ผ่านการปฏิบตั ทิ างพธิ กี รรมตา่ งๆ
จากปรัชญาตะวันออกท่ีมคี วามเกี่ยวข้องเชือ่ มโยงกบั ศาสนานั้น พบว่า มีฐานคิดจากความต้องการความ
สงบในจิตใจเพื่อยกระดบั ใหจ้ ติ ใจมีความสูงส่ง หลดุ พ้นไปจากความทุกข์ทั้งปวง เนน้ ในเรื่องการท่ีคนจะรับรู้สิ่งที่
เกิดขึ้น และอยู่ด้วยกันอย่างสงบสุขร่มเย็น ก็ด้วยความเป็นไปตามธรรมชาติ โดยการยอมรับจากภายใน ไม่มอง
อย่างแยกส่วนเพราะทุก ๆ ส่วนมีความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกัน แล้วสามารถแสดงออกภายนอกได้อย่างสมดุล
สามารถอยรู่ ว่ มกนั ในครอบครัว สงั คม ชมุ ชน และประเทศไดอ้ ย่างสงบสขุ
ความหมายของปรชั ญาตะวันตก
ปรัชญาตะวันตก หมายถึง แนวความคิด หลักการ ความรู้ทางปรัชญาที่เกิดขึ้นในซีกโลกตะวันตก
ทั้งหมด ซึ่งนักปรัชญาเมธีเชื่อชาตินั้น ๆ ทางซีกโลกตะวันตกได้คิดค้นขึ้น ก่อให้เกิดขึ้นหรือตั้งสำนักขึ้น โดย
ปกติแล้วมักจะถือกันว่า ปรัชญาตะวันตกเริ่มก่อตัวขึ้นประมาณ 600 ปี ก่อนคริสตศักราช และเมื่อเกิดขึ้นก็ได้มี
ความเจรญิ ววิ ัฒนาการทางดา้ นความรู้ ความคดิ เรื่อยมาจนกระทัง่ ปัจจบุ นั (สมหมาย ปวะบตุ ร, 2558, น. 19-36)
21
ปรชั ญาตะวันตกแบง่ ยคุ ไดด้ ังน้ี
1.ยุคดึกดำบรรพ์ จากการศกึ ษาผ้คู นในยุคน้ีเชอื่ เร่ืองเทพเจา้ นับถือเทพเจ้า Zeus เปน็ เทพสูงสดุ และถือ
ว่าการเปล่ียนแปลงของโลกขึน้ อยูก่ ับเทพเจา้ คติแหง่ ยคุ ดึกดำบรรพ์ คอื ทุกส่งิ ขึ้นอย่กู ับน้ำพระทัยเบอื้ งบน
2. ยคุ โบราณ จากการศึกษาย้อนหลัง ไปอย่างน้อยที่สุดในศตวรรษที่ 4 กอ่ นครสิ ตศักราชต่อเนื่องกันมา
จนถึงปัจจุบันต้องถือว่านักปรัชญาคนแรกของกรีซ คือ ธาเลส เหตุผลที่ส่งให้เป็นปรัชญาคนแรกของกรีกก็
เพราะว่าเป็นคนแรกที่อธิบายเรื่อง จุดกำเนิดของโลกโดยใช้เหตุผลตามธรรมชาติ ไม่มีเรื่องของเทววิทยาเข้ามา
เกีย่ วข้อง
3. ยคุ กลาง เป็นลักษณะของปรชั ญาที่ประนปี ระนอมคริสต์ศาสนากับปรชั ญากรีก ในครงึ่ แรกแหง่ ยุค ก็
ประนีประนอมโดยใช้ปรัชญาของเพลโตอธิบายคำสอนแนวคิดศาสนา ได้ชื่อลัทธิว่า ปรัชญาปิตาจารย์ หรือลัทธิ
ปิตาจารยน์ ยิ ม ในครึง่ หลงั แหง่ ยคุ นกั ปรชั ญาหันมานยิ มใช้ปรัชญาของอรสิ โตเติลอธิบาย ไดช้ อื่ ลทั ธวิ ่า ปรัชญาอัส
มาจารย์ หรอื ลัทธอิ ัสมาจารย์นิยม ครง่ึ หลังน้ีมกี ารพยายามใชต้ รรกวิทยาสร้างระบบความคิดกันอย่างจริงจัง
4. ยุคใหม่ ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่ (ค.ศ. 1600 –1700 ) เริ่มขึ้นด้วยการคัดค้านแนวความคิดทาง
ปรัชญาของสมัยกลางที่เน้นหนักในเรื่องศรัทธาในพระเจ้าของศาสนาคริสต์ ที่มุ่งการประนีประนอม ความเช่ือ
หรือศรัทธาในคริสต์ศาสนา ซึ่งในตอนนั้นได้พยายามเอาปรชั ญาของเพลโตมาอธิบายคำสอนศาสนาครสิ ต์ และ
ตอ่ มาได้นำเอาปรชั ญาของอริสโตเตลิ มาอธิบายคำสอนของศาสนาคริสต์
5. ยุคปัจจุบัน สมัยปัจจุบันเริ่มต้นหลังจากปีที่ ค้านท์สิ้นชีวิต เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน ปรากฏว่า
แนวความคิดของค้านท์มีอทิ ธิพลต่อนักปรชั ญาสมัยนี้มาก แทบทุกคนจะเชื่อทฤษฎีของค้านทท์ ีว่ ่าสมรรถภาพใน
การคิดของทกุ คนมีกลไกคล้ายคลงึ กัน จึงได้รบั ความรูค้ ลา้ ยๆกัน แต่นกั ปรัชญาสว่ นใหญไ่ มย่ อมรบั โครงสร้างของ
กลไกการรับรขู้ องค้านท์ พวกเขาเหน็ พ้องกนั ว่ากลไกการรบั รู้ซบั ซ้อนยิง่ กว่านันจึงได้พยายามอธิบายเร่ืองน้ีต่างๆ
นานา เรียกลัทธิเหล่านี้ว่า ลัทธิค้านท์ใหม่ ซึ่งต่างก็ขบคิดปัญหาสำคัญประการหนึ่งว่า สมองของคนเราทำ
กิริยาอย่างไรในขณะที่เรากำลังคิด ผลแห่งความพยายามดังกล่าวทำให้เกิดลัทธิปรัชญาขึ้นมาอีกมากมาย มี
ลกั ษณะแตกต่างกนั เปน็ กล่มุ ๆ เช่น
22
นักปรชั ญาสำคัญของตะวันออกและตะวันตก
นักปรัชญาตะวนั ตก
ธาเลส (Thales) ได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาของปรัชญาตะวันตก ธาเลสเป็นคนแรกท่ี
คำนวณหาความสูงของพีระมิดในอียิปต์โดยใช้เงา เขาได้ทำนายว่าจะเกิดสุริยคราสล่วงหน้าซึ่งได้เกิดขึ้นก่อน
พุทธศกั ราช 42 ปี ร้จู ักพสิ ูจน์ทฤษฎบี ททางเรขาคณิต เช่น เสน้ ผ่านศูนยก์ ลางจะแบง่ ครงึ่ วงกลม มุมที่ฐานของรูป
สามเหลย่ี มหน้าจั่วเทา่ กนั และมุมในครึง่ วงกลมเป็นมมุ ฉาก
เพลโต ( Plato) (ประมาณปี 427-347 ก่อนสากลศักราช) เปน็ นกั ปรชั ญากรีกเพลโตไดร้ ับ
อทิ ธิพลอยา่ งมากจากแนวคิดของโสกราตสี นักปรัชญาผู้มชี อื่ เสยี งและเหล่าศิษย์ของพที ากอรสั ผู้เป็น
นักคณิตศาสตร์และนกั ปรัชญากรีก “บดิ าแหง่ วชิ าปรัชญาการเมือง”
อริสโตเติล (Aristotle) (384 ปีก่อนคริสตกาล – 7 มีนาคม 322 ปีก่อนคริสตกาล) เป็นนัก
ปรัชญากรีกโบราณ เป็นลูกศิษย์ของเพลโต และเป็นอาจารย์ของอเล็กซานเดอร์มหาราช เขาและเพลโตได้รับยก
ย่องให้เป็นหนึ่งในนักปรัชญาที่มีอิทธิพลสูงที่สุดคนหนึ่ง ในโลกตะวันตก ด้วยผลงานเขียนหนังสือเกี่ยวกับฟิสิกส์
ตรรกศาสตร์ กวีนิพนธ์ สัตววิทยา การเมือง การปกครอง จริยศาสตร์ และชีววิทยา และได้ขนานนามว่าเปน็ บิดา
แห่งศาสตรต์ ่างๆ ดงั น้ี
- บดิ าแหง่ ตรรกศาสตร์ตะวนั ตก
- บดิ าแห่งวทิ ยาศาสตร์
- บดิ าแหง่ ชวี วิทยา
- บิดาแหง่ รฐั ศาสตร์
นักปรชั ญาตะวนั ออก
เล่าจื๊อ เป็นนักปราชญ์ที่มีชื่อเสียงชาวจีนที่สุดท่านหนึ่ง เล่าจื๊อได้เขียนตำราอันเป็นแบบแผน
ในทางเต๋า นนั่ คือ “เต๋าเต็กเก็ง ซึ่งเป็นผลงานทางลทั ธิเต๋าท่ียังคงตกทอดมาถึงยคุ ปัจจุบนั น้ี เล่าจื๊อเป็นนักปราชญ์
ทีเ่ ชย่ี วชาญทางเตา๋ ประวตั ิศาสตร์ ภมู ิศาสตร์ ดาราศาสตร์ มแี นวคดิ ที่มีคุณค่าและยังคงม่ันคงในโลกยุคสมัยใหม่
ที่เหมาะกับนักคิดในรุ่นปัจจุบันสามารถศึกษาให้เข้าใจได้อย่างง่ายดาย พร้อมการนำเอามาเป็นแนวคิดในการ
ดำเนนิ ชวี ติ และการทำงานไดเ้ ปน็ อย่างดี ปรชั ญาและวิถแี หง่ เตา๋ เน้นที่ความสนั โดษ ความกลมกลนื ไปกับธรรมชาติ
เพราะปญั หาของมนุษย์นนั้ ไมส่ ามารถแก้ไขไดด้ ว้ ยการสรา้ งกฎกติกาขนึ้ มาโดยมนุษย์ด้วยกัน เพ่อื นำมาบังคบั ใช้ใน
สังคม แตท่ ีส่ ดุ ของความสุขคือความนอบน้อมถ่อมตนอยู่กับธรรมชาติ กเ็ ชน่ เดียวกับการทำงานท่ีเมื่อเข้าสู่องค์กร
ก็ต้องรู้จกั นอบนอ้ มถ่อมตน ทำตวั ใหด้ กู ลมกลืนไปกับธรรมชาตขิ ององค์กร และเม่อื มเี รอ่ื งท่ไี ม่ถูกใจก็ใชว่ า่ จะเพียง
ตั้งกฎขึ้นมาบงั คับเพียงเทา่ นนั้ แตจ่ ะต้องเนน้ ความรบั ผิดชอบร่วมกัน และสามารถอยู่รว่ มกันได้ด้วยความถ่อมตน
อีกดว้ ย
23
ซือหม่าเชียน เป็นนักประวัติศาสตร์และนักประพันธ์วรรณคดีในสมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันตกของ
จีนเมื่อกว่า 2 พันปีก่อน บิดาของเขาเป็นขุนนาง ทำหน้าที่บันทึกประวัติศาสตร์ในราชสำนักฮั่น ว่ากันว่าซือหม่า
เชียนเป็น คนช่างคิดตั้งแต่เด็ก เขามักจะมีความคิดเห็นที่เป็นตัวของตัวเอง เกี่ยวกับบุคคลและเหตุการณ์สำคัญ
สมัยก่อนในตำนานต่างๆ เมื่อเขายังหนุ่ม เขาเคยออกเดินทางไปทัศนาจรทั่วประเทศ เพื่อศึกษาชีวิตความเป็นอยู่
ของประชาชน ขนบธรรมเนียม สภาพสังคม เศรษฐกิจและเกษตรกรรม เยี่ยมเยือนสถานที่ ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียง
ในท้อง ถิ่นต่างๆของจีน รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ บุคคลและเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์ (ภวิศา พงษ์เล็ก,
2560, น.5)
ปรัชญาตะวนั ออก
ปรัชญาอินเดยี
ปรัชญาอินเดียเริ่มปรากฏหลักฐานว่ามีมาตั้งแต่ 3,000 ปีก่อน ค.ศ. ปรัชญาที่กล่าวถึงนี้ก็ คือ พระเวท
ปรัชญาอินเดียล้วนเกิดจากคำสอนใน “คัมภีร์พระเวท” เริ่มตั้งแต่มีการเกิดมีพระเวทขึ้นตามประวัติระบบแห่ง
แนวความคดิ ของอินเดยี คัมภีรพ์ ระเวทนน้ั เปน็ คัมภรี ท์ ีเ่ ก่าแก่ท่ีสดุ แบง่ ออกเปน็ 4 อย่างคือ
ฤคเวท มีลักษณะเปน็ คำฉันท์ เป็นบทรอ้ ยกรอง
ยชุรเวท มีลักษณะเปน็ ร้อยแกว้ ว่าด้วยระเบียบวธิ ใี นการประกอบพิธบี ูชายญั
สามเวท มลี กั ษณะเป็นคำฉนั ท์ใชส้ ำหรบั สวดขับกลอ่ มเทพเจ้า
อถรรพเวท เป็นที่รวบรวมเวทมนต์คาถาอาคมต่าง ๆ สำหรับใช้ร่ายแก้ของไม่ดี และเพื่อใช้
ทำลายหรอื ใหเ้ กดิ ผลร้ายแก่ศตั รู
1.มหากาพย์ “รามายณะ” เป็นมหากาพย์ของอินเดีย ซึ่งที่คนไทยรู้จักกันเป็นอย่างดี คือ รามเกียรติ์
เชื่อว่าเป็นนิทานที่เล่าสืบต่อกันมายาวนานในหลากหลายพื้นที่ของชมพูทวีป แต่ผู้ได้รวบรวมแต่งให้เป็นระเบียบ
ครั้งแรก คือ ฤๅษีวาลมีกิ ตัวละครมี พระลักษณ์ พระราม นางสีดา หนุมาน ทศกัณฑ์ (ที่มา: เบญจมาพร ทองรัก.
มหาภารตะ. 2556 ) ฉบับของไทยกับต้นฉบับอินเดียนั้น มีบทบาทของตัวละครได้เปลีย่ นแปลงตามที่ สุจิตต์ วงษ์
เทศ เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ (กวีนิพนธ์) กล่าวว่า “หนุมานในต้นฉบับนั้น เป็นลิงที่จงรักภักดี และ
หวั ใจของหนมุ านมีเพยี ง 2 คนเทา่ น้นั คอื พระรามกับนางสดี า แต่ฉบบั ของไทยนน้ั หนมุ านถกู ปรบั บทบาทให้เป็น
ลิงเจ้าชู้ มหี ลายเมยี ” (ท่ีมา: สจุ ิตต์ วงษ์เทศ. รามายณะ มหาภารตะ ในอุษาคเนย์ ประวัตศิ าสตร์นอกตำรา)
2. มหากาพย์ “มหาภารตะ” หรอื “ภารตะ” เป็นมหากาพยท์ ีย่ ิ่งใหญ่ของอินเดีย นบั เปน็ มหากาพยท์ ่ยี าว
ที่สุดในโลก ด้วยมีจำนวนคำ 1.8 ล้านคำ นับว่ายาวกว่ามหากาพย์อีเลียด หรือมหากาพย์โอดิสซี ของกรีกโบราณ
(ที่มา: รายการแฟนพนั ธ์แุ ท.้ มหาภารตะ. 2557) มเี นื้อหาซบั ซ้อน เล่าเรอ่ื งอันยืดยาวที่เกี่ยวข้องกบั เทพปกรณัม
การสงคราม และหลักปรัชญาของอินเดีย ทั้งนี้ยังมีเรื่องย่อย ๆ แทรกอยู่มากมาย ตามตำนาน กล่าวว่า ผู้แต่ง
มหากาพย์เร่อื งนี้คอื ฤๅษวี ยาส ซงึ่ มีผทู้ ำหน้าทจ่ี ดบนั ทกึ ทกุ เรื่องราวคือ พระพิฆเนศ ซง่ึ เป็นเรอ่ื งราวความ
24
ขัดแย้งของพี่น้องสองตระกูล ระหว่าง ตระกูลเการพ และตระกูลปาณฑพ ซึ่งทั้งสองตระกูลต่างก็สืบเชื้อสายมา
จากท้าวภรต แห่ง กรุงหัสตินาปุระ จนบานปลายไปสู่มหาสงครามที่ทุ่งกุรุเกษตร จำนวน 18 วัน ซึ่งมีพันธมิตร
ของแต่ละฝ่ายเข้าร่วมรบด้วยเป็นจำนวนมาก ฝ่ายปาณฑพก็เป็นผู้ชนะในสงครามครั้งนี้ (ที่มา: สุริยะบุตรเรื่อง
เล่า. เรื่องยอ่ มหาภารตะ. 2562) (ท่มี า: อ.วีระธรี ภัทรเลา่ มหากาพยม์ หาภารตะ. 2556)
เร่อื งย่อ
จดุ เร่ิมต้นก่อเกดิ เรื่องราวจนเป็นมหากาพย์ตำนานอนั ยิง่ ใหญ่ ''มหาภารตะ'' เป็นการเปิดตำนานเล่าเร่ือง
โดยเริ่มต้นจากการลำดับวงศ์กษัตริย์แห่งราชวงศ์กุรุโดยตำนานเริ่มจากพระราชาชือ่ ท้าวศานตนุแห่งราชวงศ์กุรุ
เป็นสำคัญ ท้าวศานตนแุ ต่งงานกบั เจา้ แม่คงคามลี ูกชายดว้ ยกนั ชือ่ ภีษมะ
ต่อมาท้าวศานตนุแต่งงานใหม่กับลูกสาวชาวประมงชื่อ สัตยวดี มีลูกชายด้วยกันสองคนคือ จิตรางคทะ
กับวิจิตรวรี ยะ ลูกชายของท้าวศานตนทุ ีเ่ กิดจากนางสัตยวดี เพราะความโลภของสัตยวดีและการเสยี สละของภษี
มะ และศานตนุ ต่างฝ่ายต่างก่อให้เกิดคำสัตย์สาบานที่น่าเกรงกลัวขึ้นที่ริมฝั่งแม่น้ำคงคา เรื่องราวยังคงดำเนิน
ตอ่ มาอีก 25 ปี จนถงึ ยุคของเจา้ ชายแห่งหัสตินาปุระ วจิ ติ รวีรยะที่มีแต่ความอ่อนแอและไม่เอาไหน เพราะยึดติด
กับคำสาบาน ภีษมะต้องคอยช่วยเหลือเขาอยู่ร่ำไป สัตยวดีด้วยสัญชาตญาณของมารดา เข้าข้างบุตรของตนและ
เตอื นภษี มะวา่ วจิ ติ รวรี ยะคอื ความรับผิดชอบของเขา พอถึงวยั เตบิ โต ความปรารถนาของสัตยวดีและคำสัตย์ของ
ภีษมะ นำมาซึ่งผลหลายอย่าง เพอ่ื การอภิเษกสมรสของเจ้าชายท่ีอ่อนแอเช่นวจิ ิตรวีรยะ สัตยวดสี ง่ั ให้ ภีษมะ
เดินทางไปสู่ขอบุตรสาวทั้ง 3 ของกษัตริย์แคว้นกาสี ภีษมะได้ทำให้เกิดเรื่องที่มิได้เจตนาและมิอาจรูว้ า่ ได้ทำลาย
ความรักของอัมพาและมหาราชย์ศาลวะ ความอับอายนี้ทำให้นางโกรธแค้นและนำไปสู่การต่อสู้กันระหว่างปรศุ
รามและภีษมะ อาจารย์และศิษย์ จนมหาเทพไดป้ รากฎกายขึน้ และยุติการตอ่ สู้ในครั้งนี้ อัมพาผู้ท่ีตกอยู่ในความ
เจ็บปวดภาวนาและวิงวอนต่อองค์มหาเทพศิวะ มหาเทพตอบเพียงว่าหลังจาก 25 ปี นางจึงจะได้รับความ
ช่วยเหลอื นางจึงบชู ายัญตัวเองเป็นการตอบโต้ (ทมี่ า: อ.วีระธรี ภัทรเลา่ มหากาพย์มหาภารตะ. 2556)
ต่อมา วิจิตรวีรยะตายไปโดยไม่มีลูกสืบวงศ์ต่อ ในขณะที่ภีษมะเองก็ถือคำสัตย์สาบานจะไม่ยุ่งเกี่ยวกับ
ผู้หญิง ทำให้พระนางสัตยวดตี ้องไปขอร้องให้วยาสซึง่ เป็นลูกนอกสมรสที่เกิดกับฤๅษีปราศร ตั้งแต่ยงั ไม่ได้กบั ทา้ ว
ศานตนุ ซึ่งบวชเป็นฤๅษีให้มาช่วยเป็นต้นเชื้อเพื่อมิให้สิ้นราชวงศ์ ฤๅษีวยาสซึ่งมีรูปร่างหน้าตาน่าเกลี ยดและ
สกปรกรกรุงรงั ยอมตกลงมามีความสัมพันธ์กับเมียหมา้ ยของวิจิตรวรี ยะท้ังสองคน คนแรกตอนมีความสัมพันธ์กัน
นั้นนอนหลับตาด้วยความขยะแขยงลูกที่ออกมาจึงตาบอดและมีชื่อว่า ธฤตราษฎร์ ส่วนคนที่สองตอนมี
ความสมั พนั ธ์กัน แม้ไมไ่ ดห้ ลับตาแต่ก็กลวั จนเนื้อตัวซีดขาวไปหมด ลูกท่ีออกมาจึงไม่แข็งแรงและมีเนื้อตัวซีดขาว
ตามไปด้วย เดก็ คนน้ีมชี ือ่ วา่ ปาณฑุ
ฤๅษีวยาสยังไปมีความสัมพันธ์กับคนรับใช้ในราชสำนัก แบบเผื่อเหลือเผื่อขาดเอาไว้อีกคน สำหรับรายนี้
ซึ่งมีความสัมพันธ์กนั ปกติและไม่ไดร้ ังเกียจอะไรลูกทีอ่ อกมาจึงเป็นปกติมชี ื่อว่า วิฑูรเมื่อลกู ชายสามคนของฤๅษวี
ยาสโตข้ึน เจา้ ชายปาณฑุข้นึ ครองราชยเ์ ปน็ พระราชาแคว้นกรุ เุ มือ่ ถงึ วัยอันควร ตามลำดบั ตอ้ งเป็นธฤตราษฎร์ลูก
25
คนโต แต่ด้วยความเหมาะสม เน่ืองจากธฤตราษฎร์ตาบอด บลั ลังก์จงึ ตกแกน่ ้องชาย เป็นเหตใุ ห้มีการผิดใจกันอยู่
กลายๆภษี มะซึ่งทำหนา้ ท่ีอภิบาลรว่ มกับพระนางสตั ยวดีไดจ้ ัดการใหห้ ลานชายทั้งสองคนแต่งงาน เจ้าชายคนที่ตา
บอดแต่งงานกับเจ้าหญิงคานธารี คานธารีเมื่อเห็นว่าพระสวามีตาบอดจึงปิดตาเพื่อจะได้เข้าใจในความทุกข์ของ
สวามีโดยให้สัตจะว่าจะไม่เปิดผ้าปิดตาออกอีกตลอดไป และมีลูกด้วยกัน 100 คน ลูกชายคนโตชื่อ ทุร
โยธน์ (ที่มา: สุริยะบุตรเรื่องเล่า. เรื่องย่อมหาภารตะ. 2562) (ที่มา: อ.วีระธีรภัทรเล่ามหากาพย์มหาภารตะ.
2556)
ส่วนเจ้าชายปาณฑมุ ีเมียสองคน เมียคนแรกชื่อ กุนตี ซึ่งก่อนจะมาแต่งงานด้วยความไม่รู้ หลังจากได้พร
ในการขอบุตรจากเทพ ทำให้นางได้ขอบุตรจากเทพพระอาทิตย์ชื่อว่า กรรณะ การเชิญเทพของนางในครั้งนี้เกิด
ด้วยความรู้เทา่ ไมถ่ ึงการณ์ ไมท่ นั ไดน้ กึ ถึงผลที่ตามมา เลยทำให้ตอ้ งทิง้ ลกู ชายไปเพราะเปน็ บุตรทเี่ กิดโดยที่นางยัง
ไม่มีสวามี แล้วมาแต่งงานกับเจ้าชายปาณฑุ ส่วนเมียคนที่สองชื่อ มัทรี แต่ก็เกิดเหตุแห่งคำสาปแช่งทำให้ไม่
สามารถมบี ตุ ร จงึ สละราชย์ไปอยู่ในป่า (ท่ีมา: สรุ ยิ ะบุตรเร่อื งเล่า. เรือ่ งยอ่ มหาภารตะ. 2562)
และได้ขอลูกจากเหล่าเทพด้วยพรของกุนตีมีลูกด้วยกันสามคน คือ ยุธิษฐิระ เป็นลูกที่เกิดจากธรรมเทพ ซึ่งเป็น
เทพเจ้าแห่งความยุติธรรม ภีมะเป็นลูกที่เกิดจากเทพวายุ อรชุนเป็นลูกที่เกิดจากพระอินทร์ ส่วน มัทรี นั้นได้
ขอใหก้ นุ ตีให้พรนั้นแก่ตนบ้างจงึ ได้มลี ูกแฝดชื่อ นุกุล กบั สหเทพ เกิดจาก เทพแฝดคือ เทพอัศวิน
แต่แล้วเจ้าชายปานฑุพระชนมายุไม่ยืนสิ้นพระชนม์ไปก่อนเวลาอันควร ทำให้ราชสมบัติที่ได้ตกเป็นของ
พ่ีชายคือเจ้าชายธฤตราษฎร์ไปและเคยมีข้อตกลงเป็นนัยว่าจะส่งมอบราชสมบัติให้กับลูกของเจ้าชายปาณฑุ
กลับคืนไปเมื่อถึงเวลาอันควร ด้วยเหตุนี้ลูกทั้งห้าของพระราชาปาณฑุและลกู ทั้งร้อยของพระราชาธฤตราษฎร์จึง
ได้รับการเลยี้ งดูภายในราชสำนักกรุงหัสตินาปรุ ะแบบโตมาดว้ ยกนั แตน่ ่าเสียดายวา่ ได้เกิดความบาดหมางระหว่าง
ลูกพี่ลูกน้องตั้งแต่วัยเยาว์ ซึ่งน่าจะเป็นเพราะเรื่องในอนาคตว่าฝ่ายใดจะได้ขึ้นมาเป็นกษัตริย์ ลูกของท้าวปาณฑุ
หรือว่าลูกของท้าวธฤตราษฎร์เป็นสำคัญ (ที่มา: สุรยิ ะบุตรเรื่องเลา่ . เรอ่ื งย่อมหาภารตะ. 2562)
ช่วงเยาว์วัยถึงวัยหนุ่มของเหลาเจ้าชาย ภีษมะตอนนี้ทรงชราภาพแล้วเข้ามารับผิดชอบอบรมเลี้ยงดู
ภราดาทั้งสองกลุ่ม เจ้าชายทั้งสองฝ่ายนี้ต่างก็เอาแต่แข่งขันต่อสู้กันอยู่ตลอดเวลา พยายามแม้กระทั่งสังหารอีก
ฝ่าย วันหนึ่งโทรณะ ครูและผูช้ ำนาญสรรพาวุธ ปรากฏตัวข้ึนและเสนอตวั เข้ามาสอนเจ้าชายน้อยท้ังปวง โทรณะ
มีภารกิจลับนัน่ คือการแก้แค้นการดูถูกเหยียดหยามที่เพื่อนเก่าคนหนึ่งกระทำไว้แก่ตนขณะยังหนุม่ ในการอบรม
เจ้าชายท้ัง 105 คน นั้นทั้งหมดตกอยู่ภายใต้การอำนวยของท้าวภษี มะที่เป็นปู่โดยมีอาจารย์สองคนทำหน้าทีเ่ ปน็
ผู้สอนศิลปะวิทยาการแขนงต่างๆให้ นั่นก็คือ กฤปาจารย์ และ โทรณาจารย์ ในการนี้ยังมีเด็กชายอีกคนที่มิใช่
ลูกหลานกษัตริย์โดยตรงเข้ารว่ มเรียนด้วย คือ อัศวถามา ซึ่งเป็นลูกชายของโทรณาจารย์ (ที่มา: สุริยะบุตรเรื่อง
เลา่ เร่อื งย่อมหาภารตะ. 2562)
ในการอบรมศิษย์ทั้งหลายนั้น โทรณาจารย์ก็เฝ้าจับตาดูความก้าวหน้าของเหล่าศิษย์ก็พบว่ามีราชกุมาร
พระองค์หนึ่งมีความก้าวหน้าในการเรียนรู้ศิลปวิทยาที่สั่งสอนได้รวดเร็วยิ่งกว่าราชกุมารพระองค์อื่น ราชกุมาร
26
พระองค์นั้นคือ ''อรชุน'' ด้วยเหตุนี้จึงกลายเป็นศิษย์เอก (ที่มา: สุริยะบุตรเรื่องเล่า. เรื่องย่อมหาภารตะ. 2562)
(ที่มา: อ.วีระธรี ภัทรเล่ามหากาพยม์ หาภารตะ. 2556)
และโดยการช่วยชวี ิตของโทรณาจารย์จากภยันตราย แสดงใหเ้ ห็นถงึ ความไมก่ ลัวตายของเขาในการอุทิศ
ตน ความประทับใจในทกั ษะและการอุทิศตนของเขา,โทรณาจารย์ ตัดสินใจที่จะทำใหอ้ รชุนเป็นมือธนทู ีด่ ีที่สดุ ใน
โลกา ในขณะเดียวกัน กรรณะพยายามหาอาจารย์ที่จะสอนวิชาให้กับตนแต่เพราะการแบ่งชนชั้นวรรณะ ทำให้
กรรณะตอ้ งฝา่ ความฝันเพียงลำพัง และโกหกวรรณะตัวเองต่อปรศุราม เพอ่ื พสิ ูจน์วา่ เขาคือมือธนูที่ดีที่สุดในโลกา
เวลาผ่านมาจนจบการเลา่ เรียนโทรณะจัดเวทีแขง่ ขนั เพ่ืออวดทักษะของปาณฑพและเการพแต่ละองค์ จนการต่อสู้
มาถึงอรชุนและทุรโยธน์ กับมีบุรุษแปลกหน้าคนหนึ่งกลับปรากฏกายขึ้นมาท้าทายอรชุนและมีฝีมือเชิงธนู
ทัดเทยี มกบั อรชนุ (ทม่ี า: สุริยะบุตรเรอ่ื งเลา่ เรอ่ื งย่อมหาภารตะ. 2562)
บุรุษคนนี้คือ กรรณะ ที่ผู้อ่านทราบมาแล้วว่าเป็นโอรสองค์แรกของกุนตี เกิดแต่สูรยเทพหรือเทพ แห่ง
ตะวัน พระนางกุนตีมีความจำเป็นก่อนอภิเษกสมรสกับปาณฑุ จึงลอยกรรณะไปในตระกร้ากับสายน้ำดังนั้น
กรรณะจึงเป็นเชษฐาองค์โตของภราดาปาณฑุนั่นเองอย่างไรก็ตามกรรณะไม่ทราบว่ามารดาที่แท้จริงของตนเป็น
ใคร สารถีเก็บได้แลว้ นำไปเลี้ยงจนเตบิ โต เหล่าปาณฑพไมเ่ ห็นด้วยกับการประลองเพราะสถานภาพทางสังคมอัน
ต่ำตอ้ ยของกรรณะและจะไมท่ รงต่อส้กู ับใครก็ตามที่ไม่มีพระชาติ เปน็ ขตั ติยะมาตัง้ แตเ่ กิด
แต่ทรุ โยธนล์ ูกพลี่ ูกน้องของภราดาปาณฑพเล็งเห็นโอกาสสร้างพันธมิตรกบั กรรณะ โดยไม่ใส่ใจต่อกฎอัน
เข้มงวดแห่งวรรณะ ทุรโยธน์ยกอาณาจักรเล็กๆแหง่ หนึ่งให้แก่กรรณะ ทำให้กรรณะซาบซึ่งใจจึงสาบานเป็นมิตร
กับเหล่าเการพตลอดไปในเวลาต่อมาเมื่อท้าวธฤตราษฎร์ทรงจะแต่งตั้งมกุฎราชกุมาร ที่จำเป็นต้องตกแก่เหล่า
ปานฑพ แต่เกิดความลำเองในใจโทรณาจารย์จึงขอให้ศิษย์ของตนได้ ไปทำศึกกับมหาราชย์แห่งปัณจาละ เพ่ือ
ตอบแทนอาจารณ์และหาผู้เหมาะสมกับ มกุฎราชกุมาร สุดท้ายก็เป็นเหล่าปาณฑพที่ทำการสำเร็จก็แต่งตั้งให้
ยุธิษฐิระพี่ชายคนโตของพวกปาณฑพขึ้นเป็นมกุฎราชกุมารแห่งแคว้นกุรุมีสิทธิในการขึ้นครองราชย์ แต่เดิมของ
ท้าวปานฑุ ผลจากการนี้ทำให้พวกปานฑพยิ่งได้รับการยกย่องนับถือและมีอำนาจมากขึ้น การวางแผนเพื่อจะ
ทำลายล้างพวกปาณฑพ โดยทรุ โยธน์พ่ีชายคนโตของพวกเการพ เป็นต้นคดิ กเ็ กิดขึ้นโดยมีน้องชายคนสำคัญคือ ธุ
ชาศนั ยแ์ ละลุงของพ่ีน้องเการพคือ ทา้ วศกุ ุนพิ ่ีชายของพระนางคานธารี ซงึ่ เปน็ มเี ลห่ ์เหลี่ยมร้ายกาจและเป็นจอม
วางแผนให้ รวมทั้งยังมีกรรณะเป็นคนให้การสนับสนุนเป็นสำคัญรวมอยู่ด้วย แผนการสังหารพวกพี่น้องปาณฑ
พถูกวางเอาไว้อย่างแยบยล ด้วยการให้มีการสร้างบา้ นรบั รองที่ทำดว้ ยข้ีผึ้งติดไฟง่ายรอท่าไว้ และหลงั จากน้ันก็ไป
เช้ือเชิญใหเ้ จา้ ชายปาณฑพทง้ั ห้าพร้อมกับพระนางกุนตีไปพักผ่อน (ทีม่ า: สรุ ิยะบุตรเรือ่ งเล่าเรื่องย่อมหาภารตะ.
2562)
ในการนี้ทางราชสำนักกรุงอินทรปรัสถ์ได้เชื้อเชิญพระราชาจากแว่นแคว้นใกล้เคียงกัน ให้มาร่วมพิธี
บวงสรวง ราชศูรยะ เพื่อเฉลืมพระเกียรติ การดำเนินการดังกล่าวของพวกปาณฑพเป็นไปท่ามกลางความอิจฉา
ริษยาและเกลยี ดชงั ของพวกเการพเป็นอนั มาก และเพอ่ื เปน็ การตอบโตแ้ ละลดทอนอิทธพิ ลของพวกปาณฑพ ท้าว
27
ศกุนิผู้เป็นลุงของทุรโยธน์ ได้แนะนำให้ใช้วิธีเชิญท้าวยุธิษฐิระมาเล่นเกมทอดสกาพนันกัน เพราะศกุนิซึ่งได้ชื่อว่า
เปน็ คนมีวชิ าในการเลน่ สกา เชือ่ วา่ ตัวเองจะเอาชนะและสร้างความอับอายให้กับพวกปาณฑพได้ (ท่ีมา: อ.วีระธีร
ภทั รเลา่ มหากาพย์มหาภารตะ. 2556)
มหาราชธฤตราษฎร์ผู้เป็นพ่อของทุรโยธน์ ได้รับการร้องขอให้เอ่ยปากชวนยุธษิ ฐิระมาเล่นสกากัน แม้ว่า
ในตอนแรกท้าวธฤตราษฎรจ์ ะไมค่ อ่ ยเห็นด้วยกับเลห่ ์กลดงั กล่าว แตใ่ นทส่ี ุดกท็ ำตามคำขอรอ้ งของทุรโยธน์ โดยให้
ท่านวิฑูรเป็นคนเชิญให้ยุธิษฐิระมาเล่นสกากันที่กรุงหัสตนิ าปุระการเล่นทอดสกาเกิดขึ้นภายในอาคารที่ประชุมท่ี
เรียกว่า สภา และเรื่องสำคัญเกดิ ข้ึน ณ ที่แห่งนี้จึงทำให้ตอนน้ี ของมหากาพย์มหาภาระมีชื่อว่า สภาตอน ในการ
เล่นทอดสกาเพื่อพนันขันต่อกันนั้น ปรากฎว่ายุธิษฐิระปราชัยอย่างย่อยยับต้องเสียทรัพย์สมบัติ อัญมณี
เคร่ืองประดบั ท่ีมีค่า รถม้าศึก ขา้ ทาสบรวิ าร ช้างม้า และในท้ายทส่ี ุดยุธิษฐริ ะได้ขอเดิมพนั ดว้ ยอาณาจักรที่ตนเอง
ปกครอง ซง่ึ ก็เสียพนนั อกี ยธุ ิฐริ ะซึ่งบัดน้ีตกอยใู่ นภาวะอันบา้ คลั่งของการพนันขันต่อก็เอาตวั เองและพ่ีน้องปาณฑ
พอีกสีค่ นเปน็ เดมิ พนั
แตก่ แ็ พ้อกี และถูกยั่วยุจากทุรโยธนก์ ับศกุนิใหใ้ ช้พระนางเทราปตเี ปน็ เดิมพัน ยุธิษฐิระตอ้ งการเอาชนะให้
ได้ ก็ตงลงเดิมพันด้วยพระนางเทราปตแี ละต้องพา่ ยแพ้อีกครัง้ หนึง่ เมื่อพ่ายแพ้ ทุรโยธน์ก็บงั คับใหส้ ง่ ตวั พระนาง
เทราปตีซึ่งมีฐานะเป็นทาสจากการพนันให้ แต่พระนางเทราปตีไม่ยอมมาปรากฏตัว ทำให้ทุหศาสันลุแก่โทสะไป
จิกหัวลากตัวมาจากท่ีพักและนำตวั มายังท่ปี ระชุมในสภา ทั้งยงั ดึงเส้ือผา้ ของนางออกแตไ่ ดม้ นต์ของ กฤษณะช่วย
ไว้ทำใหผ้ า้ ท่ดี งึ ยาวจนไม่หลุดออกจากตวั เทราปตี (ที่มา: สรุ ยิ ะบตุ รเร่ืองเล่าเรอื่ งย่อมหาภารตะ. 2562)
แต่การกระทำย่ำยีครั้งนี้ทำให้ภีมะทนไม่ได้ประกาศก้องกลางที่ประชุมให้สัตย์สาบานว่าจะฉีกอกทุหศา
สันเพื่อดื่มเลือดสดๆ ถ้าหากจะต้องทำสงครามล้างอายในวันข้างหน้า ส่วนทุรโยธน์ซึ่งล่วงเกินพระนางเทราปตี
โดยบังคับให้มานั่งบนตักนั้น ภีมะก็ประกาศว่าจะล้างแค้นด้วยการจะใช้คทาทุบสะโพกของทุรโยธน์ให้หักสะบั้ น
เมอื่ เหตุการณ์รนุ แรงลุกลามบานปลายมาจนถึงข้ันนี้ มหาราชธฤตราษฎร์ก็เข้ามาไกล่เกลีย่ ตามคำร้องขอของพระ
นางเทราปตี มหาราชธฤตราษฎร์ให้ยุติการเล่นพนันกินบ้านกินเมืองแล้วสั่งให้ทุรโยธน์ส่งมอบทุกสิ่งทุกอย่างท่ี
ยุธิษฐิระแพ้พนันกลับคืนให้จนหมดสิ้นเพื่อให้เลิกแล้วต่อกัน แต่ทุรโยธน์ซึ่งยังไม่หายแค้นก็ยังดันทุรังขอให้
มหาราชธฤตราษฎรผ์ ้เู ป็นบดิ าซ่งึ เป็นคนอ่อนไหวโลเล และตามใจลกู ชายให้เชญิ ยธุ ิษฐิระมาเล่นพนนั ทอดสกาเป็น
ครง้ั สดุ ทา้ ย คราวนี้ตกลงกันวา่ ถ้าหากใครแพ้คนน้ันจะต้องลภ้ี ยั เปน็ เวลาสบิ สองปี และจะตอ้ งซ่อนตวั ไม่ให้ใครพบ
เห็นในปีที่สิบสามอีกหนึ่งปี ก่อนจะกลับมาอยู่อย่างปกติในปีที่สิบสี่ (ที่มา: สุริยะบุตรเรื่องเล่า. เรื่องย่อมหาภา
รตะ. 2562) (ทีม่ า: อ.วีระธรี ภัทรเล่ามหากาพย์มหาภารตะ. 2556)
ในขณะที่ความพยายามจะหาทางตกลงเพื่อหลีกเลี่ยงสงครามดำเนินไปนั้น ต่างฝ่ายต่างก็พยายามก่อตั้ง
พันธมิตรเพื่อเตรียมทำสงครามใหญ่ กฤษณะเองได้รับการติดต่อจากสองฝ่ายเพื่อให้ร่วมกับฝ่ายตนและตกลงยก
กองทหารของตนให้กับทรุ โยธน์ไป ในขณะทต่ี กลงใหค้ ำแนะนำทำหนา้ ทปี่ รึกษาและให้การสนับสนุนฝ่ายปาณฑพ
ตามคำขอของอรชุน ท้าวศัลยะเข้าร่วมรบกับฝ่ายเการพ แม้จะมีฐานะเป็นลุงของฝ่ายปาณฑพโดยทำหน้าที่เป็น
28
สารถใี หก้ บั กรรณะ แตท่ ้าวศัลยะก็รบั ปากกับยธุ ิษฐริ ะว่าแม้จะต้องทำหนา้ ทเี่ ปน็ สารถีบังคับรถม้าศึกใหก้ รรณะ แต่
ก็จะพยายามทำทุกวิถีทางเพื่อมืให้กรรณะได้เปรียบในการทำศึกในระหว่างการเจรจาเพื่อหาทางยุติสงคราม ทุร
โยธน์ปฏิเสธที่จะทำข้อตกลงสันติภาพ แม้ว่าบรรดาผู้อาวุโสไม่ว่าจะเป็นท้าวธฤตราษฎร์ ผู้เป็นบิดาและพระนาง
คานธผี ูเ้ ป็นมารดาจะขอรอ้ งก็ตามที สว่ นกฤษณะเองกใ็ ช้ความพยายามอยา่ งหนัก เพือ่ ชักชวนให้กรรณะมาอยู่ข้าง
ฝา่ ยปาณฑพเชน่ เดยี วกบั พระนางกุนตีกย็ อมเปดิ เผยตวั ในระหว่างไปพบเปน็ การสว่ นตวั กบั กรรณะ ว่าเป็นแม่ที่ให้
กำเนดิ เพื่อขอใหก้ รรณะยา้ ยข้างมาอยกู่ ับฝ่ายปาณฑพแต่ไม่เปน็ ผลสำเรจ็ กรรณะตดั สนิ ใจอยู่กับฝ่ายเการพเพื่อย้ำ
มิตรภาพระหว่างตนกับทุรโยธน์ แม้จะรู้ความลับชาติกำเนิดแล้วว่าตนเองเป็นลูกพระอาทิตย์กับพระนางกุนตีก็
ตามทีเมื่อถึงเวลากองทหารฝ่ายเการพและปาณฑพก็เดินทางเข้าสู่สมรภูมิรบที่ทุ่งกุรุเกษตร ทางฝ่ายปาณฑพมีธ
ฤตทยุมน์เป็นผู้บัญชาการรบ ส่วนท้าวภีษมะรับหน้าที่เป็นผู้บัญชาการรบฝ่ายเการพ (ที่มา: สุริยะบุตรเรื่องเล่า
เรื่องย่อมหาภารตะ. 2562)
ถือเป็นเรื่องการต่อสู้ระหว่างธรรมะกับอธรรมก็เกิดสงครามที่ทุ่งกุรุในมหากาพย์มหาภารตะที่เกิดขึ้นมา
ประมาณสามสี่พันปี ในระหว่างนั้น ยุธิษฐิระได้แสดงความวิตกกังวลถึงความร้ายกาจของกรรณะเพราะรู้ว่า
กรรณะได้รับของประทานจากเทพพระอาทิตย์โดยไม่มีใครสามารถทำลายชีวิตได้ ทำให้พระอินทร์ซึ่งได้รับ
คำแนะนำจากพราหมณ์ต้องดำเนนิ การแกไ้ ขปัญหานี้ โดยที่กรรณะได้รับคำเตือนจากเทพพระอาทิตยไ์ วก้ ่อนแล้ว
วา่ พระอนิ ทร์ปลอมตวั ไปขอเส้ือเกราะและต่างหูที่เป็นอุปกรณ์รักษาชวี ิตจากกรรณะ ทำให้กรรณะต้องคิดหนักใน
เรื่องนี้ ติดตามความเข้มขน้ ท่ีมาถึงจุดแตกหักกันถึงที่สุดแห่งมหากาพย์ ในตอนนี้เองท่ีเร่ืองราวอันเป็นบทสนทนา
โตต้ อบท่ีมคี วามยาวประมาณ 18 บทซ่ึงร้จู ักกนั ในช่อื ว่า ภควทั คีตา ได้สอดแทรกเข้ามาเป็นเน้ือหาหลัก เน้ือหาใน
บทสนทนาเป็นตอนที่กฤษณะสั่งสอนอรชุนมิให้ลังเลในการทำสงคราม แม้ว่าศัตรูจะเป็นญาติของตนก็ตามที บท
สนทนาอันสวยสดงดงามและมีความยาวพอสมควร รวมถึงมีฉากในการแสดงร่างอวตารของมหาเทพ การต่อสู้ซึง่
ดำเนนิ ไปเป็นเวลาสบิ วนั มีเหตุให้วาสุเทพกฤษณะ ได้แสดงถงึ อำนาจอีกคร้ังโดยมนี ักรบวรี ชนคนกล้าของฝ่ายต่าง
รบกันอย่างเอาเป็นเอาตาย จนมีเหตุให้วาสุเทพกฤษณะ จนภีษมะว่าตนจะยุติการสู้รบวางอาวุธด้วยเหตุเดียวคือ
เม่อื เผชิญหนา้ กับ ศิขัณฑิณ แล้วเมื่อนั้นจะวางอาวุธ (ท่มี า: อ.วีระธรี ภัทรเลา่ มหากาพย์มหาภารตะ. 2556)
พวกปาณฑพอาศยั คำแนะนำของภีษมะดงั กลา่ ว ดำเนนิ การให้ศขิ ัณฑณิ เผชญิ หนา้ กับภีษมะ ภีษมะถูกลูก
ธนูของศิขัณฑิณได้รับบาดเจ็บสาหัสจนร้องขอหลานของตนเหล่าปานฑพให้ทำการปลดปล่อยตนและล้มลงนอน
บนเตียงที่ทำจากลูกศรที่อรชนุ ยิงถล่มเขา้ ใส่ทั่วร่างกายนั่นเอง เรื่องราวมาจบลงตรงที่นกั รบฝ่ายปาณฑพและเกา
รพตา่ งไปชมุ นุมเพื่อแสดงความเคารพต่อท้าวภษี มะท่ีนอนรอความตายอยูบ่ นเตียงลูกศรกลางสมรภูมิ เร่ืองราวใน
ตอนต่อมา ในชื่อเรียกว่า โทรณตอน ซึ่งเป็นเรื่องราวการทำสงครามบนทุ่งกุรุเกษตรต่อไป และเนื่องจากโทรณา
จารย์ทำหน้าที่เป็นผู้บัญชาการรบฝ่ายเการพแทนท้าวภีษมะ จึงเป็นตัวละครที่มีบทบาทมากที่สุดตามการเรียก
ขานช่อื นี้นนั่ เองเรื่องราวดำเนนิ ต่อไป เมอ่ื โทรณาจารย์รบั ช่วงต่อจากท้าวภีษมะเปน็ ผู้บัญชาการรบฝ่ายเการพ ใน
การทำศึก และกำลงั จะเกดิ การสรา้ งความโกรธแค้นของท้ังสองฝ่ายจนทำใหเ้ กิดความสญู เสียทไี่ มอ่ าจจะเลีย่ งได้
29
ตอนอวสานสงครามบนทุ่งกุรุเกษตร ถือเป็นตอนจบอย่างสมบูรณ์ ซึ่งเรื่องราวที่เหลือดำเนินไปถึงตอน
สุดท้ายในกรุงทวารกาของ พระกฤษณะ ตามคำสาปของ พระนางคานธารี ก่อนจะยุติลงเป็นตอนอวสานเมื่อ พี่
น้องปาฑพ เดินทางสู่สวรรค์และต้องล้มตายระหว่างทางทีละคนจนเหลือ คนสุดท้ายคือ ท้าวยุธิษฐิระ ความ
โกลาหลในโลกมนุษย์ จึงระงับลงได้ด้วยการอวตารลงมาปราบยุคของ พระกฤษณะ อันเป็นนารายณ์อวตารปางท่ี
8 ในท่ีสุด (ที่มา: สุริยะบุตรเรื่องเล่า. เรื่องยอ่ มหาภารตะ. 2562) (ทีม่ า: อ.วีระธรี ภัทรเล่ามหากาพย์มหาภารตะ.
2556)
การแบ่งกลมุ่ ของปรชั ญาอนิ เดยี จงึ แบ่งออกเปน็ กลมุ่ ใหญ่ๆ ได้ 2 กลุ่ม คือ
1. กลุ่มอาสติกะ (Orthodox) คอื กลุ่มทเี่ ชอื่ ถือคัมภีรพ์ ระเวทและยอมรบั ความสำคัญของคัมภีร์
พระเวท กลุ่มอาสติกะยังแบ่งออกไปอีก 6 ระบบ คือ ปรัชญานยายะ ปรัชญาไวเศษิกะ ปรัชญาสางขยะ ปรัชญา
โยคะ ปรัชญามีมางสา และ ปรชั ญาเวทานตะ
2. กลุ่มนาสติกะ (Heterodox) คือ กลุ่มที่ไม่ยอมรับความสำคัญของคัมภีร์พระเวทและไม่เชื่อ
ถือในความศักดิ์สิทธิ์ของคัมภีร์พระเวท มี 3 ระบบ คือ ปรัชญาพุทธศาสนา ปรัชญาเชน และ ปรัชญาจารวาก
(พระมหามฆวินทร์ ปุริสุตฺตโม. มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย . ปรัชญาสากล : วิเคราะห์และวิจารณ์)
ปรัชญา 3 ระบบหลังนี้ปฏิเสธความสำคัญของพระเวทและแสดงท่าทีเป็นปฏิปักษ์ต่อคัมภีร์พระเวท
โดยโจ่งแจ้ง เช่น นักปรัชญาจารวากกล่าวว่า “พระเวทมีเนื้อความคลุมเครือ ไม่แจ้งชัด เต็มไปด้วยข้อความ
ที่หลอกลวง มีวิธีการชักจูงคนโง่เขลาให้เชื่อตามอย่างงมงาย การกล่าวถึงความสุขในสวรรค์นั้นเป็นการ
กล่าวอย่างเลื่อนลอยและไร้สาระ” นักปราชญ์เชนก็เช่นกัน ไม่เชื่อถือในพระเวทและตำหนิอย่างรุนแรง พอๆ
กับพวกจารวาก ส่วนพทุ ธปรัชญาน้ันแม้ว่าจะไมเ่ ช่ือถือและไม่ยอมรับความสำคญั ของพระเวทกต็ าม แต่ก็ไม่ตำหนิ
เพียงแต่จะให้ผู้ศรัทธานับถือใคร่ครวญด้วยปัญญาอันมีเหตุผลเท่านั้น (พระมหามฆวินทร์ ปุริสุตฺตโม.
มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย . ปรชั ญาสากล : วิเคราะห์และวจิ ารณ์)
ศาสนาในอนิ เดยี
ศาสนาฮินดู
คัมภีร์พระเวทเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และเก่าแก่ที่เกิดขึ้นในแถบลุ่มแม่น้ำสินธุ มากกว่า 3,000 ปี
พราหมณ์เป็นผู้แทนจากพระเจ้า พระเจ้าสมัยฮินดูเปลี่ยนจากการถือว่าพระพรหมเป็นเทพสูงสุด มานับถือ
นารายณเ์ ป็นเทพสงู สดุ เรียกวา่ ปรพรหม พระองค์ประสงคจ์ ะสร้างโลกจึงแบง่ เป็นสามภาคเรียกว่าตรีเทพหรือตรี
มูรติถือพระพรหมให้เปน็ ผูส้ ร้างโลก พระวิษณุให้เป็นผูบ้ ริหารโลก และพระศิวะให้เป็นผู้ทำลายโลก เป็นศาสนาท่ี
คนอินเดียนับถือมากที่สุด (ที่มา: สำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม โครงการ หอมรดกไทย. ประเทศเพื่อนบ้าน
ของไทย. ประเทศอินเดีย)
30
ศาสนาพทุ ธ
ถือกำเนิดในอินเดีย มากว่า2,500 กว่าปี เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา พระพุทธเจ้า
คัมภีร์ คือ พระไตรปิฎก ได้ทรงเริ่มออกเผยแผ่คำสอนในชมพูทวีป ตั้งแต่สมัยพุทธกาล แต่หลังปรินิพพานของ
พระพุทธเจ้า ได้ถูกรวบรวมเป็นหมวดหมู่ด้วยการสังคายนาพระธรรมวินัย จนมีขึ้นเป็นพระไตรปิฎก
พุทธปรัชญาเป็นปรัชญาที่ค้นพบโดยพระพุทธเจ้า เป็นปรัชญาที่หนักในความจริงที่เรียกว่า สัจนิยม (ที่มา:
พระไตรปิฎก เล่มที่ 9 พระสุตตนั ตปิฎก เล่มท่ี 1 ทฆี นกิ าย สลี ขนั ธวรรค กฏู ทันตสูตร. พระไตรปฎิ กฉบบั สยามรัฐ)
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนเกิดขึ้นในประเทศอินเดีย “เชน” มาจากภาษาสันสกฤตว่า ไชน แปลว่าผู้
ชนะ ศาสนาเชนมีศาสดามาแล้ว 24 องค์ด้วยกัน ศาสดาองค์สุดท้ายมีนามว่า มหาวีระ มีชีวิตอยู่ ในยุคเดียวกับ
พระพุทธเจ้าคำวา่ คัมภีร์ท่สี ำคัญ คือ คัมภีรอ์ าคมะ หรือเรียกอกี อย่างหน่ึงว่า สิทธานตะ (ทมี่ า: บรษิ ทั อมรินทร์พ
ร้ินต้งิ แอนดพ์ บั ลชิ ช่ิง จำกดั (มหาชน). ศาสนาเชน: วถิ แี ห่งอหงิ สา)
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ หรือ ศาสนาสิข เป็นศาสนาใหม่ ถือกำเนิดขึ้นในประเทศอินเดีย เมื่อ พ.ศ. 2012
เกิดขึ้นระหว่างความขัดแย้งของศาสนาฮินดูกับศาสนาอิสลาม ศาสนาซิกข์เปน็ ศาสนาโดยคุรศุ าสดาพระองค์แรก
คุรุนานัก และถูกนิยามว่าเป็นทั้งศาสนาเอกเทวนิยม และ พหุเทวนิยม ให้ถือพระคัมภีร์ คุรุกรันตสาหิบ (ที่มา:
เบญจภรณ์ ศรีเมือง. ศาสนาซกิ ข์)
ปรัชญาจีน
ศาสนาในจนี
ลัทธิเล่าจ๊ือ -เต๋า เกิด 600 ปีก่อนค.ศ. เล่าจื้อเป็นปรมาจารย์ผู้ให้กำเนิดปรัชญาเตา๋ มีชีวิตอยู่ในชว่ งร่วม
สมัยกบั ขงจอ้ื เต๋าใช้เรยี กแทนสงิ่ สมบูรณ์อันเปน็ เอกภาพของจกั รวาล เลา่ จือ๊ สอนให้มีเตา๋ เป็นอดุ มคตเิ ป็นจุดหมาย
ปลายทางสูงสุด มีจุดมุ่งหมายให้คนมุ่งเข้าทางธรรมหรือสัจธรรม สละทางโลก ไม่สนใจลาภยศ มุ่งหาความสงบ
ดำรงชีวิตอย่างเรียบง่าย กลมกลืนกับธรรมชาติ มีคติมีเมตตากรุณา (ที่มา: ปานทิพย์ ศุภนคร มหาวิทยาลัย
รามคำแหง. ปรัชญาจนี (Chinese Philosophy). E-book)
เคร่ืองหมายหยนิ – หยาง ของลัทธเิ ล่าจือ๊ -เต๋า
สญั ลกั ษณ์ประจำลัทธเิ ต๋า อันหมายถงึ อำนาจทม่ี บี ทบาทต่อกนั ของจักรวาลนกั ปราชญ์
สีดำ คือ หยิน หมายถึง ดวงจันทร์ เป็นตัวแทนของการเต็มใจ รับหรือยอมเป็นฝ่ายถูกกระทำ เป็นพลัง
แห่งสตรเี พศ ความเยือกเย็น การหยุดนิง่ การเคลอ่ื นลงต่ำ การเก็บรักษา การยบั ยั้ง
สีขาว คือ หยาง หมายถึง ดวงอาทิตย์ อันเป็นสัญลักษณ์ของพลังแห่งบุรุษเพศ การเคลื่อนไหว ความ
กระตือรอื ร้น การเคล่ือนข้นึ ไปด้านบน การเจรญิ เติบโต เจรญิ รงุ่ เรอื ง ความรอ้ นแรง
31
สัญลักษณ์หยิน-หยาง จึงแทนความสมดุลของพลังในจักรวาล (ที่มา: พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ มหาวีร
วงศ์ นครราชสีมา. เคร่ืองหมายหยิน – หยาง)
ลัทธิขงจื๊อ เกิด 551 ปีก่อนค.ศ. ขงจื้อเป็นนักปราชญ์ที่มีชื่อเสียงที่สุดในจีน เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลทาง
ความคิดมากที่สุดคงจะเป็นผู้ให้กำเนิดลักษณะเด่นของปรัชญาจีน คือ มันมนุษยนิยม ซึ่งหมายถึงการให้
ความสำคัญแก่บุคคลและสังคมมากกว่าพระเจ้าหรืออำนาจนอกเหนือธรรมชาติอื่นๆ (ที่มา: ปานทิพย์ ศุภนคร
มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง. ปรชั ญาจนี (Chinese Philosophy). E-book)
ลัทธิม่อจื๊อ เกิด 479-438 ปีก่อนค.ศ. ยึดความดีของกษัตริย์โบราณ คือเป็นผู้อุทิศตนเพื่อคนอื่นอย่างไม่
เห็นแก่ตัวไม่เห็นแก่ความเหน็ดเหนื่อย ตั้งใจที่จะมีชีวิตอยู่เพื่อช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ยาก สนใจที่จะแต่งกายให้
งดงามและสานุศิษย์แต่งกายด้วยเสื้อผ้าหยาบ รองเท้าฟาง ทำงานหนักทั้งวันทั้งคืนโดยไม่หยุด (ที่มา: ปานทิพย์
ศุภนคร มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง. ปรัชญาจนี (Chinese Philosophy). E-book)
ลัทธิหยางจื้อ-เอี้ยงจื๊อ เกิด 440-366 ปีก่อนค.ศ. หยางจื้อ กล่าวว่า ความสุขของชีวิตนั้นคือ อาหารอัน
โอชะ เสื้อผ้าอันสวยงาม ดนตรีที่ไพเราะ และสิ่งสวยงามเจริญตาเจริญใจทั้งปวง หยางจื้อสอนให้แสวงหาความ
เกษมสำราญ ความอภิรมย์ของชีวิต เขาสอนให้คำนึงถึงผลประโยชน์ของตัวเองในจุดสำคัญเพราะสัญชาตญาณ
ของสัตว์โลกย่อมมีความรักตัวเอง ซึ่งหยางจื้อขัดกับลัทธิม่อจื้อที่อุทิศตนทำเพื่อคนอื่น (ที่มา: ปานทิพย์ ศุภนคร
มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง. ปรัชญาจนี (Chinese Philosophy). E-book)
ลัทธิเม่งจื๊อ เกิด 390-305 ปีก่อนค.ศ. เม่งจื๊อหนึ่งในกลุ่มผู้ตคี วามของขงจื้อที่มีชีวิตอยูช่ ่วงก่อนราชวงศ์
ฮั่น เพ่งิ จะรู้จกั กันดีวา่ เป็นปราชญผ์ ู้ยงิ่ ใหญ่คนหนึ่ง ถือว่าเป็นศษิ ยเ์ อกของขงจื้อ เพราะเปน็ คนรวบรวมคำสอนของ
ขงจือ้ (ท่มี า: ปานทพิ ย์ ศุภนคร มหาวิทยาลยั รามคำแหง. ปรชั ญาจีน (Chinese Philosophy). E-book)
ลัทธิจังจ้ือ - จวงจื้อ เกิด 369-286 ปีก่อนค.ศ. จังจื้อ เลื่อมใสในคำสอนของเล่าจื๊อมาก ได้อุทิศตน
ประกาศคำสอนของเล่าจื๊อไปอย่างกว้างขวาง ปรชั ญาของจังจื้อมุ่งสอนให้คนดำเนนิ ชีวิตที่สอดคล้องกับธรรมชาติ
กลมกลืนกับธรรมชาติ ดำรงชีวิตอยู่อย่างเรียบงา่ ยเปน็ อิสระโลกและชวี ิตเปน็ สรรพสิ่งล้วนเกิดจากธรรมชาติ จังจื้
อปฏเิ สธการสร้างโลกของพระเจา้ เพราะทุกอย่างเกดิ ขนึ้ มาและเป็นไปตามกฎธรรมชาติ
ลัทธซิ ุนจ๊ือ เกดิ 298-238 ปีกอ่ นค.ศ. ซุนจื่อ มีชีวิตอยใู่ นช่วงปลายราชวงศโ์ จว หลังจากท่ีเม่งจ้ือเสียชีวิต
จึงได้เป็นขึ้นชือ่ วา่ ผู้ที่เดน่ อีกคนหนึง่ คำสอนของซุนจื้อ ค่อนข้างจะแตกตา่ งจากคำสอนของเม่งจ้ืออยู่มาก เพราะ
ซนุ จื้อเชื่อวา่ ธรรมชาตขิ องมนุษยม์ ีความคดิ ทแ่ี ตกต่างจากของเมง่ จ้ือท่ีเช่ือถอื ว่ามนษุ ย์มธี รรมชาติท่ีดีโดยธรรมชาติ
ส่วนซุนจื้อกลับมีความเชื่อว่ามนุษย์มีธรรมชาติที่ชั่วร้ายโดยธรรมชาติ ซึ่งกล่าวว่าธรรมชาติของมนุษย์นั้นชั่วร้าย
ความดีของมนุษย์เป็นผลจากการกระทำ (ที่มา: ปานทิพย์ ศุภนคร มหาวิทยาลัยรามคำแหง. ปรัชญาจีน
(Chinese Philosophy). E-book)
ศาสนาพุทธในจีน พระพุทธศาสนาได้เข้ามาในประเทศจีน เมื่อประมาณ พ.ศ. 608 ในสมัยของ พระ
จักรพรรดิเม่งเต้แห่งราชวงค์ฮั่น ได้จัดส่งคณะทูต 18 คน พระพุทธศาสนาจะเป็นที่เลื่อมใสแต่ก็ยังจำกัดอยู่ในวง
32
แคบ นักปราชญ์ได้แสดงหลักธรรมของพระพุทธศาสนา ให้ชาวเมืองได้เห็นถึงพระพุทธศาสนาเหนือกว่าลัทธิเดมิ
กับอาศยั ความประพฤติอนั บรสิ ทุ ธ์ิของพระสงฆเ์ ป็นเครื่องจูงใจใหช้ าวจีนเกิดศรัทธาเลื่อมใส จนทำให้ชาวเมืองหัน
มานับถือพระพุทธศาสนามากกว่าลัทธิศาสนาอื่นๆ พระพทุ ธศาสนากเ็ จริญรงุ่ เรือง เรม่ิ เสื่อมลงเม่ือพระเจ้าบู๊จงข้ึน
ปกครองประเทศ เพราะพระเจ้าบู๊จงทรงเลื่อมใสในลัทธิเต๋า ปัจจุบันได้มีการฟื้นฟูพระพุทธศาสนาลัทธิมหายาน
ข้ึนใหม่ นอกจากนี้รัฐบาลจีนยังให้การสนับสนุนจัดตั้งพุทธสมาคมแห่งประเทศจีน และสภาการศึกษา
พระพุทธศาสนาแห่งประเทศจีนขึ้นในกรุงปักกิ่งอีกด้วย เพื่อเป็นศูนย์กลางการติดต่อเผยแผ่พระพุทธศาสนากับ
ประเทศต่างๆ ทั่วโลก และชาวจีนส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนาคู่ไปกับลัทธิขงจ้ื อ และเต๋า (ที่มา: กองคลัง
มหาวทิ ยาลยั หวั เฉยี วเฉลิมพระเกียรติ. พระพุทธศาสนาบนแผ่นดินจนี )
ปรชั ญาการศกึ ษา
ในชว่ งตน้ ของการสร้างกรุงรตั นโกสนิ ทร์ คือ ระหวา่ งปี พ.ศ.2325-2426ความมงุ่ หมายของการศึกษาใน
ขณะน้นั คือ การให้สามารถ อ่าน-เขยี นภาษาไทย และคดิ เลข สมยั รชั กาลท่ี 5 ประเทศไทยไดร้ บั อิทธิพลจาก
แนวคิดการจดั การศึกษาของประเทศยุโรป พระองค์ทรงตงั้ โรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบข้นึ สมัยรัชกาลท่ี 6
ประเทศไทยเริ่มมแี ผนการศกึ ษาและเร่ิมมกี ารนำปรชั ญาและทฤษฏีการศึกษาจากประเทศยุโรปมาดดั แปลงใช้ใน
โรงเรียนฝึกหัดครู
การแบง่ ยคุ ของการศึกษาไทย
การจัดการศึกษาของไทยมีวิวัฒนาการมาตั้งแต่สมัยโบราณเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ด้วยความเชื่อที่ว่า
การศึกษาช่วยกำหนดทิศทางของชาติ เพื่อพัฒนาคนไทยให้มีความพร้อมที่จะเป็นกำลังสำคัญสำหรับการพัฒนา
ประเทศให้เจรญิ ก้าวหนา้ การศึกษาไทยแบง่ ออกเปน็ 3 ยคุ ดงั นี้ (การศึกษาในสังคมไทย, 2554 : ออนไลน์)
1. การศกึ ษาไทยสมยั โบราณ (พ.ศ.1780 – 2411)
1.1 การศึกษาไทยสมัยกรุงสุโขทัย (พ.ศ.1781 – 1921)
1.2 การศกึ ษาไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ.1893 – 2310)
1.3 การศึกษาไทยสมัยกรงุ ธนบุรแี ละกรุงรตั นโกสินทร์ตอนตน้ (พ.ศ.2311 – 2411)
2. การศึกษาไทยสมัยปฏิรปู การศกึ ษา (พ.ศ.2412 - พ.ศ.2474)
3. การศกึ ษาไทยสมัยการปกครองระบอบรัฐธรรมนญู ถึงปัจจุบัน (พ.ศ.2475 – 2554)
การศึกษาในรูปแบบโรงเรยี นของไทยนั้น เพิ่งจะเกิดขึ้นอย่างเป็นทางการในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยู่หัวฯ เป็นต้นมา การศึกษาของก่อนหน้านั้นจะเปน็ อย่างไรหลักฐานทีแ่ น่นอนถูกต้องตาม
ความในเรื่องนี้มีอยู่ไม่มากนัก และที่มีอยู่ก็เป็นแค่การสันนิษฐานเอาเอง โดยอาศัยหลักฐานแวดล้อมจาก
พงศาวดารหลายฉบบั แต่ก็พอจะทราบว่าการจัดการศึกษาของไทยมีวิวฒั นาการมาโดยตลอด อาจจะเป็นเพราะ
มีปัจจยั ท้ังภายในและภายนอกประเทศทำให้สงั คมมีการเปลีย่ นแปลง กลา่ วคือปัจจยั ภายในเกดิ จากความต้องการ
พัฒนาสังคมให้มีความเจรญิ และทันสมัย ส่วนปัจจัยภายนอกเกิดจากกระแสความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ท้ัง
33
ด้านเศรษฐกิจและการเมือง ตลอดจนการติดต่อสื่อสารกันทำให้ไทยต้องปรับตัวเพื่อความอยู่รอดและพัฒนา
ประเทศให้ทัดเทียมกับนานาประเทศ การจัดการศึกษาของไทยมีวิวัฒนาการเรื่อยมา ซึ่งเป็นปัจจัยที่ช่วยเสริม
ความเจริญก้าวหนา้ ทัง้ ทางด้านสังคม เศรษฐกิจและการเมืองของชาติ
ปรชั ญาการศกึ ษา ตามแนวพุทธธรรมโดยพระธรรมปิฎก
จากพระธรรมปิฎกต้ังแตค่ ร้ังยงั ดำรงสมณศักด์ิเป็นพระราชวรมนุ ี ไดอ้ ธิบายว่า ชวี ติ เกดิ จาการรวมตัวของ
องค์ประกอบต่าง ๆ จำนวนมากจึงได้จัดเป็น 2 ประเภท คือ องค์ประกอบทางร่างกายและจิตใจ ซึ่ง ทุกส่วนจะมี
การเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาไปตามสัมพันธ์แห่งเหตุปัจจัยต่าง ๆ “การศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อทำให้ชีวิตเข้าถึง
อิสรภาพคือ ทำให้ชีวิตหลุดพ้นจากอำนาจครอบงำของปัจจัยแวดล้อมภายนอกให้มากที่สุด และมีความเป็นใหญ่
ในตวั ในการที่กำหนดความเปน็ อยขู่ องตนให้มากท่สี ดุ
การมีความรู้ ความเข้าใจในสภาวะของสิ่งทั้งหลายตามความจริง เพื่อประโยชน์ในการปรับตัวและ
สิ่งแวดล้อมอย่างถูกต้องและการแก้ปัญหาอย่างถูกต้อง การทำลายอวิชชา เป็นภาวะแห่งความไม่รู้หรือหลงผิด
และการทำลายตัณหา
การปรับตัวเพื่อเพิ่มพูนความสามารถในการดำรงอยู่ การพัฒนาทางองค์ประกอบทางด้านร่างกายให้มี
สุขภาพดี แข็งแรง และการพัฒนาองค์ประกอบทางด้านจิตใจให้มีสติปัญญา และคุณธรรมมากขึ้นการรู้จักและ
เข้าใจ ถึงความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันของตนกับสิ่งแวดล้อมและการรู้จักปรับสิ่งแวดล้อมเป็นประโยชน์แก่ตน โดย
การรจู้ กั เอาประโยชนจ์ ากสิ่งแวดล้อมแต่พอสมควรเทา่ ท่ีมอี ยู่
ปรัชญาการศกึ ษาไทยตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
ประเทศไทยเช่นเดียวกับประเทศอื่น ๆ ทั่วโลกที่ต้องเผชิญกับภาวะวิกฤตด้านต่าง ๆที่เปลี่ยนแปลงทาง
สงั คม เศรษฐกิจ การเมอื ง และส่ิงแวดล้อม
ความหมายของการศกึ ษา
จากกระแสพระราชดำรัสและพระราชกรณียกิจต่าง ๆ การศึกษาเป็นเสมือนเครื่องมือในการพัฒนา
มนษุ ยท์ ุกด้าน ทั้งดา้ นรา่ งกาย จิตใจ และสตปิ ญั ญา เพอื่ ชว่ ยให้เปน็ พลเมืองดมี คี ุณภาพและมปี ระสิทธิภาพ
จุดมุ่งหมายของการศกึ ษา
การศึกษาต้องมุ่งพัฒนาและเพิ่มพูนองค์ความรู้ใหม่ พัฒนาศักยภาพของผู้เรียน มุ่งสร้างปัญญา และ
คณุ ธรรมของชวี ิตเพือ่ ช่วยใหผ้ ู้เรียนสามารถดำรงชวี ิตเพือ่ ตนเอง พ่งึ พาตนเองได้
แนวทางการจดั การศกึ ษา
เพ่ือใหบ้ รรลุจุดมุ่งหมายของการศึกษา การจดั การศกึ ษาด้านวชิ าการโดยการต่อยอดความรู้ควบคู่ไปกับ
การฝึกฝน ขัดเกลาทางความคิดความประพฤติและคุณธรรมโดยให้มีความเข้าใจในหลักเหตุผล มีความซื่อสัตย์
สจุ ริต รู้จักรบั ผดิ ชอบและตัดสนิ ใจในทางที่ถูกต้อง
34
หลกั แนวคดิ ของเศรษฐกจิ พอเพียง
การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่
ประมาท โดยคำนึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความ
รอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสนิ ใจและการกระทำ
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มีหลักพิจารณาอยู่ 5 สว่ น ดงั น้ี
• กรอบแนวคิด เป็นปรชั ญาท่ชี ้แี นะแนวทางการดำรงอยแู่ ละปฏิบัตติ นในทางท่ี ควรจะเปน็ โดย มีพน้ื ฐานมา
จากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สมารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการ
เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤต เพื่อ ความมั่นคง และ ความยั่งยืน ของการ
พัฒนา
• คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการ
ปฏบิ ตั บิ นทางสายกลาง และการพฒั นาอย่างเปน็ ขัน้ ตอน
คำนิยาม ความพอเพียงจะตอ้ งประกอบดว้ ย 3 คณุ ลกั ษณะ พร้อม ๆ กนั ดังนี้
• ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีท่ไี มน่ ้อยเกินไปและไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบยี นตนเองและผู้อื่น
เชน่ การผลิตและการบรโิ ภคทีอ่ ยู่ในระดับพอประมาณ
• ความมีเหตุผล หมาย ถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล
โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคำนึง ถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้น ๆ อย่าง
รอบคอบ
• การมภี ูมคิ มุ้ กนั ท่ีดีในตวั หมาย ถงึ การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลยี่ นแปลงด้านต่าง ๆ ท่ี
จะเกดิ ขน้ึ โดยคำนงึ ถึงความเปน็ ไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ทค่ี าดวา่ จะเกดิ ขน้ึ ในอนาคตท้งั ใกลแ้ ละไกล
• เงื่อนไข การตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้ และ
คณุ ธรรมเปน็ พื้นฐาน กลา่ วคือ
• เงือ่ นไขความรู้ ประกอบ ด้วย ความรอบรูเ้ ก่ยี วกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกย่ี วขอ้ งอย่างรอบด้าน ความรอบคอบ
ท่ีจะนำความรเู้ หล่าน้นั มาพจิ ารณาให้เชื่อมโยงกนั เพ่อื ประกอบการวางแผน และความระมดั ระวงั ในข้นั ปฏิบตั ิ
• เง่ือนไขคุณธรรม ทจ่ี ะตอ้ งเสริมสรา้ งประกอบด้วย มคี วามตระหนักในคณุ ธรรม มคี วามซื่อสตั ยส์ จุ รติ และมี
ความอดทน มีความเพียร ใชส้ ตปิ ัญญาในการดำเนนิ ชีวติ
• แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ จาก การนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การ
พฒั นาท่สี มดลุ และย่ังยนื พร้อมรบั ตอ่ การเปล่ยี นแปลงในทุกดา้ น ทง้ั ด้านเศรษฐกิจ สังคม สงิ่ แวดล้อม ความรูแ้ ละ
เทคโนโลยี
35
“ ถา้ ไมม่ ี เศรษฐกิจพอเพยี ง เวลาไฟดบั …
จะพังหมด จะทำอย่างไร. ทีท่ ี่ต้องใชไ้ ฟฟา้ กต็ ้องแย่ไป.
… หากมี เศรษฐกิจพอเพียง แบบไม่เต็มท่ี
ถ้าเรามเี คร่ืองปัน่ ไฟ ก็ให้ปัน่ ไฟ
หรอื ถ้าขนั้ โบราณกวา่ มืดก็จุดเทยี น
คือมีทางท่จี ะแกป้ ัญหาเสมอ.
… ฉะนนั้ เศรษฐกจิ พอเพยี ง นี้ กม็ ีเป็นขัน้ ๆ
แต่จะบอกวา่ เศรษฐกิจพอเพียง น้ี
ใหพ้ อเพียงเฉพาะตวั เองร้อยเปอรเ์ ซ็นต์ นเี่ ป็นสงิ่ ที่ทำไม่ได.้
จะต้องมีการแลกเปล่ียน ต้องมีการช่วยกัน.
…… พอเพียงในทฤษฎีหลวงน้ี คือใหส้ ามารถทีจ่ ะดำเนนิ งานได้. “
พระราชดำรัสเนื่องในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนพรรษา 23 ธนั วาคม 2542
การขับเคล่ือนเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศึกษา
ในการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการศึกษานั้น จะต้องมุ่งพัฒนาที่ตัวครูก่อนเป็น
อันดับแรก เพราะครูถือว่าเป็นทรัพยากรที่สำคัญในการถ่ายทอดความรู้ และปลูกฝังสิ่งต่างๆ ให้แก่เด็ก ดังนั้นจึง
ควรส่งเสริมครใู หม้ ีความรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกับหลกั เศรษฐกิจพอเพียงอย่างถอ่ งแท้กอ่ น เพราะเมื่อครูเข้าใจ ครูก็
จะได้เป็นแบบอย่างทีดีให้แก่เด็กได้ ครูจะสอนให้เด็กรู้จักพอ ครูจะต้องรู้จักพอก่อน โดยอยู่อย่างพอเพียงและ
เรียนรู้ไปพร้อมๆ กับเด็ก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ต้องมีสติในการเลือกรับข้อมูลต่างๆ ที่เข้ามา รู้จักเลือกรับและรู้จัก
ต่อยอดองค์ความรู้ที่มอี ยู่ หมั่นศึกษา เพิ่มพูนความรู้ อย่างเป็นขั้นเปน็ ตอน ไม่ก้าวกระโดด ในการเลือกรับข้อมูล
นั้น ต้องรู้จักพิจารณารับอย่างเป็นขั้นเป็นตอน รู้จักแก้ไขปัญหาอย่างเป็นขั้นเป็นตอน ประเมินความรู้และ
สถานการณ์อยู่ตลอดเวลา จะได้รู้จัก และเตรียมพร้อมที่จะรับมือกับสภาพ และผลจากการเปลี่ยนแปลงในมติ
ต่างๆได้อย่างรอบคอบและระมัดระวัง
เป้าหมายสำคัญของการขับเคลื่อน คือ การทำให้เด็กรู้จักความพอเพียง ปลูกฝัง อบรม บ่มเพาะให้เด็กมี
ความสมดุลทางเศรษฐกิจ สงั คม สิ่งแวดลอ้ ม และวัฒนธรรม โดยสอดแทรกแนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ให้เข้าเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตร สาระเรียนรู้ต่างๆเพื่อสอนให้เด็กรู้จักการใช้ชีวิตได้อย่างสมดุล ตามแนวทาง
เศรษฐกจิ พอเพียง เห็นคณุ คา่ ของทรพั ยากรต่างๆ รู้จักอยรู่ ว่ มกับผู้อน่ื รจู้ ักเอือ้ เฟ้อื เผือ่ แผ่และแบ่งปัน มจี ิตสำนึก
รกั ษส์ ิง่ แวดล้อม และเหน็ คณุ ค่าของวัฒนธรรมค่านิยม ความเปน็ ไทย ท่ามกลางการเปล่ยี นแปลงต่างๆ รวู้ ่าตนเอง
เป็นองค์ประกอบหนึ่งในสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมของโลก การกระทำของตนย่อมมีผลและเชื่อมโยงกับ
สภาพแวดล้อมในโลกที่ตนเองเป็นสมาชิกอยู่ด้วย ซึ่งการจะบรรลุเป้าหมายดังกล่าวข้างต้น สำคัญคือครูจะต้อง
รู้จักบูรณาการการเรียนการสอนให้เด็กและเยาวชนเห็นถึงความเชื่อมโยงในมิติต่างๆ ทั้งด้านสิ่งแวดล้อม
36
วฒั นธรรม สังคม และเศรษฐกิจ ซงึ่ ความเป็นองคร์ วมน้ีจะเกดิ ขึ้นได้ ครตู ้องโดยใช้ความรู้และคุณธรรมเป็นปัจจัย
ในการขบั เคลอ่ื น
นอกจากนี้ ในการส่งเสริมให้นำหลักปรัชญาฯไปใช้ในสถานศึกษาต่างๆ นั้น อาจจะใช้วิธี “เข้าใจ เข้าถึง
และพัฒนา” ตามหลักการของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวว่า สำคัญที่สุดครูต้องเข้าใจเรื่องปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงก่อน โดยเข้าใจว่าแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงนั้น เป็นแนวคิดทีส่ ามารถเริ่ม ต้น และ
ปลูกฝังได้ผ่านการทำกิจกรรมต่างๆ ในโรงเรียน เช่น กิจกรรมการรักษาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนการกำจัดขยะใน
โรงเรยี นการสำรวจทรัพยากรของชุมชนฯลฯ
ก่อนอื่น ครูต้องเข้าใจเรือ่ งเศรษฐกิจพอเพียง ทำตัวเป็นแบบอย่างที่ดี โดยกลับมาพิจารณาและวิเคราะห์ดู
ว่า ในตัวครูนั้นมีความไม่พอเพียงในด้านใดบ้าง เพราะการวิเคราะห์ปัญหาจะทำให้รู้และเข้าใจปัญหา ที่เกิดจาก
ความไม่พอเพียง รวมทั้งควรให้เด็กมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ปัญหาด้วย โดยการวิเคราะห์นี้ต้องดำเนินไปบน
พื้นฐานของความรู้และคุณธรรม โดยเฉพาะคุณธรรมนั้น เป็นสิ่งที่ควรปลูกฝังให้เกิดขึ้นในใจเด็กให้ได้ก่อน ผ่าน
กิจกรรมที่ครูเป็นผู้คิดขึ้นมา โดยครูในแต่ละโรงเรียนจะต้องมานั่งพิจารณาก่อนว่า จะเริ่มต้นปลูกฝัง แนวคิด
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงจากจดุ ไหน ทกุ คนควรมาร่วมกนั คดิ รว่ มกันทำ สามคั คกี ันในกระบวนการหารือ
หลังจากที่ครูได้ค้นหากิจกรรมที่จะปลูกฝังแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแล้ว ครูควรจะต้องตั้ง
เป้าหมายการสอนก่อนว่าครูจะสอนเด็กให้รู้จักพัฒนาตนเองได้อย่างไรโดยอาจเริ่มต้นสอนจากกิจกรรม
เล็กๆนอ้ ยๆ ทีส่ ามารถเรม่ิ ต้นจากตัวเด็กแต่ละคนใหไ้ ดก้ ่อน เชน่ การเก็บขยะ การประหยดั พลงั งาน ฯลฯ เพื่อให้
เด็กไดเ้ รียนรถู้ ึงความเช่อื มโยงระหวา่ งปจั จัย ทีต่ นเองมีต่อสิ่งแวดลอ้ มภายนอกในด้านต่างๆ 4 มติ ิ
ในสว่ นของการเขา้ ถึงน้ัน เม่อื ครเู ข้าใจแล้ว ครูตอ้ งคดิ หาวธิ ีที่จะเข้าถึงเด็ก พิจารณาดูก่อนว่าจะสอดแทรก
กิจกรรมการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง เข้าไปในวธิ คี ิดและในวชิ าการต่างๆ ไดอ้ ยา่ งไร ทั้งน้ี อาจจัดกิจกรรมกลุ่มให้
นักเรียนได้ร่วมกันคิด ร่วมกันทำ รู้จักแบ่งหน้าที่กันตามความสามารถของเด็กในแต่ละช่วงชั้น เช่น ในกิจกรรม
การเก็บขยะเพื่อรักษาความสะอาดของโรงเรียนนนั้ ครอู าจจัดกจิ กรรมสำหรับเด็กในแต่ละชว่ งช้ัน คอื ช่วงช้ันท่ี 1
สร้างกิจกรรมที่สนับสนุนให้เด็กช่วยกันเก็บขยะ (ให้เด็กรู้หน้าที่ของตน ในระดับบุคคล)/ ช่วงชั้นที่ 2 สร้าง
กจิ กรรมท่ีสนบั สนนุ ให้เด็กช่วยกันเกบ็ ขยะและนับขยะ (ให้รจู้ กั การวเิ คราะหแ์ ละรู้ถึงความเช่ือมโยงของตนเองกับ
สมาชิกคนอื่นๆ ในโรงเรียน) / ช่วงชั้นที่ 3 สร้างกิจกรรมที่สอนให้เด็กรู้จักเชื่อมโยงกับชุมชนภายนอกรอบๆ
โรงเรียน เช่น สร้างกิจกรรมที่สอนให้เด็กรู้จักแบ่งแยกขยะ ร่วมมือกับชุมชนในการรักษาสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ท่ี
โรงเรียนและชุมชนของเขาต้งั อยูด่ ว้ ย
กิจกรรมทั้งหมดนี้สำคัญคือ ต้องเน้นกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย โดยสถานศึกษาควรตั้งเป้าให้เกิด
การจัดการศึกษาตามแนวทางของเศรษฐกจิ พอเพียง สอดแทรกเข้าไปในกระบวนการเรียนรู้ สอนให้เดก็ พึ่งตนเอง
ใหไ้ ด้ก่อนจนสามารถเปน็ ทีพ่ ึ่งของคนอ่นื ๆในสังคมได้ต่อไป
37
การจัดการศกึ ษาตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพียง
การจัดการศึกษาตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถดำเนินการได้ใน 2 ส่วน ส่วนที่เกี่ยวข้องกับ
การบริหารสถานศึกษา และส่วนที่เป็นการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งส่วนที่ 2 นี้ ประกอบด้วย การสอดแทรก
สาระเศรษฐกิจพอเพียง ในหลักสูตรและสาระเรียนรู้ในห้องเรียนและประยุกต์หลักเศรษฐกิจพอเพียงในการจัด
กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น
การขับเคลอ่ื นเศรษฐกิจพอเพยี งด้านการศึกษาในระยะแรก ได้เร่มิ จากการไปคน้ หากจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนที่
มีคุณลักษณะ และการจัดการที่สอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือพอประมาณกับศักยภาพของนักเรียน
พอประมาณกับภูมิสังคมของโรงเรียนและชุมชนที่ตั้ง เช่น เด็กช่วงชั้นที่ 2 ทำสหกรณ์ได้ เด็กช่วงชั้นที่ 4 ดูแล
สิ่งแวดล้อม มีการส่งเสริมให้ใช้ความรู้อย่างรอบคอบระมัดระวัง ฝึกให้เด็กคิดเป็นทำเป็นอย่างมีเหตุผล และมี
ภูมิคุ้มกันส่งเสริมให้เด็กทำงานร่วมกับผู้อื่น มีความซื่อสัตย์ สุจริต รับผิดชอบ ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่น มีวินัย มี
สัมมาคารวะ ปลูกฝังจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม สืบสานวัฒนธรรมไทย กล่าวคือ สอนให้ผู้เรียน ยึดมั่นในหลัก
ศีลธรรม พัฒนาคนให้เขารู้จักทำประโยชน์ให้กับสังคมและช่วยดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม และตัวกิจกรรมเองก็ต้อง
ยั่งยืน โดยมภี ูมิคมุ้ กนั ในด้านตา่ งๆ ถงึ จะเปลยี่ นผู้อำนวยการแตก่ จิ กรรมกย็ งั ดำเนินอยู่อย่างนเี้ รียกว่ามีภมู ิค้มุ กนั
การค้นหาตัวอย่างกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ก็เพื่อให้มีตัวอย่างรูปธรรม ในการสร้างความเข้าใจภายในวง
การศกึ ษาวา่ หลักเศรษฐกิจพอเพยี งหมายความว่าอยา่ งไร และสามารถนำไปใช้ในกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียนได้อย่างไร
บ้าง หลงั จากนั้น ก็ส่งเสรมิ ให้บูรณาการการเรยี นร้ผู ่านกิจกรรมเหล่านี้ เขา้ ไปในการเรียนรู้สาระต่างๆ บูรณาการ
เข้ากับทุกสาระเรียนรู้ เช่น วิทยาศาสตร์ เพื่อทำให้เกิดสมดุลทางสิ่งแวดล้อม บูรณาการเข้ากับวิชาคณิตศาสตร์
ในการสอนการคำนวณที่มีความหมายในการดำรงชีวิตอย่างพอเพียง หรือบูรณาการเข้ากับสาระภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ สขุ ศกึ ษา พลศกึ ษา การงานอาชพี เทคโนโลยีตา่ งๆ ได้หมด นอก เหนือ
จากการสอนในสาระหลกั คือในกลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาวัฒนธรรมเทา่ นั้น
สำหรับมาตรฐานการเรียนรู้ มีวัตถุประสงค์ให้ทุกช่วงชั้นเข้าใจหลักเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถ
ประยกุ ต์ใช้ได้ แตถ่ ้ามาตรฐานเรยี นรูข้ องทุกชว่ งชน้ั เหมือนกนั หมดก็จะมปี ญั หาทางปฏบิ ตั ิ จึงตอ้ งกำหนดขอบเขต
ที่ชัดเจนในการเรยี นการสอนของแต่ละชว่ งชนั้ และแต่ละชน้ั ปดี ังนี้
ช่วงชั้นที่ 1 เน้นให้เด็กพึ่งตนเองได้ หรือใช้ชีวิตพอเพียงระดับบุคคลและครอบครัว เช่น ประถม 1
ช่วยเหลือคุณพ่อคุณแม่ล้างจานชาม เก็บขยะไปทิ้ง กวาดบ้าน จัดหนังสือไปเรียนเอง แบ่งปันสิ่งของให้เพือ่ น กิน
อาหารให้หมดจาน ประถม 2 วิเคราะห์รายจ่ายของครอบครัว จะมีเป็นตารางกรอกค่าใช้จ่ายต่างๆ ของ
ครอบครัว คุณแม่ซื้ออะไรบ้าง คุณพ่อซื้ออะไรบ้าง เด็กจะได้รู้พ่อแม่หาเงินมายากแค่ไหน เช่น ยาสีฟันหลอดละ
46 บาท จะต้องไม่เอามาบีบเล่น จะต้องสอนให้เด็กเห็นคุณค่าของสิ่งของ ให้เด็กตระหนักถึงคุณค่าของเงินทอง
จะได้ฝึกนิสัยประหยัด ครอบครัวมีรายได้และรายจ่ายเท่าไร เด็กจะได้ฝึกจิตสำนึกและนิสัยพอเพียง มีหลาย
38
โรงเรียนทำแล้ว ประถม 3 สอนใหร้ ูจ้ กั ชว่ ยเหลือครอบครัวอยา่ งพอเพียงและรจู้ ักแบ่งปนั ช่วยเหลือผู้อื่นมีส่วนร่วม
สร้างครอบครัวพอเพียง
ช่วงชั้นที่ 2 ฝึกให้เด็กรู้จักประยุกต์ใช้หลักความพอเพียงในโรงเรียน สามารถวิเคราะห์วางแผนและจัดทำ
บันทึกรายรับ-รายจ่ายของตนเองและครอบครัวอย่างมีประสิทธิภาพ มีส่วนร่วมในการสร้างความพอเพียงระดับ
โรงเรียน และชุมชนใกล้ตัว โดยเริ่มจากการสำรวจทรัพยากรต่างๆ ในโรงเรียนและชุมชน มีส่วนร่วมในการดูแล
บำรุงรักษาทรัพยากรต่างๆ ทั้งด้านวัตถุ สิ่งแวดล้อม ภูมิปัญญา วัฒนธรรม และรวบรวมองค์ความรู้ต่างๆ มาเป็น
ข้อมูลในการเรียนรู้วถิ ชี ีวติ ของชุมชนและเหน็ คุณค่าของการใชช้ วี ติ อยา่ งพอเพียง
ช่วงชั้นที่ 3 ประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงกับชุมชน มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน สามารถ
สำรวจและวิเคราะห์ความพอเพียงในระดับต่างๆ และในมิติต่างๆ ทั้งทางวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม
ในชุมชนใกล้ตัว เห็นคุณค่าของการใช้หลักพอเพียงในการจัดการชุมชน และในที่สุดแล้วสามารถนำหลักการ
พอเพียงมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันของแต่ละคน จนนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสู่ความพอเพียงได้ใน
ทส่ี ดุ
ช่วงช้ันที่ 4 เตรยี มคนให้เป็นคนที่ดีต่อประเทศชาติสามารถทำประโยชนใ์ ห้กับสงั คมได้ ต้องเร่ิมเข้าใจความ
พอเพียงระดับประเทศ และการพัฒนาประเทศภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ เช่น การวิเคราะห์สถานการณ์การค้า
ระหว่างประเทศ หรือการศึกษาสถานการณ์สิ่งแวดล้อมสภาพปัญหาด้านสังคมเป็นอย่างไรแตกแยกหรือสามัคคี
เปน็ ต้น
ขณะนี้คณะทำงานขบั เคลื่อนด้านการศึกษาและเยาวชน ทำงานร่วมกบั กระทรวงศึกษาธกิ าร และอีกหลาย
หน่วยงาน วิสัยทัศน์ของการขับเคล่ือน คือ สานเครือข่าย ขยายความรู้ ควบคู่ประชาสัมพันธ์ เพื่อส่งเสริมความรู้
ความเข้าใจในหลักปรัชญาฯ และให้บุคลากรด้านการศึกษา สามารถนำหลักคิดหลักปฏบิ ัติเศรษฐกิจพอเพียง มา
บูรณาการสู่การเรียนการสอนในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ของทุกระดับได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และเป็นรูปธรรม
ตลอดจนผ้บู รหิ ารสามารถนำหลกั ปรัชญาฯ ไปใชใ้ นการบรหิ ารสถานศกึ ษาเพือ่ ใหเ้ กิดประโยชนแ์ ละความสขุ
39
ปรชั ญาตะวนั ตก
ประยรู ธมมุ จิตุโต (ม.ป.) ได้ศกึ ษาหลกั การทางปรัชญาตะวันตกพบวา่ แบง่ ออกเป็น 5 ยคุ ได้แก่
1.ยคุ ดึกดำบรรพ์ (Primitive Paradigm) ถือว่ามนษุ ย์คนแรกก็เริ่มคดิ ได้เม่ือ 2-3 ลา้ นปที ีแ่ ล้ว และสืบ
ต่อความคิดมาอยา่ งต่อเนื่อง ความกลัวภัยธรรมชาตทิ ำให้คิดหาคำตอบว่าภยั ธรรมชาติมาจากไหน
- มนษุ ยค์ ดิ วา่ ความนา่ กลัวของภยั ธรรมชาติเกิดจากอำนาจลึกลับของสิง่ ศักดิส์ ิทธ์ิเบื้องบนดังน้ัน
เพื่อความอยู่รอด มนุษย์จึงได้พยายามเอาใจสิ่งศักดิ์สิทธิ์เบื้องบนด้วยการแสดงความเคารพสักการะเยื้องบนโดย
หวังว่าสิ่งศักดิ์สิทธิ์จะคุ้มครองพวกเขาให้ปลอดภัยจากภัยธรรมชาติทั้งปวง พยายามเอาใจเบื้องบนให้ท่านพึง
พอใจมากทสี่ ุด ทา่ นจะไดเ้ มตตาตน ไมใ่ หเ้ กิดภยั ธรรมชาตแิ กต่ น
- จึงได้คติแหง่ ยุควา่ “ทุกอย่างอยทู่ ่ีน้ำพระทยั ของเบื้องบน”
- โลกตามยคุ นไ้ี ดช้ อ่ื ว่ากลีภพ (Chaos)
2.ยุคโบราณ (Ancient Paradigm) มองทุกอย่างว่ามาจากกฏเกณฑ์ตายตัว ซึ่งอาจเป็นกฎไสยศาสตร์
ตำนานปรมั ปรา หรอื ระบบเครอื ขา่ ยของเจา้ สำนัก แบง่ เป็น 3 ยุค ไดแ้ ก่ ยคุ เริม่ ต้น ยคุ รงุ่ เรืองและยุคเสือ่ ม
- มนษุ ยใ์ นยคุ 1,000 ปกี ่อนครสิ ตศักราช ไม่พอใจกบั ความรู้เท่าท่ีรู้ เร่ิมมีปัญหาวา่ เราจะอธิบาย
เหตุการณ์ทั้งหลายในธรรมชาติโดยไม่ต้องอ้างเบื้องบนจะได้ไหม คำตอบ คือ ได้พวกเขารับรู้ว่าโลกมีกฎระเบียบ
ซึง่ ปญั ญาเข้าถงึ ได้จากการสงั เกต และเก็บรวบรวมขอ้ มลู จนสามารถสรุปไดว้ า่ ภยั ธรรมชาตมิ กั เกดิ ขึ้นซ้ำไปซ้ำมา
เปน็ วงจรของธรรมชาติ คือมกี ฎ (Law of Nature) ทต่ี ายตัวไมเ่ ข้าใครออกใคร
- ความรู้ได้ถูกรวบรวมเพื่อสรุปเป็นระเบียบแบบแผนไว้ และกำหนดกฎเกณฑ์ต่างๆ โดยมี
เป้าประสงค์ในการที่มนุษย์จะได้มีความสุขในโลกนี้ โดยรู้และทำตามกฎธรรมชาติ จึงได้คติแห่งยุคว่า “Ipse
dixit” “ดังท่านวา่ ไว้”
- โลกในยคุ นีไ้ ดช้ ือ่ ว่า เอกภพ (Cosmos)
3.ยุคกลาง (Medieval Paradigm) มนุษย์เริ่มพบว่าแม้จะรู้กฎธรรมชาติและปฏิบัติตามแล้วก็ยังคงมี
ความทกุ ข์จงึ พยายามหาความสุขอยา่ งมีหวงั
- ศาสนาได้เขา้ มามบี ทบาทหลัก เกดิ ความเช่ือท่วี ่าทุกอย่างที่กระทำในโลกนี้ก็เพ่ือส่งผลดีในโลก
หนา้ เกิดความศรัทธาต่อศาสนาและปฏิบัติตามกฎเกณฑ์คำสอนของศาสนาอย่างเคร่งครดั
- มนุษยจ์ งึ สละโลก บำเพญ็ พรต ศึกาคมั ภรี ์
- ตอ้ งอดทนและหมัน่ กระทำความดี หลีกเลย่ี งความช่ัว เพราะจะมคี วามสุขในโลกหนา้ ทรี่ ออยู่
- จงึ มีคติแหง่ ยคุ วา่ “ความดบี ัญญตั ไิ ว้ตามคัมภีร์”
4.ยุคใหม่ (Modern Paradigm) เริ่มเมื่อคริศต์ศตวรรษที่ 16 จากการค้นพบวิธีการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์จะทำใหร้ กู้ ฏเกณฑ์ทง้ั หมดของโลก
- วิทยาศาสตรจ์ ะแก้ปัญหาทุกอยา่ งของมนุษย์ได้ และโลกน้จี ะน่าอยู่ดุจสวรรคโ์ ดยไม่ต้องรอโลก
หน้า
- ความกา้ วหน้าทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยจี ะทำให้คุณภาพชวี ิตมนุษย์ดขี ึ้น
- ศาสนาเปน็ เพียงสิง่ มอบเมาประชาชน
40
- คติแห่งยคุ ว่า “ทุกอยา่ งเปน็ ไปตามกระบวนการวทิ ยาศาสตร์”
- ยุคใหม่เชื่อม่ันว่ามนุษยส์ ามารถเข้าใจกฎและระบบเครือขา่ ยไดต้ ามความเป็นจริงและสามารถ
สรา้ งภาษาอดุ มการณ์เพ่ือสอ่ื ความรไู้ ด้ตรงตามความเข้าใจ
5.หลังยุคใหม่-ปัจจุบัน (Postmodern Paradigm) เริ่มเมื่อปรัชญาของคานท์ (Immanuel Kant,
1724-1804) ไดเ้ สนอวา่ มนุษย์มรู้ความจริงก็จากกระบวนการของสมอง ดงั นนั้ มนุษย์จงึ ไมร่ คู้ วามเปน็ จรงิ
- วิทยาศาสตร์พฒั นาโลก แตก่ ท็ ำลายลา้ งโลกด้วยสงครามโลกคร้ังท่ี 2 คร้งั
- วิทยาศาสตร์ค้นพบกฎของความไม่แนน่ อน แล้วจะมสี งิ่ ใดทแ่ี นน่ อน
- เพราะมนุษย์ยึดมั่นถือมั่น ทำให้จับกลุ่มคนที่คิดเหมือนกัน และแยกกลุ่มกับคนที่คิดไม่
เหมอื นกันเกดิ การแขง่ ขนั ให้มพี วกมากเข้าไวเ้ พื่อมนั่ คง ปลอดภัย จนกลายเปน็ ความขดั แยง้
- โลกตอ้ งมุง่ สร้างสันตภิ าพและการเน้นศกั ดิศ์ รคี วามเปน็ มนษุ ย์
- ตอ้ งลดความยึดมน่ั ถือม่ัน ผ่านการวิเคราะห์ วิพากษแ์ ละการตีความใหม่
- คติยคุ ปจั จบุ นั คอื จงรอื้ ถอนความหมาย
- คตยิ ุคปัจจบุ นั สายกลาง คือ การพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ เพ่ือความสขุ แท้ตามความเป็นจรงิ
ยุคดกึ ดำบรรพ์
ชาวกรีกเชื่อตาม Cosmogony of Hesiod (7-8 ร้อยปี ก่อน ค.ศ.) ว่าด้วยกำเนิดโลกจาก Chaos Gaia
Tartarus Eros ซง่ึ ถอื กำเนดิ เทพองค์แรกคอื Gaia
- เทพแหง่ ฟ้าคอื Urenus เทพแหง่ ดนิ คือ Gaia เกิดไททนั 12 องค์และอื่นๆ
- Urenus จับลูกๆขังไว้ในคุกนรกทาร์ทารัส ต่อมา Gaia จึงสร้างเคียววิเศษและปล่อย Cronus ออกมา
ยดึ อำนาจ Urenus ได้
- Cronus กับ Rhea ให้กำเนิด Hera, Zeus, Poseidon, Hades, Demeter, Hestia แต่ก็กลัวลูกจะฆ่า
ตัวเองจึงกลืนลูกตัวเองเข้าไปในท้อง แต่ Rhea ก็สามารถช่วยลูกคนสุดท้ายได้ก็คือ Zeus ออกมาได้และยึด
อำนาจของ Cronus สำเร็จจนเกดิ เรื่องราวของมหาเทพแห่งโอลมิ ปัส
เร่ืองราวเทพ
- Zeus : เป็นพระโอรสองคส์ ุดท้ายของ Cronus & Rhea ซง่ึ เป็นเทพไททนั Zeus ถอื เป็นราชาแห่งทวย
เทพ ผู้ปกครองเขาโอลิมปัส และเทพแห่งท้องฟ้า ลักษณะนิสัยเป็นเทพที่มีความเจ้าชู้ มีบุตรที่สำคัญคือ Ares
Hephaestus Hermes Apollo Artemis เป็นต้น และมีภรรยาเอกคือ Hera ซึ่งเป็นลูกพี่ลูกน้องและภรรยาน้อย
ท่สี ำคัญคอื Maia Leto เป็นต้น
- Poseidon : เปน็ เทพแห่งมหาสมุทรและพายุ มภี รรยาคอื Medusa
- Hades : เป็นเทพเจา้ ผูป้ กครองนรกและโลกหลังความตาย ในตำนานถือว่ามศี ักดิ์เปน็ พ่ีชายของ Zeus
มีภรรยาคอื Persephone ซ่งึ เป็นธิดาแห่ง Demeter
- Hera : ถอื เป็นราชินขี องเทพธดิ าทั้งปวง เพราะเธอเป็นชายาของ Zues
- Demeter : เป็นเทวีผูถ้ ือครองสัญลักษณ์คือรวงข้าวซ่ึงหมายถึงการเกษตรกรรมนั้นเอง มีธิดาหนึ่งองค์
นามวา่ Persephone
41
- Hestia : เป็นเทพีแห่งไฟที่มีการเคารพนบั ถือเปน็ อย่างมาก ซึ่ง Hestia เป็นเทวีที่ครองพรหมจารีอย่าง
ยอดเยยี่ ม ซงึ่ ทำให้ประชาชนส่วนใหญ่ให้ความเคารพนบั ถือ
- Apollo : เป็นบตู รของ Zeus & Leto ซึ่งถอื ว่าเปน็ เทพแหง่ ดวงอาทิตย์
- Artemis : เป็นธดิ าของ Zeus & Leto ซงึ่ ถือว่าเป็นเทพีแห่งดวงจันทร์
- Hermes : เป็นบุตรของ Zeus & Maia ซึ่งถือว่าเป็นเทพผู้คุ้มครองเหล่านักเดินทางและคนเลี้ยงแกะ
ซ่งึ มีของพิเศษคอื หมวกและรองเท้าปกี
- Ares : คือบุตรของ Zeus & Hera ซึ่งถือเป็นเทพแห่งสงคราม การต่อสู้และศาสตาวุธต่างๆ แต่มีนิสัย
ปา่ เถอ่ื น หยาบชา้ และมีบตุ รทีส่ ำคญั กับ Aphrodite คอื Cupid
- Hephaestus : คือบุตรของ Zeus & Hera ตามตำนานตอนเกิดมาไม่ได้มีหน้าตาต้องตาเฉกเช่นเทพ
องค์อื่น จึงถูกมารดาโยนลงจากเขาโอลิมปัส แต่ด้วยความสามารถที่สามารถสร้างอาวุธพิเศษได้จึงได้กลับขึ้น
สวรรค์อีกคร้ังและZeus ยังประทาน Aphrodite ให้เปน็ รางวลั
- Aphrodite : ตามตำนานกล่าวว่าเทพองค์นี้งดงามมากและยังเป็นภรรยาของเทพ Hephaestus ด้วย
ซึ่งเปน็ แค่ในนามเทา่ นัน้ แตก่ ลบั ไปเป็นชู้กับเทพ Ares จนถือกำเนดิ ลูกมากมายแตท่ ่ีสำคญั คือ Cupid
- Cupid : เป็นบุตรของ Ares & Aphrodite ซง่ึ ถือวา่ เป็นกามเทพแหง่ ความรกั
- Athena : ตามตำนานเลา่ ว่าเกดิ จาก Zeus ปวดหวั จงึ ให้ Hephaestus เอาขวานมาผ่าหัวและ Athena
กระโจนออกมาพรอ้ มชดุ เกราะ และ Athena ถือว่าเป็นเทพแห่งสตปิ ญั ญา (ชยั จักร ทวยุทธานนท,์ 2560)
ยุคดกึ โบราณ แบง่ เป็น 3 ยคุ ด้วยกัน (ก.ค.ศ.650 - ค.ศ.529)
Pre-Socratic philosophyเป็นช่วงเรง่ หากฎของโลกคือยคุ ปรชั ญากรีกสมัยเริ่มต้น(ก.ค.ศ.650-450)
1. ปรัชญายุคดึกดำบรรพ์ถูกสั่นคลอนจนกลายเป็นปรัชญาโบราณเมื่อ ธาเรส (Thales of
Miletus, 624-546 B.C.) เขาเริม่ ปรัชญาดว้ ยคำว่าอะไรคือปฐมธาตุของโลกธาเรสตอบว่านำ้ เป็นปฐมธาตุของโลก
ไดร้ ับยกย่องใหเ้ ปน็ บดิ าของปรชั ญาตะวันตก
2. Anaximander of Miletus (ก.ค.ศ.610-545) เปน็ ลูกศิษย์ของ Thales เปน็ ลูกศษิ ย์สู้ครู คือ
เห็นด้วยกับทุกคำสอน ยกเว้นปฐมธาตุคือน้ำ โดยคิดว่า เพราะน้ำมีอยู่ทั่วไปจนเหมือนเป็นสิ่งสำเร็จรูป ปฐมธาตุ
ควรเป็นสิง่ ทไ่ี มม่ ีลักษณะของการเป็นของสำเร็จรูป จงึ เสนอวา่ ปฐมธาตุคอื สารไรร้ ู้ (formless material) เรียกว่า
apeiron ซึง่ แปลวา่ อนันต์ มีอยู่เต็มไปหมด
3. Anaximenes of Miletus (ก.ค.ศ.585-528) เชื่อว่าเป็นลูกศิษย์ของ Thales และ
Anaximander จึงเห็นว่ามีปฐมธาตุจริง และควรมีอยู่มาก จึงเสนอว่าปฐมธาตุคือธาตุชื่อ aither เป็นสารที่มี
ลักษณะเจือจางลอยอยู่เต็มห้วงอากาศ เมื่อเข้มข้นถึงจุดหนึ่งก็จะเป็นอากาศที่เราหายใจ เข้มข้นไปอีกก็เป็นน้ำ
เปน็ ก้อนหิน ตน้ ไม้ สัตว์ ซ่ึงสงิ่ ต่างๆ เมื่อตายลง จางลง ก็จะกลับไปเป็น aither นน่ั เอง
4. Empedocles (ก.ค.ศ. 492-430) อยู่ในอาณานิคมกรีก Argrigento ตอนใต้ของอิตาลี เสนอ
วา่ ปฐมธาตุมี 4 (4 classic elements) อย่าง คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ
5. Democritus (ก.ค.ศ. 460-370) ปฐมธาตคุ อื สง่ิ ทยี่ อ่ ยเลก็ ที่สกุ เรยี กว่า atom
42
Classical Greek philosophy เป็นช่วงเร่งหากฎความจริง คือ ยุคปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรือง (ก.ค.ศ.
450-322)
1. Socrates (ก.ค.ศ.470-399) Socrates เสนอแนวคดิ ท่ีจะทำให้สังคมอย่อู ยา่ งสงบสขุ น่ันคอื มี
ความยุติธรรม ยุติธรรมจะเกิดได้ต้องมีมาตรการเดียวสำหรับตัดสินความจริงและความดี มาตรการสากลคือ
ความรู้ที่ตรงกับวตั ถุแห่งความรู้ มนษุ ยม์ ปี ญั ญาคดิ ได้เอง (Know thyself) แต่มีกเิ ลสจงึ ทำให้เห็นผดิ ได้ จึงควรฝึก
เพ่งพินจิ (contemplation) Socrates เสนอ
2. Plato (ก.ค.ศ.427-347) เสนอให้มีการรื้อฟื้นความทรงจำ (reminiscence) ผ่าน 3 ขั้นตอน
มีประสบการณ์ (experience) การเรียนรู้ (learning) การเพง่ พินจิ (contemplation)
โลกน้เี ปล่ียนแปลงไปเร่ือยๆ จึงไม่อาจบรรจุความจริงสากลได้ ความจริงสากลจงึ ตอ้ งอย่ใู นอกี โลกหนง่ึ
3. Aristotle (ก.ค.ศ.384-322) เกิดในตระกูลแพทย์ เรียนที่สำนัก Academic เมื่อได้ไปสอน
Alexander of Macedon จึงได้ตั้งสำนัก Lyseum โดยเสนอว่ามาตรการความจริง คือ ประสบการณ์
4. จากประสบการณต์ อ้ งถอดความจริงสากล (abstractation) ด้วย
วิเคราะห์ (analysis)
คัดออก (elimination)
สงั เคราะห์ (synthesis)
Hellenistic philosophy เป็นช่วงเรง่ หากฎความสุข คือ ยคุ ปรชั ญากรีกสมยั เสือ่ ม (ก.ค.ศ.322- ค.ศ.529)
ยุคนี้นับตั้งแต่ Aristotle เสียชีวิต จนถึงจักรพรรดิ Justinian ประกาศรับรองศาสนาคริสต์เป็นศาสนา
ประจำอาณาจักรโรมัน เมื่อ Alexander the great สิ้นพระชนม์ (ครองราชย์ ก.ค.ศ.336-323) ทำให้อาณาจักร
Macedon แตก แม่ทัพแต่ละส่วนได้แยกปกครองตนเอง แย่งชิงอำนาจระหว่างกัน นครรัฐในกรีกรบกันเอง
นักการเมืองแบ่งฝักแบ่งฝ่าย มีการลอบสังหาร และติดสินบนอย่างรุนแรง นักปรัชญาเพียงรือ้ ฟื้นคำสอนเพื่อชีถ้ ึง
การดำรงชวี ิตอย่างมีความสขุ ในสงั คมได้ เน้นจรยิ ศาสตร์ 6 สำนกั เพือ่ ตอบคำถาม How to live well?
ปรชั ญาตะวนั ตกยคุ กลาง (Medieval Philosophy) (ค.ศ.529-1600)
จำแนกตามพื้นฐานความเชื่อเรื่องโลกหน้าอันเป็นคำสอนทางศาสนาของศาสนาที่นับถือพระเจ้า และ
ศาสนาท่เี ช่ือวา่ มเี ทวะ การแบ่งขอบเขตยุคจึงยงุ่ ยากในแตล่ ะศาสนา
1. ยุคกลางของตะวันตก นับจากปี ค.ศ.529 ซึ่งศาสนาคริสต์ได้รับการยกเป็นศาสนาประจำ
อาณาจักรโรมัน และมีการห้ามนับถือศาสนาอื่น ทำให้อิทธิพลของศาสนาคริสต์เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางกว่า
1,000 ปี
2. ยคุ กลางในศาสนาอสิ ลามนับเร่ิมต้งั แต่ ปี ค.ศ.622 ซง่ึ เปน็ ปที ี่ 1 แห่งฮิจเราะหศ์ กั ราช
3. ยุคกลางในศาสนาพทุ ธ นับเร่มิ ตง้ั แต่ ปี ก.ค.ศ.543 ซ่งึ เป็นปีที่ 1 แหง่ พุทธศักราช
นกั ปรชั ญาทเ่ี ปน็ แกนแห่งยุคกลาง ( Augustine 354-430) เสนอลทั ธไิ ตรเอกานุภาพ (Doctrine of The
Trinity) พระเจา้ นนั้ เปน็ หนึง่ คอื เป็นองคเ์ ดยี วแตแ่ บ่งเป็น 3 ภาค คอื พระบิดา (The Father),
พระบุตร (The Son), พระจิต (The Spirit)
43
ความรู้มคี ่าทสี่ ุด หรอื ความรเู้ กีย่ วกับพระเปน็ เจา้ และวญิ ญาณ ความร้ปู ระเภทอ่ืนจะมคี ่าก็ตอ่ เมอื่ นำมาสนบั สนุน
ความรเู้ กย่ี วกับพระเจ้า เพ่ือใหเ้ ข้าใจพระเจา้ เท่านั้น เป็นหนา้ ที่ของมนษุ ย์ทจี่ ะต้องเข้าใจสิ่งท่ตี นเองเชื่ออย่างแนว่
แน่ และพยายามหาพนื้ ฐานของศรทั ธาดว้ ยเหตผุ ล (กีรติ บญุ เจือ, 2558)
ยคุ ใหม่
ปรัชญากระบวนทรรศน์นวยุค (Modern Philosophy) นับเริ่มประมาณ ค.ศ.1600 ทำไมจึงเปลี่ยน
กระบวนทรรศน์ เพราะว่าปรัชญายคุ กลางในสมยั อสั สมาจารย์ (scholastic period) ไดน้ ำปรชั ญาของ Aristotle
มาอธิบายศาสนา ทำให้เกิดการถกปัญหาปรัชญาศาสนาจนถึงระดับอิ่มตัว นักปรัชญาจึงหันมาสนใจปรัชญา
วิทยาศาสตร์ (science=ความรู้) ซึ่งในระหว่างยุคกลางนั้นชาวยุโรปได้รับวิชาเคมีมาจากทางเปอร์เซีย จึงนำมา
ทดลองในชื่อ Alchemy ซึ่งศาสนจักรออกกฎหมายห้าม เมื่ออาณาจักรไบเซนไทน์แตก ทำให้นักปรัชญาและ
ตำราต่างๆ กลับมาสู่ยุโรป มีการรื้อฟื้นความรุ่งเรืองของกรีก-โรมัน เรียกว่ายุคฟื้นฟู (Renaissance) เกิดปัญหา
การเมืองกับศาสนจักร ทำให้หมดความศรัทธาในองค์กรศาสนา จึงมีกระแสแยกอาณาจักรออกจากศาสนจักร
สนใจวธิ ีการวิทยาเพื่อคน้ หาความจริง เกดิ คำถามสำคญั คือ “คิดอยา่ งไรจึงจะได้ความจริง” นักปรัชญาคนสำคัญ
ได้แก่
• Francis Bacon (1561-1626) แมม้ นุษย์ไม่มีกิเลส คนเรากค็ ิดไมต่ รงกัน นั่นคือนักบุญทง้ั หลายก็ไม่ได้คิด
ตรงกัน จึงเป็นไปได้ว่าน่าจะมีอคติ (prejudices = สิ่งที่อยู่ก่อนการตัดสินใจ) ซึ่งน่าจะมีได้ Idols คือ
เทวรูปทคี่ นอ่นื เคารพ แต่เราไม่เคารพ 4 ประการ
Idol of the tribe ความโนม้ เอยี งเนื่องจากสายเลือด สายตระกลู เผา่ พนั ธ์ุ
Idol of the den ความโน้มเอียงจากสงิ่ แวดลอ้ มและการเล้ยี งดู
Idol of the marketplace ความโน้มเอียงจากภาษาทใ่ี ช้จนเคยชิน
Idol of the theatre ความโน้มเอยี งจากขนมธรรมเนยี ม ประเพณี ศาสนา
มาตรการความจรงิ คือ ความรทู้ ี่หามาไดอ้ ย่างถูกวธิ ีและไร้อคตใิ ดๆ ทงั้ สน้ิ
วิธีการวิทยาคือ Induction by elimination หาสิ่งเฉพาะหน่วยให้มาก แล้วคัดไว้เฉพาะหน่วยที่มีลักษณะท่ี
ตอ้ งการเอามาเรียงลำดับเพอ่ื เข้าใจสาเหตุ และจะไดต้ ดั อคติออกไปได้
• Rene Descartes (1596-1650) ปัญหาของวิธีคิดต่างหากเป็นปัญหาที่แท้จริง ประสบการณ์เฉพาะ
หน่วยย่อมหลอกเราได้ มาตรการความจริง คือ เรขาคณิต ซึ่งเริ่มจากมูลบท (postulate) และสัจพจน์
(axiom) อนั นำไปส่ปู ฐมบท (assumption) เสนอมลู บท 3 ได้แก่ I doubt, I think therefore I am.
ทฤษฎีบท 3 ได้แก่ what is clear and distinct is true, God is exists, matter exists as
extension เสนอวธิ ี Methodical (universal) Doubt
44
• Benedict of Spinoza (1632-1677) ส่งเสริมวิธีคิดของ Descartes โดยเสนอการพิสูจน์ทฤษฎีบท มา
เพิ่มเป็นส่วนของ E.D. (quod erat demonstradum; ซึ่งต้องพิสูจน์) โดยมีนิยาม 8 ข้อความ มูลบท 7
ข้อความ รวมปฐมบททั้งหมด 15 ข้อความ พิสูจน์ทฤษฎีบทใดแล้ว เอามาใช้อ้างเพื่อยืนยันเหตุผลต่อไป
ได้ เพราะพระเจ้าสร้างปัญญามนุษย์มาให้พิสูจน์ความรู้ทุกอย่างได้ตามความเป็นจริง ดังคติ God
doesn’t fail
• John Locke (1632-1704) เสนอว่าไม่มีมูลบทใดที่ดีพอ ดังนั้นความรู้น่าจะเริ่มต้นจากประสบการณ์
มนุษยเ์ กดิ มาเหมือนกระดาษเปล่า (tabula rosa) All knowledge comes from experience
ศาสนากับศีลธรรม มูลบทไม่ได้มาจากประสบการณ์แต่มาจากวิวรณ์ (revelation) ของพระเจ้า แล้ว
จึงค่อยพสิ จู นต์ ่อไป
ล็อกทำให้เกิดแนวคิดเบื้องต้นสำหรับ Enlightenment movement คือ มนุษย์เชื่อได้เฉพาะ
ประสบการณแ์ ละความจริงท่ีพสิ จู น์ได้จากประสบการณเ์ ทา่ นนั้ ความรอู้ ่ืนถือเปน็ สิ่งงมงาย
• David Hume (1711-1776) เสนอว่าความรู้เริ่มต้นจากประสบการณ์ อะไรที่มีประสบการณ์ไม่ได้ก็ไม่
ควรรับรอง และเสนอหลักการใหมท่ ี่เคร่งครัดวา่
All knowledge is analysed into ideas.
All ideas come from experiences.
All experiences come by way of the senses.
มนุษย์เสียเวลาศึกษาเรื่องที่เกินกว่าประสบการณ์ งมงายในความเชื่อโบราณ อันได้แก่ Substance,
Matter, Spirit, Principle of causality และ Uniformity of nature
• Immanuel Kant (1724-1804) เห็นว่าเหตุผลนิยมได้ทำลายศาสนาและศีลธรรม ประสบการณ์นิยม
ทำลายคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ความจริงมิได้ขึ้นกับผัสสะและเหตุผล แต่ขึ้นกับโครงสร้างสมอง
(ปัญญา) ของมนุษย์ ความรู้ของมนุษย์จึงเป็นเพียงความรู้เท่าที่ปรากฏ (phenomena) และไม่มีทางรู้
noumena ปญั ญามกี ลไกสำคญั คอื
Pure forms of sensation รูส้ ิง่ เฉพาะหนว่ ยในระบบ time-space
Pure forms of understanding ความรเู้ ฉพาะหนว่ ยกลายเปน็ ความรสู้ ากล
สมรรถภาพปัญญาได้บิดผันความเปน็ จรงิ ท่ีรับรู้ โดยปรงุ แตง่ เป็นความจริงสำเร็จรปู
Pure reason สำหรับรับรคู้ ณติ ศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์
Practical reason สำหรบั รบั ร้ศู ีลธรรมและศาสนา ไมผ่ ่านกลไกสมอง รับรู้โดยตรงและ
ปฏิบตั อิ ยา่ งไม่ใช้เหตผุ ล (Category Imperative; duty to be done)