The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kanyakudfoo, 2021-06-26 23:33:22

รูปแบบการบริหารงานวิชาการสู้ความเป็นเลิศของโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น


รูปแบบการบรหิ ารงานวิชาการสํูความเปน็ เลศิ ของโรงเรียนสงั กดั องค๑กรปกครองสํวนท๎องถ่นิ

อมลรดา พุทธนิ นั ท๑

ดุษฎนี ิพนธ๑น้ีเป็นสวํ นหน่งึ ของการศึกษาตามหลกั สูตรปรัชญาดษุ ฎบี ณั ฑิต
สาขาวิชาการบริหารการศึกษา

คณะศกึ ษาศาสตร๑ มหาวทิ ยาลัยบรู พา
มถิ นุ ายน 2561

ลิขสิทธเิ์ ป็นของมหาวิทยาลัยบรู พา



คณะกรรมการควบคุมดุษฎนี ิพนธ๑และคณะกรรมการสอบดษุ ฎีนพิ นธ๑ ได๎พจิ ารณา
ดษุ ฎนี ิพนธข๑ อง อมลรดา พุทธนิ นั ท๑ ฉบบั น้แี ลว๎ เห็นสมควรรับเป็นสวํ นหนึง่ ของการศึกษา
ตามหลกั สูตรปรัชญาดุษฎบี ัณฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษา ของมหาวทิ ยาลัยบรู พาได๎

คณะกรรมการควบคุมดุษฎีนิพนธ๑

…………………………………………………อาจารย๑ท่ีปรึกษาหลกั
(รองศาสตราจารย๑ ดร.ธร สุนทรายุทธ)

…………………………………………………อาจารย๑ทปี่ รึกษารวํ ม
(ผูช๎ ํวยศาสตราจารย๑ นาวาตรี ดร.พงศ๑เทพ จิระโร)

คณะกรรมการสอบดุษฎีนพิ นธ๑

…………………………………………………ประธาน
(รองศาสตราจารย๑ ดร.สเุ มธ เดียวอศิ เรศ)

…………………………………………………กรรมการ
(รองศาสตราจารย๑ ดร.ธร สุนทรายุทธ)

…………………………………………………กรรมการ
(ผ๎ชู ํวยศาสตราจารย๑ นาวาตรี ดร.พงศ๑เทพ จิระโร)

…………………………………………………กรรมการ
(รองศาสตราจารย๑ ดร.สุเมธ งามกนก)

คณะศกึ ษาศาสตร๑อนุมัติให๎รับดษุ ฎีนพิ นธ๑ฉบับนเี้ ปน็ สวํ นหนง่ึ ของการศึกษา
ตามหลักสตู รปรัชญาดษุ ฎีบัณฑติ สาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา ของมหาวิทยาลัยบูรพา

.............................................................................คณบดีคณะศึกษาศาสตร๑
(รองศาสตราจารย๑ ดร.วิชติ สรุ ตั น๑เรืองชยั )
วนั ท.่ี .............เดือน..............................พ.ศ. 2561



กิตติกรรมประกาศ

ดษุ ฎีนิพนธฉ๑ บบั นี้ สาเร็จลลุ วํ งไปได๎ดว๎ ยดีเพราะได๎รับความกรณุ าให๎คาปรึกษา ข๎อเสนอแนะ
ปรับปรุง จากรองศาสตราจารย๑ ดร.ธร สนุ ทรายุทธ ประธานกรรมการควบคมุ ดษุ ฎีนพิ นธ๑ รองศาสตราจารย๑
ดร.สุเมธ เดยี วอศิ เรศ ผูช๎ วํ ยศาสตราจารย๑ นาวาตรี ดร.พงศเ๑ ทพ จิระโร ทป่ี รึกษารํวมท่ีไดใ๎ หแ๎ นวคดิ
ตลอดจนวิธีการวิจัย สํงผลให๎งานวิจัยฉบับนี้มีความสมบรู ณ๑ ผ๎ูวิจัยจึงขอขอบพระคุณเป็นอยํางสูง
ณ โอกาสนี้

ผูว๎ จิ ยั ขอกราบขอบพระคณุ คณาจารย๑ในภาควิชาบรหิ ารการศึกษาทุกทาํ นทไ่ี ดใ๎ หค๎ วามร๎ู
และประสบการณท๑ ี่มีคณุ คาํ ยง่ิ รวมทง้ั ให๎คาแนะนาตําง ๆ เพอื่ ใหง๎ านวจิ ัยสาเร็จลงได๎ดว๎ ยดี

ขอกราบขอบพระคุณผ๎ูเชย่ี วชาญ ผูบ๎ ริหารสถานศึกษา และ/ หรือหวั หนา๎ งานวิชาการทกุ ทําน
ทกี่ รุณาให๎ความอนุเคราะหใ๑ นการเกบ็ รวบรวมข๎อมูล พร๎อมท้ังให๎คาแนะนาข๎อมูลที่เป็นประโยชนย๑ ่ิง
กับกระบวนการวิจัยในข้ันตอนตําง ๆ ในการวิจยั ครงั้ นเ้ี ป็นอยาํ งดี

สุดทา๎ ย ขอขอบคณุ ผ๎ูมพี ระคุณทุกทาํ น บคุ คลในครอบครัว นักศกึ ษาภาควชิ าการบริหาร
การศกึ ษา รุนํ ท่ี 6 ท่เี ปน็ กาลงั ใจในการดาเนินงาน จนทาใหด๎ ษุ ฎนี ิพนธฉ๑ บับน้ีเสรจ็ สมบูรณด๑ ๎วยดี

อมลรดา พุทธินนั ท๑



54810129: สาขาวชิ า: การบรหิ ารการศึกษา; ปร.ด. (การบรหิ ารการศกึ ษา)
คาสาคัญ: รปู แบบการบริหารงานวิชาการ/ สํูความเป็นเลิศของโรงเรยี น/ สังกัดองค๑กรปกครองสวํ นทอ๎ งถิ่น

อมลรดา พทุ ธินันท๑: รปู แบบการบรหิ ารงานวชิ าการสคํู วามเปน็ เลิศของโรงเรยี น สังกดั องคก๑ ร
ปกครองสวํ นท๎องถิน่ (A MODEL OF ACADEMIC ADMINISTRATION TOWARDS EXCELLENCE
FOR SCHOOLS UNDER THE LOCAL ADMINISTRATION ORGANIZATION) คณะกรรมการควบคุม
ดุษฎนี พิ นธ๑: ธร สนุ ทรายุทธ, Ph.D., พงศเ๑ ทพ จิระโร, ค.ด. 294 หน๎า. ปี พ.ศ. 2561.

งานวิจัยนี้มีวตั ถปุ ระสงคเ๑ พื่อ 1) ศึกษาองค๑ประกอบของการบริหารงานวิชาการสูคํ วามเป็นเลิศ
ของโรงเรียนสังกัดองค๑กรปกครองสํวนท๎องถ่ิน 2) พัฒนารปู แบบการบริหารงานวิชาการสํูความเป็นเลิศ
ของโรงเรียนสังกดั องค๑กรปกครองสํวนท๎องถน่ิ และ 3) สรา๎ งคํมู ือการปฏิบัติงานวชิ าการสคูํ วามเป็นเลศิ ของ
โรงเรียนสงั กัดองค๑กรปกครองสํวนท๎องถ่ิน และตรวจสอบรปู แบบการบริหารงานวิชาการสคํู วามเปน็ เลศิ
ของโรงเรียนสงั กัดองค๑กรปกครองสวํ นท๎องถนิ่ โดยศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยท่ีเกีย่ วข๎อง วิเคราะห๑
สังเคราะห๑ข๎อมูล จากน้ันใช๎เทคนคิ การวิจยั แบบ EDFR (Ethnographic Delphi Futures Research) ในการพัฒนา
รูปแบบการบรหิ ารงานวิชาการสคํู วามเป็นเลิศของโรงเรยี นสังกดั องค๑กรปกครองสวํ นท๎องถิ่น สรา๎ งคมูํ อื
การปฏบิ ัตงิ านวชิ าการสํูความเปน็ เลิศของโรงเรียนสังกดั องค๑กรปกครองสํวนทอ๎ งถิ่น สกูํ ารปฏบิ ัติไดจ๎ รงิ
และตรวจสอบรปู แบบการบรหิ ารงานวิชาการสูํความเปน็ เลิศของโรงเรยี นสังกดั องค๑กรปกครองสํวนท๎องถิ่น

ผลการวจิ ยั พบวาํ
1. รูปแบบการบรหิ ารงานวิชาการสคํู วามเป็นเลศิ ของโรงเรยี นสังกัดองค๑กรปกครองสํวนท๎องถ่ิน
ทไ่ี ด๎จากการวิเคราะหเ๑ อกสารและงานวจิ ัยท่เี กย่ี วข๎อง ประกอบด๎วย 4 องค๑ประกอบหลกั ดังน้ี 1) ภาวะผ๎ูนา
ทางวชิ าการ 2) ภารกจิ และขอบขาํ ยงานวชิ าการในโรงเรียน 3) กระบวนการบริหารงานวชิ าการ 4) การมสี ํวนรํวม
ในการบริหารงานวชิ าการ
2. ผลการพัฒนารปู แบบการบริหารงานวิชาการสํูความเป็นเลศิ ของโรงเรยี นสังกัดองค๑กรปกครอง
สํวนท๎องถ่ิน โดยใช๎เทคนิคการวิจัยแบบ EDFR พบวํา องค๑ประกอบทุกองค๑ประกอบ มีความเหมาะสม
ทุกตัวบํงช้ี (มคี าํ มัธยฐานต้ังแตํ 3.50 ขนึ้ ไป, คาํ พิสยั ระหวาํ งควอไทล๑ไมํเกิน 1.50 และผลตํางระหวาํ งฐานนิยม
กบั มัธยฐานไมํเกิน 1.50) องค๑ประกอบของรปู แบบการบริหารงานวชิ าการสคํู วามเป็นเลิศของโรงเรยี น
สงั กดั องค๑กรปกครองสํวนท๎องถิ่น มี 4 องค๑ประกอบ ประกอบด๎วย 19 องคป๑ ระกอบหลัก 114 ตวั บํงชี้
ผ๎ูบริหารสถานศึกษา และ/ หรอื หัวหน๎างานวิชาการ มีความคดิ เห็นสอดคล๎องกันวาํ มีความเหมาะสมท้งั หมด
อยํใู นระดบั มากถึงมากท่สี ดุ
3. คมูํ อื การปฏิบตั ิงานวชิ าการสูคํ วามเป็นเลศิ สังกดั องค๑กรปกครองสวํ นท๎องถนิ่ ผเ๎ู ชี่ยวชาญ
ผู๎บรหิ ารสถานศึกษา และหัวหน๎างานวชิ าการมีความเหน็ วําเหมาะสมอยูใํ นระดบั มากถึงมากท่สี ดุ



54810129: MAJOR: EDUCATIONAL ADMINISTRATION; Ph.D.
(EDUCATIONAL ADMINISTRATION)

KEYWORDS: MODEL OF ACADEMIC ADMINISTRATION/ ACADEMIC EXCELLENCE
AMONRADA PUTTINUN: A MODEL OF ACADEMIC ADMINISTRATION

TOWARDS EXCELLENCE FOR SCHOOLS UNDER THE LOCAL ADMINISTRATION
ORGANIZATION. ADVISORY COMMITTEE: DHORN SUNTRAYUTH, Ph.D., PONGTHEP
JIRARO, Ph.D. 294 P. 2018.

The purposes of this research were to; 1) study factors of academic administration for
excellence for schools under the local administration organization 2) develop model of academic
administration for excellence for schools under the local administration organization 3) construct
manuals and evaluate the model of the academic administration for excellence for schools under the
local administration organization by studying the concept, theory, research and analyze, synthesis
data. The research methodology were EDFR (Ethnographic Delphi Futures Research) for developing
model and manuals, and evaluate the model.

The findings reveled that;
1. There were 4 factors of the model of academic administration for excellence for schools
under the local administration organization they consisted of 1) Academic leadership 2) tasks and
framework of school’s academic 3) process of academic administration 4) participation of academic
administration.
2. The result developed model of academic administration for excellence for schools
under the local administration organization using EDFR (Ethnographic Delphi Futures Research)
research methodology were found having 4 factors be appropriate in any indicators (upper 3.50 of
median and lower than 1.50 of quartile rage and the difference of mode and median not over 1.50)
The 4 factors of model of academic administration for excellence for schools under the local
administration organization divided in to 19 core factors and 114 indicators. The opinion of
administrators were congruence at high and highest level.
3. The opinion of expert and administrator for the manuals of the academic administration
for excellence for schools under the local administration organization were congruence at high and
highest level.



สารบัญ

หน๎า
บทคดั ยํอภาษาไทย..................................................................................................................... ง
บทคดั ยํอภาษาอังกฤษ................................................................................................................. จ
สารบัญ....................................................................................................................................... ฉ
สารบัญตาราง.............................................................................................................................. ซ
สารบัญภาพ................................................................................................................................. ญ
บทที่

1 บทนา................................................................................................................................. 1
ความเปน็ มาและความสาคญั ของปัญหา................................................................... 1
วตั ถุประสงค๑ของการวจิ ัย......................................................................................... 6
คาถามในการวิจยั ..................................................................................................... 6
ประโยชน๑ที่ได๎รบั จากการวิจัย.................................................................................. 6
กรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย.......................................................................................... 6
ขอบเขตของการวจิ ัย................................................................................................ 15
นิยามศัพทเ๑ ฉพาะ...................................................................................................... 17

2 เอกสารและงานวิจัยทเ่ี กีย่ วขอ๎ ง.......................................................................................... 20
ความเปน็ เลิศ............................................................................................................ 21
แนวคดิ ทฤษฎีเกย่ี วกับการพัฒนาคุณภาพองคก๑ ร.................................................... 27
แนวคดิ เกยี่ วกบั ความเปน็ เลศิ ของโรงเรยี น.............................................................. 34
การบริหารงานวิชาการ............................................................................................ 50
การจดั การศึกษาขององคก๑ รปกครองสํวนท๎องถิน่ ................................................... 105
งานวจิ ัยท่เี กยี่ วข๎อง................................................................................................... 113

3 วิธีดาเนนิ การวิจัย............................................................................................................... 122
ระเบยี บวิธีการวจิ ัย................................................................................................... 122
ขั้นตอนการวิจยั ........................................................................................................ 124
เครื่องมอื ที่ใชใ๎ นการวิจยั .......................................................................................... 129



สารบญั (ตอ่ )

บทท่ี หน๎า
การเกบ็ รวบรวมข๎อมลู ............................................................................................. 132
การวเิ คราะห๑ขอ๎ มูลและสถิตทิ ใ่ี ชใ๎ นการวิเคราะหข๑ อ๎ มูล.......................................... 133

4 ผลการวิเคราะหข๑ อ๎ มูล........................................................................................................ 135
สญั ลักษณ๑ทีใ่ ช๎ในการเสนอผลการวิเคราะห๑ข๎อมูล.................................................. 135
ผลการวเิ คราะหข๑ ๎อมูล.............................................................................................. 136

5 สรุป อภปิ รายผล และข๎อเสนอแนะ.................................................................................... 175
สรปุ ผลการวิจัย........................................................................................................ 176
อภิปรายผลการวจิ ัย.................................................................................................. 183
ขอ๎ เสนอแนะ............................................................................................................ 192

บรรณานุกรม.............................................................................................................................. 193
ภาคผนวก................................................................................................................................... 203

ภาคผนวก ก....................................................................................................................... 204
ภาคผนวก ข....................................................................................................................... 214
ภาคผนวก ค....................................................................................................................... 239
ภาคผนวก ง....................................................................................................................... 242
ภาคผนวก จ....................................................................................................................... 272
ภาคผนวก ฉ....................................................................................................................... 274
ภาคผนวก ช....................................................................................................................... 276
ภาคผนวก ซ....................................................................................................................... 278
ภาคผนวก ฌ....................................................................................................................... 280
ภาคผนวก ญ....................................................................................................................... 282
ภาคผนวก ฎ....................................................................................................................... 292
ประวตั ิยอํ ของผว๎ู ิจยั .................................................................................................................... 294



สารบัญตาราง

ตารางที่ หน๎า

1 สรุปผลการศึกษาวิเคราะห๑ เอกสาร แนวคดิ ทฤษฎี และงานวิจยั ท่ีเกี่ยวขอ๎ ง

กับการพัฒนาคุณภาพองค๑การ และความเป็นเลิศของโรงเรียน.................................... 8

2 สรุปผลการศึกษาวิเคราะห๑ เอกสาร แนวคดิ ทฤษฎี และงานวิจัยทเี่ กี่ยวกบั การบริหาร

งานวชิ าการ................................................................................................................... 12

3 ความสัมพนั ธร๑ ะหวํางโครงสรา๎ งพ้นื ฐาน McKinsey Framework 7-S กบั คุณลักษณะ

ของความเป็นเลิศในเชงิ บริหาร.................................................................................... 49

4 บทบาทของผท๎ู เี่ กย่ี วขอ๎ งในการเทียบโอนผลการเรยี น................................................. 80

5 การลดลงของคาํ ความคลาดเคลื่อน.............................................................................. 123

6 คาํ สถิติ และความเหมาะสมของรูปแบบการบริหารงานวชิ าการสูํความเปน็ เลิศของ

โรงเรยี นสังกัดองคก๑ รปกครองสํวนท๎องถ่ิน องค๑ประกอบที่ 1 ภาวะผู๎นาทางวชิ าการ..... 142

7 คําสถติ ิ และความเหมาะสมของรูปแบบการบริหารงานวิชาการสูํความเป็นเลศิ ของ

โรงเรยี นสังกัดองค๑กรปกครองสวํ นท๎องถ่ิน องคป๑ ระกอบที่ 2 ภารกิจและขอบขาํ ย

งานวชิ าการในโรงเรียน................................................................................................ 144

8 คําสถิติ และความเหมาะสมของรปู แบบการบริหารงานวิชาการสํคู วามเป็นเลศิ ของ

โรงเรียนสังกัดองคก๑ รปกครองสํวนท๎องถิ่น องค๑ประกอบที่ 3 กระบวนการ

บรหิ ารงานวชิ าการ....................................................................................................... 151

9 คาํ สถติ ิ และความเหมาะสมของรปู แบบการบริหารงานวชิ าการสูคํ วามเป็นเลิศของ

โรงเรียนสังกดั องคก๑ รปกครองสํวนทอ๎ งถน่ิ องคป๑ ระกอบที่ 4 การมสี วํ นรํวม

ในการบรหิ ารงานวชิ าการ............................................................................................ 154

10 คาํ สถิติ และความเหมาะสมของรูปแบบการบรหิ ารงานวิชาการสูํความเป็นเลิศของ

โรงเรียนสังกัดองคก๑ รปกครองสํวนท๎องถิ่น องค๑ประกอบท่ี 1 ภาวะผู๎นาทางวชิ าการ..... 156

11 คําสถติ ิ และความเหมาะสมของรปู แบบการบริหารงานวิชาการสคํู วามเป็นเลิศของ

โรงเรยี นสงั กดั องค๑กรปกครองสวํ นทอ๎ งถน่ิ องคป๑ ระกอบที่ 2 ภารกจิ และขอบขาํ ย

งานวิชาการในโรงเรียน................................................................................................ 159

12 คําสถิติ และความเหมาะสมของรปู แบบการบริหารงานวิชาการสคํู วามเป็นเลิศของ

โรงเรียนสงั กดั องคก๑ รปกครองสวํ นท๎องถ่ิน องคป๑ ระกอบท่ี 3 กระบวนการ

บรหิ ารงานวิชาการ....................................................................................................... 167



สารบญั ตาราง (ต่อ)

ตารางที่ หน๎า

13 คําสถติ ิ และความเหมาะสมของรูปแบบการบริหารงานวชิ าการสํูความเป็นเลิศของ

โรงเรยี นสังกดั องค๑กรปกครองสวํ นท๎องถิ่น องค๑ประกอบท่ี 4 การมสี วํ นรวํ ม

ในการบรหิ ารงานวชิ าการ............................................................................................ 170

14 ผลการประเมนิ ความเหมาะสมของคมํู อื การปฏบิ ตั ิงานวชิ าการสํูความเปน็ เลิศ

ของโรงเรยี นสงั กัดองคก๑ รปกครองสวํ นท๎องถนิ่ ......................................................... 172



สารบัญภาพ

ภาพท่ี หน๎า
1 กรอบแนวคิดในการวิจัย................................................................................................. 14
2 ตัวแบบท่ใี ช๎ในการประเมนิ รางวัลคณุ ภาพแหํงยุโรป (European Quality Award:
EQA).............................................................................................................................. 27
3 ระดับผลลพั ธด๑ า๎ นลูกคา๎ ผลลพั ธด๑ า๎ นการเงินและตลาด ผลลพั ธด๑ า๎ นการปฏิบตั ิงาน....... 29
4 การเชอื่ มโยงประเดน็ ในระบบพื้นฐานของรางวลั คุณภาพแหํงชาตปิ ระเทศญ่ีปุ่น.......... 33
5 ความสัมพันธข๑ ององคป๑ ระกอบตามแนวคิดของแมคคนิ ซี............................................. 42
6 การใช๎การวจิ ยั เพ่ือพฒั นาการเรียนร.ู๎ ............................................................................... 86
7 ความสมั พันธข๑ องแนวคิดการประเมินคุณภาพ และการบรหิ ารแบบครบวงจร.............. 97
8 ข้ันตอนการดาเนินการประกนั คณุ ภาพภายใน.................................................................. 97
9 ขนั้ ตอนการวิจยั .............................................................................................................. 128
10 รูปแบบการบริหารงานวิชาการสคํู วามเป็นเลศิ ของโรงเรยี นสงั กดั องค๑กรปกครอง
สวํ นท๎องถิ่น.................................................................................................................... 174

1

บทท่ี 1
บทนา

ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา

การเปล่ียนแปลงของโลกในศตวรรษท่ี 21 สงํ ผลกระทบท่ีสาคัญทง้ั ภายในและภายนอก
ในดา๎ นเศรษฐกิจ สงั คม และเทคโนโลยีทเี่ ข๎ามามบี ทบาทตํอการดารงชวี ิตโดยทไ่ี มํอาจหลกี เลี่ยงได๎
การปรบั เปลีย่ นที่รวดเรว็ จาเป็นต๎องสรา๎ งภมู คิ ุม๎ กนั เพื่อเตรยี มความพร๎อมของคนในชาตใิ ห๎สามารถ
ปรบั ตวั รองรบั ผลกระทบจากการเปล่ยี นแปลงที่เหมาะสม กลาํ วคอื ตอ๎ งยกระดบั คุณภาพการศึกษา
ของประเทศให๎เกิดความทัดเทียมกบั อารยประเทศ และสามารถแขํงขันได๎ในระดบั นานาชาติโดยพัฒนา
คนไทยให๎มีความร๎ูความสามารถในการดารงชวี ิต ดงั น้ัน การพัฒนาการศกึ ษาไทยภายใต๎แผนการศึกษา
แหงํ ชาติ พ.ศ. 2560-2579 จงึ มงุํ เน๎นแกป๎ ญั หาและเรงํ ยกระดับคุณภาพการศกึ ษาของไทยผําน 6 ยุทธศาสตร๑
เพ่ือให๎ “คนไทยทกุ คนได๎รับการศึกษาและเรียนร๎ูตลอดชีวิตอยํางมีคุณภาพดารงชีวิตอยํางเป็นสุข
สอดคลอ๎ งกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ซึ่งเน๎น
ในเร่ืองของการเรียนร๎ูตลอดชีวิต การเรียนรู๎เพ่ือชีวิต การเรียนร๎ูเพื่อปฏิบัติได๎อยํางจริงจัง ผ๎ูเรียน
มีคณุ ลกั ษณะใฝ่ดี คิดวเิ คราะห๑ มีการแกป๎ ญั หา มีความคดิ ริเริ่ม สรา๎ งสรรค๑ ตลอดจนมีจิตสาธารณะ
รวมทง้ั มีระเบยี บวินัย มีจริยธรรม คณุ ธรรม และใฝเ่ รยี นรู๎อยํางตํอเนื่อง (สุภสทิ ธิ์ ภูภักดี, 2558, หน๎า 7)

เดก็ ไทยในโลกศตวรรษที่ 21 ต๎องมคี ณุ ลกั ษณะ 3Rsx8Cs ไดแ๎ กํ การอาํ นออก (Reading)
การเขียนได๎ (Writing) การคิดเลขเปน็ (Arithmetic) การคดิ อยาํ งมีวจิ ารณญาณและมีทกั ษะในการแกป๎ ญั หา
(Critical thinking and solving problem) ทักษะด๎านการคดิ สรา๎ งสรรค๑และนวัตกรรม (Creative and
innovation) ทกั ษะการรํวมมือ และทางานเป็นทมี ภาวะผ๎ูนา (Collaboration teamwork and leadership)
ทักษะด๎านความเข๎าใจ ความตํางของนวัตกรรม ตํางกระบวนทัศน๑ (Cross cultural understanding)
มีทักษะด๎านการสอื่ สารสารสนเทศและรู๎เทาํ ทันสื่อ (Communicating information and media literacy)
ทักษะด๎านคอมพิวเตอร๑ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร (Computing and media literacy)
มีทักษะอาชีพและการเรียนร๎ู (Career and learning self-reliance) รวมถึงมีเมตตา กรุณา คุณธรรม
จริยธรรม และวินัย (Compassion) สามารถสร๎างสังคมแหํงการเรียนร๎ู โดยมีหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงเป็นภูมิคุ๎มกันให๎ประเทศก๎าวไปข๎างหน๎าอยํางม่ันคง จะเห็นได๎วํา การพัฒนาเยาวชนไทย
ในศตวรรษท่ี 21 ที่อยํทู าํ มกลางกระแสของความเปลย่ี นแปลงอยํางรวดเร็วท้งั ดา๎ นเศรษฐกิจ สังคม
วัฒนธรรม ทาให๎การพัฒนาเยาวชนต๎องไมํใชํเพียงการกาหนดคุณลักษณะทพี่ ึงประสงค๑ หากแตํ

2

มองการณไ๑ กลไปถงึ การสรา๎ งเยาวชนให๎มีคณุ ลักษณะการเปน็ บุคคลแหงํ การเรียนร๎ูตลอดชวี ิตทมี่ ี
ศักยภาพทั้งในด๎านพฤติกรรม ทกั ษะ เจตคติ และความร๎ู โดยต๎องให๎ความสาคัญกบั การวางแนวทาง
การพัฒนาอยํางเหมาะสมกับลักษณะของเยาวชนท่ีเป็นบุคคลแหํงการเรียนรู๎จะเป็นกาลังสาคัญ
ขบั เคลอื่ นสังคมไทยสกูํ ารเป็นสังคมแหํงการเรียนรู๎ท่มี ศี ักยภาพในอนาคต ดังนั้น สานกั งานเลขาธิการ
สภาการศกึ ษาในฐานะองค๑กรหลกั ได๎ดาเนินการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศกึ ษาแหํงชาติ
พ.ศ. 2542 และท่ีแกไ๎ ขเพมิ่ เติม ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2545 มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรยี นร๎ูใหส๎ ถานศึกษา
และหนํวยงานท่ีเกี่ยวข๎องดาเนินการจัดเน้ือหาสาระและกิจกรรมให๎สอดคล๎องกับความสนใจ ความถนัด
ของผ๎เู รียน ฝกึ ทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การประยกุ ต๑ความร๎มู าใช๎เพ่ือป้องกนั และแก๎ปญั หา
ให๎ผ๎ูเรียนได๎เรียนรู๎จากประสบการณจ๑ ริง ฝกึ การปฏบิ ัติให๎ทาได๎ คดิ เปน็ ทาเป็น รกั การอาํ นและเกดิ
การใฝร่ ู๎อยํางตอํ เนอ่ื ง รวมทั้งปลกู ฝังคุณธรรมจริยธรรม (สมปอง สมญาติ, 2557, หนา๎ 1)

หากแตปํ ัจจบุ ันผลการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาของไทยไมํเปน็ ทีน่ าํ พงึ พอใจ ไมํเป็นไป
ตามทศิ ทางการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ซ่ึงมีข๎อมลู นําสนใจใน 3 ดา๎ น สรปุ ดังนี้ 1) บริบทของการจดั
การศกึ ษา 1.1) เด็กท่ีจะเขา๎ สํูระบบการศึกษามีแนวโน๎มลดลง 1.2) สถานศึกษามแี นวโน๎มขนาดเล็กลง
และมจี านวนเพิ่มมากขนึ้ มีข๎อเสนอวํา ทบทวนการบริหารจดั การทรัพยากรท่ีอยใํู นระบบการศกึ ษา
ให๎มีประสทิ ธภิ าพและใช๎ประโยชน๑ไดอ๎ ยํางสูงสุด 2) โอกาสทางการศึกษา 2.1) ประชากรกลุํมอายุ
วัยเรียน มีโอกาสเข๎ารับการศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน (อนุบาล-มัธยมศึกษาตอนปลาย)
เพิ่มสูงขึ้น 2.2) เด็กด๎อยโอกาสและผู๎มีความต๎องการจาเป็นพิเศษที่ได๎เข๎าเรียนมีแนวโน๎มเพ่ิมข้ึน
2.3) การออกกลางคัน ยงั คงเป็นปัญหาตํอเนื่อง แตมํ ีแนวโน๎มท่ดี ขี ึ้น 2.4) ระดับการศกึ ษาของประชากร
วัยแรงงานท่มี ีอายุ 15-59 ปี มีจานวนปกี ารศกึ ษาเฉลี่ยเพิม่ ข้ึนจาก 8.00 ปี ในปี พ.ศ. 2552 เป็น 10.00 ปี
2.5) อตั ราการไมรํ ห๎ู นังสอื ของประชากรอายุ 15 ปขี นึ้ ไป มแี นวโนม๎ ลดลงจากรอ๎ ยละ 5.90 ในปี พ.ศ. 2550
เป็นรอ๎ ยละ 3.30 ในปี พ.ศ. 2558 มขี อ๎ เสนอวาํ แม๎โอกาสทางการศึกษาจะมีแนวโนม๎ ทด่ี ีข้ึน แตํยังพบ
ปัญหาประชากรวัยเรียนระดับมัธยมศกึ ษาตอนต๎นทไ่ี มไํ ด๎เขา๎ รับการศกึ ษาในระบบประมาณรอ๎ ยละ
11.70 และประชากรวัยแรงงานท่ีมีการศึกษาตา่ กวํามัธยมศึกษาตอนต๎น 3) คุณภาพของการศึกษา
3.1) พัฒนาการของเดก็ แรกเกิดถึงอายุ 5 ปี ในชวํ งปี พ.ศ. 2553-2557 พบวาํ มพี ัฒนาการสมวยั ลดลง
จากร๎อยละ 73.40 เป็นร๎อยละ 72.70 3.2) ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน จากคะแนน
0-Net ยังไมํเป็นท่ีนําพอใจ 3.3) ความสามารถในการเรียนร๎ูของผ๎ูเรยี นเทยี บกับนานาประเทศทวั่ โลก
และในอาเซยี น ไทยยงั อยใูํ นลาดบั ทตี่ ่า 3.4) ทกั ษะการเรียนร๎แู ละการใฝห่ าความรขู๎ องคนไทย เพิม่ มากขนึ้
แตํยังขาดความสามารถในการจัดการและการสังเคราะหข๑ ๎อมูล 3.5) จานวนคดีเด็กและเยาวชนท่ี
ถกู ดาเนนิ คดีมีแนวโนม๎ ลดลง 3.6) ทักษะดา๎ นภาษาของแรงงานทต่ี อบสนองตํอความต๎องการของ
ผ๎ูประกอบการมีแนวโน๎มลดลง 3.7) ผลผลิตของการศึกษากับความต๎องการกาลังคน มีความไมํ

3

สอดคล๎องกนั มขี อ๎ เสนอวํา 1) คุณภาพการศกึ ษาทั้งดา๎ นวิชาการและคณุ ลกั ษณะของผเู๎ รยี นยงั ไมนํ ํา
พอใจ และทักษะของกาลังแรงงานยังไมํตอบสนองความต๎องการของผู๎ประกอบการ 2) ต๎องมี
การวิเคราะห๑ทบทวนเป้าหมายและสาขาการผลิตและคุณภาพของกระบวนการจัดการศึกษา

จากรายงาน United Nations Development Group เร่ือง The World We Want พบวํา
ประชาชนเกือบ 600,000 คน ชี้วําสง่ิ ทปี่ ระชาชนต๎องการมากทส่ี ุด คอื การศกึ ษาท่ีดี แตจํ ากการวเิ คราะห๑
ความสามารถในการแขํงขันของ World Economic Forum (WEF) พบวํา ปัจจัยท่ีเป็นอุปสรรคตํอ
การเพมิ่ ความสามารถในการแขํงขนั ของประเทศไทย 1 ใน 6 ปจั จยั น่นั คอื “การศกึ ษาขาดคุณภาพ”
ท้ังน้ีการจัดลาดับขีดความสามารถในการแขํงขัน ปี ค.ศ. 2016-2017 จากทั้งหมด 138 ประเทศ
ประเทศไทยอยูํลาดับท่ี 34 มรี ะดบั คะแนน 4.64 ลดลงจากปีกํอนท่ีอยูํในอันดับที่ 32 จาก 140 ประเทศ
ตา่ กวําประเทศสิงคโปร๑ มาเลเซีย และคําเฉล่ียของกลํุมประเทศ ASEAN หากเปรียบเทียบคะแนน
รวมของประเทศไทยกับประเทศในกลํมุ อาเซยี น (ไมํรวมลาว และพมํา ซ่ึงไมํอยํูในรายงานของ WEF)
และคะแนนรวมเฉลยี่ ของกลํุมอาเซียน สาหรบั การจัดอันดับประจาปี ค.ศ. 2006-2007 จนถงึ ประจาปี
ค.ศ. 2016-2017 จะเห็นวําคะแนนรวมของประเทศไทยนั้นมีแนวโนม๎ ลดลงมาโดยตลอด โดยเฉพาะ
ในการจัดอันดบั สองปีหลังมีคะแนนลดลงจนต่ากวําคะแนนเฉลีย่ ของกลํุมประเทศอาเซยี น เชํนเดียวกบั
มาเลเซียและเวียดนามซ่ึงคะแนนอยํูในระดับทรงตัวหรือไมํมีแนวโน๎มสูงข้ึน ขณะท่ี สิงคโปร๑
อินโดนีเซีย ฟิลปิ ปนิ ส๑ กมั พชู า บรไู น ลว๎ นแตมํ แี นวโนม๎ คะแนนสงู ขึน้ ทั้งสนิ้ สวํ นผลการสอบ PISA
ในปี ค.ศ. 2012 ของประเทศไทยมีคะแนนต่ากวาํ OECD ทงั้ 3 วชิ า ซึง่ เม่ือเทยี บกบั PISA ในปี ค.ศ. 2015
ด๎านการอํานและวทิ ยาศาสตร๑ มีคะแนนลดลงอยํางมีนยั สาคญั ทางสถติ ิ สํวนดา๎ นคณิตศาสตร๑ มีคะแนน
ลดลงอยํางไมํมนี ัยสาคญั ทางสถิติ จึงถือได๎วําคะแนนด๎านคณติ ศาสตรไ๑ มเํ ปล่ียนแปลงจากรอบการประเมนิ
ท่ผี าํ นมา (ชรินรัตน๑ พํุมเกษม, 2557, หน๎า 26)

จากปญั หาคุณภาพการศึกษาดงั กลาํ ว ผู๎บริหารสถานศกึ ษาและผ๎มู ีสวํ นเกย่ี วข๎องทางการศึกษา
ควรพัฒนาในด๎านวิชาการให๎มากย่งิ ข้ึน เพราะงานวชิ าการเป็นงานทสี่ าคัญทส่ี ุดของโรงเรยี น เนื่องจาก
การบรหิ ารงานวิชาการเกยี่ วข๎องกับกจิ กรรมทุกชนิดในโรงเรยี น โดยเฉพาะเกย่ี วกับการปรับปรงุ คณุ ภาพ
การเรียนการสอน ซง่ึ เป็นจุดมงุํ หมายหลกั ของสถานศกึ ษาและเป็นเครอ่ื งช้ีความสาเร็จ และความสามารถ
ของผู๎บริหาร สอดคล๎องกบั พระวิเชียร ศรีหาบุตร (2557, หน๎า 53) ที่กลําวสรุปไว๎วาํ งานวิชาการถือเป็น
หวั ใจสาคญั ของการบริหารสถานศึกษา ทั้งนเี้ พราะจุดมุงํ หมายของสถานศึกษา คือ การจดั การศกึ ษา
ให๎มีคุณภาพและมีมาตรฐานตามที่กาหนด โดยเฉพาะการปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอน ซึ่ง
ประกอบด๎วยงานหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน การจัดบุคลากรท่ีเกยี่ วข๎อง การจัดสงํ เสรมิ งาน
ดา๎ นวิชาการ รวมถงึ การวัดผลประเมินผล ซ่งึ เป็นเคร่ืองชวี้ ัดความสาเร็จของสถานศกึ ษา สํวนปองสิน
วเิ ศษศิริ (2556, หนา๎ 164) กลาํ ววํา การบริหารงานวิชาการมีขอบขาํ ยและภารกจิ ทีก่ ว๎างขวางครอบคลมุ

4

ในเรื่องการปรับปรุงหลกั สตู รการศกึ ษาของชาติซง่ึ เป็นกลไกสาคญั ในการพฒั นาคุณภาพการศึกษา
เพอื่ สร๎างเด็กและเยาวชนใหเ๎ ป็นคนดมี ีปัญญา มคี วามสุข และมศี ักยภาพพร๎อมท่ีจะแขงํ ขันและรํวมมือ
อยํางสร๎างสรรค๑ในเวทีโลก สอดคล๎องกับ Davis and Thomas (1989, pp. 82-83) ที่กลําววํา การที่
สถานศกึ ษามกี ารจัดการดา๎ นวิชาการที่เขม๎ แข็งจะชํวยให๎การบริหารสถานศกึ ษามปี ระสิทธิภาพและ
เปน็ ไปตามจุดมุํงหมายของการจัดการในสถานศกึ ษาท่ีจะสํงผลโดยตรงตํอผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน
ของนักเรียน นอกเหนือจากการพัฒนาคุณภาพงานวิชาการ สถานศกึ ษาควรพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
ของโรงเรยี นใหไ๎ ด๎มาตรฐานตามเกณฑก๑ ารจัดการศกึ ษาของระบบสากล ซ่งึ ไดร๎ บั การยอมรับวาํ เป็น
ระบบที่สามารถพัฒนาสถานศึกษาสํูความเป็นเลศิ เพ่ือเตรยี มความพร๎อมของงานได๎อยํางมีประสทิ ธิภาพ

เพือ่ ยกระดบั มาตรฐานและคุณภาพการบริหารสถานศกึ ษา สานกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา
จึงได๎จัดทาข๎อเสนอยุทธศาสตร๑และมาตรฐานการปฏิรูปการศึกษา ซึ่งเน๎นการเพิ่มประสิทธิภาพ
การบริหารจัดการศกึ ษา และการมสี วํ นรวํ มเป็นประเด็นในมาตรการปฏิรูปการศึกษา (สถาบนั เพมิ่
ผลผลิต, 2553, หน๎า 4) ความเป็นเลิศของโรงเรียนเป็นการพัฒนาด๎านคุณภาพของโรงเรียนให๎ได๎
มาตรฐานตามเกณฑก๑ ารจัดการศกึ ษาของระบบสากล ไดน๎ าเกณฑ๑การจัดการศึกษาตามรางวัลคุณภาพ
แหํงชาตปิ ระเทศสหรัฐอเมริกา (Malcolm Baldridge National Quality Award: MBNQA) เป็นแบบอยาํ ง
ในการพัฒนาโรงเรียนในประเทศสหรัฐอเมริกา โรงเรียนที่จะประสบความสาเร็จในการพัฒนา
ความเปน็ เลิศของโรงเรียน โดยการใช๎แนวคิดดังกลาํ ว เชํน โรงเรียนเพิรล๑ รเิ วอร๑ (Pearl river school
district) แหํงรัฐนิวยอร๑ค และมหาวิทยาลัยวสิ คอนซินแหํงรัฐวิสคอนซิน ซึ่งโรงเรียนดังกลําวมีผล
สมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของนักเรียนทส่ี ูง ตํอมา ประเทศพฒั นาแลว๎ ทั่วโลกได๎นาแนวคดิ ดงั กลาํ วมาใช๎
เกิดผลสาเร็จ เชํน สิงคโปร๑ ญี่ป่นุ ออสเตรเลยี ฮํองกง และไทย ได๎นามาปรบั ใช๎ในการศึกษาเชํนเดยี วกนั
เรยี กวํา เกณฑ๑รางวลั คุณภาพแหงํ ประเทศไทย (Thailand Quality Award: TQA) โดยสานักงานรางวัล
คุณภาพแหํงชาติ ภายใต๎การบริหารจัดการของสถาบันเพิ่มผลผลิตแหํงชาติเป็นหนํวยงานหลักใน
การประสานความรํวมมือเผยแพรํสนับสนนุ และผลกั ดนั ให๎องค๑กรตําง ๆ ท้งั ภาคผลผลติ การบรกิ าร
และทางด๎านการศึกษานาเกณฑ๑รางวัลคุณภาพแหํงประเทศไทย (TQA) ไปพัฒนาศักยภาพระบบ
การบริหารจดั การสํูความยั่งยืน (โชตชิ ํวง พนั ธุเวช, 2551, หน๎า 117) ในภาคการศึกษาของไทย ยงั ไมมํ ี
การนาเกณฑ๑ดังกลําวมาใช๎อยํางชัดเจน แตํได๎มีความพยายามในการสํงเสริมสถานศึกษาให๎ก๎าวสํู
ความเป็นเลศิ มาโดยลาดบั เชํน โครงการหนึง่ อาเภอหนง่ึ โรงเรียนในฝัน โครงการโรงเรียนดีประจาตาบล
โรงเรยี นตน๎ แบบ โรงเรยี นดีเดํนรางวัลพระราชทาน เปน็ ต๎น โรงเรียนคุณภาพดงั กลําวมงํุ ให๎เกิดการพัฒนา
การจัดการศึกษาให๎มีคุณภาพ มคี วามเปน็ เลิศ และเกดิ ความเสมอภาคในการให๎บริการทางการศกึ ษา
ท่ีเทาํ เทยี มกันและได๎มาตรฐาน (พริ้มเพรา วราพันธ๑พุ ิพิธ, 2556, หน๎า 6) สอดคล๎องกับการจัดการศกึ ษา
ของกรมสงํ เสรมิ การปกครองท๎องถน่ิ (2553) ได๎ให๎ความสาคญั ตํอการสํงเสริมสถานศกึ ษาในการก๎าวสํู

5

ความเปน็ เลศิ เห็นได๎จากการกาหนดแนวนโยบายการศึกษาท๎องถ่นิ (พ.ศ. 2545-2559) การกาหนด
แผนพัฒนาการศึกษาระยะส้นั สามปี (พ.ศ. 2558-2561) และแผนการปฏิรปู การศึกษาท๎องถน่ิ ระยะยาว
10 ปี (พ.ศ. 2555-2564) ล๎วนแล๎วแตํเป็นการเสริมสร๎างศักยภาพการบริหารสถานศึกษาสูํความมี
ประสิทธิภาพประสิทธิผล และมคี วามเปน็ เลศิ ของมาตรฐานคณุ ภาพดา๎ นผเ๎ู รียน สอดคลอ๎ งกบั การปฏิรูป
การศึกษาในทศวรรษทสี่ อง (พ.ศ. 2552-2561) ของกระทรวงศึกษาธิการ ตลอดจนสานักงานเลขาธกิ าร
สภาการศกึ ษาได๎จัดต้ังโครงการคัดเลอื กองค๑กรปกครองท๎องถนิ่ และสถานศกึ ษาทมี่ กี ารบริหารจัดการ
ดีเดํนในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553-2554 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2553) สอดคล๎องกับ ธีระ รุญเจริญ
(2554, หน๎า 18) ทไ่ี ด๎สรปุ ผลการจดั การศึกษาท่ีผาํ นมาขององค๑กรปกครองสํวนท๎องถ่ินวํา มจี านวน
ไมนํ อ๎ ยท่ีจัดการศึกษาไดผ๎ ลดี ซึ่งการจัดการศกึ ษาสคํู วามเปน็ เลศิ ตามมาตรฐานสากล สถานศกึ ษาจาเปน็
ต๎องมกี ารปรับเปล่ยี นให๎เปน็ องค๑กรทมี่ คี วามคลํองตวั บคุ ลากรมคี วามชานาญ มีความเป็นมืออาชีพ
มกี ารสํงเสริมใหบ๎ ุคลากรมกี ารเรยี นร๎ูอยาํ งตํอเนื่อง (สานกั งานเลขาธิการสภาการศกึ ษา, 2554, หน๎า 1)

ปจั จุบันแนวโน๎มของสถานศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานสงั กัดองค๑กรปกครองสํวนท๎องถ่นิ มีจานวนเพ่มิ
มากข้ึนอยํางรวดเร็ว ท้ังกรณีท่ีองค๑กรปกครองสํวนท๎องถน่ิ จัดขึ้นเอง และกรณีโอนมาจากสานกั งานเขต
พนื้ ที่การศกึ ษา จนทาใหป๎ ัจจุบันโรงเรียนภายใตส๎ ังกัดองค๑กรปกครองสํวนท๎องถ่ิน กระทรวงมหาดไทย
มีจานวนทั้งสิ้น 1,559 โรงเรียน โดยแยกโรงเรียนสงั กดั องค๑การบรหิ ารสวํ นจงั หวัด จานวน 346 โรงเรยี น
สังกัดองค๑การบริหารสํวนตาบล จานวน 162 โรงเรียน สังกัดเทศบาลนคร จานวน 192 โรงเรียน
สงั กดั เทศบาลเมอื ง จานวน 423 โรงเรยี น และสงั กดั เทศบาลตาบล จานวน 436 โรงเรยี น แตมํ สี ถานศกึ ษา
ท่ีผาํ นการประเมินคุณภาพการศกึ ษาภายนอกเพียง 400 กวําแหํง เทําน้ันคิดเป็นร๎อยละ 35 (กรมสงํ เสริม
การปกครองสํวนท๎องถ่ิน, 2559, หน๎า 7) สอดคลอ๎ งกับธีระ รุญเจริญ (2554, หน๎า 29) ทกี่ ลําวถงึ สภาพ
การจัดการศกึ ษาขององค๑กรปกครองสํวนท๎องถนิ่ วํา สถานศึกษาในสังกัดองคก๑ รปกครองสวํ นท๎องถ่ิน
สํวนใหญํมีมาตรฐานด๎านปัจจัยอยใํู นระดับดถี งึ ดมี าก ในขณะที่มาตรฐานด๎านผ๎ูเรยี นยงั อยูใํ นระดบั ต่า
เม่ือเทียบกับปัจจัยท่ใี ชใ๎ นการจดั การศึกษาสถานศึกษาในสังกัดองคก๑ รปกครองสวํ นท๎องถ่ิน จะต๎องเรํง
พฒั นากระบวนการเรยี นรูเ๎ พ่ือยกระดบั มาตรฐานด๎านผ๎เู รียนให๎เพมิ่ สูงข้นึ ซงึ่ สภาพปจั จบุ ันและแนวโนม๎
ของอนาคตสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สงั กัดองค๑กรปกครองสวํ นท๎องถิ่นต๎องเผชิญกับความเปลี่ยนแปลง
ทั้งภายในและภายนอก ท้ังดา๎ นปริมาณและคุณภาพของการศึกษา เน่ืองจากนโยบายระดับสูงที่มี
การเปลย่ี นแปลงตามสภาวะทางเศรษฐกจิ การเมือง และกระแสโลกยคุ ใหมํในศตวรรษที่ 21 ประกอบกับ
ไดม๎ ขี ๎อเสนอแนะให๎เรงํ พัฒนากระบวนการเรยี นร๎ู เพ่ือยกระดับมาตรฐานด๎านผู๎เรยี นใหส๎ ูงขึ้น ซ่ึงเป็น
ขอ๎ เสนอแนะทสี่ อดคล๎องกบั แนวทางการปฏิรูปการศกึ ษาในทศวรรษทสี่ อง (พ.ศ. 2552-2561) ท่ีให๎
มีการสงํ เสรมิ การพัฒนาสถานศึกษาเพ่อื ยกระดบั มาตรฐาน ดารงรักษามาตรฐานและพัฒนาสํูความ
เป็นเลิศ (สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศกึ ษา (องค๑การมหาชน), 2555, หน๎า 8)

6

จะเห็นได๎วาํ ทศิ ทางการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาของไทย และปญั หาคุณภาพการศึกษา
ดังกลําว ผู๎บริหารสถานศกึ ษาและผม๎ู สี วํ นเก่ียวข๎องทางการศกึ ษาควรพฒั นาในด๎านวชิ าการให๎มากยง่ิ ขน้ึ
เนื่องจากการบริหารงานวิชาการเก่ียวข๎องกับกิจกรรมทกุ ชนิดในโรงเรียน ผ๎ูวิจยั จึงมีความสนใจศึกษา
รูปแบบการบรหิ ารงานวิชาการสํูความเป็นเลิศของโรงเรียนสงั กดั องคก๑ รปกครองสวํ นท๎องถิ่น วําควร
ประกอบดว๎ ยองค๑ประกอบใดบา๎ ง เพอื่ ใช๎เป็นแนวคิดในการพฒั นาคุณภาพงานวิชาการของโรงเรยี น
สงั กัดองค๑กรปกครองสวํ นท๎องถน่ิ ยกระดับคุณภาพงานวิชาการใหม๎ ปี ระสทิ ธิภาพมากยงิ่ ขึ้น

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

1. เพอื่ ศึกษาองคป๑ ระกอบรปู แบบการบริหารงานวิชาการสํูความเป็นเลศิ ของโรงเรยี น
สงั กดั องคก๑ รปกครองสวํ นท๎องถ่ิน

2. เพ่ือพัฒนารูปแบบการบริหารงานวชิ าการสูํความเป็นเลศิ ของโรงเรยี นสังกัดองคก๑ ร
ปกครองสํวนท๎องถน่ิ

3. เพ่ือสร๎างคูํมือการปฏบิ ัตงิ านวิชาการสํคู วามเป็นเลิศของโรงเรยี นสงั กัดองค๑กรปกครอง
สํวนท๎องถ่ิน และตรวจสอบรูปแบบการบริหารงานวชิ าการสูคํ วามเป็นเลศิ ของโรงเรยี นสังกัดองคก๑ ร
ปกครองสํวนท๎องถ่ิน

คาถามในการวิจยั

1. องคป๑ ระกอบของการบริหารงานวิชาการสํคู วามเปน็ เลิศของโรงเรยี นสงั กดั องคก๑ ร
ปกครองสวํ นท๎องถิ่น มีอะไรบ๎าง

2. คํูมือการปฏิบัตงิ านวิชาการสํคู วามเปน็ เลศิ ของโรงเรียนสงั กดั องคก๑ รปกครอง
สวํ นทอ๎ งถน่ิ มีความเหมาะสมหรือไมํ

ประโยชน์ที่ไดร้ ับจากการวิจัย

รูปแบบการบรหิ ารงานวชิ าการสคํู วามเป็นเลศิ สามารถนาไปใชเ๎ ปน็ แนวทาง
ในการพฒั นางานวิชาการสูคํ วามเป็นเลิศของโรงเรียนสงั กัดองคก๑ รปกครองสํวนท๎องถิ่น

กรอบแนวคิดในการวิจัย

กรอบแนวคิดในการวิจัย เรื่อง รปู แบบการบริหารงานวิชาการสํคู วามเป็นเลิศของโรงเรยี น
สงั กดั องค๑กรปกครองสวํ นท๎องถิ่น ผ๎ูวจิ ยั ไดศ๎ ึกษาเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวขอ๎ ง ดังนี้

7

1. ผวู๎ ิจยั ไดด๎ าเนินการวเิ คราะหแ๑ นวคิดทฤษฎีเกีย่ วกับการพัฒนาคณุ ภาพองคก๑ าร 1) รางวัล
คุณภาพแหํงชาตยิ ุโรป (European Quality Award: EQA) ประกอบดว๎ ย 1.1) ภาวะผ๎ูนา 1.2) นโยบาย
และกลยทุ ธ๑ 1.3) พนกั งานในองค๑การ 1.4) หน๎ุ สวํ นและทรัพยากร 1.5) กระบวนการ 1.6) ผลที่เกิดข้ึน
กับลูกค๎า 1.7) ผลทเ่ี กิดขน้ึ กบั องคก๑ าร 1.8) ผลทเี่ กิดข้ึนกับสงั คม 1.9) ผลท่ีเกิดข้นึ กบั การปฏบิ ตั ิงาน
2) รางวัลคุณภาพแหํงชาติประเทศสงิ คโปร๑ (Singapore Quality Award: SQA) ประกอบด๎วย 2.1) ภาวะ
ผ๎นู า 2.2) การวางแผน 2.3) สารสนเทศ 2.4) การบริหารบคุ คล 2.5) กระบวนการ 2.6) ลูกค๎า 2.7) ผลลพั ธ๑
3) รางวลั คณุ ภาพแหํงชาติประเทศไทย (Thailand Quality Award: TQA) ประกอบด๎วย 3.1) การนา
องคก๑ าร 3.2) การวางแผนองคก๑ าร 3.3) การมํงุ เนน๎ ท่ลี กู คา๎ และการตลาด 3.4) สารสนเทศและการวเิ คราะห๑
3.5) การมุํงเน๎นที่ทรัพยากรบุคคล 3.6) การบริหารกระบวนการ 3.7) ผลการดาเนินการทางธุรกิจ
4) รางวลั คุณภาพแหํงชาติประเทศญีป่ ุ่น (Deming prize) ประกอบด๎วย 4.1) นโยบาย 4.2) โครงสร๎าง
และการจัดการองคก๑ าร 4.3) สารสนเทศ 4.4) ความเป็นมาตรฐาน 4.5) การใช๎ประโยชน๑จากการใช๎
ทรัพยากรมนุษยแ๑ ละการพฒั นา 4.6) การประกนั คณุ ภาพ 4.7) การบารงุ รักษาและควบคุม 4.8) การปรับปรงุ
4.9) ผลกระทบ 4.10) แผนงานในอนาคต 5) แมํแบบการจัดการศึกษาเชิงคุณภาพ SIPPO Model (Student/
Stakeholder-Input-Process-Products-Outcomes model) ประกอบดว๎ ย 5.1) นักเรียนและผ๎ูมีสวํ นได๎
สวํ นเสยี 5.2) ปัจจยั นาเข๎า 5.3) การบรกิ ารและกระบวนการผลติ 5.4) ผลผลิต 5.5) ผลลพั ธ๑ 5.6) การติดตาม
และการประเมินผล 5.7) การปรับปรุงคณุ ภาพ

2. วิเคราะห๑แนวคิดเกย่ี วกบั ความเปน็ เลศิ ของโรงเรยี น 1) รางวัลความเป็นเลิศประเทศ
ออสเตรเลีย (Australian Excellence Award: AEA) ประกอบด๎วย 1.1) ภาวะผน๎ู า 1.2) ความรแู๎ ละ
สารสนเทศ 1.3) บคุ ลากร 1.4) มํุงเนน๎ นกั เรยี นและการตรวจสอบ 1.5) นวตั กรรมคณุ ภาพและการปรบั ปรงุ
1.6) คุณภาพของนกั เรยี นและบริการ 2) รปู แบบโรงเรียนเป็นเลศิ ประเทศสิงคโปร๑ (School Excellence
Model: SEM) ประกอบดว๎ ย 2.1) ภาวะผนู๎ า 2.2) การวางแผนกลยุทธ๑ 2.3) การจดั การบคุ ลากร 2.4) ทรพั ยากร
2.5) เป้าหมายนกั เรียน 2.6) การบริหารและผลการปฏบิ ตั ิงาน 2.7) ผลลพั ธ๑ของบคุ ลากร 2.8) การมสี ํวนรํวม
และสังคม 2.9) ผลการประเมินการปฏบิ ัตงิ าน 3) รางวลั ความเป็นเลศิ ประเทศฮํองกง (The Outstanding
Teachers and School Award: HK) ประกอบด๎วย 3.1) การจัดการและการจัดองคก๑ าร 3.2) การเรียน
การสอน 3.3) การสนบั สนนุ จดุ มุงํ หมายของนักเรียนและสถานศกึ ษา 3.4) ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน
และระดบั การพัฒนาของนักเรยี น 4) แนวคดิ ความเปน็ เลศิ ของปเี ตอร๑และวอเตอรแ๑ มน ซ่ึงเปน็ ผลงานวจิ ยั
รูปแบบการบริหารความเป็นเลิศของแมคคินซี (Mckinsey 7-S framework) ประกอบดว๎ ย 4.1) โครงสร๎าง
4.2) กลยุทธ๑ 4.3) บุคลากร 4.4) รูปแบบ 4.5) ระบบและวิธกี าร 4.6) คณุ คํารํวม 4.7) ทักษะ 5) การบริหาร
โรงเรียนสํูความเป็นเลิศของสานกั งานเลขาคุรสุ ภา ประกอบด๎วย 5.1) ภารกิจหน๎าท่ีของการจัดการศกึ ษา

8

5.2) สถานศกึ ษา 5.3) การจดั การศึกษาให๎มีคุณภาพ 5.4) การบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษา 5.5) กระบวนการ
บริหาร 5.6) ผบ๎ู รหิ ารตอ๎ งมีหลักเกณฑ๑การบริหาร

การวิจยั คร้ังน้ี ผวู๎ จิ ยั ไดก๎ าหนดสญั ลักษณ๑ตัวอักษรภาษาองั กฤษแทนเอกสาร หนงั สือ
และใชเ๎ ครอ่ื งหมาย  แสดงสาระสาคญั จากการวิเคราะห๑แนวคดิ ทฤษฎี และงานวจิ ยั ทเี่ กยี่ วข๎อง
เกยี่ วกับการพัฒนาคณุ ภาพองคก๑ าร ประกอบการศกึ ษา ดงั นี้

A = รางวลั คณุ ภาพแหํงชาตยิ ุโรป (European Quality Award: EQA)
B = รางวัลคุณภาพแหํงชาตปิ ระเทศสงิ คโปร๑ (Singapore Quality Award: SQA)
C = รางวัลคณุ ภาพแหงํ ชาตปิ ระเทศไทย (Thailand Quality Award: TQA)
D = รางวัลคุณภาพแหํงชาตปิ ระเทศญ่ปี ุ่น (Deming Prize)
E = แมํแบบการจัดการศึกษาเชงิ คณุ ภาพ SIPPO MODEL
F = รางวลั ความเปน็ เลิศประเทศออสเตรเลีย (Australian Excellence Award: AEA)
G = รูปแบบความเป็นเลศิ ประเทศสิงคโปร๑ (School Excellence Model: SEM)
H = รางวัลความเป็นเลศิ ประเทศฮํองกง (The Outstanding Teachers and School Award: HK)
I = แนวคดิ ความเปน็ เลศิ ของปีเตอรแ๑ ละวอเตอร๑แมน เป็นผลงานวจิ ยั รปู แบบการบริหาร
ความเปน็ เลิศของแมคคินซี (Mckinsey 7-S framework)
J = การบรหิ ารโรงเรยี นสคูํ วามเป็นเลิศของสานกั งานเลขาครุ สุ ภา

ตารางท่ี 1 สรุปผลการศกึ ษาวิเคราะห๑ เอกสาร แนวคดิ ทฤษฎี และงานวจิ ยั ทเี่ ก่ียวขอ๎ งกับการพัฒนา
คุณภาพองค๑การ และความเป็นเลิศของโรงเรียน

ที่ สาระสาคัญที่นามาใช้ A B CDEFGH I J

1. ภาวะผ๎นู า   
2. การวางแผนเชงิ กลยทุ ธ๑
3. หน๎ุ สํวนและทรัพยากร   
4. กระบวนการ
5. ความรู๎และสารสนเทศ   
6. มํงุ เน๎นทรพั ยากรบคุ คล
7. มุงํ เน๎นนกั เรียนและการตลาด    
8. นวตั กรรมคุณภาพและการปรับปรงุ
9. ผลลพั ธ๑    
10. การวัด การวิเคราะห๑ และการจัดการความรู๎
    

 



  



9

ตารางที่ 1 (ตอํ )

ที่ สาระสาคญั ทีน่ ามาใช้ A B CDEFGH I J
11. นโยบาย
12. โครงสร๎างและการจัดองค๑การ   
13. การประกนั คุณภาพการศกึ ษา 
14. การบารุงรักษาและการควบคุม 
15. ผลกระทบ 
16. คณุ คาํ รวํ ม 
17. การมสี ํวนรํวมและสังคม



จากตารางที่ 1 การศกึ ษาวิเคราะห๑ หลกั การ แนวคดิ ทฤษฎี และงานวิจยั ท่ีเกีย่ วข๎องเกี่ยวกบั
การพัฒนาคณุ ภาพองคก๑ าร และความเป็นเลศิ ของโรงเรียน พบวํา สาระสาคัญทส่ี ามารถนามาใช๎
เปน็ กรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย ประกอบด๎วย 1) ภาวะผน๎ู า 2) การวางแผนเชิงกลยทุ ธ๑ 3) กระบวนการ
4) การมุํงเน๎นทรพั ยากรบคุ คล และ 5) ผลลพั ธ๑

3. วิเคราะหแ๑ นวคดิ เกย่ี วกับการบริหารงานวิชาการ 1) Miller (1965) ประกอบด๎วย 1.1) การจัด
โปรแกรมการสอน 1.2) การปฏิบตั ติ ามโปรแกรม 1.3) การติดตามการเรียนการสอน 1.4) การจัดบรกิ าร
การสอน 2) Faber and Sherron (1970) ประกอบด๎วย 2.1) การกาหนดจุดมํุงหมายของหลักสูตร
2.2) การจัดเน้ือหาของหลักสูตร 2.3) การจดั อปุ กรณ๑การสอน 2.4) การนิเทศการสอน 2.5) การสํงเสรมิ
ครูประจาการในความรู๎ 3) Campbell, Bridges and Nystrand (1977) ประกอบด๎วย 3.1) การกาหนด
จุดมุํงหมายเฉพาะของสถานศึกษา 3.2) การกาหนดโปรแกรมการเรยี นการสอนให๎บรรลุตามจุดมุํงหมาย
3.3) การพัฒนาและนาหลักสตู รของชาติไปใช๎ 3.4) การเลือกใช๎ เตรียมอุปกรณ๑ และส่อื การเรียน
3.5) การประเมินการสอน 4) Soliman (1997) ประกอบด๎วย 4.1) งานสอน 4.2) งานวิจัย 4.3) งานบรกิ าร
วิชาการแกสํ ังคม 5) Sergiovanni and Others (1980) 5.1) การตง้ั ปรัชญาการศกึ ษาและการตัง้ วัตถุประสงค๑
ในการบริหารงานเพ่ือให๎บรรลุปรัชญาการศึกษานั้น 5.2) จัดทาโครงการเพื่อให๎การบริหารบรรลุ
วตั ถุประสงค๑ท่ีตอ๎ งการ 5.3) จดั ใหม๎ ีการประเมินผลหลักสตู รและการเรยี นการสอนอยาํ งสม่าเสมอ
5.4) สรา๎ งบรรยากาศในโรงเรียนให๎พร๎อมที่จะรบั การเปล่ียนแปลง 5.5) จดั วสั ดเุ พื่อการเรียนการสอน
ใหเ๎ พยี งพอ 6) Smith (1995) ประกอบด๎วย 6.1) การจัดวตั ถุประสงคข๑ องหลกั สตู ร 6.2) การจัดเนอ้ื หา
ของหลักสูตร 6.3) การนาหลักสูตรไปใช๎ 6.4) การจัดหาอุปกรณ๑การสอน 6.5) การนเิ ทศการสอน
6.6) การสงํ เสรมิ ครูประจาการ 7) Austin and Reynolds (1990) ประกอบด๎วย 7.1) การจัดระบบของ

10

หลกั สูตร และการเรยี นการสอน 7.2) การพัฒนาบคุ ลากรด๎านการสอน 7.3) การจัดการเวลาเรยี นท่ีเกิด
ประโยชนส๑ งู สุด 7.4) ความเปน็ เลศิ ทางวิชาการท่ไี ด๎รับการยอมรับ 7.5) การมสี วํ นรวํ มและการสนับสนนุ
จากผูป๎ กครอง 7.6) การวางแผนรวํ มกนั 8) Kimbrough and Nunnery (1998) ประกอบดว๎ ย 8.1) การกาหนด
นโยบาย และหลักการให๎ชดั เจน 8.2) การกาหนดจุดมุํงหมายของการศึกษา 8.3) การจดั ระบบการเรยี น
การสอนให๎สอดคล๎องกับเป้าหมาย 8.4) การจัดองค๑กรของการเรียนการสอน 8.5) การประเมินผล
8.6) การจัดหาส่ิงสนบั สนุนการเรยี นการสอน 9) Hoy and Miskel (2001) ประกอบด๎วย 9.1) การมุํงเนน๎
ทางดา๎ นวิชาการ 9.2) มงุํ สมั ฤทธิผ์ ล 9.3) หลกั สตู รมีคณุ ภาพ และให๎โอกาสในการเรียนรู๎ 9.4) การจัด
บรรยากาศของโรงเรียน 9.5) บรรยากาศในช้ันเรียน 9.6) การมสี วํ นรํวมในการพัฒนาการศกึ ษาของ
ผ๎ปู กครอง 9.7) ศักยภาพในการประเมิน 9.8) การใช๎เวลาในการเรียนรู๎อยํางมปี ระสิทธภิ าพ 9.9) การมี
รปู แบบการจดั การเรยี นการสอน 9.10) มกี ารพัฒนาการจัดการเรยี นการสอน 9.11) มกี ารเรียนร๎ูอยาํ งอสิ ระ
9.12) มีการให๎ข๎อมูลย๎อนกลบั 10) รงํุ ชัชดาพร เวหะชาติ (2552) ประกอบด๎วย 10.1) การพัฒนาหลักสูตร
สถานศกึ ษา 10.2) การพัฒนากระบวนการเรียนรู๎ 10.3) การวัดผลประเมินผลและเทียบโอนประสบการณ๑
10.4) การวิจยั เพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา 10.5) การพัฒนาส่ือ นวัตกรรม และเทคโนโลยีเพอื่ การศกึ ษา
10.6) การพัฒนาแหลํงการเรียนร๎ู 10.7) การนเิ ทศการศึกษา 10.8) การแนะแนวการศึกษา 10.9) การพัฒนา
ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา 10.10) การสงํ เสริมความร๎วู ชิ าการแกชํ ุมชน 10.11) การประสาน
ความรํวมมือในการพัฒนาวิชาการกับสถานศกึ ษาและองคก๑ ารอืน่ 10.12) การสํงเสรมิ สนบั สนนุ วิชาการ
แกํบุคคล ครอบครัว องค๑กร หนํวยงาน และสถาบนั อื่นท่จี ัดการศกึ ษา 11) ปรยี าพร วงศ๑อนุตรโรจน๑
(2553) ประกอบด๎วย 11.1) งานควบคมุ ดแู ลหลกั สตู ร 11.2) การสอน 11.3) อปุ กรณก๑ ารสอน 11.4)
การจัดการเรียน 11.5) คํมู ือครู 11.6) การจดั ช้ันเรียน 11.7) การจัดครูเข๎าสอน 11.8) การปรับปรุงการเรียน
การสอน 11.9) การฝกึ อบรมครู 11.10) การนิเทศการศกึ ษา 11.11) การเผยแพรํผลงานวชิ าการ 11.12)
การวัดผลการศกึ ษา 11.13) การศึกษาวิจยั 11.14) การประเมินมาตรฐานสถานศกึ ษาเพ่ือปรับปรุงคุณภาพ
และประสทิ ธิภาพของสถานศกึ ษา 12) กมล สุดประเสริฐ (2550) ประกอบดว๎ ย 12.1) การพัฒนาหลกั สตู ร
สถานศกึ ษา 12.2) การพัฒนากระบวนการเรยี นรู๎ 12.3) การวดั ผล ประเมินผล และการเทียบโอนผล
การเรยี น 12.4) การประกันคุณภาพภายใน และมาตรฐานการศกึ ษา 12.5) การพฒั นาและใชส๎ ่ือเทคโนโลยี
เพื่อการศกึ ษา 12.6) การพัฒนาและสํงเสริมใหม๎ ีแหลงํ เรยี นร๎ู 12.7) การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
12.8) การสํงเสริมชมุ ชนให๎มคี วามเข๎มแข็งทางวชิ าการ 13) สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
(2550) ประกอบดว๎ ย 13.1) การพัฒนาและดาเนินการเกย่ี วกบั การพฒั นาหลกั สูตรทอ๎ งถ่ิน 13.2) การวางแผน
ดา๎ นวชิ าการ 13.3) การจัดการเรยี นการสอนในสถานศึกษา 13.4) การพัฒนาหลักสูตรของสถานศกึ ษา
13.5) การพัฒนากระบวนการเรียนรู๎ 13.6) การวัดผล ประเมินผล และดาเนินการเทยี บโอนผลการเรียน

11

13.7) การวิจัยเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศกึ ษา 13.8) การพัฒนาและสงํ เสริมใหม๎ ีแหลงํ เรียนรู๎
13.9) การนเิ ทศการศกึ ษา 13.10) การแนะแนว 13.11) การพฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพภายใน และมาตรฐาน
การศึกษา 13.12) การสงํ เสริมให๎ชุมชนมคี วามเข๎มแข็ง 13.13) การประสานความรํวมมือในการพัฒนา
วชิ าการกบั สถานศกึ ษาและองคก๑ รอน่ื 13.14) การสํงเสรมิ และสนบั สนนุ งานวิชาการแกบํ คุ คล ครอบครัว
องคก๑ ร หนํวยงาน สถานประกอบการ และสถาบนั อนื่ ที่จัดการศึกษา 13.15) การจดั ทาระเบยี บและ
แนวปฏบิ ัตเิ ก่ียวกบั งานด๎านวิชาการของสถานศึกษา 13.16) การคัดเลือกหนงั สือแบบเรยี นเพื่อใช๎ใน
สถานศึกษา 13.17) การพัฒนาและใช๎ส่ือเทคโนโลยีเพอ่ื การศึกษา และ 14) กรมสํงเสริมการปกครอง
สํวนท๎องถ่ิน (2553) ประกอบด๎วย 14.1) การพัฒนาหลักสูตร 14.2) การพัฒนากระบวนการเรียนรู๎
14.3) การวัดผลประเมนิ ผลและเทยี บโอนประสบการณ๑ 14.4) การวจิ ัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา
14.5) การพัฒนาส่ือ นวัตกรรม และเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา 14.6) การพัฒนาแหลํงการเรียนรู๎
14.7) การนิเทศการศกึ ษา 14.8) การแนะแนวการศึกษา 14.9) การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน
สถานศกึ ษา 14.10) การสํงเสริมความรู๎วชิ าการแกชํ ุมชน 14.11) การประสานความรํวมมือในการพัฒนา
วิชาการกบั สถานศึกษาและองค๑การอ่นื 14.12) การสงํ เสริมสนับสนุนวิชาการแกบํ ุคคล ครอบครัว
องค๑กร หนํวยงาน และสถาบันอนื่ ท่ีจัดการศกึ ษา

การวิจัยคร้ังนี้ ผู๎วจิ ัยไดก๎ าหนดสัญลักษณ๑ตวั อกั ษรภาษาองั กฤษแทนเอกสาร หนังสือ และใช๎
เคร่ืองหมาย  แสดงสาระสาคัญจากการวิเคราะห๑แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั ที่เก่ียวขอ๎ งประกอบ
การศึกษา ดังน้ี

A = Miller (1965)
B = Faber and Sherron (1970)
C = Campbell, Bridges and Nystrand (1977)
D = Soliman (1997)
E = Sergiovanni and others (1980)
F = Smith (1995)
G = Austin and Reynolds (1990)
H = Kimbrough and Nunnery (1988)
I = Hoy and Miskel (2001)
J = รงุํ ชชั ดาพร เวหะชาติ (2552)
K = ปรียาพร วงศ๑อนุตรโรจน๑ (2553)
L = กมล สดุ ประเสรฐิ (2550)

12

M = สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน (2550)
N = กรมสํงเสรมิ การปกครองสวํ นทอ๎ งถน่ิ (2553)

ตารางที่ 2 สรปุ ผลการศกึ ษาวเิ คราะห๑ เอกสาร แนวคดิ ทฤษฎี และงานวจิ ยั ท่เี กย่ี วกับการบรหิ าร
งานวิชาการ

ที่ สาระสาคญั ที่นามาใช้ A B C D E F G H I J K L M N

1. ตดิ ตาม ประเมินผลการเรยี น    

2. การพัฒนากระบวนการเรียนรู๎         

3. กาหนดจุดมงุํ หมายในการจัด   

การเรยี นการสอน

4. การนิเทศการสอน    

5. สํงเสริมครูดา๎ นความร๎ู เพอื่ เพิม่  

ทกั ษะการจัดกิจกรรมการเรยี น

การสอน

6. การพฒั นาและการนาหลักสูตร   

ไปใช๎

7. สงํ เสรมิ การมีสํวนรํวมของผ๎ูมี   

สํวนไดส๎ ํวนเสีย

8. การสํงเสริมความร๎ูทางวชิ าการ    

ใหบ๎ คุ คลที่เกยี่ วข๎องทางการศึกษา

9. การวิจยั เพอ่ื พัฒนาคุณภาพ      

การศกึ ษา

10. การประกันคุณภาพภายใน    

สถานศกึ ษา

11. การพัฒนา จัดหาอุปกรณ๑การเรยี น          

การสอน ส่ือ และเทคโนโลยีฯ

12. การพัฒนาแหลํงเรียนร๎ู   

13. การวางแผนดา๎ นวิชาการ   

14. การแนะแนวการศกึ ษา   

15. การสนบั สนุนวชิ าการแกํบคุ คล  

และครอบครวั

13

จากตารางที่ 2 การศึกษาวิเคราะห๑ หลักการ แนวคดิ ทฤษฎี และงานวิจยั ท่ีเก่ียวข๎องเก่ียวกบั
การบริหารงานวิชาการ พบวํา สาระสาคัญทีส่ ามารถนามาใช๎เป็นกรอบแนวคิดในการวจิ ัย ประกอบด๎วย
1) การติดตามและประเมินผลการเรยี น 2) การพฒั นา จดั หาอปุ กรณ๑การเรยี นการสอน ส่อื และเทคโนโลยี
ทางการศึกษา 3) การพัฒนาและการนาหลักสูตรไปใช๎ 4) การพัฒนาแหลํงเรียนรู๎ 5) การนเิ ทศการสอน
6) การวจิ ัยเพื่อพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา 7) การสงํ เสรมิ ความรู๎ทางวิชาการใหบ๎ คุ คลท่เี กยี่ วข๎องทาง
การศึกษา 8) การประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา 9) การแนะแนวการศกึ ษา

นาขอ๎ สรุปทไี่ ด๎มาสังเคราะห๑เพ่อื รํางกรอบองค๑ประกอบของรปู แบบฯ จากนนั้ ใชเ๎ ทคนิค
การวิจัยแบบ EDFR (Ethnographic Delphi Futures Research) ในการพัฒนารูปแบบการบรหิ ารงาน
วชิ าการสคํู วามเปน็ เลิศ นาผลท่ไี ด๎ไปสร๎างคมํู อื การปฏิบัตงิ านวชิ าการสูํความเป็นเลศิ ของโรงเรยี น
สงั กัดองค๑กรปกครองสํวนท๎องถนิ่ ดงั ภาพที่ 1

แนวคิดการพัฒนาคุณภาพองคก์ าร 14
1. รางวลั คณุ ภาพแหงํ ชาติยโุ รป
2. รางวัลคณุ ภาพแหงํ ชาตปิ ระเทศสงิ คโปร๑ องคป์ ระกอบรปู แบบการบริหารงานวิชาการ
3. รางวลั คณุ ภาพแหํงชาตปิ ระเทศไทย สคู่ วามเป็นเลิศของโรงเรยี น
4. รางวัลคุณภาพแหงํ ชาติประเทศญี่ปนุ่
5. แมแํ บบการจดั การศกึ ษาเชิงคณุ ภาพ สงั กัดองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่
1. ภาวะผูน๎ าทางวชิ าการ
แนวคดิ ความเปน็ เลศิ ของโรงเรยี น 2. ภารกิจและขอบขาํ ยงานวชิ าการ
1. รางวลั ความเป็นเลิศประเทศออสเตรเลีย 3. กระบวนการบริหารงานวิชาการ
2. รปู แบบโรงเรียนเป็นเลิศประเทศสงิ คโปร๑ 4. การมีสวํ นรวํ มในการบริหารงานวชิ าการ
3. รางวลั ความเป็นเลิศประเทศฮํองกง
4. แนวคดิ ความเป็นเลิศของปเี ตอร๑

และวอเตอร๑แมน
5. การบริหารโรงเรียนสูคํ วามเปน็ เลิศ

แนวคิดการบริหารงานวิชาการ
1. มิลเลอร๑
2. เฟเบอร๑และเชอรร๑ อน
3. แคมเบลล๑ บรดิ เจส และไนสแตรนด๑
4. โซลแิ มน
5. เซอรจ๑ โิ อวานนิ และคณะ
6. สมิท
7. ออสตนิ และเรโนลด๑
8. คิมบร็อป และนันเนรี
9. ฮอยและมิสเกล
10. รงํุ ชชั ดาพร เวหะชาติ
11. ปรียาพร วงศอ๑ นตุ รโรจน๑
12. กมล สุดประเสริฐ
13. สานกั งานคณะกรรมการการศึกษา

ขนั้ พื้นฐาน
14. กรมสงํ เสริมการปกครองสํวนทอ๎ งถ่ิน

ภาพท่ี 1 กรอบแนวคิดในการวจิ ยั

15

ขอบเขตของการวจิ ัย

การวจิ ยั คร้ังน้ีมีขอบเขตของการวิจยั ดงั นี้
1. ขอบเขตของกลุํมผใ๎ู ห๎ขอ๎ มลู
กลํมุ ผูใ๎ หข๎ อ๎ มลู ที่ใช๎ในการวจิ ัยคร้ังน้ี แบงํ ออกเป็น 3 กลมุํ

1.1 กลุมํ ผู๎ให๎ขอ๎ มูลที่ใช๎ในการสมั ภาษณ๑ข๎อมลู เกยี่ วกบั องค๑ประกอบของรูปแบบ
การบริหารงานวิชาการสํคู วามเปน็ เลศิ ของโรงเรียนสงั กดั องค๑กรปกครองสํวนท๎องถ่ิน ไดม๎ าโดย
การเลอื กแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive sampling) เน่ืองจากตอ๎ งการหาข๎อมลู กับผ๎มู คี วามรอบร๎ู
ในองค๑ประกอบของรปู แบบการบริหารงานวชิ าการในโรงเรยี นท่ีมีการจัดการศึกษาเป็นเลิศ (Key
informants) จานวน 12 คน ซง่ึ กาหนดคณุ สมบัติ ดังน้ี

1.1.1 เป็นผ๎ูบรหิ ารสถานศึกษา สงั กัดองคก๑ รปกครองสํวนท๎องถิ่น มปี ระสบการณ๑
ในการบริหารงานไมํนอ๎ ยกวํา 5 ปี ในโรงเรียนตน๎ แบบ หรือโรงเรยี นพระราชทาน หรือ

1.1.2 เป็นหวั หน๎างานวชิ าการ สังกดั องคก๑ รปกครองสวํ นท๎องถิน่ มปี ระสบการณ๑
ในการทางานไมนํ ๎อยกวาํ 5 ปี ในโรงเรียนต๎นแบบ หรือโรงเรยี นพระราชทาน

1.2 กลุํมผู๎ให๎ข๎อมลู ที่ใช๎ในการตรวจสอบความเหมาะสม ในการนาไปสูํการปฏบิ ตั ิ
ของรปู แบบการบริหารงานวิชาการสูคํ วามเป็นเลศิ ได๎มาโดยวธิ กี ารเลือกแบบเฉพาะเจาะจง
(Purposive sampling) จานวน 17 คน โดยแบํงเปน็ 2 กลมุํ ซง่ึ กาหนดคุณสมบตั ิ ดังนี้

1.2.1 เป็นผูอ๎ านวยการสถานศกึ ษา สงั กัดองค๑กรปกครองสํวนทอ๎ งถิ่น ดารง
ตาแหนํงทางการบริหารงานไมํนอ๎ ยกวาํ 5 ปี ในโรงเรยี นต๎นแบบ หรือโรงเรียนพระราชทาน

1.2.2 เป็นรองผู๎อานวยการสถานศึกษาฝา่ ยวชิ าการ หรือหัวหนา๎ งานวิชาการ
สังกัดองคก๑ รปกครองสวํ นท๎องถิ่น มีประสบการณ๑ในการทางานไมนํ ๎อยกวํา 5 ปี ในโรงเรยี น
ต๎นแบบ หรอื โรงเรยี นพระราชทาน

1.3 กลุํมผ๎ูให๎ขอ๎ มูลในการประเมินความเหมาะสมของคูํมอื การปฏิบตั งิ านวิชาการสูํ
ความเป็นเลศิ ของโรงเรียนสังกัดองคก๑ รปกครองสวํ นท๎องถ่ิน ไดม๎ าโดยการเลอื กแบบเฉพาะเจาะจง
เน่อื งจากตอ๎ งการหาข๎อมลู กบั ผูม๎ คี วามรอบรทู๎ างดา๎ นการบรหิ ารงานวิชาการในการปฏบิ ัตงิ านสํู
ความเปน็ เลิศ จานวน 9 คน ซงึ่ กาหนดคุณสมบตั ิ ดงั นี้

1.3.1 เป็นผูอ๎ านวยการสถานศกึ ษา สังกัดองคก๑ รปกครองสวํ นท๎องถ่ิน ดารงตาแหนํง
ทางการบริหารงานไมํน๎อยกวํา 5 ปี ในโรงเรยี นตน๎ แบบ หรือโรงเรียนพระราชทาน จานวน 3 คน

1.3.2 เปน็ รองผู๎อานวยการสถานศึกษาฝ่ายวชิ าการ หรือหัวหน๎างานวชิ าการ
สงั กัดองค๑กรปกครองสํวนท๎องถนิ่ มปี ระสบการณใ๑ นการทางานไมํน๎อยกวํา 5 ปี ในโรงเรยี น
ตน๎ แบบ หรือโรงเรียนพระราชทาน จานวน 3 คน

16

1.3.3 ผู๎เชยี่ วชาญ ท่ีสาเร็จการศกึ ษาระดับปริญญาเอก หรือปริญญาโทดา๎ น
การบริหารการศกึ ษา/ วจิ ยั และประเมนิ ผลการศึกษา/ การพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษา จานวน 3 คน

2. ขอบเขตด๎านเน้ือหา
การวิจยั คร้ังนี้ กาหนดขอบเขตด๎านเน้อื หา ดงั น้ี

2.1 รูปแบบการบริหารงานวิชาการสูคํ วามเป็นเลศิ ของโรงเรยี นสังกัดองค๑กรปกครอง
สํวนท๎องถิน่ เป็นรปู แบบท่ีได๎จากการวิเคราะห๑ข๎อมูลจากเอกสารท่ีเปน็ แนวคิด ทฤษฎี และหลกั การ
รวมทง้ั งานวิจัยท่เี กี่ยวขอ๎ ง โดยบูรณาการจากแนวคิดตํอไปนี้

2.1.1 การพฒั นาคณุ ภาพองค๑การ
2.1.2 ความเป็นเลิศของโรงเรียน
2.1.3 การบรหิ ารงานวิชาการ
2.2 รปู แบบการบริหารงานวิชาการสํูความเป็นเลิศของโรงเรยี นสังกดั องคก๑ รปกครอง
สวํ นทอ๎ งถิน่ เป็นการบริหารโดยอาศยั หลกั การพฒั นาองค๑การ ภายใต๎องค๑ประกอบทีส่ าคัญของ
กระบวนการบรหิ ารงานวชิ าการ ดังตํอไปน้ี
องคป์ ระกอบที่ 1 ภาวะผู๎นาทางวชิ าการ
1.1 การจัดองคก๑ ารเพ่ือการเรียนการสอน
1.2 การกาหนดทิศทาง นโยบาย เปา้ หมาย และแนวทางการจดั การศึกษา
1.3 การพัฒนาระบบงาน
1.4 คณุ ลกั ษณะการเปน็ ผน๎ู าสถานศึกษา
องค์ประกอบที่ 2 ภารกิจและขอบขาํ ยงานวิชาการในโรงเรียน
2.1 การพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา
2.2 การพฒั นากระบวนการเรยี นรู๎
2.3 การพฒั นาแหลงํ เรียนรู๎
2.4 การพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยเี พอื่ การศึกษา
2.5 การนเิ ทศการศึกษา
2.6 การวิจยั เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
2.7 การประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา
2.8 การแนะแนวการศกึ ษา
2.9 การวัดผล ประเมนิ ผล และเทียบโอนผลการเรียน

17

องคป์ ระกอบท่ี 3 กระบวนการบรหิ ารงานวิชาการ
3.1 แนวทางการบริหารงานวชิ าการ
3.2 การนาแผนงานวิชาการไปปฏิบตั ิ
3.3 การตรวจสอบ ประเมนิ ผลงานวิชาการ
3.4 การนาผลประเมินมาปรับปรงุ งานวชิ าการ

องค์ประกอบท่ี 4 การมสี ํวนรํวมในการบรหิ ารงานวชิ าการ
4.1 การมีสวํ นรํวมของผม๎ู สี ํวนไดส๎ วํ นเสียในการจัดการศึกษา
4.2 การสํงเสริมความรู๎ทางวิชาการแกํผ๎มู ีสํวนไดส๎ วํ นเสีย

3. ขอบเขตดา๎ นระยะเวลา
ในการทาวจิ ยั รปู แบบการบริหารงานวิชาการสํคู วามเปน็ เลศิ ของโรงเรียนสังกดั องคก๑ ร
ปกครองสวํ นท๎องถิน่ ในคร้ังนีใ้ ชร๎ ะยะเวลาในปกี ารศึกษา 2559 ถึงปกี ารศึกษา 2560

นิยามศัพทเ์ ฉพาะ

ผูว๎ จิ ัยไดก๎ าหนดนิยามศัพทเ๑ ฉพาะตําง ๆ ในการวจิ ัยครั้งน้ี เพื่อให๎เกิดความเข๎าใจ
ความหมายตรงกนั ดังตํอไปนี้

1. รปู แบบการบริหารงานวิชาการสํคู วามเป็นเลศิ หมายถึง องคป๑ ระกอบท่ีได๎จาก
การสงั เคราะห๑ แนวคดิ ทฤษฎงี านวจิ ยั ของนักการศกึ ษา การสมั ภาษณ๑ผ๎ูเช่ียวชาญ ประกอบด๎วย

1.1 ภาวะผ๎ูนาทางวิชาการ หมายถงึ ผ๎ูบรหิ ารสถานศึกษาต๎องมภี าวะผน๎ู า มีการกาหนด
ทิศทางในการบรหิ ารงานอยํางชดั เจน ผ๎บู รหิ ารต๎องผลกั ดันและสนบั สนนุ ใหเ๎ กดิ การดาเนนิ งานตาม
ทศิ ทางทกี่ าหนด ตลอดจนติดตามและทบทวนผลการดาเนนิ งาน ประกอบด๎วย

1.1.1 การจัดองค๑การเพอื่ การเรยี นการสอน หมายถึง ผบ๎ู ริหารสถานศกึ ษามกี ารกาหนด
โครงสร๎างครอบคลมุ ภารกิจงาน กาหนดสายการบังคับบัญชาทรี่ ับผิดชอบครบตามโครงสรา๎ งองคก๑ าร
อยาํ งเหมาะสม วิเคราะห๑ภาระงาน และสงํ เสรมิ ให๎ครูจดั กิจกรรมการเรียนการสอนตรงตามหลักสตู ร
สถานศกึ ษา

1.1.2 การกาหนดทิศทาง นโยบาย เปา้ หมาย และแนวทางการจัดการศึกษา หมายถึง
ผูบ๎ รหิ ารสถานศึกษามีการวเิ คราะหจ๑ ุดแขง็ จดุ ออํ นขององค๑กร กาหนดทิศทาง วิสยั ทศั น๑ พันธกจิ
เปา้ หมาย กลยุทธอ๑ ยาํ งชัดเจนโดยเปิดโอกาสให๎ทกุ คนมสี วํ นรวํ ม

1.1.3 การพฒั นาระบบงาน หมายถึง ผูบ๎ รหิ ารสถานศกึ ษามีความสามารถพัฒนา
งานบุคลากรให๎ทางานเป็นทีม กาหนดข้ันตอนการดาเนนิ งาน และจัดทาข๎อมูลสารสนเทศเปน็ ปัจจุบัน

18

1.1.4 คณุ ลักษณะการเป็นผู๎นาสถานศกึ ษา หมายถึง ผบู๎ ริหารสถานศึกษาปฏบิ ตั ิตน
ตามจรรยาบรรณวิชาชีพ มีบุคลิกภาพท่ีดี มีความมั่นคงในอารมณ๑ รู๎และเข๎าใจหลักการทฤษฎี
ในการบริหารสถานศึกษา ให๎คาแนะนากบั ผูใ๎ ต๎บงั คบั บัญชาไดอ๎ ยํางเหมาะสมจนเป็นท่ียอมรบั
และศรทั ธาตํอผู๎รวํ มงาน สามารถประสานงานกบั ทุกฝ่ายใหด๎ าเนินงานอยํางมปี ระสทิ ธิภาพ

1.2 ภารกจิ และขอบขํายงานวิชาการในโรงเรียน หมายถึง ผ๎ูบริหารสถานศึกษาต๎องมี
การวางแผนกลยุทธอ๑ ยาํ งเหมาะสมกบั สภาพแวดล๎อมทั้งภายในและภายนอก และทส่ี าคัญต๎องมี
การนากลยุทธไ๑ ปสกํู ารปฏิบัติ ตลอดจนมีการติดตามผลการปฏิบัติงาน เพ่ือให๎บรรลุวัตถุประสงค๑
ความเปน็ เลศิ ของสถานศกึ ษา ภารกิจหลักของสถานศึกษาด๎านงานวชิ าการ ประกอบด๎วย

1.2.1 การพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษา หมายถึง การวเิ คราะห๑หลักสูตรสถานศกึ ษา
การจัดทาหลักสตู รสถานศกึ ษา การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู๎ การสงํ เสริมการจัดการเรียนการสอน
โดยยึดหลักสูตรสถานศึกษา ติดตาม ตรวจสอบ นิเทศการใช๎หลักสูตรสถานศกึ ษา

1.2.2 การพัฒนากระบวนการเรยี นร๎ู หมายถึง การออกแบบการจัดกิจกรรมการเรยี น
การสอนให๎เหมาะสมกับผ๎เู รียน

1.2.3 การพัฒนาแหลงํ เรียนร๎ู หมายถงึ การสนับสนุนให๎ครูใช๎แหลํงเรียนร๎ทู ั้งภายใน
และภายนอกในการจดั การเรียนร๎ู รวมท้ังตดิ ตามประเมินผลการใชแ๎ หลํงเรยี นร๎ู

1.2.4 การพัฒนาสอ่ื นวตั กรรม และเทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษา หมายถงึ การสํงเสริม
ใหค๎ รูผลิตและพัฒนาสอ่ื การเรยี นร๎ู ประเมินผลการใชส๎ ่ือ นวตั กรรม รวมท้ังจัดหาสอ่ื และเทคโนโลยี
ทีเ่ หมาะสมเพ่ือใชใ๎ นการเรียนการสอน จดั เกบ็ อยํางเป็นระบบ งาํ ยตอํ การใชง๎ าน

1.2.5 การนิเทศการศกึ ษา หมายถึง กจิ กรรมทดี่ าเนินงานเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู๎
ใหค๎ วามร๎ูแกํครใู นการจัดการเรียนการสอน เพื่อนามาผลการนเิ ทศมาปรับปรงุ พัฒนาการจัดการเรียนร๎ู

1.2.6 การวิจัยเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา หมายถงึ การสร๎างความตระหนกั ถึง
ความสาคัญในการวิจยั ในช้ันเรียน เพ่ือนามาพัฒนาการจัดการเรียนรู๎

1.2.7 การประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา หมายถึง การวางแผนพฒั นาระบบ
การประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา การประสานความรํวมมอื กับผ๎มู ีสวํ นเกีย่ วขอ๎ งในการจัด
การศึกษา การปรบั ปรุง พัฒนา ตดิ ตาม และประเมินผลการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
รวมทงั้ จดั ทาสรปุ รายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา

1.2.8 การแนะแนวการศึกษา หมายถงึ จดั ทาแผนงานโครงการแนะแนวการศกึ ษา
ดาเนินการแนะแนวการศกึ ษา โดยประสานงานกบั หนํวยงานอื่นในการแนะแนวเพ่ือศึกษาตอํ
ตดิ ตามและประเมนิ ผลการแนะแนว

19

1.2.9 การวัดผล ประเมนิ ผล และเทยี บโอนผลการเรียน หมายถึง การกาหนด
แนวทางในการปฏบิ ตั กิ ารวัดผล ประเมนิ ผล และเทยี บโอนผลการเรียน

1.3 กระบวนการบริหารงานวิชาการ หมายถึง การจัดการบริหารงานวิชาการในด๎านตาํ ง ๆ
ประกอบด๎วย

1.3.1 แนวทางการบริหารงานวชิ าการ หมายถงึ การกาหนดเป้าหมาย แนวทาง
การดาเนินงานวชิ าการ

1.3.2 การนาแผนไปปฏิบัติ หมายถึง การดาเนินงานเพ่ือนาวิธกี ารจากการวางแผน
ไปใชส๎ ูคํ วามเป็นเลศิ

1.3.3 การตรวจสอบและประเมนิ ผล หมายถึง การวัดผล ประเมนิ ผลการดาเนินงาน
ในข้ันตอนกระบวนการดาเนินงานเพ่ือบริหารงานวชิ าการสํคู วามเป็นเลิศ

1.3.4 การนาผลมาปรับปรุงพฒั นา หมายถึง การตรวจสอบคุณภาพงาน นาผลมา
ปรบั ปรงุ พัฒนาเพ่ือวางแผนแก๎ไขในระยะตํอไป ตลอดจนรายงานผลใหผ๎ ๎ูมสี ํวนเกีย่ วข๎องทราบ

1.4 การมสี ํวนรวํ มในการบริหารงานวิชาการ หมายถงึ ผู๎บริหารสถานศกึ ษาสร๎าง
คํานิยมของคนในสถานศกึ ษาให๎มีสวํ นรํวม มีความสมั พันธ๑เชงิ บวกในการทางานใหบ๎ รรลเุ ปา้ หมาย
อยํางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล จูงใจ ชํวยให๎ครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถพัฒนา
และใช๎ศักยภาพของตนเองอยํางเต็มท่ี ในการมํุงไปสํูเป้าหมายของสถานศึกษา ตามวตั ถุประสงค๑
และแผนปฏบิ ตั กิ าร รวมไปถงึ การสร๎างบรรยากาศที่เก้ือหนุนเพื่อโน๎มไปสํูผลการดาเนินการที่เป็นเลิศ
ประกอบด๎วย การมสี ํวนรํวมของผม๎ู สี ํวนไดส๎ ํวนเสยี ในการจดั การศึกษา การสงํ เสริมความร๎ูทางวชิ าการ
แกผํ ม๎ู สี วํ นได๎สวํ นเสยี

2. ความเปน็ เลิศ หมายถงึ ระดับความสาเร็จ หรือประสทิ ธผิ ลของการดาเนนิ งานทีม่ ี
คุณภาพ มีความโดดเดนํ เป็นทพ่ี ึงพอใจและยอมรบั ของผ๎ูเก่ียวขอ๎ ง สามารถเป็นแบบอยํางของงาน
ชนิดเดยี วกนั ได๎ รวมท้งั สามารถดารงคณุ ภาพไวไ๎ ด๎อยํางยง่ั ยืน

3. องคก๑ รปกครองสวํ นท๎องถิ่น หมายถงึ เทศบาล และองคก๑ ารบริหารสวํ นจังหวัด
ทม่ี กี ารจัดการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน โดยรบั นโยบายจากกรมสงํ เสริมการปกครองสวํ นท๎องถ่ิน
กระทรวงมหาดไทย

20

บทท่ี 2
เอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ กย่ี วข้อง

การวิจัยคร้ังน้ี ผ๎วู จิ ัยได๎ศึกษารูปแบบการบริหารงานวิชาการสํูความเปน็ เลิศของโรงเรยี น
สังกัดองคก๑ รปกครองสวํ นท๎องถ่ิน โดยศกึ ษาแนวคดิ ทฤษฎแี ละงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ียวขอ๎ งดงั นี้

1. ความเป็นเลศิ
1.1 ความหมายของความเป็นเลิศ
1.2 ความเป็นมาของความเป็นเลิศ
1.3 แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกบั การบรหิ ารสํูความเป็นเลิศ

2. แนวคดิ ทฤษฎีเก่ยี วกบั การพฒั นาคุณภาพองค๑กร
2.1 รางวลั คณุ ภาพแหํงชาติยุโรป
2.2 รางวลั คุณภาพแหํงชาติประเทศสิงคโปร๑
2.3 รางวลั คณุ ภาพแหํงชาติประเทศไทย
2.4 รางวลั คณุ ภาพแหงํ ชาติประเทศญป่ี ุ่น
2.5 แมํแบบการจัดการศึกษาเชิงคุณภาพ

3. แนวคิดเก่ียวกับความเป็นเลศิ ของโรงเรยี น
3.1 รางวลั ความเป็นเลศิ ประเทศออสเตรเลีย
3.2 รปู แบบความเปน็ เลิศประเทศสงิ คโปร๑
3.3 รางวัลความเป็นเลิศประเทศฮํองกง
3.4 แนวคิดความเป็นเลิศของปเี ตอร๑และวอเตอร๑แมน
3.5 รูปแบบการบรหิ ารความเป็นเลศิ ของแมคคนิ ซี

4. การบรหิ ารงานวชิ าการ
4.1 ความหมายของการบริหารงานวิชาการ
4.2 ความสาคญั ของการบริหารงานวชิ าการ
4.3 ขอบขํายการบริหารงานวิชาการ
4.4 แนวคดิ ทฤษฎเี กีย่ วกบั ขอบขํายการบริหารงานวชิ าการ
4.4.1 การวางแผนงานดา๎ นวิชาการ
4.4.2 การพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา
4.4.3 การพฒั นากระบวนการเรียนรู๎
4.4.4 การวดั ผล ประเมนิ ผล และการเทียบโอนผลการเรยี น

21

4.4.5 การวิจยั เพื่อพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา
4.4.6 การพัฒนาและสงํ เสริมให๎มแี หลงํ เรยี นร๎ู
4.4.7 การประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา และมาตรฐานการศกึ ษา
4.4.8 การสงํ เสริมชมุ ชนให๎มีความเขม๎ แข็งทางวิชาการ
4.4.9 การพฒั นาและใชส๎ ื่อ และเทคโนโลยเี พ่ือการศึกษา
5. การจดั การศึกษาขององค๑กรปกครองสวํ นท๎องถ่ิน
6. งานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวข๎อง
6.1 งานวจิ ัยในประเทศ
6.2 งานวิจัยตาํ งประเทศ

ความเป็นเลศิ

ความหมายของความเป็นเลิศ
ความหมายของความเปน็ เลิศ มคี วามหมายหลายดา๎ นและเปน็ การยากทคี่ นสํวนใหญจํ ะ
เหน็ พอ๎ งต๎องกันให๎เปน็ กรอบมโนทัศนท๑ ่ีเป็นสากล ทางการศกึ ษาจะมองคณุ ภาพในลกั ษณะของ
ประสิทธิผลและประสทิ ธิภาพของกระบวนการเรียนการสอน ความสามารถของนักเรียน
ในการแก๎ปญั หาวิเคราะห๑และวิจารณ๑ในตํางประเทศเริ่มจาก
Longman (1987, p. 89) ใหค๎ วามหมายความเปน็ เลิศ (Excellence) วาํ หมายถงึ คณุ ภาพ
Donabedian (1980, p. 56) เห็นวาํ หมายถงึ การมีคณุ ภาพสูง
Sentell (1994, p. 123) ใหค๎ วามหมายความเป็นเลิศขององคก๑ ารวาํ หมายถงึ องคก๑ ารท่ีมี
สมรรถนะในการบริหารจดั การ มีศักยภาพในการดาเนนิ ธุรกจิ บรกิ ารและผลผลติ ขององค๑การมี
คณุ ภาพและมาตรฐานสนองความคาดหวงั และความพงึ พอใจของผู๎รับบริการหรอื ผบ๎ู ริโภคมเี กณฑ๑
Cobb (2003, p. 201) เห็นวาํ เปน็ องคก๑ ารทม่ี กี ารดาเนนิ งานท่ีประสบผลสาเร็จอยํางดเี ย่ียม
Collins (2006, pp. 113-114) ใหค๎ วามหมายความเปน็ เลิศ (Excellence) วําหมายถึง องค๑การ
แหํงความเป็นเลิศในความหมายของการเปน็ เลศิ ท่มี ากกวาํ ระดับดี (Good) ไปสคํู วามดีเลศิ
Kao, Kao and Jing (2006, pp. 256-257) เห็นวาํ องค๑การทม่ี ีความเป็นเลศิ หมายถึง องคก๑ าร
ทปี่ ระสบความสาเร็จในด๎านการเงนิ สามารถให๎ความชํวยเหลอื สงั คมและสามารถสรา๎ งมลู คาํ เพม่ิ
ให๎กบั ผลผลิตทมี่ ีคุณคําตํอการลงทนุ ไดใ๎ นระยะยาว
The European Foundation for Quality Management (2005) ให๎ความหมายความเป็นเลิศ
(Excellence) วําหมายถงึ วิธีการที่โดดเดนํ ในการบรหิ ารองคก๑ ารให๎บรรลุผลสัมฤทธิข์ องผลลพั ธ๑

22

สรปุ ไดว๎ ําความเป็นเลศิ หมายถึง ระดับความสาเร็จหรือประสทิ ธผิ ลของการดาเนนิ งาน
ทมี่ คี ุณภาพ มคี วามโดดเดํน เปน็ ทพ่ี งึ พอใจและยอมรับของผ๎ูเกย่ี วข๎อง สามารถเป็นแบบอยาํ งของ
งานชนิดเดียวกันได๎ รวมทง้ั สามารถดารงคุณภาพไวไ๎ ด๎อยํางยั่งยนื

ความเป็นมาของความเป็นเลิศ
โลกยุคปัจจบุ นั ได๎พัฒนาเขา๎ สยํู ุคของสงั คม เศรษฐกิจฐานความร๎ู (Knowledge-based economy
society) จากการเปลี่ยนแปลงดังกลําว ทาใหป๎ ระเทศไทยจาเปน็ ต๎องปรับยทุ ธศาสตร๑ในการพัฒนา
ประเทศในทกุ ๆ ดา๎ นไมวํ ําจะเปน็ องค๑การทางธุรกิจ หรือองค๑การทางด๎านการศึกษาเพ่ือพฒั นาคน
ในองคก๑ ารให๎เป็นบคุ คลแหํงการเรียนร๎ูตลอดเวลา มีปญั ญา มคี วามรู๎ และมีภาวะผ๎นู าในการบริหาร
ความเปลยี่ นแปลง (สุรศักด์ิ ศภุ เมธีวรกลุ , 2557, หนา๎ 219) ซ่ึงสภาพดงั กลําวทาใหเ๎ ปน็ ภาระตํอ
การบรหิ ารองค๑การท่จี ะต๎องพยายามแสวงหาแนวทางปรับองคก๑ ารเพื่อให๎กา๎ วไปสํู “ความเป็นเลศิ ”
ผูบ๎ รหิ ารจะต๎องตระหนกั และใหค๎ วามสาคญั เพ่ือมํุงสํคู วามเปน็ เลิศ
Steel ซงึ่ เป็นผเู๎ ชยี่ วชาญและมีประสบการณใ๑ นเรอื่ งการจัดการดา๎ นคุณภาพนานมากกวาํ
40 ปี เป็นผ๎ูตรวจสอบ เปน็ ทีป่ รึกษา และเป็นผ๎ูตรวจการประเมนิ รางวัลคุณภาพแหํงชาติของสหรัฐอเมรกิ า
(The Malcolm Baldrige National Quality Award: MBNQA) ซ่ึงเป็นต๎นแบบของรางวัลคุณภาพแหํงชาติ
ของไทย (Thailand Quality Award: TQA) Steel ได๎เร่ิมเขยี นเก่ยี วกับแนวคิดการบริหารจัดการคุณภาพ
เพือ่ ความเป็นเลศิ ดงั น้ี
ชํวงปี ค.ศ. 1950-1960 ชวํ งนี้ผ๎ูผลิตสินคา๎ สวํ นใหญยํ ังไมํใหค๎ วามสาคัญกบั คณุ ภาพสินคา๎
แตํกม็ ีนักบริหารการจัดการคุณภาพ คือ Demingand Juran นาแนวคิดเรื่องของคุณภาพมาใชใ๎ นการผลิต
สินค๎า สํวน Feigenbaum ได๎นาแนวคิดเร่ือง การควบคุมคณุ ภาพโดยรวม (Total Quality Control: TQC)
มาใชแ๎ ละตํอมาเปน็ ทแี่ พรํหลายทวั่ โลก
ชวํ งปี ค.ศ. 1960-1970 แนวคิดการจัดการคณุ ภาพโดยใชเ๎ ทคนคิ ตําง ๆ เชํน เทคนคิ กระบวนการ
ทางานเป็นทีมเพ่ือให๎เกิดวงจรคุณภาพ (Quality Circles: QC) Ishikawa ได๎เริ่มใช๎แผนภูมิก๎างปลา
(Fishbone diagram) ในประเทศญ่ีปุน่ เป็นครงั้ แรก และเริ่มสนใจในขอ๎ กาหนดกฎเกณฑต๑ ําง ๆ ทจ่ี ะ
นาไปสกํู ระบวนการผลติ อยํางมีคุณภาพ
ชํวงปี ค.ศ. 1970-1980 โดย Deming แหํงประเทศญีป่ ุ่นไดใ๎ ช๎หลักสถิติเป็นเคร่ืองมือมาชํวย
ในเรื่องของการจัดการด๎านคุณภาพ หรือท่เี รยี กวําเทคนคิ การควบคมุ คุณภาพเชิงสถติ ิ และประเทศญ่ีปุ่น
ได๎มกี ารจัดต้ังรางวัล Deming prize เปน็ รางวัลด๎านคุณภาพเพอื่ มอบใหแ๎ กํบรษิ ทั ท่ีมีการจัดการทีด่ ีเดํน
ในดา๎ นคณุ ภาพ สํวนในประเทศอเมริกา Crosby ได๎เนน๎ ให๎บริษัทผ๎ูผลติ สินคา๎ ใสใํ จและมองเหน็ ถึง
ความต๎องการของลกู ค๎าในเรื่องคุณภาพของสินคา๎ วําเป็นหัวใจสาคัญที่บริษัทจะต๎องคานึงถึง โดยใสใํ จ
ตอํ การปรบั ปรุงคุณภาพของสินค๎าอยํางตํอเนื่อง (Continuous Improvement: CI)

23

ชํวงปี ค.ศ. 1980-1990 เน๎นการทางานเป็นทีม โดยการใหเ๎ กียรติซ่ึงกันและกันระหวําง
ผ๎ูปฏิบัติงาน และใช๎สถิติในการจัดการคุณภาพ นอกจากนี้เกิดแนวคิด Six Sigma ของ Bill Smith
และการพฒั นาคณุ ภาพอยํางตอํ เนื่อง (Continuous Quality Improvement: CQI) ตลอดจนการจัดตัง้
รางวลั คุณภาพแหํงชาติ เพื่อมอบให๎กบั บรษิ ทั ทมี่ กี ารพัฒนาคณุ ภาพสูคํ วามเปน็ เลิศซง่ึ ตํอมาไดแ๎ พรํหลาย
และกลายเป็นต๎นแบบให๎เกิดรางวัลคุณภาพแหงํ ชาตใิ นอีกหลายสิบประเทศตอํ ๆ มาจนถึงปัจจบุ ัน
ซ่ึงแนวคิดการจดั การดา๎ นคุณภาพชํวงนีไ้ ด๎เปล่ียนจากแนวคิดทีม่ องเฉพาะดา๎ น โดยเฉพาะกระบวนการ
ผลิต (Operational process) เปน็ การจัดการเพื่อคุณภาพในทุกสวํ นของกระบวนการ (Total process)

ชํวงปี ค.ศ. 1990-2000 เป็นยคุ ทมี่ ีการรบั รองคุณภาพของระบบ ISO การรับรองคุณภาพนี้
ไมํไดม๎ งุํ เขา๎ ไปท่กี ารจัดการคุณภาพเพ่อื ความเปน็ เลิศ หากแตํเปน็ ระบบรับรองคุณภาพทีบ่ งํ บอกวํา
องค๑การน้ัน ๆ ผํานเกณฑม๑ าตรฐานข้ันต่าโดยทัว่ ไป และมีการให๎รางวัลคณุ ภาพของประเทศทางยุโรป
(European Quality Award: EQA) ซ่งึ คล๎ายกับรางวัล MBNQA ดงั น้ัน การจัดการคุณภาพจึงควรมุํงเน๎น
หรือมุํงม่ันไปสูํระดับความเป็นเลิศของโลก (World-class excellence) อันจะเป็นจุดหมายสูงสุด
ของทกุ ๆ องค๑การ มากกวําการรับรองคุณภาพเทาํ น้ัน

ชวํ งปี ค.ศ. 2000-2010 เป็นยคุ ท่กี ารจัดการดา๎ นคุณภาพสคํู วามเป็นเลศิ จะประกอบด๎วย
องคป๑ ระกอบหลกั ไดแ๎ กํ ความเปน็ ผูน๎ า การวางแผนกลยุทธ๑ การมงุํ เนน๎ ลกู คา๎ เป็นศูนยก๑ ลาง การจัด
การความร๎ู การจดั การทรัพยากรมนุษย๑ การจัดกระบวนการ และผลลพั ธ๑ ความสมั พันธร๑ ะหวาํ งโครงสรา๎ ง
พน้ื ฐานกบั คณุ ลักษณะการบรหิ ารเพ่ือความเป็นเลศิ Peters and Waterman (1982) ซึง่ ถอื วาํ แนวคิด
ความเป็นเลศิ น้ีเกดิ จาก Peter and Waterman (1982) ทท่ี าให๎องค๑การปัจจุบนั เร่มิ หันมาสนใจแนวคิด
ความเป็นเลิศอยํางเปน็ ทางการในหนงั สือ “In search of excellence” อยํางไรกต็ ามยงั ถอื วําแนวคิด
ความเป็นเลิศเป็นส่ิงยากท่ีจะทาความเข๎าใจมันข้ึนอยูํกับความสามารถ/ สมรรถนะ และคํานิยมที่
หลากหลาย

สรปุ ไดว๎ าํ เกณฑ๑รางวัลของความเป็นเลศิ เกิดขน้ึ ในชํวงปลายทศวรรษ ค.ศ. 1980-1990
เปน็ จุดเรมิ่ ต๎นท่ที าให๎หลายองคก๑ ารพัฒนาประเทศใหม๎ ศี ักยภาพในการแขงํ ขัน ท้งั ทางด๎านเศรษฐกจิ
และสังคม เพื่อเข๎าสูํประชาคมอาเซยี นและประชาคมโลก

แนวคิด และทฤษฎเี กี่ยวกับการบริหารสู่ความเป็นเลศิ
สภาพในปัจจุบันองค๑การธุรกิจรัฐวสิ าหกิจหรือแม๎แตํราชการก็ตามมกั จะได๎รับผลกระทบ
อันเกดิ จากการเปลยี่ นแปลงของสภาพแวดล๎อมตําง ๆ อันประกอบดว๎ ย เศรษฐกิจ สังคมและการเมือง
จึงมีผลให๎องค๑การต๎องตกอยํูในสภาวะที่มีอุปสรรคในการดาเนินการเพ่ือให๎องค๑การดารงอยํูได๎
ประกอบกบั สภาวะของการแขงํ ขันขององค๑การตาํ ง ๆ จะเพิ่มทวีความรุนแรงขึ้น ทัง้ ในรูปแบบของ
สินค๎า การบริการ ด๎านคุณภาพ ความประหยัดในการดาเนินงาน (พร้ิมเพรา วราพันธ๑พพิ ิธ, 2556,

24

หนา๎ 17) ซ่งึ สภาพดงั กลําวทาให๎เป็นภาระตํอการบริหารองคก๑ ารท่ีจะต๎องพยายามแสวงแนวทางปรับ
องคก๑ ารเพ่ือใหก๎ า๎ วไปสํู “ความเป็นเลศิ ” โดยผบ๎ู ริหารจะต๎องตระหนกั และใหค๎ วามสาคัญตํอการแสวงหา
ยุทธวิธีการบริหารเพ่ือมุํงสํูความเป็นเลิศ ซ่ึงหลักการแนวคิดการบริหารองค๑การเพื่อความเป็นเลิศ
จะมหี ลากหลายซ่งึ ผ๎บู ริหารสามารถศกึ ษาหายทุ ธวธิ ตี ามท่ีเหน็ วํามคี วามเหมาะสมกับองค๑การในท่ีน้ี
จะเสนอประเดน็ แนวทางในการบรหิ ารองค๑การเพื่อความเปน็ เลิศ โดยมรี ายละเอียดดงั นี้

1. กรอบแนวคิดการบรหิ ารแบบมงํุ ประสทิ ธิผลและประสทิ ธิภาพขององคก๑ าร
งานองค๑การ คือ การผลติ สนิ คา๎ หรือบรกิ ารใหก๎ ับลกู ค๎า เพื่อบรรลุเป้าหมายมีองค๑ประกอบ
ทีส่ าคญั 3 ระบบใหญํ ๆ คือ 1) ทรพั ยากรทีใ่ ช๎ (Resource input) ไดแ๎ กํ คน วัตถุดบิ เงิน เทคโนโลยี
2) กระบวนการแปรรูป (Transformation process) ได๎แกํ งานของผู๎บรหิ ารองค๑การทีจ่ ะเปลยี่ นสภาพ
จากวัตถุดบิ ไปเปน็ สนิ ค๎าหรือบริการลกู คา๎ เชํน ผบ๎ู รโิ ภค ผลผลิต ผลสะทอ๎ นกลับ (Feedback) และ
3) ผลผลิต (Product output) ได๎แกํ ผลการปฏิบัติงานของผู๎บริหาร (Management performance) การวัดผล
การปฏิบตั ิงานของผบ๎ู รหิ ารนั้นให๎ดูผลการผลติ (Productivity) วาํ สงู หรือตา่ ซ่ึงผลการผลติ หมายถึง
การวัดผลรวมทางด๎านปริมาณลักษณะคุณภาพของงานทท่ี าเมื่อเปรียบเทียบกับทรัพยากรที่ใช๎
หมายความวําจานวนทรัพยากรระดบั หน่ึงผ๎ูบริหารกํอให๎เกดิ ผลการผลิต ด๎วยปริมาณและคุณภาพเทําไร
หากพิจารณาในแงสํ มการจะไดด๎ งั นี้

Productivity = Quantify + Quality + Resources
กลาํ วอีกนัยหนงึ่ วําผลการผลิตทส่ี ูงสดุ คือได๎งานปริมาณมากท่ีสดุ ได๎คณุ ภาพดที ่สี ุด และใช๎
ทรพั ยากรประหยัดทส่ี ดุ การวัดผลรวม ผลการผลติ อาจทาไดห๎ ลาย ๆ รปู แบบแล๎วแตํลกั ษณะงานทท่ี า
การวัด ผลการผลิตในความหมายนผ้ี ูบ๎ รหิ ารสามารถผลติ สินคา๎ ไดภ๎ ายในเวลาทกี่ าหนด
และไดค๎ ุณภาพมาตรฐานทตี่ ๎องการ โดยได๎ผลผลิตจานวนหนึ่งด๎วยทรัพยากรที่ใช๎จานวนหน่ึง ดังนน้ั
การเพ่ิมผลการผลิตอาจทาได๎ 3 วธิ ีคือ 1) เพม่ิ ผลผลิตโดยใชท๎ รพั ยากรเทําเดมิ 2) ลดการใชท๎ รพั ยากร
โดยไดผ๎ ลผลิตเทําเดิม 3) การเพมิ่ ผลผลติ และลดการใช๎ทรัพยากรลง
นอกจากนี้ การวดั ผลการผลติ (Productivity) ตามทีก่ ลําวแลว๎ อาจวดั ได๎จาก ความมปี ระสทิ ธิผล
(Effectiveness) และประสทิ ธิภาพ (Efficiency) ประสทิ ธผิ ล หมายถงึ การทางานใหบ๎ รรลเุ ป้าหมาย
ทตี่ อ๎ งการในแงํของผู๎บริโภค สนิ ค๎า ได๎ปริมาณ และคุณภาพตรงกบั ความต๎องการของผ๎ูบรโิ ภค
ประสิทธิภาพ หมายถึง การทางานโดยเสยี คําใช๎จํายตา่ ความมปี ระสิทธิผลขององคก๑ าร
(Organization effectiveness) เปน็ หัวข๎อสาคัญตํอการวิเคราะห๑ และขัดเกลาพฤตกิ รรมองค๑การท่ีเกดิ จาก
การบริหารงานวํามีประสทิ ธภิ าพเพียงใด ความมีประสทิ ธิผลขององค๑การขึ้นอยํูกบั เงื่อนไขท่วี ําองค๑การ
สามารถทาประโยชน๑จากสภาพแวดล๎อมจนบรรลุเปา้ หมายทต่ี ัง้ ใจไว๎ แตํสง่ิ ทีส่ าคัญเบ้ืองหลงั อยํูควบคํู
กบั ประสิทธิผลกค็ ือความมีประสิทธภิ าพ (Efficiency) ซ่ึงหมายถึง การมสี มรรถนะสูง สามารถมีระบบ

25

การทางานสร๎างสมทรพั ยากรและความมัง่ ค่งั เกบ็ ไวภ๎ ายในไวเ๎ พือ่ การขยายตัวตํอไป และเพ่ือเอาไว๎
สาหรบั รองรับสถานการณ๑ ท่ีอาจเกิดวกิ ฤตการณจ๑ ากภายนอกดว๎ ย

ในแงํของการวดั ผลการปฏบิ ตั งิ านของผูบ๎ รหิ ารจะต๎องพจิ ารณา 2 สวํ นทีส่ าคัญ คือ ทรัพยากร
ขององค๑การและลกู คา๎ องคก๑ าร การบรหิ ารงานทด่ี ีจะต๎องใชท๎ รพั ยากรอยํางถกู ต๎องเหมาะสมและตรงกบั
ความต๎องการของลูกค๎า แตํในสํวนของการบริหารการศึกษาน้ันผ๎ูบริหารการศึกษาและผู๎บริหาร
สถานศกึ ษาต๎องให๎ความสาคัญกบั ประสิทธผิ ลและประสทิ ธิภาพ รวมถงึ ตระหนกั ถงึ ปริมาณและ
คณุ ภาพทเ่ี กดิ ขึ้นในตวั นักเรยี น

2. กรอบแนวคิดของการบริหารงานแบบมุํงผลสัมฤทธ์ิ
การปฏิรูประบบราชการเป็นนโยบายหนึง่ ท่ีรัฐบาลไทยใหค๎ วามสาคัญเน่ืองจากการปฏิรูป
ราชการยังเป็นเรื่องท่ีรัฐบาลประเทศตําง ๆ ให๎ความสนใจเพราะวําการรับขําวสารของประชาชน
ได๎รับการยกระดับให๎สูงข้ึน แตํการบริการของรัฐยังไมํตอบสนองความต๎องการของประชาชน
อยาํ งทันเหตกุ ารณ๑ งานลําช๎าซา้ ซอ๎ นไมมํ ีประสทิ ธิภาพ โดยเฉพาะเมอ่ื เทียบกับการให๎บริการภาคธรุ กิจ
เอกชนการมีกฎระเบียบรุงรังไมํยืดหยํุน ระบบการทางานไมํโปรํงใสและไมสํ ามารถแก๎ปัญหา
ทางเศรษฐกิจและสังคม จึงจาเปน็ ต๎องไดร๎ ับการเปล่ียนแปลง รูปแบบหน่ึงที่ไดน๎ ามาใช๎ในการปฏิรปู
ระบบราชการคือการบรหิ ารท่ีเนน๎ ผลลพั ธ๑ (Result-based management) หรอื เรยี กวาํ การบรหิ ารแบบ
มงุํ ผลสัมฤทธ์ซิ ่ึงเปน็ รปู แบบการบรหิ ารท่ีเน๎นความรบั ผิดชอบที่ตรวจสอบได๎ (Accountability) ของ
รฐั บาลตํอประชาชน กลําวคอื รฐั บาลจะตอ๎ งแสดงให๎เปน็ ท่ีประจกั ษ๑ตํอประชาชนวาํ รัฐได๎ใชง๎ บประมาณ
แผํนดนิ ไปอยํางมปี ระสิทธิภาพและไดผ๎ ลอยาํ งไรโดยแสดงถงึ ผลงานวํามอี ะไรบา๎ ง
กลาํ วสรุปไดว๎ ํา การบริหารแบบมุํงผลสัมฤทธิ์เป็นการจดั หาทรัพยากรอยาํ งประหยัด
(Economy) การบรหิ ารทรัพยากรอยาํ งมีประสทิ ธภิ าพ และการไดผ๎ ลงานทีบ่ รรลเุ ปา้ หมายของ
องค๑การ หรือประสทิ ธิผลการทางาน (Effectiveness)
3. กรอบแนวคิดการบริหารเพือ่ ความเปน็ เลิศ
Peter and Waterman (1982, pp. 13-19) เสนอกรอบแนวคิดตามคณุ ลกั ษณะ 8 ประการ
ของความเป็นเลศิ จาแนกกรอบพื้นฐาน 7-S สามารถสรปุ เปน็ ลกั ษณะดีเดํนของบริษัทในอเมริกา
ได๎ 8 ประการ ดงั น้ี
1. มุํงการปฏบิ ตั ิ (A bias for action) 1) การทาให๎องค๑การมีความคลอํ งตวั 2) การแบํง
ออกเป็นกลุมํ ๆ 3) องค๑การคิดค๎นทดลองปฏิบตั ิ 4) เน๎นความเรว็ และจานวน 5) เน๎นการเรยี นรู๎
แบบประหยดั 6) เน๎นเน้ือหาการทดลองปฏบิ ัติ และ 7) ระบบทงี่ าํ ย
2. การใกล๎ชดิ กับลูกค๎า (Closed to customer) 1) กลยุทธด๑ ๎านบรกิ ารคุณภาพและความเชื่อถอื
2) ความเปน็ นกั หาชอํ งทาง และ 3) การรบั ฟงั ความคดิ เห็นของลูกคา๎

26

3. ความเปน็ อสิ ระและความเป็นเจ๎าของ (Autonomy and entrepreneurship) 1) การกระจาย
อานาจ 2) จัดกลํมุ งานขนาดเล็ก 3) สนบั สนนุ การคิดค๎นสิ่งใหมํ ๆ 4) เน๎นการแขํงขัน 5) ใชก๎ ารติดตํอ
สอื่ สารอยาํ งไมํเป็นทางการ และ 6) อดทนตอํ ความล๎มเหลว

4. การเพ่ิมผลผลิตโดยอาศยั คน (Productivity through people) 1) ผูบ๎ รหิ ารมีทศั นคตทิ ่ีดี
ตอํ พนกั งาน 2) นาองค๑ประกอบระบบสไตล๑การบริหารคํานิยมรํวมสนบั สนนุ ให๎เพ่ิมผลผลติ 3) ใช๎
นโยบายไมํปลดพนักงานออก 4) ฝึกอบรมและพฒั นาพนักงาน 5) ใชภ๎ าษาใหเ๎ กยี รติ 6) นาระบบ
การจงู ใจมาใช๎ 7) สรา๎ งบรรยากาศในการทางานรํวมกัน 8) ไมํเข๎มงวดในเรื่องการปฏบิ ัติตามสาย
บังคับบัญชามากนกั 9) สรา๎ งความตื่นตัวให๎แกพํ นักงาน 10) เข๎มงวดกบั การคดั เลือกกลนั่ กรองและ
การรับพนกั งานใหมํ 11) ให๎พนักงานใหมํได๎สัมผสั งานจริงดว๎ ยตัวเอง 12) ให๎พนกั งานมีสํวนรวํ ม
ในการรับทราบข๎อมลู 13) เน๎นการปรบั กลํุมงานให๎มีขนาดเล็กกะทัดรดั และ 14) กาหนดปรัชญา
ทเ่ี นน๎ ความไว๎วางใจพนกั งานมาใช๎

5. การสมั ผสั และมงํุ คุณคํา (Hand-on and close to the customer value-driven) 1) ให๎
ความสาคัญกับคุณคําและคุณภาพการบริการ 2) กาหนดเป้าหมายเชิงคุณภาพมากกวําปริมาณ 3) เช่ือวํา
พนักงานทุกคนเป็นทรัพยากรที่มีคุณคํา 4) ต๎องมีวิสัยทัศน๑กว๎างไกล 5) ไมํเรียกพนักงานมาพบท่ี
หอ๎ งทางาน 6) จดั ให๎มกี ารพบปะสงั สรรคใ๑ นกลํุมผ๎ูบรหิ ารระดบั สงู และ 7) สํงเสริมบรรยากาศทดี่ ี
ในการทางานไมเํ ครียดจนเกินไป

6. ทาแตธํ รุ กจิ ท่มี ีความเชย่ี วชาญและเก่ยี วเน่ือง (Stick to the knitting) 1) ไมํขยายธรุ กจิ
ออกไปในด๎านท่ีตนเองไมํชานาญ และ 2) หากต๎องขยายธุรกจิ ของตนเองออกไปในดา๎ นทต่ี นเอง
ไมํชานาญ ต๎องใชเ๎ งินไมสํ ูงนักมงํุ ความเฉพาะดา๎ นบางสาขาเพ่อื สนบั สนนุ งานหลักที่ดาเนนิ การอยํู
ควรทดลองเพ่ิมขน้ึ ทีละนอ๎ ยและหากไปไดด๎ ีก็ให๎ความสาคญั มากข้ึน

7. รปู แบบทเี่ รยี บงํายและใช๎คนน๎อย (Simple form and lean staff) 1) จดั โครงสร๎างองค๑การ
แบบเมทรกิ ซ๑ 2) การจัดโครงสรา๎ งองค๑การในระดับบนดว๎ ยการใชโ๎ ครงสร๎างแบบรปู แบบเดียว
3) โครงสรา๎ งมขี นาดกะทดั รัด ใช๎คนนอ๎ ย และ 4) โครงสรา๎ งมคี วามเหมาะสม สามารถปรับตัว
แตยํ ังคงรปู เดิม

8. การเข๎มงวดและผอํ นปรนในขณะเดียวกนั (Simultaneous loose tight properties)
1) สร๎างสภาพแวดล๎อมที่เหมาะสมตํอการทางาน 2) โครงสร๎างมีความยืดหยํุน 3) ให๎พนกั งานทางาน
โดยสมัครใจ ยอมรบั นกั คิดค๎นส่งิ ใหมํ ๆ 4) ต้งั ทมี หรือกลมํุ งานทม่ี ุงํ ทดลองปฏิบตั ิ 5) ประเมนิ แบบ
ไมเํ ป็นทางการดา๎ นบวกและสรา๎ งเครอื ขํายทางสงั คม 6) สร๎างเคร่อื งมอื ด๎านการควบคมุ 7) ให๎ความสาคัญ
กบั คุณภาพมากํอนต๎นทนุ 8) เขม๎ งวดกับระเบียบข๎อบงั คับตําง ๆ 9) ใหพ๎ นกั งานทุกคน ยึดถือการทางาน

27

ท่มี คี ุณภาพ 10) เนน๎ การกระทาส่ิงตําง ๆ อยํางเรยี บงํายโดยอาศัยหลกั ของความเปน็ จริง และ 11) เน๎น
การส่ือสารท่ีจะต๎องกระทาอยํางจรงิ จงั เขม๎ งวดและรวดเร็ว

จากแนวคิดเก่ียวกบั ความเป็นเลศิ กลําวได๎วาํ การนาแนวคิดแบบใดแบบหนึ่งมาใช๎อาจไมํ
สามารถแกป๎ ัญหาได๎ทั้งหมด รวมท้งั บรบิ ทแตํละโรงเรยี นแตกตํางกัน ดังนนั้ การนามาประยุกต๑ใช๎
จาเปน็ ตอ๎ งนาไปปรับให๎เหมาะสมกับสภาพและบริบทของโรงเรียน

แนวคดิ ทฤษฎเี กีย่ วกบั การพฒั นาคณุ ภาพองคก์ ร

ผูว๎ ิจัยขอเสนอแนวคดิ และทฤษฎเี กี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพองคก๑ ร ดังนี้
รางวัลคุณภาพแหง่ ชาติยุโรป
รางวัลคณุ ภาพแหงํ ยุโรป (European Quality Award: EQA) เริม่ เป็นทางการเม่ือปี ค.ศ. 1991
(พ.ศ. 2534) วัตถปุ ระสงค๑หลกั คือ สนับสนุน กระต๎ุน ยกยอํ งการจัดการคุณภาพท้ังองคก๑ ารท่ีประสบ
ความสาเรจ็ สาหรับรางวลั มี 2 ประเภท คือ รางวัล EFQM กบั รางวลั EQA ทางด๎านรางวลั EFQM
เป็นรางวัลท่ีให๎กับผ๎ูมีผลงานยอดเย่ียมในการจัดการคุณภาพ และใช๎แนวคิดการจัดการคุณภาพ
ทั้งองคก๑ ารเป็นหลัก สวํ นรางวัล EQA เปน็ รางวัลแบบฉบับของการจัดการคุณภาพทัง้ องคก๑ ารที่
ประสบความสาเร็จมากทสี่ ุดในยุโรปตะวันตก เชํน บริษทั มิลแิ กน (Miliken) ได๎รางวัลปี ค.ศ. 1993
(พ.ศ. 2536) ผูท๎ ชี่ นะรางวลั มีสทิ ธใิ ช๎สญั ลกั ษณ๑ EQA ติดสินคา๎ ได๎ รางวัล EQA เป็นรางวัลท่ตี ๎องมี
การแขํงขนั ผสู๎ มคั รตอ๎ งเป็นบรษิ ทั ที่แสวงหากาไร มฐี านการผลิตทย่ี ุโรปในรอบ 5 ปี ที่ผาํ นมา ต๎องมี
สวํ นดาเนนิ การในยุโรปไมนํ ๎อยกวํารอ๎ ยละ 50 สํวนองค๑การไมแํ สวงหากาไรไมํมสี ิทธิ์สมคั ร
สาหรบั ตัวแบบทใ่ี ชใ๎ นการประเมินรางวัล EQA แสดงดงั ภาพที่ 2

ภาวะผูน๎ า การจัดการคน กระบวนการ ความพงึ พอใจของคน ผลลพั ธ๑
ทางธุรกจิ
นโยบายและ ความพงึ พอใจ
กลยุทธ๑ ของลกู ค๎า

ทรัพยากร ผลกระทบตํอสงั คม

ปัจจยั ทที่ าให๎เกดิ ความสามารถ ผลลัพธ๑

ภาพท่ี 2 ตวั แบบท่ีใช๎ในการประเมนิ รางวัลคุณภาพแหํงยุโรป (European Quality Award: EQA)
(ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร๑ คณะรัฐศาสตร๑ จุฬาลงกรณ๑มหาวทิ ยาลัย)

28

จากภาพที่ 2 เรยี กวํา The excellence model ตัวชีว้ ัดในรปู แบบ EFQM มี 9 เกณฑ๑ แบงํ ออกเปน็
สองกลมุํ คอื ปัจจัยท่ที าให๎เกิดความสามารถ (Enablers) และปัจจยั การวัดผลลัพธ๑ คือ

1. ภาวะผ๎นู า หมายถงึ ตวั ช้วี ัดทแ่ี สดงถงึ วธิ กี ารท่ีกลมํุ ผ๎บู รหิ ารองคก๑ ารนาเอาวิธีการปรับปรุง
คุณภาพมาใช๎ในกระบวนการทางาน

2. นโยบายและกลยทุ ธข๑ ององคก๑ าร หมายถึง ตัวชี้วัดทีแ่ สดงถงึ วิธกี ารทอี่ งคก๑ รใช๎แนวคิด
ในการปรับปรุงคุณภาพในการกาหนดแนวทาง การส่ือสาร การปฏบิ ัตงิ าน การตรวจสอบและปรับปรุง
นโยบายและกลยทุ ธ๑ เกณฑย๑ อํ ย

3. พนกั งานในองค๑การ หมายถงึ ตัวชี้วดั ท่ีแสดงวธิ ีการที่องค๑การใชศ๎ ักยภาพของพนักงาน
เพือ่ ปรับปรุงกจิ การอยํางตํอเน่ือง

4. ทรพั ยากร หมายถงึ ตัวชวี้ ัดทีแ่ สดงวธิ ีการทอ่ี งคก๑ ารวางแผนและจดั การกบั ห๎ุนสวํ น
ภายนอก คคูํ ๎า และทรัพยากรภายในเพื่อสนับสนุนนโยบายและกลยทุ ธแ๑ ละกระบวนการปฏิบัตงิ าน
ทม่ี ีประสิทธิภาพ โดยคานงึ ถึงความสมดลุ ระหวํางสภาพปัจจบุ ันและความต๎องการในอนาคต รวมทั้ง
คานงึ ถึงชุมชนและสภาพแวดลอ๎ มด๎วย

5. กระบวนการ หมายถึง การออกแบบ การจดั การ และการปรับปรุงกระบวนการ
เพื่อทีจ่ ะสร๎างความพึงพอใจให๎กบั ลกู คา๎ และผูม๎ สี วํ นได๎สํวนเสีย

6. ความพงึ พอใจของลกู คา๎ หมายถึง ตวั ชีว้ ดั ทแ่ี สดงการรับรูข๎ องลูกคา๎ ตํอผลติ ภณั ฑ๑
และบรกิ ารขององคก๑ าร

7. ความพึงพอใจของคน หมายถงึ ตวั ชีว้ ัดทแี่ สดงถึงความรสู๎ กึ ของพนักงานในองค๑การ
8. ผลทก่ี ระทบตํอสงั คม หมายถึง ตัวช้ีวัดแสดงการรับรู๎ของสงั คมโดยรวมเก่ยี วกับ
การปฏบิ ตั ิงานขององค๑การ
9. ผลลพั ธ๑ทางธุรกิจ หมายถงึ ตวั ชวี้ ัดที่แสดงการบรรลุผลความสาเรจ็ ตามวัตถุประสงค๑
และเป้าหมายท่อี งคก๑ ารวางไว๎
สรปุ ได๎วาํ รางวัลคุณภาพแหงํ ยโุ รป มวี ัตถปุ ระสงค๑ คือ สนับสนนุ กระต๎ุน ยกยํอง และให๎
รางวลั บรษิ ัทท่มี ีฐานการผลิตในยโุ รปท่ปี ระสบความสาเร็จ ปจั จยั ในตัวแบบมที ั้งหมด 9 ตัว เป็นปัจจัย
ท่ที าให๎เกดิ ความสามารถ 5 ตัว ไดแ๎ กํ 1) ความเปน็ ผน๎ู า 2) การจดั การคน 3) นโยบายและกลยุทธ๑
4) ทรพั ยากร 5) กระบวนการ และปัจจยั การวัดผลลัพธอ๑ กี 4 ตวั ไดแ๎ กํ 1) ความพงึ พอใจของคน
2) ความพึงพอใจของลกู คา๎ 3) ผลกระทบตอํ สังคม และ 4) ผลลพั ธท๑ างธรุ กิจ
รางวลั คุณภาพแห่งชาตปิ ระเทศสิงคโปร์
รางวัลคุณภาพแหํงชาติประเทศสิงคโปร๑ (Singapore Quality Award: SQA) มีเกณฑ๑
ในการพจิ ารณาทั้งสนิ้ 7 หมวด ในแตํละหมวดมีประเด็นยํอยประกอบรายละเอยี ดดงั นี้

29

1. ภาวะผ๎นู า เปน็ การตรวจประเมินระบบการนาองคก๑ ารวํา ผ๎ูนาระดับสงู ขององค๑กร
มกี ารพฒั นาวสิ ัยทัศน๑และพันธกิจที่งํายตอํ การเขา๎ ใจและนาองค๑การไปสูคํ วามเป็นเลศิ

2. สารสนเทศ เปน็ การมงํุ เน๎นไปยงั การจัดการในด๎านสารสนเทศและการใช๎ข๎อมูล
เทยี บเคียงและเปรียบเทยี บกับสง่ิ ทด่ี ที ส่ี ุด (Benchmark) เพอ่ื สนบั สนนุ การตัดสนิ ใจในทุกระดับของ
องค๑การการจัดระบบสารสนเทศ การเปรียบเทียบคํแู ขงํ ขนั และสิ่งท่ีดีท่สี ดุ

3. การวางแผน เปน็ การมุงํ เน๎นไปยงั กระบวนการวางแผนขององค๑การ มีการบูรณาการ
ความต๎องการหลักไปสูํแผนงานขององค๑การอยาํ งไร การนาแผนไปสกูํ ารปฏิบตั ิ รวมท้ังมกี ารติดตาม
ผลการปฏบิ ัตงิ าน การพฒั นากลยุทธ๑และการนาไปปฏบิ ัติ

4. ทรัพยากรบคุ คล เป็นการมุํงเน๎นการนาศกั ยภาพของพนักงานมาใชใ๎ นการสร๎างผลงาน
5. การจดั กระบวนการ เปน็ การมุํงเน๎นวํา กระบวนการหลักขององคก๑ ารสนับสนุนไปสํู
วัตถปุ ระสงคแ๑ ละเปา้ หมายขององคก๑ าร
6. การมงํุ เนน๎ ลูกคา๎ เป็นการมุํงเนน๎ วําองค๑การมีวิธีการอยํางไรในการตัดสนิ ใจเก่ยี วกบั
ความต๎องการของลูกค๎าและตลาด
7. ผลลัพธ๑การปฏิบัติงานและคุณภาพ เป็นการประเมนิ วําผลของการดาเนนิ การและ
การปรบั ปรงุ ขององค๑การ ในพื้นทส่ี าคัญขององคก๑ ารเปน็ อยํางไร และระดับผลของการดาเนินการ
ขององคก๑ ารทสี่ ามารถเปรียบเทียบกับส่ิงท่ดี ที ส่ี ุด แสดงดงั ภาพที่ 3

นวัตกรรม
การวางแผน

ภาวะผู๎นา
ภาวะผู๎นา
กระบวนการ

ลูกค๎า
ผลลัพธ๑
สารสนเทศ

พนักงาน

การเรยี นร๎ู

ตัวผลกั ดนั ระบบ ผลลพั ธ๑

ภาพที่ 3 ระดบั ผลลพั ธ๑ดา๎ นลกู คา๎ ผลลัพธ๑ดา๎ นการเงนิ และตลาด ผลลัพธ๑ด๎านการปฏบิ ัติงาน
(เข๎าถึงไดจ๎ าก http://spring.gov.sq/portal/product/awards/sqa.)

30

จากภาพท่ี 3 สรปุ ได๎วํา รางวลั คุณภาพแหงํ ชาตปิ ระเทศสงิ คโปร๑ ประกอบด๎วย การประเมิน
ทงั้ 7 หมวด สามารถแบํงออกเปน็ องค๑ประกอบพื้นฐานได๎ 3 กลมุํ คือ 1) ตัวผลักดนั มีผ๎ูบริหารระดับสงู
เป็นผก๎ู าหนดทศิ ทาง และมองหาโอกาสในอนาคต 2) ระบบ เป็นกลํมุ ของกระบวนการทมี่ กี ารออกแบบ
อยาํ งดเี พือ่ ท่ีจะทาให๎การดาเนินการขององค๑การเป็นไปตามทต่ี ๎องการ และ 3) ผลลัพธ๑ เปน็ การสํง
มอบคุณคาํ ใหล๎ กู คา๎ และการดาเนินการองค๑การอยาํ งตอํ เน่อื ง

รางวัลคณุ ภาพแห่งชาตปิ ระเทศไทย
รางวัลคุณภาพแหํงชาติประเทศไทย (Thailand Quality Award: TQA) เร่ิมต๎นต้ังแตํ
มีการลงนามในการบันทึกความเข๎าใจระหวาํ งสถาบันเพ่ือเพิม่ ผลผลติ แหํงชาติ และสานักงานพฒั นา
วทิ ยาศาสตร๑และเทคโนโลยีแหงํ ชาติ เม่ือวันท่ี 5 กันยายน พ.ศ. 2539 ถือเป็นรางวลั ระดับมาตรฐานโลก
เนื่องจากมีพื้นฐานทางด๎านเทคนคิ และกระบวนการตัดสนิ รางวลั เชํนเดยี วกบั รางวลั คุณภาพแหํงชาติ
ของประเทศสหรัฐอเมริกา หรือ The Macolm Baldridge National Quality Award (MBNQA)
ซ่ึงเปน็ ตน๎ แบบรางวัลคุณภาพแหงํ ชาตทิ ่ปี ระเทศตาํ ง ๆ หลายประเทศท่ัวโลก
วัตถปุ ระสงค์
1. สนับสนนุ การนาแนวทางรางวลั คณุ ภาพแหงํ ชาติไปใชใ๎ นการปรบั ปรงุ ความสามารถ
ในการแขงํ ขัน
2. ประกาศเกยี รติคณุ ให๎กบั องค๑การทปี่ ระสบผลสาเร็จในระดับมาตรฐานโลก
3. กระตนุ๎ ใหม๎ ีการเรียนรแู๎ ละแลกเปลย่ี นวธิ ปี ฏิบตั ิท่เี ปน็ เลิศ
4. แสดงใหน๎ านาชาติเหน็ ถึงความมุงํ มน่ั ในการยกระดบั มาตรฐานความเป็นเลศิ
ในการบรหิ ารจัดการ
ค่านยิ มหลักและแนวคดิ
เกณฑร๑ างวัลคุณภาพแหํงชาตินี้ จดั ทาขน้ึ โดยอาศยั คํานยิ มหลกั และแนวคิดตาํ ง ๆ ดงั น้ี
1. การนาองค๑การอยาํ งมวี สิ ัยทศั น๑
2. ความเป็นเลศิ ทม่ี ุํงเน๎นลกู คา๎
3. การเรยี นร๎ูขององค๑การและของแตลํ ะบุคคล
4. การให๎ความสาคัญกับพนักงานและคํูค๎า
5. ความคลํองตัว
6. การมงุํ เน๎นอนาคต
7. การจดั การเพ่อื นวัตกรรม
8. การจดั การโดยใชข๎ ๎อมลู จรงิ
9. ความรับผิดชอบตํอสังคม

31

10. การมํุงเน๎นทีผ่ ลลัพธแ๑ ละการสร๎างคณุ คํา
11. มุมมองในเชงิ ระบบ
คํานยิ มหลกั และแนวคดิ ตาํ ง ๆ ดงั กลาํ วมาจากความเชอื่ และพฤติกรรมขององค๑การที่มี
การดาเนินการท่ีดีหลายแหงํ ด๎วยกัน จึงเป็นพื้นฐานในการนาความต๎องการหลกั ของธุรกิจมาบูรณาการ
ภายในกรอบการจัดการที่เน๎นผลลัพธ๑ เพื่อสร๎างพ้ืนฐานในการปฏิบตั ิการและการให๎ข๎อมูลป้อนกลับ
ของผลที่เกิดขนึ้
สรปุ ได๎วํา รางวัลคณุ ภาพแหํงชาติประเทศไทยจะมอบให๎แกํองค๑การภาครัฐและภาคเอกชน
ท่ีมรี ะบบบริหารจดั การที่เป็นเลศิ มกี ารมอบรางวลั นี้ครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ. 2545 โดยสถาบันเพิ่มผลผลติ
แหํงชาติ โดยมีเกณฑต๑ ัดสนิ รางวัลคณุ ภาพแหงํ ชาติ ประกอบด๎วย 1) การนาองคก๑ าร (Leadership)
2) การวางแผนองค๑การ (Strategic planning) 3) การมํุงเนน๎ ที่ลูกค๎าและตลาด (Customer and marketing
focus) 4) สารสนเทศและการวเิ คราะห๑ (Information and analysis) 5) การมงํุ เน๎นท่ที รพั ยากรบุคคล
(Human resource focus) 6) การบริหารกระบวนการ (Process management) และ 7) ผลการดาเนนิ การ
ทางธรุ กิจ (Business results)
รางวัลคณุ ภาพแหง่ ชาติประเทศญ่ีปุ่น
มีหลักเกณฑก๑ ารใหร๎ างวลั โดยประเมนิ จาก 3 ด๎านหลัก คือ
1. ระบบพนื้ ฐาน พิจารณา 6 ประเดน็

1.1 นโยบายคุณภาพและการกระจาย
1.1.1 มีการกาหนดนโยบายบริหารที่เน๎นคณุ ภาพและลูกค๎า
1.1.2 มีการกระจายนโยบายดงั กลําวไปทั่วทั้งองค๑การ

1.2 การพัฒนาสินคา๎ ใหมํ/ บรกิ ารใหมหํ รือการปรับปรงุ งาน
1.2.1 มีความพยายามในการพัฒนาสินค๎า/ บริการใหมํอยเํู สมอ
1.2.2 ผลการพัฒนาดังกลําวสร๎างความพึงพอใจและผลการประกอบการที่ดี

1.3 การบรหิ ารและปรับปรุงคณุ ภาพสนิ คา๎ / บริการ/ งาน
1.3.1 การบริหารงานประจา
1.3.2 การปรับปรุงอยํางตํอเน่อื ง

1.4 การจัดระบบบริหารคณุ ภาพ
1.4.1 คุณภาพ
1.4.2 การสํงงาน
1.4.3 ต๎นทุน

32

1.4.4 ความปลอดภัย
1.4.5 สิ่งแวดล๎อม
1.5 การรวบรวม วิเคราะหข๑ ๎อมูล และระบบขอ๎ มูลสารสนเทศ
1.6 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย๑
2. ผลงานดเี ดํน พิจารณา 5 ประเด็น
2.1 วสิ ัยทัศน๑ กลยุทธข๑ องผูน๎ า
2.1.1 การแสวงออกของภาวะผู๎นาเพื่อสร๎างวิสัยทัศน๑รํวม
2.2 การกาหนดกลยุทธ๑ของการพฒั นาองค๑การที่เหมาะสม
2.2.1 การปรับปรุงองค๑การภายในแผนกลยุทธ๑
2.2.2 การสร๎างวัฒนธรรมที่มองคุณคาํ ลูกค๎า
2.2.3 การพัฒนาระบบคุณภาพเพื่อสร๎างวัฒนธรรมที่มองคุณคําลูกค๎า
2.2.4 กระบวนการสร๎างสรรค๑ พัฒนาสินคา๎ / บรกิ ารใหมํ
2.2.5 การพัฒนาระบบสร๎างสรรค๑เทคโนโลยี/ สินคา๎ ใหมํ จนเปน็ ทพ่ี อใจลูกคา๎
2.2.6 การก๎าวกระโดดของผลประกอบการกิจการ
2.3 การปรับปรงุ คณุ ภาพ
2.3.1 การปรับปรุงประสิทธิภาพและความรวดเร็วในการผลิต
2.3.2 การลดตน๎ ทุน
2.3.3 การปรับปรุงสภาพแวดล๎อมและความปลอดภัย
2.3.4 การสร๎างพื้นฐานการบริหารของกิจการ
2.4 การเพิม่ ความสามารถด๎านเทคนิคและกจิ การ
2.4.1 การปรับตัวตํอสภาพแวดล๎อมการบริการ
2.4.2 การให๎น้าหนกั กับการพัฒนาความสามารถของบุคลากร
2.5 การจดั ระบบพนื้ ฐานของข๎อมลู
3. ความเปน็ ผู๎นา พจิ ารณา 5 ประเดน็
3.1 ความเขา๎ ใจและความมงุํ มนั่ ตํอการบริหารท่วั ทัง้ องค๑การ
3.2 วิสยั ทัศน๑ กลยทุ ธ๑ เป้าหมาย
3.3 การสรา๎ งเสรมิ ความเข๎มแข็งให๎องค๑การ
3.4 การพฒั นาทรัพยากรมนุษย๑
3.5 ความรบั ผดิ ชอบตํอสังคมขององค๑การ
แสดงไดด๎ ังภาพที่ 4

33

1. นโยบายคุณภาพและการกระจาย

5. การรวบรวม 2. การพัฒนาสินคา๎ ใหมํ/ 3. การบรหิ ารและปรบั ปรุง 6. การพัฒนา
วเิ คราะหข๑ ๎อมูล บริการใหมหํ รือการปรับปรุงงาน คณุ ภาพสนิ ค๎า/ บริการ/ งาน ทรพั ยากร
และระบบข๎อมูล มนุษย๑

4. การจดั ระบบบรหิ ารคณุ ภาพ
ระบบพ้ืนฐาน

ภาพที่ 4 การเชื่อมโยงประเด็นในระบบพ้ืนฐานของรางวลั คุณภาพแหงํ ชาตปิ ระเทศญปี่ ุ่น
(สุจรติ คูณธนกุลวงศ,๑ 2547)

จากภาพท่ี 4 สรปุ ไดว๎ ํา รางวัลคุณภาพแหํงชาติประเทศญ่ีปนุ่ เปน็ รางวลั ที่ใหแ๎ กํบคุ คล
และกลมํุ เป็นประจาทุกปี มี 3 ประเภท คือ 1) ประเภทบคุ คล (Individual) 2) ประเภทการประยุกต๑
(Application) 3) ประเภทโรงงาน รางวลั ประเภทบุคคล (Individual) ให๎แกํคนที่เขา๎ ใจและนาการควบคุม
คุณภาพทัง้ องคก๑ ารไปใช๎อยาํ งได๎ผล รางวลั ประเภทประยุกต๑และโรงงานน้นั ให๎แกบํ ริษทั และโรงงาน
ท่มี ีความเดนํ ในดา๎ นการควบคุมคุณภาพทัง้ องคก๑ าร และใชเ๎ ทคนิคทางสถิตใิ นการปรบั ปรงุ คณุ ภาพ
สวํ นโครงสรา๎ งของระบบรางวัลเดมม่ิง ประกอบดว๎ ยปจั จัยหลกั ท่ใี ชต๎ รวจสอบ 10 ปจั จัย ได๎แกํ
1) ดา๎ นนโยบาย 2) ดา๎ นองคก๑ ารและการปฏบิ ัตกิ าร 3) ดา๎ นการศึกษาและเผยแพรํ 4) ดา๎ นการเก็บ
รวบรวมข๎อมูล การติดตํอส่ือสาร และการใช๎ประโยชนจ๑ ากขอ๎ มูล 5) ดา๎ นการวเิ คราะห๑ 6) ดา๎ นการทา
มาตรฐาน 7) ดา๎ นการควบคุมและการจัดการ 8) ดา๎ นการประกนั คุณภาพ 9) ด๎านผลลพั ธ๑ และ 10) ด๎านแผน
ในอนาคต

แมแ่ บบการจัดการศึกษาเชิงคุณภาพ SIPPO MODEL
การปฏริ ปู ระบบการบริหารจัดการในองคก๑ ารใด ๆ จะเกิดผลสาเร็จไดเ๎ ร่ิมท่ีผ๎บู รหิ ารระดบั สูง
หรอื ผ๎ูนาสงู สดุ ขององคก๑ ารเป็นผูช๎ ้นี า ผู๎รเิ ริ่ม และเปน็ ผ๎สู ร๎าง โดยเฉพาะผูบ๎ รหิ ารแบบ TQM ให๎
ความสาคัญในเรื่องนี้มาก เนื่องมาจากการจัดการคุณภาพต๎องการความทํุมเท และมํงุ มั่นของผู๎บริหาร
ระดับสงู ท่เี ร่มิ จากการกาหนดทิศทาง เปา้ หมาย นโยบายคุณภาพ และยุทธศาสตร๑ขององค๑การเปน็
ลาดับแรก ท่กี ลําวมาน้ีคือ การแสดงความเปน็ ผูน๎ าทมี่ ีวสิ ัยทศั น๑ หน๎าท่ี และทกั ษะความสามารถที่
สาคญั อีกประการหนึ่งของความมภี าวะผูน๎ า คือ การนาวสิ ัยทัศน๑ดังกลําวสื่อสาร และโน๎มน๎าวผู๎บริหาร
ระดับกลางและระดับลาํ งทจ่ี ะนาเอาเป้าหมาย นโยบายคุณภาพ และยุทธศาสตร๑ขององค๑การลงสูํระดับ

34

การปฏบิ ัติงาน ดังนัน้ การจัดการคณุ ภาพจึงเกย่ี วข๎องกับบคุ คลทุกระดบั ทุกฝา่ ยและทุกคน ระบบบรหิ าร
จดั การคุณภาพการศึกษาจึงเกี่ยวข๎องกับระบบการนาเอาคณุ ภาพการจดั การคุณภาพ และกระบวนการ
จัดการคุณภาพมาใช๎ในการบริหารจัดการ และการดาเนินการตามภารกิจขององคก๑ รให๎บรรลเุ ป้าหมาย
จากแนวคิดการจดั การคุณภาพการศกึ ษา สถาบันอดุ มศึกษาของอเมริกันมากมายทีน่ าเอาแนวการจดั
การคุณภาพแบบ TQM ไปประยุกต๑ใช๎ ตัวอยาํ งเชํน ทมี่ หาวิทยาลัยของรัฐ California State University,
Oregon State University, University of Wisconsin-Stout และ Northwester Missouri, University of
Northern Colorado เปน็ ต๎น ตัวอยํางของ Northwester Missouri หลังจากได๎นาเอาแนวคิดการจัดการ
คณุ ภาพแบบ TQM เขา๎ มาใช๎ จึงได๎มีการกาหนดนโยบายดา๎ นคณุ ภาพและกาหนดปัจจัยสูคํ วามสาเรจ็
(CSF: Critical Success Factors) ได๎แกํ เน๎นการปรับปรุงคุณภาพอยํางตํอเน่ือง การสร๎างคุณคําตํอ
ส่ิงแวดล๎อม และการเรียนรู๎สวัสดิการและขวัญกาลังใจ ระบบการเงินที่ยืดหยุํนและความสัมพันธ๑
กับชมุ ชน จึงไดก๎ าหนดดัชนวี ัดคุณภาพหรอื KQIs: Key Quality Indicators ของมหาวิทยาลัยไว๎ 9 ด๎าน
ไดแ๎ กํ 1) ความสามารถในการสือ่ สาร 2) ความคิดสรา๎ งสรรค๑และการแก๎ปัญหา 3) คอมพวิ เตอร๑
4) การเรียนร๎ูดว๎ ยตนเอง 5) การพัฒนาตนเองและสังคม 6) ความมวี นิ ัย 7) การนาและทมี 8) การผสมผสาน
ทางวัฒนธรรม และ 9) การรักษ๑วฒั นธรรม สวํ น University of Wisconsin-Stout และ Northwester
Missouri, University of Northern Colorado เป็นมหาวิทยาลยั แหํงคุณภาพที่ได๎รับรางวัล NQA
ของประเทศสหรัฐอเมรกิ า (ชํวงโชติ พันธเุ วช, 2551, หน๎า 124)

สรปุ ได๎วาํ การดาเนินการดา๎ นคุณภาพภายในองคก๑ ารภายใน การจดั การศึกษาท่มี ีคุณภาพ
ต๎องใชเ๎ ทคนิค กระบวนการจัดการศกึ ษาเชงิ ระบบมาใช๎ คือ SIPPO ประกอบด๎วย 1) นักเรียนและ
ผ๎ูมสี ํวนได๎สวํ นเสีย 2) ปัจจยั นาเข๎า 3) การบริการและกระบวนการผลิต 4) ผลผลิต 5) ผลลัพธ๑
6) การติดตามและการประเมินผล และ 7) การปรับปรุงคุณภาพ

แนวคดิ เกี่ยวกับความเปน็ เลศิ ของโรงเรยี น

ผ๎ูวิจัยขอเสนอแนวคิด ทฤษฎีเก่ียวกบั ความเป็นเลิศของโรงเรยี น ดงั นี้
รางวัลความเป็นเลิศประเทศออสเตรเลยี
รางวลั ความเป็นเลศิ ประเทศออสเตรเลีย (Australian Excellence Award: AEA) เมื่อปี
ค.ศ. 1983 กรอบแนวคิดของรางวลั นม้ี าจากการศกึ ษาและรวบรวมข๎อมลู จากองคก๑ ารตําง ๆ ทปี่ ระสบ
ความสาเรจ็ ในการประกอบธุรกจิ เป็นเวลากวาํ 15 ปี การพัฒนากรอบแนวคดิ เพื่อพฒั นานวัตกรรม
การปรับปรุง และการประสบความสาเร็จท่ยี าวนานซ่งึ สามารถนาไปใช๎กับทกุ องค๑การ ทุกขนาดและ
ทกุ ประเภท แนวคดิ ของ AEA ถูกออกแบบและปรับปรุงทุกปี โดยคณะกรรมการท่มี าจากองค๑การ
บริหารและผ๎เู ช่ียวชาญ เพอื่ ชํวยให๎องคก๑ ารประเมนิ ผลการดาเนินงานในปจั จบุ ัน และเป็นการสรา๎ ง

35

ความสาเร็จของทีมงาน และเป็นการเพิ่มประสทิ ธิภาพและความสามารถในการแขํงขนั ใหก๎ ับองคก๑ าร
ในปี ค.ศ. 2003 ไดม๎ กี ารปรับปรงุ กรอบแนวคิดเพื่อให๎เข๎ากบั ยคุ สมยั และแนวคิดการจัดการสมยั ใหมํ
นอกจากน้ีรางวัลน้ยี งั ใช๎เป็นเกณฑ๑การประเมินองคก๑ ารเพื่อรับรางวัลความเป็นเลศิ แหํงชาติของประเทศ
ออสเตรเลยี และถกู นาไปใช๎เป็นเกณฑส๑ าหรับประเทศตาํ ง ๆ ด๎วยองคก๑ ารทน่ี ากรอบแนวคดิ ของ AEA
ไปใช๎จะได๎รับการปรับปรงุ ในด๎านภาวะผ๎ูนาและระบบการบริหารจัดการ รวมทง้ั การนาผลลัพธเ๑ ขา๎ สูํ
กระบวนการกาหนดการวางแผนกลยุทธ๑ และเปรียบเทียบตาแหนํงขององค๑การกับคูํแขํงในด๎าน
การบรหิ ารจัดการ องค๑ประกอบของรางวลั นี้มีท้ังหมด 5 องคป๑ ระกอบ เพอื่ เปน็ แนวทางในการดาเนินงาน
สคํู วามเป็นเลศิ ได๎แกํ

1. ภาวะผ๎นู า ทศิ ทางกลยุทธ๑ วัฒนธรรมองค๑การ การวางแผน การพฒั นา และการปรบั ใช๎
ของผลลพั ธ๑

2. ความร๎ูและสารสนเทศ การเกบ็ ข๎อมูลและแปลขอ๎ มลู ไปสสูํ ารสนเทศ การบรู ณาการ
และการใชค๎ วามร๎ูในการตดั สนิ ใจ การสร๎างและการจัดการความรู๎

3. การมงํุ เน๎นลกู ค๎าและตลาด ความร๎ูเกย่ี วกับลกู คา๎ และตลาด การจัดการความสมั พันธ๑
กับลกู คา๎ การรบั รขู๎ องลูกคา๎ ในคุณคํา

4. นวตั กรรม คุณภาพ และการปรับปรุงกระบวนการเกี่ยวกับนวตั กรรม กระบวนการ
เกยี่ วกับคคํู ๎า และหนุ๎ สํวน การจัดการ และการปรบั ปรุงกระบวนการ

5. คุณภาพของสินคา๎ และบริการ ผลสาเร็จ และความยั่งยืน ตัวช้วี ัดความสาเร็จ ตัวชี้วดั
ความยง่ั ยืน

การประเมนิ โดยผู๎เช่ียวชาญจะครอบคลุม 4 ดา๎ น คอื องคก๑ รมกี ารวางแผนและการจัด
โครงสร๎างอยํางไร การนาแผนและโครงสร๎างตําง ๆ ไปสํูการปฏิบตั ิ การวดั และวิเคราะหผ๑ ลลพั ธ๑
และการเรียนรู๎จากประสบการณ๑ท่ีผํานมา การประเมินเหลํานี้เป็นการประเมินที่เรียกวํา ADRI
เปน็ การประเมินในดา๎ นการเขา๎ ถงึ (Approach) การแปลไปสูกํ ารปฏิบตั ิ (Deploy) ผลลพั ธ๑ (Result)
และการปรับปรงุ (Improvement) (เขา๎ ถึงไดจ๎ าก http://sai-global.com)

สรปุ ได๎วาํ รางวัลความเปน็ เลศิ ประเทศออสเตรเลยี ประกอบดว๎ ย ภาวะผนู๎ า ความรู๎
และสารสนเทศ พนกั งาน การมํุงเน๎นลกู ค๎าและตลาด นวตั กรรม คณุ ภาพของสนิ คา๎ และบรกิ าร

รปู แบบโรงเรียนเป็นเลศิ ประเทศสิงคโปร์
รูปแบบโรงเรียนเป็นเลิศประเทศสงิ คโปร๑ (School Excellence Model: SEM) คอื รูปแบบ
การประเมินตนเองของโรงเรียนซึ่งได๎บูรณาการ รปู แบบ ความเปน็ เลิศท่ชี ื่อเสียงตําง ๆ เชํน รางวัล
คณุ ภาพของยโุ รป รางวลั คุณภาพของสิงคโปร๑ รางวัลคณุ ภาพประเทศสหรัฐอเมรกิ าเข๎าดว๎ ยกัน โดย
โรงเรยี นสามารถกาหนดทศิ ทางการดาเนินงานของตนเอง โดยการเทียบเคียงการจดั การศึกษาท่ีเป็นเลิศ

36

ของชาติ รปู แบบโรงเรยี นเป็นเลิศประเทศสงิ คโปร๑ (SEM) มีจุดประสงค๑เพือ่ การพัฒนาด๎านคุณภาพ
ของโรงเรยี น การวดั ผลประเมินผลของโรงเรียนและการเทยี บเคียงกบั โรงเรียนเป็นเลศิ ตําง ๆ
ในการจดั การศึกษาของประเทศสิงคโปร๑ มีปจั จยั ดงั น้ี

1. ดา๎ นภาวะผู๎นา ผู๎อานวยการโรงเรยี น ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ตอ๎ งมีภาวะผู๎นา
คาํ นิยม ดา๎ นการจัดการเรยี นการสอน การวดั ผลประเมินของนกั เรยี นมํงุ สํคู วามเป็นเลศิ ทางการศกึ ษา
โดยการมีสวํ นรวํ มของชุมชนและสงั คม

2. ดา๎ นการวางแผนกลยทุ ธ๑ ผ๎อู านวยการโรงเรียน ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาต๎อง
รวํ มกนั กาหนดโครงสร๎าง การวางแผนกลยทุ ธเ๑ ปา้ หมายการจดั การศกึ ษาอยํางชดั เจน โปรํงใส
โดยมีสวํ นรํวมของผูม๎ ีสํวนไดส๎ วํ นเสยี

3. ด๎านการจัดการบคุ ลากร ผู๎อานวยการโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาตอ๎ งมี
ความรู๎ มีความพรอ๎ มในการพฒั นาโรงเรยี นสคูํ วามเป็นเลิศ

4. ดา๎ นทรัพยากร ผ๎ูอานวยโรงเรยี น ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษาตอ๎ งใหก๎ ารสนับสนุน
ด๎านทรัพยากร วัสดุ อุปกรณ๑ในการจัดการศกึ ษาท้ังภายในและภายนอกโรงเรยี นอยาํ งเพยี งพอ

5. ด๎านเป้าหมายนักเรียน ผูอ๎ านวยการโรงเรยี น ครู และบุคลากรทางการศึกษาต๎องออกแบบ
กระบวนการจัดการศึกษา การนาไปใช๎ การบริหารจดั การศกึ ษาและระบบการทางานของครูและ
บคุ ลากรตลอดจนดา๎ นคุณภาพของนักเรยี นสํูความเป็นเลศิ

6. ดา๎ นการบริหารและผลการปฏบิ ตั ิงาน ผ๎อู านวยการโรงเรียน ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา
7. ดา๎ นผลลัพธข๑ องบุคลากร ผู๎อานวยการโรงเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาต๎องมี
ความตระหนกั ในด๎านประสทิ ธภิ าพของนักเรียนสูคํ วามเปน็ เลิศ
8. ดา๎ นการมีสํวนรวํ มและสังคม ผูอ๎ านวยการโรงเรยี น ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
ตอ๎ งมคี วามตระหนัก ด๎านมีความสมั พนั ธอ๑ ันดีกบั ผ๎ปู กครอง ชุมชน และสังคม
9. ดา๎ นผลการประเมนิ การปฏิบตั ิงาน ผู๎อานวยการโรงเรยี น ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา
ตอ๎ งมีความตระหนัก ดา๎ นผลการประเมินการปฏิบัตงิ านของบุคลากรทกุ คนต๎องมีความต้ังใจ
ความรํวมมือ และมีความปรารถนาดใี นการจดั การศกึ ษามุํงสคํู วามเป็นเลิศจากทกุ ฝ่าย
สรุปได๎วํา รปู แบบโรงเรยี นเป็นเลิศประเทศสิงคโปร๑ (SEM) ประกอบด๎วย ด๎านภาวะผูน๎ า
ด๎านการวางแผนกลยุทธ๑ ดา๎ นการจดั การบุคลากร ดา๎ นทรพั ยากร ดา๎ นเปา้ หมายนกั เรยี น ผ๎อู านวยการ
โรงเรียน ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ด๎านการบริหารและผลการปฏิบัติงาน ด๎านผลลัพธ๑ของบุคลากร
ด๎านการมีสวํ นรํวมและสงั คม และดา๎ นผลการประเมินการปฏิบตั งิ าน

37

รางวัลความเปน็ เลศิ ประเทศฮอ่ งกง
รางวลั ความเปน็ เลิศของประเทศฮํองกง (The Outstanding Teachers and School Award:
HK) เป็นแผนงานหนงึ่ ในแผนการปฏิรูปคุณภาพการศึกษาของฮํองกง คณะกรรมการกองทุนคุณภาพ
การศึกษาจะให๎รางวัลความเป็นเลศิ ของสถานศึกษาปลี ะคร้ัง โดยมีวัตถุประสงค๑ 1) เพื่อเป็นการยกยํอง
และสงํ เสริมโรงเรียนท่ีมีผลงานเป็นเลิศ 2) สํงเสริมและเผยแพรํขยายวิธีปฏิบัติทางการศึกษาของ
โรงเรียนท่มี ีความเป็นเลิศ และ 3) เพ่ือสรา๎ งสรรค๑วฒั นธรรมคุณภาพการศึกษาในโรงเรียนของฮํองกง
เพอ่ื มงํุ สคํู วามเปน็ เลิศภายในสภาพแวดล๎อมและเงอื่ นไขของแตํละโรงเรยี น รางวัลความเป็นเลศิ จะ
ใหแ๎ กโํ รงเรยี นซง่ึ สามารถแสดงผลสมั ฤทธ์ิและการปฏิบตั ทิ ี่มคี วามเปน็ เลศิ ใน 4 ดา๎ นของการศึกษา
คอื 1) การจัดการและการจดั องคก๑ ร 2) การเรยี นการสอน 3) การสนับสนุนจุดมงํุ หมายของนกั เรียน
และโรงเรยี น และ 4) ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนและระดบั การพัฒนาของนักเรยี น แตคํ ณะกรรมการ
ไมํไดก๎ าหนดจานวนรางวัลไว๎ เกณฑ๑การให๎รางวัลแบงํ ตามหลกั หรอื งานของการศึกษาดงั ตอํ ไปน้ี
1. ด๎านการจัดการและการจัดองคก๑ าร

1.1 การวางแผนและการบริการ
1.1.1 พนั ธกิจและวสิ ยั ทัศน๑ของสถานศกึ ษา: สถานศึกษาจัดทาภารกจิ และวิสัยทัศน๑

ของสถานศกึ ษาใหค๎ รอบคลุมวัตถุประสงค๑ของการศึกษาในฮํองกง และการพฒั นารอบด๎านของ
นักเรียน โดยพิจารณาในแงํของลักษณะเฉพาะของสถานศกึ ษา พันธกิจ และวิสยั ทัศนข๑ องสถานศกึ ษา
รบั ร๎ูโดยคณาจารย๑และนักเรียน

1.1.2 แผนพัฒนาการศึกษา สถานศึกษาจัดทาแผนพฒั นาการศกึ ษา และยุทธวธิ ี
การปฏิบตั ิ เพื่อบรรลเุ ป้าหมายใหส๎ นองความต๎องการของนักเรียนและผป๎ู กครองสามารถใชป๎ ระโยชน๑
จากจุดแข็งและลดจุดอํอน แผนการพัฒนาสถานศึกษามีเป้าหมายที่ชัดเจน และม่ันคงในแงํของ
การสํงเสริมจริยธรรมและศลี ธรรม สติปัญญา อารมณ๑ รํางกาย สังคม และสุนทรยี ภาพของนักเรียน
ครมู ีสํวนรํวมในการพัฒนาแผนของสถานศกึ ษาและเอกสาร แผนไดส๎ งํ ไปยังผู๎มสี ํวนเกย่ี วขอ๎ ง
อยาํ งทั่วถงึ

1.2 การพัฒนาคณาจารย๑
1.2.1 การประสานงานของคณาจารย๑: สถานศกึ ษามชี อํ งทางการประสานงาน

ระหวาํ งคณาจารย๑เปน็ อยาํ งดี มีการสํงเสริมการทางานเป็นทมี มสี ํวนรํวมในการตัดสินใจ
และมกี ารตดั สินใจเป็นคณะ

1.2.2 การพัฒนาและการประเมนิ คณาจารย๑: สถานศึกษามีแผนและโอกาสคณาจารย๑
ในการพัฒนา และมรี ะบบการประเมินคณาจารยอ๑ ยํางมีประสทิ ธภิ าพ เพ่อื เปน็ การสงํ เสริมและ
พฒั นาวชิ าชีพครูอยาํ งตํอเน่ือง

38

1.3 การจัดสรรทรัพยากรในการดาเนินงาน
1.3.1 การจดั สรรทรัพยากรอยาํ งมีประสทิ ธิภาพ: สถานศึกษาจัดให๎มีผ๎มู สี วํ นเกี่ยวขอ๎ ง

ได๎มสี วํ นรวํ มในการจัดสรรทรพั ยากรของสถานศกึ ษา ได๎มสี วํ นรํวมในกระบวนการปฏบิ ัติอยาํ งมี
ประสทิ ธิภาพ และสถานศึกษาให๎การสนบั สนนุ คณาจารย๑อยํางมีประสทิ ธภิ าพ

1.4 กลไกการประเมนิ และข๎อมลู ปอ้ นกลับ
1.4.1 การประเมินผล: สถานศกึ ษามคี ณะกรรมการติดตามการปฏบิ ตั ิงานของ

สถานศกึ ษาอยํางสมา่ เสมอและอยาํ งมีประสิทธิภาพ มีกลไกการประเมินเพ่ือประเมินผลงานของ
สถานศกึ ษาตามเป้าหมายที่กาหนด

1.4.2 ข๎อมลู ป้อนกลบั และการเรยี นรูด๎ ว๎ ยตนเอง: สถานศกึ ษามชี ํองทางที่เหมาะสม
ในการให๎ข๎อมลู ป้อนกลบั แกํครู นักเรียน และผ๎ูปกครอง เพือ่ สงํ เสรมิ การเรียนของนกั เรียน
ดา๎ นการเรียนการสอน

2. ด๎านการเรียนการสอน
2.1 หลกั สตู ร
2.1.1 การจัดการหลักสูตร การวางแผนและการจัดระบบของหลักสูตร: สถานศึกษา

มีหลักสตู รท่มี ีเป้าหมายท่ีแจํมชัด มีความกว๎าง ความลกึ ความสมดลุ มปี ระโยชน๑ มีความตํอเนอ่ื ง
และเปน็ กลมุํ กอ๎ น มีระบบที่มีประสทิ ธิภาพเพอื่ ใหค๎ ณาจารยม๑ ีสวํ นรวํ มในการตรวจสอบ หลักสตู ร
ติดตามและการพัฒนาหลักสูตร

2.2 การเรยี นการสอนในช้นั
2.2.1 ยุทธวิธีการสอน: สถานศึกษามีกลไกที่มีประสิทธิภาพเพ่ือให๎ครูนาวิธี

การสอนท่ีเหมาะสมมาใช๎ ครูยอมรับรูปแบบการสอนทเ่ี หมาะสมเพ่อื พัฒนาความร๎ู พัฒนาความคดิ
ระดบั สูง พัฒนาความคิดสรา๎ งสรรค๑ พัฒนาทักษะการเรยี น และทัศนคตขิ องนักเรยี น

2.2.2 ทักษะการสอน: สถานศกึ ษามคี ณะกรรมการตดิ ตาม และมรี ะบบการตรวจสอบ
เพอื่ ใหข๎ ๎อมลู ป้อนกลบั ทางด๎านทกั ษะการสอน สํงเสริมการแลกเปลยี่ นเรยี นร๎ูวธิ ีการสอนทด่ี ี
มกี ารสร๎างสรรคแ๑ ละแลกเปลีย่ นเรยี นร๎ทู กั ษะการจัดการห๎องเรียนในบรรดาคณาจารย๑

2.2.3 บรรยากาศห๎องเรยี น: สถานศกึ ษามนี โยบายทีช่ ัดเจนสนับสนนุ คณาจารย๑
เพ่อื สงํ เสริมความคาดหวงั เชิงบวก จดั บรรยากาศของห๎องเรยี นให๎เหมาะสมกับความแตกตํางของ
นักเรยี นเปน็ รายบคุ คล จัดให๎มีแรงจูงใจในเชิงบวก สรา๎ งบรรยากาศท่เี ป็นประชาธปิ ไตยและมีอสิ ระ
เพอื่ การเรยี นท่มี ปี ระสิทธภิ าพ

39

2.3 การประเมินผล
2.3.1 ระบบและนโยบายการประเมินผล: สถานศึกษามีระบบและนโยบาย

ประเมนิ ผลที่เหมาะสมสนองตอบเปา้ หมายของหลักสูตร มีความคาดหวังตอํ นกั เรียนบนพ้ืนฐาน
ของความสามารถและความต๎องการของนักเรียน

2.3.2 การใช๎ประโยชน๑จากข๎อมูลในการประเมินผล: สถานศึกษามีระบบการบันทกึ
และการรายงาน เพื่อให๎มกี ารให๎ขอ๎ มูลปอ้ นกลบั ทีม่ ีประสิทธิภาพแกนํ กั เรยี น และผ๎ปู กครอง
เพ่ือสนบั สนนุ การเรยี นของนักเรยี นดา๎ นการสนับสนุนจดุ มุงํ หมายของนักเรียนและสถานศึกษา

3. ด๎านการสนับสนุนจุดมุํงหมายของนกั เรยี นและสถานศึกษา
3.1 การเอาใจใสแํ ละใหค๎ วามดูแลนกั เรยี น
3.1.1 วินัย การแนะแนว การใหค๎ าปรึกษา: สถานศึกษามวี ธิ กี ารท่มี ีประสทิ ธิภาพ

เพ่อื สํงเสรมิ การพัฒนาบคุ ลกิ ภาพของนกั เรียน
3.2 การพัฒนาบุคลากร สงั คม และวัฒนธรรม
3.2.1 กจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตร: สถานศึกษาใหก๎ ารสนบั สนุนกจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู ร

อยํางจรงิ ใจเพอ่ื ให๎เกิดกจิ กรรมเสรมิ หลักสูตรท่ีมีความสมบรู ณ๑ สมดลุ และครอบคลุมการพัฒนา
นักเรียนทกุ ด๎าน

3.2.2 โปรแกรมเสรมิ หลกั สตู ร: สถานศกึ ษาได๎วางแผนโปรแกรมเสริมหลกั สูตรที่ดี
และอยาํ งเพียงพอในดา๎ นหน๎าท่ีพลเมอื ง จริยธรรม ศีลธรรม เพศศกึ ษา และส่ิงแวดล๎อมศึกษา

3.3 การสนบั สนนุ นักเรียนท่ีมีความตอ๎ งการพเิ ศษ
3.3.1 โปรแกรมสนับสนนุ การเรยี น: สถานศกึ ษามีแผนการสอนซํอมเสรมิ ที่มี

ประสทิ ธิภาพแกํนกั เรียน ผ๎ซู ่ึงมคี วามยุงํ ยากในการเรียน และมีการเสรมิ สรา๎ งและขยายโปรแกรม
การเรียนรส๎ู าหรับนักเรียนท่ีมีพรสวรรค๑

3.3.2 บริการดูแลนกั เรยี น: สถานศกึ ษาใหก๎ ารสนบั สนนุ เด็กพกิ าร เดก็ ทีม่ ปี ัญหา
การปรับตัว หรือเด็กท่ีมีปัญหาครอบครัวอยาํ งเพียงพอ

3.4 การเชอ่ื มโยงกับผป๎ู กครองและชมุ ชน
3.4.1 ความรวํ มมือระหวาํ งบ๎านกบั สถานศกึ ษา: สถานศกึ ษากาหนดชอํ งทาง

การส่อื สารอยํางดี และมีประสิทธภิ าพระหวาํ งสถานศึกษากับผ๎ปู กครอง
3.4.2 การมีสวํ นรวํ มในกิจกรรมของชุมชน: สถานศึกษามสี วํ นรวํ มในกิจกรรม

ของชมุ ชน และสรา๎ งสายใยกับงานอืน่ ๆ เพ่ือสํงเสริมการเรยี นร๎ูของนกั เรยี น

40

3.5 บรรยากาศของสถานศกึ ษา
3.5.1 กาลังใจ: ทกุ คนในสถานศึกษามสี วํ นรํวมในการกาหนดวสิ ยั ทัศนแ๑ ละ

ความเช่ือ มีความรู๎สกึ เปน็ สวํ นหนงึ่ ของสถานศกึ ษาและมคี วามภมู ใิ จทงั้ ครูและนักเรียน
3.5.2 มนษุ ยสัมพนั ธ:๑ ครมู คี วามรกั และความเอาใจใสํตํอนกั เรียน มีความสัมพนั ธ๑

อันดีระหวาํ งคณาจารย๑ ระหวํางคณาจารย๑กับนักเรียน และระหวาํ งนักเรยี นด๎วยกนั สถานศึกษา
มีหลกั ฐานใหเ๎ ห็นถงึ วัฒนธรรมของความเป็นเพือ่ นรวํ มงาน และมีความเกย่ี วพนั อยํางดีกับสมาคม
ศิษย๑เกาํ

4. ด๎านผลสมั ฤทธแิ์ ละระดบั การพัฒนาของนกั เรยี น
การประเมินผลงานของสถานศกึ ษาท่ีสํงเสรมิ ระดับการพัฒนาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น
ของนกั เรยี นจะเปน็ ผลงานทีใ่ ชใ๎ นการพิจารณาวาํ สถานศึกษานัน้ ได๎บรรลุระดบั แผนพัฒนาที่ได๎กาหนด
ไว๎ในการพฒั นานกั เรียน การปรับปรุงสิ่งทเี่ ป็นมูลคาํ เพมิ่ เชํน ชอ่ื เสยี งของสถานศึกษา ความสามารถ
ของสถานศกึ ษาในการกาหนดเป้าหมายที่ทาไดใ๎ นสภาวะแวดล๎อมของตน กลไกทใ่ี ชใ๎ นการทางาน
เพ่อื บรรลุเป้าหมาย ประสิทธิภาพในการตรวจสอบและการให๎ขอ๎ มูลปอ้ นกลบั สถานศกึ ษาแตํละโรง
จะได๎รับการประเมินตามเป้าหมายทก่ี าหนดไว๎ในแผนพัฒนาการศกึ ษาของตน ตลอดทัง้ เนื้อหาสาระ
ของการเขา๎ ถึงหรือระดบั การพัฒนาของนกั เรียน และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนกั เรียนรายการ
ตํอไปน้ี สถานศึกษาควรใช๎เป็นแนวทางในการดาเนินงานระยะยาวในเร่ืองการพัฒนานักเรียนทั้งหมด
ในภาพรวม การพัฒนาด๎านจริยธรรมและศีลธรรม: นกั เรยี นมีความประพฤติ มวี นิ ัย และพฤติกรรมที่ดี
มคี วามช่นื ชอบในคาํ นิยมทางจริยธรรมตระหนกั ในสภาพของสงั คม การเมือง และหน๎าทพ่ี ลเมอื ง
ให๎บรกิ ารอยํางดีแกสํ ถานศกึ ษาและชุมชน มศี กั ดิ์ศรสี ูง มีแนวความคิดตํอตนเองในเชงิ บวก และมีพลงั
ในการตํอต๎านส่งิ ยั่วยุตําง ๆ ของสงั คม การพฒั นาทางดา๎ นสติปัญญานกั เรียนสามารถเข๎าถึงเปา้ หมาย
ทางวิชาการ การคิดอยํางมีเหตุผลและเป็นอิสระ มีทักษะการสืบค๎นและการให๎เหตุผล มีประวัติ
ผลการสอบวชิ าตําง ๆ ในระดับสูง มกี ารพัฒนาภาษา มีระดับทกั ษะการรู๎หนังสือ 2 ภาษา และทักษะ
การพูด 3 ภาษา มที กั ษะการเรียนรตู๎ ลอดชวี ิต มคี วามสามารถและจูงใจในการนาทกั ษะในดา๎ นเทคโนโลยี
ไปปฏบิ ัติ และกาหนดเปา้ หมายทท่ี าได๎สาหรับการเรยี นรูอ๎ ยาํ งตอํ เน่ือง การพัฒนาทางด๎านอารมณ๑
นกั เรยี นตระหนกั ในดา๎ นสขุ ภาพเชงิ บวกมสี วํ นรวํ มอยาํ งจริงจงั ในด๎านกิจกรรมกีฬามีความตระหนัก
และมสี ํวนรํวมในกจิ กรรมการพัฒนารํางกายตลอดชวี ิต มคี วามพร๎อมท่ีจะก๎าวเข๎าสํวู ยั ผูใ๎ หญํ สถานศกึ ษา
สามารถเตรยี มนกั เรยี นเพื่อการก๎าวเขา๎ สูํวัยผู๎ใหญํท้ังทางรํางกาย อารมณ๑ สงั คมและจิตใจ การพฒั นา
ทางดา๎ นสงั คมนักเรียนมคี วามสมั พนั ธก๑ บั เพื่อนฝงู สามารถทางานรํวมกนั ทางานเปน็ ทีม และแบงํ ปัน
ความรับผิดชอบ มีทักษะทางภาวะผู๎นาและการจัดองค๑การ มีทักษะในความสัมพันธร๑ ะหวํางเพื่อน
ทกั ษะในการสื่อสารท่ีดี ให๎ความนบั ถือและยอมรบั บุคคลอน่ื มีความชื่นชอบในมรดกและวัฒนธรรม


Click to View FlipBook Version