The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง ใส่ปก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nad_natrada, 2021-03-30 20:13:42

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง ใส่ปก

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง ใส่ปก

195

ปัจจัยหลากหลายที่ส่งผลเกี่ยวโยงกัน เป็นปัญหาใหญ่ที่ฝังรากลึก จนทำให้การศึกษาไทยก้าวไม่ทันกับ
การพฒั นาประเทศใหเ้ ทยี บเท่าสากล
การปฏิรูปการศกึ ษา เมือ่ ปี 2542 มหี ลักการจัดการศึกษาทส่ี ำคัญ คอื การกระจายอำนาจ การมีสว่ นร่วมของ
ทุกฝ่าย การยึดมาตรฐาน และการยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ นำมาสู่ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2542 มีการ
ปรับเปลี่ยนเชิงโครงสร้างของกระทรวงศึกษาธิการ เนื่องจากหลากหลายองค์กรมีปัญหาและบริหารจัดการได้ไม่
คล่องตวั จึงเปลีย่ นจาก 14 กรม มาเปน็ 5 องค์กรหลกั อกี ทง้ั ยงั เกิดการปฏริ ูปองค์ประกอบต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับ
การจัดการศกึ ษาใน 7 ดา้ น คอื

1.หลกั สตู รและกระบวนการเรยี นรู้

การศึกษาในระบบ โดยทั่วไปแล้วจัดการเรียนการสอนโดยครูวิชาชีพอย่างเป็นระบบ ซึ่งมักเป็นการจัดการ
เรียนการสอนในระดับโรงเรียน วิทยาลัย และในระดับมหาวิทยาลัย องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและ
การพัฒนาได้จัดการศึกษาในระบบเป็น 1 ใน 3 รูปแบบทางการศึกษา ซึ่งประกอบไปด้วย การศึกษาในระบบ
การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย สำหรับการศึกษาในระบบนั้นเป็นการศึกษาที่มีการกำหนด
จุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา ระยะเวลาในการศึกษา การวัดประเมินผล หลักสูตรและเงื่อนไขการศึกษาที่แน่นอน
โดยในประเทศไทยแบ่งการศึกษาในระบบออกเป็น 2 รูปแบบคือการศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและ
การศกึ ษาในระดบั อุดมศึกษา (พระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2542)

การศึกษานอกระบบ หรือการศึกษานอกระบบโรงเรียนเป็นการศึกษาที่มีการจัดหลักสูตร ระยะเวลาในการ
เรียนและการวัดและประเมินผลยืดหยุ่นสอดคล้องกับสภาพและความต้องการของผู้เรียน โดยไม่เป็นการจำกัด
อายุ รูปแบบการเรียนการสอนหรือสถานที่สำหรับประเทศไทยมีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบการศึกษานอก
โรงเรียนอยู่เป็นจำนวนมาก โดยนิยมจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ชุมชนหรือศูนย์การเรียนรู้นอกระบบโรงเรียน เพื่อให้
ประชาชนเข้ามาเรียนรู้ได้ โดยภายในศูนย์จะมอี าจารย์ประจำและอาจารย์อาสาสมคั รเป็นผู้จัดกิจกรรมการเรียน
การสอน สำหรบั การศึกษารปู แบบนเ้ี ป็นหนึ่งในรูปแบบการศึกษาหน่งึ ในสามรูปแบบหลักตามการจัดขององค์การ
เพือ่ ความรว่ มมอื ทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542

การศึกษาตามอธั ยาศัย เปน็ การศกึ ษาทไ่ี ม่มรี ูปแบบตายตัว ไมม่ หี ลักสูตรและระยะเวลาในการเรียนที่แน่นอน
โดยการจัดการศึกษาในรูปแบบนี้เป็นการศึกษาองค์ความรู้ต่าง ๆ ผ่านประสบการณ์ตรงที่ได้ประสบใน
ชีวิตประจำวัน โดยการศึกษาตามอัธยาศัยจะกลายเป็นรากฐานสำคัญของการศึกษาตลอดชีวิต (พระราชบัญ ญัติ
การศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542)

2. ครู คณาจารยแ์ ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา

ให้กระทรวงส่งเสริมให้มีระบบ กระบวนการผลิต การพัฒนาครูคณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษาให้
มีคุณภาพและมาตรฐานทีเ่ หมาะสมกบั การเป็นวชิ าชพี ชั้นสูง โดยการกำกบั และประสานให้สถาบันที่ทำหน้าท่ีผลิต
และพัฒนา ครู คณาจารย์ รวมทั้งบุคลากรทางการศึกษาให้มีความพร้อมและมีความเข้มแข็งในการเตรียม
บุคลากรใหม่และการพัฒนาบุคลากรประจำการอย่างต่อเนื่องและเพิ่มหลกั สูตรผลิตครจู าก 4 ปีเป็น5ปี โดยที่ครู
ผู้บรหิ าร นิเทศศึกษา ต้องมีใบอนุญาต (พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542)

196

3. ระบบส่อื และเทคโนโลยีเพอื่ การศึกษา

มีการพัฒนาในการเรียนการสอนโดยการใช้สื่อและเทคโนโลยีต่างๆ เพื่อเพิ่มความหลากหลายในการ
เรียนรู้ เช่น คลน่ื วทิ ยเุ พอ่ื การศกึ ษา DLT TV เปน็ ตน้

4. โครงสร้างการบริหารและการจดั การ

มีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างการบริหารและการจัดการโดยการเปลี่ยนจาก 14 องค์กร เหลือเพียง 5
สำนัก ได้แก่ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ, สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สำนักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา, สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, และสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
(พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2542)

5. ระบบตรวจสอบประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา

มาตรฐานที่ 1 ด้านคุณภาพผู้เรียน ผลการเรยี นรู้ท่ีเป็นคุณภาพของผู้เรียนทั้งด้านผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการ
ประกอบด้วย ความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร การคิดคำนวณ การคิดประเภทต่าง ๆ การสร้าง
นวัตกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นตามหลักสูตราตรฐานการศึกษาขั้น
พนื้ ฐาน (สำนกั ทดสอบทางการศกึ ษา, สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน 2561)

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ เป็นการจัดระบบบริหารจัดการคุณภาพของ
สถานศึกษามีการกำหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจอย่างชัดเจนสามารถดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้ น
คุณภาพผู้เรียนรอบดา้ นตามหลักสูตรสถานศกึ ษาในทุกกลุม่ เป้าหมายจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
ดำเนินการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ (สำนักทดสอบทางการศึกษา, สำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน 2561)

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เป็นกระบวนการจัดการเรียน
การสอนตามศักยภาพของผู้เรียนแต่ละบุคคลตามที่ระบุไว้ในแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลที่สอดคล้องกับ
หลกั สูตรของสถานศึกษาสร้างโอกาสใหผ้ เู้ รียนมสี ว่ นร่วมในการเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั ิจริง
การประเมินคณุ ภาพ (สำนักทดสอบทางการศึกษา, สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน 2561)

การประกันคุณภาพภายนอก เป็นการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา เพื่อให้มีการติดตามและ
ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยคำนึงถึงความมุ่งหมาย หลักการ และแนวการจัด
การศึกษาในแต่ละระดับ ซึ่งประเมินโดย “สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การ
มหาชน) หรือเรียกชื่อย่อวา่ “สมศ.” พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี2) พ.ศ.
2454 ได้กำหนดให้สถานศึกษาทุกแหง่ ต้องไดร้ ับการประเมินคุณภาพภายนอกอย่างน้อย 1 ครั้ง ในทุกรอบ 5
ปี นับตั้งแต่การประเมินครั้งสุดท้าย และเสนอผลการประเมินต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน (สำนัก
ทดสอบทางการศึกษา, สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน 2561)

การประเมินภายใน คือการที่สถานศึกษาประเมินตนเอง และหน่วยงานต้นสังกัดเข้ามาประเมิน โดยมี
จุดมุ่งหมายที่จะประเมินผลการดำเนินงานของตนเอง หรือหน่วยงานในสังกัดว่ามีคุณภาพระดับใด มีปัญหาท่ี

197

ต้องการการแก้ไขหรือความช่วยเหลือตรงไหน ทั้งนี้เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนและต่อเนื่อง (สำนักทดสอบ
ทางการศึกษา, สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน 2561)

6. ระบบงบประมาณและทรัพยากรเพอ่ื การศกึ ษา

มกี ารระดมทุนเพ่ือมาใชใ้ นเรื่องของการศึกษา ไม่ว่าจะเปน็ โครงการเรยี นฟรี 15 ปี หรือกองทุนกู้ยืมเพื่อ
การศึกษาทัง้ ภาครฐั และเอกชน

7. การมีส่วนร่วมของสงั คมในการจดั การศึกษา

สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ไม่ว่าจะเป็นสื่อตัวนำและโครงสร้างพื้นฐานอื่นที่จำเป็นต่อการส่ง
วทิ ยกุ ระจายเสียง วิทยโุ ทรทัศน์ วิทยุโทรคมนาคม หรือ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกสถานที่ และการสอ่ื สารในรูปอื่น เพื่อ
ใช้ประโยชน์สำหรับการศึกษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบ การศึกษาตามอธั ยาศยั ( พ ร ะ ร า ช บ ั ญ ญ ั ติ
การศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2542)
คร้ังที่ 4 การปฏิรูปการศึกษาในปี พ.ศ. 2562 เพอื่ พฒั นาประเทศไทย 4.0 ตามยทุ ธศาสตร์ ชาติ 20 ปี

ด้วยรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พ.ศ 2560 มาตรา 258 จ.โดยสรุป ไดบ้ ญั ญัติให้มีการดำเนินการ
ปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ทั้งนี้บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ฯ มาตรา 261 กำหนดให้การปฏิรูปตามมาตรา
258 จ. ด้านการศึกษา มีคณะกรรมการที่มีความเป็นอิสระคณะหนึ่งที่คณะรัฐมนตรีแต่งตัง้ (คณะกรรมการอิสระ
เพื่อการปฏิรูปการศึกษา (กอปศ)) ดำเนินการศึกษาและจัดทำข้อเสนอและร่างกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้บรรลุ
เปา้ หมายเพ่อื เสนอคณะรฐั มนตรดี ำเนนิ การต่อไป

กอปศ ได้สรปุ ปัญหาและความท้าทายของระบบการศกึ ษาของไทยไว้ 7 เร่ือง ได้แก่
1. ปญั หาของระบบการศกึ ษาของไทยมีความซับซ้อนสงู
2. คุณภาพของการศกึ ษาต่ำ
3. ความเหล่ือมล้ำทางการศึกษาสูง
4. ปญั หาของระบบการศกึ ษาเปน็ อุปสรรคอย่างย่งิ ต่อการขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ระดบั ประเทศ
5. การใชท้ รพั ยากรทางการศึกษายงั ไม่มีประสิทธิภาพ
6. การกำกับดูแลและการบริหารจัดการระบบการศึกษาของภาครัฐในด้านธรรมาภิบาลเป็นอุปสรรค

สำคญั ทีบ่ ัน่ ทอนประสิทธิผลของการนำประเด็นการปฏิรปู การศกึ ษาสู่การปฏบิ ตั ิ
7. บรบิ ทของประเทศและของโลกกำลงั เปลย่ี นแปลงอย่างรวดเร็ว
กอปศ. ได้กำหนดแผนงานเพื่อการปฏิรูปไว้ด้วย 7 เรื่อง เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ของการปฏิรูปการศึกษา
ไว้ดงั นี้
1. การปฏิรูประบบการศกึ ษาและการเรียนรู้โดยรวมของประเทศ โดย พรบ.การศึกษาแห่งชาติฉบบั ใหม่

และกฎหมายลำดับรอง
2. การพัฒนาเดก็ เล็กและเดก็ กอ่ นวยั เรียน
3. เพื่อลดความเหลือ่ มลำ้ ทางการศึกษา
4. การปฏิรูปกลไกและระบบการผลติ คัดกรอง และพฒั นาผู้ประกอบวชิ าชีพครแู ละอาจารย์
5. การปฏิรปู การจดั การเรียนการสอนเพือ่ ตอบสนองการเปลีย่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21

198

6. การปรับโครงสร้างของหน่วยงานในระบบการศึกษา เพื่อบรรลุเป้าหมายในการปรับปรุงการจัดการ
เรียนการสอนและยกระดบั คุณภาพของการจัดการศกึ ษา

7. การปฏิรูปการศกึ ษาและการเรียนรโู้ ดยการพลกิ โฉมดว้ ยระบบดจิ ทิ ัล
การบรรลุผลของการปฏริ ูปการศกึ ษาตามแผนขา้ งต้น จะแบ่งเปน็ 3 ระยะ คือ

1. ระยะเรง่ ดว่ นหรือภายในวนั ที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ซง่ึ ครบวาระการทำงานของ กอปศ.
2. ระยะสั้น หรอื ภายใน 3 ปี
3. ระยะกลาง-ระยะยาว หรือภายใน 5-10 ปี

โทษบคุ คลากรทางการศกึ ษา
1.โทษทางวนิ ัยของครู

วนิ ัยมีลักษณะเป็นข้อบญั ญัตเิ พอ่ื ควบคมุ และส่งเสรมิ ให้ขา้ ราชการอยใู่ นกรอบแหง่ ความประพฤติอนั
ดงี าม ระเบียบวนิ ยั โดยท่วั ไปมีไว้ เพ่ือให้บุคคลในสังคมปฏิบตั ิร่วมกนั ในทิศทางและแนวทางเดยี วกัน
เพื่อให้สามารถอยรู่ ว่ มกันได้ อยา่ งสงบ สันติ เคารพในสิทธิและหน้าที่ของกนั และกนั

วินัยข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา หมายถึง ข้อบญั ญตั ทิ ่ีกําหนดเป็นข้อหา้ ม และข้อปฏิบัติ
ตามหมวด 6 แหง่ พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 มาตรา 82
– มาตรา 97

การพจิ ารณากำหนดโทษ

การกำหนดโทษ คือ การกำหนดระดับโทษผู้กระทำความผิดใหเ้ ป็นไปตามการปรบั บทความผดิ ว่าเป็น
ความผดิ ตามมาตราใดของบทบัญญตั ิทางวนิ ยั ตามหมวด 6 ( มาตรา 96 ) ได้กำหนดโทษทางวนิ ัยไว้ 5 สถาน
แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่

โทษ 5 สถาน

1.รบิ ทรพั ยส์ นิ 4.จำคกุ

2.ปรบั 5.ประหารชีวิต

3.กกั ขงั

ความผดิ ไม่ร้ายแรง วธิ พี จิ ารณากฏหมายไม่บงั คบั ให้ต้องต้ังคณะกรรมการสอบสวน ผู้บงั คบั บัญชา
ลงโทษได้เอง เพยี งใหผ้ ู้ถกู กล่าวหาได้ชแี้ จงแก้ขอ้ หาก็ลงโทษได้

ความผิดร้ายแรง วธิ พี ิจารณาแตง่ ตั้งคณะกรรมการข้นึ ทำการสอบสวน เสนอ อนุกรรมการข้าราชการ
ครูและบุคลากรทางการศึกษา (อ.ก.ค.) พจิ ารณามีมติใหล้ งโทษเสียก่อน ผู้บังคับบัญชาจงึ สงั่ ลงโทษไดข้ ้อยกเว้นท่ี
ไมต่ ้องสอบสวน ใหถ้ ้อยคำรบั สารภาพเป็นหนงั สอื ต่อผู้บังคับบัญชาจงึ สงั่ ลงโทษหรอื ต่อคณะกรรมการสอบสวน

1. การสอบสวนทางวินยั

199

1.1 การสอบสวนทางวินัยไม่ร้ายแรง การสอบสวนประเภทนี้หวั หนา้ สถานศึกษา มีอำนาจ แตง่ ตัง้
กรรมการสอบสวน
2. การสอบสวนทางวนิ ัยรา้ ยแรง หวั หน้าสถานศกึ ษาไม่มอี ำนาจแตง่ ต้ังกรรมการสอบสวน ผู้มอี ำนาจ
ไดแ้ ก่

2.1. ระดบั จังหวดั คือ ผวู้ ่าราชการจงั หวดั
2.2. ระดับกรม คือ อธบิ ดีกรมสามญั ศึกษา

การสัง่ ลงโทษ

1. ต้องออกเป็นคำสัง่
2. ในคำส่งั ใหแ้ สดงว่าผูถ้ ูกลงโทษกระทำความในกรณีใด ตามมาตราใด

อำนาจการสั่งลงโทษของหวั หน้าสถานศกึ ษา

1. ผู้อำนวยการโรงเรียนและอาจารยใ์ หญ่ ลงโทษขา้ ราชการครูในบังคับบัญชาดงั น้ี
1.1. ภาคทัณฑ์
1.2. ตดั เงนิ เดอื นคร้ังหน่ึงไม่เกิน 10% เปน็ เวลาไมเ่ กิน 2 เดือน

2. โทษทางจรรยาบรรณครู

ในสว่ นมาตรฐานวิชาชีพการปฏบิ ัติตน มขี ้อกำหนดเก่ยี วกับการประพฤตติ นของผปู้ ระกอบวิชาชีพหาก
ผู้ประกอบวิชาชีพผู้ใดประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพทำให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่นจนได้รับการ
รอ้ งเรยี นถงึ คุรสุ ภาแลว้ ผ้นู น้ั อาจถกู คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชพี วนิ ิจฉัย ช้ขี าดอยา่ งใดอย่างหนึง่

1. ยกข้อกลา่ วหา โทษ 5 สถาน
2. ตักเตอื น
4. พักใชใ้ บอนุญาตมีกำหนดเวลาตามที่
เห็นสมควรแต่ไม่เกนิ 5 ปี

5.เพกิ ถอนใบอนญุ าต

3. ภาคทัณฑ์

(การครุ สุ ภาคร้งั ที่ 6/2548, ออนไลน์)

3. โทษทางอาญา

ประมวลกฎหมายอาญา กลา่ วว่า ผูก้ ระทำการใดๆที่กฎหมายกำหนดวา่ เป็นความผดิ จะต้องรับผดิ ทาง
อาญา ต่อเมื่อได้กระทำโดยเจตนาเท่าน้นั (มาตรา 59)

3.1 เหตุยกเว้นโทษทางอาญา ถือวา่ ยังเป็นความผดิ แตไ่ มต่ ้องรบั โทษ
3.2. การกระทำความผดิ ด้วยความจำเป็น
3.3. การกระทำความผิดเพราะความบกพร่องทางจิต
3.4. การกระทำความผิดเพราะความมึนเมา

200

3.5. การกระทำตามคำส่ังของเจ้าพนักงาน
3.6. สามี ภรยิ า กระทำความผดิ ต่อกันในเรื่องทรัพย์
3.7. เด็กอายไุ มเ่ กิน 14 ปี กระทำความผดิ
(ทวเี กยี รติ มนี ะกนิษฐ. ประมวลกฎหมายอาญา ฉบับอ้างอิง, ออนไลน์)

กฎหมายอ่นื ท่เี กย่ี วขอ้ งกบั การศึกษา
สทิ ธเิ ด็ก

ความหมายของสิทธิเด็กไดร้ ับการรบั รองโดยองค์การสหประชาชาติ ซ่ึงตอ่ มาได้พฒั นานำ
หลักการต่างๆ มารวบรวมไว้เป็นกฎหมายระหว่างประเทศในรูปของอนสุ ัญญาคือ อนุสัญญาว่าดว้ ยสิทธเิ ด็ก
(Convention on the Rights of the Child = CRC) เปน็ สัญญาด้านสทิ ธิมนษุ ยชนระหว่างประเทศท่ี
สหประชาชาตโิ ดยเฉพาะองค์การกองทุนเพอื่ เดก็ แห่งสหประชาชาติได้รา่ งขน้ึ โดยมปี ระเทศเข้าเปน็ ภาคีสมาชกิ
195 ประเทศ ยกเวน้ ประเทศโซมาเลียและ สหรฐั อเมริกา

“เด็ก” ตามพระราชบัญญตั ิคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 “เด็ก” หมายความวา่ บุคคลซึ่งมีอายตุ ำ่ กวา่ สบิ
แปดปบี ริบรู ณ์ แต่ไมร่ วมถึงผทู้ บี่ รรลนุ ติ ิภาวะดว้ ยการสมรส

“สิทธิ” (Right) หมายถึง สิ่งน้ันเป็นส่งิ ทคี่ นผู้นน้ั พึงมพี งึ ได้อยา่ งถูกต้อง คนอนื่ ตอ้ งยอมรับจะขดั ขวาง
หรอื ลดิ รอนไม่ได้ (วีระ สมบูรณ์, 2545)

“สทิ ธ”ิ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน แปลวา่ อำนาจอันชอบธรรม (ราชบัณฑิตยสถาน,
2525)

“สิทธิเด็ก” หมายถึง บุคคลซ่ึงมอี ายตุ ่ำกว่าสิบแปดปบี ริบรู ณ์ แต่ไมร่ วมถงึ ผู้ท่ีบรรลนุ ติ ิภาวะดว้ ยการ
สมรส มีอำนาจอนั ชอบธรรมทีจ่ ะกระทำการใด ๆ ได้อย่างอิสระ โดยได้รบั การรับรองคุ้มครองจากกฎหมาย

สทิ ธิพืน้ ฐานตามอนุสญั ญาว่าด้วยสิทธเิ ด็ก

อนสุ ญั ญาว่าด้วยสทิ ธเิ ด็ก มสี าระสำคญั ท่มี ่งุ คมุ้ ครองสิทธิเด็กทุกคนไมว่ า่ จะเปน็ เด็กที่ด้อยโอกาส
ในลักษณะใดก็ตาม เช่น เด็กพิการ เด็ก ที่ถูกทอดทิ้ง เด็กเร่ร่อน เด็กถูกทารุณกรรม เด็กที่ถูกใช้แรงงานอย่างผิด
กฎหมาย โดยเดก็ ทกุ คนจะไดร้ บั สทิ ธิพน้ื ฐาน 4 ประการ คอื

1. สิทธิการมีชีวิตอยู่รอด (Right of Survival) สิทธิการมีชวี ติ อยู่รอด หมายถึง สิทธิของเด็กท่ีคลอดออก
มาแลว้ จะต้องมีชวี ิตอยู่รอดอยา่ งปลอดภัย เมอ่ื ทุกคนเกิดมาแลว้ จะมีสทิ ธิที่จะมีชวี ิตอยู่ไม่ว่าจะเกิดมามีร่างกายท่ี
สมบูรณห์ รือไม่ก็ตาม โดยเดก็ ทเี่ กดิ มาต้องได้รับการจดทะเบยี นการเกิดรวมทั้งมีสิทธิตามความจำเป็น ขั้นพ้ืนฐาน
ในการดำรงชีวิต เช่น ได้รับการอบรมเลี้ยงดูจากพ่อแม่บุคคลในครอบครัว ได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ได้รับการ
สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค รวมทั้งได้รับการรักษาพยาบาลขั้นพื้นฐานมีที่อยู่อาศัยที่ถูกสุขลักษณะ และอยู่ใน
ส่ิงแวดล้อมทไ่ี มเ่ ปน็ อนั ตรายตอ่ สุขภาพกายและจติ ใจ

2. สิทธิในการพัฒนา (Right of Development) สิทธิในการพัฒนา หมายถึง การได้รับโอกาสในการ
พัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพ เมื่อเด็กเจริญเติบโตขึ้นมีสิทธิที่จะได้รับพัฒนาการ ทางด้านร่างกาย จิตใจ

201

ความรู้สึกนึกคิด ศีลธรรม รวมทั้งสิ่งท่ีเด็กต้องการเพื่อบรรลุเป้าหมายตามความสามารถ เช่น ได้รับการศึกษาขน้ั
พ้นื ฐานไม่น้อยกว่า 12 ปที ่ีรัฐจะตอ้ งจัดใหโ้ ดยไมเ่ ก็บค่าใชจ้ า่ ย

3. สิทธิในการได้รับการคุ้มครอง (Right of Protection) สิทธิในการได้รับการคุ้มครอง หมายถึง การ
ไดร้ บั การคุ้มครองจากการเลอื กปฏิบัติการลว่ งละเมิดการถูกกลนั่ แกล้งการถูกทอดท้ิงการกระทำทารุณหรือการใช้
แรงงานเดก็ โดยรัฐมีนโยบายคุ้มครองเด็กจัดใหม้ ีกองทุนคุ้มครองเด็กและคณะกรรมการคมุ้ ครองเด็กแห่งชาติผู้ใด
พบเหน็ เดก็ ทถ่ี ูกปฏิบัติโดยมิชอบจะตอ้ งให้การช่วยเหลือเบ้ืองต้น และต้องแจ้งต่อเจ้าหน้าท่ีเก่ียวข้อง โดยเร่งด่วน
ผู้ปกครองต้องดูแลและคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กที่อยู่ในความปกครองของตนมิให้ตกอยู่ใน สถานการณ์ที่จะเกิด
อนั ตรายต่อร่างกายและจิตใจ

4. สิทธิในการมีส่วนร่วม (Right of Participation) สิทธิในการมีส่วนร่วม หมายถึง การให้เด็กได้รับ
บทบาททีส่ ำคญั ในชุมชน เดก็ มสี ทิ ธทิ ่ีจะมีสว่ นรว่ มในกจิ กรรมในสังคมมีอสิ ระในการแสดงความคิดเห็นในเร่ืองท่ีมี
ผลกระทบตอ่ ชีวติ ของตนเอง และไดร้ ับโอกาสในการเขา้ รว่ มกิจกรรมที่เป็นประโยชนต์ ่อสังคมเมอ่ื เติบโตขึ้น
ที่มา : ฟา้ ดาว อ่อนกล่นั .(2535). สิทธิเด็กตามบทบญั ญตั ขิ องรฐั ธรรมนญู

ความรบั ผดิ ของเด็กในการทำผดิ ทางอาญา

โดยท่ัวไปแลว้ เมอื่ มกี ารกระทำความผิดอาญาข้ึน กฎหมายเห็นวา่ พวกเขาเหลา่ นี้อาจมีความรู้สึก
ผิดชอบอยา่ งจาํ กัดไม่เหมือนกบั กรณีที่ผู้ใหญ่เป็นผู้กระทำความผิด ดังนั้นกฎหมายอาญาจึงกำหนดเรื่อง ความรับ
ผิดทางอาญาของเดก็ ไว้แบ่งกลุ่มอายขุ องเดก็ ทีก่ ระทำความผดิ ไว้ดังน้ี

1. เด็กอายุไม่เกิน 12 ปี สามารถกระทำความผิดทางอาญาได้เช่นเดียวกับผู้ใหญ่ ซึ่งถือว่าเด็กนั้นเป็น
ผู้กระทำความผิดได้แต่กฎหมายยกเว้นโทษแก่เด็กนั้น โดยห้ามมิให้ลงโทษแก่เด็กนั้นเลยแต่ทั้งนี้ หมายความว่า
การกระทำของเด็กอายุไม่เกนิ 12 ปีนัน้ ยังเป็นความผดิ กฎหมายอาญาอยู่ เพยี งแตก่ ฎหมายไม่เอาโทษเท่านั้น ให้
พนักงานสอบสวนสง่ ตวั เดก็ นัน้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองเดก็ เพือ่ ดำเนินการคุ้มครอง
สวัสดภิ าพตามกฎหมายว่าดว้ ยการนนั้

2. เด็กอายุ 12 ปีไม่เกิน 15 ปี กระทำความผิดอาญาได้เช่นเดียวกับผู้ใหญ่ โดยถือว่าเด็กนั้นอาจเป็น
ผู้กระทำความผิดได้แต่อย่างไรก็ตาม เด็กในวัยนี้กฎหมายก็ยังถือว่ามีความรู้สึกผิดชอบชั่วดีอย่างจํากัด
เช่นเดียวกัน จึงให้มกี ารยกเวน้ โทษแก่เด็กท่ีกระทำความผิด โดยหา้ มมิใหล้ งโทษทางอาญาแกเ่ ด็กนน้ั เลย แต่ ทั้งนี้
หมายความว่า การกระทำของเด็กนั้นยังเป็นความผิดกฎหมายอาญาอยู่ เพียงแต่กฎหมายไม่เอา โทษเท่าน้ัน
อย่างไรก็ตามสำหรับเด็กอายุ 10 ปีไม่เกิน 15 ปีที่กระทำความผิดนี้กฎหมายก็เปิดช่องให้ศาลใช้ดุลพินิจที่จะ ใช้
"วิธีการสำหรับเด็ก" ได้ซึ่งจะเป็นเคร่ืองมอื สำหรบั ปรับปรุงเดก็ ให้เปน็ คนดีและไม่กระทำความผดิ ข้ึนอีกในอนาคต
วธิ กี ารสำหรบั เดก็ ตามท่กี ฎหมายกำหนดไว้ ได้แก่

1. การว่ากล่าวตักเตือนแก่เด็กที่กระทำความผิด หรือแก่บิดา มารดา ผู้ปกครอง หรือบุคคล ที่
เด็กอาศัยอยู่

2. การเรียกบิดามารดา ผู้ปกครอง หรอื บคุ คลที่เด็กอาศยั อยู่มาทำทัณฑ์บนว่าจะระวังไม่ให้ เด็ก
ก่อเหตุรา้ ยขึน้ อีก

3. การใชว้ ิธกี ารคุมประพฤตสิ ำหรบั เดก็ โดยมพี นกั งานคมุ ประพฤติคอยควบคุมสอดส่อง

202

4. ส่งตัวไปอย่กู บั บุคคลหรือองค์กรท่ียอมรับเด็กเพ่อื ส่งั สอนอบรม
5. สง่ ตัวไปโรงเรียนหรอื สถานฝึกและอบรม หรอื สถานทตี่ ั้งขึ้นเพื่อฝกึ และอบรมเดก็ (แต่ ไม่ให้
อยู่จนอายเุ กิน 18 ปี)
3. เดก็ อายุ 15 ปีไม่เกนิ 18 ปี กระทำความผิด กฎหมายถอื วา่ มีความรู้สกึ ผดิ ชอบตามสมควร แล้วแตก่ ็
ไมอ่ าจถือว่ามีความรู้สกึ ผิดชอบอย่างเต็มท่ี เชน่ กรณผี ู้ใหญ่กระทำความผิด กฎหมายจึงเปิดโอกาสใหศ้ าลใช้
ดุลพนิ ิจได้โดยศาลทีพ่ จิ ารณาคดอี าจเลือกลงโทษทางอาญาแก่เดก็ นน้ั เช่นเดียวกบั กรณีคนทั่วไป (แตใ่ หล้ ดโทษลง
ก่ึงหนงึ่ ของโทษทกี่ ฎหมายกำหนดไวก้ อ่ น) หรอื ศาลอาจจะเลอื กใช้ "วิธีการสำหรบั เดก็ " อยา่ งที่ใช้ กับเด็กอายุ 12
ปีไม่เกนิ 15 ปกี ็ได้ ทั้งนี้การที่ศาลจะใช้ดจุ พนิ ิจลงโทษเด็กนั้นหรอื เลอื กใช้ "วิธีการสำหรับเด็ก" ศาลตอ้ งพจิ ารณา
ถงึ "ความร้ผู ิดชอบและสงิ่ อ่ืนทงั้ ปวง เกีย่ วกับผู้นนั้ " เพื่อพจิ ารณาวา่ สมควรจะเลือกใช้วิธีใดระหว่างการลงโทษทาง
อาญากบั การใชว้ ธิ กี ารสำหรบั เด็ก และถ้าศาลเหน็ สมควรลงโทษทางอาญาศาลก็ต้องลดโทษลงกึ่งหน่งึ ของโทษที่
กฎหมายกำหนดไวก้ ่อนด้วย
4. เดก็ อายุ 18 ปีไมเ่ กนิ 20 ปีโดยปกตแิ ลว้ ผกู้ ระทำความผิดที่มีอายุ 18 ปไี มเ่ กนิ 20 ปี จะต้องรบั โทษ
ทางอาญาเชน่ เดยี วกับผใู้ หญ่ แต่ศาลอาจใช้พินิจลดโทษให้หนง่ึ ในสาม หรือกึ่งหนึ่งของโทษท่ีกฎหมายกำหนดไว้
ก่อนกไ็ ด้หากศาลพจิ ารณาแล้วเหน็ ว่าความรสู้ ึกผิดชอบของเขายังมีไมเ่ ต็มท่ี ซง่ึ เปน็ เหตุที่พจิ ารณาจากตวั เดก็ ที่
กระทำความผิดนั้นเอง (ที่มา : จิตติ ตงิ ศภทั ิย.์ (2546). กฎหมายอาญา ภาค 1. กรงุ เทพมหานคร. เนติบณั ฑติ ย
สภา.)

ผ้ปู กครอง

กฎหมายกำหนดหน้าที่ของพ่อแม่ และผู้ปกครองไว้ว่าต้องให้การอุปการะเลี้ยงดูอบรมสั่งสอน
และพัฒนาเด็กที่อยู่ในความปกครองดูแลของตนตามสมควรแก่ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรมแห่ง
ทอ้ งถน่ิ และต้องคมุ้ ครองสวัสดิภาพเด็กท่ีอยู่ในความปกครองดแู ลของตนมิให้ตกอยู่ในภาวะอันนา่ จะเกิดอันตราย
แกร่ ่างกายหรือจติ ใจ โดยผปู้ กครองต้องไม่กระทำการดงั ตอ่ ไปนี้

- ทอดทิ้งเด็กไว้ในสถานรับเลี้ยงเด็ก หรือสถานพยาบาล หรือไว้กับบุคคลที่รับจ้างเลี้ยงเด็ก หรือท่ี
สาธารณะ หรือสถานที่ใด โดยเจตนาที่จะไม่รับเดก็ กลบั คืน

- ละทงิ้ เดก็ ไว้ ณ สถานท่ใี ด ๆ โดยไมจ่ ดั ให้มกี ารปอ้ งกัน ดแู ลสวัสดิภาพ หรือให้การเล้ียงดทู ่เี หมาะสม
- จงใจหรือละเลยไมใ่ ห้สิ่งที่จำเป็นแก่การดำรงชีวติ หรือสุขภาพอนามัยจนน่าจะเกิดอันตรายแก่ร่างกาย
หรือจิตใจของเด็ก
- ปฏบิ ัติตอ่ เด็กในลกั ษณะทเี่ ป็นการขดั ขวางการเจรญิ เตบิ โต หรือพัฒนาการของเดก็
- ปฏิบัติตอ่ เดก็ ในลักษณะทีเ่ ป็นการเลี้ยงดโู ดยมิชอบ
ซง่ึ หากเด็กมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการกระทำผิดตามที่กฎหมายที่กำหนดคือ
1. เด็กท่ีประพฤติตนไม่สมควร ไดแ้ ก่ ประพฤติตนเกเรหรือข่มเหงรังแกผอู้ ่ืน, ม่ัวสุมในลักษณะท่ีก่อความ
เดอื ดรอ้ นรำคาญแกผ่ ู้อน่ื , เลน่ การพนนั หรือม่วั สุมในวงการพนัน, เสพสุรา สูบบหุ รี่ เสพยาเสพติดให้โทษ, ซ้ือหรือ
ขายบรกิ ารทางเพศ, ไม่เข้าเรยี นในโรงเรยี น หรือสถานศกึ ษาตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการศึกษาภาคบังคับ

203

2. เด็กทป่ี ระกอบอาชพี ที่น่าจะชกั นำไปในทางกระทำผดิ กฎหมายหรือขดั ต่อศีลธรรมอนั ดี ไดแ้ ก่
ประกอบอาชีพหรือกระทำการใดอันเป็นการแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบด้วยกฎหมาย, เด็กที่คบหาสมาคมกับ
บคุ คลท่นี ่าจะชกั นำไปในทางกระทำผิดกฎหมาย หรือขัดตอ่ ศีลธรรม

3. เด็กที่อยู่ในสภาพแวดล้อมหรือสถานที่อันอาจชักนำไปในทางเสียหาย ได้แก่ เด็กที่อยู่ใน
สภาพแวดลอ้ มหรือสถานท่ีเกยี่ วข้องกับยาเสพตดิ ให้โทษ หรือให้บริการทางเพศ (ทม่ี า : ฟ้าดาว อ่อนกลน่ั .(2535).
สทิ ธเิ ดก็ ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนญู )

ดงั น้นั หากเดก็ มีพฤติการณ์อย่างหนง่ึ อย่างใดตามท่กี ำหนดในกฎกระทรวงย่อมเป็นกรณี “เด็กท่ีเสี่ยงต่อ
การกระทำความผิด” ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 มาตรา 4 แล้วและเมื่อพิจารณาตาม นิยาม
ของคำวา่ “เด็กที่เสีย่ งตอ่ การกระทำความผิด”จะเห็นไดว้ ่ากรณีท่ี “เดก็ มคี วามประพฤติเสี่ยงต่อการ กระท าผิด”
ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 มาตรา 26 (3) อันนำไปสู่ความรับผิดและลงโทษ ผู้ปกครองตาม
มาตรา ๗๘ ที่มีอัตราโทษ “จำคุกไม่เกินสามเดือน หรือปรับไม่เกินสามหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้ง ปรับ”ความรับผิด
และการลงโทษน้ันนำไปใช้กบั ผูป้ กครองทุกกรณีท่ีเด็กมีความประพฤตเิ สี่ยงต่อการกระทำผิด
(ทมี่ า : ดวงพร เพชรคง.(2559). กฎหมายกบั การกระทำความผดิ ของเด็กและเยาวชน)

ครู

จากระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ ารวา่ ด้วยการลงโทษนกั เรียนและนกั ศึกษา พ.ศ. 2548 ได้ให้ความหมาย
“กระทำความผิด” หมายความว า การที่นักเรียนหรือนักศึกษาประพฤติฝ าฝ นระเบียบ ข้อบังคับของ
สถานศึกษา หรือของกระทรวงศึกษาธิการ หรือกฎกระทรวงว าด้วยความประพฤติของนักเรียน และนักศึกษา
“การลงโทษ” หมายความว า การลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาที่กระทำความผิด โดยมคี วามมุ่งหมาย เพ่ือการ
อบรมสัง่ สอน

โทษทจี่ ะลงโทษแก นกั เรียนหรือนกั ศึกษาท่ีกระทำความผิด มี 4 สถาน ดงั น้ี

1. ว ากล าวตักเตอื น ใช ในกรณนี กั เรียนหรอื นักศกึ ษากระทำความผดิ ไม ร้ายแรง
2. ทำทัณฑ บน ใช ในกรณนี กั เรยี นหรือนักศึกษาทปี่ ระพฤติตนไม เหมาะสมกับสภาพนักเรียนหรือ
นกั ศกึ ษา ตามกฎกระทรวงว าด้วยความประพฤตนิ ักเรยี นและนักศึกษา หรือกรณีทำให เสอื่ มเสยี ชือ่ เสียงและ
เกียรติศักดิ์ของสถานศึกษา หรือฝ าฝ นระเบียบของสถานศึกษา หรือได รับโทษว ากล่าว ตักเตือนแล้ว
แต ยังไม เข็ดหลาบ การทำทณั ฑ บนให ทำเป นหนังสือ และเชิญบดิ ามารดาหรือผู ปกครองมาบันทึก
รบั ทราบความผิด และรบั รองการทําทณั ฑ บน
3. ตัดคะแนนความประพฤติ ให เป นไปตามระเบียบปฏิบัติว าด้วยการตัดคะแนนความประพฤติ
นักเรียนและนักศึกษาของแต ละสถานศกึ ษากําหนด และให ทําบนั ทกึ ข้อมลู ไว เปน็ หลกั ฐาน
4. ทํากิจกรรมเพื่อให ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใช ในกรณีที่นักเรียนและนักศึกษากระทําความผิด ที่
สมควรต องปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจัดกิจกรรมให เป นไปตามแนวทางที่กระทรวงศึกษาธิการกําหนด
ห้ามลงโทษนักเรียนและนักศึกษาด้วยวิธีรุนแรง หรือแบบกลั่นแกล้งหรือลงโทษ ด้วยความโกรธ หรือด้วยความ
พยาบาท โดยให คํานึงถึงอายุของนักเรียนหรือนักศึกษา และความร้ายแรงของพฤติการณ ประกอบการ
ลงโทษด วย การลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาให เป นไปเพื่อเจตนาที่จะแก้นิสัยและความประพฤติไม ดี

204

ของนักเรียนหรือนักศึกษาให รู สํานึกในความผิด และกลับประพฤติตนในทางที่ดีต อไปให้ผู บริหาร
โรงเรียนหรือสถานศึกษา หรือผู ที่ผู บริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษามอบหมาย เป นผู มีอํานาจในการ
ลงโทษนกั เรยี น นกั ศกึ ษา ท่มี า : ราชกจิ จานเุ บกษา ,เลม่ 122 ตอนพิเศษ 35 ง ,หนา้ 18

กฎหมายต่างประเทศดา้ นการศกึ ษา
กฎหมายดา้ นการศึกษาของประเทศไทย

กฎหมายเกย่ี วกับการศึกษา ประกอบดว้ ย พระราชบญั ญตั ิ พระราชกฤษฎกี า กฎกระทรวง และ
อนื่ ๆซ่ึงจดั หมวดหมู่ได้ 12 หมวด ดังน้ี

1. โครงสร้างการบริหาร
2. การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน
3. อาชวี ศกึ ษา
4. การศกึ ษาเอกชน
5. การสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
6. อดุ มศึกษา
7. อดุ มศึกษาเอกชน
8. ครูและบุคลากรทางการศึกษา
9. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
10. เดก็ เยาวชน คนพกิ าร ผู้สงู อายุ
11. ภาษกี ารศึกษา
12. อ่นื ๆ
ทั้งน้ี มรี ายละเอยี ดข้อมูลดงั นี้

1. โครงสร้างการบรหิ าร
พระราชบัญญัติ

- พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2524
- พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545
- พระราชบัญญตั ิระเบียบบริหารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2546
- พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ.2553
- พระราชบัญญตั ริ ะเบยี บบริหารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2553

กฎกระทรวง

- กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสำนกั งานรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546
- กฎกระทรวงแบง่ ส่วนราชการสำนกั งานปลดั กระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงแบ่งสว่ นราชการสำนกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2546
- กฎกระทรวงแบ่งสว่ นราชการสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

205

พ.ศ. 2546
- กฎกระทรวงแบง่ ส่วนราชการสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2546
- กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการพ.ศ. 2546
- กฎกระทรวงก าหนดจำนวนกรรมการ คณุ สมบตั ิ หลกั เกณฑ์ และวธิ ีสรรหา การเลือก

คณะกรรมการ วาระการดำรงตำแหน่งและการพ้นจากตำแหน่งของกรรมการในคณะกรรมการสภา
การศกึ ษา พ.ศ. 2546

- กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์การแบง่ สว่ นราชการภายในส านกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษา พ.ศ 2546
- กฎกระทรวงกำหนดจำนวนกรรมการ คณุ สมบัติ หลักเกณฑ์ และวธิ ีการสรรหา การเลือกประธาน
กรรมการและกรรมการวาระการดำรงตำแหน่งและการพ้นจากตำแหน่งของคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
พ.ศ. 2546
- กฎกระทรวงว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาต่ำกว่าปริญญารูปแบบวิทยาลัยชุมชน
พ.ศ. 2546
- กฎกระทรวงก าหนดจำนวนกรรมการ คุณสมบตั ิ หลักเกณฑ์ และวธิ กี ารสรรหา การเลือกประธาน
กรรมการและกรรมการ วาระการด ารงตำแหนง่ และการพ้นจากตำแหน่งของคณะกรรมการสถานศึกษา
ขน้ั พน้ื ฐาน พ.ศ. 2546
- กฎกระทรวงกำหนดจำนวนกรรมการ คณุ สมบัติหลักเกณฑ์ และวธิ กี ารสรรหา การเลือกประธาน
กรรมการและกรรมการวาระการดำรงตำแหน่งและการพ้นจากตำแหน่งของคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พ.ศ. 2546
- กฎกระทรวงกำหนดจำนวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ์ และวธิ ีการสรรหา การเลือกประธาน
กรรมการและกรรมการวาระการดำรงตำแหน่งและการพ้นจากตำแหนง่ ของคณะกรรมการการอดุ มศึกษา
พ.ศ. 2546
- กฎกระทรวงกำหนดจำนวนกรรมการ คุณสมบัติ หลกั เกณฑ์ และวธิ ีการสรรหา การเลือกประธาน
กรรมการและกรรมการวาระการดำรงตำแหนง่ และการพน้ จากตำแหน่งของคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
พ.ศ. 2546
- กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑก์ ารแบ่งส่วนราชการภายในสถานศกึ ษา ทจ่ี ดั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
หรอื ส่วนราชการท่เี รียกช่อื อย่างอ่นื พ.ศ. 2547
- กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์ วิธกี าร และลกั ษณะของงานท่จี ะใหส้ านักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา
เป็นผรู้ บั ผิดชอบปฏิบตั ิงานเฉพาะอยา่ งแทนสถานศึกษาท่จี ัดการศึกษาข้นั พน้ื ฐานและ ส่วนราชการที่เรยี กชื่อ
อย่างอ่นื พ.ศ.2547
- กฎกระทรวงกำหนดหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการประเมนิ ความพรอ้ มในการจดั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐานของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ พ.ศ. 2547
- กฎกระทรวงวา่ ดว้ ยการบริหารงานบุคคลของขา้ ราชการพลเรอื นในมหาวทิ ยาลัย พ.ศ. 2547

206

- กฎกระทรวงกำหนดจำนวน หลกั เกณฑ์ และวิธกี ารได้มาของคณะกรรมการตดิ ตาม
ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศึกษาของเขตำพื้นทีก่ ารศกึ ษา พ.ศ.2548

- กฎกระทรวงกำหนดจำนวน หลักเกณฑ์ และวิธีการได้มาของคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาพิเศษ
พ.ศ.2548

- กฎกระทรวงกำหนดจำนวน หลักเกณฑ์ และวธิ กี ารได้มาของคณะกรรมการสง่ เสรมิ สนับสนนุ และ
ประสานความรว่ มมือการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย พ.ศ.2548

- กฎกระทรวงกำหนดจำนวน หลักเกณฑ์ และวิธีการได้มาของคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ และ
ประเมนิ ผล การจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2549

- กฎกระทรวงกำหนดหลกั เกณฑ์และวธิ ีการประเมินความพรอ้ มในการจดั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐานของ
องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2549

ประกาศกระทรวง

- ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เร่อื ง มาตรฐานสถาบนั อุดมศึกษา พ.ศ.2554

2. การศึกษาขนั้ พื้นฐาน
พระราชบัญญัติ

- พระราชบญั ญัติการศึกษาภาคบังคบั พ.ศ. 2545

พระราชกฤษฎกี า

- พระราชกฤษฎกี าจัดต้งั โรงเรียนมหดิ ลวิทยานสุ รณ์ พ.ศ.2543

กฎกระทรวง

- กฎกระทรวงก าหนดหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารนับอายเุ ด็กเพ่ือเขา้ รบั การศึกษาภาคบังคบั พ.ศ.2545
- กฎกระทรวงว่าดว้ ยการแบ่งระดับและประเภทการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พ.ศ.2546
- กฎกระทรวงว่าดว้ ยระบบ หลักเกณฑ์ และวธิ ปี ระกันคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษาระดับ
การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พ.ศ.2546
- กฎกระทรวงว่าดว้ ยสทิ ธใิ นการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยครอบครวั พ.ศ. 2547
- กฎกระทรวงวา่ ด้วยสิทธิของสถานประกอบการในการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานในศูนย์การเรยี น พ.ศ.
2547
- กฎกระทรวงว่าด้วยสทิ ธิในการจดั การศึกษาขั้นพนื้ ฐานโดยสถาบันพระพุทธศาสนา พ.ศ.2548
- กฎกระทรวงว่าดว้ ยสิทธขิ ององค์กรวิชาชีพในการจดั การศึกษาข้ันพน้ื ฐานในศูนยก์ ารเรียน พ.ศ. 2554
- กฎกระทรวงวา่ ด้วยสทิ ธขิ ององค์กรเอกชนในการจดั การศึกษาขนั้ พื้นฐานในศนู ยก์ ารเรียนรู้ พ.ศ. 2555

3. อาชีวศกึ ษา
พระราชบัญญัติ

- พระราชบญั ญตั ิการอาชวี ศึกษา พ.ศ.2551

207

4. การศกึ ษาเอกชน
พระราชบญั ญัติ

- พระราชบญั ญัตโิ รงเรยี นเอกชน พ.ศ.2550
- พระราชบญั ญตั ิโรงเรียนเอกชน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554

กฎกระทรวง

- กฎกระทรวงวา่ ด้วยการกำหนดคุณสมบตั ิและลกั ษณะตอ้ งห้ามของผบู้ ริหารโรงเรยี นนอกระบบ
พ.ศ.2553

- กฎกระทรวงกำหนดค่าธรรมเนียมสำหรบั การประกอบกิจการโรงเรียนเอกชน พ.ศ. 2553

5. การสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
พระราชบญั ญตั ิ

- พระราชบญั ญตั สิ ง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ2551

กฎกระทรวง

- กฎกระทรวงว่าด้วยการแบ่งระดบั และการเทียบระดับการศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย
พ.ศ.2546

6. อุดมศึกษา
พระราชบัญญตั ิ

- พระราชบัญญตั มิ หาวทิ ยาลยั ราชภัฎ พ.ศ. 2547
- พระราชบัญญตั ริ ะเบียบขา้ ราชการพลเรือนในสถาบนั อุดมศกึ ษา พ.ศ.2547
- พระราชบัญญตั สิ ถาบนั เทคโนโลยีปทมุ วนั พ.ศ.2547
- พระราชบัญญตั ิมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ.2548
- พระราชบัญญตั ิสถาบนั การพลศกึ ษา พ.ศ.2548
- พระราชบญั ญตั มิ หาวทิ ยาลัยนราธวิ าสราชนครินทร์ พ.ศ.2548
- พระราชบัญญตั มิ หาวิทยาลยั นครพนม พ.ศ.2548
- พระราชบญั ญัติการบริหารสว่ นงานภายในของสถาบนั อดุ มศกึ ษา พ.ศ.2550
- พระราชบญั ญตั ิมหาวิทยาลยั มหิดล พ.ศ.2550
- พระราชบัญญตั มิ หาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนือ พ.ศ.2550
- พระราชบญั ญัตมิ หาวทิ ยาลัยบูรพา พ.ศ.2550
- พระราชบญั ญัตจิ ุฬาภรณม์ หาวิทยาลยั พ.ศ.2551
- พระราชบัญญตั ิมหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ พ.ศ.2551
- พระราชบญั ญตั ิมหาวิทยาลยั พะเยา พ.ศ.2553

208

- พระราชบัญญตั มิ หาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2553

กฎกระทรวง

- กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลกั เกณฑ์ และวธิ ีประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษา
ระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2546

- กฎกระทรวงจัดตง้ั ส่วนราชการในมหาวิทยาลยั ราชภัฏกาญจนบรุ ี กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตั้งสว่ นราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตง้ั ส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภฏั กำแพงเพชร กระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตั้งสว่ นราชการในมหาวิทยาลยั ราชภัฏจันทรเกษม กระทรวงศึกษาธกิ าร
พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตั้งสว่ นราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏชยั ภมู ิ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตั้งส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภฏั เชียงราย กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตั้งส่วนราชการในมหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชียงใหม่ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2548
- กฎกระทรวงจดั ตง้ั สว่ นราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตั้งสว่ นราชการในมหาวทิ ยาลัยราชภฏั ธนบุรี กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตง้ั ส่วนราชการในมหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตั้งสว่ นราชการในมหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครพนม กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดต้ังส่วนราชการในมหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตั้งสว่ นราชการในมหาวิทยาลยั ราชภฏั นครศรีธรรมราช กระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตัง้ สว่ นราชการในมหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครสวรรค์ กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตง้ั ส่วนราชการในมหาวิทยาลยั ราชภัฏบา้ นสมเด็จเจ้าพระยา กระทรวงศกึ ษาธิการ
พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตั้งส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรรี มั ย์ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตง้ั สว่ นราชการในมหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนคร กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตั้งสว่ นราชการในมหาวิทยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ
2548
- กฎกระทรวงจดั ตง้ั สว่ นราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบลู สงคราม กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตง้ั สว่ นราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบรุ ี กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ต้งั ส่วนราชการในมหาวทิ ยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์

กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2548

- กฎกระทรวงจดั ตงั้ ส่วนราชการในมหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบรู ณ์ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548

209

- กฎกระทรวงจดั ต้ังส่วนราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ภเู ก็ต กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตั้งส่วนราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตง้ั ส่วนราชการในมหาวิทยาลยั ราชภฏั ยะลา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจดั ต้ังส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตง้ั สว่ นราชการในมหาวทิ ยาลัยราชภฏั ร้อยเอด็ กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๔๘
- กฎกระทรวงจดั ตง้ั สว่ นราชการในมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตง้ั ส่วนราชการในมหาวิทยาลยั ราชภัฏเลย กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดต้งั สว่ นราชการในมหาวิทยาลยั ราชภัฏลำปาง กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดต้งั สว่ นราชการในมหาวทิ ยาลัยราชภัฏศรสี ะเกษ กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตั้งสว่ นราชการในมหาวทิ ยาลัยราชภฏั สกลนคร กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตงั้ ส่วนราชการในมหาวทิ ยาลัยราชภัฏสงขลา กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตง้ั สว่ นราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ติ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตง้ั ส่วนราชการในมหาวิทยาลัยราชภฏั สวนสนุ นั ทา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตั้งสว่ นราชการในมหาวิทยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎร์ธานี กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตั้งสว่ นราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สุรินทร์ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตง้ั สว่ นราชการในมหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมบู่ ้านจอมบึง กระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจัดตง้ั สว่ นราชการในมหาวทิ ยาลัยราชภัฏอดุ รธานี กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตง้ั สว่ นราชการในมหาวทิ ยาลัยราชภฏั อุตรดิตถ์ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2548
- กฎกระทรวงจดั ตง้ั สว่ นราชการในมหาวิทยาลยั ราชภฏั อบุ ลราชธานี กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2548

7. อดุ มศึกษาเอกชน
พระราชบญั ญตั ิ

- พระราชบัญญตั สิ ถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชน พ.ศ. 2546
- พระราชบัญญตั ิสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชน (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2550

กฎกระทรวง

- กฎกระทรวงกำหนดลักษณะของมหาวทิ ยาลัย สถาบัน และวทิ ยาลยั ของสถาบนั อุดมศึกษาเอกชน
พ.ศ.2549

- กฎกระทรวงกำหนดหลกั เกณฑ์ วิธกี าร และเง่ือนไขในการขอรับใบอนุญาตและการออกใบอนุญาต
ใหจ้ ดั ต้ังสถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชน พ.ศ.2549

- กฎกระทรวงกำหนดลักษณะและเน้ือทีด่ ินทีจ่ ะใช้เปน็ ที่จัดสถาบนั อดุ มศึกษาเอกชน พ.ศ.2549

210

- กฎกระทรวงว่าดว้ ยหลกั เกณฑ์ให้อนปุ ริญญาสำหรบั ผทู้ ่ีสอนไวไ้ ด้ครบทุกลกั ษณะวชิ า ตามหลกั สูตร
ปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2549

- กฎกระทรวงกำหนดชน้ั สาขาของปริญญา และหลักเกณฑก์ ารให้ปริญญากติ ติมศักดิ์ของ
สถาบนั อุดมศึกษาเอกชน พ.ศ.2549

- กฎกระทรวงก าหนดลักษณะ ชนิด ประเภท และสว่ นประกอบของครุยวิทยฐานะ และเขม็ วิทย -
ฐานะของสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชน พ.ศ.2549

- กฎกระทรวงวา่ ด้วยการคุ้มครองการท างานและผลประโยชน์ตอบแทนของผปู้ ฏบิ ัตงิ านใน
สถาบนั อดุ มศกึ ษาเอกชน พ.ศ.2549

8. ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
พระราชบัญญัติ

- พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบริหารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2546
- พระราชบญั ญัติบำเหน็จบ านาญขา้ ราชการ (ฉบบั ท่ี 22) พ.ศ. 2547
- พระราชบญั ญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547
- พระราชบัญญัตเิ งินเดอื น เงินวทิ ยฐานะ และเงินประจำตำแหน่งข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการ
ศกึ ษา พ.ศ.2547
- พระราชบัญญตั ิเงนิ เดอื นและเงนิ ประจำตำแหน่ง (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ.2547
- พระราชบัญญัติระเบยี บข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2551
- พระราชบัญญัตริ ะเบยี บขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2553

พระราชกฤษฎกี า

- พระราชกฤษฎกี าการปรับอัตราเงินเดอื นขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2549
- พระราชกฤษฎกี าการปรับอัตราเงนิ เดอื นข้าราชการครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา (ฉบบั ท่ี 2)
พ.ศ.2550
- พระราชกฤษฎีกาการได้รบั เงนิ ประจำตำแหน่งของขา้ ราชการ และผ้ดู ำรงตำแหน่งผูบ้ ริหาร ซ่ึงไม่เปน็
ข้าราชการ (ฉบับท่ี 7) พ.ศ.2547
- พระราชกฤษฎกี าการได้รบั เงนิ ประจำตำแหน่งของข้าราชการ และผู้ดำรงตำแหน่งผ้บู ริหาร ซง่ึ ไม่เป็น
ขา้ ราชการ (ฉบับท่ี 9) พ.ศ.2549

กฎกระทรวง

- กฎกระทรวงการประกอบวิชาชพี ควบคมุ พ.ศ.2549

9. วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
พระราชบญั ญัติ

- พระราชบัญญตั ิสถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2548
- พระราชบญั ญตั วิ ่าดว้ ยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมแห่งชาติ พ.ศ.2551

211

10. เดก็ เยาวชน คนพิการ ผู้สงู อายุ
พระราชบญั ญตั ิ

- พระราชบัญญัติคุม้ ครองเด็ก พ.ศ. 2546
- พระราชบัญญัตผิ สู้ ูงอายุ พ.ศ.2546
- พระราชบญั ญตั สิ ง่ เสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.2550
- พระราชบญั ญตั ิการจัดการศึกษาสำหรับคนพกิ าร พ.ศ.2551

กฎกระทรวง

- กฎกระทรวงกำหนดหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารให้คนพกิ ารมีสิทธไิ ดร้ บั ส่งิ อำนวยความสะดวก สือ่ บรกิ าร
และความช่วยเหลืออ่ืนใดทางการศึกษา พ.ศ.2550

- กฎกระทรวงกำหนดหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารจัดสรรงบประมาณทางการศึกษา สำหรับคนพกิ าร
พ.ศ 2545

- กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณแ์ ละวธิ ีการให้คนพิการมสี ิทธิได้รับส่งิ อ านวยความสะดวก สื่อ บรกิ าร
และความชว่ ยเหลอื อืน่ ใดทางการศึกษา พ.ศ. 2550

11. ภาษีการศกึ ษา
พระราชกฤษฎกี า

- พระราชกฤษฏีกาออกตามความในประมวลรษั ฎากรว่าด้วยการยกเวน้ รษั ฎากร (ฉบับที่ 284)
พ.ศ. 2538

- พระราชกฤษฏีกาออกตามความในประมวลรษั ฎากรวา่ ด้วยกำหนดกจิ การท่ีได้รบั ยกเวน้ ภาษีธุรกจิ
เฉพาะกิจ (ฉบับที่ 386) พ.ศ.2544

- พระราชกฤษฏีกาออกตามความในประมวลรษั ฎากรวา่ ด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 420)
พ.ศ. 2547

- พระราชกฤษฏกี าออกตามความในประมวลรษั ฎากรว่าด้วยการยกเวน้ ภาษีมูลคา่ เพิ่ม (ฉบบั ที่ 422)
พ.ศ. 2547

- พระราชกฤษฏกี าออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับท่ี 427)
พ.ศ. 2548

- พระราชกฤษฏกี าออกตามความในประมวลรัษฏากร ว่าด้วยการยกเว้นรษั ฏากร (ฉบับที่437) พ.ศ.
2548

- พระราชกฤษฏีออกตามความในประมวลรษั ฎากรวา่ ด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบบั ที่ 476) พ.ศ. 2551
- พระราชกฤษฏีออกตามความในประมวลรัษฎากรวา่ ด้วยการยกเวน้ รษั ฎากร (ฉบับท่ี 256) พ.ศ. 2554

212

12. อนื่ ๆ
พระราชบญั ญตั ิ

- พระราชบัญญัตลิ ูกเสือ พ.ศ.2551

พระราชกฤษฎกี า

- พระราชกฤษฎีกาจดั ต้ังส านักงานบริหารและพฒั นาองค์ความรู้ (องค์กรมหาชน) พ.ศ. 2547
- พระราชกฤษฎกี าจดั ตง้ั สถาบนั ทดสอบทางการศึกษาแหง่ ชาติ (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2548

กฎกระทรวง

- กฎกระทรวงว่าดว้ ยการจดั การศกึ ษาเฉพาะทาง พ.ศ. 2547
- กฎกระทรวงวา่ ดว้ ยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกนั คณุ ภาพทางการศึกษา พ.ศ.2553
(อ้างอิง : นายวชญิ ์ รตั นสุทธกิ ลุ วิทยากรช านาญการและ นางสาวสริ ินทรา ขวญั สง่า. (2546). กฎหมายด้าน
การศกึ ษา และทเี่ กย่ี วข้อง. สบื ค้นเม่อื วนั ที่ 9 มาี นคม 2564.)

กฎหมายดา้ นการศึกษาของประเทศฟนิ แลนด์

กระทรวงศึกษาและวัฒนธรรมจัดกฎหมายการศกึ ษาเปน็ 7 กล่มุ ครอบคลุมทุกช่วงวัย ระดับและประเภท
การศึกษา และผู้เกยี่ วข้อง แต่ละกลมุ่ มีกฎหมาย 2 ระดับ ทุกกล่มุ มสี าระหลกั ลักษณะดงั นี้

Act เทยี บได้กับ พระราชบัญญัตเิ พื่อเขยี นจุดม่งุ หมาย แนวทาง หลกั สตู ร การจัดการเรยี นการสอน การ
วดั ผล ประเมินผล สทิ ธิ หน้าท่ี ความรบั ผิดชอบ และ กฎหมายรอง Decree เพ่ือกำหนดแนวทางการจดั การ
ภาคปฏบิ ัติ เช่น การจดั เวลาเรียน การวางแผนจดั การเรียนการสอน การแนะแนว ชวั่ โมงเรยี น และรายละเอียด
อ่ืนๆ

กฎหมายการศึกษาของฟินแลนด์ 7 กลมุ่

1. การศึกษาก่อนประถมศึกษาและขนั้ พนื้ ฐาน
2. การศกึ ษาระดับมธั ยมศึกษาตอนปลายและการสอบวดั ผล
3. การศึกษาศลิ ปะขนั้ พ้นื ฐาน
4. งานการศึกษาฟรี
5. การจัดหาเงินทนุ ของกิจกรรมการศกึ ษาและวฒั นธรรม
6. การบรหิ ารการศึกษาของรัฐและเอกชน
7. ขอ้ กำหนดคณุ สมบัตขิ องอาจารย์ผู้สอน

กฎหมายสำคัญเกย่ี วกบั การศกึ ษา

หนังสือกฎหมาย. ภาพ: OKMไซต์นีม้ รี ายการลิงก์ไปยังกฎหมายและข้อบงั คบั ด้านการศึกษาท่ีสำคัญ

213

หากเปน็ ไปไดล้ งิ กจ์ ะนำคณุ ไปยังกฎหมายที่เปน็ ปจั จบุ ันของ Finlex Legislative Database โดยตรงซงึ่
รวมถงึ การเปลี่ยนแปลงท่เี กดิ ขึ้นกับกฎหมายหรือข้อบงั คับดว้ ย

1.การศกึ ษากอ่ นประถมศึกษาและขัน้ พ้ืนฐาน

พระราชบัญญัติการศึกษาขั้นพื้นฐาน (628/1998) กฎหมายควบคุมการศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษา
ภาคบังคบั การศึกษาก่อนวัยเรยี นการศกึ ษาเสรมิ การศกึ ษาก่อนประถมศึกษาและกจิ กรรมในช่วงเชา้ และบ่าย

ระเบียบการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน (852/1998) ขอ้ บงั คับใหเ้ ชน่ เวลาในการสอนและการทำงานการประเมิน
การคมุ้ ครองทางกฎหมายและการอนุญาตให้จดั ฝึกอบรม

พระราชกฤษฎีการัฐบาลว่าด้วยวัตถุประสงค์แห่งชาติสำหรับการสอนที่อ้างถึงในพระราชบัญญัติ
การศึกษาขั้นพื้นฐานและการกระจายชั่วโมงในการศึกษาขั้นพื้นฐาน (422/2555) ระเบียบดังกล่าวกำหนด
เปา้ หมายท่ัวไปของการสอนระดบั ชาติและการแบง่ ชั่วโมง

2.การศึกษาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลายและการสอบวัดผล

กฎหมายระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (714/2018)
พระราชบญั ญัตโิ รงเรียนมัธยมในอดีต(629/1998) ให้ใช้บงั คบั ในช่วงเปล่ียนผา่ นตามขอบเขตที่กำหนดไว้
ในบทเฉพาะกาล กฎหมายกำหนดเช่น วัตถุประสงค์ของการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายการจดั การศึกษา
การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายการสมัครและการเข้าศึกษาในสถาบันการศึกษาสิทธิและหน้าที่ของ
นักเรียนการสำเร็จหลักสูตรและการประเมินนักเรียนและสภาพแวดล้อมการเรียนที่ปลอดภัย พระราชกฤษฎีกา
การศึกษาระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย (810/2018)
โรงเรียนมัธยมก่อนหน้า(810/1998)เ่ และพระราชกฤษฎีการฐั บาลว่าด้วยเปา้ หมายระดบั ชาติท่ัวไปและ
การแบง่ ชัว่ โมงในการศกึ ษาระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย (242/2557)่ ให้ใช้บงั คับในชว่ งเปลยี่ นผ่านตามขอบเขตที่
กำหนดไวใ้ นบทเฉพาะกาล
กฎระเบียบดังกล่าวกำหนดวัตถปุ ระสงค์ท่วั ไปของประเทศสำหรบั การศึกษาความรู้และทักษะการเรียนรู้
ตลอดชีวิตวัตถุประสงค์ของการศึกษาเตรียมอุดมศึกษาวัตถุประสงค์เฉพาะของการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอน
ปลายสำหรับผู้ใหญก่ ารขอใบอนญุ าตเงื่อนไขในการมอบรางวัลการฝกึ อบรมพิเศษ การมอบหมายเกรดขนาดและ
โครงสรา้ งของการศกึ ษา
กฤษฎีกากระทรวงศึกษาธิการเรื่องหลักเกณฑ์การคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอน
ปลาย (856/2549) มกี ารแกไ้ ข(948/2007), (820/2018)
พระราชบญั ญตั ิการสอบการบวช (๕๐๒/๒๐๑๙)
กฎหมายก่อนหนา้ ว่าด้วยการจัดสอบการบวช (672/2005) ให้ใช้บังคับในช่วงเปลีย่ นผ่านตามขอบเขตท่ี
กำหนดไวใ้ นบทเฉพาะกาล

214

กฎหมายกำหนดเช่น คณะกรรมการการสอบการบวช, องค์กรของการสอบ, การสอบสำหรับการสอบ,
การลงทะเบยี นสำหรบั การสอบ, เง่อื นไขการเข้ารว่ มในการสอบ, การเตรยี มการพิเศษและการเสร็จสน้ิ ของ
การสอบ

พระราชกฤษฎีกาการสอบคดั เลอื กของรฐั บาล (612/2019)
ระเบียบการสอบการบวชก่อนหน้านี้(915/2005) ให้ใช้บังคับในช่วงเปลี่ยนผ่านตามขอบเขตที่กำหนดไว้ในบท
เฉพาะกาล ข้อบงั คบั ให้เชน่ การแต่งตงั้ คณะกรรมการการสอบการบวชกฎเกณฑ์ของคณะกรรมการการสอบการ
เตรยี มการสอบและผลการเรียน

3.การศกึ ษาศิลปะขั้นพื้นฐาน

พระราชบัญญัติการศึกษาศิลปะขั้นพื้นฐาน (633/1998) กฎหมายกำหนดเช่น ผู้จัดงานและองค์กรของ
การศกึ ษาศลิ ปะข้ันพนื้ ฐานหลักสูตรการรับสมัครการประเมินบุคลากรการบรจิ าคของรฐั และคา่ ธรรมเนยี ม

อนุบัญญัติศิลปศึกษาขั้นพื้นฐาน (813/1998) ระเบียบดังกล่าวกำหนดหลักสตู รปริมาณการสอนการต่อ
อายแุ ละการแก้ไขการประเมนิ และการขอใบอนญุ าตจดั การศกึ ษา

4.งานการศึกษาฟรี

กฎหมายเก่ียวกบั งานการศึกษาฟรี (632/1998) และกฎระเบียบ (805/1998) กฎหมายกำหนดเชน่ ผ้จู ดั
งานและองค์กรของงานการศึกษาฟรีใบอนุญาตบำรุงรักษาของสถาบันการศึกษาบุคลากรส่วนแบ่งของค่าใช้จ่าย
ในการดำเนนิ งานและเงินอดุ หนนุ จากรฐั

5.การจดั หาเงินทุนของกจิ กรรมการศึกษาและวัฒนธรรม

พระราชบัญญัติการจัดหาเงินทุนของกิจกรรมการศึกษาและวัฒนธรรม (1705/2009) กฎหมายกำหนด
เช่น การบรจิ าคของรัฐและเงินช่วยเหลอื สำหรบั กจิ กรรมทอี่ ้างถงึ ในพระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน (VM)

พระราชกฤษฎีกาของรัฐบาลเกี่ยวกับการจัดหาเงินทุนสำหรับกิจกรรมการศึกษาและวัฒนธรรม
(1766/2009)

พระราชบญั ญัตกิ ารมสี ่วนรว่ มของรัฐในการบริการข้นั พ้ืนฐานของเทศบาล (1704/2009) กฎหมายบังคับ
ใช้กับส่วนแบ่งที่รัฐมอบให้สำหรับต้นทุนการดำเนินงานเช่น งานของเทศบาลตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติ
การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานและพระราชบัญญตั ศิ ิลปะการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน (VM)

พระราชบัญญตั ิความช่วยเหลือของรัฐ (688/2011)
กฎหมายกำหนดหลักเกณฑ์และขั้นตอนที่ต้องปฏิบัติเมื่อให้ทุนสนับสนุนเพื่อช่วยเหลือกิจกรรมหรือ
โครงการ (VM)
กฤษฎีกากระทรวงศึกษาธิการเรื่องค่าธรรมเนียมบางประการที่เรียกเก็บจากนักเรียนและนักศึกษา
(1323/2544)

215

กฤษฎีกากระทรวงศึกษาธิการและวัฒนธรรมเรื่องการจ่ายค่าบริการของคณะกรรมการสอบนักเรียน
(908/2553)

การตดั สินใจของกระทรวงศึกษาธกิ ารเกีย่ วกับบริการชำระค่าธรรมเนียมของสถาบนั การศึกษาของรัฐบาง
แห่ง (1097/1998)

6.การบรหิ ารการศึกษาของรฐั และเอกชน

กฎหมายว่าด้วยการบริหารการศึกษาของรัฐและเอกชน (634/1998) กฎหมายกำหนดเช่น
คณะกรรมการหลักข้อบังคับการให้ทุนและการบริจาคการควบคุมความชอบด้วยกฎหมายและการฝึกอบรม
เกีย่ วกบั การใช้พระราชบญั ญัตวิ ธิ ปี ฏบิ ัตริ าชการทางปกครอง

พระราชบญั ญัตนิ ักเรยี นและสวสั ดกิ ารนักศึกษา (1287/2556) กฎหมายกำหนดเช่น สทิ ธขิ องนักเรียนใน
ระดบั กอ่ นประถมศึกษาและประถมศกึ ษาและนกั เรยี นในระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลายในการดูแลการศึกษา

พระราชกฤษฎีกาการประเมนิ ผลการศกึ ษาของรฐั บาล (1061/2552)
กฤษฎีกากระทรวงศึกษาธกิ ารและวฒั นธรรมเรอ่ื งคณะกรรมการสถานศึกษาของรัฐบางแหง่ (410/2554)

พระราชกฤษฎกี าวา่ ด้วยระบบสภาการศึกษา (882/2553)
พระราชกฤษฎกี ารฐั บาลว่าดว้ ยการสมัครเรียนร่วมอาชวี ศกึ ษาและมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (30/2561)

7.ขอ้ กำหนดคณุ สมบตั ิของอาจารยผ์ ้สู อน

ระเบียบเกี่ยวกับข้อกำหนดคุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน (986/1998) ข้อบังคับให้เช่น ข้อกำหนด
คุณสมบัติสำหรับบุคลากรด้านการสอนเช่นครูก่อนวัยเรียนครูใหญ่ครูและอาจารย์ที่อ้างถึงในพระราชบัญญัติ
การศึกษาขั้นพื้นฐานพระราชบัญญัติโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายพระราชบัญญัติการศึกษาฟรีและ
พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาศลิ ปะข้นั พน้ื ฐาน

ข้อบังคับเกี่ยวกับความสามารถในการสอนของครูศิลปะบางประเภท (941/1998)
พ ร ะ ร า ช ก ฤ ษ ฎ ี ก า ข อ ง ร ั ฐ บ า ล เ ก ี ่ ย ว ก ั บ ค ุ ณ ส ม บ ั ต ิ ข อ ง ก า ร ศ ึ ก ษ า บ า ง อ ย ่ า ง ท ี ่ เ ส ร ็ จ ส ม บ ู ร ณ ์ ที่
มหาวทิ ยาลัย Oulu สำหรับการสอนงานดา้ นเทคนคิ (780/2001)
พระราชบัญญัติกำหนดประวัติอาชญากรรมของผู้ที่ทำงานกับเด็ก (504/2002)กฎหมายบังคับใช้เช่น
สำหรบั การไดม้ าซึ่งกิจกรรมในชว่ งเช้าและชว่ งบา่ ยทอ่ี ้างถงึ ในพระราชบัญญัติการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก (417/2550)่ กฎหมายมีบทบัญญัติเก่ียวกับการคุ้มครองเด็กเฉพาะเด็กและ
ครอบครัวและการคุ้มครองเด็กเชิงป้องกัน กฎหมายกำหนดให้มีการพัฒนาบริการเพื่อสนับสนุนการศึกษา
พระราชบัญญัติสวัสดิภาพเด็กกำหนดภาระหน้าที่ในการดูแลสังคมและสุขภาพกิจกรรมของโรงเรียนและ
หนว่ ยงานอ่ืน ๆ ในการจัดทำรายงานการคมุ้ ครองเด็กและอาชญากรรม (STM)
พระราชบัญญัติเงินบำนาญบางอย่างในภาคการศกึ ษา (662/1998) (VM)
(อา้ งอิง : กระทรวงศึกษาธกิ ารและวฒั นธรรม. (2549). กฎหมายสำคญั เกยี่ วกับการศึกษา
. สืบคน้ เมอื่ วนั ที่ 9 มาี นคม 2564.)

216

กฎหมายด้านการศกึ ษาของประเทศญ่ปี นุ่

พระราชบัญญัติการศึกษาขน้ั พื้นฐาน (พระราชบญั ญตั ิฉบับท่ี 120 วนั ท่ี 22 ธนั วาคม 2549)
บทท่ี 1 จดุ มุ่งหมายและหลักการศึกษา
บทท่ี 2 ความรู้พ้นื ฐานเก่ยี วกับการจัดการศึกษา
บทที่ 3 การบริหารการศึกษา
บทท่ี 4 การตรากฎหมายและขอ้ บังคบั

ชาวญี่ปุ่นปรารถนาที่จะพัฒนารัฐประชาธิปไตยและวัฒนธรรมที่เราสร้างขึ้นด้วยความพยายามอย่างไม่
รู้จกั เหนด็ เหนอ่ื ยนอกจากน้ยี ังหวังวา่ จะมสี ว่ นร่วมในสนั ติภาพของโลกและเพอ่ื พฒั นาสวัสดิภาพของมนุษยชาติ

เพื่อให้ตระหนักถึงอุดมคติเหล่านี้เราจะดำเนินการศึกษาที่ให้ความสำคัญกับศักดิ์ศรีของแต่ละบุคคลที่
พยายามปลูกฝังคนที่ร่ำรวยด้วยความเป็นมนุษย์และความคิดสร้างสรรค์ที่ปรารถนาความจริงและความยุติธรรม
และผูท้ ใ่ี หเ้ กียรติจติ วญิ ญาณสาธารณะทสี่ ่งต่อประเพณแี ละมีจุดมงุ่ หมายเพ่ือ สร้างวฒั นธรรมใหม่

เราจึงออกพระราชบญั ญตั ิน้ีตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญของญ่ปี นุ่ เพ่ือสร้างรากฐานของการศึกษา
และส่งเสรมิ การศึกษาทเ่ี ปิดทางไปสอู่ นาคตของประเทศของเรา

บทท่ี 1 จดุ มงุ่ หมายและหลกั การศึกษา
จุดมงุ่ หมายของการศึกษา

มาตรา 1 การศึกษาต้องจดั ใหม้ จี ดุ ม่งุ หมายในการพฒั นาคณุ ลักษณะของแตล่ ะบุคคลอยา่ งเตม็ ทใ่ี นขณะท่ี
เราพยายามปลูกฝังคนที่มีจิตใจและร่างกายที่ดีและเต็มไปด้วยคุณสมบัติที่จำเป็นสำหรับคนที่ประกอบกันเป็น
ประเทศท่สี งบสุขและเป็นประชาธิปไตยและ สงั คม.

วัตถปุ ระสงคข์ องการศกึ ษา

ข้อ 2 เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายดังกล่าวการศึกษาจะต้องจัดให้มีขึ้นในลักษณะที่จะบรรลุวัตถุประสงค์
ดงั ตอ่ ไปนีใ้ นขณะที่เคารพเสรภี าพทางวิชาการ

1. ให้นักเรียนได้รับความรู้และวัฒนธรรมที่หลากหลายส่งเสริมคุณค่าของการแสวงหาความจริงและ
ปลกู ฝังความมสี ตสิ ัมปชญั ญะและความสำนึกในคณุ ธรรมตลอดจนการเสริมสร้างสขุ ภาพรา่ งกาย

2. การพัฒนาความสามารถของแต่ละบุคคลการปลูกฝังความคิดสร้างสรรค์และการเสริมสร้างจิต
วิญญาณแห่งความเป็นอิสระและความเป็นอิสระโดยเคารพในคุณค่าของแต่ละบุคคลรวมทั้งเน้นความสัมพันธ์
ระหว่างอาชีพการงานกับชีวติ ประจำวนั ของตนและส่งเสริมคุณค่าของการเคารพการทำงานหนัก

217

3. ส่งเสรมิ คุณค่าของการเคารพความยุตธิ รรมความรบั ผิดชอบความเสมอภาคระหวา่ งชายและหญิงการ
เคารพและความร่วมมือซง่ึ กนั และกันตลอดจนคณุ ค่าของการมสี ่วนร่วมอย่างแขง็ ขันในการสร้างสงั คมของเราและ
มสี ่วนในการพัฒนาในจติ วิญญาณสาธารณะ

4. ส่งเสริมคุณค่าของการเคารพชีวิตห่วงใยธรรมชาติและปรารถนาที่จะมีส่วนร่วมในการรักษา
สงิ่ แวดล้อม และ

5. ส่งเสริมคุณค่าของการเคารพประเพณีและวัฒนธรรมและความรักของประเทศและภูมิภาคที่เลี้ยงดู
เราตลอดจนคุณค่าของการเคารพประเทศอื่น ๆ และความปรารถนาที่จะมีส่วนร่วมในสันติภาพของโลกและการ
พัฒนาของประชาคมระหวา่ งประเทศ

แนวคดิ การเรียนร้ตู ลอดชีวิต
ข้อ 3 สังคมจะต้องถูกนำมาสู่การเป็นที่ซึ่งผู้คนสามารถเรียนรู้ต่อไปได้ตลอดชีวิตในทุกโอกาสและทุก

สถานท่ีและพวกเขาสามารถประยุกต์ใช้ผลลัพธ์ของการเรยี นรู้ตลอดชวี ิตเพื่อขัดเกลาตนเองและนำไปสู่ชีวิตที่เติม
เตม็ ไดอ้ ย่างเหมาะสม

โอกาสท่เี ท่าเทียมกนั ในการศึกษา
ขอ้ 4 ประชาชนจะต้องได้รบั โอกาสทเี่ ท่าเทียมกนั ในการได้รบั การศกึ ษาท่เี หมาะสมกบั ความสามารถของ

ตนและจะต้องไม่ถูกเลือกปฏิบัติในการศึกษาเนื่องจากเชื้อชาติความเชื่อเพศสถานะทางสงั คมฐานะทางเศรษฐกจิ
หรอื ท่ีมาของครอบครัว

1. รัฐบาลระดับชาตแิ ละระดับทอ้ งถิ่นจะต้องใหก้ ารสนับสนุนดา้ นการศึกษาที่จำเป็นเพื่อให้แน่ใจวา่ คน
พกิ ารได้รับการศกึ ษาที่เพียงพอตามระดับความพกิ ารของพวกเขา

2. รัฐบาลระดับชาติและระดับท้องถิ่นจะต้องดำเนินมาตรการเพื่อให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้ท่ี
แมจ้ ะมีความสามารถ แต่กป็ ระสบปัญหาในการไดร้ บั การศกึ ษาดว้ ยเหตผุ ลทางเศรษฐกิจ

บทที่ 2 ความร้พู ื้นฐานเกย่ี วกับการจดั การศึกษา
การศึกษาภาคบงั คับ

มาตรา 5 ประชาชนมีหน้าที่ต้องให้เด็กที่อยู่ภายใต้การคุ้มครองของพวกเขาได้รับการศึกษาทั่วไปตาม
บทบญั ญตั ิของพระราชบญั ญัตอิ ่นื ๆ

1. การศึกษาทั่วไปที่จัดให้มีขึ้นในรูปแบบของการศึกษาภาคบังคับมีวัตถุประสงค์เพื่อปลูกฝังรากฐาน
สำหรับชีวิตที่เป็นอิสระในสังคมในขณะที่พัฒนาความสามารถของแต่ละคนและยังมีจุดมุ่งหมายเพื่อส่งเสริม
คุณสมบตั ิพนื้ ฐาน ทจ่ี ำเป็นสำหรับคนทป่ี ระกอบกันเป็นประเทศและสังคมของเรา

2. เพอื่ ประกันโอกาสในการศึกษาภาคบังคับและให้มีมาตรฐานทีเ่ พยี งพอรัฐบาลระดบั ชาตแิ ละท้องถิ่นมี
หน้าทีร่ บั ผดิ ชอบในการดำเนินการจัดการศึกษาภาคบังคบั ผ่านการแบ่งปันบทบาทท่เี หมาะสมและความร่วมมือซ่ึง
กันและกัน

3. ไมม่ กี ารเรยี กเก็บค่าเล่าเรียนสำหรับการศกึ ษาภาคบงั คบั ในโรงเรียนท่ีจดั ต้ังโดยรัฐบาลระดับชาติและ
ระดับท้องถ่ิน

218

การศึกษาในโรงเรยี น

ข้อ 6 โรงเรียนทกี่ ฎหมายกำหนดมีลักษณะเปน็ สาธารณะและมเี พียงรัฐบาลระดับชาติและระดับท้องถิ่น
และคณะนิตศิ าสตรท์ ก่ี ฎหมายกำหนดเทา่ น้ันที่จะจดั ตัง้ ได้

1. เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงคข์ องการศึกษาโรงเรียนที่อ้างถึงในวรรคก่อนหน้าจะต้องจัดการศึกษาอย่าง
มีแบบแผนในรูปแบบที่เป็นระบบระเบียบที่เหมาะสมกับพัฒนาการทางจติ ใจและร่างกายของผู้ไดร้ ับการศึกษาน้ัน
ในการนี้การศึกษาจะต้องไดร้ ับการปลูกฝงั ความเคารพในระเบียบวินัยที่จำเป็นในการจดั การชวี ติ ในโรงเรียนของผู้
ที่ได้รับการศกึ ษานน้ั และเน้นใหพ้ วกเขาเสริมสรา้ งแรงจูงใจในการเรยี น

มหาวิทยาลยั

ข้อ 7 มหาวิทยาลัยในฐานะแกนกลางของกิจกรรมทางวิชาการคือการมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมโดย
การปลกู ฝงั ความรู้ข้นั สงู และทักษะเฉพาะทางสอบถามความจริงอย่างลึกซึ้งเพื่อสรา้ งความรู้ใหม่และเสนอผลของ
ความพยายามเหล่าน้ใี หก้ บั สงั คมในวงกวา้ ง

1. ความเปน็ อิสระของมหาวิทยาลัยความเป็นอิสระและลักษณะเฉพาะอนื่ ๆ ของการศึกษาและการวิจัย
ของมหาวิทยาลยั ต้องได้รบั การเคารพ

โรงเรยี นเอกชน

มาตรา 8 โดยคำนึงถึงลักษณะสาธารณะของโรงเรียนที่จัดตั้งขึ้นโดยเอกชนและบทบาทสำคัญใน
การศึกษาของโรงเรียนรัฐบาลทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่นจะต้องพยายามส่ง เสริมการศึกษาในโรงเรียน
เอกชนดว้ ยเงินอุดหนุนและวิธีการอ่ืน ๆ ทเี่ หมาะสมในขณะท่เี คารพในความเปน็ อสิ ระของโรงเรียน

ครู

ขอ้ 9 ครูของโรงเรียนท่กี ฎหมายกำหนดจะตอ้ งพยายามทำหน้าที่ของตนใหส้ ำเร็จในขณะทยี่ ังคงตระหนัก
ถงึ ธรรมชาติอนั สงู สง่ ของการเรียกร้องของพวกเขาและอทุ ิศตนให้กบั การคน้ ควา้ และพฒั นาตนเองอยา่ งต่อเนื่อง

1. ในการพิจารณาถึงความสำคัญของการเรียกร้องและหน้าที่ของครูที่อ้างถึงในย่อหน้าก่อนหน้าน้ี
สถานะของครูจะต้องได้รับการเคารพการปฏิบัติที่เป็นธรรมและเหมาะสมของพวกเขาและต้องใช้มาตรการเพื่อ
ปรับปรุงการศึกษาและการฝึกอบรมของพวกเขา .

การศึกษาในครอบครวั

มาตรา 10 มารดาบิดาและผูป้ กครองคนอื่น ๆ ซึ่งมหี นา้ ที่หลักในการศึกษาของบุตรหลานของตนจะต้อง
พยายามสอนนิสัยที่จำเป็นสำหรับชีวิตให้พวกเขาส่งเสริมใหม้ ีจิตวิญญาณแห่งความเป็นอสิ ระและดูแลพัฒนาการ
ทส่ี มดุลของร่างกายและจติ ใจของพวกเขา

1. รัฐบาลระดับชาติและระดับท้องถิ่นจะพยายามดำเนินมาตรการที่จำเป็นเพื่อสนับสนุนการศึกษาใน
ครอบครัวเช่นการให้โอกาสผู้ปกครองของเด็กในการเรียนรู้และรับข้อมูลในขณะที่เคารพความเป็นอิสระใน
การศึกษาของครอบครัว

การศึกษาปฐมวัย

219

มาตรา 11 ในการพิจารณาถึงความสำคัญของการศึกษาปฐมวัยเป็นพื้นฐานในการสร้างตัวละครตลอด
ชีวิตรัฐบาลระดับชาติและระดับท้องถิ่นจะพยายามส่งเสริมการศึกษาดังกล่าวโดยจัดให้มีสภาพแวดล้อมท่ี
เอ้ืออำนวยตอ่ การเติบโตอย่างมีสขุ ภาพดขี องเด็กเล็กและโดย วิธกี ารอืน่ ท่ีเหมาะสม

การศึกษาทางสงั คม

มาตรา 12 รฐั บาลระดับชาตแิ ละระดับท้องถ่ินจะต้องส่งเสริมการศึกษาทเี่ กดิ ขึ้นภายในชุมชนและสังคม
เพอ่ื ตอบสนองต่อความต้องการของบคุ คลและของชุมชนและสังคมโดยรวม

(2) รัฐบาลระดับชาติและระดับท้องถิ่นจะพยายามส่งเสริมการศึกษาทางสังคมโดยการจัดตั้งห้องสมุด
พิพิธภัณฑ์ห้องโถงชุมชนและสิ่งอำนวยความสะดวกอื่น ๆ สำหรับการศึกษาทางสังคมโดยใช้สิ่งอำนวยความ
สะดวกของโรงเรียนโดยใหโ้ อกาสในการเรียนร้แู ละขอ้ มลู ทีเ่ ก่ียวข้องและในรปู แบบอืน่ ๆ ทีเ่ หมาะสม
(ความรว่ มมอื และความรว่ มมอื ระหวา่ งโรงเรียนครอบครวั และผอู้ ยู่อาศยั ในท้องถน่ิ )

มาตรา 13 โรงเรียนครอบครัวผู้อยู่อาศัยในท้องถิ่นและบุคคลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องจะต้องรักษาความ
ตระหนักในบทบาทและความรับผิดชอบของแต่ละฝ่ายเกี่ยวกับการศึกษาตลอดจนพยายามพัฒนาความร่วมมือ
ระหวา่ งกนั และร่วมมอื กนั

การศกึ ษาทางการเมอื ง

มาตรา 14 ความรู้ทางการเมอื งท่ีจำเปน็ สำหรบั การเป็นพลเมอื งที่สมเหตุสมผลตอ้ งไดร้ ับการประเมินคา่
ในการศึกษา

1. โรงเรียนท่ีกฎหมายกำหนดจะต้องละเว้นจากการศกึ ษาทางการเมืองเพื่อสนับสนนุ หรือต่อตา้ นพรรค
การเมืองใด ๆ และจากกิจกรรมทางการเมืองอนื่ ๆ

การศกึ ษาศาสนา

มาตรา 15 ความอดทนทางศาสนาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศาสนาและจุดยืนของศาสนาในชีวิตทางสังคม
จะตอ้ งมีคุณคา่ ในการศึกษา

1. โรงเรียนที่จัดตั้งโดยรัฐบาลระดับชาติและระดับท้องถิ่นจะต้องละเว้นจากการศึกษาทางศาสนาเพ่ือ
สนับสนนุ ศาสนาใดศาสนาหนึ่งและจากกิจกรรมทางศาสนาอืน่ ๆ

บทท่ี 3 การบรหิ ารการศึกษา
การบรหิ ารการศกึ ษา

มาตรา 16 การศึกษาต้องไม่อยู่ภายใต้การควบคุมที่ไม่เหมาะสมและจะต้องจัดให้เป็นไปตาม
พระราชบัญญัตินี้และพระราชบัญญัติอื่น ๆ การบริหารการศึกษาต้องดำเนินไปอย่างยุติธรรมและเหมาะสมผ่าน
การแบง่ ปันบทบาทและความรว่ มมือที่เหมาะสมระหวา่ งรัฐบาลระดบั ชาติและระดบั ท้องถ่ิน

220

1. รัฐบาลแห่งชาติจะต้องกำหนดและดำเนินมาตรการทางการศึกษาอย่างครอบคลุมเพื่อให้มีโอกาสที่
เท่าเทยี มกนั ทางการศึกษาและเพอ่ื รักษาและเพิ่มมาตรฐานการศึกษาท่วั ประเทศ

2. รัฐบาลท้องถิ่นจะกำหนดและดำเนินมาตรการทางการศึกษาที่สอดคล้องกับสถานการณ์ในภูมิภาค
เพอ่ื ส่งเสรมิ การศึกษาในภูมิภาคของตน

3. รัฐบาลระดับชาติและระดับท้องถิ่นจะต้องดำเนินมาตรการทางการคลงั ทีจ่ ำเปน็ เพื่อให้แน่ใจว่ามีการ
จัดการศึกษาอยา่ งราบรืน่ และต่อเน่อื ง
แผนพื้นฐานส่งเสรมิ การศึกษา

มาตรา 18 เพื่ออำนวยความสะดวกในการดำเนินนโยบายส่งเสริมการศึกษาอย่างครอบคลุมและเป็น
ระบบรฐั บาลต้องจดั ทำแผนขนั้ พื้นฐานท่ีครอบคลุมหลกั การพืน้ ฐานมาตรการทีต่ ้องดำเนนิ การและรายละเอียดอ่ืน
ใดทจ่ี ำเปน็ ของนโยบายส่งเสริมการศกึ ษาและจะต้องรายงานเร่ืองน้ี วางแผนที่จะไดเอทและเปิดเผยต่อสาธารณะ

1. รัฐบาลท้องถิ่นจะปรึกษาแผนที่กำหนดไว้ในย่อหน้าก่อนหน้านี้และพยายามจัดทำแผนพื้นฐานท่ี
สอดคล้องกบั สถานการณ์ในภมู ภิ าคสำหรับนโยบายส่งเสรมิ การศึกษา

บทท่ี 4 การตรากฎหมายและขอ้ บงั คับ

มาตรา 18 ต้องตรากฎหมายและข้อบงั คบั ทจี่ ำเปน็ ในการดำเนินการตามบทบญั ญตั ิท่กี ำหนดไว้ใน
พระราชบัญญตั ินี้ (กองวางแผนและประสานงานนโยบายสำนกั นโยบายการเรียนร้ตู ลอดชีวิต)
(อ้างองิ : กระทรวงศกึ ษาธิการและวัฒนธรรม. (2549). พระราชบัญญตั ิการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน (พระราชบญั ญัติ
ฉบบั ที่ 120 วันท่ี 22 ธนั วาคม 2549). สืบค้นเมอ่ื วันที่ 1 มีานคม 2564.)

221

สรุป
กฎหมายการศึกษา

พระราชบญั ญตั ฉิ บบั น้ีตราขึน้ เมื่อเพ่ือมุง่ คุ้มครองสิทธิให้แกเ่ ดก็ หรือเยาวชนในด้านการศึกษา โดยเด็ก ทุก
คนจะต้องได้รับการศึกษาตามหลักสูตรที่กระทรวงกำหนดไว้เป็นมาตรฐาน โดยผู้ปกครองต้องเป็น ผู้รับผิดชอบ
ดูแลหรอื ในกรณีท่เี ดก็ ไม่มีผูป้ กครองเจา้ หน้าทจี่ ะตอ้ งดูแล หากปลอ่ ยปะละเลยจะมีบทลงโทษแกผ่ ู้ น้ัน นับว่าเป็น
พระราชบัญญัติฉบับหนึ่งของไทยที่คุ้มครองและส่งเสริมสิทธิในด้านการศึกษาอย่างเต็มที่ เนื่อง ด้วยเด็ก
เปรียบเสมอื นเป็นกำลังสำคญั ของชาติทจ่ี ะต้องเติมโตไปเป็นผูใ้ หญ่ท่ีดี หากไมไ่ ด้รับการศกึ ษาอย่าง ถูกต้อง เด็กก็
จะไม่มีความรเู้ พื่อน าไปพฒั นาประเทศชาติและเลี้ยงตนเอง

กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ ได้กำหนดกรอบการบริหารและการจัดการศึกษาของ เอกชนให้มี
ความเป็นอิสระ โดยมีการกำกับ ติดตามการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาจากรัฐ เพื่อให้ สถานศึกษา
ของเอกชนท่จี ัดการศึกษาระดับปริญญาดำเนนิ กิจการไดโ้ ดยอิสระ สามารถพฒั นาระบบบรหิ าร และการจัดการที่
เป็นของตนเอง มีความคล่องตวั มีเสรีภาพทางวิชาการและอยู่ภายใตก้ ารกำกับดูแลของ สภาสถานศึกษา และได้
กำหนดให้มีคณะกรรมการอุดมศึกษา เพื่อทำหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการ
อุดมศึกษาของรัฐและเอกชนรวมทั้งเพื่อเป็นการสนับสนุนสถาบันอุดมศึกษาเอกชนให้ธำรง รักษามาตรฐาน
การศึกษาให้เหมาะสมยิ่งขึน้ มีความมั่นคงและเอื้ออำนวยต่อการขยายกจิ การในการจัดการ อุดมศึกษาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ

222

เอกสารอา้ งองิ

ภาษาไทย
หนังสอื
การครุ สุ ภาคร้งั ที่ 6/2548 วนั ท่ี 18 เมษายน 2548
กำธร พันธ์ุลาภ. (2562). "กฎกระทรวง". สารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑติ ยสถาน, (เล่ม 2 : ก-กลากเหล็ก).

(พิมพ์ครัง้ ท่สี าม). กรงุ เทฯ : ไพศาลศลิ ป์การพิมพ์. หนา้ 27-38.
จิตติ ติงศภัทยิ ์.(2546). กฎหมายอาญา ภาค 1. กรุงเทพมหานคร. เนตบิ ัณฑติ ยสภา.
ดวงพร เพชรคง.(2559). กฎหมายกบั การกระทำความผดิ ของเด็กและเยาวชน
บวรศกั ด์ิ อวุ รรณโณ,กฎหมายมหาชน เลม่ 3 ทม่ี าและนิติวิธี,กรุงเทพ,สำนักพิมพน์ ิตธิ รรม,พมิ พ์ครง้ั ท่ี1,2538
ใจจริง, ณฐั พล (2556). ขอฝันใฝ่ในฝนั อนั เหลอื เชื่อ: ความเคลอ่ื นไหวของขบวนการปฏิปักษ์ปฏวิ ัติสยาม (พ.ศ.

2475-2500) (1 ed.). ฟ้าเดียวกัน.

ปรดี ี หงษ์สตน้ . “เชอื ดไกใ่ หล้ ิงดู: รฐั ไทยกับการทำลายศัตรูด้วยนาฏกรรม.” วารสารประวตั ิศาสตร์
ธรรมศาสตร์ 1, 2 (ต.ค. 2557-มี.ค. 2558), หน้า 43-99.

ฟ้าดาว อ่อนกลนั่ .(2535). สทิ ธเิ ด็กตามบทบัญญตั ขิ องรัฐธรรมนญู
ราชกจิ จานเุ บกษา ,เลม่ 122 ตอนพิเศษ 35 ง ,หนา้ 18
เวบ็ ไซต์
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและวฒั นธรรม. (2549). กฎหมายสำคญั เกีย่ วกบั การศึกษา. สืบค้นเมอื่ วนั ท่ี 9 มาี นคม

2564. จากเว็บไซต:์ https://minedu.fi/yleissivistava-koulutus-lainsaadanto
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและวฒั นธรรม. (2549). พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาข้ันพ้นื ฐาน (พระราชบัญญัตฉิ บับท่ี 120

วนั ท่ี 22 ธนั วาคม 2549). สบื คน้ เมือ่ วนั ที่ 9 มีานคม 2564. จาก
เว็บไซต:์ https://www.mext.go.jp/en/policy/education/lawandplan/title01/detail01/137
3798.htm
คณะกรรมการอสิ ระเพ่ือการปฏิรูปการศกึ ษา, ปี 2562, แผนการปฏริ ปู ประเทศด้านการศึกษา. (ออนไลน์). จาก
เวบ็ ไซต์: http://backoffice.onec.go.th/uploads/Book/1699-file.pdf
ทวีเกียรติ มนี ะกนิษฐ. ประมวลกฎหมายอาญา ฉบบั อ้างองิ . https://nisaratpalm.wordpress.com/

223

รวมความเหน็ นักวชิ าการ คดีหมิน่ ฯ ร.4.จาก
เวบ็ ไซต:์ https://www.law.cmu.ac.th/law2011/journal/e1473343066.pdf

รศ.ดร.ไพศาล ไกรสทิ ธิ์, ปี 2562, การปฏิรปู การศึกษาเป็นอยา่ งไร (ออนไลน์).จากเวบ็ ไซต์
: https://paisarnkr.blogspot.com/2019/08/blog-post_12.html

รศ.ดร.ไพศาล ไกรสทิ ธิ์, ปี 2562, การปฏิรูปการศึกษาไทยปี พ.ศ. 2517. (ออนไลน์),
จากเว็บไซต์ https://paisarnkr.blogspot.com/2019/08/2517.html

สิปปนนต์ เกตุทัต, (2545). จากอดีตและปจั จบุ ัน สูอ่ นาคตการปฏริ ูปการศึกษาไทยสสู่ งั คมแหง่ ปัญญาและการ
เรียนรู้. วารสารราชภัฏเพชรบรุ ี. 10. หนา้ 45-56
จากเวบ็ ไซต์ : https://lib.dpu.ac.th//upload/content/file/pdf_file/10_2_2544.pdf

วชิญ์ รตั นสทุ ธิกลุ วิทยากรชำนาญการและ สริ นิ ทรา ขวญั สงา่ . (2546). กฎหมายด้านการศึกษา และที่
เกยี่ วขอ้ ง. สบื ค้นเมื่อวนั ท่ี 9 มาี นคม 2564. จาก
เว็บไซต:์ https://www.parliament.go.th/ewtcommittee/ewt/edu/download/article/article
_20141126092444.pdf

วนิ ยั และจรรยาบรรณวิชาชพี คร.ู สืบคน้ เมือ่ วนั ที่ 4 มีนาคม 2564. จากเวบ็ ไซต์ :
http://1.179.134.197/TEPE/A23/subject03/content4/index.php

ศูนย์บรหิ ารกฎหมายสาธารณสขุ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข . จากเว็บไซต์ :
http://laws.anamai.moph.go.th/index.htm

224

บทที่ 9

การเปน็ แบบอย่างท่ีดี มีคณุ ธรรม จริยธรรม เป็นพลเมอื งทีเ่ ขม้ แข็ง ดำรงตนให้เปน็ ที่
เคารพศรทั ธาของผเู้ รยี นและสมาชิกในชมุ ชน

ความหมายคุณธรรม

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ใหค้ วามหมายว่า คุณธรรม หมายถึง"สภาพคุณงามความดี"
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ยุตโต) (2540:14) ได้กล่าวว่าคุณธรรมเป็น ภาพของจิตใจกล่าวคือคุณสมบัติที่

เสริมสรา้ งจติ ใจให้ดงี าม ให้เปน็ จติ ใจทส่ี ูง ประณีตและประเสรฐิ เช่น เมตตา กรณุ า มุทิตา อุเบกขา จาคะ
พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร ธมมจิตโต)(2538:15-16) กล่าวว่า คุณธรรมคือคุณสมบัติที่ดีของจิตใจ ถ้า

ปลูกฝังเรอื่ งคณุ ธรรมไดจ้ ะเปน็ พื้นฐานจรรยาบรรณ
วศิน อนิ ทสระ (2541: 106,113) กลา่ วตามหลักจรยิ ศาสตรว์ ่า คุณธรรม คอื อุปนิสัยอันดงี ามซ่งึ สั่งสมอยู่

ในดวงจติ อุปนิสยั อนั นี้ไดม้ าจากความพยายามและความประพฤติตดิ ตอ่ กันมาเป็นเวลานาน
พระวิจิตรธรรมาภรณ์ (2558) กล่าวว่า คุณธรรม คือ ความดีงามที่ถูกปลูกฝังขึ้นในจิตใจ มีความกตัญญู

ขยัน ประหยัด ซ่ือสัตย์ สามัคคี มวี นิ ยั มนี ำ้ ใจ และ เปน็ สุภาพชน เป็นต้น จนเกดิ จติ สำนกึ ทดี่ ี รู้สึกรับผิดชอบ ชั่ว
ดี เกรงกลวั ตอ่ การกระทำความชวั่ โดยประการต่างๆ เม่อื จติ เกิดคุณธรรมขึ้นแล้ว จะทำให้เป็นผู้มีจิตใจดี และคิด
แตส่ ิ่งท่ีดี จึงไดช้ อ่ื ว่า "เปน็ ผู้มคี ุณธรรม"

จะเห็นว่าคุณธรรม หมายถึง หลักของความดี ความงาม ความถูกต้องในการแสดงออกทั้งกาย วาจา ใจ
ของแต่ละบุคคลซึ่งยึดม่ันไว้เป็นการประพฤติปฏิบัตจิ นเกิดเป็นนิสัยซึง่ อาจส่งผลให้การอยูร่ ว่ มกันในสังคมอย่างมี
ความสุขจะทำใหเ้ กิดประโยชน์ตอ่ ตนเองและสังคม

คุณธรรม (Morality /Virtue)และจริยธรรม (Ethic) เป็นคำศัพท์ที่มีความหมายใกล้เคียงกันทั้งใน
ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ตามทบี่ ญั ญตั ไิ วใ้ น (พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน,2552)
"คณุ ธรรม" หมายถึง สภาพคณุ งามความดี เป็นสภาพคุณงามความดที างความประพฤตแิ ละจิตใจ ซึ่งสามารถแยก
ออกเปน็ 2 ความหมาย คอื

1. ความประพฤติดีงาม เพื่อประโยชน์สุขแก่ตนและสังคม ซึ่งมีพื้นฐานมาจากหลักศีลธรรมทางศาสนา
คา่ นยิ มทางวฒั นธรรม ประเพณี หลกั กฎหมาย จรรยาบรรณวิชาชีพ

225

2. การรู้จักไตร่ตรองว่าอะไรควรทำ ไม่ควรทำ และอาจกล่าวได้ว่า คุณธรรม คือจริยธรรมแต่ละข้อที่
นำมาปฏิบตั จิ นเป็นนสิ ัย เช่น เป็นคนชื่อสตั ย์ เสียสละ อดทน มคี วามรบั ผิดชอบ

นอกจากนี้ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ พ.ศ.2550 ลงวันท่ี 13
กรกฎาคม พ.ศ.2550 " ซึ่งได้ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เมื่อวันท่ี ๒5 กรกฎาคม 2550 ได้กำหนดความหมาย
ของ "คุณธรรม" ว่า หมายถึง สิ่งที่มีคณุ ค่า มีประโยชน์ เป็นความดีงาม เป็นมโนธรรม เป็นเคร่ืองประคับประคอง
ใจใหเ้ กลยี ดความช่ัว กลัวบาป ใฝ่ความดี เป็นเครอื่ งกระตุ้นผลักดนั ให้เกดิ ความรู้สึกรับผิดชอบ เกิดจิตสำนึกท่ีดีมี
ความสงบเย็นภายใน เป็นส่งิ ท่ตี ้องปลกู ฝงั โดยเฉพาะเพ่อื ให้เกดิ ขน้ึ และเหมาะสมกบั ความตอ้ งการในสงั คมไทย

สุทัศน์พงษ์ กุลบุตร. (2550) กระทวงศึกษาธิการ ได้ประกาศนโยบายเร่งรัดการปฏิรูปการศึกษา โดยยืด
คุณธรรมนำความรู้ สรา้ งความตระหนกั สำนึกในคุณคำของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ความสมานฉนั ท์ สันติวิธี วิถี
ประชาธิปไตย พัฒนาคนโดยใช้คุณธรรมเป็นพื้นฐานของกระบวนการเรียนรู้ที่เชื่อมโยง ความร่วมมือของสถาบัน
ครอบครวั ชุมชน สถาบันศาสนา และสถาบนั การศกึ ษา โดยมจี ุดเนน้ เพอ่ื พัฒนาเยาวชนใหเ้ ปน็ คนดี มคี วามรู้ และ
อยดู่ มี สี ุข

ดังนั้น เพื่อให้การขับเคลื่อนดังกล่าวมีความชัดเจน เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และสามารถนำไปสู่การ
ปฏิบตั ิไดอ้ ยา่ งเปน็ รปู ธรรมด้วย "คณุ ธรรมพ้ืนฐาน 8 ประการ" ทค่ี วรเรง่ ปลกู ฝงั แก่ผู้เรียน ดงั น้ี

1. ขยัน คือ ความตั้งใจเพียรพยายามทำหน้าที่การงานอย่างตอ่ เนื่อง สม่ำเสมอ อดทนไม่ท้อถอยเมื่อพบ
อุปสรรค ความขยันต้องควบคู่กับการใช้ปัญญา แก้ปัญหาจนเกิดผลสำเร็จตามความมุ่งหมายผู้ที่มีความขยัน คือ
ผู้ที่ตั้งใจทำอย่างจริงจังต่อ เนื่องในเรื่องที่ถูกที่ควร เป็นคนสู้งาน มีความพยายาม ไม่ท้อถอย กล้าเผชิญอุปสรรค
รกั งานที่ทำ ตงั้ ใจทำหนา้ ทอี่ ย่างจรงิ จงั

2. ประหยดั คอื การรู้จักเกบ็ ออม ถนอมใช้ทรัพย์สิน สง่ิ ของให้เกิดประโยชน์คุม้ ค่า ไม่ฟุ่มเฟือยฟุ้งเฟ้อ ผู้
ทม่ี ีความประหยัด คือ ผทู้ ี่ดำเนนิ ชีวิตเรยี บง่าย ร้จู กั ฐานะการเงินของตน คิดกอ่ นใช้ คดิ กอ่ นซ้ือ เก็บออม ถนอมใช้
ทรพั ยส์ ินสงิ่ ของอย่างคุ้มคา่ รจู้ กั ทำบัญชรี ายรับ-รายจ่ายของตนเองอยเู่ สมอ

3. ซ่อื สัตย์ คอื ประพฤติตรง ไมเ่ อนเอยี ง ไม่มเี ลห่ ์เหล่ยี ม มีความจริงใจ ปลอดจากความรู้สึกลำเอียงหรือ
อคติ ผทู้ ่ีมีความซื่อสตั ย์ คอื ผู้ท่มี คี วามประพฤติตรง ท้งั ต่อหนา้ ท่ี ตอ่ วิชาชพี ตรงตอ่ เวลา ไม่ใช้เลห่ ์กล คดโกง ทั้ง
ทางตรงและทางอ้อม รับรูห้ นา้ ท่ขี องตนเองและปฏิบัตอิ ยา่ งเต็มท่ถี กู ต้อง

4. มีวินัย คือ การยึดมั่นในระเบียบแบบแผน ข้อบังคับ และข้อปฏิบัติ ซึ่งมีทั้งวินัยในตนเองและวินัยต่อ
สังคม ผทู้ ีม่ วี นิ ัย คือ ผทู้ ป่ี ฏบิ ตั ิตนในขอบเขต กฎระเบียบของสถานศกึ ษา สถาบนั /องค์กร/สงั คมและประเทศ โดย
ที่ตนเองยนิ ดีปฏิบัตติ ามอยา่ งเตม็ ใจและตัง้ ใจ

5. สุภาพ คือ เรียบร้อย อ่อนโยน ละมุนละม่อม มีกิริยามารยาทท่ีดงี าม มีสัมมาคารวะ ผู้ที่มีความสุภาพ
คือ ผู้ที่อ่อนน้อมถ่อมตนตามสถานภาพและกาลเทศะ ไม่ก้าวร้าว รุนแรง วางอำนาจข่มผู้อื่น ทั้งโดยวาจาและ
ทา่ ทาง แต่ในเวลาเดียวกนั ยังคงมีความมน่ั ใจในตนเอง เป็นผูท้ มี่ มี ารยาท วางตนเหมาะสมตามวัฒนธรรมไทย

226

6. สะอาด คือ ปราศจากความมัวหมอง ทั้งกาย ใจ และสภาพแวดล้อม ความผ่องใส เป็นที่เจริญตา ทำ
ให้เกิดความสบายใจแก่ผู้พบเห็น ผู้ที่มีความสะอาด คือ ผู้รักษาร่างกาย ที่อยู่อาศัย สิ่งแวดล้อมถูกต้องตาม
สุขลกั ษณะ ฝึกฝนจิตใจมิให้ขนุ่ มัว มคี วามแจม่ ใสอยู่เสมอ

7. สามัคคี คือ ความพร้อมเพรียงกัน ความกลมเกลียวกัน ความปรองดองกัน ร่วมใจกันปฏิบัติงานให้
บรรลุผลตามที่ต้อง การเกิดงานการอย่างสร้างสรรค์ ปราศจากกรทะเลาะวิวาท ไม่เอารัดเอาเปรียบกัน เป็นการ
ยอมรบั ความมีเหตผุ ล ยอมรับความแตกต่างหลากหลายทางความคดิ ความหลากหลายในเร่ืองเชอ้ื ชาติ ความกลม
เกลียวกนั ในลักษณะเชน่ น้ี เรียกอกี อยา่ งวา่ ความสมานฉนั ท์

8. มีน้ำใจ คือ ความจริงใจที่ไม่เห็นแก่เพียงตัวเองหรือเรื่องของตัวเอง แต่เห็นอกเห็นใจ เห็นคุณค่าใน
เพื่อนมนุษย์ มีความเอื้ออาทร เอาใจใส่ ให้ความสนใจในความต้องการ ความจำเป็น ความทุกข์สุขของผู้อื่น และ
พร้อมทจ่ี ะใหค้ วามชว่ ยเหลือเกอื้ กูลกันและกนั ผทู้ ่ีมีน้ำใจ คือ ผใู้ หแ้ ละผู้อาสาช่วยเหลอื สังคม

อ้างองิ : https://www.thaisuprateacher.org

คุณธรรมสำหรับครู

คุณธรรม (Virtue หรอื Morality) เป็นสภาพคณุ งามความดีทอ่ี ย่ปู ระจำใจของแต่ละคนเป็นความรู้สึกผิด
ชอบชว่ั ดี ที่เกดิ ขึ้นจากการเรียนรู้ การวเิ คราะห์ พจิ ารณาไตร่ตรองแล้วพบว่าสิง่ ใดดี สง่ิ ใดไมด่ ี ส่งิ ใดควรปฏบิ ตั ิ สิง่
ใดไม่ควรปฏิบัติ สิ่งใดถูกต้อง สิ่งใดไม่ถูกต้อง เป็นต้น เมื่อพิจารณาไตร่ตรองแล้วจึงนำมาปฏบิ ัติในชีวิตประจำวนั
เพื่อให้ชีวิตดำเนินไปอย่างถูกต้อง มีความสุขและยุติธรรม เรามักพบเสมอว่า คนที่มีคุณธรรมจะรักษาความ
ยุติธรรม และมีเมตตาต่อคนอื่นเสมออาชีพครูได้รับการยกย่องว่าเป็นวิชาชีพชั้นสูง เช่น เดียวกับผู้ที่ประกอบ
อาชีพแพทย์ ทนายความ

ดังนนั้ คนเป็นครคู งไมใ่ ชเ่ ปน็ เพียงเรือจา้ ง มหี นา้ ที่นำพาศิษย์ ข้ามไปสู่ฝังฝนั อยา่ งปลอดภัยเท่าน้นั (ทำให้
ศษิ ย์ซึ่งเปน็ ผู้ทีไ่ ม่รู้ ใหเ้ ป็นผรู้ ู้ ผู้ตืน่ ผเู้ บกิ บาน) ครใู นยุดนีต้ อ้ งเป็นคนทท่ี ันโลก ทนั สมยั ทนั เทคโนโลยี และทันการ
เปลี่ยนแปลง เป็นครูอาชีพไม่ใช่อาชีพครู ดังคำกล่าวที่พลเอกเปรม ติณสลานนท์ ประธานองคมนตรีและรัฐบุรษุ
กล่าวว่า"ครอู าชีพ คอื ครทู ีเ่ ปน็ ครดู ว้ ยใจรัก เปน็ ครดู ว้ ยจิตและวิญญาณ มคี วามเปน็ ครูทุกลมหายใจต้ังแต่เกิดจน
ตาย เป็นครูที่รักและหวงแหน ห่วงใยอาทรต่อนักเรียน ต่อศิษย์ดุจลูกในไส้ของตน จะทำทุกวิถีทางที่จะให้ศิษย์
เป็นคนดี ไม่ยินยอมให้ศิษย์เป็นคนไม่ดีเป็นอันขาด จะติดตามสอดส่องศิษย์ทุกเมื่อเชื่อวันโดยไม่ละทิ้ง และมี
ความสุขมากในการทีไ่ ด้เกิดมาเป็นครู รักเกียรติเทดิ ทนู สถาบันครอู ย่างภาคภูมิใจ ในขณะที่ อาชีพครู คือคนที่มา
ยึดการเป็นครูอาชีพเพื่อให้ได้ค่าตอบแทน ขาดจิตวิญญาณของความเป็นครู ซึ่งขณะนี้ครูของไทยมีลักษณะอาชีพ

227

ครูเป็นจำนวนมาก ถ้าไมไ่ ด้รับการแกไ้ ขจะเป็นเงื่อนไขทจ่ี ะทำลายความหวังของการปฏิรูปการศึกษา เพราะครูคือ
ความหวงั ที่จะนำส่คู วามสำเรจ็ ของการปฏริ ปู การศกึ ษา"

นอกจากจะต้องเป็นครูอาชีพแล้ว ครูต้องมีบทบาทหน้าที่ที่สำคัญในการอบรมสั่งสอนศิษย์ให้เป็นคนดี
คนเก่ง และมีความสขุ บทบาทหนา้ ท่นี ี้ รองศาสตราจารย์ รังสรรค์ แสงสขุ อดตี อธิการบดมี หาวทิ ยาลัยรามคำแหง
กลา่ ววา่ ครตู อ้ งเปน็ ผู้ให้ ผเู้ ดิมเตม็ และผมู้ เี มตตา คือ

ครูคอื ผู้ให้ ใหโ้ อกาส ให้ความคิด ใหช้ วี ติ ให้อภัย
ครูคอื ผูเ้ ตมิ เต็ม เต็มความรู้ เต็มประสบการณ์ เต็มสตปิ ญั ญา

ครคู อื ผู้มีเมตตา ต่อศษิ ย์ ตอ่ ญาติ ตอ่ มิตร ตอ่ ศตั รู
ครูที่จะเป็นครูอาชีพ เป็นผู้ให้ ผู้เติมเต็ม และผู้มีเมตตา ทำหน้าที่อบรม สั่งสอน ฝึกฝนศิษย์ให้เป็นคนดี
มีความรู้ อยู่ในสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสุขนนั้ จำเป็นตอ้ งมคี ณุ ธรรมประจำตน ในเรอื่ ง คณุ ธรรม ๔ ประการ ฆราวาส
ธรรม สัปปรุ ิสธรรม 7 และหิริ โอตตปั ปะ ดังน้ี

1. คุณธรรม 4 ประการ

ผู้ที่ประกอบอาชีพครูต้องน้อมนำพระราชดำรัสในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเมื่อคราวเสด็จพระราช
ดำเนนิ ทรงประกอบพระราชพธิ ีบวงสรงสมเดจ็ พระบรู พมหากษตั รยิ าธริ าชพระราชพิธีฉลองสริ ิราชสมบัติครบ 60
ปี เมอื่ วนั ท่ี 9 มิถุนายน 2445 ความวา่

คุณธรรม ซึ่งเป็นที่ตั้งของความรักความสามัคคี ที่ทำให้คนไทย เราสามารถร่วมมือร่วมใจกันรักษา และ
พัฒนาชาติบ้านเมืองให้เจริญรุ่งเรืองสืบต่อกันไปได้ตลอดรอดฝั่ง ประการแรก คือการที่ทุกคนคิดพูด ทำ ด้วย
ความเมตตามุ่งดีมุง่ เจริญต่อกัน ประการที่สอง คือการที่แต่ละคนต่างชว่ ยเหลือเก้ือกูลกัน ประสานงาน ประสาน
ประโยชน์กันให้งานที่ทำสำเร็จผล ทั้งแก่ตน แก่ผู้อื่น และกับประเทศชาติ ประการที่สาม คือ การที่ทุกคน
ประพฤติปฏิบัติคนอยู่ในความสุจริตในกฎกติกาและในระเบียบแบบแผน โดยเท่าเทียมเสมอกัน ประการที่สี่ คือ
การที่ต่างคนต่างพยายามทำความคิด ความเห็นของคนให้ถูกต้องเที่ยงตรง และมั่นคงอยู่ในเหตุในผล หาก
ความคิดจิตใจและการประพฤติปฏิบตั ิที่ลงรอยเดียวกันในทางที่ดี ที่เจริญนี้ ยังมีพร้อมมูลในกายในใจของคนไทย
ก็มน่ั ใจไดว้ า่ ประเทศชาตไิ ทย จะดำรงมัน่ ดงอย่ตู ลอดไปได้ จงึ ขอใหท้ ่านท้งั หลายในมหาสมาคมน้ที งั้ ประชาชนชาว
ไทยทุกหมู่เหล่า ได้รักษาจิตใจและคุณธรรมนีไ้ วใ้ ห้เหนียวแนน่ และถ่ายทอดความคิดจิตใจนี้กันต่อไปอย่าให้ขาด
สายเพือ่ ให้ประเทศชาตขิ องเราดำรงยืนยงอยู่ดว้ ยความร่มเย็นเป็นสุข ท้งั ในปัจจบุ นั และในภายหนา้ "

2. มราวาสธรรม 4

หลักธรรมสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพครูที่จะไร้ยึดถือเป็นคุณธรรมพื้นฐานของจิตใจ ในการครองชีวิต
ครองเรือนใหป้ ระสบความสขุ สมบูรณ์ และเป็นแบบอย่างทีด่ ีแกบ่ คุ คลทั้งหลายประกอบด้วยธรรม 4 ประการ คอื

2.1 สัจจะ หมายถึง ความซื่อสัตย์ จริงใจต่อกัน ผู้ประกอบวิชาชีพดรูจำเป็นต้องอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นใน
สงั คม การท่จี ะใหผ้ ู้ร่วมงานเกดิ ความไวว้ างใจ และมีไมตรีจิตสนิทต่อกนั จำเป็นต้องเปน็ คนท่ีมีความซ่ือสัตย์ จริงใจ
ต่อกัน ถ้าไม่มีสัจจะเมื่อใดย่อมเป็นเหตุให้เกิดความหวาตระแวงแคลงใจกันเป็นจุดเริ่มตันแห่งความร้าวฉาน ซ่ึง
ยากนักทจี่ ะประสานใหค้ นื ดไี ดด้ ังเดมิ

228

2.2 ทมะ หมายถึง การรู้จักบังคับควบคุมอารมณ์ ข่มใจระงับความรู้สึกต่อความผิดพลาความบกพร้อง
ของตนเองและผู้อื่น ผทู้ จ่ี ะเปน็ ครูท่ีดตี ้องรู้จักฝึกฝน แกไ้ ขข้อบกพร่องปรับปรุงลักษณะนิสัยส่วนตน ไม่เป็นคนด้ือ
ด้านเอาแจและอารมณ์ของตนเองเป็นสำคัญ ถ้าผู้ที่ประกอบวิชาชีพครูขาดหลักธรรมข้อนี้ จะกลายเป็นคนที่ไม่
สามารถควบคุมตนเองได้ เป็นผู้ที่ไม่มีความฉลาดทางอารมณ์ (Emotional quotient) ไม่สามารถจัดการอารมณ์
ความรู้สกึ ของตนเองทำให้ขาดสมั พันธภาพท่ีดีต่อผู้รว่ มงาน

2.3 ขันติ หมายถึง ความอดทน อดกลั้น ต่อความยากลำบาก ความเลวร้ายอุปสรรคทั้งปวง ทีเกิดขึ้นทั้ง
ต่อตนเองและการปฏิบัติงานในหน้าที่ การอยูร่ ว่ มกับคนหมมู่ ากย่อมมีการกระทบกระท่ังกันบ้าง ทั้งเร่ืองความคิด
ความเช่อื ทัศนคติ การกระทำต่าง ๆ มเี หตลุ ่วงเกนิ กนั อยา่ งรนุ แรง ซึง่ อาจจะเป็นถ้อยคำหรือกิรยิ าอาการ จะโดย
ตั้งใจหรอื ไม่กต็ าม กต็ ้องรู้จกั อดกลน้ั ระงับใจ ไม่กอ่ เหตุให้เรื่องลุกลามกว้างขยายต่อไป นอกจากนี้ ยังต้องมีความ
อดทนต่อความยากลำบากในการประกอบงานอาชีพ โดยเฉพาะเมื่อเกิดความผิดพลาด ความบกพร่อง ความไม่
เข้าใจไม่ก้าวหน้า ก็ต้องไม่ตีโพยตีพาย แต่มีสติอดกลั้น คิดหาอุบาย ใช้ปัญญาหาทางแก้ไขสถานการณ์เหตุการณ์
ตา่ ง ๆ ใหล้ ุล่วงไปดว้ ยตี

2.4 จาคะ หมายถึง ความเสียสละ มีน้ำใจ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ แบ่งปันกัน การอยู่ร่วมกัน ในสังคมถ้าครูมี
ความเหน็ แก่ตวั คอยจ้องแต่จะเปน็ ผรู้ ับ เอาแต่ประโยชนใ์ สต่ ัวโดยไมค่ ำนึงถึงคนอื่น กจ็ ะเป็นคนท่ไี มม่ คี วามสขุ ไม่
มีเพื่อน ไม่มีคนคบค้าสมาคมด้วย การจะเป็นคนที่ได้รับการยอมรับ เป็นที่รักของเพื่อน ๆ จะต้องรู้จักความเป็น
ผู้ให้ด้วย การให้มีใช่หมายถึงแต่เพียงการเอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่ แบ่งปันทรัพย์ สิ่งของซึ่งมองเห็นและเข้าใจได้ง่ายๆ
เท่าน้ัน แต่ยังหมายถงึ การให้น้ำใจแก่กันและกันดว้ ย

3. สปั ปรุ สิ ธรรม 7

คุณธรรมนี้เหมาะสำหรับครูเป็นอย่างยิ่ง เพราะจะช่วยให้เป็นคนสมบูรณ์แบบหรือคนที่สมบูรณ์พร้อม
ส่งผลให้มีความเชื่อมัน่ เป็นผู้นำ สอนสั่งลูกศษิ ย์ให้มีชีวิตท่ีเปน็ สุขได้นอกจากนี้ยงั ใช้เปน็ หลกั ช่วยในการพิจารณา
วา่ บุคคลใดเปน็ คนดีหรือไมด่ ีไดอ้ ีกด้วย คนดตี ้องมี คณุ สมบัติ 7 ประการ ดงั น้ี

3.1 ธมั มัญญุตา รู้หลกั และรูจ้ ักเหตุ รูห้ ลกั การและกฎเกณฑ์ของสง่ิ ทั้งหลายที่ตนเข้าไปเกี่ยวข้องในการ
ดำเนินชีวิต ในการปฏบิ ตั ิหนา้ ทแี่ ละดำเนินกิจการต่าง ๆ ร้เู ข้าใจสงิ่ ทีต่ นจะต้องประพฤติปฏิบัตติ ามเหตุผล เช่น รู้
ว่าตำแหน่ง ฐานะ อาชีพการงานของตนเองเป็นอย่างไร มีหน้าที่และความรับผิดชอบอย่างไร นอกจากนี้ยังต้องรู้
หลักความจรงิ ของธรรมชาติวา่ "ของหลักการท่ตี นปฏบิ ตั ิ เขา้ ใจวัตถปุ ระสงคข์ องานท่ตี ้องปฏบิ ตั ิ รวู้ ่าส่ิงท่ีตนทำอยู่
ดำเนินชีวิตอยู่น้ัน เพื่อประโยชนอ์ ะไร หรือควรจะได้รบั อะไร การทำงานตามหน้าท่ี ตำแหน่ง ฐานะการงานอย่าง
นั้น ๆ เขากำหนดวางกันไว้เพ่ือความม่งุ หมายอะไร งานทต่ี นทำอยู่ขณะนี้เม่ือทำไปแล้วจะบังเกิดผลอะไรบ้างเป็น
ผลดหี รอื ผลเสียอย่างไรเป็นต้น

3.2 อัตถัญญุตา รู้จักผล ความรู้จักอรรถ รู้ความมุ่งหมาย หรือ รู้จักผล คือ รู้ความหมาย รู้ความมุ่ง
หมาย รู้ประโยชน์ที่ประสงค์ รู้จักผลที่จะเกิดขึ้นสืบเนื่องจากการกระทำหรือความเป็นไปตามหลัก เช่น รู้ว่า
หลักธรรมหรอื ภาษิตข้อนัน้ ๆ มีความหมายว่าอย่างไร หลักนั้นๆ มีความมุ่งหมายอย่างไร กำหนดไว้หรือพึงปฏิบัติ
เพื่อประสงค์ประโยชน์อะไร การที่ตนกระทำอยู่มีความมุ่งหมายอย่างไร เมื่อทำไปแล้วจะบังเกิดผลอะไรบ้างดังนี้
เป็นตน้

229

3.3 อัตตัญญุตา รู้จักตน ความรู้จักตน คือ รู้ว่าตัว เรานั้น ว่ามีสถานภาพเป็นอะไร ฐานะ ภาวะ เพศ
กำลงั ความรู้ ความสามารถ ความถนัด และคณุ ธรรม เป็นตน้ วา่ ขณะนี้ เทา่ ไร อย่างไร แลว้ ประพฤตใิ หเ้ หมาะสม
และรู้ท่จี ะแกไ้ ขปรบั ปรงุ ต่อไป

3.4 มัตตญั ญุตา รจู้ กั ประมาณ ความรจู้ กั ประมาณ คอื ความพอดี เช่น ภกิ ษรุ จู้ กั ประมาณในการรับและ
บริโภคปัจจยั ส่ี คฤหัสถร์ จู้ ักประมาณในการใช้จา่ ยโภคทรัพย์ นักเรยี นรู้จกั ประมาณ กำลังของตนเองในการทำงาน
รฐั บาลรจู้ ักประมาณการเกบ็ ภาษีและการใช้งบประมาณในการบรหิ ารประเทศ เปน็ ต้น

5. กาลัญญุตา รู้จักกาล ความรู้จักกาล คือ รู้กาลเวลาอันเหมาะสม และระยะเวลาที่จะต้องใช้ในการ

ประกอบกิจ กระทำหนา้ ทีก่ ารงาน เช่น ให้ตรงเวลา ให้เปน็ เวลา ให้ทนั เวลา ให้พอเวลา ให้เหมาะเวลา เป็นต้น

6. ปริสัญญุตา รู้จักชุมชน ความรู้จักบริษัท คือ รู้จักกลุ่มบุคคล รู้จักหมู่คณะ รู้จักชุมชน และรู้จักที่
ประชุม รู้กิริยาที่จะประพฤติต่อชุมชนนั้นๆ ว่า ชุมชนนี้เมื่อเข้าไปหา ต้องทำกิริยาหรือปฏิบัติแบบนี้ จะต้องพูด
อย่างไร ชมุ ชนนีค้ วรสงเคราะหอ์ ย่างไร เปน็ ตน้

7. ปุคคลปโรปรัญญุตา รู้จักบุคคล ความรู้จักบุคคล คือ ความแตกต่างแห่งบุคคลว่า มีอัธยาศัย มี
ความสามารถ มีคุณธรรม เป็นตน้ ผใู้ ดหยิง่ หรือหย่อนอยา่ งไร และรทู้ ีจ่ ะปฏบิ ัติต่อบคุ คลนน้ั ๆ ดว้ ยดี วา่ ควรจะคบ
หรอื ไม่ จะใช้ จะตำหนิ หรอื ยกยอ่ ง และแนะนำส่งั สอนอยา่ งไร เป็นตน้

4. หิริ โอตตัปปะ

หลักธรรมนี้เมื่อผู้ที่ประกอบอาชีพครูปฏิบัติแล้ว จะช่วยให้อยู่ร่วมกันในสงั คมโลกได้อย่างสันติสุข ถือว่า
เป็นคุณธรรมที่ใช้ค้ำจุน คุ้มครองโลกให้มีความสุขได้นั่นเอง ก่อนอื่นคงต้องทำความเข้าใจความหมายของคำสอง
คำนี้ก่อน คือ

หริ ิ แปลวา่ ความละอายแกใ่ จ, ความละอายในการประพฤตชิ วั่
โอตตัปปะ แปลว่า ความเกรงกลัวต่อผลการทำชั่ว, ความหวาดกลัวต่อผลชั่วไม่กล้าทำเหตุชั่วต่อไปอีก
(เกษม วฒั นชยั ฒ,2549,167) เสนอแนะเง่อื นไขสู่การมี หริ ิ โอตตัปปะไว้ ดงั นี้
1. ต้องร้จู กั แยก "ผดิ ชอบชวั่ ดี"
2. ชื่อในผลของความผดิ -ช่วั ชอบ-ดี
3. จักเลือก "ทางทชี่ อบ-ที่ด"ี และยดึ มัน่ ปกป้องในความถกู ตอ้ งเทย่ี งธรรม
4. ปฏิเสธและไม่ยอมรบั "ทางผิด-ทางช่ัว"
5. หริ ิ-โอตตปั ปะเปน็ หลักคิด เปน็ แนวทางในการตัดสนิ ใจอย่างมีสติ
สมศักดิ์ คลประสิทธ์ิ (อ้างใน ปราชญา กล้าผจัญ, 2549, 41) ได้เสนอแนะเส้นทางที่จะพัฒนาจิตใจสู่
คณุ ธรรมอย่างแท้จรงิ ไว้ดังนี้
1. ประกอบอาชีพสุจรติ (เป็นมืออาชพี )
2. ฝึกนิสยั การประหยดั อดออม ท้ังคนจน คนรวย และคนเคยรวย
3. ปรับพฤติกรรมการบริโภค โดยเน้นจิตสำนึกในการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด โดยเฉพาะ
สาธารณปู โภค

230

4. เสยี ภาษี และรว่ มกิจกรรมพัฒนาชมุ ชนของตนเอง
5. เผยแพร่วฒั นธรรมไทย เอ้อื เฟอื้ และสรา้ งความประทบั ใจแกผ่ มู้ าเยือน
6. อดทน และมุ่งมน่ั ในการประกอบอาชีพอยา่ งสุจรติ
7. บรโิ ภคแตส่ งิ่ ที่จำเปน็ ต่อรา่ งกาย และออกกำลังกายด้วยการเลน่ กฬี าทปี่ ระหยัด
8. ปฏบิ ัตติ นใหส้ อดคล้องกบั บทบญั ญตั แิ หง่ รฐั ธรรมนญู
ดังนั้น การแสดงถึงความเปน็ ผู้ที่มคี ุณธรรมของผูป้ ระกอบวิชาชีพครูจึงต้องมีความมุ่งมั่นในการประกอบ
อาชพี อย่างซอื่ สตั ย์ สจุ ริต อดทนอดกล้นั คดิ พิจารณาและตัดสินใจอย่างมีสติ

คณุ ธรรมตามหลักศาสนา

ศาสนาพุทธ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) (2547, น. 21-22) ได้ระบุว่าคนมีศีลธรรมหรือมีมนุษยธรรมท่ีเรียก

ได้ว่าเป็นอารยชน เป็นผู้มีธรรม 10 ข้อ เรียกว่า กุศลธรรมบถ (ทางทำกรรมดี) หรือธรรมจริยาซึ่งจัดเป็นอารย
ธรรมท่คี รบถ้วนสมบูรณโ์ ดยทำให้คนเจรญิ ข้นึ พร้อมทั้งทางกาย ทางวาจา ทางใจ

ศาสนาคริสต์
หลกั คณุ ธรรมจรยิ ธรรมสาํ คัญของศาสนาคริสต์ คือ ความรกั ซึง่ มี 2 ลกั ษณะ คอื ความรกั ในพระเจ้าซ่ึง

เป็นความรักที่แท้จริงสูงสุด และความรักในเพื่อนมนุษย์ การปฏิบัติความรักแท้จะต้องกระทำ (จินตนา ยูนิพันธ์ุ,
2548, น. 360)

ศาสนาอิสลาม
คณุ ธรรมในศาสนาอิสลาม หมายถงึ การที่มนษุ ย์เคารพภักดตี ่ออลั ลอฮ์เสมือน หนึ่งวา่ มองเห็นพระองค์

การมีคุณธรรมจึงหมายถึงการที่มุสลิมทุกคนจะต้องตระหนักว่าการดําเนินชีวิตของตนทุกอิริยาบถ และทุกการ
กระทําของตนพงึ อยู่ระหว่างการภักดี การระลึกถึงพระองค์กระทาํ ไดห้ ลายวิธี (จินตนา ยนู ิ พนั ธุ์, 2548, น. 361)

ศาสนาซกิ ข์
(จนิ ตนา ยูนพิ ันธุ์, 2548, น. 361)หลักคำสอนทส่ี ำคัญของศาสนาซิกข์เพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายสูงสุด คือ

การเขา้ ถงึ สุขอันเปน็ นริ ันดห์ รอื นิรวาณ ประกอบดว้ ยหลกั 5 ประการไดแ้ ก่
1. ธรมั ขัณฑ์ คอื การประกอบกรรมดี
2. คอิ านขณั ฑ์ คอื การมปี ัญญา
3. สรนั ขัณฑ์ คือ ความปตี อิ มิ่ เอบิ ใจในธรรม
4. กรัมขณั ฑ์ คือ การมีกำลงั จติ แน่วแน่มั่นคงไมห่ วาดกลัว
5. สัจขณั ฑ์ คือ การเข้าถงึ สจั จะ หรอื การหลอมรวมเปน็ อันหนงึ่ อนั เดียวกบั พระผ้เู ปน็ เจ้า

จรยิ ธรรม

231

ความหมายของจรยิ ธรรม

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2556,น.303) ให้ความหมายจริยธรรมไว้ว่า จริยธรรม หมายถึง
ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ ศีลธรรม กฎศีลธรรม ซึ่งก็คือกฎเกณฑ์ความประพฤติของมนุษย์ ซึ่งเกิดขึ้นจาก
ธรรมชาติของมนุษย์เอง ความเป็นผู้มีปรีชาญาณ (ปัญญาและเหตุผล) ทำให้มนุษย์มีมโนธรรม รู้จักแยกแยะ
ความถูก ผิด ควร ไม่ควร โดยจรยิ ธรรมมลี กั ษณะ 4 ประการ คอื

1. การตัดสินทางจริยธรรม (Moral Judgement) บุคคลจะมีหลักการของตนเอง เพื่อตัดสินการกระทำ
ของผอู้ ่นื

2. หลักการของจริยธรรมและการตัดสินตกลงใจเป็นความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นในตัวบุคคลก่อนที่จะ
ปฏิบัติการตา่ งๆ ลงไป

3. หลักการทางจริยธรรมเป็นหลักการสากลที่บุคคลใช้ตัดสินใจในการกระทำสิ่งต่าง ๆทัศนะเกี่ยวกับ
จริยธรรมได้มาจากความคิดของบุคคลหรืออุดมคติของสังคมจนเกิดเป็นทัศนะในการดำรงชีวิตของตน และของ
สังคมที่ตนอาศยั อยู่

พจนานุกรมลองแมน (Longman, 2003,น.533) ได้ให้ความหมายของคำว่าจริยธรรม ดังนี้จริยธรรม
(Ethic) คอื ความคิดหรือความเช่ือทีม่ อี ิทธพิ ลต่อความประพฤติและเจตคติของบคุ คล หลักการของความประพฤติ
สำหรบั การตดั สนิ ใจว่าสง่ิ ใดผิดหรือถกู

(ผศ.ดร.ดวงเดือน พินสวุ รรณ,2562,น.563-600) ความหมายของคุณธรรมจริยธรรมที่ใชใ้ นสังคมจึงยังไม่
ชัดเจนตายตัว แต่ก็มีความหมายหลักในแนวทางเดียวกันคือเป็นหลักของการทำดีเพื่อประโยชน์ของผู้ปฏิบัติ
ผู้เกี่ยวข้อง และสังคม โดยคุณธรรมเป็นสภาพที่พึงประสงค์ในด้านความดี-ความควรความถูกต้อง ส่วนจริยธรรม
เป็นการปฏิบัติไปสู่สภาพที่พึงประสงค์นั้น คุณธรรมจึงเป็นสภาพทางจิตใจที่จะโน้มนำการกระทำให้เกิดการ
ประพฤติปฏิบัติสิ่งที่ดี และไม่ประพฤติสิ่งที่ไม่ดี ดังนั้นคุณธรรมจะเป็นปัจจัยเกื้อหนุนให้เกิดจริยธรรม และ
จริยธรรมเป็นผลของการมีคุณธรรม หรืออีกนัยหนึ่งคุณธรรมเป็นเรื่องของความจริงแท้หรือสัจธรรม ส่วน
จริยธรรมเป็นส่งิ ท่มี นษุ ย์ทำข้ึน แต่งข้ึนตามเหตุผลของมนษุ ย์ หรือตามความต้องการของมนษุ ย์

จรยิ ธรรมสำหรับครู

ปราชญา กล้าผจัญ. (2549) กล่าวไว้ว่า จริยธรรม (Ethics) เป็นเรื่องของความรู้สึก เป็นจิตสำนึกของ
บคุ คล เปน็ พฤติกรรมที่ถูกต้องดีงาม ท้งั ทางกาย วาจา และใจ เป็นปฏสิ มั พนั ธ์ท่ีเหมาะสมทางสังคม เป็นรากฐาน
ของสันติสุขท่ียั่งยืน คนเป็นครูจึงควรต้องสร้างจิตสำนกึ ที่ดีงามใหเ้ กดิ ขึน้ ในตนเอง ในสังคม ต้องซื่อสัตย์สุจรติ ตอ่
วิชาชีพของตนเอง มีการประพฤติปฏิบัติที่แสดงถึงความเป็นผู้มีธรรมะในใจ และต้องมีพันธสัญญา
(Commitment) ต่อตนเอง ต่อเพื่อนร่วมงาน ต่อหน่วยงานที่สังกัด และต่อประเทศชาติ เช่น มีเมตตากรุณา
ซ่อื สตั ยส์ ุจริต เสยี สละ รบั ผิดชอบ ยุติธรรม

ความสำคัญของคุณธรรมจริยธรรมตอ่ ครู

1.ความสำคัญต่อการดำรงชีวิตประจำวัน การมีคุณธรรมจริยธรรมช่วยให้ครูมีการดำรงชีวิตที่ดีทั้งการมี
สขุ ภาพทางกายและสุขภาพจติ ท่ีดี เชน่

232

1.1 ดา้ นสขุ ภาพทางกาย หลกั คณุ ธรรมจริยธรรมท่สี ังคมยดึ ถือน้นั มีขอบขา่ ยสาระทชี่ ่วยพฒั นาทั้งร่างกาย
และจติ ใจของคน การใช้หลกั คุณธรรมจริยธรรมจงึ เกิดผลดีทางร่างกาย เชน่ ครทู ม่ี คี ุณธรรมเกย่ี วกับทางสายกลาง
จะมพี ฤติกรรมบริโภคอาหารแต่พอสมควร ครจู ึงไมอ่ ้วนเกินควรและไม่เป็นโรคต่าง ๆ อนั เนอ่ื งจากการบริโภค ทำ
ให้สามารถประกอบฮาชีพเลี้ยงตนและครอบครัวได้เป็นปกติ และมีความแคล่วคล่องในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ใน
ชีวิต นอกจากนนั้ จะทำใหค้ รเู ป็นผู้มีบุคลกิ ภาพท่ดี ี เปน็ ท่ชี ่ืนชมของบุคลอืน่

1.2 ด้านสุขภาพจิต หากครูดำรงตนในคุณธรรมจริยธรรมแล้ว ครูจะเป็นผู้ประพฤติในทางที่ดีหลีกเลี่ยง
หรือลดเลิกการประพฤติที่ไม่ดี สามารถใช้คุณธรรมเป็นเครื่องประคับประคองจิตใจและการดำรงชีวิตให้เป็นไป
ในทางที่เป็นผลดีต่อตน คนอื่น และสงั คม เชน่ มกี ารประ กอบอาชีพโตยสจุ ริต ไมห่ ลงในลาภยศของตนเองมีการ
คิดการพูดและการกระทำของตนเองทีส่ อดคล้องกนั ไมพ่ ดู อย่างหนงึ่ แต่ทำอีกอย่างหนึง่ ไม่ทำดีในเร่ืองหน่ึงแต่ทำ
ชั่วในอีกเรื่องหนึ่ง นอกจากนั้นครูที่มีคุณธรรมจริยธรรมสามารถเผชิญชีวิตอย่างมีสติปัญญาและสุขภาพจิตที่ดี
รวมท้งั ไดร้ ับการยอมรับยกย่องจากบคุ คลอืน่

2 ความสำคญั ตอ่ การปฏิบัตงิ าน ในวชิ าชีพ
ครูที่มีจริยธรรม จะได้รับการเคารพจากศิษย์ได้รับการยอมรับจากผู้ปกครอง ได้รับการสนับสนุนจาก
เพื่อนและผู้บังคับบัญชา ทำให้มีความก้าวหน้าในการทำงานและการประกอบอาชีพ ซึ่งอาจได้รับการยกย่อง
ประกาศเกียรติคุณให้เป็นตัวอย่างที่ดีของบุคลากรในวิชาชีพในด้านภาระงานการเป็นผู้นำของสังคม ครูที่มี
จริยธรรมจะเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมที่ตนเป็นสมาชิกอยู่รวมทั้งเป็นเพื่อนมนุษย์ที่ดีของคนในกลุ่มสังคมอื่น เมื่อ
ครูทีม่ คี ณุ ธรรมจริยธรรมหลาย ๆ คนมาอยูร่ ่วมกนั ซึ่งแม้แต่ละคนจะมีคุณลักษณะและความคิดแตกต่างกันก็ตาม
ครูเหล่านั้นจะมีวิธีการดำเนินงานและวิธีการหาข้อยุติในทางที่เป็นคุณแก่บุคคลและส่วนรวมได้โดยไม่ต้องมีการ
ขัดแย้งกัน สังคมครูจึงเป็นสังคมที่ดี ครูจึงเป็นตัวแบบที่ดีของสังคม สามารถนำให้สังคมมีคุณธรรมจริยธรรมที่ดี
และไดร้ บั การยกย่องให้เปน็ เปน็ ผนู้ ำทีด่ ีของสงั คม
3.การยกระดบั มาตรฐานวชิ าชีพ
การที่ครูมีมาตรฐานการทำงานตามมาตรฐานวิชาชีพที่กำหนดไว้ ทำให้ครูมีวัฒนธรรมองค์การที่พึง
ประสงค์ องคก์ ารท่ีรับผดิ ชอบเก่ียวข้องกับการพฒั นาวิชาชพี จึงสามารถใช้วชิ าการ งบประมาณ และทรพั ยากรอื่น
ในการยกระดบั วชิ าชพี ให้เกิดคณุ ประโยชน์ตอ่ สังคมมากยิ่งขึ้น
(ผศ.ดร.ดวงเดือน พินสุวรรณ,2550,น 563-600) จริยธรรม (Ethics) เป็นเรื่องของความรู้สึก เป็น
จิตสำนึกของบุคคล เป็นพฤติกรรมที่ถูกตอ้ งดงี าม ทั้งทางกาย วาจา และใจ เป็นปฏสิ มั พันธ์ท่ีเหมาะสมทางสัง่ คม
เป็นรากฐานของสันติสุขที่ยั่งยืน คนเป็นครูจึงควรต้องสร้างจิตสำนึกที่ดีงามให้เกิดขึ้นในตนเอง ในสังคม ต้อง
ซื่อสัตย์สุจริตต่อวิชาชีพของตนเอง มีการประพฤติปฏิบัติที่แสดงถึงความเป็นผู้มีธรรมะในใจ และต้องมีพันธะ
สัญญา (Commitment) ต่อตนเอง ต่อเพื่อนร่วมงาน ต่อหน่วยงานที่สังกัด และต่อประเทศชาติ เช่น มีเมตตา
กรณุ า ซื่อสตั ย์สจุ ริต เสยี สละ รับผิดชอบ ยุติธรรม
การทคี่ รแู ต่ละคนจะมีคณุ ธรรมจรยิ ธรรมหรือไม่ เพียงใด จงึ ไมไ่ ดม้ ีความสำคัญเฉพาะตอ่ ตัวครูเท่าน้ัน แต่
มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อสังคมและวิชาชพี ผู้เป็นสมาชิกของวชิ าชีพจึงต้องไม่ปล่อยปละละเลยการมีคุณธรรม ไม่
ควรพฒั นาคณุ ธรรมจริยธรรมตามความพอใจของตนเอง แต่จะตอ้ งพฒั นาตนใหเ้ ปน็ คนทส่ี มบรู ณ์และครูที่สมบูรณ์

233

เพื่อสร้างนักเรียนที่สมบูรณ์ รวมทั้งการสร้างวิชาชีพที่สมบูรณ์ทั้งด้านภาพลักษณ์ของวิชาชีพ มาตรฐานวิชาชีพ
และศกั ดิศ์ รขี องวชิ าชพี

จรยิ ธรรมของผปู้ ระกอบอาชพี ครู

1. จริยธรรมตอ่ ตนเอง
ประกอบอาชีพครตู ้องปฏิบัตติ นเป็นแบบอย่างทดี่ ี มคี ณุ ธรรมจริยธรรมเปน็ หลักยึดประจำตน เช่น รู้

รักสามัคคี ซื่อสัตย์สุจริต เสียสละ มีน้ำใจ เมตตากรุณา ยุติธรรม กตัญญูกตเวที รักษาระเบียบวินัย มีดวาม
อุตสาหะ รจู้ กั ความพอเพียง พอประมาณ มีเหตุมีผล มจี ติ สำนึกสาธารณะ(Public mind) เป็นตน้

2. จริยธรรมตอ่ บุตรธดิ า
บดิ ามารดามหี นา้ ที่เลี้ยงดูบุตรธิดาใหม้ ีความสุข พอเหมาะกับฐานะของตนเองนอกจากนี้ ยงั ต้องให้

การอบรม สั่งสอน ชี้แนะแนวทางที่ถูกที่ควร ที่เหมาะสม เพื่อให้เป็นคนดีมีคุณธรรมอยู่ในสังคมอย่างมี
ความสขุ

3. จรยิ ธรรมตอ่ ภริยาหรือสามี
บุคคลที่ได้ชื่อว่าเป็นภริยา หรือสามีถือว่าเป็นบุคคลคนเดียว ดังนั้น จึงต้องมีความรักใครปรองดอง

กัน ให้เกียรติซึ่งกันและกัน ภาระงานในบ้านก็ไม่ควรเกี่ยงกัน ต้องช่วยกันทำแบ่งเบาภาระซึ่งกันและกัน
ภรรยากไ็ ม่วา่ หรอื นินทาสามี สามีกไ็ ม่นนิ ทาวา่ ร้ายภรรยา ทงั้ ในและนอกบ้าน

4. จริยธรรมต่อบิดามารดา
บิดามารดาเป็นบุพการีผู้ให้กำเนิด บุตรจึงมีหน้าที่ตอบแทนพระคุณท่านในขณะที่มีชีวิตอยู่ เช่น

เลี้ยงดูท่านให้มีความสขุ สบาย สมฐานะ ช่วยทำธุรการงานให้ท่านรักษาพยาบาลเม่ือเจ็บปว่ ย พูดคุยพาเทีย่ ว
เม่อื มีโอกาส ฯลฯ และเมือ่ ท่านล่วงลบั ไปแลว้ กท็ ำบุญอุทศิ ส่วนกุศลให้ท่านกล่าวถึงพระคณุ ท่านให้บุตรหลาน
รับรู้เปน็ ต้น

5.จรยิ ธรรมต่อลกู ศิษย์
ครูตอ้ งให้ความรกั ต่อลูกศษิ ยเ์ หมอื นกบั บุตรของตนเอง เพราะครเู ปรยี บเหมือนกับบิดามารดาคนที่

สองของศิษย์ ดังนน้ั ครูต้องมอบความรักให้กับศิษย์ มเี มตตากรณุ า มีความยุตธิ รรม ว่ากลา่ วตักเตอื นเม่ือ
ศษิ ย์กระทำผิด ไม่เปดิ เผยความลับของศิษย์ เป็นต้น

6. จรยิ ธรรมต่อชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ
ครูต้องปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีของชาติ เคารพกฎหมาย ปฏิบัติงานอาชีพด้วยความสุจริต เสียภาษี

อากรอย่างถูกต้อง ไม่มัวเมาหลงใหลในยศ ตำแหน่ง ใช้จ่ายอย่างประหยัดไม่ฟุ้งเฟ้อ ไม่มัวเมาลุ่มหลงใน
อบายมขุ หรือทางทน่ี ำไปสู่ความเสือ่ ม เป็นตน้ (สำนักงานเลขาธกิ ารครุ ุสภา ,2539)

ประโยชน์ของจริยธรรม

ปราชญา กลา้ ผจญั (2549). ได้กล่าวถงึ ประโยชนข์ องจรยิ ธรรมไว้ดังนี้

234

1. ด้านตนเอง การปฏิบัติตามหลักจริยธรรมทำให้คนเราเป็นคนดี คนดีย่อมมีความสบายใจ อิ่มเอิบใจ
เพราะได้ทำความดี

2. ด้านสังคม คนดีย่อมทำประโยชน์แก่ตนเอง และคนอื่นด้วย การไม่ทำชั่วเป็นการลดภาระของสังคมที่
ไมต่ อ้ งแก้ปญั หา การทำดีจึงเปน็ ประโยชนแ์ ก่สังคม และชว่ ยให้สังคมพัฒนาไปสู่ความเจรญิ

3 . ดา้ นการรักษาจรยิ ธรรม จรยิ ธรรมเปน็ สิ่งทด่ี ีมีคุณคา่ ทง้ั แกบ่ คุ คลและสงั คมจะรักษาไวด้ ้วยการปฏิบัติ
เพราะถา้ ไมป่ ฏิบัติกจ็ ะเป็นเพยี งคำพดู หรอื ตัวหนังสอื ที่เขยี นไว้

4. การพฒั นาบ้านเมอื ง ตอ้ งพฒั นาจติ ใจก่อน หรืออย่างนอ้ ยกต็ ้องควบคไู่ ปกับการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม
และอื่น ๆ ด้วย เพราะการพัฒนาที่ไม่มีจริยธรรมเป็นแกนนำก็จะสูญเปล่าเพราะทำให้บุคคลลุ่มหลงในวัตถุ และ
อบายมขุ มากขึ้น

5. จรยิ ธรรมช่วยควบคมุ มาตรฐาน รับประกันคุณภาพและปรมิ าณทีถ่ ูกต้องในการประกอบอาชีพ

http://www.bizpromptinfo.com

พฤตกิ รรมท่ีแสดงถึงความเป็นผู้มคี วามยึดมัน่ ในวิชาชพี

ปราชญา กล้าผจญั ( 2549, น.70-71) กล่าวไว้ว่า พฤติกรรมทีแ่ สดงถึงความเปน็ ผมู้ ีความยดึ ม่นั ในวิชาชีพมี
ดงั น้ี

1. ประพฤติตนดสี มำ่ เสมอ
2. มีความละอายตอ่ บาป
3. มีความอดทนอดกล้ันต่อความยากลำบากตา่ ง ๆ
4. รักษาชอ่ื เสียง และค่านยิ มของหน่วยงาน
5. มคี วามสามารถในการส่งเสริมการทำงานเป็นทีม เป็นหมู่คณะได้ดี
6. เสรมิ สร้างความสมั พันธอ์ ันดีระหว่างผ้บู ังคบั บัญชา เพือ่ นร่วมงาน และชมุ ชน
7. วางตนเหมาะสม เขา้ กับชนทุกชนั้ ไดด้ ี ไมเ่ ย่อหย่ิง ไม่ถอื ตัว
8. รจู้ กั อุปการะ คือทำคณุ ประ โยชนแ์ กบ่ คุ คลอนื่
9. ไมม่ ีอคตใิ ด ๆ ในการปฏิบัตงิ านกับผอู้ น่ื

235

http://parichartพseลrvเicมeือ3ง.bทloเี่ ขgsม้poแtข.cง็om

ความหมาย

ปณิดา ปัตตาทานัง. (2021). พลเมืองที่ดี หมายถึง ผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่พลเมืองได้ครบถ้วน ทั้งกิจที่ต้องทำ
และ กจิ ท่คี วรทำ บคุ คลจะเป็นพลเมืองดีของสังคมนัน้ ตอ้ งตระหนักถึง บทบาท หน้าที่ ทจ่ี ะต้องปฏิบัติสอดคล้อง
กบั หลกั ธรรม วัฒนธรรม ประเพณี และรัฐธรรมนูญที่กำหนดไว้รวมท้ังบทบาททางสงั คมที่ตนดำรงอยู่

เมื่อสามารถปฏิบัตหิ น้าท่ีได้อย่างถูกต้องสมบูรณ์ ย่อมเกดิ ความภาคภูมิใจ และเกดิ ผลดีทั้งต่อตนเองและ
สังคม การเป็นพลเมืองที่ดีเคารพกฎหมาย เคารพสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น มีความกระตือรื้อร้น ที่จะเข้ามามีส่วน
ร่วมในการแก้ปัญหาของชมุ ชนและสังคม มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรมเปน็ หลกั ในการดำเนนิ ชวี ติ อยา่ งสงบสขุ

หนา้ ท่ีพลเมอื ง

1.คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม มากกว่าประโยชน์ส่วนตัว ได้แก่ การลดความเห็นแก่ตัว เสียสละแรงกาย
แรงใจ เพ่อื ทำประโยชนต์ ่อส่วนรวม ช่วยกันดูแลทรพั ย์สนิ ทีเ่ ปน็ สาธารณะสมบัติ

2.วนิ ัย ไดแ้ ก่ การฝึก กาย วาจา และใจใหส้ ามารถควบคุมความประพฤติของตนเองให้อยู่ในระเบียบแบบ
แผนอันดงี าม

3. ความรับผิดชอบต่อหนา้ ท่ี ได้แก่ การเอาใจใส่ ตั้งใจ และมุ่งมั่นปฏิบัติหน้าที่ตามบทบาทของตนอย่าง
เต็มความสามารถ

4. ความอดทน ได้แก่ การมีจิตใจหนักแน่น เยือกเย็น ไม่หุนหันพลันแล่น สามารถความคุมอารมณ์ และ
พฤตกิ รรม ใหเ้ ปน็ ปกตเิ มือ่ ตอ้ งเผชิญกับส่ิงท่เี ป็นปญั หาหรอื สง่ิ ท่ีไม่พอใจ

5. รู้จักประหยดั และอดออม ได้แก่ การรูจ้ กั ใชจ้ ่ายตามความจำเปน็ อย่างค้มุ ค่า และเกิดประโยชน์สงู สดุ
6. การมีนำ้ ใจเปน็ นกั กีฬา ได้แก่ การมจี ิตใจเปิดเผย ร้แู พ้รชู้ นะ และให้อภัยแก่กนั
7. ความซื่อสัตย์สุจริต ได้แก่ มีความจริงใจ ไม่อคติ ปฏิบัติตนปฏิบัติงานตรงไปตรงมา ไม่ใช้เล่ห์เลี่ยม
หรือกลโกง
8. การอนุรักษณ์ความเป็นไทย ได้แก่ มีจิตสำนึกในความเป็นไทย เช่น พูด เขียน และใช้ภาษาไทยให้
ถูกต้อง อนุรักษ์วัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย และนำความเป็นไทยมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ตลอดจนถ่ายทอด
ความเปน็ ไทย ไปสูค่ นรุ่นหลังไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม

236

พลเมืองที่เข้มแข็ง คือ บุคคลต้นแบบที่ล้วนแต่ก่อเกิดแรงผลักดันในการพัฒนาตนเองและพัฒนาผู้อื่นให้
เป็นพลเมืองดี มีความรักชาติ รักท้องถิ่น รู้ถูกผิด มีจิตสำนึกเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก มีจิตอาสา มีอุดมการณ์
และมีส่วนร่วมในการพัฒนาชาติ บนหลักการประชาธิปไตย ความยุติธรรม ความเสมอภาค เพื่อการจัดการ
ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มที่ยั่งยืนและการอยรู่ ่วมกนั ในสังคมไทยและประชาคมโลกอย่างสันติ

ตัวอยา่ งพลเมอื งเขม้ แข็ง

โซโฟคลสิ (Sophocles.495-406 B.C.) โสเครตสี (Socratic) วลิ เลย่ี ม วอลลัส (William Wallace)

237

มตหKัวาaอตrยมaา่mางคcพhาลนaเnธมีd(ือMGงoเaขhnม้adnแhdขi)aง็ s เพลโต้ (Plato.429-347 B.C.) อริสโตเติล้ (Aristotle. 384-322 B.C.)

เจน แอ๊ดดัมส์ (Jane Addams.1860-1935) เบอรท์ รนั ด์ รัสเซล (Bertrand Russell.1872-1970)

ปรัชญาและคณุ ธรรมสำหรบั ครู และลักษณะครทู ดี่ ี

ปรัชญาและคุณธรรมสำหรับครู และลักษณะครูที่ดี ปรัชญาและคุณธรรมสำหรับครู ในความหมายของ
ปรัชญาจัดว่าเป็นแนวอุดมคติในการดำเนินงานใด ๆ โดยใช้ปัญญา เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามที่คาดหวังไว้ เม่ือ
บุคคลได้เกิดความสนใจและใฝห่ าความรจู้ ากวชิ าปรชั ญาก็ย่อมได้รับอัตถประโยชนอ์ ย่างมากมาย พอสรุปได้ดังนี้

1. ปรชั ญาสอนใหร้ จู้ กั ความจรงิ อนั สิ้นสุด เช่น พระเจ้ามีจริงหรอื ไม่
2. ปรัชญาสอนให้รูจ้ กั ทฤษฎีแห่งความรู้ เชน่ การวิจัยจะนำไปสูก่ ารคน้ หาคำตอบได้
3. ปรชั ญาสอนให้ร้จู ักความดีและความถูกต้อง เช่น การทำประโยชนใ์ หแ้ ก่สังคมถือว่า เป็นความดี

238

4. ปรัชญาสอนใหร้ ้จู ักความงาม เชน่ การประพฤติปฏบิ ัติในสิ่งทเ่ี ปน็ ทีช่ ่นื ชอบของสังคม อนั กอ่ ให้เกดิ
ความเพลดิ เพลินและเปน็ สุขใจ

5. ปรัชญาสอนใหเ้ กดิ อุดมคติในการดำเนนิ ชีวติ และการปฏิบตั หิ นา้ ทกี่ ารงาน เชน่ สอนให้บุคคลเปน็ ครู
ในอุดมคติ หรือเป็นครทู ี่มีอุดมการณ์ที่จะชว่ ยพัฒนาชนบทอยา่ งแท้จรงิ

6. ปรชั ญาสอนให้รู้จักประเมินคุณค่าในพฤติกรรมของบคุ คลวา่ ถกู ตอ้ งและเหมาะสมหรือไม่ ดังไดก้ ล่าว
แลว้ ว่า ปรัชญาเป็นแนวอดุ มคตใิ นการดำเนนิ งานใด ๆ โดยใช้ปญั ญาเพื่อให้บรรลุเป้าหมายท่ีคาดหวังเอาไว้
สำหรับคุณธรรมคุณงามความดีของบุคคลที่กระทำไปดว้ ยความสำนึกในจิตใจ โดยมีเปา้ หมายวา่ เป็นการกระทำ
ความดี หรอื เป็นพฤติกรรมท่ีดีซึง่ เป็นทย่ี อมรบั ของสงั คม

ดงั นน้ั คณุ ธรรมสำหรบั ครู ก็คือคณุ งามความดขี องบคุ คลท่เี ปน็ ครู ซง่ึ ได้กระทำไปดว้ ยความสำนกึ ในจิตใจ
โดยมีเป้าหมายว่าเปน็ การกระทำความดี หรือเปน็ พฤตกิ รรมทีดซี ง่ึ เป็นทย่ี อมรับของสงั คม เช่น ครทู มี่ คี วาม
เสยี สละ ครูทีม่ ีน้ำใจงาม ครทู ี่มคี วามเกรงใจ ครทู ่ีมคี วามยุติธรรม ครูทรี่ ักเด็กและรักเพ่ือนมนษุ ย์ ครูท่ีมคี วามเหน็
อกเหน็ ใจ ลกู ศษิ ย์ และครทู ี่มีมารยาทท่ีงดงามถอื วา่ เป็นครูทมี่ คี ณุ ธรรมท้งั สน้ิ

โดยหลกั การ ครจู ะต้องเป็นทั้งนักปราชญ์ และผทู้ รงศีล เพราะสงั คมยกย่องใหค้ รเู ป็นปชู นียบุคคล เป็นผู้
ประเสริฐและประสาทความรู้ สรา้ งความเปน็ คนและอบรมส่ังสอนเดก็ ให้เป็นเดก็ ที่ดขี องสังคม ความจำเป็นท่ี
จะต้องใหค้ รูเปน็ ทง้ั นักปราชญ์ และผูท้ รงศลี ดังกลา่ วแล้วชใ้ี หเ้ ห็นว่า ความเป็นนักปราชญข์ องครนู ัน้ ครูจะตอ้ งมี
ความดีและถา่ ยทอดดี สอนให้เด็กไดร้ ับความร้แู ละสนุกมีชีวติ ชีวา สว่ นความเป็นผู้ทรงศีลของครู ในฐานะท่ีครู
เปน็ แมแ่ บบของชาติหรือเป็นต้นแบบในพฤติกรรมทง้ั ปวง จะชว่ ยใหค้ รูเปน็ คนดี วางตวั ดี เป็นที่เคารพและเปน็ ท่ี
น่าเชอ่ื ฟังของลูกศษิ ย์

จงึ กล่าวไดว้ า่ ครูต้องมีคุณธรรม หรือคณุ ธรรมสำหรับครเู ป็นสิ่งจำเปน็ สำหรับครูอยา่ งยิ่ง ถึงแมว้ ่า ครู
จำเป็นต้องมีคณุ ธรรม แต่คุณธรรมอยา่ งเดียวไม่เพยี งพอครูตอ้ งเป็นนักปรัชญาดว้ ย การเป็นนักปราชญข์ องครู จะ
ช่วยให้ครมู ีความรู้รอบ และรอบรมู้ ีทัศนะกว้างไกลและลึก มองเห็นชีวติ ของตนเองท้ังในปจั จุบันและอนาคตอยา่ ง
ทะลปุ ุโปร่ง และช่วยมองอนาคตของเด็กใหท้ ะลุปโุ ปร่งด้วย เพ่อื จะได้ประคบั ประคองสนับสนนุ และสง่ เสริม ให้
เดก็ เจรญิ ก้าวหน้าอย่างเต็มท่ี

จึงสรปุ ได้ว่าปรัชญาและคุณธรรมสำหรับครูเปน็ สง่ิ จำเป็นสำหรับผทู้ ่เี ป็นครเู ปรียบเสมือนกับโลหะธาตทุ ี่
มเี นือ้ ธาตุดี ย่อมเปน็ โลหะที่ดีเช่นเดยี วกัน ถา้ ครูมีปรัชญาและคุณธรรมก็จะได้รบั ความยกย่องว่า เปน็ ครูดีของ
สงั คมได้ (สงวน สุทธ์ิเลศิ อรณุ , 2536,น.20-21)

239

ท่ีมา https://th.lovepik.com

การดำรงตนใหเ้ ปน็ ทเี่ คารพศรทั ธา

ความหมาย

(พระมหาบญุ มี มาลาวชิโร, 2550) ไดก้ ล่าวถึงความหมายการครองตน การครองคนและการครองงานไว้
ดงั นี้

1. การครองตน การมีความประพฤตแิ ละปฏิบัติตน ประกอบไปด้วยคณุ ธรรม ควรแก่การยกยอ่ ง
2. การครองคน การมีความสามารถในการติดต่อสัมพันธ์กับผู้อื่น สามารถจูงใจให้เกิดการยอมรับและ
ให้ความร่วมมอื
3. การครองงาน การมคี วามสามารถปฏบิ ัตงิ านในหนา้ ท่ีและงานทไ่ี ด้รับมอบหมายอย่างดี

การสร้างความศรัทธาและเจตคติท่ีดีต่อวชิ าชพี ครู

คือการแสดงออกด้วยความชื่นชมและเชื่อมั่นในอาชีพครู ตระหนักว่าอาชีพนี้เป็นอาชีพที่มีเกียรติ มี
ความสำคัญและจำเป็นตอ่ สงั คม ครูพงึ ปฏบิ ตั ิงานดว้ ยความเต็มใจและภูมิใจ รวมทง้ั ปกป้องเกียรตภิ มู ิของอาชีพครู
และเขา้ รว่ มกจิ กรรมและสนบั สนนุ องค์กรวิชาชีพครู (พรรณอร อชุ ุภาพ, 2561)

เจตคติของครูที่มตี ่อวิชาชพี ครู

(พรรณอร อชุ ภุ าพ, 2561)ผูป้ ระกอบอาชีพครตู ้องมีคณุ ลกั ษณะ และคุณสมบตั ิทสี่ ำคญั หลายประการ
และมีเจตคตทิ ่ดี ตี ่อวชิ าชพี ครูจึงจะประสบความสำเร็จในหนา้ ที่การงานกอ่ ใหเ้ กดิ ผลดีต่อสังคมและประเทศชาติ

อ้างอิง : https://www.thaipost.net/main/detail/51408

240

มาตรฐานวิชาชีพทางการศกึ ษา
ความหมาย

(ไพฑูรย์ สินลารัตน์, 2560) ความหมายของมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา มาตรฐานวิชาชีพทาง
การศกึ ษา คอื ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลกั ษณะและคุณภาพท่ีพึงประสงคใ์ นการประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ซ่ึงผู้
ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องประพฤติปฏิบัติตามเพื่อให้เกิดคุณภาพในการประกอบวิชาชีพ สามารถสร้าง
ความเชื่อมั่นศรัทธาให้แก่ผู้รับบริการจากวิชาชีพได้ว่าเป็นบริการที่มีคุณภาพ ตอบสังคมได้ว่าการที่กฎหมายให้
ความสำคัญกับวิชาชีพทางการศึกษา และกำหนดให้เป็นวิชาชีพควบคุมนั้น เนื่องจากเป็นวิชาชีพที่มี
ลักษณะเฉพาะ ต้องใช้ความรู้ ทักษะ และความเชย่ี วชาญในการประกอบวิชาชีพ ตามพระราชบัญญัติสภาครูและ
บคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 มาตรา 49 กำหนดใหม้ มี าตรฐานวิชาชพี 3 ดา้ น ประกอบด้วย

1. มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ หมายถึง ข้อกำหนดสำหรับผู้ที่จะเข้ามาประกอบวิชาชีพ
จะต้องมีความรู้และมีประสบการณ์วิชาชีพเพียงพอที่จะประกอบวิชาชีพจึงจะสามารถขอรับใบอนุญาตประกอบ
วิชาชีพเพื่อใช้เป็นหลักฐานแสดงว่าเป็นบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ และมีประสบการณ์พร้อมที่จะประกอบ
วิชาชีพทางการศกึ ษาได้

2. มาตรฐานการปฏิบัติงาน หมายถึง ข้อกำหนดเกี่ยวกับการปฏิบัติงานในวิชาชีพ ให้เกิดผลเป็นไปตาม
เป้าหมายท่ีกำหนด พรอ้ มกบั มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง เพ่ือให้เกดิ ความชำนาญในการประกอบวชิ าชีพ ทั้ง
ความชำนาญเฉพาะด้านและความชำนาญตามระดบั คุณภาพของมาตรฐานการปฏิบัติงาน หรืออย่างน้อยจะต้องมี
การพัฒนาตามเกณฑ์ที่กำหนดว่ามีความรู้ความสามารถ และความชำนาญเพียงพอที่จะดำรงสถานภาพของการ
เป็นผู้ประกอบวชิ าชพี ตอ่ ไปได้หรอื ไม่ นัน่ กค็ ือการกำหนดให้ผู้ประกอบวิชาชพี จะต้องต่อใบอนญุ าตทุก ๆ 5 ปี

3. มาตรฐานการปฏิบัติตน หมายถึง ข้อกำหนดเกี่ยวกับการประพฤติตนของผู้ประกอบวิชาชีพ โดยมี
จรรยาบรรณของวิชาชีพเป็นแนวทางและข้อพึงระวังในการประพฤติปฏิบัติ เพื่อดำรงไว้ซึ่งช่ือเสียง ฐานะ เกียรติ
และศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพ ตามแบบแผนพฤติกรรม ตามจรรยาบรรณของวิชาชีพที่คุรุสภาจะกำหนดเป็นข้อบังคับ
ตอ่ ไป หากผู้ประกอบวิชาชพี ผูใ้ ดประพฤตผิ ิดจรรยาบรรณของวชิ าชีพทำใหเ้ กิดความเสียหายแกบ่ ุคคลอืน่ จนได้รับ
การร้องเรียนถงึ ครุ สุ ภาแลว้ ผนู้ ้นั อาจถูกคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพวินิจฉยั ชี้ขาดอยา่ งใดอย่างหนง่ึ ดงั ต่อไปน้ี

(1) ยกข้อกลา่ วหา
(2) ตักเตือน
(3) ภาคทณั ฑ์
(4) พกั ใชใ้ บอนุญาตมกี ำหนดเวลาตามทเ่ี ห็นสมควร แต่ไมเ่ กิน 5 ปี
(5) เพกิ ถอนใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี (มาตรา 54)

จรรยาบรรณวชิ าชพี
ความหมาย

(รศ.ยนต์ ช่มุ จิต, 2558) ให้ความหมายของ จรรยาบรรณวชิ าชพี ไว้ว่า หมายถงึ มาตรฐานการปฏิบัติตนท่ี
กำหนดขึน้ เปน็ แบบแผนในการประพฤติตน ซึ่งผปู้ ระกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษาต้องปฏิบตั ติ ามเพ่ือรักษา และ

241

สง่ เสริมเกยี รติคุณช่ือเสยี ง และฐานะของผ้ปู ระกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา จรรยาบรรณวชิ าชพี (มาตรฐานการ
ปฏิบัตติ น) มี 5 ดา้ น 9 ข้อ ดงั น้ี

1.จรรยาบรรณต่อตนเอง

ข้อท่ี 1 ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ตอ้ งมวี นิ ยั ในตนเอง พัฒนาตนเองดา้ นวชิ าชพี บุคลกิ ภาพ และ
วิสยั ทศั น์ ใหท้ นั ต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สงั คม และการเมอื งอยู่เสมอ

2. จรรยาบรรณตอ่ วชิ าชีพ

ข้อที่ 2 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก ศรัทธา ซอ่ื สัตยส์ จุ รติ รับผิดชอบตอ่ วิชาชีพ และเป็น
สมาชกิ ทดี่ ขี ององค์กรวิชาชีพ

3.จรรยาบรรณตอ่ ผรู้ ับบริการ

ข้อที่ 3 ผู้ประกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา ต้องรกั เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลอื ส่งเสรมิ ให้กําลังใจแกศ่ ิษย์
ขอ้ ที่ 4 ผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา ต้องสง่ เสริมใหเ้ กิดการเรยี นรู้ ทักษะ และนิสัยที่ถกู ต้องดงี ามแก่
ศษิ ย์ และผ้รู ับบริการ ตามบทบาทหนา้ ท่ีอย่างเตม็ ความสามารถ ดว้ ยความบริสทุ ธิ์ใจ
ขอ้ ที่ 5 ผปู้ ระกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา ต้องประพฤติปฏิบัติตนเปน็ แบบอย่างทีด่ ี ท้ังทางกาย วาจา และ
จิตใจ
ขอ้ ที่ 6 ผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา ต้องไมก่ ระทาํ ตนเป็นปฏปิ กั ษ์ตอ่ ความเจรญิ ทางกาย สติปัญญา
จติ ใจ อารมณ์ และสงั คมของศิษย์ และผรู้ ับบริการ
ข้อที่ 7 ผูป้ ระกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา ต้องใหบ้ ริการด้วยความจริงใจและเสมอภาค โดยไมเ่ รียกรบั หรือ
ยอมรับผลประโยชนจ์ ากการใช้ตาํ แหน่งหนา้ ท่โี ดยมิชอบ

4.จรรยาบรรณตอ่ ผูร้ ่วมประกอบวิชาชีพ

ขอ้ ที่ 8 ผปู้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงช่วยเหลือเก้ือกูลซึ่งกนั และกันอย่างสรา้ งสรรคโ์ ดยยึดมนั่ ใน
ระบบคณุ ธรรม สรา้ งความสามัคคใี นหมคู่ ณะ

5.จรรยาบรรณต่อสังคม

ข้อที่ 9 ผปู้ ระกอบวิชาชพี ทางการศึกษา พึงประพฤตปิ ฏบิ ัติตนเป็นผูน้ าํ ในการอนรุ กั ษ์และพัฒนา
เศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญา ส่ิงแวดลอ้ ม รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวม และยึดม่นั ใน
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข

ครูแบบอยา่ งท่ีดี

คุณลักษณะที่ดีของครู หมายถึง เครื่องหมายหรือสิ่งที่ชีใ้ ห้เห็นความดี หรือลักษณะที่ดีของครูและเป็น
ลกั ษณะที่ต้องการของสังคม

242

ลักษณะครูที่ดีควรมีความรักและความเมตตาต่อศิษย์ มีความเสียสละ หมั่นเพียรศึกษา ปรับปรุงวิธีการ
สอน เพื่อพัฒนาตนเองอยู่เสมอ ต้องมีความเข้าใจและเอาใจใส่ตัวศิษย์ทุกคน เป็นกำลังใจและช่วยสร้างแรงบัล
ดาลใจให้กบั ศษิ ยเ์ พอื่ ให้เขาเปน็ คนใฝเ่ รียนรู้ เป็นแบบอย่างทีด่ มี จี รรยาบรรณในวิชาชีพครู มีจติ วิญญาณของความ
เป็นครู สามารถถ่ายทอดความรู้ได้เป็นอย่างดี มีวิธีการสอนที่หลากหลาย มีวิสัยทัศน์กว้างไกล มีความยุติธรรม
ยอมรับฟังความคิดเหน็ ของผูอ้ ื่น รวมถึงการยอมรับและเข้าใจความแตกต่างของเด็กแตล่ ะคน (จีระวุฒิ โคกใหญ่,
2557)

การเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ี ระดบั โลก
รางวลั ครดู ีเด่นโลก (Global Teacher Prize)

มูลนิธิ Varkey ได้จัดทำโครงการการประกวดครูโลกขึ้นในปี 2014 เพื่อสนับสนุนการอุทิศตนเพ่ือ
การศกึ ษา ซึ่งเรากำลังค้นหาครูดเี ดน่ เพ่ือการยกย่อง ครผู ้ซู ง่ึ ใหแ้ รงบนั ดาลใจแกน่ ักเรียนและชมุ ชนโดยรอบ มูลนิธิ
ของเราเชื่อว่าการศึกษาที่ดีและมีชีวิตชีวาจะปลุกขีดความสามารถสูงสุดของคนหนุ่มสาวให้ตื่นขึ้นมาได้ เพราะ
สถานะในสังคมของครใู นวัฒนธรรมของเราคือกญุ แจสูโ่ ลกอนาคต

โดยรางวัลโนเบลสาขาการสอน อยู่ภายใต้การอุปถัมภ์ของ His Highness Sheikh Mohammed bin
Rashid Al Maktoum รองประธานาธบิ ดี รฐั มนตรฯี และผ้ปู กครองแห่งสหรัฐอาหรับเอมเิ รตส์

รางวัลครูดีเด่นโลก (Global Teacher Prize) ก่อตั้งโดย มูลนิธิวาร์คีย์ฟาวเดชั่น นครดูไบ สหรัฐอาหรับ
เอมิเรตส์ (ดร.อุษณีย์ ธโนศวรรย์, 2562)

Global Teacher Prize

เกณฑ์การตัดสนิ รางวลั ครูดเี ด่นของโลก

ผู้ที่จะได้รับคัดเลือกให้ได้รับรางวัลครูของโลก ( Global Teacher Prize) จะได้รับการตัดสินตามเกณฑ์
กำหนดทเ่ี คร่งครัด เพือ่ ทจี่ ะได้ครูดเี ด่นที่มีผลงานที่โดดเด่นในการทำงาน โดยสถานศกึ ษาจะตอ้ งมหี ลกั ฐาน ดังน้ี

- การรับรองของผลสัมฤทธ์ิครใู นหอ้ งเรยี น จากนักเรยี น ผูร้ ว่ มงาน ครใู หญ่ หรือสมาชกิ ผูน้ ำของชมุ ชน
(ยกตัวอย่างเช่น รางวัลครูของท้องถิ่นหรือแห่งชาติ การรับรองจะต้องมีในข่าวท้องถิ่นหรือประเทศ หรือ
สิ่งตีพิมพ์ทางราชการ ผู้รับรองหรือหนงั สือรับรองต้องมาจากนักเรยี นทีป่ ระสบความสำเร็จระดับสูง คนที่มีฐานะ
หรือตำแหน่งเทา่ กัน หรือผู้บรกิ าร สมาชกิ อาวโุ สขององคก์ ารต่างประเทศหรอื หน่วยงานทเี่ กี่ยวกับการศึกษา)
- การเชิญชวนให้คนอื่นมาประกอบอาชีพครู การส่งงานเขียนเพื่อตีพิมพ์ในหัวข้อเกี่ยวกับอาชีพครู
บทความ บลอ็ ก การมีส่วนร่วมกบั สื่อ แคมเปญทางส่อื สังคม การจัดงานหรือการประชุม

243

(ยกตัวอย่างเช่น ครูผู้สอนหรือผู้ช่วยที่โรงเรียนของคุณหรือครูฝึกสอน โปรดระบุตัวอย่างสิ่งที่คุณได้ทำ
เพ่อื การเลื่อนตำแหน่งครใู นประเทศของคณุ )

- การเรยี นการศึกษาทม่ี กี ารประยกุ ตใ์ ชน้ วัตกรรมการสอนที่นา่ สนใจและผลสมั ฤทธ์ิท่ีพสิ ูจนไ์ ด้ในชั้นเรียน

(ยกตวั อย่างเชน่ การใช้เทคโนโลยีการเรยี นการสอน หรอื วธิ กี ารพิเศษ)
- ผลสัมฤทธท์ิ พ่ี สิ ูจน์ไดข้ องนักเรยี นในชน้ั เรียน

(ยกตัวอย่างเช่น การปรับปรุงการเลื่อนชั้นของนักเรียน การเข้าเรียน/พฤติกรรมที่ส่งผลต่อการประสบ
ความสำเรจ็ ในการทำงานในระดับโลก)

- ความสำเรจ็ ในสังคมในห้องเรียนทำให้เกิดรูปแบบทีม่ ีเอกลักษณ์และความแตกต่างในด้านของศักยภาพ
ในกระบวนการสอนและอืน่ ๆ

(การสร้างการจดจำผา่ นส่ือสมัยใหม่ รางวลั แหง่ สังคม การเสวนา และการแลกเปล่ียนความคดิ สิ่งเหล่าน้ี
คือองค์กรเล็กภายในชุมชน แต่คุณจะนำเอาสังคมรอบข้างมาไว้ในชั้นเรียนได้อย่างไร? คุณจะทำให้มันสำเร็จได้
อย่างไร?)

การเปน็ แบบอย่างทดี่ ี ระดบั ชาติ
- ต้องมั่นใจว่าเยาวชนจะได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เตรียมพร้อมพวกเขาให้เป็นพลเมืองโลกที่ดี ซ่ึง
จะต้องพบเจอกบั ผคู้ นที่มาจากพ้นื ทแี่ ตกตา่ ง ตา่ งวัฒนธรรมและชนชาติ
(ยกตัวอย่างเช่น การเชื่อมโยงโรงเรียนต่างๆ ในโลกเข้าด้วยกัน โดยสนับสนุนโครงการนักเรียน
แลกเปลี่ยน อธิบายแนวคิดของคุณในการปลูกฝังความรู้สึกในการเป็นพลเมืองโลกในห้องเรียน คุณจะทำให้มัน
สำเรจ็ ไดอ้ ย่างไร?)
- ตัดสนิ ผ้ชู นะโดยคณะกรรมการการประกวดครูโลกทป่ี ระกอบไปดว้ ยคุณครผู ้ทู รงกิตติมศักดิ์มากมาย ทั้ง
ผู้เชี่ยวชาญด้านการสอน นักวิจารณ์ บรรณาธิการ ข้าราชการ นักแปล เจ้าของกิจการ และนักวิทยาศาสตร์จาก
ท่วั โลก

การเปน็ แบบอยา่ งที่ดี ระดับชาติ

รางวัลสมเดจ็ เจ้าฟ้ามหาจกั รี (Princess Maha Chakri Award)
ในวโรกาสท่ีสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี จะทรงมีพระชนมายคุ รบ ๖๐ พรรษา ใน

ปี ๒๕๕๘ สำนักงานเลขาธกิ ารครุ ุสภา กระทรวงศึกษาธกิ าร รว่ มกับผู้ปฏบิ ัตงิ านดา้ นการศกึ ษา ได้ขอพระราชทาน
พระราชานุญาตจัดตั้งรางวัลระดับนานาชาติเพื่อเฉลิมพระเกียรติ พระปรีชาด้านการศึกษา ที่ทรงอุทิศพระองค์
เพื่อส่งเสริมการศึกษาให้แก่เด็กและเยาวชนในระดับต่างๆ มาโดยตลอด โดยเฉพาะเด็กเยาวชนผู้ด้อยโอกาสใน
ท้องถิ่นห่างไกลทั่วประเทศ โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราชานุญาตตั้งพระนามรางวัลว่า

“รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี” หรือ Princess Maha Chakri Award และพระราชทานพระราชานุญาตให้

จัดตั้ง “มูลนิธิรางวัล สมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี” เพื่อเป็นองค์กรหลักในการวางแผนการดำเนินงานและพิจารณา
รางวัล

เกณฑ์การตดั สินรางวลั สมเดจ็ เจ้าฟ้ามหาจกั รี (Princess Maha Chakri Award)

244

คุณสมบัติทัว่ ไป

1. มีสญั ชาติไทย และมถี ิ่นท่ีอยู่ในประเทศไทย

2. ปฏิบตั ิหนา้ ท่ีอยา่ งใดอย่างหน่ึง ดงั ต่อไปน้ี

2.1 เป็น หรือเคยเป็นครูผู้สอนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในสถานศึกษาของรัฐ เอกชน หรือ

องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ

2.2 เปน็ หรอื เคยเปน็ ครนู อกสถานศกึ ษาทีส่ อนผู้เรียนในวยั การศึกษาขัน้ พื้นฐาน

3. มีประสบการณ์ปฏิบัติงานสอนอย่างต่อเนื่องมาแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 15 ปี นับถึงวันที่ออก

ประกาศน้ี

4. ปฏบิ ัตงิ านสอนอยูจ่ นถึงวันประกาศผลการพิจารณาตดั สินตามข้อ 8.3

ในกรณีทเ่ี ป็นผบู้ รหิ ารสถานศึกษาตอ้ งมีชัว่ โมงสอนในรายวิชาอย่างต่อเนือ่ ง

5. ไม่เป็นครสู อนพเิ ศษเป็นอาชีพหลัก

คณุ สมบัตเิ ฉพาะ

คุณสมบตั เิ ฉพาะและแนวทางการพจิ ารณา มดี ังน้ี

1. เป็นผู้สรา้ งการเปลย่ี นแปลงในชวี ิตลกู ศษิ ย์

คณุ สมบัติเฉพาะ แนวทางพจิ ารณา

1. เปน็ ผสู้ รา้ งการเปล่ยี นแปลงในชวี ติ ลกู ศิษย์ 1. เปน็ ผู้สร้างการเปลีย่ นแปลงในชวี ติ ลกู ศิษย์

สร้างแรงบนั ดาลใจและจดั การเรียนรใู้ ห้ลูก พจิ ารณาจากข้อมลู เชิงประจักษใ์ นประเด็นตอ่ ไปนี้

ศษิ ยม์ ีความเจรญิ ก้าวหน้าและความสำเร็จในชวี ิต มี (1) ลกั ษณะการสอนและการจดั การเรียนรู้

ความอุตสาหะในการทำภารกิจความเป็นครูมาโดย ของครู สามารถนำไปสูก่ ารเปลย่ี นแปลง

ตลอดดว้ ยจติ วญิ ญาณความเป็นครู และเปน็ พฤตกิ รรมการเรยี นรู้และคณุ ภาพชีวิต

แบบอย่างทางคุณธรรมจรยิ ธรรม มลี ูกศิษย์ทีป่ ระสบ ของลูกศิษยใ์ ห้ดขี ้นึ อย่างชัดเจน โดย

ความสำเรจ็ ในหลากหลายแวดวงอาชพี กล่าวยกย่อง ปฏบิ ตั ติ ่อลูกศษิ ยท์ กุ คนอย่างสมำ่ เสมอ

ถึงคณุ งามความดี ตลอดชีวิตความเปน็ ครุ

(2) ผลการสอนและการจัดการเรียนรทู้ ำให้

ลกู ศิษย์ประสบความสำเร็จ ทัง้ ในดา้ น

การเรยี นการอาชีพ และการดำเนินชีวิต

คณุ สมบัติเฉพาะ แนวทางพิจารณา

(3) มีจิตวญิ ญาณความเป็นครู รักและศรทั ธาใน

วิชาชีพครู มีความรกั เมตตา เอาใจใส่

ชว่ ยเหลือ ส่งเสริมใหก้ ำลังใจแก่ลูกศิษย์

โดยเสมอหน้า อบรม ฝึกฝน เสริมความรู้

ทักษะ และมีวินัยที่ดีงามแก่ลูกศิษย์อยา่ ง


Click to View FlipBook Version