250
ชมุ แสงแดง ชุมเห็ดเทศ
ชอื่ ทอ งถน่ิ : ไมโอบ กระบกคาย (สระแกว) ชอ่ื ทอ งถิ่น : ชุมเห็ดเทศ (สระแกว)
ชื่อวิทยาศาสตร : Homalium grandiflorum Benth. ชอื่ วิทยาศาสตร : Senna alata (L.) Roxb.
ชื่อวงศ : SALICACEAE ชือ่ วงศ : FABACEAE
ลักษณะเดน : ไมตน สูงถึง 30 ม. เปลือกแตกสะเก็ด กงิ่ และใบ ลกั ษณะเดน : ไมพมุ สูงถงึ 4 ม. กง่ิ เกลี้ยงมีเหลย่ี มเลก็ นอ ย ใบ
เกล้ียง ใบเดย่ี ว เรียงสลบั รูปไข ยาว 10–18 ซม. ขอบใบจกั ฟน เรียงเวียน ใบประกอบแบบขนนก ยาว 40–80 ซม. มใี บยอ ย
เลือ่ ย เสน ใบยอ ยแบบรา งแห เหน็ ชดั ดานลาง ชอ ดอกยาว 10–15 7–10 คู จดุ เดนที่ใบยอยรปู ขอบขนาน ยาว 4–15 ซม. ปลายใบ
ซม. มขี นนมุ ดอกสขี าวอมเขยี ว กลบี เลยี้ งและกลบี ดอก 7-8 กลม ชอดอกออกท่ปี ลายก่งิ ต้ังข้ึน สูง 30–50 ซม. ใบประดับสี
กลีบ, ชอบขึน้ ตามรมิ หวย นา้ํ ตาล ดอกสเี หลอื ง ผลแบบฝก ยาว 10–20 ซม. ผิวเปน 4
สรรพคุณ เหล่ยี มตามแนวยาว
• แกนหรอื ราก : รกั ษาโรคดซี าน (E2) สรรพคณุ
• ใบ : ชว ยขบั ปสสาวะ เปนยาระบาย รกั ษาโรคกลาก-เกล้อื น
(E2)
• ตาํ รบั ยาโรคความดนั โลหติ : ชว ยลดความดนั โลหติ สงู (S2-39)
• ตํารบั ยาโรคผวิ หนงั จากเชือ้ รา/แกค นั จากการแพ : ยาขีผ้ ้ึง
หรอื ยาหมองทารกั ษาโรคผวิ หนงั จากเช้อื รา เชน กลาก เกลือ้ น
แกอาการคันตามผิวหนังทว่ั ไปจากอาการแพ ผน่ื คนั คนั จาก
แมลงสตั วกดั ตอย (S2-64)
• ตํารับยาโรคกรดไหลยอน : แกโรคกรดไหลยอ ย (S2-65)
เชียด 251
ช่ือทองถิน่ : ซิงไคตน (อุดรธานี), อบเชย (พทั ลุง, กลาง : ผลออ นของเชียด, ลาง : เปลือก
พิษณุโลก), อบเชย เชียด (ตรัง)
ชื่อวิทยาศาสตร : Cinnamomum iners Reinw. ex Blume
ชื่อวงศ : LAURACEAE
ลักษณะเดน : ไมต น สูงถึง 20 ม. ตามก่ิง ชอดอก และใบเกลย้ี ง
เปลือกเรยี บและมกี ลิน่ ฉุน ใบเดย่ี ว เรียงตรงขาม รปู ขอบ
ขนาน-ใบหอก ยาว 15–20 ซม. มเี สนแขนงใบออกจากโคนใบ 1
คู ชอ ดอกสขี าวอมเขียว ผลรูปรแี กมทรงกระบอก ยาว 1–1.5
ซม. มีกลบี เลย้ี งเรยี งซอ นกนั ติดที่ขั้วผล 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม,
เปลือกของเชยี ด สามารถใชแทนอบเชยจีน (Cinnamomum
cassia) อบเชยญวน (Cinnamomum camphora) หรอื อบเชย
เทศ/อบเชยลงั กา (Cinnamomum verum) ได เนอ่ื งจาก
เปลอื กมคี ณุ สมบัตทิ างยาใกลเคียงกนั แตค วรใชสายพันธหุ รอื
แหลง ผลติ ทใ่ี หเปลอื กที่มกี ลน่ิ หอมหรอื มีน้ํามนั ระเหยในปรมิ าณ
มาก เพราะมีความผันแปรภายในชนดิ เดยี วกัน
สรรพคุณ
• เปลอื ก : ชวยบํารุงหัวใจ ใชเ ขายาปรุงเปน ยาลม (N1)
• ใบหรือเปลือก : ชวยถอนพษิ ของตน ยางนอง (Antiaris
toxicaria) (NE2)
• ตาํ รับยาแกองคชาตตายไมเ กิน 3 ป : แกอ งคชาตตายไมเ กนิ 3
ป บาํ รุงองคชาต บาํ รุงกําลัง (S1-40)
• ตํารับยาโรคอมั พฤกษ- อมั พาต : รักษาอมั พฤกษ- อมั พาต
(S2-33)
• ตาํ รบั ยาโรคความดันโลหิต : ชวยลดความดนั โลหิตสงู (S2-39)
• ตาํ รับยาไขกาํ เดาใหญ : แกไขกําเดาใหญ (S2-47)
• ตํารับยาบาํ รุงเลอื ด/หวั ใจ/รางกาย : บํารุงเลอื ด ดมู เี ลอื ดฝาด
บาํ รงุ หวั ใจ บํารงุ รางกายทัง้ ชาย-หญิง แกอาการซบู ผอม
(S2-51)
• ตาํ รบั ยาบํารงุ โลหติ ระดู : บํารุงโลหติ ระดู (S2-56)
• ตาํ รบั ยารักษาอาการบวมอักเสบจากพษิ บาดแผล/แผล
อกั เสบ : รักษาอาการบวมอกั เสบจากพิษบาดแผล รักษาแผลผุ
พอง เปนหนอง (S2-67)
• ตํารบั ยาอทุ ัยโอสถ : แกไขตวั รอน แกรอนในกระหายน้ํา แก
ออนเพลยี ละเห่ียใจ เพม่ิ ความสดชนื่ บาํ รงุ หวั ใจ (S3-22)
252
โชน ชํามะเลยี ง
ชอ่ื ทองถ่นิ : โชน (ตรงั ) ชือ่ ทองถ่ิน : ชํามะเลียง (ตรงั )
ชือ่ วิทยาศาสตร : Dicranopteris linearis (Burm. f.) ชื่อวิทยาศาสตร : Lepisanthes fruticosa (Roxb.) Leenh.
Underw. var. linearis ชื่อวงศ : SAPINDACEAE
ชือ่ วงศ : GLEICHENIACEAE ลกั ษณะเดน : ไมพ มุ สงู ถงึ 5 ม. เปลือกเรียบ ใบเรยี งเวียน ใบ
ลกั ษณะเดน : ไมล ม ลกุ กลมุ เฟน มีเหงา เลื้อยอยใู กลผ วิ ดิน แตก ประกอบแบบขนนก ใบยอย 5–7 คู เรยี งเกือบตรงขาม รูปขอบ
กิ่งและใบตัง้ ตรง สูงถงึ 2.5 ม. ตามเหงา ก่งิ และใบออ น มขี นสี ขนาน ยาว 7–23 ซม. มหี ูใบรูปกลม 1 คู ออกที่โคนกา นใบ ชอ
น้าํ ตาลทอง แตกก่ิงเปนรูปตวั Y ใบประกอบแบบขนนก ยาวถึง ดอกออกตามลาํ ตน หรอื กิง่ ใหญ ดอกสีแดงอมมวง ผลทรงกลม
40 ซม. มีใบยอยออกขางละ 30–100 ใบ ใบยอยรูปแถบยาว ยาว แบนดา นขางเลก็ นอ ย ยาว 3 ซม. สกุ สีดาํ ผวิ มันเงา เน้อื ผลรส
ถึง 5 ซม. ใบยอ ยชวงปลายใบคอย ๆ สน้ั ลง แผนใบดานลา งนวล หวานเปนผลไม
ไมมกี า นใบยอ ย สรา งสปอรดา นลา งแผน ใบ สรรพคณุ
• ตาํ รับยาแกไขต ัวรอ น : รากใชเขายา ชว ยแกไข ตัวรอ น
(S2-79)
สรรพคุณ
• รากและหนอ : ขับปส สาวะ ระงบั ประสาท (S2)
• ใบ : ในประเทศฟล ิปปน สใชเ ปนยารกั ษาโรคหดื หอบ แกไ ข
หรอื ตําแลว พอกเพ่ือลดไข รกั ษาแผลอักเสบ หรือแผลเปอ ย; ใน
ภาคใตของไทยใช ราก ตม เปนยาขับปสสาวะ สงบประสาท
และชว ยการหมุนเวียนของโลหติ ; เหงา : มรี สขม เนอ้ื เปน แปง
ถากินมากจะเปน พิษสะสมตอ ลาํ ไส (R79)
253
หใู บทโ่ี คนกานใบ ของชํามะเลียง
แซะ ฝกออ นแซะ
ชอ่ื ทองถ่นิ : กาแซะ แซะ (ตรงั ), มะคา ขห้ี มู เฒ่าหลงั ลาย
(อดุ รธานี) ชื่อทอ งถนิ่ : ยายคลงั (ตรงั )
ชื่อวิทยาศาสตร : Callerya atropurpurea (Wall.) Schot ช่อื วทิ ยาศาสตร : Pseuderanthemum graciliflorum (Nees)
ชื่อวงศ : FABACEAE Ridl.
ลักษณะเดน : ไมต น สงู ถงึ 30 ม. เปลอื กเรียบ ก่งิ ออนและชอ ช่อื วงศ : ACANTHACEAE
ดอกมขี นส้ัน ใบเรยี งเวียน ใบประกอบแบบขนนกปลายค่ี ใบยอ ย ลกั ษณะเดน : ไมพ ุม สงู ถงึ 2 ม. กิ่งออ นและใบเกล้ยี ง ใบเดยี่ ว
4–6 คู เรยี งตรงขา ม รปู ไข- ใบหอก ยาว 7–17 ซม. ปลายใบเรียว เรียงตรงขา มตง้ั ฉาก รูปรี-ไขก ลบั ยาว 10–20 ซม. แผนใบดา น
แหลม ผวิ ใบเกลย้ี ง ชอดอกตั้งขึน้ กลีบดอกสีแดงเขม-ชมพูอม บนมีรอยกดตามแนวเสนแขนงใบ ชอ ดอกออกทีป่ ลายกง่ิ ตัง้ ข้ึน
มวง ผลแบบฝกแบนดา นขาง รปู รี-ใบหอก-ขอบขนาน ยาว 7–14 ยาวถึง 20 ซม. ดอกสีมวง กลีบดอกเปนหลอดคลา ยดอกเข็ม ยาว
ซม. เปลือกฝก สเี ขียวออ นหรอื สีแดงอมมวงเขม หนาคลายแผน 3–5 ซม. ปลายกลบี ดอกแยก 2 แฉกชีข้ ึ้นบน และ 3 แฉกชล้ี ง
หนัง ผวิ เกล้ยี ง บวมตามตําแหนงเมล็ด สรรพคุณ
สรรพคุณ • ตาํ รบั ยาสตรีสาวเสมอ : บาํ รุงรักษาระบบภายในของสตรี ชวย
• เน้ือไมห รอื ราก : แกซ าง (NE3) กระชับรางกาย (S2-15)
• ตาํ รบั ยาโรคซาง : แกโ รคซางในเด็ก (NE3-009)
• ตาํ รบั ยาโรคเกา ท : รกั ษาโรคเกาท แกปวดขอ ปวดเขา แกพ ษิ
ในกระดกู บาํ รุงกระดกู (S2-03)
254
เฒาหลงั ลาย สรรพคณุ
ดนั หมี • แกน หรือราก : เปน ยาอายุวฒั นะ รกั ษาโรคไต แกพ ษิ ผิดสําแดง
ชอ่ื ทองถ่นิ : กานเหลือง บุหร่ีหนัง (สระแกว), (E2)
ดันหมี ดคี วาย (ตรงั ) • ตํารบั ยาแกปวดเม่ือย/ชาตามปลายมือ-เทา : แกป วดเมือ่ ย
ช่ือวิทยาศาสตร : Gonocaryum lobbianum (Miers) Kurz ตามรางกาย แกอ าการชาตามปลายมอื ปลายเทา (S2-36)
ช่อื วงศ : ARDIOPTERIDACEAE ดปี ลากงั้ ปา่
ลกั ษณะเดน : ไมตน สงู ถึง 10 ม. เปลอื กเรียบ ก่งิ ออ นและใบ ชื่อทองถ่นิ : ดปี ลากั้ง ดปี ลากั้งปา (อดุ รธานี)
เกลี้ยง ใบเรียงสลับ รปู รี ยาว 10–20 ซม. จดุ เดนทม่ี กี านใบสี ชื่อวทิ ยาศาสตร : Cystacanthus vitellinus
เหลือง-อมสีสม ยาว 1 ซม., ดอกเล็กสเี ขียวออน ผลรูปไข- รยี าว (Roxb.) Y.F. Deng
ยาว 4–5 ซม. สกุ สีดาํ ผวิ มันเงา ชื่อวงศ : ACANTHACEAE
ลักษณะเดน : ไมพุม สงู ถึง 2 ม. ก่งิ เปน ส่ีเหลยี่ ม ตามกิ่งออ นและ
ใบเกลีย้ ง ใบเดยี่ ว เรียงตรงขามต้งั ฉาก รูปร-ี หอกกลบั ยาว 8–21
ซม. จดุ เดนอยทู ่โี คนใบสอบเรียวและบดิ เปนคลืน่ ผิวใบดานบน
255
ดหี มี
ช่ือทองถิน่ : หาํ เมย (อดุ รธานี)
ชอื่ วิทยาศาสตร : Cleidion javanicum Blume
ชือ่ วงศ : EUPHORBIACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมตน สงู ถงึ 30 ม. เปลือกเรียบ กง่ิ ออ นและใบ
เกลยี้ ง ใบเดี่ยว เรียงเวยี น รูปรี-ไขก ลับ ยาว 10–17 ซม. ขอบใบ
หยกั ซ่ฟี น หา ง กานใบยาว 4–8 ซม. ปลายกานบวม ผลรูปรีแนว
ขวาง กวาง 2–2.5 ซม. มีสองพู ปลายผลมีตง่ิ ยาว, ชอบข้ึนตาม
ปาดงดบิ ใกลแหลงน้าํ
มนั เงา มีรอยกดตามแนวเสนแขนงใบ กลบี ดอกรปู แตรสชี มพูอม สรรพคณุ
สม ผลแบบฝกเปนแทงยาว 2.5–4 ซม. มรี อ งตามแนวยาว 4 รอง • ใบและเนอ้ื ไม : แกไ ขต วั รอ น ถอนพษิ ไข แกป วดหัว; ใบออน :
เมือ่ แกจะแตกอา คลายฝก ตอยต่งิ มรี สขม ใชปรงุ อาหาร เชน ออ ม หรอื แกง (NE2)
สรรพคุณ • ใบ เนอ้ื ไม หรอื ราก : แกไ ขตวั รอ น แกไขมาลาเรยี (NE3)
• ยอดออ น : แกดีซา น, ยอดมรี สขมอมหวาน ทานเปนผักสดกับ • ราก : มรี สฝาด ในฟล ิปปน ส ใชรากตมน้ํารบั ประทานเปนยาขับ
ลาบ-กอย (รสชาติคลา ยกบั ตน ดปี ลาก้ัง (Phlogacanthus ประจาํ เดือนและทําใหเ กิดการแทงลูก แกลมอณั ฑพฤกษ ขับลม
pulcherrimus) ซ่งึ เปน ผกั ทน่ี ยิ มกินในบางจงั หวัดของภาค รกั ษาโรคตา บาํ รงุ นํ้าเหลอื ง; เถา : ตม นาํ้ ดื่ม แกปวดเมอ่ื ย ผสม
อีสานและเหนือ) (NE3) กับรากตูมกาขาวเปนยาระบาย ขบั โลหติ บาํ รุงหวั ใจ แกไ ข แก
ซางตาเหลือง (R14)
256
ดูกไก่ย่าน เดือยไก่
ชอ่ื ทองถิน่ : กําลังหนุมาน ตน กน กระดกู บงั ชือ่ ทอ งถิ่น : เดอื ยไก (สระแกว )
(สระแกว), ตองแหง (พัทลุง) ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Benkara fasciculata (Roxb.) Ridsdale
ชื่อวิทยาศาสตร : Hedyotis capitellata Wall. ex G. Don ชือ่ วงศ : RUBIACEAE
var. capitellata ลกั ษณะเดน : ไมพุม สงู 1–3 ม. ตามก่ิง ใบ และผล มีขนสั้นหนา
ชือ่ วงศ : RUBIACEAE แนน มีหนามออกเปน คูต ามกิ่ง ใบเดี่ยว เรียงตรงขาม รปู ร-ี ขอบ
ลกั ษณะเดน : ไมลมลุกรอเลื้อย ยาวถึง 3 ม. ก่งิ มีขนสัน้ -เกล้ียง ขนาน ยาว 3–8 ซม. กลีบเล้ียงและกลีบดอกอยา งละ 5 กลีบ
และเปนส่ีเหลยี่ ม มีหใู บที่ระหวางกานใบคูตรงขาม ปลายหูใบเปน กลีบดอกเปน หลอด ยาว 2–3 ซม. สขี าว-เหลืองออน ผลทรงกลม
เสน แหลม 1 เสน สีมวง ใบเดย่ี ว เรียงตรงขา ม รปู รี-รูปใบหอก กวา ง 7–10 มม.
ยาว 3–9 ซม. กานใบยาวไมเ กนิ 5 มม. สีมว ง ชอ ดอกยาวถึง 10 สรรพคณุ
ซม. ออกทปี่ ลายก่ิง ดอกขนาดเล็กสีขาว-สีครีม ยาว 5–7 มม. • ใบ ราก หรอื ลาํ ตน : รักษาโรคผวิ หนัง รักษาบาดแผล แผล
อักเสบ (E2)
สรรพคณุ แดง
• เถาหรือราก : บํารงุ กาํ ลงั กระตนุ กาํ ลัง (E2) ช่อื ทองถ่ิน : แดง (อดุ รธาน,ี พิษณโุ ลก)
• ราก : แกโ รคธาตพุ กิ าร แกบ ิด แกอ าการมนึ เวยี นศีรษะ; ใบ : ชอื่ วิทยาศาสตร : Xylia xylocarpa (Roxb.) W.
แกไขปา ตําพอกแผลสดลดการอักเสบจากพษิ งูกดั แผลชา้ํ บวม Theob. var. kerrii (Craib & Hutch.) I. C. Nielsen
บวมตามขอและกลามเนอ้ื โรคปวดเอว กระดูกหัก กระดูกแตก; ชอ่ื วงศ : FABACEAE
เครอื : ทบุ แลว คั้นเอาน้ํา ทารกั ษาแผลไฟไหมน า้ํ รอ นลวกแลว ลกั ษณะเดน : ไมตนผลัดใบ สูงถงึ 40 ม. เปลอื กแตกรอ นเปน
พนั ผา ไว (R58) แผนบาง ตามก่ิงออน ใบและฝกมีขนส้ันหนานุม ใบประกอบ
• ตาํ รบั ยาโรคไสเ ลอ่ื น : รกั ษาโรคไสเ ลอื่ นท้งั ชายและหญิง หรือ แบบขนนก มีชอใบยอย 1 คู ใบยอย 3–5 คู เรียงตรงขาม
โรคไขลงฝก (S2-68)
257
โดไ่ ม่รู้ล้ม
ชอ่ื ทองถนิ่ : โดไมร ูลม (สระแกว, อดุ รธาน,ี
พิษณุโลก), โดไมร ูล ม หญาปราบ หญาสาบ ทนดี
(ตรงั )
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Elephantopus scaber L. var. scaber
ช่ือวงศ : ASTERACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมล มลุก สงู ถึง 40 ซม. ทกุ สว นมขี นสขี าวสากคาย
ใบเรียงเวียน ออกเปนกระจกุ ชดิ ผิวดนิ รปู หอกกลับ ยาว 10–20
ซม. ขอบใบจักฟนเลอื่ ย โคนใบสอบ ไมมีกานใบ ผิวใบดานบนมี
รอยกดเปนรอ งตามแนวเสนใบ ชอดอกสูงถึง 40 ซม. มใี บประดับ
3 ใบรองชอ ดอกยอยคลายถวย ดอกสมี ว ง
รูปรี-ใบหอก ยาว 7–17 ซม. ชอดอกกระจกุ แนน ทรงกลมสขี าว
ครมี ผลแบบฝกแบนเปลือกแขง็ คลายไม รูปขอบขนาน เบย้ี วและ
โคง เลก็ นอย ยาว 12–20 ซม.
สรรพคุณ
• เปลอื ก : ชว ยสมานแผล เขา ยาแกโ รคลมชัก ลมบา หมู (N1)
• เปลือก : แกไอ (NE3)
• เปลือกและแกน : แกป วดฟน แกนา้ํ ลายเหนียว แกกระหายนา้ํ
ขบั ปสสาวะ แกบ ดิ แกท องรว ง แกไ อ ทาํ ใหชมุ คอ ดับพิษรอน,
ใชภายนอกเปนยาหามเลอื ด แชน้าํ ใชลางบาดแผลเรอ้ื รัง (R9)
• ตํารับยาโรคลมชัก : แกโ รคลมชกั (N1-200)
• ตาํ รบั ยาแกฟกชาํ้ -เคลด็ ขดั ยอก : รักษาอาการฟกช้าํ ช้าํ ใน
เคลด็ ขัดยอก ตกจากท่สี งู รถชน (NE3-013)
• ตํารับยาโรคดีซา น : รักษาโรคดีซาน (NE3-044)
258
สรรพคณุ สรรพคุณ
• ยางจากลาํ ตน หรอื ผล : แกทองเสีย แกบิด ปดธาตุ รกั ษาแผล • ราก : ขับลม แกทองอืดทอ งเฟอ (N1)
นา้ํ กัดเทา สมานบาดแผล ชวยหามเลือด; ทุกสว น : แกท อ งรว ง • ตํารับยาแกปวดเมอ่ื ย : แกปวดเม่อื ย (N1-57)
แกบดิ ลดไข แกไ ขมาลาเรยี สมานแผล แกก ามตายดา น บํารุง ตรชี วา
ความกาํ หนัด บํารุงธาตุ ชูกําลัง แกมุตกติ ระดูขาว เปน ยาอายุ ชอ่ื ทองถ่นิ : อัคคที วาร (อุดรธาน)ี , อคั คีทวาร
วัฒนะ แกอ าเจยี น (R7) อัคคที ะลัก (สระแกว)
• ทัง้ ตน : บาํ รุงรา งกาย บาํ รุงกําลงั แกรอนในกระหายนํา้ บาํ รงุ ช่อื วิทยาศาสตร : Rotheca serrata Steane & Mabb.
หวั ใจ แกกษยั ชวยขบั เหง่ือ แกอ าการออนเพลยี ทําใหอ ยาก ชื่อวงศ : LAMIACEAE
อาหาร บาํ รุงเลอื ดสําหรบั สตรที ปี่ ระจาํ เดือนมาไมปกติ (N1) ลกั ษณะเดน : ไมพ ุม สงู 1–2 ม. กงิ่ ออ นเปน สีเ่ หลี่ยม ก่งิ และชอ
• ทง้ั 5 : บาํ รุงกําลงั ยาอายวุ ัฒนะ (E2) ดอกมขี นสนั้ หนาแนน ใบเดี่ยว เรียงตรงขา มต้ังฉาก รปู ไขก ลับ
• ทัง้ 5 : แกเ หนบ็ ชา บาํ รงุ หัวใจ บาํ รงุ กาํ หนัด (NE3) ยาว 15–25 ซม. ขอบใบจกั ฟนเลอ่ื ยหา ง แผนใบดา นลา งคอ นขาง
• ตํารับยาแกป วดเมอื่ ย-บาํ รงุ กําลงั : แกป วดเม่ือย บาํ รุงกําลงั เกลี้ยง ชอดอกรูปกรวยแหลม ออกทปี่ ลายกง่ิ ตั้งขึ้น ยาว 20–40
(E1-05) ซม. กลีบดอกแยก 5 แฉก แบงเปน 4 กลีบชขี้ ึน้ บน สขี าวอมเขยี ว
• ตํารับยากาํ ลงั ฮอ สะพายควาย : บาํ รงุ กาํ ลัง แกป วดเมอ่ื ยตาม และ 1 กลบี ชล้ี งลาง สมี วง
รางกาย (S1-43)
• ตาํ รบั ยาขับน่ิวในไต-ทางเดนิ ปสสาวะ : ชวยขับน่วิ ในไต และ
ทางเดินปส สาวะ ชวยลา งไต รกั ษาทางเดนิ ปสสาวะอกั เสบ
(S2-14)
• ตาํ รับยาบํารุงรักษามดลูก : ชวยบาํ รุงรกั ษามดลกู บํารงุ สตรี
หลังคลอด มดลูกพิการ (S2-60)
• ตํารบั ยาแกปวดเมอื่ ยกลา มเน้ือ-เสนเอ็น/บาํ รงุ กําลงั : แกปวด
เมอ่ื ยกลา มเน้อื -เสนเอ็น บํารุงกาํ ลงั (S2-61)
ตดหมาต้น
ตดหมาตน (พิษณุโลก)
ช่ือวิทยาศาสตร : Saprosma consimile Kurz
ชื่อวงศ : RUBIACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมพมุ สูง 50–100 ซม. ก่ิงออ นและใบเกล้ยี ง ใบ
เดี่ยว เรียงตรงขา มตั้งฉาก รูปไข- รี ยาว 3–8 ซม. แผนใบดานบน
มันเงา มีเสนกลางใบนูน กา นใบยาวไมเกนิ 3 มม. จดุ เดน ท่เี มื่อ
ขยใ้ี บจะมีกลน่ิ เหม็น, ดอกสขี าว มี 4 กลีบ บานกวาง 8–10 มม.
กา นดอกสนั้ มาก ดอกตูมสีมวง
สรรพคณุ
• ใบ ราก และลาํ ตน : รกั ษาริดสีดวงทวาร (NE3)
• ใบหรอื ราก : รดิ สดี วงทวาร (NE5)
• ตํารบั ยาริดสดี วงทวาร : รักษาริดสดี วงทวาร (E2-220)
• ตํารบั ยาโรคริดสีดวงทวาร : รักษาริดสดี วงทวาร (S2-41)
(S2-42)
259
ตองกาย สรรพคณุ
ชื่อทองถิน่ : พรา วนกคมุ วานสากเหลก็ (ตรงั ), • หัว : แกปวดเมือ่ ย (N1)
หวายกอ วานสากเหล็ก (พิษณโุ ลก) • ตํารับยาแกปวดเม่ือย/ชาตามปลายมือ-เทา : แกปวดเม่ือย
ชือ่ วิทยาศาสตร : Molineria capitulata (Lour.) Herb. ตามรา งกาย แกอ าการชาตามปลายมอื ปลายเทา (S2-36)
ชื่อวงศ : HYPOXIDACEAE • ตํารับยารกั ษามดลกู เคลอ่ื น/บํารงุ โลหติ : รักษามดลกู เคล่อื น
ลกั ษณะเดน : ไมล มลกุ สงู ถึง 1 ม. ลาํ ตนสน้ั อยูชิดผิวดิน ใบ บาํ รงุ โลหติ (S2-45)
เดยี่ ว เรียงเวยี นกระจุกชิดผิวดิน รูปรแี คบ ยาว 40–90 ซม. กา น • ตาํ รบั ยาลางโรคกอ นการรกั ษาโรคระบบเสน เอน็ : ชว ยชาํ ระ
ใบยาว 15–40 ซม. จดุ เดน ทม่ี เี สน แขนงใบเรียงขนานกันตามแนว ลางระบบภายในรางกายกอ นการรกั ษาโรคทีเ่ ก่ียวกบั ระบบเสน
ยาวจาํ นวนมาก และแผนใบพบั จบี ตามแนวเสน แขนงใบ คลายใบ เอ็น อมั พฤกษ อัมพาต (S2-55)
ตนกลา มะพราว ตามกานใบ ชอดอกและผลมีขนยาวปุกปยุ สขี าว • ตํารับยารักษามดลกู พิการ-อักเสบ/ขบั นา้ํ คาวปลา : แกม ดลกู
อมน้าํ ตาล ชอดอกต้ังขึน้ กานชอดอกยาว 10–25 ซม. ดอกยอย พิการ มดลกู อักเสบ ชวยบํารุงรักษามดลูก บํารงุ สตรีหลงั คลอด
ออกเปนกระจุกแนน คอ นขางกลม ดอกสีเหลอื ง ผลรูปไข ยาว ชวยขับน้าํ คาวปลา ขับเลอื ดเสีย (S3-51)
1–1.5 ซม., มีสรรพคณุ ใกลเคียงกบั วานสากเหล็ก (Mol_lat_lat) ตองข้าวต้ม
มกี ารเก็บมาใชทําสมุนไพรแทนกนั ได ช่ือทอ งถนิ่ : เล็ดชา ง (ตรงั )
ชื่อวิทยาศาสตร : Stachyphrynium latifolium
(Blume) K. Schum.
ชอ่ื วงศ : MARANTACEAE
ลักษณะเดน : ไมล มลกุ สงู ถงึ 2 ม. มีเหงา ใตด นิ ใบแตกกระจุก
เปนกอ กา นใบยาว 0.9–1.7 ม. เกลย้ี ง ปลายกา นบวมพอง ใบรูป
ไข ยาว 25–60 ซม. แผนใบดานลา งมีนวลขาว เนื้อใบคลายไป
ตองกลวย ชอ ดอกออกจากเหงา ท่ีโคนกอ รูปทรงเรียวยาว ยาว
10–15 ซม. ใบประดบั ซอ นกนั แนน สีนาํ้ ตาลหรอื เขียวออ น ดอก
สขี าว
260
สรรพคุณ ตองแตก
• ตาํ รับยาบาํ รุงกําลัง : ใชหัว/เหงาเขายา ชวยบาํ รุงกําลงั ชอื่ ทอ งถนิ่ : ตองแตก (พิษณุโลก), ตองแตก ทนดี
(S2-74) (ตรงั )
ตองเตา๊ ชื่อวทิ ยาศาสตร : Baliospermum solanifolium (Burm.)
ช่ือทองถิ่น : ตองเตา (อดุ รธานี) Suresh
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Mallotus barbatus Müll. Arg. ชอ่ื วงศ : EUPHORBIACEAE
ชอ่ื วงศ : EUPHORBIACEAE ลักษณะเดน : ไมลมลกุ สงู ถึง 1.2 ม. ก่งิ มีนํา้ ยางใส กง่ิ ออนและ
ลักษณะเดน : ไมพ ุม สงู ถึง 7 ม. ตามก่ิงออ น กา นใบ แผน ใบดา น แผนใบดานลา งมขี นประปราย ใบเดย่ี ว เรียงเวียน รูปไข- ขอบ
ลาง และผลสขี นปกุ ปุยสนี า้ํ ตาลออ น ใบเดยี่ ว เรียงสลับ รปู ไข ขนาน-ไขก วา งแกมหยัก 3 พู ยาว 10–20 ซม. ขอบใบหยกั ซฟ่ี น
กวา ง-แกมกลม บางครั้งปลายใบหยัก 3 พตู ืน้ ๆ ยาว 15–32 ซม. ทป่ี ลายหยกั มีตอ ม ผลทรงกลมและมี 3 พู กวา ง 1.2–1.7 ซม.
กานใบตดิ กับแผน ใบแบบใบบัว (ตดิ แบบกนปด) ชอ ผลหอยลง
ยาวถึง 40 ซม. ผลทรงกลม กวาง 1.5–2 ซม.
สรรพคณุ
• เน้อื ไม : รักษาไตพิการ (NE2)
• ใบ : ตาํ รายาไทยใช ตม นา้ํ ด่ืม รกั ษาโรคเจ็บหนาอก ตมรกั ษา
อาการปวดเมอื่ ยตามบริเวณหนา อก; ราก : แกไข; ใบและลําตน
: มคี ณุ สมบัตเิ ปน ยาระบาย ยาขบั พยาธหิ รือปรสติ ในรา งกาย
ยาแกไ ข แกพิษตานซาง (โรคพยาธิในเดก็ มอี าการซูบซดี
ออ นเพลีย พุงโร (R1)
261
สรรพคณุ ต่อไส้
• รากและใบ : มฤี ทธิ์เปนยาถายไมรายแรงนัก; เมล็ด : เปน ยา ชือ่ ทอ งถ่ิน : กา มปู แชม ช่ืน (สระแกว)
ถา ยอยา งแรง (ไมน ิยมใช), ใชใ บ 2–4 ใบ หรอื ราก 1 หยบิ มือ ช่ือวิทยาศาสตร : Allophylus cobbe (L.) Raeusch.
ยาไทยนิยมใชราก 1 หยบิ มอื ตม กับนาํ้ 1 ถว ยแกว เติมเกลอื ชือ่ วงศ : SAPINDACEAE
เลก็ นอย ดมื่ เปน ยาถา ย ถายลมเปน พิษ ถายพษิ พรรดกึ ถาย ลกั ษณะเดน : ไมพ ุม สูงถึง 2 ม. ตามกิง่ ออน ชอดอก กา นใบ
เสมหะเปน พษิ (R31) และใบมีขนสน้ั -เกือบเกล้ียง ใบเรียงสลบั ใบประกอบมี 3 ใบยอย
• ตาํ รบั ยาถา ย : ยาถาย (N1-129) รูปไข- หอกกลบั ยาว 5–15 ซม. ขอบใบจักฟน เลื่อย-เรยี บ ชอ
• ตาํ รบั ยาถาย : ยาถา ย ยาระบาย แกท อ งผูก แกจกุ เสียดแนน ดอกยาว 5–10 ซม. ตง้ั ข้นึ ดอกยอ ยขนาดเลก็ สีขาว ผลทรงกลม
ทอ ง (S1-20) กวา ง 5–7 มม. สุกสีแดง
• ตาํ รบั ยาแกปวดเม่อื ยเสนเอ็น : แกปวดเม่ือยตามเสนเอน็ เสน สรรพคณุ
เอน็ อกั เสบ บรรเทาอาการอมั พฤกษ-อัมพาต (S2-31) • รากและลําตน : แกผดิ สาํ แดง (E2)
• ตํารับยาไขกําเดาใหญ : แกไขกาํ เดาใหญ (S2-47) • ราก : รากกานเหลอื ง เปลือกกระทุม โคก รากตอไส รากทอง
• ตาํ รับยาลา งโรคกอ นการรักษาโรคระบบเสน เอน็ : ชว ยชําระ แมว รากกะเจียน ตม รวมกนั มสี รรพคณุ บาํ รุงเลอื ด ขับน้าํ
ลางระบบภายในรา งกายกอนการรกั ษาโรคทเ่ี กยี่ วกับระบบเสน คาวปลาหลังคลอด แกปวดเมื่อย (R35)
เอ็น อัมพฤกษ อัมพาต (S2-55)
ตองอาน
ชือ่ ทอ งถิ่น : -
ชอื่ วิทยาศาสตร : Phytocrene bracteata Wall.
ชอ่ื วงศ : ICACINACEAE
ลักษณะเดน : ไมเ ถาเน้อื แข็ง ยาวถงึ 30 ม. มีหัวใตดิน ตน แยก
เพศ ตามกง่ิ ออ น กานใบ ชอดอก และผลมขี นยาวสีนํ้าตาลทอง
หนาแนน เถาออนมหี นามเล็กนอย เถากลม ใบรูปไข- ไขกวาง
ยาว 10–20 ซม. โคนใบเวา มเี สน แขนงใบออกจากโคนใบ 1 คู
ใบของตนอายนุ อ ยมี 3 แฉก ผลยอ ยรูปรยี าว-ไขกลับ ยาว 5–7
ซม. มี 4 พู ตดิ เปน กลมุ อดั กนั แนน มี 60–80 ผลยอย/กลมุ ปลาย
ผลมีตุมแหลม
สรรพคณุ
• หวั ใตด ิน : นํามาตม/ตนุ กบั หมู/ไก กินเปนยาบาํ รงุ กําลัง และ
บํารงุ ผิวพรรณ (R5)
ผลออนตองอาน
262
ตะโกสวน ตะขบ
ชือ่ ทองถ่นิ : ตะโกสวน (พิษณโุ ลก), ตบั เตา ใหญ ชอ่ื ทองถน่ิ : ตะขบปา (สระแกว )
(พษิ ณโุ ลก), มะพลบั (อุดรธานี) ชอื่ วิทยาศาสตร : Flacourtia ramontchi L’Hér.
ชอื่ วิทยาศาสตร : Diospyros malabarica (Desr.) Kostel. ช่อื วงศ : SALICACEAE
ชอื่ วงศ : EBENACEAE ลกั ษณะเดน : ไมตน สูงถงึ 15 ม. เปลือกเรยี บสีน้ําตาลแดง ตน
ลกั ษณะเดน : ไมตน สงู ถึง 20 ม. เปลือกสดี ํา เรียบ-ขรุขระ ตาม อายนุ อยจะพบหนามแทงเดยี่ วและหนามแตกกงิ่ ตามก่ิงออ นและ
กงิ่ ออน ดอกและผลออ นมีขนสัน้ หนาแนน สีน้ําตาล ใบเดี่ยว เรยี ง ชอดอกมขี น-เกอื บเกล้ยี ง ใบรูปร-ี รปู ไข ยาว 6–12 ซม. ขอบใบ
สลับ รปู ขอบขนาน ยาว 15–25 ซม. ปลายใบมน-แหลม แผน ใบ จักฟนเลอ่ื ย-หยกั มน ปลายใบแหลม-เรยี วยาวคลายหาง สวนใหญ
เกลีย้ งมนั เงา เนอ้ื ใบหนา มีตอ มสีเขียวเขมบนแผน ใบ เรียงขนาน ผิวใบเกล้ยี ง-ขนประปราย ผลทรงกลม กวางถงึ 2.5 ซม. จุดเดน ที่
กบั เสน กลางใบ ผลทรงกลม-แกมแบน กวา ง 2.5–3.5 ซม. มีกลีบ ปลายผลมียอดเกสรเพศเมยี ตดิ รวมเปนตง่ิ เดยี ว ไมแ ยกหางเปน
เลย้ี ง 4 กลีบ ติดแนบท่ขี ัว่ ผล หมุ ผลลงมาไมเกนิ 1/3 สว น หลายติง่ ผลสุกสแี ดง, พบในปาดงดบิ แลง ใกลแหลง นํ้า ทั่ว
ประเทศ
สรรพคุณ สรรพคณุ
• เปลอื กและเน้อื ไม : รกั ษาโรคตับ (N1) • แกนหรอื ราก : ยาอายุวฒั นะ แกท อ งรว ง; ผลสกุ : รสหวานอม
• เปลือกและเนือ้ ไม : แกทองเสยี บํารงุ กําหนัด (NE3) ฝาดเปนผลไม (ตอ งคลงึ นวดกอนทานเพ่อื เพมิ่ ความหวาน) (E2)
• เปลือก : ประคบแกชาํ้ ใน แกปวดบวม; แกน : ตาํ รายาไทย ตม • ใบ : บาํ รงุ กาํ ลงั โดยใชใบตะขบหรือตะขบไทย (Flacourtia
นาํ้ ดื่มและอาบแกประดง (อาการโรคผิวหนัง เปนเมด็ ข้นึ คลาย rukam) กบั เปลอื กของพนอง (Shorea hypochra) ตม นาํ้ ด่มื
ผด คนั มาก มกั มีไขร วมดว ย) แกผ ืน่ คนั แดงทว่ั ตวั ปวดแสบรอน (S2)
มีน้าํ เหลอื งไหลซึม ยาพ้ืนบานใชแ กน ผสมกับสมนุ ไพรอ่นื ตมนํ้า
ดื่มแกห ดื (R16)
• ตํารบั ยาโรคตบั : รกั ษาโรคตบั ตบั อักเสบ ตบั แขง็ (N1-136)
263
ตะขบปา่
ชือ่ ทอ งถ่นิ : หมากเก็น หมากเบน็ (อุดรธาน)ี ผลสุกตะขบปา
ชื่อวิทยาศาสตร : Flacourtia indica (Burm. f.) Merr. ตะเข้คุมวงั
ชือ่ วงศ : SALICACEAE ชื่อทองถิ่น : โคคลาน (ฉะเชิงเทรา)
ลักษณะเดน : ไมต น สงู ถงึ 11 ม. เปลือกตน อายุนอ ยจะพบ ชอื่ วทิ ยาศาสตร : Mallotus coudercii (Gagnep.) Airy Shaw
หนามแทง เดีย่ วและหนามแตกกงิ่ ตามกิ่งออ น ชอดอกและใบมี ชื่อวงศ : EUPHORBIACEAE
ขน-เกอื บเกลี้ยง ใบรูปรี-รูปไขกลับ ยาว 3–7 ซม. ผลทรงกลม ลักษณะเดน : ไมพ ุม สูงถึง 80 ซม. ก่ิงออ นและใบมขี น
กวา งถงึ 1.5 ซม. ปลายผลมียอดเกสรเพศเมยี ตดิ อยู 5–7 ต่งิ สุก ประปราย-เกล้ยี ง ใบเดีย่ ว เรียงตรงขา ม รปู ไข- ไขก ลับ ยาว
สแี ดง, คลา ยตะขบไทย (Fla_ruk) จดุ ตางทต่ี ะขบปา มีเปลือกแตก 15–16 ซม. ปลายใบเรยี วแหลม ขอบใบหยักซี่ฟน -เกอื บเรยี บ มี
สะเกด็ บาง ไมเ รียบ ขนาดใบคอ นขางเลก็ กวา ปลายใบเวา ตอ มที่ปลายรอยหยกั โคนใบตดั -เวา มีเสน แขนงใบออกจากโคน
บุม -แหลม และขนาดผลคอ นขา งเล็กกวา, มกั พบตามปา ผลดั ใบ ใบ 1 คู กานใบยาว 2–5.5 ซม. ผลทรงรีมี 3 พู กวา ง 9–12 มม.
อาจพบบา งในปาดงดบิ แลง ทั่วประเทศ ผิวไมมีหนาม แตม ขี นหนาแนน เม่ือแกจะแหง แตก 3 ซีก
สรรพคุณ สรรพคณุ
• ใบ เปลอื ก และเนอ้ื ไม : แกไขต ัวรอน แกไ อ แกท อ งรว ง; ผลสกุ • ตํารบั ยาแกปวดเมอื่ ย/บาํ รงุ รางกาย/อมั พาต : แกปวดเม่อื ย
: รสหวานอมฝาดเปนผลไม (ตอ งคลึงนวดกอ นทานเพือ่ เพิม่ ตามเสน -ขอ -หลัง-เอว อัมพาต บํารุงรา งกาย ชว ยใหเจรญิ
ความหวาน) (NE3) อาหาร (E3-02)
• ตํารบั ยาโรคซาง : แกโ รคซางในเดก็ (NE3-009)
ผลออ นตะขบปา
264
ตะเข็บ
ช่อื ทอ งถ่นิ : คอกว่ิ (ตรงั ), หวายตะมอย (สระแกว )
ชอ่ื วิทยาศาสตร : Pothos scandens L.
ชื่อวงศ : ARACEAE
ลักษณะเดน : ไมลม ลุกทอดคลาน เลือ้ ยเกาะตามตนไม ยาวถึง
15 ม. ก่ิงและใบเกลีย้ ง ใบเดยี่ ว เรียงสลับระนาบเดียว รปู ใบหอก
(แผน ทอ่ี ยูชว งปลาย) ยาว 5–11 ซม. กานใบแผเปนปกออกคลา ย
ใบ ยาว 1/3–1/2 ของความยาวแผน ใบ กวางถงึ 2 ซม. กาบใบ
ยาว 2–5 มม. โอบก่ิง ชอ ดอกอดั แนน ทรงกลม กวา ง 1–1.5 ซม.
สีครีม มีใบประดับสมี วงอมนา้ํ ตาล
สรรพคณุ
• ทง้ั 5 : ยาอายวุ ฒั นะ บาํ รุงกําลงั (E2)
• ตํารับยาโรคเบาหวาน : แกโ รคเบาหวาน (S2-22)
6–17 ซม. ชอดอกสีขาวอมเขยี ว ผลทรงกลม กวา ง 1.5–2 ซม.
เปลอื กแขง็ คอนขางหนา ผลสุกสีเหลือง มกั มีสะเกด็ สนี ้ําตาล เน้อื
ในสีสม รสเปรี้ยว เปนผลไมป า
สรรพคุณ
• เน้ือไม : ชว ยขับน้ําคาวปลาหลังคลอด (N1)
• เปลือก : แกทองรว ง, ผลสุก : เนอ้ื ในสีสมรสเปรยี้ ว ทานชวย
ระบายถายทอ ง (NE3)
ตะคร้อ ตะครอง
ชอื่ ทองถน่ิ : ตะครอ (พษิ ณโุ ลก), หมากครอ ชื่อทอ งถ่นิ : ตะครอง (สระแกว), เล็บเหยย่ี วใหญ
(อุดรธาน)ี หนามครอบชาง (พิษณุโลก)
ช่อื วทิ ยาศาสตร : Schleichera oleosa (Lour.) Merr. ชื่อวิทยาศาสตร : Ziziphus cambodiana Pierre
ชื่อวงศ : SAPINDACEAE ชอื่ วงศ : RHAMNACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมต น ผลัดใบ สงู ถึง 20 ซม. เปลือกแตกเปนสะเก็ด ลกั ษณะเดน : ไมพุมรอเลื้อย สูงถงึ 7 ม. เปลอื กลาํ ตนขรุขระ มี
บาง กิ่งออ นและแผนใบดานลางมขี นสนั้ ใบเรียงเวียน ใบ หนามโคนหนารูปส่เี หล่ยี ม ตามก่ิงมีหนามแหลมคม กิง่ ออนและ
ประกอบแบบขนนก มีใบยอย 2–3 คู เรียงตรงขา ม รปู รี ยาว แผน ใบดา นลา งมขี นส้นั -ประปราย ใบเดีย่ ว เรยี งสลบั รูปรี ยาว
5–9 ซม. มีเสนแขนงใบออกจากโคนใบ 1 คู ขอบใบชวงโคนใบ
เรม่ิ ออกจากโคนเสนแขนงใบคูแรก ดอกขนาดเลก็ สีเขียวอม
เหลอื ง ผลทรงกลม กวาง 1.5–2 ซม. ผิวเกล้ยี ง มี 1 เมล็ด คลาย
เมลด็ พุทรา
สรรพคณุ
• เปลือก : สมานแผลภายในทางเดินอาหาร (N1)
• เนื้อไมหรอื ราก : แกอ ัมพฤกษ (E2)
265
โคนใบ 1-2 คู เนื้อใบหนาอวบนํ้า ใบของตนอายุมากรูปใบหอก
ยาวถงึ 23 ซม. ชอ ดอกและชอผลต้ังขึ้น ยาว 3–7 ซม. ดอกสคี รีม
ผลทรงกลม กวา ง 5–8 มม. สกุ สเี หลอื งอมสม มกี า นผลยาว 5–8 มม.
ตะคา้ นเล็ก บน : ใบของตนอายนุ อ ย, ลา ง : ใบของตนอายมุ ากและผลออ น
ช่ือทองถน่ิ : สะคาน (ช่ือทีน่ ยิ มเรยี กทางสมุนไพร), สรรพคุณ
เถาสะคาน (สระแกว ), สะคา น สะคา นพริก (ตรัง), • เถา : มีรสเผด็ รอน ใชป รับธาตุในรางกาย (E2)
สะคาน สะคา นพษิ (พัทลุง), สะคา นเถา สะคา น (พษิ ณโุ ลก) • เถา : ยาประจําธาตุลม ชว ยบํารุงเลือด ชวยขับลม (N1)
ชื่อวิทยาศาสตร : Piper ribesioides Wall. • ตํารบั ยาเบญจกลู : บาํ รุงธาตุ ปรับสมดุลธาตุ (ดิน น้าํ ลม ไฟ)
ชอ่ื วงศ : PIPERACEAE ชว ยใหเ ลือดไหลเวยี นดี แกท องอืด ชวยขบั ลม (N1-268)
ลกั ษณะเดน : ไมเ ถาเนือ้ คอนขางออน เลอื้ ยเกาะตามตน ไม ยาว • ตํารับยารกั ษากลาก/เกล้ือน/สงั คัง/ตกขาว/สะเกด็ เงนิ :
ถึง 30 ม. เถามีขอปลอ งและมชี อ งอากาศกระจาย กิง่ และใบ รกั ษาโรคผวิ หนังจากเชือ้ รา เชน กลาก เกลอื้ น สงั คงั ตกขาว
เกลย้ี ง ทุกสว นมกี ลน่ิ คลา ยพริกไทย ใบเด่ียว เรยี งสลับซายขวา (สาเหตุจากเช้อื รา) หรือจากเช้ือแบคทีเรยี สะเกด็ เงิน แกคนั
ใบตน อายนุ อ ยรปู หัวใจ (มีขนาดเลก็ และสน้ั กวาใบตนอายมุ าก) ผดผนื่ คัน (S1-16)
โคนใบเวา เสนแขนงใบขา งละ 3–6 เสน มีเสนแขนงใบออกจาก
266
• ตํารบั ยากาํ ลงั ฮอ สะพายควาย : บํารุงกําลัง แกปวดเมอื่ ยตาม • ตาํ รับยาบาํ รงุ โลหติ สตรีโดยตรง/ประจาํ เดือนเปนปกติ :
รา งกาย (S1-43) บาํ รุงโลหิตของสตรีโดยตรง รกั ษาอาการประจําเดือนใหเ ปน
• ตํารับยารักษากระดกู ทบั เสน : รักษาอาการกระดกู ทับเสน ปกติ แกโ ลหติ ระดเู สีย บาํ รงุ ธาตุ (S2-50)
(S2-04) • ตาํ รับยาบํารงุ เลือด/หวั ใจ/รางกาย : บาํ รุงเลอื ด ดมู เี ลือดฝาด
• ตาํ รบั ยาแกก ษัยไตพิการ : แกก ระษยั ไตพิการ บาํ รุงไต, ชวย บาํ รุงหัวใจ บาํ รุงรางกายทง้ั ชาย-หญิง แกอาการซูบผอม
ขับปสสาวะ (S2-09) (S2-51)
• ตาํ รบั ยาโรคไมเกรน/วงิ เวยี นศีรษะ : แกโรคไมเกรน แกว ิง • ตํารับยาซอ มแซม/เสริมสรา งเสน เอน็ พิการ : ชวยซอมแซม
เวียนศีรษะ (S2-21) และเสริมสรา งเสน เอน็ ทพ่ี กิ าร แกอ าการกระษัยเสน ในทอ ง
• ตํารับยาโรคอมั พาตระยะแรก : แกอ าการกง่ึ อัมพาตหรือ (เสน ทอ งแข็ง) (S2-54)
อัมพาตระยะแรก กลามเนือ้ ออนแรง เดนิ ยืนไมปกติ เหนบ็ ชา • ตาํ รับยาไขห วดั ใหญ : แกไ ขห วัดใหญ (S2-57)
(S2-24) • ตํารับยาแกเหน็บชา : แกเ หน็บชา อาการชาตามปลายมอื
• ตาํ รับยาปรบั ธาตุ/ปวดเมอ่ื ย/ปวดขอ-เอน็ : ชว ยปรบั ธาตุ แก ปลายเทา (S2-63)
ปวดเม่ือย ปวดเขา -ขอ -เอน็ แกเ อ็นพกิ าร (S2-26) • ตาํ รบั ยารักษากระดูกทับเสน : รกั ษาอาการกระดกู ทับเสน
(S2-66)
ซาย : ผลออ น-สกุ ของสะคา น, ขวา : เถา, ลาง : เถาแหง • ตาํ รับยารักษาอาการบวมอกั เสบจากพิษบาดแผล/แผล
• ตาํ รับยาโรคประดงเลอื ด : แกป ระดงเลือด เลอื ดขนึ้ มีอาการ อกั เสบ : รกั ษาอาการบวมอกั เสบจากพษิ บาดแผล รกั ษาแผลผุ
คันตามผิวหนงั (S2-27) พอง เปน หนอง (S2-67)
• ตํารับยาละลายลิ่มเลอื ด : ชวยละลายลม่ิ เลอื ด บรรเทาอาการ • ตาํ รับยาเบญจกูล : บาํ รงุ ธาตุ ปรับสมดุลธาตุ (ดิน น้ํา ลม ไฟ)
เสน เลือดตีบ (S2-30) ยาอายวุ ฒั นะ (S2-90)
• ตาํ รบั ยาแกป วดเมื่อยเสนเอ็น : แกป วดเม่อื ยตามเสน เอน็ เสน • ตาํ รบั ยาหอมนวโกฐ : แกคลนื่ เหยี นอาเจียน วงิ เวียน ลมจกุ
เอ็นอักเสบ บรรเทาอาการอมั พฤกษ- อัมพาต (S2-31) แนนในอก แกล มปลายไข แกอาการสะบัดรอนสะบดั หนาว
• ตํารบั ยาโรคอมั พฤกษ-อมั พาต : รักษาอมั พฤกษ-อัมพาต หรอื ครั่นเนื้อครน่ั ตัว รอนวูบวาบเหมอื นจะเปน ไข บาํ รงุ
(S2-32) ประสาท (S3-01)
• ตํารบั ยาไขกาํ เดาใหญ : แกไขกาํ เดาใหญ (S2-47) • ตํารับยาหอมอนิ ทจกั ร : แกคล่ืนเหียนอาเจยี น หนา มดื จะเปน
ลม ลมจุกเสียดแนน หนาอก แนนทอง ทอ งอดื อาหารไมย อ ย
ปรับระบบการหมุนเวียนเลอื ดใหดี ชวยบาํ รงุ หัวใจ (S3-04)
• ตาํ รับยาธาตบุ รรจบ : แกท องเดิน ทองเสยี ที่ไมม สี าเหตุจาก
การตดิ เชอื้ ไมมีไขแ ทรก, แกท อ งอดื ทองเฟอ แกธ าตุไมป กติ
หรือพิการ (S3-15)
• ตาํ รบั ยาแกทอ งอืด-ทอ งเฟอ : แกทองอดื ทองเฟอ ชวยขบั ลม
ทาํ ใหผ ายลม (S3-25)
• ตาํ รับยาแกท อ งอืด-ทองเฟอ : แกทองอดื ทองเฟอ ชวยขบั ลม
ในลาํ ไส (S3-39)
• ตาํ รบั ยารกั ษามดลูกพิการ-อักเสบ/ขับนา้ํ คาวปลา : แกม ดลกู
พิการ มดลกู อักเสบ ชว ยบาํ รุงรกั ษามดลกู บํารงุ สตรีหลงั คลอด
ชวยขบั นํา้ คาวปลา ขบั เลือดเสีย (S3-51)
• ตาํ รบั ยาโรคมะเร็งตบั /ฝใ นตบั /ตับอกั เสบ : รักษาโรคมะเร็ง
ตบั (ระยะท่ี 1–3), โรคฝใ นตับ, โรคตบั อกั เสบ, โรคกาฬลงตับ
(มีอาการเพอคลุมคล่งั และนยั นตาเปนสแี ดงรวมดวย) (S3-74)
267
ตะเคยี นเฒ่า ตะเคียนทอง
ชอ่ื ทองถิน่ : พะวานํ้า (ตรัง) ช่อื ทอ งถน่ิ : ตะเคยี น ตะเคียนทอง (พัทลุง, ตรงั ,
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Fagraea racemosa Jack ฉะเชิงเทรา)
ช่อื วงศ : GENTIANACEAE ช่อื วิทยาศาสตร : Hopea odorata Roxb.
ลกั ษณะเดน : ไมพุม สูงถงึ 6 ม. กง่ิ ออ นและใบเกล้ียง ใบเดี่ยว ชือ่ วงศ : DIPTEROCARPACEAE
เรยี งตรงขา ม รปู ไข- รี ยาว 10–25 ซม. เน้อื ใบคอ นขางหนา โคน ลักษณะเดน : ไมต น สูงถึง 40 ม. ตามกิง่ ออ น ชอดอก และผลมี
กา นใบโอบก่ิงเลก็ นอ ย ชอดอกออกที่ปลายกิง่ หอ ยลงยาว ขนสัน้ นุม เปลอื กแตกสะเก็ดตามแนวยาว-รองตามแนวยาว มชี นั
11–17 ซม. ดอกยอยเรียงดูคลายกระจกุ รอบขอ กลบี ดอกรปู แตร สขี าวใสออกมาตามรอยแผล ใบเด่ียว เรียงสลับ รูปไข-ใบหอก
ปากกวาง ยาว 2–3 ซม. สีสมอมขาว ปลายแยก 5 แฉก มกี ล่ิน ยาว 8–15 ซม. ปลายใบเรียวแหลม ผวิ เกลย้ี ง มกั พบตอ มทซ่ี อก
หอม ระหวางเสนแขนงใบและเสน กลางใบ ดอกขนาดเล็กสีครมี มกี ล่ิน
สรรพคุณ หอม ผลมปี ก 2 ปก รปู ขอบขนานแกมหอกกลับ ยาว 4–6 ซม.
• ใบสด : ตาํ แลวผสมนํา้ เลก็ นอย ค้ันกรองนา้ํ ด่ืม แกบวม แก ผลรปู หยดนาํ้ กวา ง 5–7 มม.
อกั เสบ แกป วดขอ แกไ ข (S2)
สรรพคุณ
• ตาํ รบั ยาน้ํามันชันตะเคยี น : รกั ษาบาดแผลอกั เสบเรอ้ื รงั แผล
หนองพุพอง แผลเบาหวาน/กดทบั แผลไฟไหม/น้ํารอนลวก
(E1-02)
• ตาํ รับยาไขหวดั ใหญ : แกไขหวดั ใหญ (S2-57)
• ตาํ รบั ยาเหลอื งปดสมุทร : รกั ษาอาการทองเสีย ทไ่ี มมีสาเหตุ
จากการติดเช้ือ ไมม ีไขแ ทรก อุจจาระไมเปนมูกหรือมีเลอื ดปน
(S3-14)
268
ตะแบกแดง
ชอ่ื ทอ งถิ่น : ตะแบก เปอย (พษิ ณุโลก),
ตะแบกแดง (สระแกว )
ชือ่ วิทยาศาสตร : Lagerstroemia calyculata Kurz
ชือ่ วงศ : LYTHRACEAE
ลักษณะเดน : ไมต นผลดั ใบ สงู ถงึ 40 ม. เปลอื กหลุดลอนเปน
ดวงและหลุมตืน้ ถากเปลอื กในสขี าวอมชมพู เห็นช้ันแคมเบียมสี
มว ง ก่งิ ออนเปนสี่เหลี่ยม ใบเด่ียว เรียงตรงขาม รูปรีแคบ-ใบหอก
ยาว 12–18 ซม. แผนใบดานลา งมขี นส้ัน กลบี ดอกสีขาว ดอก
บาน กวา ง 1–1.5 ซม. กลบี เล้ียง 5–7 กลีบ โคนกลบี เลี้ยงคลาย
ถวย ผวิ ดา นนอกเรียบ ผลรูปไข ยาว 1 ซม. เมือ่ แกแหงแตกอา 5
ซกี
สรรพคณุ
• เปลือกและแกน : บํารงุ กาํ ลงั แกบิด แกถายเปนมกู เลือด (E2)
• เปลอื ก : รสฝาด ชวยแกทอ งเสยี (N1)
ผลตะแบกแดง
ตะแบกนา
ช่อื ทอ งถ่นิ : เปอย (อุดรธาน)ี
ชอื่ วทิ ยาศาสตร : Lagerstroemia floribunda
Jack var. floribunda
ชื่อวงศ : LYTHRACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมต นผลดั ใบ สูงถงึ 20 ม. เปลือกหลดุ ลอ นเปน
ดวงและหลมุ ตืน้ ถากเปลือกในสขี าวอมชมพู เหน็ ชนั้ แคมเบียมสี
มวง ก่ิงออ นเปนสเี่ หลย่ี ม คลายกับตะแบกแดง (Lar_cal) มจี ดุ
ตางท่ตี ะแบกนามีแผน ใบดานลางเกลยี้ ง กลีบดอกสีชมพ-ู ขาว
ดอกบาน กวา ง 3–4 ซม. ผวิ ดานนอกถวยกลบี เลีย้ งมีจีบ 12 จบี
ตามแนวตงั้ ผลรูปไขก วาง ยาว 1.5-2 ซม.
สรรพคุณ
• เปลอื ก : ชวยขับระดู แกโลหติ จาง ยาอายวุ ฒั นะ (NE3)
• ราก : ตมนา้ํ ด่มื แกอ าการปวดทอ งและปวดประจาํ เดอื น (R18)
269
ตะไหล
ช่อื ทอ งถน่ิ : เขม็ ปา (พษิ ณุโลก)
ช่อื วิทยาศาสตร : Prismatomeris tetrandra
(Roxb.) K. Schum. subsp. tetrandra
ชื่อวงศ : RUBIACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมพ ุม สูงถึง 3 ม. กง่ิ ออ นและใบเกลย้ี ง กิง่ สีขาวมี
รองเล็กนอ ย ใบเดี่ยว เรียงตรงขาม รูปรี-ใบหอก ยาว 6–13 ซม.
แผนใบเรยี บ เสน แขนงใบและเสน กลางใบที่ผิวใบดานบนนูน
กลีบดอกสีขาว เปน หลอด (คลา ยดอกเขม็ ) ยาว 2.5–3 ซม.
ปลายแยก 5 แฉก กานดอกยอย ยาว 2–3 ซม.
สรรพคุณ
• ตนและใบ : แกไ ข แกโรคเบาหวาน แกโ รคความดัน (N1)
ผลแกต ะแบกนา ตังตาบอด
ตะลุมพุ ก ชือ่ ทองถิน่ : ไฟเดือนหา (พทั ลงุ , ตรัง)
ช่อื ทอ งถ่นิ : หัวเอ่ยี น (อุดรธานี) ชื่อวิทยาศาสตร : Excoecaria oppositifolia Griff.
ชอื่ วทิ ยาศาสตร : Tamilnadia uliginosa ชื่อวงศ : EUPHORBIACEAE
(Retz.) Tirveng. & Sastre ลักษณะเดน : ไมพมุ สูงถงึ 8 ม. ทุกสวนท่มี ชี วี ติ มนี ้ํายางสีขาวขนุ
ชอ่ื วงศ : RUBIACEAE ตามก่งิ ออ น กานใบ ใบ และผลเกลยี้ ง ใบเดย่ี ว เรียงตรงขาม รูป
ลักษณะเดน : ไมพ มุ สงู ถงึ 5 ม. เปลือกเรยี บสีน้ําตาลแดง มี ขอบขนาน ยาว 17-35 ซม. ขอบใบจกั ฟน เลอื่ ย เนือ้ ใบคอนขา ง
หนามตามลาํ ตน และก่ิง กงิ่ และเนอ้ื ไมม คี วามยดื หยนุ สูง ใบเด่ยี ว หนา กานใบยาว 2-4 ม. ผลทรงกลม กวา ง 3-5 ม. แปนเลก็ นอ ย
เรียงเปนกระจกุ ทปี่ ลายกิ่ง รปู ไขก ลบั ยาว 8-20 ซม. ผิวใบเกล้ยี ง มเี สน แนวแบง 3 พู
และมันเงา ดอกเดยี่ ว มกี ลีบดอก 5-6 กลีบ สขี าว ดอกบานแผ สรรพคุณ
กวาง 4-7 ซม. ผลทรงรกี วา ง ยาว 5-10 ซม. ผิวเกลย้ี ง • ตาํ รับยาแกล มกองหยาบ/วงิ เวยี น-ใจสั่น : แกว ิงเวียนศีรษะ
สรรพคณุ ใจส่ัน อาการบา นหมนุ หนา มดื ตาลาย ลมขึ้นแนนหนา อก
• ราก : แกบดิ , แกน : แกน ตะลุมพกุ ผสมกับแกน มะคงั แดง (ประเภทลมกองหยาบ) (S1-38)
(Dio_ery) ตมน้ําด่ืมบาํ รงุ กําลัง (NE3) • ตํารับยาโรคภมู แิ พ : แกโ รคภมู ิแพ (S2-18)
• ตาํ รบั ยาโรคภมู ิแพ : แกภมู แิ พ (S2-49)
270
• ตํารบั ยาบาํ รงุ น้ํานม : บํารงุ นํ้านม ขับนํ้านม (N1-155)
• ตาํ รับยาบํารงุ สตรหี ลังคลอด : บาํ รงุ สตรหี ลังคลอด ขับนํา้
คาวปลา บาํ รุงนา้ํ นม (N1-80)
• ตํารบั ยาบํารงุ น้ํานม : บํารุงน้าํ นม (NE3-008)
บน : ผลออ นตังตาบอด, ลาง : นาํ้ ยาง ตาไก่ใบกวา้ ง
ตับเตา่ ต้น ชื่อทองถน่ิ : ตาเปดตาไก (ตรงั ), พิลังกาสา
ช่อื ทองถิน่ : แหนกวาง แฮดกวาง (พิษณโุ ลก), (พิษณโุ ลก), พลิ งั กาสาปา ฝาละมี (สระแกว)
เฮือนกวาง (อดุ รธาน)ี ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Ardisia crenata Sims var. crenata
ช่อื วิทยาศาสตร : Diospyros ehretioides Wall. ex G. Don ช่อื วงศ : PRIMULACEAE
ชอ่ื วงศ : EBENACEAE ลักษณะเดน : ไมพมุ สูงถงึ 2 ม. ตามก่ิงออ น ชอ ดอกและใบ
ลักษณะเดน : ไมตน สูงถงึ 20 ม. เปลอื กขรขุ ระ-สะเก็ดสเี ทา เกลย้ี ง โคนก่งิ ท่ีตอกับลําตนบวม ใบเดี่ยว เรียงเวยี น รูปรี-ใบหอก
ตามสว นออ น ๆ มีขนสน้ั นมุ ใบเด่ียว เรยี งสลับ รปู รี-รีกวา ง ยาว ยาว 5–11 ซม. ขอบใบหยักมน รอ งหยกั มีตอ ม ดอกสขี าว-ชมพู
13-25 ซม. ปลายใบแหลม-กลม แผน ใบเกล้ยี ง มีรอยกดเลก็ นอ ย กลีบดอกมี 5 กลีบ ดอกยอ ยควํา่ หนา ลง ผลทรงกลม กวาง 7–10
ตามแนวเสนใบทีผ่ ิวใบดานบน และมีตอมสีเหลอื งเรยี งขนานไป มม. สกุ สแี ดง-สดี ํา
ตามแนวเสนกลางใบ ผลทรงกลม กวาง 1-2 ซม. ผลสุกเกล้ียง สรรพคุณ
สีเหลือง-แดง ขัว่ ผลมกี ลีบเลย้ี ง 4-5 กลีบตดิ คา ง รปู ไข ยาว • ใบแกแ ละราก : เปนยาเย็น ชว ยลดไขตัวรอน ชวยฆาเชอ้ื ไวรัส
1/3-1/2 ของความยาวผล (E2)
สรรพคุณ • ใบ : รกั ษาโรคตับ (N1)
• ผลดิบ : ใชเ บ่ือปลา (NE3) • ใบและยอดออ น : บาํ รุงกาํ ลงั (S2)
• ราก : ตมนํ้าดม่ื ดบั พษิ รอน แกร อนใน กระหายนาํ้ ถอนพิษไข • ตํารบั ยาโรคตับ : รักษาโรคตบั ตบั อักเสบ ตบั แขง็ (N1-136)
พิษของแสลง พิษผดิ สําแดง และพษิ ตานซาง (R18)
271
แกทองรว ง แกตาเจบ็ สาํ หรับปศสุ ตั ว; ใบ : แกปวด เผาใหเปน ขี้
เถา ๆ ทไี่ ดผสมกับนา้ํ มัน หรอื ใบสดนํามาขยี้ ทาบรรเทาอาการ
คัน (R6)
• ตํารับยาโรคเกาท : รกั ษาโรคเกาท แกป วดขอ ปวดเขา แกพ ิษ
ในกระดูก บาํ รงุ กระดูก (S2-03)
ตาไกใ บกวาง/ตาเปด ตาไก ตาตมุ่ บก
ตา้ งหลวง ชอื่ ทองถนิ่ : ตาตุมบก (พิษณโุ ลก), ยางตาแตก
ชือ่ ทอ งถนิ่ : คานหามเสอื (ตรัง), ตา ง ตางหลวง (อุดรธานี)
(อดุ รธานี) ช่อื วิทยาศาสตร : Falconeria insignis Royle
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Trevesia palmata (Roxb. ex Lindl.) Vis. ชอ่ื วงศ : EUPHORBIACEAE
ชื่อวงศ : ARALIACEAE ลักษณะเดน : ไมต น ผลดั ใบ สูงถึง 40 ม. ทกุ สว นที่มชี ีวติ มนี ้าํ ยาง
ลักษณะเดน : ไมพมุ สูงถงึ 4 ม. ยอดและชอ ดอกมีขนสีน้าํ ตาล สีขาวขนุ เปลอื กแตกเปน รองตนื้ -ลึกตามแนวยาว ยอดและใบ
แดง ก่งิ มีหนาม ใบเดี่ยว เรยี งเวยี น รปู ฝา มอื หยักเปนแฉกลึกถึง เกลี้ยง ใบเดี่ยว รูปรี-หอกกลับ ยาว 15–30 ซม. ขอบใบจักฟน
2/3 สว นของแผนใบ มี 6–10 แฉก แตล ะแฉกมีขอบใบจกั ฟน เล่ือย โคนใบมตี อ มนนู 1 คู ชอ ผลออกตามปลายก่งิ ตง้ั ขน้ึ ผล
เล่ือย บางคร้งั จักลึกแบบขนนก ปลายใบแหลม โคนแตละแฉก ทรงกลม กวา ง 1 ซม. ไมม กี านผล
หยักคอดถงึ เสน กลางใบ ผวิ ใบเกล้ยี ง เสนใบนนู ชัดเจนทผ่ี ิวใบ สรรพคณุ
ดา นบนแผน ใบ • เปลอื ก : รักษาไขฝ ด าด แตต อ งยางกับไฟฆา พิษจากยางออก
กอนนําไปใช (N1)
• น้าํ ยางสด : มพี ิษกัดผวิ หนังทําใหผิวหนงั อกั เสบ โดยเฉพาะ
ผวิ หนงั ท่ีบางและออน หากถูกตาจะอักเสบ หรือบอดได (NE3)
สรรพคณุ
• ดอก ผลออน หรือราก : บาํ รุงกําลัง (NE2)
• เปลอื ก ราก และเน้ือไม : แกไ ข กระทงุ พิษไข พิษไขกาฬ ไขห ัว
ทุกชนดิ แกร อ นในกระหายนํา้ ฟอกโลหิต รกั ษาลาํ ไส แกบ ดิ
272
เปลอื กตนตาตมุ บก และน้ํายางสีขาวขนุ เปลอื กของตนตานนมที่มอี ายมุ ากจะสลดั หนามทิ้งและแตก
สะเก็ดสเี่ หลยี่ มหนา
สรรพคุณ
• เปลือก : บาํ รุงนา้ํ นม; แกนและราก : แกไ ข แกร อ นใน รกั ษา
ตานขโมย; ผลสกุ : รสหวานทานเปน ผลไม (E2)
ตานนม ตานเสยี้ น
ชื่อทอ งถ่นิ : ตานเส้ยี น (สระแกว) ชอ่ื ทอ งถนิ่ : นมสาว (พิษณโุ ลก, อุดรธานี)
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Xantolis cambodiana ช่อื วิทยาศาสตร : Xantolis burmanica
(Pierre ex Dubard) P. Royen (Collett & Hemsl.) P. Royen
ชอ่ื วงศ: SAPOTACEAE ชื่อวงศ : SAPOTACEAE
ลักษณะเดน : ไมตน ผลดั ใบ สงู ถึง 10 ม. เปลือกแตกเปน สะเก็ด ลักษณะเดน : ไมต น ผลดั ใบ สูงถึง 8 ม. เปลอื กแตกเปน สะเก็ด
ส่เี หลี่ยมหนา ทกุ สวนท่มี ีชีวิตมีน้ํายางสขี าวขุน กงิ่ และตนออ นมี หนา ทุกสว นทม่ี ชี วี ิตมีนาํ้ ยางสีขาวขนุ กิ่งและตนออนมีหนามยาว
หนามยาวถงึ 3 ซม. มีขนนุม หนาแนนตามกง่ิ ชอ ดอก และผล ถึง 3 ซม. มขี นนุมตามกงิ่ ออ น และผลออน มลี ักษณะคลา ยตาน
ออ น ใบเดี่ยว เรยี งเวียน รปู ไขก ลบั ยาว 5–11 ซม. ปลายใบ นม (Xan_cam) จดุ แตกตางที่ ตานเสีย้ นมีใบรูปร-ี รีแคบ-หอก
มน-เรียวแหลม โคนใบสอบ เสนแขนงใบตรง เรียงขนานกันเปน กลับ ยาว 7–16 ซม. (ใบคอ นขางยาวกวา ) ปลายใบแหลม-เรยี ว
ระเบยี บ ปลายเสน โคงจรดกัน แผน ใบดานลางมขี นสน้ั ดอกสขี าว แหลม ผวิ ใบเกลีย้ ง
ผลคอ นขางกลม-รี ยาว 1.5–2 ซม., ตานนม (Xan_cam) ตาน สรรพคุณ
เสยี้ น (Xan_bur) และตานเส้ียนเล็ก (Xan_sia) มลี กั ษณะคลา ย • เน้อื ไม : บาํ รุงนํ้านมสตรหี ลังคลอดบตุ ร (NE2)
กันและมสี รรพคณุ ทางยาคลายกนั ดวยสามารถใชแ ทนกนั ได • ตํารับยาบาํ รุงนํา้ นม : บาํ รุงน้าํ นม ชว ยขบั น้ํานม (N1-255)
273
ตานเสยี้ นเลก็
ชอ่ื ทอ งถน่ิ : ตานเสีย้ น (พิษณุโลก)
ชื่อวทิ ยาศาสตร : Xantolis siamensis (H. R.
Fletcher) P. Royen
ช่ือวงศ : SAPOTACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมตน ผลัดใบ สงู ถึง 8 ม. เปลือกแตกเปน สะเก็ด
แกมรอ งลกึ ตามยาว ทกุ สวนทม่ี ชี ีวิตมนี ้าํ ยางสขี าวขุน กิง่ และตน
ออ นมีหนามยาวถงึ 3 ซม. มขี นนุมหนาแนน ตามก่ิง ชอ ดอก แผน
ใบ และผลออน มีลกั ษณะคลา ยตานนม (Xan_cam) จดุ แตกตา ง
ทีต่ านเสีย้ นเล็กมีผิวใบเกลี้ยง รปู ไขกลับ ยาว 3–8 ซม. (ใบสน้ั
และเลก็ กวา ) ปลายใบมน-กลม เสน แขนงใบคอ นขา งคด เรยี งไม
ขนานกันนักเหมือนของตานนม (Xan_cam) ผวิ ใบเกล้ยี ง
สรรพคุณ
• เนอื้ ไม : บาํ รุงรา งกาย บํารงุ น้ํานม (N1)
เปลอื กของตน ตานเส้ยี นอายนุ อยจะมีหนามจาํ นวนมาก เปลอื กของตน ตานเส้ียนเลก็ ทม่ี ีอายมุ ากจะสลัดหนามท้ิงและแตก
สะเก็ดแกมรอ งลกึ ตามยาว
274
ตานหก ตานหม่อน
ช่อื ทอ งถน่ิ : ตานหก (สระแกว) ชอ่ื ทองถนิ่ : ตานหมอน (พัทลงุ )
ช่ือวิทยาศาสตร : Litsea pierrei Lecomte ช่อื วิทยาศาสตร : Tarlmounia elliptica (DC.)
ชื่อวงศ : LAURACEAE H. Rob., S. C. Keeley, Skvarla & R. Chan
ลักษณะเดน : ไมต น สูงถึง 30 ม. เปลอื กเรยี บ-เปน หลมุ ต้นื ๆ ชือ่ วงศ : ASTERACEAE
ตามกิ่งออ น กา นใบ และใบเกล้ยี ง ใบเด่ียว เรียงเวียน รปู รี-ขอบ ลกั ษณะเดน : ไมเถาเนอ้ื คอนขา งแข็ง ยาวถึง 10 ม. ตามกงิ่ กาน
ขนาน-หอกกลับ ยาว 5–15 ซม. จดุ เดนท่ีมขี อบใบงุม ลง แผนใบ ใบ แผนใบดา นลา ง และชอ ดอกมขี นหยิกงอสขี าวหนาแนน แนบ
ดา นลา งมีนวล เน้อื ใบหนาเห็นเสน ใบยอ ยไมช ัด กานใบยาว 2–3 ตดิ กบั ผิว ใบเด่ียว เรยี งเวยี น รูปใบหอก-ขอบขนาน ยาวถงึ 12
ซม. ผลรูปไขก ลับ ยาว 1 ซม. ไมมีกานผล ซม. ขอบใบเรียบ-จกั ฟนเล่อื ย ชอดอกสีมวงอมชมพู ออกตาม
สรรพคณุ ปลายกิง่ และซอกใบใกลปลายกิ่ง ผลออกเปน กระจกุ แนน เมลด็
• ท้ัง 5 : ตําแลวแชหรอื ตมกบั นํา้ สะอาด หรอื ฝนทา รักษาโรค แกมีพขู นแตกฟสู ีขาว
ผวิ หนงั จากเชื้อรา รักษาแผลอกั เสบ (E2) สรรพคุณ
• ตาํ รบั ยาประสะมะแวง : แกไอ ขบั เสมหะ ทาํ ใหชุมคอ (S3-08)
• ตํารับยาไขรอนในกระหายนํ้า/ทองเสียแบบมไี ข : แกไ ขร อ น
ในกระหายน้ํา แกท อ งเสียแบบมีไข แกไ ขอ าเจยี น แกไขนอนไม
หลบั (S3-47)
บน : ดอกตานหมอ น, ลาง : เมลด็ แหงติดเปน กลุม
275
ตาลเหลือง ตงิ่ ตงั่
ชือ่ ทอ งถ่ิน : ชางนา ว (อุดรธานี, พษิ ณโุ ลก) ชือ่ ทอ งถ่ิน : ต่ิงต่ังตัวแม (อุดรธานี), ตีนตั่ง
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Ochna integerrima (Lour.) Merr. เถาตีนต่ัง (พิษณุโลก)
ชือ่ วงศ : OCHNACEAE ชือ่ วิทยาศาสตร : Getonia floribunda Roxb.
ลกั ษณะเดน : ไมพุม สูงถึง 5 ม. เปลือกแตกเปนสะเก็ดหนา ช่ือวงศ : COMBRETACEAE
ใบเด่ียว เรียงสลับ รปู ไขก ลับ-รี ยาว 7-15 ซม. ขอบใบจักฟน ลกั ษณะเดน : ไมเ ถาเน้อื แข็ง ยาวถึง 30 ม. เถากลม ตามกิ่งออน
เลื่อย ปลายเสนแขนงใบโคงเรียวเกือบจะขนานกับขอบใบ แผน ใบ และชอดอกมีขนสน้ั นมุ สนี ํ้าตาลหนาแนน ใบเดี่ยว เรียง
ชอดอกออกกระจกุ กลีบดอกสเี หลอื ง มี 5 กลบี ดอกบานกวาง ตรงขา ม รูปไข- รี ยาว 8–17 ซม. ชอดอกออกตามซอกใบและ
4-5 ซม. ผลทรงกลมรี ยาว 1-1.3 ซม. สุกสีดํา ติดเปนกลุม 1-9 ปลายก่ิง สีขาวอมเขียว เมื่อติดผลกลบี เลี้ยงท้ัง 5 จะขยายขนาด
ผล/กลุม มีกลบี เลยี้ งและกานเกสรเพศผูสแี ดงตดิ ทน เปนปก 5 ปก คลา ยดอก บานกวา ง 2–3 ซม. แลวตดิ เปน ชอ ผล
สรรพคุณ แหง สีนาํ้ ตาลออ น เมล็ดรูปขอบขนานติดอยทู ี่โคนปก
• เปลอื ก : ใชรักษาโรคผวิ หนงั และตาอักเสบ; ใบ : แกก ลาก สรรพคณุ
เกลอื้ น ขบั พยาธ;ิ ผลและราก : ชาวอาขา ตม น้ําดมื่ บํารุง • ราก : แกปวดฟน (NE3)
รา งกาย แกไข แกไ อ แกปวดทอ ง โรคกระเพาะอาหาร อาหาร • ตาํ รับยาโรคเกา ท : รักษาโรคเกา ท ลดกรดยรู กิ ชว ยการขบั
ไมยอ ย อาหารเปน พิษ ทองเสยี บิด; ดอกและผล : ชว ยถอนพษิ ถาย (N1-50)
ไข และขับระดู (R15, R26)
• เนื้อไม : บาํ รุงกาํ ลัง (N1)
• ราก : ขับพยาธิ (NE3)
• ตํารบั ยารกั ษาโรคตบั โต/โรคตับอกั เสบ : รกั ษาตับโต/ตับ
อกั เสบ (NE2-020)
• ตํารับยาบาํ รุงรา งกาย : บํารุงรางกาย (NE3-011)
• ตาํ รบั ยาไขม าลาเรีย : แกไขม าลาเรีย ไขจ บั สัน่ หรือไขปา
(NE3-012)
บน : ชอ ดอกต่ิงต่ัง
276
ติว้ เกลยี้ ง สรรพคณุ
ช่อื ทอ งถ่นิ : ติว้ (พษิ ณโุ ลก), ตว้ิ ต้วิ เกลีย้ ง • เปลือก : สมานแผลภายใน หรือแผลภายนอก (N1)
(อดุ รธานี) • น้าํ ยาง : รกั ษาโรคหิด รกั ษาแผลสนเทา แตก (NE3)
ชื่อวทิ ยาศาสตร : Cratoxylum cochinchinense (Lour.) • ตน และราก : ตมผสมกับกําแพงเจด็ ช้ัน แกกระษยั เสน และเปน
Blume ยาระบาย; ใบออนและยอด : รับประทาน มฤี ทธ์ิเปนยาระบาย
ชื่อวงศ : HYPERICACEAE ออ น ๆ ; นํ้ายางจากเปลือก : ใชทารกั ษาโรคหิด และน้ํากดั เทา
ลกั ษณะเดน : ไมพ ุม-ไมตน ผลัดใบ สงู ถงึ 15 ม. เปลือกแตกลอน (R61)
เปน แผน บางและเปนหลมุ ต้ืน สีนํ้าตาลแดง ตนอายนุ อยเปลอื กมี • ใบ เปลือก และนํ้ายาง : รักษาโรคผวิ หนงั แผลสด แกฝ า เทา
หนาม เปลือกในมนี า้ํ ยางเหนยี วสีแดงคล้ํา ยอดรสฝาดไมเ ปรย้ี ว แตก (S2)
นัก ไมมขี น ใบเดีย่ ว เรยี งตรงขา ม รูปรี ยาว 5–10 ซม. ผวิ ใบ ตวิ้ ขาว
เกลี้ยง แผน ใบดา นลางคอ นขางเรียบสีเขยี วนวล กลีบดอกสแี ดง ชือ่ ทองถ่นิ : ตวิ้ สม ตว้ิ แดง ผกั ต้วิ (อุดรธานี), แตว
มี 5 กลีบ ผลรูปไขป ลายแหลม ยาว 1.5-2 ซม. เม่ือแหง จะแตก 3 (พทั ลงุ , ตรงั )
ซีก มกี ลบี เลี้ยงหุมโคนผล ช่ือวทิ ยาศาสตร : Cratoxylum formosum (Jacq.) Benth. &
Hook. f. ex Dyer subsp. formosum
ช่อื วงศ : HYPERICACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมตนผลดั ใบ สูงถงึ 30 ม. เปลือกแตกสะเกด็ ตาม
แนวยาว สนี าํ้ ตาล ตน อายนุ อ ยตามลาํ ตนมหี นาม เปลือกในมนี าํ้
ยางเหนยี วสแี ดงคล้าํ ยอดสรี สเปรีย้ ว ไมม ขี น ใบเดี่ยว เรียงตรง
ขาม รูปรีแกมขอบขนาน ยาว 8–17 ซม. ผิวใบเกลี้ยงมันเงา
แผนใบดา นลางไมเปนสเี ขยี วนวล ผวิ ใบดานบนมรี อยกดตามแนว
เสนแขนงใบ กลีบดอกสขี าว-ชมพู มี 5 กลีบ ปลายกลีบดอกจกั
เปน ฝอย ผลรปู ไขแกมรี ยาว 2 ซม. เมอ่ื แหงจะแตก 3 ซกี มีกลีบ
เลย้ี งหุม โคนผล
277
เปลอื กตนต้ิวขาวแตกเปนสะเกด็ ตามแนวยาวและจะพบหนาม
ตอนตนอายนุ อ ย
สรรพคุณ
• ยอดออน : รสเปรยี้ วอมฝาด ทานเปน ผกั กับลาบ-กอย หรอื
ปรงุ อาหาร ชว ยระบายทอ ง; รากและใบ : ตมนาํ้ ดื่มแกปวด
ทอ ง; ยางสด : ทารักษาแผลสนเทา แตก (NE3)
ตีนตงั่ เตีย้
ชื่อทอ งถ่นิ : เปาะแปะ (อุดรธาน)ี
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Strobilanthes quadrifaria
(Wall. ex Nees) Y. F. Deng
ช่ือวงศ : ACANTHACEAE
ลักษณะเดน : ไมลมลกุ สงู ถึง 1 ม. ตามกิง่ และใบมขี นสัน้ สาก
คาย ใบเดี่ยว เรียงตรงขามตั้งฉาก รูปไข-รี ยาว 10–20 ซม.
ชอดอกออกทปี่ ลายกิ่ง มีใบประดับสเี ขยี วออ นเรียงซอ นกันหนา
แนน 4 มุม รูปไข-ใบหอก และมีขนยาวแข็งจํานวนมาก ดอกเปน
หลอดสมี วงอมชมพู ยาว 2.5–3 ซม. ผลเปนฝกคลา ยฝก ตอ ยติง่
ซอ นอยูในใบประดับ
สรรพคุณ
• ตํารบั ยาโรคเบาหวาน/ลดนํ้าตาลในเลอื ด : ท้งั ตน ใชรกั ษาเบา
หวาน ลดนํา้ ตาลในเลอื ด แกมอื เทาชา (NE3-253)
ชอ ผลแหง ของตนี ตงั่ เต้ีย
278
ตีนนก เปลอื กตนตนี นก
ช่อื ทอ งถนิ่ : ตีนนก (พษิ ณโุ ลก), นน (พัทลุง, ตรงั ) ตนี เป็ดดํา
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Vitex pinnata L. ชื่อทอ งถ่นิ : พญาสัตบรรณ (ตรงั )
ชื่อวงศ : LAMIACEAE ช่อื วทิ ยาศาสตร : Alstonia angustiloba Miq.
ลกั ษณะเดน : ไมต น สงู ถงึ 20 ม. เปลือกเรียบ-ขรุขระ ตามกิ่ง ช่อื วงศ : APOCYNACEAE
ออ น กานใบ ชอ ดอก และแผน ใบดานลา งมขี นสั้น ใบเรยี งตรง ลกั ษณะเดน : ไมต น สูงถึง 40 ม. ตามก่งิ ใบ และชอดอกไมม ขี น
ขา มต้งั ฉาก ใบประกอบมี 3 ใบยอย รูปหอก-ไขกลบั ยาว 5–17 ทกุ สวนที่มีชวี ติ มีน้ํายางสีขาวขนุ เปลือกขรขุ ระ-เปนสะเก็ดเล็ก
ซม. กานใบยาว 6–14 ซม. ตน อายนุ อ ยกา นใบจะมปี กแคบ กวา ง นอยสนี าํ้ ตาลดาํ ใบเดย่ี ว เรยี งรอบขอ มี 5 ใบ/ขอ รปู รี-ไขกลับ
ถึงดา นละ 5 มม. และชัดเจนกวา ตนอายนุ อ ย หลอดกลบี ดอกสี ยาว 7–15 ซม. โคนใบมน เสน แขนงใบจํานวนมาก แผน ใบดาน
ขาว แฉกสีมว งออ น-อมนา้ํ เงิน ผลทรงกลม กวาง 1 ซม. สุกสดี าํ ลา งนวล กานใบยาว 1.5–2 ซม. ชอ ดอกสขี าว มกี ลน่ิ หอมเอยี น
ผวิ เกลยี้ ง ผลแบบฝกยาว ยาว 20-30 ซม. เมล็ดมีขนปุย
สรรพคุณ สรรพคุณ
• เปลอื กและผล : แกฟกซํา้ รักษาแผลสด รกั ษาฝ (S3) • ตาํ รบั ยาแกไ ขตัวรอ น : เปลือกใชแกไข ตัวรอ น มีสรรพคณุ
• ตํารบั ยาบํารงุ สตรีหลงั คลอด : บํารงุ สตรหี ลังคลอด ขับนาํ้ คลายสัตบรรณ (Als-Sch) ใชแทนกันได (S2-79)
คาวปลา บํารุงน้าํ นม (N1-80)
• ตาํ รบั ยาอยูไ ฟหลงั คลอด : ชว ยขับนํา้ คาวปลา มดลกู เขาอเู รว็
เลอื ดลมไหลเวยี นดี (S1-45)
279
ตนี เปด ดาํ
เต็ง
ช่อื ทอ งถิ่น : จกิ (อดุ รธาน)ี , เต็ง (พิษณุโลก)
ช่อื วิทยาศาสตร : Shorea obtusa Wall. ex Blume
ชอ่ื วงศ : DIPTEROCARPACEAE
ลักษณะเดน : ไมตน ผลดั ใบ สูงถงึ 30 ม. เปลอื กในและเนื้อไมม ี
ชนั ใสเหนียว เปลือกแตกเปนรองต้นื -ลึกตามแนวยาว ตามกง่ิ ออน
และชอดอกมขี นสนั้ ใบเด่ียว เรียงสลับ รปู ไขแ กมขอบขนาน ยาว
10–19 ซม. โคนใบมน-เวา เลก็ นอย แผน ใบดานลางเกลี้ยง-มขี น
ส้ัน เสน ใบยอยแบบข้นั บนั ไดเห็นชัดดานลา งแผนใบ มนั วาวเมื่อ
ใบแหง ชอ ดอกสีขาวครมี กลีบดอกรปู แถบยาวบดิ เปน เกลียว ผล
มีปก 5 ปก รูปหอกกลับ ปกยาวมี 3 ปก ยาว 5–8 ซม. และอกี 2
ปก จะสน้ั กวาเลก็ นอย
สรรพคณุ
• เปลือก : แกน ํา้ เหลืองเสีย (NE3)
• ทั้งตน : ยาพนื้ บานลานนาใชผสมสมุนไพรจําพวกประดงรวม 9
ชนดิ ตม นํา้ ดม่ื รกั ษาโรคประดง (R15)
• ตํารับยาโรคลมชัก : แกนแกโ รคลมชัก (N1-200)
280
เตง็ หนาม สรรพคุณ
ชอ่ื ทองถน่ิ : เตง็ หนาม (พษิ ณโุ ลก), ฮังหนาม • เปลอื กหรอื ราก : แกท อ งเสีย ขับนว่ิ ละลายน่ิวในกระเพาะ
(อดุ รธาน)ี ปสสาวะ (NE3)
ชื่อวิทยาศาสตร : Bridelia retusa (L.) A. Juss. • เปลอื ก : ชว ยสมานแผลภายนอก หรอื แผลภายใน (N1)
ช่ือวงศ : PHYLLANTHACEAE เตยย่าน
ลกั ษณะเดน : ไมตน ผลดั ใบ สงู ถงึ 15 ม. ตนอายุนอ ยมเี ปลอื ก ชอื่ ทองถ่นิ : แกลบกอ ง (ตรัง)
แตกสะเก็ดบางและมหี นาม ตน อายุมากเปลอื กแตกสะเก็ดแกม ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Freycinetia sumatrana Hemsl.
รอ งตามแนวยาว ไมมหี นาม ตามกิง่ ออ น แผน ใบดานลาง และชอ ชื่อวงศ : PANDANACEAE
ดอกมขี นส้ันหนาแนน ใบเดีย่ ว เรียงสลบั รปู รีแกมขอบขนาน-ไข ลักษณะเดน : ไมเ ถาเนอ้ื คอ นขา งแข็ง มีรากยึดเกาะข้นึ ตนไม
กลับ ยาว 12–30 ซม. โคนใบมน-เวา จุดเดนทีม่ ีจาํ นวนเสนแขนง ยาวถึง 40 ม. เถากวางถึง 4 ซม. ใบเดี่ยว เรียงเวียนหนาแนน
ใบในแตละขาง 17–25 เสน ปลายเสนวิ่งไปจรดกับเสนใบทข่ี อบ รูปแถบยาว กวาง 2 ซม. ยาว 0.6–1 ม. โคนใบเปน กาบโอบหุม
ใบ, ผลทรงกลม กวา ง 1 ซม. สุกสีดํา ก่งิ ขอบใบมีหนามคม ปลายใบเรียวแหลมหอ ยยอยลง ผิวใบ
เกล้ียงมันเงาและเนอื้ หนา มลี กั ษณะพับจบี ตามแนวยาวคลายใบ
เตย ชอดอกออกทปี่ ลายกิ่งตั้งขนึ้ มใี บประดบั สขี าวครมี มีชอ ดอก
3–4 ชอ/กลุม รปู ทรงกระบอก ยาว 6–15 ซม. ดอกยอยขนาด
เล็กเรียงอัดแนนจาํ นวนมาก
สรรพคณุ
• ตํารบั ยาโรคเบาหวาน : ใชเถาเขา ตาํ รับยาแกโ รคเบาหวาน
(S2-22)
281
เตยยา น
เตยหนู บน : ชอ ดอกเพศเมยี เตยหนู
ช่อื ทองถนิ่ : เตยหนู (ตรัง) สรรพคณุ
ชื่อวิทยาศาสตร : Benstonea humilis (Lour.) • ราก : ใชข ับปสสาวะอนั เปนปจ จัยหนง่ึ ทช่ี วยลดไข (R11)
Callm. & Buerki • ผล : ตําใหละเอียดทาหรอื พอกรักษาแผลติดเชื้อ, ลูกเผาไฟแลว
ชอ่ื วงศ : PANDANACEAE ใชดองเหลา จะทําใหเหลาแรงขึ้น (S2)
ลักษณะเดน : ไมพ ุม มีลาํ ตน หรือเหงาอยูใกลผิวดนิ ยาวถึง 1 ม.
ใบเด่ยี ว เรียงเวียนเปน กระจกุ ใกลผ ิวดิน รูปแถบยาว ยาว 0.6–1 เตยเหาะ
ม. กวา ง 2–4 ซม. ขอบใบมีหนามคม ลกั ษณะท่ัวไปคลายใบเตย ชอ่ื ทอ งถน่ิ : ลําเจยี กเขา เตยเขา (ตรงั )
ชอ ดอกแยกเพศ มใี บประดบั สีขาว ชอ ผลต้งั ขน้ึ คอ นขางกลม ชื่อวิทยาศาสตร : Pandanus unicornutus H. St. John
กวาง 4–6 ซม. สีเขียวนวล มีผลยอ ยจาํ นวนมากอัดกันแนน ชือ่ วงศ : PANDANACEAE
ปลายผลมีหนามยาว 5–10 มม. ลักษณะเดน : ไมพมุ สูงถึง 15 ม. ลําตน เดย่ี วหรือแตกก่งิ ชว งบน
ผลออ นเตยหนู หนา 12–30 ซม. มรี ากคํ้ายนั ทโ่ี คนตน ใบเดย่ี ว เรียงเวยี นหนา
แนน รูปแถบยาว กวาง 10–15 ซม. ยาว 1.5–3 ม. โคนใบเปน
กาบโอบหมุ กงิ่ ขอบใบมหี นามแข็งและคม ผวิ ใบเกลย้ี งมนั เงาและ
เนือ้ หนา มลี กั ษณะพบั จีบตามแนวยาวคลา ยใบเตย ชอดอกแยก
เพศ ชอ ผลหอ ยลง ยาว 1 ม. มีชอผลยอยติดไดถ ึง 10 ชอ /กาน
ชอ ผลยอ ยทรงกลม กวาง 11–17 ซม. สีเขียวเขม มีผลยอ ย
จาํ นวนมากเรียงอัดกนั แนน ปลายผลยอ ยมีหนามโคง ยาว 5–10
มม.
282
สรรพคุณ เติม
• ตาํ รบั ยาขบั นวิ่ : ขับปส สาวะ ขบั นวิ่ (S1-13) ช่ือทอ งถนิ่ : ประดูสม (อุดรธานี)
• ตํารับยาขับนิว่ ในไต-ทางเดนิ ปสสาวะ : ชวยขบั นวิ่ ในไต และ ช่อื วิทยาศาสตร : Bischofia javanica Blume
ทางเดนิ ปส สาวะ ชว ยลา งไต รกั ษาทางเดนิ ปสสาวะอกั เสบ ชื่อวงศ : PHYLLANTHACEAE
(S2-14) ลกั ษณะเดน : ไมต น สงู ถงึ 35 ม. เปลอื กเปนสะเกด็ เปลอื กในมี
• ตํารับยาโรคเบาหวาน : แกโรคเบาหวาน (S2-22) น้ํายางสแี ดง ตามกง่ิ ออ น กา นใบและใบเกลี้ยง ยอดออ นสมี วง
• ตาํ รบั ยาโรครดิ สดี วงทวาร ชนิดเลือดออก : รกั ษาโรคริดสีดวง แดง ใบเรียงเวียน ใบประกอบมี 3 ใบยอ ย รูปไข- รี ยาว 9–17
ทวาร ชนดิ มเี ลอื ดออก (S2-40) ซม. ขอบใบจกั ฟน เลอ่ื ย กานใบยาว 15–20 ซม. ผลทรงกลม
กวา ง 1–1.5 ซม. ผวิ เปน สะเก็ดละเอยี ดสนี ํ้าตาลดา น
สรรพคุณ
• เนือ้ ไมหรือแกน : แกเจ็บคอ แกบ ดิ แกท อ งเสยี ; ผลแก : มี
รสชาตเิ ปรี้ยว เปน ผลไม (NE2)
283
เต่าร้าง
ชือ่ ทองถ่นิ : เตารา ง (ตรัง, พิษณุโลก)
ชอื่ วทิ ยาศาสตร : Caryota mitis Lour.
ชื่อวงศ : ARECACEAE
ลักษณะเดน : ไมต น จาํ พวกปาลม สูงถึง 10 ม. มีลําตนเดี่ยวหรือ
แตกกอ ลําตนมขี อ ปลอ ง กวา ง 10–17 ซม. ใบเรยี งเวยี นใกลย อด
ใบประกอบแบบขนนก 2 ชัน้ ยาว 2–3 ม. กา นใบเปนกาบหมุ
ลําตน ขอบกาบมีรกเปนเสนใยหมุ ลําตนสีนา้ํ ตาล ใบยอย รูป
พัด-รปู สเี่ หลีย่ มขา วหลามตัด ยาว 10–23 ซม. ปลายใบหยกั
กรอน ผวิ ใบเกลี้ยง กานใบยอยสนั้ มากหรอื ไมมี ชอดอกออกตาม
ซอกใบหรือตามขอ บนลําตน มีชอ ดอกยอยเปน สายจาํ นวนมาก
ยาว 25–35 ซม. สีเขยี วออ น ผลทรงกลม กวา ง 1.5–2 ซม. ผล
สุกสีแดง-ดํา
สรรพคณุ
• ตน : ถอนพิษแมลงสตั วกดั ตอย; ราก : แกพ ิษทต่ี บั ปอด หัวใจ
(N1)
• ตาํ รับยาแกต ับแข็ง/ตับทรดุ : แกตบั แขง็ ตับทรุด (N1-258)
• ตํารบั ยาจันทนล ีลา : แกไขทับระดู แกไข ตัวรอน ไขเปลีย่ นฤดู
แกป วด ลดการอกั เสบ (S2-16)
• ตํารับยาแกไขต วั รอน : ชวยแกไข ตัวรอ น (S2-79)
ตานดํา
ชอ่ื ทอ งถน่ิ : ตานดาํ (ตรงั ), ถานไฟผี (อดุ รธาน)ี
ช่ือวทิ ยาศาสตร : Diospyros montana Roxb.
ชอ่ื วงศ : EBENACEAE
ลักษณะเดน : ไมตน สูงถึง 20 ม. เปลือกสีดํา ตนอายนุ อ ยมี
หนาม ตนอายุมากเปลือกแตกเปนรอ งลกึ ตามแนวยาว สวนออ น
ๆ มีขนสน้ั นุม ใบเดย่ี ว เรียงสลบั รูปไขก ลบั -รปู ไข ยาว 4–11 ซม.
โคนใบตดั -เวา แผน ใบดานลางมีขน ดอกสีขาว ผลทรงกลม-กลม
แบน กวา ง 2–3.5 ซม. มกี ลีบเลยี้ งติดทีข่ วั้ ผล 4 กลีบ ยาว 1 ซม.
ช้ีกลบั สกุ สเี หลอื ง-สม
284
สรรพคณุ เถาน้ําดับไฟ
• แกน : แกไตพกิ าร แกผ อมแหง ขบั พยาธิ (NE3) เถาประโยด
• ท้ังตน : ตมนํ้าดม่ื เปน ยาขับพยาธิในลําไส; ใบและราก : ตมนํ้า ชื่อทองถน่ิ : -
ดืม่ เปนยาแกทองรว งและทอ งเดิน (R18) ช่อื วทิ ยาศาสตร : Sphenodesme ferruginea (Griff.) Briq.
• ตาํ รับยาแกอ งคชาตตายไมเกนิ 3 ป : แกอ งคชาตตายไมเกนิ 3 ชื่อวงศ : LAMIACEAE
ป บํารงุ องคชาต บํารุงกาํ ลงั (S1-40) ลกั ษณะเดน : ไมเ ถาเนอื้ แขง็ ยาวถึง 30 ม. ตามก่งิ ชอดอก กาน
• ตํารบั ยาขบั เลอื ด-นํ้าเหลืองเสีย : ขับนา้ํ เหลอื งและเลอื ดเสีย ใบ และใบมขี นสนั้ สสี นมิ หนาแนน เถากลมเปลอื กเรียบ ใบเด่ยี ว
ออกจากรางกาย (S2-34) เรียงตรงขา ม รปู รี-รปู ไข ยาว 7–20 ซม. เนอื้ ใบคอ นขางหนานุม
เถาน้ําดับไฟ ชอดอกมใี บประดับสีเหลอื งอมเขียว 4–5 กลบี /ชอ ดอก รปู หอก
ชอ่ื ทองถิ่น : ดบั ไฟยา น (พัทลงุ ), นํา้ ดับไฟ (ตรัง) กลบั ยาว 1–2 ซม. มขี นหนาแนน ใบประดบั รองรบั ดอกยอยทม่ี ี
ชอ่ื วิทยาศาสตร : Gouania javanica Miq. 4-5 ดอก/ชอดอก ดอกยอ ยสขี าว
ชือ่ วงศ : RHAMNACEAE สรรพคุณ
ลกั ษณะเดน : ไมเถาเน้อื แขง็ ยาวถึง 20 ม. เถากลม ภายในมีนา้ํ • รากหรือเถา : แกป วดกระดูก แกป วดไขขอ (NE2)
เล้ียงใสเหลวดม่ื แทนนํ้าได ตามกิง่ ออ น มือพัน ชอดอก กา นใบ
และใบมขี นสีสนิม ใบเด่ยี ว เรยี งสลับ รปู ไข-หวั ใจ ยาว 7–13 ซม.
ขอบใบจกั ฟนเลือ่ ย โคนใบตดั -เวา มีเสน แขนงใบออกจากโคนใบ
1 คู ดอกขนาดเลก็ มากสขี าว ผลคอนขา งกลม กวาง 1 ซม. มี
ครีบออกดานขา ง 3 ครบี เม่อื แหงจะแตกออกเปน 3 สวน
สรรพคณุ
• ทัง้ 5 : รักษามะเรง็ (S3)
285
เถาพันซา้ ย สรรพคณุ
ชื่อทอ งถ่นิ : - • เปลอื ก : แกร าํ มะนาด (NE3)
ชื่อวิทยาศาสตร : Spatholobus parviflorus • เปลอื ก : ยาพืน้ บา นลา นนาใชผ สมรากสลอด รากหญา เรงชอน
(Roxb. ex DC.) Kuntze รากข้ีเหล็ก ตม นํา้ ดม่ื รกั ษาโรคทางเดนิ ปสสาวะ, ผสมลาํ ตน
ช่อื วงศ : FABACEAE เฉียงพรา นางแอ ลาํ ตน หนามแทง ตมนา้ํ ดื่มแกผดิ สําแดง; ใบ
ลักษณะเดน : ไมเถาเน้อื แขง็ ยาวถงึ 30 ม. เถากลม-เปนพูเมือ่ และเปลอื ก : ผสมลาํ ตนตับเตา เครือ ผกั บุงรวม (ทั้งตน) ใบหรือ
แกม าก มนี าํ้ ยางสแี ดงคลาํ้ ตามกงิ่ ออ น กานใบ ชอ ดอก แผน ใบ รากกลวยเตา บดผงละเอยี ดผสมกนั ละลายนา้ํ รอนดม่ื รักษา
ดานลาง และผลมขี นนุมกํามะหย่ี ใบเรียงสลบั ใบประกอบมี 3 มะเรง็ ตับ; เนื้อไมห รอื ราก; ตมน้ําดืม่ ลดไข ดบั พิษรอ น บาํ รุง
ใบยอย ผลมปี ก แบนบางรปู ชอ นมีเมลด็ ติดดานลาง ยาว 8–14 ปอด แกวณั โรค (R7, R13)
ซม. ลกั ษณะคลา ยทองเครือ (But_sup) จุดตางที่เถาพันซา ยมี
ดอกยอ ยขนาดเล็กกวามาก ยาว 1 ซม. ดอกสีขาว-อมชมพู หาก
ไมพบดอกเรามกั จะเขา ใจผดิ ไดร ะหวา งพชื ท้ังสองชนดิ นี้ สามารถ
สงั เกตไดจ าก เน้อื ในของหัวใตด นิ และเนื้อไมของทองเครอื ชวง
วงนอกสดุ ติดเปลอื กจะมนี ํา้ ยางสีแดงไหลออกมาเปนวงแหวน 1
วงเทาน้นั สว นเถาพันซายจะไมพ บหัว สวนเนอ้ื ไมท ่ีมนี า้ํ ยางสีแดง
จะมชี ั้นเนอ้ื ไมปกติ (ทีไ่ มม นี ํ้ายาง) คน่ั อยูติดเปลือก หากเถาอายุ
มากจะพบแนวเน้ือไมท ีม่ ีนํา้ ยางเรยี งเปน วงแหวนหลายชั้น
286
เถายา่ นาง สรรพคณุ
ชอ่ื ทอ งถ่นิ : เครอื ยานาง ยานาง (อดุ รธาน)ี , เถา • เปลือก : เปลือกแหง ชงกับนาํ้ รอ นดื่มเปน ยาฟอกเลือดหลงั การ
ยานาง (สระแกว), ยา นนาง ยานาง (ตรัง), ยา นาง คลอดบตุ ร (R13)
(พัทลุง, พิษณโุ ลก) • ราก : แกพษิ เบอื่ เมา แกเ มาเหลา (NE3)
ชื่อวิทยาศาสตร : Tiliacora triandra (Colebr.) Diels • ราก : แกไ ขต ัวรอ น (N1)
ชอื่ วงศ : MENISPERMACEAE • ใบ : ชวยใหผ มดกดาํ ชะลอการเกดิ ผมหงอก (E2)
ลกั ษณะเดน : ไมเ ถาเน้ือแข็ง ไมมรี ากสะสมอาหารใตด นิ เถาและ • ตาํ รบั ยาไขท ับระดู : แกไขท ับระดู ระดูผาไข แกพ ษิ โลหติ ระดู
ใบมขี นประราย-เกลยี้ ง ใบรปู ไข ยาว 6–10 ซม. มีเสนแขนงใบ แกร อนใน แกคลมุ คล่ัง (E1-06)
1–2 คอู อกใกลโ คนใบ ผลออกตามเถาเปนกลมุ แนน สุกสแี ดง • ตาํ รับยาหา ราก (ยาเบญจโลกวิเชียร/ยาแกวหา ดวง) : แกไ ข
กลม กวาง 7–10 มม., พบตามชายปาดงดบิ และปา เบญจพรรณ ตัวรอน ปวดหัว ถอนพิษไข (N1-14)
ท่วั ประเทศ • ตาํ รับยาโรคความดัน/เบาหวาน : แกโ รคความดนั เบาหวาน
ลายหนาตดั ของเถายานาง ลดไขมัน (N1-284)
• ตํารับยาบํารงุ น้ํานม : บํารงุ นา้ํ นม (NE4-025)
• ตาํ รบั ยาหาราก (สตู รพ้ืนบา น) : แกไ ข ตัวรอ น แกป วดหัว
(S1-06)
• ตํารับยาแกไ ขตัวรอน : แกไขต วั รอน ปวดหัว ถอนพษิ ไข ไข
หวดั ไขปอดบวม (S2-01)
• ตาํ รับยาแกไขไ ทฟอยดห รือไขรากสาดนอย : แกไ ทฟอยดห รอื
ไขรากสาดนอย (S2-20)
• ตาํ รับยาไขอ ีสกุ อใี ส : แกโ รคอสี ุกอีใส หรือไขส ุกใส (S2-38)
• ตํารับยาไขเ ลอื ดออก : รกั ษาไขเ ลือดออก ซึ่งมอี าการรอนในสงู
ปวดเมอ่ื ยตามรางกาย ปวดศรี ษะ สะทา นรอ น-หนาว (S2-44)
• ตาํ รับยาไขบ าดทะยกั : แกไขบ าดทะยกั (S2-52)
• ตํารับยาไขหวดั ใหญ : แกไขหวดั ใหญ (S2-57)
• ตํารบั ยาหอมอินทจกั ร : แกค ล่นื เหียนอาเจียน หนามดื จะเปน
ลม ลมจุกเสียดแนนหนาอก แนน ทอง ทอ งอดื อาหารไมย อย
ปรับระบบการหมุนเวยี นเลือดใหด ี ชวยบํารงุ หัวใจ (S3-04)
• ตํารับยาแกพ ิษกนิ ผดิ สําแดง : แกพ ิษกนิ ผิดสาํ แดง กนิ ของ
แสลง (S3-35)
• ตํารับยาแกทอ งเสียแบบมไี ข : แกท องเสยี แบบมไี ข อาหาร
เปนพษิ (S3-36)
• ตํารบั ยาแกท องผูก : แกท องผูก ชว ยระบายทอ ง (S3-37)
• ตาํ รบั ยาขบั ปส สาวะ : ขับปสสาวะ (S3-38)
• ตาํ รับยาแกทอ งรวง-ทองเสยี -บิด : แกทอ งรวง-ทองเสีย แกบ ิด
ชว ยคมุ ธาตุ (S3-43)
• ตาํ รบั ยาแกตนไข (ไขระยะแรก) : แกตน ไข (ไขเ บอื้ งตนหรอื ไข
ระยะแรก เชน ไขต วั รอน ไขก าฬ ไขพษิ ไขกําเดา) (S3-44)
• ตํารบั ยาแกป ลายไข (ไขร ะยะปลาย) : แกป ลายไข (ไขในระยะ
ปลาย : เปนไขต ัวรอ น ไขกาฬ ไขกําเดา มาแลวหลายวัน ชว ย
ทําใหหายไขเ ร็วขึ้น ชว ยแกธาตุ คุมธาตุใหส มดลุ เปน ยาระบา
ยออ นๆ และชว ยใหเจรญิ อาหาร) (S3-45)
• ตาํ รับยาไขหวัด : แกไขหวดั (S3-46)
• ตํารับยาไขรอนในกระหายน้าํ /ทอ งเสยี แบบมีไข : แกไขรอน
ในกระหายนา้ํ แกท อ งเสียแบบมีไข แกไขอาเจยี น แกไขนอนไม 287
หลับ (S3-47) ลายหนาตดั ของเถาวัลยเปรียง
• ตํารับยาไขหดั /ไขอีสกุ อีใส/ไขอ ีดาํ อีแดง : แกไขห ัด ไขเ หือด
(หัดเยอรมนั ) ไขอสี กุ อใี ส ไขอ ดี าํ อีแดง กระทุง พิษไข (S3-48)
เถาวลั ยเ์ ปรยี ง
ชอ่ื ทอ งถ่นิ : เถาวัลยเ ปรียง (ตรงั , สระแกว ,
พิษณุโลก), เถาวัลยเ ปรยี ง ยานเมาะ (พัทลุง)
ชอื่ วิทยาศาสตร : Derris scandens (Roxb.) Benth.
ชื่อวงศ : FABACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมเถาเน้อื แขง็ ยาวถงึ 30 ม. เปลือกเรยี บมีชอ ง
อากาศเล็กจํานวนมาก เนอื้ ไมมลี ายวงแหวน ตามสว นออน ๆ มี
ขนสั้น ใบประกอบแบบขนนกปลายค่ี มใี บยอ ย 3–7 คู เรยี งตรง
ขา ม รปู ไข- ใบหอก ยาว 3–6 ซม. ชอดอกยาว 20-30 ซม. ดอกสี
ขาว-ชมพู กลบี เล้ยี งสีมว งแดง ฝกรูปรี ยาว 4–8 ซม. แบนดา น
ขาง ปลายแหลม
สรรพคณุ :
• เถาหรือราก : แกป วดเม่อื ยกลา มเนื้อ ปวดเมอื่ ยเสน เอ็น ปวด
กระดกู ชวยขับปสสาวะ ขับน่ิว (E2)
• เถา : บาํ รุงเสนเอ็น (N1)
• ตํารับยาแกป วดเมอื่ ย-กระดูกทับเสน : แกป วดหลัง ปวดเอว
ปวดไขขอ ปวดกระดกู แกกระดูกทับเสน บํารงุ ธาตุ (E2-216)
• ตํารับยาแกป วดเมื่อย/บํารุงรา งกาย/อมั พาต : แกปวดเม่อื ย
ตามเสน -ขอ -หลงั -เอว อัมพาต บํารุงรา งกาย ชวยใหเจริญ
อาหาร (E3-02)
• ตาํ รบั ยาแกปวดเสนเอ็น/บํารุงเสน เอน็ : แกปวดเสนเอน็ เสน
เอ็นอกั เสบ บาํ รุงเสน เอ็น (N1-150)
• ตํารบั ยาแกป วดเสน เอน็ /บํารงุ เสน เอ็น : แกปวดเสนเอ็น
บํารุงเสนเอน็ (N1-256)
• ตํารบั ยาถาย : ยาถาย ยาระบาย แกท อ งผกู แกจุกเสียดแนน
ทอ ง (S1-20)
• ตํารบั ยากาํ ลังฮอสะพายควาย : บาํ รุงกําลัง แกป วดเม่อื ยตาม
รางกาย (S1-43)
• ตาํ รบั ยารักษากระดูกทับเสน : รกั ษาอาการกระดูกทบั เสน
(S2-04)
• ตํารับยาแกกษยั ไตพิการ : แกก ระษัย ไตพกิ าร บาํ รงุ ไต, ชว ย
ขบั ปสสาวะ (S2-09)
• ตํารับยาขับนวิ่ ในไต-ทางเดนิ ปสสาวะ : ชว ยขับนว่ิ ในไต และ
ทางเดินปสสาวะ ชวยลา งไต รกั ษาทางเดินปสสาวะอักเสบ
(S2-14)
• ตาํ รับยาโรคอมั พาตระยะแรก : แกอาการก่ึงอัมพาตหรอื
อมั พาตระยะแรก กลามเน้อื ออนแรง เดินยนื ไมป กติ เหน็บชา
(S2-24)
288
• ตาํ รบั ยาปรับธาตุ/ปวดเมอื่ ย/ปวดขอ -เอน็ : ชว ยปรบั ธาตุ แก
ปวดเม่ือย ปวดเขา -ขอ-เอ็น แกเอ็นพกิ าร (S2-26)
• ตาํ รับยาโรคประดงเลือด : แกประดงเลอื ด เลือดขนึ้ มีอาการ
คันตามผวิ หนัง (S2-27)
• ตํารับยาแกป วดเมื่อยเสนเอน็ : แกปวดเม่อื ยตามเสน เอน็ เสน
เอ็นอักเสบ บรรเทาอาการอัมพฤกษ- อมั พาต (S2-31)
• ตาํ รับยาโรคอมั พฤกษ-อัมพาต : รักษาอัมพฤกษ- อมั พาต
(S2-33)
• ตํารับยาแกปวดเม่ือย/ชาตามปลายมือ-เทา : แกปวดเม่ือย
ตามรา งกาย แกอาการชาตามปลายมือ ปลายเทา (S2-36)
• ตาํ รับยารักษามดลกู เคล่อื น/บํารงุ โลหิต : รกั ษามดลูกเคล่ือน
บาํ รงุ โลหิต (S2-45)
• ตํารับยาซอมแซม/เสริมสรา งเสน เอน็ พิการ : ชว ยซอมแซม
และเสริมสรา งเสนเอ็นที่พกิ าร (S2-53) (S2-54)
• ตํารบั ยาลางโรคกอนการรักษาโรคระบบเสนเอน็ : ชวยชาํ ระ
ลางระบบภายในรางกายกอ นการรักษาโรคทเ่ี ก่ยี วกบั ระบบเสน
เอน็ อมั พฤกษ อัมพาต (S2-55)
• ตาํ รับยาแกป วดเมื่อยกลา มเนื้อ-เสน เอ็น/บํารุงกําลงั : แกป วด
เมอ่ื ยกลา มเนื้อ-เสนเอ็น บํารงุ กําลัง (S2-61)
• ตาํ รบั ยาแกเหนบ็ ชา : แกเหน็บชา อาการชาตามปลายมือ
ปลายเทา (S2-63)
• ตํารับยารกั ษากระดกู ทบั เสน : รกั ษาอาการกระดูกทบั เสน
(S2-66)
• ตํารบั ยาแกทองผูก/พรรดึก : แกอาการทอ งผกู หรอื พรรดึก
(อาการทองผกู รนุ แรง มอี ุจจาระเปนกอนกลมแขง็ ) (S3-41)
เถาวลั ย์ยัง้ เถาหงอนไก่
ชอื่ ทอ งถิน่ : สมกุง (พิษณุโลก) ช่อื ทองถิ่น : พญาเทครวั (พทั ลุง)
ชอ่ื วิทยาศาสตร : Smilax ovalifolia Roxb. ex D. Don ชอ่ื วิทยาศาสตร : Rourea mimosoides (Vahl) Planch.
ชือ่ วงศ : SMILACACEAE ช่ือวงศ : CONNARACEAE
ลักษณะเดน : ไมเถาลมลุก ยาวถงึ 10 ม. เถากลมหนา 1 ซม. มี ลกั ษณะเดน : ไมเถาเน้ือแขง็ ยาวถึง 30 ม. เปลอื กเรียบ เถาอายุ
หนามประปราย ตามสว นตาง ๆ เกล้ียง ใบเดย่ี ว เรยี งสลับ รปู มากแบน ตามก่ิงออน ชอดอก กา นใบและแผน ใบดานลา งมีขน
ไข- หวั ใจ-แกมกลม ยาว 13-25 ซม. ปลายใบมตี ง่ิ หนาม โคนใบ สั้นนุม ใบเรียงเวียน ใบประกอบแบบขนนก มีใบยอย 8–30 คู
รปู ลมิ่ -กลม มเี สน แขนงใบออกจากโคนใบ 3 คู และเปนรอยกด ใบยอ ยเรียงตรงขาม-สลับ รูปขอบขนาน ยาว 1.5–3 ซม. ปลาย
ตามแนวเสน แขนงใบทแ่ี ผนใบดา นบน ดา นลางไมม นี วล กานใบ ใบบุม เนอ้ื ใบคอ นขา งหนา กลบี ดอกสชี มพู-แดง มี 5 กลบี ผลรูป
ยาว 1.5-3 ซม. กานใบเปนรอ งและมกี าบสองดา นกวางเพียง 1 ไขก ลับ ยาว 2–3 ซม. สแี ดงเรอ่ื ปลายผลเปนจะงอยสั้นปลาย
มม. มีมือพันออกจากกา นใบ ชอ ดอกยาวถงึ 10 ซม. มีชอยอย แหลม โคนผลมีกลบี เลย้ี งตดิ ทน
1-5 ชอ เปน กระจุกทรงกลม กวาง 4 ซม. ดอกสีเขยี วอมขาว สรรพคุณ
ผลกลม กวาง 1 ซม. เมอ่ื สกุ สีแดงเขม , พบตามปา ผลดั ใบหรอื • ท้งั 5 : ปรับธาตุ ชวยระบาย ยาถาย (S3)
ปา ดงดิบในท่ีโลง จนถงึ ระดบั ความสงู ถึง 1,500 ม. ทั่วทกุ ภาค
ยกเวน ภาคใต, ยอดออ นทานเปน ผกั สดหรอื ปรุงอาหารได
สรรพคณุ
• ตาํ รับยาแกไ อ : แกไ อ (N1-161)
289
เถาเอน็ อ่อน
ชอื่ ทอ งถ่ิน : เถาเอ็นออน (สระแกว), เถาเอน็ ออน
ตีนเปด เครือ (ตรงั ), เอ็นออน (อุดรธานี)
ชือ่ วิทยาศาสตร : Cryptolepis dubia (Burm. f.) M. R.
Almeida
ช่ือวงศ : APOCYNACEAE
ลักษณะเดน : ไมเ ถาเนือ้ คอ นขา งแขง็ ยาวถงึ 20 ม. เถากลม
เปลอื กลอกเปน แผนบางสนี ้าํ ตาลเขม ทกุ สวนที่มชี ีวติ มนี ้ํายางสี
ขาวขุน ตามกง่ิ ออ น ชอดอก และใบเกล้ยี ง ใบเด่ียว เรยี งตรงขาม
รปู รี ยาว 10–18 ซม. แผนใบดา นลา งสีเขยี วนวล เสนแขนงใบ
จํานวนมาก ดอกสเี หลอื งออน กลบี ดอก 5 กลบี รปู หอก ยาว
6–8 มม. ผลแบบฝก คู รูปรียาว ยาว 10 ซม. มี 3 สันตามแนว
ยาว
บน : ใบของตนอายนุ อย, กลาง : ใบของตนอายุมากและดอก,
ลาง : เถาอายุมาก
290
ทองเครือ
ชื่อทอ งถน่ิ : กวาวเครือแดง (สระแกว ), กวาวแดง
(พิษณุโลก), จานเครือ ทองเครอื (อุดรธานี)
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Butea superba Roxb.
ช่อื วงศ : FABACEAE
ลักษณะเดน : ไมเถาเนอ้ื แข็ง ยาวถึง 30 ม. มหี ัวหรอื รากสะสม
อาหารใตด ิน ยาวและอวบหนาคลายมันสําปะหลัง เถากลม มีนํา้
ยางสีแดงคลายเลือดปรากฏในหัวและเนอื้ ไมช ว งวงนอกสุดติด
เปลอื ก เหน็ เปนวงแหวน 1 วง ตามปลายก่งิ แผน ใบดานลางและ
ผลมีขนสัน้ หนาแนน สีน้าํ ตาลแดง ใบเรียงสลับ ใบประกอบมี 3
ใบยอ ย รูปคอนขา งกลม กวาง 10–20 ซม. ดอกสสี ม สด ยาว 6-8
ซม. คลา ยดอกทองกวาวหรือดอกแคบา น ผลมีปกแบนรูปขอบ
ขนาน ยาว 7–12 ซม. ติดเมล็ด 1 เมลด็ ท่ปี ลาย, พบตามปา
เบญจพรรณและปา ดงดิบแลงท่ัวประเทศ ยกเวนภาคใต
สรรพคุณ
• หัว : บาํ รุงกาํ ลงั ท้ังชาย-หญงิ (E2)
• หวั หรือเหงา : บํารุงหนาอกสตรีใหเตงตงึ (N1)
• รากหรือเหงา : บํารงุ กาํ หนดั ยาอายุวฒั นะ (NE3)
เถาเอน็ ออน เถาทองเครือมวี งแหวนนํ้ายางสแี ดง 1 วงใตช้ันเปลอื ก
สรรพคณุ
• เถาหรอื ใบ : แกปวดเม่ือยเสนเอ็น ปวดเสน คลายเสน (NE3)
• ตํารบั ยานา้ํ มันเหลอื ง : แกป วดเมอื่ ย (E1-03)
• ตํารับยาแกฟ กชาํ้ -เคล็ดขัดยอก : รักษาอาการฟกชํ้า ชํ้าใน
เคลด็ ขดั ยอก ตกจากท่สี ูง รถชน (NE3-013)
• ตาํ รบั ยากําลงั ฮอสะพายควาย : บาํ รุงกาํ ลงั แกปวดเมอื่ ยตาม
รา งกาย (S1-43)
• ตํารบั ยาโรคอมั พาตระยะแรก : แกอ าการกึง่ อมั พาตหรือ
อัมพาตระยะแรก กลามเน้อื ออ นแรง เดนิ ยนื ไมปกติ เหน็บชา
(S2-24)
• ตํารบั ยาแกปวดเม่ือยเสนเอน็ : แกปวดเม่อื ยตามเสน เอน็ เสน
เอน็ อักเสบ บรรเทาอาการอมั พฤกษ-อัมพาต (S2-31)
• ตาํ รับยาโรคอัมพฤกษ- อมั พาต : รักษาอมั พฤกษ- อมั พาต
(S2-33)
• ตํารบั ยาแกปวดเม่อื ย/ชาตามปลายมอื -เทา : แกปวดเม่อื ย
ตามรา งกาย แกอาการชาตามปลายมอื ปลายเทา (S2-36)
• ตาํ รับยาซอมแซม/เสรมิ สรางเสน เอ็นพกิ าร : ชว ยซอมแซม
และเสรมิ สรา งเสนเอ็นทีพ่ ิการ (S2-53)
• ตํารับยาแกป วดเมอื่ ยกลา มเนอื้ -เสนเอน็ /บาํ รงุ กําลงั : แกป วด
เมอ่ื ยกลา มเนือ้ -เสน เอ็น บาํ รุงกาํ ลัง (S2-61)
• ตาํ รบั ยาแกเ หน็บชา : แกเ หน็บชา อาการชาตามปลายมอื
ปลายเทา (S2-63)
291
ทองเครือ/กวาวเครือแดง เปลอื กของตน ทองเดือนหา
ทองเดือนห้า
ชือ่ ทองถ่ิน : ทองหลางปา (สระแกว, พษิ ณโุ ลก)
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Erythrina stricta Roxb.
ชอ่ื วงศ : FABACEAE
ลักษณะเดน : ไมตน ผลดั ใบ สงู ถงึ 30 ม. กง่ิ และลําตนมีหนาม
แหลมคม เปลอื กหนาเน้ือนมุ แบบไมก็อกและแตกเปนรอ งลกึ ตาม
ยาว ตามก่งิ ออ น กานชอดอก กานใบและแผน ใบดานลา งมีขนสน้ั
ใบเรียงสลบั ใบประกอบแบบมี 3 ใบยอ ย รูปสามเหลีย่ มปา น
กวา ง กวางและยาว 8–15 ซม. กลีบดอกสแี ดงอมสม รปู ใบหอก
ยาว 4–7 ซม. หอ คลา ยหลอด ปลายแหลม-มน ผลเปน ฝก เรยี ว
ยาว ยาว 7–10 ซม. ผวิ เกล้ยี ง, พบตามปา เบญจพรรณ ทั่ว
ประเทศ ยกเวนภาคใต
สรรพคณุ
• เปลือก : ชว ยขบั เสมหะในลาํ คอ แกไอ; ใบออน : กินเปนผกั ใช
หอเมย่ี งคาํ (E2)
• เปลอื ก : แกท อ งเดนิ แกทองเสยี (N1)
292
ทองหลางใบมน ทองหลางใบมน
ชอ่ื ทอ งถิ่น : ทองหลางใบมน (พัทลงุ , ตรงั ) ทอ่ มหมูช่อ
ชอ่ื วิทยาศาสตร : Erythrina suberosa Roxb. ชือ่ ทอ งถน่ิ : กระดกู ไกแ ดง ยอดก หมาถอนหลกั
ชอ่ื วงศ : FABACEAE (ตรงั )
ลกั ษณะเดน : ไมตนผลดั ใบ สงู ถึง 30 ม. กง่ิ และลาํ ตนมหี นาม ชื่อวิทยาศาสตร : Rennellia morindiformis (Korth.) Ridl.
แหลมคม มคี วามคลายกบั ทองเดอื นหา (Ery_str) จุดแตกตางที่ ช่ือวงศ : RUBIACEAE
ทองหลางใบมนมีเปลอื กเรียบ-แตกเปนรอ งตน้ื ตามยาว (ไมห นา ลักษณะเดน : ไมพ ุม สูงถงึ 3 ม. เนือ้ ไมค อ นขา งออ น เน้ือราก
แบบไมก อ็ ก) กลบี ดอกสแี ดง รปู รแี กมใบหอก ปลายเรยี วแหลม ดานในสีสม กง่ิ ออนและใบเกล้ียง มหี ูใบรูปสามเหลี่ยม ใบเด่ยี ว
ไมห อเปน หลอดชัดเจนแบบทองเดอื นหา และทองหลางใบมนจะ เรียงตรงขามต้ังฉาก รูปหอก-หอกกลับ ยาว 13–23 ซม. ชอดอก
พบตามพืน้ ท่ีราบใกลชายทะเล ปาชายหาด หรอื เปน ไมป ลกู ออกท่ปี ลายกิ่ง ต้งั ขน้ึ ยาว 6–10 ซม. หลอดกลีบดอกสขี าว ยาว
สรรพคุณ 1 ซม. ปลายกลบี เลี้ยงและกลบี ดอกสีมว งเรอื่ ๆ ผลคอนขางกลม
• ตํารบั ยาแกล มกองหยาบ/วิงเวียน-ใจสน่ั : แกว ิงเวียนศรี ษะ กวาง 1.5–2 ซม. สเี ขยี วและสมี ว งเรอ่ื ๆ
ใจส่ัน อาการบา นหมุน หนา มืดตาลาย ลมขึ้นแนนหนาอก สรรพคณุ
(ประเภทลมกองหยาบ) (S1-38) • ตาํ รับยาแกป วดเมื่อยกลา มเนื้อ-เสน เอน็ /บํารงุ กาํ ลงั : แกป วด
• ตาํ รบั ยามหานิลแทงทอง : แกไ ขต ัวรอ น ไขหัด ไขอ ีสุกอใี ส แก เม่อื ยกลามเนอ้ื -เสน เอน็ บํารงุ กาํ ลัง (S2-61)
รอ นในกระหายนาํ้ แกปากเปอ ยเพราะพษิ รอ นหรอื รอ นใน
(S3-12)
• ตํารบั ยาไขห ดั /ไขอสี กุ อใี ส/ไขอ ดี าํ อแี ดง : แกไ ขหดั ไขเ หือด
(หัดเยอรมนั ) ไขอีสกุ อใี ส ไขอดี าํ อแี ดง กระทงุ พิษไข (S3-48)
293
รากของทอ มหมูชอ /กระดกู ไกแ ดง
ทิง้ ถอ่ น ฝกแกท ิง้ ถอ น
ชื่อทอ งถิ่น : ทง้ิ ถอ น (พษิ ณโุ ลก) ทุง้ ฟา้
ชอ่ื วิทยาศาสตร : Albizia procera (Roxb.) Benth. ชอื่ ทองถ่ิน : ทุง ฟา (ตรัง)
ชือ่ วงศ : FABACEAE ช่ือวทิ ยาศาสตร : Alstonia macrophylla Wall. ex G. Don
ลกั ษณะเดน : ไมต น ผลัดใบ สูงถึง 25 ม. เปลือกเรียบสขี าว-แตก ช่อื วงศ : APOCYNACEAE
สะเก็ดสีนา้ํ ตาล ตามสวนออน ๆ มีขนสัน้ ใบประกอบแบบขนนก ลักษณะเดน : ไมตน สงู ถงึ 30 ม. เปลือกเรียบ ทุกสว นทมี่ ชี วี ิตมี
2 ชนั้ มีชอ ใบยอ ย 3–4 คู ใบยอยรปู ร-ี ไขกลบั ยาว 2–4 ซม. แผน นา้ํ ยางสขี าวขุน ตามกง่ิ ออน ชอ ดอก และแผน ใบดานลางมขี นสัน้
ใบไมส มมาตร ชอดอกเปน กระจุกทรงกลม กวา ง 1.5–2 ซม. สี ใบเด่ยี ว เรยี งรอบขอ มี 3–4 ใบ/ขอ ใบรปู หอกกลับ ยาว 15–30
ขาว ฝกรปู แถบยาว ยาว 15–20 ซม. แบนบาง มี 8–13 เมลด็ ซม. ดอกสขี าว ผลเปนฝกเรียวยาว ยาว 20–40 ซม. กวาง 5 มม.
สรรพคุณ เมล็ดแบน มขี นสีนา้ํ ตาลทองรอบ
• เปลอื ก : บํารุงธาตุ แกธ าตพุ กิ าร แกก ษัย แกล มกษยั แกหดื ไอ สรรพคุณ
ทําใหเ จริญอาหาร ชว ยหามเลอื ด สมานบาดแผล หรือตม กบั น้ํา • ตาํ รับยาแกป วดเม่อื ย/ชาตามปลายมอื -เทา : แกป วดเมอ่ื ย
ใชล า งแผล, ใชตมผสมกบั รากมะตูม แกอ าเจยี น แกทอ งรว ง ตามรางกาย แกอ าการชาตามปลายมอื ปลายเทา (S2-36)
เปน ยาอายวุ ัฒนะ; แกน : แกริดสีดวงทวาร; รากและแกน : มี • ตํารับยาแกปวดเม่ือยกลา มเนือ้ -เสน เอน็ /บาํ รุงกาํ ลงั : แกปวด
รสขม (R62) เมื่อยกลามเนือ้ -เสน เอ็น บาํ รงุ กาํ ลัง (S2-61)
• เปลอื ก : บาํ รุงกาํ ลัง บํารงุ รางกาย (S1)
• ตาํ รับยากําลงั ฮอสะพายควาย : บาํ รงุ กาํ ลงั แกปวดเมื่อยตาม
รา งกาย (S1-43)
• ตํารับยาแกป วดเมอื่ ยกลามเน้ือ-เสนเอน็ /บาํ รุงกําลงั : แกป วด
เมอ่ื ยกลา มเนอ้ื -เสนเอ็น บาํ รุงกําลงั (S2-61)
294
ซา ย : ฝก ออนทุง ฟา
เทพทาโร กลาง : แผนใบดานลา งของเทพทาโรมีนวลแปงสีขาว, ลาง : เนอื้
ช่อื ทอ งถิ่น : เทพทาโร จวง (ตรัง), เทพทาโร ไมเทพทาโร
ตะไครต น (พิษณโุ ลก) • ตํารบั ยาแกป วดเม่ือย/บํารงุ รา งกาย/อัมพาต : แกป วดเม่ือย
ช่ือวิทยาศาสตร : Cinnamomum parthenoxylon (Jack)
Meisn. ตามเสน-ขอ-หลัง-เอว อัมพาต บํารุงรางกาย ชว ยใหเจริญ
ชอื่ วงศ : LAURACEAE อาหาร (E3-02)
ลกั ษณะเดน : ไมตน สงู ถงึ 30 ม. เน้ือไมมีนา้ํ มนั หอมระเหย • ตํารับยาสตรีสาวเสมอ : บํารงุ รกั ษาระบบภายในของสตรี ชว ย
เปลอื กแตกเปน รองลกึ ตามยาว ตามก่งิ ออ น ใบ และชอ ดอกไมม ี กระชบั รางกาย (S2-15)
ขน ใบเด่ยี ว เรียงเวยี น รูปรี-ไขกวาง ยาว 8–14 ซม. เสน แขนงใบ • ตาํ รบั ยาบํารงุ รักษามดลกู : ชวยบาํ รงุ รกั ษามดลกู บํารงุ สตรี
คลู างสดุ มคี วามยาวมากทสี่ ุดกวาเสนแขนงใบอน่ื ๆ แผน ใบดาน หลังคลอด มดลกู พกิ าร (S2-60)
ลางมกั มีนวลแปง ขาว ขยีใ้ บมกี ล่นิ หอม ดอกขนาดเลก็ สีครีม ผล
ทรงกลม กวา ง 1–1.5 ซม. มกี า นผลบวมโต ยาวมากกวา หรอื ยาว
ใกลเ คียงกับผล
สรรพคุณ
• เน้ือไม เปลือก และราก : บํารงุ หวั ใจ (N1)
• แกน ราก และใบ : ขบั ลม แกลมจุกเสยี ด แกป วดแนน ทอ ง
บํารุงธาตุ (S1)
295
ไทรย้อย สรรพคณุ
ชอ่ื ทอ งถน่ิ : ไทรยอย (พิษณุโลก, อุดรธานี, ตรัง) • รากยอ ยหรือรากอากาศ : ขับปสสาวะ แกไตพิการ (NE3)
ชื่อวิทยาศาสตร : Ficus benjamina L. • เถา : ใชเ ปนยาแกไขมาเลเรยี วณั โรค; เปลอื ก : เปน ยาทาํ ให
ชอ่ื วงศ : MORACEAE แทง ใบแกโ รคบิด ถอนพิษฝน กระตนุ ประสาท; ผล : แกลมจุก
ลักษณะเดน : ไมต น สูงถงึ 15 ม. เรอื นยอดแผกวาง มีราก เสยี ด พิษงู บํารงุ โลหติ ; เมลด็ : พอก หรือรับประทาน แกโ รค
อากาศออกจากกิง่ และลําตน ยอ ยหรือพันตน ไมหรือกอนหิน สว น ปวดตามขอ กลา มเนือ้ และอัมพาต แกไ ข; นา้ํ มนั เมล็ด : (R1,
ทมี่ ีชีวิตมีนํ้ายางสีขาวขุน ตามกิง่ ออ น กา นใบ แผนใบ และผลไมมี R7)
ขน ปลายกง่ิ มหี ูใบเรยี วแหลม ยาวถงึ 15 มม. ใบเดยี่ ว เรยี งสลับ • ตํารับยาโรคไต : แกโ รคไต (N1-287)
รูปไข- รปู รี ยาว 7–10 ซม. โคนใบมน ปลายใบเรยี วแหลม มเี สน • ตาํ รับยารักษาอาการบวมอักเสบจากพษิ บาดแผล/แผล
แขนงใบจาํ นวนมาก ปลายเสนจรดกนั และขนานกบั ขอบใบ ผล อักเสบ : รกั ษาอาการบวมอักเสบจากพิษบาดแผล รักษาแผลผุ
ทรงกลม กวา ง 1 ซม. สกุ สีเหลอื ง-แดง มเี มลด็ ขนาดเล็กจํานวน พอง เปนหนอง (S2-67)
มาก เท้ายายม่อม
เทายายมอม เทา ยายมอ มตน (พทั ลุง,
ตรงั , ฉะเชิงเทรา)
ช่ือวิทยาศาสตร : Clerodendrum indicum (L.) Kuntze
ชือ่ วงศ : LAMIACEAE
ลักษณะเดน : ไมพมุ สูงถึง 2 ม. ปกติมลี ําตน เด่ียว มเี หงาใตด นิ
และแตกแขนงตามไหลได ก่ิงเปน สี่เหลี่ยมและมีรอ ง ใบเดีย่ ว
เรยี งรอบขอ 3–4 ใบ/ขอ รปู แถบยาว-หอกกลับ ยาว 7–20 ซม.
กวา ง 2–4 ซม. ไมม ีกานใบ ผิวใบเกลีย้ ง ออ นนมุ กลบี ดอกเปน
หลอดแคบยาว ยาว 8–13 ซม. มขี นสน้ั ปลายดอกโคงลง ปลาย
หลอดแยก 5 แฉก เกสรเพศผสู มี วงแดง กลีบเลยี้ งสเี ขียวออน
เปน แฉกรปู ดาว ผลทรงกลม กวา ง 1 ซม. มี 4 พู กลบี เลี้ยง
เปลยี่ นเปนสีแดงเมอ่ื ติดผล ผลสุกสีดําอมนํ้าเงิน
สรรพคณุ
• รากหรือเหงา : รสจดื ขืน่ เปน ยาแกไขต ัวรอน รอนในกระหายนํ้า
ชว ยลดความรอ นในรา งกาย กระทงุ พษิ ไขหวดั ขับเสมหะลงสู
เบื้องตํา่ ถอนพษิ ไขท กุ ชนดิ แกห ืดไอ แกอ าเจียน ดบั พิษฝ
ไขก าฬ แกไ ขเพอื่ ดพี กิ าร หรือใชภ ายนอกเปน ยาพอกทาแผลแก
พิษงู แกพษิ สตั วกดั ตอย หรือใชใ บรว มดว ยก็ได, จดั อยูในพกิ ดั
ยาหาราก หรือพกิ ัดยาเบญจโลกวิเชยี ร (R86)
• ตํารบั ยาไขท บั ระดู : แกไขท ับระดู ระดผู าไข แกพษิ โลหติ ระดู
แกร อ นใน แกค ลมุ คลง่ั (E1-06)
• ตาํ รบั ยาหาราก (ยาเบญจโลกวิเชยี ร/ยาแกวหา ดวง) : แกไข
ตวั รอน ปวดหวั ถอนพษิ ไข (N1-14)
• ตํารบั ยารกั ษาฝห รอด/ฝอ ักเสบเรอ้ื รัง : รกั ษาฝอ ักเสบ ฝเร้อื รงั
ลดการขยายตวั ของฝ (“ฝหรอด” เปน ภาษาไทยใต คือ ฝท เ่ี ปน
ตลอด มกี ารอกั เสบเรื้อรงั ) (S1-01)
• ตาํ รบั ยาหา ราก (สูตรพน้ื บาน) : แกไข ตัวรอน แกปวดหัว
(S1-06)
296
เขียวอมเหลือง กลีบเลี้ยง 3 กลีบ รูปไขก วาง ยาว 1-2 ซม. กลีบ
ดอก 6 กลีบ รูปใบหอก ยาว 3-6 ซม. ผลติดเปนกลมุ 2-9 ผล/
กลุม รปู รี ยาว 2 ซม.
สรรพคณุ
• ดอก ราก และแกน : บํารุงเลือด บํารงุ หัวใจ บรรเทาอาการ
ปวดจากโรคมะเรง็ (E2)
เหงา ใตดนิ ของเทา ยายมอ ม นมงัว
นมควาย ช่อื ทอ งถน่ิ : การเวก (สระแกว )
ช่อื ทองถน่ิ : นมแมวปา (สระแกว ) ช่อื วิทยาศาสตร : Artabotrys harmandii Finet & Gagnep.
ชือ่ วิทยาศาสตร : Uvaria hahnii (Finet & Gagnep.) Bân ชื่อวงศ : ANNONACEAE
ช่อื วงศ : ANNONACEAE ลักษณะเดน : ไมเถาเนอ้ื แขง็ ยาวไดถ ึง 20 ม. เถามีหนามออก
ลกั ษณะเดน : ไมเ ถาเนื้อแขง็ ยาวถึง 20 ม. ตามกง่ิ ดอก ผล เปน คู มขี นสน้ั นมุ เฉพาะตามปลายยอดออนและชอดอก ใบเดยี่ ว
กานใบ และแผนใบดา นลางมขี นสนั้ สสี นมิ -นา้ํ ตาลออนหนาแนน เรยี งสลับระนาบเดยี ว รูปร-ี แกมขอบขนาน ยาว 10-16 ซม. แผน
ใบเดี่ยว เรียงสลบั รูปรีแกมขอบขนาน-ไขกลับ ยาว 10-17 ซม. ใบคอนขางหนา ผิวใบดานบนมันเงา ดานลางเรียบเกลี้ยง ก่ิงมี
โคนใบมน ดอกเด่ยี ว หอ ยลง กา นดอกยาวไมเ กนิ 2 ซม. ดอกสี ตะขอ รูปวงรี ชอ ดอกออกท่ตี ะขอ กลบี ดอกสเี ขียวออน-เหลือง
รปู ใบหอก ยาว 3-4 ซม. เน้อื หนา มีกลิน่ หอมชว งเวลาเย็น ผลตดิ
เปนกลุม 2-15 ผล/กลุม รปู ไขก ลบั
297
สรรพคณุ
• ดอก : สดู ดมหรอื ชงชาด่ืมแกวิงเวยี น; เถาหรือราก : แกท อง
เสีย ชว ยบาํ รงุ กาํ ลัง บํารุงโลหติ บํารงุ รางกาย (E2)
• ตํารบั ยาบํารงุ นา้ํ นม : บาํ รงุ น้าํ นม ชว ยขับนาํ้ นม (N1-255)
นมงัว
นมชะนี
ชอ่ื ทอ งถิน่ : เถานมวัว (พษิ ณุโลก)
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Artabotrys burmanicus A. DC.
ชือ่ วงศ : ANNONACEAE
ลักษณะเดน : ไมเ ถาเนือ้ แข็ง ยาวไดถงึ 20 ม. เถามีหนามออก
เปน คู มีลักษณะคลายนมงัว (Art_har) มจี ุดตา งที่นมชะนจี ะมขี น
สั้นนมุ สสี นิม-สีน้าํ ตาลออ นท่ีตามกิ่งและชอดอก สวนแผน ใบดาน
ลา งมสี ีเขยี วนวลและมขี นสนั้ นมุ
สรรพคุณ
• เถา : แกต อ มลูกหมากโต (N1)
• ตาํ รับยาบํารงุ น้าํ นม : บํารงุ นํา้ นม (N1-270)
298
นมนอ้ ย สรรพคณุ
ชือ่ ทอ งถนิ่ : ตองแลง ตอ งแลง (อดุ รธาน)ี • รากหรอื ลาํ ตน : บาํ รงุ นา้ํ นม (NE3)
ช่อื วิทยาศาสตร : Polyalthia evecta (Pierre) • ทง้ั ตน : ขบั เสมหะ ทําใหอ าเจยี น ถอนพิษของโรคในแมวไดดี;
Finet & Gagnep. ใบ : ขบั พยาธิเสน ดายในเด็ก ขบั เสมหะ, เปน ยาถา ยและให
ชือ่ วงศ : ANNONACEAE คลืน่ เหยี นอาเจยี น หากรบั ประทานปรมิ าณมาก, ใบแหง ปนโรย
ลกั ษณะเดน : ไมพ ุม สูงถึง 1 ม. ตามก่ิง แผน ใบดา นลางและ รักษาแผลเนือ่ งจากนอนมาก ยาระบาย แกห ดื ขบั เสมหะ (R7)
ดอกสขี นสน้ั นมุ ใบเด่ียว เรยี งสลับระนาบเดียว รปู รี-ขอบขนาน นมพิจิตร
ยาว 5-10 ซม. กานใบบวม ยาว 3-5 มม. ดอกเด่ียว ออกตาม ช่ือทองถน่ิ : ลิ้นเหี้ย (อดุ รธานี)
ซอกใบ หอยลง กลีบดอก 6 กลบี กลบี ดอกวงในงุมเขา แตะกัน สี ชอื่ วิทยาศาสตร : Hoya verticillata (Vah.) G. Don
เหลอื งออน ยาว 1 ซม. กา นดอกยาว 3 ซม. มกั มีสีแดง ผลตดิ ชือ่ วงศ : APOCYNACEAE
เปนกลุม 2-10 ผล/กลมุ ทรงกลม กวาง 8-10 มม. ลักษณะเดน : ไมเถาลมลุก อิงอาศัยตามตน ไม ยาวไดถงึ 5 ม.
สวนตา ง ๆ ทม่ี ีชวี ิตมนี า้ํ ยางสขี าวขนุ ใบเดี่ยว เรยี งตรงขาม รปู
ร-ี แกมใบหอก ยาว 10-13 ซม. เนือ้ ใบแข็งหนา มีเสนแขนงใบคู
ลา งสุดออกจากโคนใบและเดน ชดั ท่สี ดุ ชอ ดอกยาว 3-5 ซม. ชอ
กระจกุ คลา ยซ่ีรม กวา งถงึ 6 ซม. ดอกสีขาว-ชมพู กลางดอก
สีชมพูเขม ผลแบบฝก ทรงกระบอกเรยี วยาว ยาว 12-17 ซม. ฝก
ออนมักมีลายสีมว ง
สรรพคุณ
• ใบและเถา : แกโ รคฝในตับ (NE3)
299
นมแมว นมแมวปา่
ชอ่ื ทอ งถน่ิ : นมแมว (สระแกว ) ช่ือทอ งถิ่น : กลว ยนอ ย (อดุ รธานี)
ชอื่ วิทยาศาสตร : Uvaria siamensis (Scheff.) ช่อื วทิ ยาศาสตร : Uvaria cherrevensis (Pierre
L. L. Zhou, Y. C. F. Su & R. M. K. Saunders ex Finet & Gagnep.) L. L. Zhou, Y. C. F. Su & R. M. K. Saunders
ชือ่ วงศ : ANNONACEAE ช่ือวงศ : ANNONACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมเ ถาเนอ้ื แขง็ ยาวถึง 20 ม. ตามกง่ิ ดอก ผลและ ลกั ษณะเดน : ไมพมุ สูงถึง 1.5 ม. ตามกง่ิ กา นใบ แผนใบดาน
แผนใบดานลา งมขี นกระจุกส้ันสีนํา้ ตาลแดงแนบกบั ผิว ใบเดย่ี ว ลา ง ดอกและผลมขี นสีสนิม-สขี าวหนาแนน ใบเด่ียว เรยี งสลับ
เรยี งสลบั ระนาบเดยี ว รปู ใบหอก ยาว 7-15 ซม. โคนใบมน-เวา รปู ไข-ไขกลับ ยาว 9-15 ซม. ขยใ้ี บมีกลิ่นฉนุ เสนแขนงใบนนู
ขย้ีมกี ลิน่ ฉนุ เนือ้ ใบคอ นขางหนา แผน ใบดา นบนเรียบและมันเงา ชดั เจนทีผ่ วิ ใบดา นลา ง ดอกเดีย่ ว หอ ยลง กลบี ดอกสีเหลืองออน
ดานลา งสีเขียวนวล กลบี ดอกสเี หลอื งครมี มี 6 กลบี รูปไขก วาง รูปไขแกมกลม ยาว 2 ซม. ปลายกลบี งอนกลบั ผลตดิ เปน กลุม
ยาว 1.5-2 ซม. มีกลิ่นหอมเยน็ ผลตดิ เปน กลมุ 2-8 ผล/กลุม รูป 10-20 ผล/กลมุ ทรงรี ยาว 1-1.5 ซม. สกุ สแี ดง
กลม-ทรงกระบอก ยาว 1.3-2 ซม. สุกสเี หลือง สรรพคุณ
• เถาหรือราก : แกท อ งเสีย ปวดทอ ง ชว ยบาํ รุงน้ํานม (NE3)
สรรพคณุ
• ดอก ราก เถา และแกน : บํารงุ หัวใจ บาํ รงุ กําลัง; ใบ ราก หรอื
ผลดบิ : รักษาโรคผิวหนังผน่ื คัน (E2)