The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by schtgr1125, 2021-05-21 23:27:58

พืชป่าสมุนไพร

พืชป่าสมุนไพร

200
ก่มุ บก
ชื่อทอ งถิ่น : กาม ผกั กา ม (อุดรธานี), กุมบก
(พษิ ณโุ ลก)
ชือ่ วิทยาศาสตร : Crateva adansonii DC. subsp. trifoliata
(Roxb.) Jacobs
ชอ่ื วงศ : CAPPARACEAE
ลักษณะเดน : ไมตน สูง 7–20 ม. เปลอื กเรียบ ใบเรียงเวียน ใบ
ประกอบมี 3 ใบยอ ย รปู ไขกลบั ปลายใบมน-แหลม แผน ใบดา น
ลางเกล้ียง ไมเปน สีเขียวนวล ดอกสีขาว-เหลอื งครมี ผลรปู ไข-รี
กวา ง ผิวเรียบไมมีสะเกด็ ขาว เม่ือสุกสีสม-แดง

สรรพคุณ สรรพคณุ
• ใบ : ชวยขบั ลม ทารักษากลากเกลื้อน; เปลือก : มีรสรอ น ชว ย • ตาํ รบั ยาเขยี วหอม : แกไ ข ตัวรอน รอนในกระหายนํา้ แกพษิ
ขบั ลม แกปวดทอง ชวยคมุ ธาตุ รกั ษาโรคผิวหนงั ; แกน : แก ไขหัด ไขเ หือด (หัดเยอรมนั ) ไขอ สี กุ อใี ส (S3-02)
ริดสีดวง แกผ อมเหลือง (R30) เกลด็ ปลา
• ตํารบั ยาบํารุงนาํ้ นม : บาํ รงุ นา้ํ นม (NE4-025) ช่ือทองถ่นิ : เกล็ดลิน้ ใหญ (อดุ รธานี)
• ตํารบั ยาแกลมกองหยาบ/วงิ เวยี น-ใจสนั่ : แกวิงเวยี นศรี ษะ ช่อื วิทยาศาสตร : Phyllodium longipes (Craib) Schindl.
ใจสน่ั อาการบา นหมุน หนา มืดตาลาย ลมขน้ึ แนน หนาอก ชือ่ วงศ : FABACEAE
(ประเภทลมกองหยาบ) (S1-38) ลักษณะเดน : ไมพุม สงู 0.5–1.5 ม. กิง่ และแผนใบดา นลางมีขน
• ตํารบั ยาแกปวดเม่อื ยกลา มเนอ้ื -เสน เอน็ /บาํ รงุ กาํ ลัง : แกปวด สน้ั ใบประกอบมี 3 ใบยอ ย ใบยอ ยท่ปี ลายรปู หอกหรอื ขอบ
เม่ือยกลามเนื้อ-เสน เอน็ บํารงุ กาํ ลัง (S2-61) ขนาน ยาว 4–5 เทา ของใบดา นขา ง ชอดอกยาว 30–50 ซม. มี
กดู พร้าว ใบประดบั สีเขยี วรูปกลมเรยี งซอ นคลายเกล็ดปลา ฝก แบนมรี อย
ชอ่ื ทอ งถ่นิ : หสั ดํา (พัทลุง) คอดตามเมลด็
ช่ือวิทยาศาสตร : Cyathea latebrosa (Wall.
ex Hook.) Copel.
ช่อื วงศ : CYATHEACEAE
ลักษณะเดน : ไมตน กลุมเฟน ลาํ ตน สงู ถงึ 4 ม. กวา ง 10–20
ซม. เปน ลาํ เดี่ยวไมแ ตกกอ ใบเรยี งเวยี นเปนกระจกุ ท่ปี ลายลําตน
ใบประกอบแบบขนนก 2 ชน้ั ยาว 1.5–2 ม. มีชอใบยอยขา งละ
10–17 ชอ สรางสปอรสนี ํ้าตาลแดงท่แี ผนใบดา นลาง กานใบมี
หนามสนั้ และขนสนี ้าํ ตาล

201

สรรพคุณ แกแล
• ราก : แกตบั พิการ แกปวด แกไข แกไขจบั สน่ั หรือไขม าลาเรีย ชอ่ื ทองถน่ิ : ตะแกแล แกแล (ตรงั )
(NE3) ชือ่ วิทยาศาสตร : Maclura cochinchinensis (Lour.) Corner
• ตาํ รับยารกั ษาโรคตบั โต/โรคตบั อักเสบ : รกั ษาตบั โต/ตับ ชื่อวงศ : MORACEAE
อกั เสบ (NE2-020) ลกั ษณะเดน : ไมเ ถาเนือ้ แข็ง ยาวถงึ 10 ม. สว นตา ง ๆ มีนํ้ายาง
เกล็ดปลาช่อน สีขาวขนุ กง่ิ ออนมีขน เถามีหนามแหลมคม ยาว 2–4 ซม. ใบรูปรี
ช่อื ทอ งถนิ่ : เกล็ดนิ่ม เกล็ดลิ่น (พษิ ณุโลก), เกลด็ ยาว 4–9 ซม. ผวิ เกลย้ี ง ปลายเสนแขนงใบโคง จรดกนั ชอดอก
ล่ินนอ ย (อุดรธาน)ี และชอ ผลทรงกลม กวา ง 2–3 ซม. สกุ สีเหลอื ง
ช่อื วทิ ยาศาสตร : Phyllodium pulchellum (L.) Desv.
ช่ือวงศ : FABACEAE
ลักษณะเดน : ไมพมุ สงู 0.5–1.5 ม. กิ่งและแผนใบดา นลางมีขน
ส้นั ใบประกอบมี 3 ใบยอ ย ใบยอยทปี่ ลายรูปรี-ใบหอก ยาว 2–3
เทา ของใบดา นขา ง ชอ ดอกยาว 10–20 ซม. (จดุ ตา งจากเกลด็ ปลา
Phy_lon) มใี บประดับสเี ขียวรูปกลมเรียงซอ นคลา ยเกลด็ ปลาฝก
แบนมรี อยคอดตามเมล็ด

สรรพคณุ
• ตํารบั ยากําลงั ฮอสะพายควาย : บาํ รงุ กาํ ลงั แกปวดเมือ่ ยตาม
รางกาย (S1-43)
• ตาํ รับยาบาํ รุงโลหิตระดู : บํารุงโลหติ ระดู (S2-56)

สรรพคุณ แกว้
• ราก : แกโรคเหน็บชา (N1) ชอื่ ทองถิน่ : แกว (สระแกว )
• ราก : แกตบั พิการ (ตบั ทาํ งานไมปกต)ิ แกปวดเมอื่ ย แกป วด ชื่อวิทยาศาสตร : Murraya paniculata (L.)
ฟน (NE3) Jack
• ตํารับยารกั ษาโรคตบั โต/โรคตบั อักเสบ : รกั ษาตับโต/ตบั ชอ่ื วงศ : RUTACEAE
อักเสบ (NE2-020) ลกั ษณะเดน : ไมพมุ สงู 2–6 ม. กิ่งออ นและใบเกล้ยี ง ใบเรยี ง
เวยี น ใบประกอบแบบขนนก มีใบยอ ย 3–7 ใบ เรียงสลบั รปู
ไข-ใบหอก โคนใบเบี้ยวเลก็ นอ ย ขย้ใี บมีกลิน่ ฉนุ คลายสม ดอกสี
ขาวคลา ยดอกสม มกี ลิ่นหอมแรง ผลรูปไข ยาว 1–2 ซม. สกุ สี
สม -แดง

202

สรรพคณุ
• ผลแก : แกทองอืดทอ งเฟอ รักษาแผลพพุ อง รักษาแผลนํา้ กัด
เทา (E2)
• เนือ้ ไม : แกป ระดงเลอื ด (N1)
• ดอกสด : แกปวดฟน เหงือกบวม แกร าํ มะนาด โรคเหงอื กและ
ฟน (S1)
• ใบสด : แกโรคเหงอื กและฟน แกร าํ มะนาด แกปวดฟน (S2)
• ตํารับยารักษามดลูกพิการ-อักเสบ/ขบั นา้ํ คาวปลา : แกมดลูก
พิการ มดลกู อกั เสบ ชว ยบาํ รงุ รกั ษามดลูก บํารงุ สตรหี ลังคลอด
ชว ยขับน้ําคาวปลา ขับเลอื ดเสีย (S3-51)

สรรพคุณ กําจาย
• เกสรและดอก : เขา ยาบํารงุ หวั ใจ; แกน หรือราก : เขา ยา รกั ษา ช่ือทองถ่นิ : กําจาย (พัทลุง, ตรงั ), หนามจาย
ไขปา หรอื ไขม าลาเรีย; ใบสด : หากกินใบสดจาํ นวนมากแลวจะ (พษิ ณโุ ลก)
ทําใหต วั รอ น (E2) ชือ่ วิทยาศาสตร : Caesalpinia digyna Rottler
กาํ จดั ตน้ ชอ่ื วงศ : FABACEAE
ชื่อทองถิ่น : กาํ จดั (พัทลงุ ), กาํ จดั พริกหอม ลักษณะเดน : ไมเ ถาเน้ือแข็ง ยาวถึง 10 ม. เปลอื กแตกเปนรอ ง
(พษิ ณุโลก), กําจัดตน (ตรงั , สระแกว ) ลกึ ตามยาวและมหี นามแหลมคมโคงคลายเล็บของเหย่ยี ว ตามกิ่ง
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Zanthoxylum rhetsa (Roxb.) DC. และแกนใบมีหนามและขนสั้น ใบประกอบแบบขนนก 2 ชน้ั มีชอ
ช่ือวงศ : RUTACEAE ใบขา งละ 7–10 ชอ ขย้ีใบจะมกี ลิน่ หอม ชอดอกสีเหลอื งหอยลง
ลักษณะเดน : ไมต น สูงถงึ 20 ม. เปลือกและกิง่ มีหนามแหลมคม ผลเปน ฝกแบนรปู ขอบขนาน นูนตามตาํ แหนงเมล็ด ไมมีหนาม
ยาวถึง 3 ซม. ใบประกอบแบบขนนก มใี บยอยรปู ไข- รี 11–21
ใบ ใบยอ ยเรยี งตรงขา ม-เกอื บตรงขา ม โคนใบเบ้ียว ขอบใบมัก
หยักเล็กนอย ขย้ีใบอาจจะมหี รือไมมีกลน่ิ ฉุนก็ได ผลทรงกลม
กวาง 5–8 มม. เม่ือแกแ หง แตก 3 ซกี เมล็ดสดี าํ มนั เงา เปลือกผล
มีกล่ินฉนุ ใชปรุงอาหาร

สรรพคุณ
• เถา : ชวยฟอกเลอื ด (N1)
• ราก : ขับระดูสตรี (S2)
• ตํารับยารักษามดลกู พกิ าร-อักเสบ/ขับนา้ํ คาวปลา : แกม ดลูก
พกิ าร มดลูกอักเสบ ชวยบํารุงรกั ษามดลูก บาํ รุงสตรหี ลังคลอด
ชวยขับนาํ้ คาวปลา ขบั เลอื ดเสีย (S3-51)

203

กาํ แพงเจ็ดชนั้ อักเสบ (NE2-020)
ชือ่ ทอ งถนิ่ : กําแพงเจ็ดชน้ั (พษิ ณโุ ลก), ตาไก • ตํารับยารักษากลาก/เกลื้อน/สงั คงั /ตกขาว : รักษาโรคผิวหนงั
(อดุ รธานี), ตาไก กําแพงเจด็ ชนั้ (สระแกว ), จากเช้อื รา เชน กลาก เกลอ้ื น สงั คัง ตกขาว แกอาการคันที่
หลมุ นก กาํ แพงเจ็ดชนั้ (ตรัง) ผิวหนังเร้ือรงั ผดผน่ื คัน (S1-17)
ชือ่ วิทยาศาสตร : Salacia chinensis L. • ตาํ รบั ยากําลงั ฮอ สะพายควาย : บํารงุ กําลงั แกปวดเมอ่ื ยตาม
ชอ่ื วงศ : CELASTRACEAE รา งกาย (S1-43)
ลักษณะเดน : ไมเถาเนือ้ แขง็ ยาวถึง 10 ม. เปลือกเรยี บ เน้ือไม • ตาํ รับยาโรคเกาท : รกั ษาโรคเกา ท แกปวดขอ ปวดเขา แกพษิ
เปนลายวงแหวน ไมมีน้ํายาง ตามกงิ่ และใบเกลย้ี ง ใบเด่ียวเรียง ในกระดกู บาํ รุงกระดกู (S2-03)
ตรงขาม รูปรี ยาว 4–10 ซม. ขอบใบหยักเล็กนอ ย ดอกสเี ขยี ว • ตาํ รบั ยาโรคเบาหวาน : แกโรคเบาหวาน (S2-22)
อมเหลือง ผลทรงกลม กวาง 1.5–2 ซม. สุกสแี ดง • ตํารับยาโรคประดงเลอื ด : แกประดงเลือด เลือดข้นึ มอี าการ
คนั ตามผิวหนงั (S2-27)
• ตาํ รับยาแกป วดเม่อื ยเสน เอ็น : แกป วดเม่ือยตามเสนเอน็ เสน
เอ็นอกั เสบ บรรเทาอาการอมั พฤกษ- อมั พาต (S2-31)
• ตํารบั ยาโรครดิ สดี วงทวาร : รกั ษาโรครดิ สีดวงทวาร (S2-42)
• ตาํ รบั ยาบํารุงโลหิตสตรีโดยตรง/ประจําเดือนเปนปกติ :
บาํ รงุ โลหิตของสตรโี ดยตรง รกั ษาอาการประจาํ เดอื นใหเ ปน
ปกติ แกโ ลหติ ระดเู สีย บํารุงธาตุ (S2-50)
• ตํารบั ยาแกป วดเมือ่ ยกลามเนื้อ-เสน เอ็น/บํารุงกําลงั : แกป วด
เมอื่ ยกลามเนอื้ -เสน เอน็ บํารุงกาํ ลัง (S2-61)

สรรพคณุ กําลังววั เถลิง
• ลําตน : ตมนํา้ ด่ืม แกปวดเม่ือย; ราก : ขับพยาธิ แกโรคนา้ํ ช่อื ทอ งถ่ิน : กาํ ลงั ววั เถลิง (สระแกว ), กาํ ลงั ววั เถลงิ
เหลืองเสยี (R16) สรุ ามะริด (ตรัง)
• เถา แกน หรอื ราก : บํารงุ กาํ ลงั ยาอายวุ ฒั นะ (E2) ช่ือวทิ ยาศาสตร : Anaxagorea luzonensis A. Gray
• เถาหรอื ผล : บาํ รงุ เลอื ด ยาระบาย (NE3) ชอ่ื วงศ : ANNONACEAE
• เถา : รักษาเสนเอน็ แกเสนพลิก, ยาระบาย ชวยขับลม (N1) ลักษณะเดน : ไมพุม สูง 0.5–1.5 ม. ก่ิงและใบเกลี้ยง กลบี ดอกสี
• เถา : บํารุงโลหิต ฟอกโลหติ แกโ ลหติ เปน พิษ (S1) ขาวมี 6 กลีบ ยาว 1–1.5 ซม. เสนแขนงใบดานบนแผน ใบกดเปน
• ตํารบั ยาโรคเกา ท/ สะเก็ดเงิน/กามโรค : โรคเกาท รูมาตอยด รอง ปลายเสน โคงจรดกันกับเสนถัดไปใกลขอบใบ ผลรปู ลกู ตุม
สะเกด็ เงนิ ผิวหนังพุพอง กามโรค หนองในเทียม (E2-221) ปลายมตี ่งิ แหลม
• ตาํ รบั ยาอยไู ฟ/มดลกู เขา อู/ไสเ ล่อื น : ใชแ ทนการอยูไ ฟ มดลูก สรรพคณุ
เขาอูไ ว แกไ สเ ลอื่ นทั้งชายและหญงิ (E3-01) • ท้งั 5 : บาํ รุงกําลงั (E2)
• ตํารบั ยาแกป วดเม่ือย/บํารุงรา งกาย/อัมพาต : แกป วดเม่อื ย • ตาํ รบั ยากําลงั ฮอ สะพายควาย : บํารงุ กําลัง แกปวดเมอ่ื ยตาม
ตามเสน -ขอ -หลัง-เอว อัมพาต บาํ รุงรา งกาย ชว ยใหเจริญ รา งกาย (S1-43)
อาหาร (E3-02)
• ตํารบั ยารักษาโรคตับโต/โรคตบั อกั เสบ : รกั ษาตบั โต/ตบั

204

กาํ ลังเสือโคร่ง สรรพคณุ
ช่ือทอ งถ่นิ : กําลังเสือโครง (สระแกว ) • ทง้ั 5 : บํารุงกําลัง รกั ษาโรคไต ถุงน้ําดี ขบั นิว่ (E2)
ชอื่ วทิ ยาศาสตร : Ziziphus attopoensis Pierre • ท้งั ตน : แกโรคเบาหวาน (N1)
ชือ่ วงศ : RHAMNACEAE • ใบ : รกั ษาแผลไฟไหม แผลนํา้ รอนลวก (NE3)
ลกั ษณะเดน : ไมเ ถาเนือ้ แขง็ เถาและก่ิงมีหนามแหลมคม ยาวถงึ • ตาํ รบั ยาแกป วดเมื่อย : แกปวดเม่อื ย (N1-57)
5 มม. กง่ิ และใบเกล้ยี งเปน มนั เงา ใบเดย่ี ว เรียงสลับ ใบรูปไข- รูป • ตํารบั ยาขับน่ิว-โรคไต-ตับ : ขบั นวิ่ ในถุงนํ้าดี นวิ่ ในระบบทาง
รี ยาว 4–8 ซม. ขอบใบจกั ฟน เล่อื ยถ่ี มเี สน แขนงใบออกจากโคน เดนิ ปส สาวะ แกปส สาวะขน แกโรคไต แกโ รคตบั (E2-217)
ใบ 1 คู เสนใบยอ ยเรยี งถต่ี ามแนวขวางชดั เจน ไกรทอง
ชอื่ ทอ งถ่นิ : ไกรทอง (ตรัง), ฮนุ ไฮ (อุดรธาน)ี
ชอื่ วิทยาศาสตร : Erythroxylum cuneatum
(Miq.) Kurz
ชื่อวงศ : ERYTHROXYLACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมต น สูง 5–20 ซม. เปลือกเรยี บ ก่งิ ออนแบน
และมีรอยแผลหูใบ กิง่ และใบเกลี้ยง ใบเดย่ี ว เรียงสลบั ใบรูปไข
กลบั ยาว 4–9 ซม. กา นใบยาว 3–6 มม. ผลรปู รี ยาว 1 ซม. สกุ สแี ดง

สรรพคุณ
• เปลอื ก : บาํ รงุ กําลงั แกปวดเมอ่ื ย (E2)
• ตาํ รบั ยาแกป วดเม่อื ย/บาํ รงุ รา งกาย/อัมพาต : แกป วดเม่อื ย
ตามเสน-ขอ-หลัง-เอว อมั พาต บาํ รงุ รางกาย ชว ยใหเ จริญ
อาหาร (E3-02)

กําลงั หนมุ าน สรรพคณุ
ชื่อทองถิ่น : คอนแคน (อุดรธานี), คอ นหมาขาว • ทัง้ ตน : แกโรคซาง (NE3)
(พิษณุโลก), คอ นหมาขาว เจดียเจ็ดชนั้ (สระแกว ) • ใบ : ชาวกะเหรี่ยงเคีย้ วกินแกทองเสีย; ผล เปลอื ก และใบ :
ช่อื วทิ ยาศาสตร : Dracaena conferta Ridl. ตาํ รายาไทยกินเปนยาธาตุ ชว ยใหชุม คอ แกก ระหายนํ้า แก
ชือ่ วงศ : ASPARAGACEAE เลอื ดออกตามไรฟน ; เปลอื ก : ดับพษิ กาฬ แกร อ นใน แกสะอึก;
ลกั ษณะเดน : ไมพ ุม สงู ถึง 3 ม. ลําตน กลม กวาง 2 ซม. ใบเดย่ี ว เนือ้ ผล : แกธ าตุพกิ ารเพราะนํ้าไมดไี มป กติ (R15)
เรียงเวยี น ไมกระจกุ ทปี่ ลายกิ่ง รปู หอกกลับแกมรปู แถบยาว ยาว • ตํารับยาแกป วดเมือ่ ยเสน เอ็น : แกป วดเมือ่ ยตามเสนเอ็น เสน
30–50 ซม. กวาง 2–3 ซม. ผวิ เกล้ียงมนั เงา ชอ ดอกสีขาว ยาว เอน็ อกั เสบ บรรเทาอาการอัมพฤกษ-อัมพาต (S2-31)
60–80 ซม. แตกแขนง • ตํารับยาซอ มแซม/เสริมสรางเสน เอน็ พิการ : ชว ยซอมแซม
และเสริมสรา งเสนเอ็นท่พี ิการ (S2-53)

205

ขมนิ้ เครือ ขมิน้ ๅษี
ช่ือทอ งถิ่น : ขม้นิ เครอื (พทั ลุง, สระแกว), ขม้นิ ช่อื ทองถนิ่ : แฮม เครือแฮม (ตรัง)
เครอื ผา รา ยหอทอง (ตรงั ) ชื่อวิทยาศาสตร : Tinomiscium petiolare
ชื่อวทิ ยาศาสตร : Arcangelisia flava (L.) Merr. Hook. f. & Thomson
ชื่อวงศ : MENISPERMACEAE ชอ่ื วงศ : MENISPERMACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมเ ถาเนอ้ื แขง็ ยาวถึง 20 ม. เถามลี ายเปน รอ ง ลกั ษณะเดน : ไมเถาเนอื้ แขง็ ยาวถึง 20 ม. เถามลี ายเปน รอ ง
ละเอียดตามแนวยาว ตามสว นตางๆ เกล้ยี ง ใบรปู ไข- ไขกวา ง ตามแนวยาว เมือ่ ตดั จะพบน้าํ ยางสขี าวขุน (จุดตางจากโคคลาน
ยาว 12–25 ซม. มีเสนใบ 3–5 เสน ออกจากโคนใบ โคนใบเวา Ana_coc และ ขมน้ิ เครือ Arc_fla), ใบรูปไขห รอื รูปหัวใจ ยาว
ลักษณะทั่วไปคลา ยโคคลาน (Ana_coc) แตกตางท่ขี มนิ้ เครอื พบ 11–25. มเี สนใบ 3–5 เสน ออกจากโคนใบ โคนใบเวา แผนใบ
วาเนอื้ ในของรากมีสีเหลอื งขม้ิน และเถาจะมีนํา้ ยางสเี หลอื งใส เกลยี้ ง ผลกลมรี ยาว 3 ซม., พบในปาดงดิบในภาคเหนือและ
ออกมาเมื่อตัดใหมๆ, พบในปาดงดิบในภาตตะวันออกและภาคใต ภาคใต

สรรพคณุ
• ตาํ รบั ยาโรคเบาหวาน : แกโรคเบาหวาน (S2-22)

สรรพคณุ ขวากไก่
• เถา : บาํ รงุ โลหติ แกเ มอื่ ย แกเ คล็ดขดั ยอก (S3) ช่อื ทองถิ่น : กาํ ลังเสอื โครง นอ ย พญามอื เหล็ก
• ตาํ รบั ยาแกป วดเม่อื ย-กระดูกทับเสน : แกปวดหลงั ปวดเอว (สระแกว ), พญาเสอื โครง เบนขอ (ตรงั ),
ปวดไขขอ ปวดกระดกู แกก ระดกู ทบั เสน บาํ รงุ ธาตุ (E2-216) หัวเขาพระฤาษี (พษิ ณโุ ลก)
• ตํารับยาโรคไต : รกั ษาโรคไต (S2-10) ชอ่ื วิทยาศาสตร : Strychnos axillaris Colebr.
• ตาํ รับยาแกไ ขตวั รอ น : แกไข ตัวรอ น ไขเปลยี่ นฤดู (S2-17) ชื่อวงศ : LOGANIACEAE
• ตํารับยาโรคประดงเลือด : แกป ระดงเลือด เลือดขึ้น มอี าการ ลกั ษณะเดน : ไมเถาเนอื้ แขง็ ยาวถึง 15 ม. เถามีขอ-ปลอ ง
คันตามผิวหนงั (S2-27) เปลือกเรียบ ใบเดยี่ ว เรียงตรงขา ม ปลายกง่ิ มขี นสน้ั และมมี อื พัน
• ตาํ รบั ยาบํารุงเลอื ด/หัวใจ/รา งกาย : บํารุงเลือด ดมู เี ลือดฝาด ตน ออนก่ิงมหี นาม ใบรูปไข- รี ยาว 3–9 ซม. เสน ใบออกจากโคน
บาํ รุงหวั ใจ บาํ รงุ รางกายทง้ั ชาย-หญิง แกอ าการซูบผอม ใบ 3–5 เสน ผวิ ใบเกลีย้ ง กา นใบยาว 2–5 มม. ชอดอกสีเขียว
(S2-51) ออน ออกเปน กระจกุ ส้นั ตามซอกใบ ผลทรงกลม กวาง 0.5–1
ซม.

206

สรรพคณุ
• ราก : แกโรคเกา ท (N1)
• ใบและเปลือก : แกไ ขต ัวรอ น แกไขหวดั แกปวดศรีษะ รักษา
แผลอักเสบ ทํานํา้ ลางแผลฆา เช้อื (NE3)

สรรพคณุ ข่อย
• แกน หรอื เนอ้ื ไม : บํารงุ กําลัง แกตอ มทอนซิลอักเสบ (E2) ชอ่ื ทอ งถ่นิ : ขอย (พัทลงุ , ตรงั , พิษณโุ ลก), สมพอ
• เถาหรอื เนอ้ื ไม : รกั ษาโรคเกา ท (N1) ขอ ย (อุดรธาน)ี
• ตํารบั ยากาํ ลงั ฮอสะพายควาย : บาํ รงุ กําลงั แกป วดเม่อื ยตาม ชอ่ื วิทยาศาสตร : Streblus asper Lour.
รางกาย (S1-43) ชื่อวงศ : MORACEAE
• ตํารับยาซอ มแซม/เสรมิ สรา งเสนเอน็ พกิ าร : ชวยซอมแซม ลกั ษณะเดน : ไมพมุ -ไมตน สูงถงึ 15 ม. เปลอื กเรยี บ-รอ นเปน
และเสรมิ สรางเสน เอน็ ทีพ่ ิการ (S2-53) แผนบาง ทุกสวนที่มชี วี ิตมนี า้ํ ยางสขี าวขุน ใบเรียงสลบั รูปไข- ไข
ขวา้ ว กลบั ยาว 4–10 ซม. ขอบใบหยักซฟ่ี น แผนใบและกงิ่ ออนมขี น
ช่อื ทอ งถน่ิ : กวา ว (พิษณุโลก), กวาว ขวาว สน้ั สากคาย ผลกลมแบนขนาดเทาเมลด็ ขา วโพด สกุ สเี หลอื ง
(อุดรธาน)ี
ชื่อวทิ ยาศาสตร : Haldina cordifolia (Roxb.) Ridsdale
ช่อื วงศ : RUBIACEAE
ลักษณะเดน : ไมตนผลดั ใบ สงู ถึง 40 ม. เปลอื กเรยี บ-ขรุขระ
ปลายกิง่ มีหูใบหมุ ยอดรูปกลม ใบเดยี่ ว เรยี งตรงขาม รปู
กลม-หัวใจ ยาว 10–16 ซม. มีขนสน้ั หนานุม ทัง้ สองดาน ชอ ดอก
ทรงกลม กวา ง 2 ซม. สเี หลืองออ น

สรรพคณุ
• ราก : ใชเปนยารกั ษาอหวิ าต โรคบิด คออกั เสบ ผสมกบั สองฟา
ดง (Clausena harmandiana) ตมนา้ํ ดื่มแกทองอดื , ผสมกับ
สมนุ ไพรอ่นื อกี 34 ชนิด ตมน้าํ ดืม่ แกไข (R14)
• เมล็ด : ใชเขายาบํารงุ เลือดลม (N1)

207

• ตาํ รับยาโรคหอบหืด : แกโ รคหอบหืด (N1-154) ขอ่ ยหนาม
• ตํารบั ยาโรคหอบหดื /นํา้ กดั เทา : รักษาโรคหอบหดื รกั ษาโรค ชือ่ ทอ งถิ่น : ขอ ยหนาม (ตรัง)
นํ้ากดั เทา (N1-226-1) ชอ่ื วิทยาศาสตร : Streblus ilicifolius (S. Vidal) Corner
• ตํารับยาสลายนว่ิ : แกน ิว่ สลาย-ขบั นวิ่ ขับปส สาวะ ชื่อวงศ : MORACEAE
(NE1-007) ลกั ษณะเดน : ไมพ ุม สูง 2–5 ม. ลาํ ตนและก่งิ มหี นาม ทุกสวนท่ี
• ตํารบั ยาแกฟกช้ํา-เคล็ดขัดยอก : รักษาอาการฟกชํ้า ชํา้ ใน มชี ีวิตมนี าํ้ ยางสขี าวขนุ ใบเดย่ี ว เรยี งสลับ รปู ร-ี ไข- ไขกลับ ยาว
เคลด็ ขดั ยอก ตกจากทสี่ ูง รถชน (NE3-013) 3–9 ซม. ขอบใบหยกั เปน หนามแหลมหา งๆ ผิวใบเกลย้ี ง เนอื้ ใบ
• ตาํ รับยารักษาฟนและเหงือก : รักษาฟน รากฟน และเหงือก หนา ผลกลม กวาง 1 ซม. สกุ สเี หลอื ง
ใหแ ข็งแรง (S1-09)
• ตาํ รบั ยาแกคนั : แกอาการคนั ตามผวิ หนัง (S2-28)

ข่อยน้าํ
ชื่อทองถิ่น : ขอยหนาม (พิษณโุ ลก)
ช่อื วทิ ยาศาสตร : Streblus taxoides (B. Heyne ex Roth)
Kurz
ชอ่ื วงศ : MORACEAE
ลักษณะเดน : ไมพ มุ สงู 2–5 ม. ลาํ ตนและกงิ่ มหี นาม ทุกสว นท่ี
มชี วี ิตมีนาํ้ ยางสีขาวขนุ ใบเด่ียว เรยี งสลับ รปู ไข-หอกกลับ ยาว
2–7 ซม. ขอบใบหยกั เลก็ นอยชวงใกลป ลายใบ ผิวใบเกลี้ยง เน้ือ
ใบบาง ผลมีปก หุม รปู ไข-ใบหอก ปก ยาว 1–4 ซม.

สรรพคณุ สรรพคณุ
• ราก : ใชเขา ยารักษาโรคมะเรง็ (N1) • ตํารับยาแกกษัยไตพกิ าร : แกกระษัย ไตพิการ บาํ รงุ ไต ชว ย
ขบั ปส สาวะ (S2-09)

208

ขะยอ่ มหลวง
ช่อื ทองถ่นิ : ตนี เปด ดง (พิษณุโลก)
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Rauvolfia cambodiana Pierre ex Pit.
ชือ่ วงศ : APOCYNACEAE
ลักษณะเดน : ไมพมุ สงู 1–2 ม. ทกุ สวนที่มีชวี ิตมนี า้ํ ยางสขี าว
ขนุ กงิ่ และใบเกลย้ี ง กงิ่ ออ นมชี อ งอากาศสีขาวกระจาย ใบเด่ยี ว
เรยี งรอบขอ 2–3 ใบ/ขอ ใบรปู รีแกมขอบขนาน ยาว 15–30 ซม.
ดอกสีขาวโคนอาจจะแตม สีแดง ผลทรงรี ยาว 1 ซม. ตดิ เปนคู
โคนไมเชอื่ มตดิ กัน

รากขนั ทองพยาบาท

สรรพคุณ สรรพคุณ
• ลําตน และราก : ชวยฆา เซื้อมะเร็ง รกั ษาโรคมะเร็ง (N1) • เปลือก : รักษาโรคผิวหนังจากเช้ือรา รกั ษากลากเกลอื้ น; แกน
ขันทองพยาบาท หรือราก : เขา ตาํ รบั ยารกั ษาตอ มนาํ้ เหลอื งเสีย (E2)
ชอ่ื ทอ งถนิ่ : ขนั ทองพยาบาท (ตรัง, พษิ ณโุ ลก), • ก่งิ และใบ : แกร าํ มะนาด เหงือกบวม, เปลือก : แกปวดขอ
ดูกใส (อดุ รธาน)ี เปนยาระบาย (N1)
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Suregada multiflora (A. Juss.) Baill. • ราก : แกล ม แกประดง แกพษิ ในกระดกู (NE3)
ชอ่ื วงศ : EUPHORBIACEAE • ราก : เปนยาขับเสมหะ; เปลือก : ตาํ ผสมนาํ้ สะอาดใชทาและ
ลกั ษณะเดน : ไมพ ุม-ไมตน สงู 3–10 ม. เปลือกเรียบ กิ่งและใบ พอกแผลหา มเลอื ด ตมน้ําชะลา งบาดแผล; แกน : แกโลหิต
เกลีย้ ง กิง่ ออนมรี อยแผลหูใบที่ซอกใบ ใบเด่ียว เรียงสลบั ระนาบ พิการ คออกั เสบ; กระพ้ี : แกไ ขฟกบวม; ผล : แกทองมวนและ
เดียว รูปร-ี ขอบขนาน ยาว 8–16 ซม. ใบกอ นรว งสีสม-แดง ผล แกทอ งบดิ ; ใบ : แชน ้ํากับเปลอื กลําตน ใชอ าบรกั ษาแผลอสี ุก
ทรงกลม กวาง 2.5–4 ซม. สุกสสี ม แตกอา 3–4 ซีก เนือ้ หมุ เมล็ด (R18)
สีขาว • ตาํ รับยารกั ษากลาก/เกล้ือน/สงั คัง/ตกขาว : รักษาโรคผวิ หนัง
จากเชื้อรา เชน กลาก เกลอื้ น สงั คัง ตกขาว แกอาการคันท่ี
ผิวหนงั เร้ือรัง ผดผืน่ คนั (S1-17)
• ตาํ รบั ยาโรคเกา ท : รกั ษาโรคเกา ท แกปวดขอ ปวดเขา แกพษิ
ในกระดูก บํารุงกระดกู (S2-03)
• ตํารับยาโรคประดงเลือด : แกป ระดงเลือด เลือดข้ึน มอี าการ
คนั ตามผิวหนัง (S2-27)
• ตํารบั ยาไขห วัดใหญ : แกไขหวดั ใหญ (S2-57)
• ตาํ รบั ยาโรคผวิ หนังจากเช้ือรา/แกค นั จากการแพ : ยาขีผ้ ึ้ง
หรือยาหมองทารักษาโรคผวิ หนังจากเชอ้ื รา เชน กลาก เกล้ือน
แกอ าการคนั ตามผิวหนังท่วั ไปจากอาการแพ ผ่ืนคนั คันจาก
แมลงสัตวก ดั ตอ ย (S2-64)

209

ขาไก่
ชือ่ ทองถ่ิน : ขาไกแดง (ตรงั )
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Strobilanthes schomburgkii
(Craib) J. R. I. Wood
ชอื่ วงศ : ACANTHACEAE
ลักษณะเดน : ไมพ มุ สงู 1–3 ม. กง่ิ เปนส่ีเหลย่ี ม ใบเรียงตรงขา ม
ใบคูตรงกนั ขา มมีขนาดไมเทากนั ใบรปู ใบหอก ยาว 3–12 ซม.
ผวิ เกลยี้ ง เสน กลางใบดา นบนนนู ชอดอกมใี บประดับเปนกระจกุ
แนน สเี ขยี วออน รูปไข-ใบหอก ยาว 1–2 ซม. มีขนยาวหนาแนน
ดอกเปน หลอดสีขาว ท่ีคอหลอดสีชมพู ยาว 2 ซม.

สรรพคณุ สรรพคุณ
• ตํารบั ยาแกไขตวั รอน : แกไ ข ตัวรอน (S2-113) • เหงา : แกวิงเวยี น บํารงุ หวั ใจ (E2)
• เหงา : แกไ อ แกป วดขอ ประคบหวั ฝ แกฝหนอง (N1)

ข่าปา่ ขาเป๋ ียนุม่
ชื่อทองถิ่น : ขา โคม ขา คม ขาใหญ (พษิ ณโุ ลก), ชอ่ื ทอ งถน่ิ : ขาวเยน็ เหนือ (อดุ รธาน)ี , หวั ยาขา ว
ขา ปา (สระแกว ) เย็นใต (พิษณุโลก)
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Alpinia malaccensis (Burm. f.) Roscoe ช่อื วทิ ยาศาสตร : Premna herbacea Roxb.
var. malaccensis ชือ่ วงศ : LAMIACEAE
ชอื่ วงศ : ZINGIBERACEAE ลกั ษณะเดน : ไมพมุ กึ่งลม ลุก สูง 0.5–1 ม. สวนตาง ๆ มขี นส้ัน
ลกั ษณะเดน : ไมลม ลกุ มเี หงา ใตดนิ ใบประกอบแบบขนนก สงู หนานุม มีเหงาใตดิน ใบเดย่ี ว เรียงตรงขามตง้ั ฉาก รูปรี-ไข
2–3 ม. มีใบยอยขางละ 3–5 ใบ เรียงสลบั รปู ใบหอก ยาว กลับ-หอกกลบั ขอบใบหยักฟนเลอื่ ย ชอดอกสขี าวอมเขียว ออก
30–70 ซม. ตามชอ ดอก กานใบ และแผน ใบดานลา งมขี นสน้ั นุม ทีป่ ลายกิง่ เปน ชอ แนน ดอกยอ ยเล็กมาก ผลทรงกลม กวาง 5
ชอดอกออกท่ปี ลายแกนใบ กลบี เล้ยี งและกลบี ดอกสีขาว ปลาย มม. สุกสีมวง
ดอกตมู สชี มพู กลีบปากดา นในสีเหลือง มีจุด-ลายสแี ดง กานดอก
ยอ ย 3–5 มม. ผลทรงกลมกวา ง 2–3 ซม. มีขนหนาแนน

210
ข่าลิง
ชื่อทอ งถ่ิน : ขาตาแดง (พิษณโุ ลก), ขาลงิ ขา เล็ก
(ตรัง)
ชือ่ วิทยาศาสตร : Alpinia conchigera Griff.
ชือ่ วงศ : ZINGIBERACEAE
ลักษณะเดน : ไมลม ลุก มีเหงา ใตดิน ใบประกอบแบบขนนก สูง
1–1.5 ม. มีใบยอยขางละ 3–4 ใบ เรียงสลบั รูปใบหอก-แถบยาว
ยาว 20–40 ซม. ตามชอดอก กานใบ และแผนใบดานลางมขี น
สั้นเลก็ นอย ชอดอกออกที่ปลายแกนใบ กลีบดอกสขี าวครมี -แดง
เขม กลีบปากมขี ีดสแี ดงแตมดา นขางๆ ละ 3–5 ขดี ผลทรงกลม
กวา ง 1 ซม.

บน : ฟอรม ใบใหญ กานเขยี ว, ลา ง : ฟอรม ใบเล็ก กานมวง, ทงั้ สรรพคณุ
สองฟอรม ถอื วาเปนชนิดเดียวกัน • เหงา : แกลม บาํ รงุ เลือด (N1)
สรรพคุณ • ตาํ รับยารกั ษากลาก/เกลอ้ื น/สังคงั /ตกขาว/สะเก็ดเงิน :
• เหงา : แกนาํ้ เหลอื งเสีย (N1) รกั ษาโรคผิวหนังจากเช้อื รา เชน กลาก เกล้ือน สังคัง ตกขาว
• รากหรือเหงา : แกปวดขอ แกป วดกลา มเน้ือ (NE3) (สาเหตุจากเชอ้ื รา) หรอื จากเชื้อแบคทเี รีย สะเก็ดเงนิ แกค นั
• ราก : แกไข แกดีรั่ว แกก าํ เดา; ตน : ดบั พษิ ไขท กุ ชนดิ บํารงุ ผดผนื่ คนั (S1-16)
โลหติ สตรใี หบรบิ รู ณ แกโ ลหิตจาง แกระดพู ิการ; ใบ : แกหิต • ตํารบั ยาโรคภมู ิแพ : แกโ รคภมู ิแพ (S2-19)
ตาํ พอกแผล ฝ แกแ ผลมะเร็ง (R6) • ตํารับยาโรคอัมพาตระยะแรก : แกอาการก่ึงอมั พาตหรือ
• ตาํ รบั ยาแกไ ขทับระดู : รกั ษาไขท บั ระดู (N1-123) อัมพาตระยะแรก กลามเนอื้ ออนแรง เดินยืนไมปกติ เหนบ็ ชา
• ตาํ รบั ยาแกน้าํ เหลืองเสีย : แกน ้ําเหลอื งเสยี (N1-124) (S2-24)
• ตํารบั ยาโรคตับ : รักษาโรคตบั ตับอกั เสบ ตบั แข็ง (N1-136) • ตํารับยาแกเ หน็บชา : แกเ หนบ็ ชา อาการชาตามปลายมือ
• ตาํ รับยาอายวุ ัฒนะ : อายวุ ัฒนะ (N1-137) ปลายเทา (S2-63)
• ตํารบั ยาแกป วดเสนเอ็น/บาํ รุงเสนเอ็น : แกป วดเสน เอ็น เสน
เอน็ อกั เสบ บํารุงเสน เอน็ (N1-150)
• ตํารับยาโรคไต : รกั ษาโรคไต แกปส สาวะพกิ าร (N1-153)
• ตํารบั ยาบาํ รุงนํ้านม : บํารงุ นํ้านม ขับนํา้ นม (N1-155)
• ตํารบั ยาโรคเอดส : แกโ รคเอดส (N1-192)
• ตาํ รับยาโรคไต : แกโ รคไต (N1-287)

211

ขา้ วสารปา่ ขา้ วสารหลวง

ชอ่ื ทอ งถน่ิ : เขม็ ปา (อุดรธานี) ช่อื ทอ งถน่ิ : ตนดอกคับ (อดุ รธาน)ี
ชื่อวิทยาศาสตร : Pavetta indica L. var. tomentosa ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Maesa ramentacea (Roxb.) A. DC.
(Roxb. ex Sm.) Hook. f. ชื่อวงศ : PRIMULACEAE
ชือ่ วงศ : RUBIACEAE ลกั ษณะเดน : ไมพ ุม สูง 3–6 ม. ใบเดยี่ ว เรยี งสลับ รูปไขแ กมใบ
ลกั ษณะเดน : ไมพ ุม สงู 2–5 ม. ตามก่ิงออนและใบมขี นสน้ั หนา หอก ยาว 8–15 ซม. ปลายใบเรียวแหลม ผวิ ใบเกลีย้ ง เสนใบ
นุม ใบเด่ยี ว เรยี งตรงขา ม รปู รี-ไขกลับ ยาว 10–20 ซม. แผน ใบ ยอ ยเรยี งตัวคอนขา งขนานกบั เสนแขนงใบ ชอ ดอกสขี าว ต้งั ข้ึน
มีตอมนูนเปนจดุ สีเขยี วเขมกระจาย ชอ ดอกออกท่ีปลายกง่ิ คลาย ยาว 3–10 ซม. ดอกยอ ยเล็กมาก
ดอกเขม็ สขี าว กลีบดอกเปน หลอดยาว 2–3 ซม. ปลายกลีบแยก

4 แฉก ผลทรงกลม กวาง 5 มม. สรรพคุณ
สรรพคุณ • ทั้งตน : รักษาแผลและใชล า งแผล รักษาแผลไฟไหม แผลนาํ้
• ใบสดหรอื แหง : แกไขตัวรอน (NE3) รอนลวก; ใบออน : ทานเปน ผกั ได (NE2)

212

ข้าวหลามดง หยักเปน พูเล็กนอย ผวิ ใบดานบนเปนรอยยน ดอกสขี าวมี 5 กลีบ
ชื่อทอ งถ่ิน : ขาวหลามดง (อดุ รธาน)ี ขอบกลบี หยกั เปนร้ิว ผลทรงกลม กวาง 4–7 ซม. ผลออ นสเี ขยี ว
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Goniothalamus laoticus มลี ายเสนตามแนวยาวสขี าวคลา ยผลแตงโม ผลสุกสสี ม -แดง เนอ้ื
(Finet & Gagnep.) Ban รสขม
ชื่อวงศ : ANNONACEAE
ลักษณะเดน : ไมต น สงู 4–15 ม. ตามกิง่ ออ นและใบเกล้ียง มีขน
เฉพาะทยี่ อดออ น ใบเด่ียว เรยี งสลบั ระนาบเดียว รปู ขอบขนาน
ยาว 13–25 ซม. เสนแขนงใบไมชัดเจน ดอกเด่ียวหรือออกเปนก
ระจกุ ตามลําตนหรือกิ่งใหญ สขี าวอมเหลอื งแลว เปลีย่ นเปน
สีชมพูอมสม เมอ่ื ใกลโรย กลบี ดอกหนา รปู ไขปลายแหลม ยาว
3–5 ซม. ผลรปู ทรงกระบอก ยาว 3–5 ซม. ติดเปนกลุม 10–18
ผล/กลุม ผิวเกล้ยี ง

สรรพคุณ
• ตาํ รบั ยาถา ย : ยาถาย ยาระบาย แกทอ ง
ผูก แกจกุ เสยี ดแนนทอง (S1-20)
ขีไ้ กย่ ่าน
ชอ่ื ทอ งถน่ิ : -
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Mikania micrantha Kunth
ช่ือวงศ : ASTERACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมเถาลม ลกุ ยาวถงึ 20 ม. เถาออนและแผน ใบ
ดานลา งมีขนสีขาว ใบเดย่ี ว เรยี งสลับรูปไข-สามเหลยี่ ม ยาว
5–10 ซม. ขอบใบหยกั ซ่ฟี นลกึ โคนใบเวาลกึ มีเสนใบออกจาก
โคนใบ 5 เสน ชอ ดอกสขี าว คลายดอกสาบเสือ เมลด็ มพี ูขนท่ี
ปลายทําใหป ลวิ ตามลมไดไกล, เปน พชื ตางถ่ินรุกรานพบตามที่
รกราง สวนผลไมและชายปาทัว่ ประเทศ ถิ่นกําเนิดมาจากทวีป
อเมรกิ าเขตรอ น

สรรพคุณ
• รากหรือเนื้อไม : บาํ รงุ รางกาย (NE2)
ขีก้ าแดง
ชอื่ ทอ งถน่ิ : ขี้กาขาว (ตรงั )
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Gymnopetalum scabrum
(Lour.) W. J. de Wilde & Duyfjes
ชอ่ื วงศ : CUCURBITACEAE
ลักษณะเดน : ไมเ ถาลม ลุก ยาวถึง 5 ม. ปกคลมุ ตามพ้นื ดนิ หรอื
พุมไม ทกุ สวนมขี นสากคาย ใบเดี่ยว เรียงสลบั รูป 5 เหล่ียมหรอื

213

สรรพคุณ
• เปลอื ก : รกั ษาแผลเปอ ยเร้ือรัง ชวยสมานแผล, หรือเปลือกสด
ทบุ ใชเ บ่ือปลา (NE3)
• ตาํ รับยาแกไ ขท ับระดู : แกไขท บั ระดู (N1-159)
• ตํารับยาโรคหอบหืด/นํ้ากดั เทา : รักษาโรคหอบหืด รกั ษาโรค
นํา้ กดั เทา (N1-226-1)
• ตํารบั ยาแกไขท บั ระดู : แกไขท ับระดู (N1-253)

สรรพคุณ ขเี้ หลก็
• ใบสด : ขย้หี รือบดพอกรักษาแผลอกั เสบบวม (NE2) ชอ่ื ทอ งถิน่ : ขีเ้ หลก็ (สระแกว , พษิ ณโุ ลก)
ขแี้ รด ช่อื วทิ ยาศาสตร : Senna siamea (Lam.) H. S.
ชื่อทอ งถน่ิ : หันแดง หนามหนั (อดุ รธาน)ี Irwin & Barneby
ชื่อวทิ ยาศาสตร : Acacia megaladena Desv. ชอ่ื วงศ : FABACEAE
var. indo-chinensis I. C. Nielsen ลกั ษณะเดน : ไมต น สงู 10–25 ม. เปลือกเรยี บ-แตกรองตื้นตาม
ชอ่ื วงศ : FABACEAE ยาว ใบประกอบแบบขนนกปลายคู มใี บยอย 7–10 คู เรยี งตรง
ลกั ษณะเดน : ไมเถาเนื้อแข็ง ยาวถงึ 20 ม. ตามเถา กิ่ง และกา น ขา ม รปู รี ปลายใบมน (จดุ เดน) แผน ใบดานลางคอ นขา งเกลี้ยง
ใบมหี นามโคงแหลมคม เปลือกเถาชัน้ ในสีแดง ใบประกอบแบบ กา นใบและแกนใบมขี นสีขาว ชอ ดอกออกทป่ี ลายกิ่ง ดอกสี
ขนนกสองช้นั คลา ยใบชะอม แตไมมกี ล่นิ ฉนุ กา นใบและแผน ใบ เหลอื ง ฝก แบนรปู แถบยาว ยาว 15–30 ซม. ฝก ออนสเี ขยี วออน
ดา นลา งมขี นสนั้ ชอ ดอกกระจกุ ทรงกลม สขี าว กลบี เลย้ี งสแี ดงคลาํ้

สรรพคณุ
• แกน : แกโรคเหนบ็ ชา (S1)
• ใบ : ระยะเพสลาด : บาํ รงุ ระบบประสาท ทําใหน อนหลบั (S1)
• ตาํ รบั ยาแกเบาหวาน/ความดนั โลหติ : รกั ษาเบาหวาน ความ
ดนั โลหิต (E2-219)
• ตํารับยาโรคไต : แกโรคไต (N1-294)
• ตํารบั ยาแกก ษยั ไตพิการ : แกก ระษัย ไตพิการ บาํ รุงไต, ชว ย
ขบั ปสสาวะ (S2-09)
• ตํารบั ยาปรบั ธาต/ุ ปวดเม่อื ย/ปวดขอ -เอ็น : ชวยปรับธาตุ แก
ปวดเมอ่ื ย ปวดเขา -ขอ-เอน็ แกเอน็ พกิ าร (S2-26)
• ตาํ รบั ยาแกปวดเม่อื ยเสนเอ็น : แกปวดเมื่อยตามเสนเอ็น เสน
เอน็ อักเสบ บรรเทาอาการอมั พฤกษ- อัมพาต (S2-31)
• ตาํ รับยาโรคอมั พฤกษ- อัมพาต : รักษาอมั พฤกษ-อัมพาต
(S2-33)
• ตํารับยาโรคความดนั โลหิต : ชวยลดความดันโลหิตสูง (S2-39)

214

• ตาํ รับยารักษาตอมลูกหมากโต : แกต อ มลูกหมากโต (S2-48) สรรพคณุ
• ตาํ รับยาซอมแซม/เสรมิ สรา งเสนเอน็ พิการ : ชว ยซอมแซม • แกน : ขับเลอื ดเสีย แกป ระจาํ เดอื นผิดปกติ บาํ รงุ โลหิต (NE3)
และเสรมิ สรา งเสน เอน็ ทพี่ กิ าร แกอ าการกระษัยเสนในทอ ง • ผล : แกบ ิด; เปลือกหรือราก : แกไข แกไขม าลาเรีย รักษา
(เสน ทองแขง็ ) (S2-54) วณั โรค ถา ยพิษตา ง ๆ ขบั เหง่ือ แกไข
• ตาํ รบั ยาลา งโรคกอนการรักษาโรคระบบเสน เอน็ : ชวยชาํ ระ • เนื่องจากการอักเสบ แกฟกช้ําบวม ถา ยพษิ เสมหะ ถา ยพิษ
ลางระบบภายในรางกายกอ นการรักษาโรคทเ่ี ก่ียวกบั ระบบเสน โลหติ (R7)
เอน็ อมั พฤกษ อัมพาต (S2-55) • ตาํ รบั ยาอายวุ ฒั นะ : อายุวฒั นะ (N1-137)
• ตํารบั ยารักษากระดูกทับเสน : รกั ษาอาการกระดกู ทับเสน • ตาํ รับยาโรคไมเกรน/วงิ เวียนศรษี ะ : แกโรคไมเกรน แกวงิ
(S2-66) เวียนศรีษะ (S2-21)
• ตาํ รบั ยาแกทองผูก/พรรดึก : แกอ าการทอ งผกู หรอื พรรดกึ • ตาํ รบั ยาไขกาํ เดาใหญ : แกไขก ําเดาใหญ (S2-47)
(อาการทอ งผูกรุนแรง มีอจุ จาระเปน กอ นกลมแขง็ ) (S3-41)
• ตํารับยาแกทอ งรวง-ทอ งเสีย-บิด : แกทอ งรวง-ทองเสยี แกบดิ
ชว ยคุมธาตุ (S3-43)
• ตาํ รับยาแกปลายไข (ไขระยะปลาย) : แกป ลายไข (ไขใ นระยะ
ปลาย : เปนไขต วั รอ น ไขกาฬ ไขก าํ เดา มาแลว หลายวัน ชวย
ทาํ ใหห ายไขเรว็ ขน้ึ ชว ยแกธ าตุ คมุ ธาตใุ หสมดลุ เปน ยาระบา
ยออ นๆ และชว ยใหเจรญิ อาหาร) (S3-45)
• ตาํ รบั ยารักษามดลูกพิการ-อกั เสบ/ขับนา้ํ คาวปลา : แกมดลูก
พกิ าร มดลูกอกั เสบ ชวยบํารุงรักษามดลกู บํารุงสตรีหลังคลอด
ชวยขบั น้ําคาวปลา ขับเลอื ดเสยี (S3-51)

ขเี้ หลก็ เลอื ด เขกา
ขเี้ หลก็ ปา (พษิ ณโุ ลก), ข้ีเหลก็ เลือด ช่ือทอ งถิ่น : กําลังววั เถลิง (พษิ ณุโลก)
ชอื่ วิทยาศาสตร : Maclura andamanica
(ตรงั , อดุ รธาน)ี (Hook. f.) C. C. Berg
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Senna timoriensis (DC.) H. S. Irwin & ช่ือวงศ : MORACEAE
Barneby ลักษณะเดน : ไมเ ถาเนอื้ แข็ง ยาวถงึ 10 ม. สว นตาง ๆ มนี ้ํายาง
ชอื่ วงศ : FABACEAE สขี าวขุน กง่ิ ออ นมีขน เถามีหนามแหลมคม ยาว 2–4 ซม. ใบ
ลักษณะเดน : ไมตน สงู 5–10 ม. เปลอื กเรียบ ใบประกอบแบบ เดี่ยว เรียงเวยี น รปู ขอบขนาน ยาว 7–14 ซม. (คลายกับ แกแล
ขนนกปลายคู มีใบยอ ย 16–20 คู เรียงตรงขา ม รูปรี มีจดุ เดนท่ี Mac_coc แตแ กแลมีใบรูปรี ยาว 4–9 ซม.) ผิวเกลยี้ ง เสน แขนง
ปลายใบแหลมและมตี ิ่ง แผนใบดา นลาง กานใบและแกนใบมขี นสี ใบปลายโคงจรดกนั ชอ ดอกและชอผลทรงกลม กวา ง 3 ซม. สุกสี
นํ้าตาลทอง, ชอดอกออกท่ปี ลายกง่ิ ดอกสเี หลือง ฝกแบนรปู แถบ เหลือง
ยาว ยาว 10–15 ซม. ฝกออนสีนํ้าตาลแดง

215

สรรพคุณ เข็มปา่
• ราก : บํารุงกําลัง บาํ รุงเสนเอ็น (N1) ช่อื ทองถิน่ : เข็มปา เขม็ ขาว (อดุ รธานี)
ช่ือวิทยาศาสตร : Ixora cibdela Craib
ชือ่ วงศ : RUBIACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมพมุ สงู 1–3 ม. ตามกง่ิ ใบ และชอ ดอกเกลย้ี ง
ใบเดยี่ ว เรียงตรงขา ม รูปหอกกลับหรือรแี กมขอบขนาน ยาว
15–25 ซม. กานใบยาว 1–1.5 ซม. กลีบดอกเปนหลอดสี
ขาว-ขาวอมชมพู ยาว 2–3 ซม. ปลายกลีบแยก 4 แฉก ผลกลม
กวา ง 10 มม. ผลออนสเี ขยี วออ น จดุ เดน ทีผ่ ลออนมีลายแถบ-จุด
ตามแนวยาวสีแดง-สีน้ําตาล

เขม็ ทอง
ชอ่ื ทองถ่ิน : เข็มแดง (สระแกว ), เขม็ ทอง เข็มแดง
(ตรัง)
ช่อื วทิ ยาศาสตร : Ixora javanica (Blume) DC.
ชื่อวงศ : RUBIACEAE
ลักษณะเดน : ไมพมุ สงู 1–3 ม. ตามกิ่ง ใบ และชอ ดอกเกล้ยี ง
ใบเดี่ยว เรยี งตรงขา ม รปู รี ยาว 7–15 ซม. กา นใบยาว 5–10
มม. กานชอดอกสีแดง และบวมพองเมอ่ื ติดผล กลีบดอกเปน
หลอดสีสม แดง ยาว 3–5 ซม. ปลายกลีบแยก 4 แฉก ผลกลม
กวาง 8 มม. ผลออ นสีเขยี วไมมลี าย สกุ สีดํา

สรรพคุณ สรรพคณุ
• ราก : แกไ ขต ัวรอน รักษาไขป า ไขมาลาเรยี (E2) • เปลือกลาํ ตน : แกท อ งรวง และโรคทางเดนิ อาหาร; แกน : เปน
• ทั้ง 5 : ขบั เสมหะ แกไอ (S1) ยาอายวุ ฒั นะ; ใบ : แกโรคผวิ หนงั แผลพพุ องของเด็ก (R18)
• ตํารับยาแกหวัด/ไอ/เจบ็ คอ/โรคหอบหืด : แกห วดั แกไ อ-เจ็บ • ผล : แกรดิ สีดวงจมกู (NE2)
คอ แกหอบหดื (S2-06) • ดอกและราก : แกโรคตาแดง (NE3)

216

เข็มไหม้
ชอ่ื ทองถิ่น : ดีปลากั้ง ดีปลาชอน (สระแกว),
ปลายขาวสาร (พัทลุง)
ชือ่ วิทยาศาสตร : Chassalia chartacea Craib
ชื่อวงศ : RUBIACEAE
ลักษณะเดน : ไมพ มุ สงู 1–2 ม. ก่งิ ออนและใบเกลย้ี ง ใบเด่ยี ว
เรียงตรงขาม รูปรี ยาว 9–20 ซม. เนอ้ื ไปบางนมุ ชอ ดอกออกที่
ปลายก่งิ ดอกเปนหลอดสขี าว ยาว 1–2 ซม. ดา นในหลอดสี
เหลือง ปลายหลอดโคง งอหนีออกจากแกนลําตน กานชอ ดอก
บวมพองเมื่อติดผล สมี วงแดง

• ตาํ รบั ยาโรคผวิ หนังจากเช้อื รา/แกคันจากการแพ : ยาขผี้ ง้ึ
หรือยาหมองทารกั ษาโรคผวิ หนงั จากเช้อื รา เชน กลาก เกล้ือน
แกอาการคนั ตามผิวหนังท่วั ไปจากอาการแพ ผน่ื คัน คันจาก
แมลงสัตวก ดั ตอ ย (S2-64)

สรรพคุณ ไขเ่ นา่
• ใบ : บํารงุ กําลัง (E2) ชื่อทองถน่ิ : ไขเ นา (ตรงั )
• ใบ : แกรอ นใน ดบั พิษรอ น (S3) ชื่อวิทยาศาสตร : Vitex glabrata R. Br.
เขยตาย ชือ่ วงศ : LAMIACEAE
ชือ่ ทองถิ่น : เขยตาย (ตรัง, พทั ลุง, สระแกว, ลกั ษณะเดน : ไมต น สงู 10–20 ซม. เปลอื กเรียบ ตามกงิ่ ออน
อดุ รธานี), เขยตาย (พษิ ณโุ ลก) และใบเกล้ียง ใบเรยี งตรงขามตั้งฉาก ใบประกอบแบบผา มอื มใี บ
ชื่อวิทยาศาสตร : Glycosmis pentaphylla (Retz.) DC. ยอ ย 5 ใบ รปู หอกกลับ-รปู ไข ผิวใบมนั เงา ดอกสีขาว ผลทรง
ชื่อวงศ : RUTACEAE กลม กวา ง 1.5–2 ซม. เมือ่ สุกเปลอื กและเนื้อในผลสดี าํ รสหวาน
ลักษณะเดน : ไมพมุ สงู 1–3 ม. ปลายกงิ่ มขี นสีนํา้ ตาลแดง ใบ เปน ผลไมปา , ชอบข้นึ ตามรมิ น้ําในปาดงดบิ หรือปาเบญจพรรณ
เรียงเวยี น ใบประกอบแบบขนนก มใี บยอย 3–7 ใบ ขอบใบ ทวั่ ประเทศ
เรียบ-หยกั เล็กนอย ขยีใ้ บมีกล่นิ ฉุนคลา ยสม ดอกสขี าว ผลกลม สรรพคุณ
เมอื่ สกุ เปลอื กจะใสสีชมพู • ตาํ รับยาโรคไสเ ลอื่ น : รักษาโรคไสเลอื่ นทัง้ ชายและหญิง หรอื
สรรพคุณ โรคไขล งฝก (S2-68)
• ลาํ ตน หรือราก : รักษาฝภ ายในและภายนอก (E2)
• รากและเปลือก : ตาํ พอกรักษางสู วัด/ไฟลามทงุ ถอนพิษงู (N1) ผลสกุ ของไขเ นา
• ราก : ยบั ย้งั ไวรัสบางชนดิ รักษาฝอกั เสบ แกพ ษิ งู แกพษิ แมลง
กดั ตอย (NE2)

217

คนทา เปลือกคนทา
ชือ่ ทอ งถิ่น : คนทา (พัทลุง, ตรัง), สีฟนคนทา ระยะแรก เชน ไขต วั รอน ไขกาฬ ไขพษิ ไขกําเดา (S3-44)
(สระแกว, พษิ ณโุ ลก), หนามคนทา โกทา • ตาํ รับยาไขหวดั : แกไ ขห วัด (S3-46)
(อุดรธานี) • ตาํ รับยาไขห ัด/ไขอสี ุกอีใส/ไขอ ีดาํ อีแดง : แกไขหัด ไขเหอื ด
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Harrisonia perforata (Blanco) Merr. (หัดเยอรมัน) ไขอีสกุ อีใส ไขอดี ําอแี ดง กระทงุ พิษไข (S3-48)
ช่อื วงศ : SIMAROUBACEAE
ลักษณะเดน : ไมพ มุ รอเล้อื ย สงู 3–5 ม. มกั จะแตกก่ิงตาํ่ จาํ นวน ครามขน
มาก เปลือกมหี นามแหลมคมจาํ นวนมาก โคนหนามบวมหนา ก่งิ ชื่อทอ งถิ่น : -
มีหนาม ใบเรยี งสลบั ใบประกอบแบบขนนกปลายค่ี ใบยอ ย 3–6 ช่ือวิทยาศาสตร : Indigofera hirsuta L.
คู เรยี งตรงขา ม รปู ร-ี ไขก ลบั ยาว 1.5–3 ซม. ขอบใบเรียบ-หยกั ชื่อวงศ : FABACEAE
แกนและกา นใบมคี รบี ผลรปู กลมแบน กวา ง 1–2 ซม. ผวิ มรี อยบบุ ลกั ษณะเดน : ไมเถาลมลุก ยาว 1–2 ม. สว นตางๆ มีขนยาวหนา
สรรพคณุ แนน สขี าว ใบเรยี งสลับ ใบประกอบแบบขนนกปลายค่ี ใบยอ ย
• เปลือกและราก : แกไ ขต วั รอ น แกทองรว ง แกแผลอักเสบ ชวย 2–3 คู เรยี งตรงขา ม รปู ไข-ไขก ลับ ยาว 1.5–4 ซม. ชอดอกคลา ย
สมานแผล (NE3) หางกระรอก ดอกสแี ดงอมชมพู ฝก รปู ทรงกระบอก ยาว 1.5–2 ซม.
• ผลสด : ทุบผสมกบั นํา้ ใชแชเทา ชว ยรักษาอาการเล็บขบ (E2)
• ตาํ รบั ยาหาราก (ยาเบญจโลกวิเชียร/ยาแกว หาดวง) : แกไข
ตัวรอ น ปวดหวั ถอนพษิ ไข (N1-14)
• ตาํ รบั ยาโรคประดง : รักษาโรคประดง (NE2-018)
• ตํารบั ยาหาราก (สูตรพน้ื บาน) : แกไข ตัวรอ น แกปวดหัว
(S1-06)
• ตํารับยาแกไ ขต วั รอ น : แกไ ขต ัวรอ น ปวดหวั ถอนพิษไข ไข
หวดั ไขป อดบวม (S2-01)
• ตํารบั ยาขับนิ่วในทอ ง : รกั ษาน่ิวในทอง (S2-12)
• ตาํ รับยาขบั นิว่ ในไต-ทางเดนิ ปส สาวะ : ชวยขบั น่ิวในไต และ
ทางเดนิ ปสสาวะ (S2-13)
• ตาํ รบั ยาโรคเบาหวาน : แกโ รคเบาหวาน (S2-22)
• ตาํ รับยาไขหวัดใหญ : แกไ ขหวดั ใหญ (S2-57)
• ตํารับยาอุทยั โอสถ : แกไขต วั รอน แกรอนในกระหายนาํ้ แก
ออ นเพลยี ระเหี่ยใจ เพมิ่ ความสดช่ืน บาํ รุงหัวใจ (S3-22)
• ตาํ รบั ยาแกทอ งรว ง-ทองเสยี -บิด : แกทองรว ง-ทอ งเสีย แกบ ิด
ชวยคมุ ธาตุ (S3-43)
• ตาํ รับยาแกตน ไข (ไขระยะแรก) : แกต นไข (ไขเบอื้ งตน หรอื ไข

218

สรรพคุณ ชอดอกของครามขน แกน ของครี้/สกั ขี
สรรพคุณ
• ทั้งตน : ตมนาํ้ ดื่มตางนํา้ แกทองเสยี ชวยยอยอาหาร (NE3) • ตํารับยาไขทบั ระดู : แกไ ขท บั ระดู ระดผู าไข แกพิษโลหติ ระดู
แกร อนใน แกค ลมุ คลั่ง (E1-06)
ครี้ • ตาํ รับยาละลายลิ่มเลือด : ชวยละลายล่ิมเลอื ด บรรเทาอาการ
ช่อื ทอ งถิน่ : สกั ขี (ตรัง, ฉะเชิงเทรา), สกั ขี ซกิ เสนเลือดตีบ (S2-30)
กระซิก (พัทลุง) • ตาํ รับยาโรคอมั พฤกษ-อมั พาต : รักษาอมั พฤกษ-อมั พาต
ชอื่ วทิ ยาศาสตร : Dalbergia parviflora Roxb. (S2-33)
ชือ่ วงศ : FABACEAE • ตํารบั ยาบาํ รงุ โลหิตระดู : บํารุงโลหิตระดู (S2-56)
ลกั ษณะเดน : ไมพ มุ รอเลื้อย ยาวถึง 20 ม. โคนตนหรือก่ิงเกา มี • ตาํ รบั ยาแกปวดเมื่อยกลา มเน้ือ-เสน เอน็ /บํารุงกําลงั : แกปวด
หนาม แกนไมสแี ดงอมมวงเขม ใบประกอบแบบขนนก มีใบยอ ย เม่ือยกลามเน้อื -เสนเอ็น บาํ รุงกําลงั (S2-61)
เรียงสลับ ขา งละ 2–4 ใบ รปู ร-ี ไขก ลับ ยาว 3–6 ซม. ปลายใบ • ตาํ รบั ยาหอมนวโกฐ : แกค ลน่ื เหียนอาเจยี น วงิ เวียน ลมจุก
มน-แหลม ผวิ เกลย้ี ง ดอกสขี าว ผลเปน ฝกแบนรปู รีกลม-ขอบ แนน ในอก แกล มปลายไข แกอาการสะบัดรอ นสะบัดหนาว
ขนานโคง มี 1–4 เมลด็ มรี อยหยกั คอดตามตําแหนงเมลด็ หรอื ครน่ั เน้อื ครน่ั ตัว รอนวบู วาบเหมือนจะเปน ไข บํารุง
เปลือกฝกคอ นขา งหนาและมรี อยยน , พบตามขอบปา พรุและ ประสาท (S3-01)
ทีร่ าบนํา้ ทวมถงึ ในภาคใต • ตํารบั ยาประสะกานพลู : แกปวดทองจากอาการจกุ เสียดแนน
ฝกของครี/้ สักขี ทอ งอดื ทอ งเฟอ อาหารไมยอ ย หรอื ธาตุไมปกติ ชว ยขบั ลม
(S3-05)

คลา้
ชอื่ ทอ งถน่ิ : คลา (ตรงั , พษิ ณุโลก)
ช่ือวิทยาศาสตร : Schumannianthus dichotomus
(Roxb.) Gagnep.
ชือ่ วงศ : MARANTACEAE
ลักษณะเดน : ไมลมลุก สูง 1.5–3 ม. มเี หงา ใตด นิ ลําตน สีเขยี ว
กวา ง 2–4 ซม. แตกกงิ่ ตามขอ ใบรปู รี ยาว 15–30 ซม. ผิวเกลี้ยง
กา นใบเปนกาบหุมกิ่ง ปลายกาบทตี่ ดิ กบั ใบบวมพอง ชอดอกสขี าว
ตั้งข้ึน ผลทรงผลแอปเปล กวาง 2 ซม. มี 3 พูเล็กนอ ย, ชอบ
ข้นึ ตามริมน้าํ ในเขตทีร่ าบลุม
สรรพคณุ
• เหงา : แกป วดขอ แกปวดกระดูก (N1)
• ตาํ รับยาแกลมกองหยาบ/วงิ เวียน-ใจสั่น : แกว ิงเวยี นศีรษะ
ใจสั่น อาการบา นหมุน หนามดื ตาลาย ลมขึ้นแนน หนา อก
(ประเภทลมกองหยาบ) (S1-38)

219

คลุ้ม
ช่อื ทอ งถิ่น : คลมุ (ตรัง, สระแกว )
ชื่อวิทยาศาสตร : Donax canniformis (G. Forster) K. Schum.
ช่ือวงศ : MARANTACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมลมลุก สงู 2–3 ม. มีเหงาใตด ิน ลาํ ตนสเี ขยี ว
กวาง 2–4 ซม. แตกกิ่งตามขอ ใบรูปรี ยาว 15–30 ซม. ผิวเกล้ียง
กา นใบเปนกาบหมุ กิง่ ปลายกาบท่ีติดกบั ใบบวมพอง ชอ ดอกสี
ขาว คลายกับคลา (Sch_dic) มีจดุ ตา งท่ี คลมุ มีชอ ดอกหอ ยลง
ผลทรงกลม กวา ง 1–1.5 ซม., ชอบขน้ึ ตามริมนา้ํ หรอื หบุ เขาใน
เขตพน้ื ทภ่ี ูเขา

กลางซาย : ชอดอก, กลางขวา : ผลของคลา บน : ผล, ลาง : ชอดอกของคลมุ

220

คลุม สรรพคณุ
สรรพคณุ • ตาํ รบั ยาบาํ รงุ โลหิตสตรโี ดยตรง/ประจําเดอื นเปน ปกติ :
• หัวหรือราก : แกป ระดงเขา ขอเขาเสน (E2) บาํ รงุ โลหิตของสตรโี ดยตรง รกั ษาอาการประจําเดอื นใหเปน
• ตาํ รับยาไขอ ีสุกอีใส : แกโรคอีสุกอใี ส หรอื ไขสุกใส (S2-37) ปกติ แกโ ลหิตระดูเสีย บํารุงธาตุ (S2-50)
คอแลน
คอ้ นหมาขาว ชื่อทองถ่นิ : คอแลน (สระแกว, พิษณโุ ลก)
ช่ือทองถ่นิ : วาสนาปา (ตรงั ) ชื่อวทิ ยาศาสตร : Nephelium hypoleucum Kurz
ช่อื วทิ ยาศาสตร : Dracaena angustifolia (Medik.) Roxb. ชือ่ วงศ : SAPINDACEAE
ชือ่ วงศ : ASPARAGACEAE ลกั ษณะเดน : ไมต น สูงถึง 20 ซม. เปลอื กเรียบ โคนตนมพี พู อน
ลักษณะเดน : ไมพมุ สงู ถึง 1 ม. ลําตนกลม กวา ง 2–3 ซม. ใบ ต้ืน ๆ จาํ นวนมาก ใบเรียงเวยี น ใบประกอบแบบขนนก มีใบยอย
เดย่ี ว เรียงเวยี นกระจกุ ท่ปี ลายกิง่ รูปหอกกลับแกมรปู แถบยาว 4–6 ใบ เรียงเกือบตรงขาม แผน ใบดานลางสีเขยี วนวล ผลทรงรี
ยาว 50–100 ซม. กวาง 4–9 ซม. ผวิ เกลีย้ งมันเงา ชอ ดอกสีขาว ยาว 2.5–4 ซม. เปลือกผลสกุ สแี ดง มีตมุ หนามไมแ หลมคมคลา ย
ยาว 50–80 ซม. ไมแ ตกแขนง ผลลน้ิ จี่ เนอ้ื ในสีขาวรสเปร้ียวอมหวาน
สรรพคุณ
• ราก : รักษาตอมไทรอยดเ ปน พิษ (N1)
• ผลสุก : มีเปลือกสแี ดง เนือ้ ในสขี าวรสเปรย้ี วอมหวานทานเปน
ผลไม หรือทานกบั นา้ํ ปลาหวาน เปน ยาระบาย (E2)
• ตาํ รับยาโรคไทรอยดเ ปนพิษ : รกั ษาโรคไทรอยดเ ปน พษิ
(N1-119)

221

คอแลนเขา ซาย : ผลสุก, ขวา : เปลือกลาํ ตนของคอแลนเขา
ช่อื ทองถนิ่ : คอเหย้ี กดั ล้ินดง (สระแกว )
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Xerospermum noronhianum (Blume)
Blume
ชอ่ื วงศ : SAPINDACEAE
ลักษณะเดน : ไมตนสงู 5–15 ม. เปลอื กคอนขา งเรียบและหลุด
เปน สะเก็ดบางเลก็ นอย เหน็ เปนดวงสนี า้ํ ตาลแดงกระจาย ใบ
เรยี งเวยี น ใบประกอบแบบขนนก ใบยอ ย 2–3 คู เรียงตรงขาม
แผน ใบเกลีย้ ง แผนใบดา นลา งมเี สน ใบกระจุกรวมกันเปนจุดสี
เขยี วเขม กระจายท่วั มกี ลบี เลี้ยงและกลีบดอก 4 กลบี แกนใบ
หนามากกวา 1.5 มม. และขั่วผลบวมหนา 5–7 มม. ผลทรงรี
ยาว 2–3 ซม. ผวิ ขรขุ ระ สุกสเี หลอื ง
สรรพคณุ
• เปลือกหรอื แกน : แกฝใ นทอง ตอ มลูกหมากโต เช้อื ราในสมอง
(E2)

222
คัดเค้าเครือ
ช่อื ทอ งถิ่น : คดั เคา (ตรงั , พิษณุโลก)
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Oxyceros horridus Lour.
ชอ่ื วงศ : RUBIACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมพมุ รอเล้ือย ยาวถึง 10 ม. ลําตนและกิง่ มหี นาม
ออกเปน คตู รงขา มกนั ปลายหนามโคง กลบั คลายเขาควาย กิ่ง
ออนและใบเกลย้ี ง แผนใบดานบนคอนขางราบเรยี บไมเปนคลื่น
ชอ ดอกออกเปนกระจกุ ตามซอกใบ สีขาว เมื่อใกลโรยเปน สี
เหลืองออน มกี ลิ่นหอม ผลทรงกลม กวา ง 5–7 มม. ผิวเกลยี้ ง

บน : เน้ือไม, ลาง : เมล็ด
สรรพคุณ
• เนอ้ื ไม : แกไข (N1)
• ตํารับยาวยั ทอง : รกั ษาอาการวยั ทอง รกั ษาเลอื ดลมใหเ ปน
ปกติ (S2-25)
• ตํารบั ยาไขกาํ เดาใหญ : แกไขกาํ เดาใหญ (S2-47)
คดั เคา้ ดง
ชื่อทอ งถ่ิน : นางพญาทา วเอว (สระแกว ),
พญาทา วเอว (พษิ ณโุ ลก)
ช่อื วิทยาศาสตร : Oxyceros bispinosus (Griff.) Tirveng.
ชอ่ื วงศ : RUBIACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมพ มุ รอเลือ้ ย ยาวถงึ 10 ม. คลายกบั คดั เคาเครือ
(Oxy_hor) แตค ัดเคาดงมจี ุดตางที่หนามคูต รงขา มกันน้นั
ตําแหนงของหนามจะอยใู กลกนั ทําใหด คู ลา ยเข้ยี วของงู กิ่งออ น
และใบเกลีย้ ง แผนใบดานบนเปนคลื่นชดั เจน และกลีบดอกมี
ลักษณะปอมสั้นกวา ผลมขี น
สรรพคณุ
• ราก : แกพ ษิ แมลงสตั วกัดตอ ย (N1)
• ตํารับยาแกปวดเม่อื ย-กระดูกทับเสน : แกป วดหลัง ปวดเอว

ปวดไขขอ ปวดกระดกู แกกระดูกทับเสน บาํ รุงธาตุ (E2-216)
• ตาํ รบั ยาขับนิว่ -โรคไต-ตับ : ขับนว่ิ ในถงุ นํา้ ดี นวิ่ ในระบบทาง
เดนิ ปสสาวะ แกป ส สาวะขน แกโ รคไต แกโรคตบั (E2-217)

223
ค้างคาว
ชื่อทองถิ่น : มะกองคา งคาว (สระแกว)
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Aglaia edulis (Roxb.) Wall.
ชื่อวงศ : MELIACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมตน สูงถงึ 30 ม. เปลือกแตกเปนแผนบางตาม
แนวยาวและเปดรอนออก กิง่ ออ นและผลมีขนสเี ทาอมนาํ้ ตาล ใบ
เรียงเวยี น ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ ใบยอ ย 5–7 ใบ เรยี ง
ตรงขา ม รปู หอกหรอื หอกกลบั ยาว 5–12 ซม. ผิวใบเกลย้ี ง ผลก
ลม กวาง 1.5–2 ซม.
สรรพคุณ
• แกน หรอื ราก : ชวยลดไขตวั รอ น ยาอายุวฒั นะ (E2)

ซา ย : เปลือกลาํ ตนทีอ่ ายนุ อ ย, ขวา : เปลอื กลาํ ตนทอี่ ายุมาก

224

โคคลาน
ชือ่ ทอ งถน่ิ : คุคะ คุระเปยะ (ตรัง, พัทลุง),
กระดอหดใบขน (ทางการ)
ชือ่ วิทยาศาสตร : Croton caudatus Geiseler
ชือ่ วงศ : EUPHORBIACEAE
ลักษณะเดน : ไมพ ุมรอเลอื้ ย ยาวถงึ 7 ม. ก่งิ ออน ใบ และผลมี
ขนสนี าํ้ ตาลทองสากคาย (จุดเดน ) ใบเด่ียว เรียงสลับ รูปหัวใจ
หรือรูปไข ยาว 6–15 ซม. ขอบใบจกั ฟนเลอ่ื ยไมส ม่าํ เสมอ ชอ
ดอกสขี าว ผลทรงกลม กวาง 1–1.5 ซม. ชอบขนึ้ ตามรมิ นาํ้ หรือ
ตามทร่ี าบลมุ
สรรพคุณ
• ตํารบั ยาเขียวหอม : แกไข ตวั รอ น รอนในกระหายนา้ํ แกพ ิษ
ไขหัด ไขเหอื ด (หดั เยอรมัน) ไขอ สี กุ อีใส (S3-02)

ผลออนของคา งคาว

โคคลาน
ช่ือทองถน่ิ : หวายดนิ ขม้นิ เครือ (สระแกว)
ชอ่ื วิทยาศาสตร : Anamirta cocculus (L.) Wight & Arn.
ชื่อวงศ : MENISPERMACEAE
ลักษณะเดน : ไมเ ถาเน้อื แข็ง เถามีลายตามแนวยาว กง่ิ ออ นและ
แผน ใบเกล้ียง ใบรูปไข-ไขก วาง ยาว 16–28 ซม. มีเสน ใบ 3–5
เสนออกจากโคนใบ โคนใบเวา กา นใบเกลีย้ ง ยาว 6–20 ซม.
ปลายกานทง้ั สองดา นบวม ชอ ดอกยาว 16–40 ซม. ดอกสีเขยี ว
อมเหลือง, พบในปาดงดบิ ท่วั ประเทศ

สรรพคุณ
• เถา : แกป วดเม่ือยกลา มเนื้อ ปวดเสนเอน (E2)

ผลออนของโคคลาน/คุคะ

225

ชอดอกเพศผขู องโคคลาน/คคุ ะ

โคคลาน

ช่ือทอ งถ่ิน : มะกายเครอื (ภาคเหนือ) บน : ชอ ดอกเพศผู, กลาง : ผลออ น
ช่ือวิทยาศาสตร : Mallotus repandus (Rottlet) Müll. Arg.
ชือ่ วงศ : EUPHORBIACEAE
ลักษณะเดน : ไมพ ุม รอเลื้อย ยาวถงึ 20 ม. เถาอายมุ ากเปลือก
แตกเปน ลายรา งแห-สะเก็ดเล็กนอย ตามกงิ่ แผน ใบดานลาง กา น
ใบ ชอ ดอก และผลมีขนสนั้ หนานุม ใบเดี่ยว เรยี งเวียน รูปไข- ไข
กวาง ยาว 5-11 ซม. รปู ลม่ิ -กลม-ตัด มีตอ มเปน จดุ ใกลขอบใบ
บรเิ วณโคน มีเสน แขนงใบออกจากโคนใบ 1 คู ขอบใบเรยี บ-หยัก
ซ่ฟี น แผนใบดานลางมีตอ มเล็กสีเหลอื งกระจายทว่ั กา นใบยาว
2-7 ซม. บางครง้ั กา นใบตดิ กับโคนใบแบบกนบดิ เล็กนอย ตน แยก
เพศ ชอดอกยาวถึง 20 ซม. สีเหลอื งครีม ผลทรงกลม กวา ง 8-10
มม. บางครั้งมี 2 พูติดกัน, พบตามชายปา ดงดบิ หรือปา
เบญจพรรณ หรือที่รกรา งในเขตทรี่ าบลมุ ท่วั ประเทศ

เถาโคคลาน

226

สรรพคุณ โคลงเคลง
• รากหรือเน้ือไม : แกลมวิงเวียน รกั ษาแผลในระบบทางเดิน ชอ่ื ทองถิ่น : โคลงเคลง มังเบร มังเร (ตรัง), เอ็นอา
อาหาร แกจดุ เสยี ดแนนทอง เปนยาระบาย แกป วดเมื่อยกลาม เอนอา (อดุ รธาน)ี
เนือ้ หรอื เสนเอน็ ; ใบสด : ทําลูกประคบแกปวดเมื่อยกลาม ชอ่ื วิทยาศาสตร : Melastoma malabathricum L. subsp.
เนื้อ-เอน็ (E2) malabathricum
• เถา : บํารุงเสนเอ็น แกกษยั แกปวดเมือ่ ย (N1) ชอื่ วงศ : MELASTOMATACEAE
• ตาํ รบั ยาแกปวดเมอ่ื ย-บํารงุ กําลัง : แกป วดเมือ่ ย บํารงุ กําลัง ลกั ษณะเดน : ไมพ ุม สงู 1–2 ม. ก่ิงและใบมีขนส้นั สากคาย ใบ
(E1-05) เรียงตรงขามตัง้ ฉาก รูปร-ี ใบหอก ยาว 5–10 ซม. มีเสน แขนงใบ
• ตํารับยากาํ ลังฮอ สะพายควาย : บาํ รุงกาํ ลัง แกปวดเมื่อยตาม ออกจากโคนใบ 1 คู กลบี ดอก 5 กลีบ สีชมพอู มมวง ดอกบาน
รางกาย (S1-43) กวาง 3–4.5 ซม. เกสรเพศผูส เี หลือง ผลทรงกลม กวา ง 1–1.3
• ตาํ รับยารกั ษากระดกู ทับเสน : รักษาอาการกระดกู ทบั เสน ซม. สุกสีแดง มีเกลด็ สัน้ สขี าวตดิ แนบผิว
(S2-04) สรรพคุณ
• ตํารับยาแกกษยั ไตพกิ าร : แกก ระษัย ไตพิการ บาํ รงุ ไต ชวย • ราก : บํารงุ กําลัง บาํ รุงรา งกาย (S1)
ขบั ปส สาวะ (S2-09) • ใบ : แกท อ งรว ง แกบ ิด (NE3)
• ตํารับยาโรคอมั พาตระยะแรก : แกอ าการกึง่ อัมพาตหรอื
อัมพาตระยะแรก กลามเนื้อออ นแรง เดนิ ยืนไมป กติ เหน็บชา
(S2-24)
• ตํารับยาปรบั ธาตุ/ปวดเม่อื ย/ปวดขอ-เอ็น : ชวยปรบั ธาตุ แก
ปวดเมือ่ ย ปวดเขา-ขอ -เอ็น แกเอน็ พิการ (S2-26)
• ตํารบั ยาแกปวดเมื่อยเสน เอ็น : แกป วดเมือ่ ยตามเสน เอน็ เสน
เอน็ อักเสบ บรรเทาอาการอมั พฤกษ- อัมพาต (S2-31)
• ตํารับยาโรคอมั พฤกษ-อมั พาต : รักษาอัมพฤกษ-อมั พาต
(S2-33)
• ตาํ รับยาแกป วดเมอ่ื ย/ชาตามปลายมือ-เทา : แกปวดเมือ่ ย
ตามรางกาย แกอาการชาตามปลายมอื ปลายเทา (S2-36)
• ตํารบั ยารักษามดลกู เคลือ่ น/บาํ รงุ โลหิต : รกั ษามดลกู เคล่อื น
บํารุงโลหติ (S2-45)
• ตาํ รับยาบํารงุ รกั ษามดลูก : ชว ยบาํ รุงรกั ษามดลกู บํารุงสตรี
หลังคลอด มดลูกพิการ (S2-60)
• ตํารับยาแกปวดเมอ่ื ยกลา มเนื้อ-เสนเอน็ /บาํ รุงกาํ ลงั : แกปวด
เมื่อยกลามเนอื้ -เสนเอน็ บาํ รงุ กาํ ลงั (S2-61)
• ตํารับยาแกเหนบ็ ชา : แกเ หน็บชา อาการชาตามปลายมอื
ปลายเทา (S2-63)
• ตํารบั ยารักษากระดกู ทบั เสน : รักษาอาการกระดกู ทับเสน
(S2-66)
• ตํารับยาแกปวดเม่อื ย-กระดูกทบั เสน : แกป วดหลัง ปวดเอว
ปวดไขขอ ปวดกระดูก แกกระดกู ทับเสน บํารุงธาตุ (E2-216)

ลา ง : ผลสุกของโคลงเคลง

227

โคลงเคลงขนต่อม โคลงเคลงตวั ผู้
ชื่อทอ งถิ่น : ขาวตาก (ตรัง) ช่ือทอ งถ่นิ : โคลงเคลง เอน็ อา (สระแกว ), เอนอา
ชือ่ วิทยาศาสตร : Clidemia hirta (L.) D. Don (พษิ ณโุ ลก)
ชือ่ วงศ : MELASTOMATACEAE ช่ือวทิ ยาศาสตร : Melastoma orientale Guillaumin
ลกั ษณะเดน : ไมพ ุมรอเลื้อย ยาวถึง 4 ม. ตามสว นตา งๆ มขี น ชอ่ื วงศ : MELASTOMATACEAE
ยาวสากคาย ใบเดี่ยว เรยี งตรงขาม ใบรูปไข-ไขก วาง ยาว 6–12 ลักษณะเดน : ไมพมุ สงู 1–2 ม. มีลักษณะทั่วไปคลายโคลงเคลง
ซม. ผิวใบดานบนมรี อยกดตามแนวเสนใบ ดอกสีขาว มกี ลบี ดอก (Mel_mal_mal) จุดตา งที่ โคลงเคลงตัวผู ดอกบานกวาง 1.5–2
5 กลบี ผลรปู ไข- กลม กวา ง 8–10 มม. สุกสีมว งอมนา้ํ เงนิ , เปน ซม. เกสรเพศผูส ชี มพู ผิวของผลมีขนแตกกิง่ ยาว
พชื ตางถิน่ รุกรานในเขตปาดงดบิ ชื้น มาจากทวปี อเมริกาตอน สรรพคุณ
กลาง • ทัง้ 5 : แกเสน ยึด บาํ รงุ กาํ ลัง (E2)
สรรพคุณ • ตํารบั ยาแกป วดเสนเอ็น/บาํ รงุ เสน เอน็ : แกปวดเสนเอน็ เสน
• ใบและกง่ิ : ตม นํา้ ด่มื ลดการไหลของเลือดประจาํ เดอื นทีม่ ากก เอ็นอักเสบ บํารุงเสนเอน็ (N1-150)
วาปกติ แกปวดทอ ง ลดการหดเกรง็ ของกลา มเนอ้ื ; ใบ : ตาํ
พอกแผล เปน ยาสมานแผล หรือตมกบั น้ําใชลา งแผล หรอื ลา ง
ชองคลอดสตรีทตี่ กเลอื ด (R77)
• ใบ : รักษาแผลสด (S2)

ลา ง : ผลสุกของโคลงเคลงขนตอ ม ผลออ นของโคลงเคลงตวั ผู

228

เคีย่ ม ออ นและแผน ใบดานลา งมขี นสีนํ้าตาลออน ใบเดี่ยว เรียงสลับ รปู
ชื่อทอ งถน่ิ : เคี่ยม (ตรงั ) ไขแกมขอบขนาน ยาว 8–15 ซม. ผวิ ใบดา นบนมนั เงา เสนแขนง
ชือ่ วิทยาศาสตร : Cotylelobium lanceolatum Craib ใบขา งละ 11–15 เสน แผน ใบดา นลา งมีขนหนานุมหรอื มีขยุ สี
ชือ่ วงศ : DIPTEROCARPACEAE ขาว ผลมปี กรูปแถบยาว 3 ปก ยาว 8–10 ซม. และปก สนั้ 2 ปก
ลักษณะเดน : ไมตน สงู ถงึ 40 ม. เปลอื กแตกเปนสะเก็ดหนา ยาว 3–5 ซม. ผลทรงหยดน้ํา
ตามยาว ก่งิ ออ นและแผนใบดานลางมขี นสีนํ้าตาลออน ใบเดย่ี ว
เรยี งสลับ รูปไขแกมขอบขนาน ยาว 8–15 ซม. ผิวใบดานบนมัน
เงา เสน แขนงใบถีป่ ลายเสน จรดกนั ใกลข อบใบ ผลมปี ก รปู แถบ
ยาว 2 ปก ยาว 4–7 ซม. ผลออ นสเี ขียวอมเหลือง ผลทรงหยดนํา้

สรรพคณุ สรรพคุณ
• เปลอื ก : มีรสฝาด สับเปน ช้นิ ใชรองกนกระบอกนํ้าตาลสด • เปลอื ก : มีรสฝาด สับเปน
ปองกนั การบูดเนา (S3) ชิน้ ใชรองกนกระบอก
• ตํารบั ยาสตรีสาวเสมอ : บํารุงรักษาระบบภายในของสตรี ชว ย นา้ํ ตาลสด ปอ งกนั การบูด
กระชบั รา งกาย (S2-15) เนา ; แกนหรอื ราก : ยา
• ตํารับยาโรครดิ สีดวงทวาร : แกรดิ สีดวงทวาร (S2-41) อายวุ ัฒนะ (E2)
• ตํารับยาโรครดิ สดี วงทวาร : รักษาโรครดิ สีดวงทวาร (S2-42) เครืองูเขียว
เคีย่ มคะนอง ชือ่ ทอ งถิน่ : พลูชาง (อดุ รธานี)
ชอ่ื ทองถนิ่ : เคีย่ มคะนอง (สระแกว ) ช่อื วิทยาศาสตร : Scindapsus officinalis (Roxb.) Schott
ชื่อวทิ ยาศาสตร : Shorea henryana Pierre ช่อื วงศ : ARACEAE
ช่อื วงศ : DIPTEROCARPACEAE ลักษณะเดน : ไมล ม ลุกทอดคลาน มรี ากยดึ เกาะตามตนไม ยาว
ลักษณะเดน : ไมตน สูงถงึ 40 ม. เปลือกแตกเปน สะเกด็ หนา กงิ่ ถงึ 20 ม. สว นตาง ๆ เกล้ียง ใบเดยี่ ว เรยี งสลับ รปู ร-ี ไขกวา ง
ยาว 15–23 ซม. กานใบยาวใกลเคยี งกบั ใบ แผเ ปน กาบกวา ง

229
ใบประกอบมี 3 ใบยอ ย รูปใบหอก ยาว 5–15 ซม. ขอบใบหยัก
เลก็ นอ ย เนอ้ื ใบหนา แผนใบเกล้ียง ขยี้มีกลิ่นคลา ยผวิ สม ผลทรง
กลมแบน กวา ง 1 ซม.

2–4 ซม. ชอ ดอกมีกาบรองและหอชอดอกรูปทรงรี สเี หลอื งครมี สรรพคุณ
ชอ ดอกเปนแทง รูปทรงกระบอก ยาว 6–12 ซม. สีครมี • ทัง้ 5 : เขา ยารักษามะเรง็ (E2)
สรรพคณุ • เถา : ชว ยบํารงุ เลือด ชว ยขบั ลม แกไข (N1)
• ผลหรือฝก : ยาบาํ รงุ ยากระตนุ ขับเหงื่อ (NE3) • ตํารบั ยาโรคไต : รักษาโรคไต (S2-10)
เครืองเู ห่า • ตาํ รับยาแกปวดเมอ่ื ยกลา มเน้ือ-เสนเอน็ /บาํ รุงกาํ ลงั : แกป วด
ช่อื ทองถ่ิน : คองูเหา (ตรงั ), พญางูเหา (สระแกว), เมื่อยกลา มเน้อื -เสนเอ็น บาํ รุงกําลัง (S2-61)
หนามไกไห (พิษณุโลก)
ชื่อวิทยาศาสตร : Toddalia asiatica (L.) Lam.
ชอื่ วงศ : RUTACEAE
ลักษณะเดน : ไมเถาเน้อื แข็ง ยาวถงึ 10 ม. กิ่งและเถามหี นาม
แหลมคม เถาอายุมากโคนหนามบวมหนา ใบเรียงเวียน

230

เครือปลอก เครือปลาสงแดง
ชือ่ ทอ งถน่ิ : เครอื ปลอก (สระแกว ), เถาวลั ยเ หลก็ ชอื่ ทองถ่ิน : เครอื เขาดนิ (พิษณโุ ลก) เครือซดู
(ตรงั ), พญาง้วิ ดํา (พังงา, ภูเกต็ ) (อีสาน)
ชือ่ วิทยาศาสตร : Ventilago harmandiana Pierre ชื่อวทิ ยาศาสตร : Ichnocarpus frutescens (L.) W.T. Aiton
ชื่อวงศ : RHAMNACEAE ชอ่ื วงศ : APOCYNACEAE
ลักษณะเดน : ไมเถาเนอื้ แข็ง ยาวถงึ 30 ม. กิง่ ออ นมขี นส้ัน เถามี ลักษณะเดน : ไมเถาเนือ้ ออน ยาวถึง 10 ม. สว นตา ง ๆ มีน้ํายาง
ลายตามแนวยาว เถาอายมุ ากแตกเปนรองตื้นแกมรางแหตาม สีขาวขนุ ก่ิงออนมีขนส้ันสนี าํ้ ตาลแดง ใบเด่ยี ว เรยี งตรงกันขา ม
แนวยาว ใบเดี่ยว เรยี งสลบั รปู ใบหอก ยาว 9–15 ซม. จุดเดน รปู ใบหอก-ขอบขนาน กลีบดอกเปนหลอดสีขาว ยาว 5 มม.
ของชนดิ นอี้ ยทู มี่ ขี อบใบเรยี บมเี สน ใบยอ ยเรยี งตามแนวขวาง และ ปลายกลีบแยก 5 แฉก บิดเปน เกลยี้ วขอบกลบี มีขนครุย
ผลมปี ก แบนรปู หอก ยาว 4–6 ซม. ตดิ เมลด็ กลมทปี่ ลายดา นหนงึ่

บน : ผล, ลา งซาย : เถาอายุนอย, ลา งขวา : เถาอายุมาก สรรพคณุ
สรรพคณุ • ตาํ รบั ยาโรคตับ : รกั ษาโรคตับ ตบั อักเสบ ตับแข็ง (N1-136)
• เถา : ชว ยขบั ฟอกโลหิตระดู ขบั เลือดเสยี ขับนา้ํ เหลอื งเสีย เครอื แฟบ
(E2) ชื่อทอ งถน่ิ : เถาเอน็ ออน (พษิ ณโุ ลก)
• ตํารบั ยาลา งโรคกอนการรกั ษาโรคระบบเสนเอน็ : ชวยชําระ ชือ่ วิทยาศาสตร : Erycibe schmidtii Craib
ลางระบบภายในรา งกายกอนการรักษาโรคท่ีเก่ียวกับระบบเสน ช่ือวงศ : CONVOLVULACEAE
เอน็ อัมพฤกษ อมั พาต (S2-55) ลกั ษณะเดน : ไมพมุ รอเล้อื ย ยาวถึง 7 ม. ตามกิ่งมชี อ งอากาศ
กิง่ ออ นเกล้ียง-มขี นประปราย ใบเด่ียว เรยี งสลับ รูปร-ี รูปไข-รูป
ใบหอก ยาว 7–12 ซม. เน้อื ใบหนาและเหนยี ว ผิวใบเกลีย้ ง กาน
ใบยาว 1 ซม. กลีบดอกสีขาวอมเหลือง มี 5 กลีบ ปลายกลบี เวา

231

บุมและบิดเปนคล่นื ดอกบานกวา ง 1–1.3 ซม. ผลรูปรกี วา ง ยาว ชอ ดอกเครอื ออน
1.3–2 ซม. ผิวเกล้ียง คาํ มอกหลวง
สรรพคุณ ชอื่ ทองถิ่น : ไขเนา (อดุ รธาน)ี , คาํ มอกหลวง
• เถา : แกปวดเม่ือย รกั ษาอาการปวดกระดกู ปวดเสนเอ็น (N1) (พษิ ณโุ ลก)
• ตํารบั ยาแกปวดเสน เอน็ /บํารุงเสนเอ็น : แกป วดเสน เอ็น เสน ช่ือวทิ ยาศาสตร : Gardenia sootepensis Hutch.
เอ็นอักเสบ บาํ รุงเสน เอน็ (N1-150) ช่ือวงศ : RUBIACEAE
• ตาํ รบั ยาแกปวดเสนเอ็น/บํารงุ เสน เอน็ : แกป วดเสนเอน็ ลกั ษณะเดน : ไมต นผลัดใบ สูงถึง 10 ม. ยอดจะพบชันเหนียวสี
บาํ รุงเสนเอน็ (N1-256) เหลอื งใสหมุ ใบเด่ียว เรียงตรงขา มต้งั ฉาก รปู รี-หอกกลับ ยาว
เครือออน 15–30 ซม. แผนใบดานลา งมีขนหนาแนน-ประปราย ดอกเปน
ช่อื ทอ งถิน่ : - หลอดยาว 7–10 ซม. ปลายแยก 5 แฉก สเี หลืองออ น-เหลืองสม
ชื่อวิทยาศาสตร : Congea tomentosa Roxb. มกี ลนิ่ หอม ผลทรงรี ยาว 4–6 ซม. มี 5 เหลี่ยมตามแนวยาวเล็ก
ชอ่ื วงศ : LAMIACEAE นอย
ลกั ษณะเดน : ไมเถาเนื้อแข็ง ยาวถึง 40 ม. ตามกิง่ ออ น ใบ และ
ชอ ดอกมขี นนมุ หนาแนน ใบเดย่ี ว เรยี งตรงขาม รูปรี-รูปไข ยาว
6–15 ซม. ชอดอกออกตามซอกใบหรอื ปลายกง่ิ มใี บประดับ
สีชมพู แยก 3–4 แฉก รปู ไขกลบั -หอกกลับ เปนฐานรองรับดอก
ยอย ดอกยอยขนาดเลก็ สีขาว มีลายสมี ว งแดงกลางดอก
สรรพคณุ
• ทง้ั 5 : แกไอ แกป วดเมอ่ื ย (NE2)

232

สรรพคุณ สรรพคณุ
• เนอ้ื ไม : บํารงุ สมรรถภาพทางเพศ (N1) • แกน : แกป ส สาวะแดงหรือเหลอื ง (NE2)
• แกน : บํารงุ หัวใจ; ราก : แกตกขาว (NE3) • เปลือก : ชว ยบาํ รงุ ธาตุ รักษาโรคกระเพาะ แกพรรดึก; ผลและ
คําแสด ใบ : ตม กับน้ําดมื่ แกหวดั ; เมล็ด : แกไข แกวงิ เวียน; ขนจากผล
ช่ือทอ งถน่ิ : คําแสดปา (ตรงั ), ตองหนงั (อุดรธาน)ี ทีเ่ ปน ผงสีแดง : ใชเ ปน ยาขับพยาธิตวั กลม พยาธติ วั แบน และ
ชื่อวิทยาศาสตร : Mallotus philippensis (Lam.) Mull. Arg. พยาธติ วั ตดื (R56)
ชื่อวงศ : EUPHORBIACEAE ไครน้ ้าํ
ลักษณะเดน : ไมต น สูงถงึ 10 ม. เปลอื กเรยี บ ใบเด่ียว เรยี ง ชื่อทองถ่นิ : ไครน ้าํ (อุดรธานี, พิษณุโลก), ไครนํ้า
เวยี น รูปไข-ขอบขนาน ยาว 10–17 ซม. ขอบใบเรยี บ-หยักซฟ่ี น ตะไครน ้าํ (ตรงั )
มีเสน แขนงใบออกจากโคนใบ 1 คู แผน ใบดา นลา งมีขนสัน้ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Homonoia riparia Lour.
ประปรายและสีขาวนวล ผลทรงกลม กวาง 7–10 มม. มขี ุยสีแดง ชอื่ วงศ : EUPHORBIACEAE
เขมปกคลมุ ลกั ษณะเดน : ไมพมุ สูง 1–4 ม. กง่ิ ออ น แผน ใบดานลา ง และชอ
ดอกมีขนสัน้ ใบเด่ยี ว เรียงเวยี น รปู หอกกลบั แกมรปู แถบยาว
ยาว 10–20 ซม. ขอบใบเรยี บ-หยกั มน ปลายใบเรยี วแหลม ชอ
ดอกเพศผตู ้ังข้ึน เพศเมยี หอ ยลง ยาว 10–15 ซม. สีเหลืองอม
นาํ้ ตาล ผลทรงกลม กวาง 3–5 มม. ตดิ เปน ชอ ยาว, ชอบขนึ้ ตาม
ริมตลงิ่ และแกงหินในลําธารเขตตน นา้ํ
สรรพคุณ
• ราก : ตาํ เอานาํ้ ทาเปน ยาหามเลอื ด, ตม นา้ํ ด่มื เปนยาแกท อ ง
รว ง แกบิด และเปนยาสมานทอ ง; เปลือก : เปน ยาสมานแผล
ยาสมานทอง, ฝนกบั นํ้าปูนใสกินเปน ยาฝาดสมานแผลภายใน

233

แกนา้ํ เหลอื งเสีย; ยางจากลําตน : ใชสมานแผล แกบ ิด ปด ธาตุ
แกน า้ํ เหลอื งเสยี (R18)
• กิ่งหรอื ลําตน : แกป วดฟน (NE3)
• ใบ : แกไ ขต วั รอน ท่ีมอี าการนอนกระสับกระสา ย ชว ยถอนพษิ
ไข (N1)
• ตํารับยาขับน่ิวในไต-ทางเดนิ ปสสาวะ : ชวยขบั นิว่ ในไต และ
ทางเดินปสสาวะ ชว ยลา งไต รกั ษาทางเดนิ ปส สาวะอักเสบ
(S2-14)

บน : ผลออนของไครน้าํ , ลา ง : ไครน ํ้าท่ขี นึ้ ตามริมลําธาร สรรพคุณ
• ตํารบั ยาโรคผวิ หนงั จากเชอื้ รา/แผลติดเชอื้ : แกก ลาก เกลื้อน
แกพิษบาดแผล แผลติดเชอื้ (S1-42)
• ตํารับยาโรคผวิ หนงั จากเชือ้ รา/แกคันจากการแพ : ยาข้ีผงึ้
หรอื ยาหมองทารักษาโรคผิวหนงั จากเช้อื รา เชน กลาก เกลอ้ื น
แกอาการคันตามผวิ หนังทวั่ ไปจากอาการแพ ผ่ืนคัน คันจาก
แมลงสตั วกดั ตอย นํา้ มันจากเมล็ดมีสรรพคณุ เหมือนกบั กระเบา
น้ํา (Hyn_cas) และกระเบาใต (Hyd_cal) (S2-64)
งวิ้ ปา่
ชื่อทอ งถ่นิ : ง้ิวดอกขาว ง้ิวผา (อุดรธาน)ี , งิ้วปา
(พิษณโุ ลก)
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Bombax anceps Pierre
ชอื่ วงศ : MALVACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมต นผลดั ใบ สงู ถึง 40 ม. เปลอื กและกิง่ มหี นาม
แหลมคม ใบเด่ียว เรียงเวยี น ใบประกอบรปู ผามอื มใี บยอย 5–7
ใบ รปู หอกกลบั ยาว 4–15 ซม. แผน ใบเรยี บและเกลี้ยง กา นใบ
ยอยสีเขียว ยาวไมเกิน 1 ซม. ดอกสีขาว กลบี ดอกบานพับกลบั
จนถึงโคนกลีบ ผลเปน ฝกทรงกระบอกแกมรี ยาว 10–15 ซม.
ผลแกแหง แตก มีเสน ใยขาวเปนปุยรอบเมล็ดสีดาํ , เปน พชื ปา พนื้
เมืองของไทย มกั พบตามชายปา พืน้ ทดี่ นิ ปนหนิ และปา ผลดั ใบ

ง่ายอ้ ย
กระเบา กระเบาใหญ (ตรงั )

ชื่อวิทยาศาสตร : Hydnocarpus kurzii (King) Warb.
ช่ือวงศ : ACHARIACEAE
ลักษณะเดน : ไมตน สงู ถงึ 25 ม. เปลอื กเรยี บ กงิ่ ออ นและกาน
ใบมขี นสน้ั ประปราย ใบเดย่ี ว เรยี งสลบั รปู ขอบขนาน ยาว
12–20 ซม. ขอบใบเรยี บ โคนใบเบ้ียวเลก็ นอ ย เสนใบยอ ยเรียง
ตามแนวขวางเห็นชัดเจนทีแ่ ผน ใบดา นลา ง ผิวใบเกล้ียง เนื้อใบ
หนา ผลทรงกลม กวา ง 7–10 ซม. มีขนสีนํ้าตาลปกคลมุ หนา
แนน

234

สรรพคุณ จนั ทนคันนา
• เปลือก : แกผดผ่ืนคัน (N1) จันทนช์ ะมด
• เปลอื ก : แกอาหารเปนพษิ กินผิดสาํ แดง แกทองเสียทองรว ง ชื่อทอ งถน่ิ : จันทนช ะมด (สระแกว, พษิ ณุโลก)
(NE3) ช่อื วิทยาศาสตร : Aglaia silvestris (M. Roem.) Merr.
• ตํารบั ยาโรครดิ สดี วงทวาร : รกั ษารดิ สีดวงทวาร (NE4-027) ชื่อวงศ : MELIACEAE
จนั ทน์คนั นา ลกั ษณะเดน : ไมตน สูงถึง 30 ม. เปลือกแตกสะเก็ด เปลือกใน
ชอ่ื ทองถ่ิน : พลิ งั กาสาปา ปก ษาแหวกรงั สแี ดง ยอดมนี าํ้ ยางสขี าวและมสี ะเกด็ สนี ้ําตาล ใบเรยี งสลับ ใบ
(สระแกว ) ประกอบแบบขนนกปลายคี่ ยาว 20–60 ซม. ใบยอ ย 5–9 คู
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Psychotria adenophylla Wall. เรียงตรงขา ม-เกือบตรงขา ม รูปใบหอก-แกมรูปแถบยาว ยาว
ชือ่ วงศ : RUBIACEAE 7–15 ซม. ปลายใบเรียวแหลม โคนใบสมมาตร-เบ้ียวเล็กนอย
ลักษณะเดน : ไมพุม สูงถงึ 4 ม. ตามกิ่งและใบเกลี้ยง มีหใู บเปน ผิวใบเกลี้ยง ผลคอนขางกลม กวางถึง 2.5 ซม. สุกสีเหลือง-สม
หลอดหมุ ทขี่ อ กง่ิ ใบเดี่ยว เรยี งตรงขา ม รปู ไข-รี ยาว 8–20 ซม.
ท่ีซอกระหวางเสนกลางใบและเสนแขนงใบมีตอ มนูน ชอดอกสี
ขาวอมเขยี ว ต้ังข้ึน ยาว 10–20 ซม. ดอกยอ ยขนาดเล็ก แตก
แขนงสน้ั ชดิ แกนชอดอก
สรรพคณุ
• ราก : แกไ ขต ัวรอน (E2)

235

มีสะเกด็ ปกคลุม, แกน ไมไมมกี ลิน่ หอมแบบจันทนชะมด/จันทน
หอม (Mansonia gagei)
สรรพคณุ
• ทั้ง 5 : บํารุงหวั ใจ (E2)
• แกน : แกไ ขต วั รอน ท่มี อี าการนอนผวานอนเพอ ดว ย (N1)

จันทนชะมด Aglaia silvestris มีเปลือกช้ันในสีแดง

จนั ทนช์ ะมด จันทนช ะมด/จันทนหอม Mansonia gagei
ช่อื ทอ งถิน่ : จันทนช ะมด จนั ทนหอม (พัทลงุ ) จันทน์แดง
ชื่อวิทยาศาสตร : Mansonia gagei J. R. Drumm. ex Prain ชื่อทอ งถ่ิน : จันทนแ ดง (พทั ลุง), จนั ทนแดง
ชื่อวงศ : MALVACEAE จนั ทนผ า (สระแกว )
ลักษณะเดน : ไมต น สูงถึง 30 ม. เปลอื กแตกเปนรอ งตน้ื ตาม ช่ือวิทยาศาสตร : Dracaena cochinchinensis (Lour.) S. C.
แนวยาว เปลอื กชั้นในสเี หลอื งครมี และมีกลิน่ เหม็นเขยี ว (จุดตาง Chen
จากจันทนชะมด Agl_sil) ตามกง่ิ ออน กานใบ และแผนใบดา น ชือ่ วงศ : ASPARAGACEAE
ลางมขี นส้ันนุม-คอนขา งเกลี้ยง มีหใู บทีซ่ อกใบรูปใบหอก ใบเดีย่ ว ลักษณะเดน : ไมพุม สูงถึง 6 ม. ลําตนกลม กวา ง 7–40 ซม.
เรยี งสลับ รูปไข- หอกกลับ ยาว 8–15 ซม. ขอบใบจกั ฟนเลอ่ื ย แกนสีแดงอมสีนา้ํ ตาล ใบเดีย่ ว เรียงเวยี น เปนกระจกุ ท่ปี ลายกิ่ง
โคนใบรูปล่ิม-เวา มีเสน แขนงใบออกจากโคนใบ 1 คู ปลายกาน รูปแถบยาว ยาว 50–70 ซม. กวาง 5–9 ซม. ปลายใบเรยี วแหลม
ใบบวมพอง ผลมปี ก บางสเี ขยี วออ น รปู ขอบขนานปลายโคง ยาว ผิวใบเกล้ียง เนือ้ หนา โคนใบเปนกาบโอบกง่ิ และพบคราบสี
3–5 ซม. มีเมลด็ ตดิ ทโ่ี คนปก แดงนาํ้ หมาก, พบตามหนาผาภเู ขาหินชนิดตาง ๆ แตมกั พบตาม
สรรพคุณ ยอดเขาหนิ ปนู ทั่วประเทศ, แกน ไมท ต่ี ายแลว เมอ่ื มเี ช้ือราลงทาํ ให
• แกน ไมทต่ี ายพราย (ยนื ตน ตาย) : มักจะมกี ลิน่ หอม ใชแกน ไม เปน สีแดงอมสีนาํ้ ตาล มีกล่นิ หอม
ทม่ี กี ล่นิ หอมทาํ เคร่อื งหอมไทยโบราณ เชน ฝนผสมแปงทาตัว สรรพคุณ
ทาํ ดอกไมจ ันทน ฟนเผาศพ แกน ไมท่มี กี ลิน่ หอมหรือใชน ํ้ามันท่ี • แกน : มีรสขมและฝาดเล็กนอ ย ใชสําหรับเปน ยาเยน็ ดบั พิษไข
กลน่ั ออกมาเปนยาสมนุ ไพรชว ยบาํ รงุ หวั ใจ แกโ ลหิตเสีย แกไ ข แกไขไ ดท ุกชนิด ชว ยบาํ รงุ หวั ใจ แกไ ข แกไ ขเ พ่ือดีพิการ จัดอยู
แกดี แกออนเพลีย แกก ระหายน้าํ (R10) ในพกิ ัดจันทนทัง้ หา ไดแก แกน จันทนแดง แกนจันทนขาว/
• ตาํ รบั ยาไขก ําเดาใหญ : แกไขกําเดาใหญ (S2-47) จันทนห อมอนิ เดีย แกน จันทนา แกนจันทนชะมด/จนั ทนหอม
• ตาํ รบั ยาอทุ ัยโอสถ : แกไขตวั รอน แกรอ นในกระหายนาํ้ แก (Man_gag) และแกนจนั ทนเทศ (R84)
ออ นเพลยี ระเหีย่ ใจ เพิ่มความสดชื่น บํารงุ หวั ใจ (S3-22)

236

โคนกาบใบมีคราบน้าํ ยางแหง สแี ดงนํ้าหมาก แกนไมจ นั ทนแ ดง จากตน ที่ตายพราย
• ตาํ รบั ยาไขท ับระดู : แกไ ขทับระดู ระดูผา ไข แกพ ษิ โลหติ ระดู • ตํารับยาหอมนวโกฐ : แกคลื่นเหียนอาเจยี น วงิ เวียน ลมจกุ
แกรอนใน แกคลุมคลง่ั (E1-06) แนนในอก แกล มปลายไข แกอาการสะบดั รอ นสะบัดหนาว
• ตาํ รบั ยาแกไ ขต วั รอน : แกไขต ัวรอน ปวดหวั ถอนพษิ ไข ไข หรือคร่ันเนือ้ คร่นั ตัว รอ นวูบวาบเหมือนจะเปนไข บาํ รงุ
หวดั ไขป อดบวม (S2-01) ประสาท (S3-01)
• ตาํ รบั ยาแกก ษัยไตพิการ : แกกระษยั ไตพกิ าร บํารงุ ไต ชว ย • ตํารับยาหอมอนิ ทจกั ร : แกค ลืน่ เหยี นอาเจียน หนา มืดจะเปน
ขบั ปสสาวะ (S2-09) ลม ลมจกุ เสยี ดแนนหนา อก แนน ทอ ง ทองอืด อาหารไมยอย
• ตํารบั ยาขบั นิ่วในถงุ นํ้าดี : รกั ษานิว่ ในถงุ น้ําดี (S2-11) ปรบั ระบบการหมุนเวยี นเลือดใหดี ชวยบํารุงหวั ใจ (S3-04)
• ตํารับยาจนั ทนลลี า : แกไ ขทบั ระดู แกไ ข ตัวรอน ไขเ ปลีย่ นฤดู • ตาํ รบั ยาประสะจันทนแ ดง : แกไ ข ตัวรอ น รอ นในกระหายนํา้
แกปวด ลดการอักเสบ (S2-16) ไขเซ่ืองซมึ ไขเปล่ยี นฤดู (S3-09)
• ตํารบั ยาแกไ ขต ัวรอน : แกไ ข ตัวรอน ไขเปลย่ี นฤดู (S2-17) • ตํารับยาเทพมงคล : แกไขตวั รอ น ถอนพษิ ไข ไขก าฬ, แก
• ตํารับยาละลายล่มิ เลอื ด : ชวยละลายลิ่มเลอื ด บรรเทาอาการ อาการชกั -ล้ินกระดางคางแขง็ -แนนงิ่ หนาเปลี่ยนส-ี มอี าการ
เสน เลือดตีบ (S2-30) มนึ -กระหายน้าํ หอบพัก, แกโ รคหละ-โรคละออง-โรคซางในเดก็
• ตํารับยาโรคอัมพฤกษ-อัมพาต : รักษาอัมพฤกษ- อัมพาต (S3-11)
(S2-33) • ตํารบั ยาจนั ทนล ลี า : แกไ ขตัวรอน ไขหวัด ไขเ ปลี่ยนฤดู
• ตาํ รบั ยาโรคริดสดี วงทวาร ชนดิ เลอื ดออก : รักษาโรครดิ สีดวง (S3-13)
ทวาร ชนดิ มีเลือดออก (S2-40)
• ตํารับยาไขกําเดาใหญ : แกไขกาํ เดาใหญ (S2-47)
• ตํารบั ยาบํารุงเลือด/หัวใจ/รางกาย : บาํ รงุ เลือด ดูมเี ลือดฝาด
บาํ รงุ หวั ใจ บาํ รุงรางกายท้ังชาย-หญิง แกอาการซูบผอม
(S2-51)
• ตาํ รบั ยาไขบาดทะยัก : แกไขบาดทะยัก (S2-52)
• ตาํ รบั ยาบาํ รุงโลหิตระดู : บํารงุ โลหติ ระดู (S2-56)

237

• ตํารับยาธาตุบรรจบ : แกทอ งเดิน ทองเสยี ทีไ่ มมสี าเหตจุ าก • ตํารบั ยาแกไ ขต วั รอน : แกไ ขต ัวรอ น ปวดหัว ถอนพิษไข ไข
การติดเช้อื ไมมไี ขแทรก, แกท อ งอดื ทอ งเฟอ แกธ าตุไมปกติ หวัด ไขปอดบวม (S2-01)
หรอื พิการ (S3-15) • ตํารับยาแกกษยั ไตพิการ : แกกระษัย ไตพิการ บาํ รงุ ไต, ชว ย
• ตํารับยาอุทยั โอสถ : แกไขต ัวรอ น แกร อนในกระหายน้ํา แก ขบั ปสสาวะ (S2-09)
ออนเพลยี ระเหี่ยใจ เพิม่ ความสดชืน่ บาํ รงุ หัวใจ (S3-22) • ตํารับยาแกไ ขตัวรอ น : แกไ ข ตัวรอน ไขเ ปลยี่ นฤดู (S2-17)
• ตํารบั ยาแกไ ขต วั รอน : แกไขต ัวรอ น (S3-23) • ตาํ รบั ยาละลายลิ่มเลือด : ชวยละลายลม่ิ เลือด บรรเทาอาการ
• ตํารบั ยาแกพิษกินผิดสําแดง : แกพ ิษกินผิดสาํ แดง กินของ เสน เลอื ดตีบ (S2-30)
แสลง (S3-35) • ตํารบั ยาโรคอมั พฤกษ-อัมพาต : รกั ษาอมั พฤกษ- อมั พาต
• ตํารบั ยาแกทองผูก : แกท องผกู ชวยระบายทอง (S3-37) (S2-33)
• ตาํ รบั ยาหอม (สูตรพ้นื บา น) : แกเปนลม วิงเวยี นศรษี ะ หนา • ตาํ รับยาโรครดิ สีดวงทวาร ชนดิ เลอื ดออก : รักษาโรคริดสดี วง
มืดตาลาย (S3-40) ทวาร ชนดิ มีเลือดออก (S2-40)
• ตาํ รบั ยาแกปลายไข (ไขร ะยะปลาย) : แกปลายไข (ไขในระยะ • ตาํ รบั ยาไขเ ลอื ดออก : รกั ษาไขเ ลอื ดออก ซึ่งมีอาการรอนในสงู
ปลาย : เปนไขต ัวรอ น ไขกาฬ ไขกาํ เดา มาแลว หลายวัน ชวย ปวดเมอ่ื ยตามรางกาย ปวดศีรษะ สะทานรอ น-หนาว (S2-44)
ทาํ ใหหายไขเรว็ ขนึ้ ชว ยแกธาตุ คุมธาตุใหสมดุล เปน ยาระบาย • ตาํ รับยาไขกําเดาใหญ : แกไขก ําเดาใหญ (S2-47)
ออน ๆ และชวยใหเจรญิ อาหาร) (S3-45)
• ตํารับยาไขห วดั : แกไขห วดั (S3-46)
• ตาํ รับยาไขร อ นในกระหายนํา้ /ทองเสยี แบบมไี ข : แกไขร อน
ในกระหายนํ้า แกทอ งเสยี แบบมไี ข แกไ ขอาเจียน แกไ ขน อนไม
หลับ (S3-47)
• ตาํ รบั ยาไขห ัด/ไขอ ีสกุ อีใส/ไขอ ีดาํ อแี ดง : แกไขหัด ไขเหอื ด
(หัดเยอรมนั ) ไขอสี ุกอใี ส ไขอ ดี ําอแี ดง กระทุง พิษไข (S3-48)
• ตํารบั ยาโรคดีซา น : รกั ษาโรคดซี า น (S3-52)

จนั ทนา แกนของจนั ทนา
ชอ่ื ทองถ่นิ : จันทนขาว จนั ทนา (พัทลุง, ตรงั ),
จนั ทนา (ฉะเชงิ เทรา)
ชอ่ื วิทยาศาสตร : Tarenna hoaensis Pit.
ชื่อวงศ : RUBIACEAE
ลักษณะเดน ไมพมุ สูงถงึ 4 ม. มีหใู บระหวางโคนกานใบรูป
สามเหลยี่ ม ปลายเรยี วแหลม ตามกิง่ ออนและแผนใบดานลา งมี
ขนส้ัน-ประปราย ใบเด่ยี ว เรยี งตรงขาม รปู ไข- รี ยาว 8–13 ซม.
มตี อมทีซ่ อกระหวางเสนกลางใบและเสนแขนงใบ เนอ้ื ใบหนา ชอ
ดอกสีขาวครีม มกี ลน่ิ หอม ผลทรงกลม กวาง 6–8 มม., แกน ไม
ไมม กี ลนิ่ หอม, พบตามปาดงดบิ แลง ท่ัวประเทศ, คนสว นใหญมกั
เขา ใจผิดวาจนั ทนาเปน ชนดิ เดยี วกับ จนั ทนขาวหรือจันทนหอม
อนิ เดีย (Santalum album L.) แตอยางไรก็ตามพืชท้งั สองชนดิ
มสี รรพคณุ คลา ยกันและมกั จะใชเขา ยารวมกนั หลายตาํ รบั เพ่ือ
เสรมิ ฤทธิก์ นั เชน พิกัดจนั ทนท งั้ หา
สรรพคณุ
• แกนหรือเนื้อไม : บํารงุ เลือด-ลม บาํ รุงหัวใจ แกไข แกร อนใน
กระหายนาํ้ แกไ ขท่ีเกิดจากตบั และดี (R85)
• ตํารับยาไขทบั ระดู : แกไ ขท บั ระดู ระดูผา ไข แกพ ิษโลหิตระดู
แกร อ นใน แกคลมุ คล่งั (E1-06)

238

• ตํารับยาบํารงุ เลือด/หัวใจ/รางกาย : บาํ รุงเลอื ด ดูมีเลอื ดฝาด บน : ดอก, ลา ง : ผลแก
บํารุงหัวใจ บาํ รุงรา งกายทัง้ ชาย-หญิง แกอ าการซบู ผอม จิกนม
(S2-51) ชอ่ื ทอ งถน่ิ : จิกนม จิกเขา (ตรัง)
• ตํารับยาไขบาดทะยกั : แกไ ขบ าดทะยัก (S2-52) ชื่อวทิ ยาศาสตร : Barringtonia macrostachya (Jack) Kurz
• ตํารบั ยาบํารุงโลหติ ระดู : บํารงุ โลหิตระดู (S2-56) ช่ือวงศ : LECYTHIDACEAE
• ตาํ รับยาหอมอนิ ทจกั ร : แกคลื่นเหียนอาเจยี น หนามืดจะเปน ลกั ษณะเดน : ไมตน สูงถึง 15 ม. เปลือกเรยี บ-แตกสะเกด็ รอ น
ลม ลมจกุ เสียดแนน หนา อก แนนทอง ทอ งอดื อาหารไมยอ ย ก่ิงออ นเกลี้ยง ใบเด่ยี ว เรยี งเวยี น รปู หอกกลับ ยาว 15–30 ซม.
ปรบั ระบบการหมนุ เวยี นเลอื ดใหด ี ชว ยบาํ รงุ หวั ใจ (S3-04) ขอบใบจักฟนเลือ่ ยถี่ ผวิ ใบเกลย้ี งมันเงา โคนใบสอบ กานใบยาว
• ตาํ รบั ยาเทพมงคล : แกไขต ัวรอ น ถอนพษิ ไข ไขก าฬ, แก 2–4 ซม. ชอ ดอกยาว 30–50 ซม. หอ ยลง กานชอ และกลีบเล้ียง
อาการชกั -ลิ้นกระดา งคางแข็ง-แนน่งิ หนาเปล่ยี นส-ี มีอาการ สีแดงอมมวงเขม กลีบเลี้ยงและกลีบดอก 4 กลบี กลบี ดอกสี
มึน-กระหายน้ําหอบพกั , แกโ รคหละ-โรคละออง-โรคซางในเดก็ แดง-ชมพู เกสรเพศผูส ีขาวครมี มกี ลิน่ หอมเอียน ไมม กี า นดอก
(S3-11) ยอย ผลรปู รยี าว ยาว 4–6 ซม. ผิวกลมไมเปน เหล่ยี ม, พบขน้ึ ใกล
• ตาํ รับยาจันทนล ลี า : แกไ ขตวั รอน ไขห วดั ไขเปลีย่ นฤดู ลําธาร หรอื ทร่ี าบเชิงเขาในเขตพืน้ ท่ีตน น้ํา
(S3-13)
• ตํารับยาอุทยั โอสถ : แกไขตวั รอน แกร อนในกระหายนาํ้ แก
ออนเพลียระเหยี่ ใจ เพิ่มความสดชน่ื บํารงุ หัวใจ (S3-22)
• ตํารบั ยาแกไขต ัวรอ น : แกไขต ัวรอ น (S3-23)
• ตาํ รบั ยาแกพ ิษกนิ ผิดสาํ แดง : แกพษิ กนิ ผดิ สําแดง กนิ ของ
แสลง (S3-35)
• ตํารับยาแกท อ งผูก : แกทอ งผกู ชว ยระบายทอง (S3-37)
• ตาํ รบั ยาหอม (สูตรพื้นบา น) : แกเ ปนลม วงิ เวยี นศรษี ะ หนา
มดื ตาลาย (S3-40)
• ตํารบั ยาแกต นไข (ไขระยะแรก) : แกต น ไข (ไขเบ้ืองตน หรือไข
ระยะแรก เชน ไขตัวรอน ไขก าฬ ไขพ ษิ ไขก ําเดา) (S3-44)
• ตํารบั ยาไขหัด/ไขอีสกุ อีใส/ไขอ ีดําอแี ดง : แกไขห ดั ไขเหอื ด
(หัดเยอรมนั ) ไขอสี ุกอใี ส ไขอ ีดาํ อแี ดง กระทงุ พิษไข (S3-48)
จําปนู
ช่อื ทอ งถน่ิ : จําปนู (ตรัง)
ช่อื วิทยาศาสตร : Anaxagorea javanica Blume var.
javanica
ชื่อวงศ : ANNONACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมพุม สูง 2–5 ม. ตามกิ่งออนและใบเกลี้ยง
ใบเดีย่ ว เรยี งสลบั รปู ร-ี ไขก ลับ ยาว 12–20 ซม. เสนแขนงใบ
ดา นบนแผน ใบมกั เปน รอยกด ดอกเดยี่ ว สีขาว กลีบดอกรูปไข
กวาง ยาว 12–15 มม. เนือ้ หนามาก มีกลิน่ หอมเยน็ คลายดอก
นมแมว ผลรปู ลกู ตุม ยาว 2–4 ซม. ตดิ 1–10 ผล/กลมุ
สรรพคณุ
• ตํารบั ยาบํารงุ กําลงั : ชว ยบํารงุ กําลงั (S2-74)

239

สรรพคณุ สรรพคุณ
• ใบ : จุกเสียด แกบ ดิ ทอ งรวง (S1) • ตํารับยาขบั เสมหะในลําคอ-อก/แกโ รคหอบหดื : ชวยขบั
จงิ จอ้ เหลีย่ ม เสมหะในลําคอ-อก แกหอบหดื (S2-08)
ช่อื ทอ งถน่ิ : จงิ จอ จิงจอเหลี่ยม(ตรัง) • ตาํ รบั ยาโรคอมั พาตระยะแรก : แกอาการกงึ่ อมั พาตหรอื
ชอื่ วทิ ยาศาสตร : Operculina turpethum (L.) Silva Manso อมั พาตระยะแรก กลา มเน้ือออ นแรง เดนิ ยนื ไมปกติ เหนบ็ ชา
ช่อื วงศ : CONVOLVULACEAE (S2-24)
ลกั ษณะเดน : ไมเ ถาลมลกุ ยาวถึง 10 ม. ไมม ีมอื พนั ตามเถา • ตํารับยาโรคอมั พฤกษ-อมั พาต : รกั ษาอัมพฤกษ- อัมพาต
และใบมขี นหนานุม ยอดมีน้ํายางสีขาว จดุ เดน ทเ่ี ถาเปน (S2-32)
เหล่ียม-ครีบ 4–6 เหล่ียม ใบเดี่ยว เรียงสลบั รูปหัวใจ ยาว 9–22 • ตํารบั ยาแกเหน็บชา : แกเหน็บชา อาการชาตามปลายมอื
ซม. กลบี ดอกรูปแตร สีขาว เมื่อบานกวา ง 7–10 ซม. ผลมกี ลบี ปลายเทา (S2-63)
เลี้ยงอวบหนาขยายหมุ เมลด็ คลา ยดอกบัวตูม สชี มพอู มมวง กวาง เจตพังคี
3–5 ซม. ชือ่ ทอ งถนิ่ : เจตพงั คีปา (สระแกว )
ชอ่ื วิทยาศาสตร : Cladogynos orientalis Zipp. ex Span.
ชอ่ื วงศ : EUPHORBIACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมพ ุม สูงถงึ 1.5 ม. ตามกง่ิ และแผน ใบดา นลางมี
สะเก็ดและขนสขี าวหนาแนน ใบเด่ียว เรียงเวียน รูปไขก ลบั ยาว
10–18 ซม. ขอบใบจกั ฟน เลอื่ ยแหลมตามตําแหนงปลายเสน
แขนงใบ ดอกสีเหลอื ง ผลกลมแบน กวา ง 1 ซม. มี 3 พู และมี
กลีบเลี้ยงขยายตวั รองผล ยาว 2 เทาของผล
สรรพคุณ
• ท้งั 5 : บํารุงหวั ใจ แกว ิงเวียน (E2)

เถาจงิ จอ เหล่ยี ม

240

ผลของเจตพังคี สรรพคณุ
เจตมูลเพลิงขาว • ราก : มสี รรพคณุ คลา ยเจตมลู เพลงิ แดง (Plumbago indica
ชอื่ ทอ งถนิ่ : เจตมูลเพลิงขาว (พิษณุโลก) L.) มรี สรอ น เปน ยาบํารงุ ธาตุไฟในรางกาย บํารุงโลหิต ขับลม
ช่ือวิทยาศาสตร : Plumbago zeylanica L. ในลําไสและกระเพาะอาหาร แตเจตมลู เพลงิ ขาวออกฤทธิ์เบา
ชื่อวงศ : PLUMBAGINACEAE กวา สามารถใชแทนกนั ได (S2)
ลักษณะเดน : ไมล ม ลกุ สูงถึง 1 ม. ตามกงิ่ ออ นและใบ เกลีย้ ง ก่งิ • ตาํ รับยาเบญจกลู : บาํ รุงธาตุ ปรบั สมดลุ ธาตุ (ดิน นา้ํ ลม ไฟ)
มีเหลี่ยมเลก็ นอ ย ใบเด่ยี ว รปู ไขก วา ง ยาว 5–10 ซม. แผนใบ ชวยใหเลือดไหลเวยี นดี แกท อ งอืด ชวยขับลม (N1-268)
ดา นบนมีรอยกดตามแนวเสน ใบเลก็ นอ ย กา นใบยาวถงึ 1 ซม. แจง
เปน รองดานบน โคนโอบกิ่ง ดอกเปนหลอดสขี าวคลา ยดอกเขม็ ช่อื ทอ งถน่ิ : แจง (พิษณโุ ลก)
เกสรสีมวง กลบี เลย้ี งสเี ขียวมขี นปลายเปน ตอ มเหนียว, เปนพชื ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Maerua siamensis (Kurz) Pax
ปาพื้นเมอื งของไทย พบตามชายปา เบญจพรรณและปาดงดบิ ชื่อวงศ : CAPPARACEAE
ลักษณะเดน : ไมพมุ สูงถงึ 8 ม. เปลอื กเรียบ ตนใหญก่งิ แตก
หนาแนน ปลายโนม ยอ ยลง ใบเรียงเวียน ใบประกอบมี 3 ใบยอ ย
รูปหอกกลับ ยาว 2–10 ซม. ปลายใบบมุ ผวิ ใบเกลย้ี ง กานใบ
ยาว 1–6 ซม. โคนกา นใบบวม ดอกสีเขยี วอมเหลือง ผลรี-กลม
กวาง 1–2.5 ซม. ผิวขรขุ ระ

241
• เปลอื กและราก : แกไ ขตวั รอ น แกท อ งรว ง แกแ ผลอักเสบ ชว ย
สมานแผล (NE3)
• ราก : ตมน้ําดืม่ เปนยาถา ยพยาธิ ขับพยาธเิ สนดาย พยาธิ
ไสเดอื น แกอุจจาระเปน ฟอง แกพษิ ตานซาง; ใบ : ตําพอกแก
บาดแผลอักเสบ แกฝ ห นอง ปวดศรี ษะ แกท องอดื ทองเฟอ ; ผล
และเมล็ด : ตําแชใ นนา้ํ มนั ทาแกโรคผิวหนงั สมานแผล แกฝ
ชนดิ ตา ง ๆ (R18)

เปลอื กและเน้ือไมแ จง
สรรพคุณ
• ราก : ตมในนาํ้ สะอาด ด่ืม บํารงุ กาํ ลงั ขบั ปสสาวะ แกป ส สาวะ
พิการ แกปวดเมือ่ ย แกกษยั (R36)
• ตาํ รับยาแกปวดเม่ือย/ชาตามปลายมอื -เทา : แกป วดเมื่อย
ตามรา งกาย แกอ าการชาตามปลายมอื ปลายเทา (S2-36)
• ตํารับยารกั ษาตอ มลกู หมากโต : แกตอ มลูกหมากโต (S2-48)
• ตํารบั ยาประสะกานพลู : แกปวดทอ งจากอาการจุกเสียดแนน
ทอ งอืดทอ งเฟอ อาหารไมย อ ย หรือธาตไุ มปกติ ชว ยขบั ลม
(S3-05)
• ตํารับยาโรคดซี า น : รักษาโรคดีซา น (S3-52)

เฉียงพรา้ นางแอ • เปลอื ก : แกบ ดิ แก
ช่อื ทอ งถิ่น : เฉียงพรา นางแอ (สระแกว, ทอ งเสีย ทอ งอดื ทอง
พษิ ณโุ ลก), เฉยี งพรา นางแอ คอแหง (ตรงั ), บง มัง่ เฟอ ปวดทอ ง (S1)
(อุดรธานี) • ตาํ รบั ยาแกไขตัวรอน
ช่ือวทิ ยาศาสตร : Carallia brachiata (Lour.) Merr. : แกไข ตัวรอ น ไข
ชื่อวงศ : RHIZOPHORACEAE เปลย่ี นฤดู (S2-17)
ลกั ษณะเดน : ไมตน สงู ถึง 30 ม. แตกก่งิ ตรงขา ม กิ่งและใบ
เกลี้ยง ปลายยอดมีหูใบหุมเปนแทงยาวแหลม ยาว 1–2 ซม.
ใบเดี่ยว เรียงตรงขามต้งั ฉาก รูปร-ี รูปไข ยาว 8–13 ซม. เนอื้ ใบ
หนา กา นใบยาว 5–10 มม. ดอกสขี าวอมเขยี ว ผลทรงกลม กวาง
6–10 มม. สกุ สีแดง เนอ้ื ผลฉา่ํ น้ํา
สรรพคณุ
• เนอ้ื ไม : บํารุงกาํ ลงั (E2)
• เปลอื กและ ใบ : แกไข (N1)

242

ชมพู ่น้าํ ช้องแมว
ชือ่ ทอ งถ่ิน : ชมพูน้ํา (ตรัง, สระแกว, พิษณุโลก) ช่ือทอ งถน่ิ : ชองแมว (ตรัง, พิษณุโลก),
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Syzygium siamense (Craib) Chantar. & หนามแทงใบมน ระเอยี งใบมน (สระแกว )
Parn. ชื่อวิทยาศาสตร : Gmelina asiatica L.
ชอื่ วงศ : MYRTACEAE ชือ่ วงศ : LAMIACEAE
ลักษณะเดน : ไมตน สงู ถงึ 10 ม. เปลอื กเรยี บ ใบเดย่ี ว เรียงตรง ลักษณะเดน : ไมพมุ รอเล้ือย ยาวถงึ 10 ม. ตามกง่ิ ออน ชอ ดอก
ขาม รปู ขอบขนาน ยาว 13–20 ซม. ผิวใบเกลี้ยง เสน แขนงใบ และแผน ใบดานลา งมีขนส้ันนุมสีนาํ้ ตาลออ น ตนอายุนอ ยเปลือก
ปลายโคงจรดกนั ใกลขอบใบ คลา ยใบชมพู ชอ ดอกเปน กระจกุ สน้ั มีหนาม ใบเดีย่ ว เรียงตรงขา มตง้ั ฉาก รปู ไข- ร-ี ไขก ลบั ยาว 3–9
กลบี เล้ียงและกลีบดอก 4 กลีบ สีเขยี วออ น-สีแดงอมชมพู เกสร ซม. ปลายใบมน-แหลม ชอ ดอกออกตามปลายกง่ิ ดอกเปนหลอด
เพศผูจ ํานวนมาก สีเขียว-แดงอมชมพู ผลทรงกลม กวา ง 2.5–4 ปองชว งปลาย สีเหลือง ยาว 3–5 ซม. กลีบเล้ียงมตี อมนูน ผล
ซม. ผวิ เกลยี้ ง, ชอบขึ้นตามริมน้าํ ในปาดงดบิ ทรงกลม-แกมเบีย้ ว กวาง 1.5–3 ซม. ผิวเกล้ยี ง สุกสเี หลือง

สรรพคณุ สรรพคณุ
• แกน ราก หรอื เปลอื ก : ใชเขา ยา รกั ษาโรคผวิ หนัง (E2) • ราก : รากกา นเหลอื ง เปลือกกระทุมโคก รากตอไส รากชอ ง
• เปลือกและเน้อื ไม : แกไขต วั รอ น ที่มีอาการนอน แมวหรอื ทองแมว รากกะเจียน ตม รวมกันมีสรรพคุณบํารงุ เลอื ด
กระวนกระวายดว ย (N1) ขับน้ําคาวปลาหลงั คลอด แกปวดเมอื่ ย (R35)
• ตาํ รับยาไขอ สี ุกอีใส : แกโรคอีสกุ อีใส หรอื ไขส กุ ใส (S2-37) • ผลสด : ผลสดตาํ ใหล ะเอียด ใชท าผิวหนงั หรือพอกรักษาโรค
ผิวหนัง; ใบสดหรือแหง : ตําใหล ะเอยี ดทาและพอกชว ยสมาน
บาดแผล แกปวด แกบ วม (E2)
• เนื้อผลสด : ทุบแลวนา้ํ มาทารกั ษานาํ้ กัดเทา (S2)
• ตํารบั ยาบํารุงนา้ํ นม : บาํ รงุ นาํ้ นม ชว ยขับน้าํ นม (N1-255)
• ตาํ รับยาบาํ รงุ นา้ํ นม : บาํ รุงนํา้ นม (N1-270)

243

ชะเนียง ชะมวง

ชอื่ ทองถิน่ : เนียง (ตรัง) ช่ือทองถิ่น : สมโมง (อดุ รธาน)ี
ชื่อวทิ ยาศาสตร : Archidendron jiringa (Jack) I. C. Nielsen ชื่อวทิ ยาศาสตร : Garcinia cowa Roxb. ex Choisy
ชื่อวงศ : FABACEAE ชื่อวงศ : CLUSIACEAE
ลักษณะเดน : ไมตน สูงถึง 10 ม. เปลือกเรยี บ ตามกิง่ ออน ลักษณะเดน : ไมต น สูงถงึ 30 ม. เปลอื กในมนี ํ้ายางสเี หลอื งขุน
เกลี้ยง ใบเรยี งสลับ ใบประกอบแบบขนนก 2 ชน้ั มชี อ ใบยอย 1 กิ่งออนและใบเกลย้ี ง ใบเดีย่ ว เรยี งตรงขา ม รปู ร-ี แกมขอบขนาน
คู มีใบยอ ย 2–3 คู รปู ใบหอก ยาว 6–13 ซม. ผวิ เกล้ียง ชอ ดอก ยาว 10–20 ซม. เสนแขนงใบเห็นไมชัด เนอื้ ใบหนา ใบออ นมีรส
เปนกระจกุ สีขาว ออกตามกิง่ ผลแบบฝก บดิ เปน เกลยี วและมว น เปร้ยี ว ผลทรงกลมแบน กวา ง 4–5 ซม. มรี อ งตามแนวตัง้ หรือ
บวมนูนตามตาํ แหนงเมล็ด เมลด็ กลมแบน กวา ง 4–6 ซม. ผวิ ไมมีกไ็ ด ปลายผลมจี กุ กลมสีดาํ ผลสุกสีเหลือง-สม
เกลีย้ ง ฝกแกสีน้ําตาลเขม เมล็ดมีกล่นิ ฉุน
สรรพคณุ
• เมล็ด : กินเปนผักสดหรือตม ชวยลดเบาหวาน และขับ
ปส สาวะ; ขเ้ี ถาจากการเผาใบแก : ใชป อ งกันอาการคัน, ขเี้ ถา
จากใบออ น : ใชใ นการโรยรักษาแผลจากการขลิบหนงั หมุ ปลาย
องคชาต (R75)
• ใบ : ตําแลว ใชทาหรอื พอกรกั ษาโรคผวิ หนัง (S2)

บน : ชอ ดอกชะเนียง, ลาง : ผลออน สรรพคุณ
• ใบออน : มีรสเปรี้ยวทานแกไ ขตวั รอน ขบั เสมหะ แกกระหายน้าํ
ใชปรงุ อาหาร เชน ตม ปลา (NE2)
ชะมวงปา่
ช่อื ทอ งถ่ิน : ชะมวงชา ง (ตรัง)
ช่อื วทิ ยาศาสตร : Garcinia bancana Miq.
ชอ่ื วงศ : CLUSIACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมตน สงู ถงึ 40 ม. เปลือกในมีนา้ํ ยางสเี หลอื งขุน
แตกก่ิงตง้ั ฉากกบั ลาํ ตน รปู กรวยแหลม ก่ิงออนและใบเกลยี้ ง มี
ลกั ษณะคลายชะมวง (Gar_cow) จดุ ตางท่ชี ะมวงปา มีใบและผล
ที่ใหญก วา รปู รีกวาง กวาง 9–15 ซม. ยาว 10–20 ซม. ผลทรง

244
• ตํารบั ยาโรคอมั พฤกษ-อัมพาต : รกั ษาอมั พฤกษ-อมั พาต
(S2-33)
• ตาํ รับยาไขก ําเดาใหญ : แกไ ขก าํ เดาใหญ (S2-47)
• ตํารบั ยาบาํ รงุ เลอื ด/หวั ใจ/รางกาย : บํารงุ เลอื ด ดมู ีเลอื ดฝาด
บาํ รุงหัวใจ บํารงุ รา งกายท้ังชาย-หญงิ แกอ าการซูบผอม
(S2-51)
• ตํารบั ยาบํารุงโลหิตระดู : บาํ รุงโลหิตระดู (S2-56)
• ตํารับยาบํารุงรกั ษามดลกู : ชวยบํารุงรกั ษามดลกู บํารงุ สตรี
หลังคลอด มดลกู พกิ าร (S2-60)

กลม กวาง 6–8 ซม. ผิวเรยี บไมมีรอง ปลายผลกลม-บมุ ผลสุกสี
เหลอื ง, พบในปาดงดบิ ชื้นภาคใต
สรรพคณุ
• ตาํ รบั ยาขับเสมหะ : ชวยขบั เสมหะในอกและลําคอ (S2-05)
• ตํารับยาขับเสมหะในลําคอ-อก/แกโ รคหอบหืด : ชวยขบั
เสมหะในลําคอ-อก แกห อบหดื (S2-08)

ชะลูด ซาย : เถาชะลดู , ขวา : ชนั เหนียวสสี มทีย่ อด
ชอ่ื ทองถนิ่ : ชะลดู (พัทลงุ , ตรัง), ชะลดู หอม เปลือกเถาชะลูด
(พษิ ณโุ ลก)
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Alyxia reinwardtii Blume
ชื่อวงศ : APOCYNACEAE
ลักษณะเดน : ไมเถาเนื้อแขง็ ยาวถงึ 20 ม. ทกุ สวนมีน้าํ ยางสี
ขาวขุน เถาเรยี บ มีชออากาศเปน ตมุ กระจาย จุดเดนอยูที่ บริเวณ
ขอนูนเปนสัน ยอดมชี นั เหนยี วสีสม และเปลือกเถามีกลนิ่ หอม
(ท้ังตอนสดและแหง), ใบเรียงรอบขอ 2–3 ใบ/ขอ รปู รี-แกมขอบ
ขนาน ยาว 4–13 ซม. ผวิ ใบเกลยี้ ง เสน แขนงใบจํานวนมาก ดอก
เปน หลอดสีครมี กลีบสขี าว ผลทรงกลม กวา ง 1–1.5 ซม.
สรรพคุณ
• เปลือกและเนอื้ ไม : มีกลน่ิ หอม ชวยบํารุงหวั ใจ แกวงิ เวยี น
ชว ยขับลม, นํามาทําใหแหงก็ยงั มกี ล่ินหอม ใชอบผาใหห อม
แตงกล่ินเครือ่ งหอม หรือปรงุ แตง กลิ่นขนม (N1)

245

• ตาํ รับยาหอมนวโกฐ : แกค ลน่ื เหียนอาเจยี น วงิ เวยี น ลมจกุ สรรพคุณ
แนนในอก แกลมปลายไข แกอ าการสะบดั รอ นสะบดั หนาว • เปลอื กสดหรือแหง : รสหวานชมุ คอ ชะเอมปา จะมีรสหวาน
หรือครน่ั เนอ้ื ครัน่ ตัว รอนวบู วาบเหมอื นจะเปนไข บาํ รุง เฉพาะทเ่ี ปลือกเทาน้ัน สามารถใชแทนชะเอมเทศ/ชะเอมจนี
ประสาท (S3-01) (Glycyrrhiza glabra L.) แตจ ะหวานไมมากเทา ซึ่งนอกจาก
• ตาํ รบั ยาหอมอินทจกั ร : แกคลื่นเหียนอาเจียน หนา มดื จะเปน เปลือกแลว เน้ือไมกย็ งั หวานอีกดวย (S2)
ลม ลมจุกเสียดแนน หนาอก แนนทอง ทอ งอดื อาหารไมยอ ย • เปลือก : บาํ รุงกาํ ลงั มีรสหวานชว ยใหช ุม คอ (N1)
ปรับระบบการหมนุ เวยี นเลือดใหด ี ชวยบาํ รงุ หวั ใจ (S3-04) • ตาํ รับยาโรคความดนั โลหิตสูง/โรคเบาหวาน : ชว ยลดความ
ชะเอมปา่ ดันโลหติ สูง เบาหวาน ลดไขมันในเลือด (S1-15)
ชอ่ื ทองถิ่น : ชะเอมไทย (พิษณโุ ลก), ชะเอมไทย • ตาํ รบั ยากาํ ลงั ฮอสะพายควาย : บาํ รงุ กําลงั แกปวดเม่อื ยตาม
ออ ยชา ง (พทั ลงุ , ตรงั ) รา งกาย (S1-43)
ชื่อวทิ ยาศาสตร : Albizia myriophylla Benth. • ตาํ รับยาโรคเบาหวาน : แกโรคเบาหวาน (S2-22)
ชอื่ วงศ : FABACEAE • ตาํ รบั ยาไขห วัดใหญ : แกไ ขห วัดใหญ (S2-57)
ลกั ษณะเดน : ไมเถาเน้อื แข็ง ยาวถึง 30 ม. เปลือกเรยี บ-ขรุขระ • ตํารับยาอุทัยโอสถ : แกไขตัวรอ น แกร อนในกระหายน้าํ แก
จุดเดน ทเ่ี ปลือกช้นั ในสีครมี มรี สหวาน เถาไมม ีหนาม ใบประกอบ ออนเพลยี ละเห่ียใจ เพิม่ ความสดช่นื บาํ รุงหวั ใจ (S3-22)
แบบขนนก 2 ช้ัน คลายใบชะอม แตไ มมกี ล่ินฉุน กา นและแกนใบ ชา้ พลู
มีขนสีนาํ้ ตาลแดง, ชอ ดอกสขี าว เปน กระจกุ คลายพู สขี าว ผล ช่ือทองถน่ิ : ชะพลู (พทั ลงุ ), ชะพลู ผักไร (ตรัง),
แบบฝก แบน รูปขอบขนานยาว 10–15 ซม. ชะพูล (พษิ ณุโลก), ผกั อเี ลิด อีเลดิ (อุดรธานี)
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Piper sarmentosum Roxb.
เปลอื กและเนือ้ ไมชะเอมปา ชอ่ื วงศ : PIPERACEAE
ลักษณะเดน : ไมล มลุก สูงถงึ 80 ซม. ลาํ ตนตัง้ ตรง มขี อ ปลอง
ใบเดยี่ ว เรยี งสลบั รปู หวั ใจ-รปู ไข ยาว 8–15 ซม. แผน ใบดานบน
มันเงา มรี อยกดตามแนวเสนใบ มเี สนใบออกจากโคนใบ 3–5
เสน ชอดอกเปนแทงสีขาว ยาว 2–4 ซม. ต้ังตรง
สรรพคณุ
• ตาํ รบั ยาเบญจกลู : บํารงุ ธาตุ ปรบั สมดลุ ธาตุ (ดนิ น้าํ ลม ไฟ)
ชว ยใหเลือดไหลเวยี นดี แกทอ งอืด ชวยขบั ลม (N1-268)
• ตํารับยาแกปวดฟน /เหงือกอักเสบ : แกปวดฟน เหงอื กอกั เสบ
(NE2-021)
• ตาํ รบั ยาแกกษัยไตพกิ าร : แกก ระษัย ไตพิการ บาํ รุงไต, ชว ย
ขบั ปสสาวะ (S2-09)
• ตํารับยาโรคภมู แิ พ : แกโรคภูมิแพ (S2-18)
• ตาํ รับยาโรคไมเกรน/วงิ เวยี นศรี ษะ : แกโ รคไมเกรน แกว ิง
เวยี นศีรษะ (S2-21)
• ตาํ รบั ยาโรคอมั พาตระยะแรก : แกอาการกึง่ อมั พาตหรอื
อัมพาตระยะแรก กลา มเนือ้ ออ นแรง เดินยืนไมปกติ เหนบ็ ชา
(S2-24)
• ตํารบั ยาปรับธาตุ/ปวดเมือ่ ย/ปวดขอ-เอน็ : ชวยปรบั ธาตุ แก
ปวดเมื่อย ปวดเขา-ขอ -เอน็ แกเอ็นพกิ าร (S2-26)
• ตาํ รับยาโรคประดงเลือด : แกป ระดงเลอื ด เลอื ดขนึ้ มอี าการ
คนั ตามผิวหนัง (S2-27)
• ตํารับยาละลายลม่ิ เลือด : ชวยละลายล่มิ เลือด บรรเทาอาการ
เสนเลือดตีบ (S2-30)

246
• ตาํ รับยาโรคอัมพฤกษ-อัมพาต : รักษาอมั พฤกษ- อมั พาต
(S2-32)
• ตํารบั ยาไขเ ลอื ดออก : รกั ษาไขเลือดออก ซึ่งมอี าการรอ นในสงู
ปวดเม่ือยตามรางกาย ปวดศีรษะ สะทานรอ น-หนาว (S2-43)
• ตาํ รบั ยาไขก ําเดาใหญ : แกไขกําเดาใหญ (S2-47)
• ตํารับยาโรคภูมิแพ : แกภมู ิแพ (S2-49)
• ตํารับยาบํารงุ โลหิตสตรีโดยตรง/ประจาํ เดอื นเปนปกติ :
บาํ รุงโลหติ ของสตรีโดยตรง รักษาอาการประจําเดือนใหเ ปน
ปกติ แกโลหติ ระดเู สีย บาํ รุงธาตุ (S2-50)
• ตาํ รับยาบาํ รุงเลอื ด/หวั ใจ/รา งกาย : บํารงุ เลือด ดมู ีเลือดฝาด
บํารงุ หวั ใจ บํารุงรา งกายทงั้ ชาย-หญงิ แกอาการซูบผอม
(S2-51)

บน : ชอ ดอกชา พลู, ลา ง : ตน และราก

• ตํารบั ยาไขหวัดใหญ : แกไขหวัดใหญ (S2-57) ชายผ้าสดี า
• ตาํ รบั ยาแกเหนบ็ ชา : แกเหน็บชา อาการชาตามปลายมือ ช่อื ทอ งถ่นิ : ชายผาสีดา (อดุ รธานี, พิษณโุ ลก)
ปลายเทา (S2-63) ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Platycerium wallichii Hook.
• ตํารับยาเบญจกูล : บาํ รงุ ธาตุ ปรับสมดลุ ธาตุ (ดนิ น้ํา ลม ไฟ) ช่อื วงศ : POLYPODIACEAE
ยาอายวุ ฒั นะ (S2-90) ลกั ษณะเดน : ไมล มลุกกลุมเฟน องิ อาศัยบนตน ไมหรือหนิ มใี บ
• ตํารับยาหอมนวโกฐ : แกค ล่ืนเหียนอาเจยี น วิงเวยี น ลมจกุ 2 แบบ ใบไมสรา งสปอรต ัง้ ข้นึ หอ เปนชัน้ ๆ และโอบลาํ ตนไมอ ื่น
แนน ในอก แกลมปลายไข แกอาการสะบดั รอนสะบัดหนาว ๆ สงู ถงึ 1 ม. ปลายใบแยกเปน แฉกจํานวนมากคลายเขากวาง ใบ
หรอื คร่ันเนื้อครั่นตวั รอ นวบู วาบเหมอื นจะเปน ไข บาํ รุง สรา งสปอรอ อกครง้ั ละ 2 ใบ หอ ยลง ยาวถงึ 1.5 ม. ขอบใบแยก
ประสาท (S3-01) เปน แฉกคลา ยเขากวางเชน กัน สรา งสปอรส ีน้าํ ตาลที่รอยเวาชว ง
• ตาํ รับยาหอมอินทจักร : แกคลน่ื เหยี นอาเจยี น หนา มดื จะเปน กลางแผน ใบใกลข อบใบ ๆ ละ 2 ตาํ แหนง
ลม ลมจกุ เสียดแนนหนา อก แนน ทอ ง ทองอืด อาหารไมย อ ย สรรพคณุ
ปรบั ระบบการหมนุ เวียนเลือดใหด ี ชว ยบาํ รุงหัวใจ (S3-04) • เหงา : แกฝ หนอง; ใบ : แกไข (N1)
• ตํารบั ยาแกท องอดื -ทองเฟอ : แกทองอดื ทองเฟอ ชว ยขับลม • ใบ : แกอ อ นเพลยี ใชกบั สตรที ่อี ยูไ ฟไมไ ด (NE2)
ทาํ ใหผายลม (S3-25)
• ตํารับยาโรคมะเรง็ ตบั /ฝในตับ/ตับอกั เสบ : รกั ษาโรคมะเร็ง
ตับ (ระยะท่ี 1–3), โรคฝใ นตับ, โรคตับอักเสบ, โรคกาฬลงตับ
(มีอาการเพอ คลุม คล่งั และนัยนตาเปน สแี ดงรว มดวย) (S3-74)

247

ชายผา สีดา

ชงิ ชัน สรรพคณุ
ช่อื ทอ งถน่ิ : ชิงชัน (อุดรธานี, พษิ ณโุ ลก) • เปลอื ก : รสฝาด ชวยสมานแผลทั้งภายในและภายนอก (N1)
ช่อื วิทยาศาสตร : Dalbergia oliveri Gamble ex Prain • แกน : บาํ รงุ โลหติ สตรี บํารงุ รา งกาย (NE2)
ช่อื วงศ : FABACEAE • ตํารับยาโรคลมชกั : แกโ รคลมชัก (N1-200)
ลกั ษณะเดน : ไมตนผลัดใบ สูงถงึ 30 ม. เปลือกแตกเปน สะเกด็
ขนาดเลก็ หนา กิ่งออ นและแผน ใบเกลี้ยง ใบประกอบแบบขนนก
ใบยอยเรียงสลับ-เกือบตรงขา ม มีขา งละ 4–6 ใบ รูปไข-ขอบ
ขนาน จุดเดน อยทู ป่ี ลายใบแหลม ผลแบบฝก แบนมปี กรอบ รูป
ร-ี ขอบขนาน ยาว 9–14 ซม. มี 1–3 เมลด็ , พบตามปาดงดบิ แลง
และปา เบญจพรรณท่วั ประเทศ

248

ชงิ ช้าชาลี สรรพคณุ
ชื่อทองถน่ิ : ชิงชาชาลี (ตรัง, พิษณุโลก), • เถา : บาํ รงุ กาํ ลัง แกไ ข เจริญอาหาร (N1)
อีโลนซานกเขา (อุดรธานี) • เถา : แกไ ขตวั รอ น บาํ รงุ ธาตุ บํารุงกาํ ลงั ยาอายวุ ัฒนะ (ออก
ชือ่ วิทยาศาสตร : Tinospora baenzigeri Forman ฤทธ์ิคลา ยบอระเพด็ ) (NE3)
ชือ่ วงศ : MENISPERMACEAE • ตํารบั ยาแกไขต วั รอ น : ชวยแกไข ตัวรอน (S2-79)
ลักษณะเดน : ไมเถาเนื้อคอ นขา งออ น ยาวถงึ 20 ม. เถามีน้าํ ยาง ชงิ ชี่
ใส รสขม เปลือกเรียบ-รอ นเปนแผน ใบรปู หวั ใจ ผวิ เกลีย้ ง คลา ย ชอ่ื ทอ งถิ่น : ชงิ ช่ี (พทั ลงุ , ตรงั , สระแกว , อดุ รธาน,ี
บอระเพด็ (Tin_cri) มจี ดุ ตา งทเ่ี ถาของชงิ ชาชาลมี ชี องอากาศนนู พิษณุโลก)
เล็กนอ ยไมบวมชดั เจนแบบเถาบอระเพด็ และมกั มรี ากอากาศ ชื่อวิทยาศาสตร : Capparis micracantha DC.
ยอยลงมา, พบตามปาดงดิบทวั่ ประเทศ ช่อื วงศ : CAPPARACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมพุม รอเลอ้ื ย สงู ถงึ 4 ม. ตนอายุมากเปลือกแตก
เปน เกล็ดส่เี หล่ยี ม กิง่ เกลีย้ ง มหี นามออกเปน คู ใบเด่ียว เรยี งสลบั
รูปขอบขนาน-แกมรี ยาว 10–20 ซม. ผิวใบเกล้ียง กลบี ดอกสี
ขาว มี 4 กลบี ยาว 2–3.5 ซม. มแี ตมสเี หลืองหรอื มว งแดงท่โี คน
กลีบดอกคบู น ผลรูปรีกวา ง ยาว 4–6 ซม. ปลายผลกลม ผวิ เรยี บ
เกลี้ยง สกุ สสี ม -แดง

ลายหนา ตดั เถาชิงชาชาลี

249
ชนิ ชี่
ชือ่ ทอ งถ่ิน : กําลังเสอื โครง (ตรัง)
ชือ่ วิทยาศาสตร : Ziziphus calophylla Wall.
ชือ่ วงศ : RHAMNACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมเถาเนื้อแขง็ ยาวถงึ 20 ม. เปลอื กเรยี บ ตามก่งิ
มีหนามแหลมสั้นออกเปนคูตามซอกใบ ก่งิ ออนและใบเกลีย้ ง ใบ
เดยี่ ว เรยี งสลบั จดุ เดนทม่ี ใี บรูปรแี คบ-แกมขอบขนาน ยาว
10–15 ซม. ขอบใบจักฟนเล่อื ยถ่ี มเี สนแขนงใบออกจากโคนใบ 1
คู โคนใบสมมาตร (ไมเบ้ียว) ผลรูปไขก วาง ยาว 1–1.5 ซม. มีขน
สั้นสีน้าํ ตาลหนาแนน
สรรพคณุ
• เถา : บาํ รุงกําลงั (S2)

รากชิงชี่ เถาชนิ ช่ี
สรรพคุณ
• ราก : แกไ ขต วั รอน หรือใชเขาตาํ รบั ยาหาราก (E2)
• ใบ เนือ้ ไม หรือราก : แกไขต วั รอน แกป ระดง แกพษิ ฝกาฬ แก
หลอดลมอักเสบ (NE3)
• ตาํ รบั ยาหา ราก (ยาเบญจโลกวเิ ชียร/ยาแกว หาดวง) : แกไ ข
ตัวรอ น ปวดหวั ถอนพษิ ไข (N1-14)
• ตํารบั ยาหาราก (สตู รพ้ืนบาน) : แกไ ข ตัวรอน แกปวดหวั
(S1-06)
• ตาํ รับยาแกไ ขต ัวรอน : แกไขตัวรอ น ปวดหวั ถอนพษิ ไข ไข
หวดั ไขปอดบวม (S2-01)
• ตาํ รบั ยาไขห วัดใหญ : แกไ ขห วดั ใหญ (S2-57)
• ตํารับยาบาํ รุงรกั ษามดลกู : ชวยบํารงุ รักษามดลูก บาํ รงุ สตรี
หลังคลอด มดลกู พกิ าร (S2-60)
• ตํารบั ยาแกท องเสยี แบบมีไข : แกทองเสียแบบมไี ข อาหาร
เปน พษิ (S3-36)
• ตํารับยาแกท องผูก : แกท อ งผูก ชว ยระบายทอง (S3-37)
• ตาํ รับยาแกทอ งรว ง-ทอ งเสยี -บดิ : แกทอ งรวง-ทองเสยี แกบ ิด
ชวยคุมธาตุ (S3-43)
• ตํารับยาแกตน ไข (ไขระยะแรก) : แกตนไข (ไขเ บอื้ งตนหรอื ไข
ระยะแรก เชน ไขตวั รอ น ไขก าฬ ไขพ ิษ ไขก าํ เดา) (S3-44)
• ตํารบั ยาไขห วดั : แกไขหวดั (S3-46)
• ตาํ รบั ยาไขห ดั /ไขอ ีสกุ อใี ส/ไขอ ดี ําอแี ดง : แกไ ขห ัด ไขเหือด
(หดั เยอรมนั ) ไขอสี กุ อใี ส ไขอ ีดําอีแดง กระทงุ พษิ ไข (S3-48)


Click to View FlipBook Version