The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง ใส่ปก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nad_natrada, 2021-03-30 20:13:42

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง ใส่ปก

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง ใส่ปก

95

3.1 ตัวเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcer)หมายถึง สิ่งเร้าชนิดใดชนดิ หนึ่ง ซึ่งเมื่อได้รับ หรือ
นำเข้ามาในสถานการณ์นั้นแล้วจะมีผลให้เกิดความพึงพอใจ และทำให้อัตราการตอบสนองเปลี่ยนแปลงไปใน
ลักษณะเขม้ ขน้ ข้นึ เชน่ อาหาร คำชมเชย ฯลฯ

3.2 ตัวเสริมแรงลบ (Negative Reinforcer) หมายถึง ส่ิงเร้าชนิดใดชนดิ หนง่ึ ซ่ึงเมือ่ ตดั ออกไป จาก
สถานการณ์นั้นแล้ว จะมีผลให้อัตราการตอบสนองเปลี่ยนไปในลักษณะเข้มข้นขึ้น เช่น เสียงดัง แสงสว่างจ้า คำ
ตำหนิ รอ้ นหรือเย็นเกินไป ฯลฯ (ทมี่ า : Sampao Yiamram,2557)
การลงโทษ (Punishment)

การลงโทษ (Punishment) คือ การทำให้อัตราการตอบสนองหรือความถี่ของพฤติกรรมลดลง
การลงโทษมี 2 ประเภท

1. การลงโทษทางบวก (Positive Punishment)
2. การลงโทษทางลบ (Negative Punishment)

ตาราง เปรียบเทยี บการเสรมิ แรงและการลงโทษ ไดด้ งั น้ี

ชนดิ ผล ตวั อยา่ ง

การเสรมิ แรงทางบวก พฤติกรรมเพิ่มขึ้นเมื่อมีสิ่งเร้า ผู้เรียนที่ทำการบ้านส่งตรงเวลาแล้ว

โดยเฉพาะอย่างย่ิงเป็นส่ิงเร้าท่ีบุคคล ได้รับคำชม จะทำการบ้านส่งตรงเวลา

นน้ั ต้องการ สมำ่ เสมอ

การเสรมิ แรงทางลบ พฤติกรรมเพิ่มขึ้นเมื่อสิ่งเร้าที่ไม่เป็น ผู้เรียนที่ทำรายงานส่งตามกำหนด เวลา

ที่พึงปรารถนาถูกทำให้ลดน้อยหรือ จะไม่เกิดความวิตกอีกต่อไป ดังนั้นใน

หมดไป ครั้งต่อไปเขาก็จะรีบทำ รายงานให้เสรจ็

ตรงตามเวลา

การลงโทษ 1 พฤติกรรมลดลงเมื่อมีสิ่ ง เ ร้ า เมือ่ ถกู เพอ่ื น ๆ ว่า "โง่" เพราะต้ัง คำถาม

โดยเฉพาะสิ่งที่เขาไม่พึงปรารถนา ถามผู้สอน ผู้เรียนคนนั้น เลิกตั้งคำถาม

เกิดข้ึน ในช้นั เรียน

การลงโทษ 2 พฤติกรรมลดน้อยลง เมื่อนำสิ่งเร้าท่ี ผู้เรียนที่ถูกหักคะแนนเพราะตอบ

เขาพงึ ปรารถนาออกไป ข้อสอบในลักษณะที่แตกต่างจาก ครู

สอน ในครั้งต่อไปเขาจะไม่ ตอบคำถาม

ในลกั ษณะนน้ั อกี

96

การลงโทษ (Punishment) การเสริมแรงทางลบ และการลงโทษมีลักษณะที่คล้ายคลึงกันและมักจะใช้
แทนกันอยู่เสมอแต่การอธิบายของสกินเนอร์การเสริมแรงทางลบและการลงโทษต่างกัน โดยเน้นว่าการลงโทษ
เป็นการระงบั หรือหยดุ ย้ังพฤติกรรม

พฤตกิ รรม การเสรมิ แรง เพ่มิ พฤตกิ รรม กอ่ ให้เกดิ การกระทำ พฤตกิ รรมนั้นบอ่ ยขนึ้
พฤติกรรม การลงโทษ ลดพฤติกรรม ก่อใหเ้ กิดการกระทำ พฤตกิ รรมนัน้ น้อยลง

ตารางท่ี ตวั อยา่ งการใหก้ ารเสริมแรง

ตารางการเสรมิ แรง ลกั ษณะ ตัวอยา่ ง

ก า ร เ ส ร ิ ม แ ร ง ท ุ ก ค รั้ ง เป็นการเสริมแรงทุกครั้งที่ แสดง ทุกครั้งที่เปิดโทรทัศน์แล้ว เห็น

(Continuous) พฤตกิ รรม ภาพ

การเสริมแรงตามจำนวนครั้ง ของ ให้การเสริมแรงโดยดูจาก จำนวน การจ่ายค่าแรงตามจำนวน ครั้งที่

การตอบสนองที่แน่นอน (Fixed - ครั้งของการตอบสนอง ที่ถูกต้อง ขายของได้

Ratio) ด้วยอตั ราท่แี น่นอน

การเสรมิ แรงตามจำนวนครั้ง ของ ให้การเสริมแรงตามจำนวนครั้ง การได้รับรางวัลจากเครื่อง เล่น

การตอบสนองที่ไแน่ ของการตอบสนองแบบไม่แน่นอน สล๊อตมาชนี

นอน (Variable - Ratio)

การเสริมแรงความช่วงเวลาท่ี ให้การเสริมแรงตามช่วงเวลาที่ ทุก ๆ สัปดาห์ผู้สอนจะทำ การ

แน่นอน (Fixed - Interval) กำหนด ทดสอบ

การเสริมแรงตามช่วงเวลาที่ ไม่ ให้การเสริมแรงตามระยะเวลา ทไ่ี ม่ ผู้สอนสุ่มทดสอบตามช่วงเวลา ท่ี

แน่นอน (Variable - Interval) แนน่ อน ต้องการ

ลกั ษณะของตัวเสรมิ แรง (ทิศนา แขมมณี ,2547 : 72-76)
1. Material Reinforcers คือ ตวั เสริมแรงทเ่ี ปน็ วัตถุสิ่งของ เชน่ มอื ถอื ขนม
2. Social Reinforcers เป็นสงิ่ ทท่ี ุกคนต้องการ เนอ่ื งจากมนุษยเ์ ป็นสัตวส์ ังคม
2.1 Verbal เปน็ คำพูด เชน่ การชม (ตอ้ งชมพฤติกรรมทแี่ สดงออก ไมใ่ ชบ่ ุคลกิ ภาพ)
2.2 Nonverbal ภาษากาย เชน่ กอด (การกอดเปน็ The Best Social Reinforcers ซง่ึ ต้อง

ใชก้ บั Positive Behavior)
หมายเหตุ: ถ้า Verbal ไมส่ ัมพันธก์ บั Nonverbal คนเราจะเชือ่ Nonverbal มากกว่า
3. Activity Reinforcers เป็นการใช้กิจกรรมที่ชอบทำที่สุดมาเสริมแรงกิจกรรมที่อยากทำน้อยที่สุด

โดยต้องทำตาม Premack Principle คือ ให้ทำสิง่ ทีอ่ ยากทำน้อยท่ีสุดก่อน แล้วจึงใหท้ ำกิจกรรมที่ชอบที่สุด เชน่
เด็กทช่ี อบกิน Chocolate แต่ไมช่ อบเลน่ Pinball ก็ใหเ้ ลน่ Pinball กอ่ นแล้วจึงใหก้ ิน Chocolate

97

หมายเหตุ: ถ้าสิ่งใดเป็นของตาย คือจะทำหรือไม่ทำก็ได้สิ่งนั้นอยู่แล้ว สิ่งนั้นจะเป็นตัวเสริมแรงไม่ได้
อกี ตอ่ ไป

4. Token Economy จะเป็นตัวเสริมแรงได้เฉพาะเมื่อแลกเป็น Backup Reinforcers ได้ เช่น เงิน
ธนบัตรก็เป็นแค่กระดาษใบหนึ่ง แต่ว่ามันใช้ชำระหนี้ได้ตามกฎหมาย ดังนั้น ถ้ามันใช้ชำระหนี้ไม่ได้ก็เป็นแค่
กระดาษใบหนงึ่ เงินมีอทิ ธิพลสูงสดุ

5. Positive Feedback หรือการให้ข้อมูลป้อนกลับทางบวก จับเฉพาะจุดบวก มองเฉพาะส่วนที่ดี เช่น
บอกเดก็ วา่ หนูทำงานส่วนน้ีไดด้ ีมาก แต่สว่ นที่เหลือเอากลบั ไปแก้นะ

6. Intrinsic Reinforcers หรอื ตัวเสริมแรงภายใน เชน่ การช่ืนชมตัวเอง ไมต่ ้องให้มใี ครมาชม
ปจั จัยทม่ี ผี ลตอ่ การเสริมแรง

1. Timing การเสรมิ แรงตอ้ งทำทนั ที เชน่ แฟนตดั ผมมาใหม่ต้องชมทันที ถา้ ชา้ จะถกู ตำหนิ
2. Magnitude & Appeal การเสริมแรงต้องตอบสนองความต้องการอย่างพอเหมาะ อย่ามากไปหรือ
นอ้ ยไป
3. Consistency การเสริมแรงต้องให้สม่ำเสมอ เพราะจะได้รู้ว่าทำแล้วต้องได้รับการเสริมแรงอย่าง
แนน่ อน (ท่ีมา : บา้ นจอมยุทธ,2543)
ทฤษฎีการเรียนรู้การวางเงอ่ื นไขแบบการกระทำ สามารถสรุปได้ดงั น้ี
1. การกระทำใดๆ ถ้าได้รับการเสริมแรงจะมีแนวโน้มเกิดขึ้นอีก ส่วนการกระทำที่ไม่มีการเสริมแรง
แนวโนม้ ท่ีความถขี่ องการกระทำน้นั จะลดลง และหายไปในท่สี ุด
2. การเสริมแรงทแี่ ปรเปล่ียนทำให้เกิดการตอบสนองกว่า การเสริมแรงท่ตี ายตัว
3. การลงโทษทำให้เรยี นรู้ไดเ้ ร็วและลมื เรว็
4. การใหแ้ รงเสรมิ หรอื ให้รางวัลเม่ือมีการแสดงพฤติกรรมทตี่ ้องการ สามารถช่วยปรบั หรือปลูกฝังนิวัยท่ี
ตอ้ งการได้
การนำทฤษฎไี ปประยกุ ต์ใช้
1. ใช้ในการปลูกฝังพฤติกรรม (Shaping Behavior) หลักสำคัญของทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการ
กระทำของสกินเนอร์ คือ เราสามารถควบคุมการตอบสนองได้ด้วยวิธีการเสริมแรง กล่าวคือ เราจะให้การ
เสริมแรงเฉพาะเมื่อมีการตอบสนองที่ต้องการ เพื่อให้กลายเป็นนิสัยติดตัวต่อไป อาจนำไปใช้ในการปลู กฝัง
บคุ ลกิ ภาพของบุคคลใหม้ ีพฤติกรรมตามแบบท่ีตอ้ งการได้ (พรรณี ช.เจนจิต., 2545.)
สรุปแนวคดิ ท่ีสำคัญของ สกินเนอร์ Skinner
สกินเนอร์ ได้กลา่ วไวว้ า่ การเสรมิ แรงเป็นสิ่งทส่ี ำคัญท่ีทำให้บุคลแสดงพฤติกรรมซำ้ และพฤติกรรมของ
บคุ คลสว่ นใหญ่เป็นพฤติกรรมแบบเรียนรูป้ ฏบิ ตั ิและพยายามเนน้ ว่า การตอบสนองต่อสง่ิ เร้าใดๆของบุคคล สิ่งเร้า
นั้นจะต้องมสี ิ่งเสริมแรงอย่ใู นตวั หากลดสิ่งเสริมแรงลงเมื่อใด การตอบสนองจะลดลงเมอ่ื น้ัน

98

ทฤษฎกี ารเชื่อมโยงของธอร์นไดค์

ประวตั ิของ เอด็ เวิร์ด แอล ธอรน์ ไดค์
เข้าเริม่ การทดลองเม่ือปี ค.ศ. 1898 เกยี่ วกบั การใช้หีบกลทดลองการเรียนรู้จนมีช่ือเสียง หลังจากนั้นใน

ปี ค.ศ.189เขาได้สอนอยวู้ ิทยาลยั ครู ในมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย (Columbia University) ซึง่ ณ ที่นั้นเขาได้ศึกษา
เกยี่ วกบั การเรยี นรู้ กระบวนการตา่ งๆ ในการเรยี นรู้ และธรรมชาตขิ องภาษาอังกฤษทงั้ ของมนษุ ยแ์ ละสตั ว์ ธอรน์
ไดค์ เชอื่ วา่ การเรยี นร้เู บอ้ื งต้นของสงิ่ มชี ีวิตไมว่ า่ มนษุ ย์หรือสตั ว์ จะใชว้ ิธีการเรียนรแู้ บบลองผดิ ลองถูก

การเรยี นรูจ้ ะเกิดข้นึ ได้ด้วยการทีม่ นุษย์หรือสัตว์ไดเ้ ลือกวิธีการตอบสนองท่ีดีทสี่ ุด เพอ่ื การเช่ือมโยงกับสิ่ง
เรา้ ให้เหมาะสมจึงเรียกทฤษฎขี องธอร์นไดคว์ ่า ทฤษฎีสัมพนั ธ์เชอ่ื มโยง
ทฤษฎกี ารเรยี นรูก้ ารเช่ือมโยงของธอร์นไดค์

เป็นการเชื่อมโยงระหวา่ งสิ่งเร้ากับการตอบสนองของผู้เรียนในแต่ละขัน้ ตอนอย่างต่อเนื่อง โดยอาสัยกฎ
แห่งการเรยี นรู้ 4 กฎ ดว้ ยกัน ดังต่อไปนี้
กฎแหง่ ความพร้อม (Law of Readiness)

กฎข้อนี้ได้กล่าวถึงสภาพความพร้อมของผู้เรียนท้ังทางดา้ นร่างกายและจิตใจ ถ้าร่างกายเกดิ ความพร้อม
แลว้ ด้านกระทำย่อมเกดิ ความพึงพอใจ แตถ่ า้ ไม่พร้อมที่จะทำแล้วหรือถูกบังคับให้กระทำ จะทำให้เกิดความไม่พึง
พอใจ
กฎแหง่ การฝึกหัด (Law of Exercisa)

กฎข้อนี้ได้กล่าวถึงความมั่นคงของการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอ งที่ถูกต้องโดยการฝึกหัด
กระทำซำ้ ๆ บ่อย ๆ ยอ่ มทำใหเ้ กิดการเรยี นรไู้ ดน้ านและคงทนถาวร
กฎแห่งการใช้

ความมน่ั คงของการเรยี นรู้ เชน่ ถา้ ไมใ่ ช้แล้วนานๆใชท้ ี ก็จะเกดิ การจำไม่ได้
กฎแหง่ ผลที่พอใจ (Law of Effect)

กฎข้อนี้ได้กล่าวถึงผลที่ได้รับเมื่อแสดงพฤติกรรมการเรียนรู้แล้วว่า ถ้าได้รับผลที่พึงพอใจย่อมอยากจะ
เรยี นรู้อกี ตอ่ ไป ถา้ ไดร้ ับผลท่ไี ม่พึงพอใจย่อมไม่อยากจะเรียนรู้หรอื เกดิ ความเบ่ือหน่าย
การทดลองของธอร์นไดค์

99

การสรา้ งกรงไมท้ ่ีมีประตูกล พืน้ กรงมีแผ่นไม้แลว้ มเี ชือก”ยงไปถงึ ประตู ถา้ กดแผ่นไม้เม่ือไร ประตูกลจะ
เปดิ ออกทันที
ขัน้ ตอนในการทดลอง

ธอร์นไดค์ได้จับแมวที่หิวตัวหนึ่งนำมาใส่ไว้ในกรง โดยข้างนอกกรงจะมีปลาวางล่อไว้ในระยะที่แมว
มองเหน็ ได้ แตไ่ มส่ ามารถแตไ่ ม่สามารถใช้เท้าเขย่ี ถงึ
สรปุ การแสดงพฤตกิ รรมของแมวจากการทดลอง

แมวอย่ใู นกรง S1
R1 แมววงิ่ ไปรอบกรงไม้
R2 แมวสง่ เสียงร้อง
R3 แมวตระกุยข้างกรง
R4 แมวผลกั ประตู และประตกู ็เปิดออก
S คือ ความสมั พนั ธ์เชอื่ มโยงระหวา่ งสิง่ เร้า
R คือ การตอบสนอง

จากการทดลองของธอรน์ ไดค์ ได้สรุปกฎการเรยี นรู้สำคัญ 3 กฎ ดังน้ี
กฎความพงึ พอใจ หรอื กฎแห่งผล (Law of Effect)
กฎหง่ ความพรอ้ ม (Law of Readiness)
กฎของการใช้
กฎแหง่ การฝึกหดั (Law of Exercise)

แนวคิดทฤษฎีความต่อเนื่องขอ ธอร์นไดค์ สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
เพ่ือให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรไู้ ด้ ดังนี้

การจดั สิ่งเรา้ ทจ่ี ะกระต้นุ ใหผ้ ้เู รียนเกิดการตอบสนอง
จัดหาอปุ กรณท์ ี่นา่ สนใจเหมาะแก่การเรยี นรู้
ให้ผู้เรียนไดน้ ำสิ่งท่ที ดลองแล้วน้ันนำมาใช้อย่างแท้จริง การฝกึ ฝน (ทม่ี า : ประสาท อศิ รปรดี า, 2538)

100

แนวคิดทฤษฎีความต่อเนื่องขอ ธอร์นไดค์ สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการจัดการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

(ท่ีมา : ชัยวฒั น์ สทุ ธิรตั น์., 2552.) ดังนี้

1.การเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนไดล้ องผิดลองถูกด้วยตนเองบาง จะเป็นการชว่ ยใหผ้ ู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในการ

แก้ไขปญั หา โดยสามารถจดจำผลจากการเรียนรู้ได้ดี รวมท้ังเกิดความภาคภูมใิ จในการทำสิ่งต่าง ๆ ดว้ ยตนเอง

2. การสำรวจความพร้อมหรือการสร้างความพร้อมทางการเรียนให้แก่ผู้เรียนเป็นสิ่งจำเป็นที่ต้อง

ดำเนินการกอ่ นการเรียนเสมอ

3. หากต้องการให้ผู้เรียนเกิดทักษะในเรื่องใดแล้ว ต้องให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจในเรื่องนั้น ๆ

อยา่ งถอ่ งแท้ และใหผ้ ู้เรยี นฝึกฝนอยา่ งตอ่ เนอ่ื งและสม่ำเสมอ

4. เมอื่ ผเู้ รียนเกิดการเรียนร้แู ล้ว ควรให้ผูเ้ รียนฝึกนำการเรยี นรู้นนั้ ไปใช้

5. การให้ผเู้ รยี นไดร้ บั ผลทีน่ ่าพงึ พอใจ จะชว่ ยให้การเรยี นการสอนประสบความสำเร็จ

สรุป

ใหผ้ ้เู รียนไดน้ ำสิ่งที่ลองผดิ ลองถกู นั้นนำมาใชห้ รือแก้ไขปัญหาดว้ ยตัวเอง

ทฤษฎีการเรียนรู้แบบลองผิดลองถูกของธอร์นไดค์เป็นการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับ

พฤตกิ รรมที่ตอบสนองในการแก้ไขปญั หส โดย ธอรน์ ไดคไ์ ดส้ ร้างกฎ ขึน้ มา 3 ข้อ ดว้ ยกนั ดงั น้ี

1. กฎแห่งผล 2. กฎแหง่ การฝกึ หดั

3. กฎแหง่ การนำเอาไปใช้ 4. กฎแห่งความพรอ้ ม

ทฤษฏกี ารเรียนรู้กลมุ่ พุทธิปัญญานิยม

กลุ่มพุทธนิยมหรือกลุ่มความรู้ความเข้าใจหรือกลุ่มที่เน้นกระบวนการทางปัญญาหรือความคิด นักคิด
กลุ่มนี้เริ่มขยายขอบเขตของความคิดที่เน้นทางด้านพฤติกรรมออกไปสู่กระบวนการทางความคิด ซึ่งเป็น
กระบวนการภายในของสมอง นักคิดกลุ่มนี้เชื่อว่าการเรียนรู้ของมนุษย์ไม่ใช่เรื่องของพฤติกรรมที่เกิดจาก
กระบวนการตอบสนองต่อสิ่งเร้าเพียงเท่านั้น การเรียนรู้ของมนุษย์มีความซับซ้อนยิ่งไปกว่านั้น การเรียนรู้เป็น
กระบวนการทางความคิดที่เกิดจาการสะสมข้อมูล การสร้างความหมาย และความสัมพันธ์ของข้อมูลและการดึง
ขอ้ มลู ออกมาใช้ในการกระทำและการแก้ปัญหาตา่ งๆ การเรยี นรเู้ ป็นกระบวนการทางสติปัญญาของมนุษย์ในการ
ที่จะสร้างความรู้ ความเข้าใจให้แก่ตนเองทฤษฎีในกลุ่มนีท้ ่ีสำคัญๆ มี 5 ทฤษฎี (ที่มา : กันยา สุวรรณแสง,2532)
คือ

1. ทฤษฎีเกสตัลท์ (Gestalt Theory) นักจิตวิทยาคนสำคัญของทฤษฎีนี้ คือ แมกซ์ เวอร์ไทเมอร์
(Max Wertheimer) วุล์แกงค์ โคห์เลอร์ (Wolfgang Kohler) เคริ์ท คอฟฟ์กา (Kurt Koffka) และเคริ์ท เลวิน
(Kurt Lewin)

2. ทฤษฎีสนาม (Field Theory) นักจิตวิทยาคนสำคัญ คือ เคริ์ท เลวิน ซึ่งได้แยกตัวจากกลุ่มทฤษฎี
เกสตลั ท์ ในระยะหลัง

101

3.ทฤษฎเี ครอ่ื งหมาย (Sign Theory) ของทอลแมน (Tolman)
4.ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสติปัญญา (Inlellectual Development Theory) นกั จิตวทิ ยาคนสำคัญคอื
เพยี เจต์ (Piaget) และบรุนเนอร์ (Bruner)
5.ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย ( A Theory of Meaningful Verbal Learning) ของออซูเบล
(Ausubel)

ทฤษฏกี ารเรียนรู้ของ กลุม่ เกสตลั ท์ (Gestalt Theory)

กลุม่ เกสตลั ท์น้ี เริ่มกอ่ ตงั้ ในประเทศเยอรมันนี ราวปี ค.ศ. 1912 ในระยะใกล้เคียงกบั กล่มุ พฤตกิ รรมนิยม
กำลังแพร่หลาย ได้รับความนิยมอยู่ในประเทศสหรัฐอเมริกา ผู้นำของกลุ่มคือ แมกซ์ เวอร์ไทม์เมอร์ , วุล์ฟ
แกงค์ โคห์เลอร์, เคิร์ท คอฟฟก์ า, และ เคริ ์ท เลวนิ ซงึ่ ต่อมาภายหลงั เลอวิน ไดน้ ำเอาทฤษฎีของกลมุ่ เกสตัลท์ นี้
มาปรับปรงุ ดัดแปลงเปน็ ทฤษฎีใหม่ คอื ทฤษฎีสนาม

แนวความคิดของนักจิตวทิ ยากลุ่มน้คี ือ การพจิ ารณาพฤติกรรมหรือประสบการณ์ของคนเปน็ ส่วนรวม ซ่ึง
ส่วนรวมนั้นมีค่ามากกว่าผลบวกของส่วนย่อย ต่าง ๆ มารวมกัน เช่นคนนั้นมีค่ามากกว่าผลบวกของส่วนย่อย
ต่างๆ มารวมตัวกันเป็นคนได้แก่ แขน ขา ลำตัว สมอง ฯลฯ จิตวิทยากลุ่มเกสตัลท์นิยม จึงหมายถึงจิตวิทยาที่
ยึดถือเอาส่วนรวมทั้งหมดเป็นสำคัญ นักจิตวิทยากลุ่มนี้ยังมีความเห็นอีกว่า การศึกษาทางจิตวิทยานั้นจะต้อง
ศึกษาพฤติกรรมทางจิตเป็นส่วนรวมจะแยกศึกษาที่ละส่วนไม่ได้ กลุ่ม GESTALISM เห็นว่าวิธีการ
ของ BEHAVIORISM ที่พยายามจะแยกพฤติกรรมออกมาเป็นหน่วยย่อย เช่น เป็นสิ่งเร้าและการตอบสนองนั้น
เป็นวิธีการไม่ใช่เรื่องของจิตวิทยา น่าจะเป็นเรื่องของเคมีหรือศาสตร์บริสุทธิ์แขนงอื่นๆ ดังนั้น
กลุ่ม GESTALISM จึงไม่พยายามแยกพฤติกรรมออกเป็นส่วนๆ แล้วศึกษารายละเอียดของแต่ละส่วนเหมือน
กลุ่มอื่นๆ แต่ตรงกันข้ามจะพิจารณาพฤติกรรมหรือการกระทำของมนุษย์ทุกๆ อย่างเป็นส่วนรวม เน้นในเรื่อง
สว่ นรวม (WHOLE) มากกว่าสว่ นยอ่ ย เพง่ เลง็ ถึงส่วนทั้งหมดในลกั ษณะทเ่ี ป็นอันหนึ่งอันเดียวกนั (UNIQUE)

แมกซ์ เวไธเมอร์ (Max Wertheimer,1912) นกั จิตวิทยาชาวเยอรมนั ศกึ ษาและทดลอง เกีย่ วกบั เกสตสั ท์
(Gestalt) มีแนวความคิดเชื่อว่า ธรรมชาติของมนุษย์คิดถึงส่วนรวมก่อนคิดถึงส่วนย่อย ๆ พฤติกรรมของบุคคล
จะต้องเป็นรูปของส่วนรวมมากกว่าส่วนย่อย ๆการศึกษาบุคคล จะต้องศึกษาพฤติกรรมส่วนรวมมีความสำ คัญ
มากกว่าพฤติกรรมสว่ นย่อยๆแตล่ ะอยา่ งท่ีประกอบเข้ารวมกันนอกจากนั้นการศึกษาจติ ต้องศึกษาจิตเป็นส่วนรวม
กันนอกจากนน้ั การศึกษาจติ ต้องศึกษาจิต เป็นสว่ นรวม มิใช่ ยกจิตแบ่งออกเปน็ สว่ นประกอบย่อย

เกสตัลท์เป็นคำศัพท์ในภาษาเยอรมัน มีความหมายว่า แบบ แผน หรือ รูปร่าง (form or pattern) ซ่ึง
ต่อมาในความหมายของทฤษฎีนี้ หมายถึง ส่วนรวม หรือ ส่วน ประกอบทั้งหมด สาเหตุที่เรียกเช่นนี้เพราะ
ความคิดหลักของกลุ่มนี้เชื่อว่า การเรียนรู้ที่ดีย่อมเกิดจากการจัดสิ่งเร้าต่างๆ มารวมกัน ให้เกิดการรับรู้โดย
สว่ นรวมกอ่ นและจึงแยกวิเคราะหเ์ พ่ือเรียนรู้ สว่ นย่อยทีละสว่ นต่อไป ถา้ มนุษย์หรือสัตว์มองภาพพจน์ของส่ิงเร้า
ไมเ่ ห็นโดย ส่วนรวมแล้ว จะไม่เขา้ ใจหรือเรียนรู้ได้อย่างแท้จริง

102

กฎการเรียนรขู้ องกลมุ่ เกสตลั ท์ สรุปไดด้ ังนี้
1. การเรียนรูเ้ ปน็ กระบวนการทางความคิดซง่ึ เป็นกระบวนการภายในตัวของมนษุ ย์
2. บคุ คลจะเรยี นร้จู ากส่ิงเร้าทเ่ี ป็นสว่ นรวมได้ดีกว่าส่วนย่อย
3. การเรยี นรเู้ กดิ ข้นึ ได้ 2 ลกั ษณะคือ
3.1) การรับรู้ (perception) การรับรู้เป็นกระบวนการที่บคุ คลใช้ประสาทสมั ผัสรับสิ่งเร้าแล้ว

ถ่ายโยงเขา้ สู่สมองเพือ่ ผ่านเขา้ สูก่ ระบวนการคิด สมองหรือจิตจะใช้ประสบการณ์เดิมตีความหมายของสิ่งเร้าและ
แสดงปฏิกิริยาตอบ สนองออกไปตามทีส่ มอง / จติ ตีความหมาย

3.2) การหยั่งเห็น (Insight) เป็น การค้นพบหรือเกิดความเข้าใจในช่องทางแก้ปัญหาอย่าง
ฉับพลันทันที อันเนื่องมาจากผลการพิจารณาปัญหาโดยส่วนรวม และการใช้กระบวนการทางความคิดและ
สติปญั ญาของบคุ คลนนั้

4. กฎการจัดระเบียบการรับรู้ของเกสตัลท์มีดังน้ี
4.1 กฎการรับรู้ส่วนรวมและส่วนย่อย (Law of Pragnanz) ประสบการณ์ เดิมมีอิทธิพลต่อ

การรับรูข้ องบุคคล การรับรู้ของบุคคลตอ่ สิ่งเรา้ เดียวกันอาจแตกต่างกันได้เพราะการใช้ ประสบการณ์เดิมมารบั รู้
ส่วนรวมและส่วนย่อยต่างกัน

4.2 กฎแหง่ ความคล้ายคลงึ (Law of Similarity) กฎนเ้ี ปน็ กฎที่ Max Wertheimer
ตัง้ ข้นึ ในปี ค.ศ. 1923 โดยใช้เปน็ หลักการในการวางรปู กลมุ่ ของการรับรู้ เช่น กลุ่มของ เสน้ หรือสี ทค่ี ลา้ ยคลงึ กัน
หมายถึงสงิ่ เร้าใด ๆ ก็ตาม ที่มีรูปรา่ ง ขนาด หรือสี ทีค่ ล้ายกัน คนเราจะรับรู้วา่ เปน็ สง่ิ เดยี วกัน หรอื พวกเดียวกัน

4.3 กฎแห่งความใกล้เคียง (Law of Proximity) สาระสำคัญของกฎนี้ มีอยู่ว่า ถ้าสิ่งใด หรือ
สถานการณใ์ ดท่เี กิดขนึ้ ในเวลาต่อเนื่องกนั หรอื ในเวลาเดียวกัน อนิ ทรยี จ์ ะเรียนรู้ ว่า เป็นเหตุ และผลกัน หรือ ส่ิง
เรา้ ใดๆ ที่อยใู่ กล้ชิดกนั มนษุ ยม์ ีแนวโน้มทจ่ี ะรับรู้ ส่งิ ตา่ งๆ ทอ่ี ยู่ใกล้ชดิ กันเป็นพวกเดยี วกัน หมวดหมูเ่ ดยี วกนั

103
4.4 กฎแห่งความสมบูรณ์ (Law of Closure) แม้สิ่งเร้าที่บุคคลรับรู้จะยังไม่สมบูรณ์ แต่บุคคล
สามารถรบั รู้ในลกั ษณะสมบูรณ์ไดถ้ ้าบคุ คลมปี ระสบการณ์เดมิ ในส่งิ เร้า นั้น

4.5 กฎแห่งความต่อเน่ือง สิ่งเร้าที่มีความต่อเนื่องกัน หรือมีทิศทางไปในแนวเดียวกัน บุคคลมัก
รบั รูเ้ ปน็ พวกเดียวกัน หรอื เร่ืองเดยี วกัน หรอื เป็นเหตผุ ลเดยี วกนั

4.6 บุคคลมักมีความคงท่ีในความหมายของสิง่ ที่รับรู้ตามความเป็นจริง กล่าวคือ เมื่อบุคคลรับรู้ส่ิง
เร้าในภาพรวมแล้วจะมีความคงที่ในการรับรู้สิ่งนั้นใน ลักษณะเป็นภาพรวมดังกล่าว ถึงแม้ว่าสิ่งเร้านั้นจะเปลี่ยน
แปรไปเม่ือรบั รู้ในแง่มมุ อ่นื

4.7 การรับรู้ของบุคคลอาจผิดพลาดบิดเบือนไปจากความเป็นจริงได้ เนื่องมาจากการจัดกลุ่ม
ลกั ษณะสิ่งเรา้ ทที่ ำใหเ้ กดิ การลวงตา

5. การเรียนร้แู บบหยง่ั เหน็ (Insight) โคห์เลอร์ ได้สังเกตการเรยี นรขู้ องลิงในการทดลอง ลงิ พยายามที่จะ
เอากลว้ ยท่ีซึ่งแขวนอยู่สูงเกนิ กว่าจะเอื้อมถงึ ในทีส่ ุดลงิ กเ็ กิดความคิดที่จะเอาไม่ไปสอยกล้วยท่ีแขวนเอามากินได้
สรุปได้ว่าลิงมีการเรียนรู้แบบหยั่งเห็น การหยั่งเห็นเป็นการค้นพบหรือเกิดความเข้าใจในช่องทางแก้ปัญหาอย่าง
ฉับพลัน ทันที อันเนื่องมาจากผลการพิจารณาปัญหาโดยส่วนรวม และการใช้กระบวนการทางความคิดและ
สติปัญญาของบุคคลนั้นในการเชื่อมโยง ประสบการณ์เดิมกับปัญหาหรือสถานการณ์ที่เผชิญ ดังนั้นปัจจัยสำคัญ

104

ของการเรียนรู้แบบหยั่งเห็นก็คือประสบการณ์ หากมีประสบการณ์สะสมไว้มาก การเรียนรู้แบบหยั่งเห็นก็จะ
เกดิ ข้ึนได้มาก เชน่ กัน
Wolfgang Kohler (1886 - 1941) นกั จติ วทิ ยาชาวเยอรมันได้ทำการตรวจสอบการเรียนรู้การแก้ปัญหาของลิงซิ
มแปนซีโดยการนำลิงใส่ไว้ในกรงที่มีกล่องไม้ 2 กล่องวางอยู่บนพื้นกรงและมีกล้วยผูกด้วยเชือกแขวนอยู่ด้านบน
ของกรงในระยะที่ลิงไม่อาจเออ้ื มถึงได้ เมือ่ ลงิ เข้าไปอยใู่ นกรงแล้วลิงพยายามทำอยหู่ ลายวธิ ีการ เช่น กระโดด ปีน
กรง ยืนบนกล่องไม้กล่องเดียวแล้วเอื้อมมือเพื่อจะเอากล้วยมากินให้ได้แต่ก็ไม่สำเร็จและใน ที่สุดลิงก็หยุดมอง
กล่องไม้ 2 กล่อง มองกลว้ ยแล้วก็เอากล่อง 2 กล่องมาวางซ้อนกนั แล้วปีนข้นึ ไปบนกล่องไม้เอื้อมมือไปหยิบกล้วย
มากนิ ได้
จากการทดลองของโคเลอรน์ ีเ้ ขาอธบิ ายวา่

1. การเรียนรูโ้ ดยการแก้ปัญหาตา่ งๆ นั้นไม่ใช่เปน็ ไปอย่างไม่มแี บบแผนหรอื เป็นการบังเอิญจากการลอง
ผิดลองถูก แต่การแก้ปัญหาที่แท้จริงเกิดจากการใช้การหย่ังเหน็ ความสมั พันธก์ ันของสิ่งต่างๆมากกว่า โดยในการ
ทดลองนลี้ ิงสามารถแก้ปญั หาได้ดว้ ยการมองเห็นความสมั พันธ์ของกล่องไม้ 2 กล่องและกล้วยจนสามารถนำกล่อง
มาตอ่ กนั เพอ่ื เอากล้วยมากนิ

2. การหยั่งเห็น (Insight) คือ การที่อินทรีย์มองเห็นความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ ที่มีอยู่ และมองเห็น
ช่องทางในการแก้ปัญหาอย่างชัดเจนได้อย่างทันทีทันใดแล้วก่อนท่ีจะลงมือกระทำ ดังนั้นการนำกลอ่ งมาซ้อนกนั
เพอ่ื ปนี ไปเอากลว้ ยของลิง จงึ เป็นพฤตกิ รรมท่สี ามารถทำไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ หลงั จากลงิ นั่งคดิ แก้ปัญหาได้แล้ว

3. จากการที่ลิงคิดแก้ปัญหาได้โดยการรับรู้สิ่งเร้าที่มีอยู่ทั้งหมด แล้วนำมาหาความสัมพันธ์กัน แสดงให้
เห็นวา่ การพจิ ารณาสิ่งเรา้ เป็นส่วนรวมนั้นจะช่วยนำไปสู่การหย่ังเห็น การรบั รูส้ ิ่งเรา้ ต่างๆของอนิ ทรีย์ จึงเปน็ ไปใน
ลักษณะส่วนรวมมากกว่าการรับรู้เป็นส่วนย่อย และจากการทำการทดลองลักษณะนี้ซ้ำอีก โดยลิงซิมแปนซี ตัว
อื่นๆ พบว่า บางตัวไม่สามารถแก้ปัญหาอย่างท่ีลิงของโคเลอร์ทำได้ จึงอาจสรุปได้ว่า ปัจจัยที่ทำให้เกิดการ
Insight นั้นมีมากกว่าสิง่ ทีม่ องเห็น ปัจจัยที่ไดร้ ับการกล่าวถึงกันมากคือ ประสบการณ์เดิมและความสามารถทาง
สมองของลงิ แต่ละตัวท่ีมีแตกต่างกัน (Feldman ,1992:203) และจากการตดิ ตามผลตอ่ เน่ืองยังพบว่า ลงิ สามารถ
นำวธิ กี ารแก้ปญั หาที่ประสบความสำเรจ็ แล้วในครั้งน้ีไปดัดแปลงใช้ในการแกป้ ัญหาในสถานการณ์ใหมท่ ่ีคล้ายคลึง
กันไดอ้ ีกดว้ ย
หลกั การจัดการศกึ ษา / การสอน ตามแนวคดิ จากกล่มุ เกสตลั ท์

1. กระบวน การคิดเป็นกระบวนการสำคัญในการเรียนรู้ การส่งเสริมกระบวนการคิดจึงเป็นสิ่งจำเป็น
และเป็นสงิ่ สำคัญในการช่วยใหผ้ ู้ เรียนเกิดการเรยี นรู้

2. การสอนโดยการเสนอภาพรวมให้ผู้เรียนเห็นและเข้าใจก่อนการเสนอส่วนย่อย จะช่วยให้ผู้เรียนเกิด
การเรียนรูไ้ ด้ดี

3. การสง่ เสรมิ ให้ผู้เรียนมีประสบการณม์ าก ได้รับประสบการณท์ ี่หลากหลายจะชว่ ยใหผ้ ู้เรยี นสามารถคิด
แกป้ ัญหาและคิดริเรมิ่ ได้มากขน้ึ

4. การจัดประสบการณ์ใหม่ ให้มีความสัมพันธ์กับประสบการณ์เดิมของผู้เรียนจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถ
เรียนรู้ไดง้ า่ ยข้ึน

105

5. การจัดระเบียบสิ่งเร้าที่ต้องการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ให้ดีคือ การจัดกลุ่มสิ่งเร้าที่เหมือนกันหรือ
คล้ายคลึงกันไว้เป็นกลุม่ เดยี วกัน

6. ในการสอนครูไม่จำเป็นต้องเสียเวลาเสนอการสอนท้ังหมดที่สมบูรณ์ครูสามารถเสนอ เนื้อหาแต่เพียง
บางสว่ นได้ หากผ้เู รยี นสามารถใช้ประสบการณเ์ ดมิ มาเตมิ ใหส้ มบูรณ์

7. การเสนอบทเรียนหรือเนื้อหาควรจัดให้มีความต่อเนื่องกันจะช่วยให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้ได้ดี และ
รวดเร็ว

8. การส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนได้รับประสบการณ์ที่หลากหลาย จะช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้แบบหยัง่ เห็น
ไดม้ ากขนึ้ (ทม่ี า : นันทวฒั น์ บุญไธสง, 2543)

ทฤษฎีสนาม (Field Theory)

ทฤษฎสี นามของเลอวิน (Lewin’s Field Theory) Kurt Lewin นักจติ วทิ ยาชาวเยอรมัน (1890
– 1947) มแี นวคดิ เกีย่ วกบั การเรียนรู้เชน่ เดียวกับกลุ่มเกสตลั ท์ ทว่ี ่าการเรยี นรู้ เกดิ ขนึ้ จากการจัดกระบวนการ
รับรู้ และกระบวนการคิดเพื่อการแก้ไขปญั หาแต่เขาได้นำเอาหลักการทางวิทยาศาสตร์มาร่วมอธิบายพฤติกรรม
มนุษย์ เขาเชื่อว่าพฤติกรรมมนุษย์แสดงออกมาอย่างมีพลังและทิศทาง (Field of Force) สิ่งที่อยู่ในความ
สนใจและต้องการจะมพี ลงั เปน็ บวก ซงึ่ เขาเรยี กว่า Life space ส่ิงใดทอ่ี ย่นู อกเหนือความสนใจจะมพี ลงั เป็นลบ

Kurt Lewin กำหนดวา่ ส่งิ แวดล้อมรอบตัวมนุษย์ จะมี 2 ชนดิ คือ
1. สง่ิ แวดล้อมทางกายภาพ (Physical environment)
2. สิ่งแวดล้อมทางจิตวิทยา (Psychological environment) เป็นโลกแห่งการรับรู้ตามประสบการณ์ของแต่ละ
บคุ คลซึง่ อาจจะเหมือนหรือแตกต่างกับสภาพที่สังเกตเหน็ โลก หมายถงึ Life space นั่นเอง
Life space ของบุคคลเป็นสิ่งเฉพาะตัว ความสำคัญที่มีตอ่ การจัดการเรียนการสอน คือ ครูต้องหาวิธีทำให้ตัวครู
เข้าไปอยู่ใน Life space ของผูเ้ รยี นให้ได้

ทฤษฎีการเรยี นรู้ของทฤษฎีสนาม สามารถสรปุ ไดด้ งั น้ี
1. พฤตกิ รรมของคนมีพลังและทิศทาง สิ่งใดท่ีอยู่ในความสนใจและความต้องการของตน จะมพี ลงั เปน็ +

สิ่งที่นอกเหนือจากความสนใจจะมีพลังงานเป็น – ในขณะใดขณะหนึ่งทุกคนจะมี โลก หรือ อวกาศชีวิต (life
space) ของตน ซึ่งจะประกอบไปด้วยสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (physical environment) อันได้แก่ คน สัตว์
สง่ิ ของ สถานท่ี สงิ่ แวดล้อมอืน่ ๆ และส่งิ แวดลอ้ มทางจติ วทิ ยา
Kurt Lewin เสนอ แนวคดิ ทฤษฎสี นามวา่ หมายถงึ ความสามารถที่จะวเิ คราะห์แรงตา่ ง ๆ ทมี่ อี ยใู่ นสภาวะการท่ี
ตอ้ งการจะเปลี่ยนแปลง เป็นความพยายามทจี่ ะให้กลุ่มเกดิ การเปลี่ยน โดยแรงต่าง ๆ มอี ิทธิพลต่อกนั และกันจาก
แนวความคดิ ของ Lewin เชือ่ ว่า พฤตกิ รรมเป็นผลของแรง 2 ประเภท ซึ่งมบี ทบาทตรงข้างกัน คือ แรงต้าน และ
แรงเสริมให้เกิดการเปล่ียนแปลง การนำทฤษฎีสนามไปประยุกต์ใช้อย่างถูกต้องจะช่วยให้เข้าใจพฤติกรรมมากขึ้น
การจะทำใหเ้ กดิ การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมอย่างมีประสิทธภิ าพนั้น ใช้ 3 กลวิธี ดังนี้

106

1. เพมิ่ ขนาดของแรงเสริม
2. ลดขนาดของแรงต้าน
3. เพิ่มขนาดของแรงเสรมิ ขณะเดียวกันก็ลดขนาดของแรงตา้ น
Kurt Lewin ได้ เสนอแนวทางเพื่อดำเนนิ การเปล่ยี นแปลงโดยมขี ัน้ ตอนดังนี้
1. ละลายพฤตกิ รรมเดมิ
2. การวิเคราะห์ปัญหา
3. การตงั้ เปา้ หมาย
4. การมพี ฤตกิ รรมใหม่
5. การทำให้พฤตกิ รรมใหม่น้ันคงอยู่
การประยุกตใ์ ช้ ในการจดั การเรียนการสอน

สามารถประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน ตามความเชื่อของนักจิตวิทยาตามทฤษฎีกลุ่มนี้ มี
ความเช่ือว่า มนุษย์มคี วามแตกต่างกนั ทงั้ ในด้านความรูส้ กึ นึกคิด อารมณ์ความสนใจและความถนัด ใน
แต่ละคน ดังนั้นในการเรียนรู้ก็ต้องมีกระบวนการและขั้นตอนที่แตกต่างกัน ครูผู้สอนไม่จำเป็นต้องเสนอเน้ือหา
ทั้งหมดสามารถเสนอเนื้อหาทั้งหมดที่สมบูรณ์ควรเสนอบางส่วน ผู้เรียนสามารถใช้ประสบการณ์เดิมมาเติมให้
สมบูรณ์ การเสนอเนื้อหาของครูผู้สอน ควรมีความต่อเนื่อง ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีและรวดเร็ว
การส่งเสริมให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ที่หลากหลายช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้มากขึ้น การเสนอความคิด
รวบยอดในเรื่องใดเร่ืองหนึง่ แก่ผู้เรยี นก่อนการสอนเนื้อหาสาระน้ันจะชว่ ยใหผ้ ู้เรยี นร้ไู ดเ้ รียนเน้ือหาสาระนั้นอย่าง
มคี วามหมาย
การนำทฤษฎีปัญญานิยมมาประยุกต์ใช้ในการสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้แก่ การใช้เทคนิคการสร้างความ
สนใจแก่ผู้เรียนก่อนเริ่มเรียน คำนึงถึงความแตกต่างของผู้เรียนในแง่ของการเลือกเนื้อหาการเรียน กิจกรรมการ
เรยี น การควบคมุ ดว้ ยตนเองก่อน-หลัง (ทีม่ า : ชยั วฒั น์ สทุ ธริ ตั น์., 2552.)

ทฤษฎีเคร่อื งหมาย (Sign Theory)
เอ็ดเวิร์ด ซี. ทอลแมน (Edward C. Taolman) เป็นนักจิตวิทยาชาวอเมริกัน ได้เสนอถึงทฤษฎี

เคร่ืองหมาย หรอื ทฤษฎคี วามคาดหมาย (Expectancy Theory) ซง่ึ ปรับปรุงมาจากทฤษฎีการแสดงพฤติกรรมสู่
จุดหมาย (Purposive behaviorism) โดย ทอลแมน กล่าวว่า “การเรียนรู้เกิดจากการใช้เครื่องหมายเป็นตัวชี้
ทางใหแ้ สดงพฤติกรรมไปสูจ่ ดุ หมายปลายทาง”

การเรียนรู้โดยเครื่องหมายของทอลแมนหลักการเรียนรู้ของทฤษฎีทฤษฎีของทอลแมนครั้งแรกเรียกว่า
ทฤษฎีของการแสดงพฤติกรรมไปส่จู ุดหมายต่อมาเปล่ยี นเปน็ ทฤษฎี เครอื่ งหมาย (Sign theory) หรอื ทฤษฎีความ
คาดหมาย (Expectancy Theory) เน้นถึงการเกิดการเรียนรู้โดยการใช้ความรู้ความเข้าใจ (Congnitive) ซึ่งมี
ลักษณะคล้ายคลึงกับของเกสตัลท์ จัดอยู่ในกลุ่มทฤษฎีความรู้ความเข้าใจ (Congnitive Theori) ทอลแมนกล่าว

107

ว่า “การเรียนรู้เกิดจากการใชเ้ ครื่องหมายเป็นตัวชี้ทางใหแ้ สดงพฤติกรรมไปสูจ่ ุดหมายปลายทาง” แนวความคิด
ของทอลแมนคลา้ ยคลงึ กบั แนวความคิดของพาฟลอฟ คอื เน้นส่ิงเร้ามากกว่าการตอบสนอง ดังนน้ั ถ้าบทเรียนเป็น
สิ่งเร้าสิ่งหนึ่งที่จะต้องมีการตอบสนองบางอย่างจะต้องใช้เครือ่ งหมายมาเนน้ อกี สิ่งเร้าหนึ่งคู่กับบทเรยี น เพื่อให้มี
การตอบสนองตามตอ้ งการแสดงเป็นไดอะแกรมดังนี้ (ท่ีมา: ชยั วัฒน์ สุทธริ ัตน์ ,2552,หนา้ 24-25)

บทเรียน (S1) + เคร่ืองหมาย (S2) การตอบสนองคือการเรียนรู้ (R) ในการเรยี นร้โู ดยใช้เครือ่ งหมายน้ี
เกิดการเรียนรู้ได้ 3 ลกั ษณะคือ

1. การคาดหมายรางวัล (Reward expectancy) ทอลแมนกล่าววา่ การตอบสนองหรอื การเรยี นรู้ของ
อินทรยี ์ จะเกดิ จากการคาดหมายรางวลั ทพี่ อใจ กลา่ วคือ เน่ืองจากมีความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล ดงั นั้นรางวัลแต่
ละอย่างย่อมทำให้อินทรีย์พอใจแตกต่างกนั ออกไป บ้างชอบสงิ่ หนง่ึ บา้ งก็ชอบอกี สิง่ หนง่ึ เช่นแมวชอบปลา สนุ ขั
ชอบเนอื้ ฯลฯ ดงั น้นั ถ้ารางวัลผเู้ รียนคาดว่าจะไดร้ บั ไมต่ รงตามท่ีพอใจและต้องการ จะแสดงพฤติกรรมมองหาสิง่
ทีต่ ้องการต่อไปการทดลองที่สนับสนนุ เรอ่ื งการคาดหมายรางวัล เปน็ การทดลองของ Tinkle paugh ในปคี .ศ.
1928 เริ่มแรกมีจานอยู่ 2 ใบเขานำอาหารใส่จานใบหนึง่ ไว้ ในขณะทีใ่ ส่อาหารทจี่ านเพยี งใบเดยี วนัน้ ลิงท่ใี ช้
ทดลองจะจบั ตาดูอยู่ดว้ ย และถูกกันไม่ใหท้ จ่ี านอาหาร ต่อมาจับลิงมาทจ่ี าน 2 ใบ ลงิ จะเลือกจานท่ีมีอาหารคอื
กลว้ ยไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง ต่อมาได้เอากลว้ ยซ่อนไว้แล้วเปล่ยี นเอาใบผักกาดหอมใส่ลงไปในจานแทน พบว่าลิงไมย่ อม
กินผกั แตเ่ ลือกจานท่มี ีผัก โดยพฤติกรรมมองหากล้วยต่อไป

2. การเรียนรูส้ ถานท่ี (Place learning) ทอลแมน กลา่ ววา่ ผเู้ รียนจะเคล่ือนไหวหรือแสดงพฤติกรรมการ
เรียนรจู้ ากจุดเรม่ิ ต้นไปยงั จุดหมายปลายทางเป็นลำดับขั้นตอนตามแตส่ ถานการณ์ทเี่ ปลย่ี นไป กลา่ วคอื ถา้ มี
การเริ่มตน้ ไปยังจุดหมายปลายทางได้สำเร็จผเู้ รยี นจะเลือกแสดงพฤติกรรมน้ันกอ่ น แต่เมื่อต่อมามีอปุ สรรคหรือมี
การปดิ กัน้ เสน้ ทางทีเ่ คยเดินทางมาสู่จุดหมายปลายทางไดส้ ำเรจ็ ผเู้ รียนจะปลยี่ นเส้นทางหรอื วธิ กี ารเรยี นรู้ไป
เรอ่ื ยๆเพื่อไปยังจดุ หมายปลายทางใหไ้ ด้

3. การเรยี นรแู้ ฝง (Latent learning) ทอลแมนกลา่ ววา่ การเรียนรเู้ ป็นการเปลี่ยนแปลงทางดา้ น
ความคิด (Congnitive Domain) ซึ่งเปน็ นามธรรมสังเกตเห็นได้ เมือ่ อินทรยี เ์ กิดการเรียนรู้มากเท่าใดไม่ทราบได้
เพราะไม่ได้แสดงออกมา จนกว่าจะถงึ เวลาที่จำเป็นหรือเหมาะสมจึงจะนำออกมาใช้
การทดลองที่สนับสนุนการเรียนรแู้ ฝง เปน็ การทดลองของทอลแมนรว่ มกบั ฮอนซิค (Honzik) ในปี ค.ศ. 1930
โดยแบง่ หนูออกเป็น 3 กลุ่ม ใหว้ ่ิงในเขาวงกตรปู ตวั ที (T maze) (กลุ่มที่ 1) ให้วิง่ ในเขาวงกตทีเปน็ เวลา 10 วนั
โดยไม่ได้รบั อาหารปลายทางเขาวงกต จนกระท่ังวนั ท่ี 11 จงึ ไดร้ ับอาหาร (กลุ่มท่ี 2) ใหว้ ่ิงในเขาวงกตทโี ดยไดร้ ับ
อาหารสม่ำเสมอทุกวนั (กลุ่มท่ี 3 เป็นกล่มุ ควบคมุ ) ให้สิง่ ในเขาวงกตโดยไม่ได้รบั อาหารเลย ผลปรากฏวา่ กลุ่มท่ี
1 และกลมุ่ ท่ี 2 ว่ิงในเขาวงกตถูกต้องและใกล้เคยี งกันมากกวา่ กลุม่ ที่ 3 แสดงว่าวิธกี ารให้รางวัลมีผลต่อการเรยี นรู้
บ้าง แตไ่ ม่มากนักเพราะไม่วา่ จะใหร้ างวลั สม่ำเสมอ หรอื ให้บา้ งไม่ใหบ้ ้าง ก็มีการแสดงพฤตกิ รรมไมแ่ ตกตา่ งกัน
มากนัก (ที่มา : ประสาท อิศรปรดี า, 2538)

108

ทฤษฎีของทอลแมน สรุปได้ดังนี้
1. ในการเรยี นรตู้ า่ งๆ ผู้เรยี นมกี ารคาดหมายรางวัล (reward expectancy) หากรางวัลท่ีคาดวา่ จะได้รับ

ไม่ตรงตามความพอใจและความต้องการ ผเู้ รยี นจะพยายามแสวงหารางวลั หรือส่งิ ที่ตอ้ งการต่อไป
2. ขณะที่ผู้เรียนจะพยายามไปให้ถึงจุดหมายปลายทางที่ต้องการ ผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้เครื่องหมาย

สญั ลักษณ์ สถานที่ (place learning) และสิ่งอ่นื ๆทีเ่ ป็นเคร่ืองช้ตี ามไปดว้ ย
3. ผู้ เรียนมีความสามารถที่จะปรับการเรียนรู้ของตนไปตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป จะไม่กระทำซ้ำๆ

ในทางทไี่ มส่ ามารถสนองความตอ้ งการ หรอื วัตถปุ ระสงคข์ องตน
4. การ เรียนรู้ที่เกิดขึ้นในบุคคลใดบุคคลหนึ่งนั้น บางครั้งจะไม่แสดงออกในทันที อาจจะแฝงอยู่ในตัว

ผ้เู รยี นไปกอ่ นจนกว่าจะถงึ เวลาทีเ่ หมาะสมหรือจำเปน็ จึงจะ แสดงออก (latent learning) (ท่ีมา : วไิ ลวรรณ ศรี
สงคราม.,2549)
หลกั การจดั การศึกษา / การสอน ตามแนวคิดของทฤษฎเี ครอ่ื งหมาย

1. การสร้างแรงขับ และ / หรือแรงจูงใจให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนจะกระตุ้นให้ผู้เรียนไปให้ถึงจุดมุ่ง หมายที่
ต้องการ

2. ในการสอนให้ผู้เรียนบรรลุจุดมุ่งหมายใดๆ นั้น ครูควรให้เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือสิ่งอื่นๆ ที่เป็น
เครอื่ งชีท้ างควบคู่ไปด้วย

3. การปรับเปล่ียนสถานการณก์ ารเรียนรู้ สามารถชว่ ยใหผ้ ู้เรียนปรับเปลีย่ นพฤตกิ รรมของตนได้
4. การเรียนรู้บางอย่างอาจไม่สามารถแสดงออกได้ในทันที การใช้วิธีการทดสอบหลายๆวิธี ทดสอบ
บอ่ ยๆ หรอื ตดิ ตามผลระยะยาว จึงเป็นส่ิงจำเป็นในการวัดและประเมินผลการเรยี นร้ใู นลกั ษณะน้ี

ทฤษฎีการเรยี นรู้ทางสตปิ ญั ญา (Intellectual Development Theory)

ทฤษฎีการเรยี นรู้ของเพียเจต์
เพียเจต์ (Piaget) ได้ ศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาการทางด้านความคิดของเด็กว่ามีขั้นตอนหรือกระบวนการ

อย่างไร เขาอธิบายว่าการเรียนรู้ของเด็กเป็นไปตามพัฒนาการทางสติปัญญา ซึ่งจะมีพัฒนาการไปตามวัยต่างๆ
เปน็ ลำดับขน้ั พฒั นาการเป็นสิง่ ท่ีเปน็ ไปตามธรรมชาติ ไมค่ วรท่จี ะเร่งเด็กใหข้ ้ามจากพัฒนาการขั้นหนึ่งไปสู่อีกข้ัน
หนงึ่ เพราะจะทำให้เกิดผลเสียแก่เด็ก แตก่ ารจดั ประสบการณ์ส่งเสรมิ พฒั นาการของเด็กในชว่ งท่ีเด็กกำลังพัฒนา
ไปสู่ ขั้นที่สูงกว่า สามารถช่วยให้เด็กพัฒนาไปอย่างรวดเร็วอย่างไรก็ตาม เพียเจต์เน้นความสำคัญของการเข้าใจ
ธรรมชาติ และพัฒนาการของเด็กมากกวา่ การกระต้นุ เด็กให้มีพฒั นาการเรว็ ขึ้น
ทฤษฎพี ฒั นาการทางสตปิ ญั ญา ของเพียเจต์ มีสาระสรุปไดด้ ังน้ี

1. พัฒนาการทางสตปิ ญั ญาของบุคคลเปน็ ไปตามวยั ต่างๆ เปน็ ลำดับขั้นดังนี้
1.1 ขนั้ รับร้ดู ้วยประสาทสัมผัส (Sensorimotor period) เป็นข้นั พัฒนาการในช่วง 0 -2 ปี ความคิด

ของเด็กวัยนี้ขนึ้ กับการรบั รู้และการกระทำเด็กยดึ ตัวเองเปน็ ศูนย์ กลาง และยังไมส่ ามารถเขา้ ใจความคิดของผู้อ่ืน

109

1.2 ขั้นตอนปฏิบัติการคิด (Preopoerational period) เป็นขั้นการพัฒนาการในช่วงอายุ 2-7 ปี
ความคิดของเด็กวัยนี้ยังขึ้นอยู่กับการรับรู้เป็นส่วนใหญ่ ยังไม่สามารถที่จะใช้เหตุผลอย่างลึกซึ้ง แต่สารถเรียนรู้
และใชส้ ัญลกั ษณไ์ ด้ การใชภ้ าษา แบง่ เป็นขน้ั ยอ่ ยๆ 2ข้ัน คือ

2. ภาษาและกระบวนการคดิ ของเด็กแตกต่างจากผู้ใหญ่
3. กระบวนการทางสติปญั ญา มลี ักษณะดังน้ี

3.1 การซึมซับหรือการดูดซึม (assimilation) เป็นกระบวนการทางสมองในการรับประสบการณ์
เรือ่ งราวและข้อมูลตา่ งๆเขา้ มาสะสม เก็บไว้ เพือ่ ใช้เปน็ ประโยชน์ตอ่ ไป

3.2 การปรบั และจดั ระบบ (accommodation) คือกระบวนการทางสมองในการปรับประสบการณ์
เดิมและประสบการณ์ใหม่ให้เข้ากัน เป็นระบบหรือเครือข่ายทางปัญญาท่ีตนสามารถเข้าใจได้ เกิดเป็นโครงสรา้ ง
ทางปัญญาใหมข่ ้นึ

3.3 การเกิดความสมดุล (equilibration) เป็น กระบวนการที่เกิดขึ้นจากขั้นของการปรับ หากการ
ปรับเป็นไปอย่างผสมผสานกลมกลืนก็จะก่อให้เกิดสภาพที่มีความสมดุลขึ้น หากบุคคลไม่สามารถปรับ
ประสบการณ์ใหม่และประสบการณเ์ ดมิ ให้เขา้ กันได้ ก็จะเกิดภาวะความไมส่ มดุลขึน้ ซ่ึงกอ่ ใหเ้ กิดความขดั แย้งทาง
ปัญญาขึน้ ในตัวบคุ คล

หลักการจัดการศึกษา / การสอน ตามทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญั ญา ของเพียเจต์
1. ในการพัฒนาเด็ก ควรคำนึงถึงพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็กและจัดประสบการณ์ให้เด็กอย่าง

เหมาะสม กับพัฒนาการนั้นไม่ควรบังคับให้เด็กเรียนในสิ่งที่ยังไม่พร้อม หรือยากเกินพัฒนาการตามวัยของตน
เพราะจะก่อให้เกดิ เจตคตทิ ี่ไมด่ ไี ด้

1.1 การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อให้เด็กเกิดการเรียนรู้ตามวัยของตนสามารถช่วยให้ เด็กพัฒนาไปสู่
พัฒนาการขน้ั สงู ได้

1.2 เด็กแต่ละคนมพี ฒั นาการแตกตา่ งกัน ถึงแม้อายจุ ะเท่ากนั แตพ่ ัฒนาการอาจไมเ่ ทา่ กัน ดงั นน้ั จงึ
ไม่ควรเปรียบเทียบเด็ก ควรให้เด็กมีอิสระที่จะเรียนรู้และพัฒนาความสามารถของเขาไปตามระดับพัฒนาการ
ของเขา

1.3 ในการสอนควรใช้สงิ่ ทเี่ ป็นรูปธรรม เพ่อื ช่วยให้เด็กเขา้ ใจลกั ษณะตา่ งๆ ไดด้ ขี ้ึน แม้ในพัฒนาการ
ช่วงความคิดแบบรูปธรรมเด็กจะสามารถสร้างภาพในใจได้ แต่การสอนที่ใช้อุปกรณ์ที่เป็นรูปธรรม จะช่วยให้เด็ก
เขา้ ใจแจ่มชัดขึ้น

2. การให้ความสนใจและสงั เกตเดก็ อย่างใกล้ชิด จะช่วยใหท้ ราบลกั ษณะเฉพาะตัวของเด็ก
3. ในการสอนเด็กเล็กๆ เด็กจะรับรู้ส่วนรวม (whole) ได้ดีกว่าส่วนย่อย (part )ดังนั้น ครูจึงควรสอน
ภาพรวมกอ่ นแลว้ จงึ แยกสอนท่ีละสว่ น

110

4. ในการสอนสงิ่ ใดใหก้ บั เด็ก ควรเร่ิมจากสงิ่ ท่เี ด็กคุน้ เคยหรือมปี ระสบการณ์มาก่อน แลว้ จงึ เสนอสิง่ ใหม่ท่ี
มีความสัมพันธ์กับสิ่งเก่า การกระทำเช่นนี้ช่วยให้กระบวนการซึมซับและการจัดระบบความรู้ของเด็กเป็นไป
ดว้ ยดี

5. การเปดิ โอกาสใหเ้ ด็กไดร้ บั ประสบการณ์ และมีปฏสิ ัมพันธ์กับสิง่ แวดล้อมมากๆ ชว่ ยใหเ้ ด็กดูดซึมข้อมูล
เข้าสู่โครงสร้างทางสติปัญญาของเด็กอันเป็นการส่ง เสริมพัฒนาทางสติปัญญาของเด็ก (ที่มา : นันทวัฒน์ บุญไธ
สง, 2543)

ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสตปิ ญั ญาของบรนุ เนอร์

บรุนเนอร์ (Bruner) เป็นนักจิตวิทยาที่สนใจเรื่องของพัฒนาการทางสติปัญญาต่อเนื่องจาก
เพียเจต์ บรุนเนอร์เชื่อว่ามนุษย์เลือกที่จะรับรู้สิ่งที่ตนเองสนใจ และการเรียนรู้เกิดจากกระบวนการค้นพบด้วย
ตัวเอง (discovery learning) แนวคดิ ทสี่ ำคญั ของบรนุ เนอร์ มดี ังน้ี

ทฤษฎีการเรียนรู้
1. การจัดโครงสร้างของความรู้ให้มีความสัมพันธ์และสอดคล้องกับพัฒนาการทางสติ ปัญญาของ

เดก็ มผี ลต่อการเรยี นรู้ของเด็ก
2. การจัดหลักสูตรและการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับระดับความพร้อมของผู้เรียน และ

สอดคลอ้ งกบั พัฒนาการทางสตปิ ัญญาของผู้เรียนจะช่วยใหก้ ารเรยี นรเู้ กิด ประสทิ ธิภาพ
3. การคิดแบบหยั่งรู้ (intuition) เป็นการคิดหาเหตุผลอย่างอิสระที่สามารถพัฒนาความคิดริเริ่ม

สร้างสรรคไ์ ด้
4. แรงจงู ใจภายในเป็นปัจจยั สำคัญทจี่ ะชว่ ยให้ผเู้ รยี นประสบผลสำเรจ็ ในการเรียนรู้
5. ทฤษฎพี ฒั นาการทางสติปญั ญาของมนษุ ย์ แบง่ ได้เป็น 3 ขนั้ ใหญๆ่ คอื
5.1 ขั้นการเรียนรู้จากการกระทำ (Enactive Stage) คือ ขั้นของการเรียนรู้จากการใช้

ประสาทสมั ผสั รับรู้ส่งิ ต่างๆ การลงมือกระทำชว่ ยใหเ้ ด็กเกดิ การเรียนรูไ้ ดด้ ี การเรียนรูเ้ กิดจากการกระทำ
5.2 ขั้นการเรียนรูจ้ ากความคิด (Iconic Stage) เป็นขั้นที่เด็กสามารถสร้างมโนภาพในใจ

ได้ และสามารถเรยี นรจู้ ากภาพ แทนของจริงได้
5.3 ขั้นการเรียนรู้สัญลักษณ์และนามธรรม (Symbolic Stage) เป็นขั้นการเรียนรู้สิ่งที่

ซับซ้อนและเป็นนามธรรมได้
6. การเรียนรู้เกิดไดจ้ ากการที่คนเราสามารถสร้างความคิดรวบยอด หรือสามารถสร้างหรอื สามารถ

จัดประเภทของสงิ่ ตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
7. การเรียนรทู้ ีไ่ ดผ้ ลดที ่ีสดุ คือการใหผ้ ูเ้ รยี นค้นพบการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง (discovery learning)

หลักการจดั การศกึ ษา / การสอนตามทฤษฎพี ฒั นาการทางสตปิ ัญญาของบรนุ เนอร์
1. กระบวนการค้นพบการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง เปน็ กระบวนการเรยี นรูท้ ีด่ มี คี วามหมายสำหรับผู้เรียน
2. การวิเคราะห์และจัดโครงสร้างเนื้อหาสาระการเรียนรู้ให้เหมาะสม เป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องทำก่อน

การสอน

111

3. การจัดหลักสูตรแบบเกลียว (Spiral Curriculum) ช่วยให้สามารถสอนเนื้อหาหรือความคิดรวบ
ยอดเดียวกนั แกผ่ ้เู รียนทุกวัยได้ โดยต้องจดั เน้อื หาความคิดรวบยอดและวิธสี อน ใหเ้ หมาะสมกบั ขนั้ พฒั นาการของ
ผูเ้ รียน

4. ในการเรียนการสอนควรส่งเสริมให้ผู้เรียนได้คิดอย่างอิสระให้มาก เพื่อช่วยส่งเสริมความคิด
สร้างสรรคข์ องผู้เรียน

5. การสร้างแรงจูงใจภายในให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนเป็นสิ่งจำเป็นในการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้
ให้แก่ผู้เรยี น

6. การจัดกระบวนการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับขั้นพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียนจะ ช่วยให้
ผูเ้ รียนเกิดการเรยี นร้ไู ดด้ ี

7. การสอนความคิดรวบยอดใหแ้ ก่ผู้เรียนเป็นสิ่งจำเป็น
8. การจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนได้ค้นพบการเรียนรู้ด้วยตนเองสามารถช่วยให้ผู้ เรียนเกิดการ
เรียนรไู้ ด้ด(ี ทีม่ า : นนั ทวัฒน์ บุญไธสง, 2543)

ทฤษฎกี ารเรียนรอู้ ยา่ งมีความหมาย (A Theory of Meaningful Verbal Learning)

ออซูเบล (Ausubel, David 1963) เปน็ นักจิตวทิ ยาแนวปญั ญานยิ มท่แี ตกตา่ งจากเพยี เจต์และบรูเนอร์
เพราะออซเู บลไม่ได้มวี ัตถปุ ระสงคท์ จี่ ะสรา้ งทฤษฎีท่ีอธิบายการเรยี นรู้ได้ ทุกชนิดทฤษฎีของออซเู บลเป็นทฤษฎีท่ี
หาหลกั การอธิบายการเรยี นรู้ท่เี รียกวา่ "Meaningful Verbal Learning" เท่านัน้ โดยเฉพาะการเช่ือมโยงความรู้
ทปี่ รากฏในหนงั สอื ทโี่ รงเรียนใชก้ บั ความรู้เดมิ ท่ีอยู่ในสมองของผ้เู รยี นในโครงสรา้ งสตปิ ัญญา (Cognitive
Structure)หรือการสอนโดยวิธกี ารใหข้ ้อมลู ข่าวสาร ดว้ ยถ้อยคำทฤษฎีของออซูเบล เน้นความสำคญั ของการ
เรียนรอู้ ยา่ งมีความเขา้ ใจ และมีความหมายการเรยี นรู้เกดิ ขน้ึ เมอ่ื ผเู้ รยี นได้เรยี นรวมหรือเชอ่ื มโยง
(Subsumme) ส่งิ ที่เรยี นร้ใู หม่หรือข้อมลู ใหม่ซงึ่ อาจจะเป็นความคดิ รวบยอด(Concept) หรือความร้ทู ่ีได้รบั ใหม่
ในโครงสรา้ งสตปิ ัญญากับความรเู้ ดมิ ท่ีอยใู่ นสมอง ของผเู้ รียนอย่แู ล้ว ทฤษฎขี องออซูเบลบางคร้ัง เรยี กวา่
"Subsumption Theory"

ออซเู บลให้ความหมายการเรียนรู้อยา่ งมีความหมาย( Mearningful learning) วา่ เปน็ การเรียนท่ผี ู้เรยี น
ได้รบั มาจากการท่ีผ้สู อน อธบิ ายส่ิงที่จะต้องเรียนร้ใู ห้ทราบและผู้เรยี นรบั ฟังดว้ ยความเข้าใจ โดยผ้เู รยี นเหน็
ความสมั พันธข์ องสิ่งทเ่ี รียนร้กู ับโครงสรา้ งพุทธิปัญญาที่ ได้เกบ็ ไว้ในความทรงจำ และจะสามารถนำมาใช้ใน
อนาคต ออซูเบลได้ชใี้ หเ้ ห็นว่าทฤษฎนี ้มี วี ตั ถุประสงค์เพื่อท่ีจะอธบิ ายเก่ียวกับ พุทธิปญั ญา

ออซเู บล เชอ่ื ว่าการเรยี นรูจ้ ะมคี วามหมายแก่ผู้เรยี น หากการเรียนรนู้ น้ั สามารถเชอื่ มโยงกับส่ิงใดสง่ิ หน่ึง
ท่ีร้มู าก่อนการนำเสนอความคิดรวบยอดหรือกรอบมโนทัศน์ หรอื กรอบความคิด (Advance Organizer) เป็น
เทคนคิ ท่ีชว่ ยใหผ้ ู้เรยี นไดเ้ รียนรอู้ ยา่ งมีความหมายจากการสอนหรือบรรยายของ ครู โดยการสรา้ งความเช่ือมโยง
ระหว่างความรทู้ ี่มมี าก่อนกบั ข้อมลู ใหม่ หรอื ความคดิ รวบยอดใหม่ ท่ีจะต้องเรียน จะช่วยให้ผูเ้ รียนเกิดการเรียนรู้

112

อย่างมีความหมายที่ไม่ตอ้ งท่องจำ หลกั การทว่ั ไปท่นี ำมาใช้ คือ การจัดเรียบเรยี ง ข้อมลู ขา่ วสารทตี่ ้องการให้
เรยี นรู้ ออกเป็นหมวดหมู่ นำเสนอกรอบ หลกั การกว้างๆ ก่อนทจ่ี ะให้เรียนรใู้ นเร่ือใหม่ แบง่ บทเรียนเปน็ หัวขอ้ ท่ี
สำคัญ และบอกให้ทราบเกีย่ วกับหวั ข้อสำคัญท่ีเป็นความคดิ รวบยอดใหมท่ ีจ่ ะต้องเรยี น

เขาถือวา่ Advance Organizer มี ความสำคญั มากเพราะเป็นวธิ ีการสร้างการเช่ือมช่องว่างระหว่าง
ความรูท้ ผ่ี ู้ เรยี นไดร้ แู้ ล้ว (ความรเู้ ดมิ ) กบั ความร้ใู หมท่ ่ไี ดร้ ับ ทจี่ ำเปน็ จะต้อง เรียนรู้เพื่อผ้เู รียนจะได้มีความเข้าใจ
เน้ือหาใหม่ได้ดี และจดจำได้ได้ดขี น้ึ ฉะนั้นผู้สอนควรจะใช้เทคนคิ Advance Organizer ชว่ ยผู้เรียนในการเรยี นรู้
ทง้ั ประเภท การรับอย่างมีความหมายและการคน้ พบอย่างมีความหมาย
ออซเู บล ใหค้ วามสำคัญเกี่ยวกับโครงสรา้ งทางปญั ญาทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับการรับรขู้ อง มนุษย์ และได้แบ่งการรับรู้
ออกเปน็ 4 ประเภท คือ

1. การเรยี นรโู้ ดยเรยี นรู้อยา่ งมีความหมาย
2. การเรียนรโู้ ดยการทอ่ งจำ
3. การเรยี นรู้โดยการค้นพบอยา่ งมีความหมาย
4. การเรยี นรู้โดยการคน้ พบแบบทอ่ งจำ
การเรยี นรู้ท้ัง 4 รปู แบบนี้ ออซูเบล ได้เนน้ ความสำคัญของการเรยี นรู้อยา่ งมคี วามหมาย และพยายามท่ี
จะสร้างหลักการเพ่ืออธบิ ายกระบวนการเรียนรู้ดังกลา่ ว หลกั การดงั กล่าวนี้ Ausubel เชอ่ื ว่าจะทำใหเ้ กิดการ
เรียนรู้อยา่ งมีความหมาย โดยเรียกหลกั การดังกล่าวน้ีว่า การจดั วางโครงสร้างเนอ้ื หา หลักการสำคัญประการหนง่ึ
ท่นี ักจติ วิทยาในกลุ่มนีม้ ิไดก้ ล่าวถึง คอื การสร้างความต้ังใจใหเ้ กิดขนึ้ ในตัวผเู้ รยี นกอ่ นเริ่มเรียน ความรตู้ า่ งๆ
จะตอ้ งถูกจัดให้มีระบบและสอดคล้องกับการเรียนรู้ โครงสรา้ งของเนื้อหาควรต้องได้รับการจัดเตรยี ม หรือ
แบ่งแยกออกเปน็ หมวดหมู่ และเห็นความสมั พันธใ์ นรปู แบบที่กวา้ งก่อนท่จี ะขยายให้เห็นความคิดรวบยอดใน
ส่วนยอ่ ย
สรปุ การเรียนร้อู ยา่ งมีความหมาย (Mearningful learning) ของออซเู บล เป็น ทฤษฎีกล่มุ พุทธิปัญญา
แต่จะแตกต่างจากทฤษฎขี องเพยี เจต์ ที่เน้นความสำคัญของผเู้ รยี น และของบรเู นอร์ที่เน้นใหผ้ ู้เรียนเรยี นรู้โดยการ
คน้ พบด้วยตนเอง(Discovery) สำหรบั ออซเู บลจะสนับสนุนทัง้ Discovery และ Expository technique ซง่ึ
เป็นการสอนท่ีครูให้หลกั เกณฑ์ และผลลพั ธ์ ออซเู บลมีความเห็นวา่ สำหรบั เด็กโต (อายุเกิน11หรอื 12 ปี) น้ัน การ
จัดการเรียนการสอนแบบ Expository technique นา่ จะเหมาะสมกวา่ เพราะเดก็ วัยนส้ี ามารถเข้าใจเรอื่ งราว
คำอธบิ ายตา่ ง ๆ ได้ (ที่มา : คาร์ล อาร์ โรเจอร์ ,2532)

ทฤษฎีการเรียนรกู้ ลุ่มมนษุ ยน์ ิยม (Humanism)

ทฤษฎีมนุษย์นิยมมีวิวัฒนาการมาจากทฤษฎีกลุ่มที่เน้นการพัฒนาตามธรรมชาติ แต่ก็จะมีความเป็น
วิทยาศาสตร์ คือเป็นกระบวนการมากยิ่งขึ้น กลุ่มทฤษฎีมนุษย์นิยมเป็นทฤษฎีที่คัดค้านการทดลองเกี่ยวกับ
พฤติกรรมของสัตว์แล้วมาใช้อ้างอิงกับมนุษยแ์ ละปฏิเสธทีจ่ ะใช้คนเป็นเคร่ืองทดลองแทนสัตว์ นักทฤษฎีในกลุ่มน้ี
เห็นว่ามนุษย์มีความคิด มีสมอง มีอารมณ์และอิสรภาพในการกระทำ การเรียนการสอนตามแนวทฤษฎีนี้เชื่อว่า

113

ผ้เู รยี นเปน็ ศนู ยก์ ลางของการเรยี น การจัดการเรยี นการสอนจงึ มุ่งให้เกดิ การเรยี นรู้ท้ังด้านความเข้าใจ ทักษะและ
เจตคติไปพร้อม ๆ กันโดยให้ความสำคัญกับความรู้สึกนึกคิด ค่านิยม การแสดงออกตลอดจนการเลือกเรียนตาม
ความสนใจของผู้เรียนเป็นหลัก บรรยากาศในการเรียนเป็นแบบร่วมมือกันมากกว่าการแข่งขันกันอาจารย์ผู้สอน
ทำหน้าที่ช่วยเหลือให้กำลังใจและอำนวยความสะดวกในขบวนการเรียนของผู้เรียนโดยการจัดมวลประสบการณ์
เอ้ือให้ผูเ้ รยี นเกดิ การเรยี นรู้ (ทม่ี า : บรหิ ารการศกึ ษา กลุ่มดอนทอง 52)
หลกั การหรอื ความเชื่อของทฤษฎี

1. มนุษย์มีธรรมชาตแิ ห่งความกระตือรือรน้ ทจี่ ะเรยี นรู้
2. มนษุ ยม์ สี ิทธิต่อต้านหรือไม่พอใจในผลที่เกดิ ขน้ึ จากสิ่งต่างๆ แม้ส่ิงนน้ั จะได้รบั การยอมรับวา่ จริง
3. การเรียนรทู้ ีส่ ำคญั ท่ีสดุ ของมนุษย์คือการทม่ี นุษย์มีการเปลยี่ นแปลงแนวความคิดของตนเอง

กลมุ่ ทฤษฎมี นษุ ยน์ ยิ มตามแนวคดิ

(คาร์ล อาร์ โรเจอร์) กล่าววา่ กลุม่ มนุษยนยิ มคอื
1. .เชื่อว่ามนุษย์ คือ สัตว์โลกประเภทหนึ่ง มีจิตใจ มีความต้องการความรัก ความอบอุ่น ความ

เข้าใจ และมคี วามสามารถเฉพาะตัว
2. เชือ่ ว่ามนษุ ยเ์ ราทุกคนตา่ งก็พยายามจะรจู้ ักและเขา้ ใจตนเองและยอมรบั ในสมรรถวิสัยของตนเอง
3. เชื่อว่ามนุษย์ต่างก็เข้าใจผู้อื่นและยอมรับตนเองอยู่แล้ว ต่างคนก็มุ่งสร้างความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์

ใหแ้ ก่ตนเอง
ทฤษฎีความตอ้ งการของมนุษยข์ อง Maslow (Abraham Harold Maslow: 1908-1970)

แนวคิดของ Maslow จัดอยู่ในกลุ่มมนุษยนิยม ซึ่งมีทัศนคติในการมองมนุษย์ด้านที่ดีงาม โดยอธิบายว่า
มนุษย์มีธรรมชาติใฝ่ดี สร้างสรรค์ความดี ปรารถนาความเจริญก้าวหน้า รู้จักคุณค่าในตนเอง รู้จักผิดชอบชั่วดี มี
ความรับผิดชอบในชีวิต ทุกสิ่งเกิดจากการเลือกของตนเอง ที่สำคัญคือมนุษย์มีความปรารถนาจะประจักษ์รู้จัก
ตนเอง และความสามารถเฉพาะของตนเอง เพื่อใช้ความรู้ความสามารถของตนเองอย่างเต็มที่ ถ้ามนุษย์อยู่ใน
สิง่ แวดลอ้ มทด่ี เี อ้อื ต่อการววิ ัฒน์พัฒนาแล้ว เขาก็จะพัฒนาไปสู่ความมุ่งดี ความเจรญิ ของบคุ ลกิ ภาพและวุฒิภาวะ
เสมอ Maslow เห็นต่างจากทฤษฏีบุคลิกภาพอ่ืนหลายทฤษฏวี ่า ควรจะศึกษาจิตวิทยาจากบุคคลท่ีมีสุขภาพจติ ดี
บุคลิกภาพมั่นคง ประสบความสำเร็จและมีความสุขในชีวิต เพื่อค้นหาว่าคุณลักษณะของบุคลิกภาพที่ดีนั้นต้องมี
องค์ประกอบอะไรบ้าง มีแนวทางพัฒนามาอย่างไร นอกจากนี้ในการศึกษาเรื่องคนนั้นต้องศึกษาคนทั้งคน ไม่ใช่
ศึกษาแยกเป็นส่วนย่อยแล้วนำมาสรุปเป็นกฎเกณฑ์ หรือวิธีการบำบัด ซึ่งวิธีการนี้เสี่ยงต่อความผิดพลาดมาก
Maslow ระบุว่ามนุษย์จะมีความต้องการที่เรียงลำดับจากระดับพื้นฐานไปยังระดับสูงสุด ขอบข่ายทฤษฏีของ
Maslowจะอย่บู นพน้ื ฐานของสมมติฐาน3ข้อคือ

1. มนุษย์มีความต้องการอยเู่ สมอและไม่มีที่ส้ินสดุ
2. ความต้องการของบุคคลจะถูกเรยี งลำดับตามความสำคัญหรือเปน็ ลำดับขั้นความต้องการพ้ืนฐาน
3. ความต้องการทไ่ี ด้รบั การตอบสนองแลว้ จะไม่เป็นสงิ่ จงู ใจของพฤติกรรมนน้ั ๆ ต่อไป

114
มาสโลว์ มองวา่ ธรรมชาติแล้วมนุษย์เกิดมาดี และพร้อมที่จะทำส่ิงดี ถา้ ความต้องการพื้นฐานได้รับการตอบสนอง
อย่างเพียงพอ เป็นผู้ที่มองว่าความดีที่อยู่ในตัวมนุษย์เป็นสิ่งที่ติดตัวมาแต่กำเนิด การเรียนรู้หรือการแสดง
พฤติกรรมเกิดจากแรงผลักดนั ภายในตัวบุคคล เดก็ มีธรรมชาตพิ ร้อมทีจ่ ะศกึ ษาสำรวจส่ิงต่างๆ และมนุษย์ทุกคนมี
แรงภายในที่จะไปถึงสภาพการณ์ที่เรียกว่า "การรู้จักตนเองตรงตามสภาพที่เป็นจริง (self actualization)" หรือ
ความตอ้ งการทจี ะตระหนักในความสามารถของตนเอง ซ่งึ หมายถงึ ความสามารถที่จะเขา้ ใจตนเอง ยอมรับตนเอง
ทั้งในส่วนบกพร่องและส่วนดี รู้ทั้งจุดอ่อนและตระหนักในความสามารถของตนเองพร้อมที่จะรบั ฟังความคดิ เหน็
ของผู้อื่นที่มีต่อตนเอง มาสโลว์ได้กล่าวว่า มนุษย์ทุกคนล้วนมีความต้องการและจะสนองความต้องการให้กับ
ตนเองท้ังส้นิ ซึง่ ความต้องการเรียงจากความตอ้ งการขัน้ ตำ่ สดุ ข้นึ ไปหาความต้องการขนั้ สงู สุด

ทฤษฏี Maslow’s Hierarchy of needs Theory แบ่งลำดบั ความต้องการของมนุษยไ์ ว้
(บรหิ ารการศึกษา กลมุ่ ดอนทอง 52) ดังน้ี

ขน้ั ท่ี 1 ความต้องการทางด้านรา่ งกาย (Physiological needs)
เป็นความต้องการขั้นพื้นฐานที่มีอำนาจมากที่สุดและสังเกตเห็นได้ ชัดที่สุด จากความต้องการทั้งหมด
เป็นความต้องการทีช่ ่วยการดำรงชีวิต ได้แก่ ความต้องการอาหาร น้ำดื่ม ออกซิเจน การพักผ่อนนอนหลบั ความ
ต้องการ ทางเพศ ความต้องการความอบอุ่น ตลอดจนความต้องการที่จะถูกกระตุ้นอวยั วะรับ สัมผัส แรงขับของ
ร่างกายเหล่านจ้ี ะเก่ียวข้องโดยตรงกบั ความอยู่รอดของร่าง กายและของอินทรีย์ ความพึงพอใจท่ีไดร้ ับ ในข้ันนี้จะ
กระต้นุ ใหเ้ กดิ ความตอ้ งการในข้นั ท่ีสงู กวา่ และถา้ บุคคลใดประสบ ความล้มเหลวทจี่ ะสนองความต้องการพ้ืนฐานนี้
กจ็ ะไมไ่ ด้รับการกระตุ้น ใหเ้ กิดความต้องการในระดับท่ีสูงขึน้ อย่างไรก็ตาม ถา้ ความต้องการอย่างหน่ึงยังไม่ได้รับ
ความพึงพอใจ บุคคลก็จะอยู่ภายใต้ความต้องการนั้นตลอดไป ซึ่งทำให้ความต้องการอื่นๆ ไม่ ปรากฏหรือ
กลายเป็นความต้องการระดับรองลงไป เช่น คนที่อดอยากหิวโหยเป็นเวลา นานจะไม่สามารถสร้างสรรค์สิ่งที่มี
ประโยชน์ต่อโลกได้ บุคคลเช่นนี้จะหมกมุ่น อยู่กับการจัดหาบางสิ่งบางอย่างเพื่อให้มีอาหารไว้รับประทาน มาส

115

โลว์ อธิบายต่อไปว่าบุคคลเหล่านี้จะมีความรู้สึกเป็นสุขอย่างเต็มที่เมื่อมีอาหาร เพียงพอสำหรับเขาและจะไม่
ต้องการสิ่งอื่นใดอีก ชีวิติของเขากล่าวได้ว่าเป็น เรื่องของการรับประทาน สิ่งอื่นๆ นอกจากนี้จะไม่มีความสำคัญ
ไม่ว่าจะเป็น เสรีภาพ ความรัก ความรู้สกึ ต่อชมุ ชน การได้รับการยอมรบั และปรัชญา ชีวิต บุคคลเช่นนี้มีชีวติ อยู่
เพ่ือทีจ่ ะรบั ประทานเพียงอย่างเดียวเท่านั้น ตัวอย่าง การขาดแคลนอาหารมีผลต่อพฤติกรรม ไดม้ ีการทดลองและ
การศึกษาชีวประวัติเพื่อ แสดงว่า ความต้องการทางด้านร่างกายเป็นเรื่องสำคัญทีจ่ ะเข้าใจพฤติกรรมมนุษย์ และ
ได้ พบผลว่าเกิดความเสียหายอย่างรุนแรงของพฤติกรรมซึ่งมีสาเหตุจากการขาดอาหาร หรือน้ำติดต่อกันเป็น
เวลานาน ตวั อย่างคอื เม่อื สงครามโลกคร้ังที่ 2 ใน ค่าย Nazi ซ่งึ เป็นทกี่ ักขงั เชลย เชลยเหลา่ น้ันจะละทิง้ มาตรฐาน
ทางศีลธรรม และค่านิยมต่างๆ ที่เขาเคยยึดถือภายใต้สภาพการณ์ปกติ เช่น ขโมยอาหารของคนอื่น หรือใช้วิธี
การต่างๆ ทจี่ ะไดร้ ับอาหารเพ่ิมขึ้น อกี ตัวอยา่ งหน่ึงในปี ค.ศ. 1970 เครอื่ งบินของสายการบิน Peruvian ตกลงท่ี
ฝ่งั อ่าวอเมริกาใตผ้ ู้ที่รอดตาย รวมท้ังพระนิกาย Catholic อาศยั การมีชีวติ อยู่รอดโดยการกนิ ซากศพของผู้ท่ี ตาย
จากเครื่องบินตก จากปรากฏการณ์นี้ชี้ให้เห็นว่าเมื่อมนุษย์เกิดความหิว ขึ้น จะมีอิทธิพลเหนือระดับศีลธรรม
จรรยา จึงไม่ตอ้ งสงสยั เลยว่ามนุษย์มีความต้อง การทางดา้ นร่างกายเหนือความต้องการอื่นๆ และแรงผลักดันของ
ความต้องการนีไ้ ด้ เกิดขน้ึ กบั บุคคลกอ่ นความต้องการอื่นๆ
ข้นั ที่ 2 ความตอ้ งการความมนั่ คงปลอดภัย (Safety and security needs)

เมอ่ื ความต้องการทางด้านร่างกาย ไดร้ บั ความพึงพอใจแลว้ บุคคลก็จะพฒั นาการไปสู่ขั้นใหม่ตอ่ ไป ซ่ึงขั้น
น้เี รียกว่าความตอ้ งการความปลอดภัยหรือความรูส้ ึกมั่นคง (safety or security) มาสโลว์ กลา่ ว วา่ ความต้องการ
ความปลอดภัยนี้จะสังเกตได้ง่ายในทารกและในเด็กเลก็ ๆ เนื่อง จากทารกและเด็กเล็กๆ ต้องการความช่วยเหลอื
และต้องพึ่งพออาศัยผู้ อื่น ตัวอย่าง ทารกจะรู้สึกกลัวเมื่อถูกทิ้งให้อยูต่ ามลำพังหรือเมื่อเขาได้ยินเสียง ดังๆ หรือ
เห็นแสงสว่างมาก ๆ แต่ประสบการณ์และการเรียนรู้จะทำให้ความรู้สึก กลัวหมดไป ดังคำพูดที่ว่า “ฉันไม่กลัว
เสยี งฟา้ รอ้ งและฟ้าแลบอีกต่อไป แล้ว เพราะฉันรู้ธรรมชาติในการเกดิ ของมนั ” พลังความต้องการความปลอดภัย
จะ เห็นได้ชัดเจนเช่นกันเมื่อเด็กเกิดความเจ็บป่วย ตัวอย่างเด็กที่ประสบ อุบัติเหตุขาหักก็จะรู้สึก กลวั และอาจ
แสดงออกดว้ ยอาการฝนั รา้ ยและความต้องการ ทีจ่ ะไดร้ ับความปกป้องคุ้มครองและการใหก้ ำลงั ใจ มาสโลว์ กล่าว
เพิ่มเติมว่าพ่อแม่ทีเ่ ลี้ยงดูลูกอย่างไม่กวดขันและตามใจมากจนเกินไปจะไม่ทำ ให้เด็กเกิดความรู้สึกว่าได้รบั ความ
พงึ พอใจจากความต้องการความปลอดภยั การให้ นอนหรือให้กินไม่เป็นเวลาไม่เพียง แต่ทำใหเ้ ด็กสบั สนเท่านั้นแต่
ยงั ทำใหเ้ ดก็ รู้สึกไม่มนั่ คงในส่ิงแวดล้อม รอบๆ ตัวเขา สมั พันธภาพของพ่อแม่ท่ไี ม่ดตี ่อกัน เช่น ทะเลาะกันทำร้าย
ร่าง กายซึ่งกันและกัน พ่อแม่แยกกันอยู่ หย่า ตายจากไป สภาพการณ์เหล่านี้จะมี อิทธิพลต่อความรู้ที่ดีของเด็ก
ทำใหเ้ ดก็ ร้วู ่าสิ่งแวดล้อมต่างๆ ไมม่ ัน่ คง ไมส่ ามารถคาดการณ์ได้และนำไปสู่ความรู้สึกไม่ปลอดภัย ความตอ้ ง การ
ความปลอดภยั จะยังมีอทิ ธิพลต่อบคุ คลแมว้ า่ จะผ่านพ้นวยั เด็กไปแล้ว แมใ้ น บุคคลที่ทำงานในฐานะเป็นผคู้ ้มุ ครอง
เช่น ผู้รักษาเงนิ นักบัญชี หรือทำงาน เกี่ยวกับการประกันต่างๆ และผู้ที่ทำหนา้ ทีใ่ หก้ ารรักษาพยาบาลเพื่อความ
ปลอดภัยของผู้อ่นื เชน่ แพทย์ พยาบาล แมก้ ระท่งั คนชรา บคุ คลทั้งหมดท่ีกล่าว มานี้จะใฝ่หาความปลอดภัยของ
ผู้อื่น เช่น แพทย์ พยาบาล แม้กระทั่งคน ชรา บุคคลทั้งหมดที่กล่าวมานี้จะใฝ่หาความปลอดภัยด้วยกันทั้งส้ิน
ศาสนาและ ปรชั ญาที่มนุษย์ยดึ ถือทำให้เกิดความรสู้ ึกมั่นคง เพราะทำให้บุคคลได้จดั ระบบ ของตัวเองให้มีเหตุผล
และวิถีทางที่ทำให้บุคคลรู้สึก “ปลอดภัย” ความ ต้องการความปลอดภัยในเรื่องอื่นๆ จะเกี่ยวข้องกับการเผชิญ

116

กับสิ่ง ต่างๆ เหล่านี้ สงคราม อาชญากรรม น้ำท่วม แผ่นดินไหว การจลาจล ความสับสนไม่ เป็นระเบียบของ
สังคม และเหตุการณ์อื่นๆ ที่คล้ายคลึงกับสภาพเหล่านี้ มาสโลว์ ได้ ให้ความคิดต่อไปว่าอาการโรคประสาทใน
ผู้ใหญ่ โดยเฉพาะโรคประสาทชนิดย้ำคิด - ย้ำทำ (obsessive-compulsive neurotic) เป็นลักษณะเด่นชัดของ
การค้นหาความ รู้สึกปลอดภยั ผู้ป่วยโรคประสาทจะแสดงพฤติกรรมว่าเขากำลงั ประสบเหตุการณ์ที่ร้ายกาจและ
กำลังมีอันตรายต่างๆ เขาจึงต้องการมีใครสักคนที่ปกป้องคุ้ม ครองเขาและเป็นบุคคลที่มีความเข้มแข็งซึ่งเขา
สามารถจะพึ่งพาอาศัยได้

ข้ันที่ 3 ความตอ้ งการความรกั และความเปน็ เจา้ ของ (Belonging and love needs)
เมื่อ 2 ขั้นแรกได้รับการสนองความต้องการแล้ว มนุษย์จะสร้างความรักและความผูกพันกับผู้อื่น ความ

ต้องการความรักและความเป็นเจ้าของเป็นความต้องการขั้นที่ 3 ความ ต้องการนี้จะเกิดขึ้นเมื่อความต้องการ
ทางด้านร่างกาย และความต้องการความปลอดภัยได้รับการตอบสนองแล้ว บุคคลต้องการได้รับความรัก และ
ความเป็นเจ้าของโดยการสร้างความสัมพันธ์กับผู้อื่น เช่น ความสัมพันธ์ภาย ในครอบครัวหรือกับผู้อื่น สมาชิก
ภายในกลุ่มจะเป็นเป้าหมายสำคัญสำหรับ บุคคล กล่าวคือ บุคคลจะรู้สึกเจ็บปวดมากเมื่อถูกทอดทิ้งไม่มีใคร
ยอมรับ หรือ ถูกตัดออกจากสังคม ไม่มีเพื่อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมือ่ จำนวนเพื่อนๆ ญาติพี่ น้อง สามีหรือภรรยา
หรือลูกๆ ได้ลดน้อยลงไป นักเรียนทีเ่ ข้าโรงเรียนทีห่ ่าง ไกลบ้านจะเกิดความต้องการเป็นเจ้าของอย่างยิ่ง และจะ
แสวงหาอยา่ งมากท่ีจะได้ รับการยอมรับจากกลุ่มเพื่อน มาสโลว์ คัด คา้ นกลุ่ม Freud ทวี่ ่าความรกั เป็นผลมาจาก
การทดเทิดสัญชาตญาณทาง เพศ (sublimation) สำหรับ มาสโลว์ ความรักไม่ใช่สัญลักษณ์ของเรื่อง เพศ (sex)
เขาอธิบายว่า ความรักที่แท้จริงจะเกี่ยวข้องกับความรู้สึกที่ ดี ความสัมพันธ์ของความรักระหว่างคน 2 คน จะ
รวมถึงความรสู้ กึ นบั ถือซ่ึงกัน และกัน การยกยอ่ งและความไวว้ างใจแกก่ ัน นอกจากนี้ มาสโลว์ ยงั ย้ำว่าความต้อง
การความรักของคนจะเป็นความรักที่เป็นไปในลักษณะทั้งการรู้จักให้ความรักต่อ ผู้อื่นและรู้จักที่จะรับความรัก
จากผู้อื่น การได้รับความรักและได้รับการ ยอมรับจากผู้อื่นเป็นสิ่งที่ทำให้บุคคลเกิดความรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า
บุคคลที่ขาดความรักก็จะรู้สึกว่าชีวติ ไร้ค่ามคี วามรู้สึกอ้างว้างและเคียด แค้น กล่าวโดยสรุป มาสโลว์ มีความเห็น
วา่ บคุ คลต้องการความรักและความรู้สึก เป็นเจา้ ของ และการขาดส่งิ นม้ี ักจะเป็นสาเหตุใหเ้ กิดความข้องคับใจและ
ทำให้เกิดปัญหาการ ปรับตัวไม่ได้ และความยินดีในพฤติกรรมหรือความเจ็บป่วยทางด้านจิตใจในลักษณะ ต่างๆ
สิ่งที่ ควรสังเกตประการหนึ่ง ก็คือมีบุคคลจำนวนมากที่มีความลำบากใจที่จะเปิดเผยตัว เองเมื่อมีความสัมพันธ์
ใกล้ชิดสนิทสนมกับเพศตรงข้ามเนื่องจากกลัวว่าจะถูก ปฏิเสธความรู้สึกเช่นนี้ มาสโลว์ กล่าว ว่าสืบเนื่องมาจาก
ประสบการณใ์ นวัยเดก็ การได้รับความรกั หรือการขาดความรักใน วยั เดก็ ย่อมมีผลกบั การเตบิ โตเปน็ ผใู้ หญ่ท่ีมีวุฒิ
ภาวะและการมีทัศนคติในเรื่องของ ความรัก มาสโลว์ เปรียบเทียบว่าความต้องการความรักก็เป็นเช่นเดียวกับ
รถยนต์ ที่สรา้ งขึ้นมาโดยต้องการกา๊ ซหรือนำ้ มันนนั่ เอง (มาสโลว์1970 p. 170)
ขั้นท่ี 4 ความต้องการการได้รบั การยกย่องนับถือ (Esteem needs)

แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ ไดแ้ ก่ เมื่อ ความตอ้ งการได้รับความรกั และการใหค้ วามรกั แกผ่ ู้อน่ื เปน็ ไปอย่างมี
เหตผุ ลและ ทำให้บคุ คล เกิดความพงึ พอใจแล้ว พลังผลักดันในขนั้ ท่ี 3 ก็ จะลดลงและมคี วามต้องการในข้ันต่อไป
มาแทนที่ กล่าวคือมนุษย์ต้องการที่จะได้ รับความนับถือยกย่องออกเป็น 2 ลักษณะ คือ ลักษณะแรกเป็นความ

117

ต้องการนับถือตน เอง (self-respect) ส่วนลักษณะที่ 2 เป็นความต้องการได้รับการยกย่องนับถือ จากผู้อื่น
(esteem from others) ความต้องการนับถือตนเอง (self-respect) คือ ความต้องการมีอำนาจ มั่นใจ ใน
ตนเอง มีความแข็งแรง มีความ สามารถในตนเอง มผี ลสัมฤทธิ์ไมต่ ้องพ่ึงพาอาศัยผู้อื่น และมคี วามเป็น อิสระ ทุก
คนต้องการที่จะรู้สึกว่าเขามีคุณค่าและมีความสามารถที่จะประสบความ สำเร็จในงานภารกิจต่างๆ และมีชีวิตท่ี
เดน่ ดงั ความต้องการไดร้ บั การยกยอ่ งนบั ถือจากผู้อ่ืน (esteem from others) คือ ความต้องการมีเกยี รติยศ การ
ได้รับ ยกยอ่ ง ไดร้ บั การยอมรับ ไดร้ ับความสนใจ มสี ถานภาพ มชี ือ่ เสียงเปน็ ที่กลา่ ว ขาน และเป็นท่ชี ่ืนชมยินดี มี
ความต้องการที่จะได้รับความยกย่องชมเชยในส่ิง ทเ่ี ขากระทำซ่ึงทำให้รสู้ ึกวา่ ตนเองมีคุณค่าว่าความสามารถของ
เขาได้รบั การ ยอมรับจากผูอ้ นื่ ความต้องการได้รับความนับถือยกยอ่ ง ก็เป็นเช่นเดยี วกับธรรมชาตขิ องลำดบั ชั้นใน
เร่อื งความตอ้ งการด้านแรงจงู ใจตามทัศนะของ มาสโลว์ ใน เร่ืองอ่นื ๆ ทเี่ กดิ ขึน้ ภายในจติ นน่ั คือ บคุ คลจะแสวงหา
ความต้องการได้รับการ ยกย่องก็เมื่อภายหลังจาก ความต้องการความรักและความเป็นเจ้าของได้รับการ
ตอบสนองความพึงพอใจของเขา แลว้ และ มาสโลว์ กล่าววา่ มนั เป็นสง่ิ ท่ีเป็นไปได้ทีบ่ ุคคลจะย้อนกลับ จากระดับ
ขั้นความต้องการในขั้นที่ 4 กลับไปสู่ระดับขั้นที่ 3 อีกถ้าความต้องการระดับขั้นที่ 3 ซึ่งบุคคลได้รับไว้แล้วนั้นถูก
กระทบ กระเทือนหรือสูญสลายไปทันทีทันใด ดังตัวอย่างที่ มาสโลว์ นำมาอ้างคือหญิงสาวคนหนึ่งซึ่งเธอคิดว่า
การตอบสนองความต้องการความรักของ เธอได้ดำเนินไปด้วยดี แล้วเธอจึงทุ่มเทและเอาใจใส่ในธุรกิจของเธอ
และได้ประสบความสำเร็จเปน็ นัก ธรุ กิจทีม่ ชี ่อื เสียงและอย่างไม่คาดฝนั สามีไดผ้ ละจากเธอไป ในเหตกุ ารณ์เช่น น้ี
ปรากฏว่าเธอวางมือจากธุรกิจต่างๆ ในการที่จะส่งเสริมให้เธอได้รับความ ยกย่องนับถือ และหันมาใช้ความ
พยายามที่จะเรียกร้องสามีให้กลับคืนมา ซึ่งการ กระทำเช่นนี้ของเธอเป็นตัวอย่างของความต้องการความรักซ่ึง
ครั้งหนึ่งเธอได้ รับแล้ว และถ้าเธอได้รับความพึงพอในความรักโดยสามหี วนกลับคืนมาเธอก็จะกลับ ไปเกี่ยวข้อง
ในโลกธรุ กจิ อีกครง้ั หน่งึ ความ พึงพอใจของความต้องการได้รับการยกย่องโดยท่ัวๆ ไป เป็นความร้สู ึกและทัศนคติ
ของความเชื่อมั่นในตนเอง ความรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า การมีพละกำลัง การมี ความสามารถ และความรู้สึกว่ามี
ชีวิตอยู่อย่างมีประโยชน์และเป็นบุคคลที่มี ความจำเป็นต่อโลก ในทางตรงกันข้ามการขาดความรู้สึกต่างๆ
ดังกล่าวนี้ย่อมนำ ไปสู่ความรู้สึกและทัศนคติของปมด้อยและความรู้สึกไม่พอเพียง เกิดความรู้สึก อ่อนแอและ
ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ สิ่งต่างๆ เหล่านี้เป็นการรับรู้ตนเองในทาง นิเสธ (negative) ซึ่งอาจก่อให้เกิด ความรู้สึก
ขลาดกลัวและรู้สึกว่าตนเองไม่มีประโยชน์และสิ้นหวังในสิ่ง ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับความต้องการของชีวิต และ
ประเมินตนเองต่ำกว่าชีวิต ความเป็นอยู่กับการได้รับการยกย่อง และยอมรับจากผู้อื่นอย่างจริงใจมากกว่าการมี
ชื่อเสียงจากสถานภาพหรือการได้ รับการประจบประแจง การได้รับความนับถือยกย่องเป็นผลมาจากความเพียร
พยายามของ บุคคล และความต้องการนี้อาจเกิดอันตรายขึ้นได้ถ้าบุคคลนั้นต้องการคำชมเชย จากผู้อื่นมากกว่า
การยอมรับความจริงและเป็นที่ยอมรับกันว่าการได้รับความ นับถือยกย่อง มีพื้นฐานจากการกระทำของบุคคล
มากกว่าการควบคุมจากภายนอก
ขน้ั ที่ 5 ความตอ้ งการที่จะเข้าใจประจกั ษต์ นเองอย่างแท้จรงิ (Self-actualization needs)

ลำดบั ขน้ั สดุ ทา้ ย ถา้ ความตอ้ งการลำดบั ขนั้ กอ่ นๆ ไดท้ ำใหเ้ กดิ ความพึงพอใจ อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ความ
ต้องการเขา้ ใจตนเองอย่างแท้จริงก็จะเกิดขนึ้ มาสโลว์ อธบิ าย ความตอ้ งการเข้าใจตนองอย่างแท้จรงิ วา่ เป็นความ
ปรารถนาในทุกสิ่งทุกอย่างซึ่งบุคคลสามารถจะได้รับอย่างเหมาะสม บุคคลที่ประสบผลสำเร็จในขั้นสูงสุดนี้จะใช้

118

พลังอย่างเต็มท่ีในสิ่งที่ท้าทาย ความสามารถและศักยภาพของเขาและมีความปรารถนาทีจ่ ะปรับปรุงตนเอง พลัง
แรงขบั ของเขาจะกระทำพฤติกรรมตรงกับความสามารถของตน กลา่ วโดยสรุปการเขา้ ใจตน เองอยา่ งแท้จริงเป็น
ความต้องการอย่างหนึ่งของบุคคลที่จะบรรลุถึงวจุดสูงสุด ของศักยภาพ เช่น “นักดนตรีก็ต้องใช้ความสามารถ
ทางด้านดนตรี ศิลปนิ ก็จะต้อง วาดรปู กวจี ะตอ้ งเขียนโคลงกลอน ถ้าบุคคลเหลา่ น้ีได้บรรลุถึงเป้าหมายทีต่ น ต้ังไว้
ก็เชื่อได้ว่าเขาเหลา่ นั้นเป็นคนที่รู้จักตนเองอย่างแท้ จริง” มาสโลว์ ( 1970 : 46) ความต้องการที่จะเข้าใจตนเอง
อย่างแท้จริงจะดำเนินไปอย่างง่ายหรือเป็นไปโดยอัตโนมัติ โดยความเป็นจริงแล้ว มาสโลว์ เชื่อ ว่าคนเรามักจะ
กลัวตัวเองในสิ่งเหล่านี้ “ด้านที่ดีที่สุดของเรา ความสามารถ พิเศษของเรา สิ่งที่ดีงามที่สุดของเรา พลัง
ความสามารถ ความคิดสร้างสรรค์” มาสโลว์ (1962 : 58) ความตอ้ ง การเข้าใจตนเองอย่างแทจ้ รงิ มไิ ดม้ ีแต่เฉพาะ
ในศิลปินเท่านั้น คน ทั่วๆ ไป เช่น นักกีฬา นักเรียน หรือแม้แต่กรรมกรก็สามารถจะมีความเข้าใจตน เองอย่าง
แท้จริงได้ถ้าทุกคนสามารถทำในสิ่งที่ตนต้องการให้ดีที่สุด รูปแบบ เฉพาะของการเข้าใจตนเองอย่างแท้จริงจะมี
ความแตกต่างอย่างกว้างขวางจากคน หนึ่งไปสู่อีกคนหนึ่ง กล่าวได้ว่ามันคือระดับความต้องการท่ี แสดงความ
แตกต่าง ระหว่างบุคคลอย่างยิง่ ใหญ่ทีส่ ุด มาสโลว์ ได้ ยกตัวอย่างของความต้องการเข้าใจตนเองอยา่ งแทจ้ รงิ ใน
กรณขี องนักศึกษา ช่ือ Mark ซึ่งเขาได้ศึกษาวชิ าบุคลิกภาพเป็นระยะเวลายาวนานเพ่ือเตรยี มตัว เป็นนักจิตวิทยา
คลินกิ นักทฤษฎีคนอืน่ ๆ อาจจะอธิบายว่าทำไมเขาจึงเลอื กอาชพี นี้ ตัวอยา่ ง เชน่ Freud อาจกล่าววา่ มนั สัมพันธ์
อย่างลึกซึ้งกับสิ่งที่เขา เก็บกด ความอยากรู้อยากเห็นในเรื่องเพศไว้ตั้งแต่วัยเด็ก ขณะที่ Adler อาจมองว่า มัน
เป็นความพยายามเพื่อชดเชยความรู้สึกด้อยบางอย่างในวัยเด็ก Skinner อาจ มองว่าเป็นผลจากการถูกวาง
เงื่อนไขของชีวิตในอดีต ขณะที่ Bandura สัมพันธ์ เรื่องนี้กับตัวแปรต่างๆ ทางการเรียนรู้ทางสังคม และ Kelly
อาจพิจารณา ว่า Mark กำลังจะพุ่งตรงไปเพื่อที่จะเป็นบุคคลที่เขาต้องการจะเป็นตัวอย่าง ที่แสดงถึง การมุ่งตรง
ไปสู่เป้าประสงค์ในอาชีพโดยความต้องการที่จะเข้าใจตนเองอย่างแท้ จริงและถ้าจะพิจารณากรณีของ Mark ให้
ลึกซึ่งยิ่งขึ้น ถ้า Mark ได้ผ่าน กาเรียนวิชาจิตวิทยาจนครบหลักสูตรและได้เขียนวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก
และ ในที่สุดก็ได้รับปริญญาเอกทางจิตวิทยาคลีนิค สิ่งที่จะต้องวิเคราะห์ Mark ต่อไปก็คือ เมื่อเขาสำเร็จ
การศึกษาดังกล่าวแล้วถ้ามีบุคคลหนึ่งได้เสนองานให้เขาใน ตำแหน่งตำรวจสืบสวน ซึ่งงานในหน้าที่นี้ฮจะได้รับ
ค่าตอบแทนอย่างสูงและได้รับ ผลประโยชน์พิเศษหลายๆ อย่างตลอดจนรับประกันการว่าจ้างและความมั่นคง
สำหรับ ชีวิต เมื่อประสบเหตุการณ์เช่นนี้ Mark จะทำอย่างไร ถ้าคำตอบของเขา คือ “ตกลง” เขาก็จะย้อนกลับ
มาสูค่ วามตอ้ งการระดับท่ี 2 คือความต้องการความ ปลอดภัย สำหรบั การวิเคราะห์ความเข้าใจตนเองอยา่ งแท้จริง
มาสโลว์ กล่าว ว่า “อะไรที่มนุษย์สามารถจะเป็นได้เขาจะต้องเป็นในสิ่งนั้น” เรื่อง ของ Mark เป็นตัวอย่างง่ายๆ
ว่า ถ้าเขาตกลงเป็นตำรวจสืบสวน เขาก็จะไม่มี โอกาสที่จะเข้าใจตนเองอย่างแท้จริง ทำไมทุกๆ คนจึงไม่
สัมฤทธิผลในการเข้าใจตนเองอย่างแท้จริง (Why Can’t All People Achieve Self-Actualization) ตาม
ความคิดของ มาสโลว์ ส่วนมากมนุษย์แม้จะไม่ใช่ทั้งหมดที่ต้องการแสวงหาเพื่อ ให้เกิดความสมบูรณ์ภายในตน
จากงานวิจัยของเขาทำให้ มาสโลว์ สรุปว่าการรู้ถึง ศักยภาพของตนนั้นมาจากพลังตามธรรมชาติและจากความ
จำเป็นบังคับ ส่วนบุคคลที่ มีพรสวรรค์มีจำนวนน้อยมากเพียง 1% ของประชากร ที่ มาสโลว์ ประมาณ มาสโลว์
เชอื่ วา่ การนำศักยภาพของตนออกมาใช้เป็นสิ่งทยี่ าก มาก บคุ คลมักไม่รูว้ ่า ตนเองมีความสามารถและไม่ทราบว่า

119

ศักยภาพนั้นจะได้รับ การส่งเสริมได้อย่างไร มนุษย์ส่วนใหญ่ยังคงไม่มั่นใจในตวั เองหรือไม่มั่นใจในความสามารถ
ของตนจึงทำ ให้หมดโอกาสเข้าใจตนเองอยา่ งแท้จริง และยังมสี ง่ิ แวดลอ้ มทางสังคมท่ีมาบดบงั

โดยมาสโลว์ได้อธิบายว่า เมื่อความต้องการในขั้นหนึ่งที่ต่ำกว่าได้รับการตอบสนอง มนุษย์ก็จะมีความ
ต้องการในขนั้ ตอ่ ไป ซึ่งความตอ้ งการท่ีไดร้ บั การตอบสนองในแต่ละข้นั นัน้ ไมจ่ ำเปน็ ต้องได้รับเต็ม 100 เปอร์เซ็นต์
ก่อนจึงจะมคี วามต้องการในข้ันตอ่ ไปทส่ี งู ข้นึ

หลกั การจัดการศกึ ษา/การสอน (มาสโลว์)
1. เข้าใจถึงความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ สามารถช่วยให้เข้าใจพฤติกรรมของบุคคลได้ เนื่องจาก

พฤติกรรมเปน็ การแสดงออกของความต้องการของบุคคล
2. จะสามารถช่วยให้ผู้เรียนเกดิ การเรียนรู้ไดด้ ี จำเป็นต้องตอบสนองความต้องการพืน้ ฐานทีเ่ ขาต้องการ

เสียกอ่ น
3. ในกระบวนการเรียนการสอน หากรูสามารถหาได้ว่าผู้เรียนแตล่ ะคนมีความตอ้ งการอยู่ในระดบั ใดข้ัน

ใด ครสู ามารถใช้ความตอ้ งการพ้นื ฐานของผเู้ รยี นนนั้ เป็นแรงจงู ใจ ช่วยให้ผู้เรียนเกดิ การเรียนรไู้ ด้
4. การชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นไดร้ ับการตอบสนองความต้องการพ้นื ฐานของตนอย่างพอเพียง การให้อิสรภาพและ

เสรภี าพแก่ผู้เรยี นในการเรียนรู้ การจัดบรรยากาศทเี่ ออ้ื ต่อการเรยี นรจู้ ะช่วยสง่ เสรมิ ให้ผเู้ รยี นเกิดประสบการณ์ใน
การรจู้ กั ตนเองตรงตามสภาพความเปน็ จรงิ (ที่มา : บริหารการศกึ ษา กลุ่มดอนทอง 52)

ทฤษฎีตัวตนของโรเจอร์ Carl Rogers

ทฤษฏีของโรเจอร์ กล่าวว่า “ตนเอง” (Self) คือการรวมกันของรูปแบบค่านิยม เจตคติการรับรู้และ
ความรู้สึก ซึ่งแต่ละบุคคลมีอยู่และเชื่อว่าเป็นลักษณะเฉพาะของเขาเอง ตนเองหมายถึงฉันและตัวฉัน เป็น
ศูนย์กลางทีร่ วมประสบการณท์ ั้งหมดของแต่ละบคุ คล ภาพพจน์นี้เกดิ จากการที่แต่ละบุคคลมกี ารเรียนรูต้ ั้งแตว่ ัย
เริ่มแรกชีวติ สำหรบั บคุ คลที่มกี ารปรับตวั ดีก็จะมีการเปล่ยี นแปลงอย่างคงที่และมกี ารปรบั ตวั ตามประสบการณ์ท่ี
แต่ละคนมีการสังเกตและการรับรู้เป็นเรื่องของตนเองที่ปรับให้เข้ากับสภาพสิ่งแวดล้อมในการทำงาน ตัวอย่าง
เช่น พนักงานบางคนมีการตอบสนองอย่างมีประสิทธิภาพต่อสภาพสิ่งแวดล้อมในการทำงานและการเป็นผู้นำ
(ณัชชากญั ญ์ วริ ตั นชัยวรรณ, 2555)

คาร์ล โรเจอร์ (Carl Rogers) มีความเห็นว่า ธรรมชาติของมนุษย์เป็นสิ่งที่ดีและมคี วามสำคัญมาก โดยมี
ความพยายามที่จะพัฒนาร่างกายให้มีความเจริญเติบโตอย่างมีศักยภาพสูงสุด โรเจอร์ ตั้งทฤษฏีขึ้นมาจาก
การศึกษาปัญหาพฤติกรรมของคนไข้จากคลินิกการักษาคนไข้ของเขา และได้ให้ความสนใจเกี่ยวกับบุคลิกภาพที่
เกิดจากสุขภาพเป็นอย่างมาก ทฤษฏีของโรเจอร์เน้นถึงเกียรติของบุคคล ซึ่งบุคคลมีความสามารถที่จะทำการ
ปรับปรุงชีวิตของตนเองเมื่อมีโอกาสเข้ามิใช่จะเป็นเพียงแต่เหยื่อในขณะท่ีมีประสบการณ์ในสมัยที่เป็นเด็ก หรือ
จากแรงขับของจิตใต้สำนึก แต่ละบุคคลจะรู้จักการสังเกตสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวเรา โดยมีแนวทางเฉพาะของ
บคุ คล กลา่ วไดว้ ่า เปน็ การับรสู้ ภาพส่งิ แวดล้อมซึง่ มคี วามสำคัญมาก โรเจอร์ เชอ่ื ว่า มนุษย์ทุกคนมีตัวตน 3 แบบ

120

1. ตนที่ตนมองเห็น (Self Concept) ภาพที่ตนเห็นเองว่าตนเป็นอย่างไร มีความรู้ความสามารถ
ลกั ษณะเพราะตนอยา่ งไร เช่น สวย รวย เก่ง ต่ำต้อย ขอี้ ายฯลฯ การมองเหน็ อาจจะไม่ตรงกบั ข้อเทจ็ จริงหรือภาพ
ทีค่ นอน่ื เห็น

2. ตนตามทเี่ ปน็ จริง (Real Self) ตวั ตนตามข้อเทจ็ จริง แต่บ่อยคร้ังทีต่ นมองไม่เห็นข้อเทจ็ จริง เพราะ
อาจเปน็ สิ่งที่ทำ ให้รสู้ กึ เสยี ใจ ไมเ่ ท่าเทยี มกับบุคคลอืน่ เป็นตน้

3. ตนตามอุดมคติ (Ideal Self) ตัวตนที่อยากมีอยากเป็น แต่ยังไม่มีไม่เป็นในสภาวะปัจจุบัน เช่น
ชอบเก็บตัว แต่อยากเก่งเข้าสังคม เป็นต้น ถ้าตัวตนทั้ง 3 ลักษณะ ค่อนข้างตรงกันมาก จะทำให้มีบุคลิกภาพ
ม่ันคง แตถ่ า้ แตกต่างกนั สูง จะมคี วามสับสนและอ่อนแอด้านบคุ ลิกภาพ

โรเจอร์วางหลักไว้ว่า บุคคลถูกกระตุ้นโดยความต้องการสำหรับการยอมรับนับถือทางบวก นั่นคือความ
ตอ้ งการความรัก การยอมรบั และความมีคุณค่า บุคคลเกิดมาพรอ้ มกับความต้องการการยอมรับนับถือในทางบวก
และจะไดร้ บั การยอมรับนบั ถอื โดยอาศยั การศกึ ษาจากการดำเนินชวี ติ ตามมาตรฐานของบุคคลอืน่

ทฤษฎีการเรียนรู้ของโรเจอร์ แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้ คือ มนุษย์สามารถพัฒนาตนเอง
ได้ดีหากอยู่ในสภาวะที่ผ่อนคลายและเป็นอิสระ การจัดบรรยากาศที่ผ่อนคลายและเอื้อต่อการเรียนเรียนรู้และ
เน้นให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยครูเป็นผู้ชี้แนะและทำหน้าที่อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนและ
การเรียนรู้จะเน้นกระบวนการเป็นสำคญั หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้เน้นการเรียนรู้กระบวนการ
เป็นสำคญั ควรจดั สภาพแวดลอ้ มทางการเรยี นให้อบอุ่น ปลอดภัย ครูควรสอนแบบชแ้ี นะโดยใหผ้ ู้เรียนเป็นผู้นำ
ทางในการเรยี นร้ขู องตนและคอยชว่ ยเหลือผเู้ รยี นให้เรยี นอย่างสะดวกจนบรรลผุ ล
หลักการของโรเจอร์ (ท่ีมา : ณชั ชากัญญ์ วิรัตนชยั วรรณ ,2555)

1. โดยธรรมชาตแิ ล้วมนษุ ย์ทกุ คนมีศักยภาพทจี่ ะเรยี นรู้
2. การเรียนรู้จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อผู้เรียนรับรู้ว่าวิชาที่เรียนมีความหมาย และมีจุดหมายสัมพันธ์ กับ
จุดหมายในชวี ติ ของผูเ้ รยี น
3. ผเู้ รียนจะตอ่ ต้านการเรียนรทู้ ีผ่ ูเ้ รยี นรู้สึกว่าเปน็ การกระทำทีก่ ระทบกระเทอื นความร้สู กึ ของผเู้ รยี น
4. ในกรณที ก่ี ารกระทบกระเทอื นจากภายนอกลดลง จะทำให้ผูเ้ รยี นยอมรบั การเรยี นรูไ้ ดบ้ า้ ง
5. ผูเ้ รยี นจะยอมรบั รู้ประสบการณใ์ หมๆ่ และเร่มิ เรียนรู้หากการข่เู ข็ญจากภายนอกลดลง
6. การเรยี นรูท้ สี่ ำคัญจะเกิดจากตัวผู้เรยี นเอง
7. ถา้ นักเรยี นมีส่วนรว่ มและรับผดิ ชอบในกระบวนการเรียนรู้ จะทำใหก้ ารเรียนรขู้ องผเู้ รียนมากข้ึน
8. ถา้ นกั เรยี นเป็นผ้รู ิเร่ิมเรียนรู้ดว้ ยตนเอง จะทำให้นักเรียนอยากเรยี นร้เู พ่มิ มากขึ้นตลอดเวลา
9. การใหผ้ ูเ้ รียนประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเองจะช่วยใหผ้ เู้ รยี นมีความคิดเป็นอิสระ เป็นตัวของตัวเอง
และมีความคิดรเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์
10. การเรียนรจู้ ะมีประโยชน์มากทีส่ ดุ ตอ่ การมชี วี ิตอยู่ในปจั จุบนั
หลักการจดั การศึกษา/การสอน (โรเจอร)์
1. การจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนให้อบอุ่น ปลอดภัย ไม่น่าหวาดกลัว น่าไว้วางใจ จะช่วยใหผ้ ู้เรียน
เกิดการเรยี นรูไ้ ด้ดี

121

2. ผู้เรียนแต่ละคนมีศักยภาพและแรงจูงใจที่จะพัฒนาตนเองอยู่แล้ว ครูจึงควรสอนแบบชี้แนะ( non-
directive) โดยให้ผู้เรียนเป็นผู้นำทางในการเรียนรู้ของตน(self- directive) และคอยช่วยเหลือผู้เรียนให้เรียน
อยา่ งสะดวกจนบรรลุผล

3. ในการจดั การเรียนการสอนควรเนน้ การเรียนรู้กระบวนการ(process learning) เปน็ สำคญั เนื่องจาก
กระบวนการเรียนรู้เป็นเครื่องมือสำคัญที่บุคคลใช้ในการดำรงชีวิตและแสวงหาความรู้ต่อไป (ที่มา : บริหาร
การศึกษา กลุม่ ดอนทอง 52)

ทฤษฏีการเรียนรูท้ างสังคม (Social Learning Theory)

บนั ดูรา (Bandura,1986) ทฤษฎนี ถี้ อื ว่าพฤติกรรมส่วนใหญ่ของบุคคล เกดิ จากการเรียนรู้ ส่วนหน่ึงของ

บุคคลเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงของตนเอง และอีกส่วนหนึง่ จากการสงั เกตพฤตกิ รรมของคนอื่น ซึ่งถือว่าเปน็
การเรียนรู้โดยการสังเกตหรือการเรียนรู้จากตัวแบบ (Observational Learning or Modeling) โดยพฤติกรรม

ของบุคคลมิได้ถูกผลักดันโดยพลังภายใน (Inner Force) ไม่ได้ถูกปรับแต่งอย่างอัตโนมัติ (Automatically

Shaped) และทั้งไมไ่ ดถ้ ูกควบคมุ โดยสิ่งเรา้ จากภายนอก(External Stimuli) เทา่ น้ัน

การเรียนรู้หรือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลเกิดจากการสังเกตและการเลียนแบบจากต้นแบบ

สิ่งแวดล้อม เหตุการณ์ และสถานการณ์ที่บุคคลมีความสนใจ โดยกระบวนการเลียนแบบ ประกอบด้วย 4

กระบวนการสำคัญ คอื (Robbins, 2003, pp. 46-47)

1. กระบวนการความสนใจ (Attentional process) คือ กระบวนการที่บุคคลรู้สึกสนใจในตัวแบบ และ

สถานการณ์ที่เกิดขึ้น ทั้งนี้ เนื่องจากผู้เรียนเห็นว่าตวั แบบและสถานการณ์ดังกล่าวเป็นเรื่องสำคัญ ตลอดจนเห็น

วา่ ตวั แบบนนั้ มคี วามเหมือนกบั ผู้เรียน

2. กระบวนการความจำ (Retention process) คือ กระบวนการในการจดจำพฤตกิ รรมของตวั แบบได้ดี

ซึ่งจะทำใหส้ ามารถเลยี นแบบและถา่ ยทอดแบบมาได้งา่ ย

3. กระบวนการการแสดงออก (Motor and reproduction process) คือ กระบวนการทาตาม

พฤติกรรมของตัวแบบ ซึ่งหมายความว่า ภายหลังจากที่ผู้เรียนได้สังเกตพฤติกรรมของตัวแบบแล้วจะแสดง

พฤติกรรมตามอย่างตัวแบบ

4. กระบวนการเสริมแรง (Reinforcement process) หมายถงึ หากมีการเสรมิ แรงเช่น การใหร้ างวัลต่อ
พฤติกรรมหนึ่ง ๆ จะทาให้บุคคลให้ความสนใจในพฤติกรรมแบบนั้นเพิ่มขึ้น เรียนรู้ดีขึ้น และแสดงพฤติกรรมนั้น

บ่อยครั้งขึ้น พฤติกรรมของบุคคลเกิดขึ้นโดยการปฏิสัมพันธ์ที่ขึ้นต่อกันจากองค์ประกอบ 3 ส่วน (Triadic

Reciprocally) ดงั น้ี B

PE

122

B = พฤติกรรม (Behavior)
P = ปญั ญาและองค์ประกอบสว่ นบคุ คล (Cognitive and other Personal Factors)
E = สภาพแวดล้อม (Environmental Events)
บันดูรามที ศั นะวา่ พฤตกิ รรม (behavior หรือ B) ของมนษุ ย์มาปฏิสัมพันธ์กบั ปจั จยั หลักอกี 2 ปัจจัย (ที่มา
: Robbins, 2003) คือ 1) ปัจจัยทางปัญญาและปัจจัยส่วนบุคคลอื่นๆ (Personal Factor) 2) อิทธิพลของ
สภาพแวดล้อม (Environmental Influences ) บันดูราได้ให้ความแตกต่างระหว่างการเรียนรู้ (Learning) กับ
การกระทำ (Performance) ซึ่งสำคัญ มาก เพราะคนเราอาจจะเรียนรู้อะไรหลายอย่าง แต่ไม่ จำเป็นต้อง
แสดงออกทกุ อยา่ ง เชน่ เราอาจจะเรียนรวู้ ิธี การทุจรติ ในการสอบวา่ ต้องทำอย่างไรบ้าง แต่ถงึ เวลาสอบจริงเรา
อาจจะไม่ทุจริตก็ได้ หรือเราเรียนรู้ ว่าการพูดจาและแสดงกริยาอ่อนหวาน กับพ่อ แม่เป็นการเรียนรู้โดยการ
สังเกต บันดูราเชื่อว่า การเรียนรู้ของมนุษย์ส่วนมาก เป็นการเรียนรู้โดยการสังเกต (Observational Learning)
หรือการเลยี นแบบจากตวั แบบ (Modeling) สำหรับตัวแบบ ไมจ่ ำเป็นต้องเปน็ ตัวแบบทม่ี ชี ีวติ เท่านนั้ แต่อาจจะ
เป็นตัวแบบ สัญลักษณ์ เช่น ตัวแบบที่เห็นในโทรทัศน์ ภาพยนตร์ เกมส์ คอมพิวเตอร์หรืออาจจะเป็น รูปภาพ
การต์ ูน หนงั สือนอกจากน้ี คำบอกเล่าด้วยคำพูดหรือขอ้ มลู ท่ีเขียนเปน็ ลายลกั ษณ์อักษร ก็เป็นตวั แบบได้
ความสามารถทางปัญญา (Cognitive Capacities)

A หมายถงึ สภาพแวดล้อมหรือส่ิงเร้า
B1 หมายถึง พฤติกรรมภายใน (Covert Behavior) คือ ปัญญา (Cognitive) และองค์ประกอบส่วนบุคคล
(Personal Factor) ซึ่งเชือ่ วา่ เปน็ ตัวกำหนดให้ B2 เกดิ ข้ึน
B2 หมายถึง พฤติกรรมที่แสดงออกมา (Overt Behavior)
C+ หมายถึง ผลท่ไี ด้มที ั้งผลทางบวก (C+) และผลทางลบ (C-)
การกระทำพฤติกรรมใดจะก่อใหเ้ กดิ ผลทางบวก หรือทางลบ

กระบวนการนี้ทำหนา้ ที่ 3 ประการ คือ
1. ทำหนา้ ที่ให้ข้อมูล (Information Function)
2. ทำหน้าทใ่ี ห้แรงจูงใจ (Motivational Function)
3. ทำหน้าทใี่ นการเสริมแรง (Reinforcing Function)

123

ขน้ั การรบั มาซ่งึ การเรยี นรู้

การเรียนรู้ปัญญาเชิงสงั คมด้วยการสังเกตจากตัวแบบจงึ สามารถแยกได้เป็น 2 ขั้น คือ
ขนั้ ที่ 1 เปน็ ขั้นการได้รบั มาซ่งึ การเรียนรู้ (Acquisition)
ขัน้ ท่ี 2 เป็นขัน้ การแสดงออก (Performance)

บันดูรา ได้ให้ความแตกต่างของการเรียนรู้ (Learning) และการกระทำ (Performance)ว่าความแตกต่างนี้

สำคัญมาก เพราะคนอาจจะเรียนรู้อะไรหลายอยา่ ง แต่ไมก่ ระทำ บนั ดรู า ได้สรปุ วา่ พฤติกรรมของมนษุ ย์อาจจะ
แบ่งออกได้เปน็ 3 ประเภท

1. พฤติกรรมสนองตอบท่เี กดิ จากการเรยี นรู้ ผู้ซง่ึ แสดงออก หรือ กระทำสม่ำเสมอ
2. พฤตกิ รรมทเ่ี รยี นรู้แตไ่ ม่เคยแสดงออกหรอื กระทำ
3. พฤติกรรมที่ไม่เคยแสดงออกทางการกระทำ เพราะไม่เคยเรียนรู้จริง ๆบันดูรา ไม่เชื่อว่าพฤติกรรมท่ี
เกดิ ขนึ้ จะคงตวั อยูเ่ สมอ
การประยกุ ตใ์ นดา้ นการเรียนการสอน
1. ตั้งวตั ถปุ ระสงค์ทีจ่ ะทำให้นักเรียนแสดงพฤติกรรม หรอื เขียนวัตถปุ ระสงคเ์ ปน็ เชิงพฤตกิ รรม
2. ผ้สู อนแสดงตัวอยา่ งของการกระทำหลายๆตัวอยา่ ง ซงึ่ อาจจะเปน็ คน การต์ นู ภาพยนตร์ วดิ ีโอ
โทรทัศนแ์ ละสื่อสิ่งพิมพต์ ่างๆ
3. ผสู้ อนใหค้ ำอธิบายควบคไู่ ปกับการให้ตวั อย่างแตล่ ะครั้ง
4. ชี้แนะขัน้ ตอนการเรียนรูโ้ ดยการสงั เกตแก่นกั เรยี น เช่น แนะใหน้ ักเรียนสนใจส่ิงเรา้ ที่ควรจะใสใ่ จหรือ
เลือกใส่ใจ

124

5. จดั ใหน้ กั เรยี นมีโอกาสทจี่ ะแสดงพฤติกรรมเหมือนตวั แบบ เพ่ือจะไดด้ วู า่ นักเรยี นสามารถที่จะกระทำ
โดยการเลยี นแบบหรือไม่ ถา้ นักเรยี นทำได้ไม่ถูกตอ้ งอาจจะต้องแก้ไขวธิ กี ารสอนหรืออาจจะแก้ไขท่ีตัวผูเ้ รยี นเอง

6. ใหแ้ รงเสรมิ แกน่ ักเรียนท่ีสามารถ เลยี นแบบได้ถูกต้อง เพอื่ จะใหน้ กั เรียนมีแรงจงู ใจที่จะเรยี นรแู้ ละ
เป็นตวั อย่างแกน่ กั เรียน (ท่มี า : Robbins, 2003)

ทฤษฎีการเรียนรูก้ ลุม่ ผสมผสานของกานเย่

ทิศนา แขมมณี (2547 : 72-76) ได้รวบรวมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มผสมผสานของกานเย ไว้ดังนี้ กานเย
(Gagne) เป็นนักจิตวิทยาและนักการศึกษาในกลุ่มผสมผสานระหว่างพฤติกรรมนิยมกับพุทธินิยม (Behavior
Cognitivist) เขาอาศัยทฤษฎีและหลักการที่หลากหลาย เนื่องจากความรู้มีหลายประเภท บางประเภทสามารถ
เข้าใจได้อย่างรวดเร็วไม่ต้องใช้ความคิดที่ลึกซึ้ง บางประเภทมีความซับซ้อนมากจำเป็นต้องใช้ความสามารถใน
ข้นั สงู กานเย ไดจ้ ดั ขนั้ การเรียนรซู้ ่งึ เรม่ิ จากง่ายไปหายาก โดยผสมผสานทฤษฎกี ารเรยี นรูข้ องกลมุ่ พฤติกรรมนิยม
และพทุ ธินิยมเข้าด้วยกัน หลกั การทส่ี ำคญั ๆ ของกานเย่ สรุปไดด้ งั นี้ (Gagne and Briggs, 1974: p 121-136)
ทฤษฎกี ารเรียนรู้

กานเย่ (Gagne) ได้จดั ประเภทของการเรยี นรเู้ ป็นลำดบั ขน้ั จากงา่ ยไปหายาก ไว้ 8 ประเภท ดังน้ี
1. การเรียนรู้สญั ญาณ (signal-learning) เป็นการเรียนรู้ทีเ่ กดิ จากการตอบสนองต่อส่งิ เรา้ ท่เี ป็นไป

โดยอัตโนมัติ อยู่นอกเหนืออำนาจจิตใจ ผู้เรียนไม่สามารถบังคับพฤติกรรมไม่ให้เกิดขึ้นได้ การเรียนรู้แบบนี้เกิด
จากการที่คนเรานำเอาลักษณะการตอบสนองที่มีอยู่แล้วมาสัมพันธ์กับสิ่งเร้าใหม่ที่มีความใกล้ชิดกับส่ิ งเร้าเดิม
การเรียนรสู้ ญั ญาณเปน็ ลกั ษณะการเรยี นรแู้ บบการวางเง่ือนไขของพาฟลอฟ

2. การเรยี นรสู้ ง่ิ เรา้ -การตอบสนอง (stimulus-response learning) เปน็ การเรยี นรตู้ อ่ เนื่องจาก
การเชอ่ื มโยงระหวา่ งสิง่ เรา้ และการตอบสนอง แตกต่างจากการเรียนรสู้ ัญญาณ เพราะผูเ้ รียนสามารถควบคุม
พฤติกรรมตนเองได้ ผเู้ รยี นแสดงพฤติกรรมเน่ืองจากได้รับการเสริมแรง การเรียนรู้แบบนเี้ ปน็ การเรียนรตู้ าม
ทฤษฎกี ารเรยี นรู้แบบเชือ่ มโยงของธอร์นไดค์ และการเรยี นรแู้ บบวางเง่ือนไข (operant conditioning) ของสกิน
เนอร์ซง่ึ เชือ่ วา่ การเรยี นรูเ้ ปน็ ส่ิงท่ผี เู้ รียนเป็นผู้กระทำเองมใิ ชร่ อใหส้ ่ิงเรา้ ภายนอกมากระทำ พฤติกรรมท่ีแสดงออก
เกดิ จากส่งิ เร้าภายในของผเู้ รยี นเอง

3. การเรยี นร้กู ารเชื่อมโยงแบบตอ่ เนื่อง (chaining) เป็นการเรียนรู้ทีเ่ ช่อื มโยงระหว่างสิ่งเร้าและ
การตอบสนองที่ต่อเนื่องกนั ตามลำดับ เป็นพฤตกิ รรมท่เี กี่ยวขอ้ งกบั การกระทำ การเคลื่อนไหว

4. การเชอื่ มโยงทางภาษา (verbal association) เป็นการเรียนรใู้ นลักษณะคลา้ ยกับการเรยี นรู้
การเชื่อมโยงแบบต่อเนื่อง แต่เปน็ การเรียนรเู้ กยี่ วกับการใช้ภาษา การเรยี นรูแ้ บบการรับสิ่งเรา้ -การตอบสนอง
เปน็ พนื้ ฐานของการเรยี นรู้แบบตอ่ เน่อื งและการเชือ่ มโยงทางภาษา

5. การเรียนรู้ความแตกต่าง (discrimination learning) เปน็ การเรียนรู้ทีผ่ เู้ รียนสามารถมองเห็น
ความแตกตา่ งของสงิ่ ต่าง ๆ โดยเฉพาะความแตกต่างตามลักษณะของวัตถุ

125

6. การเรียนรู้ความคิดรวบยอด (concept learning) เปน็ การเรียนรทู้ ่ผี เู้ รยี นสามารถจัดกลมุ่ สงิ่
เร้าทม่ี คี วามหมายเหมือนกันหรือแตกต่างกัน โดยสามารถระบลุ ักษณะทเี่ หมือนกันหรือแตกตา่ งกันได้ พรอ้ มทงั้
สามารถขยายความร้ไู ปยังสงิ่ อนื่ ทนี่ อกเหนือจากทเ่ี คยเหน็ มาก่อนได้

7. การเรียนรู้กฎ (rule learning) เปน็ การเรยี นรทู้ เี่ กดิ จากการรวมหรือเชือ่ มโยงความคิดรวบยอด
ต้ังแต่ 2 อยา่ งข้ึนไป และต้งั เปน็ กฎเกณฑ์ขน้ึ การที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้กฎเกณฑจ์ ะชว่ ยใหผ้ เู้ รียนสามารถนำการ
เรยี นรู้นั้นไปใชใ้ นสถานการณ์ตา่ ง ๆ กัน

8) การเรียนรู้การแก้ปัญหา (problem solving) เป็นการเรียนรู้ที่จะแก้ปัญหา โดยการนำ
กฎเกณฑ์ต่าง ๆ มาใช้ การเรียนรู้แบบน้ีเป็นกระบวนการที่เกิดภายในตัวผู้เรยี น เป็นการใช้กฎเกณฑ์ในขั้นสงู เพ่อื
การแกป้ ัญหาทคี่ ่อนข้างซับซอ้ น และสามารถนำกฎเกณฑใ์ นการแกป้ ัญหานี้ไปใช้กับสถานการณท์ ่ีคลา้ ยคลึงกัน
หลักการจัดการศึกษา/การสอน

1. กานเยไ่ ด้เสนอรูปแบบการสอนอย่างเป็นระบบโดยพยายามเชื่อมโยงการจดั สภาพการเรียนการสอนอัน
เป็นสภาวะภายนอกตัวผู้เรียนให้สอดคล้องกับกระบวนการเรียนรู้ภายใน ซึ่งเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายใน
สมองของคนเรา กานเยอธบิ ายว่าการทำงานของสมองคล้ายกบั การทำงานของคอมพวิ เตอร์

2. ในระบบการจดั การเรียนการสอน เพื่อให้สอดคลอ้ งกับกระบวนการเรียนรู้น้นั กานเยไดเ้ สนอระบบการ
สอน 9 ข้นั ดงั น้ี

ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ (gaining attention) เป็นขั้นที่ทำให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในบทเรียน
เป็นแรงจูงใจที่เกิดขึ้นทั้งจากสิ่งยั่วยุภายนอกและแรงจูงใจที่เกิดจากตัวผู้เรียนเองด้วย ครูอาจใช้วิธีการสนทนา
ซกั ถาม ทายปญั หา หรอื มีวสั ดุ อปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ทีก่ ระตุน้ ใหต้ วั ผเู้ รยี นตน่ื ตัว และมีความสนใจทจี่ ะเรียนรู้

ขั้นที่ 2 แจ้งจุดประสงค์ (informing the learner of the objective) เป็นการบอกให้ผู้เรียน
ทราบถึงเปา้ หมายหรอื ผลทีไ่ ด้รบั จากการเรียนบทเรียนน้นั โดยเฉพาะ เพื่อใหผ้ เู้ รียนเหน็ ประโยชน์ในการเรยี น เหน็
แนวทางของการจัดกิจกรรมการเรียน ทำให้ผู้เรียนวางแผนการเรียนของตนเองได้ นอกจากนั้นยังสามารถชว่ ยให้
ครูดำเนินการสอนตามแนวทางทจี่ ะนำไปสู่จุดหมายได้เปน็ อยา่ งดี

ขั้นที่ 3 กระตุ้นให้ผู้เรียนระลึกถึงความรู้เดิมที่จำเป็น (stimulating recall of prerequisite
learned capabilites) เป็นการทบทวนความรู้เดิมท่ีจำเปน็ ต่อการเช่อื มโยงให้เกดิ การเรียนรู้ความรู้ใหม่ เนื่องจาก
การเรียนรู้เป็นกระบวนการตอ่ เนือ่ ง การเรียนรูค้ วามรใู้ หมต่ อ้ งอาศัยความรเู้ กา่ เป็นฐาน

ขั้นที่ 4 เสนอบทเรียนใหม่ (presenting the stimulus) เป็นการเริ่มกิจกรรมของบทเรียนใหม่
โดยใช้วัสดุอปุ กรณต์ ่าง ๆ ท่เี หมาะสมมาประกอบการสอน

ข้ันท่ี 5 ใหแ้ นวทางการเรียนรู้ (providing learning guidance) เปน็ การชว่ ยให้ผู้เรียนสามารถ
ทำกิจกรรมด้วยตนเอง ครอู าจแนะนำวธิ กี ารทำกิจกรรม แนะนำแหลง่ ค้นคว้าเปน็ การนำทาง ใหแ้ นวทางให้ผู้เรียน
ไปคิดเอง

126

หลักการจัดการศึกษา/การสอน
1. กานเย่ ได้เสนอรูปแบบการสอนอย่างเป็นระบบโดยพยายามเชื่อมโยงการจัดสภาพการเรียนการสอน

อันเป็นสภาวะภายนอกตัวผู้เรียนให้สอดคลอ้ งกับกระบวนการเรียนรู้ภายใน ซึ่งเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายใน
สมองของคนเรา กานเยอธิบายว่าการทำงานของสมองคลา้ ยกบั การทำงานของคอมพวิ เตอร์

2. ในระบบการจดั การเรียนการสอน เพือ่ ใหส้ อดคล้องกบั กระบวนการเรยี นรู้นัน้ กานเยไดเ้ สนอระบบการ
สอน 9 ขั้นดังน้ี

ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ (gaining attention) เป็นขั้นที่ทำให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในบทเรียน
เป็นแรงจูงใจที่เกิดขึ้นทั้งจากสิ่งยั่วยุภายนอกและแรงจูงใจที่เกิดจากตัวผู้เรียนเองด้วย ครูอาจใช้วิธีการสนทนา
ซักถาม ทายปัญหา หรอื มีวสั ดุ อุปกรณต์ า่ ง ๆ ท่กี ระต้นุ ใหต้ ัวผเู้ รียนตืน่ ตวั และมคี วามสนใจทีจ่ ะเรียนรู้

ขั้นที่ 2 แจ้งจุดประสงค์ (informing the learner of the objective) เป็นการบอกให้ผู้เรียน
ทราบถึงเป้าหมายหรอื ผลท่ีได้รบั จากการเรยี นบทเรียนนั้นโดยเฉพาะ เพอื่ ให้ผูเ้ รยี นเห็นประโยชน์ในการเรยี น เห็น
แนวทางของการจัดกิจกรรมการเรียน ทำให้ผู้เรียนวางแผนการเรียนของตนเองได้ นอกจากนั้นยงั สามารถชว่ ยให้
ครดู ำเนนิ การสอนตามแนวทางท่จี ะนำไปสู่จดุ หมายได้เป็นอยา่ งดี

ขั้นที่ 3 กระตุ้นให้ผู้เรียนระลึกถึงความรู้เดิมที่จำเป็น (stimulating recall of prerequisite
learned capabilites) เป็นการทบทวนความรู้เดมิ ทจ่ี ำเป็นตอ่ การเชือ่ มโยงให้เกิดการเรยี นรู้ความรู้ใหม่ เนอ่ื งจาก
การเรียนรู้เปน็ กระบวนการตอ่ เน่อื ง การเรียนรคู้ วามรใู้ หมต่ ้องอาศยั ความรเู้ กา่ เป็นฐาน

ขั้นที่ 4 เสนอบทเรียนใหม่ (presenting the stimulus) เป็นการเริ่มกิจกรรมของบทเรียนใหม่
โดยใชว้ ัสดอุ ุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เหมาะสมมาประกอบการสอน

ขนั้ ท่ี 5 ให้แนวทางการเรียนรู้ (providing learning guidance) เปน็ การชว่ ยให้ผู้เรียนสามารถ
ทำกจิ กรรมด้วยตนเอง ครูอาจแนะนำวธิ กี ารทำกิจกรรม แนะนำแหล่งค้นคว้าเป็นการนำทาง ใหแ้ นวทางใหผ้ ้เู รยี น
ไปคดิ เอง เป็นต้น

ขั้นที่ 6 ให้ลงมือปฏิบัติ (eliciting the performance) เป็นการให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ เพื่อช่วย
ใหผ้ เู้ รยี นสามารถแสดงพฤติกรรมตามจดุ ประสงค์

ขน้ั ท่ี 7 ให้ข้อมลู ยอ้ นกลับ (feedback) เปน็ ขน้ั ท่ีครใู หข้ อ้ มูลเกี่ยวกับผลการปฏิบัติกิจกรรมหรือ
พฤตกิ รรมที่ผ้เู รียนแสดงออกวา่ มีความถูกต้องหรือไม่ อย่างไร และเพยี งใด

ขั้นที่ 8 ประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ (assessing the performance) เป็นข้ัน
การวัดและประเมินว่าผู้เรียนสามารถเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรูข้ องบทเรียนเพียงใด ซึ่งอาจทำการวัดโดย
การใช้ขอ้ สอบ แบบสังเกตการตรวจผลงาน หรอื การสมั ภาษณ์ แล้วแตว่ ่าจดุ ประสงคน์ ้ันต้องการวดั พฤติกรรมด้าน
ใด แตส่ งิ่ ทส่ี ำคญั คอื เคร่อื งมือท่ีใชว้ ัดจะตอ้ งมคี ณุ ภาพ มีความเชือ่ ถือได้ และมคี วามเที่ยงตรงในการวดั

127

ขั้นที่ 9 ส่งเสริมความแม่นยำและการถ่ายโอนการเรียนรู้ (enhancing retention and
transfer) เป็นการสรุป การย้ำ ทบทวนการเรียนที่ผ่านมา เพื่อให้นักเรียนมีพฤติกรรมการเรียนรู้ที่ฝังแน่นข้ึน
กิจกรรมในขั้นนี้อาจเป็นแบบฝึกหัด การให้ทำกิจกรรมเพิ่มพูนความรู้ รวมทั้งการให้ทำการบ้าน การทำรายงาน
หรอื หาความรู้เพ่ิมเติมจากความรู้ทไี่ ด้ในชัน้ เรยี น (ทีม่ า : ทศิ นา แขมมณี ,2547)

สรปุ
ทฤษฎกี ารศกึ ษา

กลุ่มพฤติกรรมนิยม ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมเป็นการทดลองเกี่ยวกับพฤติกรรมเพื่อสังเกต
พฤติกรรมต่างๆที่เเสดงออกมาให้เห็นเเละนำหลักการนั้นไปปรับใช้ในการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะในด้าน
ตา่ งๆ

กลุ่มพุทธินิยม การเรียนรู้ของมนุษย์มีความซับซ้อน เป็นกระบวนการทางความคิดที่เกิดจากการสะสม
ขอ้ มลู การสรา้ งความหมาย และความสัมพนั ธ์ของข้อมูล และการดงึ ข้อมูลออกมาใช้ในการกระทำ และแก้ปัญหา
ต่างๆเป็นกระบวนการทางสติปัญญาของมนุษย์ในการที่จะสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ตนเอง มนุษย์เลือกที่จะ
รบั ร้สู ิ่งทต่ี นเองสนใจ ซง่ึ การเรียนร้เู กดิ จากกระบวนการคน้ พบด้วยตนเอง

กลมุ่ มนุษย์นยิ ม มนษุ ยท์ กุ คนมีอสิ ระที่จะแสดงพฤติกรรมตา่ ง ๆ ออกมา โดยมีปจั จยั ภายนอกเป็นสง่ิ
ที่ชว่ ยปรับแตง่ พฤตกิ รรม เมื่อได้รบั การขัดเกลา การสนับสนุน กจ็ ะส่งผลให้เกดิ การพัฒนาตนเองต่อไป

ทฤษฎีการเรียนรทู้ างสังคม เน้นความสำคญั ของการเรยี นรู้แบบการสงั เกตหรือเลยี นแบบจากตัวแบบ ซึง่
อาจจะเป็นได้ทั้งตัวบุคคลจริง ๆ เช่น ครู เพื่อน หรือจากภาพยนตร์โทรทัศน์ การ์ตูน การเรียนรู้โดยการสังเกต
ประกอบด้วย 2 ขั้น คือ ขั้นการรับมาซึ่งการเรียนรู้เป็นกระบวนการทางพุทธิปัญญา และขั้นการกระทำ
ต ั ว แ บ บ ท ี ่ ม ี อ ิ ท ธ ิ พ ล ต ่ อ พ ฤ ต ิ ก ร ร ม ข อ ง บ ุ ค ค ล ม ี ท ั ้ ง ต ั ว แ บ บ ใ น ช ี ว ิ ต จ ร ิ ง แ ล ะ ต ั ว แ บ บ ท ี ่ เ ป ็ น ส ั ญ ล ั ก ษ ณ์

กลุ่มผสมผสาน เป็นการผสมผสานทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มพฤติกรรมนิยมและกลุ่มพุทธินิยมเข้า
ด้วยกัน อาศัยทฤษฎีและหลักการที่หลากหลาย เนื่องจากความรู้มีหลายประเภท บางประเภทสามารถ เข้าใจได้
อย่างรวดเร็วไมต่ ้องใชค้ วามคดิ ท่ีลกึ ซงึ้ บางประเภทมีความซับซ้อนมากจำเปน็ ต้องใชค้ วามสามารถในข้ันสูง

128

อา้ งองิ

ทศิ นา แขมมณ.ี (2547). ศาสตร์การสอน : องค์ความรเู้ พ่ือการจดั กระบวนการเรียนรูท้ ี่มี

ประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 3 . กรุงเทพฯ: สำนกั พมิ พแ์ ห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย

กันยา สุวรรณแสง. (2532). จิตวทิ ยาทว่ั ไป.กรุงเทพฯ. สำนกั พมิ พ์ บำรงุ สาน์ส.
กุญชรี ค้าขาย (2540).จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาจิตวิทยา และ

การแนะแนวคณะครุศาสตร์ สถาบนั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา.
คารล์ อาร์ โรเจอร์ . (2532). จติ วทิ ยาทว่ั ไป.กรงุ เทพฯ. สำนกั พมิ พ์ บำรุงสาสน์ .
ชยั วัฒน์ สทุ ธริ ัตน์. สอนเด็กใหม้ ีจติ สาธารณะ. กรุงเทพฯ : วี พรนิ ท์ , 2552.
ชัยวัฒน์ สุทธริ ตั น.์ (2552).80 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ทีเ่ น้นผูเ้ รยี นเป็นสำคัญ.แดเนก็ ซ์ อินเตอร์

คอรป์ อเรชน่ั กรงุ เทพฯ.
ณัชชากัญญ์ วิรัตนชัยวรรณ. ทฤษฏีการเรยี นรูก้ ลุ่มมนษุ ยนิยม (Humanism). (ออนไลน์). เข้าถงึ ได้

จาก : http://www.learners.in.th/blogs/posts/386486 . วันทสี่ ืบค้นข้อมูล
: 7 กรกฏาคม 2555.
ถนั แพรเพชร. การศกึ ษาความสมั พนั ธ์ระหว่างการอบรมเลย้ี งดูเด็กกับความคดิ สร้างสรรค์และ
ความเกรงใจของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ในเขตการศกึ ษา 3. ปรญิ ญานิพนธ์
การศกึ ษาบณั ฑติ มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ ประสานมติ ร, 2517.
ทศิ นา แขมมณี (2553) .ศาสตรก์ ารสอน:องคค์ วามรู้เพ่อื การจดั กระบวนการเรียนรูท้ ี่มี
ประสทิ ธภิ าพ.จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย.กรงุ เทพ
ทศิ นา แขมมณี (พมิ พค์ รงั้ ท่ี 8),ศาสตร์การสอน. กรุงเทพฯ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั 2551
ทศิ นา แขมมณี. (2555) ศาสตร์การสอน. พิมพ์ครั้งท่ี 15. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลัย.
นันทวัฒน์ บญุ ไธสง. (2543) ทฤษฎีเกสตลั ท์ (Gestalt Theory). ออนไลน์,สบื ค้นจากอินเทอร์เนต็
บริหารการศึกษา กลุม่ ดอนทอง 52. ทฤษฏีการเรียนรู้กลุ่มมนษุ ยนยิ ม (Humanism). (ออนไลน)์ .
เข้าถึงได้จาก : http://dontong52.blogspot.com/ . วนั ทีส่ บื คน้ ข้อมูล 7 กรกฏาคม 2555.
ประสาท อิศรปรีดา. (2538). ทฤษฎีการเรยี นร.ู้ กรงุ เทพฯ:มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช.
(2534). หลกั จิตวิทยา. พิมพค์ ร้ังที่ 2. นนทบรุ :ี
ประเทอื ง ภมู ิภัทราคม. (2540). การปรับพฤตกิ รรม: ทฤษฎีและการประยุกต์ พิมพค์ รง้ั ท่ี 1.

กรุงเทพฯ:
พนารัตน์ วงศอ์ กนษิ ฐ์ (2549) พิมพ์ครงั้ ที่ 1. กรงุ เทพมหานคร : สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารศกึ ษา

ทางการอาชีวะและเทคนคิ ศึกษาสถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั .
พรรณ ช. เจนจติ (พมิ พค์ รง้ั ที่ 4), จิตวทิ ยาการเรียน การสอน. กรงุ เทพฯ : ต้นอ้อแกรมมี่, 2538
พรรณี ช.เจนจติ . จิตวิทยาการเรยี นการสอน. กรงุ เทพฯ : เสรมิ สิน พรีเพรส ซสิ เท็ม , 2545

129

บทท่ี 6

ความเปน็ ครู จรรยาบรรณวชิ าชพี ครู เกณฑ์มาตรฐานวชิ าชพี

และการเปลยี่ นแปลงบริบทโลก

การศกึ ษาไทยในสมยั โบราณ

ประวัติความเป็นมาและระบบการจัดการศึกษาไทย การจัดการศึกษาของประเทศไทยเริ่มมาตั้งแต่สมัย
โบราณ ซึง่ เปน็ การจดั การศึกษาไม่มีแบบแผน และมวี ิวฒั นาการจนเปน็ การถ่ายทอดความรู้ให้กนั อย่างเป็นระบบ
ในระบบโรงเรียน ซึง่ เปน็ การจัดการศกึ ษา

การศึกษาไทยสมยั โบราณ (พ.ศ. 1781 - พ.ศ. 2411)

สมัยสุโขทัย (ที่มา : การศึกษาไทย อดีต ปัจจุบัน สู่อนาคต.ปริญาภรณ์ ตั้งคุณานันต์) การศึกษาสมัย
สุโขทัยเป็นการจัดการศึกษาภายใต้การปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มีการศึกษาแบบถ่ายทอดการ
เรียนรู้อย่างไม่มีแบบแผนที่แน่นอน โดยมีวัดเป็นศูนย์กลางที่สำคัญของการศึกษาตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงสมัย
รัตนโกสินทร์ ลักษณะการจัดการศึกษาสมัยสุโขทัย มีรูปแบบการจัดการศึกษาและสถานศึกษา 4 ลักษณะดังน้ี

1. การศกึ ษาในวงั เปน็ การจัดการศึกษาสําหรับ พระราชโอรสหรือเชอื้ พระวงศ์ อันดบั รองลงมาในสถาบัน
กษัตริย์ครูผู้สอน คือ พราหมณ์ปุโรหิตและพระภิกษุ ที่ได้รับการคัดเลือกแล้วผู้ชายจะศึกษาวิชาสำหรับชนชั้น
กษัตริย์ เช่น การปกครอง พระธรรมนูญศาสตร์ การต่อสู้คาถาอาคม รวมถึงตำราพิชัยสงครามซึ่งเป็นวิชาชั้นสูง

2. การศึกษาในสำนักราชบัณฑิตเป็นการจัดการศึกษาสำหรับบุตรหลานเจ้าเชื้อพระวงศ์ และบุตรหลาน
ของขุนนางข้าราชบริพาร คหบดีครูผู้สอน คือ พราหมณ์นักปราชญ์ราช

3. การศกึ ษาในวัดเป็นการจัดการศึกษาสำหรับผู้ชายไทยที่ต้องการบวชเรยี นเพ่ือให้มีความรู้ ครูผู้สอนคือ
พระภิกษุสงฆ์วิชาที่สอน คือ การอ่าน การเขียน หนังสือภาษาไทย มอญ และขอม จริยธรรม

4. การศึกษาในบ้านเป็นการจัดการศึกษาสำหรับกุลบุตรกุลธิดาตามบ้านขุนนางหรือคหบดี ครูผู้สอนคือ
ผู้อาวุโสในบ้านหรือผู้ที่มีความสามารถที่ขุนนางหรือคหบดีจ้างมาสอนบุตรหลาน วิชาที่สอน คือ การอ่าน การ
เขียน หนังสือภาษาไทย และอาชพี หลกั ของครอบครวั นั้นๆ เชน่ ช่างทอง ช่างเหล็ก เปน็ ตน้ ในสมยั สุโขทยั พ่อขุน
รามคําแหงมหาราชได้ทรงคิดประดิษฐ์ตัวอักษรไทยขึ้นเป็นครั้ง แรกโดยทรงดัดแปลง มาจากตัวหนังสือขอมและ
มอญซึ่งนับว่าเป็นสัญลักษณ์ที่สำคัญยิ่งของความเป็นชาติและเป็นรากฐานท่ี สำคัญด้านอักษรศาสตร์โดยมี
หลักฐานที่สำคัญ คือ หลักศิลาจารึก ที่จารึกประวัติศาสตร์ในสมัยสุโขทัย (ที่มา : รายงานการศึกษาไทยพ.ศ.
2561.สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา )

สมยั กรุงศรีอยุธยา (ท่ีมา : การศกึ ษาไทยในอดตี .เว็บไซต์ กระทรวงศึกษาธกิ าร) กรงุ ศรีอยุธยาเปน็ ราช
ธานมี ายาวนานรวมเวลาทง้ั สิน้ 417 ปีมีความเจริญทงั้ ทางด้านสังคม การเมืองและเศรษฐกิจ ความเจรญิ ดงั กลา่ ว
เกดิ มาจากการติดต่อค้าขายกับชาวต่างชาติ เชน่ จนี มอญ ญวน เขมร อินเดีย และอาหรับ

ในรชั สมยั พระรามาธบิ ดีท่ี 2 ไดเ้ ร่มิ ตดิ ตอ่ ค้าขายกบั ชาวตะวันตก เช่น โปรตุเกส ฮอลนั ดา ฝรงั่ เศส
อังกฤษและจากการตดิ ต่อคา้ ขายกบั ชาวตะวนั ตก ทำให้การศกึ ษาไทย มีความเจริญรงุ่ เรืองข้ึน

130

ลักษณะการจัดการศึกษาสมัยกรงุ ศรีอยุธยา มีรปู แบบการจัดการศึกษา และสถานศึกษา เหมอื นกับสมยั
สุโขทยั 4 ลกั ษณะคือ การศึกษาในวัง สำนกั ราชบัณฑิต วัดและบ้าน ซง่ึ ในสมยั กรงุ ศรีอยุธยาน้ีนอกจากการจดั
การศกึ ษาใน 4 ลกั ษณะที่กล่าวมา ยังไดเ้ ร่ิมมกี ารจดั การเรียนการสอนในโรงเรียนมชิ ชนั นารซี ่งึ เปน็ โรงเรยี นของ
ชาวตะวันตกทเ่ี ข้าเผยแพร่ศาสนาของตนด้วย สมยั กรุงศรีอยธุ ยามปี ระเพณี ที่ชายไทยจะตอ้ งเข้าอุปสมบทในพุทธ
ศาสนาเมอ่ื อายุครบบวชหรอื อายุครบ 20 ปบี ริบูรณ์ เพื่อศึกษาพระธรรมวินัย และปฏบิ ัติศาสนกจิ ในระหว่าง
เข้าพรรษา การอปุ สมบทถือเปน็ การบวช เรยี นและผอู้ ปุ สมบทถือเปน็ ผู้บวชเรียน โดยมพี ระภิกษุเปน็ ผ้สู งั่ สอน
พระภิกษจุ ะอบรมสง่ั สอนจริยศึกษา พทุ ธศิ ึกษา หนงั สือขอม บาลีพระธรรมวนิ ัย

นอกจากนย้ี งั ได้มกี ารสอนวชิ าพเิ ศษ เพม่ิ เติมตามความสามารถของพระภิกษุในวัดน้นั ๆ เชน่ ความรู้
ความสามารถทางช่าง การต่อสู้ มวยไทยและวชิ าอาวธุ คาถาอาคม ผ้ทู ี่ลาสกิ ขาบทแล้วจะไดร้ ับการเรียกว่า "ทดิ "
หรอื "บณั ฑติ " และในรชั สมัยพระเจ้าอยู่หวั บรมโกศ พระองคท์ รงสง่ เสริมพทุ ธศาสนาโดยทรงวางกฎเกณฑ์ไวว้ า่ ผู้
ทีจ่ ะถวายตัวเข้ารับราชการจะตอ้ งเป็นบณั ฑติ คือ ผา่ นการอปุ สมบทมาแลว้ เท่าน้นั ส่วนการศึกษาของสตรี ยังมี
การจัดการศึกษาเหมือนกับสมัยสโุ ขทยั แตส่ ตรที ี่อยูใ่ นราชตระกูลจะเริ่มเรียนภาษาไทย และการแต่งคําประพนั ธ์ใน
สมัยนีช้ าวโปรตเุ กสเปน็ ชาติแรกที่นาํ วธิ ีการทำขนมหวานที่มีไข่เป็นส่วนผสม เชน่ ทองหยบิ ฝอยทอง มาเผยแพร่
จนขนมเหล่านเ้ี ปน็ เอกลกั ษณข์ นมหวานของไทยในปัจจุบัน ในรชั สมยั สมเด็จพระนารายณ์มหาราช เมือ่ ประเทศมี
สมั พนั ธไมตรีและค้าขาย กับชาวตะวันตกมากขึน้ สถานศึกษาทมี่ ีรปู แบบเป็นโรงเรียนจงึ เกิดขึ้นครั้งแรก โรงเรยี น
ดังกล่าว คอื ศาลาโรงเรยี น หรอื บ้านสามเณรใหญ่ หรือโรงเรียนสามเณร ต้งั อยู่ทางตอนเหนือของกรงุ ศรีอยุธยา
โดยสังฆราช หลยุ สล์ าโน บาทหลวงในคณะมิชชนั นารี คาทอลกิ เปน็ ผกู้ ่อตั้งโรงเรียนแห่งนศ้ี าลาโรงเรยี น
มีวิทยฐานะเทียบเท่ากับวทิ ยาลยั วิชาทีส่ อนก็ใกล้เคียงกับ วิชาทีส่ อนในวิทยาลัย ซ่ึงไดแ้ ก่ วชิ าวทิ ยาศาสตร์
ประวตั ิศาสตร์ ภมู ิศาสตร์ เทวศาสตร์ และ ปรัชญา นบั เป็นการเรยี นรูเ้ ก่ยี วกับเร่ืองราวของโลกและมนุษย์และเริม่
มีการจัดการเรียนการ สอนด้านภาษาตา่ งประเทศ เชน่ ภาษาลาตนิ ภาษาฝร่งั เศส ในสมยั สมเดจ็ พระนารายณ์
มหาราช ได้โปรดใหพ้ ระโหราธิบดแี ตง่ แบบเรยี นภาษาไทยชอื่ ว่า จนิ ดามณีซึง่ เปน็ หนังสือแบบเรยี นภาษาไทยเล่ม
แรกทแ่ี ต่งไวเ้ พ่ือหดั อา่ น และฝกึ หดั การแต่ง โคลงฉันท์กาพยก์ ลอนจินดามณีจึงเป็นแบบเรียนเลม่ แรกของไทย
และเปน็ แม่แบบของ แบบเรียนสมัยต่อมา ในสมยั นี้การศึกษาเจริญรุ่งเรอื งมาก มีการสอนวชิ าภาษาไทย บาลี
สันสกฤต ฝรงั่ เศส เขมร พมา่ มอญ และจนี การศึกษาในสมัยกรุงศรีอยธุ ยาได้มีการสอน ภาษาตา่ งประเทศหลาย
ภาษาและมีความเจริญสูงสดุ ทางดา้ นอักษรศาสตร์และวรรณคดโี ดยมี นักปราชญ์กวีและวรรณคดที ีส่ ำคัญในสมัยนี้
ปรากฏมากมาย เชน่ สมุทรโฆษคาํ ฉันท์ อนิรทุ ธ์คาํ ฉันท์ และกาํ สรวลศรปี ราชญ์ เปน็ ตน้ (ที่มา : รายงาน
การศกึ ษาไทยพ.ศ.2561.สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา )

สมยั กรงุ ธนบรุ ีและรตั นโกสินทร์ตอนต้น (ท่มี า : ประวัตคิ วามเป็นมาและระบบการศึกษาไทย.
สรัลพร จ่ันขุนทด) หลงั จากท่ีกรุงศรีอยุธยาได้พ่ายแพ้ในสงครามครัง้ ที่ 2 และต้องสญู เสียเอกราชนท้ี ำให้
กรุงศรีอยธุ ยาได้รบั ความเสียหายเปน็ อยา่ งมากท้ังดา้ นโครงสร้างเมือง ศาสนา ศลิ ปวัฒนธรรม การศึกษาและ
สภาพจติ ใจของประชาชน เม่ือพระเจา้ กรุงธนบรุ ีไดก้ อบกู้อิสรภาพแล้วจึงต้องเรง่ ฟ้นื ฟูประเทศ เกบ็ รวบรวมสรรพ
ตําราจากแหล่งตา่ งๆ ทร่ี อดพ้นจากการทำลายจากสงครามและ ไดย้ ้ายเมอื งหลวงมาที่กรุงธนบรุ ีและเร่มิ ตน้ การ
ทํานบุ ํารงุ ศาสนา ศิลปะและวรรณคดขี น้ึ ใหม่ วดั ยังเป็นสถานศึกษาทใ่ี หก้ ารศึกษาแกป่ ระชาชนสว่ นใหญเ่ ช่นเดิม

131

สว่ นราชสำนกั ก็เปน็ สถานศึกษาสำหรับบตุ รหลานเจา้ นายเชอื้ พระวงศ์และบตุ รหลานของขุนนาง ขา้ ราชบริพาร
สมยั รชั กาลที่ 1พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงฟนื้ ฟูการศึกษาด้านอักษร ศาสตรโ์ บราณคดี

วรรณคดศี ิลปะ กฎหมาย วชิ าแพทย์แผนโบราณ สงั คายนาพระไตรปฎิ ก ทรงโปรดให้มกี ารสอนและการสอบพระ
ปรยิ ตั ิธรรม ทรงพระราชนิพนธ์เรอ่ื งรามเกยี รติ์ท่ีได้เคา้ โครงเรื่องมาจากเรื่องรามายณะของประเทศอนิ เดยี

สมัยรชั กาลท่ี 2 พระพุทธเลศิ หลา้ นภาลยั ช่วงนปี้ ระเทศเรม่ิ มีสมั พันธไมตรแี ละการค้ากับ ชาวตา่ งชาตอิ ีก
ครง้ั เช่น โปรตเุ กส องั กฤษ ฝรั่งเศส ฮอลนั ดา เปน็ ตน้ เน่ืองจากประเทศทางยุโรปมีการปฏิวัติอตุ สาหกรรมทำให้
สามารถผลิตสินคา้ ไดเ้ ป็นจำนวนมากจากเคร่อื งจักรทใ่ี ช้ พลงั งานจากไอนำ้ ประเทศตา่ งๆทางยุโรปเหลา่ น้ีจึง
ตอ้ งการตดิ ตอ่ คา้ ขายกับประเทศทาง เอเชียเพื่อต้องการขายสินค้า การติดต่อสือ่ สารเพอื่ การคา้ ขายนีเ้ องทำให้คน
ไทยมีความทนั สมยั และมวี ทิ ยาการต่างๆ จากตะวนั ตกผสมผสานการศกึ ษาของไทยจงึ เริม่ เปลี่ยนแปลงไปอกี ครั้ง
หนึ่ง รชั สมัยนมี้ คี วามเจริญร่งุ เรอื งทางดา้ นอักษรศาสตร์เน่ืองจากรัชกาลท่ี 2 ท่านทรง เช่ยี วชาญทางด้านอักษร
ศาสตรแ์ ละนาฏศลิ ป์ทำให้มีกวีและผลงานทีท่ รงคุณคา่ มากมาย เชน่ นทิ านเรอื่ งพระอภยั มณี นิราศภูเขาทองของ
สนุ ทรภู่ นิราศนรนิ ทร์ ของนายนรินทรธิเบศร

สมัยรัชกาลท่ี 3 สมเดจ็ พระน่ังเกลา้ เจ้าอยหู่ วั ทรงสง่ เสริมการศึกษาด้านศาสนา โปรดให้มีการบรูณ
ปฏสิ ังขรณ์วดั พระเชตุพน ในคราวน้ันพระองคท์ า่ นทรงมพี ระราชดาํ รเิ กยี่ วกับ เรื่องของวิชาชพี ว่ายังไม่มสี ถานที่ใด
ทจ่ี ะศึกษาเลา่ เรยี นไดส้ ว่ นใหญม่ ีการสอนกนั เฉพาะภายใน ครอบครัวหรือวงศ์ตระกูลและนสิ ยั คนไทยก็หวงแหน
วชิ าความรู้ทต่ี นมีอยู่ไมย่ อมถ่ายทอด ใหแ้ ก่คนทั่วไปเพ่อื เป็นวทิ ยาทาน จึงทำใหว้ ทิ ยาการตา่ งๆตอ้ งสญู หายไปจึง
โปรดให้ นักปราชญ์ราชบณั ฑิต ผู้เช่ยี วชาญในวิชาการต่างๆ มาร่วมจารกึ วชิ าการโดยสาบานตนวา่ จะไม่ปกปดิ
หรือทำให้วชิ าความรูบ้ ดิ เบือนไปและจารึกความรู้ดังกลา่ วข้างต้นลงในแผ่นศิลาสรา้ งเป็นรูปป้นั และเขียนเป็นภาพ
จิตรกรรมฝาผนัง เพ่ือเปน็ การถา่ ยทอดวชิ าความรู้สบื ไป ในภายหน้ามิให้สูญหายไปโดยได้นาํ ไปประดับไว้ตาม
ระเบยี งวัดพระเชตพุ น นอกจากนี้ พระองค์ท่าน ทรงให้มีการแต่งแบบเรยี นภาษาไทยขึน้ อีก 2 เล่ม ไดแ้ ก่ หนงั สือ
ประถม ก กา และประถม มาลา ชว่ งน้ีการศึกษาของประเทศไดร้ บั อทิ ธิพลจากประเทศทางตะวนั ตก ซงึ่
นายแพทย์ดีบี บรดั เลย์(Dr. D.B. Bradley) ไดน้ ําวชิ าการแพทยส์ มัยใหม่มาเผยแพร่เช่น การผ่าตดั รักษา คนไข้
และได้ริเร่ิมนาํ แทน่ พิมพ์มาตัง้ โรงพมิ พเ์ พื่อพมิ พห์ นังสือ เปน็ ภาษาไทยโดยรับจา้ งพมิ พ์ เอกสารของทางราชการ
สำหรบั การพิมพ์เอกสารภาษาไทยคร้ังแรกน้ีเป็นการพมิ พ์เอกสาร เกี่ยวกับการหา้ มประชาชนสบู ฝน่ิ การจัดตงั้ โรง
พิมพห์ นังสอื ไทยนี้ได้สร้างประโยชน์อยา่ งมากแก่การศึกษาไทย เนอื่ งจากทำให้ประเทศสามารถผลิตหนงั สือเรียน
ภาษาไทยได้เป็นจำนวนมาก

สมยั รัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอย่หู วั รชั สมัยนช้ี าวยุโรปและอเมริกนั เข้า มาตดิ ต่อ
การคา้ และสอนศาสนามากข้ึนและมกี ารนําวิทยาการสมัยใหม่เขา้ มาใชม้ ากมาย เริ่มมีการคุกคามจากจักรวรรดิ
นยิ มตะวันตก ทำให้พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อย่หู วั ทรงเห็นความสำคัญของการศึกษา จึงทรงจา้ ง นาง
แอนนา เอช เลียวโนเวนส์ มาสอนสมเดจ็ พระเจา้ ลูกยาเธอจนรอบรภู้ าษาอังกฤษเปน็ อย่างดีทำให้เจ้านายและ
ขา้ ราชการช้ันสงู นิยมจ้างครฝู ร่ังมาสอนหนังสือและภาษาอังกฤษแก่บตุ รหลานท่บี า้ น ในชว่ งนกี้ ารศกึ ษาจึงมกี าร
เปลี่ยนแปลงอยา่ งชัดเจนมากย่ิงข้นึ จนส่งผลทำใหเ้ กดิ การปฏิรปู การศกึ ษาในชว่ งเวลาตอ่ มา

132

การศึกษาไทย สมัยก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง (พ.ศ. 2411 - พ.ศ. 2475)

การศึกษาไทยสมัยโบราณเป็นการจัดการศึกษาที่มีวัดเป็นศูนย์กลางที่สำคัญของการศึกษา และเน้นการ
ถ่ายทอดความรู้ของครอบครัวให้แก่ลูกหลานในวงศ์ตระกูล ภายหลังได้รับอิทธิพล การศึกษาจากตะวันตกทำให้
การศึกษาไทยเกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ สามารถสรุปได้ ดังนี้ สมัยรัชกาลที่ 5 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวประเทศมีความเจริญรุ่งเรืองในทุก ๆ ด้านทั้งด้านการปกครอง การศาล การคมนาคม
และการสาธารณสุข โดยเฉพาะด้านการศึกษา พระองค์ท่านทรงเห็นว่า การศึกษาเป็นรากฐานของการพัฒนา
ประเทศ จึงทรงสนับสนุนการศึกษาอยา่ งจริงจงั ซึ่งนับได้ว่าเป็นครั้งแรกของการปฏริ ูป การศึกษา การศึกษาไทย
ในสมยั น้ีจึงเปลีย่ นรูปจากแบบไม่เปน็ ทางการ ไมม่ รี ะเบยี บแบบแผน เป็นการศึกษาท่ีมีระบบ มีระเบียบแบบแผน
(Formal education) มีการจัดทำโครงการศึกษา ชาติมีการกำหนดวิชาเรียน มีการจัดการเรียนการสอนในชั้น
เรียน การสอบไล่และจัดให้มีทุนเล่าเรียนหลวงเพื่อให้ราษฎรได้รับโอกาส ในการศึกษาหาความรู้ในสาขาวิชาที่
ประเทศมีความตอ้ งการผู้ที่มีความเชี่ยวชาญโดยทุนดังกล่าวเปน็ ทนุ ที่ให้ราษฎรไปศึกษาเล่าเรียน ลักษณะการจัด
การศึกษาสมัยก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง มีรูปแบบการจัดการศึกษา ดังนี้ (ที่มา : แนวคิดเรื่องการมี
ระบอบรฐั ธรรมนูญในประเทศสยามก่อน 2475.กษิดิศ อนนั ทนาธร)

1. สถานศกึ ษาท่ีสำคญั ไดก้ ำเนดิ ขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอย่หู ัวฯ โปรด เกลา้ ฯ ใหจ้ ดั ตัง้
โรงเรียนหลวงแห่งแรกขึ้นในพระบรมมหาราชวัง เพื่อสอนภาษาไทยให้แก่ เจ้านายและบุตรหลานของขุนนาง
ชั้นสูงเพื่อฝึกคนเข้ารับราชการทั้งฝ่ายทหารและพลเรือน โดยมีพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจาริยางกูร) เป็น
อาจารย์ใหญ่ เน้นการสอนหนังสือไทย การคิดเลขและขนบธรรมเนียมราชการ และได้มีการจัดตั้งโรงเรียนหลวง
สำหรับสอนภาษาอังกฤษในพระบรมมหาราชวงั เพ่ือสอนภาษาอังกฤษ ใหก้ บั สมเดจ็ พระเจ้านอ้ งยาเธอ และหม่อม
เจ้าต่างกรม โดยมีนายฟรานซิส ยอร์ช แปเตอร์สันเป็นครูผู้สอนโดยขึ้นกับกรมมหาดเล็กหลวง หลังจากนั้นจึง
โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งโรงเรียนหลวงสำหรับราษฎรแห่งแรกขึ้น ชื่อ โรงเรียนวัดมหรรณพาราม เพื่อเปิดโอกาสให้
บุตรหลานของสามัญชนเขา้ เรยี นหนังสือได้ อยา่ งทัว่ ถงึ หลงั จากนัน้ จงึ ได้ทยอยจัดตั้งโรงเรียนตามวัดต่างๆ ข้ึนอีก
หลายแห่งทั้งในพระนคร และตามหัวเมืองสำคัญ จัดตั้งโรงเรียนแพทย์ขึ้นครั้งแรก ตั้งอยู่ที่ริมแม่น้ำหน้า
โรงพยาบาลศิรริ าช ช่อื ว่าโรงเรยี นแพทยา ใช้เป็นที่สอนวิชาแพทย์แผนปัจจบุ ัน ต่อมาคณะมิชชันนารีชาวอเมริกัน
ได้กอ่ ตง้ั โรงเรยี นกุลสตรวี ังหลังข้ึน ปัจจบุ ันโรงเรยี นแหง่ น้ีคอื โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ซงึ่ นบั เปน็ โรงเรียนสตรีแห่ง
แรกของประเทศไท ในภายหลังจงึ เกิดโรงเรยี นสำหรับสตรีเพ่มิ มากขน้ึ จากนั้นสมเดจ็ พระศรีพชั รินทราบรมราชินี
นาถจึงโปรดฯ ให้ตั้งโรงเรยี นสตรีขึ้นอีกแห่ง หนึ่งตรงบริเวณปากคลองตลาด พระราชทานนามว่า โรงเรียนราชินี
จัดตั้งโรงเรียนฝกึ หัดครู แห่งแรกท่ีตำบลโรงเลย้ี งเด็ก โดยมีนกั เรียนฝึกหัดครชู ดุ แรก 3 คนที่สำเร็จการศึกษาได้รับ
ประกาศนียบัตรเป็นครูสอนภาษาไทยและภาษาองั กฤษ ภายหลังไดป้ รบั ปรุงหลกั สูตรใหส้ งู ขนึ้ เป็นโรงเรียนฝึกหัด
อาจารยส์ อนหลักสตู ร 2 ปี โดยรับนกั เรยี นทีส่ ำเร็จมัธยมศกึ ษา หลงั จากนน้ั จงึ ไดจ้ ัดต้ังโรงเรียนฝึกหัดครูหญิงขึ้น
เปน็ ครั้งแรกท่ีโรงเรียนเบญจมราชาลัย

2. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ ทรงโปรดเกล้าฯ ให้พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจาริ
ยางกูร) เรียบเรียงแบบเรียนหลวงขึ้นชื่อ มูลบรรพกิจและเริ่มให้มีการจัดสอบไล่ วิชาสามัญ และมีการกำหนด
หลักสูตรที่เกี่ยวกับวิชาสามัญศึกษา หมายถึง ความรู้ต่างๆ ที่ ต้องการใช้สำหรับเสมียน ในราชการพลเรือนตาม

133

กระทรวงต่างๆ ภายหลังกรมศึกษาธิการได ใช้แบบเรียนที่แต่งโดยพระองค์เจ้าดิศวรกุมาร (กรมพระยาดํารงรา
ชานภุ าพ) แทนแบบเรยี น หลวงชุดเดมิ

3. หนว่ ยงานทีก่ ำกับดแู ลด้านการศึกษา เร่ิมขนึ้ โดยพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้า เจา้ อยู่หวั ฯ ทรงเห็น
ว่าการศกึ ษาของประเทศในขณะน้ันมีกรมมหาดเลก็ หลวงดูแลการจัดการ โรงเรียนต่างๆ ทั้งทีเ่ ป็นโรงเรยี นสำหรับ
พลเรอื นและทหาร จึงโปรดเกลา้ ฯ ให้ตง้ั กรม ศกึ ษาธิการขน้ึ เพื่อดูแลการจัดการโรงเรียนแทน แลว้ โปรดฯ ให้โอน
โรงเรียนมาอยู่ในความดูแลของกรมศึกษาธิการ ต่อมาทรงโปรดเกล้าฯ ให้รวมกรมศึกษาธิการ กรมแผนที่ กรม
พยาบาลและกรมพิพิธภัณฑ์แล้วยกฐานะขึ้นเป็น กระทรวงธรรมการแล้วโปรดเกล้าฯ ให้ เจ้าพระยาภาส
กรวงศ์(พร บุนนาค) เป็นเสนาบดีกระทรวงธรรมการ คนแรกมีหน้าที่ในการจัดการศึกษา

4. มหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทย เริ่มต้นจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ ได้
ทรงเล็งเห็นความสำคัญของการศึกษา ทรงโปรดฯ ให้มีการตั้งโรงเรียนพระตําหนักสวนกุหลาบเป็นโรงเรียน
นายทหารมหาดเลก็ ตอ่ มาได้เปลีย่ นเป็นโรงเรยี นขา้ ราชการพลเรอื นเพ่ือฝกึ คนเข้ารับราชการตามกระทรวง ทบวง
กรมต่างๆ ซึ่งต่อมาภายหลังพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ ทรงโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศ ยกฐานะ
โรงเรียน ข้าราชการพลเรือนขึ้นเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นับเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรก

5. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ ได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติประถมศึกษา พุทธศักราช
2464 บังคับให้เด็กที่มีอายุตั้งแต่ 7 ปีเข้าเรียนในโรงเรียนจนอายุครบ 14 ปี บริบูรณ์โดยไม่ต้องเสียค่าเล่าเรียน
สมัยรัชกาลที่ 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงปกครองประเทศให้มีความเจริญก้าวหน้าทดั เทยี ม
กับนานาอารยประเทศ พระองค์ทรง นําเอาแบบอย่างและวิธีการที่เป็นประโยชน์จากต่างประเทศมาใช้เป็นหลัก
ในการปรบั ปรุง การศึกษา เช่น นําวิชาลูกเสือจากประเทศอังกฤษมาจัดต้ังกองลูกเสือหรือเสือป่าข้ึนเป็นคร้ัง แรก
และต่อมาได้จัดตั้งกองลูกเสือหญิงขึ้น เรียกว่า เนตรนารีและอนุกาชาดโรงเรียนกุลสตรีวังหลัง ตามลําดับสมัย
รัชกาลที่ 7 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ-พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เริ่มเกิดปัญหา การเมือง ภายในประเทศ มีการ
วพิ ากษว์ จิ ารณ์ระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชและเรยี กร้องให้มีการ เปล่ียนแปลง ทางเศรษฐกจิ สังคมและการเมือง
การปกครองซ่งึ ได้รับอทิ ธพิ ลจากจักรวรรดนิ ยิ มตะวันตก
สมยั การเปลี่ยนแปลงการปกครองถงึ ปัจจุบัน (พ.ศ. 2475 - ปจั จบุ นั )

ประเทศไทยไดเ้ ปล่ยี นแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยม์ าเปน็ ระบอบ ประชาธปิ ไตย
(ทมี่ า : การเปลีย่ นแปลงการปกครองไทย 2475.เวบ็ ไซตก์ ระทรวงวฒั นธรรม) เมื่อวันท่ี 24 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2475
โดยกลุ่มบุคคลทรี่ ว่ มกันเปลี่ยนแปลงการ ปกครองหรือคณะราษฎรไ์ ด้กำหนดเป้าหมายหรอื อดุ มการณม์ หี ลัก
สำคญั 6 ประการโดยขอ้ ท่ี 6 ได้กลา่ วถึงการศึกษาของไทยวา่ จะต้องให้การศึกษาอยา่ งเต็มทีแ่ ก่ราษฎร เพราะ
คณะราษฎร์มคี วามเช่ือวา่ การศกึ ษาจะช่วยให้ประชาชน มคี วามรู้ความเข้าใจเรื่องการปกครอง ระบอบ
ประชาธิปไตย โดยพระยามโนปกรณน์ ติ ธิ าดา ไดแ้ ถลงนโยบายของรฐั บาลเกย่ี วกับ การศึกษาวา่ การจดั การศึกษา
น้นั หลักสูตรของโรงเรยี นและมหาวิทยาลัยจะตอ้ งขยายให้ สงู ข้นึ เทา่ เทียมอารยประเทศ หลงั จากประเทศไทยตก
อยใู่ นภาวะสงครามโลก คร้งั ที่สอง (พ.ศ. 2484 - พ.ศ. 2488) ซึง่ มผี ลกระทบต่อประเทศอยา่ งรนุ แรงทงั้ ด้าน
เศรษฐกจิ สังคมและการศึกษาประเทศไทยจำเปน็ ต้องกู้เงนิ จากธนาคารโลกเพ่ือนำมาใช้ในการพฒั นาประเทศ
และ ไดร้ ับความชว่ ยเหลอื ในด้านต่างๆ จากต่างประเทศ ทำให้ประเทศไทยไดร้ ับเอาแนวคิด สมัยใหม่ด้าน

134

การศึกษามาปรบั ปรงุ พฒั นาการศึกษาไทย ทำให้การศึกษาของประเทศมกี ารเปลยี่ นแปลงจากสมยั ก่อนมาก
สามารถสรปุ ประเดน็ สำคญั ได้ ดังนี้

1. จัดตั้งคณะกรรมการการศึกษา จัดต้ังสภาการศกึ ษาและปรบั เปลีย่ นการจัดการศึกษาภาค บงั คับจาก
เดิม 6 ปีใหเ้ หลอื 4 ปี และประกาศใช้แผนการศึกษาชาติพ.ศ. 2479

2. เปลยี่ นช่ือกระทรวงธรรมการเปน็ กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศใช้พระราชบญั ญัติ ประถมศกึ ษาทวั่
ประเทศ ประกาศใช้พระราชบญั ญตั คิ รูพุทธศกั ราช 2488 ประกาศใช้แผนการ ศึกษาแห่งชาติฉบบั ที่ 1 ปี
พทุ ธศกั ราช 2503 ฉบบั ที่ 2 ฉบับที่ 3 และพระราชบญั ญัติการศึกษา แหง่ ชาติพ.ศ. 2542 จดั ตง้ั คุรสุ ภาเพื่อ
สง่ เสรมิ ฐานะครูและดแู ลรกั ษาผลประโยชนข์ องครู

3. จดั ต้งั มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตรแ์ ละการเมือง การขยายสถานศกึ ษาท้ังในส่วนกลางและ สว่ นภมู ิภาค
โดยในภมู ภิ าคได้จัดต้งั มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ และมหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ จดั ตั้งมหาวทิ ยาลยั รามคําแหง
เป็นมหาวิทยาลัยเปิดแห่งแรกและ มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าชเป็นลำดบั ต่อมา

4. การปฏิรูปการศึกษาเน้นใน 4 ดา้ น (ในปี2540) คือ การปฏริ ูปโรงเรยี นและสถานศกึ ษา การปฏริ ปู
ระบบการบรหิ ารการศึกษา การปฏริ ูปหลกั สตู รและกระบวนการเรยี นการสอนและ การปฏริ ปู ครูและบุคลากร
ทางการศึกษา หลงั จากประเทศไทยประกาศใช้รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2540 ซง่ึ
กําหนดใหม้ ีกฎหมายเกี่ยวกับการศกึ ษาแห่งชาติจึง ได้มีการประกาศใช้พระราชบญั ญัติการศึกษาแหง่ ชาติ
พทุ ธศกั ราช 2542 และฉบบั แก้ไขเพ่มิ เตมิ (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545 ซึ่งเป็นกฎหมายการศกึ ษาแหง่ ชาติที่เปน็
กฎหมายแม่บทในการจดั การศึกษาของประเทศทีส่ อดคล้องกบั เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย
กล่าวโดยสรุปในเร่ืองเกย่ี วกบั ววิ ัฒนาการของแผนการศึกษาแหง่ ชาติทีใ่ ช้เปน็ แผน หรอื แนวทางในการจัด
การศกึ ษาของประเทศไทยต้ังแตเ่ ริม่ ปฏริ ปู การศึกษาในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว จนถงึ
กฎหมายการศึกษาแห่งชาติที่เปน็ กฎหมายแม่บทในการจดั การศกึ ษาของประเทศใน

อาศัยอำนาจตามความในบทเฉพาะกาล มาตรา 74 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช
2542 กระทรวงศึกษาธิการจึงได้ประกาศใชห้ ลักสตู รการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 โดยยึดหลักความมี
เอกภาพด้านนโยบายและมีความหลากหลายในการ ปฏิบัติซึ่งหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐานนี้มีโครงสร้าง
หลักสูตรยืดหยุ่น โดยกำหนดจุดหมายที่ เป็นมาตรฐานการเรียนรู้ในภาพรวม 12 ปีกำหนดสาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรยี นรู้แต่ละ กล่มุ สาระและกำหนดมาตรฐานการเรียนรูเ้ ป็นช่วงชั้น ชว่ งชนั้ ละ 3 ปี สมัยรัชกาลท่ี 9
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพล-อดุลยเดช ได้รับวิทยาการและเทคโนโลยีใหม่ๆ จากต่างชาติและนํามาปรับ
ใช้ในวิถีชีวิตประจำวัน จนเกิดความก้าวหน้าในหลายด้าน ความก้าวหน้าทางวิทยาการและเทคโนโลยีใหม่ๆนี้เอง
ทำให้ การศึกษาเกิดความเหลี่อมล้ำและขาดความเสมอภาค พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง ตระหนักว่าเด็ก
และเยาวชนของไทยมิได้ขาดสติปัญญา หากแต่ด้อยโอกาสและขาดทุนทรัพย์ สำหรับการศึกษา พระองค์ท่านจึง
โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทาน พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ เพื่อสนับสนุนการศึกษาอย่างจริงจัง
และต่อเน่ือง สามารถสรปุ สาระสำคัญได้ ดังน้ี

1. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานพระราชทรัพย์
ส่วนพระองค์เพื่อก่อตั้งกองทุนการศึกษาขึ้นหลายทุนตั้งแต่ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา เช่น

135

มูลนิธิอานันทมหิดลเป็นทนุ สำหรับการศึกษาในแขนงวิชา ต่างๆ เพื่อสนับสนนุ ให้ประชาชนได้มีโอกาสศึกษาวชิ า

ความรู้ในชั้นสูง ณ ต่างประเทศเพื่อที่จะ ได้นําความรู้กลับมาพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้าโดยไม่มีเงื่อนไขข้อ

ผกู พนั แตอ่ ย่างใด นอกจากทนุ มลู นิธิอานนั ทมหดิ ลแลว้ ยงั มีทุนการศกึ ษาพระราชทานอน่ื ๆ ทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระ

เจ้าอยู่หัวได้พระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์เพื่อสนับสนุนการศึกษาของราษฎรดังนี้ ทุนมูลนิธิ ภูมิพล ทุนเล่า

เรียนหลวง ทุนการศึกษาสงเคราะห์ในมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ทุนมูลนิธิราชประชาสมาสัยในพระบรม

ราชปู ถมั ภ์และมูลนธิ โิ รงเรียนราชประชาสมาสยั ทนุ นวฤกษท์ ุนการศึกษาพระราชทานแก่นักเรียนเฉพาะกรณีเช่น

ทุนพระราชทานแก่นักเรียน ชาวเขา ทุนพระราชทาน แก่นักเรียนเฉพาะสถานศึกษา รางวัลพระราชทานแก่

นักเรยี นและ โรงเรยี นดีเดน่

2. พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัวมีพระราชดํารใิ ห้ทหารช่วยก่อสรา้ งโรงเรียนเพื่อให้ทหารมี ส่วนช่วยเหลือ

ประชาชนด้านการศึกษาโดยให้แม่ทัพภาคเป็นแกนนําในการก่อสร้างโรงเรียน ในเขตพื้นที่ ที่รับผิดชอบและ

พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองคส์ นบั สนนุ การกอ่ สร้างโรงเรียนโดย จัดตั้งโรงเรียนขึ้นในจังหวดั นครพนม

จังหวัดสกลนคร จังหวัดนราธิวาส จังหวัดปราจีนบุรีและ จังหวัดแม่ฮ่องสอน โดยราษฎร ในพื้นที่ได้ช่วยก่อสร้าง

และสมทบทุนทรัพย์เป็นทุนในการ จัดซื้ออุปกรณ์ต่าง ๆ ที่จะนําไปใช้ในการก่อสร้างโรงเรียนเพื่อเป็นการโดย

เสด็จพระราชกุศล ด้วยและเมื่อการก่อสร้างโรงเรียนแล้วเสร็จ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราช

ดำเนินไปทรงเปิดโรงเรียนเหล่านั้น พร้อมทั้งพระราชทานนามว่า โรงเรียนร่มเกล้า ซึ่ง ในปัจจุบันมีทั้งโรงเรียน

ระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษา และพระราชทานพระราชทรัพย์ เพื่อสร้างโรงเรียนตำรวจตระเวน

ชายแดนสำหรับชาวไทยภูเขาที่อาศัยอยู่ในถิน่ ทุรกันดารหา่ งไกล จากการคมนาคม พร้อมทั้งพระราชทานนามว่า

โรงเรียนเจ้าพ่อหลวงอปุ ถัมภแ์ ละทรง

3. พระเมตตารบั อุปถัมภ์เยาวชนท่ีขาดแคลนหรือครอบครวั ประสบปัญหาเดอื ดรอ้ นจาก สา

ธารณภัยภัยธรรมชาติในโรงเรียนราชประชานุเคราะห์และโรงเรียนสงเคราะห์ เด็กยากจน

พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ ัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วน พระองค์เป็นทุนริเร่ิม

ในการก่อสร้างโรงเรียนตามวัดในชนบทเพื่อสงเคราะห์เด็กยากจนและ กําพร้าให้ได้มีสถานที่สําหรับศึกษาเล่า

เรยี น ทรงกอ่ ต้งั กองทนุ นวฤกษ์ในมลู นิธชิ ว่ ยนักเรียนที่ ขาดแคลนในพระบรมราชูปถัมภ์เพ่ือช่วยให้นักเรียนท่ีขาด

แคลนทุนทรัพย์ได้มีโอกาสเข้ารับ การศึกษาในระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษา โดยอาราธนาพระภิกษุ

เป็นครูสอนใน วิชาสามัญและอบรมศีลธรรมแก่นักเรียน โดยมีพระราชประสงค์ที่จะให้นักเรียนมีความใกล้ชิด

ศาสนาซึ่งจะทำให้เยาวชนของชาติเป็นผู้มีความรู้ด้านวิชาการและมีจิตใจตั้งมั่นอยู่ในศีลธรรม เพื่อที่จะได้เป็น

พลเมอื งทีด่ ีของประเทศ

4. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานพระ ราชทรัพย์

ช่วยเหลือและให้ความอุปถัมภ์หรือทรงให้คำแนะนําโรงเรียน ทั้งยังได้เสด็จพระราชดำเนินไปเยี่ยมเยียน และ

พระราชทานพระบรมราโชวาทเพื่อสนับสนุนและเป็นกําลัง คือ โรงเรียนในพระบรมราชูปถัมภ์ซึ่งมีทั้งโรงเรียน

รัฐบาลและโรงเรียนเอกชน เช่น โรงเรียน จิตรลดา โรงเรียนราชวินิต โรงเรียนวังไกลกังวล โรงเรียนราชประชา

สมาสยั โรงเรยี น ภ.ป.ร

136

5. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเห็นสำหรับประชาชนที่อยู่ในชนบท ทรงริเริ่มตั้งศาลารวม ใจตาม
หมบู่ ้านในชนบทเพื่อให้ประชาชนไดใ้ ชเ้ ปน็ ทอ่ี า่ นหนงั สือและพระราชทานหนงั สือ ประเภทตา่ งๆให้ดว้ ย

6. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริเป็นศูนย์รวมของการศึกษาค้นคว้า ทดลองวิจัยและ
แสวงหาแนวทางและวธิ กี ารพัฒนาดา้ นตา่ งๆ ท่ีเหมาะสมสอดคลอ้ งกับ สภาพแวดลอ้ ม ประกอบอาชพี ของราษฎร
ที่อาศัยอยู่ในภูมิประเทศนั้นๆ ซึ่งได้ขยายผล การศึกษาค้นคว้า ทดลองวิจัยแก่ราษฎรในหมู่บ้านใกล้เคียงและ
ขยายผลในวงกว้างออกไป ปัจจุบันศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ มีอยู่ทั้งหมด 6 ศูนย์
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานพระ ราชทรัพย์ช่วยเหลือ
และให้ความอุปถัมภ์หรือทรงให้คำแนะนําโรงเรียน ทั้งยังได้เสด็จพระราชดำเนินไปเยี่ยมและพระราชทานพระ
บรมราโชวาทเพื่อสนับสนุนและเป็นกําลังใจแก่ครูและ นักเรียน โรงเรียนประเภทนี้ซึ่งมีทั้งโรงเรียนรัฐบาลและ
โรงเรียนเอกชน เช่น โรงเรียนจิตรลดา โรงเรียนราชวินิต โรงเรียนวังไกลกังวล โรงเรียนราชประชาสมาสัย
โรงเรียน ภ.ป.ร. ราช วิทยาลัย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเห็นความสำคัญของการศึกษานอกระบบ
โรงเรียน สำหรบั ประชาชนที่อยใู่ นชนบท ทรงรเิ ริม่ ต้ังศาลารวมใจตามหมูบ่ า้ นในชนบทเพ่ือให้ ประชาชนได้ใช้เป็น
ท่ีอา่ นหนังสือและพระราชทานหนังสือประเภทต่างๆให้ดว้ ย พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวทรงรเิ ริ่มต้งั ศาลารวมใจ
ตามหม่บู า้ นในชนบทเพอ่ื ให้ประชาชนได้ ใชเ้ ปน็ ทอ่ี า่ นหนงั สอื ศนู ยศ์ กึ ษา การพัฒนาอันเน่อื งมาจากพระราชดําริ
เป็นศูนย์รวมของการศึกษาค้นคว้า ทดลองวิจัยและแสวงหาแนวทางและวิธีการพัฒนาด้านต่างๆ ที่เหมาะสม
สอดคล้องกับ สภาพแวดล้อม ประกอบอาชีพของราษฎรที่อาศัยอยู่ในภูมิประเทศนั้นๆ ซึ่งได้ขยายผล การศึกษา
คน้ ควา้ ทดลองวิจัยแก่ราษฎรในหมูบ่ ้านใกลเ้ คียงและขยายผลในวงกวา้ งออกไป ปจั จุบนั ศนู ย์ศกึ ษาการพัฒนาอัน
เนื่องมาจากพระราชดาํ ริ ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาเขาหนิ ซอ้ น อนั เนอื่ งมาจากพระราชดําริจังหวดั ฉะเชงิ เทรา

7. โรงเรียนพระดาบส เกิดขึ้นตามพระราชดําริที่ต้องการให้การศึกษาแก่ประชาชนใน ลักษณะเดียวกับ
การศึกษาสมัยโบราณที่ผู้เรียนต้องไปหาพระอาจารย์ซึ่งเป็นพระดาบสแล้ว ฝากตัวเป็นศิษย์โดยใช้สถานที่ของ
สำนักพระราชวัง รับผู้เรียนไม่จํากัดเพศ วัย วุฒิความรู้ หรือฐานะ ครูผู้สอนเป็นผู้ทรงคุณวุฒิอาสาสมัคร โดยให้
ความรู้แกศ่ ิษยเ์ ปน็ วิทยาทานไม่คิด คา่ ตอบแทนใดๆ

8. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ ในแต่ละสาขาวิชา
รว่ มจัดทำสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนท่รี วบรวมสาระเร่ืองราวต่างๆ โดย แบง่ เนอ้ื หาออกเป็นสามระดับเพ่ือให้
เยาวชนสามารถคน้ คว้าหาความรู้ได้ตามพ้ืนฐานความรเู้ ดิมของแต่ละคน ประกอบด้วย 7 สาขาวิชา วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ เกษตรศาสตร์ แพทยศาสตร์ และคณิตศาสตร์ (ที่มา : พัฒนาการด้าน
การศึกษาไทยในสมยั รชั กาลท่ี 9. พมิ พพ์ นั ธ์ เดชะคปุ ต)์

137

ความสำคญั ของครู

เพอื่ ให้ “ครู” ไดต้ ระหนักถงึ ความสำคญั ของการศึกษาและความเป็นครู จึงขออญั เชญิ พระบรมราโชวาท
และ พระราชดำรัสของ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร
มาใหไ้ ด้พจิ ารณาไตรต่ รอง ดงั น.้ี ..

“…การศึกษาเป็นเรื่องใหญ่และสำคญั ยงิ่ ท่ีมนุษย์ คนเราเม่ือเกดิ มาได้รบั การสง่ั สอนจากบิดามารดาอัน
เป็นความรูเ้ บอ้ื งตน้ เม่ือเจรญิ เตบิ โตขึ้นก็เปน็ หนา้ ที่ของครูและอาจารย์ส่งั สอนให้ไดร้ ับความรู้สงู และอบรมจิตใจ
ให้ถึงพร้อมดว้ ยคุณธรรม เพ่ือจะไดเ้ ปน็ พลเมืองดีของชาติสืบไป งานของครูจึงเปน็ งานทส่ี ำคญั ย่งิ ทา่ นทงั้ หลายซง่ึ
จะออกไปทำหน้าทค่ี รูจะต้องยึดม่ันอยู่ในหลักศลี ธรรมและพยายามถา่ ยทอดวชิ าความรู้แกเ่ ดก็ ให้ดที ่สี ุดทีจ่ ะทำได้
นอกจากนี้ จงวางตนใหส้ มกับทเ่ี ปน็ ครใู ห้แก่นักเรียนมีความเคารพนับถือ และเปน็ ทเี่ ลื่อมใสไว้วางใจของ
ผู้ปกครองนักเรียนดว้ ย…”

พระราโชวาทของสมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกฎุ ราชกุมาร ในพิธีพระราชทานปรญิ ญาบัตรแก่
ผูส้ ำเร็จการศกึ ษาจากวทิ ยาลัยครู ณ.อาคารใหมส่ วนอมั พร วันพุธท่ี 26 พฤศจิกายน พ.ศ.2523 มากล่าวในท่ีน้ี
ดงั ปรากฏข้อความตอนหนึ่งว่า

"...หนา้ ทข่ี องครนู ัน้ เป็นหน้าท่ีที่มีความสำคัญยิ่ง เพราะเป็นการปลูกฝงั ความรู้ ความคดิ และจติ ใจใหแ้ ก่
เยาวชน เพ่ือทจี่ ะไดเ้ ตบิ โต ขึ้นเป็นผลเมอื งทดี่ ีและมีประสิทธภิ าพของประเทศชาตใิ นกาลข้างหน้า ผเู้ ปน็ ครจู ึงจัด
ไดว้ า่ เปน็ ผู้มบี ทบาทอย่างสำคัญ ในการสร้างสรรค์บนั ดาลอนาคตของชาตบิ า้ นเมือง..." (ท่ีมา:เดลินวิ ส์
29 มนี าคม 2564
คณุ ลักษณะของครูที่ดี 10 ประการ

1. ความมีระเบียบวินัย หมายถงึ ความประพฤติ ทงั้ ทางกายและวาจาและใจ ที่แสดงถงึ ความเคารพใน
กฎหมาย ระเบยี บประเพณขี องสงั คม และความประพฤติทสี่ อดคล้องกบั อดุ มคติหรือความหวังของตนเองโดยให้
ยึดสว่ นรวมสำคญั กว่าส่วนตัว

2. ความซ่ือสัตยส์ ุจรติ และความยุตธิ รรม หมายถงึ การประพฤตทิ ่ีไมท่ ำใหผ้ ู้อ่ืนเดือดรอ้ น ไม่เอาเปรยี บ
หรือคดโกงผู้อนื่ หรือสว่ นรวม ใหย้ ึดถอื หลักเหตผุ ล ระเบียบแบบแผนและกฎหมายของสังคมเป็นเกณฑ์

3. ความขยนั ประหยัด และยึดมัน่ ในสัมมาอาชีพ หมายถึง ความประพฤติที่ไมท่ ำให้เสียเวลาชีวิตและ
ปฏบิ ตั ิกจิ อันควรกระทำให้เกิด ประโยชนแ์ ก่ตนและสังคม

4. ความสำนึกในหน้าที่และการงานต่าง ๆ รวมไปถึงความรบั ผิดชอบต่อสังคมและประเทศชาติ
หมายถงึ ความประพฤติท่ีไม่เอารดั เอาเปรยี บสงั คมและไม่กอ่ ความเสียหายใหเ้ กดิ ข้นึ แก่สงั คม (ที่มา:จีราวุฒิ กก๊
ใหญ,่ 13 มกราคม.2014.)

5. ความเป็นผู้มคี วามรเิ ริ่ม วิจารณแ์ ละตัดสนิ อย่างมเี หตุผล หมายถงึ ความประพฤติในลักษณะ
สร้างสรรค์และปรับปรุงมีเหตุมผี ลในการทำหนา้ ท่กี ารงาน

138

6. ความกระตอื รือร้นในการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย มีความรักและเทิดทูน ชาติ ศาสนา
พระมหากษัตรยิ ์ หมายถงึ ความประพฤติท่ีสนบั สนนุ และใหค้ วามร่วมมอื ในการอยูร่ ว่ มกนั โดยยดึ ผลประโยชน์
ของสงั คมใหม้ ากที่สดุ

7. ความเปน็ ผู้มีพลานามัยที่สมบูรณ์ท้ังทางรา่ งกายและจิตใจ หมายถึง ความมัน่ คงและจิตใจ รู้จัก
บำรงุ รักษากายและจติ ใจใหส้ มบูรณ์ มอี ารมณ์แจ่มใสมธี รรมะอย่ใู นจติ ใจอยา่ งมัน่ คง

8. ความสามารถในการพึ่งพาตนเองและมีอดุ มคตเิ ป็นทพี่ ่ึง ไม่ไวว้ านหรือขอความช่วยเหลอื จากผู้อื่น
โดยไมจ่ ำเปน็

9. ความภาคภูมิและการรจู้ ักทำนุบำรงุ ศลิ ปะ วัฒนธรรม และทรัพยากรของชาติ หมายถึง ความ
ประพฤติที่แสดงออกซ่ึงศลิ ปะและวฒั นธรรมแบบไทย ๆ มีความรักและหวงแหนวัฒนธรรมของตนเองและ
ทรพั ยากรของชาติ

10. ความเสียสละ และเมตตาอารี กตัญญกู ตเวที กลา้ หาญ และความสามัคคกี นั หมายถงึ ความ
ประพฤตทิ ่ีแสดงออกถึงความแบ่งปัน เก้ือกลู ผอู้ ่นื ในเรือ่ งของเวลากำลังกายและกำลงั ทรัพย์ (ที่มา:จรี าวฒุ ิ กก๊
ใหญ,่ 13 มกราคม.2014.)
หน้าที่และความรบั ผดิ ชอบของครู

หนา้ ทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบของครูในเชิงระเบียนปฏบิ ัติตอ่ บุคคลตา่ งๆ ทผี่ ู้ประกอบวิชาชีพครูต้องสัมพนั ธ์
ดว้ ยน้นั อาจแบ่งเปน็ 3 กลมุ่ คือ หนา้ ท่ีความรับผดิ ชอบของครตู ่อศษิ ย์ ต่อสถาบันวชิ าชพี ครูอันได้แก่ เพ่ือนครู
และสถานศึกษา และหนา้ ท่ีความรับผดิ ชอบของครูต่อสังคมอนั ไดแ้ ก้ ผู้ปกครองนักเรียนและชุมชน หนา้ ที่ความ
รบั ผิดชอบของครูในเชิงระเบียนปฏิบตั หิ รอื กฎหมายกำหนดมดี งั น(้ี ที่มา:จรี าวุฒิ กก๊ ใหญ่,13 มกราคม.2014.)

1.หนา้ ทีแ่ ละความรบั ผดิ ชอบของครตู ่อศิษยเ์ ป็นหน้าทคี่ วามรับผดิ ชอบทสี่ ำคญั เปน็ อันดบั แรก
อาจสรุปหน้าท่ีของครตู อ่ ศิษย์ไดด้ ังน้ี

- ตงั้ ใจสั่งสอนศิษย์และปฏบิ ตั ิหน้าทใ่ี ห้เกดิ ผลดดี ว้ ยความเอาใจใส่
- อทุ ศิ เวลาของตนให้แก่ศิษย์ จะละท้งิ หรือทอดทิ้งหน้าทก่ี ารงานมไิ ด้
- ถา่ ยทอดวิชาความรโู้ ดยไมบ่ ิดเบอื นและปิดบงั อำพราง ไม่นำหรือยอมให้นำผลงานทางวิชาการของตน
ไปใชใ้ นทางทจุ ริตหรือเปน็ ภยั ต่อศิษย์
- สุภาพเรียบร้อย ประพฤติตนเป็นแบบอย่างท่ีดแี ก่ศิษย์
- รกั ษาความลับของศษิ ย์
- ครูตอ้ งรักและเมตตาศิษยโ์ ดยให้ความเอาใจใสช่ ่วยเหลือสง่ เสริมใหก้ ำลังใจในการศึกษาเลา่ เรียนแก่
ศิษยโ์ ดยเสมอหนา้
- ครูต้องอบรม สง่ั สอน ฝึกฝน สร้างเสริมความรู้ ทักษะและนสิ ยั ท่ถี ูกต้องดีงามให้เกิดแก่ศิษย์อย่างเตม็
ความสามารถ ดว้ ยความบรสิ ุทธ์ใิ จ

139

- ครตู อ้ งประพฤติ ปฏบิ ัติเป็นแบบอยา่ งทดี่ ีแก่ศิษย์ทง้ั ทางการ วาจาและจติ ใจ
- ครูต้องไมก่ ระทำตนเปน็ ปฏปิ ักษต์ ่อความเจรญิ ทางกาย สตปิ ัญญา จติ ใจ อารมณแ์ ละสังคมของศษิ ย์
- ครตู ้องไมแ่ สวงหาประโยชน์อนั เป็นอามิสสนิ จ้างจากศษิ ย์ในการปฏิบัตหิ น้าท่ตี ามปกติ และไม่ใชใ้ ห้ศษิ ย์
กระทำการใดๆ อันเปน็ การหาประโยชนใ์ หแ้ กต่ นโดยมชิ อบ

2. หนา้ ทีแ่ ละความรับผิดชอบของครูต่อสถาบนั วิชาชีพครอู ันได้แก่ ตนเอง เพ่ือนครู และสถานศึกษา
ในการประกอบวิชาชพี ครู โดยท่ัวไปจะเป็นการทำงานเป็นทีมในสถานศึกษาที่จดั ตัง้ ข้ึน ฉะนัน้ หนา้ ท่ีและความ
รับผดิ ชอบของครจู ะตอ้ งมีตอ่ ตนเอง และเพ่ือนรว่ มงานทั้งในระดบั ผบู้ งั คบั บัญชา และบุคลากรอืน่ ๆ ใน
สถานศึกษา ซึ่งอาจจะแยกแยะได้ดังนี้

- ครูพึงชว่ ยเหลอื เกื้อกลู ครูด้วยกันในทางสรา้ งสรรค์ เช่น การแนะนำแหลง่ วทิ ยาการให้กัน แลกเปลยี่ น
ประสบการณ์ทางวิชาชีพซง่ึ กันและกนั

- รักษาความสามัคครี ะหวา่ งครู และชว่ ยเหลอื ซึ่งกันและกนั ในหน้าทีก่ ารงาน ไม่แบง่ พรรคแบง่ พวกคิด
ทำลายกลั่นแกลง้ ซง่ึ กันและกัน เต็มใจช่วยเหลือเมอ่ื เพื่อนครูขอความชว่ ยเหลอื เชน่ เปน็ วิทยากรให้แก่กัน
ชว่ ยงานเวรหรอื งานพเิ ศษซง่ึ กนั และกนั

- ไมแ่ อบอ้างหรือนำผลงานทางวชิ าการของเพื่อนครมู าเปน็ ของตนทั้งยงั ต้องชว่ ยเหลอื ให้เพือ่ นครอู ืน่ ๆ
ได้สร้างสรรคง์ านวิชาการอยา่ งเตม็ ความสามารถดว้ ย

- ประพฤตติ นดว้ ยความสุภาพ อ่อนน้อมถ่อมตน และให้เกียรตซิ ่งึ กนั และกันไมว่ ่าจะสังกัดหน่วยงานใด
- ปฏิบตั ติ ามระเบยี บ และแบบธรรมเนยี มอันดีงามของสถานศกึ ษา ปฏบิ ัตติ ามคำสง่ั ของผูบ้ งั คับบัญชาซึง่
สัง่ โดยชอบดว้ ยกฎหมาย และระเบยี บแบบแผนของสถานศึกษา
- รักษาช่ือเสียงของตนไมใ่ ห้ขึ้นช่อื วา่ ประพฤตชิ ว่ั ไม่กระทำการใดๆ อนั อาจทำใหเ้ ส่ือมเสียเกียรติศกั ด์ิ
และชอ่ื เสยี งของครู
- ประพฤตติ นอยู่ในความซื่อสัตย์สุจรติ และปฏิบัตหิ นา้ ท่ดี ้วยความเที่ยงธรรม ไม่แสวงหาประโยชน์
สำหรับตนเองหรือผู้อืน่ โดยมิชอบ
- ครยู อ่ มพัฒนาตนเองท้ังในด้านวชิ าชีพ บุคลิกภาพ และวสิ ัยทศั น์ให้ทนั ต่อการพัฒนาทางวชิ าการ
เศรษฐกจิ สังคม และการเมืองอยูเ่ สมอ
- ครยู อ่ มรักและศรัทธาในวชิ าชพี ครูและเปน็ สมาชิกทดี่ ีขององค์กรวิชาชพี

3. หน้าทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบของครตู ่อสังคมอัน ได้แก่ ผปู้ กครองนักเรียนและชุมชน หนา้ ที่ความ
รบั ผิดชอบของครนู น้ั ย่อมอยู่ที่ศษิ ย์เป็นเป้าหมายสำคัญ แต่การสรา้ งเสรมิ ศิษย์น้ันยังมปี ัจจยั ที่เก่ียวอย่างอื่นด้วย
คอื ผูป้ กครองนักเรยี นและชุมชน ครูจึงต้องมีหน้าทแี่ ละรับผดิ ชอบต่อสถาบนั ทง้ั สองนนั้ ด้วยซง่ึ อาจแยกแยะ ได้
ดงั นี้

140

- ครตู ้องเล่อื มใสการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์เปน็ ประมขุ ด้วยความบรสิ ทุ ธ์ิใจ
- ครตู อ้ งยึดมั่นในศาสนาท่ีตนนบั ถือและไม่ดหู มน่ิ ศาสนาอืน่
-ครูตอ้ งให้ความรว่ มมือกับผปู้ กครองในการอบรมสง่ั สอนศิษย์อย่างใกลช้ ดิ ตลอดจนการร่วมแก้ปญั หา
ของศิษยท์ ุกๆดา้ น ทั้งดา้ นการศกึ ษาเล่าเรยี น ความประพฤติ สุภาพพลานามัย ปัญหาทางจติ ใจ ฯลฯ
- ครตู อ้ งให้คำปรึกษาหารือและแนะนำผปู้ กครองในการอบรมเลย้ี งดเู ด็กในปกครองอย่างใกล้ชิด
ตลอดจนแนะแนวการศึกษาต่อและการเลือกอาชีพของศิษย์
- ครตู ้องรายงานขอ้ มลู ตา่ งๆ ของศษิ ยใ์ ห้ผปู้ กครองทราบสมำ่ เสมอและถูกต้องไมบ่ ดิ เบือน
- ครูพึงใหค้ วามช่วยเหลือเก้ือกลู ผูป้ กครองและชมุ ชนในทางสร้างสรรค์ตามความเหมาะสม
- ครูพงึ ประพฤติเป็นผู้นำในการอนุรกั ษ์สภาพแวดล้อมและศลิ ปวัฒนธรรมของชมุ ชน
- ครพู งึ รว่ มพฒั นาชุมชนทุกๆดา้ น ชว่ ยใหข้ ้อมูลข่าวสารและความรใู้ หม่ๆ ในการดำเนินชวี ติ แก่สมาชิกทุก
คนในชุมชน (ท่ีมา:จีราวฒุ ิ กก๊ ใหญ่,13 มกราคม.2014.)

141

“ครุ ุสภา”
มชี ือ่ ทางการว่า สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา เป็นสภาในกระทรวงศึกษาธกิ าร ปัจจุบันคุรุสภา
มีฐานะเป็นหนว่ ยงานของรฐั ประเภทองค์การมหาชน ท่ีจดั ตงั้ ตามพระราชบญั ญัติเฉพาะ
ปี พ.ศ. 2546 มีการตราพระราชบญั ญัติสภาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา และมีการปรับปรงุ คุรุสภา
เป็น 2 องค์กร คือ
1) สภาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา เรยี กชื่อเหมือนเดิมวา่ “คุรุสภา”
2) สำนักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ สวสั ดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา เรียกวา่
“สกสค.” (ท่ีมา:สำนกั งานเลขาธิการคุรุสภา)

พ.ศ. 2438 พ.ศ.2443
วทิ ยาทานสถาน สภาไทยาจารย์

พ.ศ.2445
สามคั ยาจารย์สโมสรสถาน

พ.ศ. 2447
สามคั ยาจารย์สมาคม

พ.ศ. 2488
คุรุสภา

142

บทบาทในแต่ละช่วงของคุรสุ ภา

พ.ศ.2434 กำเนดิ “วทิ ยาทานสถาน” โดยเจา้ พระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค)
มีการก่อตั้ง “วทิ ยาทานสถาน” โดยเจา้ พระยาภาสกรวงศ์ (พร บนุ นาค) เสนาบดีคนแรก ตั้งอยู่ทสี่ ่กี ๊ัก

พระยาศรี ใกลห้ า้ งแอลยีริกนั ดี เปิดเปน็ ห้องสมดุ และสโมสรสำหรับประชาชน
โดยมที ั้งหนังสอื ไทยและต่างประเทศ อกี ทงั้ จดั ให้มีการชมุ นุมเชอ้ื เชิญผูม้ ีความรู้มาบรรยายเรอ่ื งต่างๆ ให้แก่ครู
ต่อมาได้ย้ายไปต้ังทีโ่ รงเลีย้ งเดก็ หรือโรงเรียนสายสวลสี ณั ฐานคาร (ที่มา:สำนกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา)
พ.ศ.2438 มีการเปิดอบรมครูคร้ังแรกที่ “วิทยาทานสถาน”

มกี ารจัดอบรมครู เพอ่ื เพมิ่ พูนความรใู้ หมๆ่ ให้แก่ครู มีการควบคมุ และรักษามาตรฐานการ
ประกอบวชิ าชีพครขู องไทย โดยผอู้ บรมครูคนแรก คอื เจา้ พระยาธรรมศักดิ์มนตรี (นายสน่ัน เทพหัสดิน
ณ อยุธยา) (ท่ีมา:สำนักงานเลขาธิการคุรสุ ภา)
พ.ศ.2443 มีการจดั ตง้ั สภาสำหรับอบรมและประชุมครู

ท่วี ดั ใหม่วนิ ยั ชำนาญ แขวงบางกอกน้อย จงั หวัดธนบุรี ใชช้ อ่ื วา่ “สภาไทยาจารย์” เปิดทำการสอนครู
ทกุ วันพระ (ทมี่ า:สำนกั งานเลขาธิการคุรุสภา.48ปี สำนักงานเลขาธกิ ารครุ ุสภา (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ครุ ุ
สภาลาดพร้าว.2536).16)
พ.ศ.2445 กรมศกึ ษาธิการจดั ตัง้ “สามัคยาจารยส์ โมสรสถาน”

เพอื่ ใชเ้ ป็นทป่ี ระชมุ อบรมและสอนครูขึ้นทโี่ รงเรยี นทวธี าภิเษก โดยมีเจา้ พระยาพระเสด็จสุเรน-
ทราธบิ ดี (ม.ร.ว.เปีย มาลากลุ ) เป็นนายกสภาคนแรก (ท่ีมา:สำนกั งานเลขาธกิ ารครุ ุสภา.48ปี สำนักงานเลขาธิการ
คุรสุ ภา (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพค์ ุรุสภาลาดพร้าว.2536).16)
พ.ศ. 2447 สามคั ยาจารย์สโมสรสถานยกฐานะเปน็ สมาคม ใชช้ ่ือว่า “สามัคยาจารย์สมาคม” (ทม่ี า:
สำนักงานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา.48ปี สำนักงานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา (กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์คุรุสภาลาดพรา้ ว.
2536).16)
พ.ศ.2488 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยู่หัว มพี ระมหากรุณาธิคณุ ทรงรับ “สามคั ยาจารย์สมาคม” เข้า
ไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้มีการตราพระราชบัญญัติครู มีสาระเก่ียวกับจรยิ ธรรมครูหรือจรรยาบรรณแหง่ วชิ าชพี
ครู (ท่มี า:สำนกั งานเลขาธกิ ารคุรุสภา)
16 มกราคม 2488 ประกาศใช้ พระราชบญั ญตั คิ รู พทุ ธศกั ราช 2488

ใหม้ ีสภาในกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรยี กว่า “คุรุสภา” (ท่มี า:สำนกั งานเลขาธิการคุรสุ ภา)
2 มีนาคม 2488 กำเนิด “สำนักงานเลขาธกิ ารครุ ุสภา”

คณะกรรมการอำนวยการครุ ุสภา ได้ประชมุ และมมี ตแิ ต่งต้ังข้าราชการประจำของกระทรวงศึกษาธกิ าร
มารกั ษาการในตำแหน่งเลขาธกิ าร และหัวหน้าแผนกตา่ งๆ ชุดแรก จำนวน 9 คน เพอื่ เป็นเจ้าหนา้ ท่ผี ้ปู ฏบิ ัติงาน
ตง้ั แต่วนั ที่ 2 มนี าคม 2488 มีพระยาจินดารักษ์ (อธิบดีกรมพลศกึ ษา) รักษาการในตำแหนง่ เลขาธิการครุ สุ ภา จึง

143

ถอื เอาวนั ที่ 2 มีนาคม 2488 เปน็ วันสถาปนาสำนกั งานเลขาธกิ ารคุรุสภา (ท่มี า:สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา)
พ.ศ.2506 คุรสุ ภา ได้กำหนดระเบียบคุรุสภาวา่ ดว้ ยจรรยามารยาทตามระเบียบประเพณีครู ขึน้ มา 2 ฉบบั
(ทมี่ า:สำนกั งานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา)
พ.ศ.2523 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ได้จัดสมั มนาว่าด้วยจรรยาบรรณสำหรบั ครูข้นึ

ทำให้ได้จรรยาบรรณครูอกี ฉบับหนึ่ง เรียกวา่ “จรรยาครู สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ
สำนกั งานคณะรฐั มนตรี พ.ศ. 2523” มี 4 หมวด (ไม่ได้มีการประกาศใช้อยา่ งเปน็ ทางการ)
พ.ศ.2526 เกดิ การหลอมรวมกันของระเบียบครุ สุ ภา 2 ฉบบั ใน พ.ศ.2506 และจรรยาบรรณวชิ าชีพครขู อง
คณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาตเิ ปน็ จรรยามารยาทและวนิ ัยตามระเบยี บประเพณี พ.ศ.2526
พ.ศ.2539 ได้ประกาศใชร้ ะเบียบครุ ุสภา ว่าดว้ ย จรรยาบรรณครู พ.ศ.2539 แทนระเบียบคุรุสภาว่าดว้ ยจรรยา
มารยาทและวินยั ตามระเบยี บประเพณี พ.ศ.2526
12 มถิ นุ ายน 2546 ประกาศใช้ พ.ร.บ.สภาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ.2546

ปี พ.ศ.2546 ไดม้ ีการตราพระราชบัญญตั ิสภาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาขน้ึ เพือ่ ปรบั ปรุงคุรสุ ภาเดิม
ตามพระราชบญั ญัติครู พุทธศักราช 2488 เป็น 2 องค์กร คือ 1) สภาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา เรยี กชอ่ื
เหมือนเดมิ ว่า “คุรสุ ภา” มฐี านะเปน็ นติ บิ ุคคลอยู่ในกำกับของกระทรวงศึกษาธิการ และ 2) สำนักงาน
คณะกรรมการสง่ เสรมิ สวสั ดกิ ารและสวัสดภิ าพครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา เรยี กวา่ “สกสค.” มฐี านะเปน็ นติ ิ
บคุ คล อยใู่ นกำกับกระทรวงศึกษาธิการ (ท่ีมา:สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา)
พ.ศ. 2548 คณะกรรมการคุรุสภาออกข้อบังคบั คุรสุ ภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชพี และจรรยาบรรณวิชาชพี
พ.ศ.2556 เกิดการยกเลิกข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวชิ าชีพ พ.ศ.2548
แบ่งเปน็ 5 หมวด 9 ข้อ
พ.ศ.2562 มกี ารเปลีย่ นแปลงมาตรฐานวิชาชพี มาตรฐานการปฏบิ ัติตน (ยงั คงเดิม) จรรยาบรรณวชิ าชพี
5 ดา้ น 9 ข้อ (เหมอื นเดมิ ) (สำนกั งานเลขาธกิ ารคุรสุ ภา.(2541). แบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณครู พ.ศ.
2539.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว)

144

“สำนกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา”
เป็นหนว่ ยงานหลักในการขับเคล่อื นการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.
2542 จัดทำแผนการศึกษาแห่งชาติ จัดทำมาตรฐานการศึกษาของชาติ และจัดทำกรอบทิศทางการพฒั นา
การศึกษาแหง่ ชาติ ระยะ 5 ปี ทีส่ อดคลอ้ งกับแผนการศึกษาแห่งชาติและแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ
เพื่อให้หนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวข้องใช้เป็นกรอบแนวทางในการจดั การศึกษาต่อไป (ทม่ี า:สำนกั งานเลขาธกิ ารคุรุสภา)

ความแตกตา่ งของสภาการศกึ ษาและคุรสุ ภา (ทีม่ า:สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา)

อำนาจหน้าท่ีสภาการศกึ ษา อำนาจหน้าที่ครุ ุสภา

-จัดทำแผนการศึกษาแหง่ ชาติท่ีบรู ณาการศาสนา ศลิ ปะ -กำหนด ควบคุมมาตรฐาน และจรรยาบรรณวชิ าชีพ
วฒั นธรรมและกีฬากบั การศกึ ษาทกุ ระดับ รวมทงั้ จดั ทำ - ออก พกั ใช้ และเพิกถอนใบอนญุ าต
ข้อเสนอนโยบายและแผนในการสนับสนนุ ทรพั ยากร - สนับสนุน ส่งเสริมวิชาชพี
ด้านการศึกษาของชาติ - รบั รองปริญญา ความรแู้ ละประสบการณ์ทางวิชาชีพ
-ประสานการจัดทำข้อเสนอนโยบาย แผน และมาตรฐาน - สง่ เสรมิ การศกึ ษาและอำนาจหน้าทีค่ รุ ุสภา
การศกึ ษาของชาติ - ออกขอ้ บังคับครุ ุสภา
-วิจัยและประสาน ส่งเสริม สนับสนนุ การวจิ ัยและพฒั นา - ให้คำปรกึ ษา คำแนะนำตอ่ คณะรฐั มนตรี
การศึกษา การพัฒนาเครือข่ายการเรยี นร้แู ละภมู ปิ ญั ญา
ของชาติ ตลอดจนรวบรวมและพัฒนาระบบเครือข่าย
ขอ้ มลู สารสนเทศเพื่อการพัฒนานโยบายและแผนการ
ศกึ ษาชองชาติ
-ดำเนินการเกีย่ วกับการประเมินผลการจัดการศกึ ษาตาม
แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ
-ดำเนนิ การเกี่ยวกับการให้ความเห็นหรือคำแนะนำในเรอื่ ง
กฎหมายทเี่ ก่ยี วกบั การศกึ ษา
-ปฏบิ ตั ิงานอ่นื ใดที่กฎหมายกำหนดใหเ้ ป็นอำนาจหน้าท่ี
และความรบั ผิดชอบ


Click to View FlipBook Version