The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง ใส่ปก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nad_natrada, 2021-03-30 20:13:42

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง ใส่ปก

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง ใส่ปก

45

ช่วงปลายกระบวนทรรศนว์ ิทยาศาสตร์
เมือ่ เกิดความกังขาต่อการรบั รู้ความเปน็ จรงิ จึงนำไปสยู่ ุคกงั ขาปรัชญากระบวนทรรศน์นวยุคถูกส่ันคลอน
ด้วยแนวคดิ ของ Kant อย่างเด่นชดั ต้ังแต่ ค.ศ.1800
คนที่ไม่เชื่อ Kant ยอมรับว่าสมองย่อมแปรสภาพความเป็นจรงิ ภายนอกทีร่ ับรู้เข้ามาบ้าง แต่ไม่น่าจะทำ
ให้ตา่ งไปอยา่ งสิ้นเชิง ดงั นนั้ จงึ ยดึ หลักการทีว่ า่ “สมองของมนษุ ย์สามารถรู้ความจรงิ วัตถุวสิ ัยได้”
คนทีเ่ ชอื่ Kant ก็ใช้หลักการท่วี า่ “สิ่งทเี่ รารู้มันไมจ่ ริง สิง่ จรงิ เราไมร่ ู้” มนุษย์มีโครงสร้างสมอง แต่ไม่เช่ือ
วา่ จะแบง่ อย่างเป็น 12 ชอ่ งจริง จึงทำให้หันมาพยายามศึกษาโครงสรา้ งของสมองว่าทำงานอย่างไร คิดได้อย่างไร
ซ่ึงไดก้ า้ วหน้าเปน็ วชิ าประสาทวิทยาศาสตร์ (Neuro-Science)
ปรัชญากระบวนทรรศนน์ วยุคเนน้ กระบวนการวิทยาศาสตร์และการพิสูจน์ความจริง มีการจำแนกสำนัก
คิดออกจำนวนมาก มีนักปรัชญาจำนวนมากที่มีแนวคิดที่น่าสนใจและมีวิธีการคิดทางปรัชญาที่ควรศึกษา และ
เข้าใจอิทธพิ ลของวธิ ีคดิ ต่อทรรศนะของคนในยคุ ปัจจบุ ัน (กรี ติ บญุ เจอื , 2558)

ยุคปจั จุบัน

ปรัชญากระบวนทรรศน์หลังนวยุค (Post-Modern Philosophy) เป็นกระแสที่ไม่มีขอบเขตเริ่มต้น
ชัดเจน แต่เป็นการปรับท่าทีต่อการใช้ปรัชญาโดยชี้ว่าปัญหาใหญ่ของโลกเช่น สงครามโลกล้วนเกิดจากความยึด
ม่ันถือม่ัน (attachment) ของผถู้ อื ปรัชญายคุ ก่อนหน้าทง้ั สน้ิ

จดุ สะดุดสำคญั คือ สงครามโลกคร้งั ที่ 1 ระหวา่ ง ค.ศ.1914-1918 ชนวนสำคัญคือนโยบายจกั รวรรดินิยม
ท่ีแยง่ ชงิ การมอี ิทธพิ ลเหนอื ผลประโยชน์ในดนิ แดนตา่ งๆ จนมีกองกำลังเสยี ชีวิตรวม 10 ล้านคน บาดเจบ็ 20 ลา้ น
คน สญู หาย 8 ล้านคน และจักรวรรดิออสเตรยี -ฮังการี จกั รวรรดิออโตมัน จกั รวรรดเิ ยอรมนั ตอ้ งลม่ สลายลง

จุดสะดุดที่เป็นฟางเส้นสุดท้ายบนหลังลาคือ สงครามโลกครั้งที่ 2 ระหว่าง ค.ศ. 1939-1945 กองกำลัง
เสียชีวิตรวม 24 ลา้ นคน พลเรือนเสียชวี ติ 49 ล้านคน และจบสงครามด้วยการทิง้ ระเบิดนิวเคลียร์ท่ีฮิโรชิมา และ
นางาซากิ ซึ่งเป็นความก้าวหน้าล่าสุดของวิทยาศาสตร์ในขณะนั้น มนุษยชาติจึงพากันตระหนักว่ าโลกไม่อาจ
รองรับสงครามโลกครง้ั ท่ี 3 ได้อย่างแน่นอน

ปรัชญามองว่าความรุนแรงของสงครามเกิดจากการพัฒนาวิทยาศาสตร์เข้มข้นตามปรัชญานวยุค
(modern philosophy) ภาพยนตร์ โทรทัศน์และนยิ ายตา่ งๆ ลว้ นนำเสนอภัยของวทิ ยาศาสตร์

ปรัชญากระบวนทรรศน์หลังนวยุค ตั้งประเด็นโจมตีกระบวนทรรศน์นวยุคอย่างชัดเจน และมาคลายตัว
ในแนวทางสายกลาง ทั้งนี้ กระแสคิดนี้ยังไม่เดินทางถึงที่สุด จะต้องติดตามว่ามีแนวคิดปรัชญาใหม่ ๆ ใด หรือ
แนวคิดที่ปรับปรุงของเก่าอะไรเกิดขึ้นมาเพื่อชี้แนะต่อโลกในยุคปัจจุบันที่มีอิทธิพลของความก้าวหน้าทาง
เทคโนโลยีตา่ งๆ อยา่ งรวดเร็ว รวมไปถงึ สันติภาพโลก

46

ลัทธริ ื้อสรา้ งใหม่ (Reconstruction) เริ่มรกู้ ันในราวปี 1942 ตอ่ มา Richard D. Mosier จากหนงั สือ The
Philosophy of Reconstructionism, Educational Theory 1 ในปี 1951 โดยเสนอการร้ือสร้างใหม่ในดา้ น
ตรรกะ ศีลธรรม การศึกษา และปรชั ญา ในยคุ สมยั ใหม่ ทัง้ นี้ Theodore Branmeld นกั ปรัชญาการศึกษาเปน็
แนวหนา้ ในการสนับสนุนแนวคิดนเี้ ปน็ อยา่ งมาก ในขณะเดียวกันในทางศาสนาได้เกิดเป็นท่าทตี ่อการปรบั ตัวอย่าง
สรา้ งสรรคข์ องศาสนายวิ โดยเน้นการบ่มเพาะประเพณแี ละวิถีชีวิตชาวยวิ สำหรับชาวครสิ ต์เนน้ การพิจารณากฎ
ตามคัมภรี ์ไบเบลิ ทเ่ี ปน็ พืน้ ฐานของกฎหมายแหง่ รฐั และศลี ธรรมของสงั คม รวมไปถงึ ท่าทใี นการยอมรับการรื้อฟ้ืน
ความเช่อื และการปฏบิ ตั ใิ นศาสนาโบราณตา่ งๆ อีกดว้ ย

หลงั นวยุคสายกลาง (moderate postmodernism) เกิดขน้ึ หลังเหตกุ ารณ์ 9/11 ในปี 2001 เปน็ ท่าทีใน
การใชป้ รัชญาปฏิบัตินยิ ม (pure philosophy of pragmatism) มารบั มือกับความเปน็ จรงิ ท้ังนี้ เน้นใหเ้ รยี นรู้
จดจำและประยุกตใ์ ช้เพอื่ ใหเ้ กิดสถานการณใ์ หม่ทีด่ กี ว่าเดิม เปน็ การเรยี นรูจ้ ากประสบการณ์ มากวา่ ทจี่ ะเปน็
เพียงกจิ กรรมทางความคิดอีกต่อไป แนวคดิ นย้ี ังเชอ่ื ในอนาคตที่ดีพร้อม (Utopian Future) สำหรับมนษุ ยชาติ ถ้า
เราเรียนรทู้ ีจ่ ะลงมือกระทำและเปลี่ยนแปลงทิศทางใหถ้ กู ต้อง เนน้ การลงมอื กระทำ และรเิ ร่ิมการเปลี่ยนแปลง
ตา่ งๆ และกฎหมายต่างๆ ตอ้ งถกู ใช้ในฐานะผู้ดูแล (safeguards) เพ่ือให้เกิดความกล้าหาญท่จี ะกา้ วขา้ มข้อจำกัด
ตา่ งๆ ท่ีถกู จัดตง้ั ไวใ้ นสังคม เน้นการชงั่ นำ้ หนกั ผลท่ีอาจจะเกดิ ข้นึ ท้งั ในด้านดแี ละไม่ดี ป้องกนั การเกิดผลกระทบ
ขา้ งเคียง (side effect) และ เนน้ การยอมรับผลตาม (consequences) จากกระทำนั้นๆ อยา่ งแทจ้ รงิ โดยไม่มกี าร
บ่นว่าหรือมกี ารเตรยี มการเอาตวั รอดเอาไวล้ ว่ งหนา้ นน่ั คือ จะตอ้ งมีความรบั ผดิ ชอบอย่างเต็มกำลังดว้ ย

กระแสหลงั นวยุคสายกลางน้ีไม่ไดม้ จี ำนวนมากมายอะไร แต่พลังของแนวคดิ น้ีไกลับได้รบั การยอมรับ
อยา่ งกวา้ งขวางในกลุม่ ก้อนทางศาสนาต่างๆ และกลุ่มก้อนผ้ไู มน่ บั ถือศาสนา ท้ังน้ี กระแสหลังนวยคุ สายกลางยัง
แสดงตนเองว่าเปน็ กลมุ่ ผมู้ รี ะดบั มาตรฐานทางศลี ธรรมทส่ี งู ยิ่งขึ้นทั้งในดา้ นความประพฤติ ความคดิ และในทางจ
รยิ ศาสตรอ์ ีกดว้ ย (ประยูร ธมุมจิตโุ ต, ม.ป.ป)

เปรยี บเทียบปรชั ญาตะวันตกกบั ปรัชญาตะวันออก

คุณลักษณะของปัญหาเรื่องความจริงตามแนวปรัชญาตะวันตกและปรัชญาตะวันออก
แม้ว่าทั้งปรัชญาตะวนั ตกและตะวนั ออกจะมีอัตลกั ษณ์เฉพาะของตน อย่างไรก็ตามปัญหาเร่ืองความจริง

(Truth) หรือทฤษฏีทางญาณวิทยาเป็นประเด็นปัญหาสำคัญที่นักปรัชญาตะวันตกและตะวันออกสนใจ เพ่ือ
แยกแยะว่าอะไรเป็นความจริง (The truth) อะไรเปน็ ความเทจ็ (The falsity) ทั้งปรัชญาตะวันตกและตะวันออก
ต่างยืนยันวา่ กระบวนการหาความจริงของมนษุ ยม์ ีลกั ษณะพิเศษที่ต่างจากสัตว์ท่ัวไป เนื่องจากมนษุ ย์มีสติปัญญา
ดงั นนั้ การรู้ความจริงของมนุษย์จงึ มลี ักษณะเป็นการรู้ตวั (รู้วา่ ตนรู้) หรือท่นี ักปรชั ญาตะวันตกมักใช้คำว่า “ความ
สำนึกรู้” (Consciousness) หรือ “การตระหนักรู้” (Awareness) อันเป็นลักษณะพื้นฐานของกระบวนการรู้

47

ความจริงของมนุษย์ อย่างไรก็ตามปัญหาเกี่ยวกับความจริงของปรัชญาตะวันตกและตะวันออกต่างมีลักษณะ
เฉพาะที่สอดคลอ้ งกับจุดเน้นของตน กล่าวคอื

1. คุณลักษณะของทฤษฏีความรู้ตามแนวปรัชญาตะวันตก คือ การรู้ความจริงเพื่อตอบปัญหาที่สงสัย
คุณลักษณะที่สำคัญประการหนึ่งของทฤษฏีความรู้ (ปัญหาเรื่องความจริง) ตามแนวปรัชญาตะวันตก คือ การรู้
ความจรงิ เพ่ือตอบสนองความสงสยั ดังที่ สนุ ทร ณ รังษี (2521: 2) ไดว้ ิเคราะห์ลกั ษณะของปรชั ญาตะวันตกเรื่อง
การแสวงหาความจริง (ทฤษฏีทางญาณวิทยา) ไว้น่าสนใจว่า “ปรัชญาตะวันตกมุ่งแสวงหาความจริงหรือ
ข้อเท็จจริงเพียงอย่างเดียวโดยไม่ พยายามที่จะปฏิบัติตนเพื่อให้เข้าถึงความจริงที่ได้แสวงหาพบแล้ว ” และ
“ปรัชญาตะวันตกส่วนใหญ่ไม่เกี่ยวกับศาสนาหรือแยกเป็นคนละส่วนกับศาสนา” เพราะฉะนั้น นักปรัชญา
ตะวันตก (ส่วนใหญ่) จึงดำเนินชีวิตไปในทางที่ตรงข้ามกับแนวความคดิ ทางปรัชญาของตนก็ได้ นั่นหมายความวา่
ประเด็นปัญหาเกี่ยวกับความจริงของปรัชญาตะวันตก คือ การมุ่งสู่การรู้ความจริงเพื่อตอบสนองความสงสัย
ในประเด็นปัญหาเกี่ยวกับความ เป็นจริง แม้ว่าความจริงนั้นจะไม่ได้ช่วยให้บรรลุถึงความเป็นจริงเลยก็ตาม
หมายความว่า นักปรัชญาตะวันตกมีแนวโน้มในการศึกษาความจริงในประเด็นที่ตนสงสัยเมื่อได้แนวคำตอบท่ี
ถูกใจก็หยุดเพียงแค่นั้น นักปรัชญาตะวันตกไม่พยายามนำแนวคำตอบ ที่ตนได้รับมาพัฒนาเป็นคำสอน
ใ ห ้ ป ฏ ิ บ ั ต ิ เ พ ร า ะ ถ ื อ ว ่ า ศ า ส น า ก ั บ ป ร ั ช ญ า เ ป ็ น ค น ล ะ ส ่ ว น ท ี ่ แ ย ก จ า ก กั น

2. คุณลักษณะของทฤษฏคี วามรตู้ ามแนวปรัชญาตะวนั ออก คือ การร้คู วามจริงเพ่ือการบรรลุถึงความ
เป็นจริง แม้ว่าลักษณะแนวคิดของปรัชญาตะวันออก (โดยเฉพาะปรัชญาอินเดีย) จะมุ่งปัญหาเกี่ยวกับความเป็น
จริงและการรู้ความจรงิ (เกี่ยวกับความเป็นจริง) แต่จุดเน้นของปรัชญาตะวนั ออกมีลักษณะพิเศษต่างจากปรชั ญา
ตะวันตก กล่าวคือปรัชญาตะวันออก (โดยเฉพาะปรัชญาอินเดีย) สนใจปัญหาความเป็นจริง และรู้ความจริง
(เกี่ยวกับความเปน็ จริง) เพอื่ การบรรลุถึงความเป็นจริง ดังท่ี สนั่น ไชยานกุ ลู (2519) ได้วเิ คราะห์ปรัชญาอินเดยี ว่า
มีจุดเน้นในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับศีลธรรมและ การพัฒนาจิตใจ “ทุก ๆ ลัทธิถือว่าปรัชญานั้น เป็นสิ่งจำเป็นในการ
ดำเนินชีวิต และทุก ๆ ลัทธิเพาะปลูกปรัชญาขึ้นมาก็เพื่อให้เราเข้าใจ เราควรจะดำเนินชีวิตของเราให้ดีที่สุดได้
อย่างไร” และ “ปรัชญานั้นใช้ให้เป็นประโยชน์แก่คนเราได้อย่างไร” (สนั่น, 2519: 21-22) กล่าวคือ ปรัชญา
ตะวันออก (โดยเฉพาะปรัชญาอินเดีย) มีลักษณะเป็น “คำสอนให้ปฏิบัติ” ปรัชญาอินเดียไม่ใช่เน้นความรู้อย่าง
เดียว หากเพื่อส่งเสริมให้รู้เพื่อนำไปปฏิบัติ เน้นหลักปฏิบัติ เพราะจุดหมายสูงสุดของปรัชญา คือ การรู้แจ้งตน
(Self – realization) ดังนั้น จึงกล่าวได้ว่าปรัชญาตะวันออก (โดยเฉพาะปรัชญาอินเดีย)มีลักษณะเป็นปรัชญา
ชีวติ น่ันเอง

48

4.2 ลักษณะท่ีเหมือนกัน
4.2.1 เนอื้ หา/เปา้ หมายของปรัชญา กล่าวคอื การมุ่งแสวงหาความจริงสูงสุดและพยายาม

นำเสนอวถิ ีบรรลสุ คู่ วามจริงอาศยั เหตผุ ล โดยอาจแบง่ กวา้ ง ๆ ได้สามแนวความคิด คือ วัตถุนยิ ม จิตนยิ ม และ
การประสานระหว่างแนวคิดทั้งสอง (สจั นิยม) ซ่ึงเหน็ ได้ชัดเจนในปรัชญาตะวันตกกบั ปรัชญาอินเดยี (สว่ นปรชั ญา
จนี ไมค่ ่อยพูดถงึ นัก) นอกจากนั้น ถ้าจะพจิ ารณาแง่มมุ ที่เชอื่ มโยงปรชั ญากับศาสนา เหน็ ได้วา่ มกี ารนำเสนอ
แนวคิดมลี ักษณะเป็นปรัชญา (เชงิ ศาสนา) แบบเทวนิยม (Theism) กบั อเทวนยิ ม (Atheism)

4.2.2 มพี ฒั นาการและต่อยอดทางความคดิ โดยนกั ปรชั ญารุ่นใหมไ่ ด้ศึกษาแนวคดิ จากนัก
ปรัชญาก่อนหน้า นำมาคดิ ต่อหรือเสนอความคิดตรงข้าม หรืออาจนำความคิดมาขยายต่อในเร่ืองตา่ ง ๆ ตาม
บรบิ ทของสังคมแต่ละยุคสมัย

4.3 ลักษณะที่ต่างกนั
4.3.1 ลักษณะท่ีตา่ งกันของปรัชญาตะวันตกกับปรชั ญาอินเดยี (ทีม่ า: บาทหลวงวุฒิชัย ออ่ ง

นาวา. (2551). เปรียบเทียบปรัชญาตะวนั ตกกับปรัชญาตะวนั ออก)

เปรยี บเทียบ ปรัชญาอนิ เดียกับปรัชญากรกี

1.ปรัชญาของพวกไอโอนิก ธเลส (624-547 BC) เหมือนกบั ปรชั ญาพระเวทและอปุ นษิ ัท จงึ นา่ ไดร้ บั
ความคดิ นี้ไปจากอนิ เดียหรือนักคิดพวกน้ีอาจจะไม่ใช่ชาวกรีกดว้ ยซ้ำไป

2.ความคิดของพวกอเี ลียติก (540 BC) ก็คลา้ ยกบั พรามวิทยาหรือเวทานตะ คือพูดถึงมายา
(ปรากฏการณท์ างผัสสะ) และเน้นความสำคญั ของเหตผุ ลมากกว่าความประจักษ์ทางอายตนะทงั้ 5

3.ความคิดของเฮราไคลตสุ (544-484 ก่อน ค.ศ.) ก็คลา้ ย ๆ กบั พทุ ธปรชั ญาคือพดู ถึงความเปลี่ยนแปลง
วา่ เป็นความจริงของจกั รวาล และถือวา่ ไฟเป็นธาตดุ ้ังเดิม ในอรรถกถาของพระพุทธศาสนากม็ ีกล่าวถึงโลกวา่
เริม่ ตน้ ดว้ ยไฟและสลายไปดว้ ยไฟเช่นกนั เฮราไคลตสุ พดู ถึงโลกวา่ ประกอบดว้ ยส่ิงที่ตรงกันข้ามกัน ซ่ึงในพุทธ
ศาสนากม็ ีกล่าวถึงสิง่ ตรงกนั ข้ามกนั ไว้มากมาย เช่น กุศล-อกศุ ล, อณหเตโช-สตี เตโช เปน็ ต้น และความคิดเหลา่ น้ี
พทุ ธสาสนาไดส้ อนไว้ก่อนเฮราไคลตสุ นมนานและเป็นคำสอนที่มีอยูใ่ นลทั ธิเตา๋ ด้วย

4. อแนกซ์กอรสั (500-428 BC) กก็ ลา่ วถงึ เร่ืองเม็ดสสารหรือเม็ดธาตุเลก็ ๆ ไว้คลา้ ยกับความคิดเร่ือง
กลละของพระอภธิ รรม และถือวา่ สสารจะเกดิ จากอสสารไม่ได้

5. เอมพลิ โดเดลส (484-424 BC) มีคำสอนคล้ายลัทธิไวเศษิก แต่ไม่พสิ ดารเทา่

6.เดโมครติ ุส (460-370 BC) ไดเ้ สนอความคิดเรื่องปรมาณูไวค้ ลา้ ยกับความคิดของไวเศษิกและสางขยะ
และความคิดเร่อื งปรมาณูของพทุ ธศาสนาด้วย แตเ่ ขาไมเ่ ชอื่ เรอ่ื งคุณสมบัติของปรมาณู โดยเขาเช่ือวา่ ลักษณะ
ต่างๆของวัตถุนัน้ มนุษย์เหน็ ไปเอง ส่วนในเรือ่ งวิญญาณเดโมครติ สุ มีความคิดคล้ายกับเรื่องสุขุมสรีระของสาง
ขยะ นกั คดิ สำนักต่าง ๆ ของกรกี ดังกลา่ วมาขา้ งต้น ล้วนเกดิ ข้ึนภายหลังพุทธกาลท้งั นนั้ สมยั ของพทุ ธกาล คือ
623-543 กอ่ น ค.ศ.

49

7. ความคดิ ทางตรรกของโสคราติส (469-399 ก่อน ค.ศ.) นนั้ คล้ายกบั ความคดิ ของลัทธินยายะ สว่ น
ความคดิ เชงิ ปรชั ญาของเขาคลา้ ยปรัชญาพราหมณ์ และความคิดเกีย่ วกับมนุษย์และโลกของเขาคล้ายกับความคดิ
ของลัทธโิ ลกายตะ คือมุง่ ความสุขเฉพาะหนา้ แตด่ กี วา่ โลกายตะตรงท่ีเขาเน้นเรื่องคุณธรรม

8. พลาโต (427-360 กอ่ น ค.ศ.) มคี วามคิดเรอื่ งสจั จะหรอื ความจริงคล้าย ๆ กบั พทุ ธปรัชญา คือถือวา่
ความจริงมี 2 ระดับ คือความจรงิ ระดับผสั สะกับความจรงิ ระดับเหตผุ ลคล้ายความจริงระดับสมมติกบั ระดับ
ปรมัตถข์ องพทุ ธศาสนา แต่ความหมายตา่ งกันมาก ความจริงของพลาโตมีลกั ษณะเปน็ สัสตะ ส่วนความคดิ
ทางการเมืองของเขากว้างขวางกว่าความคิดของชาวอนิ เดีย

9. อริสโตเตลิ (384-322 BC) ยอมรบั ความเปลยี่ นแปลงของโลกวา่ เป็นจรงิ คลา้ ยความคิดเรอ่ื งอนจิ จัง
ของพทุ ธศาสนา มีความคิดเรื่องสาเหตุของความเปลี่ยนแปลงของโลกวา่ เปน็ จรงิ คล้ายความคิดเรอื่ งอนจิ จงั ของ
พุทธศาสนา แตเ่ ขากลบั เชื่อเร่ืองพระเจา้ ทำนองเดยี วกับเรื่องบรุ ษุ ของสางขยะ อนั เปน็ เหตใุ ห้สสารหรือประกฤติ
เปลย่ี นแปลง

10. ความคดิ ของเอนิตโลรัส (342-270 BC) คลา้ ยกับลัทธิไวเศษิก มีความเชื่อเรือ่ งเหตุผลคลา้ ยพทุ ธ
ศาสนา แต่มีความคิดทางจรยิ ศาสตรค์ ล้ายพวกจารวาก. แต่เรื่องจุดหมายปลายทางของชีวติ กลบั ไปคลา้ ยกบั
โมกษะของฮินดู

11. พวกกรีกมีความคิดเรื่องววิ ัฒนาการละเอียดกวา่ พุทธปรชั ญา แต่อธิบายขบวนการววิ ัฒนาการสู้
หลกั ปฏจิ จสมปุ บาทไม่ได้ ความคดิ ทางการแพทย์ของพวกกรีกก็คล้าย ๆ กบั อายรุ เวทของอนิ เดยี พวกกรกี จึง
น่าจะได้ความคิดเหล่าน้ีไปจากอินเดีย เพราะฮปิ โปคราสตสิ (430 BC) ผวู้ างรากฐานการแพทย์ของกรกี อยูท่ เี่ กาะ
Cos ซง่ึ ตดิ กบั ฝง่ั ทะเลตรุ กี

เปรียบเทียบ ปรชั ญาอินเดยี กบั ปรัชญาสมยั กลาง

1. แมกพสุ มีแนวความเชื่อคล้ายมมี อส คือใหเ้ ช่ือความรู้ท่ีได้มาจากการบนั ดาลใจของสิ่งศกั ด์ิสิทธ์ิ
2. อะครปี ัส (1225-1274) มีความเชือ่ บางอย่างคลา้ ยพุทธศาสนา คอื เรื่องภพภมู ิต่าง ๆ ทมี่ นษุ ย์จะ
เขา้ ถงึ ได้ มคี วามเชอ่ื เรื่องเทวบันดาลคล้ายกบั เวทานตะ คือโลกเปน็ ไปตามเทวบันดาลของพระเจา้
3. พวกสกอลาสติก มี 2 พวก คือพวกท่ีมีความคดิ ตามแนวของพลาโต กบั พวกทมี่ ีความคดิ ตามแนวของ
อริสโตเตลิ
4. พวกทเี่ ปน็ ตามแนวคิดของพลาโตเรียกตวั เองว่า Realism เพราะว่าเปน็ ผู้เขา้ ถึงสัจจะได้สูงกว่าพวกอน่ื
5. พวกท่ีเป็นตามแนวของอริสโตเตลิ นน้ั เรยี กว่า Nominalism คือพวกทถ่ี ือวา่ ความจริงคือสง่ิ ที่ปรากฏ
ต่อผสั สะ พดู อีกอยา่ งหนงึ่ ก็คือสง่ิ ท่ีมชี ่ือคือส่ิงทจี่ ริงความคิดเร่ืองน้ขี องพวกสมยั กลางก็คล้ายกบั ความคิดของ
ปรชั ญาพราหมณ์ที่ว่า “สง่ิ ใดมีช่อื ส่งิ นัน้ เปน็ นาม สิง่ ใดไมม่ ีช่ือ อนั พงึ รู้ได้ดว้ ยรปู ส่งิ นัน้ เป็นรูป”

เปรียบเทยี บ ปรชั ญาอินเดียกับปรชั ญาสมัยใหม่

1. ความคดิ ของเบคอน (1561-1626) คลา้ ยกบั ลทั ธินยายะ ไวเศษิก กล่าวคือความคิดทางวิทยาศาสตร์
ของเขาคล้ายนยายะและสสารนยิ มของเขากค็ ลายกับไวเศษิก นอกจากนเ้ี บคอนยังเช่ือพระเจา้ (ศตวรรษที่ 17)

2. เดดารติ (1596-1650) ก็เสนอความคดิ แบบทวนิ ยิ มเหมอื นลัทธสิ างขยะ เพราะฉะนน้ั ความคิดของเด
ดารติ จึงมใิ ช่ของใหม่อยา่ งทช่ี าวโลกเชื่อถือกัน ความคดิ เร่ืองจติ กบั กายของเดดารติ ก็เหมือนกับความคดิ เรื่องบุรุษ

50

กบั ประกฤติ สว่ นความคิดเรือ่ งพระเจา้ ของเขาก็เหมือนกับปรัชญาเวทานตะ แต่ความคดิ ทางกลไกลของเขา
ละเอยี ดกวา่ ของอนิ เดีย (ไวเศษกิ )

3. สสารนิยมของฮอบส์ (1588-1679) กค็ ลา้ ยกบั ความคิดของจารวาก ถือว่าจติ เกิดจากสสาร ความคิด
เนน้ การเคลื่อนไหลของมันสมอง

4. จติ นยิ มของสปิโนช (1632-1677) ก็เทา่ กับเอาเวทานตะมาผสมกบั สางขยะ ความคดิ ทางจรยิ ศาสตร์
ของเขากเ็ หมอื นกับของฮินดู

5. ความคิดของล้อด (1632-1704) บางอยา่ งก็คลา้ ยกับพุทธศาสนา เช่นเรอ่ื งคณุ ภาพชัน้ ต้น อารมณห์ รือ
ideal ส่วนจติ วิทยาของเขาก็คล้ายกบั ของฮนิ ดู

6. ลัทธิโมนาดของไลม์นชิ (1646-1716) กลับถอยหลงั ไปหาปรชั ญาพระเวท อยา่ งท่ีฤคเวทกลา่ ว “บุรุษ
ยิ่งใหญก่ ว่าส่งิ ท้ังปวง สถิตอยู่ในสิง่ ทัว่ ไปทั้งสิ่งมีชีวติ และไม่มชี วี ติ ” คำอธบิ ายเรื่องโมนาดย่อยโมนาดใหญ่ของเขาก็
คอื เร่ืองชวี าตมันกับปรมาตมันนั้นเอง

7. ความคดิ เร่อื งแรงโน้มถว่ งของนวิ ตัน (Newton) ก็มอี ยู่ในลทั ธิไวเศษิกแล้ว ความดึงดดู ระหว่างส่ิงต่าง
ๆ ก็มีกลา่ วไวใ้ นอภิธรรมว่า คืออาโปชตุ ความคิดเร่อื งอากาศของนวิ ตนั ก็มีอยูใ่ นปรัชญาฮินดู ความคดิ เกยี่ วกับ
การแบ่งส่วนใหญ่ออกเป็นสว่ นย่อยอันไมม่ ีทีส่ ิน้ สดุ (infinitesimal) ก็มีปรากฏอย่ใู นเร่ืองการเปลี่ยนแปลงของรปู
นาม และเร่ืองขณะจติ ของพทุ ธศาสนา พระพทุ ธเจ้าจงึ เปน็ คนแรกที่แบ่งสนั ตตขิ องรูปนามออกเป็นขณะนวิ ตนั เช่ือ
วา่ มีบางส่งิ ทีอ่ ยู่กับที่ แตพ่ ระพทุ ธเจ้าสอนว่าทุกส่งิ เคล่ือนไหวสว่ นเร่ืองปฏิกิริยาเท่ากบั กิรยิ าน้ัน คลา้ ยกับคำสอน
เร่ืองกรรมและกรรมวบิ ากของพุทธศาสนาน้ันเอง

8. จิตนยิ มของเนิดเล่ย์ (1685-1753) ก็คล้ายกับความคดิ ของพุทธศาสนามหายานซงึ่ เป็นผลของการปรบั
พุทธศาสนาให้เข้ากับเวทานตะ แตม่ หายานไม่ไกลกว่าเวทานตะเสียอีก คือปฏเิ สธโลกภายนอกเอาเลยคือถือวา่
รูปไม่มี มีแตน่ ามอยา่ งเดยี ว

9. ความคดิ ของฮวิ ม์ (1711-1776) ก็เหมอื นกบั อเหตุกทฏิ ฐิ อกริ ยิ ทฏิ ฐิ และอจุ เฉททิฏฐินั่นเอง เพราะ
ฮิวม์บอกวา่ ไม่มีอะไรนอกจากความคิด (หรืออารมณ์) ลว้ นไม่มสี สาร ไมม่ จี ิต มีแตค่ วามคิด ทกุ อย่างสลายไปกบั
ความตาย

10. คานต์ (1724-1804) ไดเ้ สนอความคดิ เรอ่ื ง กาลและอวกาศเปน็ คนแรกในยโุ รป แต่ความคิดนี้ก็มีอยู่
ในลัทธไิ วเศษิกแลว้ และความคิดน้กี ็กลายเป็นคำสอนเรอ่ื งบัญญตั ขิ องพุทธปรชั ญาด้วย คำสอนเรื่องโลกและ
วญิ ญาณของคานตก์ ็คลา้ ยกบั เร่อื งบรุ ษุ และประกฤติของสางขยะ ความคดิ เร่ืองของคานต์กค็ ล้าย ๆ กับเร่ืองปัฏ
ฐาน 24 ของพทุ ธศาสนา

11. ความคิดของนักคิดเยอรมันคือ Fickte Sohelling Hegel (1775, 1770) มีความคลา้ ยคลึงกบั
ปรชั ญาเวทานตะหรือพรามวิทยามาก ปรชั ญาประวัตศิ าสตรข์ องเฮเกล คลา้ ยกับลทั ธอิ วตารของฮินดู ส่วน
ความคดิ เร่ืองไดอะเลก็ ติกของเขาก็เหมือนกับความคดิ เร่ือง สนิ าสยะของนยายะ ซ่ึงถือว่า ความจริงได้จากการ
พจิ ารณาเร่ืองท่ีขัดแยง้ กนั

12. ความคิดของนักคิดเร่ืองสสารนยิ มทางประวัตศิ าสตรข์ องพวกมากซสิ ต์ ก็คล้ายกบั ความคดิ เร่ืองยุค
ตา่ ง ๆ ในปรชั ญาฮนิ ดู ที่แบ่งยคุ ออกเปน็ กฤตยุค ทวาพรยุค ไตรดายุค กลียคุ แต่พวกมากซสิ ตแ์ บง่ กลียุคไว้

51

ละเอยี ดกว่า ส่วนความคิดเรื่องสังคมนิยมนนั้ พวกพราหมณ์และพวกพุทธก็ได้กล่าวไวน้ มนานมาแลว้ สสารนิยม
ไดอะเล็กติกจงึ เท่ากบั เปน็ พัฒนาการข้นั สูงสดุ ของลัทธจิ ารวาก

13. ความคิดเร่ือง ววิ ัฒนาการของดารว์ ิน (1809-1882) คล้ายกับความคิดเรอ่ื งพชื นิยมของพุทธศาสนา
14. ความคิดของพวกสัจนยิ มในศตวรรษท่ี 20 น้ีก็คลา้ ยกับความคดิ ของพุทธศาสนา คือยอมรับความมี
อยขู่ องสงิ่ ท่ีปรากฏท้ังทีเ่ ป็นสสารและอสสาร โดยท่ีสิ่งทั้งสองมิได้สร้างซงึ่ กนั และกนั แต่ตา่ งก็มีอยูด่ ้วยกนั (ท่มี า:
ผจญ คำชูสังข.์ (2549). ลักษณะทั่วไปของปรัชญาตะวันตก – ปรัชญาตะวันออก)

ลกั ษณะทต่ี า่ งกันของปรัชญาตะวันตกกบั ปรัชญาจนี

1. ด้านหลักการสอน
ปรชั ญาตะวันตก ปรชั ญาจีน

มีความสัมพันธใ์ กล้ชิดกบั มคี วามสมั พันธ์ใกล้ชดิ กับจรยิ ศาสตร์ การเมือง วรรณคดี และศลิ ปะ
วทิ ยาศาสตร์

แสวงหาความร้เู พื่อความรู้ ความรู้น้ันคอื มรรควิธที ่ีนำไปส่อู ดุ มคติอันสงู ส่งท่ปี ฏบิ ตั ิไดใ้ นชวี ิตจริง

รากฐานของปรชั ญาจนี ความกระหายของนักปราชญท์ ี่อยากจะเข้าใจวถิ ธี รรมชาติ

สอนเร่อื งความรักในพระ สอนเรือ่ งความรักในเพื่อนมนุษย์ เน้นความสำคญั ของจรยิ ธรรม โดยเฉพาะอยา่ งยิ่ง ความ
เจา้ เกยี่ วขอ้ งทางสังคม หนา้ ที่ของพลเมืองดี และหลักปฏิบัติทางศีลธรรม

2.ดา้ นประเด็นทม่ี าของความรู้

ปรัชญาตะวนั ตก ปรัชญาจนี

ความร้จู ากทฤษฎีคือ ความรแู้ ละความหมายท่ไี ด้ เนน้ การภาวนาฝกึ ฝนอบรมตนเอง ซ่ึงส่งผลใหม้ ีความ
จากหลกั คำสอนอันเป็นหลักจากอนุมาน การใช้ สนใจอยา่ งลกึ ซ้ึงเก่ยี วกบั ปัญหาท่เี ปน็ รูปธรรม
ความคดิ ทางคาดคะเน และการวเิ คราะหเ์ หตุผล
แบบตรรกวทิ ยา

สนใจเรือ่ งของความขดั แย้งกันของสงิ่ ทแี่ ตกต่าง มลี กั ษณะไมใ่ ชเ่ ป็นความขัดแยง้ แต่เป็นความกลมกลนื
จากกนั ในโลก เช่น ความขัดแยง้ ระหวา่ งคนกบั ประสานกันของสง่ิ ทัง้ หลายในโลก มนุษยเ์ ป็นส่วนหนง่ึ
พระเจา้ อดุ มคตกิ บั ความเป็นจรงิ สงั คมกับปจั เจก ของจักรวาล โลกจกั รวาลเป็นสว่ นหน่ึงของชีวิตมนุษย์
อำนาจกับเสรภี าพ ผกู พันกนั อย่างแนน่ แฟ้น

52

3. ด้านเน้อื หาสาระ

ปรชั ญาตะวนั ตก ปรชั ญาจนี

แบง่ ออกเป็น 5 แทบจะไมม่ ีการแยกคนออกจากความต้องการทางจริยธรรมและการปฏบิ ัตใิ นชวี ติ ของ
สาขา บุคคลเลย จติ มคี วามกลมกลืนกับทุกสรรพสิ่ง

4.ดา้ นจติ วิญญาณแห่งปรชั ญา

ปรชั ญาตะวนั ตก ปรชั ญาจีน

ฝังใจเก่ียวกับเรื่องความขดั แย้งกนั มลี ักษณะเดน่ ไมเ่ ป็นความขดั แยง้ แตเ่ ป็นความกลมกลนื ประสาน
ของสง่ิ ท่แี ตกตา่ งกันและกันท่ีมีอยู่ สบื เน่ืองกนั ของสิง่ ท้งั หลายในโลก ปรชั ญาจีนถือว่า มนษุ ย์เปน็ สว่ นหนึง่
ในโลก เช่น คนกับพระเจ้า อุดมคติ ของโลกจกั รวาล และโลกจักรวาลเปน็ ส่วนหน่งึ ของชวี ติ มนุษย์ มนษุ ย์
กับความเป็นจรงิ สังคมกับปจั เจก กบั ธรรมชาตผิ กู พันกันอย่างแนน่ แฟ้นสมบูรณ์ตอ่ กนั และกนั
อำนาจกับเสรภี าพ เป็นตน้ (มหาวทิ ยาลัยบรู พา. (2555). ความแตกต่างปรชั ญาจนี กบั ปรชั ญา
ตะวันตก)

53

สรุป

คำว่า “ปรัชญา” นั้นเป็นศัพท์ที่พระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (พระองค์เจ้าวรรณไว
ทยากร) ได้ทรงบัญญัติขึ้นเพื่อใช้คูก่ ับคำภาษาอังกฤษวา่ “Philosophy” เป็นคำมาจากรากศัพท์ภาษาสันสฤต 2
คำคือ 1. ปร : ประเสริฐ 2. ชญา : ความรู้, รู้, เข้าใจ เมื่อรวมกันแล้วเป็น “ปรชญา” (ปรัชญา) แปลว่า ความรู้
อันประเสริฐ เป็นวิชาที่ว่าด้วยหลักแห่งความรูแ้ ละความจริง ปรัชญาตะวันออกเกิดขึ้นมาในความเป็นศาสนา ซึ่ง
จะมคี วามเกยี่ วข้องกันอยา่ งแทบจะแยกไม่ได้ โดยศาสนานั้นมรี ากเหง้ามาจากความเชื่อ ความศรัทธาที่จะปฏิบัติ
ตามคำสั่งสอนหรือเนื้อหาของศาสนานั้น ๆ นำไปสู่พิธีกรรมต่างๆที่มุ่งสู่มรรคผล โดยปรัชญานั้นประกอบแนบ
แน่นกันกับศาสนาในตัวของความรู้ และวิธีการได้มาซึ่งความรู้ และปรัชญาตะวันตก หมายถึง แนวความคิด
หลักการ ความรู้ทางปรัชญาที่เกิดขึ้นในซีกโลกตะวันตกทั้งหมด ซึ่งนักปรัชญาเมธีเชื่อชาตินั้น ๆ ทางซีกโลก
ตะวันตกไดค้ ดิ ค้นขน้ึ

ปรัชญาอินเดียเริ่มปรากฏหลักฐานว่ามีมาตั้งแต่ 3,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช ปรัชญาที่กล่าวถึงนี้คือพระ
เวทย์อินเดียล้วนเกดิ จากคำสอนในคัมภีร์พระเวทเป็นคัมภรี ์พระเวทแบ่งออกเป็น 4 อยา่ งคอื ฤคเวทยชุรเวท สาม
เวท อถรรพเวท และในอินเดียนั้นมีเรื่องราวและตำนานเป็นมหากาพย์ 2 เรื่องอันยิ่งใหญ่ คือ มหากาพย์รา
มายณะ ซึ่งรู้จักดีในประเทศไทยอีกชื่อก็คือ รามเกียรติ์ และอีกมหากาพย์หนึ่ง ชื่อมหาภารตะ โดยเรื่องราว
เกี่ยวกับความขัดแย้งของพี่น้องสองตระกูล ระหว่างตระกูลเการพและตระกูลปาณฑพ จนบานปลายไปสู่มหา
สงครามที่ทุ่งกุรุเกษตร จำนวน 18 วัน และฝ่ายปาณฑพเป็นผู้ชนะสงครามครั้งนี้ ศาสนาในอินเดียหลักๆจะมี 4
ศาสนาคือ ศาสนาฮินดู ศาสนาพุทธ ศาสนาเชน และศาสนาซกิ ข์ ศาสนาในจีน จะกล่าวถึงลทั ธิตา่ งๆ ที่เกิดขึ้นใน
จีนซึ่ งมีอยู่มากมายโดยหลักๆจะมีอยู่ 2 ลัทธิ คือ เล่าจื๊อหรือเต๋า เชื่อว่าเต๋าเป็นอุดมคติเป็นจุดหมายปลายทาง
สูงสุด มีจุดมุ่งหมายให้ผู้คนเข้าทางธรรม หรือสัจธรรม สละทางโลก ไม่สนใจลาภยศ มุ่งหาความสงบดำรงชีวิต
แบบเรียบง่าย กลมกลืนกับธรรมชาติ ปรัชญาการศึกษา คือการนำเอาหลักการ ความคิด ความเชื่อ ผลจากการ
แสวงหา ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั การศึกษาท่ีชดั เจน หรอื การนำเอาทักษะเก่ียวกับการศึกษามาดัดแปลงให้เป็นระบบ
ใหม่ เพื่อประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ในการจัดการศึกษา และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนว
พระราชดำริ คือ การยึดหลักทางสายกลางและความไม่ประมาท คำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การ
สร้างภูมคิ ้มุ กันท่ีดีในตัว ตลอดจนการใช้ความรู้ด้วยความรอบคอบ ระมดั ระวงั และมีคุณธรรมเป็น พื้นฐานในการ
ตัดสินใจและการกระทำปรัชญาญี่ปุ่น ปรัชญาของญี่ปุ่นจำแนกเป็นฐานหลักได้ 3 ฐาน คือ 1. ฐานชินโต ฐานนี้
ญี่ปุ่นรับมาในสมัยมีการนับถือธรรมชาติ (พระเจ้า) 2.ฐานมิกาโต คือ ฐานเกี่ยวกับระบบการนับถือจักรพรรดิ
ระบบภายในครอบครัวและระบบทางสังคมที่ยังเป็นระบบที่มีชีวิต 3. ฐานปุตสุโตหรือพระพุทธศาสนา เป็นการ
ภกั ดตี ่อพระพทุ ธศาสนา เพราะวา่ พระพทุ ธศาสนา มี อิทธิพลยิง่ ใหญ่ ควบคูไ่ ปกบั ศาสนาชินโต

54

ปรัชญาตะวันตกตามเน้ือหามีอยู่ทงั้ หมด 5 ยุคคอื ยคุ ดึกดำบรรพ์ ยุคโบราณ ยคุ กลาง ยคุ ใหม่ ยคุ ปัจจุบัน
ในยุคดึกดำบรรพ์นั้น ผู้คนต่างนับถือและเช่ือในเรื่องเทพเจ้า จึงเกิดเรื่องเล่าเกี่ยวกับเทพเจ้าขึ้นเช่น การกำเนิด
โลกโดยมี 4 ส่ิงหลอมรวมผสมกัน และการกำเนิดเทพ โดยมเี ทพเจา้ Zeus เป็นผนู้ ำสูงสุดแหง่ เขาโอลิมปัส สว่ นใน
ปรัชญาตะวันตกยุคโบราณ นักปรัชญาในยคุ นี้ต่างตามหาความจริงของต้นกำเนิดของปฐมธาตุของโลก ในยุคใหม่
ได้นำปรัชญาของ Aristotle มาอธิบายศาสนา ทำให้เกิดการถกปัญหาปรัชญาศาสนาจนถึงระดับอิ่มตัว นัก
ปรชั ญาจงึ หนั มาสนใจปรัชญาวิทยาศาสตร์ (science=ความร้)ู

และยคุ ปัจจบุ ันเปน็ กระแสที่ไม่มีขอบเขตเริ่มต้นชัดเจน แต่เป็นการปรับท่าทตี ่อการใช้ปรัชญาโดยชี้ว่าปัญหาใหญ่
ของโลกเช่น สงครามโลกล้วนเกิดจากความยึดมั่นถือมั่น (attachment) ของผู้ถือปรัชญายุคก่อนหน้าทั้งสิ้น แต่
พลงั ของแนวคิดนี้ไดร้ ับการยอมรับอยา่ งกวา้ งขวางในกลมุ่ ก้อนทางศาสนาตา่ งๆ และกลมุ่ ก้อนผู้ไมน่ ับถอื ศาสนา

เปรียบเทียบปรัชญาตะวันตกและปรัชญาตะวันออก ทั้งสองปรัชญายืนยันว่ากระบวนการหาความจริง
ของมนุษย์มีลักษณะพิเศษที่ต่างจากสัตว์ทั่วไป ดังนั้นการรู้ความจริงของมนุษย์จึงมีลักษณะเป็นการรู้ตัว นัก
ปรัชญาตะวันตกจะศึกษาความจริงเมื่อเกิดความสงสัย แต่จะหยุดเพียงแค่นั้น จะไม่นำมาพัฒนาเป็นคำสอนให้
ปฏิบัติ ส่วนนักปรัชญาตะวันออกจะหลักมาปฏิบัติ ทั้งสองปรัชญามีเนื้อหากับเป้าหมายเหมือนกันตรงที่มุ่ง
แสวงหาความจริง มีการพัฒนาและต่อยอดทางความคิดเหมือนกัน มีต่างกันตรงที่ตะวันตกจะมีวิทยาศาสตร์เข้า
มาเกี่ยวขอ้ ง ปรชั ญาจะเกิดจากความเช่อื ของคน เพราะฉะนัน้ แตล่ ะพน้ื ทมี่ ีความเชื่อตา่ งกนั ก็จะมีปรชั ญาทตี่ ่างกัน

55

อ้างอิง

Rp.10 มหาวทิ ยาลยั บูรพา. (2555). ความแตกตา่ งปรชั ญาจนี กบั ปรชั ญาตะวันตก. [ออนไลน]์ , Available :
http://bubeeja.blogspot.com/2012/12/blog-post_19.html. (คน้ หาข้อมูล 2564,

22 กุมภาพนั ธ์)

กีรติ บุญเจือ. (2546) “เรมิ่ รจู้ ักปรชั ญา” ในชดุ ปรัชญาและศาสนาเซนต์จอห์น, กรงุ เทพฯ:
มหาวิทยาลัยเซนต์จอหน์ .

ชัยจกั ร ทวยุทธานนท์, ผ้แู ปล. ซกี ัล, โรเบิร์ต เอ, บรรณาธกิ ารฉบับภาษาอังกฤษ.Croot, Viv, author. 30
Second Mythology: The 50 Most Important Greek and Roman Myths, Monsters,
Heroes and Gods Each Explained in Half a Minute. กรุงเทพฯ : ยิปซี กรุ๊ป, 2560. -
Ambalu, Shulamit. The Mythology Book: Big Ideas Simply Explained. London: DK
Publishing, 2018. - Hamilton, Edith. Mythology : Timeless Tales of Gods and Heroes.
New York: Grand Central Publishing, 1999.

ธรรมะไทย การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาเขา้ สปู่ ระเทศจนี . [ออนไลน]์ , เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://old-
book.ru.ac.th/e-book/p/PY225/py225-1-1.pdf (คน้ หาข้อมลู 2564, 26 กุมภาพันธ์)

บริษทั อมรินทร์พรน้ิ ต้ิงแอนด์พับลิชช่งิ จำกดั (มหาชน). ศาสนาเชน: วถิ แี หง่ อหิงสา. [ออนไลน์], เขา้ ถึงได้
จาก : https://ngthai.com/cultures/13974/jainism-religion/ (คน้ หาข้อมลู 2564, 20 กุมภาพนั ธ์)

บาทหลวงวุฒิชยั ออ่ งนาวา. (2551). เปรียบเทียบปรชั ญษตะวนั ตกกับปรัชญาตะวันออก. [ออนไลน์],
Available : http://franciswut01.blogspot.com/. (ค้นหาขอ้ มลู 2564, 17 กุมภาพันธ)์

เบญจภรณ์ ศรเี มอื ง. ศาสนาซกิ ข์. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก :
https://sites.google.com/site/socialbuddhismm4/unit_9_4#:~:text (คน้ หาขอ้ มูล2564,
18 กุมภาพนั ธ์)

ประเทศเพ่ือนบา้ นของไทย. ประเทศอินเดยี . [ออนไลน]์ , เข้าถงึ ไดจ้ าก :
http://www.thaiheritage.net/nation/neighbour/india2.htm (คน้ หาขอ้ มูล 2564,
23 กุมภาพันธ)์

ปานทพิ ย์ ศภุ นคร มหาวิทยาลัยรามคำแหง. ปรัชญาจีน (Chinese Philosophy). E-book. [ออนไลน]์ ,
เข้าถึงได้จาก : http://old-book.ru.ac.th/e-book/inside/html/dlbook.asp?code=PY225
(ค้นหาข้อมลู 2564, 20 กมุ ภาพนั ธ์)

56

ผจญ คำชูสงั ข.์ (2549). ลกั ษณะทัว่ ไปของปรชั ญาตะวนั ตก – ปรชั ญาตะวันออก. [ออนไลน์], Available :
pirun.ku.ac.th › ~fhumpjk › word387512. (ค้นหาข้อมูล 2564, 17 กุมภาพนั ธ)์

พนายทุ ธ เชยบาล, เอกสารประกอบการสอน “หลกั การและปรชั ญาการศกึ ษา Principle and Educational
Philosophy” คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อุดรธานี; 2560 (หนา้ 32-51)

พระไตรปฎิ ก เล่มที่ 9 พระสุตตันตปิฎก เล่มท่ี 1 ทีฆนกิ าย สีลขันธวรรค กูฏทันตสูตร. พระไตรปฎิ กฉบับ
สยามรฐั . [ออนไลน์], เขา้ ถงึ ไดจ้ าก :

https://th.wikipedia.org/wiki/%.(คน้ หา ขอ้ มลู 2564, 18 กุมภาพันธ)์

พระมหามฆวินทร์ ปุรสิ ุตตฺ โม. มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลัย . ปรชั ญาสากล : วิเคราะหแ์ ละวจิ ารณ์
พิพธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาติ มหาวีรวงศ์ นครราชสีมา. เครือ่ งหมายหยนิ – หยาง. [ออนไลน]์ , เข้าถึงไดจ้ าก :

http://www.finearts.go.th/mahavirawongmuseum/view/12432- (ค้นหาข้อมลู 2564,
25 กุมภาพนั ธ)์
ภวศิ า พงษเ์ ลก็ , เอกสารประกอบการสอน“หลักการและปรัชญาการศึกษา Principle and Educational
Philosophy” คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุดรธานี; 2560 (หนา้ 5)

มหาภารตะ (Mahabharata). [ออนไลน์], เข้าถึงไดจ้ าก :
https://tidtipt2012.wordpress.com/2013/08/21/มหาภารตะ-mahabharata/ (ค้นหาขอ้ มูล
2564, 20 กุมภาพนั ธ)์

รายการประวัติศาสตร์นอกตำรา. (สุจติ ต์ วงษเ์ ทศ). รามายณะ มหาภารตะ ในอุษาคเนย์ ประวตั ิศาสตรน์ อก
ตำรา. [ออนไลน์], เข้าถงึ ได้จาก :
https://www.youtube.com/watch?v=yiwUBJ1TXPg&feature=share&fbclid=IwAR0tMbtT
QRa1bqQuZ73V0uCmROdyDfqQPJJTaf9Kup6wTtKJw6GiyNrKdqM (ค้นหาขอ้ มูล 2564,
20 กมุ ภาพันธ)์

รายการแฟนพันธแุ์ ท้ 2014_11 เม.ย. 57. มหาภารตะ. [ออนไลน]์ , เข้าถงึ ได้จาก :
https://www.youtube.com/watch?v=_vlt2kzstyk (ค้นหาขอ้ มูล 2564, 20 กมุ ภาพันธ)์

เรอ่ื งย่อมหาภารตะ. [ออนไลน]์ , เข้าถงึ ได้จาก :
https://www.youtube.com/watch?v=5IQeSNvWxE0&list=PLgHq_97HaPvlAcJd1OOCC7r
oRJr0fpdMz (คน้ หาข้อมูล 2564, 20 กุมภาพนั ธ์)

สมหมาย ปวะบุตร.“ตำราหลักการศึกษา”คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนสุนนั ทา; 2558 (หนา้ 19-36)

หนังสอื ปรัชญากรีกบ่อเกดิ ภูมิปัญญาตะวันตก พระราชวรมนุ ี (ประยรู ธมุมจติ โุ ต) บรรณาธิการ :
เซน นคร สำนกั พิมพ์ศยาม

57

อ.วีระธรี ภัทรเลา่ มหากาพย์มหาภารตะ. [ออนไลน์], เขา้ ถึงได้จาก :
http://septimustidbits.blogspot.com/2013/02/blog-post_5.html?m=1 (คน้ หาขอ้ มูล 2564,

24 กมุ ภาพนั ธ)์

เอนก สวุ รรณบณั ฑติ . (2558). เอกสารประกอบการสอนวชิ าปรชั ญาศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวทิ ยาลยั ราช ภฏั สวนสุนันทา.

58

บทที่ 3
อภิปรัชญา

ความหมายของอภิปรชั ญา

คำว่า “อภปิ รชั ญา” เปน็ ศัพท์ท่พี ระเจา้ วรวงศ์เธอ กรมหมน่ื นราธิปพงศ์ประพนั ธ์ ทรงบัญญัติข้ึนเพ่ือใช้คู่
กบั คำภาษาองั กฤษวา่ “Metaphysics” เป็นคำมาจากรากศัพทภ์ าษาสนั สกฤต 3 คำคอื

อภิ : ย่ิง
ปฺร : ประเสรฐิ
ชฺญา : ความรู้, รู้, เข้าใจ
เมื่อรวมกันแล้ว เป็น “อภิปฺรชฺญา” (อภิปรัชญา) แปลว่า ความรู้อันประเสริฐท่ียิ่งใหญ่ เป็นวิชาทีว่ ่าดว้ ย
ความแท้จริงของสรรพสิ่ง คำว่า “อภิปรัชญา” ตรงกับคำภาษาบาลีว่า “ปรมัตถ์” ซึ่งมีรากศัพท์มาจาก ปรม
(อยา่ งยิง่ , ลึกซงึ้ ) + อตั ถ (เนอื้ ความ) เมอื่ รวมกันแล้ว แปลวา่ ความร้ทู ี่มีเนื้อความทลี่ กึ ซง้ึ
ในพจนานกุ รมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2525 ไดน้ ยิ ามความหมายของคำว่า “อภปิ รชั ญา” เอาไว้ว่า
“สาขาหนึ่งของปรัชญา ว่าด้วยความแท้จริง ซึ่งเป็นเนื้อหาสำคัญของปรัชญา”อภิปรัชญา เป็นปรัชญาบริสุทธ์ิ
สาขาหนึ่ง มีลักษณะเป็นการศึกษาค้นหาความจริงที่สิ้นสุด เดิมทีเรียกว่า “ปฐมปรัชญา” (First Philosophy)
หรือปรชั ญาเริม่ แรก (Primary Philosophy)
ผลงานของ อริสโตเติ้ล (Aristotle) อีกอย่างหนึ่ง เหตุที่เรียกวิชาอภิปรัชญานี้ว่า First Philosophy
เนื่องจากว่าเป็นวิชาที่เกี่ยวเนื่อง ด้วยหลักพื้นฐานที่แท้จริงของจักรวาลและเป็นวิชาที่ควรศึกษาเป็นอันดับแรก
ส่วนวิชาการต่าง ๆ ในสมัยแรก ๆ นั้น ก็รวมอยู่ในปฐมปรัชญาทั้งนั้น เพราะหลักการของปฐมปรัชญาสามารถใช้
อธิบายวิชาอื่น ๆ ได้ทุกวิชา จึงเป็นศาสตร์ต้นตอแห่งศาสตร์ท้ังปวง หรือเป็นศาสตร์ที่ทำให้เกิดศาสตร์ต่างๆ
(อดิศกั ด์ิ ทองบญุ , 2526)
สเตจ (W.T. Stace) ได้ชี้แจงไว้ คือเมื่อแอนโดรนิคุส (Andronicus) จัดพิมพ์งานของ อริสโตเต้ิล
(Aristotle) เข้าเป็นรูปเล่มสมบูรณ์ ในการจัดพิมพ์ครั้งนี้ได้นำเอาตำราปฐมปรัชญาไปพิมพ์ไว้หลังฟิสิกส์ ด้วยคำ
ที่ว่า “Metaphysics” (เมตาฟิสิกส์) จึงมีความหมายว่า “มาหลังฟิสิกส์” “ล่วงพ้นฟิสิกส์” (After Physics)
กลา่ วคอื เป็นเรื่องที่เกีย่ วกับสิ่งนอกเหนือฟิสิกส์
คำว่า “Metaphysics” ในภาษากรีกซึ่งเป็นภาษาดั้งเดิมของอภิปรัชญาใช้คำว่า “Meta ta Physika”
หรอื ทภี่ าษาอังกฤษใชว้ า่ Metaphysics มีรากศัพทม์ าจากคำ 2 คำคอื
1. Meta : After, Above (หลงั , เบ้อื งหลัง, ล่วงเลย)
2. Physika : Physics = Nature (สง่ิ ทส่ี ัมผัสได้ดว้ ยประสาทสัมผสั , สิง่ ที่สมั ผสั ไดด้ ้วยอินทรีย์)
เมื่อเป็นเช่นนี้ คำว่า “Metaphysics” จึงหมายถึง “After Physics” แปลว่า “สิ่งที่อยู่เหนือประสาท
สัมผัส, ส่ิงท่อี ยูห่ ลงั ฟิสิกส์, สิง่ ท่อี ยู่เบ้ืองหลงั วัตถุ หรือวิชาทวี่ ่าดว้ ยสิ่งทอ่ี ยู่เบอื้ งหลงั สงิ่ ที่รสู้ ึกทางประสาทสัมผัส”

59

จากความหมายดังกล่าวน้ี มีนกั ปราชญข์ องไทยบางท่าน ได้บัญญัติศัพท์ข้นึ ใช้อีกศัพท์หนึง่ คือ “อตินทรีย์
วิทยา”

(อติ + อินทรีย์ = ล่วงเลยอินทรีย์ หรือล่วงเลยประสาทสัมผัส) ดังนั้น เราจึงสรุปได้ว่า คำว่า
“อภิปรัชญา” มไี วพจนท์ ่ีใชอ้ ยู่ 4 อยา่ งได้แก่ อภิปรัชญา, ความรขู้ น้ั ปรมตั ถ,์ Meta ta physika และ อติ
นทรยี ว์ ิทย (อดิศักดิ์ ทองบญุ , 2526 ,น 3-4)

ทีม่ าของอภิปรัชญา

ดังที่ทราบมาแล้วว่า คำว่า “อภิปรัชญา” (ปรัชญาอันยิ่งใหญ่, ความรู้อันประเสริฐที่ยิ่งใหญ่) มาจาก
ภาษาองั กฤษว่า “Metaphysics” ซึง่ มีรากศัพท์มาจาก Meta + Physics รวมกันแล้วแปลวา่ “สภาวะท่ีอยู่เหนือ
การสัมผัส” น่ันหมายถงึ ว่า อภิปรชั ญา เป็นปรชั ญาท่ีเกีย่ วกับสิ่งทอี่ ยูเ่ หนือการรเู้ ห็นท่ัวไป

พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ ได้อธิบายไว้ว่า การให้ความหมายหรือการแปลศัพท์
ของคำวา่ Metaphysics นั้น จะแปลตามมลู ศัพทไ์ ม่ได้ เพราะวา่ คำนเ้ี กิดขน้ึ มาจากความบังเอิญ

Aristotle Plato

หลังจากที่เพลโต้ (Plato) และอริสโตเติ้ล (Aristotle) ได้ทำให้วิชา Philosophy เจริญขึ้น เพลโต้ถือว่า

วิชานี้เป็นวิชาที่เกี่ยวกับความจริงที่ไม่เปลี่ยนแปลง แต่อริสโตเติ้ล (Aristotle) มีความคิดเป็นวิทยาศาสตร์

ในหนังสือที่อริสโตเติ้ล แปลและเรียบเรียงขึ้นเล่มหนึ่งได้นำเอาเรื่อง First Philosophy มาเรียงไว้ในตอนท้ายๆ

ซึ่งต่อมาจากเรื่องฟิสิกส์ หรือปรัชญาธรรมชาติ (Natural Philosophy) ในหนังสือดังกล่าว ได้จัดเรียงลำดับไว้

ดงั น้ี

1. คณติ ศาสตร์ (Mathematics)

2. กายภาพของโลก (Physics)

3. ปฐมปรัชญา (First Philosophy)

4. ตรรกศาสตร์ (Logic) (อดิศักดิ์ ทองบญุ , 2526, น.3-4)

5. จิตวิทยา (Psychology)

6. จรยิ ศาสตร์ (Ethics) (อดิศักดิ์ ทองบุญ, 2526)

60

W.T. Stace
สเตจ (W.T. Stace) ได้ชี้แจงไว้ว่า คำว่า Metaphysics เป็นคำที่ได้มาโดยบังเอิญ คือประมาณ พ.ศ.
480 เมื่อแอนโดรนคิ ัส (Andronicus) รวบรวมผลงานของอริสโตเติ้ลเข้าเป็นรูปเล่มสมบูรณ์ ในการจัดพิมพ์ครัง้ นี้
ได้นำเอาตำราปฐมปรัชญาไปพิมพ์ไว้หลังฟิสิกส์ คือเรียง First Philosophy ไว้หลังปรัชญาธรรมชาติ (Natural
Philosophy หรือPhysics) และนีโคลาอุส (Nicolaus) แห่งดามัสกัส เป็นคนแรกที่เรียก First Philosophy โดย
ใช้ภาษากรกี วา่ Ta meta ta Physika แล้วเรยี กสว่ นนี้วา่ “หลังฟิสกิ ส์” (After Physics)
กล่าวคือเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับสิ่งนอกเหนือฟิสิกส์ ภาษากรีกที่ว่า Meta ta Physika หมายความว่า
“งานท่ีทำนอกเหนอื หรอื ลว่ งพ้นจากทางรา่ งกาย, โลกเบ้อื งหลงั กายภาพ, ส่งิ ท่อี ยู่เบือ้ งหลงั ฟิสิกส์”
คำว่า Meta (After, Above) แปลว่า “หลัง เหนือกว่า เบื้องหลัง เลยออกไป” เมื่อรวมกับ Physics
จึงหมายถึงส่ิงที่อยูน่ อกขอบเขตการรับรู้ด้วยประสาทสัมผสั หรือสิ่งท่ีนอกเหนอื ไปจากสสารและพลงั งาน หรือสิ่ง
ทั้งหลายที่ไมอ่ าจจะรูห้ รอื เข้าถึงได้ด้วยอาศัยประสาทสัมผัส ดงั นนั้ อภปิ รัชญา จงึ เป็นวชิ าทศี่ ึกษาถงึ เบื้องหลงั หรือ
เนือ้ แท้ของสง่ิ ตา่ ง ๆ ในเอกภพ ซึ่งไม่สามารถพิสูจนแ์ ละทดสอบด้วยประสาทสมั ผัสได้
นักปรชั ญาชาวเยอรมันชื่อ โบเอทิอุส (A.M.S.Boethius) ไดเ้ ปลยี่ นมาใช้เป็นภาษาลาตินเพียงคำเดียวว่า
metaphysica ต่อมาจึงได้กลายมาเป็น metaphysics อย่างที่นิยมใช้กันอยู่ในปัจจุบันนี้คำว่า “metaphysics”
แต่เดิมมีความหมายเพยี ง “หลังฟิสิกส์” (อดิศกั ดิ์ ทองบุญ, 2526)
คำว่า “ฟิสิกส์” เดิมหมายถึงการศึกษาเกีย่ วกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติหรือในโลก ต่อมาในตอนหลงั ได้มี
การแปลความหมายกว้างขวางออกไปอีกเปน็ ว่า Physics หมายถงึ กายภาพ, ความรทู้ อ่ี ยใู่ นขอบเขตของประสาท
สมั ผสั , สง่ิ ท่เี ราสามารถรบั รไู้ ดด้ ้วยอายตนะ หรอื ประสาทสัมผัสทั้ง 5 กลา่ วคือสสารและพลังงาน
จะเห็นได้ว่า คำว่า อภิปรัชญา (Metaphysics) เป็นคำที่นำมาใช้ในสาขาปรัชญาสาขาหนึ่ง นำมาใช้คร้ัง
แรกประมาณ พ.ศ. 480 หรือในศตวรรษที่ 1 กอ่ นครสิ ตก์ าล ปรชั ญาเมธอี ริสโตเตลิ้ (Aristotle) ไดเ้ รียกปรัชญา
สาขาที่สำคัญที่สุดนี้ว่า “ปฐมปรัชญา” (The First Philosophy) ซึ่งเป็นสาขาที่ว่าด้วยความแท้จริง หรือความมี
อยขู่ องสรรพสิง่ ซึง่ ไมจ่ ำเป็นจะตอ้ งรไู้ ด้ดว้ ยประสาทสัมผสั
ในปรัชญาสมัยกลาง (Medieval Period) อภิปรัชญามีความสำคัญน้อยกว่าเทววิทยา (Theology)
เพราะเทววิทยาได้รับการยอมรับและศกึ ษากันอย่างกว้างขวาง เป็นยุคมืดของวงการปรัชญา นักปรัชญาส่วนมาก

61

เป็นพระนักบวชในคริสต์ศาสนา จึงเน้นเฉพาะคำสอนเกี่ยวกับคริสต์ศาสนาอย่างเดียว ต่อมาประมาณ
คริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นต้นมา ซึ่งเข้าสู่ปรัชญาสมัยใหม่ (Modern Period) อภิปรัชญา ได้มีความสำคัญเท่ากัน
กบั เทววิทยา จนกระทั่งถงึ ปจั จุบัน (อดิศกั ด์ิ ทองบญุ , 2526)

ลักษณะและขอบเขตของอภปิ รชั ญา

อภิปรัชญาได้ทำหน้าที่เพื่อค้นคว้าหาความจริง หรือการพยายามตอบคำถามเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ดังนั้น
เนื้อหาที่สำคัญของอภิปรัชญาก็คือ ความแท้จริงนั่นเอง เกี่ยวกับเรื่องความแท้จริงนี้ นักปรัชญาพยายามที่จะให้
คำตอบตั้งแต่สมัยนักปรัชญาสมัยกรีกโบราณ จนกระทั่งถึงนักปรัชญาสมัยปัจจุบัน ทั้งที่เป็นนักปรัชญาตะวันตก
และนกั ปรชั ญาตะวันออก เรอ่ื งที่ถกเถยี งกันหาคำตอบนั้น มปี ระเด็นใหญๆ่ อยู่ 3 อย่าง คอื

1. What is Reality? ความแท้จริงคืออะไร สาขาของปรัชญาที่ให้คำตอบเกี่ยวกับเรื่องนี้คือ อภิปรัชญา
(Metaphysics)

2. How to know Reality? เรารคู้ วามแทจ้ ริงได้อยา่ งไร สาขาของปรัชญาท่ใี ห้คำตอบเก่ียวกบั เร่ืองนี้คือ
ญาณวิทยา (Epistemology)

3. How to act according to Reality? เราควรจะทำตัวอย่างไร ให้เหมาะสมกับความแท้จริง สาขา
ของปรัชญาที่ให้คำตอบเก่ยี วกบั เรื่องนคี้ ือ จริยศาสตร์ (Ethics)

อภิปรัชญาได้ทำหน้าที่ในการตอบปัญหาเกี่ยวกับความเป็นจริงของสรรพสิ่ง รวมทั้งกระบวนการของ
ความเป็นไปของสรรพสิ่งด้วย นั่นหมายถึงการศึกษาเกี่ยวกับเอกภพ (Cosmogony) จักรวาล (Universe) โลก
(World) มนุษย์(Man) จิต (Mind) หรือวญิ ญาณ (Soul) ชีวิต (Life) สสาร (Matter) ธรรมชาติ(Nature) พระเจ้า
(God) หรอื ส่งิ สมั บูรณ์(Absolute) ตลอดถงึ สิ่งที่เกีย่ วข้องกบั สิง่ เหลา่ น้ี

อภิปรัชญามุ่งให้ศึกษาค้นคว้าถึงสัจธรรมหรือความเป็นจริงของเอกภพ หรือความเป็นจริงของสรรพสิ่ง
เท่าที่มีอยู่ ไม่ว่าส่ิงนั้นจะเปน็ อยู่ในลกั ษณะใดก็ตาม ทั้งที่เป็นรูปธรรมท้ังที่เป็นนามธรรม ทั้งที่สัมผัสได้ทัง้ ท่สี ัมผัส
ไม่ได้ อภิปรัชญาพยายามคน้ คว้าถึงความแท้จรงิ ของสรรพส่งิ หรือเรียกอกี อย่างหนึ่งว่า ภววทิ ยา (Ontology) คือ
วิชาที่ศกึ ษาถงึ ความมอี ยู่เปน็ อยู่ของสรรพสิง่ ในโลก (อดศิ ักดิ์ ทองบญุ , 2526).

คำท้งั สองนีบ้ างครัง้ ใช้ร่วมกนั แตก่ ม็ ีการศกึ ษาท่แี ตกตา่ งกัน คอื อภิปรชั ญาเนน้ ศึกษาถึงสภาวะที่ไม่อาจรู้
ได้โดยประสาทสัมผสั เป็นภาวะทีอ่ ยู่เหนอื ประสาทสัมผัสทั้งหา้ ซ่งึ เปน็ เรอ่ื งทเ่ี ก่ียวกับนามธรรม

ส่วนภววทิ ยาจะศึกษาถึงสิ่งทีม่ ีอยู่เป็นอยู่ในจักรวาลทั้งส่วนทีส่ ัมผัสได้และสัมผัสไม่ได้ กล่าวคือภววิทยา
จะศึกษาท้งั ส่ิงทีเ่ ปน็ นามธรรมและรปู ธรรม

62

1.1 จติ นยิ มเปน็ อภปิ รชั ญาสดุ โตง่ ด้านหน่งึ ของธรรมชาติ ท่เี กย่ี วกบั สภาวะทเี่ ป็นนามธรรม ซ่ึงนกั ปรัชญา
ยอมรับและเชื่อว่า สรรพสิ่งในจกั รวาลนี้ เม่ือค้นหาความจรงิ ถงึ ทส่ี ุด จะมสี ภาพเป็นจิต หรือนามธรรม เป็นสภาวะ
ท่ีจบั ตอ้ งไม่ได้ มองกไ็ ม่เหน็ คือ รไู้ ม่ได้ทางประสาทสมั ผสั ท้ัง 5 ของคนธรรมดา

ทฤษฎีแบบของเพลโต สิ่งเหล่านี้เราไม่สมารถจะมองเห็นได้ หรือสัมผัสได้ แต่ก็มีอยู่ในธรรมชาติ คือ
ปรากฏอยู่ในโลกนี้ในฐานะทีเ่ ปน็ นามธรรม มิใชส่ สาร

1.2 สสารนิยมในทางอภิปรัชญาเป็นด้านรูปธรรม หรือด้านวัตถุ ซึ่งเป็นสภาวะที่เห็นได้, ฟังได้, สูดกล่ิน
ได,้ ลิ้มรสได้, ไดร้ ับสมั ผัสทางกายได้

1.3 ธรรมชาตินิยมเชื่อในความมากมายหลากหลายในจักรวาล แต่สิ่งเหล่านี้ มีความจริงอยู่ในตัวมันเอง
ไดแ้ กค่ วามเชื่อว่า สงิ่ และเหตกุ ารณ์ท้ังหลาย มีมลู เหตุมาจากรรรมชาติ มากกว่ามลู เหตเุ หนือธรรมชาติ จักรวาลมี
มูลกำเนดิ มาจากธรรมชาติ มากกว่ามาจากภาวะเหนือธรรมชาติ (อดศิ กั ด์ิ ทองบญุ , 2526)

2. อภปิ รัชญาวา่ ดว้ ยจิตหรือวิญญาณ (Mind , Soul or Spirit)

จิต (mind) หลักฐานทางพระพุทธศาสนายืนยันว่า มนุษย์เรานั้นมีวิญญาณ ไม่เฉพาะมนุษย์เท่านั้น
มวี ญิ ญาณ สตั ว์ดิรจั ฉานตง้ั แตเ่ ล็กที่สุด ถงึ ใหญท่ ่สี ุดก็มีวิญญาณเหมอื นกัน

เป็นการศึกษาถึงลักษณะกำเนิดจุดหมายปลายทางของวิญญาณ และสัมพันธภาพระหว่างวิญญาณกับ
ร่างกาย อภิปรัชญาจะทำหน้าที่ค้นคว้าเกี่ยวกับเรื่องธรรมชาติของวิญญาณ กำเนิดของวิญญาณ จุดหมาย
ปลายทางของวญิ ญาณ และความสมั พนั ธ์ ระหวา่ งวิญญาณกบั ร่างกาย

นักปรัชญาพยายามศึกษาเพื่อที่จะตอบคำถามที่ว่า จิตของมนุษย์เราคืออะไร มีลักษณะเป็นอย่างไร
มนษุ ย์มีอสิ ระในการคิดในการหาคำตอบหรือไม่ หรือมนษุ ย์มเี สรภี าพในการตดั สินใจ และการเลือกกระทำหรือไม่
มากน้อยเพียงใด จะเป็นการศึกษาเพื่อพิจารณาดูเกี่ยวกบั วิญญาณ อัตตา และจิต ว่าเป็นสิ่งเดยี วกันหรือไม่ หรือ
เปน็ คนละอย่างกนั

3. อภิปรชั ญาวา่ ดว้ ยพระเจ้า หรอื ปรชั ญาเทวะ (God or Absolute and Ontology)

คือการค้นคว้าหาสัจภาวะเรื่อง พระเจ้า หรือสิ่งที่มีอำนาจเหนือมนุษย์ ซึ่งเป็นสิ่งท่ี มีอิทธิพลมาตั้งแต่
บรรพกาล เป็นลัทธเิ ทวนยิ ม “เทวนิยม" ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ต. 2525 หมายถึงลัทธิที่เชื่อ
ว่า มีพระเจ้าผู้ยิ่งใหญ่พระองคเ์ ดียว พระเจ้านั้นทรงมีอำนาจครอบครองโลก และสามารถดลบนั ดาลความ
เปน็ ไปในโลก

เทวนิยมทางอภิปรัชญา จะเนน้ วา่ พระเจา้ มีอย่จู รงิ ถือเป็นภาวะทม่ี ีอยอู่ ยา่ งเที่ยงแท้ถาวร ไมใ่ ชเ่ ป็นเพียง
อุดมคติ อย่างที่นักปรัชญาธรรมชาติบางพวกเข้าใจ เพราะนักปรัชญาธรรมชาตินิยม นำเอาคำว่า พระเจ้า (God)
ไปใช้ เพยี งหมายถงึ มโนภาพอย่างหน่ึง (concept)

นักปรัชญาเทวนิยม มีหน้าที่สำคัญ คือ หาเหตุผล และข้อเท็จจริงมาประกอบการพิสูจน์ให้เป็นจริงว่า
พระเจ้ามีอยู่จริง ข้อพิสูจน์ของพวกเทวนิยมอาศัยข้ออ้างทางศาสนา คือหลักศรัทธา และมีอยู่จำนวนไม่น้อยที่
อาศัยข้ออา้ งทางปรัชญา คือหลกั เหตุผลและประสบการณข์ องมนุษย์ (อดิศกั ดิ์ ทองบญุ , 2526)

63

อภิปรัชญา (Metaphysics) จึงเป็นการศึกษาถึงความแท้จริงของสรรพสิ่งในโลก ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของ
ธรรมชาติ เรื่องของจิตหรือวิญญาณ เรื่องของพระเจ้าหรือสิ่งสัมบูรณ์ โดยศึกษาว่าสิ่งเหล่านี้มีจริงหรือไม่ มี
ลักษณะเป็นอย่างไร มีการดำรงอยู่อย่างไร เราสามารถที่จะรู้จักสิ่งเหล่านั้นได้อย่างไร หรือการมีอยู่ของส่ิง
เหลา่ นัน้ แตกต่างกนั

นักปรชั ญาฝ่ายอภิปรชั ญา ได้พยายามให้คำตอบเกย่ี วกับสิง่ เหลา่ นี้ โดยพยายามศกึ ษาปรชั ญาสาขาต่างๆ
ที่ให้ทัศนะเกี่ยวกับโลกแห่งผัสสะ และโลกเหนือผัสสะ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องใดก็ตาม และพยายามชี้ให้เห็นถึงปัญหา
ที่เกดิ ข้ึนวา่ มบี ่อเกิดอย่างไร ทำไมตอ้ งเกิดมปี ญั หาอย่างนั้นข้ึน

หนา้ ทข่ี องอภิปรชั ญา

นักปรัชญาเริ่มต้นแนวความคิดของตนเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ หรือสิ่งที่เกิดจากธรรมชาติ
อันเกดิ จากความสงสัย หรือความประหลาดใจในสง่ิ ต่าง ๆ ทีเ่ กิดข้ึน และพยายามตอบข้อสงสยั ในส่ิงเหล่านั้นด้วย
เหตุผล แนวความคิดของนักปรัชญาลักษณะเช่นนี้ คือแนวความคิดเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เป็น
แนวความคดิ ทางอภปิ รชั ญา (ปิยะฤทธ์ิ พลายมณี ,2556)

ธาเลส (Thales) บิดาแห่งปรชั ญากรกี มคี วามสงสัยว่า โลกเกดิ ขึ้นมาจากอะไร มีอะไรเป็นบ่อเกิดของโลก
เขาจึงพยายามคิดค้นหาคำตอบ โดยได้คำตอบว่า น้ำ เป็นบ่อเกิดของโลก หรือเป็นปฐมธาตุของโลก ซึ่งเขาให้
เหตผุ ลว่า ส่ิงทีม่ ีชีวติ ทอี่ ยู่ในโลกล้วนต้องการนำ้ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ มนษุ ย์หากขาดนำ้ แล้วไมส่ ามารถจะมีชีวิตอยู่
ได้

แต่การสืบค้นหรือการแสวงหาความจริงดังกล่าวนั้น จะต้องประกอบด้วยเหตุผล เพราะจุดมุ่งหมายของ
การศึกษาอภปิ รชั ญาที่สำคญั กค็ ือ เพ่อื ให้มนษุ ยเ์ ป็นตวั ของตัวเอง มีความคดิ เปน็ อสิ ระ รู้จักวิพากษ์วิจารณ์ปัญหา
ปรัชญาตามหลักของเหตผุ ล(ผศ.วิธาน สชุ วี คุปต์ ,2561)

ดังนั้นหน้าที่ของอภิปรัชญาคือ การสืบค้นหาอันติมสัจ คือ ความเป็นจริงขั้นสูงสุด สัจจะ คือ ความจริง
เพราะฉะนั้น อันติมสัจ คือ ความจริงที่สิ้นสุด ซึ่งอยู่เหนือความจริงที่ปรากฏแก่ประสาทสัมผัส เป็นความจริงที่
ครอบคลมุ ส่ิงทัง้ ปวงได้

ความเปน็ จริงทคี่ รอบคลุม

ขอ้ เท็จจริง : คือ ปรากฏการณ์ของแต่ละส่ิงทีเ่ กดิ ข้ึน ความจริงที่ประจักษ์ชดั เหตกุ ารณ์ที่เป็นจรงิ
ความจรงิ : คือ คณุ สมบตั ิของข้อความท่ีมีลักษณะพเิ ศษอย่างใดอย่างหนง่ึ
ความเปน็ จรงิ : คือ ส่ิงทมี่ ีอยู่จริง เปน็ อยจู่ ริง
ความเป็นจรงิ สูงสุด : นิพพานความจริงสูงสดุ เป็นความดีสงู สดุ เปน็ สภาวะที่สมบรู ณ์

64

ความสัมพันธ์ของอภปิ รัชญากบั ศาสตร์อื่น

อภิปรัชญา (Metaphysics) เป็นปรัชญาบริสุทธิ์สาขาหนึ่งของปรัชญาที่ว่าด้วยเรื่องความเป็นจริงและ
ความจริงแท้(Reality) เกี่ยวกับโลกและจักรวาล ตลอดจนธรรมชาติของมนุษย์ว่ามีความเป็นจริงอย่างไร ความ
เป็นจริงที่แสวงหานั้นเป็นความจริงสุดท้ายหรือความจริงสูงสุดที่เรียกว่า ความจริงอันติมะ (Ultimate Reality)
อันเป็นพื้นฐานที่มาของความจริงอื่น ๆ ดังนั้น จึงทำให้ปรัชญาสาขานี้ มีความสัมพันธ์กับศาสตร์อื่น ซึ่งศาสตร์ท่ี
สำคญั จะมี 3 ศาสตร์ ดังน้ี

1. อภปิ รัชญากบั ศาสนา (Metaphysics and Religion)

ระหว่างอภิปรัชญากับศาสนามีทั้งที่คล้ายคลึงกันและแตกต่างกัน ส่วนที่คล้ายคลึงกันมีลักษณะท่ี
สำคัญดังนี้ อภิปรัชญาและศาสนา มีวัตถุประสงค์ขั้นต้นเหมือนกัน นั่นคือเพื่อศึกษาเบื้องหลังของโลกหรือ
จักรวาล ทั้งอภิปรัชญาและศาสนา พยายามที่จะก้าวไปให้พ้นปรากฏการณ์ในปัจจุบัน เพื่อให้มองเห็นความ
แท้จรงิ ทัง้ อภิปรัชญาและศาสนาเน้นการฝึกจิต ว่าเป็นวธิ ที เ่ี ขา้ ถึงความแท้จรงิ ได้ ยกเว้นอภิปรชั ญาฝ่ายสสาร
นิยม ทั้งอภิปรัชญาและศาสนา เชื่อในความสามารถของจิตมนุษย์ว่าสามารถสัมผัสความแท้จริงได้ ยกเว้ น
อภิปรัชญาฝา่ ยสสารนิยม

อภิปรัชญาและศาสนา (เทวนิยม) มลี กั ษณะที่แตกตา่ งกันดังนี้

• อภิปรัชญาใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์มาพิจารณาสภาพธรรมที่เป็นโลกุตตระ ส่วน ด้านศาสนา
ใช้วิธีมอบกายถวายชีวิตต่อสภาพธรรมน้นั

• อภปิ รัชญาใชเ้ หตุผลในการเข้าถึงความแท้จริง สว่ นศาสนาใช้ความภักดีและศรัทธาในพระเจ้าในการ
เขา้ ถงึ สจั ธรรม

• อภปิ รชั ญาไมเ่ ร่มิ ตน้ ศรทั ธาในสง่ิ ทจ่ี ะศึกษาคน้ คว้า แตเ่ รมิ่ ตน้ ด้วยความสงสัย ส่วนศาสนาเร่ิมต้นด้วย
ศรทั ธา

• อภิปรัชญามีขอบเขตที่จะต้องศึกษากว้างกว่าศาสนา คือว่าด้วยความแท้จริงเกี่ยวกับโลกทั้งมวล
ส่วนศาสนาว่าด้วยเรื่องพระเจ้าในส่วนที่สัมพันธ์กับมนุษย์เท่านั้นอภิปรัชญาศึกษาเพื่อความรู้จริง
เท่าน้นั ส่วนศาสนามุ่งปฏบิ ัตใิ หเ้ ขา้ ถงึ ความจรงิ

2. อภิปรัชญากับวิทยาศาสตร์ (Metaphysics and Science) ความสัมพันธ์ระหว่าง

อภิปรัชญากับวิทยาศาสตร์ที่จะพึงศึกษา คืออภิปรัชญาเป็นการคาดคะเนความจริงก่อนวิทยาศาสตร์
แนวความคิดทางอภิปรัชญา เช่น ธาเลส (Thales) บอกว่า “น้ำ เป็นปฐมธาตุของโลก หรือสรรพสิ่งมา
จากน้ำ” หรือ เฮราคลิตุส (Heraclitus) บอกว่า “ไฟ เป็นปฐมธาตุของโลก หรือสรรพสิ่งมาจากไฟ”
เหล่านี้เป็นต้น ถือว่าเป็นการคาดคะเน ซึ่งการคาดคะเนเช่นนี้ถือว่าเป็นเรื่องของอภิปรชั ญา ต่อมาเรื่อง
โครงสร้างของเอกภพกายภาพก็ดี เรื่องของส่วนประกอบของสิ่งทั้งหลายกด็ ี เป็นหน้าที่ของวิทยาศาสตร์

65

เช่น ฟิสิกส์ ดาราศาสตร์ เป็นต้น ที่จะต้องให้คำตอบโดยใช้ วิธีการทดสอบ ทดลอง ซึ่งเป็นเรื่องของ
วทิ ยาศาสตร์

3. อภปิ รชั ญากบั ญาณวทิ ยา (Metaphysics and Epistemology)

อภิปรัชญากับญาณวิทยาเป็น 2 สาขาของปรัชญา โดยอภิปรัชญานั้น เป็นการค้นคว้าถึงธรรมชาติของ
ความแท้จริงสุดท้าย ส่วนญาณวิทยา เป็นการค้นคว้าถึงธรรมชาติของความรู้กับปัญหา ระหว่าง
อภิปรัชญากับญาณวิทยา อะไรสำคัญกว่ากัน ยังเป็นเรื่องที่ถกเถียงกันอยู่ นักปรัชญาบางกลุ่ม เห็นว่า
ญาณวิทยามาก่อน เพราะการตรวจสอบถึงความเป็นไปได้และขอบเขตของความรู้นั้นเป็นสิ่งสำคัญ อัน
เป็นพื้นฐานในการแสวงหาและคันคว้าถึงธรรมชาติของความแท้จริงสุดท้าย แต่นักปรัชญาบางกลุ่มก็ได้
เรม่ิ ต้นปรชั ญาของเขาด้วยอภิปรัชญา และถือวา่ ญาณวิทยาต้องสอดคล้องหรือคล้อยตามอภปิ รชั ญา โดย
ทัศนะดงั กล่าวแลว้ ทั้งญาณวิทยาและอภิปรชั ญา ต่างก็เปน็ สาขาของตวั เองต่างหากไมเ่ กยี่ วเน่ืองกัน

อภิปรัชญา (Metaphysics) จึงเป็นวิชาที่ว่าด้วยความแท้จริงของสรรพสิ่ง เรียกอีกอย่าง

หน่งึ วา่ ภววทิ ยา (Ontology) ซงึ่ เปน็ ศาสตร์ที่ว่าด้วยความมีอยู่ ความเป็นอยขู่ องสรรพสงิ่ ความมอี ยู่ของ
สรรพสิ่งก็คือความแท้จริงของสรรพสิ่ง ความแท้จริงของสรรพสิ่งย่อมเป็นความมีอยู่ของสรรพสิ่ง ทั้ง 2
คำ จึงเป็นอันเดียวกันต่างแต่ว่า Ontology ใช้มาก่อน Metaphysics ใช้ทีหลัง กล่าวคือ อภิปรัชญา
ศึกษาเรอ่ื งธรรมชาติที่แทจ้ รงิ เก่ียวกบั โลก วิญญาณหรือจติ และพระผ้เู ป็นเจ้า การทเ่ี ราจะเข้าใจเก่ียวกับ
ธรรมชาติทีแ่ ท้จริงของโลก วิญญาณหรอื จิต และพระผู้เป็นเจ้านั้น ตอ้ งอาศยั ญาณวิทยาเป็นเครื่องมือใน
การพิสจู น์ความจริงเกี่ยวกับส่งิ เหล่าน้ี

ญาณวิทยา (Epistemology) คือทฤษฎีความรู้ เป็นวิชาที่ศึกษาค้นคว้าหาความรู้

ธรรมชาติและเหตุแห่งความรู้ที่แท้จริง ซึ่งเป็นการศึกษาถึงรายละเอียดของความรู้ทั้งหมด เพื่อให้เห็น
ความเป็นไป และตัดสินได้วา่ อะไรเป็นความจริงแท้ ซึ่งเกิดจากความรู้ท่ีแท้จริง เป็นการศึกษาสภาพ ท่ัว
ๆ ไปของความรู้อย่างกว้าง ๆ อภิปรัชญาจะต้องใช้ญาณวิทยาเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าธรรมชาติท่ี
แท้จริงของสิ่งที่มีอยู่ กล่าวคือญาณวิทยา เป็นพื้นฐานหรือมูลฐานที่ทำให้เกิดปรัชญานั้น ความจริงญาณ
วิทยาและอภิปรัชญามีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด ซึ่งสิ่งหนึ่งจะปราศจากอีกสิ่งหนึ่ง ย่อมเป็นไปไม่ได้
ทฤษฎีว่าด้วยความรนู้ ำไปสูค่ วามรู้สิ่งต่าง ๆ จะอย่างไรกต็ าม ท้ังอภิปรัชญาและญาณวทิ ยาต่างก็มีวิธีการ
อธิบายสิ่งเดียวกัน นั่นคือธรรมชาติที่แท้จริง และทั้งสองอย่างต่างก็อาศัยซึ่งกันและกัน เพื่อค้นหาความ
จริงของสิ่งทัง้ หลายอย่างถูกต้อง (

ทฤษฎีทางอภิปรชั ญา

นับตั้งแต่มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความคิดต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของธรรมชาติ หรือเรื่องปรากฏการณ์ทาง
ธรรมชาติ เพราะมนุษย์เริ่มสนใจสิ่งที่อยู่ใกล้ตัวเพิ่มมากขึ้น เนื่องมาจากการเสื่อมศรัทธาในเรื่องพระเจ้า ดังน้ัน
พวกเขาจึงเกิดความสงสัยขึ้นว่า ในเมื่อพระเจ้าไม่ได้เป็นปฐมธาตุของสรรพสิ่ง หรือไม่ได้เป็นบ่อเกิดของโลกแล้ว

66

อะไรเป็นปฐมธาตุของโลก หรืออะไรเป็นบ่อเกิดอันที่แท้จริงของโลก ลักษณะแนวคิดเช่นนี้มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ
จนกระทง่ั ถึงปจั จบุ ัน แนวความคิดเหล่านล้ี ้วนแตเ่ ป็นแนวคิดเกี่ยวกับอภปิ รัชญาท้งั นัน้

แนวความคิดเกีย่ วกับอภิปรัชญาจึงมวี วิ ฒั นาการมาเป็นเวลานาน และนักปรชั ญาจำนวนมากพยายามคิด
หาคำตอบให้แก่ตนเอง ซึ่งต่างคนก็ต่างมีแนวความคิดไปคนละอย่าง บางทัศนะก็มีนักปรัชญาเห็นพ้องต้องกัน
หลายคน จึงได้รวมกลมุ่ กันเกดิ เป็นลทั ธิหรอื ทฤษฎที างอภิปรชั ญาขึ้น ทฤษฎแี ต่ละทฤษฎพี ยายามทจ่ี ะค้นหาความ
จริงทางอภิปรัชญาหรือเกี่ยวกับเอกภพ เกี่ยวกับโลก เกี่ยวกับจิตวิญญาณ หรือแม้แต่เกี่ยวกับพระผู้เป็นเจ้า ใน
ปจั จุบันน้ี ทฤษฎีทางอภิปรัชญา มี 5 ทฤษฎี คอื

ทฤษฎสี สารนยิ ม

ทฤษฎีสสารนิยมหรือทฤษฎีวัตถุนิยม (Materialism) ได้แก่พวกที่ถือว่า สสารและปรากฏการณ์ของ
สสารเท่านั้นเป็นความแท้จริง จิตเป็นเพียงปรากฏการณ์ของสสาร ดังนั้น สรรพสิ่งในโลกล้วนแต่เป็นสสาร
ทฤษฎีสสารนิยมยุคแรก ๆ อาจได้แก่แนวความคิดทางธรรมชาติ ที่เราเรียกว่าธรรมชาตินิยม เพราะถือว่า สสาร
เป็นความแท้จริง ชีวิตคือพลังงานทางฟิสิกส์และเคมีที่ซับซ้อน ส่วนจิตคือปรากฏการณ์ทางสมองลักษณะของ
สสารนิยม จึงเป็นความพยายามที่จะหาคำตอบเกีย่ วกับเรือ่ งสสารโดยเฉพาะ แนวความคิดเกี่ยวกบั สสารนิยม จึง
แพร่หลายมาตั้งแต่สมยั กรีกโบราณ และมีทฤษฎีสสารนิยมเกิดขึ้นมากมายที่สำคัญทีส่ ุดได้แก่ ทฤษฎีจักรกลนิยม
(Mechanicism) ก่อตั้งโดย โธมัส ฮ็อบส์ (Thomas Hobbes) นักสสารนยิ มชาวองั กฤษ ถอื ว่า ชีวิตและความคิด
ทุกอย่างเกิดขึ้นตามกฎกลศาสตร์ทีต่ ายตวั โลกเปรียบเสมือนเครื่องจักรที่ตายตัวประกอบด้วยสสารและพลังงาน
ดังนัน้ สสารจึงเป็นความแท้จรงิ ส่วนจิตคอื การทำหนา้ ท่ีของสมอง

2. ทฤษฎจี ิตนิยม(IDEALISM)

ทฤษฎีจิตนิยม (Idealism) ไดแ้ ก่พวกท่ีถือว่า จิตเทา่ นัน้ เป็นความแท้จริง สสารเปน็ เพียงปรากฏการณ์
ของจิตเท่านั้น ชาวจิตนิยมเชื่อว่า จิต เป็นอมตะ ไม่สูญสลาย ร่างกายของมนุษย์เป็นเพียงปรากฏการณ์ช่ัว
ขณะหนึ่งของจติ เป็นทีอ่ าศัยชวั่ คราวของจติ เมอื่ ร่างกายดบั ลง จิตกย็ งั คงอยู่ ไม่แตกดับไปตามรา่ งกาย

3. ทฤษฎีเอกนยิ ม (Monism)

ทฤษฎีเอกนิยม (Monism) ได้แก่พวกที่ถือว่า ความแท้จริงของสรรพสิ่งมีเพยี งสิง่ เดียว จะเป็นรูปธรรม
(สสาร) หรือนามธรรม (จิต) ก็ได้ แสดงให้เห็นว่า ความจริงจะต้องมีเพียงสิ่งเดียวเท่านั้น กล่าวคือเอกนิยม เป็น
วิธีการทางปรัชญาที่พยายามที่จะตอบปัญหาเกี่ยวกับความจริงที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานที่ว่า ความจริงมีเพียงหนึ่ง
เทา่ นัน้ ที่อยู่เบ้อื งหลงั ของสรรพสิ่งและสิ่งมีชีวติ ทง้ั หลาย

4. ทฤษฎที วินยิ ม (Dualism)

ทฤษฎีทวินิยม (Dualism) ได้แก่พวกที่ถือว่า ความแท้จริงของสรรพสิ่งมี 2 อย่างเป็นของคู่กัน คือเป็น
ทั้งรูปธรรม (สสาร) และนามธรรม (จิต) มีนักปรัชญาจำนวนมากที่พยายามให้คำตอบเกี่ยวกับเรื่องของทวินิยม
เพราะเช่อื ว่ามนษุ ยเ์ รามที ัง้ รา่ งกายและจิตวญิ ญาณอยูค่ ู่กัน ทฤษฎที วนิ ยิ ม แบง่ ออกไปอกี ได้ 2 ทฤษฎี คือ

4.1 ทฤษฎรี ังสรรคน์ ิยม (Creationism) เป็นทยี่ อมรบั กนั ว่า ทฤษฎที วินิยม คอื ทฤษฎที ่ยี อมรับว่าความ
จรงิ มี 2 อย่างไดแ้ ก่ จติ กับรา่ งกาย จติ เป็นสภาวะที่ใหญก่ ว่าร่างกาย เพราะเปน็ ผูส้ ร้างสสาร เรยี กว่า พระผู้สร้าง

67

(The Creation) หลงั จากท่สี ร้างแลว้ กป็ ล่อยใหส้ สารอยดู่ ว้ ยตวั เอง พระผสู้ รา้ งมอี ำนาจในการควบคุมและทำลาย
สสาร พระผู้สร้างนี้ เป็นความแท้จริงสูงสุด เป็นอมตะ เป็นพระวิญญาณบริสุทธิ์ ส่วนจิตวิญญาณที่อยู่กับสสาร
เป็นจิตวิญญาณของมนุษย์ พระวิญญาณบริสุทธิ์ ทำหน้าที่จัดระบบสสาร เพราะสสารเป็นวัตถุ วิญญาณเป็นแบบ
ดังน้นั พระเจา้ จึงไมใ่ ช่สสาร แตเ่ ป็นแบบ

4.2 ทฤษฎีชีวสสารนิยม (Hylozoism) เรียกอกี อย่างหนึ่งวา่ ทฤษฎีจติ สสารนิยม เพราะเป็นทฤษฎีท่ีถือ
วา่ จิตกับสสารเป็นของคู่กนั จิตควบคมุ สสารได้

5. ทฤษฎีพหนุ ยิ ม (Pluralism)

ทฤษฎีพหุนิยม (Pluralism) ได้แก่พวกที่ถือว่า ความแท้จริงของปฐมธาตุมีจำนวนมากมาย อาจจะเป็น
รูปธรรม (สสาร) หรือนามธรรม (จติ ) กไ็ ด้ นนั่ คอื ความจริงแทข้ องสรรพส่งิ ไม่ข้นึ อยู่แก่กนั ต่างก็เปน็ อสิ ระในตวั เอง
ดังนั้น สรรพสิ่งที่มีจำนวนมากมายจึงไม่สามารถจะลดหรือทอนลงให้เหลือเพียงสิ่งเดียวได้ ทฤษฎีพหุนิยมนี้ท่ี
ยอมรับกนั อยา่ งกว้างขวาง แบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ทฤษฎีไดแ้ ก่

5.1 ทฤษฎีพหุนิยมฝ่ายจิต (Idealistic Pluralism) ได้แก่พวกที่ถือว่า ความแท้จริงของปฐมธาตุมี
มากมาย แตม่ ีลกั ษณะเป็นนามธรรม (จิต) เชน่ ปรชั ญาเก่ียวกับโมนาด (Monad) ของไลบ์นิซ (Leibniz) เป็นตน้

5.2 ทฤษฎีพหนุ ิยมฝา่ ยสสาร (Materialistic Pluralism) ไดแ้ กพ่ วกท่ถี ือวา่ ความแท้จริงของปฐมธาตุมี
มากมาย แต่มีลักษณะเป็นรูปธรรม (สสาร) เช่น ปรัชญาเกี่ยวกับปรมาณูนิยม (Atomism) ของเดโมคริตุส
(Democritus) ถือว่า ปฐมธาตุของโลกคือ “ปรมาณู” ปรมาณู เป็นบ่อเกิดของสรรพสิ่ง สรรพสิ่งเกิดมาจาก
ปรมาณู และจะกลายเป็นปรมาณูอีก กล่าวคือสรรพสิ่งในโลกประกอบด้วย ปรมาณู 4 อย่างคือ ดิน น้ำ ไฟ ลม
(พระมหาปพน กตสาโร, 2561)

ลัทธทิ างอภปิ รัชญา

จติ นยิ ม หรอื มโนคติวทิ ยา (Idealism)

ลทั ธิจติ นยิ ม (Idialism) เป็นลัทธปิ รชั ญาที่เก่าแกท่ สี่ ุดในบรรดาปรัชญาตา่ งๆมีกำเนิดพรอ้ มกบั การเริ่มต้น
ของปรชั ญา ปรชั ญาลทั ธนิ ีถ้ อื เรื่องจติ เป็นสงิ่ สำคัญ มีความเชือ่ ว่าสิง่ ทเี่ ปน็ จรงิ สูงสุดนนั้ ไมใ่ ชว่ ตั ถุหรอื ตวั ตน แตเ่ ป็น
เรื่องของความคิดซึ่งอยใู่ นจิต (Mine) ส่งิ ทเ่ี ราเหน็ หรือจับต้องได้น้นั ยังไม่ความจริงที่แท้ ความจริงท่ีแท้จะมีอยู่ใน
โลกของจิต (The world of mind) เท่านั้น ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นบิดาของแนวความคิดลัทธิปรัชญานี้ คือ พลาโต
(Plato) นกั ปรชั ญาเมธีชาวกรกี ซงึ่ มีความเช่ือว่าการศึกษา คอื การพฒั นาจติ ใจมากกว่าอยา่ งอืน่ (อุดมศักดิ์ มีสุข
, 2552)

เป็นลัทธิปรัชญาที่เก่าแก่ที่สุดในบรรดาปรัชญาต่างๆมีกำเนิดพร้อมกับการเริ่มต้นของปรัชญา ปรัชญา
ลัทธินี้ถือเรื่องจิตเป็นสิง่ สำคัญ มีความเชื่อว่าสิ่งที่เป็นจริงสูงสุดนั้นไม่ใช่วัตถุหรือตัวตน แต่เป็นเรื่องของความคิด
ซึ่งอยู่ในจิต (Mine) สิ่งที่เราเห็นหรือจับต้องได้นั้น ยังไม่ความจริงที่แท้ความจริงท่ีแท้จะมีอยู่ในโลกของจิต (The
world of mind) เทา่ นั้น ผทู้ ไี่ ด้ช่อื ว่าเปน็ บดิ าของแนวความคิดลัทธิปรัชญาน้ี คือ พลาโต (Plato) นักปรัชญาเมธี
ชาวกรกี ซึง่ มคี วามเช่ือว่าการศกึ ษา คอื การพฒั นาจติ ใจมากกว่าอย่างอ่ืน

68

ถ้าพจิ ารณาลทั ธปิ รชั ญาลัทธิจิตนยิ มในแงส่ าขาของปรชั ญา แตล่ ะสาขาจะไดด้ งั นี้
1.1 อภิปรชั ญา ถือเปน็ จริงสงู สดุ เป็นนามธรรมมากกว่ารูปธรรม ตอ้ งพัฒนาคนในด้านจติ ใจมากกว่าวตั ถุ
1.2 ญาณวทิ ยา ถอื ว่าความรูเ้ กิดจากความคิดหาเหตุผล และการวิเคราะห์แลว้ สรา้ งเป็นความคิดในจิตใจ

สว่ นความรู้ท่ีได้จากการสมั ผสั ดว้ ยประสาททั้ง 5 ไม่ใชค่ วามรู้ทแี่ ท้จรงิ
1.3 คุณวิทยา ถือว่าคุณค่าความดีความงามมีลักษณะตายตัวคงทนถาวรไม่เปลี่ยนแปลง

ในด้านจริยศาสตร์ ศีลธรรม จริยธรรมจะไม่เปลี่ยนแปลง ส่วนสุนทรียศาสตรน์ ั้น การถ่ายทอดความงาม เกิดจาก
ความคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละอดุ มการณอ์ ันสูงสง่

สรุปว่า ปรัชญาลัทธิจิตนิยมเป็นการพัฒนาด้านจิตใจ ส่งเสริมการพัฒนาทางด้านคุณธรรม จริยธรรม
ศิลปะต่างๆ การจัดการศึกษาตามแนวจิตนิยมจึงเน้นในด้านอักษรศาสตร์และศิลปะศาสตร์ เป็นผู้มีความรอบรู้
โดยเฉพาะตำรา การเรียนการสอนมักจะใช้ห้องสมุดเป็นแหล่งค้นควา้ และถา่ ยทอดเนื้อหาวิชาสืบต่อกันไป

สัจนยิ ม หรอื วตั ถนุ ยิ ม (Realism)

ลัทธิวัถุนิยม หรือสัจนิยม (Realism) เป็นลัทธิปรัชญาที่มีความเชื่อในโลกแห่งวัตถุ (The world of
things) มีความเชื่อในแสวงหาความจรงิ โดยจิตตามแนวคิดของจิตนิยมอย่างเดียวไม่พอ ต้องพิจารณาข้อเท็จจรงิ
ตามธรรมชาติด้วย ความจริงที่แท้คือ วัตถุที่ปรากฏต่อสายตา สามารถสัมผัสได้ สิ่งเหล่านี้เป็นพื้นฐานของ
การศกึ ษาทางด้านวทิ ยาศาสตร์ บิดาของลทั ธิน้ีคือ อริสโตเตลิ (Aristotle) นักปราชญช์ าวกรกี ลัทธิปรัชญาสาขาน้ี
เปน็ ต้นกำเนิดของการศกึ ษาทางงดา้ นวิทยาศาสตร์
ถ้าพจิ ารณาปรัชญาลัทธวิ ัตถุนยิ มในแง่สาขาของปรชั ญา (อุดมศกั ด์ิ มีสขุ , 2552) จะไดด้ ังน้ี

2.1 อภิปรัชญามีความเชือ่ ว่า ความจริงมาจากธรรมชาติ ซึ่งประกอบสิ่งที่เป็นวตั ถุสามารถสัมผัสจับต้อง
ได้ และพสิ ูจน์ได้ด้วยวิธวี ิทยาศาสตร์

2.2 ญาณวิทยา เชื่อว่าธรรมชาติเป็นบ่อเกิดของความรู้ทั้งมวลความรู้ได้มาจากการได้เห็นได้สัมผัสด้วย
ประสาทสมั ผัส ถ้าสังเกตไม่ได้มองไม่เห็น ก็ไมเ่ หน็ วา่ เปน็ ความรู้ท่แี ท้จรงิ

2.3 คณุ วทิ ยา เชอื่ วา่ ธรรมชาติสร้างทุกสง่ิ ทุกอยา่ งมาดีแลว้ ในดา้ นจรยิ ศาสตร์ก็ควรประพฤติปฏิบัติตาม
กฎธรรมชาติ กฎธรรมชาตกิ ็คือศลี ธรรมจรรยา ขนบธรรมเนียมประเพณี ซึง่ ใช้ควบคมุ พฤตกิ รรมมนุษย์ สว่ นสุนทรี
ศาสตรเ์ ปน็ เรอ่ื งของความงดงามตามธรรมชาติสะท้อนความงามตามธรรมชาติออกมา

สรุปว่า ปรัชญาลัทธิจิตนิยม เน้นความเป็นจริงตามธรรมชาติ การศึกษาหาความจริงได้จากการสังเกต
สัมผัสจับต้อง และเชื่อในกฎเกณฑ์ของธรรมชาติ การศึกษาในแนวลัทธิจิตนิยมเน้นวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เป็น
ตน้ กำเนดิ ของวิชาวทิ ยาศาสตร์

โทมัสนยิ มใหม่ (Neo-Thomism)

ปรัชญาโทมัสนิยมใหม่ มีแนวคิดเกี่ยวกับโลกและจักรวาล ว่าเป็น “โลกแห่งเหตุผล และการมีอยู่ของ
พระผู้เป็นเจ้า” (The World of Reason, Being/God) และมีแนวคิดว่าความรู้ที่แท้จริง คือ “ความรู้ที่เป็นไป
ตามหลกั เหตผุ ล และเป็นการหยัง่ รู้” (Truth as reason and intuition) แนวคดิ เกี่ยวกบั ความดี หรือจริยธรรม
ของนักปรัชญากลุ่มโทมัสนิยมใหม่ คือ “จริยธรรมเป็นการกระทำอย่างมีเหตุผล” แนวคิดเกี่ยวกับความงาม

69

หรือสนุ ทรียภาพ คือ “สุนทรยี ะ เปน็ สงิ่ ทก่ี ่อให้เกิดการหย่งั รูเ้ ชิงสรา้ งสรรค์ โดยอาศยั พุทธปิ ัญญา” นักปรัชญาคน
สำคัญ คอื Saint Thomas Aquinas (ภวิศา พงษเ์ ล็ก, 2560)

ประสบการณิยม หรือ ปฏบิ ัตนิ ยิ ม (Experitalism)

ลัทธิประสบการณ์นิยม (Experimentalism) เป็นปรัชญาที่มีชื่ออีกอย่างหนึ่งว่า ปฏิบัตินิยม
(Pragmatism) ปรัชญากลมุ่ นมี้ คี วามสนใจในโลกแหง่ ประสบการณ์ ฝา่ ยวตั ถนุ ิยมจะเชอ่ื ในความเปน็ จรงิ เฉพาะสิ่ง
ท่มี นุษย์พบเหน็ ไดเ้ ป็นธรรมชาติทป่ี ราศจากการปรงุ แตง่ เป็นธรรมชาตบิ รสิ ทุ ธิ์ ส่วนประสบการณน์ ิยมมไิ ด้หมายถึง
สิ่งที่เราพบเห็นในชีวิตประจำวันเท่านั้น แต่หมายรวมถึงสิ่งที่มนุษย์กระทำ คิด และรู้สึก รวมถึงการคิดอย่าง
ใครค่ รวญและการลงมือกระทำ ทำให้เกดิ การเปลยี่ นแปลงในผู้กระทำ กระบวนการทั้งหมดที่เกิดขึ้นครบถ้วนแล้ว
จึงเรียกว่าเป็น ประสบการณ์ ความเป็นจริงหรือประสบการณ์สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามเงื่อนไขแห่ง
ประสบการณ์ บุคคลที่เป็นผู้นำของความคิดนี้ คือ วิลเลียม เจมส์ (William,James) และจอห์น ดิวอิ้ (John
Dewey ชาวอเมรกิ นั วิลเลียม เจมส์ มคี วามเห็นวา่ ประสบการณ์และการปฏบิ ัติเปน็ ส่งิ สำคญั ส่วนจอหน์ ดิวอ้ิ เช่ือ
วา่ มนษุ ย์จะไดร้ บั ความรเู้ กยี่ วกบั สงิ่ ต่างๆจากประสบการณ์เทา่ นั้น (ภวิศา พงษ์เลก็ , 2560)

เป็นปรัชญาที่มีชื่ออีกอย่างหนึ่งว่า ปฏิบัตินิยม (Pragmatism) ปรัชญากลุ่มนี้มีความสนใจในโลกแห่ง
ประสบการณ์ ฝ่ายวัตถุนิยมจะเช่ือในความเป็นจรงิ เฉพาะสิง่ ที่มนุษย์พบเห็นได้เป็นธรรมชาติทีป่ ราศจากการปรุง
แต่งเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์ ส่วนประสบการณ์นิยมมิได้หมายถึงส่ิงที่เราพบเห็นในชีวิตประจำวันเท่านั้น แต่หมาย
รวมถึงสิ่งที่มนุษย์กระทำ คิด และรู้สึก รวมถึงการคิดอย่างใคร่ครวญและการลงมือกระทำ ทำให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงในผู้กระทำ กระบวนการทั้งหมดที่เกิดขึ้นครบถ้วนแล้ว จึงเรียกว่าเป็น ประสบการณ์ ความเป็นจริง
หรือประสบการณ์สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามเงื่อนไขแห่งประสบการณ์ บุคคลที่เป็นผู้นำของความคิดนี้ คือ วิ
ลเลียม เจมส์(William, James) และจอห์น ดิวอิ้ (John Dewey) ชาวอเมริกัน วิลเลียม เจมส์ มีความเห็นว่า
ประสบการณ์และการปฏิบัติเป็นสิ่งสำคัญส่วนจอห์น ดิวอิ้ เชื่อว่ามนุษย์จะได้รับความรู้ เกี่ยวกับสิ่งต่างๆจาก
ประสบการณเ์ ท่านน้ั
ถ้าพิจารณาปรชั ญาลทั ธิประสบการณ์นยิ มในแง่ของสาขาของปรชั ญาจะไดด้ ังน้ี

3.1 อภปิ รชั ญา เช่อื ว่าความจรงิ เป็นโลกแห่งประสบการณ์ ส่ิงใดทท่ี ำใหส้ ามารถไดร้ ับประสบการณ์ได้ ส่ิง
นนั้ คือความจรงิ

3.2 ญาณวิทยา เชื่อว่าความรู้จะเกิดขึ้นได้ก็ด้วยการลงมือปฏิบัติ กระบวนการแสวงหาความรู้ก็ด้วย
วธิ ีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific method)

3.3 คุณวิทยา เชื่อว่าความนิยมจะเกี่ยวกับการประพฤติปฏิบัติทางด้านศีลธรรม จรรยาเป็นสิ่งที่มนุษย์
สร้างและกำหนดขึ้นมาเอง และสามารถเปลี่ยนแปลงได้ ส่วนสุนทรียศาสตร์ เป็นเรื่องของความต้องการและ
รสนยิ มทีค่ นสว่ นใหญ่ยอมรับกนั

สรุปว่า ปรัชญาลัทธิประสบการณ์นิยม เน้นให้คนอาศัยประสบการณ์ในการแสวงหาความเป็นจริงและ
ความรู้ต่าง ๆ ได้มาจากประสบการณ์ การศึกษาในแนวลัทธิปรัชญานี้เน้นการลงมือกระทำเพื่อหาความจริงด้วย
คำตอบของตนเอง

70

อตั ถิภาวนยิ ม หรืออัตภาวะนยิ ม (Existentialism)

ลัทธิอัตถิภาวะนิยม (Existentialism) เป็นลัทธิปรัชญาที่เกิดหลังสุด มีแนวความคิดที่น่าสนใจและท้า
ทายต่อการแสวงหาของนักปรัชญาในปัจจุบัน เล็งเห็นว่าแก่นแท้หรือสารัตถะของมนุษย์ คือ เสรีภาพ ซ่ึง
หมายความว่า มนุษย์เกิดมาโดยไม่มีอะไรเป็นสมบัติติดตัวมา แก่นแท้ หรือสารัตถะของมนุษย์ คือ การไม่มีอะไร
เลยมาแตเ่ กิดท่ีจะเรียกไดว้ ่าความเปน็ มนุษย์ ถ้ายอมเรยี กความไม่มีหรือสุญตานวี้ ่าสารัตถะได้ กใ็ ห้เรียกต่อไป แต่
ถ้าถือว่าเป็นคำพูดที่ไร้สาระ ก็ขอให้พูดใหม่ว่ามนุษย์ไม่มีสารัตถะ แต่มีเพียงความมีอยู่ หรืออัตถิภาวะ
(Existence) อย่างบริสุทธิ์ ซึ่งทำให้มนุษย์แต่ละคนต้องสร้างตัวเองขึ้นมาจากการไม่มีอะไรเลยในขณะแรกเกิด
ตามลำดับโดยการตัดสินใจเลือก ผู้ให้กำเนิดแนวความคดิ ใหม่ ได้แก่ ซอเร็น คีร์เคอร์การ์ด (Soren Kierkegard),
ฌ็อง ปอล ซารต์ (Jean Paul Sartre) (วารีญา ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม, 2547)

เป็นลัทธิปรัชญาที่เกิดหลังสุด มีแนวความคิดที่น่าสนใจและท้าทายต่อการแสวงหาของนักปรัชญาใน
ปัจจุบัน (กีรติ บุญเจือ 2522) Existentialism มีความหมายตามศัพท์ คือ Exist แปลว่าการมีอยู่ เช่น ปัจจุบัน มี
มนุษย์อยู่ก็เรียกว่า การมีมนุษย์อยู่หรือ Exist ส่วนไดโนเสาร์ไม่มีแล้ว ก็เรียกว่ามันไม่ Exist คำว่า
Existentialism จึงหมายความว่า มีความเชื่อในสิ่งที่มีอยู่จริงๆ เท่านั้น (The world of existing)หลักสำคัญ
ปรัชญาลัทธิน้ีมอี ยู่ว่า การมีอยู่ของมนษุ ย์มีมาก่อนลักษณะของมนุษย์(Existence precedes essence) ซึ่งความ
เช่อื ดังกล่าวขัดกบั หลักศาสนาครสิ ต์ ซึ่งมีแนวความคิดวา่ พระเจา้ ทรงสร้างมนุษย์และสรรพสิ่งในโลก ก่อนท่ีจะลง
มือสร้างมนุษย์พระเจ้ามีความคิดอยู่แล้วว่ามนุษย์ควรจะเป็นอย่างไร ควรจะมีลักษณะอย่างไร ควรจะประพฤติ
ปฏิบัติอย่างไร ทั้งหมดเป็นเนื้อหาหรือสาระ ลักษณะของมนุษย์มีมาก่อนการเกิดของมนุษย์ มนุษย์จะต้องอยู่ใน
ภาวะจำยอมที่จะต้องปฏิบัติตามพระประสงค์ของพระเจ้า หมดเสรีภาพที่จะเลือกกระทำตามความต้องการของ
ตนเองปรัชญาลัทธิอัตถิภาวะนิยมไม่ยอมรับแนวคิดดังกล่าว มีความเชื่อเบื้องต้นว่า มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความ
วา่ งเปล่า ไมม่ ีลักษณะใด ๆ ติดตวั มา ทุกคนมีหน้าทเ่ี ลือกลักษณะหรือสาระต่างๆให้กับตวั เอง การมีอยู่ของมนุษย์
(เกิด) จึงมีมาก่อนลักษณะของมนุษย์หลักสำคัญของปรัชญานี้จะให้ความสำคัญแก่มนุษย์มากที่สุด มนุษย์ มี
เสรีภาพในการกระทำสง่ิ ตา่ งๆได้ตามความพอใจและจะตอ้ งรับผดิ ชอบในส่ิงทเี่ ลือก
ถ้าพจิ ารณาลัทธิอตั ถภิ าวนิยมในแง่สาขาของปรชั ญาจะไดด้ งั น้ี

4.1 อภิปรัชญา ความจริงเป็นอย่างไร ขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคลจะพิจารณา และกำหนดว่าอะไร
คือความจริง

4.2 ญาณวิทยา การแสวงหาความรู้ขึน้ อยู่กบั แตล่ ะบคุ คลทีจ่ ะเลอื กสรรเพ่ือให้สามารถดำรงชีวติ อยู่ได้
4.3 คณุ วิทยา ทุกคนมเี สรภี าพทจี่ ะเลอื กคา่ นิยมทตี่ นเองพอใจด้วยความสมคั รใจส่วนความงามนั้นบุคคล
จะเป็นผเู้ ลอื กและกำหนดเอง โดยไม่จำเปน็ จะตอ้ งใหผ้ อู้ น่ื เขา้ ใจ
สรุปว่า ปรัชญาลัทธิอัตถิภาวนิยม เป็นปรัชญาที่ให้ความสำคัญแก่มนุษย์ว่ามีความสำคัญสูงสุด มีความ
เปน็ ตวั ของตวั เอง สามารถเลือกกระทำส่งิ ใดๆไดต้ ามความพอใจ แตจ่ ะต้องรับผดิ ชอบในสงิ่ ท่กี ระทำ การศึกษาใน
แนวลัทธิปรัชญานี้จะให้ผู้เรียนมีอิสระในการแสวงหาความรู้ เลือกสิ่งต่างๆได้อย่างเสรี มีการกำหนดระเบียบ
กฎเกณฑ์ขน้ึ มาเอง แต่ต้องรับผดิ ชอบตอ่ ตนเองและสงั คม

71

สรุป
อภปิ รัชญา

จากการศึกษาเรื่องของปรัชญา จะเห็นได้ว่าปรัชญามีบ่อเกิดมาจากความสงสัย หรือความประหลาดใจ
เริ่มต้นตั้งแต่สมัยกรีกโบราณ ซึ่งมีความสงสัยเกี่ยวกับปฐมธาตุของโลก ต่างคนต่างพยายามหาคำตอบเกี่ยวกับ
คำถามทวี่ า่ อะไรเป็นปฐมธาตขุ องโลก หรอื อะไรเปน็ บ่อเกิดของโลก บางคนบอกวา่ นำ้ เป็นปฐมธาตุของโลก บาง
คนบอกวา่ ดนิ เป็นปฐมธาตุของโลก เหล่าน้ีเปน็ ตน้ การยดึ ถอื แนวความคดิ อย่างนี้ลว้ นแล้วแต่เกิดข้ึนมาจากความ
สงสยั เพอื่ ต้องการค้นหา หรอื สบื ค้นความแทจ้ รงิ ของโลก

นักปรัชญาอนิ เดียโบราณ ก็มคี วามสงสัยเกี่ยวกบั ปรากฏการณท์ างธรรมชาติ เช่น ดวงอาทติ ย์ ดวงจันทร์
ฝนตก เป็นต้น ท่านเหล่านั้นคิดว่าเหตุที่เป็นเช่นนั้น อาจจะเป็นเพราะมีเทพเจ้าสิงอยู่ อาจจะเป็นเพราะมีพ ระผู้
เป็นเจ้าผู้สร้าง มีลักษณะการสร้าง การควบคุมดูแล และการทำลาย ใช่หรือไม่ จึงพยายามค้นหาความเป็นจริง
ของโลก
ต่อมานักปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่ ก็มีความสงสัยเกี่ยวกับสิ่งใกล้ตัวนั่นคือสงสัยเกี่ยวกับตัวตน เกี่ยวกับวิญญาณ
เก่ียวกับพระเจ้า แล้วพยายามสืบคน้ หาหลกั ฐานอ้างอิงเพื่อหาความจริงของสิ่งเหลา่ นี้ เม่อื เปน็ เช่นนี้ ความสงสัย
จึงเป็นบ่อเกิดแห่งปรัชญา เพราะเป็นบ่อเกิดแห่งความคิด และการคิดก็ก่อให้เกิดการคิดหาเหตุผล การวิเคราะห์
วจิ ารณต์ ่อมา

เราจะสังเกตเห็นว่า แนวคิดเรื่องแรกที่นักปรัชญาค้นคิดก็คือเรื่องเกี่ยวกับโลก หรือปรากฏการณ์ทาง
ธรรมชาติ เชน่ อะไรเปน็ ปฐมธาตขุ องโลก ฝนตก ฟา้ รอ้ ง เหลา่ นเี้ กดิ มาจากอะไร เป็นสิง่ ท่ีมอี ย่อู ย่างแท้จริงหรือไม่
ลักษณะการคิดเช่นนี้ เป็นการคิดเกี่ยวกับสาขาของปรัชญาสาขาหนึ่ง ซึ่งเรียกว่า “อภิปรัชญา” (Metaphysics )
นน่ั เอง

72

อ้างองิ

ปิยะฤทธิ์ พลายมณ.ี (2556). พระพุทธศาสนากับปญั หาทางอภปิ รัชญา.
ผศ.วธิ าน สุชวี คุปต์. (2561). อภิปรชั ญา,11,สำนักพิมพ:์ มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง.
พระมหาปพน กตสาโร. (2561). การวเิ คราะห์อภิปรัชญาทีป่ รากฏในสารตั ถะแหง่ คัมภีร์มลิ นิ ทปญั หา
(หน้า 44-45), มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณร์ าชวทิ ยาลัย. สืบคน้ 3 มีนาคม 2564 จาก
http://202.28.52.4/userfiles/file
ภวศิ า พงษเ์ ลก็ . (2560). หลักการและปรัชญาการศึกษา. อดุ รธาน.ี
วารีญา ภวภตู านนท์ ณ มหาสารคาม. 2547. ปรัชญาอตั ถิภาวะนิยม.
อดิศักด์ิ ทองบญุ . (2546).คูม่ ืออภปิ รชั ญา.กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน.
สบื ค้น 20 กุมภาพันธ์ 2564 จาก https://www.car.chula.ac.th
อดศิ ักด์ิ ทองบญุ , (2526). คู่มืออภปิ รัชญา. กรงุ เทพมหานคร :สำนักพิมพ์ประยรู วงศ์ จำกดั .
สืบคน้ 22 กุมภาพันธ์ 2564 จาก http://www.homebankstore.com
อุดมศักด์ิ มสี ขุ . (2552). ปรัชญาและปรชั ญาการศกึ ษา. กรุงเทพมหานคร.

73

บทท่ี 4

ญาณวทิ ยาและคุณวิทยา

ความหมายและความสำคญั ของญาณวิทยา

ญาณวิทยา (Epistemology) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติของความรู้หรือการรับรู้สิ่งต่าง ๆ
ของบคุ คล พฒั นาความรเู้ ก่ียวกับความจรงิ ด้วยการคดิ จากการสังเกตและจากตรรกวิทยา ด้วยการหาเหตผุ ลแบบ
นิรนัย (deductive) (อันเป็นการหาความจริงโดยอ้างว่าสิ่งหนึ่งเป็นความจริง เพราะสอดคล้อง
กับสิ่งที่เราทราบว่าเป็นจริงและถือเป็นหลักอยู่แล้ว) และแบบอุปนัย (inductive) (อันเป็นการหาความจริง
โดยนำเอาความจริงหรือประสบการณ์ย่อยหลาย ๆ ประสบการณ์ มาสรุปเป็นความจริงหลัก) นอกจากนี้ คนเรา
ยังพัฒนาความรู้โดยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การหยั่งรู้ ( intuition) และการสัมผัส (senses)
(padveewp. 2563)

ญาณวิทยา เป็นการอธิบายถึงสิ่งที่เกี่ยวข้องกับความรู้ การรับรู้ซึ่งจะส่งผลต่อวิธีการสอน
และการเรียนรู้ หากครูเชื่อว่าสรรพสิ่งดำรงอยู่โดยมีโครงสร้างเป็นลำดับชัดเจนก็จะมีการสอนที่เป็นระบบ
มีลำดับขั้น เพื่อที่จะเป็นต้นแบบให้สำหรับนักเรียน ครูเหล่านี้จะใช้เนื้อหาวิชาที่ถ่ายทอดแนวคิดเกี่ยวกับ
ความเป็นจริงสู่นักเรียน ในทางตรงกันข้าม ถ้าครูเชื่อว่ากระบวนการที่เราเรียนรู้ มีความสำคัญอย่างย่ิง
ครกู ็จะสนับสนุนให้กำลงั ใจนักเรียนในการหาวธิ เี พ่อื แก้ปญั หา(padveewp. 2563)

ญาณวิทยา (epistemology) เป็นสาขาใหญ่อีกสาขาหนึ่งของปรัชญา ซึ่งเกี่ยวกับการสืบถาม
ถึงกำเนิดของความรู้ โครงสร้างของความรู้ วิธีการของความรู้และความเที่ยงตรงถูกต้องของความรู้
ดังนั้น ญาณวิทยาจึงเป็นเรื่องทฤษฎีของความรู้ (theory of knowledge) ซึ่งมุ่งในเรื่องปัญหาของความรู้ว่า
“มนุษย์รู้ได้อย่างไรว่าอะไรเป็นความแท้จริง” “มนุษย์มีความรู้ได้อย่างไร” “เราแน่ใจได้อย่างไรว่าความรู้
ต่าง ๆ เป็นจรงิ ไมผ่ ิดพลาด” เหลา่ นเี้ ป็นต้น(padveewp. 2563)

ญาณวิทยาไม่เหมือนวิทยาศาสตร์หรือศาสตร์แขนงอื่น เพราะญาณวิทยาจะสนใจในเรื่อง
มโนทัศน์ (concept) มากกว่าจะสนใจเรื่องข้อเท็จจริง (fact) เช่น งานของนักจิตวิทยาก็เพื่อจะค้นหา
ว่าบุคคลมี ควา ม คิ ดแ ละรู ้สึ กอย ่า ง ไร ส่วนงานของ นั ก ญา ณว ิท ยา นั ้นจ ะมุ ่ง พิจ าร ณ า ว่ า
มโนทัศน์ของฝ่ายจิตวิทยาแต่ละอย่างนั้นหมายถึงอะไร เช่น มโนทัศน์จากคำว่าความรู้สึก ( feeling)
การกำหนดรู้หรือสัญฐาน (perception) การเรียนรู้ (learning) และการเสริมแรง (reinforcement)
เป็นต้น นอกจากนี้ยังตัดสินหรือชี้ว่านักจิตวิทยาได้ใช้มโนทัศน์เหล่านั้นถูกต้องหรือไม่ ถ้าไม่ถูกต้อง
ก็หมายถึงว่านักจิตวิทยาได้บรรยายขอ้ เท็จจรงิ ผิดพลาดไปความคิดเหน็ ของครูที่จะได้ประโยชน์ท่ีสำคัญจากญาณ
วทิ ยาก็คอื จะทำให้ครูมองเหน็ ความแตกต่างของความรู้ประเภทตา่ ง ๆ ได้ (padveewp. 2563)

74

วิธกี ารรับรู้
เนื่องจากการศึกษาเป็นเรื่องของการถ่ายทอดความรู้ ปรัชญาแขนงนี้จึงมีส่วนสัมพันธ์กับการศึกษา

อยู่มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนที่เกี่ยวกับหลักสูตรและการสอน ญาณวิทยาได้ให้พื้นฐานความเข้าใจเกี่ยวกับ
ความรู้ใน 2 ลักษณะ คือ แบบต่าง ๆ ของการรู้ (เรารู้ได้อย่างไร) และประเภทต่าง ๆ ของความรู้ วิธีการ
ทีจ่ ะช่วยให้เรารสู้ งิ่ ต่าง ๆ นั้นมอี ยู่หลายวิธี แต่วธิ ที จ่ี ะใหค้ วามรู้ที่แทจ้ ริงมากท่สี ดุ น้นั มอี ยู่ 5 วิธคี อื

1. การรู้โดยข้อมูลทางผัสสะ (Sense Data) ผัสสะ หมายถึง การรู้หรือการรับรู้
จากการใช้ประสาทสัมผัสทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ทางใดทางหนึ่งหรือหลาย ๆ ทางพร้อมกัน ข้อมูลทางผัสสะ
เป็นวธิ กี ารหนงึ่ ของการรบั รูเ้ พ่ือนำไปส่คู วามรู้ท่เี ชื่อถือได้

2. การรู้โดยสามัญสำนึก ( Common Sense) สามัญสำนึก หมายถึงความรู้สึก
หรือการรับรขู้ องคนแตล่ ะคนท่ีมีรว่ มกับคนอ่ืน โดยที่ไมจ่ ำเป็นตอ้ งมาคิดค้นไตรต่ รองเสยี ก่อน มนุษย์เมื่อเผชิญกับ
เหตุการณ์หรือสถานการณ์บางอย่างสามารถตัดสินได้ว่าอะไรผิด อะไรถูก อะไรควร อะไรไม่ควรได้ทันที
โดยอาศัยสามัญสำนกึ

3. การรู้โดยตรรกวิธี (Logic) ตรรกวิธีหรือตรรกวิทยา เป็นวิธีการสำคัญที่นักปรัชญา
ใช้ในการตัดสินความถูกต้องของความรู้ความจริง เป็นวิธีการที่อาศัยหลักของเหตุผล ความน่าเชื่อถือ
อยทู่ ีเ่ หตผุ ล

4. การรู้โดยการหย่ังรู้ หรือญาณทัศน์ (Intuition) การรู้โดยการหยัง่ รู้หรอื ญาณทัศน์เปน็ การรู้
โดยอาศัยความคิดหรือจินตนาการที่อาศัยสติปัญญาเป็นหลัก การหยั่งรู้ของมนุษย์นั้นมีหลายระดับ
ขน้ึ อยกู่ บั ระดบั ความคิดและสตปิ ัญญาของแตล่ ะคน ในระดบั สูงสุดของการหย่ังรูโ้ ดยใชส้ มาธิและปัญญาก็คือ การ
ตรัสรู้อยา่ งทีเ่ กิดขน้ึ กับพระพทุ ธเจา้ มาแลว้

5. การรู้โดยวิธีวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) การรู้โดยวิธีวิทยาศาสตร์ เป็นการรู้โดย
อาศัยการสังเกตและการทดลองเพือ่ พิสูจน์ว่าความรู้ที่ได้จากการสงั เกตหรือการสัมผัสเป็นความรู้ทีถ่ ูกต้อง เมื่อมี
การทดลองซำ้ ๆ จนได้คำตอบไม่เปลี่ยนแปลงได้ กถ็ อื ไดว้ ่าเป็นความรู้ทแี่ ท้จริงตราบเท่าท่ผี ลการพิสูจน์ยังไม่เป็น
อยา่ งอืน่ ปรชั ญาโดยปกติจะไมใ่ ชว้ ธิ วี ิทยาศาสตร์เพ่อื ผลิตความรู้ แต่อาจจะใชว้ ธิ วี ิทยาศาสตร์เพื่อทดสอบความ
ถูกต้องของความคิดหรือประสบการณ์ อีกลักษณะหนึ่งของญาณวิทยาคือ การจำแนกประเภทของความรู้โดย
อาศยั แหลง่ ทม่ี าและวิธกี ารไดม้ าซง่ึ ความรู้ ออกเปน็ 5 ประเภทคอื

1. ความรู้ประเภทคัมภีร์ (Revealed Knowledge) ซึ่งเป็นความรู้ที่พระผู้เป็นเจ้าประทาน
ให้แก่ศาสดา เพื่อนำไปเผยแพร่แก่มวลมนุษย์ ส่วนมากจะเป็นความรู้ที่ประมวลไว้ในพระคัมภีร์ทางศาสนา
หลักสูตรและการสอนในโรงเรียนและสถานศึกษามักจะมีการนำเอาความรู้ประเภทนี้บรรจุไว้ใน
หลกั สูตร โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ในสว่ นทเี่ กีย่ วกับการใชค้ วามรู้เพอ่ื การพัฒนาจติ ใจ

2. ความรู้ประเภทตำรา (Authoritative Knowledge) เป็นความรู้ที่ได้จากการบอกเล่า
บันทึก หรือการถ่ายทอดจากผู้คงแก่เรียน หรือผู้รู้ในเรื่องต่าง ๆ ถือตัวผู้ที่เป็นปราชญ์หรือผู้เชี่ยวชาญน้ัน ๆ เป็น
แหล่งของความรู้ ผลงานของผู้รู้ที่เขียนเป็นคำมาไว้จึงเป็นประเภทหนึ่งของความรู้ที่ใช้อ้างอิงกันโดยทั่วไป

75

แหลง่ ความรปู้ ระเภทน้ีอาจจะสมบูรณ์ถูกต้องหรือไม่ถูกต้องทั้งหมดก็ได้ ข้ึนอย่กู ับความเช่ือถือและการพิสูจน์โดย
วธิ กี ารอ่นื ๆ

3. ความรู้ประเภทญาณทัศน์ (Intuitive Knowledge) เป็นความรู้ที่เกิดจากการหยั่งรู้โดย
ญาณ การหย่งั รอู้ าจจะเกิดจากการครนุ่ คิดไตรต่ รองเพื่อหาคำตอบเรื่องใดเรื่องหน่ึง เพอื่ ให้พ้นสงสัยแต่คิดไม่ออก
หรอื หาคำตอบไม่ได้ แต่จู่ ๆ กเ็ กดิ ความรู้ในเร่ืองนั้นผุดข้ึนมาในความคิดและได้คำตอบโดยไม่คาดฝัน ในบางกรณี
เมื่อมีแรงดลใจหรือจินตนาการบางอย่างก็เกิดการหยัง่ รู้ขึ้น ความรู้ที่ได้จากญาณทัศน์นี้เป็นจุดกำเนิดของความรู้
เชิงปรชั ญา ทฤษฎที างวิทยาศาสตร์ หรอื งานสร้างสรรคท์ างด้านศลิ ปกรรมและวรรณกรรม

4. ความรู้ประเภทเหตุผล (Rational Knowledge) เป็นความรู้ที่ได้มาจากการใช้ หลักของ
เหตุผล ซึ่งเปน็ วธิ ีการทางตรรกวิทยา ส่วนใหญ่จะเป็นความร้ทู ี่เกดิ จากการอ้างอิงความจริงหรือความรู้ที่มีอยู่แล้ว
เพือ่ นำไปสู่ความรใู้ หม่

5. ความรู้เชิงประจักษ์ (Empirical Knowledge) เป็นความรู้ที่ได้จากวิธีการทางวิทยาศาสตร์
และผัสสะประกอบกัน การสังเกต การทดลอง การพิสูจน์ความจริงด้วยวิธีการที่เหมาะสมโดยมีการเก็บรวบรวม
วิเคราะห์ และแปลความหมายของข้อมูลด้วยวธิ ีการเชิงวิทยาศาสตร์ เปน็ แหล่งทมี่ าของความรู้ประเภทนี้ ซึ่งเป็น
รากฐานของการวิจัยค้นควา้ ในยุคปัจจุบนั (padveewp. 2563)

ความสมั พนั ธข์ องญาณวทิ ยากับศาสตร์ตา่ งๆ

ภวิศา พงษเ์ ลก็ (2560).ไดอ้ ธบิ ายความสัมพนั ธข์ องญาณวิทยากับศาสตร์ต่างๆ ไวด้ งั น้ี

ญาณวทิ ยากับวิทยาศาสตร์และสามญั สำนึก

โดยทั่วไปความรมู้ อี ยู่ 3 แบบ คอื ความร้สู ามัญหรือสามัญสำนึก ความร้ทู างวทิ ยาศาสตร์ และความรู้ทาง
ญาณวิทยา ความรู้สามัญอาจเป็นความรู้เรื่องเดียวกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์และความรู้ทางญาณวิทยา แต่
ความรู้สามัญไม่ได้อาศัยหลักฐานทางวิทยาศาสตร์และการคิดหาเหตุผลตามหลักตรรกวิทยา จึงเป็นทัศนะ
ที่ยังไม่ชัดเจน ยังไม่มีเหตุผลเพียงพอ สามารถอธิบายความแต่ต่างระหว่างความรู้สามั ญกับความรู้
ทางวิทยาศาสตรด์ ังตอ่ ไปนี้

1. ความรู้สามัญเป็นความรู้ที่ว่าด้วยข้อเท็จจริงเป็นอย่างๆ ข้อเท็จจริงเหล่านั้น
ไม่มีความสัมพันธ์กัน จึงไม่มีลักษณะเป็นสากล ส่วนความรู้ทางวิทยาศาสตร์ว่าด้วยลักษณะทั่วๆไป
ของขอ้ เทจ็ จรงิ และข้อเท็จจริงเหล่านั้นมีความสมั พันธก์ ันจงึ มลี ักษณะเปน็ สากล

2. ความรู้สามัญเป็นความรู้ที่ไม่แน่นอน ยังมีข้อที่น่าสงสัย เพราะเป็นความคิดเห็นส่วนบุคคล
ส่วนวทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ ความร้ทู ี่แน่นอน เพราะอาศัยหลกั ฐานทมี่ เี หตผุ ลและไดร้ ับการพสิ ูจนแ์ ละทดลองแล้ว

3. ความรู้สามัญเป็นความรู้ที่ไม่แม่นตรง เพราะขึ้นอยู่กับการคาดคะเน ส่วนวิทยาศาสตร์
เปน็ ความร้ทู แ่ี มน่ ตรง เพราะอาศยั การสังเกตท่ถี กู ตอ้ งอาศัยการพิสูจน์ทดลองและอาศัยการวดั ปรมิ าณ

76

4. ความรู้สามญั เป็นความรู้ที่ไมเ่ ปน็ ระบบ ไม่มีวธิ ีการของตนเอง ส่วนวิทยาศาสตร์เป็นความรู้ท่ี
เปน็ ระบบและมีวธิ ีการของตนเอง

ความรู้สามัญกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์จึงไม่แตกต่างกันในเรื่องระดับ กล่าวคือ วิทยาศาสตร์
นำความรู้สามัญมาจดั ระบบใหมใ่ ห้มเี หตผุ ล ส่วนญาณวิทยานำเอาทั้งความรสู้ ามัญและความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไป
จัดระบบใหมด่ ้วยการคิดหาเหตผุ ลอีกต่อหนึ่ง ความรสู้ ามญั ความร้ทู างวิทยาศาสตร์ และความรู้ทางญาณวิทยาจึง
เปน็ ความรู้ 3 ระดบั คือ

ระดับตำ่ ได้แก่ ความรสู้ ามญั
ระดับกลาง ได้แก่ ความร้ทู างวิทยาศาสตร์
ระดับสงู ไดแ้ ก่ ความร้ทู างญาณวิทยา
ความรูท้ างวิทยาศาสตร์กับความรู้ทางญาณวิทยาเมื่อนำมาเปรยี บเทยี บกนั แล้วมีทั้งด้านที่เหมือนกันและแตกต่าง
กันและเกีย่ วขอ้ งกนั
1. ในด้านที่เหมอื นกัน ท้ังวทิ ยาศาสตรแ์ ละญาณวิทยาศึกษาค้นควา้ ในเร่ืองเดยี วกนั เชน่ เรอื่ งสสาร เป็น
ความรู้ทมี่ รี ะบบและมีเหตผุ ลลดหลัน่ กัน
2. ในด้านทต่ี า่ งกันมีดงั นี้
2.1 วทิ ยาศาสตรศ์ ึกษาเรื่องโลกเป็นส่วนๆและวทิ ยาศาสตร์แบง่ ออกเปน็ สาขาต่างๆ แต่ละสาขา
ศกึ ษาคน้ ควา้ อยูใ่ นขอบเขตของตน ส่วนญาณวิทยาศึกษาเร่ืองโลกทั้งหมดโดยสว่ นรวม
2.2 วทิ ยาศาสตร์ต้ังสมมตฐิ านและพลงั งาน แล้วยดึ ถอื สมมติฐานนัน้ ว่าเป็นความจริงโดยไม่ต้อง
พิสจู น์ ญาณวทิ ยาไมม่ สี มมตฐิ านแตพ่ ิสจู น์ความสมเหตสุ มผลของสมมติฐานของวทิ ยาศาสตร์
2.3 วิทยาศาสตร์มองโลกในด้านปริมาณมากกวา่ ด้านคุณภาพ ญาณวิทยามองโลกในดา้ น
คณุ ภาพเท่านั้น
2.4 วิทยาศาสตรศ์ กึ ษาข้อเท็จจริงเปน็ อย่างๆ ญาณวิทยาประเมินค่าข้อเท็จจรงิ สบื คน้ ถงึ คุณคา่
และความสัมพันธ์ระหว่างคณุ คา่ กบั ข้อเท็จจรงิ
2.5 วธิ ขี องวิทยาศาสตร์ ได้แกก่ ารสังเกต การทดลอง การจัดประเภท การอธบิ าย
การวิเคราะห์ การสงั เคราะห์ การอนุมาน และการอุปมาน สวนวธิ ีของญาณวิทยา คือ การคิดหาเหตผุ ลจาก
ประสบการณ์ทัว่ ไปและประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ ด้านท่เี กี่ยวข้องกนั ญาณวทิ ยานำความร้ทู างวทิ ยาศาสตร์
มาคิดหาเหตผุ ล และจัดระบบใหมแ่ ละวิทยาศาสตรอ์ าศยั ญาณวิทยาไปพสิ จู นส์ มมติของวิทยาศาสตร์ ตลอดจน
อาศยั ญาณวทิ ยาเปน็ หลกั การและจดุ หมายในการดำเนนิ การ
ญาณวิทยากับจติ วิทยา
จติ วทิ ยาเป็นศาสตร์ท่ีศกึ ษาเกย่ี วกับเร่ืองจิตและขบวนการของจิตโดยเฉพาะ เพอ่ื แสดงใหเ้ ห็นว่าความรู้ที่
เจรญิ งอกงามในจิตของแต่ละคนน้ันเปน็ มาอยา่ งไร เพอ่ื จะวิเคราะห์ให้เห็นว่าสภาพและขบวนการที่จิตของคนเรา
ได้พัฒนาขึ้นจากภาวะเบื้องต้นที่เรียกว่าง่ายที่สุดต่อการเข้าใจ จนถึงภาวะที่สลับซับซ้อน เพื่ออธิบายให้เห็น
ขบวนการตลอดจนสภาพอนั แท้จรงิ ของจติ

77

จิตวิทยาไม่พยายามจะศึกษาค้นคว้าไปถึงความรู้ที่ถูกต้อง คือศึกษาเพียงวิวัฒนาการของความรู้
และไม่ศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติและความถูกต้องของความรู้ เมื่อจิตได้แสดงให้เห็นถึงวิวัฒนาการทางด้านจิตใจ
ของมนษุ ย์ ก็ทำใหเ้ กดิ ปญั หาขึ้นมาว่า ความรเู้ ป็นไปได้อย่างไร แลว้ มนษุ ยจ์ ะรสู้ ง่ิ ตา่ งๆไดอ้ ยา่ งไร

จิตวิทยาศึกษาค้นคว้าข้อเท็จจริงต่างๆเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์ ส่วนญาณวิทยา
ศึกษาข้อเท็จจริงต่างๆของโลกมนุษย์ที่เป็นไปได้ จิตวิทยาได้สมมติสิ่งที่มีอยู่ว่าเป็นจิตและเป็นโลก
และการที่จะมีความรู้เกี่ยวกับโลกก็โดยอาศัยจิตเป็นผู้รู้ แต่ว่าญาณวิทยาพยายามที่จะศึกษาค้นคว้า
ถึงธรรมชาติ บ่อเกิด ขอบเขต เหตปุ ัจจยั ท่ีทำให้เกดิ ความรขู้ ้นึ

ญาณวิทยาเป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยความรู้เป็นการศึกษาค้นคว้าถึงธรรมชาติ บ่อเกิดขอบเขต เหตุปัจจัย
ทที่ ำให้เกิดความรู้ และพยายามทจ่ี ะอธบิ ายหรอื ตอบปญั หาต่อไปนี้

- ความรเู้ ปน็ สิ่งท่มี ีอยูจ่ ริงหรือไม่
- ความร้เู กดิ ข้ึนไดอ้ ยา่ งไร
- อะไรเป็นธรรมชาติที่แทจ้ รงิ ของความรู้
- ความรู้มีขอบเขตแค่ไหน เพยี งไหน
- ประสบการณ์หรอื การคดิ หาเหตผุ ลเป็นบอ่ เกดิ ของความรู้
- ความรู้ชว่ ยใหเ้ ขา้ ถึงความแทจ้ รงิ ได้หรือไม่
- อะไรเปน็ เครอ่ื งทดสอบวา่ ความรูเ้ ปน็ จรงิ หรอื คลาดเคลื่อน
- ความรู้ที่สมเหตุสมผลมีเงื่อนไขอย่างไร
- มนษุ ยส์ ามารถรูโ้ ลก วญิ ญาณ และพระผเู้ ป็นเจา้ ไดห้ รอื ไม่
- จติ ทกี่ ำจดั สามารถรสู้ ่ิงที่ไม่จำกัดไดห้ รอื ไม่
ญาณวิทยากบั อภิปรชั ญา
ญาณวิทยา ศึกษาเรื่องกำเนิดของความรู้ ธรรมชาติของความรู้ ความสมเหตุสมผลของความรู้ ขอบเขต
และข้อจำกัดของความรู้ ซึ่งเป็นการศึกษาสภาพทั่วๆไปของความรู้อย่างกว้างๆ ส่วนอภิปรัชญาศึกษา
เรื่องธรรมชาติที่แท้จริงเกี่ยวกับโลก วิญญาณ หรือพระผู้เป็นเจ้า การที่เราเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องธรรมชาติ
ที่แท้จริงของโลกวิญญาณ หรือจิตพระผู้เป็นเจ้านั้น ต้องอาศัยญาณวิทยาเป็นเครื่องพิสูจน์ความจริงเกี่ยวกับ
สิ่งเหล่านี้ ดังนั้น อภิปรัชญาจะต้องใช้ญาณวิทยาเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าธรรมชาติที่แท้จริงของสิ่งที่มีอยู่ ถ้า
ถือว่าจะได้ประโยชน์จากการศึกษาค้นคว้าธรรมชาติของสิ่งที่มีอยู่จริง ญาณวิทยาย่ อมเป็นพื้นฐาน
หรอื มลู ฐานท่ที ำให้เกดิ ปรัชญาน้ัน
นักปราชญ์ตั้งสมมติฐานขึ้นว่าสัจธรรมมีอยู่จริง แล้วก็พยายามที่จะประมวลทุกสิ่งทุกอย่างในสากล
จักรวาลว่าเป็นสัจธรรม โดยปราศจากการค้นคว้าเข้าไปถึงปัญหาที่ว่าสามารถที่จะรู้มันได้หรือไม่
แต่ก็เป็นการเชื่อถือกันมาชนิดฝังหัว ถึงแม้ว่าญาณวิทยาเป็นสิ่งที่จำเป็น เรียกว่าเป็นขั้นบันไดขั้นแรก
นำไปสู่วิทยาศาสตร์ ดัง จอห์น ลอค นักปรัชญาประจักษนิยมชาวอังกฤษ ได้กล่าวไว้ว่า “ถ้าไม่มีญาณวิทยา
เป็นองคป์ ระกอบแลว้ ปรัชญาก็ไม่สมบรู ณ”์ ความจริงญาณวทิ ยากับอภิปรัชญามคี วามสัมพันธก์ นั อย่างใกล้ชิด ซึ่ง
สิ่งหนึ่งจะปราศจากอีกสิ่งหนึ่งย่อมเป็นไปไม่ได้ ทฤษฎีว่าด้วยความรู้นำไปสู่ความรู้สิ่งต่างๆ

78

ทฤษฎีแต่ละทฤษฎีก็ช่วยให้เข้าใจเฉพาะสิ่ง ความรู้ช่วยให้เข้าใจสัจธรรม สัจธรรมเป็นสิ่งที่เราไม่สามารถ
จะเข้าใจได้นอกจากว่าจะมีวิธีการ(ญาณวิทยา) ทำให้มีความสัมพันธ์กับความรู้ ปัญหาเกี่ยวกับความถูกต้อง
และธรรมชาติของความรู้ และปัญหาที่เกี่ยวกับธรรมชาติที่แท้จริง ความจริงก็เป็นวิธีการที่อธิบายสิ่งเดียวกัน
ถงึ แมจ้ ะแยกออกเปน็ ญาณวิทยากับอภิปรชั ญาก็ช่วยให้มนุษยเ์ ข้าใจสิง่ ทั้งหลายตามความเปน็ จริงอย่างมวี ธิ กี าร

อภิปรัชญาและญาณวิทยาต่างต้องอาศัยซึ่งกันและกัน เพื่อค้นคว้าหาความจริงของสิ่งทั้งหลาย
อย่างถูกตอ้ ง(วรเทพ ว่องสรรพการ. 2546)

ญาณวิทยากับตรรกวิทยา
ญาณวิทยา เป็นการศึกษาถึงกำเนิดธรรมชาติ ขอบเขตและความสมบูรณ์ของความรู้ ศึกษาถึงปัจจัย

ท่ีจะให้เกดิ ความรู้อยา่ งสมบรู ณ์
ตรรกวิทยา หมายถึงศาสตร์แห่งการใช้ความคิด ( Science of Thinking) การใช้ความคิด

กเ็ พอื่ หาความจริงหรือความรูม้ าป้อนจิตและมนั สมอง ตรรกวทิ ยาศึกษาคน้ คว้าถึงธรรมชาตแิ ละความสมบูรณ์แห่ง
การอนมุ าน(Inference) แบบต่างๆ ทั้งนิรภยั (Deduction) และอปุ มัย(Induction)

ตรรกวิทยาหลีกเลี่ยงที่จะแตะต้องอภิปรัชญา แต่ญาณวิทยาจำต้องสืบค้นถึงธรรมชาติของสัจจธรรมซ่ึง
เกี่ยวข้องกับสัจธรรมโดยตรง ดังนั้น ญาณวิทยาจึงมีความสัมพันธ์กับอภิปรัชญาอย่างใกล้ชิดมากกว่า
ญาณวิทยาสืบค้นถึงเหตุปัจจยั ทั่วๆไปที่ทำให้เกิดความรู้เท่านั้น มิได้สืบค้นถึงขบวนการพิสจู น์เพื่อทำให้หลักฐาน
การพิสจู น์สมบรู ณย์ งิ่ ขึ้น (วรเทพ วอ่ งสรรพการ. 2546)

ปรชั ญาลัทธกิ บั ญาณวิทยา

ปรัชญาจิตนิยม (Idealism) ปรชั ญาจติ นิยมเปน็ ปรัชญาสาขาเก่าแก่ทสี่ ุด ตน้ กำเนดิ ปรัชญาอาจย้อนไป
ถึงปรัชญาอินเดียโบราณและกรีกโบราณ ซึ่งมีพลาโต (Plato) ปรัชญาเมธีชาวกรีก เป็นผู้ให้กำเนิด
กลมุ่ ปรัชญาน้ี มีความเช่ือวา่ 1) จิตมนษุ ย์เป็นสิง่ ทม่ี ีความสำคญั ทส่ี ดุ ในชวี ติ 2) จกั รวาลโดยธรรมชาติสงู สดุ เป็นส่ิง
ที่ไม่ใช้วัตถุโดยเนื้อแท้ ปรัชญากลุ่มนี้จึงมีความสำคัญของจิต สาระสำคัญของปรัชญาจิตนิยม
Callahan and Clark มีดงั นี้

ญาณวิทยาของจิตนิยม ญาณวิทยาหรือทฤษฎีความรู้ของปรัชญามโนคตินิยมนี้เชื่อว่า
ความรู้เป็นอิสระจากประสบการณ์ และเกิดขึ้นภายในจิตใจ ดังนั้น ความรู้ที่เกิดขึ้นอย่างนี้จึงเป็นการหยั่งรู้
(intuition) มนุษย์จะเข้าใจความจริงโดยไม่ต้องใช้การสัมผัสต่าง ๆ และจะรับรู้ความจริงโดยการใช้เหตุผล
หรอื การใชต้ รรกะจากความคดิ ขอแต่ละคน (บ้านจอมยทุ ธ. 2563)

ปรัชญาวัตถุนิยม,สัจจะนิยม,ประจักษ์นิยม (Realism) เป็นปรัชญาที่มีต้นคิดมาจากปรัชญากรีก
ผู้เป็นบิดาของปรัชญาสาขานี้คือ Aristotle ซึ่งมีชีวิตอยู่ระหว่าง 384-322 ปีก่อนคริสตกาล สาระสำคัญ
ของกลมุ่ ปรชั ญานี้ มีดังนี้ Callahan and ; Ornstein Levine and Gutek,

79

ญาณวิทยาของป ร ะจั กษ์นิ ย ม ญาณวิทยาหรื อท ฤ ษฎี คว าม รู ้ข องป รัช ญ านี ้เช ื ่ อว่ า
มนุษย์เมื่อแรกเกิดจิตจะว่างเปล่า หลังจากนั้นก็จะเกิดการรับรู้ต่าง ๆ (sensations) นั่นก็คือ มนุษย์จะเกิดการ
เรียนรู้ความรู้จึงมาจากการสัมผัสหรือมีประสบการณ์ (sense experience) ต่อเหตุการณ์หรือสิ่งต่าง ๆ
การเรียนรู้ในวิธีนี้คือลักษณะการเรียนรู้เชิงประจักษ์ ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อค้นพบธรรมชาติ
อันแท้จริงของโลกภายนอก อย่างไรก็ตาม มนุษย์สามารถใช้ประโยชน์จากความรู้โดยใช้เหตุผล
เพื่อค้นหาวัตถุประสงค์และความสัมพันธ์ที่บุคคลไม่สามารถรับรู้ได้ ซึ่งเป็นวิธีการที่ไม่ปฏิเสธแนวคิดเชิงเหตุผล
ทงั้ หมด เพราะเมอื่ ไดค้ วามรู้จากประสบการณ์ก็สามารถนำเหตุผลมาพจิ ารณาประกอบ(บา้ นจอมยุทธ. 2563)

ปรัชญาประสบการณ์นิยม ปรัชญาสาขานี้ได้ต้นเค้าความคิดจากปรัชญาประจักษ์นิยมที่เกิดข้ึน
ในองั กฤษ ในครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 17 ตอ่ มาในกลุ่มนักปรัชญาและจติ วิทยาชาวอเมริกนั คือ วลิ เลียม เจมส์ (William
James) แ ล ะ จ อ ห ์ น ด ิ ว อ ี ้ ( John Dewey) น ำ ห ล ั ก ก า ร ข อ ง ป ร ั ช ญ า ป ร ะ จ ั ก ษ ์ น ิ ย ม ไ ป พ ั ฒ น า
ขึ้นเป็นปรัชญาการศึกษา โดยเฉพาะปรัชญานี้มีชื่อเรียกหลายชื่อ ได้แก่ “Experimentalism หรือ Positizism
หรอื Intrumentalism” สาระสำคัญของปรัชญาน้ีมีดังน้ี

ญาณวิทยาของประสบการณ์นิยม ปรัชญานี้ถือว่าความรู้จะเกิด ขึ้นอยู่กับประสบการณ์
ที่ได้รับ ซึ่งปรากฏการณ์ต่าง ๆมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา จึงควรให้ความสนใจกับวิธีที่จะสร้างความรู้
ในโลกท่มี กี ารเปล่ยี นแปลงอยูต่ ลอดเวลา(พระปรียะพงษ์คุณปญั ญา. 2557)

ปรัชญาอัตภาวนิยม ปรัชญาสาขานี้มี (Soren Kirtkegaard) เป็นต้นคิด โดยพยายามอธิบายว่า
ความจริงไม่สามารถแยกจาก อยู่เหนือความเข้าใจของมนุษย์ แต่ขึ้นอยู่กับความชอบและประสบการณ์ชีวิต
ของมนษุ ย์ สาระสำคญั ของปรชั ญากลุ่มน้ี มดี ังน้ี

ญาณวิทยาของอัตภาวนิยม บุคคลจะเรียนรู้โดยผ่านประสบการณ์ แต่ประสบการณ์
ก็มีหลายระดับ ระดับที่มีความหมาย คือระดับของการตระหนักรู้ และเข้าใจ (awareness) ถึงความคงอยู่ ความ
จริง ความสัมพันธ์กับการตัดสินใจของแต่ละคน ความจริงแท้ไม่มี แต่ละคนจะเป็นผู้ตัดสินใจเองว่า
อะไรเป็นจรงิ และมีความสำคญั สำหรบั เขา(บา้ นจอมยุทธ. 2563)

ปรัชญาสมัยใหม่ (Postmodernism) ผู้ให้กำเนิดคือ นักปรัชญาชาวเยอรมัน Friedrich Nietzsche
และ Martin Heidegger เขาให้ความเห็นว่ายุคสมัยใหม่ได้สิ้นสุดลงแล้ว ช่วยนี้คือยุคหลังสมัยใหม่
เขาปฏิเสธแนวคิดแบบอภิปรัชญา เกี่ยวกับความจริงแท้สมบูรณ์และนำเสนอปรัชญาที่เรียกว่า
ปรากฏการณ์นิยม (Phenomenology) ไฮเดคเกอร์ กล่าวว่า มนุษย์สร้างความจริงของตัวเขาเองจากการหยั่งรู้
การรบั รู้ และการคิดคำนง่ึ เมอื่ เขาเผชิญกับปรากฏการณต์ ่าง ๆ แต่ความคดิ สมยั ใหมเ่ สนอวา่ ไม่มีศนู ยก์ ลางความ
เป็นหนง่ึ เดียว และสังคมดำรงอยู่อยา่ งแตกตา่ งหลากหลาย (diversity) ความคดิ และแนวคิดใด ๆ ท้งั หมด จึง
เป็นเรื่องที่ได้รับการแสดงออกในรูปภาษาโดยที่ภ าษาหรือจะใช ้ภาษาสื่อความหม าย นั้น
ล้วนแล้วแต่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ทางอำนาจอันซับซ้อน สิ่งสำคัญ ที่สุดที่กล่าวที่ทำให้ได้ก้าวสู่
ยุคหลังสมัยใหม่ (postmodernism era) คือความคิดที่ว่าสิ่งที่เป็นจริง (the real) กับสิ่งที่ปรากฏ (apparent)
นน้ั อาจไม่ใชเ่ รอ่ื งเดยี วกนั (บ้านจอมยุทธ. 2563)

80

ความหมายและความสำคญั ของคุณวทิ ยา

นักการศึกษาในสาขาวิชาต่าง ๆ ได้กำหนดความหมายของคำว่า “ค่านิยม” (value) ไว้ต่างๆกัน
Rokeach ได้ให้ความหมายไว้ว่า ค่านิยมคือรูปแบบของความเชื่อ (belief) ที่แต่ละคนยึดถือว่าแต่ละคน
ควรจะปฏิบัติตนอย่างไรหรือสิ่งใดที่มีคุณค่า ไม่มีคุณค่า ค่านิยมจะสัมพันธ์กับทุกสิ่งโดยทั่วไปและมีอิทธิพล
ต่อพฤติกรรมของบุคคล ค่านิยมเป็นมาตรฐานในการตัดสินในว่าสิ่งใดเลวหรือดี และใช้ในการคัดสินพฤติกรรม
ของแต่ละบคุ คลดว้ ย(วรเทพ ว่องสรรพการ. 2546)

ความหมายของค่านิยมในหนังสือเล่มนี้ ถ้าใช้เป็นคำนามให้ความหมายเป็น “ค่านิยม”
และถ้าเป็นคำกริยาจะให้ความหมายเป็น “คุณค่า” ถ้าเป็นคำนาม บางครั้งก็เป็นนามธรรม ( abstract)
และบางครั้งก็เป็นนามธรรม (concrete) ถ้าเป็นนามธรรมจะเป็นลักษณะค่านิยมหรือเป็นสิ่งที่มีคุณค่า
ในความหมายลักษณะนี้จะให้ความหมายที่หมายถึง มีราคา (worth) หรือความดี (goodness) และในกรณี
ที่เป็นความเลวก็จะหมายถึง ความไม่มีคุณค่า ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเป็นค่านิยมทา งลบ (negative value)
แต่ถ้าเป็นค่านิยมในทางความดีก็เรียกได้ว่าเป็นค่านิยมทางบวก (positive value) ส่วนค่านิยมที่เป็นรูปธรรม
เป็นได้ทั้งคุณค่าเดียวหรือหลายคุณค่า ซึ่งหมายถึงการที่จิตหรือเจตคติของมนุษย์ตีคุณค่าหรือให้คุณค่า
ต่อสิ่งต่าง ๆ ดังนั้น ค่านิยมเกี่ยวข้องกับทั้งคุณลักษณะของค่านิยมและกับกระบวนการของการตีคุณค่า
หรือใหค้ ุณค่า

Good ไดใ้ หค้ วามหมายของคา่ นิยมตามแนวของสงั คมวา่ “คา่ นิยมเป็นเรื่องของความสนใจ เช่น ค่านิยม
ในศิลปะก็เป็นความสนใจของผู้ซึ่งได้กลั่นกรองรสนิยมและพัฒนาอำนาจในตัวของเขาต่องานศิลปะ
ต่าง ๆ ถ้าผู้ที่สนใจเกี่ยวกบั ชา่ งไม้ก็กำหนดคณุ ค่าในด้านการใชป้ ระโยชน์ในการให้ความหมายเกี่ยวกับการศึกษา
จ ะ ห ม า ย ถ ึ ง บ ร ร ท ั ด ฐ า น ( norm) ห ร ื อ ม า ต ร ฐ า น ( standard) ข อ ง ค ว า ม ป ร า ร ถ น า ภ า ย ใ น
แต่ละวัฒนธรรมของปัจเจกบุคคลที่สัมพันธ์เกี่ยวข้องกับการศึกษาและการวิเคราะห์สิ่งแวดล้อม”
ความเกี่ยวข้องกันระหว่างคุณวิทยากับค่านิยมและลักษณะต่าง ๆ ของค่านิยม (the relevance of axiology
and value and value characteristics) (วรเทพ วอ่ งสรรพการ. 2546) Runes ไดก้ ล่าวว่า ปญั หาของคณุ วทิ ยา
จะเกีย่ วข้องกับคา่ นยิ ม เป็น 4 กลุ่มด้วยกนั คือ

1.ลักษณะของค่านิยม (nature of value) ปัญหาเกี่ยวกับลักษณะค่านิยม เช่น ค่านิยม
เกี่ยวข้องกับสิ่งต่อไปนี้หรือไม่ ได้แก่ ความปรารถนา (desire) ความสนุกสนาน (pleasure) ความสนใจ
(interest) ความชอบ (preference) เจตจำนงที่มีเหตุผล (rational will) บุคลิกภาพ (personality) และการ
ปฏิบัติ (pragmatic) เป็นตน้

2.รูปแบบของคา่ นิยม (type of value) ปรชั ญาเมธีสาขาครุ วิทยานจ้ี ะแยกค่านิยมออกเป็น 2
แบบ คือ ค่านิยมภายในตัวของมันเอง (intrinsic value) และค่านิยมที่เป็นเครื่องมือ (instrumental value)
ค่านิยมภายในตัวของมันเอง โดยทั่วไปจะกำหนดคุณค่าตามแนวของศีลธรรม หรือตามความจริง ความสวยงาม
และความศักดิ์สิทธิ์ ส่วนค่านิยมที่เป็นเครื่องมือจะสามารถวินิจฉัยคุณค่าโดยอาศัยองค์ประกอบหรือเคร่ืองมือใน
เรื่องของเศรษฐกิจ สินค้า และเหตุการณ์ต่างๆ ตามธรรมชาติค่านิยมจะเกี่ยวข้องและรับรูไ้ ด้โดยทางร่างกายของ

81

มนุษย์ และการที่มนุษย์รักในสัจจะ ( truth) มนุษย์จึงมีค่านิยมด้านความเชื่อในเรื่องต่าง ๆ
เชน่ ในเร่ืองศาสนา โดยหวังจะไดร้ ับผลที่ตดิ ตามมาจากความเชอื่ เหลา่ นนั้

3. เกณฑ์มาตรฐานของค่านิยม (criterion of value) มาตรฐานสำหรับทดสอบค่านิยมน้ัน
จะอยู่ภายในหลักของจิตวิทยาและทฤษฎีทางตรรกวิทยา เช่นบางกลุ่มก็เชื่อว่า การมีความสนุกสนานมากน้อย
เพียงใดนั้นย่อมขึ้นอู่กับปัจเจกบุคคล (individual) หรือขึ้นอยู่กับสังคม บางกลุ่มก็ถือว่าการชอบในสิ่งหน่ึง
มากกว่าอีกสิ่งหนึ่งนั้นขึ้นอยู่กับการสำนึกเอง (intuitive) บางกลุ่มก็ถือเอาการปรับตัวเข้ากับธรรมชาติ
เปน็ มาตรฐานของคา่ นิยม เช่น กลุม่ ธรรมชาตนิ ิยม (naturalism) เป็นตน้

4. สถานภาพทางกายภาพของค่านิยม (physical status of value) อะไรคือความสัมพันธ์
ของค่านิยมกับความจริงของประสบการณ์ของมนุษย์ในเรื่องค่านิยมที่แท้จริงของความเป็นอิสระของมนุษย์ซึ่ง
สามารถสืบหาดว้ ยวธิ ีทางธรรมชาตวิ ทิ ยา มีคำตอบท่ีเปน็ ไปได้ 3 ประการ คือ

4.1 โดยสรา้ งความสมั พนั ธ์ระหว่างค่านิยมกับประสบการณ์ของมนษุ ย์ทมี่ ตี ่อคา่ นยิ มนั้น
4.2 โดยอาศัยคุณค่าทางตรรกวิทยา ซึ่งค่านิยมนี้ไม่จำเป็นต้องเห็นหรือมีตัวตนอยู่สิ่งนั้นก็
สามารถมคี ณุ ค่าได้
4.3 โดยกำหนดคุณค่าของวัตถุโดยให้สัมพันธ์กับกรกระทำของมนุษย์ ในส่วนที่คุณวิทยาจะ
เกี่ยวข้องกับการศึกษานั้น Kneller ได้กล่าวไว้ว่า คุณวิทยาจะต้องเกี่ยวข้องกับคำถามหลักในการศึกษา
อยู่ 3 คำถามด้วยกัน คือ
4.3.1 ค่านิยมต่าง ๆ เป็นอัตนัย (subjective) หรือปรนัย (objective) นั่นคือ ค่านิยม
เก่ียวขอ้ งกับบุคคล (personal) หรือไม่ใชบ่ ุคคล (impersonal)
4.3.2 คา่ นยิ มมีการเปล่ียนแปลงหรือคงท่ี
4.3.3. คา่ นยิ มมเี ปน็ ลำดบั ข้นั หรือไม่
ค่านิยมต่าง ๆ เป็นปรนัยหรืออัตนัย ค่านิยมที่เป็นปรนัย (objective) เป็นค่านิยมที่มีอยู่ในตัว
ของมันเอง โดยไม่เกี่ยวกับความชอบหรือไม่ชอบของมนุษย์ เช่น ความดี สัจจะ และความสวยงาม สิ่งเหล่านี้ถือ
เป็นความแท้จริงอันยิ่งใหญ่และเป็นส่วนธรรมชาติของสรรพสิ่ง ค่านิยมของสรรพสิ่งมีคุณค่าเป็นจริง
ในตัวของมันเองการกระทำมีคุณภาพดีตามเน้ือหาหรือตามธรรมชาติของการกระทำนั้น สรรพสิ่งมีความสวยงาม
ในตัวของมันเอง ดังนั้น ในเรื่องของการศึกษา การศึกษาจึงเป็นค่านิยมปรนัยโดยที่มันมีคุณค่า
ในตวั ของมนั เอง ไมว่ ่าใครจะชอบหรอื ไมช่ อบ หรือคดิ กบั มันอยา่ งไรกต็ ามที
ค่านิยมที่เป็นอัตนัย (subjective) เป็นค่านิยมที่ขึ้นอยู่กับความชอบหรือไม่ชอบของมนุษย์
โดยนัยนี้ค่านิยม อัตตนัย มนุษย์จะเป็นผู้กำหนดคุณค่าหรือให้คุณค่ากับมัน อะไรก็ตามที่มีคุณค่า
ค่านิยมอัตนัยนี้จะถือว่า มันมิได้มีคุณค่าในตัวของมันเองแตอ่ ย่างใด ดังเช่น “การศึกษา” มีคุณค่าก็เพราะมนุษย์
แต่ละคนกำหนดคุณค่าให้กับมัน และการศึกษาจะไม่มีคุณค่าใด ๆ เลย ถ้าบุคคลไม่ได้ให้คุณค่า
กับการศกึ ษา หรือไมเ่ หน็ ความสำคญั หรอื ความจำเป็นใด ๆ เช่นนีเ้ ป็นตน้
ค่านิยมมีการเปลี่ยนแปลงหรือคงที่ ปัญหาที่ถกเถียงกันว่า ค่านิยมลักษณะแท้จริงตลอดไปหรือไม่
ปัญหานี้เกิดขึ้นเพราะเราได้พบว่า มีค่านิยมที่มีคุณค่าที่ยอมรับกันมาตั้งแต่อดีตมาจนกระทั่งในปัจจุบัน

82

คุณค่านั้นก็ยังคงอยู่ ไม่ว่าจะเป็นชนชาติใดผิวสีอะไร ก็ยอมรับในค่านิยมนั้น เช่น ความใจบุญสุนทาน (charity)
ซึ่งเป็นค่านิยมที่มนุษย์ทั่วไปให้คุณค่าว่าดีมาตลอดทุกยุคทุกสมัย และเราก็ยังได้พบว่าค่านิยมเป็นจำนวนมาก
เกี่ยวข้องหรือมีคุณค่าเพราะความปรารถนาของมนุษย์เอง แต่ความปรารถนาของมนุษย์ย่อมเปลี่ยนแปลงได้
ดังนั้น ค่านิยมที่เกิดขึ้นเพราะความปรารถนาของมนุษย์ก็ย่อมเปล่ี ยนไปด้วย การเปลี่ยนแปลงเช่นนี้
อาจเนื่องมาจากสาเหตุหลายประการ เช่น เงื่อนไขต่าง ๆ ทางประวัติศาสตร์ ลัทธิความเชื่อศาสนาใหม่ ๆ
การค้นพบวิทยาศาสตร์ใหม่ ๆ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ความก้าวหน้าทางการศึกษาและอื่น ๆ
ซ่ึงส่งิ เหลา่ นีท้ ำให้เกิดความเชอื่ อยา่ งมนั่ คงขน้ึ ได้

ค่านิยมมีเป็นลำดับขั้นหรือไม่ การตอบคำถามนี้ย่อมขึ้นอยู่กับค่านิยมที่แต่ละบุคคลหรือกลุ่มบุคคลยึด
ปรัชญาที่ต่างกัน เช่นฝ่ายที่ยึดปรัชญาลัทธิจิตนิยม (idealism) จะมีการลำดับค่านิยมโดยให้ค่านิยม
ทางวิญญาณสูงกว่าทางวัตถุ และเมื่อเป็นเช่นนี้ก็จะเห็นคุณค่าทางศาสนาสูง เพราะถือว่าสานาจะช่วยให้บุคคล
บรรลุถึงเป้าหมายปลายทางสุดท้าย นั่นคือวิญญาณจะประสบสุข ฝ่ายที่ยึดปรัชญาลัทธิ สัจนิยม
ก็จะเชื่อในการการลำดับขั้นของค่านิยม โดยให้คุณค่าทางเหตุผลและประจักษ์สูงเพราะฝ่ายนี้ถือว่าเหตุผล
หรือการประจักษ์จะช่วยมนุษย์ปรับตัวเข้ากับจุดมุ่งหมายที่แท้จริง กฎของธรรมชาติและกฎทางตรรกวิทยาได้
ฝา่ ยนยิ มปรัชญาลัทธิปฏิรปู นิยม จะปฏิเสธวา่ ไม่มีการลำดับข้นั ของค่านยิ มท่ตี ายตัวแน่นอน ฝ่ายน้ีเชื่อว่ากิจกรรม
อย่างหนึ่งจะดีเท่า ๆ กับกิจกรรมอีกอย่างหนึ่ง ถ้ากิจกรรมนั้นเป็นที่พอใจและสนองความต้องการ
และนั่นคือคุณค่าของสิ่งนั้นหรือกิจกรรมนั้น และยังเชื่อว่าค่านิยมที่มีคุณค่าพิเศษก็คือการให้คุณค่า
ที่มอี ย่ดู ียิ่งข้ึนไปอกี Butler ไดส้ รุปลกั ษณะของคา่ นิยมไวเ้ ป็น 4 ประการด้วยกันคือ

1. ค่านิยมขึ้นอยู่กับความสนใจของบุคคลซึง่ พอใจในค่านิยมเหล่านั้น กล่าวคือ ค่านิยมจะมีได้ก็
ต่อเมอ่ื มนุษย์ใหก้ ารสนับสนนุ ด้วยความสนใจของมนุษย์ท่ีมีต่อสงิ่ นัน้ (ค่านิยมเป็นอัตนยั และไมค่ งท)่ี

2. ค่านิยมมีอยู่ในตัวของมันเอง คือ เป็นอิสระจากความสนใจและการให้คุณค่าของมนุษย์
(ค่านยิ มจะเปน็ ปรนยั และคงท)ี่

3. ค่านิยมที่เกิดขึ้นด้วยความรู้สึกที่มีความสุขในปัจจุบัน และเป็นทางไปสู่ความดีต่าง ๆ ใน
ประสบการณท์ ่ีจะได้ในอนาคตด้วย

4. คา่ นยิ มทีม่ นุษย์พอใจ และมคี วามสมั พันธ์กบั ส่วนต่าง ๆ ของมนษุ ยท์ งั้ หมดรวมทงั้ สง่ิ แวดล้อม
ด้วย
ปรัชญาแขนงที่มุ่งวิเคราะห์คุณค่าหรือค่านิยมเกี่ยวกับความดีและความงาม มีลักษณะเป็นปรัชญาชีวิต
ที่มงุ่ ศึกษาแนวความคดิ และความเช่อื ของมนุษย์เก่ียวกับสิง่ ที่ดีงามและมคี ุณค่าใน 2 แง่ คอื

1. จริยศาสตร์ (Ethics) เป็นเรื่องของความดี ความถูกต้องของแนวทาง ความประพฤติ
ความหมายของชีวิต ชีวิตที่ดีมีลักษณะอย่างไร อะไรคือสิ่งที่น่าพึงปรารถนาที่สุดของชีวิต ความดีคืออะไร
เอาอะไรมาเป็นเกณฑ์วดั ความดคี วามชั่ว

2. สุนทรียศาสตร์ (Aesthetics) เป็นเรื่องของความงาม การาจะตัดสินว่าอะไรสวย อะไรงาม
ใช้เกณฑ์อะไร มีเกณฑ์ที่จะวัดได้จริงหรือไม่ สุนทรียศาสตร์มุ่งศึกษาคุณค่าเกี่ยวกับความงามของศิลปะ
ความไพเราะแห่งดนตรี ความงามแหง่ ธรรมชาติ (วรเทพ ว่องสรรพการ. 2546)

83

ปรชั ญาลัทธกิ ับคุณวิทยา

ปรชั ญากลุ่มลัทธิจติ นยิ ม Butler ได้จัดแบ่งทฤษฎคี ่านิยมของลัทธจิ ิต นยิ มออกเปน็ 3 ลักษณะ คือ
1. ค่านิยมที่มนุษย์มีความปรารถนาและพึงพอใจจะเป็นค่านิยมที่ฝังราก นั่นคือถือว่าเป็นค่านิยมที่มีอยู่

โดยแทจ้ รงิ
2. ค่านิยมเรื่องชีวิตมนุษย์เป็นสิ่งกว้างใหญ่ เพราะปัจเจกบุคคลครอบครองค่านิยมและพึงใจในค่านิยม

เหลา่ นัน้ ตา่ ง ๆ กัน
3. ทางสำคญั ทางหนึ่งท่ีทำใหบ้ ุคคลรู้ค่านิยมก็คือ การปฏิบตั ขิ องบุคคลน้นั ๆ ที่เก่ียวข้องหรือสัมพันธ์กับ

ส่วนต่าง ๆ และทัง้ หมดของสง่ิ แวดลอ้ ม
ค่านิยมที่มนุษย์มีความปรารถนาและพึงพอใจ จะเป็นค่านิยมที่มีอยู่โดยแท้จริงซึ่งชี้ให้เห็นว่า

การท่มี นุษยส์ ามารถรู้วา่ วัตถมุ อี ยู่ในโลกนีเ้ ป็นการมอี ยู่ชั่วคราว และไมม่ ีคุฯค่าอะไรสำหรบั มนุษย์
ค ่ า น ิ ย ม ข อ ง ป ร ั ช ญ า ก ล ุ ่ ม ล ั ท ธ ิ ส ั จ น ิ ย ม ( realism) ล ั ก ษ ณ ะ ข อ ง ค ่ า น ิ ย ม ข อ ง ป ร ั ช ญ า

กลุ่มลัทธินิยมนี้มีลักษณะคล้ายกับค่านิยมของปรัชญากลุ่มลัทธิจิตนิยมที่ยึดถือว่า ลักษณะความจำเป็นเบื้องต้น
ของค่านิยมเป็นความถาวรเบื้องแรกแต่แตกต่างในตัวของมันเองตามเหตุผลของการคิด ฝ่ายลัทธิสัจนิยม
จะเห็นด้วยกับ Aristotle ว่ามีกฎศีลธรรมของจักรวาลอยู่และใช้ประโยชน์ได้ด้วยการใช้เหตุผลซึ่งผูกมัด
ให้มนษุ ยเ์ ป็นสิง่ มชี วี ิตท่ีมีเหตผุ ล ฝา่ ยลัทธิสัจนยิ มของศาสนาคริสต์ยอมรบั วา่ มนุษยส์ ามารถเขา้ ใจกฎศีลธรรมนี้ได้
มากโดยการใช้เหตุผลแต่เป็นการเชื่อว่า กฎต่าง ๆ เหล่านั้นสร้างขึ้นโดยพระเจ้ามอบให้มนุษย์ปฏิบัติ
และยึดถือ และโดยที่ความเชื่อทางศาสนาคริสต์เชื่อว่ามนุษย์มีบาปหรือมลทินติดมาแต่กำเนิดที่เรียกว่า
“บาปกำเนดิ ” ดังน้นั มนุษยจ์ ึงไมอ่ าจปฏบิ ัติเรื่องคา่ นิยมไดโ้ ดยปราศจากการชว่ ยเหลือของพระเจา้

ป ร ั ช ญ า เ ม ธ ี ฝ ่ า ย ล ั ท ธ ิ ส ั จ น ิ ย ม ท ี ่ เ ก ี ่ ย ว ก ั บ ว ิ ท ย า ศ า ส ต ร ์ จ ะ ป ฏ ิ เ ส ธ ค ่ า น ิ ย ม ท ี ่ ก ล ่ า ว ถ ึ ง น้ี
โดยไม่เช่ือความศักดิ์สิทธิที่มีอำนาจเหนือธรรมชาติแต่จะเชื่อว่าทั้งธรรมชาติของมนุษย์กับธรรมชาติ
โดยทั่วไปของมนุษย์เป็นสิ่งคงที่ ค่านิยมของสิ่งหนึ่งกับอีกสิ่งหนึ่งก็คงที่ด้วยมันเป็นจริงเช่นนี้แต่การปฏิบัติ
จะแตกต่างกันออกไปโดยการพิจารณาตามส่วนต่างๆ ของโลก แต่แต่ค่านิ ยมพื้นฐานจะคงอยู่เช่นเดิม
ซึ่งทางฝ่ายลัทธิจิตนิยมจะถือว่ามนุษย์เป็นความสมบูรณ์ แต่ฝ่ายนักสัจนิยมวิทยาศาสตร์จะถือว่า
มนุษยเ์ ป็นอยา่ งที่เขาเปน็ อยู่ และไม่สมบูรณ์
ปรัชญาประสบการณ ์น ิ ย ม Butler ได้แนะแนว ทางให้เห็นว ่าปรั ช ญาฝ่ายลัทธิปฏ ิบัตินิยม
จะรับเอาหลกั การของคา่ นยิ ม 2 ทางด้วยกันคือ

1. ทางทีแ่ สดงสถานการณ์ ปัจจบุ นั ของการเลอื กคา่ นยิ ม
2. ทางที่แสดงการเลือกค่านิยมในสถานการณ์ปัจจุบันที่จะนำไปสู่สถานการณ์อนาคตทางท่ี
แสดงสถานการณ์ของการเลือกค่านิยมเกี่ยวข้องกับชนิดของการทำให้สมประสงค์ในความปรารถนาแต่ไม่มี
ขอบเขตจำกัด ไม่มีความเห็นแก่ตัว เป็นสถานการณ์ที่อยู่ในขอบขา่ ยของความชอบมากกว่าของความคิดและการ
กระทำของมนุษย์ โดยถือว่าชวี ติ มนุษย์อยู่ในสถานการณ์ท่ีมปี ัญหา ความต้องการของมนุษย์จึงขึ้นอยู่กับชนิดของ
การแก้ปัญหาต่าง ๆ ของสถานการณ์เหล่านี้ให้หลุดพ้น หรือผ่านคลายลง ดังนั้น ค่านิยมของฝ่ายนี้จึงมุ่งเรื่องของ
ความจำเป็นเพื่อความปรารถนาให้ชีวิตได้รับความจำเป็นเพื่อความปรารถนาให้ชีวิตได้รับความพอใจแต่ก็ถือว่า

84

สถานการณ์ต่าง ๆ มิได้มีอยู่ได้ด้วยตัวของมันเองตามลำพัง แต่จะมุ่งที่ค่านิยมที่ก่อให้เกิดความพอใจในผลท่ี
ติดตามมาซึ่งไม่ใช่พอใจที่เกิดขึ้นเพราะความเห็นแก่ตัว ค่านิยมในแนวนี้จึงเป็นค่านิยมที่เป็นความพอใจ
(Satisfactory) ต่อสถานการณม์ ากกว่าความพอใจต่อบคุ คล หรอื บุคคลทวั่ ไป ที่เกี่ยวขอ้ งในสถานการณน์ ้ัน ๆ(นว
พร ดำแสงสวสั ด์ิ,พัชรี รัตนพงษ์, และสุธาสินี เจียประเสริฐ. 2562)

ปรัชญาอัตภาวนิยม คุณวิทยาของอัตภาวนิยม คุณค่าขึ้นอยู่กับการเลือกและการตัดสินใจของบุคคล
บุคคลจะไม่ยอมตามค่านิยม และบรรทัดฐานของสังคม เพราะจะทำให้เขาสูญเสียความเป็นมนุษย์ และความจรงิ
แท้ไป เสรีภาพของมนุษย์ คอื การที่มนุษย์สามารถตัดสินใจได้อย่างอสิ ระ มคี วามม่งุ หวัง ซึง่ จะทำให้การดำรงอยู่มี
คณุ คา่ และมีความหมายซ่ึงคณุ ธรรมและความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม (วรเทพ ว่องสรรพการ. 2546)

85

สรุป
เรอื่ งญาณวิทยา และคุณวิทยา

ญาณวทิ ยา กค็ อื ศึกษาเรอื่ งกำเนนิ ความรู้ เนือ้ หาของญาณวิทยา กค็ ือ การศึกษาเก่ียวกับกระบวนการ
วิธีการ วัตถปุ ระสงค์ ลักษณะ เงือ่ นไข ความมเี หตุผล และความคลาดเคล่อื นของความรู้ ทฤษฎบี ่อเกิดความรู้ทาง
ญาณวทิ ยา คอื

จิตนิยม ความรู้อาศยั จิตในการหยง่ั รู้
สัจนยิ ม ความรู้ไดม้ าจากการไดเ้ หน็ ไดส้ ัมผสั ดว้ ยประสาทสมั ผสั
ประสบการณ์นิยม ความรจู้ ะเกิดขึ้นไดด้ ้วยการลงมอื ปฏิบัติ
โทมสั นยิ มใหม่ ความรู้เป็นไปตามหลักเหตผุ ล และเป็นการหยง่ั รู้
อัตถิภาวะนิยม การแสวงหาความรู้ ขึน้ อยู่กับแตล่ ะบุคคล
ปรัชญาคุณวิทยา เป็นเรื่องราวของการสืบหาธรรมชาติและเกณฑ์มาตรฐานของคุณค่าหรือค่านิยม
ซ่ึงมกี ำเนิดมาจาก ทฤษฎแี ห่งแบบหรอื ทฤษฎีการจินตนาการของ Plato ในเรื่องความคิดเกี่ยวกับความดี ปรัชญา
พื้นฐาน เป็นปรัชญาที่เป็นรากฐานในการกำเนิด ปรัชญาการศึกษา ดังนั้นการศึกษาพื้นฐาน ทำให้เรามีความ
เข้าใจที่มาแนวคิด ในลักษณะปรัชญาได้ถ่องแท้มากขึ้น ไม่จิตนิยม ที่เน้นจิตเป็นสำคัญ เน้นความเชื่อในโลกแห่ง
วัตถุ และการ สัมผัสประสบการณ์นิยมที่เน้นโลกแห่งประสบการณ์เป็นหลักให้เรามุ่งทำงาน มากกว่าเรียนแต่
ทฤษฎี อัตถิภาวนิยม เห็นว่า มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความว่างเปล่าและให้ความสำคัญของมนุษย์มากปรัชญา
การศึกษาทั้ง 5 ลัทธิดังกล่าว แต่ละปรัชญาจะ มีแนวทางในการนำไปสู่การปฏิบตั ิที่แตกตา่ งกัน การนำไปปฏิบัติ
เพือ่ ให้เกิดประโยชนต์ ่อการศึกษา จะต้องพจิ ารณาว่าแนวทาง ใด จึงจะดที ส่ี ดุ ซึ่งจะต้องสอดคล้องกับสภาพสังคม
เศรษฐกิจ การเมอื งและการปกครอง ปรชั ญาการศกึ ษาลัทธหิ นึง่ อาจจะเหมาะกับประเทศหนง่ึ เพราะเป็นประเทศ
เล็ก ๆ ประเทศหนึ่งซึ่งมีลักษณะแตกต่างกัน ต้องใช้ลัทธิการศึกษาอีกลัทธิหนึ่ง ประเทศไทยก็ได้นำเอาปรัชญา
การศึกษานนั้ มาประยกุ ตใ์ ช้ใหเ้ หมาะสม

86

อ้างอิง

ทิศนา แขมมณี. (2545). ลัทธิวัตถนุ ยิ มหรือสจั นยิ ม. ปรัชญาและปรชั ญาการศึกษา.
จาก https://sites.google.com/site/afathplas/

นวพร ดำแสงสวัสดิ์,พัชรี รัตนพงษ์, และสุธาสินี เจียประเสริฐ. (2562). ปรัชญาประสบการณ์นิยม. ปรัชญา
ประสบการณน์ ยิ ม และการพฒั นาสกู่ ารจดั การศึกษาพยาบาลในศตวรรษท่ี 21. 62(1). 177.

ปรวิ ตั ร เขื่อนแก้ว. (2563). ปรชั ญาทางการศึกษา. จาก http://wijai48.com

พระปรียะพงษ์คุณปัญญา. (2557). ลัทธิประสบการณ์นิยม. ลัทธิปรัชญา. 57(1).
จากhttp://wwwphilosophy-suansunandha.com

ภวิศา พงษเ์ ล็ก. (2560). หลักการและปรชั ญาการศกึ ษา. คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอดุ รธาน.ี

วรเทพ ว่องสรรพการ. (2546). การอ้างเหตุผลสนับสนุนการมีอยู่ของพระเจ้าตามทฤษฎีสหนัยนิยม.
วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญามหาบณั ฑิต ภาควิชาปรชั ญา คณะอกั ษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศุภร ศรีแสน. (2526). ปรัชญาการศึกษาเบ้อื งต้น. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ.

ส ุ ช า ต ิ บ ุ ษ ย ์ ช ญ า นน ท ์. ( 2 5 6 3 ) ญ า ณ ว ิ ท ย า ก ั บ ก าร เ รี ยน รู ้. จ า ก http: / / cms. pblthai. com
__________. บ้านจอมยุทธ. (2563) ญาณวิทยา. จาก http://bannjomyut.com padveewp. (2563)
__________. ปรชั ญาเบ้ืองตน้ บทท่ี 4 ญาณวิทยา.จาก http://philosophychicchic.com

__________. ญาณวิทยากบั การเรียนร.ู้ จาก http://cms.pblthai.com

__________. ปรัชญาตะวันตกกับความสัมพันธ์กับวิทยาศาสตร์และองค์ความรู้ต่างๆ. (2561). วัตถุนิยม.
จาก http://www.facebook.com

padveewp. (2563) ปรัชญาเบ้อื งตน้ บทที่ 4 ญาณวิทยา. จาก http://philosophychicchic.com

87

บทที่ 5
ทฤษฎีการเรยี นรู้

ทฤษฎีการเรียนรู้

การเรียนรู้ (Learning) คือกระบวนการที่ทำให้มนุษย์เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และความคิด ธรรมชาติ
ในการเรียนรู้ของมนุษย์นั้นมาจากการรับรู้ (perception) แล้วแปลผลด้วยกระบวนการคิด (Thinking) ภายใน
กลไกของสมอง จากความรู้สึกที่ได้จากสิ่งแวดล้อมรอบตัว ด้วยอวัยวะรับการสัมผัส ( sensory organs)
ประกอบด้วยตา (visual) สำหรับการมองเห็น หู (auditory) สำหรับการได้ยิน จมูก (olfactory) สำหรับการดม
กลิ่น ลิ้น (gustatory) สำหรับการชิมรส กาย (skin) สำหรับการสัมผัสทางกาย มนุษย์มีการเรียนรู้ตลอดเวลา
กระบวนการเรียนรู้สามารถเกิดขึ้นได้จากการอ่าน ฟัง สังเกต การอบรม การใช้เทคโนโลยี ฯลฯ การเรียนรู้มี 2
ลกั ษณะคอื การเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง (Heuristics) หรือ การเรยี นร้ทู ม่ี ีการสอน (Didactics) การเรยี นรู้ทเี่ กดิ จากการ
สอนจะเกิดขึ้นจากประสบการณ์ที่ผู้สอนนำเสนอ โดยการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ผู้สอนจะเป็นผู้ท่ี
สร้างบรรยากาศทางจิตวิทยาเอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ ที่จะให้เกิดขึ้นเป็นรูปแบบใดก็ได้เช่น ความเป็นกันเอง
ความเข้มงวดกวดขันฯ ผู้สอนจะเป็นผสู้ ร้างเงื่อนไข และสถานการณ์เรียนรู้ให้กับผ้เู รยี น สิง่ ต่างๆ ในกระบวนการ
เรียนรู้สามารถอธิบายไดโ้ ดยอาศัยทฤษฎกี ารเรียนรู้ (Learning – Theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้เป็นแนวคดิ ที่ได้รบั การยอมรับวา่ สามารถอธิบายลักษณะการเกิดการเรยี นรู้ โดยได้รวบรวมเป็น
องคร์ วมเปน็ ชดุ หลกั การตา่ งๆ เพอ่ื อธิบายเหตผุ ลการไดม้ าขององคค์ วามรู้ การรกั ษาไวแ้ ละการเรยี กใช้องค์ความรู้
ในแต่ละบุคคล สิ่งเหล่านี้สามารถเป็นแนวทางช่วยให้ผู้สอนใช้เครื่องมือในการเรียนการสอนรวมถึงเทคนิคและ
วิธีการต่างๆ ที่จะส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้ และทำให้ผู้เรียนบรรลุตามจุดประสงค์ในการเรียนอย่างมี
ประสิทธิภาพ ดังนั้นผู้สอนจะต้องพิจารณาเลือกหรือออกแบบการสอน (Instructional Design) ให้เหมาะสมกัน
สถานการณ์ เพราะว่าการเรียนรขู้ องมนุษยจ์ ะแตกต่างกัน เชน่ การเรียนรูข้ องเดก็ และผใู้ หญ่ก็ไม่เหมือนกัน เด็กจะ
เรียนรู้ด้วยการเรียนในห้อง การซกั ถาม ผู้ใหญ่มักเรยี นรดู้ ว้ ยประสบการณ์ทีม่ อี ยู่ เป็นตน้
ทฤษฎีการเรยี นรขู้ องนักการศกึ ษาที่นำมาใช้พัฒนาด้านการเรยี นการสอน

การเรียนรู้เป็นกระบวนการต่อเนื่องซึ่งผู้สอนจะต้องมีการวิเคราะห์ผู้เรียนเนื้อหาและวางแผนจัดลำดับ
เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ในผู้เรียนซึ่งนกั การศึกษา (บางท่านเป็นนักปรัชญานักสังคมวิทยานักจิตวิทยา)ทีม่ ีความเชือ่
แตกต่างกันย่อมทำให้เกิดแนวคิดและวิธีการต่างที่เหมาะสมกับการสอนเนื้อหาหรอื กระบวนการมากน้อยต่างกนั
ซง่ึ การสอนนนั้ เป็นท้ังศาสตร์และศิลปะความหมายของความเปน็ ศาสตรน์ ั้นคือการสอนมีกระบวนการมีข้ันตอนท่ี
ชัดเจนอย่างเป็นลำดับในเชิงระบบส่วนศิลปะนั้นมีหมายความว่าในการเรียนการสอนนั้นผู้สอนควรคำนึงถึง
อารมณ์ความเหมาะสมของสถานการณ์ของบรรยากาศการเรียนคำนึงถึงความรู้สึกของผู้เรียนซึ่งบางครั้งไม่
สามารถประเมินออกมาได้อย่างเป็นระบบดงั นัน้ ผู้สอนจึงควรทราบถึงเทคนิคการสอนหลักการและทฤษฎีแนวคิด
เกย่ี วกบั การคดิ และการเรียนรู้นักการศึกษาไดป้ ระยุกตแ์ ละพฒั นาพอ (ทีม่ า : วสนั ต์ นายด่าน, 2554)

88

ทฤษฎีกลมุ่ พฤติกรรมนยิ ม

ทฤษฎีการเรยี นรูข้ องฮัลล์ (HULL)
เป็นนักจิตวิทยา หลักการทดลองของเขา ให้หลักการคณิตศาสตร์มาสร้างทฤษฎีทางจิตวิทยาอย่างเป็น

ระบบ ซึ่งเป็นแบบ S-R คือการต่อเนื่องระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง โดยได้กล่าวถึงกระบวนการเรียนรู้ต่างๆ
ในรปู ของคณิตศาสตรม์ ีการวิเคราะห์แยกแยะระหวา่ งการจูงใจกบั กลไกในการเรียนรู้ และกล่าวถงึ พนื้ ฐานของการ
เรยี นรเู้ กิดจากการเสริมแรงมากกวา่ การจูงใจ (ชัยวัฒน์ สุทธิรตั น์., 2552.)
การทดลองเพื่อสนบั สนุนหลักการ

การทดลองของวิลเลียม (Willian 1938)

การทดลองของวิลเลียม เป็นการฝึกให้หนูกดคานโดยแบ่งหนูออกเป็นกลุ่มๆ แต่ละกลุ่มได้รับการอด
อาหารนานถงึ 24 ชัว่ โมงและมแี บบแผนในการเสริมแรงเป็นแบบตายตวั ตัง้ แต่ 5-90 กล่าวคือ ต้องกดคาน 5
คร้งั จึงไดร้ ับอาหาร 1 ครั้ง เรือ่ ยๆไป จนต้องกดคาน 90 ครัง้ จึงจะไดอ้ าหาร 1 ครั้ง (ชัยวัฒน์ สทุ ธิรตั น.์ , 2552.)
การทดลองของเพอริน

เป็นการฝึกให้หนูกดคานเช่นเดียวกัน โดยมีวิธีการทดลองเช่นเดียวกับของวิลเลียมต่างกันตรงที่หนู
ทดลองของเพอรนิ ให้หนูอดอาหารเพยี ง 3 ช่ัวโมง
สรปุ ผลการทดลองท้ังสองคน

การทดลองนี้แสดงให้เห็นว่า ความเข้มข้นของการแสดงพฤติกรรมการเรียนรู้ขึ้นอยู่กับแรงขับ คือความ
หิวของหนูกับอุปนิสัยที่เกิดขึ้นจากการได้รับการแสดงแรง คืออาหารกับการตอบสนอง การกินอาหารยิ่งอดมาก
ยง่ิ สร้างแรงขบั มาก การแสดงพฤตกิ รรมการเรียนรู้ (คือการกดคาน) ย่งิ เข้มขน้ มากขนึ้ เทา่ นั้น
กฎการเรียนรู้

กฎแห่งสมรรถภาพในการตอบสนอง หรือการยับยั้งปฏิกิริยา คือ ถ้าร่างกายเกิดความเหนื่อยล้า การ
ตอบสนองหรือการเรียนรจู้ ะลดลง
กฎแห่งการลำดับกลุ่มนิสัย เมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้น แต่ละคนจะมีการตอบสนองต่างๆกัน ในระยะแรกการ
แสดงออกมีลักษณะง่ายๆแต่เมื่อเรียนรู้มากขึ้นก็สามารถแสดงการตอบสนองในระดั บที่สูงขึ้นหรือถูกต้องตาม

89

มาตรฐานของสังคม กฎแห่งการใกล้จะบรรลุเป้าหมาย เมื่อผู้เรียนยิ่งใกล้เป้าหมายเท่าใดจะมีสมรรถภาพในการ
ตอบสนองมากขึ้นเทา่ นน้ั การเสรมิ แรงทีใ่ ห้ในเวลาใกล้เคียง เป้าหมายจะทำให้เกิดการเรยี นรไู้ ด้ดที ่ีสุด
ทฤษฎีแรงหนนุ กำลงั

แรงหนุนกำลังจะเพิ่มกำลังของการตอบสนองของร่างกายต่อส่ิงเร้าอย่างดอยา่ งหนึ่งการเรียนรู้จะเกิดขึ้น
เมื่อคนเรามีความต้องการเป็นแรงจูงใจให้แสดงพฤติกรรมต่างๆ เพื่อตอบสนองความต้องการนั้น เมื่อค้นพบการ
ตอบสนองที่ถูกต้องก็นำไปสัมพันธ์กับสิ่งเร้าที่มาเร้าได้ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองจะดีขึ้นถ้ามี
แรงหนนุ กำลัง
การเรยี นรใู้ นทัศนะของฮัลล์

การเรียนรู้เกิดจากการเสริมแรง เป็นการให้รางวัล ที่ก่อให้เกิดการลดแรงขับหรือลดความต้องการของ
ผู้เรยี นการเสรมิ แรงแยกออกเปน็ 2 ประเภท ไดแ้ ก่

การเสริมแรงปฐมภูมิ คือ การเสริมแรงที่จำเป็นต่อร่างกาย เช่น การให้น้ำ ให้อาหาร เป็นรางวัลที่สนอง
ความตอ้ งการพื้นฐานของนกั เรยี น

การเสริมแรงทุติยภูมิ คือ การเสริมแรงที่ไม่จำเป็นต่อร่างกายแต่จำเป็นสำหรับจิตใจ เช่น การชมเชย
กลา่ วคำชน่ื ชม
การนำหลกั ทฤษฎีของฮัลลไ์ ปใช้ในการเรยี นการสอน

พยายามจัดการศึกษาโดยคำนึงถึงความต้องการของผเู้ รียน
พยายามจดั การศึกษาเพือ่ ตอบสนองความต้องการของผู้เรยี น
พยายามจดั การเรียนการสอนโดยคำนงึ ถงึ ความแตกต่างระหว่างบุคคลพื้นฐานการเรียนร้ขู องเด็ก พ้ืนฐาน
ในการเรยี น
จัดคาบเวลาเรียนใหเ้ หมาะสมกบั วยั ของผ้เู รยี น
เปลย่ี นกจิ กรรมการสอนเม่อื พบวา่ ผู้เรยี นเหนื่อยลา้ หรือง่วงนอน
กอ่ นทจ่ี ะสอนบทเรียนพยายามนกถึงความพร้อมของผู้เรียนก่อน แลว้ กระตุ้นใหผ้ ู้เรียนเกิดความต้องการ
ทจี่ ะเรยี น พยายามสร้างแรงเสริมทุกข้นั ตอนของบทเรียนจัดการเรยี นการสอนจากง่ายไปหายาก (ทีม่ า : ชัยวัฒน์
สทุ ธริ ตั น์., 2552.)
สรปุ ทฤษฎีของฮลั ล์
หลักการทางจิตวิทยา ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัลล์ไดเ้ ข้ามามสี ่วนสำคัญในกระบวนการจดั การเรียนรู้ ของ
ครผู ้สู อนฉะนนั้ จึงถอื ได้ว่าผู้สอนจะต้องตระหนักถึงความสำคัญของจติ วิทยาการศึกษาเป็นอย่างย่ิง

ทฤษฎกี ารวางเง่ือนไข (Conditioning theory)

ทฤษฎกี ารเรยี นรแู้ บบคลาสสิค (ClassicalConditioning Theory)
อีวาน เปโตรวิช พาพลอฟ เป็นนักจิตวิทยาและสรีรวิทยา ชาวรัสเซีย-โซเวียตได้รับรางวัลโนเบสสาขา
สรีรวิทยาหรือการแพทย์ ในปี ค.ศ. 1904 จากงานวิจัยเกี่ยวกับระบบย่อยอาหาร นอกจากนี้พาฟลอฟยังเป็นที่
ร้จู กั จากการอธิบายปรากฏการณ์การวางเงื่อนไขแบบดง้ั เดิม (Classical Conditioning)

90

พาฟลอฟ ได้ทำการทดลอง ในเร่ืองน้คี อื เขาทำการศกึ ษาทดลองกบั สุนัข โดยฝกึ สนุ ัขใหย้ ืนนงิ่ อยู่ในทต่ี รึง
ในห้องทดลอง ที่ข้างแก้มของสุนัขติดเครื่องมือวัดระดับการไหลของน้ำลาย เขาได้ทำการทดลองโดยการส่ัน
กระด่งิ กอ่ นทีจ่ ะเอาอาหาร (ผงเนื้อ) ให้แกส่ ุนัข เวลาระหว่างการสน่ั กระดิ่งและให้ผงเนื้อแก่สนุ ัข จะต้องเป็นเวลา
ที่กระชั้นชิดมาก ประมาณ 0.25 วินาที – 0.50 วินาที ทำซ้ำควบคู่กันหลายครั้ง และในที่สุดหยุดให้อาหาร
เพียงแต่สั่นกระดิ่ง ก็ปรากฏว่าสุนขั ก็ยังคงมีน้ำลายไหลไดป้ รากฎการณ์เชน่ นี้เรียกวา่ พฤติกรรมของสุนัขเกิดการ
เรียนร้แู บบการวางเงือ่ นไขหรอื ท่เี รยี กวา่ สุนัขเกดิ การเรียนรูแ้ บบการวางเง่ือนไขแบบคลาสสคิ

การตอบสนองเพื่อการวางเงื่อนไข (Conditioned Response) หรือ CR เป็นผลการเรียนรู้แบบวาง
เงื่อนไขแบบคลาสสิคการวางเงือนไขเป็นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าที่ต้องวางเงื่อนไข (Conditioned
Stimulus หรือ CS) กับการสนองตอบที่ต้องการให้เกิดขึ้น โดยการนำเอา CS ควบคู่กับสิ่งเร้าที่ไม่ต้องการวาง
เงอื่ นไข (Unconditioned Stimulus หรอื UCS) ซ้ำ ๆ กัน หลกั สำคัญกค็ ือจะต้องให้ UCS หลงั CS อยา่ งกระชั้น
ชิดหริอเพียงเสี้ยววินาที (0.25 – 0.50 วินาที) และจะต้องทำซ้ำ ๆ กัน สรุปแล้ว ความต่อเนื่องใกล้ชิด
(Contiguity) และความถี่ (Frequency) ของสิ่งเร้าเป็นสิ่งที่มีความสำคัญต่อการเรียนรู้แบบวางเงื่อนไขแบบ
คลาสสคิ

ผลจากการทดลองของพาฟลอฟ จึงสามารถสรุปหลกั การเรยี นรู้จากการวางเงือ่ นไขคลาสสิค ได้ดังน้คี อื
“เมื่อนำสิ่งเร้าที่เป็นกลางหรือสิ่งเร้าที่ต้องการวางเงื่อนไข (CS) เสนอควบคู่กับสิ่งเร้าที่ไม่ต้องการวางเงื่อนไข
(UCS) ซ้ำ ๆ หลายครั้ง ในที่สุดส่ิงเรา้ ที่เป็นกลางนั้น จะกลายเป็นส่ิงเรา้ ทีส่ ามารถกระตุ้นให้เกดิ การตอบสนองได้
ด้วยตัวมนั เอง” (ท่มี า สุรางค์ โควต้ ระกูล.,2548.)

จะเห็นไดว้ า่ พฤติกรรมของสนุ ัขที่เปลี่ยนไป (คอื น้ำลายไหลเมอื่ ได้ยินเสียงกระด่งิ ) เกิดจากประสบการณ์
ทไ่ี ด้รบั หรอื จากผลกระทำท่ีซำ้ ๆ ซาก ๆ ซ่งึ สอดคลอ้ งกบั คำจำกดั ความของการเรียนรู้ ดงั กล่าวมาแล้วขา้ งต้น
องคป์ ระกอบท่สี ำคญั ของทฤษฎนี ี้บางประการมีดงั นี้

ปัจจยั สำคญั เพอ่ื ใหก้ ารวางเง่อื นไขเกดิ ผลดี
สิ่งเร้าที่เป็นกลางหรือต้องวางเงือ่ นไข (CS) จะต้องเสนอก่อนการเสนอสิ่งเร้าที่ไม่ต้องวางเงื่อนไข (UCS)
และชว่ งระยะเวลาห่างกันของการเสนอ CS กบั UCS จะตอ้ งสัน้ จึงจะมีการตอบสนองที่เข้ม หากช่วงเวลาท่ีเสนอ
ต่างกนั การตอบสนอง เช่น น้ำลายไหล ก็จะไมเ่ กิดขึน้
สิ่งเร้าที่ต้องการวางเงื่อนไข จะต้องเสนอก่อนการเสนอสิ่งเร้าที่ไม่ต้องการวางเงื่อนไขอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้มี
คุณค่าเพ่ือทจ่ี ะทำนายวา่ สามารถกระต้นุ ให้เกิดการตอบสนองอยา่ งแนน่ อนดังนั้น ในการโฆษณาทางโทรทัศน์ควร
จะเสนอตวั ผลิตภัณฑก์ ่อน กอ่ นท่จี ะเสนอส่งิ เรา้ ทไ่ี ม่ต้องการวางเง่ือนไขให้ปรากฎ
ทั้งสิ่งที่ต้องการวางเงื่อนไข และสิ่งเร้าท่ีไม่ตอ้ งการวางเงื่อนไขจะต้องมีลักษณะเด่นสะดุดตาและมีคุณค่าดึงดูดใจ
มากกว่าสิ่งเร้าอื่นๆ ในสภาพแวดล้อมนั้น ในการโฆษณาทางโทรทัศน์สิ่งเร้าทั้งสองนี้จะต้องเรียกร้องความสนใจ
แก่ผชู้ มโทรทศั น์เหนอื โฆษณาของค่แู ขง่ (วิไลวรรณ ศรีสงคราม.,2549)
ความเขม้ ข้นของการตอบสนองนั้น ขน้ึ อยกู่ บั ความเข้มขน้ ของส่งิ เร้าที่ไม่ต้องวางเง่ือนไขหรือสิ่งเร้าที่ต้อง
วางเงอ่ื นไขหรอื ท้ังสองอย่างประกอบกัน

91

วัตสัน (Watson 1958) ได้นำเอาทฤษฎีของพาฟลอฟมาและถือว่าเขาเป็นผู้นำแห่งกลุ่มจิตวิทยา
พฤติกรรมนิยม และทฤษฎขี องเขามลี ักษณะในการอธิบายเร่ืองการเกดิ อารมณ์จากการวางเง่ือนไขหลักการเรียนรู้
ของวัตสัน ซึ่งเป็นการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค คือการใช้ส่ิงเรา้ สองส่ิงคู่กัน สิ่งเร้าท่ีมีการวางเงื่อนไข (CS) กับสิ่ง
เรา้ ทไ่ี ม่วางเง่ือนไข (UCS) เพ่อื ให้เกิดการตอบสนองท่ีตอ้ งการ คอื การเรียนรนู้ นั่ เองและการท่จี ะทราบว่า การวาง
เงอ่ื นไขแบบคลาสสคิ ได้ผลหรือไม่ ก็คอื การตดั ส่งิ เร้าทไ่ี มว่ างเงื่อนไข (CS) ถ้ายังมกี ารตอบสนองเหมือนเดิมท่ียังมี
สิ่งเร้าที่ไม่วางเงื่อนไขอยู่แสดงว่าการวางเงื่อนไขได้ผลสิ่งที่เพิ่มเติมในหลักการเรียนรู้ของวัตสัน คื อแทนที่จะ
ทดลองกบั สัตว์ เขากลบั ใชก้ ารทดลองกับคน เพอ่ื ทดลองกบั คน ก็มกั จะมีอารมณ์มากเก่ียวข้อง วัตสันกล่าวว่า
อารมณ์ที่เกิดขึ้น เช่น อารมณ์กลัวมีผลต่อส่ิงเร้าบางอย่างตามธรรมชาติอยู่แล้ว อาจจะทำให้กลัวสิ่งเรา้ อื่นที่มีอยู่
รอบ ๆ ต่างกายอีกได้จากการเงื่อนไขแบบคลาสสิค โดยให้สิ่งเร้าที่มีความกลัวตามธรรมชาติ เป็นสิ่งเร้าที่ไม่วาง
เง่ือนไข (UCS) กบั สง่ิ เร้าอ่นื ท่ตี ้องการให้เกิดความกลัว เป็นส่งิ เรา้ ท่ีวางเงอ่ื นไข (CS) มาคกู่ ันบอ่ ย เขา้ ในท่ีสุดก็จะ
เกดิ ความกลัวในส่ิงเร้าทวี่ างเงื่อนไขได้ และเมื่อทำให้เกดิ พฤตกิ รรมใดได้ วัตสัน เช่ือว่าสามารถลบพฤติกรรมน้ันให้
หายไปได้
การทดลอง

การทดลองของวัตสัน วัตสันได้ร่วมกับเรย์เนอร์ (Watson and Rayner 1920) ได้ทดลองวาง
เงื่อนไขเด็กอายุ 11 เดือน ด้วยการนำเอาหนูตะเภาสีขาวเสนอให้เด็กดูคู่กับการทำเสียงดัง เด็กตกใจจน
ร้องไห้ เมื่อนำเอาหนูตะเภาสีขาวไปคู่กับเสียงดังเพียงไม่กี่ครั้ง เด็กก็เกิดความกลัวหนูตะเภาสีขาว และ
กลัวสิ่งอื่น ๆ ท่ีมีลักษณะคล้ายหนูตะเภาหรือมีลักษณะสีขาว เช่น กระต่าย สุนัข เสื้อขนสัตว์ ซึ่งเป็น
สิ่งเร้าที่คลายคลึงกัน ความคล้ายคลึงกันทำให้กรริยาสะท้อนตกอยู่ภายใต้การควบคุมของสิ่งเร้ามากขึ้น
เด็กที่เคยกลัวหมอฟันใสเ่ สื้อสขี าว ก็จะกลัวหมอคนอื่นที่แต่งตัวคล้ายกันความคล้ายคลึงกันก็สามารถทำให้ลดลง
โดยการจำแนกได้เช่นเดียวกัน เช่นถ้าหากต้องการให้เด็กกลัวเฉพาะอย่าง ก็ไม่เสนอสิ่งเร้าทั้งสองอย่างพร้อมกัน
แตเ่ สนอสิง่ เร้าทีละอยา่ งโดยให้สิ่งเรา้ นั้นเกิดความรสู้ กึ ในทางผ่อนคลายลง

การนำหลักการเรียนรู้การวางเงื่อนไข ไปใช้ในการเรียนการสอน เราสามารถนำหลักการเรียนรู้
มาประยุกต์ใช้ โดยสร้างพฤติกรรมที่พึงปรารถนาขึ้นได้ นอกจากนี้กลักการเรียนรู้นำมาปรับพฤติกรรมได้
ซึ่งทำให้พฤติกรรมที่ไม่พึงปรารถนานั้นกลายเป็นพฤติกรรมที่พึงปรารถนาได้ ซึ่งมีหลักการนำมาประยุกต์
ไดด้ งั นี้

1. การนำหลักการลดพฤติกรรมมาใช้ โดยที่ผู้สอนต้องตระหนักเสมอว่า การให้ผู้เรียนเรียนแต่
อย่างเดียวบ่อย ๆ อาจทำให้เกิดความเบื่อหน่ายซ้ำซากจำเจ ควรมีการแทรกสิ่งที่เขาขอบไปบ้าง เพื่อให้
เกิดความอยากเรียนซ้ำอีก เป็นการป้องกันมิให้เกิดการลบพฤติกรรมที่พึงปรารถนาได้ คื อ ภายหลังการ
เรียนรู้แลว้ การเสนอบทเรียนซ่งึ เปน็ ส่งิ เรา้ ทวี่ างเง่ือนไข (CS) เพยี งอย่างเดียว จะทำใหเ้ กดิ ความเบื่อหน่ายซ้ำซาก
ตอ้ งแทรกส่งิ ที่ผู้เรียนชอบ

2. การนำกฎความคล้ายคลึงกันไปใช้ ควรพยายามให้คล้ายกับการเรียนรู้ครั้งแรกมาอธิบาย
เปรียบเทียบให้ฟัง เพื่อให้เข้าใจยิ่งขึ้น เช่นการอธิบายมโนทัศน์ หรือความคิดรวบยอดแต่ละคน ให้มีความ
สัมพันธก์ บั สิ่งทีค่ ลา้ ยคลงึ กัน

92

3. การนำกฎการจำแนกมาใช้ โดยการสอนให้เข้าใจความหมายของสิ่งที่เรียนครั้งแรกให้เข้ าใจ
แจ่มแจ้ง แล้วอธิบายความแตกต่างของสิ่งเร้าอื่นว่าแตกต่างจากสิ่งเร้าแรกอย่างใดซึ่งก็เป็นการสอน
มโนทัศน์ หรือความคิดรวบยอดนน้ั เอง (ทม่ี า : พรรณี ช.เจนจติ ., 2545.)

ทฤษฎกี ารวางเงือ่ นไขแบบต่อเน่อื งของกทั ธี

หลกั การเรยี นร้ขู องทฤษฎีกทั ธรกี ล่าวว่าการเรยี นรูข้ องอินทรีย์เกิดจากความสมั พันธ์ต่อเนื่องระหวา่ ง สิ่ง
เรา้ กับการตอบสนอง โดยเกิดจากการกระทำเพียงครงั้ เดียว (One-trial Learning) มิต้องลองทำหลาย ๆ ครง้ั เขา
เชื่อว่าเมือ่ ใดก็ตามที่มกี ารตอบสนองต่อสิ่งเร้าแสดงว่าอินทรีย์เรียนรู้ที่จะตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่ปรากฏในขณะนน้ั
ทันที และเป็นการตอบสนองต่อสิ่งเร้าอย่างสมบูรณ์ ไม่จำเป็นต้องฝึกหัดอีก กัทธรี กล่าวว่า “สิ่งเร้า ที่ทำให้เกิด
อาการเคล่ือนไหวเป็นสิง่ เร้าที่วางเง่อื นไขท่แี ท้จริง”
การทดลอง

กัทธรีและฮอร์ตัน (Horton) ได้ร่วมกันทดลองการเรียนรู้แบบต่อเนื่อง โดยใช้แมวและสร้างกล่อง
ปัญหาขึ้น ซึ่งมีลักษณะพิเศษ คือ มีกล้องถ่ายภาพยนตร์ติดไว้ที่กล่องปัญหาด้วย นอกจากนี้ยังมีเสาเล็ก ๆ อยู่
กลางกลอ่ ง และมีกระจกที่ประตทู างออก

ในการทดลอง กัทธรีจะปล่อยแมวที่หิวจัดเข้าไปในกล่องปัญหา แมวจะหาทางออกทางประตูหน้า
ซึ่งเปิดแง้มอยู่ โดยมีปลายแซลมอน (Salmon) วางไว้บนโต๊ะที่อยู่เบื้องหน้าก่อนแล้ว ตลอดเวลาในการทดลอง
กทั ธรจี ะจดบันทึกพฤตกิ รรมตา่ ง ๆ ของแมวตง้ั แต่ถูกปล่อยเขา้ ไปในกล่องปัญหาจนหาทางออกจากกล่องได้

ผลทีไ่ ดจ้ ากการทดลอง สรุปได้ดงั น้ี
1. แมวบางตัวจะกัดเสาหลายครัง้
2. แมวบางตัวจะหันหลงั ชนเสาและหนจี ากกลอ่ งปญั หา
3. แมวบางตวั อาจใช้ขาหนา้ และขาหลังชนเสาและหมนุ รอบ ๆ เสา

กฎการเรยี นรู้

กัทธรีกล่าวว่า พฤติกรรมของมนุษย์มีสิ่งเร้าควบคุม และการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการ
ตอบสนองจะเปลี่ยนไปตามกฎเกณฑ์ เขายอมรับว่าพฤติกรรมหลายอย่างมีจุดมุ่งหมาย พฤติกรรมใดที่ทำซ้ำ ๆ
เกิดจากกลุ่มสงิ่ เร้าเดมิ มาทำให้เกิดพฤติกรรมเช่นน้นั อีก กทั ธรจี งึ ได้สรปุ กฎการเรยี นรตู้ า่ ง ๆ ไวด้ ังนี้

1. กฎแห่งความต่อเน่อื ง (Law of Contiguity)
2. กฎของการกระทำคร้ังสุดท้าย (Law of Recency)
3. การเรียนร้เู กิดข้ึนได้แม้เพยี งครง้ั เดยี ว (One trial learning
4. หลักการจูงใจ (Motivation)

93

การนำไปประยกุ ต์ใชใ้ นการเรียนการสอน
1. การนำหลักการเรียนรู้ไปใช้ จากการหลักการเรียนรู้ที่ว่าการเรียนรู้เกิดจากการกระทำหรือการตอบสนอง
เพยี งครง้ั เดยี ว ได้ตอ้ งลองกระทำหลาย ๆ คร้ัง หลักการนี้นา่ จะใช้ไดด้ ีในผ้ใู หญ่มากกว่าเด็ก และผู้มีประสบการณ์
เดมิ มากกวา่ ผู้ไมเ่ คยมปี ระสบการณ์เลย
2. ถา้ ตอ้ งการให้อนิ ทรยี ์เกิดการเรียนรู้ควรใช้การจูงใจ เพอ่ื ใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมมากกว่าการเสริมแรง
3. เนื่องจากแนวความคิดของกัทธรีคล้ายคลึงกับแนวความคิดของวัตสันมาก ดังนั้นการนำไปประยุกต์ใช้ในการ
เรียนการสอนก็เปน็ ไปในทำนองเดยี วกนั กบั ทฤษฎขี องวัตสันนนั้ เอง
4. กัทธรีเชื่อว่าการลงโทษมีผลต่อการเรียนรู้ คือทำให้อินทรีย์กระทำในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เขาแยกการลงโทษ
ออกเปน็ 4 ข้นั ดังน้ี

4.1 การลงโทษสถานเบา อาจทำให้ผู้ถูกลงโทษมีอาการตื่นเต้นเพียงเล็กน้อย แต่ยังคงแสดงพฤติกรรม
เดมิ อีกตอ่ ไป

4.2 การเพม่ิ การลงโทษ อาจทำให้ผ้ถู กู ลงโทษเลิกแสดงพฤตกิ รรมท่ีไม่พงึ ปรารถนาได้
4.3 ถ้ายังคงลงโทษต่อไป การลงโทษจะเปรียบเสมือนแรงขับที่กระตุ้นให้อินทรีย์ตอบสนองต่อสิ่งเร้า
จนกว่าอินทรีย์จะหาทางลดความเครียดจากแรงขับที่เกิดขึ้น กัทธรีกล่าวว่าการเรียนรู้ที่แท้จริงเกิดจากการได้รบั
รางวลั ทพี่ อใจ
4.4 ถ้าเกิดพฤติกรรมที่ไม่ดีคือพฤติกรรมที่ไม่พึงปรารถนา แล้วลงโทษจะทำให้มีพฤติกรรมอื่นเกิดตามมา
หลงั จากถกู ลงโทษ จึงควรขจัดพฤติกรรมท่ีไมด่ เี สียก่อน ก่อนทีจ่ ะลงโทษ (ท่มี า : กญุ ชรี ค้าขาย, 2540)

ทฤษฎกี ารวางเงื่อนไขดว้ ยการกระทำ (Operant Conditioning Theory)

Burrhus Skinner นักจติ วทิ ยาชาวอเมรกิ นั เปน็ ผคู้ ิดทฤษฎกี ารวางเงอื่ นไขแบบการกระทำ
(Operant Conditioning theory หรือInstrumental Conditioning หรอื Type-R. Conditioning)

ประวัติ บ.ี เอฟ.สกนิ เนอร์
เกิดเมื่อวันที่ 1940.มีนาคม ค.ศ 20ที่ มลรัฐเพนซิลเวเนีย สหรัฐอเมริกา จบปริญญาตรี ทางวรรณคดี ในอังกฤษ
เข้าศึกษาต่อสาขาจิตวิทยา ระดับปริญญาโทและเอก ณ มหาวิทยาลัย ฮาร์ดเวิร์ด ปี ค.ศ.1982 วิชาเอก
พฤติกรรมศาสตร์ สกินเนอร์มีความคิดว่าทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ Pavlov นั้น จำกัดอยู่กับ
พฤติกรรมการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นเป็นจำนวนน้อยของมนุษย์ พฤติกรรมส่วนใหญ่แล้วมนุษย์จะเป็นผู้ลงมือปฏิบัติเอง
ไมใ่ ชเ่ กดิ จากการจบั ค่รู ะหว่างสงิ่ เรา้ ใหมก่ บั ส่งิ เร้าเก่าตามการอธิบายของ Pavlov (ทีม่ า : Anonymous, 2555)

สกนิ เนอรไ์ ดแ้ บง่ พฤติกรรมของสง่ิ มชี ีวติ ไว้ 2 แบบ คือ

1. Respondent Behavior
คือพฤติกรรมหรือการตอบสนองที่เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ หรือเป็นปฏิกิริยาสะท้อน (Reflex) ซ่ึง

สงิ่ มีชวี ิตไม่สามารถควบคุมตัวเองได้ เชน่ การกระพริบตา น้ำลายไหล
2. Operant Behavior
คือพฤติกรรมที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตเป็นผู้กำหนด หรือเลือกที่จะแสดงออกมา ส่วนใหญ่จะเป็น

พฤตกิ รรมทบี่ คุ คลแสดงออกในชวี ติ ประจำวัน เชน่ กิน นอน พูด เดนิ ทำงาน ขับรถ

94

การเรียนรู้ตามแนวคิดของสกินเนอร์ เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองเช่นเดียวกัน
แตส่ กินเนอร์ให้ความสำคัญต่อการตอบสนองมากกว่าสง่ิ เร้า จึงมคี นเรยี กว่าเป็นทฤษฎีการวางเง่ือนไขแบบ Type
R นอกจากนี้สกินเนอร์ให้ความสำคัญต่อการเสริมแรง (Reinforcement) ว่ามีผลทำให้เกิดการเรียนรู้ที่คงทน
ถาวร ยิ่งขึ้นด้วย สกินเนอร์ได้สรุปไว้ว่า อัตราการเกิดพฤติกรรมหรือการตอบสนองขึ้นอยู่กับผลของการกระทำ
คือ การเสริมแรง หรอื การลงโทษ ทัง้ ทางบวกและทางลบ
สกินเนอร์ได้อธิบาย คำว่า "พฤติกรรม" ว่าประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ตัว คือ ว่าประกอบด้วย
องค์ประกอบ 3 ตัว คอื

1. Antecedents คอื เง่ือนไขนำหรือส่ิงเรา้ ที่กระตุ้นให้เกิดพฤติกรรม (สง่ิ ที่กอ่ ให้เกิดข้ึนก่อน) ทุก
พฤติกรรมตอ้ งมเี ง่อื นไขนำ เช่น วนั นตี้ อ้ งเข้าเรียนบ่ายโมง พฤติกรรมเราถูกกำหนดดว้ ยเวลา

2. Behavior คือ พฤตกิ รรมท่ีแสดงออก
3. Consequences หรือผลกรรม เกิดขึ้นหลังการทำพฤติกรรม เป็นตัวบอกว่าเราจะทำพฤติกรรม
นน้ั อีกหรอื ไม่ ดงั นั้น ไม่มใี ครที่ทำอะไรแลว้ ไมห่ วงั ผลตอบแทน ซง่ึ เรยี กย่อๆ ว่า A-B-C ซงึ่ ทั้ง 3 จะดำเนินต่อเนื่อง
ไป ผลทีไ่ ด้รบั จะกลบั กลายเป็นส่ิงที่ก่อใหเ้ กิดขนึ้ ก่อนอนั นำไปสู่การเกิดพฤตกิ รรมและนำไปสู่ผลท่ีได้รับตามลำดับ
(ทม่ี า : ทฤษฎีของนกั จติ วทิ ยา, 2558)
สำหรับการทดลองของสกินเนอร์ เขาได้สร้างกล่องทดลองขึ้นซึ่ง กล่องทดลองของสกินเนอร์ (Skinner
Boxes) จะประกอบด้วยที่ใส่อาหาร คันโยก หลอดไฟ คันโยกและที่ใส่อาหารเชื่อมติดต่อกัน การทดลองเริ่มโดย
การจับหนูไปใส่กล่องทดลอง เมื่อหนูหิวจะวิ่งวนไปเรือ่ ย ๆ และไปเหยียบถูกคันโยก ก็จะมีอาหารตกลงมา ทำให้
หนูเกิดการเรียนรู้ว่าการเหยียบคันโยกจะได้รับอาหารครั้งต่อไปเมื่อหนูหิวก็จะตรงไปเหยียบคันโยกทันที ซึ่ง
พฤติกรรมดงั กล่าวถือว่าหนูตัวน้ีเกิดการเรียนร้แู บบการลงมือกระทำเอง
หลกั การและแนวคดิ ทสี่ ำคญั ของ สกนิ เนอร์
1. การวัดพฤติกรรมตอบสนอง สกินเนอร์ เห็นว่าการศึกษาจิตวิทยาควรจำกัดอยู่เฉพาะพฤติกรรม ที่
สามารถสังเกตเห็นได้อย่างชัดเจน และพฤติกรรมที่สังเกตได้นั้นสามารถวัดได้โดยพิจารณาจากความถี่ของการ
ตอบสนองในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง หรอื พิจารณาจากอตั ราการ ตอบสนอง (Response rate) นน่ั เอง
2. อัตราการตอบสนองและการเสริมแรง สกินเนอร์ เชื่อว่าโดยปกตกิ ารพิจารณาว่าใครเกิดการเรียนรู้
หรือไม่เพียงใดนน้ั จะสรปุ เอาจากการเปล่ยี นแปลงการตอบสนอง (หรือพูดกลับกันได้ว่าการที่อัตราการตอบสนอง
ได้เปลี่ยนไปนั้น แสดงว่าเกิดการเรียนรู้ขึ้นแล้ว) และการเปลี่ยนแปลงอัตราการตอบสนองจะเกิดขึ้นได้เมื่อมีการ
เสริมแรง (Reinforcement) นั้นเอง สิ่งเร้านี้สามารถทำให้อัตราการตอบสนองเปลี่ยนแปลง เราเรียกว่าตัว
เสริมแรง (Reinforcer) สิ่งเร้าใดที่ไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงอัตราการตอบสนองเราเรียกว่าไม่ใช่ตัวเสริมแรง
(Nonreinforcer)
3. ประเภทของตัวเสริมแรง ตัวเสริมแรงนนั้ อาจแบ่งออกได้เป็นตวั หรอื เสริมแรงบวก เสริมแรงลบหรือ

อาจแบ่งไดเ้ ปน็ ตวั เสรมิ แรงปฐมภมู ิกบั ตวั เสริมแรงทุติยภูมิ


Click to View FlipBook Version