The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง ใส่ปก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nad_natrada, 2021-03-30 20:13:42

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง ใส่ปก

รายงานปรัชญาการศึกษา หมู่ที่5 พร้อมส่ง ใส่ปก

245

เต็มความสามารถ เน้นผลสัมฤทธทิ์ ่ีเกิดขึ้น
กับลกู ศษิ ย์ทกุ ดา้ น
(4) มีพฤติกรรมท่ีดงี าม ทั้งกาย วาจา ใจ
ประพฤติ
(5) ได้รบั การยกย่องจากลกู ศิษย์และผ้ทู เี่ กี่ยว
ขอ้ ง เช่น ผบู้ ังคับบญั ชาในอดีตและปจั จุบนั
เพ่ือนครู ผปู้ กครอง และผู้นำชุมชน เป็นต้น

2. เปน็ ผมู้ ีคณุ ปู การต่อการศึกษา แนวทางพจิ ารณา
คณุ สมบตั เิ ฉพาะ 2. เป็นผมู้ คี ุณูปการต่อการศึกษา
พิจารณาจากข้อมูลเชิงประจักษใ์ นประเด็นต่อไปน้ี
2. เปน็ ผู้มคี ุณูปการตอ่ การศึกษา
ปฏิบตั ิงานสอนหรอื การจดั การเรยี นรู้คน้ คว้า (1) ปฏบิ ัติงานสอนหรือการจดั การเรียนรู้ด้วย
ความทมุ่ เทเสียสละ ไมย่ ่อท้อต่อข้อจำกดั
พัฒนาการสอนหรือการจัดการเรียนร้ดู ้วยความท่มุ เท และความยากลำบาก
เสียสละ มคี วามแตกฉานทั้งในเน้อื หาและวิธกี าร
จดั การเรียนรูใ้ น่ส่วนที่รบั ผดิ ชอบ เปน็ แบบอย่างของ (2) ค้นควา้ พฒั นาการสอนหรอื การจดั การ
ความสำเร็จได้อย่างกว้างขวาง เรยี นรูใ้ นสว่ นทีร่ บั ผิดชอบ และนำไป

ปฏบิ ตั ิ
ได้จริง

(3) มีความแตกฉาน ท้ังในเนือ้ หา ความรู้
มีองคค์ วามรู้ นวตั กรรม หรอื ผลงานทม่ี ี
คุณภาพ สามารถนำไปเผยแพร่ในระดับ
ประเทศหรือระดับนานาชาติ

คุณสมบตั เิ ฉพาะ แนวทางพจิ ารณา
(4) เปน็ แบบอยา่ ง ได้รับการยอมรับ และนำไป
การถอดถอนรางวัล
ขยายผลอย่างกว้างขวาง มผี ลทเี่ กิดจาก
การทำงานทสี่ ามารถเปน็ แบบอยา่ งแก่
เพอ่ื น
ครู และนำไปปฏบิ ัติได้จริง

246

ผู้ที่ได้รับรางวัลตามประกาศนี้ หากในภายหลังปรากฏในกรณีดังต่อไปนี้ มูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหา
จกั รี โดยคณะกรรมการ มีสิทธถิ อดถอนรางวัลนัน้ ได้

1. ผู้ได้รบั รางวลั ได้รบั การเสนอชื่อไมถ่ ูกตอ้ งตามหลักเกณฑ์และวธิ ีการในประกาศน้ี
2. ผไู้ ดร้ บั รางวัลขาดคณุ สมบตั ติ ามประกาศนีอ้ ยกู่ ่อนวนั ที่ไดร้ บั รางวลั
3. ผู้ได้รับรางวลั มพี ฤติกรรมเสือ่ มเสียหลงั จากไดร้ ับรางวัลแล้ว

รางวลั

ในการคัดเลือกครั้งนี้นอกจากมีรางวัลสูงสุด คือ รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรีแล้ว ยังมีรางวัลคุณากร
รางวลั ครยู ิ่งครู และรางวลั ครขู วญั ศษิ ย์ รวม 4 รางวัล ดังนี้

1. ครูผู้มีคะแนนสูงสุดจากการตัดสินของคณะกรรมการมูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรีจะได้รับ
“รางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี” ประกอบด้วย เหรียญทองรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี เข็มเชิดชูเกียรติทองคำ
พระราชทาน โลป่ ระกาศเกียรตคิ ุณ และเงนิ รางวัลจำนวน 10,000 เหรียญสหรัฐ

2. ครูที่มีคะแนนลำดับที่ 2 และลำดับที่ 3 จากการตัดสินของคณะกรรมการมูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้า
มหาจักรี จะได้รับ “รางวัลคุณากร” ประกอบด้วย เหรียญเงินรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี เข็มเชิดชูเกียรติ
พระราชทาน และเกยี รตบิ ัตร

3. ครูที่มีคะแนนลำดับที่ 4 ถึงลำดับที่ 20 จากการตัดสินของคณะกรรมการคัดเลือกส่วนกลางจะได้รับ
“รางวัลครูยง่ิ คุณ” ประกอบดว้ ย เหรยี ญทองแดงรางวัลสมเด็จเจ้าฟา้ มหาจักรี เข็มเชดิ ชูเกียรติพระราชทาน และ
เกียรติบตั ร

4. ครูผูไ้ ดร้ บั การคัดเลือกจากคณะกรรมการคัดเลือกระดับจังหวัดและองค์กรที่มรี างวลั ตามเกณฑ์ ท่ีผ่าน
ความเห็นชอบจากคณะกรรมการคัดเลือกส่วนกลาง จะได้รับ “รางวัลครูขวัญศิษย์” ประกอบด้วย เข็มเชิดชู
เกยี รติพระราชทาน และเกียรตบิ ัตร (มลู นิธริ างวัลสมเด็จเจ้าฟา้ มหาจกั รี, 2563)

รางวัลครูดขี องแผน่ ดนิ เจริญรอยตามเบ้อื งพระยคุ คลบาท

มูลนิธคิ รูดขี องแผน่ ดิน (Foundation of Thai Suprateacher : FTST)
องค์กรไม่แสวงหาผลกำไร จดทะเบียนอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ.2560 โครงการ

เครือข่ายครูดีของแผ่นดิน เจริญตามรอยเบื้องพระยุคลบาท ขอเป็นฟันเฟืองหนึ่งที่จะขับเคลื่อนคุณภาพวง
การศึกษาไทยและครูไทยให้ก้าวไกลรุดหน้า เพื่อสร้างสังคมแห่งคุณค่าและมีคุณภาพในอนาคต ภายใต้วิสัยทัศน์
“สร้างคนดีให้แผ่นดิน” ได้จัดพิธีมอบเกียรติบัตรแก่กลุ่มครูดีของแผ่นดิน 73 กลุ่ม เพื่อเป็นขวัญกำลังใจที่ได้
ประพฤติปฏบิ ตั ิตนเป็นครดู ีของแผ่นดนิ เจริญรอยตามเบ้ืองพระยุคลบาท ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิ
พลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ซึ่งกลุ่มครูดีของแผ่นดินที่ได้รับรางวัลเบื้องต้นต้องพัฒนาตนเองอย่าง
สมำ่ เสมอ และผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 3 ดา้ นคือ การครองตน ครองคน และครองงาน ตลอดจนเจริญรอยตามบาท
แห่งพระราชา เพอ่ื รบั รางวลั เครือขา่ ยครูดขี องแผ่นดนิ ระดบั ชาติ

ดังนนั้ รางวลั “ครดู ขี องแผ่นดิน เจรญิ ตามรอยเบื้องพระยุคลบาท” จึงเกิดขึน้ พร้อมพลังและความตั้งใจ
อันดีงาม มอบให้กบั คุณครูและผู้บริหารสถานศึกษาทั่วประเทศ ด้วยการยกย่อง เชดิ ชเู กียรติ คุณครูและผู้บริหาร
สถานศึกษาให้เป็นที่ประจักษ์แกส่ าธารณชน นำมาซึ่งการยกระดับมาตรฐานความเป็นครูมืออาชีพในวงกว้าง อีก

247

ทั้งยังเป็นหลักฐานประกอบการพิจารณาวิทยฐานะ สำหรับครูอาจารย์และผู้บริหาร สถานศึกษาผู้ตั้งใจปฏิบัติ

หน้าทอี่ ยา่ งนา่ ชนื่ ชมอีกดว้ ย โดยมจี ุดประสงค์

1. อยากใหค้ ุณครูท่สี รา้ งคนดีให้แผ่นดนิ มีทยี่ นื มคี วามภาคภมู ิใจในตนเอง เพราะรางวัลทัว่ ไปมแี ตร่ างวัล

ทางวิชาการเป็นส่วนใหญ่ ไม่ค่อยมรี างวลั เก่ียวกบั การสรา้ งคนดมี ากนัก

2. อยากให้ครชู ว่ ยครู เกดิ การช่วยเหลอื ซงึ่ กนั และกนั ระหว่างครดู ้วยกนั เพราะท่ีผา่ นมาหลายรางวลั เม่ือ

ครไู ด้ไปแลว้ รางวลั ก็ต้องแก่งแย่งแข่งขนั กนั มักจะไม่แบ่งปันความรู้และความดีๆ กับผอู้ น่ื แต่โครงการน้ีออกแบบ

ให้ครูช่วยครูเปน็ สำคัญ จนเกิดเปน็ กลุม่ เครือข่าย ซึ่ง 1 กลุ่มมี 3-8 คน และดูแลไม่เกิน 3 กลุ่ม คือ 34 คน ซึ่งครู

แตล่ ะกลมุ่ จะตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามเกณฑป์ ระมาณ 1 ปี จนกว่าจะผ่านเกณฑ์ที่กำหนด

3. รางวัลนี้ไม่มีแพ้คัดออก ไม่ต้องมาแข่งขันกันว่าใครดีกว่าใคร หากได้ตามเกณฑ์ที่กำหนดทุกคนมีสิทธ์ิ

รบั รางวลั ทุกคน แตห่ ากไมไ่ ด้ตามเกณฑ์ที่กำหนดให้คุณครูพัฒนาตนเองตอ่ ไปเร่ือยๆ จนกว่าจะไดร้ างวลั สงู สุด คือ

รางวลั ครขู องแผน่ ดนิ ชน้ั ท่ี 1

4. เรามีนวัตกรรมสร้างคนดีให้แผ่นดิน และโครงการเครือข่ายการสร้างคนดีให้แผ่นดิน เป็นเหมือนเข็ม

ทิศชี้แนะแนวทางในการสร้างคนดีให้กับคุณครู โดยมุ่งเน้นให้ครูพัฒนาตนเองเป็นจุดเริ่มต้นพื้นฐาน แล้วขยาย

ต่อไปยังคนรอบข้าง โดยครูทเ่ี ข้ารว่ มโครงการตอ้ งพฒั นาตนเอง 3 หมวด 19 ตวั บ่งชี้ ครองตน ครองคน ครองงาน

ซง่ึ มีรายละเอียดอยใู่ นเอกสารโครงการ

เกณฑก์ ารพิจารณา

ตวั ชี้วดั ในโครงการเครือข่ายครูดขี องแผ่นดิน เจริญรอยตามเบ้ืองยคุ คลบาท

องค์ประกอบหลกั ตวั บ่งชี้

ครองตน 1. รกั เขา้ ใจ ห่วงใยลูกศิษย์

9 ตัวบ่งช้ี 2. หนา้ ท่ีครูต่อศษิ ย์ ตามหลักทิศ 6

3. ไม่สรา้ งหนเี้ พิ่ม

4. จติ สาธารณะ

5. ปฏบิ ัติตนอยู่ในศีล 5 และความดสี ากล 5

6. มคี วามรบั ผิดชอบ พูดอยา่ งไรทำอยา่ งนั้น ทำอย่างไรพูดอย่างนัน้

7. เรยี นรู้ตลอดเวลา

8. รู้เท่าทนั ตนเอง

9. ละอายและเกรงกลวั ต่อบาป

ครองคน 10. เป็นผหู้ วังดใี ห้ดว้ ยจิตเมตตา

3 ตวั บ่งชี้ 11. ปฏิบัตติ นตามแบบแผนและปรบั แนวคิดให้ถกู ต้องตรงกัน

12. ปฏิบัตติ นกบั บุคคลรอบข้างอยา่ งเหมาะสม

ครองงาน 13. มคี วามคิดสรา้ งสรรค์ (Creativity)

7 ตวั บ่งช้ี 14. มีความคิดวิเคราะห์ (Critical Thinking)

248

15. มที ักษะดา้ นความรว่ มมือและการทำงานเปน็ ทีม (Collaboration and
Teamwork)
16. มที ักษะการส่อื สาร (Communication)
17. รู้คอมพิวเตอร์และไอซีที (Computing & ICT Literacy)
18. มีทกั ษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้ (Career & Learning Skill)
19. ผสมผสานทางวัฒนธรรม (Cross-cultural)
(มูลนิธคิ รดู ีของแผ่นดิน, 2560)

การเป็นแบบอย่างที่ดี ระดับประเทศ

1. รางวัลคุรสุ ภา
การก่อตั้งมูลนิธิรางวลั คุรุสภาที่ให้รางวลั แก่สมาชกิ คุรุสภาผูป้ ฏิบัติงานมีผลงานดีเด่น มีวัตถุประสงค์เพอ่ื

ส่งเสริมและยกย่องเชิดชูเกียรติผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศึกษาที่มาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชพี ดีเด่นใน
เป็นแบบอย่างที่ดี สร้างแรงบันดาลใจในการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติหน้าที่ตามกรอบมาตรฐานวิชาชีพด้วย
เทคโนโลยีที่เหมาะสม ส่งเสริมขวัญ และกำลังใจแกผ่ ู้ประกอบวชิ าชีพทางการศึกษาท่ีมีผลงานดีเด่น ส่งเสริมและ
กระตุ้นให้เกิดการสร้างนวัตกรรมการจัดการเรยี นรู้ที่ส่งผลตอ่ คุณภาพของผู้เรยี น และเปิดโอกาสให้ผู้ไดร้ บั รางวลั
ได้แลกเปลี่ยนเรียนร้แู ละถ่ายทอดประสบการณ์ทางวิชาชีพ รางวัลคุรสุ ภา แบ่งเป็น 2 ระดบั ไดแ้ ก่

- ระดบั ดีเด่น จำนวน 9 รางวัล รางวัลทีจ่ ะได้รับประกอบด้วย โล่ประกาศเกียรตคิ ุณ เข็มทองคำ
“คุรุสภาสดุด”ี เกียรตบิ ัตร และเงินรางวลั จำนวน 50,000 บาท

- ระดับดี จำนวน 18 รางวัล รางวลั ท่จี ะไดร้ บั ประกอบดว้ ย เข็ม “ครุ สุ ภาสดุด”ี เกียรตบิ ตั ร และ
เงนิ รางวลั จำนวน 10,000 บาท รวมจำนวน 27 รางวลั
คุณสมบัตขิ องผู้มีสทิ ธไิ ด้รับรางวัลครุ สุ ภา

1. เป็นผปู้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษาและมีใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพ ตามพระราชบัญญัติสภาครูและ
บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 ได้แก่ ครู ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ผูบ้ ริหารการศึกษา และศกึ ษานิเทศก์

2. มรี ะยะเวลาการปฏิบัติงานไม่น้อยกวา่ 10 ปี โดยปฏิบตั งิ านในประเภททสี่ ่งผลงานเข้ารับการคัดเลือก
ต่อเนือ่ งกันไม่นอ้ ยกวา่ 5 ปี นบั ถงึ วันท่อี อกประกาศ

3. ไมเ่ คยไดร้ บั รางวลั ครุ สุ ภา ระดบั ดีเด่นในประเภทเดียวกันมาก่อน
4. ไม่เคยกระทำความเสื่อมเสียใด ๆ อันเป็นการบกพร่องในศีลธรรมอันดี และการประกอบวิชาชีพ
ทางการศึกษา
5. ไม่อยู่ระหว่างการถูกแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนวินัย ถูกดำเนินการทางวินัยหรือเป็นผู้เคยถูก
ลงโทษทางวนิ ัย แม้จะไดร้ บั การลา้ งมลทนิ ตามพระราชบัญญัตลิ า้ งมลทินแล้วก็ตาม รวมทงั้ การดำเนินการเก่ียวกับ
การประพฤติผดิ จรรยาบรรณของวชิ าชีพ
เกณฑ์การพิจารณา

249

1. ตอ้ งเป็นผปู้ ฏิบัติงานตามมาตรฐานวชิ าชีพทางการศกึ ษาตามข้อบังคบั ครุ สุ ภา วา่ ด้วยมาตรฐานวิชาชีพ
พ.ศ. 2556 และข้อบังคบั ครุ ุสภา ว่าด้วยจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2556 ได้แก่

1.1 มาตรฐานความรแู้ ละประสบการณ์วิชาชพี
1.2 มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน
1.3 มาตรฐานการปฏบิ ตั ิตน (จรรยาบรรณของวิชาชพี )
2. ต้องเป็นผู้ที่จัดการเรียนรู้ จัดการศึกษา ที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนทั้งด้านผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (สำนกั งานเลขาธกิ ารครุ ุสภา, 2563)

รางวลั ครดู ีในดวงใจ

รางวลั โครงการ “ครดู ใี นดวงใจ” ครงั้ ท่ี 18 พ.ศ. 2564 เพื่อสรรหาและคดั เลือกขา้ ราชการครูสายงานการ
สอน ผู้เป็นที่ศรัทธา ยกย่อง ยอมรับของนักเรียน เพื่อนครู และสังคม ว่าเป็นแบบอย่างของผู้มีจิตวิญญาณแห่ง
ความเป็นครู และได้ทุ่มเทเสียสละ เพื่อช่วยดูแลนักเรียนอย่างต่อเนื่องจนเกิดผลงานเป็นที่ประจักษ์ โดยเป็นผู้มี
ผลงานสง่ ผลตอ่ การยกระดบั ผลสมั ฤทธข์ิ องนักเรยี น เช่น เป็นเด็กเกง่ เดก็ ที่มีปัญหาการเรยี นรู้ เดก็ พเิ ศษ เด็กด้อย
โอกาส หรือเด็กที่มีปัญหาทางพฤติกรรม ทั้งนี้ นักเรียนที่อยู่ในความรับผิดชอบส่วนใหญ่ มีผลการประเมิน
มาตรฐานในเกณฑ์ดี หรือมีพัฒนาการสูงขึ้นตามลำดับ มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนและ
ส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรยี น จนส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพของนักเรียนอย่างเป็นรปู ธรรมเป็นบุคคล ที่ครอง
ตน ครองคน และครองงานได้อย่างเหมาะสมให้ได้รับยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็น “ครูดีในดวงใจ” และเผยแพร่
ผลงานความดใี หป้ รากฏตอ่ สาธารณชน เพ่อื เปน็ แบบอย่างของครแู ละเด็กใหท้ ำความดี
เกณฑก์ ารพิจารณา

กรอบแนวคิดสำคญั ของแบบประเมินครูดีในดวงใจ ดงั น้ี
1. แบบประเมินตอนที่ 1 ประเมินจิตวิญญาณแห่งความเป็นครู ประกอบด้วยครูมีความรักและเมตตา
ประพฤตติ นเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ตี ่อนกั เรยี น มคี วามรักและศรัทธาในวิชาชพี ครแู ละเป็นสมาชิกทด่ี ขี ององค์กรวิชาชีพ
ครู มีการช่วยเหลือเกื้อกูลเพื่อนครูและชุมชนในทางสร้างสรรค์ และมีความเป็นผู้นำในการอนุรักษ์พั ฒนา ภูมิ
ปญั ญาทอ้ งถ่ินและวัฒนธรรมไทย 20 คะแนน
2. แบบประเมินตอนที่ 2 ประเมินความสามารถในการจัดการเรียนการสอน ประกอบด้วยครูมีความ
มุ่งมั่นในการพัฒนาตนเพื่อปฏิบัติหน้าที่ให้มีคุณภาพ ถูกต้อง ครบถ้วน และสมบูรณ์ มีความตั้งใจและเต็มใจใน
การให้บริการแก่ผู้รับบริการ สร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมในการพัฒนาองค์กรและพัฒนาวิชาชีพ มีความรู้
ความสามารถในการออกแบบและจัดทำหน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้ มีการจัดการเรียนรู้ที่เน้น
ผเู้ รยี นเป็นสำคญั มกี ารใช้และพฒั นาส่อื นวัตกรรมเทคโนโลยเี พอ่ื จัดการเรยี นรู้ มีการวดั และประเมินผลการเรียนรู้
ที่มีประสิทธิภาพ มีการจัดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมการเรียนรู้ ความสุข และ
ความปลอดภัยของผูเ้ รียน และมีการวิเคราะหส์ ภาพปัญหาของนักเรียน นำไปสังเคราะหห์ าแนวทาง วิธีการ เพื่อ
พฒั นาผเู้ รยี น 35 คะแนน

250

3. แบบประเมินตอนที่ 3 ประเมินการใช้หลักธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย ครูใช้หลัก
คุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความคุ้มค่า และหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการ
ปฏบิ ัตงิ าน 15 คะแนน

4. แบบประเมินตอนที่ 4 ประเมินผลงานเชิงประจักษ์จากการปฏิบัติหน้าที่ ประกอบด้วยผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนของผู้เรียน ผลการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผู้เรียนมีผลงานดีเด่นเป็นที่ประจักษ์และครูมี
ผลงานดีเด่นเปน็ ที่ประจักษ์ 30 คะแนน (สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1, 2563)

รางวัลครูเจา้ ฟ้ากรมหลวงนราธวาสราชนครินทร์

โครงการพระเมตตาสมเด็จย่าได้เห็นถึงความเสียสละของครูที่ปฏิบัติหน้าที่อยู่ในถิ่นทุรกันดาร ซึ่งเป็น
แม่พิมพ์และแบบอย่างของการพัฒนาเยาวชนและประชาชนให้เป็นคนดีและคนเก่ง ตามพระปณิธานของสมเด็จ
พระศรีนครินทราบรมราชชนนี และ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราช
นครินทร์ จึงได้จัดทำโครงการครูดีเด่น “รางวัลครูเจ้าฟ้ากรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์” เพื่อเป็นการเชิดชู
เกียรติ เป็นขวัญกำลังใจ โดยมอบรางวัลแก่ครูที่ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเสียสละความสุขส่วนตัวเพื่อส่วนรวมมา
โดยตลอด และเปน็ การเผยแพรผ่ ลงานคุณงามความดี และยกย่องเชดิ ชเู กยี รตผิ ู้ไดร้ ับรางวัล ให้เป็นแบบอย่างการ
ทำความดีให้ปรากฏแก่ครู นักเรียน และประชาชนทั่วไป กำหนดวันรับ “ รางวัลเจ้าฟ้ากรมหลวงนราธิวาสราช
นครินทร์” ในวันที่ 6 พฤษภาคม (ของทุกปี) ซึ่งวันคล้ายวันประสูติของสมเด็จพระพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลป์ยาณิ
วัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครนิ ทร์
เกณฑ์การพจิ ารณา

1. เป็นผ้ทู มี่ คี วามซ่ือสตั ย์ต่อตนเองและผู้อื่น มีคณุ ธรรม ยึดม่นั ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

2. มีความรับผิดชอบ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการนำนวัตกรรมการเรียนการสอน หรือการจัด
กระบวนการเรยี นร้มู าพัฒนางานตนเอง

3. เป็นผู้นำในการพัฒนาโรงเรียน/ศูนย์การเรียนฯ/ชุมชน และนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา
ประยกุ ต์ใชก้ ับตนเอง และงานทีร่ บั ผิดชอบ

4. มีผลงานเชิงประจักษ์ที่เกิดขึ้นในโรงเรียนเรียน/ศูนย์การเรียนฯ/ชุมชน (โครงการพระเมตตาสมเด็จ
ย่า, 2552)

251

สรุปการเป็นแบบอย่างทด่ี ี การมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม การเปน็ พลเมืองที่เขม้ แขง็
การดำรงตนใหเ้ ป็นทเ่ี คารพและศรัทธาแก่ผู้เรยี นและสมาชิกในชมุ ชน

การปฏิบัตติ นเปน็ แบบอยา่ งที่ดี เป็นการแสดงออก การประพฤตแิ ละปฏิบัติในด้านบุคลิกภาพทัว่ ไป การ
แต่งกาย กิริยา วาจา คุณธรรมและจริยธรรมที่เหมาะสมกับความเป็นครูอย่างสม่ำเสมอ ที่ทำให้ผู้เรียนเลื่อมใส
ศรัทธา และถือเปน็ แบบอย่าง

การท่จี ะเป็นแบบอย่างท่ีดีได้นนั้ จะต้องมีความดีพร้อม ทงั้ ในด้านการมีคุณธรรมและจริยธรรมต่อตนเอง
ต่อครอบครัว ต่อผู้เรียน เพื่อนร่วมงาน สังคม และประเทศฃาติ ผู้ที่ขึ้นชื่อว่าเป็นแบบอย่างจะต้องดำรงตนไป
ในทางที่เหมาะสมเพราะคุณครูเปรียบเสมือนแม่แบบของเด็กๆเมื่อครูอยู่ในสถานศึกษาควรรู้หน้าที่และบทบาท
ตนเองในการปฏิบัติตนต่อผู้เรียนและมีน้ำใจเอื้อเฟื้อต่อเพื่อนร่วมงาน เมื่อหมดหน้าที่ในโรงเรียนแล้วบทบาท
หน้าที่ต่อไปของคุณครูคือสมาชิกของครอบครัว คุณครูก็จะมีหน้าที่ไปอีกรูปแบบหนึ่งในการดูแลครอบครัวและ
เป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว นอกจากเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัวแลว้ เมื่ออยู่ในสังคมบุคคลท่ีข้ึนช่ือว่าครูก็จะมี
บทบาทกับสังคมไปในอีกรปู แบบหนง่ึ ในฐานะของผ้พู ฒั นาบคุ ลากรท่มี ีคุณภาพใหแ้ กป่ ระเทศชาติ

จะเห็นได้คนเป็นครูจะสอนเป็นอย่างเดียวไม่ได้แต่พึงจะต้องมีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตนเป็น
แบบอย่างท่ีดีให้เป็นทเ่ี คารพศรัทธาทงั้ กบั ครอบครัว ผู้เรียน เพอื่ นรว่ มงาน และสมาชกิ ในชมุ ชนดว้ ย

252

อ้างองิ

โครงการพระเมตตาสมเด็จยา่ . (2552). รางวลั ครูเจ้าฟา้ กรมหลวงนราธวาสราชนครนิ ทร์ (ออนไลน์).
เขา้ ถึงไดจ้ าก: https://www.somdejya.org. (วนั ที่สบื คน้ ขอ้ มูล: 8 มนี าคม 2564)

จินตนา ยูนิพันธุ์, หลักคณุ ธรรมจรยิ ธรรมสําคัญของศาสนาคริสต์. (2548). (ออนไลน์).
เขา้ ถึงได้จาก : https://socialkrutik.wordpress.com (วนั ท่ีสืบค้นขอ้ มลู 1 มีนาคม 2564)

จีระวุฒิ โคกใหญ่. (2557). ลักษณะของครูทดี่ ี. (ออนไลน์).
เข้าถึงไดจ้ าก : https://sites.google.com/site/krutubtib/khru/laksna-khxng-khru-thi-di.
(วันท่สี ืบคน้ ขอ้ มูล 7 มีนาคม 2564)

ปณดิ า ปัตตาทานัง. (2021). หน้าท่พี ลเมือง. (ออนไลน)์ .
เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://panidar7241.blogspot.com/2013/07/blog-post_27.html
(วันท่ีสืบคน้ ขอ้ มูล : 7 มนี าคม 2564)

ปราชญา กลา้ ผจญั . (๒๕๔๙). คณุ ธรรมจรยิ ธรรมผนู้ ำรัฐ. กรุงเทพฯ: ก. พล การพิมพ์ จำกดั .
(วนั ที่สบื คน้ ขอ้ มูล : 4 มนี าคม 2564)

ผู้ช่วยศาสตราจารยด์ ร.ดวงเดือน พนิ สุวรรณ.(2562).คณุ ธรรมจริยธรรมสำหรบั ครู. (ออนไลน์).
เขา้ ถึงไดจ้ าก : https://graduate.sru.ac.th. (วันท่สี ืบคน้ ข้อมูล: 8 มนี าคม 2564)

พรรณอร อุชภุ าพ.(2561 ) การศึกษาวิชาชพี ครู. สำนกั พมิ พ์แหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย.
พระธรรมปฎิ ก (ป.อ.ยตุ โต )(2540).ความหมายของคุณธรรม.

253

พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยตุ ฺโต). (2547, น. 21-22). คณุ ธรรมตามหลักศาสนาพุทธ.

พระมหาบุญมี มาลาวชโิ ร.(2547). หนงั สอื ครองตน ครองคน ครองงาน.

พระเมธธี รรมาภรณ์ (ประยรู ธมมจิตโต). (2538: น.15-16). ความหมายของคุณธรรม.

ไพฑรู ย์ สินลารัตน์.(2561). มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา. วทิ ยาลัยครศุ าสตร์, มหาวทิ ยาลัยธรุ กิจบัณฑิตย์.

มลู นธิ ิครดู ขี องแผ่นดิน.( 2560). ครูดีของแผ่นดิน เจรญิ ตามรอยเบอ้ื งพระยุคลบาท.(ออนไลน์)
เข้าถึงไดจ้ ากจาก : http://www.thaisuprateacher.org. (วนั ท่สี ืบคน้ ขอ้ มลู :10 มนี าคม 2564)

มูลนิธริ างวัลสมเด็จเจ้าฟา้ มหาจกั ร.ี (2563). รางวัลสมเด็จเจา้ ฟ้ามหาจกั รี.
(Princess Maha Chakri Award). (ออนไลน์)
เข้าถึงได้จาก : https://www.pmca.or.th (วันทีส่ บื ค้นข้อมูล: 7 มีนาคม 2564 )

รศ.ยนต์ ชมุ่ จติ .(2558). ความเป็นครู.โอเดยี นสโตร์, สนพ.

สำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรนิ ทร์ เขต 1. (2563). รางวัลโครงการ
“ครูดีในดวงใจ” ครง้ั ที่ 18 พ.ศ. 2564. (ออนไลน)์
เข้าถึงได้จาก : http://www.surinarea1.go.th. (วนั ทีส่ ืบคน้ ขอ้ มูล: 8 มนี าคม 2564 )

สำนักงานเลขาธิการครุ สุ ภา. (2539). แบบแผนพฤติกรรมจรรยาบรรณครู พ.ศ. 2539.

กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์คุรุสภาพลาดพร้าว. 2541. (ออนไลน์)

เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : https://www.kruupdate.com/36567/ . (วนั ที่สบื คน้ ข้อมูล: 4 มนี าคม 2564)

สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2563). การคัดเลือกผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาเพื่อรับรางวัลคุรุสภา
ประจำปี 2563. (ออนไลน์)

เขา้ ถงึ ได้จาก : https://www.ksp.or.th. (วันท่สี ืบค้นข้อมูล: 8 มีนาคม 2564)
อุษณีย์ ธโนศวรรย์. (2562). The 2019 Global Teacher Prize: ครทู ่ดี ีท่ีสดุ ในโลก. (ออนไลน)์

เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : https://www.kroobannok.com/86487. (วนั ที่สืบคน้ ขอ้ มลู : 7 มีนาคม 2564)

254

บทที่ 10
สภาพการณพ์ ฒั นาวชิ าชพี ครู กลวิธีการพฒั นาการศกึ ษาทย่ี ง่ั ยืน ความรอบรู้ ทันสมัย

ทนั ตอ่ การเปล่ยี นแปลงในบรบิ ทโลก
สภาพการณพ์ ัฒนาวิชาชพี ครู

1.การผลิต

1.1 สถาบันผลติ ครู/มหาวิทยาลยั ปริญญาตรี (หลกั สตู ร 4 ปี / หลกั สูตร 5 ปี)
มหาวทิ ยาลยั และสถาบันการผลติ ทเี่ ปิดหลกั สตู รทางการศึกษาอยูใ่ นประเทศไทย

1.1.1 กลมุ่ มหาวทิ ยาลัยรัฐ
1.1.2 กลุ่มมหาวิทยาลยั เทคโนโลยี
1.1.3 กลมุ่ สถาบันพัฒนศลิ ป์
1.1.4 กลุ่มคณะศึกษาศาสตร์ สถาบันการพลศึกษา
1.1.5 กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ
1.1.6 สถาบนั ผลติ ภาคเอกชน (ท่มี า: ครูวนั ดี. สถาบนั ผลิตครูปี2563 หลังคุรสุ ภารับรอง
หลักสูตร. 2564)
มาตรฐานทางวิชาชีพระหว่างครู 4ปี และครู 5 ปี แตกต่างกันหรือไม่? ในการจัดทำข้อเสนอการผลิตครู
ทั้งระบบ ซึ่งประกอบด้วย 3 ส่วนสำคัญคือ การปรับมาตรฐานวิชาชีพครู ซึ่งเดิมมีทั้งหมด 11 มาตรฐาน มาเป็น
มาตรฐานที่อิงสมรรถนะมากขึ้น ส่วนที่สองคือ การปรับวิธีการได้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ จากเดิมผู้ที่เรียน
คณะครุศาสตร์/ศกึ ษาศาสตรจ์ ะได้ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชีพ โดยอตั โนมัติมาเปน็ การสอบเพ่ือขอรบั ใบอนุญาตฯ
แทน และที่สำคัญคือ การปรับหลักสูตรจากหลักสูตรผลิตครู 5 ปี เป็นหลักสูตรผลิตครู 4 ปี แต่จะต้องเป็น
หลักสูตรที่ได้มาตรฐาน รวมถึงจะต้องดูแลไม่ให้ผู้ที่เรียนในหลักสูตรครู5 ปีเสียสิทธ์ิ เพราะหลักสูตรต้องมีแผน
เพราะครศุ าสตร์ไม่ใชแ่ ค่โรงผลติ ครู

255

ผศ.อรรถพล อนันตวรสกุล จากคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันผลิตครูให้กับประเทศ
ผศ.อรรถพลกล่าวว่านโยบายกล่าวถูกชงจากสภาคณบดีคณะครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์แห่งประเทศไทย โดยความ
เชื่อที่ว่าการเรียนครู 4ปี หรือ 5ปี ให้ผลที่ไม่แตกต่างกัน แต่ไม่ได้ผลวิจัยมารองรับ ผศ.อรรถพลอธิบายว่าการ
เรยี นครู 5 ปนี นั้ เร่มิ ใช้มาต้งั แต่ปี 2547 โดยเช่ือวา่ การเรียนครเู พ่ิมอีก 1ปี ทำให้ครูมีความรูแ้ ละประสบการณ์การ
ฝึกสอนที่แน่นกว่า และยังมีความสอดคล้องกับการใช้เทคโนโลยีใหม่ๆที่เพิ่มเติมเข้ามาในหลักสูตร (ที่มา: กอง
บรรณาธกิ าร วอยซท์ ีวี. ไขปม: เรียนครู หลกั สตู ร 4 ปี - 5 ปี มีมาตรฐานตา่ งกันจรงิ หรือ.2560)

1.2 สถาบันผลิตครู/มหาวิทยาลยั (ป.บณั ฑิต)
ประจำปี 2563 จำนวน 43 แหง่ รฐั /เอกชน ผา่ นการรับรองจากครุ ุสภา
ป.บัณฑิต หรือชื่อเต็มก็คือ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพครู เป็นหลักสูตรสำหรับผู้ที่ไม่ได้จบสายครู
(คุรศุ าสตร)์ มาโดยตรง เช่น อกั ษรศาสตร์ วศิ วกรรมศาสตร์ เป็นต้น ผทู้ ีส่ ามารถเข้าเรียนหลักสูตรน้ีได้ต้องเป็นผู้ท่ี
ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาในสถานศึกษาและมีสัญญาจ้างงานจากสถานศึกษาหรือไม่มี ก็ขึ้นอยู่หลักสูตรของ
กบั สถาบันผลิตครู (ป.บณั ฑติ )
1.3 ปัญหาที่พบ

การผลติ ครไู ม่ตรงกบั ความต้องการใช้งาน
การผลิตครทู ่ีขาดความต่อเนื่อง เพราะนโยบายเปลย่ี นแปลงตามนโยบายนกั การเมือง
รัฐลงทุนเพ่ือการผลิตครูตำ่ ถ้าเทียบกับวิชาชีพอืน่ ๆ

2. การพฒั นา

1 แบบบังคบั
1.1 การอบรมตามที่คุรุสภากำหนด
อบรมการตอ่ ใบวชิ าชพี อบรม 20ชม./ปี
ครูที่มีใบประกอบฯ การต่อใบประกอบ 5ปี ต่อครั้ง เอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้อง หลักฐานการพัฒนาตนเอง

ไม่น้อยกว่า 3 กิจกรรม ในระยะเวลาใน 5 ปี (ที่มา: สำนักงานเลขาธิการกาคุรุสภา. คำแนะนำกาขอหนังสือขอ
อนญุ าตให้ประกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา โดยไม่มีใบอนญุ าตประกอบวิชาชพี )

ครูทไ่ี ม่มีใบประกอบฯ การตอ่ ใบประกอบ ทำหนังสือขออนุญาตให้ประกอบวิชาชพี ทางการศึกษา โดยไม่
มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ให้ประกอบวิชาชีพครั้งละไม่เกิน 2 ปี โดยอนุญาตไม่เกิน 3 ครั้ง (ที่มา: สำนักงาน
เลขาธิการกาคุรุสภา. คำแนะนำกาขอหนังสือขออนุญาตให้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา โดยไม่มีใบอนุญาต
ประกอบวชิ าชพี )

1.2 การอบรมโดยสถานศกึ ษา/เขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา/สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นึ พน้ื ฐาน

256

สถานศกึ ษามีการจดั อบรม เพอื่ พัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรในสถานศกึ ษา และได้ผลสมั ฤทธกิ์ าร
เรยี นของนักเรยี นเพ่ิมขนึ้

เขตพ้ืนท่กี ารศึกษา จดั อบรม โดยให้โรงเรยี นในสังกัดส่งตวั แทนมาเข้ารว่ มอบรมตามกลุ่มงานนัน้
สพฐ.จดั อบรม เพื่อสนับสนนุ การจดั การเรยี นการสอน ให้ได้ตามเป้าหมายของการจดั การศกึ ษา

มอี บรมออนไลน์

2. แบบไม่บังคับ
2.1 การอบรม
อบรมตามท่อี ยากอบรม หรือ มคี วามสนใจ หรอื อบรมตามสาขาเอกวิชาทส่ี อน
2.2 การอบรมวุฒลิ ูกเสือ
วุฒิทางลูกเสือที่เรียกตามประเภทของลูกเสือ (ใช้อักษรภาษาอังกฤษแทนความหมายตาม

ประเภทลูกเสือ) C = ลูกเสือสำรอง S = ลูกเสือสามัญ S.S. = ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ R = ลูกเสือวิสามัญ
(ทม่ี า: สำนกั งานลูกเสือเขตพ้นื ท่กี ารศึกษากำแพงเพชร เขต 2 .วฒุ ทิ างลูกเสอื ) ยกตัวอย่าง ลูกเสือสำรอง

1.C.B.T.C. ผ่านการฝกึ อบรมวิชาผกู้ ำกับลกู เสอื สำรองขนั้ ความรู้เบ้อื งต้น
2.C.A.T.C. ผ่านการฝกึ อบรมวิชาผกู้ ำกบั ลูกเสอื สำรองข้ันความรู้ชนั้ สงู
3.C.W.B. ผ่านการตรวจข้นั ที่ 5 และได้รับเคร่อื งหมายวูดแบดจ์ 2 ทอ่ น ประเภทสำรองแล้ว
เมือ่ ได้รับเครื่องหมายวดู แบดจ์ 2 ท่อนแล้วก็ปฏิบัติงานตามแนวปฏบิ ตั ใิ นการขอเครอ่ื งหมายลูกเสอื ท่ีสูงขึ้นแลว้
จงึ ส่งเอกสารหลกั ฐานเสนอขอรบั เคร่ืองหมายที่สูงข้ึน
A.L.T.C. ผา่ นการฝึกอบรมขั้นผชู้ ว่ ยใหก้ ารฝกึ อบรม (3 ท่อน)
A.L.T. ไดร้ ับอนุมตั ใิ ห้ได้รบั เครื่องหมายวูดแบดจ์ 3 ท่อนแลว้
L.T.C. ผา่ นการฝกึ อบรมข้ันผูใ้ หก้ ารฝึกอบรม (4 ท่อน)
L.T. ไดร้ บั อนุมัตใิ ห้ไดร้ ับเครอื่ งหมายวดู แบดจ์ 4 ทอ่ นแล้ว
1. วิชาผู้กำกับลูกเสือขั้นความรู้เบื้องต้น เดิมภาษาอังกฤษเรียกว่า Preliminary Training Course (
P.T.C. ) เดี๋ยวนี้เปลี่ยนหลังสูตรและเรียกชื่อใหม่เป็น Basis Unit Leaders Training Course ( B.T.C. ) (ที่มา:
สำนักงานลูกเสือเขตพื้นที่การศึกษากำแพงเพชร เขต 2 .วุฒิทางลูกเสือ) หมายเหตุ มอบหมายอำนาจให้เขต
การศึกษาเป็นผู้ ให้เลขรนุ่ และจัดการฝึกอบรมเองได้ ต้งั แต่ 2 กรกฎาคม 2522
2. วิชาผู้กำกับลูกเสือขั้นวูดแบดจ์หรือขั้นความรู้ชั้นสูง เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2503 เดิมในภาษาอังกฤษ
เรียกว่า Wood Badge Training Course เดี๋ยวนี้เปลี่ยนหลักสูตรและเรียกชือ่ ใหม่เป็น Advance Unit Leader
Training Course ( A.T.C. )

257

2.1 วชิ าผกู้ ำกบั ลกู เสอื สำรอง ข้ันความรชู้ ัน้ สงู รับเครือ่ งหมายวูดแบดจ์ ชนดิ 2 ท่อน
2.2 วชิ าผูก้ ำกบั ลูกเสอื สามัญ ข้ันความรชู้ ้นั สงู รบั เคร่อื งหมายวูดแบดจ์ ชนดิ 2 ท่อน
2.3 วิชาผู้กำกับลกู เสือสามัญร่นุ ใหญ่ ขนั้ ความรู้ชน้ั สูง รบั เครื่องหมายวดู แบดจ์ ชนดิ 2 ทอ่ น
2.4 วชิ าผกู้ ำกบั ลูกเสือวสิ ามัญ ขน้ั ความรชู้ นั้ สูง รบั เครือ่ งหมายวูดแบดจ์ ชนดิ 2 ท่อน
2.5 วิชาผ้บู งั คับบัญชาลูกเสอื ระดับผนู้ ำ ข้ันความรชู้ น้ั สูง รับเครื่องหมายวูดแบดจ์ ชนิด 2 ทอ่ น
3. วิชาผู้กำกับลูกเสือขั้นผู้ช่วยผู้ให้การฝึกอบรมเดิมภาษาอังกฤษเรียกว่า National Trainers Course
(N.T.C) เด๋ยี วน้เี ปล่ียนหลกั สตู รและเรยี กชื่อใหม่เปน็ Advance Leader Training Course ( A.L.T.C. )
รบั เครอื่ งหมายวูดแบดจ์ ชนดิ 3 ทอ่ นและไดร้ ับการแต่งตงั้ ใหเ้ ปน็ ผ้ชู ว่ ยผู้ ใหก้ ารฝกึ อบรม (A.L.T. )
4. วิชาผูก้ ำกบั ลกู เสอื ขน้ั หัวหน้าผูใ้ ห้การฝกึ อบรมเดมิ ภาษาองั กฤษเรยี กวา่ National Trainers the
teamCourse ( I.T.T.C )เด๋ียวนีเ้ ปล่ียนหลกั สูตรและเรียกช่ือใหม่เปน็ Leader Training Course ( L.T.C. ) รับ
เครอื่ งหมายวูดแบดจ์ ชนิด 4 ทอ่ นและไดร้ ับการแต่งต้ังให้เปน็ หวั หนา้ ผู้ ใหก้ ารฝกึ อบรม ( L.T. ) การอยู่ค่ายพัก
แรมของลกู เสอื เนตรนารี ยวุ กาชาด และผู้บำเพ็ญประโยชน์ ณ คา่ ยลูกเสือวชิราวธุ (ทม่ี า: สำนกั งานลกู เสอื เขต
พื้นทก่ี ารศกึ ษากำแพงเพชร เขต 2 .วฒุ ทิ างลูกเสือ)
2.3 การทำวิทยฐานะ
วทิ ยฐานะเกณฑ์ ว21/2560 คณุ สมบตั กิ ารขอ
1. ระยะเวลาของการดำรงตำแหน่งครู กำหนดให้แตล่ ะช่วงเปน็ ระยะเวลา 5 ปี นบั ถึงวันทย่ี ื่นคำ
ขอ
2. ชั่วโมงการปฏิบตั ิงานในตำแหนง่ ครู ซ่ึงมีการกำหนดภาระงานสอนขนั้ ตำ่ 12 ชม./สัปดาห์
รวมแล้วปลี ะ 800 ชม./ปี และในระยะ 5 ปี ต้องได้ 4000 ชม.
3. สำหรับการขอมวี ิทยฐานะชำนาญการและชำนาญการพิเศษ และ 900 ชม/ปี รวมระยะเวลา
5 ปี ต้องได้ 4500 ช.ม. สำหรบั วิทยฐานะเชี่ยวชาญ โดยต้องมชี ม. PLC ไมน่ ้อยกว่าปีละ 50 ชม.
4. ไม่เคยถูกลงโทษทางวนิ ยั หรอื จรรยาบรรณวชิ าชพี
5. ผ่านการพฒั นาตามเกณฑ์และวิธีการตามท่ี กคศ.กำหนด ขั้นต่ำปลี ะ 12 ชม. แต่ในระยะเวลา
5 ปี ต้องได้ 100 ชม.หากในปีใดมชี มการพัฒนาไมค่ รบ 20 ชม.ให้นำชม.สว่ นทเี่ กนิ จาก PLC 50ชม. มารวม
6. ผา่ นการประเมิน ผลการปฏิบตั ิงานในระยะเวลา 5 ปี ยอ้ นหลัง ไม่น้อยกว่า 3 ปีการศึกษา
(ทม่ี า: ครูอาชีพดอทคอม.การทำวิทยฐานะ ว21/2560. 2562)
การจัดทำผลงานเพอ่ื เลอื่ นวิทยฐานะ ว21/2560 ขั้นตอนการทำ ว21
1. ดู กพ7 ครองตำแหน่งวทิ ยฐานะปจั จบุ ัน วนั เดือน ปี อะไร
2. คำนวณ /ตง้ั เป้าหมายวนั ท่ีมีคณุ สมบัตหิ รือวนั ที่ตงั้ ใจจะขอเล่ือน วิทยฐานะ เพื่อนบั รอบปี แตล่ ะปี
สำหรับ เตรยี ม วฐ 1( เกี่ยวข้องกบั การ วางแผนเกบ็ ช่วั โมงอบรมและpIc)
3. เมอื่ ต้ังเป้าหมายวันทจี่ ะยืน่ ขอเลอ่ื นขอ วทิ ยฐานะได้แลว้ กม็ า ดวู ่า เราต้องประเมินผล การปฏบิ ตั งิ าน
13 ตัวชี้วัด ใน วฐ 2 ปกี าร ศกึ ษาไหนบา้ ง

258

4. จัดเตรียมเอกสาร ตาม13 ตวั ช้ีวดั แลว้ ทำวฐ 2 ประเมินตวั เอง แล้วยืน่ ขอรับการประเมินทกุ สน้ิ ปี
การศกึ ษา กรอกผลประเมนิ แตล่ ะปีลงไป ใน วฐ 3 เก็บผลประเมินไวท้ ี่ตนเอง/รร (ย้าย ไปไหนกห็ อบผลประเมิน
ไปดว้ ยไม่ต้องกงั วล)

5. เม่อื ครบ 5ปี ท่ีมีคุณสมบตั ิ/วันท่ีพร้อม วางแผนไว้แต่ตันก็ยนื่ วฐ 1 วฐ2วฐ 3 (ที่เรา เก็บไว้ทุกปี) แจง้
รร. ไปวา่ เราจะขอเล่ือน วิทยฐานะ ท่เี หลือ รร จะตรวจสอบจดั สง่ เอกสารเอง

6. ป.ล. การทำ วฐ1 ตัง้ เบา้ หมายยน่ื วนั ไหน ก็ ตอ้ งยนื่ วนั นัน้ (ทีม่ า: Getupschool. 6 ขั้นตอน การทำ
ว.21 เพ่อื เล่อื นวิทยฐานะ. 2563)

(วPA) Performance Agreement
Performan แปลวา่ สมรรถนะ, สมรรถภาพ , ประสิทธภิ าพ, พฤติกรรม
Agreement แปลวา่ การเห็นด้วย, การเห็นชอบร่วมกัน,การยอมรับรว่ มกัน, ข้อตกลง, ความตกลง

สรุปแลว้ Performance Agreement คือ การประเมินผลการปฏิบัติงานตามขอ้ ตกลง (ทม่ี า: ครูอัพเดท
ดอทคอม. แผนภาพอธบิ ายวทิ ยฐานะ ช่วงเปลี่ยนผา่ น จากเกณฑเ์ ก่าไป PA. 2564)

วันที่ 1 พฤษภาคม 2564 ก.ค.ศ ประกาศใช้หลักเกณฑ์ใหม่ วันที่ 1 ตุลาคม 2564 มีผลบังคับใช้ (ที่มา:
รศ.ดร.ประวิต เอราวรรณ์ รองเลขาธิการ ก.ค.ศ. ก.ค.ศ. ปรับปรุงมาตรฐานตำแหน่งและมาตรฐานวิทยฐานะเป็น
ของขวัญปีใหม่ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. 2562) คุณครูทุกคนต้องเริ่มทำเกณฑ์ PA โดยรอบ
การประเมิน รอบที่ 1 จะอยรู่ ะหวา่ งวนั ที่ 1 ตุลาคม 2564 ถึงวนั ท่ี 30 กันยายน 2565

วิทยฐานะแนวใหม่ วPA/2564 นั่น จะมีการประกาศใช้ในเร็วๆ นี้ คาดว่าประมาณ 16 พ.ค. 2564 ข้อดี
ทส่ี ุดของ การทำ วpa/2564 ก็คือ เรอื่ งระยะเวลา เพราะลดลงจาก ว21 ท่ีใช้เวลา 5-5-5-5 ปี เหลือเพียง 4-4-4-
4 (ที่มา: รศ.ดร.ประวิต เอราวรรณ์ รองเลขาธิการ ก.ค.ศ. ก.ค.ศ. ปรับปรุงมาตรฐานตำแหน่งและมาตรฐานวิทย
ฐานะเปน็ ของขวญั ปใี หม่ใหข้ ้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. 2562)
สามารถลดลงไปได้อีกเหลือเพยี ง 3 ปี ถา้ เขา้ เงื่อนไข ดังน้ี

1. เป็นผู้มีความสามารถทางภาษาต่างประเทศ ซึ่งจะเทียบกับเกณฑ์ผลการทดสอบ CEFR ที่คุรุสภาได้
กำหนดหลักเกณฑ์ไวใ้ นการประเมนิ สมรรถนะทางวชิ าชพี ครูฯ

2. เป็นผู้ปฏบิ ัตงิ านในพื้นทพ่ี เิ ศษ (พ้ืนทีเ่ กาะ ภเู ขาสงู พืน้ ทีม่ คี วามเสยี่ งต่อความมน่ั คงของประเทศ)
3. เป็นผู้พฒั นาตนเองอย่างตอ่ เน่ือง (การได้รับวุฒกิ ารศกึ ษาทส่ี ูงขน้ึ )
4. เป็นผู้ผ่านการประเมินสมรรถนะตามกรอบคุณวุฒิอาชีพ จากสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (ที่มา: ครูอาชีพ
ดอทคอม. ดร.รัชศักดิ์ แกว้ มาลา. การทำวทิ ยฐานะ ว21/2560)
2.4 การศกึ ษาต่อในประเทศ
-ภาคปกติ มี 2 ประเภท

259

ประเภท 1 หนว่ ยงานต้นสังกัดคัดเลือกส่งไปศึกษา
ประเภท 2 ตอ้ งไปสมัครสอบ หรอื คัดเลือกในสถานศึกษา
-ภาคนอกเวลา
การศึกษาต่อภาคนอกเวลาราชการ โดยใชเ้ วลาราชการบางสว่ นไปศกึ ษา
การศกึ ษาต่อภายนอกเวลาราชการ โดยไม่ใชเ้ วลาราชการไปศึกษา

การศกึ ษาตอ่ ในตา่ งประเทศ
การขออนุญาตไปศกึ ษาต่างประเทศ ในการให้ข้าราชการไปศกึ ษาฝึกอบรม ศกึ ษาต่อ ปฏบิ ัตกิ ารวิจัยและ
ดูงานต่างประเทศนนั้ สถานศึกษาต้องพจิ ารณาถงึ อตั รากำลังทมี่ อี ยู่ และมีผู้ปฏบิ ตั ิงานเพียงพอท่จี ะไม่ใหเ้ กิดความ
เสยี หายต่อราชการ โดยไม่ต้องแตง่ ตั้งอตั รากำลังเพ่ิม
2.5 ปัญหาท่พี บ

ระเบยี บปฏิบัติไม่เอ้ือต่อการพัฒนางานและการพัฒนาตนเอง ครู ส่วนใหญเ่ ป็นข้าราชการทำให้
ครมู สี ถานภาพมั่นคง ไม่เห็นความสำคัญของการพฒั นาตนเอง

ขาดระบบการตดิ ตามและประเมินผลที่มปี ระสทิ ธผิ ล การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล
การปฏบิ ตั ิงานของครูในปจั จุบันดำเนินการโดยผูบ้ งั คับบัญชาของครู

ลดภาระงานตา่ งๆของครเู พื่อเพม่ิ เวลาสำหรบั การเรียนรู้ และการพฒั นาตนเอง

3.การใช้

3.1 ครูในประเทศ
ครูทม่ี ีใบประกอบฯ

ครูจบจากสถาบนั การผลติ ครูหรือมหาวิทยาลัย เป็นขา้ ราชการแลว้ และยงั เป็นอตั ราจ้าง สอน
ในรายวิชาท่จี บ ในระดบั มธั ยมตรงสาขาวิชาทเี่ รยี นมา ส่วนประถมจะรับการสอนในหลายวิชาในช้ันเรียน

การตอ่ ใบประกอบ 5ปี ตอ่ ครั้ง เอกสารตา่ งๆทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง หลกั ฐานการพฒั นาตนเองไมน่ ้อยกว่า
3 กิจกรรม ในระยะเวลาใน 5 ปี (ทม่ี า: สำนกั งานเลขาธิกาคุรุสภา. คำแนะนำกาขอหนงั สอื ขออนญุ าตให้
ประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา โดยไม่มีใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพ)
ครูทไี่ มม่ ใี บประกอบฯ

ครสู อนโรงเรยี นเอกชน/ครูอตั ราจา้ งในโรงเรียนรฐั สอนตามรายวชิ าที่โรงเรียนจดั ให้ หรือขาด
แคลน

260

การตอ่ ใบประกอบ ทำหนังสือขออนญุ าตใหป้ ระกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา โดยไมม่ ีใบอนุญาต
ประกอบวิชาชพี ให้ประกอบวชิ าชพี ครัง้ ละไมเ่ กิน 2 ปี โดยอนุญาตไม่เกิน 3 คร้ัง (ท่ีมา: สำนกั งานเลขาธิ
กาครุ สุ ภา. คำแนะนำกาขอหนงั สอื ขออนญุ าตให้ประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา โดยไม่มีใบอนุญาต
ประกอบวิชาชพี )
3.2 ครูตา่ งชาติ

สอนในรายวิชา ภาษาตา่ งประเทศ เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาจนี ภาษาญ่ีปุ่น ส่วนมากมาจาก
ประเทศ 1. ฟิลปิ ปินส์ 2. อังกฤษ 3. สหรัฐอเมริกา 4. จนี 5. ญปี่ ุน่ 6. อ่นื ๆ

การตอ่ ใบประกอบ ทำหนังสอื ขออนุญาตใหป้ ระกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา โดยไมม่ ีใบอนุญาต
ประกอบวชิ าชีพ ใหป้ ระกอบวชิ าชีพครัง้ ละไมเ่ กิน 2 ปี รวมระยะเวลาไม่เกนิ 6 ปตี ่อเนื่อง

ครูตา่ งชาติ ท่ีอยากสอนอยใู่ นไทยตอ่
ขออนุญาตทำงาน หรอื work permit = ชาวตา่ งชาตทิ ่ตี อ้ งเดินทางเขา้ มาทำงานในประเทศ

ไทย เพื่อประกอบธุรกิจ กจิ การ หรอื ลกู จ้าง ทุกอาชพี นั้น จำเป็นตอ้ งยน่ื ขอการเปลยี่ นประเภทการลงตราตาม
กฎหมายของราชอาณาจกั รไทย ตอ้ งยนื่ ขอการเปลย่ี นแปลงประเภทการลงตราเป็น Non-Immigrant Visa ''B''
หรือวีซ่าประเภทธุรกจิ และเมอ่ื ทำการเปลีย่ นลงตราเรยี บรอ้ ยแล้วจำเปน็ ตอ้ งย่นื ขอใบอนุญาตทำงาน หรือ work
permit ไมอ่ ย่างนน้ั กจ็ ะไม่สามารถทำงานในราชอาณาจกั รไทยได้ (ท่ีมา: บรษิ ัท โปรเฟสชัน่ แนล วีซ่า แอนด์ ทรา
เวล เซอรว์ ิส จำกดั . การยื่นขอ Work permit ใบอนญุ าตทำงาน)

การขออนุญาตทำงานคร้ังแรก หรือเมื่อใบอนุญาตเดิมขาดหมดอายุจึงขอใหม่ คุณสมบัติที่จะขอ
ใบอนุญาตทำงาน

1. มีถิ่นที่อยู่ราชอาณาจักรหรือได้รับอนุญาตให้เข้ามาในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวตาม
กฎหมายว่าด้วยคนเขา้ เมือง (NON-IMMIGRANT) โดยมิใช่ได้รับอนญุ าตให้เข้ามาในฐานะนักท่องเท่ียว

2.มคี วามรู้และความสามารถในการทำงานตามท่ีขออนญุ าต
3.ไม่เป็นบุคลวกิ ลจริตหรือมีจิตฟั้นเฟอื น ไม่เป็นผู้เจ็บป่วยด้วยโรคเรือ้ น วัณโรคในระยะสดุ ท้าย
โรคติดยาเสพติดให้โทษร้ายแรง
4.ไม่เคยต้องโทษจำคุกในความผิดตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง หรือกฎหมายว่าด้วยการ
ทำงานของคนต่างด้าวภายในระยะเวลา 1 ปี ก่อนวันขอรับใบอนุญาต (ที่มา: บริษัท Education Center
Angthong. ข้นั ตอนการขอใบอนุญาตทำงานให้ครูชาวตา่ งประเทศ. 2562)
3.3 นกั ปราชญ์ท้องถนิ่
เป็นครทู ี่มีความรู้ ความสามารถ ในรายวิชาหรอื งานน้ันๆ เช่น วิชาพระพทุ ธศาสนา วชิ าการงาน
อาชพี วชิ าท่ีต้องใช้ความรู้เฉพาะตวั หรือ ชมรมท่ีต้องใชค้ รูเฉพาะดา้ น (สอนเปน็ ช่ัวโมง/ภาคเรยี น)
3.4 ปัญหา

261

ครูมีภาระงานนอกจากการสอนเยอะเกินไป ใช้ครไู ปตรงตำแหนง่ งานหน้าที่
ค่าตอบแทนครตู ่ำ เม่อื เปรยี บเทียบกับวิชาชีพอื่นๆ ทรี่ ับผดิ ชอบต่ออนาคตและความสงบ
เรยี บร้อยของคนในชาติ เป็นต้นเช่น อยั การ ตุลาการ แพทย์
ขาดระบบการติดตามและประเมนิ ผลทม่ี ีประสทิ ธผิ ลการใช้ครู

กลวิธกี ารพฒั นาการศกึ ษาที่ยั่งยืน

จุดเรมิ่ ตน้ แนวคิดเศรษฐกิจพอเพยี ง

ผลจากการใชแ้ นวทางการพฒั นาประเทศไปสู่ความทันสมยั ได้ก่อให้เกิดการเปลย่ี นแปลงแก่สังคมไทย
อย่างมากในทุกด้าน ไม่ว่าจะเปน็ ด้านเศรษฐกจิ การเมือง วฒั นธรรม สงั คมและส่ิงแวดล้อม อีกทง้ั กระบวนการ
ของความเปลย่ี นแปลงมีความสลบั ซับซอ้ นจนยากทีจ่ ะอธิบายใน เชิงสาเหตุและผลลัพธ์ได้ เพราะการ
เปล่ียนแปลงทง้ั หมดต่างเปน็ ปัจจัยเชอื่ มโยงซึ่งกันและกัน สำหรบั ผลของการพฒั นาในด้านบวกนัน้ ได้แก่ การ
เพ่มิ ขน้ึ ของอัตราการเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจ ความเจรญิ ทางวัตถุ และสาธารณูปโภคต่างๆ ระบบสื่อสารท่ี
ทันสมัย หรอื การขยายปรมิ าณและกระจายการศึกษาอยา่ งทัว่ ถงึ มากขึ้น แต่ผลด้านบวกเหลา่ นีส้ ว่ นใหญก่ ระจาย
ไปถึงคนในชนบท หรอื ผ้ดู ้อยโอกาสในสังคมน้อย แตว่ ่า กระบวนการเปลี่ยนแปลงของสังคมไดเ้ กิดผลลบตดิ ตาม
มาด้วย เช่น การขยายตวั ของรฐั เข้าไปในชนบท ไดส้ ง่ ผลให้ชนบทเกิดความอ่อนแอในหลายด้าน ทัง้ การต้องพ่งึ พงิ
ตลาดและพ่อค้าคนกลางในการสง่ั สนิ คา้ ทนุ ความเส่ือมโทรมของทรพั ยากรธรรมชาติ ระบบความสัมพนั ธแ์ บบ
เครือญาติ และการรวมกลมุ่ กันตามประเพณีเพ่ือการจดั การทรพั ยากรท่เี คยมีอยแู่ ตเ่ ดิมแตก สลายลง ภูมิความร้ทู ี่
เคยใช้แก้ปัญหาและส่ังสมปรับเปล่ยี นกันมาถูกลมื เลอื นและเริ่ม สูญหายไป สง่ิ สำคญั ก็คอื ความพอเพยี งในการ
ดำรงชีวติ ซึง่ เป็นเง่ือนไขพน้ื ฐานท่ที ำให้คนไทยสามารถพ่งึ ตนเอง และดำเนินชีวติ ไปได้อยา่ งมีศักด์ศิ รภี ายใต้
อำนาจและความมีอสิ ระในการกำหนด ชะตาชีวติ ของตนเอง ความสามารถในการควบคุมและจดั การเพ่ือให้
ตนเองไดร้ ับการสนองตอบตอ่ ความต้อง การต่างๆ รวมท้ังความสามารถในการจัดการปัญหาต่างๆ ไดด้ ้วยตนเอง
ซึ่งท้งั หมดนี้ถอื วา่ เปน็ ศักยภาพพนื้ ฐานที่คนไทยและสงั คมไทยเคยมีอย่แู ต่ เดิม ตอ้ งถูกกระทบกระเทือน ซ่งึ วกิ ฤต
เศรษฐกิจจากปญั หาฟองสบแู่ ละปัญหาความอ่อนแอของชนบท รวมท้งั ปัญหาอ่นื ๆ ทเี่ กิดข้นึ ล้วนแตเ่ ปน็ ข้อพิสจู น์
และยืนยนั ปรากฎการณ์นไี้ ดเ้ ปน็ อยา่ งดี (เป้าหมายการพัฒนาทีย่ ่งั ยืน, 2559)

262

พระราชดำรวิ า่ ดว้ ยเศรษฐกจิ พอเพียง

แผนการศกึ ษาแห่งชาติ (2560-2579) ไดร้ ะบุไว้ว่า “...การพฒั นาประเทศจำเป็นตอ้ งทำตามลำดบั ขั้น
ต้องสรา้ งพนื้ ฐานคือ ความพอมี พอกิน พอใช้ของประชาชนสว่ นใหญ่เบอ้ื งตน้ ก่อน โดยใชว้ ิธีการและอปุ กรณ์ที่
ประหยดั แต่ถูกต้องตามหลักวชิ าการ เมอ่ื ได้พนื้ ฐานความมั่นคงพร้อมพอสมควร และปฏิบตั ไิ ด้แลว้ จึงค่อยสร้าง
ค่อยเสริมความเจริญ และฐานะทางเศรษฐกจิ ข้นั ทส่ี ูงขนึ้ โดยลำดับต่อไป...” (18 กรกฎาคม 2517)
“เศรษฐกิจพอเพยี ง” เปน็ แนวพระราชดำรใิ นพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ทพ่ี ระราชทานมานานกว่า 30 ปี เปน็
แนวคดิ ทต่ี ง้ั อยูบ่ นรากฐานของวัฒนธรรมไทย เปน็ แนวทางการพฒั นาทต่ี ง้ั บนพนื้ ฐานของทางสายกลาง และ
ความไมป่ ระมาท คำนงึ ถงึ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสรา้ งภูมคิ มุ้ กันในตัวเอง ตลอดจนใช้ความรู้และ
คุณธรรม เป็นพืน้ ฐานในการดำรงชีวติ ที่สำคัญจะตอ้ งมี “สติ ปญั ญา และความเพียร” ซึง่ จะ
นำไปสู่ “ความสุข” ในการดำเนนิ ชีวติ อย่างแท้จริง

ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง จึงประกอบด้วยคุณสมบตั ิ ดังน้ี

1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีท่ีไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและ
ผูอ้ นื่ เช่น การผลิตและการบริโภคทอ่ี ยูใ่ นระดับพอประมาณ

2. ความมีเหตผุ ล หมายถงึ การตัดสินใจเก่ยี วกบั ระดบั ความพอเพยี งนั้น จะต้องเปน็ ไปอยา่ งมเี หตุผล
โดยพิจารณาจากเหตปุ จั จัยท่ีเกย่ี วข้อง ตลอดจนคำนึงถงึ ผลท่ีคาดวา่ จะเกดิ ขน้ึ จากการกระทำนัน้ ๆ อยา่ งรอบคอบ

3. ภมู คิ ุ้มกนั หมายถึง การเตรยี มตัวให้พร้อมรบั ผลกระทบและการเปลย่ี นแปลงด้านต่างๆ ทีจ่ ะเกิดขน้ึ
โดยคำนงึ ถงึ ความเปน็ ไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดข้ึนในอนาคต

เง่อื นไข ของการตัดสนิ ใจและดำเนินกิจกรรมตา่ งๆ ให้อยู่ในระดับพอเพยี ง 2 ประการ ดงั นี้

1. เง่อื นไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรเู้ กย่ี วกับวชิ าการต่างๆ ท่เี ก่ยี วข้องรอบด้าน ความรอบคอบที่
จะนำความรู้เหลา่ นนั้ มาพิจารณาให้เชอ่ื มโยงกัน เพ่ือประกอบการวางแผนและความระมัดระวงั ในการปฏิบตั ิ

2. เงอื่ นไขคุณธรรม ทจี่ ะต้องเสรมิ สรา้ ง ประกอบด้วย มีความตระหนักใน คณุ ธรรม มีความซ่อื สตั ย์สุจริต
และมีความอดทน มคี วามเพยี ร ใช้สติปญั ญาในการดำเนนิ ชีวิต

การนำเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยกุ ตใ์ ช้ ต้องคำนงึ ถึง 4 มิตดิ ังนี้

1.เศรษฐกิจ ที่จะต้องลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ใช้ชีวิตอย่างพอควรคิดและวางแผนอย่างรอบคอบ มี
ภมู ิคมุ้ กัน ไม่เส่ยี งเกินไป การเผ่อื ทางเลอื กสำรอง

2.ด้านสงั คม ชว่ ยเหลือเก้อื กลู รู้รกั สามัคคี สร้างความเข้มแขง็ ใหค้ รอบครวั และชุมชน
3.ด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม รู้จักใช้และจดั การอยา่ งฉลาดและรอบคอบ เลือกใชท้ รพั ยากร
ท่มี ีอยูอ่ ยา่ งร้คู ่าและเกดิ ประโยชน์สูงสุดฟื้นฟทู รัพยากรเพ่ือใหเ้ กิดความย่ังยนื สูงสดุ
4.ดา้ นวัฒนธรรม รักและเหน็ คณุ ค่าความเปน็ ไทย เอกลักษณ์ไทย เห็นประโยชน์และค้มุ ค่าของภูมิปัญญา
ไทย ภูมิปัญญาทอ้ งถิน่ รู้จักแยกแยะและเลอื กรับวฒั นธรรมอื่นๆ

263

เกี่ยวข้องกบั การศึกษาไทย

หลงั จากเกิดวกิ ฤตการณ์การเงนิ ในเอเชีย พ.ศ. 2540 หรอื เรยี กท่ัวไปในประเทศไทยวา่ “วิกฤตต้มยำกุ้ง”
เป็นช่วงวิกฤตการณ์ทางการเงินซึ่งส่งผลกระทบถึงหลายประเทศในทวีปเอเชียเริ่มตั้งแต่เดือนกรกฎาคม พ.ศ.
2540 ก่อให้เกิดความกลัวว่าจะเกิดการล่มสลายทางเศรษฐกิจทั่วโลกเนื่องจากการแพร่ระบาดทางการเงิน
ประเทศไทยก็มีรัฐธรรมนูญปี 2540 ซึ่ง มีแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี ตั้งแต่ 2540-2559 และรัฐธรรมนูญ ปี
พ.ศ.2550 มาตรา 83 รฐั ต้องสง่ เสรมิ และสนบั สนุนใหม้ กี ารดำเนินการตามแนวปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง

ปีพทุ ธศักราช 2551 ประเทศไทยได้จดั ทำหลกั สูตรแกนกลางขนึ้ โดยกลมุ่ สาระสังคมศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม ได้ใสแ่ นวคิดตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งไว้ใน มาตรฐาน ส 3.1 เขา้ ใจและสามารถ บริหาร
จดั การทรพั ยากรในการผลิตและการบรโิ ภค การใชท้ รัพยากรทมี่ ีอยจู่ ำกัดได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพและคุ้มคา่
รวมทง้ั หลกั การของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพ่ือการดำรงชวี ติ อย่างมีดลุ ยภาพ

1.มาตรฐานช่วงชนั้ ที่ 1-2 (4) เข้าใจระบบและวิธกี ารของเศรษฐกจิ พอเพียงและสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้
กับชีวิตประจำวนั ได้

2.มาตรฐานชว่ งช้นั ท่ี 3-4 (5) เข้าใจเก่ียวกับระบบและวิธกี ารของเศรษฐกจิ พอเพียง และสามารถนำไป
ประยุกตใ์ ช้กับชีวติ ประจำวันได้

การนำไปบรู ณาการกับกลมุ่ สาระอน่ื โดยยดึ หลักดังนี้
1.ยดึ สาระสังคมเป็นหลัก เพราะสงั คมจะมหี วั ข้อเน้ือหาชัดเจน ใหส้ อดแทรกความคิด/คุณคา่

คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ลงไปได้
2.ยุทธศาสตร์การสอนของครู สอดแทรกคณุ ธรรม วินยั ความรบั ผิดชอบ การคำนงึ ถึงการอยู่

รว่ มกับผู้อ่นื สภาพแวดลอ้ มและธรรมชาติ
3.เนน้ ให้เด็กแสดงความคิดเห็น อยา่ งมีสว่ นร่วม วิเคราะหป์ ัญหาต่างๆ อย่างเป็นเหตุเป็นผล

รอบคอบ เปดิ โอกาสให้คดิ แบบริเร่ิมสร้างสรรค์ และมีครคู อยแนะนำมเี พื่อน แนะนำดว้ ยความจริงใจ
4.ยึดปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งในการเรียนรู้ เพ่อื อย่รู ่วมกนั อย่างเกดิ ประโยชนแ์ ละเป็นสุข

รัฐธรรมนูญปี 2560 มาตรา 257 (1) ประเทศชาติมีความสงบเรียบร้อย มีความสามัคคีปรองดอง มีการ
พัฒนาอย่างยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีความสมดุลระหว่างการพัฒนาด้านวัตถุกับการ
พฒั นาดา้ นจิตใจ

แผนการศึกษาแหง่ ชาติ
กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาจงึ ได้จัดทำแผนการศึกษาแห่งชาติ

พ.ศ. 2560 – 2579 โดยนำยุทธศาสตร์ชาติมาเป็นกรอบความคิดสำคัญในการทำแผนการศึกษาแห่งชาติ มี
แนวคิด ซึ่งประกอบด้วย หลักการศึกษาเพื่อปวงชน (Education for all) หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(Sufficiency Economy)

สรปุ เศรษฐกิจพอเพยี ง

เป็นวถิ กี ารดำเนินชวี ิต ท่ใี ชค้ ุณธรรมกำกบั ความรู้ เพ่ือการพฒั นาตัวเอง ครอบครวั องค์กร ชมุ ชน สงั คม
ประเทศชาติ ให้กา้ วหนา้ ไปพรอ้ มกับความสมดลุ ม่นั คง มั่งคงั่ ย่ังยนื เปน็ หลักคดิ และหลักปฏบิ ตั ิ เพ่ือให้คนสว่ น

264

ใหญ่พออยู่พอกินพอใช้ไดอ้ ย่างมัน่ คง เพอ่ื ให้คนในสังคม สามารถอย่รู ่วมกนั ได้อย่างสนั ติสุขเพ่ือให้คนอยู่รว่ มกบั
ธรรมชาติ ไดอ้ ย่างสมดลุ ยั่งยนื และเพ่ือใหแ้ ตล่ ะคนอยู่อยา่ งมศี กั ดิ์ศรี มีรากเหง้าทางวฒั นธรรม

ความรอบรู้

บทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบของครูตามคำว่า TEACHERS

ยนต์ ชุม่ จิต (2553 : 76-83) ไดก้ ล่าวถึงบทบาท หน้าท่ี และความรบั ผิดชอบของครูตามคำวา่ TEACHERS
เอาไว้ ดังต่อไปนี้

1. T (teaching) การสอน: ครมู ีหน้าทแ่ี ละความรับผิดชอบต่อการสอนศษิ ย์ เพ่ือให้ศษิ ยม์ ีความรู้
ความสามารถในวชิ าการทงั้ หลายทงั้ ปวง ซ่งึ ถือวา่ เปน็ งานหลกั ของผเู้ ปน็ ครสู อนทกุ คน

2. E (ethics) จริยธรรม: ครตู อ้ งมีหนา้ ทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบตอ่ การอบรม ปลกู ฝงั คุณธรรมจรยิ ธรรม
ใหแ้ กน่ ักเรยี น ซ่ึงถือว่าเป็นหน้าทีห่ ลกั อีกประการหนง่ึ ของความเป็นครู

3. A (academic) วิชาการ: ครตู อ้ งมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อวชิ าการท้ังของตนเองและของนักเรยี น
ซึง่ ความจริงแลว้ งานของครูต้องเกีย่ วข้องกบั วิชาการอยู่ตลอดเวลา เพราะวิชาชีพครูต้องใช้ความรู้เป็นเคร่ืองมือใน
การประกอบวชิ าชพี

4. C (cultural heritage) การสบื ทอดวัฒนธรรม: ครูต้องมีหนา้ ทแี่ ละความรบั ผิดชอบต่อการสืบทอด
วฒั นธรรม การสอนศิลปะวิทยาการต่างๆ ใหก้ บั ลกู ศษิ ยน์ ั้นยอ่ มถือวา่ เปน็ การสบื ทอดมรดกทางวฒั นธรรมจากคน
ร่นุ หน่ึงไปสูค่ นอีกรนุ่ หน่ึง

5. H (human relationship) การมมี นุษยสมั พนั ธ:์ ครตู อ้ งมีหน้าทแ่ี ละความรบั ผิดชอบในการสร้างมนุษย
สมั พนั ธก์ ับบคุ คลต่างๆ ท่ีครูตอ้ งเกี่ยวข้องสมั พนั ธด์ ้วย เพราะการมีมนุษยสัมพนั ธ์ทด่ี ีจะก่อให้เกดิ ประโยชนต์ ่อ
ตนเองและหม่คู ณะ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ประโยชน์ตอ่ โรงเรียน

6. E (evaluation) การประเมินผล: ครตู อ้ งมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อการประเมินผลตอ่ การเรียน
ของศษิ ย์ งานของครใู นด้านน้ีถือวา่ มีความสำคญั มากอีกประการหนึ่ง ท้ังนี้เพราะการประเมนิ ผลการเรยี นการสอน
เปน็ การวดั ความเจรญิ กา้ วหนา้ ของศิษยใ์ นด้านต่างๆ

265

7. R (research) การวจิ ัย: ครตู อ้ งมหี น้าท่แี ละความรับผิดชอบโดยการต้องพยายามหาความรู้ความจริง
เพอ่ื แกป้ ญั หาการเรียนการสอนและแกป้ ัญหาเกี่ยวกับตวั นกั เรียน

8. S (service) การบริการ: ครูตอ้ งมหี นา้ ทีแ่ ละความรบั ผิดชอบตอ่ การบริการศิษยแ์ ละผู้ปกครอง แต่
บางครัง้ ก็มคี วามจำเป็นทจี่ ะต้องให้บริการแก่ประชาชนในท้องถ่ินดว้ ย แต่โดยธรรมชาติแลว้ งานบรกิ ารหลักของ
ครูคือบริการ

ให้ความรู้เพื่อสรา้ งความเจริญงอกงามให้แก่นกั เรียน สำหรับครูนน้ั นอกจากให้บริการนกั เรยี นแล้ว
บางครง้ั ครยู งั ต้องใหบ้ รกิ ารดา้ นคำปรึกษาหารือในด้านสุขภาพอนามยั แกช่ มุ ชน รวมทั้งช่วยแก้ปญั หาให้แกช่ ุมชน
รอบๆ โรงเรียนอีกดว้ ย (ท่มี า : ผศ.ดร.กลั ยาณี พรมทอง. บทบาท หน้าท่ี และความรบั ผิดชอบของคร.ู (2559). )

จากบทบาท หน้าทีท่ กี่ ล่าวข้างต้น ครจู ึงควรมคี วามรอบร้ดู งั ตอ่ ไปนี้

ประสบการณ์

จากการศกึ ษาวจิ ยั ของอรพรรณ ทมิ ครองธรรม ทวิกา ประภา และสมจิตรา เรอื งศรี เรื่อง “ปจั จยั ทีส่ ่งผล
ต่อการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของครูสหวิทยาเขตเบญจบูรพาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 2” วิจัยนี้ได้เรื่องประสบการณ์ของครูผู้สอนมาศึกษาว่ามีผลต่อการจักการเรียนรู้ในศตวรรษที่
21 หรือไม่ ผลปรากฏว่าส่งผล เพราะเมื่อประสบการณ์ของครูผู้สอนที่มากขึ้นจะมีวิธีจัดการกับเนื้อหา กับเวลา
กับห้องเรียนให้เกิดผลสำเร็จ เมื่อเทียบกับประสบการณ์ของครูผู้สอนในช่วงแรก (ที่มา: อรพรรณ ทิมครองธรรม
และคณะ. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของครูสหวิทยาเขตเบญจบูรพา สังกัดสำนักงาน
เขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 2. (2560). )

ความรวู้ ิชาท่สี อน

จากการศึกษาวารสารของผู้เขยี นดร.จิตมิ า วรรณศรี เรื่อง “คุณภาพการศึกษากับสมรรถนะของครูที่พึง
ประสงค์ ” ท่านได้กล่าวถึงผลการเรียนรู้จาก PISA 2003 ว่าอยู่ในระดับต่ำกว่ามาตรฐาน และได้เชื่อมโยงกับคำ
กล่าวที่ว่า “คุณภาพการศึกษาไม่สูงเกินไปกว่าคุณภาพของครู” ของบาร์เบอร์ (Barber, 2009) แสดงให้เห็นว่า
คุณภาพของการศึกษาย่อมขึน้ กบั คุณภาพของครู นั่นคือหากครทู ำหนา้ ทีข่ องครไู ด้อย่างมีคณุ ภาพ ย่อมเชื่อมั่นได้
วา่ การศกึ ษาของชาติจะมีคุณภาพ แตก่ ารทคี่ ณุ ภาพการศึกษายังไมบ่ รรลเุ ป้าหมายดังที่เป็นอยู่ในปจั จุบัน ปัจจัยที่
เป็นสาเหตุสำคัญก็คือ ครู ผู้ซึ่งมีหน้าที่หลักในการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียน โดยผลการศึกษาพบว่า
ผลสมั ฤทธ์ิของผูเ้ รยี นแปรผันตามคณุ ภาพการสอนของครู กลา่ วคอื นักเรยี นทีม่ ผี ลสัมฤทธิ์เทา่ กนั เมื่อเรียนกับครูที่
มีผลการปฏิบตั งิ านสูงจะมีคะแนนสงู สว่ นนักเรยี นท่ีเรยี นกับครูท่ีมีผลการปฏบิ ัตงิ านต่ำจะมคี ะแนนต่ำ (ท่ีมา: ดร.
จติ มิ า วรรณศร.ี คุณภาพการศกึ ษากบั สมรรถนะของครทู ี่พึงประสงค์. (2552).)

266

ทฤษฎกี ารเรยี นรู้

จากการศึกษาทฤษฎีการเรียนรู้ต่างๆ โดยคร่าวๆ ผู้เรียนแต่ละคนมีลักษณะที่แตกต่างกัน การเรียนรู้จึง
ต่างกันด้วย ทฤษฏีการเรียนรู้เป็นทางเลือกให้ผู้สอนพิจารณาในการจัดการเรียนการสอนให้เหมาะกับผู้เรียน
เพราะการเรยี นท่ีครบถ้วนสมบูรณ์ ผู้เรียนควรไดศ้ กึ ษากระบวนการในการค้นควา้ หาความรเู้ พือ่ ใหเ้ ข้าถึงธรรมชาติ
ของสมองจะได้มีความคงทนในการเรียนไมล่ ืมง่าย และที่สำคัญคือจะไดพ้ ัฒนาศักยภาพของสมองให้เต็มท่ี (ที่มา:
แบบเรียนของมหาวิทยาลัยรามคำแหง. หลักสูตรและสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. บทที่ 4 แนวคิด/ทฤษฎีการ
เรยี นรู้ทีเ่ นน้ พฤติกรรมและกระบวนการ.)

เพ่อื นรว่ มงาน

จากวิทายานิพนธ์ของนางศรีวรรณ แกว้ ทองดี เร่ือง “แนวทางการพัฒนาตนเองของครูในสถานศกึ ษา สห
วิทยาเขตบึงสามพันสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40” ได้มีกล่าวถึงเพื่อนร่วมงานไว้
ประมาณว่าความสมั พันธ์กับเพ่ือนรว่ มงาน หมายถงึ การตดิ ต่อสัมพนั ธ์ท่ีดตี ่อกันระหวา่ งเพ่ือนด้วยกัน เป็นปัจจัย
จงู ใจเป็นปัจจัยท่ีกระตุ้นให้เกิดแรงจูงใจในการทำงาน ทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพเพิ่มข้ึน ผลผลิตเพ่ิมข้ึน ทำ
ให้บุคคลพอใจในการทำงานส่วนปัจจัยค้ำจุนไม่ใช่สิ่งจูงใจที่จะทำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น แต่เป็นข้อกำหนดที่ป้องกัน
ไม่ให้พนักงานเกิดความไม่พอใจในงานที่ทำให้ ทั้งสองส่วนนี้จะทำให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิผลนั่นคือ มี
สมรรถนะในการปฏิบตั ิงาน (ท่มี า: ศรีวรรณ แก้วทองด.ี แนวทางการพฒั นาตนเองของครูในสถานศึกษา สหวทิ ยา
เขตบงึ สามพนั สังกดั สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 40. (2562).)

กฎหมาย

กฎหมายเหล่านีล้ ว้ นมีความสำคัญกับการศกึ ษาโดยตรงและบุคลากรทางการศึกษาทุกคน เพราะจะช่วย
จัดระเบียบ ค้มุ ครอง พัฒนาคณุ ภาพชวี ิต และรบั รสู้ ิทธอิ นั พงึ มีของตัวเอง ในฐานะประชาชนคนไทยคนหนึ่งบนผืน
แผ่นดินประชาธปิ ไตย (ท่ีมา: ผศ.ดร.กลั ยาณี พรมทอง. กฎหมายท่เี ก่ียวข้องกับการศกึ ษา. (2560).

ขา่ วสาร

ธงชัย สันติวงษ์(2539) กล่าวว่า ทัศนคติก่อตัวเกิดขึ้นมาและเปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากปัจจัยหลาย
ประการด้วยกัน จะยกมาแค่คำว่า ข่าวสารข้อมูล (Information) ทัศนคติจะมีพื้นฐานมาจากชนิดและขนาดของ
ขา่ วสาร ที่ได้รับรวมท้ังลักษณะของแหล่งท่ีมาของข่าวสาร ด้วยกลไกของการเลือกเฟ้นในการมองเห็น และเข้าใจ
ปัญหาต่างๆ (Selective Perception) ข่าวสารข้อมูลบางส่วนที่เข้ามาสู่บุคคลนั้น จะทำให้บุคคลนั้นเก็บไปคิด
และสร้างเป็น ทัศนคตขิ ้ึนมาได้ (ท่มี า: ณัฐนรี ไชยภักดี. การเปดิ รับขา่ วสาร ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการมี
สว่ นรว่ มในโครงการ 7 สี ปันรักให้โลกของประชาชนในเขตกรงุ เทพมหานคร. (2552)

วิจยั ในชัน้ เรยี น

การวิจัยในชั้นเรียนเปน็ การพัฒนาทางเลือกในการแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาคุณภาพได้อย่างเหมาะสมเกิด
ประสิทธิผล มีประสิทธิภาพที่สุดในชั้นเรียน เพราะการวิจัยในชั้นเรียนไม่เพียงแต่เป็นกระบวนการค้นหาคำตอบ
อย่างเป็นระบบ หรอื เปน็ การศกึ ษาหาคำตอบโดยอาศัยวธิ ีท่ีน่าเชอ่ื ถือได้เท่านน้ั แต่ยงั เนน้ การแก้ปัญหาในช้ันเรียน
อกี ดว้ ย (ทม่ี า : สหไทย ไชยพนั ธ. ครูผูส้ อนกบั แนวปฏิบัติในการทำาวิจยั : วจิ ยั ในชัน้ เรยี น. (2553).

267

ความทนั สมยั

1.สมัยโบราณ(พ.ศ.1781-พ.ศ.2411)

การศกึ ษาสมยั นีเ้ ปน็ การศึกษาแบบสบื ทอดวัฒนธรรมประเพณีท่ีมมี าแต่เดมิ จำเปน็ ท่ีคนไทยในสมัยนน้ั
ต้องขวนขวายหาความรู้จากผู้รใู้ นชมุ ชนต่างๆ ซง่ึ การศกึ ษาในสมัยนี้มบี า้ นและวดั เปน็ ศนู ย์กลางของการศกึ ษา

1.1การศกึ ษาในสมัยสโุ ขทัย(พ.ศ.1781-พ.ศ.1921)
สมยั นีพ้ อ่ ขนุ รามคำแหงไดก้ ารประดิษฐ์อักษรไทยขน้ึ คร้ังแรก โดยทรงดดั แปลงมาจากตัวหนังสือขอม
และมอญ อันเปน็ รากฐานดา้ นอกั ษรศาสตร์จนนำมาสู่การพฒั นาปรบั ปรุงเปน็ อักษรไทยในปัจจบุ ัน ในศลิ าจารกึ
หลกั ที่ 1 จึงเปน็ ศลิ าจารึกทจ่ี ารกึ เป็นอักษรไทยให้ความร้เู ก่ยี วกบั ประวตั ิความเปน็ มาของสุโขทยั ในดา้ น
ประวตั ิศาสตร์ หลงั จากท่ีทรงคดิ ประดิษฐ์อกั ษรไทยแลว้ งานดา้ นอักษรศาสตร์เจรญิ ขน้ึ
1.2 การศกึ ษาในสมัยอยุธยา (พ.ศ. 1893 - พ.ศ. 2310)
การศกึ ษาวชิ าสามญั เน้นการอ่าน เขยี น เรยี นเลข อนั เป็นวิชาพื้นฐานสำหรบั การประกอบสัมมาอาชีพ
ของคนไทย พระโหราธบิ ดีได้แต่งแบบเรียนภาษาไทย ชื่อ จินดามณี ถวายสมเด็จพระนารายณม์ หาราชซ่ึงใชเ้ ป็น
แบบเรียนสบื มาเปน็ เวลานาน การศึกษาทางดา้ นภาษาศาสตรแ์ ละวรรณคดี ปรากฏวา่ มีการสอนทงั้ ภาษาไทยบาลี
สนั สกฤต ฝรงั่ เศส เขมร พมา่ มอญ และภาษาจนี ในรชั สมยั สมเด็จ พระนารายณ์มหาราชมวี รรณคดีหลายเล่ม เชน่
เสือโคคำฉันท์ สมุทรโฆษคำฉันท์ อนิรทุ ธ์คำฉนั ท์ และกำสรวลศรปี ราชญ์ เป็นตน้ ในสมัยกรงุ ศรีอยุธยานีย้ ังคง
เหมอื นกบั สมัยสุโขทัยทตี่ ่างออกไป คือ มีโรงเรียนมิชชันนารี เปน็ โรงเรยี นที่ชาวตะวนั ตกได้เขา้ มาสร้างเพ่ือ

268

เผยแพร่ศาสนาและขณะเดยี วกนั กส็ อนวิชาสามัญดว้ ย สมยั ชาตติ ะวนั ตกเขา้ มาแลว้ มกี ารเรยี นวชิ าชพี ชั้นสูงดว้ ย
เช่น ดาราศาสตร์ การทำน้ำประปา การทำปนื การพาณชิ ย์ แพทยศาสตร์ ตำรายา การก่อสรา้ ง ตำราอาหาร

1.3 การศึกษาในสมัยธนบรุ แี ละรตั นโกสินทรต์ อนต้น (พ.ศ. 2311 พ.ศ. 2411)
1.3.1 สมัยพระเจ้ากรุงธนบุรีเป็นระยะเก็บรวบรวมสรรพตำราจากแหล่งต่าง ๆ ที่รอดพ้นจาก

การทำลายของพมา่ เน้นการทำนบุ ำรุงตำราทางศาสนา ศิลปะและวรรณคดี
1.3.2 สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงฟื้นฟูการศึกษาด้านอักษรศาสตร์

วรรณคดี มีการแต่งรามเกียรติได้เค้าโครงเรือ่ งมาจากอินเดียเรื่อง รามายณะ ศิลปะ กฎหมาย เช่น กฎหมายตรา
3 ดวง และหลักธรรมทางศาสนา มีการสงั คายนาพระไตรปิฎก

1.3.3 สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เริ่มมีชาวยุโรปเช่น ชาติโปรตุเกสเข้ามา
ติดต่อทางการค้ากับไทยใหม่ หลังจากเลิกราไปเมื่อประมาณปลายสมัยอยุธยา และชาติอื่น ๆ ตามเข้ามาอีก
มากมาย เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส ฮอลันดา เป็นต้น เนื่องจากยุโรปมีการปฏิวัติอุตสาหกรรมทำให้เปลี่ยนระบบการ
ผลิตจากการใช้มือมาใชเ้ คร่ืองจักร พลังงานจากไอน้ำสามารถผลติ สินคา้ ไดม้ ากข้ึนจึงต้องหาแหล่งระบายสินค้า ใน
สมัยนี้ได้ส่งเสริมการศึกษาทั้งวิชาสามัญ โหราศาสตร์ ดาราศาสตร์ จริยศาสตร์ มีการตั้งโรงทานหลวงขึ้นใน
พระบรมมหาราชวงั เป็นทใ่ี หก้ ารศกึ ษา

1.3.4 สมยั พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลา้ เจ้าอย่หู วั ทรงสง่ เสรมิ การศึกษาดา้ นศาสนาเป็นพิเศษ มี
การจารึกวิชาความรู้สามัญและวิชาชีพลงในแผ่นศิลาประดับไว้ตามระเบียงวัดพระเชตุพนจนมีผู้กล่าวว่าเป็น
มหาวิทยาลยั แห่งแรกของไทย มีการใช้หนังสอื ไทยชื่อ ประถม ก กา และประถมมาลา นับเป็นแบบเรียนเล่มท่ี 2
และ 3 ต่อจากจินดามณีของพระโหราธิบดี ต่อมานายแพทย์ ดี บี บรัดเลย์ได้นำกิจการแพทย์สมัยใหม่ เช่น การ
ผ่าตัดเข้ามารักษาคนไข้และการตั้งโรงพิมพ์หนังสือไทยเป็นครั้งแรกในปีพ.ศ. 2379 โดยรับจ้างพิมพ์เอกสารทาง
ราชการเร่อื งหา้ มสูบฝนิ่ จำนวน 9,000 ฉบับ เม่ือปีพ.ศ. 2382

1.3.5 สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในสมัยนี้ชาวยุโรป และอเมริกันเริ่มเข้ามา
ติดต่อค้าขายและสอนศาสนา มีการนำวิทยาการสมัยใหม่ ๆ เข้ามาปรับใช้ในเมืองไทยเพิ่มขึ้น และพระองค์ทรง
เห็นความสำคญั ของการศึกษาจงึ ทรงจ้างนางแอนนา เอช เลยี วโนเวนส์ มาสอนสมเดจ็ พระเจา้ ลูกยาเธอ เมื่อ พ.ศ.
2405 จนรอบรู้ภาษาอังกฤษเป็นอยา่ งดี ลักษณะการจัดการศึกษาเป็นแบบเดิมท้งั วัดและบา้ น ในส่วนวิชาชีพและ
วิชาสามัญ มอี กั ษรศาสตร์ ธรรมชาตวิ ทิ ยาหรอื วทิ ยาศาสตร์

2. การศึกษาของไทยสมยั ปฏริ ูปการศึกษา (พ.ศ. 2412 พ.ศ. 2475)

2.1 การศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเห็นความสำคัญของการศึกษา
จึงได้มีการจัดการศึกษาอย่างมีระเบียบแบบแผน (Formal education) มีโครงการศึกษาชาติ มีโรงเรียนเกิดขึ้น
ในวังและในวัด มีการกำหนดวิชาทีเรียน มีการเรียนการสอบไล่ และมีทุนเล่าเรียนหลวงให้ไปศึกษาวิชา ณ
ต่างประเทศ ซึ่งปัจจัยที่มีผลในการปฏิรูปการศึกษาในครั้งนี้มีหลายปัจจัย การจัดตั้งสถานศึกษาปี พ.ศ. 2414
จดั ตงั้ โรงเรยี นหลวงข้นึ ในพระบรมมหาราชวงั เพอื่ ฝกึ คนให้เข้ารับราชการ มพี ระยาศรสี ุนทรโวหาร (น้อย อาจาริ

269

ยางกูร) ในขณะนั้นเป็นหลวงสารประเสริฐเป็นอาจารย์ใหญ่ โดยมีการสอนหนังสือไทย การคิดเลข และ
ขนบธรรมเนียมราชการ นอกจากมีการจัดตั้งโรงเรียนหลวงสำหรับสอนภาษาอังกฤษในพระบรมมหาราชวัง เกิด
จากแรงผลักดันทางการเมืองทสี่ ่งผลให้ไทยต้องเรียนรภู้ าษาอังกฤษ เพ่อื จะไดเ้ จรจากับมหาอำนาจตะวันตก และ
มีการส่งนักเรียนไทยไปศึกษาวิชาครูที่ประเทศอังกฤษปี พ.ศ. 2423 จัดตั้งโรงเรียนสุนันทาลัยใน
พระบรมมหาราชวังเป็นโรงเรียนสตรี ปี พ.ศ. 2424 ปรับปรุงโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบให้เป็นโรงเรียน
นายทหารมหาดเล็ก ต่อมาไดก้ ลายเปน็ โรงเรียนข้าราชการพลเรือนในปี พ.ศ. 2453 และ ปี พ.ศ. 2459 ได้ตั้งเป็น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยปี พ.ศ. 2425 จัดตั้งโรงเรียนแผนที่และในปี พ.ศ.2427 จัดตั้งโรงเรียนหลวงสำหรับ
ราษฎรขึ้นตามวัดในกรุงเทพมหานครหลายแห่ง และแห่งแรก คือ โรงเรียนมหรรณพาราม ปี พ.ศ. 2432 ตั้ง
โรงเรียนแพทย์ขึ้น เรียกว่า โรงเรียนแพทยากร ตั้งอยู่ที่ริมแม่น้ำหน้าโรงพยาบาลศิริราช ใช้เป็นที่สอนวิชาแพทย์
แผนปจั จบุ นั ปี พ.ศ. 2435 จดั ตั้งโรงเรยี นมลู ศึกษาขนึ้ ในวดั ทัว่ ไปท้งั ในกรุงเทพมหานครและหวั เมือง โดยประสงค์
จะขยายการศึกษาเล่าเรียนหนังสือไทยให้แพร่หลายเป็นแบบแผนยิ่งขึ้น และตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูเป็นแห่งแรกท่ี
ตำบลโรงเลี้ยงเด็ก ต่อมาย้ายไปอยู่ที่วัดเทพศิรินทราวาส ปี พ.ศ. 2437 นักเรียนฝึกหัดครูชุดแรก 3 คนสำเร็จ
การศึกษาไดร้ ับประกาศนยี บัตรเป็นครสู อนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ปี พ.ศ. 2449 ยา้ ยโรงเรยี นฝึกหัดครู ซ่ึง
ตั้งอยู่ที่วัดเทพศิริทราวาส ไป รวมกับโรงเรยี นฝกึ หัดครฝู ่ังตะวนั ตก (บ้านสมเด็จเจา้ พระยา) ปรับปรุงหลักสูตรให้
สูงขึ้นเป็น โรงเรียนฝึกหัดอาจารย์สอนหลักสูตร 2 ปี รับนักเรียนที่สำเร็จมัธยมศึกษา ปี พ.ศ. 2456 ตั้งโรงเรียน
ฝึกหัดครูหญิงขึ้นเป็นครั้งแรกที่โรงเรียนเบญจมราชาลัย การจัดแบบเรียนหลักสูตรและการสอบไล่ปี พ.ศ. 2414
ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ใหพ้ ระยาศรีสุนทรโวหาร(น้อย อาจารยิ างกรู ) เรยี บเรยี งแบบเรยี นหลวงข้นึ 1 เล่ม ชุด
มูลบรรพกิจ เพื่อใช้เป็นบทหลักสูตรวิชาชั้นต้นปี พ.ศ. 2427 กำหนดหลักสูตรชั้นประโยคหนึ่ง โดยอนุโลมตาม
แบบเรียนหลวงหกเล่ม นับเป็นปีแรกที่จัดให้มีการสอบไล่วิชาสามัญ และมีการกำหนดหลักสูตรชั้นประโยคสอง
ซงึ่ เป็นหลกั สูตรท่ีเกี่ยวกับวชิ าสามัญศึกษา หมายถงึ ความรูต้ า่ ง ๆ ที่ต้องการใชส้ ำหรับเสมยี นในราชการพลเรือน
ตามกระทรวงต่าง ๆปี พ.ศ. 2431 กรมศึกษาธิการ จัดทำแบบเรียนเร็วใช้แทนแบบเรียนหลวงชุดเดิม ผู้แต่งคือ
พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร (กรมพระยาดำรงราชานุภาพ) 1 ชุด มี 3 เล่มปี พ.ศ. 2433 ประกาศใช้พระราชบัญญัติ
วชิ า พ.ศ. 2433 มผี ลทำให้หลกั สูตรภาษาไทยแบ่งออกเป็น 3 ประโยค หลกั สตู รภาษาอังกฤษแบ่งออกเป็น 6 ช้ัน
ปี พ.ศ. 2434 ไดแ้ ก้ไขการสอบไล่จากเดมิ ปีละครงั้ เปน็ ปลี ะ 2 คร้ังเพื่อไม่ให้นกั เรียนเสียเวลานานเกินไป

2.2 การศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงนำเอาวิชาลูกเสือจากประเทศ
อังกฤษเขา้ มาจดั ตง้ั กองเสือปา่

2.3 การจัดการศึกษาในรชั สมยั พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจ้าอยูห่ วั

3.สมยั การปกครองระบอบรฐั ธรรมนูญ (พ.ศ. 2475-ปจั จบุ นั )

การจัดการศึกษามีสามรูปแบบ คอื การศกึ ษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
คอื

3.1 การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาที่กำหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของ
การศึกษา การวดั และการประเมนิ ผล ซง่ึ เปน็ เงือ่ นไขของการสำเร็จการศึกษาที่แน่นอน

270

3.2 การศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกำหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบวิธีการจัด
การศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขสำคัญของการสำเร็จการศึกษา โดย
เน้อื หาและหลักสตู รจะต้องมีความเหมาะสมสอดคลอ้ งกบั สภาพปญั หาและความตอ้ งการของบุคคลแตล่ ะกลมุ่

3.3 การศกึ ษาตามอัธยาศยั เป็นการศึกษาทใ่ี ห้ผูเ้ รยี นได้เรยี นรู้ด้วยตนเองตามความสนใจศักยภาพ ความ
พร้อมและโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้อม หรือแหล่งความรู้อื่นๆ (ที่มา:
นางสาวรัศมี เกยจอหอ และคณะ. ววิ ฒั นาการการศึกษาไทย. (2556).)

โลกาภวิ ัตน์

โลกาภิวัตน์ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 (ราชบัณฑิตยสถาน, 2542) หมายถึง
"การแพรก่ ระจายไปท่วั โลก การทป่ี ระชาคมโลกไม่ว่าจะอยู่ ณ จุดใด สามารถรบั รู้ สัมพนั ธ์ หรอื รบั ผลกระทบจาก
สงิ่ ทเี่ กิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วกวา้ งขวาง ซ่งึ เนือ่ งมาจากการพฒั นาระบบสารสนเทศเป็นต้น" โลกาภิวัตน์ เปน็ คำศพั ท์
เฉพาะที่บัญญัติขึ้นเพื่อตอบสนองปรากฏการณ์ของสังคมโลกที่เหตุการณ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง สิ่งแวดล้อม
และวัฒนธรรมท่ีเกิดข้ึนในส่วนหนง่ึ ของโลก ส่งผลกระทบอนั รวดเร็วและสำคญั ตอ่ สว่ นอื่นๆของโลก

ระบบการศึกษาไทยในยคุ โลกาภวิ ตั น์

การศึกษาบนฐานโลกาภิวัตน์ หรือการเชื่อมโยงโลกทั้งโลกเข้าไว้ด้วยกันเพื่อการศึกษา เรียนรู้และนำ
ทรัพยากรหรือประเด็นทางการศึกษาที่แผ่ขยายหรือแพร่กระจายอย่างกว้างขวางทั่วโลกมาเป็นประโยชน์ต่อการ
พัฒนาการเรยี นรใู้ หแ้ กผ่ เู้ รียน โดยการศกึ ษาบนฐานโลกาภวิ ัฒน์ดังกลา่ วน้เี ปน็ 1 ในหลักปรชั ญาการพัฒนาคน 9
ประการ

หลกั ปรัชญาการพฒั นาคน 9 ประการ ประกอบด้วย
1. การศึกษาบนฐานปรัชญา (Philosophy based Education)
2. การศึกษาบนฐานโลกาภวิ ัตน์ (Globalization based Education)
3. การศึกษาบนฐานการบรู ณาการ (Integration based Education)
4. การศึกษาบนฐานสมรรถนะ (Competency based Education)
5. การศึกษาบนฐานการเมอื ง (Politics based Education)
6. การศึกษาบนฐานเศรษฐกิจ (Economic based Education)
7. การศกึ ษาบนฐานเทคโนโลยี (Technology based Education)

271

8. การศึกษาบนฐานวัฒนธรรม (Culture based Education)
9. การศึกษาบนฐานมนุษย์ (Human based Education).

การเปล่ียนแปลงการศึกษาไทยในยุคโลกาภวิ ัฒน์

คุณภาพทางการศึกษาขึ้นอยู่กับหลักสูตรการสอนของครู ระบบการเรียนการสอนของนักเรียน การ
ทดสอบ การประเมิน หากผิดพลาดในเรื่องเหล่านี้ก็จะผิดพลาดหมดครูและ อาจารย์ผู้สอนเป็นปัจจัยตัวแปรท่ี
สำคัญในการพัฒนาคุณภาพของการเรียนการสอน ผู้นำทางการศึกษาในระดับกระทรวงจะพูดจะพูดถึงโครงการ
ขยายการศึกษามากกว่าการปรับปรุงคุณภาพทางการศึกษา แนวคิดการจัดการศึกษาไทยให้มีคุณถาพ ควรมี
จุดเนน้ ต่างๆดงั น้ี (ทริสา ยงวรรณกร, 2556)

จุดเน้นที่ 1 คือปรัชญาการศึกษาเพื่อเตรียมคนให้สามารถเรียนรู้ได้อย่างตลอดชีพอย่างมีประสิทธิภาพ
ทักษะสมรรถนะดังกลา่ วเรยี กว่า “Portable Skills” ซ่งึ ไดแ้ ก่การเรียนรูด้ า้ นภาษาไทยและภาษาองั กฤษ ในยุค
สมัยใหม่ความรู้เปลี่ยนแปลงรวดเร็วตามกระแสการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยเี ยาวชนไทย
เพียงแค่จบการศึกษาจากระบบโรงเรียนและมหาวิทยาลัยจะตามไม่ทันและแต่ละสมัยจำเป็นต้องปรับการศึกษา
และการเรียนรู้ของคนในสังคมให้เป็นระบบการศึกษาตลอดชีพ ซึ่งประกอบไปด้วยองค์ประกอบ 3 องค์ประกอบ
คือ องค์ประกอบดา้ นฮารด์ แวร์ ดา้ นซอฟตแ์ วร์ และดา้ นสังคม

องคป์ ระกอบด้านฮาร์ดแวร์ได้แก่ระบบคมนาคมสื่อสารระบบคอมพวิ เตอรร์ ะบบห้องสมดุ ควรส่งเสริมให้
มีสถานโี ทรทัศน์เพ่ือการศึกษาและวิทยุเพ่ือการศึกษาหลายๆช่อง เช่นสำหรับเดก็ ผู้ใหญ่ประถมศึกษามัธยมศึกษา
อุดมศึกษาและช่องการศึกษาทัว่ ไปเผยแพร่ตลอด 24 ชัว่ โมง จดั บรกิ ารใหท้ วั่ ถึง เปิดบริการ ถงึ เท่ยี งคนื

องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์การสร้างซอฟต์แวร์ทางด้านการศึกษาอาจจะยากยิ่งกว่าการสร้างฮารด์ แวร์
ซอฟต์แวร์ได้ แก่ ข้อมูล ข่าวสารเนื้อหาสาระวิชาการที่บรรจุในเทปเอกสารและโปรแกรมคอมพิวเตอร์ต้องมี
นโยบายที่แน่ชัดให้รัฐบาลและเอกชนพัฒนาด้านซอฟต์แวร์เช่นส่งเสรมิ สนบั สนุนให้มีศูนย์การผลิตและการแปลง
ข้อมูลเอกสารตำราวิชาการทุกๆวิชาโดยให้มีการเชื่อมโยง ประสานงานกันระหว่างหน่วยงานที่รับผิดชอบด้าน
ฮาร์ดแวร์กับซอฟตแ์ วรป์ รับ มาตรการด้านภาษี เพื่อจงู ใจใหภ้ าคเอกชนมาลงทุนผลิตงานพิมพ์ตา่ งๆเช่นวารสารท่ี
มงุ่ เนน้ ด้านการเรยี นรู้

องค์ประกอบด้านสังคม people ware การสร้างสังคมการเรียนรู้ทำได้ยากสร้างทัศนคติของประชาชน
ให้รกั ทีจ่ ะเรียนรู้ทำให้การเรียนรู้ท้ังสนกุ มีคุณคา่ แก่ชวี ิตมีการปรบั ระบบการเรียนการสอนทั้งในโรงเรียนและนอก
โรงเรยี นเชน่ ส่งเสรมิ ใหค้ รูอาจารย์มีแรงจงู ใจท่ีจะศกึ ษาเพิ่มเติมเพ่ือนำความรู้ใหม่มาประกอบ การพิจารณาเล่ือน
วทิ ยฐานะของตนเอง ส่งเสรมิ ใหเ้ กิดบรรยากาศทางวิชาการ และชุมชนวชิ าการในสถานศึกษา แลว้ สาธารณะเช่น
จัดรายการศึกษาแก่ประชาชนให้สถานศึกษายอมรับผลการเรียนรู้ที่เกิดจากนอกระบบหรอื การเรียนรู้โดยตนเอง
โดยจัดมาตรฐานการทดสอบทีเ่ หมาะสมส่งเสริมการฝกึ อบรมเพมิ่ เติมให้ทุกๆคนมีโอกาสเท่ากัน

จุดเนน้ ท่ี 2 คือปรบั เน้อื หาสาระให้สอดคล้องกับวยั วฒุ ิของผเู้ รยี นเหมาะสมกับยุคสมยั ในระดบั อุดมศึกษา
เมื่อจบหลักสูตร 4 ปี แล้วควรฝึกให้นักศึกษาทุกคนเป็นนักศึกษาค้นคว้าได้เป็นนักวิจัยท่ั วๆไปได้ไม่ควรรอถึง
ปริญญาโทปริญญาเอกน้นั เป็นการเพิม่ ศกั ยภาพทางดา้ นวิชาการค้นคว้าท่มี ีอยแู่ ล้ว

272

จุดเน้นที่ 3 กระบวนการทดสอบการวัดผลการวัดผลในปัจจุบันมีแนวโน้มที่จะใช้ข้อสอบแบบตัวเลือก
มากเกนิ ไปทำใหเ้ น้นความจำหรือการเรียนเนื้อหาจนเกิน พอดีควรใชก้ ารทดสอบแบบเปดิ โอกาสหรือส่งเสริมให้ได้
แสดงความคิดเห็นของตนเองคือต้ังคำถามแบบปลายเปดิ การจัดทำโครงการการรายงานและการเขียน เรียงความ
เพอ่ื วเิ คราะห์อภปิ รายปญั หา

จุดเน้นที่ 4 การปฏิรูประบบการฝึกหัดครูและพัฒนาครูครูเป็นปัจจัยตัวแปรที่สำคัญที่สุดในการพัฒนา
คุณภาพของการเรียนบุคลากรครูในที่นี้หมายถึงอาจารย์ในมหาวิทยาลัยครูในโรงเรียนครูการศึกษาผู้ใหญ่
การศกึ ษาตลอดชีพท่ีเกีย่ วข้องกับระบบเทคโนโลยีด้านการศกึ ษาทางไกล แผนหลักของการปฏริ ปู การฝกึ หดั ครูได้
ผา่ นความเหน็ ชอบของคณะรัฐมนตรีเปน็ นโยบาย สำคัญของรฐั บาลได้แก่ ระบบการสรรหาคนเก่ง คนดีมาสู่อาชีพ
ครูผู้เรียนดมี ีเจตคติบุคลิกภาพเหมาะสมการปรับระดบั เงินเดอื น ระดับความก้าวหน้า และบรรยากาศการทำงาน
ของครเู ปน็ จุดดงึ ดดู ให้เขา้ สู่อาชพี น้ี

จุดเน้นที่ 5 การปฏิรูประบบการบริหารการจัดการด้านการศึกษา ปัจจุบันเป็นยุคของการแข่งขันทาง
เศรษฐกิจและเทคโนโลยี เป็นการแข่งขันกันในระบบเปิดเสรี การบริหารและการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพจึง
ต้องมีการเงื่อนไขที่แตกต่างออกไปจากเดิมการจัดองค์กรที่มีสายบังคับ ในแนวดิ่งยืดยาดล่าช้าไม่มีประสิทธภิ าพ
ควรจัดในแนวราบการแบ่งหน่วยงานเป็นหน่วยงานขนาดเล็กแต่มีคุณภาพใช้เทคโนโลยีสูงและการทำงานเ ป็น
เครือข่ายซึ่งกันและกันดูจะเป็นรูปแบบของยุคสมยั ใหมร่ ะบบการบริหารงานจัดการของสถานศึกษาจึงต้องจัดรปู
องค์กรเป็นแบบแบนราบมสี ายบังคับบัญชาเพยี งอาจารย์ใหญ่ เหนอื ข้ึนไป 1 ทา่ นส่วนคนอนื่ ๆก็เป็นเพียง หน่ึงใน
พวก ทีเ่ ท่ากนั

สรุปสังคมไทยในยุคโลกโลกาภวิ ัฒน์ต้องเผชิญกับการเปล่ียนแปลงมากมายทางเทคโนโลยีทางเศรษฐกจิ
การเมืองและวัฒนธรรมอย่างรวดเร็วการเผชิญหน้าระหว่างคนในยุคสมัยหนึ่งกับปรากฏการณ์ของสังคม
อุตสาหกรรมและสังคมข่าวสารของอีกสมัยหนึ่ง ย่อมนำมาซึ่งปัญหาและความสับสนการศึกษาเท่านั้นที่ จะเป็น
กระบวนการปรับเปลีย่ นให้เกิดความเข้าใจการยอมรับหรือปฏิเสธ การให้การศึกษาท่ีมีคณุ ภาพแก่ประชากรสว่ น
ใหญข่ องประเทศจงึ เปน็ ภารกจิ ที่สำคัญอย่างยิง่ ยวดถึงเวลาแล้วท่ีจะต้องหนั มาดแู ลระบบการศึกษาของเราว่าสอน
ให้คนคิดอย่างไรมีเหตุผลหรือสอนใหจ้ ำแตข่ ้อมูลข่าวสารถึงเวลาแล้วที่เราจะต้องวิเคราะห์กระบวนการเรียนการ
สอนในห้องเรียนของทุกระดับไม่ยกเว้นแม้แต่อุดมศึกษาว่าเป็นกระบวนการของปัญหาหรือกระบวนการป้อน
ปัญหาเราต้องถามตนเองอยู่เสมอว่านักศึกษาของเราเดินออกจากห้องเรยี นไปด้วยความงงหรือด้วยความสว่างไสว
ในจิตใจด้วย ความเบิกบานหรือ ความเหนื่อยหน่ายและรวมละอายครูอาจารย์ต้องถามตนเองว่าทุกครั้งที่มี
บทบาท การสอน บทเรียนใหค้ วามหมายและการเรียนรหู้ รือไม่การปฏิรูปการศึกษาทางด้านปรชั ญาการเรียนการ
สอนหลักสูตรการสอนระบบการเรยี นระบบการทดสอบการประเมินผลการบริหารและการจดั การอย่างเป็นระบบ
และเปน็ แนวทางการปฏริ ูปเพื่อปรบั ปรุงการศึกษาของ ใชใ้ หท้ นั สมัยทนั เหตุการณ์โดยเฉพาะในยุคแห่งเทคโนโลยี
ที่เปลี่ยนแปลงการเรยี นรู้ได้อย่างตลอดชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพคือปรัชญาการศึกษาที่สำคัญ ครั้งต่อผู้เรียนและ
ผูส้ อน

การเรียนร้ใู นศตวรรษที่ 21

273

ความท้าทายด้านการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในการเตรียมนักเรียนให้พร้อมกับชีวิตในศตวรรษที่
21 เป็นเรื่องสำคัญของกระแสการปรับเปลี่ยนทางสังคมที่เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 21 ส่งผลต่อวิถีการดำรงชีพของ
สงั คมอย่างทัว่ ถงึ ครจู ึงต้องมีความตน่ื ตัวและเตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรู้เพอ่ื เตรียมความพร้อมให้นักเรียนมี
ทักษะสำหรับการออกไปดำรงชีวิตในโลกในศตวรรษท่ี 21 ที่เปลี่ยนไปจากศตวรรษท่ี 20 และ 19 โดยทักษะแห่ง
ศตวรรษที่ 21 ที่สำคัญที่สุด คือ ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skill) ส่งผลให้มีการเปล่ียนแปลงการจัดการเรียนรู้
เพื่อให้เด็กในศตวรรษที่ 21 น้ี มีความรู้ ความสามารถ และทักษะจำเป็น ซึ่งเป็นผลจากการปฏิรูปเปลี่ยนแปลง
รปู แบบการจดั การเรียนการสอน ตลอดจนการเตรยี มความพรอ้ มด้านตา่ งๆ

สาระวชิ าหลกั (Core Subjects) ประกอบดว้ ย

ภาษาแม่ และภาษาสำคัญของโลก
ศลิ ปะ
คณติ ศาสตร์
การปกครองและหนา้ ที่พลเมือง
เศรษฐศาสตร์
วิทยาศาสตร์
ภูมศิ าสตร์
ประวตั ศิ าสตร์

โดยวชิ าแกนหลกั น้ีจะนำมาสู่การกำหนดเปน็ กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์สำคัญต่อการจัดการเรียนร้ใู น
เนื้อหาเชงิ สหวิทยาการ (Interdisciplinary) หรอื หวั ข้อสำหรบั ศตวรรษที่ 21 โดยการสง่ เสรมิ ความเขา้ ใจใน
เนอื้ หาวิชาแกนหลกั และสอดแทรกทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 เขา้ ไปในทกุ วิชาแกนหลกั ดังน้ี

ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21

ความร้เู กี่ยวกับโลก (Global Awareness)
ความรู้เก่ียวกบั การเงิน เศรษฐศาสตร์ ธรุ กจิ และการเปน็ ผ้ปู ระกอบการ (Financial, Economics,
Business and Entrepreneurial Literacy)
ความรดู้ ้านการเปน็ พลเมอื งทีด่ ี (Civic Literacy)
ความรู้ด้านสขุ ภาพ (Health Literacy)
ความรดู้ า้ นส่ิงแวดล้อม (Environmental Literacy)

ทักษะดา้ นการเรยี นรูแ้ ละนวัตกรรม

จะเป็นตวั กำหนดความพร้อมของนักเรยี นเข้าสูโ่ ลกการทำงานทมี่ ีความซบั ซอ้ นมากข้ึนในปจั จบุ นั ไดแ้ ก่
1.ความรเิ รมิ่ สร้างสรรคแ์ ละนวัตกรรม
2.การคดิ อย่างมีวิจารณญาณและการแกป้ ัญหา
3.การสอ่ื สารและการร่วมมอื

274

แนวคดิ ทกั ษะแห่งอนาคตใหม:่ การเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 และกรอบแนวคิดเพื่อการเรียนร้ใู นศตวรรษที่
21 การเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 เปน็ การกำหนดแนวทางยุทธศาสตร์ในการจัดการเรยี นรู้ โดยร่วมกันสร้างรูปแบบ
และแนวปฏบิ ัตใิ นการเสริมสร้างประสทิ ธิภาพของการจดั การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 โดยเนน้ ท่อี งคค์ วามรู้ ทักษะ
ความเชยี่ วชาญและสมรรถนะท่ีเกดิ กับตวั ผเู้ รยี น เพอื่ ใช้ในการดำรงชีวิตในสงั คมแหง่ ความเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน
โดยจะอ้างถงึ รูปแบบ (Model) ที่พฒั นามาจากเครือข่ายองค์กรความรว่ มมือเพ่ือทักษะแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษ
ท่ี 21 (Partnership For 21st Century Skills) (www.p21.org ) ท่มี ีชื่อยอ่ วา่ เครอื ขา่ ย P21 ซงึ่ ไดพ้ ฒั นากรอบ
แนวคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 โดยผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะเฉพาะด้าน ความชำนาญการและความ
รู้เทา่ ทันด้านต่างๆ เขา้ ดว้ ยกนั เพื่อความสำเรจ็ ของผเู้ รยี นท้ังดา้ นการทำงานและการดำเนินชวี ิต

คุณสมบัติหรือทกั ษะทีส่ ำคัญ คอื 3R และ 8C ได้แก่

3R คือ
1. Reading-อ่านออก, (W)
2. Riting-เขียนได้, (A)
3. Rithmatic-มที กั ษะในการคำนวณ

8C คอื
1. Critical Thinking and Problem Solving : มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ

และแก้ไขปญั หาได้
2. Creativity and Innovation : คดิ อย่างสรา้ งสรรค์ คดิ เชิงนวัตกรรม
3. Collaboration Teamwork and Leadership : ความร่วมมือ การทำงานเป็นทมี และภาวะผ้นู ำ
4. Communication Information and Media Literacy : ทกั ษะในการสือ่ สาร และการรูเ้ ทา่ ทนั สื่อ
5. Cross-cultural Understanding : ความเข้าใจความแตกต่างทางวัฒนธรรม กระบวนการคิดข้าม

วัฒนธรรม
6. Computing and ICT Literacy : ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ และการรู้เท่าทันเทคโนโลยี ซึ่งเยาวชน

ในยุคปัจจุบันมีความสามารถด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีอย่างมากหรือเป็น Native Digital ส่วนคนรุ่นเก่า
หรือผูส้ ูงอายเุ ปรียบเสมอื นเปน็ Immigrant Digital แตเ่ ราต้องไมอ่ ายทจี่ ะเรียนรู้แมว้ า่ จะสงู อายแุ ล้วก็ตาม

7. Career and Learning Skills : ทักษะทางอาชีพ และการเรยี นรู้
8. Compassion : มีคุณธรรม มีเมตตา กรุณา มีระเบียบวินัย ซึ่งเป็นคุณลักษณะพื้นฐานสำคัญของ
ทกั ษะขั้นตน้ ท้งั หมด และเปน็ คุณลักษณะท่เี ดก็ ไทยจำเป็นต้องมี
ทักษะทัง้ หมดท่ีไดก้ ล่าวมาเป็นสิง่ ท่ีจำเป็นสำหรับนกั เรียนในยคุ การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 เป็นอย่าง
มาก ซ่งึ มีความแตกต่างจากการเรยี นรู้ในสมยั ก่อน ทำใหก้ ารเรยี นรู้ของนักเรียนในศตวรรษท่ี 21 มีคณุ ภาพมาก
ย่ิงข้ึนนอกจากการศึกษาท่กี ้าวหนา้ และมคี ุณภาพแลว้ การบรหิ ารโรงเรยี นหรอื สถานศกึ ษากจ็ ำเป็นไมแ่ พก้ ัน
โรงเรยี นหรือสถานศึกษาควรมรี ะบบบรหิ ารโรงเรยี นที่ดี เพ่ือพัฒนาควบคู่ไปกับการเรียนการสอนภายในโรงเรียน

275

ระบบ”จับจ่าย for School” เป็นระบบบริหารงานโรงเรียนทีค่ รอบคลุมมากท่ีสุด ทำใหก้ ารพฒั นาระบบบรหิ าร
โรงเรยี นควบคู่กบั การศึกษาของนกั เรียนเป็นไปได้อย่างงา่ ยมากข้ึนกว่าสมัยก่อน (ศน. สวุ ิทย์ บง้ั เงนิ , ม.ป.ป)

การศึกษา 4.0 (Thailand 4.0)

ไทยแลนด์ 4.0 เป็นโมเดลในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ที่มีมาไม่น้อยกว่า 50 ปี โดยในปี พ.ศ.
2504 เริ่มมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับแรก ยุคน้ันเป็นไทยแลนด์ 1.0 สังคมเกษตรกรรมที่เน้น
การเกษตรเป็นหลัก นบั วา่ เปน็ ความพยายามของรฐั บาลที่จะส่งเสรมิ ให้ประชาชนมีรายไดย้ ุคไทยแลนด์ 1.0 เป็น
ยคุ ท่ยี าวนาน ตอ่ มาเขา้ สู่ยุคไทยแลนด์ 2.0 ทมี่ ุ่งเน้นอตุ สาหกรรมเบา ที่โด่งดังมากคือ อตุ สาหกรรมสิง่ ทอ เขา้ ส่ยู ุค
ไทยแลนด์ 3.0 ม่งุ ส่อู ตุ สาหกรรมที่มีความซับซ้อนมากข้ึน มีการเปดิ นิคมอตุ สากรรมมากมาย ต่างชาติเขา้ มาลงทุน
อย่างหลากหลาย อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ 7 - 8% ต่อปี มกี ารค้นพบกา๊ ซธรรมชาติ ประเทศไทยเป็นเพียง
แค่รับจ้างในการผลติ เท่านัน้ เช่น อุตสาหกรรมรถยนต์ อุตสาหกรรมไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมพลาสติก
อื่นๆ ที่เห็นชัดเจนที่สุด คืออุตสาหกรรมรถยนต์ เราเป็นแหล่งผลิตรถยนต์ส่งขายทั่วโลก แต่เราไม่มีรถยนต์ท่ีเป็น
นวัตกรรมของคนไทยเอง ในขณะที่ประเทศไทยมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 1 เกาหลีใต้ประเทศยังไม่สามารถ
กำหนดอนาคตของประเทศได้เลยว่าจะเดินไปทางใด เพราะอยู่ในภาวะสงคราม ประชาชนยากจน แต่ปัจจุ บัน
เกาหลีใตเ้ ป็นประเทศชนั้ นำของเอเชีย มีนวตั กรรมเป็นของตนเอง ไม่ว่ารถยนต์ เครือ่ งใช้ไฟฟ้า โทรศพั ท์ทส่ี ามารถ
แขง่ ขนั กับของอเมรกิ าได้อยา่ งภาคภมู ิใจ

การเข้าสไู่ ทยแลนด์ 4.0 เปน็ การเข้าสยู่ ุคท่ีประเทศไทยต้องมีนวัตกรรมเป็นของตนเอง ไม่ตอ้ งพ่ึงจาก
ตา่ งชาติ มีทรัพยากรที่มอี ยู่ในประเทศมากมาย เช่น ขา้ ว ยางพารา แร่ ผลผลิตทางการเกษตรอ่นื ๆ มผี ลติ ภัณฑ์
เกย่ี วกบั เรื่องข้าวทม่ี ากกว่าอาหารประจำวัน ซึ่งเปน็ ของคนไทยผลิตโดยคนไทย แตเ่ สยี ดายไม่ได้ต่อยอดและต้อง
ปิดตัวเองไป ถงึ เวลาทท่ี ุกภาคสว่ นตอ้ งเข้ามาช่วยระดมความคดิ ในการพัฒนาประเทศให้เข้าสไู่ ทยแลนด์ 4.0
ฉะนัน้ แต่ละกระทรวงจึงมสี โลแกนของตวั เองต่อดว้ ย 4.0 กระทรวงศึกษาฯเองก็มีสโลแกน “การศึกษา 4.0”

การศกึ ษา 1.0 เปน็ ยุค พ.ศ. 2503 หรอื เรยี กวา่ หลักสตู ร 2503 (ซ่ึงกอ่ นหนา้ นี้ต้งั แต่พระบาทสมเด็จพระ
มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หวั ตราพระราชบัญญัติประถมศึกษา ในปี พ.ศ. 2464 สว่ นใหญจ่ ะเป็นการเรียนตามตำรา ไม่ได้
กำหนดเป็นหลักสตู ร) เปน็ ยุคท่เี นน้ ให้นกั เรียนเกิดทักษะ 4 ดา้ น คือ พุทธิศกึ ษา จรยิ ศกึ ษา หตั ถศกึ ษา และพล
ศึกษา การวัดผลวดั เป็นองคร์ วม โดยตดั สนิ เป็นร้อยละ ใครสอบผา่ นรอ้ ยละ 50 ถือว่าผา่ น ตา่ํ กว่าเป็นการสอบตก
ตอ้ งเรียนซ้าํ ชั้น การสอนของครู เนน้ การบรรยาย เป็นลกั ษณะบอกเล่า จดในกระดานหรอื ตามคำบอก ครูวา่
อย่างไรนักเรียนจะเชอ่ื ครทู ั้งหมด นักเรยี นไม่สามารถเขา้ ถึงแหลง่ เรยี นรู้ ไดฟ้ งั ครูอย่างเดียว หนงั สอื เรยี นสำคญั
ทีส่ ดุ ส่ือการสอนกระดาน ชอลค์ บตั รคำ รูปภาพ โครงสร้างเวลา 4 : 3 : 3 : 2 ประถมต้นเรยี น 4 ปี ประถม
ปลายเรียน 3 ปี มธั ยมต้นเรยี น 3 ปี มธั ยมปลายสายสามญั เรยี น 2 ปี สายอาชพี เรียน 3 ปี หลกั การ/แนวคิด
สนองความต้องการของสังคม เปน็ หลกั สตู รแบบเน้นวิชา

การศึกษา 2.0 เป็นยคุ พ.ศ. 2521 หลังจากสังคมมีการเปลยี่ นแปลง ประชากรมากขน้ึ จึงจำเปน็ ต้อง
เปลีย่ นหลกั สูตร เป็นการเปลีย่ นใหม่ทัง้ ระบบ ใหม้ ีระดบั ประถมศึกษา 6 ปี ยกเลิกชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 7 ระดบั
มัธยมศึกษา 6 ปี ระดับมัธยมศกึ ษาใชอ้ ักษรยอ่ ว่า “ม.” ทั้งมัธยมศกึ ษาตอนตน้ และมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย การ
จัดการเรียนการสอนเนน้ นักเรียนเปน็ ศูนย์กลาง มวี ิชาเลอื กมากมายนักเรยี นสามารถเลือกเรยี นตามความถนดั

276

ความสนใจ เรม่ิ มสี อ่ื การสอนทเ่ี รา้ ใจ เชน่ มภี าพสไลด์ มี วิดโี อ มีภาพยนตร์ ฯลฯ เป็นส่ือในการจดั การเรยี นสอน
การวัดประเมนิ ผลเป็นการประเมินแยกส่วน หมายถงึ ประเมนิ เปน็ รายวชิ า สอบตกรายวิชาใดกส็ ามารถซอ่ มใน
รายวชิ านัน้ ๆ ไมม่ ีการเรยี นซ้ำช้นั ข้อจำกัดของหลักสูตรการศกึ ษาพทุ ธศักราช 2521

1. การกำหนดหลกั สูตรไม่สามารถสะท้อนสภาพความตอ้ งการของท้องถ่ิน
2. การจัดการเรยี นการสอนทางด้านคณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยียังไม่สามารถผลกั ดันให้
ประเทศไทยเป็นผู้นำดา้ นคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
3. การนำหลกั สตู รไปใช้ไม่สามารถสรา้ งพ้นื ฐานทางการคดิ วเิ คราะให้กบั ผู้เรยี น
4. การจดั การเรยี นการสอนวิชาภาษาต่างประเทศยังไมส่ ามารถส่ือสารและคน้ คว้าหาความรู้ได้ อยา่ งมี
ประสทิ ธิภาพ จากเหตผุ ลดังกลา่ ว จึงปรับปรงุ หลกั สตู รเปน็ หลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานพทุ ธศกั ราช 2544
การศกึ ษา 3.0 เปน็ ยุค 2551 จากข้อจำกัดของหลกั สูตรการศกึ ษาพุทธศักราช 2521 และหลกั สตู ร
การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานพุทธศกั ราช 2544 และพบว่า มีความสับสนของผู้ปฏิบตั ิการในสถานศึกษา เป็นหลักสตู ร
เนื้อหาแนน่ เกินไปเรยี นทง้ั วัน มปี ญั หาในการเทียบโอน และปัญหาคณุ ภาพผ้เู รยี นในดา้ นความรู้ ทักษะ และ
คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ จึงเปล่ยี นมาใช้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 โดยเพิม่
สมรรถสำคญั ของผ้เู รยี นและคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผู้เรยี น มีการกำหนดตวั ชว้ี ดั มาให้ เป็นการจัดหลกั สูตร
ทีใ่ ห้สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงของสภาพสงั คม เศรษฐกิจ วฒั นธรรม และการเมือง ความเจรญิ กา้ วหนา้ ทาง
วทิ ยาการด้านต่างๆ ของโลกยุคปจั จบุ ัน มีศักยภาพพร้อมที่จะแขง่ ขัน และร่วมมอื อย่างสรา้ งสรรค์ในเวทโี ลก
จุดหมายของหลักสตู ร มงุ่ พฒั นาผู้เรียนใหเ้ ป็นคนดมี ปี ญั ญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาตอ่ และประกอบ
อาชพี จงึ กำหนดเป็นจุดหมายเพอ่ื ใหเ้ กดิ กับผู้เรยี นจบการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ดังน้ี
1. มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มที่พึงประสงค์ เห็นคุณคา่ ของตนเอง มีวนิ ัยในการปฏบิ ตั ติ นตาม
หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาทต่ี นนบั ถือ ยดึ มน่ั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
2. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแกป้ ญั หา การใชเ้ ทคโนโลยีและมีทักษะชวี ติ
3. มสี ุขภาพกายและสุขภาพจิตทดี่ ี มสี ุขนสิ ยั และรักการออกกำลงั กาย
4. มคี วามรกั ชาติ มจี ิตสำนกึ ในความเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ยดึ มั่นในวิถีชวี ติ และการปกครองตาม
ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข
5. มีจติ สำนกึ ในการอนุรักษว์ ฒั นธรรมและภมู ิปัญญาไทย การอนรุ ักษส์ ่ิงแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มงุ่
บำเพญ็ ประโยชน์และสรา้ งส่งิ ท่ีดีงามในสังคม และอยูร่ ว่ มกันในสงั คมอยา่ งมีความสุข
การศกึ ษา 4.0 จากปัญหาตา่ งๆ ของประเทศไทย เช่น เศรษฐกจิ ลม้ เหลว การเมืองลม้ แลว้ สังคมล้มเหลว
หรือทกุ ๆ ปัญหาท่ลี ้มเหลวตา่ งก็โทษการศกึ ษาลม้ เหลว ไทยแลนด์ 4.0 เป้าหมายต้องการให้ประเทศไทยมี
นวตั กรรมเป็นของตนเอง โดยกระทรวงศกึ ษาต้องเปน็ ผนู้ ำที่ต้องเดนิ พร้อมไปกับโรงเรยี นทเี่ ป็นหน่วยปฏิบัติ
โดยตรง ดงั น้ี
1. ต้องกำหนดนโยบายหรือออกกฎกระทรวงนกั เรยี นต่อหอ้ งตอ้ งไม่เกนิ 36 คน เพ่อื ใหเ้ กดิ ประสทิ ธกิ าร
ในการสอนอยา่ งจริงจัง ครูสามารถดแู ลนกั เรยี นในการจัดกิจกรรมการสอนได้อย่างท่ัวถึง จะออกข้อสอบอตั นยั
ครกู ็สามารถทจี่ ะตรวจข้อสอบได้ในเวลาที่พอเหมาะ ไม่ใช่นักเรียนห้องละ 50 ครดู ูแลไม่ทวั่ ถึง ใครไมส่ นใจครู

277

จำเป็นตอ้ งปล่อย ปจั จบุ ันอัตราการเกิดของประชากรน้อยมาก นกั เรียนกล็ ดลงทุกโรงเรียน ฉะน้นั โรงเรียน
สามารถรับนักเรียนได้อยา่ งเพียงพอ

2. การจดั ความพรอ้ มของโรงเรยี น หมายถึงโรงเรยี นทั้งประเทศอยา่ งน้อยในทุกตำบล หรืออำเภอ หรือ
จงั หวัด ตอ้ งมีความพร้อมเท่าเทียมกัน ทั้งส่ือ อปุ กรณ์ ครู อาคารสถานที่ ต้องมีความพร้อมเท่ากัน ไมใ่ หเ้ กิดการ
เปรยี บเทียบถงึ ความแตกต่าง

3. หลกั สตู รตอ้ งมกี ารปรบั ปรงุ อาจจะหลกั สูตรรายวิชา มกี ารยกระดบั วชิ าคอมพิวเตอร์ วิชาเทคโนโลยี มา
เป็นวชิ าหลัก ไม่ใช่เปน็ ส่วนหนึ่งของวชิ าการงานอาชีพ การเรยี นเปน็ รายวชิ าจะมขี ้อดี คือสามารถจะเปลี่ยน
รายวชิ าไดท้ กุ ปี เปน็ วชิ าทโี่ รงเรยี นสามารถจดั ให้นักเรียนเรียนวชิ าทที่ ันยุคทันสมยั ได้เลย ไมก่ ำหนดตายตัว

4. ต้องนำสะเต็มศกึ ษา (STEM EDUCATION) และ Active Learning เข้ามาจัดการเรยี นการสอนใน
โรงเรยี น คำว่า “สะเต็ม” หรือ “STEM” เปน็ คำย่อจากภาษาองั กฤษของศาสตร์ 4 สาขาวิชา ไดแ้ ก่ วิทยาศาสตร์
(Science) เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) และคณิตศาสตร์
(Mathematics) หมายถงึ องคค์ วามรู้ วิชาการของศาสตร์ท้ังสี่ทีม่ คี วามเช่ือมโยงกันในโลกของความเป็นจริงท่ีตอ้ ง
อาศัยองค์ความรูต้ า่ งๆ มาบูรณาการเข้าดว้ ยกันในการดำเนินชีวติ และการทำงาน การจัดการเรยี นการสอนของ
ไทยเรา ครูผู้สอนจะสอนแยกส่วน เช่น สอนเคมี กเ็ คมลี ว้ นๆ ฟิสิกส์ ก็ฟสิ กิ สล์ ้วนๆ หรือคณิตศาสตร์ก็คณิตศาสตร์
ล้วนๆ ไม่เคยนำมาบูรณาการในช้ินงาน หลักของวตั กรรมท้ังหมดเกิดจากการบรู ณาการของคณิตศาสตร์และ
วิทยาศาสตรเ์ ป็นสว่ นใหญ่ แลว้ จงึ เกดิ นวัตกรรมจนกลายเป็นเทคโนโลยี ต่อมามนี ำการนำเทคโนโลยมี าบรู ณาการ
กับวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ จึงเกดิ นวตั กรรมใหมต่ อ่ ยอดไปเรื่อยๆ ทั้งน้ี โดยใช้กระบวนการทางวศิ วกรรมใน
การสรา้ งนวัตกรรม

การสอนให้นักเรียนสร้างนวัตกรรมนนั้ ต้องสอนใหน้ ักเรยี นร้แู บบโครงงาน หรอื การสร้างช้นิ งาน โดยใน
โครงงานหรือช้ินงานนน้ั นกั เรียนตอ้ งตอบได้วา่ มีคณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ หรือเทคโนโลยเี ขา้ มาเก่ยี วข้องอย่างไร
ในอดีตการสรา้ งช้ินงานของนักเรยี น เราไม่เคยนำวชิ า STEM เขา้ มาบูรณาการ ตวั อยา่ งเชน่ อดีตการหงุ ข้าวเป็น
วิถีชีวติ ประจำวัน แมบ่ อกใหก้ รอกข้าว 1 หรือ 2 กระปอ๋ ง ใส่น้ำใหส้ ูงจากขา้ วสาร 1 ข้อ หรือแล้วแตบ่ างคนให้
ท่วมหลงั มือ การหุงข้าวใชไ้ ม้ฟืนหรือถ่าน หุงข้าวสุกไมด่ ิบสามารถรบั ประทานไดเ้ สรจ็ ก็จบ แต่เราไม่เคยนำหลกั
คณติ ศาสตรเ์ ร่ืองการตวง เรือ่ งปริมาตร หลักวทิ ยาศาสตร์ เรอ่ื งความร้อน เข้ามาคิดในเร่ืองการหุงข้าว ญปี่ ุ่นนำ
หลักของ STEM มาใชใ้ นการหุงขา้ ว โดยใชห้ ลกั ของคณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ เช่น เรือ่ งของปริมาตร การตวง
เร่ืองของความร้อน เรื่องของเวลา จนสามารถสร้างหม้อหุงขา้ วไฟฟ้าไดส้ ำเรจ็ และมีการพฒั นาขึน้ มาเรือ่ ยๆ เช่น
กำหนดเวลาในการหุงขา้ ว การอุ่นขา้ ว การต้มข้าว ฯลฯ

5. ตอ้ งสร้างตัวช้วี ดั ระดับบคุ คลในการประเมินผลการปฏิบัติงานของครู เพ่อื จะทำให้ทราบจุดเด่นจุดด้อย
ต้องพัฒนาครูเปน็ รายบุคคล กระทรวงต้องการให้ครเู ป็นอย่างไรก็กำหนดตวั ช้ีวัดมาประเมนิ ในส่ิงท่ตี ้องการให้เปน็
ปจั จบุ ันตอบไม่ไดว้ า่ ครแู ต่ละคนมสี ง่ิ ที่จะตอ้ งพัฒนาอะไรบ้าง จุดเดน่ ของครมู ีอะไรบ้าง เช่น ตอ้ งการให้ครูนำ
เทคโนโลยีมาใช้ในการเรียนการสอน ก็ตอ้ งสร้างตวั ชีว้ ดั เพ่ือประเมินครูวา่ มีการใช้ได้หรือเปลา่ เชน่ กระทรวงมี
นโยบายอย่างไร นโยบายจะสำเรจ็ หรอื ไม่ต้องกำหนดตวั ช้ีวดั ของนโยบายน้ันๆ ระดับโรงเรยี น และระดบั ตัวบคุ คล
ของแต่ละนโยบาย ถงึ จะตอบโจทยแ์ หง่ ความสำเรจ็ นน้ั ได้

278

กระบวนการเรยี นรู้หลักของการศกึ ษา 4.0 ประกอบดว้ ย
1. กระบวนการเรยี นรเู้ ชงิ ผลติ ภาพ (Productive-Based Learning) เนน้ ให้ ผู้เรียนเรียนรูโ้ ดยสรา้ งผลงานท่ี
มีคุณคา่ มีการกำหนดเป้าหมายทมี่ ่งุ สร้างหรือผลิต เปา้ หมายอาจเปน็ แนวปฏิบัติท่ีเปน็ พลังสร้างสรรค์
สังคม กระบวนการเรยี นและการปฏบิ ัตกิ ารเรียนรู้สามารถใช้ กระบวนการได้หลากหลาย
2. กระบวนการเรียนรู้ที่มุ่งผลลพั ธ์ (Outcome – Based Learning) เน้นให้ ผูเ้ รยี นเรียนรคู้ วบคูก่ ับการทำ
กิจกรรม (Activity-based Learning) มีการกำหนดผลลพั ธท์ ีผ่ ู้เรยี นควร จะได้หรือควรจะเป็นหลงั จาก
เสร็จสิ้นการเรยี น ซ่ึงจะต้องแจ้งให้ผเู้ รียนทราบว่าเมอ่ื เรยี นวิชานี้จบไป แลว้ จะสามารถทำอะไรได้บา้ ง
จากนั้นจึงออกแบบกิจกรรมการเรียนร้เู พ่อื มงุ่ ไปสผู่ ลลพั ธ์นั้น รวมไปถงึ การให้ผูเ้ รยี นไดส้ รปุ บทเรยี นการ
เรยี นรู้ (Reflection) อย่างสม่ำเสมอ เพ่ือใหผ้ เู้ รยี นไดแ้ ลกเปลย่ี นเรยี นรู้ซ่ึงกนั และกัน และตอ้ งมกี าร
ประเมนิ ผลหรอื ประเมนิ ผลลัพธ์ เพ่อื ให้ผู้เรียนได้เกดิ การพัฒนาตนเอง และเพื่อให้อาจารยผ์ ้สู อนได้ทราบ
ว่าวธิ กี ารทีใ่ ช้นน้ั ได้ผลหรือไม่ ถ้าไม่ได้ผล หรือได้ผลนอ้ ย ก็ ต้องปรบั วธิ กี ารให้ได้ผลมากขึ้นในครงั้ ต่อไป
ไทยแลนด์ 4.0 เปน็ สิง่ ทดี่ ี ถา้ เปน็ ไปตามโมเดลนี้ ประเทศจะต้องมนี วัตกรรมเปน็ ของตนเองอย่างแน่นอน

ฉะนน้ั การศกึ ษา 4.0 เป็นส่วนหนง่ึ ของไทยแลนด์ 4.0 ท่จี ะนำพาไปสคู่ วามสำเรจ็ จงึ ต้องอาศยั ทุกภาคส่วนให้

ความร่วมมอื โดยเฉพาะครตู ้องปรบั การเรียนการสอนตามแนวทางสะเต็มศกึ ษา (STEM) และ Active Learning

นำมาใช้ในการเรียนการสอนอยา่ งจรงิ จัง ผูบ้ ริหารโรงเรียนต้องเป็นผนู้ ำทางวชิ าการ การปฏิรูปการศึกษาต้องเน้น

ท่หี ้องเรียน ติดตามพฤตกิ รรมการสอนของครโู ดยสรา้ งตัวชวี ัดผลการปฏบิ ัติงาน โรงเรียนทกุ โรงเรียนตอ้ งมี

มาตรฐานเดยี วกัน ภายใน 10 ปี ประเทศไทยต้องมีนวตั กรรมเป็นของตนเองแนน่ อน (ดร. โพยม จนั ทร์นอ้ ย,

2556)

การศึกษาไทยในยคุ โควิด

นายอมั พร พินะสา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน (เลขาธกิ าร กพฐ.) เปน็ ประธานในการ
ประชุมทางไกลผ่านระบบวิดีโอคอนเฟอเรนซ์ เพื่อชี้แจงแนวทางปฏิบัติในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ
เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สำหรับผู้อำนวยการสำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาทวั่ ประเทศ โดยมีผู้บริหาร
ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ชี้แจงแนวทางปฏิบัติในดา้ นต่างๆ อาทิ นโยบายการจัด
การศึกษา สพฐ. ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยนายอัมพร พิ
นะสา เลขาธิการ กพฐ. / การบรหิ ารจัดการทว่ั ไป การเตรียมความพร้อม การเปดิ -ปิดสถานศกึ ษา

การแพร่ระบาดครั้งใหม่นี้มีความรุนแรง มีปริมาณการขยายตัวในวงกว้างและรวดเร็วมากกว่าครั้งทีผ่ ่าน
มา ดังนั้นเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมรองรับสถานการณ์ ให้เป็นไปตามมาตรการของ ศบค. จึงได้เน้นย้ำใน 3
เรื่อง คือ สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาและสถานศึกษาทุกแห่ง ตอ้ งสื่อสารสรา้ งความเขา้ ใจพร้อมดำเนินการตาม
มาตรการเพือ่ ให้นกั เรียนหรือบุคลากรปลอดภัยจากการตดิ เช้ือโควิด-19 โดยปฏบิ ัติตามมาตรการของ ศบค. ท้ังใน
เรื่องการเว้นระยะห่าง การล้างมือ การใส่หน้ากากอนามัย การดูแลสุขอนามัย และการเปิด-ปิดสถานศึกษาใน
กรณีที่จำเป็น รวมถึงปฏิบัติตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ และปฏิบัติตามประกาศของจังหวัดแต่ละ

279

จังหวัด โดยคำนึงถึงความปลอดภัยของนักเรียนและบุคลากรเป็นสำคัญ (รองศาสตร์จารย์ ดร.เทื้อน ทองแก้ว,
2564)
การดำเนนิ การเรยี นการสอน

รูปแบบการเรยี นการสอน 5 รปู แบบ
1. On Site คือให้มาเรียนตามปกตไิ ด้ในพื้นท่ีที่ไม่ใช่สแี ดง แต่ตอ้ งเวน้ ระยะหรอื ลดจำนวนนักเรยี นตอ่
หอ้ งลง สำหรับจังหวัดพนื้ ท่สี เี ขียว สามารถจดั การเรียนการสอนในโรงเรียนได้ตามปกติ
2. On Air คอื การออกอากาศผ่าน DLTV เป็นตวั หลกั ในการกระจายการสอน โดยใชโ้ รงเรียนวงั ไกล
กงั วลเป็นฐานในการจัดการเรียนการสอน สามารถดไู ด้ทง้ั รายการท่ีออกตามตาราง และรายการท่ดี ู
ยอ้ นหลงั
3. Online ให้ครเู ปน็ ผูจ้ ัดการเรียนการสอน ผ่านเคร่ืองมือท่ีทางโรงเรยี นกระจายไปสู่นกั เรยี น เป็น
รปู แบบท่ีถูกใช้ในการจดั การเรยี นการสอนจำนวนมากท่สี ุด
4. On Demand เปน็ การใช้งานผา่ นแอปพลิเคชัน่ ต่างๆ ที่ครูกบั นกั เรยี นใช้ร่วมกนั
5. On Hand หากจดั ในรูปแบบอื่นๆ ทกี่ ลา่ วมาไม่ได้ ให้โรงเรียนจัดแบบ On Hand คอื จดั ใบงาน
ใหก้ ับนักเรียน เป็นลกั ษณะแบบเรยี นสำเร็จรูป ใหน้ กั เรียนรับไปเป็นชดุ ไปเรยี นดว้ ยตวั เองที่บา้ น
โดยมีครอู อกไปเย่ยี มเป็นคร้งั คราว หรอื ใหผ้ ู้ปกครองทำหน้าทเ่ี ป็นครคู อยช่วยเหลอื เพ่ือใหน้ ักเรียน
สามารถเรียนได้อยา่ งต่อเนื่อง ถึงแมโ้ รงเรยี นจะปิดแต่ต้องไม่หยุดการเรียนรู้
ข้อดีของการเรียนออนไลน์ คือคุณครูสามารถจัดทำแผนการเรยี นการสอนได้ทนั สมัย และให้เดก็ ๆ

เขา้ ถึงข้อมลู จากการค้นหาเพ่ิมเติมไดด้ ้วย แตก่ ม็ ีข้อจำกดั ระหวา่ งผู้เรยี น และผสู้ อน ดังนี้
ขอ้ ดี

• ลดเวลาการเดินทาง ท้งั ครผู ้สู อน และผ้เู รยี น

• มโี ปรแกรมชว่ ยบริหารจดั การ เช็กช่ือนักเรยี นเขา้ เรียน และรบั เอกสารแบบทดสอบ เพอื่ ใช้ประเมนิ การ
เรียนไดส้ ะดวกมากข้ึน

• มีช่องทางส่ือสารระหวา่ งครูผสู้ อน และผ้เู รยี นได้สะดวก

• ใชเ้ ครือ่ งมือออนไลนค์ น้ คว้าข้อมลู เพิ่มเตมิ ได้มากข้ึน
ข้อเสีย

• การสอนทเี่ ป็นการส่ือสารทางเดียว มโี อกาสเกิดความผิดพลาดในการรับรู้ เพราะฉะน้นั ต้องมี
แบบทดสอบทปี่ ระเมินการเรียนรขู้ องผเู้ รียน

• การเขา้ ถึงอุปกรณ์เรยี นออนไลน์ไมว่ ่าจะเป็น โทรทัศน์, โทรศพั ท์มือถอื , แท็บเล็ต หรือสัญญาณ
อนิ เทอรเ์ นต็ มีข้อจำกดั

• เดก็ นักเรียนไมม่ ีสมาธิในการเรยี น หากให้ใช้มอื ถอื กจ็ ะแอบเอามือถือมาเลน่ ระหว่างเรยี น

• เด็กนกั เรียนไมส่ ามารถไตร่ตรองความถูกต้องของข้อมลู จากการเข้าถงึ ขอ้ มลู ท่ีไม่นา่ เช่อื ถอื

• เด็กนักเรียนใช้เวลาเสพออนไลนม์ ากเกนิ ควร

280

• ผ้ปู กครองตอบคำถามหรือทำการบา้ นแทนเดก็

• ผปู้ กครองไม่มีเวลาเฝา้ ดแู ลเด็ก เพราะต้องทำงาน
ขอ้ ปฏิบัติสำหรับโรงเรียนและสถาบนั ศกึ ษาในสถาณการณ์โควดิ 19

1. แจ้งผปู้ กครองเม่ือบุตรหลานมอี าการเจ็บปว่ ย
2. คัดกรองนักเรยี นบรเิ วณทางเข้าโรงเรยี น
3. ทำความสะอาดอุปกรณ์และสถานทีต่ ่าง ๆ เมื่อมผี ้กู ลับมาจากพ้นื ทเี่ สย่ี งเขา้ ไปในสถานทดี่ งั กลา่ ว
4. พจิ ารณาการจดั กจิ กรรมในโรงเรยี น
5. จัดใหม้ ีการดูแลอาคารและยานพาหนะ
6. จัดให้มีการดแู ลรา้ นอาหาร การจำหนา่ ยอาหาร โรงอาหาร
7. ทำความสะอาดและดแู ลห้องน้ำ
8. ควบคุมครแู ละบุคลากรในโรงเรียน
9. ให้ความรู้ผปู้ กครองและนักเรยี นเก่ยี วกบั โรคโควิด 19

ทนั ต่อการเปลย่ี นแปลงในบรบิ ทโลก

การจัดการศกึ ษาต่างประเทศ

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (2542) ได้ระบุว่าในปี พ.ศ. 2540-2541 สำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาแห่งชาติได้สนับสนุนให้มีการวิจัยและจัดสมั มนาเกี่ยวกับการปฏริ ูปการศึกษาของประเทศต่างๆ หลาย
ประเทศ ทั้งในประเทศพัฒนาอุตสาหกรรมและประเทศแถบเอเชีย เพื่อนำผลการศึกษามาประยุกต์ใช้กับการ
ปฏริ ปู การศึกษาไทย และเปน็ การกระตุน้ ให้เกิดการต่นื ตวั ในการปฏริ ปู การศึกษาเพื่อไม่ใหล้ า้ หลงั ประเทศอื่นๆ ซึ่ง
ตัวอย่างของการปฏริ ปู การศึกษาท่ีมีการศึกษาและใชเ้ ปน็ แนวทางในการปฏริ ูปการศึกษาของไทย ไดแ้ ก่ ฟนิ แลนด์
เอสโตเนีย และสงิ คโปร์

ประเทศฟินแลนด์ Finland

สโลแกนการศกึ ษาของประเทศฟินแลนด์ “No Child Left Behind (NCLB)” ไมม่ เี ด็กคนใดถูกทงิ้ ไว้ข้างหลงั
หลกั สตู รใหม่ “ฟนิ แลนด์” พัฒนา7ทกั ษะสร้างคนแหง่ อนาคต (2560) ได้บรรยายว่าประเทศฟนิ แลนด์มี

ชอ่ื เรียกอย่างเป็นทางการว่าสาธารณรฐั ฟนิ แลนด์ (ฟนิ แลนด:์ Suomen tasavalta; สวเี ดน:Republiken
Finland) เปน็ ประเทศในกลมุ่ นอรด์ ิก ตั้งอย่ทู างตะวนั ออกเฉียงเหนือของทวีปยุโรป เขตแดนดา้ นตะวันตกเฉยี งใต้
จรดทะเลบอลติกทางดา้ นใตจ้ รดอ่าวฟนิ แลนด์ทางตะวันตกจรดอา่ วบอทเนียประเทศฟนิ แลนดม์ ชี ายแดนติดกบั
ประเทศสวีเดนนอร์เวยแ์ ละรัสเซียสำหรบั หมูเ่ กาะโอลนัดท์ ี่อยู่หา่ งจากชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้ อย่ภู ายใต้การ
ปกครองของฟนิ แลนด์แตเ่ ป็นเขตปกครองตนเองเคยถูกรัสเซยี ยดึ ครองและเป็นดนิ แดนส่วนหนึง่ ของรัสเซียเมือง
หลวงและเมืองท่ีใหญ่ทีส่ ุด คอื เฮลซงิ กิเมอื งสำคัญอน่ื ๆได้แก่ เอสโป วนั ตา ตัมเปเร โอวลุ และ ตุรกุ

การศกึ ษาเป็นสิทธิขัน้ พื้นฐานของพลเมืองฟินแลนด์ทุกคน เป้าหมายหลกั ของการจดั การศึกษา คือ การ
ยกระดับคุณภาพและการให้โอกาสทางการศึกษาที่เสมอภาคกัน จุดมุ่งหมายของการศึกษาคือ เพื่อสนับสนุน

281

พฒั นาการของนักเรยี นให้ เติบโตเปน็ มนุษย์ท่ีสมบูรณ์ และเปน็ สมาชิกของสังคมที่รับผิดชอบอย่างมีจรรยาบรรณ
และเพ่ือให้ความรแู้ ละทกั ษะต่าง ๆ ท่ีจะเป็นในการดำรงชวี ิต เปา้ หมาย ของการศกึ ษากอ่ นประถม มุ่งปรับปรงุ ขีด
ความสามารถในการ เรยี นรขู้ องเด็ก สง่ เสริมความมีอารยธรรม (Promote Civilization) และ ความเท่าเทียมกัน
ในสังคม เตรยี มเด็กเข้าส่รู ะบบการศกึ ษาและการพฒันาตนเองชั่วชีวิต ฟินแลนดใ์ หค้ วามสำคัญกบั ความเสมอภาค
โดยไม่เกบ็ ค่าเลา่ เรยี น จัดการศึกษาภาคบงั คบั 9 ปี ตั้งแต่ อายุ 7-16 ปี โรงเรยี นรฐั จะบริการอาหารกลางวัน
ฟรี มกี ารจัดเตรยี มอดุ มศึกษาในสายสามัญและอาชีวศึกษาและใน ระดบั อุดมศกึ ษาจะมมี หาวทยิ าลัยและวทิ ยาลัย
อาชีวศึกษาขั้นสูง จากการทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาขององค์การ เพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและ
การพฒันา (OECD-PISA) ปี พ.ศ. 2546 พบว่านักเรียนอายุ15 ปี ของฟินแลนด์ทำคะแนนสูงสุดในความสามารถ
ดา้ นการอา่ น และวิทยาศาสตร์ และ ไดอ้ นั ดบั สองด้านคณิตศาสตรแ์ ละการ แกป้ ญั หา ประชากรที่ อายุเกนิ 15 ปี
อ่านออกเขียนได้100 เปอร์เซ็นต์ และจำนวนผู้เรียนการศึกษานอกระบบและตามอธั ยาศยั มีจำนวน 1.5 ล้านคน
หรือคิดเป็นรอ้ ยละ 45 ของประชากร

หลกั สูตรใหม่ท่ีพัฒนาขน้ึ ต้องสอดรบั กับรากฐานการศกึ ษาของฟินแลนด์ซึ่งมี4ดา้ นไดแ้ ก่
สุริยา ฆ้องเสนาะ (2560) ไดก้ ลา่ วถึงหลกั สตู รใหมข่ องการศึกษาในประเทศฟินแลนดว์ า่

1) ความเสมอภาคโรงเรยี นทุกแหง่ ต้องเป็นโรงเรียนที่ดีใส่ใจคนทีเ่ รียนลา้ หลงั และสนับสนนุ คน
ท่ีเรียนรู้ ตามปกติ

2) สนับสนนุ การเงนิ หรือไม่มีการเกบ็ ค่าเลา่ เรียน
3)ประเมนิ ผลการเรียน จะไม่มีการจัดอนั ดบั ครหู รือนักเรียนแต่เปน็ การประเมนิ ผลเพื่อเก็บ
ขอ้ มลู ไปใช้ในการ พัฒนาศักยภาพทางการศกึ ษาเท่าน้ัน
4)หลักการเรียนรตู้ ลอดชีวติ ผา่ นการเรยี นรู้แบบองคร์ วมเพื่อใหผ้ ้เู รยี นสามารถนำองค์ความร้ไู ป
ใชไ้ ดต้ ้ังแต่วยั เด็กถงึ ผู้ใหญ่

ประเทศเอสโตเนีย Estonia

เปน็ ประเทศเลก็ ๆ ในยโุ รป (ตอนเหนือของประเทศฟินแลนด์) ทมี่ ปี ระชากรเพยี ง 1.3 ลา้ นคน
ในช่วงระยะเวลาเพียง 20 ปี สิ่งหนึ่งทีท่ ุม่ ความสำคัญในการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงมากที่สดุ คือ ด้านการศึกษา
เห็นได้ชัดอย่างเป็นรูปธรรม จากผลการสอบ PISAด้านวิทยาศาสตร์ เอสโตเนียอยู่อันดับที่ 3 ของโลกเป็นรอง
เพียงสงิ คโปร์ และญีป่ ่นุ และเป็นอนั ดบั 1 ในยุโรป แซงหนา้ ฟินแลนด์ ทงั้ ยังได้อนั ดบั 6 ด้านการอ่าน และอันดับ
9 ดา้ นคณติ ศาสตร์ อกี ดว้ ย

ยทุ ธศาสตรก์ ารเรียนรู้ตลอดชีวิตของประเทศเอสโตเนียปี 2020

ภาคีเพื่อการศึกษาไทย Thailand Education Partnership (TEP) (2563) ไดร้ ะบุไวว้ า่
1. เปลย่ี นวิธกี ารเรียนรู้

282

มีหนว่ ยงานเฉพาะเพือ่ กำหนดหลักสูตรแหง่ ชาตทิ ที่ ันสมัย สอดคล้องกบั สภาพเศรษฐกิจและสังคม เนน้
การจัดพน้ื ทที่ ี่ปลอดภยั และเอื้อต่อการเรียนรู้ให้กับเดก็ สู่ความคิดสรา้ งสรรค์ คิดแบบมตี รรกะ เดก็ ทกุ คนต้องได้
เรียนอยา่ งน้อย 3 ภาษา

2.สร้างความสามารถและแรงจงู ใจครูและผู้บริหารโรงเรยี น
ก่อต้ัง “ศูนย์สมรรถนะ” ในโรงเรียนเพือ่ พัฒนาผู้นำโรงเรยี น ครสู ามารถออกแบบช้นั เรยี นดว้ ยตัวเอง ยดึ
หลักนกั เรียนทกุ คนแตกต่างกัน
3.สร้างโอกาสการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ สอดคล้องตลาดแรงงาน
ให้ความสำคญั กบั โรงเรยี นสายอาชพี ทุกเขต มกี องทนุ สนับสนนุ จากภาครฐั ท่ีมอบใหร้ ะยะยาวในหลาย
สาขาอาชีพ ทั้งการศึกษาในและนอกระบบ ทำให้ตวั เลขคนเรยี นต่อในเอสโตเนยี สงู กว่าค่าเฉลยี่ ในยุโรป
4.เนน้ เทคโนโลยดี ิจทิ ัลเอือ้ ประโยชนต์ ่อการเรยี นรู้ตลอดชีวติ
การนำเทคโนโลยีมาใชใ้ นการศกึ ษา ทงั้ ระบบออนไลน์ E-learning ทสี่ ามารถเข้าถึง 100% ท่วั ประเทศ
สนับสนุนใหเ้ ด็กใชโ้ ทรศัพทม์ ือถือในห้องเรียนแทนคอมพิวเตอร์สว่ นตัว เพือ่ เปน็ เครื่องมอื ในการเรียนรู้

5. สรา้ งความเสมอภาค และการมสี ่วนรว่ มในการเรียนร้ตู ลอดชีวติ
ทุกคนไดเ้ รยี นฟรี อาหารกลางวนั ฟรสี ำหรับทุกคน มีทุนการศกึ ษาเพิม่ เตมิ สำหรบั โรงเรียนในชนบทและ
นักเรยี นที่ขาดแคลน ทำให้สามารถท่มุ เทให้กับการเรยี นได้อยา่ งเต็มที่ โดยไม่ต้องกงั วลเรือ่ งคา่ ใช้จา่ ยหรือพืน้ ฐาน
ทางเศรษฐกจิ ของครอบครัว

ประเทศสิงคโปร์ Singapore

จุดมุ่งหมายทางการศึกษาในระบบโรงเรียนของสิงคโปร์เพื่อพัฒนาเยาวชนให้มีทักษะความรู้
ความสามารถเพื่อการดำรงชีพ มีคุณธรรมจริยธรรม มีความรับผิดชอบและเป็นพลเมืองดีของชาติ
กระบวนการพัฒนาการศึกษามงุ่ ให้เด็กแต่ละคนสามารถพัฒนาศักยภาพให้ไดส้ ูงสดุ การศึกษาของสงิ คโปรก์ ำหนด
การศึกษาขั้นพื้นฐาน 10 ปี เป็นการศึกษาภาคบังคับ เพื่อให้เด็กทุกคนต้องอยู่ในระบบโรงเรียนอย่างต่ำ 10 ปี
ก่อนออกไปสกู่ ารทำงาน กลา่ วคือ ประถมศึกษา 6 ปี และมธั ยมศึกษา 4 ปี โดยเด็กต้องเขา้ เรียนเมื่ออายุ 6 ปี ผู้ท่ี
จะเข้าศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยจะต้องศึกษาข้ันเตรียมมหาวิทยาลัย อีก 2 ปี การศกึ ษาภาคบังคับของสิงคโปร์
จะต้องเรียนรู้ 2 ภาษาควบคู่กันไป ได้แก่ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก และเลือกเรียนภาษาแม่ (Mother
Tongue) อกี 1 ภาษา คือ จนี (แมนดาริน) มาเลย์ หรือทมฬิ (อนิ เดยี )

รฐั บาลสิงคโปร์ให้ความสำคัญกับการศึกษามาก โดยถือวา่ ประชาชนเปน็ ทรพั ยากรทส่ี ำคัญ และมีค่าท่ีสุด
ของประเทศ ในการนี้ รัฐบาลได้ให้การอุดหนนุ ด้านการศึกษาจนเสมือนกับเป็นการศึกษาแบบให้เปลา่ โรงเรยี นใน
ระดับประถม และมัธยมล้วนเป็นโรงเรยี นของรฐั บาลหรือก่ึงรัฐบาล สถานศึกษาของเอกชนในสิงคโปร์ มีเฉพาะใน
ระดับอนุบาล และโรงเรียนนานาชาติเท่านั้น ผู้ปกครองนักเรียนของสิงคโปร์จะส่งบุตรหลานเข้ารับการเตรียม
ความพร้อมใน โรงเรียนเม่อื เด็กมอี ายุ ได้ 2 ขวบครง่ึ เม่อื เดก็ อายุได้ 6 ปีก็จะเขา้ เรยี นในระดบั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1

283

จุดเน้นของระบบการศกึ ษาของสงิ คโปร์

1. มีจดุ เนน้ ในวชิ าหลกั ท่พี ฒั นาศักยภาพและความสามารถในการแข่งขนั ระดบั โลก คือ วิชาคณิตศาสตร์
วิชาวิทยาศาสตร์ ทใ่ี ชเ้ ป็นตัวชว้ี ัดผลสมั ฤทธ์ใิ นระดับนานาชาติ (TIMSS) และภาษาอังกฤษในฐานะเปน็ สื่อสำหรับ
การแสวงหาวทิ ยาการใหม่ๆ ซง่ึ วดั ได้จาก PIRLS

2. การจดั สอนในระบบสองภาษา (Bilingual Education) เนอ่ื งจากสิงคโปร์เป็น ประเทศทม่ี ีความ
หลากหลายทางเชอื้ ชาติและวัฒนธรรม (multi-cultural and multi-racial characteristics) จงึ มีนโยบายการ
เรยี นระบบสองภาษา (bilingual policy) โดยใหค้ วามสำคัญยงิ่ กับ การเรยี นภาษาอังกฤษในฐานะภาษาราชการ
ใช้ในการศึกษาหาความรแู้ ละการทำงานทว่ั ไป เดก็ ทกุ คนต้องเรียนภาษาองั กฤษ แต่กไ็ ม่ละเลยการเรียนรู้ภาษา
แม่ (ภาษาจนี ภาษามาเลย์และภาษา ทมิฬ) เพอ่ื รักษาเอกลักษณ์ทางเชื้อชาติความภมู ใิ จ คณุ คา่ และมรดกทาง
วฒั นธรรม

3. การพัฒนาผู้เรียนรอบด้าน หลักสูตรของสิงคโปร์มีจุดเด่น คือ เป็น holistic and broad-based
education มุ่งพัฒนาผู้เรียนรอบด้าน ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์สังคม มีคุณธรรม และสุนทรียภาพ โดย
ปลูกฝังทักษะ 8 ด้าน ซึ่งนักเรียนที่จบการศึกษาแต่ละระดับชั้น คือ ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และเตรียม
อุดมศึกษา ต้องมีทักษะทั้ง 8 ด้านนี้ตามขีดความสามารถของ แต่ละระดับชั้น ได้แก่การพัฒนาลักษณะนิสัย
(Character Development) ทักษะการบริหารตนเอง (Self Management Skills) ทักษะทางสังคมและการ
ร่วมมือกับผู้อื่น (Social and Cooperative Skills) การรู้หนังสือและการคิดเลข (Literacy and Numeracy)
ทักษะการสื่อสาร (Communication Skills) ทักษะด้านสารสนเทศ Information Skills ทักษะการคิดและ
ความคิด ริเริ่ม (Thinking Skills and Creativity) ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้(Knowledge Application
Skills) หลักสตู ร broad-based curriculum ของสงิ คโปร์ ประกอบไปดว้ ย การรู้ หนังสอื (Literacy) การคิดเลข
(Numeracy) การเรียนสองภาษา (Bilingualism) วิทยาศาสตร์ (Sciences) มานุษยวิทยา (Humanities)
สุนทรียศาสตร์ (Aesthetics) พลศึกษา (Physical Education) หน้าที่พลเมืองและศีลธรรม (Civic and Moral
Education) และการศึกษาเอกลักษณ์ แห่งชาติ(National Education) หลักสูตรของสิงคโปร์มีความเข้มข้นใน
วิชาหลัก ซึ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความ สามารถทางวิชาการในคิดวิเคราะห์การแก้ปัญหา การใช้ภาษา พร้อมทั้งมี
กิจกรรมเสริมหลักสูตร (Co-Curriculum Activities) เช่น กีฬา ดนตรีฯลฯ เพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ และกิจกรรม
การมีส่วนร่วมในชุมชน (Community Involvement Programmes) เพื่อพัฒนาความเป็นพลเมืองที่ดี ของ
สังคมและประเทศชาติ

4. ระบบการเรียนการสอนแบบบูรณาการระหว่าง “เนื้อหา ยุทธศาสตร์หรือ วิธีสอน และการ
ประเมินผล” หลักสูตรถูกออกแบบมาให้ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนแต่ละ คนตามความถนัดและความ
สนใจ โดยครจู ดั ใหผ้ ู้เรยี นมีประสบการณก์ ารเรียนรูส้ ่งเสริมให้ผู้เรยี นได้ ทดลอง และรจู้ ักตั้งคำถามเพ่ือหาคำตอบ
โรงเรียนใดครูมีวิธีสอนที่มีประสิทธิภาพจะได้รับการยกย่อง ให้เป็นแบบอย่างและนำเสนอต่อสาธารณะ
(showcased)

284

5. มีเป้าหมายการศึกษาที่ชัดเจน โดยกำหนดผลลัพธ์ของการศึกษา (The Desired Outcome of
Education) ว่าคนสิงคโปร์จะมีคุณลักษณะอย่างไร ทั้งในเป้าหมายภาพรวม และเป้าหมายของแต่ละระดับ
การศกึ ษา

6. มีระบบการทดสอบแห่งชาติที่เข้มแข็งทุกระดับการศึกษา มีคุณค่าและ ความหมาย ที่แสดงถึงการ
สำเร็จการศึกษาในแต่ละระดับ ตั้งแต่ระดับประถมศึกษา จนถึงระดับ มัธยมศึกษา การสอบทำให้สามารถรักษา
ระดับมาตรฐานการศึกษา และผลการสอบถูกนำไปใช้ในการ กำหนดสายวชิ าทีจ่ ะเรียนต่อในชั้นสูงข้ึน และใช้เป็น
ตัวเทียบเคียง (Benchmarking) กับนานาชาติ ได้แก่ Primary School Leaving Examination (PSLE) เพื่อจบ
ชนั้ ประถมศึกษา SingaporeCambridge General Certificate of Education (GCE ‘O’ Level) Examination
เพื่อจบชั้น มัธยมศึกษาตามหลักสูตรสามัญสายวิชาการ (Normal Academic Course) SingaporeCambridge
General Certificate of Education (GCE ‘N’ Level) Examination เพื่อจบชั้น มัธยมศึกษาตามหลักสูตร
ส า ม ั ญ ส า ย อ า ช ี พ ( Normal Technical Course) แ ล ะ SingaporeCambridge General Certificate of
Education Advanced Level ( GCE ‘A’ Level) Examination ซ ึ ่ ง ด ำ เ น ิ น ก า ร โ ด ย the University of
Cambridge International Examinations (CIE), the Ministry of Education (MOE) and the Singapore
Examinations and Assessment Board (SEAB).

7. ครูที่สอนมีความเชี่ยวชาญในแต่ละสาขาวิชา ประเทศสิงคโปร์ให้ความสำคัญ กับการผลิตและพัฒนา
ครูอย่างยิ่ง สถาบันผลิตครูจะคัดเลือกผู้ที่มีผลสัมฤทธิ์จาก 30% ของกลุ่มสูง เข้ามาเรียนวิชาครูและเมื่อเข้าสู่
อาชพี แล้วจะตอ้ งพฒั นาสมรรถนะอยา่ งต่อเน่อื ง ใชเ้ ทคโนโลยชี ว่ ย ในการสอนเพอื่ เพ่มิ พูนประสบการณก์ ารเรียนรู้
ของผู้เรียน โดยกำหนดวา่ ครูประจำการตอ้ งเข้ารับ การพัฒนา 100 ชั่วโมงต่อปรี วมทั้งต้องทำวจิ ยั เพื่อพฒั นาการ
สอนและนำผลวจิ ยั น้ันไปปรับปรงุ การสอนในชัน้ เรียน

การผลติ ครู "ระบบปิด" หมายถงึ การรบั บุคคลเข้าศกึ ษาชั้นปีท่ี 1 ตามหลักสตู รการผลิตครู 5 ปีหรอื
หลกั สตู รอ่ืนๆ ท่ีครุ สุ ภาใหก้ ารรบั รอง ตามจำนวนความตอ้ งการใช้ครขู องสถานศกึ ษาภาครฐั เม่ือสำเร็จการศึกษา
จะมอี ัตราขา้ ราชการครูรองรับและจะได้รับการบรรจทุ ันที ในระหวา่ งศึกษาอาจไดร้ บั เงินทนุ การศึกษาเป็น
ค่าธรรมเนียมการศกึ ษาทีส่ ถาบนั การผลิตเรียกเก็บค่าอุปกรณ์การศึกษาและค่าใช้จ่ายส่วนตัวอ่ืนๆ ด้วย ท้ังนี้
สถานศกึ ษาเอกชน อาจทำความตกลงรว่ มมือกับสถาบนั ฝ่ายผลติ (ประวิต เอราวรรณ,์ ม.ป.ป.)

285

ตารางสรปุ แต่ละประเทศท่ีไทยไดน้ ำมาประยุกตใ์ ชใ้ นการศึกษาไทย

สรปุ
สภาพการณพ์ ฒั นาวิชาชีพครู กลวิธีการพัฒนาการศกึ ษาที่ยั่งยืน

ความรอบรู้ ทนั สมยั ทันต่อการเปลย่ี นแปลงในบรบิ ทโลก
สภาพการณ์พัฒนาวิชาชีพครู

สภาพการพัฒนาวชิ าชพี ครู มีการผลติ ครูโดยสถาบันผลิตครหู รือมหาวิทยาลยั ในระดับปรญิ ญาตรแี ละใน
ระดับป.บณั ฑิต หรือหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชีพครู เม่ือมกี ารผลิตครูก็มีการพฒั นาครโู ดยผา่ นการอบรม

286

ตา่ งๆแบ่งเปน็ ออก 2 แบบคือแบบบงั คับและไมบ่ ังคบั แบบบังคับมีการอบรมคุรสุ ภากำหนดโดยเป็นการอบรมตอ่
ใบประกอบวิชาชีพตามเกณฑ์ต่างๆ แบบไมบ่ งั คับ เป็นการอบรมตามความสนใจหรือตามสาขาวชิ าทเ่ี ก่ียวข้องกับ
การสอน นอกจากนี้ยังมีการอบรมลกู เสอื และมกี ารทำวทิ ยฐานะ หากครตู ้องการท่จี ะพัฒนาตวั เองก็ต้องทำวิทย
ฐานะ และเปน็ ผลประโยชน์เรื่องคา่ ตอบแทน ซึ่งปจั จบุ นั นั้นก.ค.ศ.มกี ารประกาศให้ใช้เกณฑก์ ารประเมินใหม่ คือ
วPA ในการประเมินวิทยฐานะ เร่มิ ใชว้ นั ที่ 1 พฤษภาคม 2564 และมีผลบังคบั ใช้ 1 ตลุ าคม 2564

กลวธิ กี ารพัฒนาที่ย่ังยนื ของการศกึ ษาไทย ไดน้ ำเอาปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงตามแนวพระราชดำริ
ของในหลวงรชั การท่ี 9 ซึง่ ได้พระราชดำริไวใ้ นปพี ุทธศกั ราช 2517 และหลังจากเกนิ วกิ ฤตเศรษฐกจิ ต้มยำกงุ้ ปี
พุทธศักราช 2540 จงึ ไดน้ ำแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใชใ้ นการศึกษาปพี ุทธศักราช 2542 และได้
บัญญัตไิ วใ้ นหลกั สูตรแกนกลาง 2551 อยู่ในกล่มุ สาระสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ซึ่งในปจั จบุ ันได้ใส่ไว้ใน
รัฐธรรมนูญปี 2560 ทุกกระทรวงในปัจจบุ ันจึงนำหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งด้วยหลักว่า 3 ห่วง 2 เง่ือนไข 4
มติ ิ มาปรับใช้เพ่ือให้ประเทศไทยพัฒนาอยา่ ง มน่ั คง ม่ังค่งั และยง่ั ยืน

ความรอบรู้ ทนั สมัยน้นั จากการศึกษาเร่ืองบทบาท หนา้ ที่และความรับผิดชอบของครู ทำใหร้ วู้ ่าเรา
จะตอ้ งมีความรอบรปู้ ระสบการณ์ ยิง่ มปี ระสบการณ์ ยิ่งมวี ิธีจัดการกบั ปญั หา รอบรู้เรอ่ื งวชิ าท่สี อน ความรู้ของ
เด็กเกิดจากความรู้ของเราถ้าเรามีน้อยเด็กกจ็ ะได้ความรจู้ ากเราไปน้อย ความรอบรู้ด้านทฤษฎกี ารเรยี นรู้ ทำใหร้ ู้
วิธจี ักการกบั การกับปัญหา รอบรูเ้ ร่ืองเพื่อนร่วมงานไมว่ ่าจะเปน็ คนในหมวด ต่างหมวด ตา่ งฝ่าย นักเรยี น
ผู้ปกครอง ทุกคนคือเพ่ือนร่วมงานเป็นปจั จัยทท่ี ำให้เกิดการกระตุ้นให้กบั ครู รอบรู้เรือ่ งกฎหมาย มนุษยท์ ุกคน
ควรรูก้ ฎหมาย รอบรูข้ ่าวสาร เปน็ ครตู อ้ งทันเหตุการณ์ รอบรูเ้ รือ่ งวิจยั เพราะจะไดท้ ราบถึงปญั หาการจัดการ
เรียนการสอนเพ่อื หาวิธีแก้ไข สว่ นในความทนั สมยั ต้งั แต่สมยั สโุ ขทัยจะมีความทันสมัยในการเกิดตัวอักษร
ภาษาไทยข้นึ สมัยอยุธยามีแบบเรียนให้กับการศกึ ษา มโี รงเรยี นสอนศาสนา รตั นโกสนิ ทรต์ อนต้นมีแบบเรียนเพิม่
มีโรงพมิ พเ์ อกสาร ร.4เห็นถงึ ความสำคญั ของภาษาส่งลูกเรียนภาษาต่างประเทศ ทำให้ ร.5มกี ารปฏิรูปการศึกษา
ครง้ั สำคญั มีการจัดการศกึ ษาอยา่ งมรี ะบบ มีโรงเรยี นเกิดขึ้น มีทุนการศึกษาให้กับประชาชน ร.6นำวิชาลูกเสือเข้า
มา ร.7 ปรับปรุงกระทรวงเพราะพิษเศรษฐกจิ และในปี 2475-ปัจจบุ นั เกิดพระราชบัญญตั ิ ประกาศใชแ้ ผนการ
ศกึ ษาแห่งชาติ แล้วกป็ ฏริ ปู การศกึ ษาอีกคร้ังทำใหเ้ กดิ การศึกแบบปัจจุบนั แต่เน่อื งจากในปจั จุบนั มโี รคโควดิ ทำให้
มีการศึกษาอกี หลายวิธีเพื่อรับมือกับเหตกุ ารณใ์ นปัจจบุ นั

การกา้ วส่สู ังคมยุคเทคโนโลยีย่อมส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษาและการเรียนการสอนอย่างหลีกเลี่ยง
ไม่ได้ที่สังคมต้องได้รับผลจากพัฒนาการทางด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ดังน้ัน
นักการศึกษาหลายท่านจึงได้มีการวิเคราะห์ผลการจัดการเรียนกา รสอนที่ผ่านมารวมทั้งการจัดการศึกษาตาม
สภาพการณ์ในปจั จบุ ันเพ่ือหาแนวทางการพฒั นาปรับปรงุ หลักสตู ร วิธีสอน วัสดอุ ปุ กรณ์การเรียนการสอนและสิ่ง
อานวยความสะดวกต่างๆรวมทั้งเตรียมบุคลากรทเี่ กย่ี วข้องทุกฝา่ ยเพื่อใหเ้ กิดศักยภาพเพยี งพอและเพ่ือให้สอดรับ

287

กบั สภาพทางเศรษฐกิจสังคมด้านเทคโนโลยีข่าวสารข้อมลู ท่เี ปลย่ี นไปไดอ้ ย่างเหมาะสมกบั บรบิ ททางสังคมได้ ไทย
แลนด์ 4.0 เปน็ สงิ่ ท่ีดีประเทศจะต้องมนี วัตกรรมเป็นของตนเองการศึกษา 4.0 เป็นส่วนหน่งึ ของไทยแลนด์ 4.0 ท่ี
จะนำพาไปสู่ความสำเร็จ จึงต้องอาศัยทุกภาคส่วนให้ความร่วมมือ โดยเฉพาะครูต้องปรับการเรียนการสอนตาม
แนวทางสะเตม็ ศึกษา (STEM) และ Active Learning นำมาใชใ้ นการเรยี นการสอนอย่างจรงิ จัง และการเรียนรู้ใน
ศตวรรษที่ 21 เป็นการกำหนดแนวทางยุทธศาสตร์ในการจัดการเรียนรู้ โดยร่วมกันสร้างรูปแบบและแนวปฏิบัติ
ในการเสริมสร้างประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้21 โดยเน้นที่องค์ความรู้ ทักษะ ความเชี่ยวชาญและ
สมรรถนะที่เกิดกับตัวผู้เรียน เพื่อใช้ในการดำรงชีวิตในสังคมแห่งความเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันคุณสมบัติและ
ทักษะที่สำคัญคือ 3R8C เพื่อพัฒนาระบบบริหารโรงเรียนควบคู่กบั การศึกษาของนกั เรยี นเป็นไปได้อย่างง่ายมาก
ขึ้นกว่าสมัยก่อน และปัจจุบันต้องปรับเปลี่ยน มีการศึกษายุค Covid-19 ทำให้คุณครูและนักเรียนต้องปรับตัวสู่
สภาวะการเรยี นรทู้ ่ไี ม่คนุ้ เคย และรบั ภาระทเ่ี พม่ิ มากขนึ้ คุณครตู ้องใชเ้ วลามากขน้ึ ในการเตรยี มการสอน นักเรียน
รับการบ้านและต้องเรียนรู้ด้วยตนเองทีม่ ากกว่าเรียนในชั้นเรยี นมากขึน้ การเรยี นออนไลนก์ ลายมาเป็นค่านิยมใน
การเรียนรูปแบบใหม่ เพราะปัจจุบันในโลกออนไลน์นั้น สามารถเรียนรู้ร่วมกันได้ ถ้ามีเวลาก็สามารถศึกษาด้วย
ตนเอง รวมทง้ั เลือกสิ่งท่ีจะเรียนและเวลาเรยี นไดอ้ กี ดว้ ย

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติได้สนับสนุนให้มีการวิจัยและจัดสัมมนาเกี่ยวกับการปฏิรูป
การศึกษาของประเทศต่างๆ เพ่ือกระตุ้นให้เกดิ การต่นื ตัวในการปฏริ ปู การศึกษาเพอื่ ไม่ให้ล้าหลังประเทศอืน่ ๆ
ประเทศฟินแลนด์ Finland จุดมุ่งหมายของการศึกษาคือ เพื่อสนับสนุนพัฒนาการของนักเรียนให้ เติบโตเป็น
มนษุ ย์ทส่ี มบูรณ์ และเปน็ สมาชิกของสังคมทีร่ ับผิดชอบอย่างมีจรรยาบรรณ และเพอ่ื ใหค้ วามรู้และทกั ษะต่าง ๆ ที่
จะเปน็ ในการดำรงชีวิต

อา้ งอิง

Getupschool. 6 ข้นั ตอน การทำ ว.21 เพ่ือเล่อื นวิทยฐานะ. [ออนไลน์], เข้าถึงไดจ้ าก
https://www.getupschool.com/articles/detail (2564, 16 มนี าคม)

กองบรรณาธิการ วอยซ์ทวี ี ไขปม: เรียนครู หลกั สูตร 4 ปี - 5 ปี มีมาตรฐานตา่ งกนั จรงิ หรือ?. [ออนไลน์],
เขา้ ถงึ ได้จาก : https://www.voicetv.co.th/read/504445 (วันท่คี ้นข้อมูล 2564, 17 มนี าคม)

288

ข้ันตอนการขอใบอนุญาตทำงานให้ครูชาวต่างประเทศ . [ออนไลน]์ , เข้าถงึ ไดจ้ าก :
https://www.educationcenterthailand.com/news-education-center-angthong/6368703
(วนั ท่คี ้นข้อมลู 2564, 18 มีนาคม)

ครวู นั ด.ี สถาบนั ผลติ ครปู ี2563 หลังคุรสุ ภารับรองหลกั สูตร . [ออนไลน]์ , เขา้ ถึงไดจ้ าก :
https://www.kruwandee.com/news-id42621.html (วันท่คี น้ ข้อมลู 2564, 17 มนี าคม)

ครูอัพเดทดอทคอม. แผนภาพอธิบายวิทยฐานะ ช่วงเปลี่ยนผ่าน จากเกณฑ์เก่าไป PA. [ออนไลน์], เข้าถึงได้
จาก https://www.kruupdate.com/35918/ (วันที่ค้นข้อมลู 2564, 16 มนี าคม)

ครอู าชีพดอทคอม. ดร.รัชศักด์ิ แก้วมาลา. การทำวทิ ยฐานะ ว21/2560 . [ออนไลน์], เขา้ ถึงได้จาก :
https://www.kruachieve.com/(วนั ท่ีคน้ ข้อมูล 2564, 16 มีนาคม)

ณัฐนรี ไชยภักดี. (2552). การเปิดรบั ขา่ วสาร ความรู้ ทศั นคติ และพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในโครงการ 7
สี ปันรกั ใหโ้ ลกของประชาชนในเขตกรงุ เทพมหานคร. [ออนไลน์], Available :
http://dspace.bu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/593/3/natnaree_chai.pdf. (วันท่คี ้น
ขอ้ มลู 2564, 22 มนี าคม)

ดร.จิติมา วรรณศรี. (2552). คุณภาพการศึกษากับสมรรถนะของครูที่พึงประสงค์. [ออนไลน์], Available :
ThaiJOso02.tci-thaijo.org › EDKKUJ › article › download (2564, 16 มีนาคม)
นางสาวรัศมี เกยจอหอ และคณะ (2556). วิวัฒนาการการศึกษาไทย. [ออนไลน์], Available :
http://www.kruinter.com/file/40620150830222710-[kruinter.com].pdf. (วันที่ค้นข้อมูล
2564, 22 มีนาคม)

บริษัท โปรเฟสช่ันแนล วีซา่ แอนด์ ทราเวล เซอร์วิส จำกัด . การยื่นขอ Work permit ใบอนุญาตทำงาน .
[ออนไลน์], เขา้ ถึงไดจ้ าก : https://www.visatranslationteam.com/(วนั ที่ค้นข้อมลู 2564, 16
มนี าคม)

แบบเรียนของมหาวิทยาลัยรามคำแหง. หลักสูตรและสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. บทที่ 4 แนวคิด/ทฤษฎี
การเรียน รู้ที่เน ้น พฤติ กรร มแ ล ะกร ะ บวน การ . [ออนไลน์] , Available : http: // old-
book.ru.ac.th/e-book/s/SE742/chapter4.pdf. (วนั ทค่ี ้นขอ้ มลู 2564, 22 มีนาคม)

ประชาชาต.ิ 2560.หลกั สูตรใหม่“ฟินแลนด์” พัฒนา7ทกั ษะสร้างคนแหง่ อนาคต (ออนไลน์).
http://news.voicetv.co.th/thailand/440763.html (2564, 16 มีนาคม)

http://www.birdkm.com/outside-classroom/outsideclass/thai-education-40 : ผู้เขียน ผศ.
ธงชัย สทิ ธิกรณ์.(วนั ทค่ี น้ ขอ้ มลู 2564, 16 มีนาคม)
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: http://osthailand. nic.go.th แผนพัฒนาสถิติทางการ/
แผนพัฒนาสถิติระดับพื้นที่/118-sdgs/257 sustainable-development-goals-sdgs.html. (16
มิถนุ ายน 2559)

289

ผศ.ดร.กัลยาณี พรมทอง. (2559). บทบาท หนา้ ท่ี และความรับผดิ ชอบของคร.ู [ออนไลน]์ , Available :
http://www.ipebk.ac.th/bep/wp-content/uploads/2017/11/Kanlayanee-B3L03.pdf.
(วันทคี่ ้นข้อมลู 2564, 22 มีนาคม)

ผศ.ดร.กลั ยาณี พรมทอง. (2560). กฎหมายที่เกยี่ วข้องกับการศกึ ษา. [ออนไลน์], Available :
http://www.ipebk.ac.th/bep/wp-content/uploads/2017/11/Kanlayanee-B2L5.pdf. (วนั ที่
คน้ ข้อมลู 2564, 16 มีนาคม)

ผ้เู ขยี นศาสตราจารย์ ดร.พฤทธ์ิ ศิริบรรณพทิ ักษ์ และคณะคุรุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย.(ออนไลน)์ ,
เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://backoffice.thaiedresearch.org/ , มหาวิทยาลยั .(วันที่ค้นข้อมูล 2564, 16 มนี าคม)
แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ 2560-2579.(ออนไลน์), เข้าถึงจาก :

http://www.lampang.go.th/public60/EducationPlan2.pdf : สำนักงานเลขาธิการสภา
การศกึ ษา (2560) ,.(วันที่คน้ หาข้อมูล 2564, 16 มีนาคม)
ภาคีเพอ่ื การศึกษาไทย Thailand Education Partnership (TEP)เลขที่ 1168 ซ.พหลโยธนิ 22 ถ.พหลโยธิน
แขวงจอมพล เขตจตจุ ักร กรุงเทพฯ 10900โทรศัพท์ 0-2511-5855โทรสาร 0-2939-2239
รศ.ดร.ประวติ เอราวรรณ์ รองเลขาธกิ าร ก.ค.ศ. ก.ค.ศ. ปรบั ปรุงมาตรฐานตำแหนง่ และมาตรฐาน
วิทยฐานะเปน็ ของขวญั ปใี หม่ใหข้ า้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. [ออนไลน]์ , เข้าถึงได้
จากhttps://www.youtube.com/watch?v=Xe_yrSDY65E (วันท่ีคน้ ข้อมูล 2564, 17 มีนาคม)
ศรวี รรณ แกว้ ทองดี. (2562). แนวทางการพัฒนาตนเองของครใู นสถานศกึ ษา สหวิทยาเขตบึงสามพนั สังกัด
สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 40. [ออนไลน]์ , Available :
http://ns.nsru.ac.th/bitstream/nsruE0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%94
%E0%B8%B5.pdf. (วนั ท่ีค้นข้อมลู 2564, 16 มนี าคม)
สหไทย ไชยพันธ. (2553). ครูผู้สอนกบั แนวปฏบิ ัติในการทำาวิจยั : วิจัยในชั้นเรยี น. [ออนไลน]์ , Available
: ThaiJOli01.tci-thaijo.org › pnujr › article › view. (วันท่คี น้ ข้อมลู 2564, 16 มีนาคม)
สำนักงานเลขาธกิ าครุ สุ ภา. คำแนะนำกาขอหนงั สือขออนุญาตใหป้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา โดยไม่มี
ใบอนุญาตประกอบวชิ าชพี . [ออนไลน]์ , เขา้ ถงึ ได้จาก :
https://www.ksp.or.th/ksp2018/tmplicense/ (วนั ท่ีคน้ ข้อมูล 2564, 18 มนี าคม)
สำนกั งานลูกเสือเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษากำแพงเพชร เขต 2 .วุฒทิ างลกู เสือ [ออนไลน์], เขา้ ถงึ ไดจ้ าก :
https://www.kpp2.go.th/scoutkpp2/inside_page.php?pageid=77 (วนั ที่คน้ ขอ้ มูล 2564, 16
มนี าคม)
สำนักวชิ าการสำนกงั านเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร.น.1-9กรงุ เทพ:สานกบั เลขาธกิ ารสภาผูแ้ ทนราษฎร.น.
เหตผุ ลทท่ี ำให้การศึกษาของฟนิ แลนด์ประสบความสำเร็จเดก็ ๆแฮปป้ี (26ธันวาคม2562).
หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ออนไลน์),เขา้ ถึงได้จาก :
https://www.chaipat.or.th/site_content/item/3579-2010-10-08-05-24-39.html,จดั ทำโดย
มลู นธิ ิชัยพฒั นา,(2564, 16 มีนาคม)

290

หลักสตู รแกนกลาง 2551 (ออนไลน)์ , เข้าถึงได้จาก :
https://drive.google.com/file/d/0B9t56k6dmUe5Z202Wmw5S1dvOGM/view , (วนั ท่ี คน้ หา

ขอ้ มลู 2564, 16 มนี าคม)
อรพรรณ ทมิ ครองธรรม และคณะ. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลตอ่ การจดั การเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21

ของครูสหวิทยาเขตเบญจบรู พา สังกัดสำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 2.
[ออนไลน]์ , Available : ThaiJOwww.tci-thaijo.org › nakboot › article › download.(วนั ท่ีคน้
ข้อมูล 2564, 16 มีนาคม)

บรรณานุกรม

กรมวิชาการ. (2540). แนวทางการสอนท่ีเน้นทกั ษะกระบวนการ. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์คุรสุ ภา ลาดพร้าว.
กระทรวงศึกษาธิการ. คน้ หาจาก https://www.moe.go.th/
กระทรวงศึกษาธิการและวัฒนธรรม. (๒๕๔๙). กฎหมายสำคัญเกี่ยวกับการศึกษา. สืบค้นเมื่อวันที่ ๙ มีานคม

๒๕๖๔. จากเวบ็ ไซต์: https://minedu.fi/yleissivistava-koulutus-lainsaadanto
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและวัฒนธรรม. (๒๕๔๙). พระราชบัญญตั ิการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน (พระราชบญั ญัติฉบับที่

๑๒๐ วันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๔๙). สบื ค้นเม่อื วันที่ ๙ มาี นคม ๒๕๖๔. จาก

เว็บไซต:์ https://www.mext.go.jp/en/policy/education/lawandplan/title01/detail01/137

3798.htmกรงุ เทพฯ:

กฤตวรรณ คำสม. (ตุลาคม ๒๕๕๗). การใช้ฐานขอ้ มูล [PDF]. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาจติ วิทยาสำหรับ
คร,ู อดุ รธานี : มหาวิทยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี สืบค้นเมื่อ ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔, จากเวบ็ ไซด์
http://1ab.in/Top p0y

กองบรรณาธิการ วอยซ์ทวี ี ไขปม: เรยี นครู หลกั สูตร 4 ปี - 5 ปี มีมาตรฐานตา่ งกนั จรงิ หรือ?. [ออนไลน์],
เขา้ ถึงไดจ้ าก : https://www.voicetv.co.th/read/504445 (2564, 17 มีนาคม)

กนั ยา สุวรรณแสง. (2532). จิตวิทยาทั่วไป.กรุงเทพฯ. สำนักพมิ พ์ บำรงุ สานส์ .
การคุรสุ ภาคร้ังท่ี ๖/๒๕๔๘ วันท่ี ๑๘ เมษายน ๒๕๔๘

การศกึ ษาบณั ฑติ มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ ประสานมติ ร, 2517.
กำธร พันธุ์ลาภ. (๒๕๖๒). "กฎกระทรวง". สารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน, (เล่ม ๒ : ก-กลากเหล็ก).

(พมิ พ์คร้งั ทสี่ าม). กรงุ เทฯ : ไพศาลศิลป์การพมิ พ.์ หน้า ๒๗-๓๘
กิตินันท์ โนสุ และเสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2557). องค์ประกอบและตัวบ่งชี้จิตวิญญาณความ เป็นครู

สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดภาคเหนือตอนบน.วารสารการวิจัย
กาสะลองคำ8, 1 : 53-65. เชียงราย : มหาวิทยาลัยราชภฏั เชยี งราย.
กีรติ บญุ เจอื . (2546) “เร่มิ รจู้ ักปรัชญา” ในชุด ปรัชญาและศาสนาเซนต์จอห์น, กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลัยเซนต์
จอห์น.
กุญชรี ค้าขาย (2540).จิตวิทยาการเรียนการสอน. ก รุงเทพมหานคร : ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะ
แนวคณะครุศาสตร์ สถาบนั ราชภัฏสวนสนุ นั ทา.
แก้วกลา้ มีชยั โย.[ออนไลน์].
ขอ้ บงั คบั ครุ ุสภาวา่ ดว้ ยมาตรฐานวชิ าชีพ.(2562).
ขอ้ บงั คบั ครุ ุสภาว่าดว้ ยมาตรฐานวชิ าชพี และจรรยาบรรณของวชิ าชีพ พ.ศ. 2548, น 40)

ขั้นตอนการขอใบอนุญาตทำงานให้ครูชาวต่างประเทศ . [ออนไลน]์ , เข้าถงึ ไดจ้ าก :
https://www.educationcenterthailand.com/news-education-center-angthong/6368703 (2564, 18
มีนาคม) เขา้ ถึงได้จาก : http://dontong52.blogspot.com/ . วนั ท่ีสืบคน้ ข้อมลู 7 กรกฏาคม 2555.
คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา, ปี ๒๕๖๒, แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา (ออนไลน์)

แหล่งทมี่ า : http://backoffice.onec.go.th/uploads/Book/1699-file.pdf

ครูวันด.ี สถาบนั ผลติ ครปู ี2563 หลงั คุรสุ ภารบั รองหลกั สูตร . [ออนไลน]์ , เข้าถึงได้จาก :

https://www.kruwandee.com/news-id42621.html (2564, 17 มนี าคม)

ครูอัพเดทดอทคอม. แผนภาพอธบิ ายวทิ ยฐานะ ช่วงเปล่ียนผา่ น จากเกณฑ์เกา่ ไป PA. [ออนไลน์], เขา้ ถึงได้

จาก https://www.kruupdate.com/35918/ (2564, 16 มีนาคม)

ครอู าชีพดอทคอม. ดร.รัชศกั ด์ิ แกว้ มาลา. การทำวทิ ยฐานะ ว21/2560 . [ออนไลน]์ , เข้าถงึ ไดจ้ าก :

https://www.kruachieve.com (2564, 16 มนี าคม)

ความเกรงใจของนักเรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ในเขตการศกึ ษา 3. ปริญญานิพนธ์ คอร์ปอเรชั่น กรุงเทพฯ.
คาร์ล อาร์ โรเจอร์ . (2532). จิตวทิ ยาท่ัวไป.กรุงเทพฯ. สำนกั พมิ พ์ บำรุงสาสน์ .

โครงการพระเมตตาสมเด็จย่า. (2552). รางวลั ครเู จ้าฟ้ากรมหลวงนราธวาสราชนครินทร์
จาก : http://www.learners.in.th/blogs/posts/386486 . วันท่สี ืบค้นขอ้ มูล
จาก http://panidar7241.blogspot.com/2013/07/blog-post_27.html
จาก http://www.thaisuprateacher.org.
จาก https://sites.google.com/site/krutubtib/khru/laksna-khxng-khru-thi-di

จิตติ ตงิ ศภัทยิ .์ (๒๕๔๖). กฎหมายอาญา ภาค ๑. กรุงเทพมหานคร. เนติบัณฑติ ยสภา.

จินตนา ยนู พิ นั ธ์ุ, หลกั คุณธรรมจรยิ ธรรมสาํ คัญของศาสนาคริสต์. (2548, น. 360).

จรี ะวุฒิ โคกใหญ่. (2557). ลักษณะของครทู ีด่ ี.7 มนี าคม 2564,
ชยั วัฒน์ สทุ ธริ ัตน์. (๒๕๕๕). นวัตกรรมการจัดการเรยี นรท้ เี นน้ ผู ้เรยี นเปน็ สาํ คัญู. กรงุ เทพฯ : แดเนก็ ซ์

อนิ เตอร์คอร์ปอเรชัน. ๘๐
ชัยวฒั น์ สทุ ธิรัตน์. สอนเด็กใหม้ ีจติ สาธารณะ. กรุงเทพฯ : วี พรินท์ , 2552.
ชัยวัฒน์ สทุ ธิรัตน์.(2552).80 นวัตกรรมการจดั การเรยี นรูท้ เี่ นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคญั .แดเนก็ ซ์ อินเตอร์
ชุติมา ประมวลสุข.(2563).เอกสารประกอบการสอนวิชาความเป็นครู มหาวิทยาลัยราชภัฎ ภูเก็ต,
จาก https://anyflip.com/dedoj/tarx/basic/301-319
ณัชชากัญญ์ วิรัตนชยั วรรณ. ทฤษฏีการเรียนรู้กลุม่ มนษุ ยนยิ ม (Humanism). (ออนไลน)์ . เขา้ ถึงได้
ณัฏฐภรณ์ หลาวทอง และปิยวรรณ วิเศษสุวรรณภูมิ. (2553). การพัฒนาแบบวัดจิตวิญญาณ ความเป็นครู.
กรงุ เทพฯ : คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั .

ณัฐนรี ไชยภกั ดี. (2552). การเปดิ รบั ขา่ วสาร ความรู้ ทัศนคติ และพฤตกิ รรมการมสี ่วนรว่ มในโครงการ 7 สี
ปันรกั ใหโ้ ลกของประชาชนในเขตกรงุ เทพมหานคร. [ออนไลน]์ , Available :
http://dspace.bu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/593/3/natnaree_chai.pdf. (2564, 22 มนี าคม)

ดร.จติ มิ า วรรณศรี. (2552). คุณภาพการศึกษากบั สมรรถนะของครทู ี่พงึ ประสงค์. [ออนไลน์], Available :
ThaiJOso02.tci-thaijo.org › EDKKUJ › article › download (2564, 16 มีนาคม)
ดวงพร เพชรคง.(๒๕๕๙). กฎหมายกับการกระทำความผดิ ของเด็กและเยาวชน

ถนั แพรเพชร. การศกึ ษาความสัมพันธร์ ะหว่างการอบรมเลย้ี งดเู ดก็ กบั ความคดิ สร้างสรรคแ์ ละ
ทวีเกยี รติ มีนะกนิษฐ. ประมวลกฎหมายอาญา ฉบบั อ้างองิ . https://nisaratpalm.wordpress.com/
ทัศนา ประสานตรี. การปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครู. วารสารวิชาการหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัย

ราชภัฎสกลนคร ทางการอาชีวะและเทคนิคศึกษาสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหาร
ลาดกระบัง.
ทศิ นา แขมมณี (2553) .ศาสตรก์ ารสอน:องค์ความรู้เพ่ือการจัดกระบวนการเรียนรูท้ ีม่ ี
ทิศนา แขมมณี (พมิ พ์ครั้งท่ี 8),ศาสตรก์ ารสอน. กรงุ เทพฯ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย 2551

ทิศนา แขมมณ.ี (2545). ลัทธิวตั ถุนิยมหรือสจั นิยม. ปรชั ญาและปรัชญาการศกึ ษา.
จาก https://sites.google.com/site/afathplas/
ทศิ นา แขมมณี. (2547). ศาสตรก์ ารสอน : องค์ความรู้เพอื่ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ท่ีมี
ทิศนา แขมมณ.ี (2555) ศาสตร์การสอน. พิมพ์ครัง้ ท่ี 15. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์

ธรรมนันทิกา แจ้งสว่าง. (2554). ประสบการณ์ของการเป็นครูผู้มีจิตวิญญาณความเป็นครู : การศึกษาเชิง
ปรากฏการณ์วิทยา. ปริญญานิพนธ์ วทด. (การวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์) กรุงเทพฯ : บัณฑิต
วทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรว์ ิโรฒ.

ธรรมะไทย การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาเข้าสปู่ ระเทศจีน. [ออนไลน์], เข้าถงึ ได้จาก : http://old-
book.ru.ac.th/e-book/p/PY225/py225-1-1.pdf (2564, 26 กุมภาพนั ธ์)

ธวัชชัย เพ็งพินิจ. (2550) ศาสตร์ว่าด้วย “จิตวิญญาณครู”. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 14 เมษายน 2563 , จาก
http://gotoknow.org/blog/spirituality/153240.

นวพร ดำแสงสวัสด์ิ,พชั รี รตั นพงษ์, และสธุ าสนิ ี เจยี ประเสรฐิ . (2562). ปรัชญาประสบการณ์นยิ ม. ปรชั ญา
ประสบการณ์นยิ ม และการพัฒนาสู่การจดั การศึกษาพยาบาลในศตวรรษที่ 21. 62(1). 177.
นนั ทวฒั น์ บญุ ไธสง. (2543) ทฤษฎีเกสตลั ท์ (Gestalt Theory). ออนไลน์,สืบค้นจากอินเทอร์เน็ต

นางสาวรัศมี เกยจอหอ และคณะ (2556). ววิ ัฒนาการการศึกษาไทย. [ออนไลน]์ , Available :
http://www.kruinter.com/file/40620150830222710-[kruinter.com].pdf. (2564, 22 มนี าคม)
บริษทั โปรเฟสชั่นแนล วีซ่า แอนด์ ทราเวล เซอร์วสิ จำกัด . การย่ืนขอ Work permit ใบอนญุ าต
ทำงาน . [ออนไลน์], เขา้ ถงึ ได้จาก : https://www.visatranslationteam.com (2564, 18 มนี าคม)
บริษัท อมรินทร์พริ้นต้ิงแอนด์พับลิชชง่ิ จำกดั (มหาชน). ศาสนาเชน: วิถีแห่งอหิงสา. [ออนไลน์], เข้าถึง
ไดจ้ าก : https://ngthai.com/cultures/13974/jainism-religion/ (2564, 20 กมุ ภาพันธ์)
บรหิ ารการศกึ ษา กล่มุ ดอนทอง 52. ทฤษฏีการเรียนรูก้ ล่มุ มนุษยนิยม (Humanism). (ออนไลน์).

บวรศักดิ์ อวุ รรณโณ,กฎหมายมหาชน เล่ม ๓ ที่มาและนติ ิวิธี,กรงุ เทพ,สำนักพิมพ์นิติธรรม,พิมพ์คร้ังที่๑,๒๕๓๘ใจ
จริง, ณฐั พล (๒๕๕๖). ขอฝันใฝใ่ นฝนั อนั เหลือเชื่อ: ความเคล่อื นไหวของขบวนการปฏิปักษ์ปฏิวัติสยาม
(พ.ศ. ๒๔๗๕-๒๕๐๐) (๑ ed.). ฟ้าเดยี วกนั .

บาทหลวงวฒุ ิชยั ออ่ งนาวา. (2551). เปรยี บเทียบปรัชญษตะวนั ตกกับปรชั ญาตะวนั ออก. [ออนไลน์], Available
: http://franciswut01.blogspot.com/. (2564, 17 กมุ ภาพันธ)์

เบญจภรณ์ ศรเี มอื ง. ศาสนาซิกข์. [ออนไลน์], เข้าถึงไดจ้ าก
:https://sites.google.com/site/socialbuddhismm4/unit_9_4#:~:text (2564, 18 กุมภาพันธ)์

แบบเรยี นของมหาวิทยาลยั รามคำแหง. หลักสูตรและสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์. บทท่ี 4 แนวคดิ /ทฤษฎกี าร
เรยี นรูท้ เี่ นน้ พฤติกรรมและกระบวนการ. [ออนไลน์], Available : http://old-book.ru.ac.th/e-
book/s/SE742/chapter4.pdf. (2564, 22 มนี าคม)

ปณิดา ปัตตาทานงั . (2021). หน้าท่พี ลเมือง,สบื ค้นเมื่อ 7 มนี าคม 2564.
ประเทศเพื่อนบ้านของไทย. ประเทศอินเดยี . [ออนไลน]์ , เขา้ ถึงได้จาก :
http://www.thaiheritage.net/nation/neighbour/india2.htm (2564, 23 กมุ ภาพันธ์)

ประเทือง ภมู ภิ ัทราคม. (2540). การปรบั พฤติกรรม: ทฤษฎีและการประยกุ ต์ พิมพค์ ร้ังท่ี 1.
ประสาท อศิ รปรีดา. (2538). ทฤษฎีการเรยี นรู้. กรุงเทพฯ:มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช.

ประสทิ ธิภาพ. พิมพ์คร้งั ท่ี 3 . กรงุ เทพฯ: สำนกั พิมพ์แห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั
ประสทิ ธิภาพ.จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.กรุงเทพ
ปราชญา กล้าผจัญ. (๒๕๔๙). คุณธรรมจริยธรรมผู้นำรัฐ. กรงุ เทพฯ: ก. พล การพิมพ์ จำกดั .

ปรวิ ัตร เข่ือนแก้ว. (2563). ปรัชญาทางการศึกษา. จาก http://wijai48.com

ปรีดี หงษ์สต้น. “เชือดไก่ให้ลิงดู: รัฐไทยกับการทำลายศัตรูด้วยนาฏกรรม. ” วารสารประวัติศาสตร์
ธรรมศาสตร์ ๑, ๒ (ต.ค. ๒๕๕๗-ม.ี ค. ๒๕๕๘), น. ๔๓-๙๙.

ปานทิพย์ ศภุ นคร มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง. ปรัชญาจนี (Chinese Philosophy). E-book. [ออนไลน]์ , เขา้ ถึง
ไดจ้ าก : http://old-book.ru.ac.th/e-book/inside/html/dlbook.asp?code=PY225 (2564, 20
กุมภาพันธ์)


Click to View FlipBook Version