The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง ใส่ปก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nad_natrada, 2021-03-30 20:13:42

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง ใส่ปก

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง ใส่ปก

145

จรรยาบรรณวิชาชีพ
ความหมายของจรรยาบรรณ คำว่า “จรรยาบรรณ” ประกอบด้วย คำ 2 คำ คือ จรรยา หมายถงึ
ความประพฤติ บรรณ หมายถงึ หนังสือ เม่ือนำมารวมกันแล้ว “จรรยาบรรณ” จึงหมายถงึ หนังสอื หรือเอกสาร
ท่ีกลา่ วถึง ส่งิ ทผี่ ู้อยใู่ นอาชพี น้ันควรประพฤตปิ ฏิบัติ เพื่อรกั ษาช่ือเสียง เกียรติยศ และฐานะของวิชาชีพนัน้ ๆ
(ทีม่ า:ราชกจิ จานเุ บกษา หนา้ 72-73 ข้อบงั คับครุ สุ ภาว่าด้วยจรรยาบรรณวิชาชีพ ลงวนั ที่ 4 ตลุ าคม 2556)
ความเป็นมาของจรรยาบรรณครไู ทย
อาชพี ทุกสาขาต้องมจี รรยาบรรณแห่งวชิ าชพี ของตนกาหนดไว้ เชน่ เดยี วกับอาชีพครู แตใ่ นสมัยโบราณ
อาชพี ครูไทยยังไม่มีจรรยาบรรณเปน็ ลาย
ลักษณ์อกั ษร ครไู ทยจะยึดถือเอาแนวคำสอนตามพระพุทธศาสนาเปน็ หลักปฏบิ ัตติ ่อๆมา จนกระท่ัง
ใน พ.ศ. 2506 ม.ล.ปิ่น มาลากลุ ซ่งึ เป็นรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ และประธานกรรมการอำนวยการ
คุรุสภาในสมัยน้ัน ไดอ้ อกระเบียบจรรยาบรรณสาหรบั ครไู ทยข้ึนมา 2 ฉบับพร้อมกนั เป็นครง้ั แรก
จรรยาบรรณครู พ.ศ. 2506 (ฉบบั ท่ี 1)
จรรยาบรรณครู พ.ศ. 2506 (ฉบบั ที่ 2)
ต่อมาจรรยาบรรณทงั้ 2 ฉบบั นไ้ี ดถ้ ูกยกเลกิ เนื่องจากจรรยาบรรณ พ.ศ. 2506 นี้มิได้ประกาศใชอ้ ยา่ ง
เปน็ ทางการ ครุ ุสภาเกรงวา่ ครอู าจารยจ์ ะเกิดความสับสนในทางปฏิบัติ ดงั นัน้ ครุ ุสภาจงึ ได้ปรบั ปรุงจรรยาบรรณ
ครูข้ึนใหม่และประกาศใชใ้ นพ.ศ. 2526 (ทม่ี า:ข้อบังคับคุรุสภาวา่ ดว้ ยมาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2562.
(2562).ราชกิจจานุเบกษา. เล่มท่ี 136 ตอนพิเศษ 68. หน้า 3)
จรรยาบรรณครู พ.ศ. 2526 จรรยามารยาทและวนิ ยั ตามระเบียบประเพณี ของครู ของคุรสุ ภา พ.ศ.
2526
จรรยาบรรณฉบบั นีไ้ ด้ ใชต้ ดิ ต่อกนั มาถึง 12 ปี ประกอบกับสภาพสังคม เศรษฐกิจตลอดจนความ
เจรญิ กา้ วหน้าทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีได้เปล่ยี นแปลงไปมาก จึงมีมติให้แก้ไขปรับปรงุ จรรยาบรรณครูเพอื่
กำหนดระเบียบว่าดว้ ยจรรยามารยาทและวนิ ยั เพื่อใหค้ รยู ึดถือเปน็ แนวปฏิบัติและประพฤติตนสบื ไป
จรรยาบรรณสำหรับครูฉบบั พ.ศ. 2539
จรรยาบรรณสาหรับครูฉบับ พ.ศ. 2539 ครุ สุ ภา (สานักงานเลขาธิการคุรสุ ภา, 2554 :1) ไดป้ ระกาศใช้
ระเบยี บครุ ุสภาว่าดว้ ย จรรยาบรรณครู (ท่มี า:ข้อบังคับครุ สุ ภาว่าดว้ ยมาตรฐานวชิ าชีพ (ฉบบั ที่ 4) พ.ศ.2562.
(2562).ราชกจิ จานุเบกษา.เลม่ ที่ 136 ตอนพิเศษ 68. หนา้ 3)
พ.ศ. 2539 แทนระเบียบครุ ุสภาวา่ ด้วยจรรยามารยาทและวนิ ยั ตามระเบียบประเพณีครู พ.ศ. 2526
อาศยั อำนาจตามความในมาตรา 6(20) และมาตรา 28 แห่งพระราชบญั ญัติครู พ.ศ. 2488 คณะกรรมการ
อำนวยการคุรุสภา จงึ ได้วางระเบียบไว้เปน็ จรรยาบรรณครู เพอ่ื เป็นหลักปฏิบตั ิ ในการประกอบวิชาชพี ครู
(สำนกั งานเลขาธิการ
คุรสุ ภา, 2554 : 1)

146

จรรยาบรรณครู ฉบบั พ.ศ. 2539 นคี้ ณะกรรมการอำนวยการครุ สุ ภาได้วางระเบยี บ ปฏบิ ตั โิ ดยมีลกั ษณะ
มงุ่ เนน้ ความเปน็ ครใู นด้านบทบาทหน้าทีแ่ ละความรบั ผิดชอบท่พี ง่ึ มตี อ่ ศิษย์เปน็ สำคญั ข้อสงั เกตของจรรยาบรรณ
ครู ฉบบั นม้ี ี 2 ประการ คือ

ประการท่หี นึ่ง จรรยาบรรณครู ไมใ่ ชก่ ฎหมายและไมไ่ ด้เปน็ กฎกระทรวงศกึ ษาธิการ แต่เป็นระเบยี บที่
คณะกรรมการอำนวยการ ครุ ุสภากำหนดไว้เพ่ือใชเ้ ป็นหลกั ปฏบิ ัตขิ องสมาชิกคุรสุ ภา ท่ีเปน็ ครูอาจารย์เท่าน้ัน
กรณคี รูอาจารย์ ทเี่ ป็นสมาชิกของครุ ุสภาละเมดิ จรรยาบรรณครขู ้างต้นไม่มบี ทลงโทษแต่อย่างใด แม้
คณะกรรมการคุรุสภาไม่มอี ำนาจลงโทษครอู าจารยโ์ ดยตรง

ประการท่ีสอง จรรยาบรรณครู ฉบบั นเ้ี ปน็ ฉบับที่ถูก นำไปใช้ในทุกสถานศึกษา ทง้ั นนั้ อาจเป็นเพราะ
คุรสุ ภาในฐานะเป็นองค์กรวิชาชพี ครูเป็นผ้อู อกจรรยาบรรณครู ซ่ึงมีกฎหมายรองรับอย่างเปน็ ทางการ คือ
พระราชบญั ญตั ิครพู .ศ. 2488 ความแตกต่างของจรรยาบรรณครูฉบบั นี้กับจรรยาบรรณของครใู นอดีต คือ บง่
บอกถงึ จรรยาบรรณของ ครูโดยตรงและโดยรวม มิได้จำแนกเป็น จรรยามารยาท จารีตประเพณี
หรอื วินยั ของครู (ที่มา:ข้อบังคับคุรสุ ภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชพี (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ.2562. (2562).ราชกจิ จานุเบกษา.
เล่มท่ี 136 ตอนพิเศษ 68. หน้า 3)

จรรยาบรรณวชิ าชีพครู พ.ศ. 2556
ครุ สุ ภาไดอ้ อกขอ้ บังคบั ครุ สุ ภาว่าด้วยจรรยาบรรณวิชาชีพ พ.ศ. 2556 อาศัยอำนาจตาม มาตรา 9
วรรคหนง่ึ (1) (11) (จ) และมาตรา 50 แห่ง พ.ร.บ. สภาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 ประกอบกบั
มตคิ ณะกรรมการครุ สุ ภาโดยความเห็นชอบของรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธกิ ารขณะนน้ั โดยมสี าระสำคัญคือ
การกำหนดจรรยาบรรณวชิ าชพี ของผูป้ ระกอบ วชิ าชพี ทางการศึกษา ทง้ั ต่อตนเองผูร้ บั บรกิ ารผรู้ ่วมประกอบ
วชิ าชพี และสงั คม ซง่ึ มีผลบงั คับใช้ ภายหลงั ประกาศลงในราชกจิ จานุเบกษาแล้วโดยข้อบงั คบั ดังกลา่ วได้ใหน้ ิยาม
“ผู้ประกอบวชิ าชีพ ทางการศึกษา”วา่ หมายถึง ครู ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา ผบู้ รหิ ารการศึกษา และบคุ ลาการทาง
การศึกษาอน่ื
ซงึ่ ได้รบั ใบอนญุ าตเปน็ ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ตามพระราชบัญญตั สิ ภาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ.2546
ข้อบงั คบั ครุ สุ ภาว่าด้วยจรรยาบรรณของวชิ าชีพ พ.ศ. 2556 มีสาระสำคัญ 5 หมวด (ท่มี า:ข้อบังคบั ครุ สุ ภาว่าด้วย
มาตรฐานวิชาชพี (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ.2562. (2562).ราชกจิ จานุเบกษา. เล่มท่ี 136 ตอนพเิ ศษ 68. หน้า 3)
จรรยาบรรณวชิ าชพี ครู พ.ศ.2562 มีการเปลี่ยนแปลงมาตรฐานวิชาชพี มาตรฐานการปฏิบัตติ น
ยงั คงเดิม จรรยาบรรณวชิ าชีพ 5 ดา้ น 9 ข้อ เหมอื นเดมิ มีดังน้ี
จรรยาบรรณวิชาชีพในปจั จุบัน

จรรยาบรรณวิชาชีพ หมายความว่า มาตรฐานการปฏิบัติตนท่ีกาหนดขึ้นเป็นแบบแผนในการ

ประพฤติตน ซ่งึ ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษาต้องปฏิบัติตาม เพ่ือรกั ษาและสง่ เสรมิ เกียรตคิ ณุ ชอ่ื เสยี งและ

ฐานะของผปู้ ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษาใหเ้ ปน็ ท่ีเชอ่ื ถอื ศรัทธาแกผ่ ้รู ับบรกิ ารและสังคมอนั จะนำมาซงึ่ เกยี รติ

และศักด์ิศรีแห่งวิชาชีพ

147

ดา้ นที่1 จรรยาบรรณตอ่ ตนเอง
ขอ้ ท่ี 1 ผ้ปู ระกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา ตอ้ งมวี ินยั ในตนเอง พฒั นาตนเองด้านวชิ าชพี บุคลกิ ภาพ และวสิ ยั ทัศน์
ให้ทันต่อการพัฒนาทางวทิ ยาการ เศรษฐกิจสังคม และการเมอื งอยู่เสมอ
ดา้ นที่2 จรรยาบรรณตอ่ วิชาชพี
ข้อท่ี 2 ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา ตอ้ งรัก ศรัทธา ซ่อื สัตยส์ จุ รติ รับผิดชอบต่อวิชาชพี และเป็นสมาชิกท่ีดี
ขององค์กรวิชาชพี
ด้านที่3 จรรยาบรรณต่อผูร้ ับบรกิ าร
ข้อที่ 3 ผปู้ ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ตอ้ งรกั เมตตา เอาใจใส่ ชว่ ยเหลือ ส่งเสรมิ ให้กำลงั ใจแกศ่ ิษย์ และ
ผรู้ บั บริการ ตามบทบาทหน้าทโ่ี ดยเสมอหน้า
ขอ้ ท่ี 4 ผู้ประกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา ต้องส่งเสรมิ ให้เกิดการเรยี นรู้ ทกั ษะ และนิสยั ที่ถกู ต้องดีงามแก่ศิษย์
และผ้รู บั บริการ ตามบทบาทหน้าท่ีอย่างเตม็ ความสามารถ ดว้ ยความบรสิ ทุ ธ์ิใจ
ขอ้ ท่ี 5 ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ต้องประพฤติปฏิบัตติ นเป็นแบบอย่างทีด่ ี ท้ังทางกาย วาจา และจิตใจ
ขอ้ ที่ 6 ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ตอ้ งไม่กระทาตนเปน็ ปฏปิ กั ษ์ต่อความเจรญิ ทางกาย สติปญั ญา จติ ใจ อา
รมณและสงั คมของศิษย์ และผู้รับบริการ
ข้อที่ 7 ผู้ประกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา ตอ้ งให้บริการดว้ ยความจริงใจและเสมอภาค โดยไมเ่ รยี กรบั หรือยอมรบั
ผลประโยชน์จากการใชต้ ำแหนง่ หนา้ ที่โดยมชิ อบ
ด้านท่ี4 จรรยาบรรณต่อผ้รู ่วมประกอบวิชาชีพ
ขอ้ ที่ 8 ผปู้ ระกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา พึงชว่ ยเหลอื เก้อื กูลซง่ึ กนั และกันอย่างสรา้ งสรรค์ โดยยึดมั่นในระบบ
คณุ ธรรม สรา้ งความสามัคคใี นหมู่คณะ
ด้านท่ี5 จรรยาบรรณต่อสังคม
ข้อท่ี 9 ผู้ประกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา พึงประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้นำในการอนรุ กั ษ์และพฒั นาเศรษฐกิจ สงั คม
ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมปิ ัญญา ส่ิงแวดล้อมรักษาผลประโยชน์ของส่วนรวม และยดึ มั่นในการปกครอ
ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ (สำนักงานเลขาธิการครุ สุ ภา.(2541). แบบแผนพฤติกรรมตาม
จรรยาบรรณครู พ.ศ.2539.กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พค์ ุรุสภาลาดพรา้ ว)

การประพฤตผิ ดิ จรรยาบรรณวชิ าชพี มาตรา 54 (คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชพี )
1.ยกข้อกลา่ วหา
2.ตกั เตอื น
3.ภาคทณั ฑ์
4.พักใชใ้ บอนุญาตมีกำหนดเวลาตามที่เหน็ สมควร แต่ไมเ่ กิน 5 ปี

148

5.เพิกถอนใบอนญุ าตประกอบวิชาชพี 5 ปี (มาตรา 54) (ที่มา:หนงั สอื เตรยี มสอบครูผู้ชว่ ย สงั กัด สพฐ. ฉบบั
ปรับปรงุ ใหม่ อัปเดตคร้งั ที่ 5)

มาตรฐานวิชาชีพ แบ่งออกเปน็ 3 มาตรฐาน
1. มาตรฐานความรู้ และประสบการณว์ ิชาชพี หมายความวา่ ขอ้ กำหนดเกย่ี วกบั ความรู้และ

ประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ หรือการจัดการศึกษา ซ่ึงผปู้ ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา รวมท้ังผู้ต้องการ
ประกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ตอ้ งมีเพยี งพอท่สี ามารถนำไปใชใ้ นการประกอบวชิ าชพี ได้

2. มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน หมายความว่า ข้อกำหนดเก่ียวกบั คุณลักษณะ หรือการแสดงพฤติกรรมการ
ปฏิบัติงานและการพัฒนางาน ซงึ่ ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา รวมท้ังผตู้ ้องการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
ตอ้ งปฏิบัตติ าม เพ่ือใหเ้ กิดผลตามวตั ถุประสงค์ และเป้าหมายการเรยี นรู้ หรอื การจดั การศึกษา รวมท้ังต้องฝึกฝน
พฒั นาตนเองให้มีทักษะ หรือความชำนาญสงู ขึ้นอย่างต่อเนื่อง

3. มาตรฐานการปฏิบัตติ น หมายความว่า จรรยาบรรณของวชิ าชพี ที่กำหนดขึน้ เปน็ แบบแผนในการ
ประพฤติปฏบิ ตั ิตน ซึง่ ผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา รวมทัง้ ผตู้ ้องการประกอบวชิ าชีพทางการศึกษา
ต้องยดึ ถือปฏบิ ตั ติ าม เพ่ือรกั ษาและสง่ เสรมิ เกียรตคิ ุณชอ่ื เสียง และฐานะของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ให้
เป็นท่ีเช่อื ถือศรัทธาแกผ่ รู้ ับบริการและสังคม อนั จะนำมาซงึ่ เกียรติ และศักด์ศิ รีแหง่ วิชาชพี ” (ท่ีมา : ขอ้ บังคบั คุรุ
สภาว่าด้วยมาตรฐานวชิ าชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2548, น 40)

มาตรฐานวชิ าชีพ แบง่ ออกเป็น 3 ฉบับ ไดแ้ ก่
1. ขอ้ บงั คับครุ สุ ภาวา่ ดว้ ยมาตรฐานวชิ าชีพและจรรยาบรรณของวชิ าชีพ พ.ศ. 2548
2. ข้อบงั คับคุรุสภาว่าดว้ ยมาตรฐานวชิ าชพี พ.ศ. 2556
3. ข้อบังคบั คุรสุ ภาวา่ ด้วยมาตรฐานวิชาชพี พ.ศ. 2562 (ปัจจบุ ัน)

มาตรฐานวชิ าชีพของผู้บรหิ ารการศึกษา พ.ศ. 2562
1. มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วชิ าชพี ผู้ประกอบวชิ าชีพผู้บริหารการศึกษา ต้องมีคุณวฒุ ิไม่ต่ำ

กว่าปริญญาตรีทางการบริหารการศึกษา หรอื เทยี บเทา่ หรือมคี ุณวุฒิอนื่ ท่ีครุ สุ ภารับรอง โดยมมี าตรฐานความรู้
และประสบการณ์ วชิ าชพี ดังต่อไปนี้

(ก) มาตรฐานความร้ปู ระกอบดว้ ยความรู้ ดังตอ่ ไปน้ี
1. การพัฒนาวิชาชีพ
2. ความเป็นผู้นำทางวชิ าการ
3. การบริหารการศึกษา
4. การสง่ เสริมคุณภาพการศกึ ษา
5. การประกันคุณภาพการศึกษา

149

6. คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณ
(ข) มาตรฐานประสบการณ์วชิ าชีพ ดงั ต่อไปน้ี
1. มีประสบการณ์ดา้ นปฏิบัติการสอนมาแลว้ ไมน่ ้อยกวา่ แปดปี หรือ
2. มปี ระสบการณ์ในตำแหน่งผบู้ รหิ ารสถานศึกษามาแล้วไม่น้อยกว่าหา้ ปี หรือ
3. มปี ระสบการณ์ในตำแหน่งผู้บรหิ ารนอกสถานศึกษาท่ีไม่ตำ่ กว่าระดบั กองหรือเทยี บเท่ากอง
มาแลว้ ไม่น้อยกว่าหา้ ปี หรือ
4. มปี ระสบการณ์ในตำแหนง่ บุคลากรทางการศึกษาอนื่ ตามทก่ี ำหนดในกฎกระทรวงมาแลว้ ไม่
นอ้ ยกว่าห้าปี หรอื
5. มีประสบการณ์ด้านปฏบิ ตั ิการสอน และมปี ระสบการณ์ในตำแหนง่ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา หรือ
ผ้บู ริหารนอกสถานศกึ ษา หรือบคุ ลากรทางการศึกษาอืน่ ตามท่กี ำหนดในกฎกระทรวงรวมกนั
มาแล้วไมน่ ้อยกว่าสบิ ปี

2. มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน ผู้ประกอบวชิ าชีพผบู้ ริหารการศกึ ษา ต้องมีมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน
ดังตอ่ ไปน้ี

1. ปฏบิ ัติกจิ กรรมทางวิชาการเพอ่ื พัฒนาการนิเทศการศึกษา เพื่อใหเ้ กิดการพฒั นาวชิ าชีพทาง
การศึกษาอย่างสมำ่ เสมอ

2. ตัดสินใจปฏิบตั กิ จิ กรรมการนเิ ทศการศึกษา โดยคำนงึ ถึงผลท่ีจะเกิดแกผ่ รู้ ับการนิเทศ
3. มุ่งมนั่ พัฒนาผู้รบั การนเิ ทศใหล้ งมือปฏบิ ัติกิจกรรมจนเกิดผลต่อการพัฒนาอยา่ งมคี ุณภาพ
เตม็ ศักยภาพ
4. พฒั นาแผนการนเิ ทศใหม้ ีคุณภาพสงู สามารถปฏิบัติใหเ้ กิดผลได้จรงิ
5. พัฒนาและใชน้ วตั กรรมการนิเทศการศึกษาจนเกดิ ผลงานทม่ี คี ุณภาพสงู ขนึ้ เปน็ ลำดบั
6. จัดกจิ กรรมการนิเทศการศึกษาโดยเนน้ ผลถาวรท่ีเกิดแก่ผรู้ บั การนิเทศ
7. ดำเนินการและรายงานผลการนิเทศการศึกษาให้มคี ุณภาพสงู ได้อยา่ งเป็นระบบ
8. ปฏิบตั ติ นเป็นแบบอย่างท่ีดี
9. ร่วมพัฒนางานกบั ผู้อน่ื อย่างสรา้ งสรรค์
10. แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพฒั นา
11. เป็นผูน้ ำและสร้างผู้นำทางวิชาการ
12. สรา้ งโอกาสในการพฒั นางานได้ทุกสถานการณ์

150

3. มาตรฐานการปฏบิ ัตติ น (ข้อบังคบั ครุ ุสภาวา่ ดว้ ยมาตรฐานวชิ าชพี ,2562.)
1. จรรยาบรรณต่อตนเอง
- ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ต้องมวี ินัยในตนเอง พฒั นาตนเองดา้ นวิชาชพี บุคลิกภาพ

และวิสัยทศั น์ ให้ทนั ต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สงั คมและการเมืองอยเู่ สมอ
2. จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
- ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ต้องรัก ศรัทธา ซือ่ สตั ยส์ ุจรติ และรับผิดชอบต่อวชิ าชีพ

เปน็ สมาชิกทีด่ ขี ององค์กรวิชาชพี
3. จรรยาบรรณตอ่ ผูร้ ับบรกิ าร
– ผู้ประกอบวิชาชพี ทางการศึกษา ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ชว่ ยเหลอื สง่ เสริม ใหก้ ำลงั ใจแก่

ศิษย์ และผูร้ ับบริการตามบทบาทหนา้ ท่ีโดยเสมอหนา้
– ผปู้ ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ต้องสง่ เสริมใหเ้ กิดการเรยี นรู้ ทกั ษะ และนิสัยที่ถกู ต้องดี

งามแกศษิ ยแ์ ละผูร้ บั บรกิ าร ตามหนา้ ทอ่ี ย่างเต็มความสามารถด้วยความบรสิ ุทธใ์ิ จ
– ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา ต้องประพฤตปิ ฏิบัติตนเปน็ แบบอย่างทดี่ ี ท้งั ทางกาย

วาจาและจติ ใจ
– ผปู้ ระกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา ต้องไมก่ ระทำตนเป็นปฏปิ กั ษ์ตอ่ ความเจรญิ ทางกาย

สตปิ ญั ญา จิตใจ อารมณ์และสังคมของศิษยแ์ ละผู้รับบริการ
– ผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ต้องให้บริการด้วยความจรงิ ใจและเสมอภาค โดยไม่เรียก

รับหรอื ยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ ตำแหน่งหนา้ ท่โี ดยมชิ อบ
4. จรรยาบรรณตอ่ ผ้รู ว่ มประกอบวชิ าชีพ
- ผปู้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษาพงึ ช่วยเหลอื เกื้อกลู ซง่ึ กนั และกนั อย่างสรา้ งสรรค์ โดยยึด

ม่นั ในระบบคณุ ธรรม สรา้ งความสามคั คใี นหมู่คณะ
5. จรรยาบรรณตอ่ สังคม
- ผปู้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา พงึ ประพฤติปฏบิ ัติตน เปน็ ผูน้ ำในการอนุรักษ์ และพฒั นา

เศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภมู ิปัญญา สิง่ แวดล้อมรกั ษาผลประโยชน์ ของส่วนรวมและยึด
มนั่ ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (ที่มา : ข้อบังคบั คุรสุ ภา
ว่าด้วยมาตรฐานวชิ าชีพและจรรยาบรรณของวิชาชพี พ.ศ. 2556)

151

มาตรฐานวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษา พ.ศ. 2562
1. มาตรฐานความรแู้ ละประสบการณ์วชิ าชีพ ผูป้ ระกอบวชิ าชีพผู้บริหารสถานศึกษา ต้องมคี ณุ วฒุ ิไมต่ ำ่

กว่าปริญญาตรที างการบรหิ ารการศึกษา หรอื เทียบเท่า หรือมคี ุณวฒุ ิอน่ื ท่ีครุ สุ ภารบั รอง โดยมีมาตรฐานความรู้
และประสบการณ์ วชิ าชีพ ดงั ตอ่ ไปน้ี

ก) มาตรฐานความรู้ประกอบดว้ ยความรู้ ดังต่อไปนี้
1. การพัฒนาวชิ าชีพ
2. ความเป็นผ้นู ำทางวชิ าการ
3. การบริหารสถานศึกษา
4. หลกั สูตร การสอน การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้
5. กิจการและกจิ กรรมนักเรียน
6. การประกันคณุ ภาพการศึกษา
7. คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณ

ข) มาตรฐานประสบการณ์วิชาชพี ดงั ตอ่ ไปนี้
1. มีประสบการณ์ด้านปฏิบตั ิการสอนมาแลว้ ไมน่ ้อยกว่าหา้ ปี หรือ
2. มปี ระสบการณ์ดา้ นปฏบิ ัติการสอนและตอ้ งมปี ระสบการณใ์ นตำแหน่ง

หัวหน้าหมวด หรอื หวั หน้าสาย หรือหัวหน้างาน หรอื ตำแหน่งบริหารอ่นื ๆ ในสถานศึกษามาแลว้ ไมj
นอ้ ยกว่าสองปี
2. มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน ผู้ประกอบวิชาชีพผบู้ ริหารสถานศึกษา ต้องมีมาตรฐานการปฏิบตั งิ าน
ดังต่อไปน้ี

1. ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมทางวชิ าการเพือ่ พฒั นาการนิเทศการศึกษา เพื่อให้เกดิ การพัฒนาวชิ าชพี ทาง
การศึกษาอย่างสมำ่ เสมอ

2. ตดั สินใจปฏิบัติกจิ กรรมการนิเทศการศกึ ษา โดยคำนึงถึงผลท่จี ะเกิดแกผ่ ู้รับการนเิ ทศ
3. ม่งุ มนั่ พัฒนาผู้รบั การนิเทศให้ลงมอื ปฏบิ ัติกจิ กรรมจนเกิดผลตอ่ การพัฒนาอยา่ งมคี ุณภาพ
เต็มศักยภาพ
4. พฒั นาแผนการนิเทศใหม้ ีคุณภาพสูง สามารถปฏิบตั ิให้เกิดผลได้จริง
5. พฒั นาและใช้นวตั กรรมการนิเทศการศึกษาจนเกดิ ผลงานที่มคี ุณภาพสูงขนึ้ เป็นลำดับ
6. จดั กจิ กรรมการนเิ ทศการศึกษาโดยเน้นผลถาวรที่เกิดแก่ผู้รบั การนเิ ทศ
7. ดำเนนิ การและรายงานผลการนเิ ทศการศึกษาให้มีคุณภาพสงู ได้อยา่ งเป็นระบบ
8. ปฏบิ ตั ิตนเปน็ แบบอย่างท่ีดี
9. รว่ มพฒั นางานกับผู้อืน่ อยา่ งสร้างสรรค์

152

10. แสวงหาและใช้ข้อมลู ขา่ วสารในการพัฒนา
11. เปน็ ผู้นำและสร้างผนู้ ำทางวิชาการ
12. สรา้ งโอกาสในการพฒั นางานได้ทุกสถานการณ์
3. มาตรฐานการปฏบิ ัติตน ไดแ้ ก่
1. จรรยาบรรณต่อตนเอง

- ผ้ปู ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ต้องมีวินยั ในตนเอง พฒั นาตนเองด้านวชิ าชีพ บคุ ลิกภาพ
และวิสัยทัศน์ ใหท้ ันต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคมและการเมืองอยเู่ สมอ

2. จรรยาบรรณต่อวชิ าชีพ
- ผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ต้องรกั ศรทั ธา ซื่อสตั ยส์ ุจริต และรบั ผิดชอบต่อวชิ าชพี เป็น
สมาชิกท่ีดีขององค์กรวิชาชพี
3. จรรยาบรรณตอ่ ผรู้ ับบริการ
– ผปู้ ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ชว่ ยเหลอื สง่ เสรมิ ใหก้ ำลงั ใจแก่
ศษิ ย์ และผูร้ ับบริการตามบทบาทหนา้ ท่โี ดยเสมอหน้า
– ผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ต้องสง่ เสริมใหเ้ กิดการเรยี นรู้ ทกั ษะ และนสิ ยั ท่ีถกู ต้องดี
งามแกศษิ ยแ์ ละผู้รับบริการ ตามหนา้ ท่อี ย่างเตม็ ความสามารถด้วยความบรสิ ุทธ์ิใจ
– ผปู้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องประพฤตปิ ฏบิ ัติตนเปน็ แบบอย่างท่ีดี ทง้ั ทางกาย วาจา
และจิตใจ
– ผ้ปู ระกอบวิชาชพี ทางการศึกษา ต้องไม่กระทำตนเปน็ ปฏิปกั ษ์ต่อความเจริญ ทางกาย
สติปัญญา จิตใจ อารมณแ์ ละสงั คมของศิษยแ์ ละผรู้ บั บริการ
– ผปู้ ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ต้องใหบ้ ริการดว้ ยความจริงใจและเสมอภาค โดยไม่เรียกรับ
หรอื ยอมรบั ผลประโยชนจ์ ากการใช้ ตำแหน่งหน้าทโ่ี ดยมชิ อบ
4. จรรยาบรรณตอ่ ผู้รว่ มประกอบวิชาชพี
- ผ้ปู ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษาพงึ ชว่ ยเหลอื เกื้อกูลซง่ึ กนั และกันอย่างสรา้ งสรรค์ โดยยดึ มน่ั
ในระบบคุณธรรม สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ
5. จรรยาบรรณตอ่ สังคม
- ผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศึกษา พึงประพฤติปฏบิ ตั ติ น เป็นผูน้ ำในการอนรุ ักษ์ และพัฒนา
เศรษฐกจิ สงั คม ศาสนา ศิลปวฒั นธรรม ภูมิปญั ญา สิ่งแวดล้อมรกั ษาผลประโยชน์ ของส่วนรวม
และยึดมนั่ ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ (ข้อบังคบั คุรุ
สภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชพี ,2562.)

153

มาตรฐานวชิ าชีพของครู พ.ศ. 2562
1. มาตรฐานความรู้และประสบการณว์ ชิ าชพี ผูป้ ระกอบวิชาชพี ครู ต้องมีคุณวฒุ ิไม่ต่ำกว่าปรญิ ญาตรที าง

การศึกษา หรอื เทียบเท่า หรือมีคุณวุฒอิ น่ื ที่คุรสุ ภารบั รอง โดยมมี าตรฐานความรู้และประสบการณว์ ชิ าชพี
ดงั ตอ่ ไปน้ี

(ก) มาตรฐานความรู้ ตอ้ งมีความรอบรแู้ ละเข้าใจในเร่ือง ดงั ตอ่ ไปน้ี
1. การเปล่ียนแปลงบริบทของโลก สงั คม และแนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
2. จติ วทิ ยา พัฒนาการ จิตวทิ ยาการศึกษา และจติ วทิ ยาให้คำปรกึ ษา ในการวิเคราะห์และ
พฒั นาผู้เรียนตามศักยภาพ
3. เนื้อหาวิชาที่สอน หลักสูตร ศาสตรก์ ารสอน และเทคโนโลยดี จิ ิทลั ในการจดั การเรยี นรู้
4. การวดั ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และการวจิ ยั เพื่อแกป้ ญั หาและพฒั นาผูเ้ รยี น
5. การใชภ้ าษาไทย ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีดจิ ิทลั เพ่ือการศึกษา
6. การออกแบบและการดำเนินการเก่ยี วกับงานประกนั คุณภาพการศึกษา

(ข) มาตรฐานประสบการณ์วชิ าชพี ผา่ นการปฏบิ ัติการสอนในสถานศึกษา ตามหลักสูตรปรญิ ญาทาง
การศึกษาเป็นเวลาไม่นอยกว่าหนง่ึ ปี และผ่านเกณฑ์การประเมินปฏิบตั กิ ารสอน ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ
และเงื่อนไขท่ีคณะกรรมการคุรุสภากำหนด ดังตอ่ ไปน้ี

1. การฝึกปฏิบตั ิวชิ าชีพระหวา่ งเรียน
2. การปฏบิ ัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวชิ าเฉพาะ
2. มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน ผู้ประกอบวชิ าชีพครู ตอ้ งมมี าตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน ดงั นี้
(ก) การปฏบิ ัติหนา้ ทคี่ รู
1. มุง่ มั่นพัฒนาผูเ้ รยี น ด้วยจิตวญิ ญาณความเปน็ ครู
2. ประพฤตตนเปน็ แบบอยา่ งที่ดี มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมคี วามเปน็ พลเมืองท่เี ขม้ แข็ง
3. ส่งเสริมการเรียนรู้ เอาใจใส่ และยอมรบั ความแตกต่างของผู้เรยี นแตล่ ะบุคคล
4. สรา้ งแรงบันดาลใจผูเ้ รียนให้เปน็ ผูใ้ ฝเ่ รียนรู้ และผู้สรา้ งนวตั กรรม
5. พฒั นาตนเองใหม้ ีความรอบรู้ ทนั สมัย และทนั ต่อการเปลย่ี นแปลง
(ข) การจัดการเรียนรู้
1. พัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา การจดั การเรยี นรู้ สื่อ การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้
2. บูรณาการความรู้ และศาสตรก์ ารสอน ในการวางแผนและจัดการเรียนรทู้ ่ีสามารถพัฒนา
ผ้เู รยี นใหม้ ปี ญั ญารคู้ ิด และมีความเป็นนวัตกรรม
3. ดแู ล ชว่ ยเหลอื และพัฒนาผู้เรียนเปน็ รายบุคคลตามศักยภาพ สามารถรายงานผลการพฒั นา
คณุ ภาพผเู้ รยี นได้อย่างเป็นระบบ

154

4. จดั กิจกรรมและสรา้ งบรรยากาศการเรียนรู้ ใหผ้ ู้เรียนมคี วามสขุ ในการเรียน โดยตระหนกั ถงึ
สุขภาวะของผู้เรียน
5. วิจัย สรา้ งนวตั กรรม และประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยดี ิจิทลั ให้เกดิ ประโยชน์ตอ่ การเรียนรู้ของ
ผเู้ รยี น
6. ปฏบิ ัติงานรว่ มกับผอู้ นื่ อย่างสรา้ งสรรคแ์ ละมีส่วนรว่ มในกิจกรรมการพฒั นาวชิ าชีพ
(ค) ความสัมพันธก์ บั ผูป้ กครองและชุมชน
1. รว่ มมอื กบั ผูป้ กครองในการพฒั นาและแก้ปญั หาผเู้ รียนใหม้ คี ณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์
2. สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผปู้ กครองและชมุ ชน เพ่ือสนับสนุนการเรียนร้ทู ่มี ีคณุ ภาพของ
ผเู้ รยี น
3. ศึกษา เขา้ ถึงบรบิ ทของชุมชน และสามารถอยู่รว่ มกันบนพ้ืนฐานความแตกต่างทาง
วัฒนธรรม
4. ส่งเสริม อนุรักษ์วัฒนธรรม และภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ
3. มาตรฐานการปฏบิ ตั ติ น (ขอ้ บังคบั ครุ สุ ภาวา่ ดว้ ยมาตรฐานวิชาชพี ,2562.)
1. จรรยาบรรณต่อตนเอง
- ผปู้ ระกอบวิชาชพี ทางการศึกษา ต้องมวี ินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ
และวสิ ัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนาทางวทิ ยาการ เศรษฐกจิ สงั คมและการเมืองอยูเ่ สมอ
2. จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
- ผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ต้องรัก ศรัทธา ซือ่ สตั ย์สุจริต และรบั ผดิ ชอบต่อวิชาชีพ เปน็
สมาชิกทดี่ ีขององค์กรวชิ าชีพ
3. จรรยาบรรณตอ่ ผูร้ บั บรกิ าร
– ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ต้องรกั เมตตา เอาใจใส่ ชว่ ยเหลือ ส่งเสรมิ ให้กำลังใจแก่
ศิษย์ และผู้รับบริการตามบทบาทหน้าทีโ่ ดยเสมอหนา้
– ผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ต้องส่งเสริมให้เกดิ การเรียนรู้ ทักษะ และนสิ ัยท่ีถกู ต้องดีงาม
แกศิษย์และผูร้ ับบริการ ตามหน้าท่ีอยา่ งเต็มความสามารถด้วยความบริสทุ ธิ์ใจ
– ผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษาต้องประพฤติปฏิบัตติ นเป็นแบบอย่างทีด่ ีทัง้ ทางกาย วาจา ใจ
– ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องไมก่ ระทำตนเป็นปฏิปกั ษต์ ่อความเจรญิ ทางกาย
สติปัญญา จติ ใจ อารมณแ์ ละสงั คมของศิษยแ์ ละผรู้ บั บริการ
– ผปู้ ระกอบวิชาชพี ทางการศึกษา ต้องให้บรกิ ารดว้ ยความจริงใจและเสมอภาค โดยไม่เรียกรับ
หรือยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ ตำแหนง่ หนา้ ท่โี ดยมชิ อบ

155

4. จรรยาบรรณต่อผู้รว่ มประกอบวิชาชีพ
- ผ้ปู ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษาพึงช่วยเหลือเกื้อกลู ซ่งึ กันและกนั อย่างสรา้ งสรรค์ โดยยึดมนั่ ใน
ระบบคุณธรรม สร้างความสามัคคใี นหมคู่ ณะ

5. จรรยาบรรณต่อสังคม
- ผู้ประกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา พงึ ประพฤติปฏบิ ัตติ น เปน็ ผนู้ ำในการอนุรักษ์ และพัฒนา

เศรษฐกิจ สงั คม ศาสนา ศลิ ปวัฒนธรรม ภมู ิปญั ญา สง่ิ แวดลอ้ มรกั ษาผลประโยชน์ ของส่วนรวมและ
ยึดมน่ั ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข (ที่มา : ข้อบงั คบั ครุ ุ
สภาวา่ ด้วยมาตรฐานวิชาชีพ,2562.)
มาตรฐานวชิ าชีพของศกึ ษานิเทศก์ พ.ศ. 2562
1. มาตรฐานความร้แู ละประสบการณ์วชิ าชพี ผู้ประกอบวิชาชพี ศกึ ษานเิ ทศก์ ต้องมีคุณวุฒไิ มต่ ำ่ กวา่
ปริญญาโททางการบรหิ ารการศึกษา หรือเทียบเทา่ หรอื มีคุณวฒุ อิ ่นื ท่คี รุ สุ ภารับรอง โดยมมี าตรฐานความรู้และ
ประสบการณ์ วชิ าชพี ดงั ต่อไปน้ี
(ก) มาตรฐานความรปู้ ระกอบดว้ ยความรู้ ดงั ต่อไปน้ี

1. การพฒั นาวิชาชีพ
2. การนิเทศการศึกษา
3. แผนและกจิ กรรมการนเิ ทศ
4. การพัฒนาหลกั สูตรและการจัดการเรยี นรู้
5. การวิจัยทางการศึกษา
6. นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศึกษา
7. การประกนั คุณภาพการศึกษา
8. คุณธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณ
(ข) มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ ดงั ต่อไปน้ี
1. มีประสบการณ์ดา้ นปฏิบตั ิการสอนมาแลว้ ไมน่ ้อยกว่าหา้ ปี หรือ มีประสบการณด์ ้าน
ปฏบิ ตั ิการสอนและมีประสบการณ์ในตำแหนง่ ผูบ้ ริหารสถานศึกษา หรือผ้บู รหิ ารการศกึ ษารวมกันมาแลว้ ไม่น้อย
กวา่ ห้าปี
2. มผี ลงานทางวชิ าการทีม่ ีคุณภาพและมกี ารเผยแพร่
2. มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน ผู้ประกอบวิชาชพี ศกึ ษานเิ ทศก์ ตอ้ งมีมาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน ดังต่อไปน้ี
(ข้อบังคบั ครุ สุ ภาวา่ ดว้ ยมาตรฐานวชิ าชพี ,2556.)
1. ปฏิบัตกิ จิ กรรมทางวชิ าการเพื่อพัฒนาการนิเทศการศึกษา เพ่ือใหเ้ กดิ การพฒั นาวชิ าชพี ทาง
การศึกษาอย่างสม่ำเสมอ

156

2. ตัดสนิ ใจปฏบิ ตั ิกิจกรรมการนิเทศการศกึ ษา โดยคำนงึ ถึงผลท่จี ะเกดิ แก่ผู้รับการนเิ ทศ
3. ม่งุ ม่นั พัฒนาผู้รับการนิเทศใหล้ งมือปฏิบัติกจิ กรรมจนเกิดผลตอ่ การพัฒนาอยา่ งมคี ุณภาพ
เตม็ ศกั ยภาพ
4. พัฒนาแผนการนเิ ทศให้มีคุณภาพสูง สามารถปฏิบัติใหเ้ กิดผลไดจ้ รงิ
5. พัฒนาและใชน้ วตั กรรมการนเิ ทศการศึกษาจนเกดิ ผลงานที่มคี ุณภาพสงู ขึน้ เปน็ ลำดบั
6. จดั กิจกรรมการนิเทศการศึกษาโดยเนน้ ผลถาวรทีเ่ กิดแก่ผรู้ บั การนเิ ทศ
7. ดำเนนิ การและรายงานผลการนิเทศการศึกษาใหม้ ีคุณภาพสงู ได้อย่างเป็นระบบ
8. ปฏิบัติตนเปน็ แบบอยา่ งท่ีดี
9. ร่วมพฒั นางานกับผู้อ่นื อยา่ งสรา้ งสรรค์
10. แสวงหาและใชข้ ้อมลู ขา่ วสารในการพฒั นา
11. เปน็ ผู้นำและสรา้ งผนู้ ำทางวิชาการ
12. สรา้ งโอกาสในการพฒั นางานได้ทุกสถานการณ์
3. มาตรฐานการปฏบิ ัตติ น (ขอ้ บงั คบั คุรุสภาวา่ ดว้ ยมาตรฐานวชิ าชีพ,2562.)
1. จรรยาบรรณต่อตนเอง

- ผู้ประกอบวิชาชพี ทางการศึกษา ต้องมีวนิ ยั ในตนเอง พฒั นาตนเองด้านวิชาชพี บุคลิกภาพ
และวิสัยทศั น์ ให้ทนั ต่อการพัฒนาทางวทิ ยาการ เศรษฐกจิ สงั คมและการเมืองอยู่เสมอ

2. จรรยาบรรณตอ่ วชิ าชพี
- ผ้ปู ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ต้องรกั ศรัทธา ซ่อื สตั ย์สุจรติ และรบั ผิดชอบต่อวิชาชีพ

เป็นสมาชกิ ท่ีดขี ององค์กรวชิ าชีพ
3. จรรยาบรรณต่อผ้รู ับบรกิ าร
– ผู้ประกอบวิชาชพี ทางการศึกษา ต้องรกั เมตตา เอาใจใส่ ชว่ ยเหลอื ส่งเสรมิ ใหก้ ำลงั ใจแก่

ศษิ ย์ และผรู้ ับบริการตามบทบาทหน้าท่ีโดยเสมอหน้า
– ผู้ประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ต้องสง่ เสริมให้เกิดการเรยี นรู้ ทกั ษะ และนิสัยที่ถูกต้องดี

งามแกศษิ ยแ์ ละผู้รบั บริการ ตามหนา้ ทอ่ี ย่างเต็มความสามารถด้วยความบรสิ ทุ ธใ์ิ จ
– ผปู้ ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ต้องประพฤตปิ ฏิบตั ิตนเป็นแบบอยา่ งทดี่ ี ทั้งทางกาย

วาจาและจิตใจ
– ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา ต้องไมก่ ระทำตนเป็นปฏปิ กั ษต์ อ่ ความเจรญิ ทางกาย

สติปัญญา จิตใจ อารมณแ์ ละสงั คมของศิษยแ์ ละผูร้ บั บริการ
– ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องให้บริการดว้ ยความจรงิ ใจและเสมอภาค โดยไมเ่ รียก

รบั หรอื ยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ ตำแหน่งหนา้ ทโี่ ดยมิชอบ

157

4. จรรยาบรรณตอ่ ผ้รู ว่ มประกอบวิชาชพี
- ผปู้ ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษาพึงช่วยเหลือเกื้อกูลซง่ึ กันและกนั อย่างสร้างสรรค์ โดยยึดมน่ั ในระบบคณุ ธรรม
สรา้ งความสามคั คีในหมู่คณะ

5. จรรยาบรรณต่อสงั คม
- ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงประพฤตปิ ฏิบัตติ น เป็นผนู้ ำในการอนุรักษ์ และพัฒนาเศรษฐกิจ สงั คม
ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปญั ญา สง่ิ แวดลอ้ มรักษาผลประโยชน์ ของส่วนรวมและยดึ มั่นในการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข (ที่มา : ข้อบังคับครุ สุ ภาว่าดว้ ยมาตรฐานวิชาชพี และ
จรรยาบรรณของวชิ าชีพ พ.ศ. 2556)

แนวโนม้ จรรยาบรรณครูในบริบทโลก

ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ครจู ำเปน็ ต้องพฒั นาตนเพื่อให้เทา่ ทนั กับการเปล่ียนแปลงท่ีเป็นไปอย่างต่อเนื่อง
โดยมที กั ษะการเปล่ยี นแปลงทีส่ ำคญั คือ การสรา้ งบรรยากาศให้เกดิ ความรู้สึก หรือทัศนคตทิ างบวกในการ
จัดการกับการเปล่ียนแปลง การแสวงหาความรเู้ ก่ยี วกับการเปล่ยี นแปลงตนเอง และการปรับปรงุ ตนเอง
โดยแสวงหาการสนับสนุนจากบุคคลในอาชีพเดยี วกันจุดเร่ิมตน้ ของการพฒั นาตนของผู้ประกอบวิชาชพี ครู คือ
การประเมนิ ความสามารถของตนเอง เพือ่ นำไปสกู่ ารวางแผนการพฒั นาอย่างรอบดา้ น ทง้ั นปี้ ัจจยั ท่ีเกย่ี วข้องกบั
การพฒั นากเ็ ปน็ ส่งิ สำคญั ยิ่งท่ีจะมุ่งใหเ้ กิดความสำเร็จในทุกขั้นตอนของการพัฒนาตน ซ่ึงได้แก่ วฒั นธรรมการ
สนับสนุน บรบิ ทของสถานศกึ ษา ระดบั การพัฒนาของสถานศึกษา เวลา งบประมาณ ข้ันตอนในการพฒั นา
วิชาชีพ การใช้เทคโนโลยีเพอ่ื การสอน และบทบาทขององคก์ ารดา้ นวิชาชพี ซงึ่ ปจั จัยดงั กลา่ วจะสง่ ผลสำคญั ต่อ
การพัฒนาตนทีม่ ีประสิทธิภาพและความยงั่ ยืนของผปู้ ระกอบวิชาชีพครู

การพฒั นาครใู นศตวรรษท่ี 21 มีการเปล่ียนแปลง ในด้านตา่ งๆ อยา่ งมากมาย โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งด้าน
เทคโนโลยที ีม่ ีการเปลีย่ นแปลงแบบก้าวกระโดด สง่ ผลให้การจัดการศกึ ษาเน้นการเรยี นรู้ที่ผเู้ รยี นเปน็ ศูนย์กลาง
ด้วยการ พัฒนาใหผ้ ู้เรยี นรจู้ กั กระบวนการสรา้ งองคค์ วามรู้ดว้ ยตนเอง จากปัญหาซับซ้อนที่เกดิ จากการ
เปล่ียนแปลงของโลก การเป็นครูทีด่ คี วรพัฒนาการเรียนรู้ทีเ่ นน้ ทกั ษะกระบวนการคดิ ท่สี ามารถเน้นใหผ้ ูเ้ รียน
สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างสร้างสรรคเ์ พ่ือตอบโจทย์ของการเปลย่ี นแปลงของยุคสมัย

ในขณะเดยี วกันความรเู้ ร่ืองจรรยาบรรณวชิ าชีพครกู ารพฒั นาคุณธรรมและจริยธรรม
กเ็ ป็นส่ิงทผ่ี ้ปู ระกอบวิชาชพี ครคู วรมคี วบคู่กนั ไป มีการพัฒนากระบวนการแก้ปญั หา อย่างสร้างสรรค์ เรอื่ ง
จรรยาบรรณวชิ าชีพครูเพ่ือชว่ ยในการพฒั นาครูร่นุ ใหม่ใหม้ ีกระบวนการทาง ความคดิ ในการแก้ปัญหาจาก
ความคิดสรา้ งสรรค์ที่สง่ เสริมกันอยา่ งเหมาะสม

158

การพัฒนานักศกึ ษาครูตามหลักจติ ตปญั ญาศกึ ษา

จิตตปัญญาศึกษา เป็นกระบวนการเรียนรู้ด้วยใจอยา่ งใคร่ครวญ เน้นการพัฒนาความคิด จิตใจ อารมณ์
ภายในตนเองอยา่ งแท้จรงิ เพ่ือให้เกดิ การตระหนกั รู้ในตนเอง รู้คุณคา่ ของส่งิ ต่าง ๆ โดยปราศจากอคติ เกิดความ
รักความเมตตาอ่อนน้อมต่อธรรมชาติมจี ติ สำนกึ ต่อสว่ นรวม และสามารถประยุกต์เช่อื มโยงกับศาสตร์ตา่ ง ๆ ใน
การดำเนนิ ชวี ติ ประจำวันได้อย่างสมดุลและมีคุณคา่ ด้วยเหตุน้ี จติ ตปัญญาศึกษาจึงเปน็ ท้ังแนวคดิ และแนวปฏิบัติ
ท่มี จี ุดมุ่งหมายใหเ้ กิดการเรยี นรู้เพอื่ การเปล่ียนแปลงในระดับตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ การเปลยี่ นแปลงภายในตน การ
เปลีย่ นแปลงภายในองค์กร และการเปลี่ยนแปลงภายในสงั คม โดยท่กี ารเปลยี่ นแปลงดังกลา่ ว ไมใ่ ชเ่ ปน็ การ
เปลย่ี นแปลงเล็ก ๆ นอ้ ย ๆ แต่เปน็ การเปลย่ี นแปลงขัน้ พ้ืนฐานอย่างลกึ ซ้ึง

โดยจติ ตปัญญาศกึ ษาเป็นแนวคิดและแนวปฏบิ ัติ ส่วนการเรียนรสู้ กู่ ารเปลี่ยนแปลงเปน็ เป้าหมายโดยเป็น
การขยายจิตสำนึกโดยผ่านกระบวนการเปลีย่ นมุมมองของเร่ืองราวตา่ ง ๆ ในการสมั ผัสได้ถงึ ความรู้สกึ ใตจ้ ติ สำนกึ
เพ่ือพัฒนามนุษย์ ซ่งึ กระบวนการตา่ ง ๆ นี้ จดั เป็นการศึกษาสำหรับศตวรรษท่ี 21 ท่ีเป็นยคุ แห่งการเปล่ียนแปลง
เพอ่ื โยงจติ ตปัญญาศึกษาสู่ transformative education เพ่อื พัฒนามนุษย์

จติ ตปัญญาศึกษา สามารถสร้างเสริมใหน้ กั ศึกษามีคุณลักษณะความเปน็ ครู เปน็ กระบวนการ การจดั การ
เรียนรู้ ซึ่งเน้นการทำสมาธิ เหตุการณ์กระต้นุ ผเู้ รยี นซึ่งเนน้ การฟงั อย่างลกึ ซึ้ง สนุ ทรยี สนทนา การนอ้ มสูใ่ จอยา่ ง
ใครค่ รวญ และการบนั ทึกการเรียนรู้ ตามแนวจิตตวิทยาศึกษา ดังที่ ประเวศ วะสี (2549) ไดก้ ล่าวไว้ว่า จติ ต
ปญั ญาศกึ ษาเปน็ การเรียนรู้ภายใน การศึกษาด้านใน เพ่ือให้เกดิ ความสมบรู ณ์ เกดิ การพัฒนาอย่างแทจ้ ริง โดยมี
การจัดกิจกรรมการพัฒนาดังตอ่ ไปน้ี

1. การเขา้ ถึงโลกและชีวติ เรามองโลก มองธรรมชาติอยา่ งไร หากเราเข้าถึงความ
จริงจะพบความงามในนน้ั เสมอ เมอ่ื เราเขา้ ถึงความเปน็ ธรรมชาตกิ ็จะเขา้ ถงึ ความเปน็ อิสระ

2. กจิ กรรมตา่ งๆ เชน่ กจิ กรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับชุมชน ดนตรี ศิลปะ กิจกรรมอาสาสมคั ร
สุนทรยี สนทนา เป็นกิจกรรมทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ การพฒั นาตนเอง พฒั นาจิตใจ

3. การปลีกวิเวกไปอยู่กบั ธรรมชาติ สัมผสั ธรรมชาติ ไดร้ จู้ กั ตนเอง เมื่อจติ สงบ ความเชื่อมโยงเป็นหนงึ่
เดียวกบั ธรรมชาตจิ ะเกดิ ปรากฏการณต์ า่ งๆขนึ้

4. การทำสมาธิ ท้งั น้ีโดยอยบู่ นหลักการที่เปน็ องค์ประกอบพ้นื ฐานในการจดั กระบวนการหรือ
การเรียนรแู้ นวจติ ตปญั ญาศึกษา คือ หลักการพจิ ารณาดว้ ยใจอยา่ งใครค่ รวญ หลักความรักความเมตตา หลักการ
เชื่อมโยงสมั พันธ์ หลักการเผชิญหนา้ กบั ความจรงิ หลกั ความต่อเนื่อง หลกั ความมุ่งมัน่ และหลกั ชุมชนแหง่ การ
เรยี นรู้ เรียกวา่ “หลักจติ ตปัญญาศกึ ษา 7” หรือเรียกในชอื่ ยอ่ ๆภาษาอังกฤษว่า 7C’s (ธนา นลิ ชัยโกวิทย์และ
คณะ. 2550) กระบวนการเรียนร้ผู ่านการปฏิบตั ทิ เี่ หมาะสมจะนำไปสคู่ วามเข้าใจตนเอง มีสัมพันธภาพท่ดี ีกบั ผอู้ นื่

159

เพราะเข้าใจและสามารถตระหนักถงึ ความเปน็ สว่ นหนงึ่ ที่สัมพนั ธเ์ ช่อื มโยงกัน โดยการวิจัยเรอ่ื งผลการใชจ้ ิตต
ปัญญาศึกษาเพอื่ สรา้ งเสริมคุณลกั ษณะความเป็นครเู ป็นการสร้างเสริมคา่ นยิ มทางคุณธรรมและจริยธรรมของ
วิชาชีพครผู ่านการฝึกปฏบิ ตั จิ นกลายเปน็ คุณลักษณะสว่ นหน่งึ ของชวี ติ หรอื พฒั นาใหเ้ ปน็ ผูท้ ี่มบี ุคลิกลักษณะท่ีพึง
ประสงค์

ดงั น้นั จะเห็นไดว้ า่ นักศึกษาทีเ่ รยี นโดยกระบวนการจิตตปัญญาศกึ ษา มพี ฤติกรรมความเปน็ ครขู ณะฝกึ
ประสบการณว์ ิชาชีพทงั้ 3 ด้าน คือ ดา้ นความรู้ความเข้าใจในวชิ าชพี ด้านทักษะและดา้ นคุณธรรม ทัง้ นี้
พฤติกรรมความเป็นครทู ป่ี ระพฤติปฏบิ ัติโดยมี หลักฐานเชิงประจักษ์ในระดับมากทส่ี ุด จากการสัมภาษณอ์ าจารย์
นเิ ทศ ครูพีเ่ ลีย้ งและนักเรียน ไดแ้ ก่ ทักษะด้านการเป็น ผู้นำ ทกั ษะการมีมนุษยสัมพนั ธ์ และคณุ ธรรมด้านการ
ประพฤติตนเหมาะสมกับสถานภาพ เป็นแบบอย่างที่ดี และมจี ติ สาธารณะ การวิเคราะห์ข้อมลู จากการสมั ภาษณ์
เป็นการใหค้ วามสำคัญของการศึกษาด้วยบริบทและการตัดสินเชิงคณุ ภาพ เพราะการเรียนรดู้ า้ นในจติ ใจ ต้อง
อาศยั ประสบการณข์ องครู อาจารย์ ในการช่วยชี้แนะตรวจสอบ สอดคล้องกบั สมุ น อมร วิวัฒน์ (2548) ท่กี ล่าว
วา่ การประเมินการเรยี นรูด้ า้ นในจติ ใจกบั จิตตปัญญาศึกษานั้น ข้อมูลสำคัญมักไม่ได้เป็นเชงิ ปรมิ าณ แต่เปน็ เร่ือง
ของการเปล่ียนแปลงเชิงโลกทัศน์ที่ผปู้ ระเมนิ ต้องใชใ้ จเข้าไปทำความรจู้ ักกับผูเ้ รียนจึงจะสามารถประเมินได้อย่าง
เหมาะสม

และผลการวจิ ัยนสี้ อดคล้องกับการประเมนิ ตนเองในคุณลกั ษณะความเปน็ ครู ซึง่ แสดงให้เหน็ ว่านกั ศึกษา
คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ทเี่ รยี นรู้โดยกระบวนการจติ ตปัญญาศึกษามีคุณลกั ษณะความเป็นครูที่สง่ ผล
ถงึ พฤตกิ รรมความ เปน็ ครู โดยสอดคล้องกบั งานวจิ ัยของ นฤมล อเนกวทิ ย์ (2552) ท่ีพบว่า ผลการวเิ คราะห์
เปรยี บเทียบการปฏบิ ัติการพยาบาล แบบองค์รวมของนกั ศึกษาพยาบาลกล่มุ ทดลองท่ีเรียนด้วยหลักสตู รจติ ต
ปญั ญาศึกษาและกลมุ่ ควบคมุ แตกตา่ งกันอย่างมี นัยสำคัญทร่ี ะดบั .01 โดยคา่ มธั ยฐานของกลมุ่ ทดลองสูงกวา่
กลมุ่ ควบคุม ทงั้ การประเมนิ โดยผู้เรียน ผูส้ อน และผปู้ ่วย นอกจากนย้ี งั มนี ักการศกึ ษาและครสู ว่ นหนึ่งที่สนใจนำ
แนวคิดจติ ตปัญญาศึกษามาใชใ้ นการจดั การเรียนรู้ เชน่ งานวจิ ัยของโน ซาวา (Nozawa. 2004) ที่พบว่า การนำ
แนวปฏบิ ัติแบบจิตตปัญญาศึกษาไปใชใ้ นชีวติ ครู สง่ ผลตอ่ การพัฒนาตัวครูท้ังในแง่ คณุ ภาพชีวติ สว่ นตน และใน
แง่คุณภาพการสอน โดยพบว่า ครูทปี่ ฏิบัติสมาธแิ บบจิตปัญญาศึกษา มีการรับรู้ตนเองทส่ี งู ข้นึ สอนไดอ้ ย่างเป็น
ธรรมชาติ

สอดคล้องกบั งานวิจยั ของ กรดศิร์ ชดิ ดี และ ณัฐพร อุทยั ธรรม (2556) ท่กี ลา่ วสรุปถงึ จติ ตปัญญา
ศึกษาวา่ ก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงขน้ั พื้นฐานในตน ม่งุ เนน้ การศึกษาโลกภายในตนเอง ด้วยเหตนุ ้จี ติ ตปัญญา
ศกึ ษาจึงทำใหบ้ ุคคลเข้าใจด้านในจติ ใจของตนเอง รูต้ ัวถึงความเปน็ จริง เปน็ แนวทางท่จี ะทำให้เหน็ ความเชื่อมโยง
ของการ เรียนรทู้ ช่ี ดั เจน เช่อื มโยงท้ังความคิด จติ ใจ และนำไปสกู่ ารปฏิบตั ทิ ่ีมีประสทิ ธิภาพจากนามธรรมไปสู่
รูปธรรม โดยเฉพาะ อยา่ งยิ่งพฤติกรรมความเป็นครูที่ พบวา่ ปฏิบัติมากที่สดุ ท้ังทักษะการเปน็ ผนู้ ำทกั ษะการมี

160

มนุษยสัมพันธ์ มีความประพฤติ ตนเหมาะสมกับสถานภาพและเป็นแบบอย่างท่ดี ี และมีจติ สาธารณะ ซ่ึงเป็น
คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงคด์ งั ปรากฏในหลกั สูตร แกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐานพุทธศักราช 2551
(กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. 2551 : 4) ผลงานวจิ ัยน้ีจึงแสดงใหเ้ ห็นถึง ความสำคัญของพฤติกรรมความเป็นครูทีจ่ ะ
เชอื่ มโยงสแู่ นวทางการจัดการศกึ ษาท่เี ป็นประโยชนต์ ่อผู้เรยี นและสอดคล้องกบั นโยบายตามหลกั สูตร
การพัฒนาครูตามหลกั จติ ตปัญญาศกึ ษา

วิจักข์ พานชิ (2549) ให้ความหมายของจติ ตปัญญาศกึ ษา ว่า กระบวนการเรยี นรูด้ ว้ ยใจอยา่ งใคร่ครวญ
โดยเนน้ ที่ กระบวนการเรียนรู้ท่ไี ด้ความรจู้ ากประสบการณ์ เพราะความรู้ทแ่ี ท้จริงนั้น คือประสบการณ์ทกุ สิง่ ทุก
อยา่ งรอบตัว และ เมื่อเพิ่มมิติของการใคร่ครวญด้วยใจ จะทำให้สมั ผัสได้ถึงคุณค่าและความงาม ซ่ึงการเรยี นรู้
ดว้ ยใจอยา่ งใคร่ครวญจะเกดิ ขึ้นได้ด้วยส่ิงแวดลอ้ มท่ีเออ้ื ต่อการเรยี นรทู้ ี่เหน็ คุณคา่ ของการเรียนร้ดู ้านใน ทำให้
เรียนรู้ท่จี ะรัก เรยี นรทู้ จ่ี ะให้ เรยี นรู้ทีจ่ ะยอมรบั ความหลากหลายทางความคิดมากขน้ึ นำไปสคู่ วามตั้งใจท่จี ะทำ
ประโยชนเ์ พอื่ ผู้อื่น
กระบวนการเรียนรปู้ ระกอบด้วย 3 ลกั ษณะ คือ

1. การฟงั อย่างลึกซ้ึง (Deep Listening) หมายถึง ฟังด้วยหัวใจ ด้วยความตั้งใจ อย่างสัมผสั ได้ถงึ
รายละเอยี ดของส่ิงทีเ่ ราฟงั อย่างลกึ ซงึ้ ดว้ ยจติ ท่ตี ั้งม่ัน ในที่นี้ยังหมายถงึ การรับรู้ในทาง อื่น ๆ ดว้ ย เชน่ การมอง
การอ่าน การสัมผัส ฯลฯ

2. การน้อมสู่ใจอย่างใคร่ครวญ (Contemplation) เป็นกระบวนการต่อเน่ืองจากการฟงั อย่างลึกซึง้
กอปรกับประสบการณท์ ่ีผา่ นเขา้ มาในทางอืน่ ๆ เมื่อเข้ามาสู่ใจแลว้ มกี ารนอ้ มนำมาคิดใครค่ รวญอยา่ งลึกซ้งึ ซงึ่
ต้องอาศยั ความสงบเย็นของจิตใจเป็นพน้ื ฐาน จากนนั้ กล็ องนำไปปฏิบตั ิเพ่ือให้เห็นผลจรงิ กจ็ ะเปน็ การพอกพนู
ความร้เู พิ่มขน้ึ ในอีกระดับหนึ่ง การน้อมสู่ใจอย่างใคร่ครวญ ในภาษาลาตนิ คอื Contemplali ซึ่งหมายถึง การ
สังเกต การพิจารณาไตร่ตรอง หรือการจอ้ งมองอย่างตงั้ ใจ (to observe, consider or gaze attentively)
(Haynes, 2005)

3. การเฝา้ มองเห็นตามท่ีเป็นจรงิ (Meditation) การปฏบิ ตั ิธรรมหรือการภาวนา คือ การเฝา้ ดู
ธรรมชาตทิ ่แี ทจ้ ริงของจิต น่นั คอื การเปลี่ยนแปลง และสภาวะของการเป็นกระแสแห่งเหตปุ จั จัยท่ีเล่อื นไหล
ตอ่ เน่ือง การปฏบิ ัตภิ าวนาฝกึ สงั เกตธรรมชาติของจติ จะทำให้เราเหน็ ความเช่ือมโยงจากภายในสู่ภายนอก เหน็
ความเปน็ จรงิ ที่พ้นไปจากอำนาจแห่งตัวตนของตน ท่ีหาไดม้ ีอยู่จรงิ ตามธรรมชาติ เปน็ เพยี งการเห็นผดิ ไปของจิต
เพียงเท่าน้ัน

161

การพัฒนาจรรยาบรรณครขู องต่างประเทศ

การพัฒนาครูของประเทศฟนิ แลนด์

สำนักงานสภาการศึกษา กระทรวงการศึกษาฟนิ แลนด์ จะกำกับมาตรฐานคุณภาพ การจดั การศึกษาของ
โรงเรยี นในระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน และจัดบริการฝกึ อบรมพฒั นาตลอดชวี ิตการเปน็ ครู สว่ นโรงเรียนจะส่งครู
ไปฝกึ อบรมพฒั นาอย่าเปน็ ระบบ ทงั้ นฟ้ี ินแลนด์ได้ยกเลิกการใชศ้ กึ ษานเิ ทศก์ ไปแล้วเม่ือ 15 ปี
ทีผ่ ่านมา โดยไดเ้ นน้ การสรา้ งความเข้มแข็งขอผบู้ ริหารสถานศึกษาและครู รวมทง้ั ได้ทุ่มเทในการใช้เทคโนโลยี
คอมพวิ เตอร์ช่วยการจดั การเรยี นการสอน และการศึกษาวิจยั เพอื่ สร้างฐานขอ้ มลู และพัฒนานวัตกรรมใหม่

ในเรอ่ื งการพัฒนาตนเองวชิ าชีพ หมายถงึ การฝึกฝนตนให้มีความรคู้ วามสามารถด้วยวธิ ีการต่าง ๆ ที่
เก่ียวขอ้ งกับหน้าท่ีของครู ศึกษาหาความร้จู ากเอกสาร การเขา้ ร่วมประชุมสมั มนา เขา้ รับการอบรมฟังการ
บรรยาย การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ มีการพัฒนาในเร่ืองของทักษะวิธีการสอนทสามารถนำไปใช้ในกิจกรรม
การเรียนการสอนให้ผูเ้ รยี นบรรลุวัตถปุ ระสงคข์ องการเรียนรู้ ความสามารถในการพัฒนาหลกั สตู ร แผนการสอน
และนวัตกรรม มีการวจิ ัยในชนั เรียนมีความสามารถในการพฒั นาทักษะการวัดและประเมินผล และการนำผล
การประเมนิ มาใช้ โดยคำนงึ ถึงความแตกต่างระหวา่ งบุคคลของผเู้ รยี น

ผลการจัดการเรียนรตู้ ามแนวจิตตปญั ญาศกึ ษา

การจัดการเรยี นรู้ พบวา่
1. กจิ กรรมทีใ่ ช้ในการพฒั นา ทำให้ผ้เู ขา้ รับการอบรมสงบ ผ่อนคลาย เรียนรู้ทีจ่ ะออกจากพ้ืนที่ที่
ปลอดภัย การใชส้ นุ ทรยี สนทนา การฟงั อยา่ งลึกซึง้ เกิดความตระหนักรูต้ อ่ ตนเอง เข้าใจตนเอง เกดิ แรงบนั ดาลใจ
ในการค้นหาความเป็นครูของตนเอง ตระหนักรู้ถึงความสามารถของนกั เรียนทมี่ ีความแตกต่างกนั ยอมรับนักเรียน
ทมี่ คี วามสามารถแตกตา่ งกนั ครูเรยี นรู้การบูรณาการการจดั การเรยี นรู้
2. ผลการจัดการเรยี นรูพ้ บวา่ วิธีการและกจิ กรรมท่คี รูใช้ในการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย การฝึก
สมาธิ การสะท้อนความคดิ หลงั การเรียนรู้ การผ่อนพกั ตระหนักรู้ การใช้เกม เพลง การระบายสี นิทาน
ความสำเร็จในการนำจติ ตปัญญาศึกษามาใช้ในการจดั การเรียนรู้ นักเรียนเกิดการเรียนรู้ที่ดขี ึน้ รว่ มแสดงความ
คิดเหน็ มากกวา่ ฟังครู สามารถฟงั ความคดิ เห็นของเพ่ือนได้ มคี วามอดกลั้น สามารถอย่รู ่วมกับผู้อ่ืนได้ ครูมีการ
ปรับเปล่ียนวธิ กี ารจดั การเรียนรู้ มคี วามสขุ ในการจดั การเรยี นรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ไดห้ ลากหลาย ฟงั
นักเรียนไดม้ ากข้ึน บรรยากาศของการเรียนรมู้ ีความอบอุ่น กจิ กรรมทำให้ผเู้ รยี นรู้จักการคดิ วเิ คราะห์

162

สรุป

ความเป็นครู จรรยาบรรณวชิ าชพี ครู เกณฑม์ าตรฐานวชิ าชพี และ
แนวโน้มจรรยาบรรณครใู นบรบิ ทโลก

ประวตั ขิ องการศึกษาไทย การศึกษาไทยในสมยั โบราณมวี ัดเปน็ ศนู ยก์ ลางประชาคมกิจกรรมตา่ ง ๆ ของ
รฐั และวัดย่อมเป็นการสอนประชาคมไปในตวั วชิ าทีเ่ รยี นคือภาษาบาลี ภาษาไทยและวชิ าสามัญขนั้ ต้น
ยดึ หลักปรชั ญาจิตนิยม ทเี่ น้นการพัฒนาด้านจิตใจเนน้ การเขา้ ใจชีวติ ส่งเสริมคณุ ธรรมศีลธรรม ศิลปะ ผลิตคนให้
เป็นนกั อักษรศาสตร์และศิลปศาสตร์ สมยั ปฎิรูปการศึกษามกี ารวางรากฐานของการศึกษาอยา่ งครบถ้วน เริ่ม
ต้งั แตก่ ารสรา้ งโรงเรยี น การประกาศใช้โครงการศึกษาแบ่งเป็นระดับประถม มธั ยม และอาชวี ศึกษา
การสรา้ งหลกั สูตรและแบบเรียน

ความเปน็ ครู ลกั ษณะท่ดี ีของครทู ด่ี ี ควรมคี วามรักและเมตตาตอ่ ศิษย์ มีความเสยี สละหม่ันเพียรศกึ ษา

ปรบั ปรงุ วธิ กี ารสอน เพื่อพฒั นาตนเองอยู่เสมอ ตอ้ งมคี วามเขา้ ใจศิษย์ทุกคน เป็นกำลงั ใจและชว่ ยสรา้ งแรง
บนั ดาลใจให้กับศิษย์เพ่ือให้เขาเปน็ คนใฝเ่ รยี นรู้ เป็นแบบอย่างท่ีดี มจี รรยาบรรณในวิชาชีพครู มีจติ วิญญาณของ

ความเปน็ ครู สามารถถา่ ยทอดความรูไ้ ด้เป็นอยา่ งดี มีวธิ กี ารสอนที่หลากหลาย
ครุ ุสภา คุรุสภากระทรวงศึกษาธิการ มีหนา้ ที่ควบคุมออกและเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวชิ าชพี

กำกับ ดแู ลการปฏิบตั ติ ามมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวชิ าชพี และตราพระราชบัญญตั ิ
สภาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ.2546 ข้ึนใหเ้ ปน็ กฎหมายวา่ ด้วยสภาครแู ละบคุ ลากร
ทางการศึกษา หรอื อกี ชือ่ หนึง่ คอื สภาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาอยใู่ นกำกับของสำนักงานเลขาธกิ ารสภา
การศึกษา ในกระทรวงมีองค์กรหลกั ทเี่ ป็นคณะบุคคลในรูปสภาหรือคณะกรรรมการจำนวน 4 องคก์ ร ได้แก่
สภาการศึกษาคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาและคณะกรรมการการ
อุดมศึกษา เพ่ือพิจารณาให้ความเหน็ หรอื ใหค้ ำแนะนำแกร่ ัฐมนตรหี รือคณะรฐั มนตรี

มาตรฐานวชิ าชีพ และจรรยาบรรณวิชาชีพ มาตรฐานวชิ าชพี ครู มี 3 ดา้ น เปน็ ข้อกำหนดเกยี่ วกบั
คุณลักษณะและคณุ ภาพท่ีพึงประสงค์ท่ีต้องการใหเ้ กิดข้ึนในการประกอบวิชาชพี ครโู ดยผู้ประกอบวชิ าชีพจะต้อง
นำมาตรฐานวิชาชพี เปน็ หลกั เกณฑ์ในประกอบวชิ าชพี คุรสุ ภาซ่ึงเปน็ องคก์ รวิชาชพี ครูจรรยาบรรณวิชาชีพครูมี 5
ดา้ น 9 ข้อ จรรยาบรรณวชิ าชีพครู หมายถงึ กฎแห่งความประพฤติที่องค์กรวชิ าชพี ครกู ำหนดขึ้นให้ครปู ระพฤติ
ปฏิบัตติ ามในแนวทางที่ถูกต้อง เพ่อื รักษาและสง่ เสรมิ เกยี รตคิ ณุ ชอื่ เสยี งและฐานะของความเปน็ ครู

แนวโน้มจรรยาบรรณครูในบรบิ ทโลก การพัฒนาครใู นศตวรรษท่ี 21 มีการเปลีย่ นแปลงในด้านต่างๆ
โดยเฉพาะอยา่ งยิ่ง ดา้ นเทคโนโลยสี ่งผลให้การจัดการศึกษาเนน้ การเรยี นรูท้ ่ผี ้เู รียนเป็นศูนยก์ ลาง ด้วยการ พัฒนา
ใหผ้ ู้เรยี นรจู้ กั กระบวนการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ผปู้ ระกอบวิชาชพี ครจู ำเปน็ ต้องพฒั นาตนเพื่อให้เทา่ ทนั
กับการเปลย่ี นแปลงทเ่ี ปน็ ไปอยา่ งต่อเน่ืองโดยมีทักษะการเปล่ียนแปลงที่สำคัญ คือ การสร้าบรรยากาศใหเ้ กดิ
ความรู้สึก หรือทัศนคติทางบวกในการจัดการกบั การเปลี่ยนแปลง

163

อ้างองิ

ครุ ุสภา. (2558). มาตรฐานวิชาชพี ครู.(ออนไลน์).สบื ค้นเมื่อวันท่ี 2 มีนาคม 2564
แหล่งทมี่ า : https://www.ksp.or.th/ksp2018/

จติ ตปัญญาศกึ ษา มหาวิทยาลยั มหิดล. ปาจารยสาร ฉบับสกิ ขาปริทัศน์.ค้นเม่ือ 1 มนี าคม 2564,
จาก http://www.semsikkha.org/paca/index.php.option=contenttask&View4id=146&Item

วิจกั ขณ์ พานชิ . (2548). ในกล่มุ จติ วิวัฒน์ (บรรณาธกิ าร) จิตผลบิ าน: ออ่ นโยนต่อชวี ิต อ่อนน้อมต่อธรรมชาติ
การเรียนรดู้ ้วยใจอยา่ งใคร่ครวญ. กรุงเทพฯ: สำนกั พิมพ์อมรนิ ทร์, หนา้ 205 – 210.

ประวัตคิ วามเปน็ มาและระบบการศึกษาไทย. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา การศึกษาและความเปน็ ครูไทย.
ค้นเมื่อวนั ที่ 6 มีนาคม 2564,จาก https://krupasathaimaiake.files.wordpress.com

สภาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา. สารานกุ รมเสรี.ค้นเมื่อ 1 มนี าคม 2564,
จาก https://th.wikipedia.org/wiki

หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของวิชาคร.ู ค้นเมื่อ 3 มีนาคม 2564
จาก https://sites.google.com/site/krutubtib/khru/hnathi-laea-khwam-rab-phid-chxb-

khxng-wicha-khru
ชนัญชิชา กองสุข. (2556). ความหมายของมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา.(ออนไลน)์ .สืบค้นเม่ือ 2

มนี าคม 2564 แหลง่ ที่มา : http://chananchidapresent1.blogspot.com
องคป์ ระกอบการคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา. นายอรรถพล เรืองขจร, ค้นเมื่อ 1 มนี าคม 2564,
จาก http://auttapontme35851n.blogspot.com/

164

บทที่ 7
จิตวิญญาณความเป็นครูและคา่ นยิ ม

ความหมายและแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกบั จิตวญิ ญาณ

ความหมายของจิตวิญญาณ คำว่าจิตวิญญาณ Spiritual หรือ Spirituality มีรากศัพท์มาจากคำว่า
spiritus ในภาษา ลาติน หมายถึง ลมหายใจ และคำว่า enthousiasmos ทห่ี มายถึง the god within หรอื พลัง
อำนาจ ศักดิ์สิทธิ์ของชีวิต (โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. 2549) ส่วน spirit (n) spiritual (adj)
และ spirituality (n) ในพจนานุกรมฉบับอังกฤษ-ไทย ให้ความหมายว่า วิญญาณ จิตใจ เกี่ยวกับใจ
ความองอาจ เจตนา ผู้มปี ญั ญา ความอดทน และภูตผีปศี าจ (สอ. เสถบตุ ร: ฉบับภาษาอังกฤษ-ไทย. 2541: 562)

สุมน อมรวิวัฒน์ (2542) สรุปจิตวิญญาณไม่ว่าจะมาจากรากฐานความคิดด้านใดก็ล้วนแต่ แสดงพลัง
ขับเคลื่อนทางบวก สร้างสรรค์ พัฒนาทั้งทางนามธรรมและรูปธรรม ทางนามธรรมก็คือ เป็นธาตุรู้เป็นความ
ตระหนักรู้คุณค่าของจิตสำนึก ความสุขและความอ่ิมเอมทางรูปธรรมก็คือ เป็นพฤติกรรมที่เกิดจากแรงผลัก
ภายในตน แสดงตอ่ เน่อื งในวิถชี ีวติ เป็นความสงบสบายเช่ือมโยง สมั พันธก์ บั ทกุ ยา่ งกา้ วของชวี ติ

ประเวศ วะสี (2547 : 11-15) ให้ความหมายจิตวิญญาณ หมายถึง จิตขั้นสูงสดุ เป็นคุณค่า และจิตสำนกึ
แหง่ ความดี จิตทล่ี ดความเห็นแก่ตวั เห็นแกผ่ ู้อืน่ จติ ท่เี กี่ยวกบั ความยืดมนั่ ถือมัน่ ใน ตัวตน ความดคี วามชั่วต่าง ๆ
จิตในส่วนที่จะเข้าถึงสิ่งสูงสุดได้คือ นิพพานหรือพระผู้เป็นเจ้า นอกจากนี้ ประเวศ วะสี ยังได้กล่าวว่า จิตไม่ได้
ดำรงอยเู่ ป็นเอกเทศ กาย จิต สงั คม ปัญญา เช่อื มโยง ไปมาถึงกนั การพฒั นาจติ ต้องเปน็ ไปทว่ั มิติเชื่อมโยงกัน ท้ัง
ภ ู ม ิ ป ั ญ ญ า ต ะ ว ั น อ อ ก แ ล ะ ต ะ ว ั น ต ก เ ห ็ น ต ร ง ก ั น ว ่ า ก า ร พ ั ฒ น า ค ว ร ม ี ใ น 4 ม ิ ต ิ ไ ด ้ แ ก่
1) กายพฒั นา 2) จติ พฒั นา 3) สังคมพฒั นา 4) ปญั ญา พฒั นา

การพัฒนาทุกมิตมิ ุ่งใหเ้ กิดความถูกต้องดีงามและการมีจิตใจสูง การมีจิตใจสงู หมายถึง การลดน้อยถอย
ลงของความเห็นแก่ตัว มีความรักเพื่อนมนุษย์และสรรพสิ่ง การเข้าถึงความจริง ความหมาย และความดี
มีสุขภาวะและเป็นไปเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติโดยที่กาย จิต สังคมปัญญา เชื่อมโยงกัน ฉะนั้นการพัฒนา
ทีก่ ลา่ วถึงในบางเร่ืองอยู่คาบเก่ียวกันหลายมิติ เชน่ โยคะมีทง้ั มิติ ทางกายกับจิต ศลิ ปะมีมิติทางกาย ทางจิต ทาง
สังคม ทางปญั ญา เป็นต้น

อารยา พรายแย้ม และคณะ (2552) ได้สรุปความหมายของจิตวิญญาณ ว่าเป็นสิ่งที่แสดง ออกเป็นแก่น
แท้หรอื สาระ (Essence) ของบางส่ิงหรือของคนบางคน โดยอยู่เหนือการมสี ขุ ภาวะ ทางอารมณแ์ ละจิตใจท่ีดีและ
มีความสุข โดยจะบอกถึงการรู้จักตนเอง (เราเป็นใคร) ความเป็นอยู่ของเรา (เรามีปฏิสัมพันธ์
กบั คนอยา่ งไร) และจิตสำนกึ (เราอยู่กับตนเองอยา่ งไรเราแสดงตัวตนของเราอยา่ งไร เรารับรูค้ วามร้สู ึกของตนเอง
และผู้อน่ื อย่างไร) และความเป็นจิตวิญญาณ (Spirituality) คอื การมองกลับเขา้ ไปภายในเพื่อค้นพบเอกลักษณ์ท่ี
แท้จริงของเรา โดยเป็นการมองเพื่อคน้ พบตัวตนคณุ ค่า ความหมายและเปา้ หมายในชีวิต ให้ลึกซึ้งถึงแก่นแท้ของ

165

ตัวเรา นอกเหนือจากนั้นยังเชื่อมโยง กับมนุษย์ทุกคน และรับรู้ถงึ บางสิง่ ที่ยิ่งใหญ่กว่าตัวเราเองโดยที่บางคนอาจ
พูดว่าเป็นประสบการณ์ ของความสงบท่ีแสดงออกมาในรปู ของความกรุณา

นงเยาว์ มงคลอิทธิเวช และคณะ (2552) ได้ให้ความหมายของสุขภาวะทางจิตวิญญาณว่า หมายถึง
สภาวะสงบสขุ ทม่ี ีความประณตี เป็นความสุขที่แท้จรงิ ท่ีหลดุ พน้ จากการยดึ ติดกับวัตถุ แต่เปน็ ภาวะที่เป่ียมลน้ ด้วย
ความปิติ อิ่มเอิบ อิ่มเต็มจากภายใน มีความอ่อนโยน เบิกบาน จิตใจ สงบนิ่ง ไม่วุ่นวายสับสน
มีพลังในการมีชีวิตอย่างมีคุณค่า มีความหมาย มีเป้าหมายชีวิตที่ชัดเจน พึงพอใจในชีวิต มีสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ
เข้าใจโลกและชีวิตตามความเป็นจริงและมีความสามารถ ในการเผชิญและแก้ปัญหาและอุปสรรค์ต่าง ๆ
ในภาวะวิกฤตได้อยา่ งเหมาะสม

ดอมเบ็ค และคารล์ (Dombeck; & Karl. 1987) ให้ความหมายว่า เปน็ แรงขบั หรือเป็นความปรารถนาที่
ทำให้บุคคลมคี วามหมาย มีความม่นั คงภายในและมีความพยายามเพ่ือความสำเรจ็ ในชวี ิต

โบแลนเดอร์ (Bolander, 1994) กล่าวว่า จิตวิญญาณ คือหลักชีวิตที่ส่งผลให้ชีวิตนั้นเป็นชีวิต
ทบ่ี ริบูรณท์ ัง้ สรรี ะ อารมณ์ สตปิ ญั ญา ศีลธรรม จรรยา และพลงั ใจ จิตวญิ ญาณจะให้คุณค่า เกนิ ความเข้าใจธรรมดา

จากความหมายที่กล่าวข้างต้น สามารถสรุปความหมายของจิตวิญญาณ คือ ลักษณะของ จิตใจหรือ
ความรู้สึกภายในของบุคคล ที่แสดงพฤติกรรมออกมาจากความเชือ่ ความศรัทธาที่เกิดใน ตัวบุคคลนั้นด้วยใจอัน
บริสทุ ธิ์

แนวคิดทฤษฎเี ก่ยี วกับจิตวญิ ญาณ
จากความหมายของคำว่า จิตวิญญาณ ทั้งหมดที่กล่าวมา พบว่า มีการให้ความหมาย ในหลากหลายมิติ
โดยมีผพู้ ยายามจดั ประเภทของการให้ความหมายและรวบรวมลกั ษณะรว่ มใน ความหมายของจิตวิญญาณ รวมทั้ง
มีการเสนอความคิดเกี่ยวกบั การศึกษาจติ วิญญาณไว้ในลักษณะ ตา่ ง ๆ ดังต่อไปนี้
ประเวศ วะสี (2552) ได้เสนอสาระสำคัญเกี่ยวกับจิตวิญญาณและสุขภาวะทางจิตวิญญาณ ที่ปรากฏใน
สาระสำคญั ของการประชมุ ประจำปีของแผนพัฒนาจิตเพือ่ สุขภาพมลู นธิ สิ ด ศรีสฤษด์วิ งศ์ ในหลายประเดน็ ดงั นี้
1. จิตวิญญาณอยู่ใกล้ตัวเรา ทั้งในการทำงานและการดำเนินชีวิต จิตวิญญาณเป็นสิ่งที่ สามารถสร้างให้
เกิดขึ้นไดในการทำงานประจำวัน ทั้งในงานบริหาร งานพัฒนาคุณภาพ งานใน สถานการณ์ยากลำบาก
งานในชุมชน ล้วนแต่เป็นพื้นที่ให้มนุษย์ได้ใกล้ชิดกับจิตวิญญาณ ผ่านการฝึกฝนตนเองร่วมไปกับบทบาท
และหน้าที่ที่ตนเองกำลังปฏิบัติ จิตวิญญาณจะอยู่ร่วมกับชีวิตและส่งเสริมการดำเนินชีวิตประจำวัน
และการใช้ชีวิตครอบครวั ให้มีสุขภาวะท่ีดขี นึ้ เห็นคณุ คา่ และความหมายของการมีชีวติ อยู่
2. การเปลี่ยนแปลงทางจิตวิญญาณเป็นการข้ามพ้นกรอบความคิดเดมิ ที่เรายึดติด การเปลี่ยนแปลงทาง
จิตวิญญาณต้องเริม่ ตน้ ทีต่ นเอง โดยปลดปล่อยให้ตนเองหลุดจากกรอบและ ความคิดความเชื่อเดิม ๆ เช่น ความ
เชื่อว่าทุกสิ่งต้องเป็นไปตามหลักการหรือทฤษฎีอย่างใดอย่างหนึ่ง ผลจากการเป็นอิสระจากกรอบเดิม ๆ ช่วยทำ

166

ให้เรามีพลังในการใช้ชีวิตและทำงานได้อย่างสร้างสรรค์ เมื่อการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น จะทำให้มนุษย์
เป็นคนธรรมดามากข้นึ สมั ผสั ความเรยี บง่าย และสามารถ มคี วามสขุ ได้มากขนึ้

3. สุขภาวะทางจิตวิญญาณเป็นสิ่งที่เชื่อมโยงตนเองกับสิ่งต่าง ๆ รอบด้านสุขภาวะ ทางจิตวิญญาณเป็น
เองที่เกี่ยวข้องการเชื่อมโยงการปฏิสัมพันธ์กับสิ่งต่าง ๆ ทั้งชุมชน สังคม องค์การ ระบบ การทำงาน ครอบครัว
เพื่อนร่วมงาน ความเชื่อมโยงเป็นเรื่องของการพึง่ พิงอาศัยซึ่งกนั และกัน ช่วยให้สามารถเข้าใจความหมายของแต่
ละส่ิงอยา่ งรอบดา้ น

4. จิตวิญญาณเป็นคุณค่าสูงสุดทางจิตใจไม่ว่าจะเป็นคำว่า จิตปัญญา จิตตปัญญา สุ ขภาวะ
ทางปัญญา หัวใจของความเป็นมนุษย์ การพัฒนาจิต ล้วนแต่เป็นสิ่งเดียวกันที่มีความหมายถึง สิ่งที่มี
คุณค่าสูงสุดทางจิตใจ มิติทางจิตวิญญาณเป็นสิ่งที่มนุษย์สามารถสัมผัสได้ถึงความงามอันลึกซ้ึง
ความสุขอนั ประณตี ความอิสระทอ่ี ยภู่ ายในจิตใจ หรือความรกั อนั ไพศาลตอ่ เพอ่ื นมนุษย์

5. สติเป็นเครื่องมือสำคัญของการพัฒนาทางจิตวิญญาณ สติเป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยให้
มนุษย์เปลี่ยนวิธีคิดได้ สติทำให้จิตเป็นกลาง เมื่อจิตเป็นกลางก็จะสามารถเปลี่ยนอะไรก็ได้ แม้กระท่ัง
การเปลี่ยนวิธีคิดไปจากเดิม ถ้าคนที่ทำงานในอาชีพต่าง ๆ เช่น แพทย์ ครู นักธุรกิจ หันมาเจริญสติ
กันมาก สังคมก็จะสามารถเปลี่ยนแปลงได้ การพัฒนาทางจิตวิญญาณก็จะเกิดขึ้น ปัจจุบันคนทั่วโลก
หันมาเจริญสติกันมาก เพราะพบว่าการเจริญสติช่วยให้สุภาพดีขึ้น เยียวยาความเจ็บปวดได้ง่ายขึ้น
เรียนรู้ได้ดีขึ้น รวมทั้งมีความสัมพันธ์ที่ดีขึ้นกับคนในครอบครัวและที่ทำงาน สติจึงเป็นเครื่องมือสำคัญ
ของการปฏวิ ตั ทิ างจติ วญิ ญาณทีเ่ ชอื่ มโยงกบั ทกุ อยา่ งในชีวติ

6. การพัฒนาสุขภาวะทางจิตวิญญาณสามารถกระทำได้ในทุกศาสนา การพัฒนา จิตวิญญาณต่างมีจุด
ร่วมกันตรงที่การปฏิบัติอย่างเป็นประจำสม่ำเสมออยู่ในชีวิตประจำวัน โดย เริ่มต้นจากการฝึกปฏิบัติ
ตามศาสนาที่ตนเองนับถือ เช่น ศาสนาพุทธฝึกละอกุศล ทำความดี มีสติอยู่ กับปัจจุบันศาสนาอิสลาม
ฝึกละหมาดเพื่อระลึกถึงพระเจ้าตลอดทั้งวันและคืน ศาสนาคริสต์ฝึกชีวิต ฝ่ายจิตวิญญาณ ให้มีความรัก
และศรัทธาในพระเจ้าและแสดงออกด้วยการรักเพื่อนมนุษย์ แม้ว่าแต่ละศาสนาจะมีหลักปฏิบัติที่แตกต่างกัน
กส็ ามารถพัฒนาจิตวญิ ญาณได้ เพียงแคม่ ีการปฏิบตั เิ ทา่ น้นั

7. สุขภาวะทางจิตวิญญาณสามารถสร้างความสุขในการทำงานได้สุขภาวะทางจิตวญิ ญาณ เป็นความสุข
ราคาถกู ท่ไี ม่ต้องลงทนุ มากมาย ก็สามารถหาความสุขนี้ไดในการทำงาน เพื่อเรมิ่ จากการเห็นคุณค่าและศรัทธาใน
วิชาชีพหรืองานที่ตนเองทำ รู้จักชื่นชมและให้กำลังใจตนเองเป็น รับรู้ความรู้สึกของผู้อื่น ตระหนักถึงคุณค่าอัน
ละเอยี ดอ่อนของชีวติ มนุษย์ ฝกึ ฝนการเจรญิ สติ ในระหวา่ งการทำงาน คุณลกั ษณะเหล่านไี้ มจ่ ำเป็นต้องหาซื้อจาก
ท ี ่ ใ ด เ พ ี ย ง แ ค่ เ ร ิ ่ ม ต ้ น ท ี ่ ต น เ อ ง เ ท ่ า น ั ้ น ก ็ ส า ม า ร ถ ร ั บ ผ ล อ ั น เ ป ็ น ค ว า ม ส ุ ข ไ ด้ ท ั น ที
ในขณะทก่ี ำลังทำงาน

167

8. ชมุ ชนกัลยาณมติ รเปน็ สิง่ ทส่ี นบั สนนุ ให้สขุ ภาวะทางจติ วญิ ญาณคงอยชู่ มุ ชนเป็นพ้ืนท่ี ในการดแู ลจติ ใจ
ที่ขยายออกไปจากตนเอง ผ่านการสื่อสารกันอย่างเป็นกัลยาณมิตร มี การรับฟัง กันอย่างลึกซ้ึง
การมีเพื่อนที่สามารถบอกเล่าเรื่องราว และแบ่งปันทุกข์สุขให้แก่กันได้ เป็นปัจจัยที่ช่วย หล่อเลี้ยงพลังในการ
ทำงาน แม้ว่าเราจะอยู่ในสถานการณที่ตึงเครียด กดดัน หรือบีบคั้น ยากลำบากก็ตาม สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
ในการทำงานก็ยังคงอยู่ เราสามารถสร้างชุมชนชนกัลยาณมิตร ได้ง่ายๆ ด้วยการสร้างพื้นที่สร้างเวลา
สร้างโอกาสให้ปลอดภัย พื้นที่สร้างสรรค์ในการทำงานก็จะเกิดขึ้นได้ กล่าวโดยสรุปคือ ชุมชนที่ดีจะสนับสนุนให้
สขุ ภาวะทางจิตวิญญาณยังคงอยู่ตั้งแตเ่ รมิ่ ต้น ระหวา่ งทางจนเกดิ ผลงาน ตลอดเส้นทางการทำงาน

9. ผู้นำท่ีมสี ขุ ภาวะทางจิตวญิ ญาณเป็นสิ่งสำคัญในการพัฒนาคุณภาพขององค์การ ผู้นำเป็นผู้ที่มีบทบาท
สำคญั ในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ขององค์การได้หากผูน้ ำพัฒนาสุขภาวะทางจิตวิญญาณ ของตนเองไปด้วย ผู้นำท่ี
มีสุขภาวะทางจิตวญิ ญาณประกอบไปด้วยคุณลักษณะ 7 ประการ ไดแ้ ก่

9.1 คน้ หาและยอมรับในศักยภาพเดิมหรอื ตน้ ทุนที่มีอยูแ่ ลว้ ในองค์การ
9.2 สร้างพน้ื ที่ให้ผลงานได้มโี อกาสงอกเงยและปรากฏใหเ้ หน็
9.3 สง่ เสริมบคุ ลากรแตล่ ะคนได้มโี อกาสทำงานทีย่ ากและทา้ ทาย
9.4 มีการอาศยั ความรว่ มมือรว่ มใจของบคุ ลากรทุกระดับในองค์การ
9.5 มกี ารทำงานแบบเปน็ งานศลิ ปะทมี่ ีสนุ ทรียภาพ
9.6 มขี วัญและกำลังใจสนับสนุนอยเู่ บื้องหลงั
9.7 การใส่ใจดูแลทุกข์สขุ ของบคุ ลากรทุกคน
10. เมื่อนำจิตวิญญาณเข้าไปใช้ในระบบการศึกษา จะสามารถทำให้ระบบการศึกษา มีการเรียนรู้ อย่าง
เป็นองค์รวมได้ การนำเอาเรื่องการพัฒนาจิตจนเกิดปัญญาเข้าไปสู่การเรียนการสอน นำการเรียนรู้เข้ามาสู่ตัว
ผู้เรียนผู้สอน โดยอาศัยวิธีการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงเนื้อหาวิชาออกไปสู่ชีวิต ไม่จำกัดการเรียนรู้เฉพาะ
ภายในห้องเรียน มีการเชื่อมโยงชีวิตผู้เรียนไปสู่โลกภายนอกสู่ชุมชนต่าง ๆ เท่าทันต่อเหตุการณ์บ้านเมือง
การศึกษาเช่นนี้จะเกิดขึ้นได้ต้องเริ่มจากผู้สอนต้องมีจิตวิญญาณ ตระหนักคุณค่าที่แท้ของความเป็นครู
หรือจติ วญิ ญาณความเป็นครู ในขณะท่ีนักเรียนเปน็ ผู้ที่ต้อง มจี ติ วิญญาณของผใู้ ฝ่เรียนรู้ การเรียนรู้อย่างเป็นองค์
รวมทแ่ี ทจ้ รงิ จึงเกดิ ขน้ึ ได้
11. สุขภาวะทางจิตวิญญาณเริ่มต้นเมื่อนำชุมชนเป็นศูนย์กลางการมีโอกาสได้เข้าไปรับรู้ ความรูสึกของ
ชุมชนที่เก่ียวข้องกับตนเองหรอื องค์การจะทำให้เกิดการเหน็ ทั้งหมดของชีวิตและความหมายของสุขภาวะทางจติ
วิญญาณ มีการบูรณาการนำเอามิตติ ่าง ๆ เข้ามาในชีวิตและการทำงาน ทั้งมิติทางกาย จิต และสังคม การบูรณา
การย่อมทำใหเ้ กิดการเห็นคุณคา่ ในตนเองและ การทำงานมากย่งิ ขนึ้
ณัฏฐภรณ์ หลาวทอง และปิยวรรณ วิเศษสวุ รรณภูมิ (2553) ไดส้ รุปแนวคดิ จิตวิญญาณว่า องค์ประกอบ
ด้านสุขภาวะทางจิตวญิ ญาณประกอบด้วยองคป์ ระกอบทางด้านภายในตวั บุคคล ได้แก่ การรับรู้ ความเช่ือ วิธีการ

168

ปฏิบัติต่อสิ่งต่าง ๆ องค์ประกอบทางด้านสิ่งแวดล้อม ได้แก่ การให้ความรัก ความปรารถนาดีต่อผู้อื่น การเข้าใจ
บ ุ ค ค ล อ ื ่ น ร ว ม ถ ึ ง ส ิ ่ ง แ ว ด ล ้ อ ม แ ล ะ ธ ร ร ม ช า ต ิ แ ล ะ อ ง ค ์ ป ร ะ ก อ บ ท า ง ด ้ า น ค ว า ม เ ช่ื อ
เกย่ี วกับพระเจา้

ธรรมนันทิกา แจ้งสว่าง, (2554) ได้สรุปแนวคิดจิตวิญญาณว่า จิตวิญญาณเป็นสิ่งที่เกิดข้ึน
ในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ของชีวิต รวมทั้งบรบิ ทของการทำงาน มีความแตกตา่ งกันไปตามบรบิ ทของ สภาพแวดล้อม
และวัฒนธรรม เป็นส่วนสนับสนุนในการดำเนินชีวิตของบุคคลทั้งบริบททั่วไปและ บริบทการทำงาน เป็นพลัง
ภายในของบุคคลท่ีทำให้เกดิ ความแข็งแกรง่ ในการดำเนนิ ชวี ิตและ เมื่อเผชิญปัญหา การมีจิตวญิ ญาณคือ จะต้อง
มีความเกี่ยวข้องกับการข้ามพ้นตนเอง ความเข้าใจตนเอง เข้าใจความเป็นจริงของสรรพส่ิงและมีเป้าหมายของ
ชีวิต เป็นความเชื่อมโยงกับสิ่งต่าง ๆ ทั้งบุคคล สภาพแวดล้อม องค์การ มีความเกี่ยวข้องกับความเชื่อ ความ
ศรัทธาในเรื่องพลัง เหนือธรรมชาติ หรือเหนือไปจากการรับรู้ปกติ โดยผ่านประสบการณ์และการปฏิบัติทาง
ศาสนาหรอื ความเช่อื

โกเมธ และไฟเซอร์ (Gomez and Fisher, 2003, p,2005) วัดสุขภาวะทางจิตวิญญาณ โดยใช้
องค์ประกอบดังนี้ คือ ด้านบุคคล ได้วัดเกี่ยวกับด้านต่าง ๆ ได้แก่ การรู้จักตนเอง การตระหนัก ในตนเอง การมี
ความพึงพอใจในชีวิต ความสงบส่วนตัว และความหมายของชีวิต ด้านส่วนรวม ได้วัดด้านต่าง ๆ ได้แก่ การรั ก
ผู้อื่น การให้อภัยผู้อื่น การเชื่อผู้อื่น การเคารพผู้อื่นและการดีต่อผู้อื่น ด้านสิ่งแวดล้อม วัดเกี่ยวกับการนึกถึง
ธรรมชาติ การเคารพธรรมชาติ การเป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ การชื่นชมธรรมชาติ และการเป็นส่วนหนึ่ง
เดยี วกันกบั ธรรมชาติ และดา้ นความเช่ือเก่ียวกับพระเจ้า

จากแนวคิดเกี่ยวกับจิตวิญญาณที่ได้ศึกษาข้างต้น สามารถสรุปแนวคิดเกี่ยวกับจิตวิญญาณได้ ว่า
จิตวิญญาณเป็นสิ่งทีม่ ีอยูภ่ ายในตวั บคุ คลทีเ่ ชื่อมโยงปฏิสัมพนั ธก์ ับการดำเนนิ ชีวิตโดยการฝกึ ปฏิบัติเพือ่ ให้เกิดจติ
วิญญาณ เช่น การให้ความรัก ความปรารถนาดีต่อตนเองและผู้ อื่น การเข้าใจ ตนเองและผู้อื่น
และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในสายวิชาชพี ครู โดยใหเ้ กดิ จิตวญิ ญาณในตวั บุคคล นำไปสู่การเปน็ ครทู ดี่ ี

ความหมายและความสำคญั ของจิตวิญญาณความเปน็ ครู
การปฏิบัติหน้าที่ด้วยจิตวิญญาณเป็นการทำหน้าที่ด้วยใจซึ่งทำให้เกิดความรัก ศรัทธา และยึดมั่น
ในอุดมการณ์แห่งวิชาชีพ มุ่งมั่น ทุ่มเทในการทำงาน ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี เอาใจใส่ ดูแลและหวังดี
ต่อศิษย์ จิตวิญญาณความเป็นครูจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ครูทุกคนควรมี ซึ่งจะทำให้ครู สามารถปฏิบัติงานได้
อย่างมีคุณภาพเปน็ ที่ยอมรับของสงั คม ความหมายของจิตวญิ ญาณความเปน็ ครู
ยนต์ ชุ่มจิต (2524) ใช้คำว่า วิญญาณครู โดยให้ความหมายว่า ความสำนึกในความเป็นครู นั่นคือ รู้ถึง
บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของครูอยู่ตลอดเวลา และได้ปฏิบัติหนา้ ที่ของครู โดยยึดถืออุดมการณ์ของครู
เป็นแนวทางเสมอ

169

ธวัชชัย เพง็ พนิ ิจ (2550) ให้ความหมายจติ วิญญาณครูวา่ หมายถึง จติ สำนึก ความคดิ ทัศนคติ พฤตกิ รรม
การแสดงออกที่ดี ลุ่มลึกสงบเย็น เป็นประโยชน์ตามกรอบของจริยธรรม คุณค่า ค่านิยม
จารตี ประเพณี วัฒนธรรม และความคาดหวงั ของสงั คม อันเปน็ องคร์ วมธาตแุ ท้ของบคุ คล ผู้ใฝร่ ู้ ค้นหา สรา้ งสรรค์
ถ่ายทอด ปลกู ฝัง และเปน็ แบบอยา่ งท่ีดีของสังคม ซงึ่ มขี น้ึ ไดใ้ นทุกคน ไม่เฉพาะผู้ทป่ี ระกอบอาชพี ครูเท่าน้นั

ธรรมนนั ทิกา แจ้งสว่าง (2554) ได้ให้ความหมายของจิตวิญญาณความเป็นครูวา่ เป็นคุณลักษณะทางจิต
และพฤติกรรมการทำงานที่สะท้อนถงึ การเป็นครูที่ดี จิตวิญญาณความเป็นครู ที่ปรากฏเป็นคุณลักษณะทางจิตนี้
จะเกี่ยวข้องกับความคิดที่มีต่อวิชาชีพครู ประกอบด้วย การเห็นคุณค่าของบทบาทหน้าที่ การมีศรัทธาในวิชาชพี
และยึดม่นั ตอ่ อดุ มการณใ์ นการทำงาน เป็นครู มีความเขา้ ใจทั้งตนเองและผู้อ่ืน ในขณะท่จี ติ วิญญาณความเป็นครู
ที่ปรากฏเป็นพฤตกิ รรม ประกอบด้วยการปฏบิ ตั ิต่อนักเรยี นดว้ ยความเมตตา ช่วยเหลอื เสียสละ อดทน การเป็น
แบบอย่างท่ดี ี รวมทงั้ การพัฒนาตนเองโดยการแสวงหาความรเู พ่ิมเตมิ

จมุ พล พลู ภัทรชีวนิ (2557) ได้ใหค้ วามหมายของจติ วิญญาณความเป็นครวู ่า จติ สำนกึ ความคิด ทัศนคติ
พฤติกรรมการแสดงออกที่ดี ลุ่มลึกสงบเย็น เป็นประโยชน์ ตามกรอบของจริยธรรม คุณธรรม ค่านิยม จารีต
ประเพณี วัฒนธรรม และความคาดหวังของสังคม อันเป็นองค์รวมธาตุแท้ ของบุคคลผู้ใฝ่รู้ ค้นหา สร้างสรรค์
ถ่ายทอด ปลูกฝงั และเป็นแบบอยา่ งที่ดขี องสงั คม

จากความหมายที่กล่าวข้างต้น สามารถสรุปความหมายของจิตวิญญาณความเป็นครู หมายถึง การเป็น
ครูทั้งชีวิตจิตใจ รักในความเป็นครู มีความเป็นครูตลอดเวลา มีพฤติกรรมการ แสดงออกที่ดีของครูที่มีต่อศิษย์
ด้วยรักความเมตตา ความอดทนความรับผิดชอบ และปรารถนาดีต่อ ศิษย์ และเป็นผู้ทำประโยชน์และเสียสละ
ให้แกป่ ระโยชนส์ ่วนรวม

ความสำคัญของจติ วิญญาณความเป็นครู
เนื่องจากอาชีพครูเป็นอาชีพที่สำคัญและได้รับการยกย่องและนับถือจากสังคม ครูเปรียบเสมือนผู้
ถ่ายทอดพันธุกรรมแห่งความดีไปยังผู้เรียน ซึ่งก็คือลูกศิษย์ที่เป็นเยาวชนและ อนาคตของประเทศชาติ หากครู
เปน็ ครดู ้วยจิตสำนกึ และวิญญาณของความเป็นครู อทุ ศิ ตนปฏิบัติ หนา้ ทคี่ รดู ว้ ยความเมตตาและเสียสละ มีความ
ห่วงใยต่อศิษย์ดจุ ลูกของตนเอง มีจิตสำนกึ และวญิ ญาณ ของความเปน็ ครอู ยา่ งแทจ้ รงิ รักและปรารถนาดี ต่อศิษย์
ทำตัวเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับศิษย์ แนะนำ แนวทางและทำทุกวิธีที่จะให้ศิษย์เป็นคนดี สิ่งที่ตามมาคือลูกศิษย์ซ่ึง
เป็นเยาวชนที่ดี มีคุณธรรม และ เติบโตไปเป็นผใู้ หญ่ท่ีดี หากในสงั คมมีคนดเี ป็นส่วนใหญ่ย่อมก่อให้เกิดความสงบ
สุขขึ้นในสังคมอย่าง แน่นอน ปัญหาความขัดแย้งท่ีพบเห็นในสังคมไทยปัจจุบนั ย่อมไม่เกิดขึ้น และมากไปกว่าน้นั
หาก ประชาชนส่วนใหญใ่ นประเทศเปน็ คนดี มคี ุณธรรม ประเทศชาติย่อมเจรญิ เติบโตในทางท่ดี อี กี ดว้ ย
ในอดีตมคี รูจำนวนมากท่ีมลี ักษณะครูอาชีพ เปน็ ครูด้วยใจรัก เปน็ ครูด้วยจิตใจและวิญญาณ แต่เมื่อเวลา
ผ่านไปมกี ระแสแหง่ การเปลี่ยนแปลงดา้ นตา่ ง ๆ มากระทบทำใหม้ คี รทู เ่ี ป็นปูชนยี บุคคล ลดนอ้ ยลงไปอย่างน่าเป็น
หว่ ง อีกท้ังในปัจจุบันอาชีพครูขาดแคลน ทำให้ผจู้ บการศึกษาทีว่ ่างงานเลือก อาชีพครูเพื่อเป็นทางเลือกให้ตนเอง

170

มีงานทำ กล่าวคือไม่ได้เป็นครูด้วยใจรัก ไม่มีจิตวิญญาณของความ เป็นครู อันก่อให้เกิดปัญหาครูกับนักเรียนขึ้น
ในโรงเรียน จะเหน็ ได้จากการนำเสนอข่าวในแง่ลบของ ครทู ี่ประพฤติปฏิบตั ิตัวผดิ ตอ่ วชิ าชพี และจรรยาบรรณของ
ครู กระทั่งผิดกฎหมายก็มีสิ่งเหล่านี้ทำให้ การยกย่องนับถือครูจากสังคมส่วนใหญ่ลดน้อยลง เกิดมุมมองและ
ภาพลักษณ์ของครูในทางทีไ่ ม่ดี ทั้งที่จริงแลว้ เกิดจากครูเพยี งส่วนนอ้ ย แต่ความเสียหายทีเ่ กดิ ขึ้นกับครทู ้ังหมดท่ี
เปน็ สว่ นใหญ่ด้วย

จะเห็นว่าจิตวิญญาณความเป็นครูเป็นเรื่องที่สำคัญ หากครูทุกคนปฏิบัติหน้าที่ครูด้วยใจรัก และมี
วิญญาณของความเป็นครู ย่อมกอ่ ให้เกิดความสุขในอาชีพครูของตนเองอย่างแนน่ อน และมาก ไปกวา่ น้ันเยาวชน
ซ่งึ เปน็ อนาคตของประเทศชาตจิ ะต้องเติบโตอย่างมีคุณภาพ และมคี ุณธรรม ครอบครวั สงั คม และประเทศชาติก็
จะมแี ต่ความสุขความเจรญิ

องคป์ ระกอบและตัวบง่ ช้ีจติ วิญญาณความเป็นครู

จากการศึกษาเอกสารและผลการวจิ ัยที่เกี่ยวข้องจิตวิญญาณความเป็นครู มอี งค์ประกอบและ ตัวบ่งช้ีจิต
วญิ ญาณความเป็นครู (กลญั ญู เพชราภรณ์, 2562) ดังนี้

กิตินันท์ โนสุ และเสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์ (2558 : 60-61) ได้กล่าวถงึ องคป์ ระกอบของ จติ วญิ ญาณความ
เป็นครู ดงั น้ี

1. องค์ประกอบด้านการพัฒนาตนเอง ประกอบด้วย
1.1 การใฝห่ าความรู้ เพ่ือพัฒนาตนเองอยูเ่ สมอ
1.2 มีความขยันหมั่นเพียรแสวงหาความรใู้ หมๆ่
1.3 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่นเพื่อการพัฒนาตนเองทุกครั้งที่มีโอกาส
1.4 มีการพัฒนาตนเองเพื่อสร้างความก้าวหน้าในวิชาชีพ จนได้รับอนุมัติให้มีหรือเลื่อน
วทิ ยฐานะ
1.5 มีความพยายามแสวงหาโอกาสเข้ารับการอบรม เพื่อนำความรู้มาพัฒนางานใน
หน้าที่ ให้เจริญก้าวหนา้
1.6 มีการพัฒนางานในวิชาชีพหรือได้รับการยกย่องชมเชย หรือรางวัลที่เกี่ยวกับวิชาชีพ ครู
1.7 มกี ารสร้างสรรคผ์ ลงานทางวิชาการเพ่อื บรกิ ารสังคม
1.8 มีความกระตือรือร้นในการค้นคว ้าหาความรู้เพิ่มเติมเพื่อพัฒน า ศิ ษ ย์
1.9 มีการพัฒนาตนเองให้ทันต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคมและการเมือง
อยู่เสมอ
1.10 มกี ารสำรวจและปรับปรงุ แกไ้ ขตนเองอยู่เสมอ

2. องค์ประกอบดา้ นความมเี มตตาในการปฏบิ ัติงาน ประกอบด้วย

171

2.1 การยอมรับความแตกต่างทางวัฒนธรรม ความคิด และความเชอื่
2.2 การสนบั สนุนความคิดริเรม่ิ ในทางทีถ่ ูกตอ้ งของเพื่อนรว่ มงาน
2.3 การใช้แนวทางในการแก้ปญั หา โดยวธิ กี ารทางปญั ญาและสนั ติวธิ ี
2.4 ปฏบิ ตั ิงานโดยอาศยั หลักแห่งเหตผุ ล ปราศจากอคติ
2.5 การยอมรบั ผลทเี่ กิดจากการกระทำของตนด้วยความเต็มใจ
2.6 มีความเปน็ ประชาธปิ ไตย
2.7 การใชห้ ลักการและเหตผุ ลในการตัดสนิ ใจแก้ปญั หา
2.8 การยอมรับความคิดที่มีเหตุผลโดยคำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลัก
2.9 ปฏิบัติงานโดนไม่เพิกเฉยในเหตุการณ์ที่จะทำใ ห้เกิดผลเสียต่องานในหน้าท่ี
3. องค์ประกอบด้านความคิดริเริม่ สรา้ งสรรค์ ประกอบดว้ ย
3.1 มีการตดิ ตามและประเมนิ ผลผ้เู รยี นในรูปแบบทห่ี ลากหลาย
3.2 การใช้แหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกสถานศึกษามาเป็นส่วนหนึ่งในการจัดการเรียน

การสอน
3.3 การแก้ไข ปรบั ปรงุ ขอ้ บกพร่องท่ีเกิดขนึ้ จากการเรยี นการสอน
3.4 การใชผ้ ลการวิเคราะห์ วิจัย เพอื่ พัฒนางานในหน้าท่อี ยเู่ สมอ
3.5 การสร้างโอกาสให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้ที่ได้รับจากการเรียนรู้กับ ประสบการณ์
ชวี ติ จริง
3.6 การคิดคน้ การสร้างสอ่ื นวัตกรรม การเรียนการสอนในรูปแบบใหมๆ่
3.7 การแสวงหาแนวทาง วธิ กี ารปรับปรงุ งานทรี่ บั ผิดชอบอยเู่ สมอ
3.8 มีความกล้ามงุ่ ม่ันในการกระทำส่ิงตา่ งๆ ดว้ ยวิธกี ารที่แตกต่างจากเดมิ
4. องคป์ ระกอบดา้ นการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวชิ าชพี ประกอบด้วย
4.1 การให้ความร่วมมือในกิจการของสถาบนั เปน็ อย่างดี
4.2 การอุทิศตนเพื่อประโยชนต์ อ่ วิชาชพี ครู
4.3 มีความตัง้ ใจปฏบิ ัตงิ านเพ่อื ใหว้ ชิ าชีพครูเป็นที่ยกยอ่ ง
4.4 มคี วามจรงิ ใจในความรบั ผดิ ชอบต่อวิชาชีพครู
4.5 การให้เกียรติแก่ผรู้ ว่ มวชิ าชีพครู
4.6 การธำรงเกียรตแิ ก่ผ้รู ่วมวชิ าชพี ครู

5. องคป์ ระกอบด้านวริ ิยะ อตุ สาหะ ประกอบดว้ ย

172

5.1 มคี วามขยนั ต้ังใจในการทำงานท่ไี ด้รับมอบหมาย
5.2 มีความกระตอื รอื ร้นในการทำงาน
5.3 มคี วามเตม็ ใจอุทิศเวลาในการปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ี
5.4 การรจู้ กั หนา้ ทีแ่ ละปฏบิ ตั ิหนา้ ทีอ่ ยา่ งเต็มความสามารถ
5.5 ปฏิบตั ิงานการสอนตรงเวลาเสมอๆ
6. องค์ประกอบด้านความเมตตากรุณา ประกอบดว้ ย
6.1 มีความปรารถนาดีตอ่ ศิษย์
6.2 มคี วามเอื้อเฟือ้ อาทรต่อศษิ ย์
6.3 มีความเมตตาตอ่ ศษิ ย์
6.4 การยดึ มน่ั ในคณุ ธรรมจริยธรรมตามหลักศาสนา
7. องคป์ ระกอบด้านความซ่อื สตั ยต์ อ่ วิชาชพี ประกอบดว้ ย
7.1 การให้เกียรติผู้อื่นทางวิชาการ โดยไม่นำผลงงานของผู้ใดมาแอบอ้างเป็นของตน
7.2 มีความตระหนักในคุณค่าศกั ด์ิศรีของความเป็นมนษุ ย์ โดยไม่คำนงึ ถงึ เช้ือชาติ ศาสนา

และสถานภาพของบคุ คล
7.3 ไม่ยอมใหน้ ำผลงานทางวชิ าการของตนไปใชใ้ นทางทจุ ริต
7.4 ไมแ่ สวงหาผลประโยชนจ์ ากศิษยใ์ นการปฏบิ ตั หิ น้าท่ี
7.5 ตอ้ งปฏิบัตติ อ่ ศษิ ยท์ กุ คนดว้ ยความเสมอภาค
8. องคป์ ระกอบดา้ นความดี ประกอบดว้ ย
8.1 มคี วามสภุ าพออ่ นโยน
8.2 มีความเอ้ือเฟอื้ เผื่อแผ่ ชว่ ยเหลือผู้อน่ื
8.3 มคี วามเสยี สละ
8.4 มีความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น
9. องคป์ ระกอบดา้ นความรัก ศรัทธาในวชิ าชพี ประกอบดว้ ย
9.1 มคี วามรกั ในวิชาชพี ครยู ่งิ กว่าวชิ าชพี ใด
9.2 มคี วามศรัทธาในวชิ าชีพครมู ากกวา่ วิชาชพี อ่นื
9.3 มีความมงุ่ มน่ั ต้ังใจมาเป็นครูเป็นอันดับแรก
10. องค์ประกอบดา้ นการปฏิบัติการสอน ประกอบด้วย
10.1 การได้รับการยกย่องนับถือในเชิงภูมิปัญญา และเชาวน์ไหวพริบในด้านการอบรม

ส่งั สอน
10.2 การคิดคน้ วธิ ีการจัดการเรียนการสอนให้มีประสทิ ธภิ าพมากข้ึน

173

10.3 สามารถประยุกต์ความรู้ที่มีอยู่จัดการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสมกับศักยภาพ
ของผเู้ รยี น

ณฎั ฐภรณ์ หลาวทอง และปิยวรรณ วิเศษสุวรรณภูมิ (2553 :46-47) ไดก้ ล่าวเกยี่ วกับ องค์ประกอบของ
จติ วิญญาณความเป็นครู ประกอบดว้ ย 4 องค์ประกอบ ดงั น้ี

องค์ประกอบที่ 1 การปฏิบัติหน้าที่ครู เป็นการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
อย่างเต็มความสามารถ ได้แก่ การอบรมสั่งสอนศิษย์โดยคำนึงถึงการพัฒนาศิษย์ได้อย่างเต็มตามศักยภาพ
และนอกจากน้ี ยงั ต้องมีความรกั ในอาชีพและปฏิบตั ิตนเปน็ แบบอยา่ งท่ดี ีแกผ่ ู้ร่วมอาชีพ

องค์ประกอบที่ 2 การปฏิบัติต่อศิษย์โดยเสมอภาค เป็นการปฏิบัติต่อศิษย์ทุกคน
อยา่ งยตุ ธิ รรม และมเี หตุผล โดยไม่คำนึงถงึ อามิสสินจา้ ง หรอื ความสมั พนั ธ์สว่ นบคุ คล

องค์ประกอบที่ 3 ความเชื่อมั่นในศักยภาพของมนุษย์ เป็นความเชื่อมั่นและศรัทธาว่า
มนุษยท์ กุ คนเป็นคนดี และมศี กั ยภาพในการเรียนรู้และพฒั นาตนเอง

องค์ประกอบที่ 4 การเสียสละในงานครู เป็นการปฏิบัติหน้าที่สอนศิษย์อย่างเต็มใจ
โดยไม่คำนงึ ถึงประโยชน์สว่ นตนเป็นหลกั

อมรรัตน์ แก่นสาร (2558) ศึกษาเรื่อง การพัฒนาตัวบ่งชี้จิตวิญญาณความเป็นครูของครู
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า จิตวิญญาณความเป็นครูของครู สังกัด สำนักงาน
การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานประกอบดว้ ย 7 องค์ประกอบหลกั คอื

1. การปฏบิ ัตติ ามบทบาทหนา้ ท่ี
2. การมีมนุษย์สมั พนั ธท์ ด่ี ี และมีความเปน็ กัลยาณมิตร
3. การเปน็ แบบอยา่ งท่ดี ี
4. การมีจิตวทิ ยาในการสอน
5. ความรกั และศรัทธาในวิชาชพี
6. การมคี ณุ ธรรมและจรยิ ธรรม
7. ความผูกพันระหว่างครูกับศษิ ย์

174

แนวทางการพฒั นาจิตวญิ ญาณความเป็นครู

คณุ ลักษณะของครตู ามแนวคดิ จิตวญิ ญาณความเปน็ ครู
อธิบายว่าครูต้องเด่นในเรื่องวิชาการ รู้ลึก รู้จริง รู้กว้าง ครูต้องมีศิลปะในการถ่ายทอดความรู้
และครตู อ้ งมใี จเมตตา ต่อศิษย์ รักศษิ ยด์ ังลูก ซึ่ง สุเทพ ธรรมะตระกลู (2555, หน้า 24-27) ได้กล่าวถึง คณุ สมบัติ
ดังนี้
1. บุคลิกภาพดี การมีบุคลิกภาพทีดีไม่ว่าจะประกอบอาชีพการงานใ ด ก็เปรียบเสมือนได้
ประสบความสำเร็จไปแล้วครึ่งหนึ่ง อาชีพครูก็เป็นอีกอาชีพหนึ่งที่ต้องอาศัยบุคลิกภาพ เพื่อก้าวไปสู่
ความเป็นครูมืออาชีพ ที่กล่าวว่า บุคลิกภาพสามารถนำไปสู่การเป็นครูมืออาชีพได้นั้น ก็เพราะว่า
นอกจากบุคลิกภาพที่ดีจะสามารถสร้างความมั่นใจให้กับตัวครูเองแล้ว ยังสามารถสร้างความ
ประทับใจแรกพบ (First impression) ให้กับผู้พบเห็นโดยทั่วไปอีกด้วย โดยครูกับบุคลิกภาพที่ดี
จะตอ้ งเริ่มจากการพัฒนาส่วนต่าง ๆ คือ

1.1 การพัฒนาพฤติกรรม ภายนอกหรือรูปสมบัติ ได้แก่ รูปร่างหน้าตา การแต่งกาย
กิริยา ท่าทาง น้ำเสยี งและการพูด

1.2 การพัฒนาพฤติกรรมภายใน หรือคุณสมบัติประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ เช่น ความเชื่อมั่นใน
ตนเอง รวมไปถึงการมีความเชื่อมั่นในการแต่งกายและการวางตัวที่เหมาะสม ความแนบเนียน
บางคร้ังครูจำเป็นต้องใช้จิตวทิ ยาในการพดู กับนักเรียน ความกระตือรือร้น ความไว้วางใจ ครูต้องมีความจำท่ีดี มี
ความยับยั้งชั่งใจ ดังนั้น บุคลิกภาพที่ดีกับอาชีพครูจึงขาดกันเสียมิได้ จึงอาจกล่าวได้ว่าครูคนใด
มีบุคลกิ ภาพที่ดกี ส็ ามารถประสบความสำเรจ็ ไปแล้วครง่ึ หน่ึง ท่เี หลอื อกี คร่งึ หนึง่ กน็ า่ จะเป็นความรู้ ความสามารถ
เฉพาะตวั ของบุคคลน้ัน ๆ ที่จะหลอมรวมกัน เพือ่ สร้างความสำเรจ็ ในชวี ิตให้กบั ตนเอง

2. มีความเมตตาต่อศิษย์ ครูคือผู้มีเมตตาความเมตตาเป็นคุณธรรมที่สำคัญอีกประการหนึ่ง
ของครทู จ่ี ะขาดเสียมไิ ด้ ครทู ี่สอนศิษยด์ ว้ ยความเมตตาจะอยู่ในดวงใจของศษิ ย์ทกุ คน

2.1 เมตตาต่อศิษย์ ครูควรมีเมตตาต่อศิษย์ทุกคน และควรถือว่าศิษย์ทุกคนเป็นเสมือนลูก
เสมือนหลาน ความเมตตาที่มีต่อศิษย์จะทำให้ครูมีความกระตือรือร้นในการสอน และสอนด้วยความสุข
เพราะในดวงจิตของครูมีแต่ความปรารถนาดีที่ต้องการให้ศิษย์มีความรู้ และมีอนาคตที่ดีในภายภาคหน้า
ครูที่มีเมตตาจะพูดกับศิษย์ด้วยคำพูดที่มีความไพเราะสุภาพ และอ่อนโยน และจะให้กำลังใจศิษย์อยู่เสมอ

2.2 เมตตาต่อญาติ ครูควรมีเมตตาต่อญาติพี่น้องด้วยการช่วยเหลือ อนุเคราะห์และ สนับสนุน
ให้ทุกคนมีการศึกษา มีความก้าวหน้าในชีวิตและการงาน และช่วยเหลือในการไกล่เกลี่ย
ข้อพิพาทบาดหมางระหว่างเครือญาติ มีเมตตาต่อญาติพี่น้องจะทำให้ครูเป็นแบบอย่างที่ดีของศิษย์
และ ของคนทกุ คน

175

2.3 เมตตาตอ่ มิตร โดยธรรมชาติของอาชีพครู ครจู ะมแี ต่ผ้ทู ่เี ปน็ มิตรท้ังท่ีร้จู ักและไม่รู้จัก ดังน้ัน
ครูจึงต้องมีเมตตาต่อมิตรทุกคนด้วยการช่วยเหลือ การให้คำแนะนำ และอื่นๆตามอัตภาพ
การมีเมตตาต่อมิตรจะบ่งบอกถึงการมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีของครู ทำให้ครูเป็นที่รักและเคาร พแก่ศิษย์
แกบ่ ุคคลทั่วไป

2.4 เมตตาตอ่ ศัตรู การมีเมตตาต่อศตั รูถือเปน็ คุณธรรมขนั้ สูงที่ครูทุกคนพงึ มี เน่ืองจากครู เปน็ ปู
ชนียบุคคล หมายความว่าเป็นบุคคลที่น่านับถือ ที่สำคัญคือครูเป็นตัวอย่างที่ดีของศิษย์
หากครูเป็นคนวู่วามใจร้อน และชอบผูกพยาบาท ครูก็จะเป็นตัวอย่างที่ดีไม่ได้ การมีเมตตาต่อศัตรูคือ
การไม่โกรธ ไมผ่ ูกพยาบาท และการใหอ้ ภยั

2.5 เมตตาต่อคนทุกคน เมื่อครูคือผู้ที่มีหน้าที่อบรมสั่งสอน ครูจึงต้องมีความเมตตา
ตอ่ คน ทกุ คนโดยไม่เลือกชัน้ วรรณะบทบาทของครูคือ บทบาทในการเผยแพร่ความเมตตาตอ่ ชาวโลกทั้งมวล

3. รอบรู้ในสายวิชาชีพ ครูผู้สอนมีความรอบรู้ในทุกศาสตร์ เข้าใจ มีความเป็นครูอยู่ในตัวตน
มีความเป็นครูที่มีเจตจำนงอยากสอนศิษย์ และเป็นมืออาชีพที่สามารถชี้ชัดในวิชาการ และครูต้องสามารถ
ชวนลูกศิษย์ใหล้ งมอื ปฏบิ ัติได้ และต้องรู้จกั เสียสละ ทุ่มเท และประยุกต์งานตา่ ง ๆ เพ่อื ให้ นวัตกรรมใหมๆ่ ขึ้นมา
ทั้งนี้ครูต้องกล้าที่จะให้โอกาสศิษย์ ต้องกล้าหาญในเชิงจริยธรรม ที่สำคัญต้อง ปลูกฝังให้ศิษย์ร่าเริง
เบิกบาน แจ่มใส

4. เทคนิคการสอนดี เทคนิควิธีการสอนและการปฏิบัติตนที่ดี 10 ประการสำหรับครู มีดังนี้
4.1 ให้ความรักแก่นักเรียนพร้อม ๆ ไปกับเนื้อหาวิชาเรียน ครูควรแนะนำวิธีเรียนรู้

ให้แก่เด็ก ดูแลและเอาใจใส่นักเรียน ทำให้การเรียนการสอนนั้นมีความหมายขึ้นมาจนเกิดเป็นความผูกพัน
ระหวา่ งครูกับศิษย์

4.2 สอนให้นักเรียนเชื่อมโยงกับชีวิตจริง และฝึกให้นักเรียนคิดให้บ่อยที่สุด
ให้ผู้เรียนเข้าใจว่าความรู้ไม่ได้จำกัดอยู่แต่ในเฉพาะหนังสือเท่านั้น ครูยังควรเชื่อมช่องว่างระหว่าง
ทฤษฎีและการปฏิบัติทำให้นักเรียนเกิดความชำนาญในเรื่องที่นักเรียนสนใจ โดยครูให้คำปรึกษาช่วยเหลือ
ในการปฏิบัตแิ ละเชอ่ื มโยงสภาพชีวิตในชุมชนของนกั เรียนกบั ความรู้ทศี่ ึกษาในโรงเรยี น

4.3 ตั้งใจฟังนักเรียน ครูต้องรู้จักตั้งคำถาม สามารถตอบข้อสงสัยแก่นักเรียนได้
และควรระลึกอยู่เสมอว่านักเรียนแต่ละคนในชั้นเรียนมีความแตกต่างกัน ครูควรกระตุ้นการตอบสนอง
การเรยี นร้แู ละการพัฒนาทกั ษะ การสอื่ สารใหแ้ ก่นกั เรยี นดว้ ย

4.4 การจัดการเรียนรู้ต้องยืดหยุ่นเปลี่ยนแปลงได้ มีการทดลอง การสอนที่หลากหลาย
และครูควรปรับการสอนบ้างเมื่อมีวิธีการช่วยให้นักเรียนบางคนเรียนรู้ได้ดีขึ้น และควรสร้างสมดุล
ระหวา่ งเนือ้ หาและความยดื หยุ่นในการสอน

176

4.5 สร้างบรรยากาศเป็นกันเอง ต้องทำให้นักเรียนเกิดความรู้สึกมีส่วนร่วม
4.6 มีอารมณ์ขัน พยายามอย่าทำตัวให้เครียด การมีอารมณ์ขันจะช่วยทลายกำแพง
ระหวา่ งครกู บั นกั เรยี นได้ ครคู วรเรยี นรูท้ ีจ่ ะผอ่ นคลายบรรยากาศในห้องเรียน
4.7 เตรียมตัวให้พร้อม มีความเอาใจใส่ และอุทิศเวลาให้แก่การค้นคว้าหาวิธีถ่ายทอดความรู้
ด้านต่าง ๆ ให้แก่นักเรียน ครูดีต้องมีการเตรียมการสอนมาอย่างดี มีสื่อการสอนที่พร้อมและวิธีการสอน
ท่ีนา่ สนใจ
4.8 ตอ้ งไดร้ บั การสนบั สนนุ อย่างจริงจังจากผบู้ ริหาร ทง้ั ในด้านทรัพยากรและบคุ ลากร ผู้บริหาร
ควรให้การเสริมแรงครูอยู่อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดกำลังใจในการปฏิบัติหน้าที่ และสามารถทำงาน
ไดอ้ ย่างปราศจากอุปสรรคปัญหา
4.9 รู้จักทำงานร่วมกับเพื่อนครู เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์การจัดการเรียนการสอน
ตลอดจนการแกป้ ัญหาต่าง ๆ ของครแู ตล่ ะคน
4.10 มีจินตนาการ จะเป็นครูที่ดีได้จะต้องรู้จักใช้จินตนาการบ้าง เพราะจะมีผล
ต่อความคิดริเริ่มใหม่ๆ ลองจ้องไปที่นักเรียนแถวหลังสุด นึกถึงเส้นประสาทที่เชื่อมต่อกันและประกอบกัน
มีรูปร่างรวมตัวเป็นมนุษย์ การเรียนรู้ของคนเราคงจะพัฒนาไปเร่ือยๆ อย่างไม่หยุดยั้ง หากครูไม่หยุดนิ่ง
ที่จะเรียนรู้และพัฒนาความสามารถของทั้งตนเองและนักเรียนไปพร้อมๆกัน ครู คือ วิศวกร
สงั คมทมี่ สี ว่ นสำคญั ยิง่ ในการสรา้ งคนรุน่ ใหม่ท่ีสมบรู ณข์ ึน้ มา
5. มีจิตอาสา จิตอาสา คือ หัวใจของการบริการวิชาการ การที่คนเราจะประสบผลสำเร็จ
ไม่ว่าในอาชีพการงาน หรือสิ่งที่มุ่งหวังได้ มิใช่แค่เพียงเกิดจากความสามารถของตนเองเท่านั้น หากแต่เกิดจาก
การฟูมฟักของพ่อแม่และครูบาอาจารย์ที่พร่ำอบรมบ่มนิสัยและถ่ายทอดวิชาความรู้ ตลอดจนประสบการณ์
ที่สะสมมาลองนึกย้อนกลับไปจะพบว่า บูรพาจารย์ของเรา ท่านไม่ได้ทำหน้าที่แค่ส อนหนังสือเท่านั้น
แต่ท่านยังทำหน้าที่เสมือนญาติผู้ใหญ่และเป็นพี่เลี้ยงให้กับศิษย์อีกด้วย เพราะท่านมีหัวใจของการบริการ
อยู่ตลอดเวลาแต่คนที่มีจิตวิญญาณเป็นครู ท่านทำไปโดยไม่คิดหวังผลตอบแทนใด นอกจาก
อยากเห็นความก้าวหน้า เจริญรุ่งเรืองของศิษย์ท่านก็ปลื้มใจแล้ว ด้วยท่านมีจิตเมตตาและ มีจิตอาสา
ที่ไม่รู้จักคำว่าเหน็ดเหนื่อยทั้งนี้จิตอาสาของครูสัมฤทธิ์ผล และมีประสิทธิภาพในการให้บริการวิชาการ
มีองค์ประกอบของ 5 ย.รว่ มด้วย คือ ยม้ิ แย้ม ยกย่อง ยอมแพ้ ยืดหยุ่น ยืนหยดั
ดังน้ัน คณุ สมบัตขิ องครทู ม่ี ีจติ วิญญาณความเปน็ ครูนั้น ประกอบดว้ ย
1. ความมีเมตตาต่อศิษย์ ที่รวมถึงพฤติกรรมที่นักศึกษาได้รับรู้จากครู/อาจารย์ และนำไปใช้
เป็นแบบอย่างในด้านการปลูกฝัง ดูแลเอาใจใส่ลูกศิษย์ ให้ความช่วยเหลือเป็นกันเอง รับฟังความคิดเห็น
ของนักศึกษา และแกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ งตา่ ง ๆ ให้กับนักศกึ ษา

177

2. บุคลิกภาพดี คือ พฤติกรรมที่นักศึกษาแสดงออกด้วยความมัน่ ใจ มีการแต่งกายถูกต้อง ตาม
กฎระเบียบเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์ทั้งกาย วาจา และใจ ระมัดระวังคำพูดของตนเอง ปรับตัวและรับฟังความ
คดิ เห็นของผ้อู นื่

3. ความรอบรู้ โดยนกั ศกึ ษามคี วามรอบรู้ในวชิ าชพี ครู ในรายวิชาเอก และมีความ กระตือรือร้น
ในการเรียน มีความเอ้อื เฟ้ือ ช่วยเหลอื ผู้อ่นื ค้นคว้าหาความรอู้ ยูเ่ สมอ

4. เทคนิคการสอนดีและมีความหลากหลาย
5. ความสามารถถ่ายทอดข้อมูลได้อย่างถูกต้องเหมาะสม นำความรู้และประสบการณ์
จากการร่วมกจิ กรรม/โครงการตา่ ง ๆ ส่บู ุคคลอน่ื ๆ ทร่ี จู้ กั ได้
6. มจี ิตอาสา มหี วั ใจของการบริการอย่ตู ลอดเวลา(ชตุ ิมา ประมวลสุข.2563)
การพัฒนาใหม้ ีจิตวิญญาณความเป็นครู
การพัฒนาจิตสำนึกและวิญญาณของครู คือ ความพยายามในการเพิ่มระดับจิตสำนึกและวิญญาณความ
เป็นครูให้มีอยู่ในบุคคลที่ประกอบอาชีพครู แนวทางในการพัฒนาควรเริ่มต้นจาก การสร้างศรัทธา
คำว่าศรัทธาในที่นี้มีความหมาย 3 มิติ คือ ศรัทธาต่อตนเอง ต้องเชื่อและศรัทธาใน ความรู้ความสามารถ
ของตนเองว่าจะเป็นครูที่ดีได้ ประการที่สองคือ ศรัทธาต่ออาชีพครู รักษาเกียรติ และศักดิ์ศรีแห่งความเป็นครูที่
เป็นวิชาชีพชั้นสูง เห็นคุณค่าของวิถีชีวิตที่เป็นครู ประการที่สามคือ ศรัทธาต่อองค์กร รักษาชื่อเสียง
ของสถานศึกษาและองค์กรวิชาชีพครู ประพฤติและปฏิบัติตาม มาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพครู
สอดคล้องกับ สมศักดิ์ ดลประสิทธิ์ (2543) ที่ได้กล่าวถึงครู กับครูอาชีพว่า เมื่อครูศรัทธาต่อวิชาชีพตนเอง
ก็จะยกย่องเชิดชูวิชาชีพครูให้เป็นวิชาชีพชั้นสูง จะปฏิบัติตามจรรยาบรรณของวิชาชีพอย่างเคร่งครัด
มีความมุ่งมั่นท่ีจะรักษาและส่งเสริมเกียรติคณุ ชื่อเสยี งของวิชาชีพครูให้เป็นที่เชื่อถือและศรัทธาแก่สังคมได้ และ
ยังได้เปรียบเทียบความศรัทธาใน อาชีพครูเหมือนกับผู้นับถือศาสนา ไม่ว่าศาสนาใดจุดเริ่มก็อยู่ท่ี
ความศรัทธา เมื่อศรัทธาก็ประกาศตน เป็นผู้นับถือศาสนานั้น และปฏิบัติตามคำสั่งสอนของศาสนา คำภีร์หรือ
พระธรรมวินัยต่อไป หากครู ศรัทธาต่อวิชาชีพครูแล้ว ย่อมมีความมุ่งมั่นในการปฏิบัติหน้าที่เป็นอย่างดี
และพรอ้ มทจ่ี ะพัฒนา ตนเองใหม้ ีจติ ใจและวิญญาณของความเป็นครู
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ได้พระราชทาน พระบรมราโชวาทแก่ครูอาวุโส
เม่ือวนั ที่ 29 ตุลาคม 2522 มีขอ้ ความที่เก่ยี วกบั ลักษณะครูท่ีดี 3 ประการ คอื “ความเปน็ ครู นั้นประกอบขึ้นด้วย
สิ่งที่มีคุณค่าสูงหลายอย่าง อย่างหนึ่งได้แก่ ปัญญา คือ ความรู้ที่ดีประกอบด้วย หลักวิชาอันถูกต้อง
ที่แน่นแฟ้น กระจ่างแจ้งในใจ รวมทั้งความฉลาดที่จะพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ตลอดจนกิจที่จะทำ คำที่จะพูด
ทุกอย่างได้โดยถูกต้อง ด้วยเหตุผลอย่างหนึ่งได้แก่ ความดี คือความ สุจริต ความเมตตากรุณา
เห็นใจและปรารถนาดีต่อผู้อื่นโดยเสมอหน้าอีกอย่างหนึ่งได้แก่ ความสามารถ ที่จะเผื่อแผ่และถ่ายทอดความรู้
ความดีของตนเองไปยังผู้อื่นอย่างได้ผล ความเป็นครูมี อยู่แล้ว ย่อมฉายออกให้ผู้อื่นได้รับประโยชน์ด้วย

178

ผู้ที่มีความเป็นครูสมบูรณ์ในตัวนอกจากจะมีความดี ด้วยตนเองแล้ว ยังจะช่วยให้ทุกคนที่มีโอกาส
เขา้ มาสมั พนั ธ์เกยี่ วขอ้ งบรรลุถึงความดขี องความเจรญิ ไป ดว้ ย” (กรมวิชาการ, 2540 : 88)

ครูเป็นบุคคลที่มีความสำคัญที่สุดในวงการศึกษา เพราะเป็น ผู้ที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้
อันจะเป็นประโยชน์ต่อสังคมและโลก นอกจากนั้นยังเป็นผู้มีอิทธิพลต่อการสร้างบัณฑิตอย่างมาก
บัณฑิตจะมีความคิดที่ดี มีวิธีการวิเคราะห์อย่างถูกต้องและมีระบบระเบียบในการปฏิบัติงาน ตลอดจน
การพัฒนาบุคลิกภาพเชิงวิชาการ เชิงวิชาชีพ ซึ่งควรได้รับการปลูกฝังอบรมจากครูผู้สอน และบุคลิกภาพ
ของครูย่อมส่งผลไปสู่บัณฑิต ดังคำกล่าวของ ม.ล.ปิ่น มาลากุล ที่ว่า “อยากรู้ว่าตัวครูเป็นฉัน ใดจงดู
ได้จากศิษย์ที่สอนมา” (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2553) สิ่งแรกที่ครูต้องพัฒนาก็คือ
การสร้างคณุ ธรรมหรอื ครธุ รรมให้เกิดขึน้ ซึ่งความเป็นจรงิ นั้น “คุณธรรม” คือ ธรรมสำหรับครู เป็นสิ่งที่ครูหลาย
ท่านทราบได้ปฏิบัติแล้ว แต่ก็มีอีกหลายท่านที่ยังไม่ ทราบและไม่ปฏิบัติ ครุธรรมเป็นสิ่งที่จำเป็นมากสำหรับการ
ประกอบอาชีพครูแต่ครูที่ขาด คุณธรรม จะเปรียบเสมือนเรือที่ขาดหางเสือ ดังนั้นการจะพาศิษย์ไปสู่จุดหมาย
ปลายทางอย่างถูกต้องย่อมเป็นสิ่งที่ทำได้ยากอย่างแน่นอน ท่านพุทธทาสกล่าวว่า “ธรรม”
คือ หน้าที่ ผู้ที่มีธรรมะคือผู้ที่ปฏิบัติหน้าที่อย่างดีแล้ว ครุ ธรรมจึงเป็น “หน้าที่ของครู ก็คือการอบรม
สั่งสอนศิษย์” แต่การอบรมสั่งสอนศิษย์ของครูแต่ละคนก็ มีการปฏิบัติที่แตกต่างกัน เพราะความเป็นจริงนั้น ครู
มิได้สอนแต่หนังสืออย่างเดียว แต่ต้องสอนคนให้ เป็นบัณฑิตที่สมบูรณ์ด้วยการที่ครูจะปฏิบัติหน้าทีข่ องครูอย่าง
เตม็ ศักด์ศิ รีและเต็มความภาคภูมิไดน้ นั้ ครูจำเปน็ ต้องมหี ลักยดึ เพ่อื นำตนไปสสู่ งิ่ ท่สี งู สุดหรือเปน็ อุดมคติของอาชีพ
นั่นก็คือการมีอุดมการณ์ครู อุดมการณ์ครู มีหลักการที่จะยึดไว้ประจำใจทุกขณะที่ประกอบภารกิจของครูมอี ยู่ 5
ประการ คอื เต็มรู้ เต็มใจ เตม็ เวลา เต็มคน เต็มพลงั

1. เตม็ รู้ คอื มีความรบู้ รบิ ูรณ์ ด้วยความรู้ 3 ประการคอื
1.1 ความรู้ด้านวิชาการและวิชาชีพ ครูจะต้องแสวงหาความรู้ที่เป็นประโยชน์และเหมาะสมให้

ผเู้ รยี น เรียนอย่างครบถว้ นเหมาะสมตามระดบั ความรูน้ ัน้
1.2 ความรู้ทางโลก นอกเหนือจากตำราวิชาการครูแสวงหาความรู้รอบตัวด้านอื่น ๆ

ใหบ้ รบิ รู ณโ์ ดยเฉพาะความเป็นไปของระเบียบ ประเพณี สงั คม วฒั นธรรม
1.3 ความรู้เรื่องธรรมะ ครูที่มีความรู้ด้านธรรมะ จะสามารถหยิบยกเรื่องธรรมะ

มาเป็นอุทาหรณ์ สำหรับสั่งสอนศิษย์ได้ เช่น จะสอนให้ศิษย์ประสบผลสำเร็จด้านการศึกษาเล่าเรียนได้ดี
ก็ยกหัวขอ้ ธรรมะอยา่ งอธบิ าท 4 คอื

1. พอใจในการศึกษา รักและสนใจในวชิ าทตี่ นเรียน
2. มีความ เพยี รทจ่ี ะเรยี นไม่ยอ่ ท้อ
3. เอาใจใสใ่ นบทเรียนการบ้าน รายงาน
4. หม่นั ทบทวนอยู่เสมอ เปน็ ตน้

179

2. เต็มใจ คือ ความมีใจเป็นครู พุทธศาสนาถือวา่ “ใจนั้นและเป็นใหญ่ ทุกสิ่งทุกอย่างเกิดจากใจทัง้ น้นั ”
คนจะเปน็ ครูท่มี ี อุดมการณต์ อ้ งสรา้ งใจทเ่ี ตม็ บรบิ รู ณ์ดว้ ยการมีใจเปน็ ครู การทำใจให้เตม็ มคี วามหมาย 2 ประการ
คอื

2.1 ใจครู การทำใจใหเ้ ต็มบรบิ ูรณต์ ้องถงึ พรอ้ มด้วยองค์ประกอบ ดงั นี้
2.1.1 รักอาชพี ครู ตอ้ งมีทัศนคติทด่ี ีต่ออาชีพ เหน็ วา่ อาชพี ครูมีเกยี รติ มกี ุศล ได้ความภูมิใจ

แสวงหาวิธีสอนท่ดี เี พ่อื ศิษย์
2.1.2 รักศิษย์ มีใจคิดอยากให้ศิษย์ทุกคนมีความสุข และเสียสละเพื่อศิษย์ได้

2.2 ใจสูง ครูควรพยายามทำให้ใจสูงส่ง มีจิตใจที่ดีงามมีข้อที่ลองถามตัวเองได้ เช่น
2.2.1 ทำงานอยทู่ ใ่ี ด ทา่ นมกั จะด่าว่านนิ ทาเจา้ นายแห่งนั้น หรือดูถูกสถาบันหรือเปล่า
2.2.2 ทา่ นมักจะคิดว่า เพอื่ น ๆ รว่ มงานของท่านนสิ ยั ไมด่ สี ว่ นใหญ่หรือเปลา่
2.2.3 ทำไมทา่ น กท็ ำดี แต่เจ้านายไม่เห็น
2.2.4 ทำไมคนอน่ื ๆ จงึ โง่และเลว
2.2.5 ทา่ นยอมไม่ได้ที่จะใหค้ นอ่นื ดีกวา่ เพราะท่านคิดว่าทา่ นดีกวา่ คนอื่น
2.2.6 ทำไมที่ทำงานของท่านจึงเอาเปรียบท่านและกีดกันท่านตลอด ดังน้ัน

การทำจิตใจให้สูง ก็คือการที่มองเห็นคุณค่าของมนุษย์โลกและการคิดที่จะสร้างสรรค์ให้โลกมีแต่สิ่งที่ดีงาม
ยอมรับขอ้ ดแี ละข้อเสยี ของตนเองและคนอืน่ ไม่คิดว่าตนเองฉลาดหรือเก่งกว่าผ้ใู ด ไม่คดิ ว่าตนเองดกี วา่ คนอื่น คดิ
อยา่ งเป็นธรรมวา่ ตนเองมขี ้อบกพร่องเช่นกัน

3. เต็มเวลา คือ การรับผิดชอบ การทุ่มเทเพื่อการสอน ครูที่มีอุดมการณ์ จะต้องใช้ชีวิตครู
อย่างเต็มเวลาท้ัง 3 ส่วน คอื

3.1 งานสอน ครูต้องใช้เวลาในการเตรียมการสอนอย่างเต็มที่ วางแผนการสอนค้นคว้า
หาวิธีการทีจ่ ะสอนศษิ ยใ์ นรปู แบบตา่ ง ๆ

3.2 งานครู นอกเหนือไปจากการสอน ครูต้องให้เวลาแก่งานธุรการงานบริหาร บริการ
และงานทจี่ ะทำให้สถาบันก้าวหนา้

3.3 งานนักศึกษา ให้เวลาให้การอบรม แนะนำสั่งสอนศิษย์เมื่อศิษย์ต้องการคำแนะนำ
หรือต้องการความชว่ ยเหลอื

4. เต็มคน คือ การพัฒนาตนเองให้มีความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ การพัฒนาตนเองให้เป็นแม่พิมพ์
หรือพ่อพิมพ์ท่ีคนในสังคมคาดหวังไว้สูง ครูจึงจำเป็นที่ จะต้องมีความบริบูรณ์ เป็นมนุษย์ท้ังร่างกาย จิตใจ
อารมณ์สังคม สำรวมกาย วาจา ใจ ให้มีความ มั่นคงเป็นแบบอย่างที่ดี ปฏิบั ติงานถูกต้อง หมั่นคิด
พิจารณาตนเองเพอื่ หาทางแก้ไขปรับปรงุ ตนเอง ใหม้ ีความบรบิ ูรณอ์ ยู่เสมอ

180

5. เต็มพลัง คอื การทมุ่ เทพลังสติปัญญาและความสามารถเพอ่ื การสอน ครูจะตอ้ งใช้ความสามารถอย่าง
เต็มที่ ทุ่มเทไปเพื่อการสอนวิชาการ ศิษย์ และอุทิศตน อย่างเต็มที่ เพื่อผลงา นที่สมบูรณ์นั้น ก็คือ
การปั้นศิษย์ให้มีความรู้ ความประพฤติงดงาม เป็นที่พึงประสงค์ของสังคม ครูที่มีหลักยึดครบเต็ม 5 ประการนี้
ย่อมเป็นครูที่มีคุณธรรม ที่พร้อมจะเป็นผู้ชี้ทางแห่ง ปัญญาทางแห่งชีวิต และทางแห่งสังคมในอนาคต
ได้เป็นอย่างดี ดังนั้นครูควรสร้างอุดมการณ์ครูเพื่อ ความก้าวหน้าของสังคมไทย และการพัฒนาวิชาชีพครู
(ชตุ มิ า ประมวลสุข.2563)

วิธีการพัฒนาจติ วิญญาณความเปน็ ครู
สจวี รรณ ทรรพวสุ อธิบายถงึ แนวทางการพัฒนาจิตวญิ ญาณความเป็นครู ของนักศึกษาคณะครุศาสตร์
ได้แก่ การจัดการเรียนการสอน โดยปลูกจติ สำนกึ ของความเปน็ ครูก่อนเปน็ อันดับแรก หลังจากนนั้ จึงสง่ เสรมิ การ
ปฏบิ ัตหิ น้าทค่ี รูตามกระบวนการ ของหลกั วชิ าโดยมงุ่ เน้นจัดการเรียนการสอนผา่ นประสบการณห์ รอื ใช้
กรณีศึกษา การสรา้ งแรงจงู ใจและ ความภาคภูมิใจในวิชาชีพแลกเปลยี่ นเรียนรู้มเี ทคนิค การสอนท่ีหลากหลาย
รวมทงั้ ควรใช้แนวทางCoaching และ Mentoring เปน็ กลวิธที ี่เหมาะสมในการพฒั นาจัด กิจกรรมเสรมิ
สร้างสรรคค์ ุณธรรมจรยิ ธรรม ความทสี่ อดคล้องกนั เพ่ือใหเ้ กิดผลลัพธต์ ามสมรรถนะและทกั ษะวชิ าชีพ โดยให้
นกั ศึกษามีสว่ นร่วมในการจดั การเรียนการสอน ประเมนิ ผลกลยทุ ธ์การพฒั นาจติ วิญญาณความเปน็ ครขู อง คณะ
ครุศาสตร์ พบว่า มีกลยทุ ธ์หลักและกลยุทธ์รองดังน้ี

กลยทุ ธ์หลกั ที่ 1 พัฒนาการจัดการเรยี นการสอนวิชาชพี ครูในการเข้าถึงแก่นแท้ของการมีจติ วิญญาณในวิชาชพี

เป้าประสงค์ กลยุทธ์รองการพฒั นาจติ วญิ ญาณความเป็นครู

1.อาจารย์ผู้สอนมีจติ วิญญาณและมีสมรรถนะการสอน 1. พัฒนาอาจารยผ์ สู้ อนเกี่ยวกับการออกแบบ
วิชาชีพครใู ห้นกั เรียนมจี ิตวญิ ญาณความเป็นครสู ่กู าร กิจกรรมและสื่อการเรยี นการสอนที่เสรมิ สรา้ งจิต
ปฏิบตั ิหน้าท่ีครู วญิ ญาณความเปน็ ครู

2. นกั ศกึ ษามคี วามรัก ศรัทธา เชอ่ื มัน่ ที่ประกอบอาชีพ 2. สรา้ งระบบเครอื ข่ายครตู ้นแบบหรอื ครูดีเดน่ ในแต่
ครดู ว้ ยจิตวิญญาณความเปน็ ครู ละ่ สาขาวชิ ามาพัฒนาจติ วญิ ญาณความเป็นครแู ละ
บรู ณาการระหวา่ งสาขาวิชา

3. เกดิ นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนวิชาชีพครแู ละ เรง่ รัดการทำวจิ ัยและพัฒนานวตั กรรมเกี่ยวกบั จติ

เครือข่ายครตู ้นแบบหรือครูดีเดน่ ในการพฒั นาจติ วิญาณ วิญญาณความเป็นครูของนกั ศึกษาและการจัดการ

ความเปน็ ครู นักศกึ ษาครู เรยี นการสอนวชิ าชีพครู

181

การปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครู

1. ด้านความรัก ความเมตตาต่อศิษย์ ควรปลูกฝังให้ ครูมีใจผูกพันด้วยความห่วงใยศิษย์
สามารถแนะนำใหก้ ำลงั ใจ แก่ศิษย์ทกุ คนได้ มีจติ ใจโอบออ้ มอารี ความรกั ตอ่ ศษิ ย์

2. ด้านความรับผิดชอบ ควรปลูกฝังให้ครูมีความ รับผิดชอบ คือ การยอมรับผลทั้งที่ดี
และไมด่ ใี นกจิ การทตี่ นได้ ทำลงไปหรอื ท่ีอยใู่ นความดูแลของตน

3. ด้านความรักและศรัทธาในวิชาชีพครู ควรปลูกฝัง ให้ครูมีความเชื่อถือ ความเลื่อมใส
และความผกู พันดว้ ย ความหว่ งใยตอ่ บคุ คลหรอื องคก์ รวิชาชพี ครู

4. ด้านคุณธรรม จริยธรรม ควรปลูกฝังให้ครูมคี วามขยนั ประหยัด ซื่อสัตย์ วินัย สุภาพ สะอาด สามัคคี
และมนี ้ำใจ

5. ด้านความเสียสละและความอดทน ควรปลกู ฝังให้ ครมู ีความเสียสละ คอื การให้ครยู ินยอมให้ส่ิงของที่
ตนมีอยู่ ให้กับศิษย์ เพื่อนครู ผู้บริหาร ผู้ปกครอง ผู้อื่นหรือส่วนรวม สำหรับความอดทนเป็นการปลูกฝังให้ครู
ยอมรบั สภาพ ความยากลำบาก ในสงิ่ ท่ีไมเ่ ป็นทพ่ี อใจหรอื ตอ่ อารมณห์ รือ ถ้อยคำที่ทำให้เจ็บใจ

6. ด้านการมมี นุษยส์ ัมพนั ธ์ ควรปลกู ฝังใหค้ รูการรู้จักตน การเข้าใจผ้อู ืน่ และการมีสภาพแวดล้อมทีด่ ี
7. ด้านการเป็นแบบอย่างที่ดีต่อศิษย์ ควรปลูกฝังให้ ครูเป็นแบบอย่างที่ดี คือ การให้ครูประพ ฤติ
ประพฤตติ น เปน็ ตัวอยา่ งท่ีดีทงั้ ทางกาย วาจาและจิตใจ (ชุติมา ประมวลสุข.2563)

จติ วญิ ญาณความเปน็ ครูในตา่ งประเทศ

สิงคโปร์ เน้นการเตรียมและพัฒนาการพัฒนาครูเป็นมืออาชีพในศตวรรษท่ี21 มีลักษณะของครูที่ดี
3 ดา้ น คือ ด้านเจตคติและค่านิยม ดา้ นทักษะ และดา้ นความรู้ ดังนี้

1. ด้านเจตคตแิ ละค่านิยม
1.1 ผูเ้ รยี นเปน็ ศูนย์กลางของการเรยี นรู้ ความเหน็ อกเหน็ ใจ เชื่อม่นั เดก็ ทกุ คนสามารถเรียนรู้ได้

เชื่อมน่ั ในการพัฒนาเด็กอย่างเตม็ ศกั ยภาพ และการเหน็ คุณค่าของความแตกตา่ งหลากหลาย
1.2 ลักษณะของครู มีมาตรฐานสูงในการทำงาน ความรักในธรรมชาติ รักการเรียนรู้

พัฒนาตนเองต่อเนื่อง มีความปรารถนาอันแรงกล้า รู้จักปรับตัวและมีความยืดหยุ่น มีศีลธรรม
และมีความเปน็ มืออาชีพ

1.3 การช่วยเหลือบุคลากรในวิชาอาชีพและต่อชุมชน ทำงานและเรียนรู้ร่วมกัน
การพฒั นาตนเองผา่ นการลงมอื ปฏิบตั ิและระบบพ่ีเล้ยี ง ความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม และความเอื้ออาทร

182

2. ดา้ นทกั ษะ
ทักษะการสะท้อนและการคิด ทักษะด้านการเรียนการสอน ทักษะด้านการจัดการคน
ทักษะด้านการบริหารจัดการตนเอง ทักษะด้านการจัดการและการบริหาร ทักษะด้านการสื่อสาร
ทักษะด้านการประสานงาน ทักษะด้านเทคโนโลยี ทักษะด้านนวัตกรรมและผู้ประกอบการ ทักษะด้านอารมณ์
และสังคม
3. ด้านความรู้

รู้ตนเอง รู้นักเรียน ชุมชน เนื้อหาวิชาที่สอน วิธีการเรียนการสอน นโยบายและพื้นฐาน
ด้านการศึกษา ความรู้พหุวัฒนธรรม ความตระหนักรู้ด้านการเปลี่ยนแปลงไปของโลก ความตระหนักรู้
ด้านสงิ่ แวดล้อม

ออสเตรเลีย นำเสนอคุณลกั ษณะ 10 ประการของครูสอนดี(Good Teacher) ไว้ ดงั นี้
1. มที กั ษะในการอธบิ าย
2. รกั การพบปะผู้คน
3. มีความกระตอื รือร้น
4. มีความรูใ้ นเน้ือหาวิชาทสี่ อน
5. มคี วามเปน็ ผู้จดั การ โดยเฉพาะดา้ นเวลา
6. มที กั ษะการทำงานเปน็ ทมี และความคดิ รเิ ริม่
7.สามารถรับแรงกดดันได้ดี
8. มคี วามอดทนและอารมณข์ นั
9. รักความยุติธรรม
10. สามารถรับมอื กบั ความเปล่ยี นแปลงได้
ฟินแลนด์ มีแนวคิดว่าประชากรคือทรัพยากรที่สำคัญ ดังนั้นการจะพัฒนาประเทศได้ต้องเริ่มจากการ
พัฒนาคุณภาพประชากร รัฐจึงเริ่มให้ความสำคัญกับการศึกษาและอาชีพครู Marjo Vesalainen Senior
Ministerial Adviser, Ministry of Education and Culture, Finland ก ล ่ า ว ว ่ า อ า ช ี พ ค รู
ในประเทศฟินแลนด์เป็นอาชพี ในสาขางานวชิ าการ ปริญญาครูจึงเป็นเปน็ ส่ิงท่ีดงึ ดูดนักเรียนท่ีมีความสามารถให้
มาเรียนในสาขานี้ มหาวิทยาลัยที่ทำการสอนครูในประเทศฟินแลนด์มีประสิทธิภาพในการสอนมากทำให้
ได้บุคลากรดา้ นการศึกษาที่มีประสิทธภิ าพในการสอนมาก อีกทงั้ ยงั ไม่มีการสอบในการศึกษาภาคบังคับ ไม่มีการ
เข้าไปตรวจสอบโรงเรยี นไม่ว่าจะในระดับไหน จงึ เปน็ เป็นสัญญาณทีแ่ สดงให้เห็นถึงความเชื่อมัน่ ต่อความสามารถ
ครูในการตัดสนิ ใจพฒั นางานและวัดผลนักเรียนของตัวเอง ครใู นประเทศฟินแลนดจ์ ึงมีอิสระมากและเป็นอาชีพท่ี
ได้รับความเคารพ ได้ความเชื่อถือจากสังคม การเปลี่ยนอาชีพจากครูไปทำอาชีพอื่นจึงค่อนข้างเห็นได้น้อย
นอกจากนี้ครูในประเทศยังใช้เวลาทั้งหมดไปที่การเรียนการสอน ได้ทำงานเอกสารที่น้อยและต่ำที่สุดในประเทศ
OECD (องค์การเพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ) ดังนั้นครูจึงมีเวลาที่จะออกแบบกระบวนการ

183

การเรียนการสอนได้เต็มที่ ขณะเดียวกันมหาวิทยาลัยในประเทศฟินแลนด์ก็มีอิสรภาพในการออกแบบหลักสูตร
ของตวั เองอย่างมาก ดังนน้ั แม้ว่าหลักสตู รครูในแต่ละมหาวิทยาลยั จะตา่ งกนั แต่ก็มแี นวคดิ ที่อย่ใู นกรอบเดียวกันท่ี
มงุ่ หวังเรือ่ งความสำเร็จและความสขุ ในการเรียนของเด็กเปน็ หลั

ญปี่ นุ่ เปน็ ประเทศทค่ี ลา้ ยกับเกาหลี คือ พ่อแมค่ าดหวังในตวั ลูกสูงมาก จึงสนใจเร่ืองการศึกษาของลูกๆ
เป็นอย่างมาก และทำให้การคัดเลือกบุคลากรครูต้องเข้มงวดอยา่ งมากเช่นกัน ใครท่อี ยากเป็นครูในประเทศญี่ปุ่น
จะต้องเรียนโรงเรียนผลิตครโู ดยเฉพาะ คนที่สอบผ่านเข้ามาเรียนได้จะมีเพียงรอ้ ยละ 14 คนเท่านั้น เมื่อเรียนจบ
แล้วต้องผ่านการสอบและการประเมินโดยรัฐ จึงจะได้เป็นครูอย่างที่ต้องการ หรือถ้าจบสายอื่นมาก็ต้องสอบ
ประกาศนียบตั รวิชาชีพครูใหผ้ ่าน

คา่ นิยมของครู

ค่านิยมของครู หมายถึง แนวความคิดหรือความประพฤติอันดีงามของสังคมท่ี ครูจะต้อง

ยึดถือเป็นหลักประจำใจ และปฏิบัติตามสิ่งที่ได้ยึดถือนั่นเป็นประจำ ค่านิยมของครูจะต้องเป็นไป
ตามคุณลักษณะของคนไทยที่ประเทศชาติต้องการและจะต้องสอดกับค่านิยมที่ดีงามของสังคมไทย

ดงั น้ัน คา่ นยิ มท่ีพึงประสงค์ของครู จงึ ควรมดี ังนี้

1. ความมรี ะเบียบวินยั
2. ความซอ่ื สตั ย์ สจุ ริตและความยตุ ิธรรม
3. ความขยนั ประหยดั อดทน การยึดม่นั ในสัมมาอาชีพ
4. ความสำนกึ ในหนา้ ที่ และความรบั ผิดชอบต่อสงั คมและประเทศชาติ
5. มคี วามคดิ ริเร่ิม วิจารณแ์ ละตัดสินอยา่ งมเี หตุผล
6. ความกระตือรอื รน้ ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย รกั และเทิดทูน ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
7. การรู้จักรกั ษาพลานามัยของรา่ ยกายจติ ใจใหส้ มบูรณ์
8. การพง่ึ ตนเอง และมอี ดุ มการณ์แหง่ วิชาชีพ
9. ความภาคภมู ใิ จ และมอี ดุ มการณแ์ ห่งวิชาชีพ
10. ความเสียสละ เมตตาอารี กตัญญูกตเวที กลา้ หาญ และสามัคคี
11. ความนยิ มไทย
12. ความหมัน่ ในการศึกษาความรอู้ ย่เู ปน็ นจิ
13. การเคารพยกย่อง คนดมี คี ุณธรรม
14. การมอี สิ รภาพทางวิชาการ ความคิดและการกระทำ
15. ความสนั โดษ
16. ความสภุ าพออ่ มน้อม ถอ่ มตน
17. ความยึดมนั่ และปฏบิ ัตติ ามคำสอนในศาสนา
ค่านิยมทไ่ี ม่พึงประสงค์ของครู มีคา่ นิยมบางประการในสงั คมไทยทคี่ รูไม่ควรนยิ ม
หรอื ยึดถือปฏบิ ตั ิ เช่น

184

1. การรกั ในความสนกุ สนาน เพลิดเพลนิ
2. ความโออ่ า่ หรูหรา ฟมุ่ เฟือย
3. การแสวงหาโชคลาภ
4. ความนิยมในศลิ ปวฒั นธรรมตา่ งชาติ
5. การทำอะไรตามสบาย จนทำให้ขาดระเบยี บวินัย
6. การถือฤกษ์ ส่งิ ศกั ดิส์ ทิ ธ์ิ
7. ความนิยมของนอก
8. การเชอ่ื ถอื สิง่ ศักด์สิ ิทธิ์
9. การใชส้ ิ่งเสพตดิ มนึ เมา เปน็ สอื่ สัมพันธม์ ติ รภาพ
10. การยกยอ่ งบคุ คลผู้ประพฤตผิ ดิ คุณธรรมให้เป็นบคุ คลสำคัญ(ชตุ ิมา ประมวลสุข.2563)

185

สรุป
จิตวิญญาณความเป็นครู และคา่ นิยม

จิตวิญญาณความเป็นครูเป็นคณุ ลักษณะสำคัญของวิชาชีพครู ที่กำหนดไว้ใน ประกาศคณะกรรมการคุรุ
สภา เรื่อง สาระความรู้ สมรรถนะและประสบการณ์ของผู้ประกอบวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหาร
การศึกษา และศึกษานิเทศก์ ตามข้อบังคับคุรุสภาว่า ด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556 ในหมวด 1 ผู้ประกอบ
วิชาชพี ครู ซึ่งกำหนดสาระความรู้และ สมรรถนะของผู้ประกอบวชิ าชีพครูตามมาตรฐานความรู้ ข้อ 1. ความเปน็
ครู ซึ่งแสดงถึงการที่ องคก์ รวชิ าชพี ทางการศึกษาได้ให้ความสำคัญกับจิตวญิ ญาณความเป็นครู ดังน้นั ผู้ท่ีจะเข้าสู่
วิชาชีพครู และวิชาชีพทางการศึกษาย่อมได้รับการคาดหวังจากองค์กรวิชาชีพทางการศึกษา ผู้รับบริการ และ
สังคม ในด้านคุณลักษณะครูที่มีจิตวิญญาณความเป็นครูเป็นอย่างสูงยิ่ง ทั้งใน เรื่องของการมีคุณลักษณะตาม
เกณฑม์ าตรฐานวิชาชีพ และผลกระทบทจ่ี ะเกดิ กบั ผู้เรียน รวมท้งั การยอมรบั นบั ถอื และความศรัทธาจากสังคม

186

อา้ งอิง

กรมวิชาการ. (2540). แนวทางการสอนทีเ่ นน้ ทักษะกระบวนการ. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พค์ ุรสุ ภา ลาดพร้าว.
กิตินันท์ โนสุ และเสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2557). องค์ประกอบและตัวบ่งชี้จิตวิญญาณความเป็นครู

สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดภาคเหนือตอนบน.วารสารการวิจัย
กาสะลองคำ8, 1 : 53-65. เชียงราย : มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งราย.
ชุติมา ประมวลสุข.(2563).เอกสารประกอบการสอนวิชาความเป็นครู มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต,
จาก https://anyflip.com/dedoj/tarx/basic/301-319
ณัฏฐภรณ์ หลาวทอง และปิยวรรณ วิเศษสุวรรณภูมิ. (2553). การพัฒนาแบบวัดจิตวิญญาณ ความเป็นครู.
กรงุ เทพฯ : คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
ทัศนา ประสานตรี. การปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครู. วารสารวิชาการหลักสูตรและการสอน
มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั สกลนคร จาก
ธรรมนันทิกา แจ้งสว่าง. (2554). ประสบการณ์ของการเป็นครูผู้มีจิตวิญญาณความเป็นครู : การศึกษาเชิง
ปรากฏการณ์วิทยา. ปริญญานิพนธ์ วทด. (การวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์) กรุงเทพฯ : บัณฑิต
วิทยาลยั มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ.
ธวัชชัย เพ็งพินิจ. (2550). ศาสตร์ว่าด้วย “จิตวิญญาณครู”. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 14 เมษายน 2563,
จาก http://gotoknow.org/blog/spirituality/153240.
ยนต์ ชุ่มจิต. (2524). ปรชั ญาและคุณธรรมสำหรบั ครู. กรงุ เทพฯ : แพรพ่ ทิ ยา.
ศักดิช์ ัย ภูเ่ จริญ .ลักษณะของครทู ดี่ ีในประเทศเพ่ือนบ้าน, จาก http://www.kruinter.com/file/
33320150406110130-[kruinter.com].pdf
สจวี รรณ ทรรพวสุ.กลยุทธก์ ารพัฒนาจิตวิญญาณความเป็นครเู พื่อส่งเสริมความเปน็ ครูวชิ าชีพของนกั ศกึ ษา
คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, จาก https://so05.tci-thaijo.org/
index.php/Ratchaphruekjournal/article/view/90765
สุพิชญา โคทวี. (2557). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาเพื่อเสริมสร้างจิต
วญิ ญาณความเปน็ ครู สำหรับนกั ศึกษาครศุ าสตร์ ในสังกัดมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั . ปรญิ ญานิพนธ์ ก ศ . ด .
(หลกั สตู รและการสอน). พษิ ณุโลก : มหาวิทยาลัยนเรศวร.
อมรรัตน์ แก่นสาร. (2558). การพัฒนาตัวบ่งชี้จิตวิญญาณความเป็นครูของครูสังกัดสำนักงาน คณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา,
สำนกั บัณฑติ ศกึ ษา, มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สกลนคร.

187

บทที่ 8
กฎหมายการศึกษา

วิวฒั นาการกฎหมายไทย

1. กอ่ นสโุ ขทยั
2. สุโขทยั
3. อยุธยา
4. ธนบรุ ี
5. รัตนโกสนิ ทร์

ประวัติศาสตรก์ ฎหมายไทย
กอ่ นสโุ ขทัย

กฎหมายไทยมีการววิ ัฒนาการมานาน เช่นเดยี วกันกับกฎหมายของประเทศต่างๆ ก่อนท่ปี ระเทศไทยจะ
ได้ใช้ระบบประมวลกฎหมาย ไทยก็มีระบบกฎหมายใช้เป็นของตนเองเช่นกัน ซึ่งจะอยู่ในรูปของกฎหมายจารีต
ประเพณี ซึ่งได้ถูกปฏิบัติสืบต่อกันมาจนยอมรับว่าเป็นกฎหมายในที่สุด และก็ได้มีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์
อกั ษรในกาลต่อมา เพอ่ื ใหส้ มาชกิ ในชุมชนได้รแู้ ละปฏิบัตติ าม

กฎหมายในยุคสุโขทยั

ปรากฎอย่ใู นศลิ าจารกึ พอ่ ขุนรามคำแหง ( ปีพ.ศ. 1828-1835 ) เรยี กกันวา่ กฎหมายสบ่ี ท ไดแ้ ก่
1. บทเรอื่ งมรดก
2. บทเรอื่ งท่ีดนิ
3. บทวธิ ีพจิ ารณาความ
4. บทลักษณะฎกี า
และมกี ารเพ่ิมเติมกฎหมายลักษณะโจรลงไปในครงั้ รัชสมยั พญาเลอไทย กษตั ริยส์ ุโขทยั องค์ที่ 4 ซึ่งมีส่วน
ของการนำกฎหมายพระธรรมศาสตรม์ าใช้ ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากพราหม ซึ่งได้มีส่วนขยาย ที่เรียกว่า ‘พระราช
ศาสตร์’ มาใช้ประกอบด้วย

กฎหมายกรงุ ศรอี ยุธยา

กรงุ ศรอี ยุธยาเป็นชารธานีแห่งท่สี องของไทย ได้ก่อตงั้ ข้ึนเม่ือ พ.ศ. 1839 - 2310 พระมหากษัตริย์ในยุค
นั้น ได้สร้างกฎหมายซึ่งเรียกว่าพระราชศาสตร์ไว้มากมาย พระราชศาสตร์เหล่านี้ เมื่อเริ่มต้นได้อ้างถึงพระ
ธรรมศาสตร์ฉบับของมนูเป็นแม่บท เรียกกันว่า ‘มนูสาราจารย์’ พระธรรมศาสตร์ฉบับของมนูสาราจารย์นี้ เป็น
กฎหมายที่มีต้นกำเนิดในอินเดีย เรียกว่าคำภีร์พระธรรมศาสตร์ ต่อมามอญได้เจริญและปกครองดินแดนแหลม
ทองมาก่อน ได้แปลต้นฉบับคำภีร์ภาษาสันสกฤตมาเป็นภาษาบาลีเรียกว่า ‘คำภีร์ธรรมสัตถัม’ และได้ดัดแปลง
แก้ไขบทบัญญัติบางเรื่องให้มีความเหมาะสมกับชุมชนขอ งตน ต่อจากนั้นนักกฎหมายไทยในสมัย

188

พระนครศรีอยุธยาจึงนำเอาคำภีร์ของมอญของมอญมาเป็นหลักในการบญั ญตั ิกฎหมายของตน ลักษณะกฎหมาย
ในสมัยนั้นจะเป็นกฎหมายอาญาเสียเป็นส่วนใหญ่ ในยุคนั้น การบันทึกกฎหมายลงในกระดาษเริ่มมีขึ้นแล้ว เชื่อ
กันว่าการออกกฎหมายในสมัยก่อนนัน้ จะคงมีอยู่ในราชการเพียงสามฉบับเท่านั้น ได้แก่ ฉบับที่พระมหากษัตริย์
ทรงใช้งาน ฉบับให้ขุนนางข้าราชการทั่วไปได้อ่านกัน หรือคัดลอกนำไปใช้ ฉบับสุดท้ายจะอยู่ที่ผู้พิพากษาเพื่อใช้
ในการพจิ ารณาอรรถคดี

กฎหมายสมัยกรุงธนบรุ ี

กฎหมายสมัยกรุงธนบุรี เนื่องจากเป็นระยะเวลาท่ีต้องกอบบ้านกู้เมือง หรือก่อบ้านสร้างเมืองประกอบ
กับสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ได้มพี ระราชหฤทัยในการคิดป้องกันบ้านเมอื งเพ่ือมใิ หข้ ้าศึกมารุกรานและเน้น
การรวบรวมกลุ่มคนไทยที่ต้องอยู่กับอย่างกระจดั กระจาย ลม้ หายตายจากและถูกข้าศึกเทครวั กลับไปยังประเทศ
พม่า ประกอบกบั บ้านเมืองหลังจากเกดิ ศกึ สงคราม ได้รับความบอบช้ำมาอย่างหนัก และพระองค์มีจิตคิดฝักใฝ่
ในเรื่องธรรมมะในช่วงระยะเวลาสุดท้ายของพระชนม์ชีพ กฎหมายของกรุงธนบุรีจึงอ้างอิงมาจากกรุงศรีอยุธยา
เสียเปน็ ส่วนใหญ่

กฎหมายกรงุ รัตนโกสินทร์

ในสมัยนัน้ พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 เห็นว่ากฎหมายที่ใช้กันแต่ก่อน
มานั้นขาดความชัดเจน และไม่ได้รับการจัดเรียงไว้เป็นหมวดหมู่ง่ายต่อการศึกษาและนำมาใช้ จึงโปรดเกล้าให้มี
การชำระกฎหมายขึ้นมาใหม่ ในคำภีร์พระธรรมศาสตร์ โดยนำมารวบรวมกฎหมายเดิมเข้าเป็นลักษณะๆ สำเร็จ
เมอ่ื พ.ศ. 2348 และนำมาประทับตราเขา้ เปน็ ตราพระราชสีห์ ซึง่ เปน็ ตราของกระทรวงมหาดไทย ตราคชสีห์ ของ
พระทรวงกลาโหม และตราบัวแกว้ ซึ่งเป็นตราของคลงั บนหน้าปกแต่ละเล่ม ตามลักษณะระของการปกครองใน
สมัยนั้น กฎหมายฉบับนั้นเรียกกันว่า ‘กฎหมายตราสามดวง’ กฎหมายตราสามดวงนี้ ถือเป็นประมวลกฎหมาย
ของแผ่นดินที่ได้รับการปรับปรุงให้มีความรัดกุม ยุติธรรมทั้งทางแพ่งและอาญา นอกจากจะได้บรรจุพระ
ธรรมศาสตร์ตั้งแต่สมัยอยุธยาแล้ว ยังคงมีกฎหมายสำคัญๆอีกหลายเรื่อง อาทิ กฎหมายลักษณะพยาน ลักษณะ
ทาส ลกั ษณะโจร และตอ่ มาได้มีการตราข้นึ อีกหลายฉบับ ต่อมาประเทศไทยมีการติดต่อสัมพันธ์ไมตรีกับประเทศ
ต่างๆมาก พึงเห็นได้ว่ากฎหมายเดิมนั้นไม่ได้รับการยอมรับจากนานาอารยประเทศ จนทำให้ไทยต้องเสียสิทธิ
สภาพนอกอาณาเขต นอกจากนั้นยังไมส่ ามารถนำมาใช้บังคับได้ทกุ กรณี พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
จึงทรงตรากฎหมายขึ้นใหม่ อาทิ พระราชบัญญัติมารดาและสินสมรส ครั้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงจัดวางระบบศาลขึ้นมาใหม่ และได้ให้ผู้เชี่ยวชาญทางกฎหมายทั้งจากอังกฤษ
ฝรงั่ เศส เบลเยีย่ ม ญป่ี นุ่ และลังกามาเปน็ ทป่ี รึกษากฎหมาย และในสมัยนั้น พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอกรมหลวงราชบุรี
ดเิ รกฤทธิ์ ก็ได้แก้ไขชำระกฎหมายตราสามดวงเดิมขน้ึ ใหม่ และจดั พมิ พ์ขึ้นในชื่อของ ‘กฎหมายราชบุรี’ ในปีพ.ศ.
2440 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจชำระและร่างกฎหมายขึ้นมา
ใหม่ ทำการร่างกฎหมายลักษณะอาญา กฎหมายว่าด้วยการเลิกทาส กฎหมายวิธีสบัญญัติ ร่างประมวลกฎหมาย
แพง่ และกฎหมายท่ีสำคัญหลายๆฉบับ และในรัชสมยั ตอ่ มา กฎหมายไทยไดถ้ ูกพัฒนาสืบต่อกนั ยาวนาน ตราบจน
ทุกวันนี้ มีการจัดทำประมวลกฎหมาย และร่างกฎหมายต่างๆเป็นจำนวนมาก ซึ่งกฎหมายไทยนั้น ได้รับอิทธิพล
ทั้งจากกฎหมายภาคพื้นยโุ รป อาทิกฎหมายอังกฤษ กฎหมายฝรั่งเศส รวมทั้งจารีตประเพณีเดิมของไทยดว้ ย ( มี

189

อย่ใู นประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ5 และ 6 ว่าด้วยเร่อื งครอบครวั และมรดก ) และไดร้ ับการแก้ไขให้
มีความสอดคล้องกับสังคมที่เปลี่ยนไปอยู่ตลอดเวลา มีกฎหมายที่ทันสมัยถูกตราขึ้นใหม่ๆตลอด เช่นกฎหมาย
ทรัพยส์ นิ ทางปญั ญา หรอื ทีเ่ กีย่ วกับการค้าระหว่างประเทศ (อา้ งอิง:รวมความเห็นนกั วิชาการ คดหี ม่นิ ฯ ร.๔)

ลำดับชัน้ กฎหมายไทย
รฐั ธรรมนญู

รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศหรือเป็นกฎหมายแม่บทที่มีสถานะสูงสุดเหนือ
กฎหมายอนื่ ๆ ในการปกครองประเทศโดยกำหนดบทบาทอำนาจหน้าที่และความสัมพันธ์ระหว่างกันของสถาบัน
ทางการเมืองการปกครองตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับประชาชนและสิทธิของประชาชนทีม่ ีอยู่ภายในรัฐ
เปน็ กฎหมายทกี่ ำหนดระบบการปกครองโครงสร้างการปกครองกติกาทางการเมืองของรัฐและจัดสรรอำนาจตาม
กฎหมายให้แก่สถาบันทางการเมือง ฉะนั้นการปกครองประเทศไม่ว่าจะปกครองในระบอบใดก็ตาม รัฐธรรมนูญ
จะกำหนดหรือยุตริ ะบอบการปกครองและกตกิ าทางการเมืองตา่ ง ๆ ไว้ในรฐั ธรรมนญู รฐั ธรรมนญู จึงเป็นกฎหมาย
ที่กำหนดองค์กรของรัฐที่เป็นผู้ใช้อำนาจขณะเดียวกันก็ จำกัดอำนาจของการใช้อำนาจนั้นเพื่อประกันสิทธิของ
ปจั เจกชนด้วย

เดชชาติ วงศ์โกมลเชษฐ์ อธิบายวา่ รฐั ธรรมนูญ เป็นกฎหมายหลักของประเทศ ซ่ึงบัญญตั วิ า่ ดว้ ยรปู ของ
รฐั รูปของรฐั บาลการแบง่ อำนาจอธิปไตย องค์การทใี่ ช้อำนาจอธปิ ไตย และความสัมพันธร์ ะหว่างองค์การท่ีใช้
อำนาจ อธิปไตย ตลอดจนสทิ ธิและหน้าท่ีของประชาชน

รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย เป็นกฎหมายลำดับศักดิ์สงู สุดแห่งราชอาณาจักรไทย กฎหมายอื่นใด
จะขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญไม่ได้ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายว่าด้วยการจัดระเบียบการปกครองของประเทศ ซึ่ง
ตั้งแต่ วันที่ 27 มิถุนายน 2475 ถือเป็นวันที่ประกาศใช้รัฐธรรมนูญเป็นฉบับแรกในประวัติศาสตร์ไทย คือ
“พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ. 2475” ซึ่งเป็นกฎหมายสงู สุดในการปกครอง
รัฐ หลังจากที่คณะราษฎรทำการปฏิวัติเปลี่ยนการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์อำนาจสูงสุดเป็นของ
กษัตริยม์ าเป็นระบอบประชาธปิ ไตยท่ีอำนาจสงู สุดเปน็ ของประชาชนเม่ือวนั ที่ 24 มิถุนายน 2475 แมจ้ ะใช้ช่ือว่า
“พระราชบัญญัติ ‘ธรรมนูญการปกครองแผ่นดิน’ สยามชั่วคราว พ.ศ. 2475” แต่ก็มีสถานะเป็นรัฐธรรมนูญอัน
เป็นกฎหมายสูงสุด ซึ่งต่อมาภายหลังได้มกี ารบัญญัติคำวา่ ‘รฐั ธรรมนูญ’

ตั้งแต่ พ.ศ. 2475 ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญแล้วทั้งสิ้น 20 ฉบับ รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน คือ
รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2560

รัฐธรรมนูญไทยระบุว่าประเทศไทยมีรูปแบบรัฐเดี่ยว และปกครองในระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา
กำหนดให้มีการแบ่งแยกอำนาจระหว่างอำนาจนิติบัญญัติ บริหารและตุลาการ กำหนดให้สมาชิกผู้แทนราษฎร
และสมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั้งและการแต่งตั้งแตกต่างกันไป เช่นเดียวกับพระราชอำนาจของ
พระมหากษัตรยิ ์

190

รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทยมี 20 ฉบบั
ศาลรฐั ธรรมนูญ

เป็นองค์กรหลกั ท่ีทำหนา้ ทต่ี ีความรฐั ธรรมนญู และวนิ จิ ฉัยข้อขดั แย้งข้อพิพาทท่ีเก่ยี วข้องกบั รฐั ธรรมนูญ
รฐั ธรรมนญู ฉบับแรกของไทยชอ่ื วา่ “พระราชบญั ญัตธิ รรมนูญการปกครองแผน่ ดนิ สยามชั่วคราว
พทุ ธศกั ราช 2475” จากน้ัน ราชอาณาจกั รไทยก็ได้ประกาศใช้รัฐธรรมนญู มาตามลำดบั ดงั นี้
1. พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผน่ ดินสยามช่ัวคราว พุทธศกั ราช ๒๔๗๕
2. รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรสยาม
3. รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489
4. รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบบั ชวั่ คราว) พุทธศักราช 2490
5. รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492
6. รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 แก้ไขเพมิ่ เตมิ พุทธศักราช 2495
7. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจกั ร พุทธศักราช 2520
8. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2511
9. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจกั ร พุทธศกั ราช 2511
10. รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2517
11. รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2519
12. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2520
13. รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521
14. ธรรมนญู การปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2534
15. รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2534
16. รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2540
17. รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบบั ชั่วคราว) พุทธศักราช 2549
18. รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2550
19. รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย (ฉบับชวั่ คราว) พุทธศักราช 2557
20. รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2560
อ้างอิง:บวรศักด์ิ อวุ รรณโณ,กฎหมายมหาชน เลม่ 3 ท่มี าและนติ ิวธิ ี,กรงุ เทพ,สำนกั พิมพ์นติ ธิ รรม,พิมพ์คร้งั ที่
1,2538 ใจจริง, ณัฐพล (2556). ขอฝนั ใฝ่ในฝนั อนั เหลือเชื่อ: ความเคลอื่ นไหวของขบวนการปฏิปักษป์ ฏิวัติสยาม
(พ.ศ. 2475-2500) (1 ed.). ฟ้าเดียวกัน.

191

พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญ

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ คือ กฎหมายที่มีลักษณะพิเศษที่รัฐธรรมนูญระบุชื่อและหลักการ
สำคัญเอาไว้โดยเฉพาะ เพ่ือขยายความเพม่ิ เติมจากหลักการสำคัญของรฐั ธรรมนูญ ซง่ึ จะทำให้รฐั ธรรมนูญมีความ
สมบูรณย์ ่งิ ข้นึ โดยไมต่ อ้ งมจี ำนวนมาตรามากมายจนเกินความจำเปน็

ซึง่ พระราชบญั ญตั ิประกอบรัฐธรรมนญู ตามรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
ประกอบด้วย

1. พระราชบญั ญตั ิประกอบรัฐธรรมนญู วา่ ดว้ ยการเลอื กตง้ั สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร
2. พระราชบญั ญตั ิประกอบรัฐธรรมนญู วา่ ดว้ ยการได้มาซง่ึ สมาชกิ วุฒสิ ภา
3. พระราชบญั ญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลอื กต้ัง
4. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนญู ว่าด้วยพรรคการเมือง
5. พระราชบัญญตั ิประกอบรัฐธรรมนูญวา่ ด้วยวธิ พี จิ ารณาของศาลรัฐธรรมนญู
6. พระราชบัญญตั ิประกอบรัฐธรรมนูญวา่ ด้วยวธิ ีพิจารณาคดีอาญาของผูด้ ำรงตำแหน่งทางการเมือ
7. พระราชบัญญัติประกอบรฐั ธรรมนูญว่าด้วยผู้ตรวจการแผน่ ดิน
8. พระราชบญั ญตั ิประกอบรฐั ธรรมนญู ว่าดว้ ยการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ
9. พระราชบัญญัติประกอบรฐั ธรรมนูญว่าดว้ ยการตรวจเงนิ แผ่นดิน
10. พระราชบญั ญตั ิประกอบรฐั ธรรมนญู ว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนษุ ยชนแหง่ ชาติ
อ้างองิ :ปรีดี หงษส์ ต้น. “เชอื ดไก่ให้ลงิ ดู: รฐั ไทยกับการทำลายศัตรดู ้วยนาฏกรรม.” วารสารประวตั ิศาสตร์
ธรรมศาสตร์ 1, 2 (ต.ค. 2557 -ม.ี ค. 2558), น. 53-99.

พระราชบัญญตั ิ

พระราชบัญญัติ (มีตัวย่อว่า "พ.ร.บ.") เป็นกฎหมายที่ออกโดยฝ่ายนิติบัญญัติ ซึ่งมีรัฐสภาเป็นฝ่ายที่ออก
กฎหมายนี้ พระราชบัญญัติถือว่าเป็นการออกกฎหมายเพื่อบังคับใช้เป็นชีวิตประจำวัน กำหนดกฎเกณฑ์ซึ่งมี
เนื้อหาเป็นการทั่วไป ไม่มุ่งเฉพาะเจาะจงต่อบุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือใช้บังคับแก่กรณีใดกรณีหนึ่ง ถือว่าเป็น
กฎหมายลายลักษณ์อักษรที่รัฐได้ตราขึ้นไว้เป็นข้อบังคับกำหนดความประพฤติบุคคล พระราชบัญญัติถือว่าเป็น
กฎหมายท่ีมีศกั ด์สิ งู กวา่ บทกฎหมายประเภทอ่นื ๆ เปน็ รองเพยี งรฐั ธรรมนูญเท่านัน้

การตราพระราชบัญญัตินั้นจะทำได้ก็แต่โดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา และเมื่อพระมหากษัตริย์
ไดท้ รงลงพระปรมาภิไธย และประกาศในราชกจิ จานเุ บกษากม็ ีผลใชบ้ งั คบั เป็นกฎหมายได้

คำว่า พระราชบัญญัติ เป็นชื่อเรียกกฎหมายที่บัญญัติขึ้นโดยประเทศที่มีพระมหากษัตริย์เป็นผู้อนุญาต
สำหรับประเทศอ่ืนที่พระมหากษตั ริยไ์ ม่ใชผ่ ู้อนุญาต (เชน่ ประธานาธิบด)ี จะเรยี กว่า รัฐบัญญตั ิ

พระราชกำหนด

พระราชกำหนด (พ.ร.ก.) หรือ รัฐกำหนด หมายถึง กฎหมายรูปแบบหนึง่ ซึ่งพระมหากษตั ริย์ทรงตราข้นึ
โดยคำแนะนำและยนิ ยอมของคณะรัฐมนตรี โดยอาศัยอำนาจตามท่รี ฐั ธรรมนญู วางไวว้ ่าเป็นกรณีฉุกเฉิน ท่ีมคี วาม
จำเป็นรีบด่วนอันมิอาจหลีกเลี่ยงได้ เพื่อประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยของประเทศ หรือความปลอดภัย

192

สาธารณะหรือความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะ หรือในกรณีที่มีความ
จำเป็นต้องมีกฎหมายเกี่ยวด้วยการภาษีอากรหรือเงินตรา ซึ่งจะต้อง ได้รับการพิจารณาโดยด่วนและลับ เพ่ือ
รักษาประโยชน์ของแผ่นดิน พระราชกำหนดมีผลใช้บังคับได้ดังพระราชบัญญัติ ดังนั้นพระราชกำหนดจึ งแก้ไข
เพิม่ เตมิ หรือยกเลกิ พระราชบัญญัติได้

พระราชกำหนดไว้เรียกกฎหมายเช่นนั้นซึ่งประกาศใช้ในประเทศอันมีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข
ส่วนรัฐกำหนดสำหรบั ประเทศอันมีประธานาธิบดีเป็นประมุข

พระราชกำหนดของไทย

สถานการณท์ จี่ ะประกาศใชพ้ ระราชกำหนดได้
พระราชกำหนดของไทยแบ่งออกเป็นสองประเภทตามความในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ.
2550) ไดแ้ ก่
1. พระราชกำหนดทั่วไป ออกได้ในกรณีฉุกเฉินที่มีความจำเป็นรีบด่วนอันมิอาจหลีกเลี่ยงได้เพ่ือ
ประโยชน์ในการรักษาความปลอดภัยของประเทศ เพอื่ ความมัน่ คงทางเศรษฐกิจ หรอื เพ่อื ปอ้ งปดั พิบตั ิสาธารณะ
2. พระราชกำหนดเกี่ยวกับภาษีอากรหรือเงินตรา ออกได้ในกรณีที่มีความจำเป็นที่จะต้องมีกฎหมาย
เกี่ยวกับภาษีอากรหรือเงินตราซึ่งต้องได้รับพิจารณาโดยด่วนและลับ เพื่อรักษาผลประโยชน์ของแผ่นดิน ทั้งนี้
ภายในระหวา่ งสมัยประชมุ ของรฐั สภาเทา่ นน้ั

กระบวนการตราพระราชกำหนด

พระราชกำหนดมีคณะรัฐมนตรีเป็นผู้พิจารณาร่าง และเมื่อคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้ว
นายกรัฐมนตรีจึงจะนำร่างนั้นขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายต่อพระมหากษัตริย์เพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยและประกาศใช้
บงั คับเชน่ พระราชบญั ญัติ ทั้งนี้ โดยไมต่ อ้ งนำเสนอร่างพระราชกำหนด เชน่ ว่าใหร้ ฐั สภาพจิ ารณาใหค้ วามเห็นชอบ
กอ่ น

พระราชกฤษฎกี า

พระราชกฤษฎีกา (พ.ร.ฎ.) หรือ รัฐกฤษฎีกา บทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดย
อาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายตามความหมายของรัฐธรรมนูญ โดยคำแนะนำของคณะรัฐมนตรี และ
เพื่อกำหนดความสัมพันธ์ระหวา่ งรัฐบาลกับรัฐสภา (เช่นในกรณีการยุบสภาผู้แทนราษฎร) พระราชกฤษฎีกาจึงมี
ศักด์ิทางกฎหมายต่ำกวา่ รฐั ธรรมนญู พระราชบญั ญตั ิ ประมวลกฎหมาย และพระราชกำหนด

การตราพระราชกฤษฎีกา

พระราชกฤษฎกี า คือ บทบัญญัติแห่งกฎหมายทพี่ ระมหากษัตรยิ ท์ รงตราขน้ึ โดยอาศยั อำนาจตาม
รฐั ธรรมนญู พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญตั ิ หรือพระราชกำหนด เพอื่ ใชใ้ นการบรหิ าร
ราชการแผ่นดนิ โดยคำแนะนำของคณะรัฐมนตรี มีศักดติ์ ่ำกว่ารัฐธรรมนญู พระราชบญั ญตั ิ ประมวลกฎหมาย
และพระราชกำหนด

ในการตราพระราชกฤษฎีกา ตามรัฐธรรมนญู ฉบบั ปจั จบุ นั สามารถแบ่งเป็น 3 กรณี คือ
1. พระราชกฤษฎกี าที่รฐั ธรรมนญู กำหนดใหต้ ราพระราชกฤษฎกี าในกจิ การท่สี ำคัญอนั เก่ยี วกับฝ่าย

193

บริหารและฝ่ายนติ ิบญั ญัติ ซึ่งจะเปน็ การกำหนดรายละเอยี ดปลีกย่อยของกฎหมาย เพ่ือให้การปฏบิ ัติตาม

กฎหมายมคี วามชัดเจนเปน็ รูปธรรมมากยงิ่ ข้ึน เช่น พระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมรัฐสภา พระราชกฤษฎกี ายบุ

สภาผู้แทนราษฎร พระราชกฤษฎีกาให้มกี ารเลือกตงั้ สมาชิกวุฒสิ ภา และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการเลอื กตัง้

สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร เปน็ ต้น

2. พระราชกฤษฎีกา ทอี่ อกมาเพื่อใช้กบั ฝา่ ยบริหารเพยี งอย่างเดยี วไมบ่ งั คบั ใชก้ ับประชาชนทว่ั ไป ซึง่

เปน็ กรณีทรี่ ัฐบาลเห็นสมควรตราขอ้ บังคบั ใช้ในการบรหิ ารงานท่วั ไป ในกจิ การของฝ่ายบริหาร เช่น พระราช

กฤษฎกี าว่าดว้ ย เบี้ยประชุมกรรมการ พระราชกฤษฎีกาว่าดว้ ยการเบกิ ค่าเชา่ บ้านของขา้ ราชการ เป็นต้น

3. พระราชกฤษฎกี าที่ออกโดยอาศัยอำนาจตามกฎหมายแมบ่ ท คือ พระราชบัญญัตหิ รอื พระราชกำหนด

ที่ใหอ้ ำนาจตราพระราชกฤษฎกี าได้ โดยการวางหลกั เกณฑ์ วิธีการ เงอ่ื นไข หรอื การจัดระเบยี บการบริหาร

ราชการไว้ เช่น พระราชบัญญัตจิ ฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั พ.ศ. 2522 กำหนดวา่ การใหป้ ริญญาใด ๆ ใน

จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัยต้องตราเป็นพระราชกฤษฎีกา กรณนี ้ีกฎหมายแมบ่ ทจะกำหนดแตห่ ลักสาระสำคัญไว้

สว่ นรายละเอียดให้ออกเป็นพระราชกฤษฎกี า หรือให้ออกเปน็ กฎกระทรวง

การตราพระราชกฤษฎีกา รัฐมนตรีซึ่งมีหน้าทีเ่ กีย่ วข้องจะอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ

หรือพระราชกำหนดนน้ั ๆ เสนอร่าง พระราชกฤษฎีกาตอ่ คณะรัฐมนตรใี ห้พจิ ารณา โดย รา่ ง

พระราชกฤษฎีกานั้นจะต้องไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ หรือพระราชกำหนดที่เกี่ยวข้อง

เมือ่ คณะรัฐมนตรพี จิ ารณาแล้วจะต้องนำรา่ งพระราชกฤษฎกี าขนึ้ ทลู เกลา้ ฯถวายพระมหากษัตรยิ ์เพ่ือทรง

ตราพระราชกฤษฎกี าน้ันๆ นายกรัฐมนตรี จะเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ จากนั้นจึงนำไปประกาศในราช

กิจจานเุ บกษา บังคบั ใชต้ อ่ ไป

กฎกระทรวง

กฎกระทรวง เป็นกฎหมายลายลักษณ์อักษรประเภทหนึ่งของประเทศไทย ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวง

ตราขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติ หรือแห่งกฎหมายที่มีฐานะเสมอกัน เป็นต้นว่า

ประมวลกฎหมาย พระราชกำหนด กฎกระทรวงน้นั เดิมเรยี กว่า กฎเสนาบดี

การตรากฎกระทรวง

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงผู้รักษาอำนาจตามพระราชบัญญัติหรือพระร าชกำหนดซึ่งให้อำนาจรัฐมนตรี

กระทรวงน้นั ๆ ออกกฎกระทรวง จะเปน็ ผ้เู สนอร่างกฎกระทรวงตอ่ คณะรัฐมนตรี เมื่อคณะรฐั มนตรมี ีมติเห็นชอบ

แล้ว รัฐมนตรีว่าการกระทรวงนั้นประกาศใช้ร่างกฎกระทรวงนั้นเป็นกฎหมายได้ โดยจะมีผลใช้บังคับเมื่อได้

ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาแลว้

อ้างอิง : กำธร พันธุ์ลาภ. (2526). "กฎกระทรวง". สารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน, (เล่ม 1 : ก-กลาก

เหล็ก). (พิมพ์ครงั้ ที่สาม). กรุงเทฯ : ไพศาลศลิ ป์การพิมพ์. หน้า 27-38.

194

ข้อบัญญตั ทิ ้องถนิ่

กฎหมายที่องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นตราขึ้นเพื่อใช้บังคับในเขตขององค์การบริหารส่วนท้องถิ่นนั้น ๆ
เช่น ขอ้ บญั ญัติจงั หวัด ข้อบญั ญัติกรงุ เทพมหานคร ขอ้ บญั ญตั เิ มอื งพัทยา

1. ต้องมกี ฎหมายแม่บทให้อำนาจไว้
2. ออกข้อบัญญัติท้องถ่นิ เกนิ กวา่ อำนาจท่ีกฎหมายแม่บทใหไ้ ว้ไม่ได้
3. ตอ้ งออกตามขน้ั ตอนที่กฎหมายกำหนด
4. หลกั “ไมม่ ีกฎหมายไมม่ ีความผดิ ”
(อา้ งองิ :ศนู ย์บรหิ ารกฎหมายสาธารณสขุ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ .)

การปฏริ ปู การศกึ ษา

การปฏิรูป คือ การทำให้สิ่งที่เป็นปัญหา หรือผิดไปจากสภาพที่เหมาะสม มาจัดรูปแบบใหม่ ดังนั้นการ
ปฏริ ูปการศึกษา หมายถึง การเปลีย่ นแปลงโครงสร้างของระบบการศกึ ษา

การปฏริ ูปการศกึ ษาหลังการเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ 2547 มจี ำนวน 4 ครั้ง
ครัง้ ท่ี 1 การปฏิรูปการศึกษาในปี พ.ศ 2517 เปน็ การศึกษาเพื่อชวี ิตและสังคม

สาเหตุของการปฏิรปู คณะกรรมการการวางพ้นื ฐานเพ่อื ปฏิรปู การศกึ ษา เหน็ วา่ ควรมกี ารปฏิรปู
ดว้ ยสาเหตุดังน้ี

1. ปัญหาอนั เกดิ จากการเปล่ยี นแปลงทางสงั คมและสง่ิ แวดล้อม
2. ปญั หาอนั เกิดจากการการเปลีย่ นแปลงทางความคิด
3. ปญั หาอนั เกดิ จากระบบการศึกษา
คร้ังท่ี 2 การปฏิรปู การศกึ ษาในปี พ.ศ.2537 การศกึ ษาเพ่ือนำทางสู่สังคมแหง่ ปัญญาและการเรียนรู้
เป็นการปฏิรูปการศึกษาโดยภาคเอกชน นำโดยนายบัณฑูร ล่ำซำ กรรมการผู้จัดการธนาคาร
กสิกรไทย โดยจัดตั้ง คณะศึกษาการศึกษาไทยในยุคโลกาภิวัตน์ เพื่อศึกษาและเสนอแนะการปฏิรูป
การศึกษา โดยธนาคารกสิกรไทยเป็นผู้สนับสนุน คณะศึกษาฯประกอบไปด้วยผู้ที่มีประสบการณ์
ภาคเอกชน ภาครัฐ ภาคราชการ ภาคประชาชน ฯลฯ น่วมกันทำงานนี้ โดยได้วางยุทธศาสตร์ไว้ 4
ขน้ั ตอนคอื
1. จุดประกาย
2. ขายความคดิ
3. พิชิตความเปลีย่ นแปลง
4. ออกแรงผลกั ดนั สู่ความสำเร็จ
ครั้งที่ 3 “ปฏิรูปการศึกษา” ไม่ใช่คำใหม่ที่ไม่คุ้นชิน แต่กลับเป็นคำคุ้นเคยอยู่คู่กับการศึกษาไทยมา
ยาวนานถึง 20 ปี หากจะเริ่มนับจากการปฏิรูปการศึกษาในปี พ.ศ.2542 ปฏิเสธไม่ได้ว่า การศึกษาไทย
ติดหล่ม กับคำว่า ล้าหลังและล้มเหลว มาเป็นห้วงเวลานาน ประสิทธิผลทางการศึกษาของไทย ไม่ว่าจะ
ผลลัพธ์หรือผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาต่างมีปัญหา ตัวเลขชี้วัดการทดสอบต่างๆ สะท้อนปัญหาการคิด
วิเคราะห์ของเด็กไทย หรือแม้แต่ตัวเลขชีว้ ัดคุณภาพทางการศึกษาไม่ได้สะท้อนผลที่แทจ้ รงิ ออกมา ด้วย


Click to View FlipBook Version