50
พกิ ลุ ปา 338 สนสองใบ 399 เสม็ดชนุ 428
400 หญา ใตใบ 434
มะเค็ด 350 สนสามใบ 403 หญาหนตู น 438
414 หวา 447
มาทลายโรง 363 สมแขก 417 อินทนิลน้ํา 457
417 อินทรชิต 458
มกู เขา 364 สะตอ 431
392
ยอปา 371 สะเอง 306 วานกบี แรด 403
312 สมแขก 411
ระยอม 379 สกั 314 สลดั ไดปา 414
316 สะตอ 417
รางจืด 380 สําโรง 347 สะเอง 417
363 สัก 428
44. ËÁÇ´ÂÒá¡âŒ ä¤ÇÒÁ´Ñ¹âÅËμÔ Ê§Ù -μÒíè 376 เสมด็ ชนุ 428
377 แสมสาร 434
กระแตไตไ ม 184 บอระเพด็ พุงชา ง 379 หญา ใตใบ 457
381 อนิ ทนลิ นา้ํ 458
กระทมุ 186 ประยงคเกลอ่ื น 387 อนิ ทรชิต
427
กระบก 187 ปอขนุน 352 เสง เล็ก 442
403 หมกั แปม 457
กา งปลาเครือ 197 ปอฝาย 417 อินทนิลน้าํ
กาฝากมะมวง 198 มะขามปอ ม
ข้เี หลก็ 213 มาทลายโรง
ชะเอมปา 245 ยายกงั้ เลก็
ชุมเหด็ เทศ 250 รกฟา
เชียด 251 ระยอ ม
ตะไหล 269 รางแดง
เถายานาง 286 ลกู ขา
45. ËÁÇ´ÂÒÅ´ä¢Á¹Ñ
กาฝากมะมว ง 198 มะตาด
ชะเอมปา 245 สมกงุ ตรงั
เถายานาง 286 สัก
51
46. ËÁÇ´ÂÒÅÐÅÒÂÅÁÔè àÅÍ× ´
กระวาน 189 จนั ทนแดง 235 มะหาด 361
สลดั ไดปา 411
กระวานขาว 190 จันทนา 237 หาด 451
กฤษณา 191 ชาพลู 245 มะคาโมง 349
มะดูก 350
กฤษณาใต 192 ตะคา นเลก็ /สะคาน 265 มะตมู 353
มะไฟ 356
ครี้ 218 บุนนาค 307 โมกมัน 366
ยอปา 371
47. ËÁÇ´ÂÒâäà¡ÕèÂǡѺμѺ,Ãкº¹íÒé ´/Õ ¹ÔèǶ§Ø ¹íÒé ´/Õ ´Õ«Ò‹ ¹/ºíÒÃاμѺ ยางนา 372
วานมหาเมฆ 395
กระดงึ ชา งเผอื ก 182 ชมุ แสงแดง 250 สนสองใบ 399
สนสามใบ 400
กรงุ เขมา 191 ดีปลาก้ังปา 254 สมอไทย 407
สมอพเิ ภก 407
กลว ยเตา 193 แดง 256 สะบา 415
สัก 417
กดั ล้นิ 196 ตะโกสวน 262 สังวาลพระอินทร 419
กา นเหลือง 198 ตะคา นเล็ก 265
กําแพงเจด็ ชนั้ 203 ตาไกใบกวาง 270
กาํ ลังหนุมาน 204 ตาลเหลือง 275
เกลด็ ปลา 200 เตา รา ง 283
เกล็ดปลาชอ น 201 นมพิจติ ร 298
ขาเปย นุม 209 ปลาไหลเผอื ก 313
คัดเคาดง 222 พญาปลอ งทอง 327
เครือปลาสงแดง 230 พลวง 331
จันทนแดง 235 พังโหม 336
แจง 240 มะเกลือ 346
ชา พลู 245 มะคาแต 348
52
แสมสาร 428 หญาใตใ บ 434
แสลงใจ 429 หวายขม 448
48. ËÁÇ´ÂÒâäà¡èÕÂÇ¡ºÑ äμ/ÁÒŒ Á/¢ºÑ »Ê˜ ÊÒÇÐ/¢ºÑ ¹èÔÇã¹Ãкºäμ/¹èÇÔ ã¹·ÍŒ §/ºíÒÃ§Ø äμ
กระดึงชางเผอื ก 182 โดไมรูลม 257 มะกา 344
345
กระแตไตไม 184 ตองเตา 260 มะกาตน 359
360
กรงุ เขมา 191 ตะคานเลก็ /สะคาน 265 มะระข้นี ก 363
378
กลอย 193 ตานดํา 283 มะหวด 381
385
กลึงกลอม 194 เตง็ หนาม 280 มันเสา 389
389
กาํ ลงั หนมุ าน 204 เตยเหาะ 281 รสสคุ นธ 395
399
ขมิน้ เครือ (Arc_fla) 205 เถาพนั ซา ย 285 รางแดง 400
407
ขอยหนาม 207 เถาวัลยเ ปรียง 287 ฤๅษีผสมแกว 409
415
ขาเปย นมุ 209 ไทรยอย 295 เล็บเหยี่ยว 419
428
ขีเ้ หล็ก 213 บอระเพ็ด 306 โลด 437
คนทา 217 ประคําไก 310 วานมหาเมฆ
คัดเคา ดง 222 ปลาไหลเผอื ก 313 สนสองใบ
เครืองูเหา 229 ไผรวก 324 สนสามใบ
โคคลาน (Mal_rep) 225 พรกิ ปา 330 สมอพิเภก
ไครน้ํา 232 พฤกษ 330 สมลุ แวง
จนั ทนแดง 235 พังโหม 336 สะบา
จันทนา 237 โพบาย 340 สงั วาลพระอนิ ทร
ชาพลู 245 แฟบนาํ้ 341 แสมสาร
ดันหมี 254 มะกองขาว 343 หญาสองปลอ ง
53
หมีเหม็น 445 หวั รอยรู 446 เอือ้ งหมายนา 460
49. ËÁÇ´ÂÒÃ¡Ñ ÉÒÃ´Ô Ê´Õ Ç§·ÇÒà 293 วานมหาเมฆ 395
314 สม กบ 401
กนั เกรา 196 ท้งิ ถอ น 317 สมกุง (Emb_rib) 402
359 สมกุงตรงั 403
กาํ แพงเจ็ดชั้น 200 ปอกระสา 360 สมอพิเภก 407
377 สมุลแวง 409
เคย่ี ม 228 ปุดขนดอกขาว 384 สกั ขี้ไก 418
388 สนั โสก 421
งิว้ ปา 233 มะสอย
315 เลบ็ มอื นาง 388
จนั ทนแดง 235 มะสอยใหญ 340 สันโสก 421
346 เอื้องหมายนา 460
จันทนา 237 รกฟา 354
361 พิกุล 335
ตรีชวา 258 เรว ใหญ พกิ ลุ ปา 338
232 มะกาเครอื 344
เตยเหาะ 281 เล็บมอื นาง 245 ยางแดง 371
256 ยางนา 372
50. ËÁÇ´ÂÒÃ¡Ñ ÉÒâäμÒ/ËÙ/¨ÁÙ¡ 275 ยางมันหมู 372
332
กรวยปา 182 ปอเตา ไห (Enk_mal) 335
กาสามปก 199 โพบาย
เขม็ ปา 215 มะเกลอื
ดีหมี มะนาวผี
ตาลเหลอื ง 275 มังตาน
51. ËÁÇ´ÂÒÃ¡Ñ ÉÒâ俘¹/à˧Í× ¡/»Ç´¿˜¹/ÃÒí ÁйҴ/
กระวาน 189 ไครน า้ํ
กําจัดตน 202 ชาพลู
กุก 199 แดง
เกล็ดปลาชอ น 201 ตง่ิ ตงั่
ขอ ย 206 พลองแกม อน
ขนั ทองพยาบาท 208 พงั แหรใหญ
54
ยางยงู 373 สานใหญ 421
ยางวาด 374 หมีเหมน็ 445
52. ËÁÇ´ÂÒÃ¡Ñ ÉÒâäÁÐàçç
กระดึงชา งเผอื ก 182 ปลาไหลเผือก 313 สมอพเิ ภก 407
410
กระทงลาย 184 พฤกษ 330 สรอยอนิ ทนลิ 417
428
ขอยนํ้า 207 มะกาเครือ 344 สกั 437
437
ขะยอ มหลวง 208 มะเค็ด 350 แสมสาร 450
453
ขาเปยนุม 209 มะดกู 350 หญา ล้นิ งู
383
เครืองเู หา 229 มะเดื่อปลอ ง 351 หญา สองปลอ ง 439
ชา พลู 245 มะตูม 353 หางหมาจอก 383
406
ตะคา นเล็ก 265 โมกมัน 366 เหมอื ดจ้ี 407
461
เถานา้ํ ดบั ไฟ 284 ยา นขลง 374
นมควาย 296 สมอไทย 407
53. ËÁÇ´ÂÒÃ¡Ñ ÉÒÍÒ¡ÒÃÇÂÑ ·Í§/âäà¡ÂÕè ǡѺÎÍÃâ Á¹/ä·ÃÍ´/ μÍ‹ ÁäÃŒ·‹Í
กลว ยปา 193 ประดู 311 ราชพฤกษ
คอแลน 220 ฝาง 325 หญาเหนยี วหมา
คดั เคา เครือ 222 มะกา 344
54. ËÁÇ´ÂÒ¤ÅÒÂà¤ÃÕ´/äÁà¡Ã¹/ÃкºÊÁͧ
กฤษณา 191 ชา พลู 245 ราม
กฤษณาใต 192 ตะคา นเลก็ /สะคาน 265 สมอดงี ู
ข้ีเหล็กเลอื ด 214 น้วิ มือพระนารายณ 302 สมอพเิ ภก
คอแลนเขา 221 มะขามปอ ม 347 ฮอสะพายควาย
55. ËÁÇ´ÂÒÃÑ¡ÉÒ¡ÒÁâä/˹ͧã¹/âä·Ò§à¾ÈÊÑÁ¾¹Ñ ¸ 55
กระทงลาย 184 ปลาไหลเผอื ก 313 มะพอก 355
421
กําแพงเจ็ดชนั้ 203 ฝาง 325 สนั โสก
363
เนระพูสไี ทย 302 มะดูก 350 383
431
56. ËÁÇ´ÂÒÃ¡Ñ ÉÒâääÁμ‹ Ô´μÍ‹ ·Ò§ÃкºÊ׺¾¹Ñ ¸·Ø Ñ§é ªÒÂ-ËÞÔ§/μ‹ÍÁÅ¡Ù ËÁÒ¡âμ/ 449
äÊŒàÅÍè× ¹·é§Ñ ËÞ§Ô -ªÒÂ
450
กระทอ มเลือด 185 แจง 240 มา ทลายโรง
กา งปลาเครอื 197 ดูกไกยา น 256 ราม
กําแพงเจ็ดชัน้ 203 นมชะนี 297 สาํ โรง
ข้เี หลก็ 213 ปลาไหลเผือก 313 หวายลิง
ไขเ นา 216 ฝาง 325
คอแลนเขา 221 พญามลู เหล็ก 327
57. ËÁÇ´ÂÒäÅ‹-¦Ò‹ -àºè×ÍáÁŧ/ÊμÑ Ç 270 หางไหลแดง
กลอย 193 ตับเตาตน
ขแี้ รด 213 มะเคด็ 350
คนทา 217 แสมสาร 428
56
57
ส่วนที่ 1
บทนํา
พืชสมุนไพรเปน กลุมพชื ที่มศี กั ยภาพตอการนาํ มาใช
ประโยชนและพฒั นาเศรษฐกิจของชาตบิ นฐานทรัพยากร
ชีวภาพ ปจจบุ ันพชื สมนุ ไพรสว นใหญย งั คงถูกเกบ็ หามา
จากปาธรรมชาติที่นับวันจะหาแหลง เก็บยากขนึ้ ทุกวัน
ตอ งเขาไปหาตามปา ลกึ ทยี่ ังคงความอุดมสมบรู ณเ ชน ใน
พ้นื ที่ปาอนรุ ักษ
เน่อื งจากพชื ปาสมนุ ไพรหลายชนิดมถี ่ินอาศัยท่ยี ากตอการนํามาปลกู ใหเจริญ
เติบโตเปนอยา งดีนอกพ้นื ทีป่ า อันมีระบบนเิ วศท่ีเฉพาะตัว หรือดว ยความเชอ่ื ที่
วา สมนุ ไพรทห่ี าไดจากในปา จะมตี ัวยาออกฤทธิท์ ีด่ กี วาตนท่ถี ูกปลูกนอกพืน้ ทป่ี า
สาเหตุดงั กลาวสง ผลใหพ ืชปาสมนุ ไพรหลายชนดิ ในปาธรรมชาติมจี ํานวน
ประชากรทีล่ ดลงและหายากมากขน้ึ จนหมอสมนุ ไพรพ้ืนบา นหลายทา นไม
สามารถคน หาพืชสมุนไพรเหลา น้นี าํ มาเปนสว นผสมปรุงตํารบั ยาได สง ผลตอ
การถา ยทอดองคความรใู หแ กศ ิษยร นุ ตอ ๆ มา
ย่งิ ไปกวาน้นั การเส่ือมความนิยมตอการรกั ษาความเจบ็ ปว ยดวยสมนุ ไพรสง
ผลใหหมอสมุนไพรถูกลดบทบาทลงในสงั คมไทยและมีจํานวนลดนอ ยลงเปน
อยางมากในปจ จุบัน ทเ่ี หลอื อยูก็ลว นแตม อี ายุมากขาดทายาทผสู บื ทอดองค
ความรู
58
ดว ยสถานการณของพืชปา สมนุ ไพรในพน้ื ทีป่ า อนรุ ักษ
และองคความรดู า นสมนุ ไพรของทอ งถิ่นตาง ๆ ทก่ี ําลงั จะ
สูญหายไปในเวลาอนั ใกลน ้ี กรมอทุ ยานแหงชาติ สัตวปา และ
พันธพุ ชื ไดเ ล็งเหน็ วกิ ฤตการณน ้ี ในฐานะทเ่ี ปน หนวยงานอนั มี
ภารกิจหลักในการดูแลพ้ืนท่ปี า อนรุ กั ษท ่ัวประเทศ และมี
หนว ยงานภายใตสงั กดั คือ สํานักวจิ ัยการอนรุ กั ษปาไมและ
พนั ธุพชื ซง่ึ มภี ารกจิ งานวิจัยในพ้นื ท่ีปาอนรุ กั ษโ ดยตรง
โครงการสํารวจและจัดทาํ ขอมลู พชื สมุนไพรในพื้นทปี่ าอนุรักษ
ปง บประมาณ พ.ศ. 2562 จึงเกดิ ขึ้นเพือ่ ตอบสนองตอแผนแมบ ท
แหงชาตวิ าดวยการพัฒนาสมนุ ไพรไทย ฉบับท่ี 1 พ.ศ. 2560-2564
ซง่ึ กรมอทุ ยานแหงชาติ สตั วป า และพันธุพืช มีสว นรับผดิ ชอบตอ
ยุทธศาสตรท่ี 1 มาตรการที่ 3 การอนุรักษและการใชพชื สมุนไพร
จากปาอยา งยง่ั ยืน แผนงานท่ี 1 : จัดทําฐานขอมูลพืชสมนุ ไพรและ
ภมู ิปญ ญาการใชประโยชนข องประเทศไทย และ แผนงานท่ี 2 :
สรางเครอื ขา ยอนุรกั ษพ ืชสมนุ ไพร
การดําเนินงานโครงการดงั กลาวไดแ บง งานออกเปน 2
สว นหลัก คือ
สว นอาํ นวยการ ดําเนินการโดยกลุมงานพฤกษศาสตรปา
ไม ทร่ี บั ผิดชอบวางแผนการดาํ เนินงานดา นวิชาการและ
แผนการทํางานภาคสนาม ประสานงาน และติดตามขอมูล
ตรวจสอบ และวเิ คราะหข อ มูลใหม คี วามถูกตอ งทางวิชาการ
เพ่ือนํามาจัดทําฐานขอมลู พชื สมนุ ไพร หนงั สือเผยแพร และ
ปายช่อื พชื สมุนไพรทีถ่ ูกตดิ ตง้ั ในสวนรวบรวมพนั ธุกรรมพืชปา
สมุนไพร
สวนปฏบิ ัตกิ ารภาคสนาม ท่ดี ําเนินการโดยสวน
พฤกษศาสตร 4 แหง รวมกบั นกั พฤกษศาสตรจ ากกลุมงาน
พฤกษศาสตรป า ไม และหมอสมุนไพรพ้นื บานในพ้ืนทใ่ี กลเ คียง
พื้นท่ีปา อนรุ ักษทง้ั 4 แหง ไดแก
59
1. สวนพฤกษศาสตรสกุโณทยาน จงั หวดั
พษิ ณโุ ลก ดาํ เนนิ การสํารวจขอ มูลพืชปา สมนุ ไพร
ในพื้นทอ่ี ทุ ยานแหงชาตทิ งุ แสลงหลวง จงั หวัด
พิษณุโลก และเพชรบรู ณ
2. สวนพฤกษศาสตรภูฝอยลม ๖๐ พรรษา
มหาราชินี จงั หวัดอดุ รธานี ดําเนนิ การสํารวจ
ขอ มูลพืชปาสมุนไพรในพ้นื ท่อี ทุ ยานแหง ชาติ
นายูง-นํ้าโสม จังหวัดอุดรธานี เลย และหนองคาย
3. สวนพฤกษศาสตรเขาหินซอน จังหวัด
ฉะเชิงเทรา ดําเนินการสํารวจขอมูลพชื ปา สมุนไพร
ในพื้นที่เขตรกั ษาพนั ธสุ ัตวป าเขาอางฤาไน จังหวัด
ฉะเชิงเทรา และสระแกว
4. สวนพฤกษศาสตรท ุงคา ย จงั หวัดตรัง
ดาํ เนนิ การสํารวจขอ มูลพืชปาสมนุ ไพรในพน้ื ทีเ่ ขต
รักษาพนั ธุส ัตวป า เขาบรรทดั จงั หวัดตรงั และ
พัทลงุ
60 ผลการดําเนนิ งานทําใหก รมอุทยานแหงชาติ สัตวป า และพันธุพืช สามารถตอบ
สนองตอแผนแมบ ทแหงชาติ คอื
ปา ยช่อื พืชสมุนไพรพรอ ม QR code
เชื่อมตอ ขอมูลกับระบบฐานขอ มูล 1. การจัดทาํ ฐานขอมูลพชื ปา สมนุ ไพรจากพ้นื ท่ีปาอนุรักษจํานวน 4
แหง โดยมขี อมูลดานสมุนไพรและดานพฤกษศาสตร พรอ มภาพประกอบ ใน
ระบบฐานขอมูลพชื ปาสมุนไพรในพน้ื ทป่ี าอนรุ กั ษ ประมาณ 700 ชนดิ ท่ีเผย
แพรผ า นทางเวบ็ ไซด www.dnp.go.th/botany/herb.html
องคความรสู วนใหญไดม าจากหมอสมนุ ไพรพน้ื บา นในพ้นื ทใ่ี กลปา อนรุ ักษ
จํานวนทัง้ หมด 12 คน เปนตวั แทนจากภมู ภิ าคทัง้ 4 และบางสวนเปนขอ มลู
ทตุ ยิ ภูมิจากเอกสารอางอิง
โดยมกี ารจัดเก็บตวั อยางพชื สมุนไพรแบบแหง เปนตวั อยา งอา งอิง
(voucher specimens) ถกู เกบ็ รกั ษาไวในพพิ ธิ ภณั ฑพืชกรมอทุ ยานแหง
ชาติ สตั วปา และพันธพุ ชื (BKF) จาํ นวน 370 ชน้ิ
2. หนงั สือ “พชื ปา สมนุ ไพร” เปน อกี ชองทางหนงึ่ ท่ีคณะทํางานไดจดั
ทําขึน้ เพื่อใชเ ผยแพรอ งคความรอู นั เปนประโยชนและชวยในการอนุรกั ษอ งค
ความรูดานสมุนไพรพนื้ บานของประเทศไทยไวไดอ กี ทางหนง่ึ
3. ปายชื่อพืชสมนุ ไพรพรอมระบบ QR code ที่ถกู ตดิ ตงั้ ใหกบั พืช
สมุนไพรทีถ่ ูกรวบรวมจากการเขา สาํ รวจพ้ืนท่ปี า แลวนํามาปลกู ไวในสวน
รวบรวมพนั ธกุ รรมพืชปา สมนุ ไพรนอกถิน่ กาํ เนดิ ในสวนพฤกษศาสตรท ั้ง 4
แหง ๆ ละประมาณ 100 ชนิด
61
จดั ทําสวนรวบรวมพันธกุ รรมพชื ปา สมุนไพรและนําพชื สมนุ ไพรท่อี นุบาลไวล งปลูก
เกบ็ ตนสมนุ ไพรจากปามาอนบุ าล
กอ นนําลงแปลงปลูก
ตัวอยา งพชื สมุนไพรแบบแหง
ใชเปนตัวอยา งอางองิ ถกู เกบ็
รักษาไวในพพิ ธิ ภัณฑพ ชื และ
แสดงในระบบฐานขอมูล
62
ขอมลู ทัง้ 3 สว นเชื่อมโยงบนระบบฐานขอมลู เดียวกัน เพอื่ จดั ใหเ ปน ชองทาง
และพืน้ ท่ีเรยี นรดู านพชื ปาสมนุ ไพรในทอ งถ่ิน สามารถใชเ ปนแหลงพันธุกรรมพชื
ปาสมุนไพรทีเ่ ปดโอกาสใหแ กบ คุ คลท่ัวไปเขามาศกึ ษาวจิ ยั หรือขอความ
อนุเคราะหส บื ตอ ขยายพนั ธจุ ากแหลงพนั ธุกรรมซึ่งไดรบั การตรวจสอบชื่อพฤกษ
ศาสตรทถี่ ูกตองจากนกั พฤกษศาสตรแ ลว
ดวยองคค วามรกู ารแพทยแ ผนไทยแตโบราณมาไดรับอทิ ธิพลอยา งมากจาก
คัมภีรอ ายรุ เวท ศาสตรท างการแพทยข องคนอนิ เดยี โบราณที่เดินทางเขา สดู นิ
แดนสุวรรณภมู มิ าต้งั แตก อนพุทธกาลจนถึงปจจบุ นั
ทาํ ใหตํารบั ยาไทยแผนโบราณจาํ นวนมากมีองคประกอบที่คลา ยกนั พชื
สมนุ ไพรจาํ นวนมากเปนพชื ท่ีนําเขามาจากอินเดยี แลวแพรกระจายไปตามบาน
เรอื น วดั วงั จนยากท่ีจะสบื หาทม่ี า
คนสวนใหญยังเขา ใจวาเปนพชื พน้ื เมอื งของไทยแตค วามเปน จริงมีถ่ินกาํ เนดิ
มาจากชมพทู วีป เชน ขมิ้นชนั (Curcuma longa) ขม้นิ ออ ย (Curcuma
zedoaria) พรกิ ไทย (Piper nigrum) กรรณกิ าร (Nyctanthes arbor-tristis)
มะลิ (Jasminum sambac) แฝกหอม (Chrysopogon zizanioides) เปนตน
กรรณิการ (Nyctanthes arbor-tristis)
63
ขณะทบ่ี างชนดิ มีการกระจายพนั ธุเปนพชื ปา ตามธรรมชาตทิ ้ังในชมพูทวปี
และในประเทศไทยดว ย เชน มะขามปอ ม (Phyllanthus emblica) สมอไทย
(Terminalia chebula) สมอพเิ ภก (Terminalia bellirica) เปนตน พืชเหลา น้ี
ยงั คงมีใหเ ห็นและใชกันอยูท ว่ั ไปปรากฏอยใู นตาํ รับยาสามญั ประจาํ บา นแผน
โบราณ
มะขามปอม (Phyllanthus emblica) สมอไทย (Terminalia chebula)
สมอพเิ ภก (Terminalia bellirica)
64
สาํ หรบั พืชบางชนิดซงึ่ พบเฉพาะในประเทศไทย ไมพบท่ีอนิ เดยี แตด วยการ
ผสมผสานกบั องคความรูท อ งถิ่นจากชาวไทยในแตละภมู ภิ าค จึงเกดิ ตํารบั ยา
ทอ งถนิ่ ที่หลากหลาย แตกตา งจากตาํ รบั ยาตนฉบบั ออกไป
ซึง่ ตํารบั ยาหรือองคความรใู นพืชทอ งถน่ิ เหลาน้เี องเปนการนาํ ทรัพยากรพชื
อันหลากหลายภายในประเทศไทยมาใชใหเ กดิ คณุ คาสงู สุดจากการสั่งสม
ประสบการณของบรรพบรุ ษุ มาอยา งยาวนาน และถกู ปรบั ใหเ หมาะสมกบั คนใน
แตล ะทองถิน่ ไดดี ทวา ในปจ จบุ นั พืชปาสมุนไพรเหลานแี้ ละตํารับยาสมุนไพร
พน้ื บา นหลายขนานกาํ ลงั จะสาบสูญไปพรอมกบั หมอสมุนไพรพนื้ บา น
สมั ภาษณห มอสมุนไพรพน้ื บานท่ี
บา นเกี่ยวกบั ตํารบั ยาพื้นบานและ
สมนุ ไพรปาทน่ี ํามาใช
พาหมอสมุนไพรไปสํารวจพชื ปา
สมนุ ไพรในพื้นท่ปี า อนรุ กั ษ
65
การรวบรวมขอ มลู สําหรับโครงการนจ้ี ึงใหความสาํ คัญตอพชื สมนุ ไพรชนิดท่ี
เปนพชื พนื้ เมืองของประเทศและตํารบั ยาสมุนไพรพน้ื บานเปน อนั ดบั แรก มกี าร
ดําเนินการเก็บขอมลู อยา งเปนระบบ มีการบนั ทึกภาพตัวอยางพืชสมุนไพรในปา
ธรรมชาติและชนิ้ ตวั อยา งยาไวเปนหลกั ฐาน รวมถงึ การวเิ คราะหขอ มูลอยา ง
ถ่ีถวน
ตํารับยาสมนุ ไพรพ้ืนบา นจาก
สมุดขอ ยโบราณ
การบันทึกภาพตวั อยา งชนิ้ ยาและการตรวจ
สอบชนดิ เบอ้ื งตนกอ นเขาไปตรวจสอบพืช
สมนุ ไพรในปา
66
หนงั สอื “พืชปาสมนุ ไพร” ไดจัดทาํ ขนึ้ มาจากขอ มูล พืชบานที่กาํ ลงั จะหายไปในแตล ะชมุ ชน
สวนหน่งึ ทีค่ ดั สรรออกมาจากขอ มลู โครงการขางตน โดย พชื สมุนไพรทเ่ี ปน ชนดิ พนั ธุพื้นเมืองจากในปา
เนนนําเสนอพชื สมนุ ไพรชนดิ ทเี่ ปน พชื ปา พ้ืนเมืองของ
ประเทศไทย (native species) จาํ นวน 512 ชนิด และ ธรรมชาติน้ัน บางชนดิ มกี ารใชป ระโยชนเฉพาะบางทอ งถิ่น
ตาํ รับยาสมนุ ไพรพน้ื บาน 209 ตาํ รบั อันมพี ชื ปาเหลา นนั้ เพราะเปน พืชหายากมพี ืน้ ท่ีข้นึ กระจายตวั จํากัดและไมมี
เปน สวนประกอบ เนือ่ งจากพืชปา ทอ งถ่นิ มีความเสยี่ งตอ การผลติ ในระบบเกษตรปอนตลาด เปน เพียงการเก็บมา
การสญู พนั ธจุ ากการทําลายปา ไม การเกบ็ หามาใช และ จากปาเทานนั้ จึงยงั ไมมีการศกึ ษาศักยภาพอยางจริงจัง
การเปล่ยี นแปลงของสภาพส่งิ แวดลอ ม โดยเฉพาะอยา งยง่ิ
ความเส่ยี งตอ การสญู หายขององคค วามรูด า นการใช ซึ่งพชื สมนุ ไพรเหลา นอ้ี าจจะออกฤทธเ์ิ ทียบเทา-เหนือ
ประโยชนไ ปตามสมัยนิยม และวิกฤตการณหมอสมุนไพร กวา พืชสมนุ ไพรตางชาติในกลุมใกลเคียงกนั ท่ีนิยมใชใน
ปจ จบุ ัน เชน
ลูกขาหรือไอแ หวง (Cinnamomum sintoc) พืช
ปาของไทยที่ใบและเปลือกมกี ล่นิ หอมแรงกวา พชื
ในกลุมสกุลอบเชยหลายชนิด (Cinnamomum
spp.)
พืชในสกุลอบเชย (Cinnamonum spp.) ซง่ึ ตามทอ ง
ตลาดสมุนไพรนิยมนาํ เขาอบเชยมาจากตา งประเทศไดแก
อบเชยจีน (Cinnamomum cassia) อบเชยญวน
(Cinnamomum camphora) และอบเชยศรีลงั กา
(Cinnamomum verum) โดยในปาของประเทศไทยมพี ืช
สกลุ อบเชยประมาณ 15 ชนิด สว นใหญม กี ลน่ิ หอมแตก
ตา งกนั ไป มใี หเ ลอื กมากมายนาํ ไปศึกษาการขยายพนั ธุ
67
ควรที่จะสงเสริมแกเ กษตรกรในยคุ ท่ีการเกษตรทฤษฎี การปลกู พชื เศรษฐกิจตามกระแสทุนนิยม
ใหม การเกษตรอินทรยี และระบบวนเกษตรกาํ ลังเปนคํา
ตอบของการอยูรอดพงึ่ พาตนเองไดของเกษตรกรไทย โดย ตามทีไ่ ดร วบรวมและวิเคราะหข อมูลจากการสาํ รวจ
เฉพาะอยา งยง่ิ เกษตรกรทีอ่ าศยั ทง้ั อยใู นและใกลเคียงปา ทําใหท ราบวา พชื ปาสมุนไพรของไทยจาํ นวนมากท่ีมี
นาจะมคี วามเหมาะสมทง้ั ดา นสภาพภูมปิ ระเทศ ภมู อิ ากาศ ศกั ยภาพตอการสง เสริมใหปลูก ใชป ระโยชนเ ปน ยาสมุนไพร
และสภาพสังคมมากที่สดุ ตอการปลกู พืชปา สมนุ ไพร ประจําบา น หรอื สามารถปลกู สง ขายยังตลาดผลติ และ
แปรรปู ยาสมุนไพรไดเปนอยางดี ตามตัวอยา งดังน้ี (หา
การปลูกพชื ปา สมุนไพรจงึ นา จะเปน อีกทางเลือกทดี่ ีตอ ขอมูลเพ่มิ เตมิ ของแตละชนิดพชื สมนุ ไพรไดจ ากสว นท่ี 3)
การเพ่ิมพน้ื ที่สีเขียวและการอนุรกั ษพ้ืนท่ตี นนาํ้ ไดดีกวา
68
กลมุ ไมตน : จนั ทนชะมด (Mansonia gagei) พกิ ลุ สารภี สารภดี อกใหญ
บนุ นาค กฤษณา กระดงั งาไทย เชียด สมุลแวง สุรามะรดิ ลกู ขา หรอื ไอแ หวง
เทพทาโร กอมขม เปลาใหญ เปลาตะวัน กาํ จดั ตน หรอื มะแขวน แสลงใจ พญามลู
เหล็ก (Strychnos lucida) ตงั ตาบอด สมอไทย สมอพเิ ภก สมอดงี ู มะขามปอ ม
เม่ือยดูก เม่ือยดํา สม แขก สมควาย ราชครูดํา มะกา มะตูม หาด มะหาด กระเบานา้ํ
ตานหก มะคาํ ดคี วาย สํารองกระโหลก แสมสาร ตานเส้ยี น ตานนม
บนุ นาค (Mesua ferrea) ดอกอยใู นพกิ ัดยาเกสรทั้ง
หา และนยิ มใชกนั มากหลายตาํ รบั ยา ควรสง เสริมการ
ปลกู แทนการเก็บหามาจากปา
69
ฝาง (Caesalpinia sappan) แกน บํารงุ กลุม ไมพุม : ฝาง จนั ทนแ ดง จันทนา ชิงชี่
โลหติ -หัวใจและบํารุงรางกาย แกร อนใน สลัดไดปา ขอย ราม โลดทะนง ปลาไหลเผือก กาํ ลงั ววั เถลงิ
กระหายนํา้ หรือใชแ ตงสีอาหาร/เครื่องดื่ม กลงึ กลอม เขยตาย หอมแขก สนั โสก สองฟา เจตพังคี
อีกทงั้ ยงั ปลกู เลี้ยงงายทดแลง ไดดี นมสวรรค นางแยมปา ราชดัด หมักแปม คนทา ตาลเหลอื ง
ขาเปย นมุ ทอ มหมชู อ ตรชี วาหรืออคั คที วาร มะไฟแรด
ขนั ทองพยาบาท ประดโู คก
70
ชะลดู (Alyxia reinwardtii) เปลือกเถามีกลิ่นหอม ชวย กลุม ไมเ ถา : ทองเครือหรือกวาวเครอื แดง ฮอ สะพาย
บาํ รุงหัวใจ แกวงิ เวียน หรอื ใชอบผา แตงกลิ่นอาหารหรอื ทาํ ควาย เถาวลั ยเปรยี ง ขมิ้นเครือ (Arcangelisia flava)
เครอื่ งหอมกไ็ ด ขมิน้ ฤาษหี รือแฮม โคคลาน (Mallotus repandus)
โคคลาน (Anamirta cocculus) ชะลดู เครืองูเหา ตะคา น
เลก็ หรอื สะคา น กรุงเข-มา กําแพงเจ็ดชั้น สะเดาเยน็
ประดงเลอื ด มาทลายโรง รางจืด สวาด สะเองหรือชอง
ระอา ดูกไกยาน ล้ินกวาง ชะเอมปา ข้ีแรด ผักสาบ
กระดึงชางเผือก มะระข้ีนก จงิ จอเหลย่ี ม เหลก็ ราชครู
ขาวเย็นเหนือ-ใต (Smilax spp.) หนอนตายหยาก
เถายา นาง บอระเพด็ เครือปลอกหรอื พญางิว้ ดํา รางแดง
กาํ ลังเสือโครง เถาเอน็ ออน
71
หญาดอกคาํ (Hypoxis aurea) รากแกออนเพลยี บํารุง
กําลัง บาํ รุงโลหติ ทีน่ า สนใจคือใชรักษาสิว รกั ษาฝาและ
ทาํ ใหผ ิวขาวใส
กลุม ไมล ม ลุก : กระวาน กระวานขาว เรวใหญ ขา ลงิ
กระทือ วานมหาเมฆ วานสาวหลง วา นสาวหลงใต
ตองแตก องั กาบหนู เทา ยายมอม เนระพสู ไี ทย พญาปลอง
ทองหรอื เสลดพังพอนตวั เมยี วา นกีบแรด บัวบก สงั กรณี
โดไ มร ูล ม หญาดอกคํา วานพราว วา นสากเหลก็ ตองกาย
กะตังใบ ชา พลู ระยอ ม ดปี ลากั้งปา
72
รปู สมดุ ขอ ย
73
สว่ นที่ 2
ตาํ รับยาสมุนไพรพื้นบ้าน
( 209 ตาํ รับ เรยี งตามอกั ษรรหสั ตํารบั ยา )
74
ดอกขา ลิง ชนั ตะเคียนทอง
¹éíÒÁ¹Ñ ¾ÃÔ¡ ¹íéÒÁѹªÑ¹μÐà¤Õ¹
(E1-01) (E1-02)
-------------------- --------------------
ทาแกเหน็บชา แกมือเทาตาย รักษาบาดแผลอักเสบเร้อื รัง
ชวยขยายหลอดเลอื ด แกปวดเมื่อย แผลหนองพพุ อง แผลเบาหวาน/กดทบั
สว นประกอบ แผลไฟไหม/ นํ้ารอ นลวก
พริกใหญแหง พริกเล็กแหง พริกไทยดาํ หรอื ขาวก็ได ขา ลงิ (หวั ) สวนประกอบ
อยางละ 100 กรัม, พรกิ ค่ัวใหเกรียมดาํ แตพรกิ ไทยและขาลิง
ใหเ กรยี มเล็กนอ ย นาํ ทุกอยางมาโขลกใหละเอยี ด พรอ มกับ ผสมนํ้ามันมะพรา วกับนํ้าปนู ใสอยางละ 2 ถว ยตวง
การบรู 1 ชอ นชา และพิมเสน 2 ชอ นชา แลว ใสน าํ้ มันมะพราว คนใหเขา กนั , ตะเคยี นทอง (ชนั ) สน (สนสองใบหรือใชสนสาม
ใหพอทวม และนาํ้ มนั ระกาํ 2 ชอ นโตะ แชท ง้ิ ไว 1-2 คืน แลว ใบก็ได) (ชนั ) และดินสอพองสะตุ (หรอื ใชแปงจีน) อยางละ 2
ชอนโตะ และการบรู 1 ชอ นโตะ บดแตล ะอยา งใหล ะเอยี ด รอน
กรองใชแตนํ้ามนั หรือถาแชกับกากสมุนไพร ใหส ะอาด นาํ มาผสมกับน้าํ มันมะพรา ว คนใหต อเน่ืองประมาณ
จะทําใหเ กบ็ รกั ษาไดน านขึน้
1 ชั่วโมง
วธิ ใี ช จนเปน เน้ือเดยี วกนั จากน้ันนําไปตากแดด
ทาหรือนวดบรเิ วณท่มี ีอาการ/ปวดเมือ่ ย อยางนอย 3-7 วัน
วิธใี ช
ทา หรือใชสําลีชุบปดบรเิ วณท่เี ปนแผลตอเนอ่ื งจนหาย
75
เถาเอน็ ออ น ฝาง
¹íéÒÁ¹Ñ àËÅ×ͧ ¹éíÒ½Ò§á¡äŒ Í
(E1-03) (E1-04)
-------------------- --------------------
แกปวดเมือ่ ย แกไ อ แกเ จ็บคอ แกคอแหง แกไ อหอบหืด
แกปอดหรอื หลอดลมอักเสบ แกวณั โรค แกไ ขห วดั
สว นประกอบ
บํารงุ เลือด บํารุงหัวใจ
ไพล 1 กิโลกรัม ขมนิ้ ออ ย 1 กโิ ลกรมั เถาเอ็นออ น (เถา) 300
กรมั พลบั พลงึ (Crinum asiaticum) (ใบ) 300 กรัม ท้งั หมด สว นประกอบ
หนั่ เปน ชิ้นบางๆ ทอดกับนา้ํ มันมะพราวทลี่ ะอยา ง กรองน้าํ มนั
แกนฝาง 200 กรมั เจียดเปนซเ่ี ลก็ ใหญกวาไมจิ้มฟน เล็กนอ ย
ใหส ะอาด ทิ้งใหเ ย็นลงแลว เติมการบรู และเมนทอล ท่บี ด นาํ ไปตมกับน้ําเดือด 5 ลิตร ประมาณ 15-30 นาที, พรกิ ไทย
ละเอยี ดอยา งละ ขาว กานพลู สารสม อยางละ 50 กรมั , ปนู ขาว (ทําจากเปลือก
หอยแครง) 15 กรมั เมนทอล และการบรู อยา งละ 25 กรมั ,
1 ชอ นโตะ คนใหละลายเขากัน ตามดวย ขัณฑสกร (ดนี ํ้าตาล) 2.5 กรัม ทัง้ หมดตาํ ใหล ะเอยี ดใสท่กี น โหล
นา้ํ มันระกํา 2 ชอนโตะ แลว คอ ยๆ เทน้าํ ฝางทอ่ี ุนตาม แชไ ว 7 วัน ระหวางแชย าหมั่น
คนวนั ละ 1-2 ครงั้ หลงั จากนัน้ กรองกากยาออกหลายๆ รอบให
วิธีใช
มีตะกอนนอ ยทีส่ ุด เกบ็ น้ํายาใสข วด
ทาและนวดบริเวณทป่ี วดเมอื่ ย
วิธใี ช
ทาน 1-2 ชอ นโตะ วนั ละ 3-4 ครงั้
คาํ เตือน
ยาตํารับนเ้ี ปนยาเย็น อาจทาํ ใหความดันตํา่ ได
จงึ ไมควรรบั ประทานตอ เนอ่ื งนาน
76
โดไมร ูล ม เทา ยายมอ ม
»Ç´àÁÍ×è Â-ºÒí Ãا¡íÒÅѧ 䢷Œ ºÑ ÃдÙ
(E1-05) (E1-06)
-------------------- --------------------
แกปวดเม่ือย บํารุงกาํ ลงั แกไ ขท ับระดู ระดผู าไข แกพษิ โลหติ ระดู
แกร อนใน แกค ลุมคลง่ั
สวนประกอบ
สว นประกอบ
โคคลาน (Mal_rep) (เถา) ทองพันช่งั (ใบและกาน)
โดไ มรูลม (ทง้ั 5 ) มา ทลายโรง (เถา) กําลงั ววั เถลิง (ไม) อยา ง บัวหลวง (เกสร) สารภี (ดอก) บนุ นาค (ดอก) พกิ ุล (ดอก) มะลิ
ละ 1 กาํ มอื ตากแดดใหแ หง แลว นาํ ไปคัว่ พอใหมกี ลน่ิ หอม ใส (ดอก) จนั ทนแ ดง (แกน) จันทนา (แกน ) ฝาง (แกน) กฤษณา
น้ําใหท วมตัวยา ประมาณ 1-2 ลติ ร ตม ใหเ ดอื ดประมาณ 10 (แกน ) สน (สนสองใบหรอื สนสามใบกไ็ ด) (แกน) ครี้หรือสักขี
(แกน ) เทายายมอม (ราก) มะพรา ว (ราก) ไผรวก (ราก) เถา
นาที ยา นาง (ราก) ลําเจยี ก/เตยทะเล (Pandanus odorifer) (ราก)
และมะนาว (ราก) ทุกอยา งเทา ๆ กัน แตกแดด/อบใหแหง บด
วธิ ีใช
ใหเ ปน ผงละเอยี ด
ด่มื ครัง้ ละ 1 แกวชา กอน/หลังอาหาร เชาและเยน็ ,
ถา ตองการใหมรี สหวานใหเ ตมิ นํ้าตาลทรายแดงพอหวาน เมอื่ วธิ ใี ช
อุนยาใหเตมิ นํา้ เทา ท่ีใชด ืม่ อุนใชไ ดอ กี ยา 1 ชอนชา ผสมน้าํ อุน จัดครงึ่ แกว รบั ประทานจนกวาจะหาย
2-3 วัน จงึ เปลีย่ นยาใหม, หรอื เปนยาดอง ใสเหลาขาวจนทว ม ระหวางเปนไขค วรหลีกเล่ยี ง
อาหารรสจดั
ตวั ยาทง้ิ ไว 7 วนั จึงใชไ ด ด่ืมครั้งละ 1 จอก
คําเตอื น
ยาดองไมค วรใชก บั สตรีมีครรภ
77
กระวาน โคคลาน
ÂÒ»¶Ç¼Õ § »Ç´àÁÍè× Â-¡Ãд١·ÑºàʹŒ
(E1-07) (E2-216)
-------------------- --------------------
แกลมปว ง จุกเสียดแนนทอ ง แกถ า ยทอ ง แกปวดหลงั ปวดเอว ปวดไขขอ ปวดกระดูก แก
ทองรวง แกเ คลด็ ฟกชํ้า แกปวดฟน จากฟน ผุ กระดกู ทับเสน บาํ รุงธาตุ
แกร ํามะนาด แกพ ิษแมลงสัตวกัดตอ ย สว นประกอบ
สวนประกอบ โคคลานหรือมะกายเครอื (Mal_rep) (เถา)
มา ทลายโรง (เถา) ฮอ สะพายควายหรอื ยา นดูก (เถา)
กานพลู และ ไพล อยา งละ 8 บาท ทุกอยางตากแดด
/อบใหแ หง แลว บดใหเปน ผงละเอยี ด, จนั ทนเทศ เถาวัลยเปรยี ง (เถา) ขม้นิ เครอื (Arc_fla) (เถา)
รสสุคนธ (เถา) จนั ทนา (เน้ือไม) คัดเคา ดง (เถาหรือราก) อยา ง
(ลูกและดอก) กระวาน (ผล) ดปี ลี (ดอก) พรกิ ไทย เรว /เรว นอ ย
(Amomum villosum) หรือใชเ รวใหญ (Alpinia mutica var. ละเทาๆ กนั
nobilis) ก็ได (เมลด็ ) ขิงแหง (Zingiber ligulatum) อยา งละ 2
วิธใี ช
บาท, พมิ เสน เมนทอล และการบรู อยา งละ 2 สลงึ บดให
ละเอียด ผสมผงยาทัง้ หมดใหเขา กันแลวรอ นดว ยตะแกรง ตม นํา้ ดมื่ ครง้ั ละประมาณ 1 ถว ยชา กอนอาหาร
3 เวลา หรอื ใชน ํ้าตมชงกับโอวัลติน ทานประมาณ
หยาบ-ละเอียด เอาแตผงละเอียด 2 หมอ จะเรมิ่ เหน็ ผล หากเปน มากใหนวดดว ย
วิธีใช จะชวยใหห ายเรว็ ขึน้
แกล มปว ง จุกเสียดแนนทอ ง แกถา ยทอง ทอ งรว ง
ใชย า 1 ชอนชาละลายนํ้ารอ น 1 แกว กาแฟ/สุรา
1 จอกด่ืม, แกเคล็ดฟกช้าํ ตะครวิ ใช ยา 1 ชอนชาแชสุราทาถู
และนวด, แกป วดฟนจากฟน ผุ แกร ํามะนาดใหอ มยาผง, แกพิษ
แมลงสัตวก ัดตอ ยใชละลายกบั สุรา
/นํ้ารอนแลว เอาสําลีชุบปด แผล
78
หญาหนวดแมว รากปลาไหลเผอื ก
¢ºÑ ¹ÔèÇ-âääμ-μѺ ¶Í¹¾ÔÉÊÑμÇ· Ø¡ª¹Ô´/
»Ãд§¢ŒÍ-àÊŒ¹
(E2-217)
(E2-218)
--------------------
--------------------
ขับน่ิวในถุงน้ําดี นว่ิ ในระบบทางเดนิ ปสสาวะ
แกปสสาวะขน แกโ รคไต แกโรคตับ แกพ ิษงู ถอนพษิ สัตวท ุกชนดิ แกงสู วดั ประดงขอ
ประดงเสน
สว นประกอบ
หญา หนวดแมว (Orthosiphon aristatus) (ท้ัง 5) หมากผปู า สวนประกอบ
(ทงั้ 5) ฟาทะลายโจร (ทัง้ 5) คัดเคา ดง (แกน/ราก) ปลาไหลเผอื ก และ นมสวรรค ใชรากทงั้ สอง
วานมหาเมฆ (หัว) สะบา (เมลด็ ) อยา งละเทาๆ กัน
อยางละเทา ๆ กนั แตไ มเ กิน 3 ขดี
วธิ ีใช
วธิ ีใช
ฝนผสมกบั น้ํามะนาวหรือเหลาขาว ใชท าบริเวณทีถ่ ูกพษิ และ
ตม นํา้ ดมื่ ครัง้ ละ 1 ถวยชา หลงั อาหาร ตมกบั น้าํ ดมื่ ดวย, ใชแกอ าการประดงขอ ประดงเสน ใชรากปลา
ประมาณ 20 นาที 3 เวลาและกอนนอน
ไหลเผอื กกบั
หรือดองเหลา ดื่มครง้ั ละ 1 จอก รากนมสวรรคตม กบั นํา้ ดื่ม
79
ตรีชวา
ขเ้ี หล็ก Ã´Ô Êմǧ·ÇÒÃ
àºÒËÇÒ¹/¤ÇÒÁ´Ñ¹âÅËμÔ (E2-220)
(E2-219) --------------------
-------------------- รักษารดิ สดี วงทวาร
รกั ษาเบาหวาน ความดันโลหติ สวนประกอบ
สวนประกอบ เพชรสงั ฆาต (ทง้ั 5) ตรีชวาหรืออคั คีทวาร (ท้งั 5)
วานมหาเมฆ (หัว) ไพลดาํ (Zingiber ottensii) (หัว) วานนาง
ขเี้ หลก็ (เปลอื ก) สกั (ใบ) ลกู ใตใ บ หรือใชหญาใตใ บ กไ็ ด (ทง้ั คาํ หรอื พญาวา น (Curcuma aromatica) (หัว) วา นรดิ สีดวง
5) อินทนลิ นํ้า (ทงั้ 5) ขาวเยน็ เหนอื (Smilax corbularia)
(Curcuma sp.) อยางละเทาๆ กนั
(หัว) อยางละเทา ๆ กนั แตไ มเ กิน 3 ขีด
วธิ ีใช
วิธีใช
ตมนา้ํ ดื่ม ครั้งละ 1 แกวชา หลังอาหาร 3 เวลาและกอ นนอน,
ตมนํ้าดมื่ คร้งั ละ 1 แกวชา หลงั อาหาร 3 เวลา หรอื ดองเหลาขาว 7 วัน
แลวนํามาด่ืมครั้งละ 1 จอก
80
ขนั ทองพยาบาท กางปลาเครอื
à¡Ò·/ ÊÐà¡ç´à§¹Ô /¡ÒÁâä ÍÂÙ‹ä¿/Á´Å¡Ù à¢ÒŒ ÍÙ‹/äÊŒàÅèÍ× ¹
(E2-221) (E3-01)
-------------------- --------------------
โรคเกา ท รูมาตอยด สะเก็ดเงนิ ใชแทนการอยไู ฟ มดลูกเขา อูไว แกไสเล่อื นทง้ั ชาย
ผิวหนงั พุพอง กามโรค หนองในเทียม และหญิง
สวนประกอบ สว นประกอบ
ขันทองพยาบาท (แกน /ราก) กําแพงเจด็ ช้ัน กางปลาเครอื (ทง้ั 5) มา ทลายโรง (เถา) กําแพงเจด็ ช้นั (เถา)
(แกน /ราก) ฝาง (แกน ) เหงือกปลาหมอดอกขาว (ทัง้ 5) ฝาง (แกน) อยางละเทาๆ กนั และ กระทอมเลอื ดหรอื สบเู ลอื ด
หญางวงชาง (ทง้ั 5) หนอนตายหยาก (หัว) 3-4 ช้ินฝานบาง
(Stemona sp.) (ทั้ง 5) อยางละเทา ๆ กนั
วธิ ีใช
วิธใี ช
ตม น้ําดื่ม ครงั้ ละ 1 แกว ชา หลงั อาหาร 3 เวลา,
ตมน้ําดืม่ ครงั้ ละ 1 แกวชา หลังอาหาร 3 เวลา, หรอื ดองเหลา ขาว 7 วันแลวนํามาดมื่ ครง้ั ละ 1 จอก
หรอื ดองเหลาขาว 7 วันแลว นาํ มาดม่ื คร้ังละ 1 จอก
คําเตือน
ยาดองไมค วรใชก บั สตรีใหนมบตุ รหรอื มีครรภ
81
มาทลายโรง ชงิ ชี่
»Ç´àÁèÍ× Â/ºÒí Ã§Ø Ã‹Ò§¡ÒÂ/ÍÁÑ ¾Òμ ÂÒËÒŒ ÃÒ¡
(ÂÒàºÞ¨âÅ¡ÇÔàªÂÕ Ã/ÂÒá¡ŒÇˌҴǧ)
(E3-02)
(N1-14)
--------------------
--------------------
แกป วดเมือ่ ยตามเสน-ขอ-หลัง-เอว อมั พาต บาํ รุง
รา งกาย ชวยใหเ จริญอาหาร แกไ ข ตัวรอ น ปวดหัว ถอนพิษไข
สวนประกอบ สว นประกอบ
มาทลายโรง (เถา) 2 กํามอื เถาวลั ยเปรียง (เถา) คนทา มะเดือ่ อทุ ุมพร ชิงช่ี เทา ยายมอ ม เถายานาง ทกุ ชนดิ ใช
2 กาํ มือ ตะเขคุมวัง (เถา) 2 กาํ มอื กาํ ลงั เสือโครง (เถา) 1 กํา รากอยางละเทา ๆ กัน ใชสดหรือตากแหงกไ็ ด
มอื กําแพงเจด็ ช้นั (เถา) 1 กํามอื วธิ ีใช
ฝาง (แกน) 1 กํามอื พริกไทยดาํ (เมล็ด) 20 เมลด็
ตมนํ้าด่มื ครั้งละ 1 แกวชา กอ น/หลังอาหาร 3 เวลา และกอน
เทพทาโร (แกน ) 2 ชิ้น ดปี ลี (ผล) 3-4 ฝก นอน
ประดงเลอื ด (เปลอื ก) 5-6 ชนิ้
คําเตอื น
วธิ ีใช
หา มใชก ับสตรที เ่ี ปน ไขท ับระดู
ตมน้ําดม่ื ครั้งละ 1 แกวชา หลงั อาหาร 3 เวลา, หรอื ผูท เี่ ปน ไขเ ลือดออก
หรอื ดองเหลาขาว 7 วนั แลว นาํ มาดมื่ ครั้งละ 1 จอก
คําเตือน
หา มใชกับสตรมี ีครรภ
82
นางแยมปา ขาเปยนุม
ŌҧÊÒþÉÔ /á¡»Œ Ç´ ᡾Œ ÔÉàºèÍ× àÁÒ/¤ÇÒÁ´Ñ¹/àºÒËÇÒ¹
(N1-22) (N1-29)
-------------------- --------------------
ลา งสารพษิ แกไข แกป วด แกเ บื่อเมา แกพิษเบ่อื เมาตกคา ง แกวิงเวียน แกค วามดนั
แกเ บาหวาน
สว นประกอบ
สว นประกอบ
นางแยมปา และ สันโสก ใชร ากอยางละเทาๆ กนั
ไผเ ฮยี ะ (ขอสว นลําตน) ปอขนุน (เนือ้ ไม) ปอฝา ย (เนอ้ื ไม)
วิธีใช เสม็ดชุน (เนอื้ ไม) ขาเปย นมุ (ท้งั ตน) อยางละเทาๆ กนั
ตมนํา้ ด่มื ครง้ั ละ 1 แกวชา แลว ผสม ปลวกนกกะทา รงั มดล่ี เปลอื กหอยขม
หลังอาหาร 3 เวลา
และกอนนอน วธิ ีใช
ตมนาํ้ ด่ืม คร้งั ละ 1 แกว ชา หลังอาหาร 3 เวลา
83
ตง่ิ ตัง่ ปดมกุ
à¡Ò · »Ç´àÁ×èÍÂ
(N1-50) (N1-57)
-------------------- --------------------
รกั ษาโรคเกา ท ลดกรดยรู กิ ชวยการขับถาย แกป วดเม่อื ย
สว นประกอบ สวนประกอบ
ตง่ิ ต่งั (เถา) 2 ขดี และ บวั สาย (Nymphaea pubescens) ปดมุก (ลําตน ) มาทลายโรง (เถา) ตดหมาตน (ตน /ราก)
ดอกสแี ดงอมชมพู 4 ดอก กําลังหนุมาน (ลําตน ) อยางละเทา ๆ กนั
วิธใี ช วธิ ใี ช
ตมนาํ้ ดม่ื ครั้งละ 1 แกวชา หลงั อาหาร 3 เวลา บดยาแตละอยางใหเปน ผงละเอยี ด แลว ผสมใหเขา กัน บรรจใุ น
แคปซลู รบั ประทาน
84
ตนี นก กูดงอแง
ºíÒÃ§Ø ÊμÃËÕ Åѧ¤ÅÍ´ ÍÒÂÇØ Ñ²¹Ð
(N1-80) (N1-83)
-------------------- --------------------
บํารงุ สตรีหลงั คลอด ขบั น้าํ คาวปลา บํารงุ น้ํานม ยาอายวุ ัฒนะ บาํ รงุ รางกาย
สว นประกอบ สว นประกอบ
ตีนนก (เนอื้ ไม) ตับเตาตน (เนื้อไม) ขา วเย็นเหนือ (Smilax กดู งอแง (ราก) และ มะขามเปรี้ยว (เน้อื ผล) อยางละ 3 บาท
corbularia) (หัว) ขาเปย นุม (หัว) อยา งละเทาๆ กัน หญาแหว หมู (หวั ) 2 บาท บอระเพด็ 4 บาท ขา วเยน็ เหนอื
(Smilax corbularia) และ ขาเปย นุม อยา งละ 1 บาท
วธิ ีใช
เกลอื 3 ชอนชา
ตม นา้ํ ดม่ื ครั้งละ 1 แกวชา หลังอาหาร 3 เวลา
วธิ ใี ช
ตม นํา้ ดื่ม คร้งั ละ 1 แกวชา หลงั อาหารเชา และเย็น
พญาปลอ งทอง 85
แสลงพนั แดง ´«Õ ‹Ò¹
§ÙÊÇÑ´ (N1-118)
(N1-87) --------------------
-------------------- รกั ษาโรคดีซา น
รักษางูสวดั สว นประกอบ
สวนประกอบ มะสาน (เนือ้ ไม) พญาปลองทอง (ทง้ั 5) ขา วเยน็ เหนอื
(Smilax corbularia) (หวั ) ขาเปย นมุ (หวั ) อยา งละเทาๆ กัน
โคคลานหรอื แสลงพนั แดง (Pha_orn_ker) (ใบ) เสลดพังพอน
ตัวผู (ใบ) พญาปลองทอง (ใบ) อยางละเทา ๆ กัน วธิ ีใช
วิธใี ช ตมนํ้าดื่ม ครั้งละ 1 แกวชา หลังอาหาร 3 เวลา
ตําใหละเอยี ดแลวนํามาพอกทาบริเวณทมี่ อี าการ 2-3 ครง้ั /วนั
จนหาย อาจใชผา หอแลวพันแผลไวก ็ไดห ากมแี ผลมาก หรือผสม
กบั เหลาขาว 1:1 สวน จะออกฤทธ์มิ ากขน้ึ และ
เกบ็ ไวใ ชไ ดน านข้ึน
86
กลว ยปา ขแี้ รด
ä·ÃÍÂ´à »š¹¾ÉÔ ä¢·Œ ºÑ ÃдÙ
(N1-119) (N1-123)
-------------------- --------------------
รักษาโรคไทรอยดเ ปน พษิ รักษาไขทบั ระดู
สว นประกอบ สวนประกอบ
กลว ยปา (เหงา ) คอแลน (ราก) เสมา (Opuntia elatior) (ก่ิง) ขี้แรด/หันแดง (ราก) มะเมาสาย/เมา ไขป ลา/เมาสรอย ชนดิ ใด
อยางละเทา ๆ กัน ก็ได (ราก) กระถนิ บา น (ราก) พริกขหี้ นู (ราก) ขา วเยน็ เหนือ
(Smilax corbularia) (หวั ) ขาเปย นมุ (หวั ) อยางละเทาๆ กัน
วธิ ีใช
วิธใี ช
ตมนาํ้ ดื่ม ครง้ั ละ 1 แกวชา หลงั อาหาร 3 เวลา
ตมนํ้าดม่ื คร้งั ละ 1 แกวชา หลงั อาหาร 3 เวลา และกอ นนอน
87
สมกงุ เครือปลาสงแดง
¹íéÒàËÅ×ͧàÊÕ âäμºÑ
(N1-124) (N1-136)
-------------------- --------------------
แกนํา้ เหลอื งเสยี รักษาโรคตบั ตบั อกั เสบ ตบั แขง็
สว นประกอบ สว นประกอบ
สมกุง/เครืออีโกย (Amp_mar) (เถา) ขา วเยน็ เหนอื (Smilax เครอื ปลาสงแดง/เครือซดู (เถาและใบ) กลวยเตา (ราก) ตบั เตา
corbularia) (หวั ) ขาเปย นุม (หัว) อยางละเทาๆ กัน ใหญหรอื พลบั ไขเตา (Diospyros martabanica) (เนอื้ ไม) กา น
วธิ ีใช เหลอื ง (เนือ้ ไม) ตาไกใ บกวา ง (ใบ) ขา วเยน็ เหนอื (Smilax
corbularia) (หัว) ขาเปยนุม (หัว) อยา งละเทาๆ กัน
ตม น้ําดืม่ คร้ังละ 1 แกว ชา หลังอาหาร 3 เวลา
วธิ ใี ช
ตมนํ้าดมื่ ครง้ั ละ 1 แกวชา หลงั อาหาร 3 เวลา
88
ขเ้ี หลก็ เลอื ด สมอพิเภก
ÍÒÂØÇѲ¹Ð ÂÒμÃÕ¼ÅÒ
(N1-137) (N1-139)
-------------------- --------------------
อายวุ ัฒนะ แกไ อ ทาํ ใหช มุ คอ แกไ ขห วดั
สว นประกอบ สว นประกอบ
ขี้เหลก็ เลอื ด (แกน ) แสมทง้ั 2 (แกน) ขา วเย็นเหนอื (Smilax สมอพเิ ภก สมอไทย มะขามปอม ใชเ นอ้ื ผลแก
corbularia) (หัว) ขาเปย นุม (หัว) อยา งละเทาๆ กัน ทง้ั สามชนดิ เทา ๆ กัน
วิธีใช วธิ ีใช
ตมน้ําดื่ม ครั้งละ 1 แกวชา หลงั อาหารเชา และเย็น ตมน้ําดื่ม แบบคอ ยๆ จบิ ผานลาํ คอ ครงั้ ละ 1 แกวชา หลัง
อาหาร 3 เวลา และกอนนอน
ขา วเย็นเหนอื 89
โคลงเคลงตวั ผู âääμ
»Ç´àʹŒ àÍç¹/ºíÒÃ§Ø àʹŒ àÍç¹ (N1-153)
(N1-150) --------------------
-------------------- รักษาโรคไต แกปส สาวะพิการ
แกปวดเสน เอ็น เสน เอน็ อกั เสบ บํารุงเสนเอน็ สวนประกอบ
สวนประกอบ โลด (เน้ือไม) ขาวเยน็ เหนือ (Smilax corbularia) (หวั )
ขาเปย นมุ (หวั ) อยา งละเทา ๆ กัน
โคลงเคลงตวั ผู (ราก) เถาวลั ยเปรยี ง (เถา) เถาเอน็ ออ น (เถา)
ขาวเย็นเหนือ (Smilax corbularia) (หวั ) ขาเปยนุม (หวั ) วธิ ใี ช
อยางละเทา ๆ กนั ตม นาํ้ ด่มื ครั้งละ 1 แกวชา หลงั อาหาร 3 เวลา
วิธใี ช
ตม นํ้าดื่ม ครัง้ ละ 1 แกว ชา หลงั อาหาร 3 เวลา และกอ นนอน
90 สนสองใบ
ËÍºË´× นาํ้ นอง
(N1-154) ºíÒÃا¹Òíé ¹Á
-------------------- (N1-155)
แกห อบหืด --------------------
สว นประกอบ บํารงุ นาํ้ นม ขบั นํ้านม
สนสองใบ (Pinus latteri) หรือใชสนสามใบ (Pinus kesiya) สว นประกอบ
แทนกไ็ ด (ชนั ) ขอ ย (เปลือก) บดแตละอยา งใหเ ปนผงละเอยี ด
ใชปริมาณอยา งละเทาๆ กนั ผสมกบั นํ้าผ้ึง แลว ปน เปน ลูกกลอน ตบั เตา ตน (เน้อื ไม) กลงึ กลอม (เน้ือไม) นา้ํ นอง (เนื้อไม) ขาว
เย็นเหนอื (Smilax corbularia) (หัว) ขาเปย นมุ (หวั )
ขนาด 5-6 มม. อยางละเทา ๆ กัน
วธิ ีใช วิธใี ช
ทาน 3-5 เม็ด กอน/หลงั อาหารเชา และเยน็ ตมน้าํ ดืม่ ครั้งละ 1 แกวชา หลังอาหาร 3 เวลา
91
มะขามปอ ม ไผร วก
ÂÒá¡ŒäÍ àÅÍ× ´¡íÒà´ÒäËÅ/àÅÍ× ´ÍÍ¡μÒÁäÿ¹˜
(N1-161) (N1-189)
-------------------- --------------------
แกไอ แกเ ลอื ดกาํ เดาไหล-เลอื ดออกตามไรฟน
สวนประกอบ สวนประกอบ
สมอพิเภก (เน้ือผล) สมอไทย (เน้อื ผล) มะขามปอม (เน้อื ผล) ไผร วก (ผวิ เปลือกลาํ ตน) กาฝากตน มะนาว (ไมท ราบชนดิ )
มะแวง ตน (ผล) มะแวงเครอื (ผล) ยานเกาะลา (ราก) อยางละ (ทั้ง 5) อยา งละเทา ๆ กนั และข้ีเถาจากธูปจดุ 3 ดอก
เทา ๆ กัน วธิ ใี ช
วธิ ีใช แกเลือดกําเดาไหล ตมนา้ํ ดืม่ คร้งั ละ 1 แกว ชา หลังอาหาร 3
เวลา, แกเลือดออกตามไรฟน ใหบ ดเปนผงผสมนา้ํ อมกล้ัวปาก
ตม นาํ้ ด่มื คร้ังละ 1 แกวชา หลงั อาหาร 3 เวลา และกอนนอน,
หรือบดเปนผงละเอยี ดผสมกับนํ้าผง้ึ แลวปนเปนลกู กลอนขนาด
5-6 มม. ใชอม 3-4 ครั้ง/วนั 2-3 เม็ด/ครั้ง
92
มะหาด หญา หางอน
ÅÁªÑ¡ ¢Ñº»Ê˜ ÊÒÇÐ
(N1-200) (N1-201)
-------------------- --------------------
แกโรคลมชกั ชว ยขับปสสาวะ
สวนประกอบ สว นประกอบ
แดง เตง็ รัง ชงิ ชนั มะหาด ประดู กระพี้ (Dalbergia sp.) หญา หางอน (ทงั้ 5) และ หญาหนวดแมว (Orthosiphon
ทกุ ชนิดใชแ กน อยา งละเทาๆ กัน aristatus) (ทง้ั 5) อยางละเทา ๆ กัน
วิธใี ช วิธีใช
ตมนํา้ ด่มื คร้ังละ 1 แกวชา หลังอาหาร 3 เวลา ตม นาํ้ ดื่ม ครง้ั ละ 1 แกวชา หลังอาหาร 3 เวลา
93
ข้ีแรด กา งปลาขาว
ËͺË×´/¹Òéí ¡´Ñ à·ÒŒ Ë´Ñ /ÍÊÕ Ø¡ÍäÕ Ê
(N1-226) (N1-239)
-------------------- --------------------
รักษาหอบหดื นํา้ กดั เทา แกไขออกหัด อีสกุ อีไส
สว นประกอบ สวนประกอบ
ขี้แรดหรอื หนั แดง (เปลอื ก) ประดู (เปลอื ก) ขอย (ใบ และ กางปลาขาว (มีก่ิงสีขาว-เขยี ว) กา งปลาแดง (ชนดิ เดียวกบั กา ง
เปลอื ก ท่ีจะตอ งขดู เอาเฉพาะเปลอื กออ นๆ สีขาวใตเปลอื กชั้น ปลาขาว (Flueggea virosa) แตม กี ่ิงสีแดง) ทัง้ สองอยางใชราก
นอก) อยางละเทาๆ กัน ใชสดหรอื ตากแหง เปลือกประดูแ ละ
และ เลบ็ เหยีย่ ว (เถา) อยา งละเทาๆ กัน
ขีแ้ รดกอ นใชใ หทบุ เปลอื กใหแ ตกแลวยางไฟใหหอมกอน
วิธใี ช
วิธีใช
ตมน้าํ ด่ืม ครัง้ ละ 1 แกว ชา หลังอาหาร 3 เวลา และกอ นนอน
แกโรคหอบหืด ตมใหเ ดือดประมาณ 10-15 นาที หรอื แชก ับน้ํา
สะอาดประมาณ 30-50 นาที ดม่ื ครง้ั ละ 1 แกว ชา หลังอาหาร
3 เวลา และกอ นนอน, แกน้าํ กดั เทา ใชนา้ํ ยาจากการแช นาํ มา
แชเทาวนั ละ 2-3 ครั้ง ครง้ั ละ 20-30 นาที
94
ตานเสีย้ น มะกอกเกลอ้ื น
ºíÒÃ§Ø ¹éÒí ¹Á »Ç´àʹŒ àÍç¹/ºÒí Ã§Ø àʹŒ àÍç¹
(N1-255) (N1-256)
-------------------- --------------------
บํารุงนํา้ นม ขับน้ํานม แกป วดเสน เอ็น บาํ รงุ เสน เอ็น
สว นประกอบ สว นประกอบ
ชอ งแมว (เถา) นมงวั (เถา) ยานนมควาย หรือใชน มแมวกไ็ ด มะกอกเกล้อื น (เนอื้ ไม) เถาเอ็นออ น (เถา) เถาวัลยเปรียง (เถา)
(เถา) ตานเสี้ยนหรอื นมสาว (เปลือก) ชิงช่หี รอื ใชนํา้ นองกไ็ ด อยางละเทาๆ กนั
(เนือ้ ไม) กลงึ กลอ ม (เนอื้ ไม) นํา้ นมราชสหี (ท้ังตน ) อยางละ
วธิ ีใช
เทาๆ กัน
ตมน้าํ ด่ืม ครง้ั ละ 1 แกว ชา หลงั อาหาร 3 เวลา
วธิ ีใช
ตม น้าํ ดื่ม ครง้ั ละ 1 แกว ชา หลงั อาหาร 3 เวลา
สะคาน 95
เตา ราง ÂÒàºÞ¨¡ÅÙ
μѺᢧç /μºÑ ·Ã´Ø (N1-268)
(N1-258) --------------------
-------------------- บํารงุ ธาตุ ปรบั สมดุลธาตุ (ดนิ นํ้า ลม ไฟ) ชวยให
เลอื ดไหลเวียนดี แกท องอดื ชวยขับลม
แกต ับแข็ง ตับทรดุ
สว นประกอบ
สวนประกอบ
ดีปลี (ธาตดุ ิน) (ดอก) 20 สว น ชาพลู (ธาตนุ าํ้ ) (ราก) 12 สวน
มะคาแต (เน้ือไม) มะคา โมง (เนอื้ ไม) สกั (แกน) เตา รา งหรอื สะคา นหรือตะคานเลก็ (ธาตุลม) (เถา) 6 สว น เจตมลู เพลิงแดง
เตารางแดง (ราก) อยา งละเทา ๆ กัน (ธาตุไฟ) (ราก) 4 สวน ขงิ แหง (Zingiber ligulatum) หรือใช
ขงิ (Zingiber officinale) แทนกไ็ ด (อากาศธาตุ) (หัว) 10 สว น
วิธใี ช
วธิ ใี ช
ตม น้ําด่มื ครงั้ ละ 1 แกว ชา หลังอาหาร 3 เวลา
ตม นํา้ ดมื่ ครงั้ ละ 1 แกว ชา หลังอาหาร 3 เวลา หรือบดเปน ผง
ใสแ คปซลู ขนาด 400 mg.) ทานคร้ังละ 2-4 เมด็ กอน/หลงั
อาหาร 3 เวลา
คาํ เตือน
ไมควรใชก บั สตรีมคี รรภ คนมีไข หรือเด็กเลก็ และไมควรใชย า
ตดิ ตอ กนั นานเกิน 10 วัน
96
เถายานาง โลด
¤ÇÒÁ´¹Ñ /àºÒËÇÒ¹ âääμ
(N1-284) (N1-287)
-------------------- --------------------
แกโ รคความดัน เบาหวาน ลดไขมัน แกโ รคไต
สวนประกอบ สวนประกอบ
บวั บก (ทัง้ ตน) 15 ใบ เถายานาง (ใบ) 10 ใบ เตยหอม (ใบ) 1 ไทรยอย (รากยอ ย) โลด (เนื้อไม) ขา วเยน็ เหนือ (Smilax
ใบ ผักคาวตอง (Houttuynia cordata) (ใบ) 5 ใบ corbularia) (หัว) ขาเปย นุม (หวั ) แตล ะอยา งเทาๆ กัน
กุยชาย (ทัง้ 5) 3 ตน ทุกอยา งใชสด
วิธใี ช
วธิ ใี ช
ตมนํา้ ดืม่ คร้ังละ 1 แกวชา หลงั อาหารเชา และเย็น
โขลกหรอื ปนผสมกัน ผสมนํา้ สกุ 1 แกว คนั้ เอาแตนา้ํ
ดมื่ วนั ละ 1 แกว ชา
97
ขอ ย
โคกกระออม ÊÅÒ¹èÇÔ
âääμ (NE1-007)
(N1-294) --------------------
-------------------- แกน ว่ิ สลาย-ขบั น่วิ ขบั ปส สาวะ
แกโรคไต สว นประกอบ
สวนประกอบ ขอย (รากหรือเปลอื กลําตน ) ผักขมหนาม (ราก) หญา แหวหมู
(หวั ) แตละอยางเทาๆ กัน และ เตยหนามหรอื การะเกด
ขเ้ี หล็ก (ใบ) โคกกระออม (ทัง้ ตน ) ฟา ทะลายโจร (ทั้งตน ) บวั บก (Pandanus tectorius) (รากหรือลาํ ตน ) เทา กบั ตวั ยาอืน่ ๆ
(ใบ) ผกั เชยี งดา (Gymnema inodorum) (ใบ) มะไระข้นี ก (ทง้ั รวมกนั
ตน ) โกฐจุฬาลมั พา (ท้งั ตน ) รงั ตอราง แตละอยา งเทา ๆ กนั วิธใี ช
วธิ ใี ช ตมน้ําดม่ื แทนน้ํา จนหาย
ตมนํา้ ด่มื ครงั้ ละ 1 แกวชา หลงั อาหารเชา และเย็น
98 องั กาบหนู
ผลเตยสานเสื่อ ÁÐàÃç§
á¼ÅàºÒËÇÒ¹/á¼ÅÍ¡Ñ àʺàÃÍé× Ã§Ñ (NE2-016)
(NE2-015) --------------------
-------------------- รักษาโรคมะเรง็
รักษาแผลเบาหวาน หรือแผลอกั เสบเร้อื รัง สว นประกอบ
สวนประกอบ อังกาบหนู (ทั้งตน) ขา วเยน็ เหนือ (Smilax sp.) (หวั ) ขาวเยน็
ใต (Smilax sp.) (หัว) พุทธรกั ษา (ดอกสีชมพเู ขมอมมว ง) (หวั )
เตยสานเสื่อ (ผล) มะเคด็ (ราก) กระมอบ (ราก) เง่ียงดกุ (ราก)
เครอื ไซสง (Streptocaulon sp.) (ราก) อยางละเทาๆ กนั พทุ ธรักษา (ดอกสขี าว) (หัว) เห็ดหลนิ จอื (ท่ีขนึ้ กับ
ตน กระถนิ พิมาน) อยางละ
ใชสดหรอื ตากแหง เทาๆ กัน ใชสดหรือตากแหง
วิธีใช วิธีใช
ตม กบั นาํ้ เดอื ดประมาณ 15 นาที ด่มื ครง้ั ละ 1 แกว ชา ตมนํา้ ด่มื ครง้ั ละ 1 แกวชา กอ นอาหาร 3 เวลา หรอื บดเปน ผง
กอนอาหาร 3 เวลา และแบงนํ้าอีกสว นไว ใสแ คปซูล 400 mg. ทานครั้งละ 3-4 เมด็
สาํ หรับแชแผล
น้ํานมราชสีห 99
ล่ันทม âä»Ãд§
âä¡ÃÐà¾ÒÐ (NE2-018)
(NE2-017) --------------------
-------------------- รักษาโรคประดง
รักษาโรคกระเพาะ สว นประกอบ
สวนประกอบ คนทา (ลําตน ) ปบ (เนอ้ื ไม) มะหวด (ราก) นา้ํ นมราชสีห (ราก)
ขม้ินชนั (หัว) ปลาไหลเผือก (ราก) สาบเสือหรือเสือหมอบ
ล่นั ทม (Plumeria rubra) (ดอกสีเหลือง) (เนือ้ ไม) มะกาเครือ (ราก) อยา งละเทา ๆ กัน ใชสดหรือตากแหง
(เน้อื ไม) สัตบรรณ (เน้อื ไม) เหมือดจ้ีหรือเหมือดแอ (เน้อื ไมห รอื
วิธีใช
ราก) อยางละ 1 สว น และ ลาย (เน้ือไม) ครึ่งสวน
ใชสดหรอื ตากแหง ตมนํ้าดมื่ ครัง้ ละ 1 แกว ชา กอนอาหาร 3 เวลา, หรือดองกับ
เหลา ใสพ อทว มตวั ยา ดองไว 7 วัน ด่ืมครง้ั ละ 1 จอก
วธิ ีใช หลังอาหาร เชาและเย็น
ตมน้าํ ดืม่ คร้ังละ 1 แกว ชา กอนอาหาร 3 เวลา