The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by schtgr1125, 2021-05-21 23:27:58

พืชป่าสมุนไพร

พืชป่าสมุนไพร

150

กระทือ หมยุ ขน

»Ç´àÁ×Íè ¡ÅÒŒ Áà¹é×Í-àÊŒ¹à͹ç á¡àŒ ˹纪Ò

(S2-62) (S2-63)

-------------------- --------------------

ทําลกู ประคบ แกปวดเมอ่ื ยกลา มเนอ้ื และเสน เอน็ แกเ หนบ็ ชา อาการชาตามปลายมือปลายเทา

สว นประกอบ สวนประกอบ

ไพล (หัว) ขมิ้นออย ขา กระทอื ตะไคร มะกรูด (ผิวผล) ใช จิงจอเหลย่ี ม (เถา) และดปี ลี (ผล) อยา งละ 8 บาท, เปลานอ ย
ของสดทุกอยางๆ ละ 100 กรัม หน่ั เปนช้ินขนาดเล็กแลว ตํา (Croton stellatopilosus) (เน้อื ไม) และพริกไทยขาว อยา งละ
หยาบๆ, กานพลู และพิมเสน อยา งละ 30 กรัม บดใหล ะเอยี ด, 7 บาท, หมุยขนหรอื หัสคณุ (Mic_pub) (เน้อื ไม) ดองดึง (หัว)

ผสมตัวยาทกุ อยางใหเขา กัน แลว หอดวยผาขาวบาง เจตมูลเพลงิ แดง (ราก) เถาวัลยเ ปรียง (เถา) ยา นเอ็น (เถา)
มดั ทาํ ลูกประคบ โคคลาน (Mal_rep) (เถา) เถาเอน็ ออน (เถา) สมอท้งั 3 อยา ง
ละ 4 บาท, ขิง (หวั ) และจามจรุ ี (เนือ้ ไม) อยา งละ 2 บาท,
วิธใี ช ตะคา นเล็กหรอื สะคา น (เถา) ชา พลู (ทง้ั ตน) วานนาํ้ (Acorus

นาํ ลูกประคบไปนึ่งในซง้ึ ท่ีกาํ ลงั มีน้ําเดือดประมาณ 10 นาที calamus) (เหงา ) ขา ลิง (หวั ) เทียนเยาวพาณี โกฐนาํ้ เตา
รอใหอ ุนแลวใชป ระคบและนวดตามรา งกาย โกฐสอ เกลือเยาวกาสา อยา งละ 1 บาท, เกลือทะเล และ

เกลือสินเธาว อยางละ 2 บาท, มหาหงิ ค 8 บาท
ใชข องสดหรือตากแหง

วิธีใช

ตม นาํ้ ดมื่ ครัง้ ละ 1 แกวชา กอนอาหาร เชาและเยน็

151

สะบา พนั งูเขียว

âä¼ÇÔ Ë¹§Ñ ¨Ò¡àªé×ÍÃÒ/ᡤŒ ѹ âä¡Ã´äËÅŒ͹
¨Ò¡¡ÒÃᾌ
(S2-65)
(S2-64)
--------------------
--------------------
แกโรคกรดไหลยอย
ยาขผ้ี ้ึงหรอื ยาหมอ งทารักษาโรคผวิ หนังจากเชอื้ รา
เชน กลาก เกลื้อน แกอ าการคนั ตามผิวหนังท่ัวไป สวนประกอบ
จากอาการแพ ผนื่ คัน คันจากแมลงสตั วกดั ตอย
ชมุ เห็ดเทศ (ใบ) สกั (Tectona grandis) (ใบ) พนั งเู ขียว
สวนประกอบ (Stachytarpheta jamaicensis) (ทง้ั 5) อยางละเทาๆ กนั
ตากแหง แลว บดเปนผงละเอยี ด บรรจใุ สแคปซลู ขนาด 400 mg.
หนอนตายหยาก (Stemona sp.) (ราก) ไพล (หัว) สะบาหรอื
สะบา มอญ (เนอื้ ในเมล็ด) ขันทองพยาบาท (ราก) เลอื ดแรดหรือ วธิ ีใช
หัน (เมล็ด) กระเบียน (Ceriscoides turgida) (เมล็ด) กระเบา
น้ํา หรือใช กระเบาใต หรือใช งายอย กไ็ ด (เมลด็ ) ทองพันชัง่ ทานครง้ั ละ 3-4 เมด็ กอนอาหาร 3 เวลา

(ทั้ง 5) ชมุ เห็ดเทศ (ใบ) เขยตาย (Gly_pen) (ราก) อยางละ
เทา ๆ กนั ใชข องสดหรือตากแหง ห่นั เปน ช้ินบางๆ หรอื ขนาด
เล็ก, เติมนํ้ามันมะพราวใหพ อทวมตวั ยา เคี่ยวดว ยไฟออนจน
หอม รอใหอ ุนๆ แลวกรองดวยผาขาวบาง รอใหตกตะกอน แยก
เอาสว นของน้ํามันมาผสมกบั พาราฟน และลาโนลีน กวนให
ละลายเขากนั ดี แลว ตามดวยพมิ เสน การบูร เมนทอล กวนจน
ละลายเขา ดี แลวบรรจลุ งขวดขณะท่ียงั อุนอยู เมอ่ื เย็นจะแข็งตวั

วิธใี ช

ทาบรเิ วณท่มี อี าการวนั ละ 2-3 เวลา

152
กําจัดตน

¡Ãд١·ÑºàÊŒ¹ กะออก

(S2-66) ÃÑ¡ÉÒÍÒ¡ÒúÇÁÍ¡Ñ àʺ¨Ò¡¾ÉÔ
ºÒ´á¼Å/á¼ÅÍ¡Ñ àʺ
--------------------
(S2-67)
รกั ษาอาการกระดกู ทับเสน
--------------------
สวนประกอบ
รักษาอาการบวมอักเสบจากพษิ บาดแผล
พรกิ ไทย ดีปลี (ผล) กาํ จดั ตน หรือพริกหอม (ผล) อยา งละ 10 รกั ษาแผลผพุ อง เปน หนอง
บาท, ตะคา นเลก็ หรอื สะคา น (เถา) เจตมลู เพลิงแดงหรือขาว
(ราก), ชา พลูหรอื ชะพลู (ราก) 5 บาท, จันทนเทศ (ผลและดอก) สวนประกอบ
กานพลู ขิงแหง (Zingiber ligulatum) โคคลาน (Mal_rep)
(เถา) เถาวัลยเ ปรียง (เถา) มาทลายโรง (เถา) ลิ้นกวางหรอื เจตมูลเพลงิ แดง (ราก) 1 ถวยแกง, ชา พลู ตะคานเลก็ หรือ
คอนตีหมา (เถา) กระวานหรอื ใชกระวานขาวกไ็ ด ขเี้ หล็ก (แกน) สะคา น (เถา) ดีปลี (ผล) พรกิ ขิง ไพล กระทอื ไทรยอ ย
มะหาด (แกน) มะตูม (ผล) ผกั เสี้ยนผี (Cleome viscosa) (ทั้ง (Fic_ben) (รากอากาศ/รากยอย) กะออก (ราก) อบเชยจนี หรอื
ใชอ บเชยญวน ก็ได (เปลือก) อยา งละ 4 บาท, ขม้ินออ ย และ
5) ฮอสะพายควายหรือยานดูก (เถา) หญาปากควาย ขม้ินชัน อยางละ 2 บาท, ยาดาํ 12 บาท ทาํ เปน ยาตม
(Dactyloctenium aegyptium) (ท้ัง 5) หญา ขัด (ราก) ยาน
เอ็น (เถา) สงั วาลยพ ระอนิ ทร (เถา) สนกระหรือกระดกู ไกปา หรอื ยาดองกับเหลาขาวกไ็ ด
(Pri_tet_mal) (ราก) สมลุ แวง (เปลอื ก) อยางละ 2 บาท, ยาดาํ
วธิ ีใช
มหาหงิ ค และการบรู อยางละ 2 บาท, ตากใหแหง
บดใหล ะเอยี ดแลว บรรจุใสแ คปซลู ขนาด 400 mg. ยาตมดืม่ ครงั้ ละ 1 แกวชา กอนอาหาร 3 เวลา,
ยาดองดม่ื คร้ังละ 1 จอก กอ นนอน
วิธีใช
คาํ เตอื น
ทานครั้งละ 3-4 เมด็ กอ นอาหาร 3 เวลา
ไมควรใชก บั สตรีมีครรภ
คาํ เตอื น

ไมค วรใชกับสตรมี คี รรภ

153

หวายลงิ หญาตนี กา

äÊàŒ Å×Íè ¹ §ÙÊÇÑ´/àÃÔÁ

(S2-68) (S2-71)

-------------------- --------------------

รักษาโรคไสเลื่อนท้งั ชายและหญิง หรือโรคไขลงฝก รักษาโรคงูสวัด โรคเริม

สวนประกอบ สวนประกอบ

ไขเ นา (พชื ) (ใชแ กน) ปลาไหลเผือก (ราก) ดูกไกย านหรือ กระทอน (ใชใบสีแดงท่ีเพงิ่ รว งจากตน โดยมีเคลด็ วา จะตองเก็บ
ตองแหง (ใบ) หวายลงิ (ราก) หวายขรงิ (ราก) พญามูลเหลก็ เฉพาะใบท่ีหงายดา นผิวใบท่ีมีขนขึ้นฟา) และหญา ตีนกา
หรือพญามอื เหลก็ (แกน ) มะแวงตนหรือใชมะแวง เครอื ก็ได
(ราก) ไผส ีสกุ (Bambusa blumeana) (ตา) อยางละเทา ๆ กัน (Ele_ind) (ใชทัง้ ตน โดยมีเคล็ดวา ตอนถอนหามไมใ หเงาของ
คนเก็บไปทับตน หญา), นําใบสดของกระทอนลางใหส ะอาด
ใชของสดหรือตากแหง
ตําใหล ะเอียด แลว ละลายกบั น้ําซาวขาวใหข นเล็กนอย
วธิ ีใช
วธิ ใี ช
ตม นา้ํ ดม่ื ครงั้ ละ 1 แกวชา กอนอาหาร 3 เวลา
ลางตน หญา ตีนกาใหส ะอาด ผงึ่ ในรมใหแ หง ทุบรากเล็กนอ ย
ใชสวนรากชบุ น้าํ ยาทาบริเวณที่มอี าการ วนั ละ 3-4 ครงั้

154

หญาสามคม ชิงชา ชาลี

ºíÒÃ§Ø ¡íÒÅ§Ñ á¡äŒ ¢ŒμÇÑ ÃÍŒ ¹

(S2-74) (S2-79)

-------------------- --------------------

ชว ยบาํ รุงกําลงั ชวยแกไข ตวั รอน

สวนประกอบ สว นประกอบ

ยา นนมควาย (เถา) หญา สามคม (เหงา ) ขา วเมา เหลก็ หรือ ชงิ ชา ชาลี (เถา) 2 บาท, ชํามะเลยี ง (ราก) เตาราง (ราก) มะปรงิ
เมาเหลก็ (เปลือก) ตองขาวตม (Sta_lat) หรือใช กาเลด็ กาเวา หรอื ใชม ะปราง กไ็ ด (ราก) มะฮอกกานี (เมลด็ ) สตั บรรณ
(Sta_rep) กไ็ ด (หัว) วานนางตัด (หวั ) เนระพูสีไทย (Tac_cha) (Als_sch) หรือใชต ีนเปดดาํ (Als_ang) ก็ได (เปลือก)
หรือใช วา นพังพอน (Tac_int) ก็ได (หวั ) ฤๅษผี สมแกว (เถา) อยา งละ 1 บาท ใชข องสดหรอื ตากแหง
อวดเชอื ก (ผล) สาเหลา (ราก) สายหยดุ (ราก) จําปนู (ราก)
วธิ ีใช
อายบาว (ท้ัง 5) อยางละเทา ๆ กัน ใชของสดหรอื ตากแหง
เติมเหลาขาวใหพอทวมตัวยา ดองไวอยางนอย 7 วันจงึ ใชไ ด ตมนํ้าดื่มครั้งละ 1 แกวชา กอ นอาหาร 3 เวลา

วิธีใช

ดืม่ ครัง้ ละ 1 จอก กอ นอาหารเชาหรอื เย็นก็ได

155
ยางนา

á¡Œ»Ç´¿¹˜ -à˧×Í¡ ชาพลู

(S2-79) ÂÒàºÞ¨¡ÅÙ

-------------------- (S2-90)

แกปวดฟน-เหงอื ก เหงือกอักเสบ --------------------
รกั ษาโรคเหงอื กและฟน
บาํ รงุ ธาตุ ปรับสมดลุ ธาตุ (ดนิ น้าํ ลม ไฟ)
สว นประกอบ ยาอายวุ ัฒนะ

น้าํ มันยางของพชื ในสกลุ ยางนา (Dipterocarpus spp.) เชน สวนประกอบ
ยางนา ยางแดง ยางยูง ยางวาด ยางมันหมู เปน ตน นาํ มาคลกุ
ดีปลี (ดอก) ชา พลู (ธาตุนา้ํ ) (ราก) ตะคานเล็กหรอื สะคานพรกิ
เคลากบั เมล็ดกยุ ชาย อยา งละเทา ๆ กัน ค่ัวใหเ มลด็ (ธาตุลม) (เถา) เจตมูลเพลิงแดง (ธาตไุ ฟ) (ราก) ขิงแหง
กุยชา ยเกรยี ม แลวบด/ตําเปน ผงละเอียด
(Zingiber ligulatum) (อากาศธาตุ) (หัว) อยา งละเทา ๆ กนั
วิธีใช ตากแดดใหแ หง แลว บดเปนผงละเอียด บรรจุใส
แคปซูลขนาด 400 mg.
ใชอ ุดฟน /เหงือก และทาบริเวณทม่ี อี าการ 3 เวลา
หลงั อาหาร และกอ นนอน วธิ ใี ช

ทานครง้ั ละ 3-4 เม็ด กอ นหรอื หลงั อาหาร 3 เวลา

คาํ เตอื น

ไมควรใชกับสตรีมีครรภ คนมีไข หรอื เด็กเลก็ และ
ไมควรใชยาติดตอ กันนานเกนิ 10 วัน

156

หญาล้นิ งู เสมด็ ชุน

ÁÐàÃç§ ÊÁÒ¹á¼Å

(S2-93) (S2-100)

-------------------- --------------------

ชวยรกั ษาโรคมะเรง็ ชว ยสมานและรกั ษาบาดแผล

สว นประกอบ สวนประกอบ

หญาลนิ้ งู (ท้ัง 5) สกั (เนอ้ื ไม) อยา งละเทาๆ กนั เสมด็ ชนุ หรอื ผักเมก็ (เปลอื ก) ขนุน (ใบ) ตากแหง
ใชของสดหรอื ตากแหง บดเปน ผงละเอยี ด แลว ผสมใหเขากัน

วิธใี ช วิธีใช

ตมนํ้าดืม่ ครง้ั ละ 1 แกวชา 3 เวลา กอ นหรอื หลงั อาหาร ละลายผงยากบั นาํ้ สุก ใชพอกบาดแผล วันละ 2-3 คร้ัง

157
ขาไก

อวดน้ํา á¡Œä¢μŒ ÇÑ ÃÍŒ ¹

¢ÑºÅÁ-àÊÁËÐ-âÅËÔμ/¶Ò‹ ÂàʹŒ àÍç¹ (S2-113)

(S2-105) --------------------

-------------------- แกไข ตัวรอน

ชวยขบั ลม ขับเสมหะ ขับโลหิต ถา ยเสน เอ็น สว นประกอบ
ทําใหเ สนเอ็นหยอน ลดอาการเสน ตงึ
กรดนาํ้ (ท้งั 5) ขาไกห รือขาไกแดง (Str_sch) (ราก) อยา งละ
สว นประกอบ เทาๆ กนั ใชข องสดหรอื ตากแหง

อวดน้าํ (Der_ele) (เถา) มะลวิ ลั ยเถา (Jasminum sp.) (ดอก) วธิ ีใช
เปราะใหญหรือวานนกคมุ (หัว) อยางละเทาๆ กนั
ใชข องสดหรือตากแหง ตมนํา้ ด่มื ครั้งละ 1 แกว ชา กอ นหรอื หลังอาหาร 3 เวลา
และกอนนอน
วิธใี ช

ตมนํ้าดืม่ คร้ังละ 1 แกว ชา กอ นหรือหลงั อาหาร เชาและเยน็

คําเตอื น

หามใชกบั สตรมี ีครรภ

158

ชะลดู มะระขีน้ ก

ÂÒËÍÁ¹Çâ¡° ÂÒà¢ÕÂÇËÍÁ

(S3-01) (S3-02)

-------------------- --------------------

แกค ล่นื เหยี นอาเจยี น วิงเวียน ลมจกุ แนนในอก แกไ ข ตัวรอน รอนในกระหายนาํ้ แกพ ษิ ไขห ดั
แกล มปลายไข แกอาการสะบัดรอนสะบัดหนาว หรอื ไขเ หือด (หดั เยอรมนั ) ไขอีสุกอีใส

ครั่นเนอ้ื คร่นั ตัว รอนวูบวาบเหมอื นจะเปน ไข สว นประกอบ
บํารงุ ประสาท
พิมเสน (Pogostemon cablin) (พืชชนดิ หนง่ึ ใชใบ) 25 บาท,
สวนประกอบ ฟก ทอง หรือ นาํ้ เตา หรือฟก เขียว ก็ได (Cucurbita moscha-
ta) (ใบ) 8 บาท, มะระ หรอื มะระขนี้ ก กไ็ ด (ใบ) 6 บาท, พรมมิ
เกสรทง้ั 5 เบญจกลู โกฐทัง้ 7 โกฐพงุ ปลา โกฐนํ้าเตา เทียนทง้ั (Trianthema triquetrum) 5 บาท, สมี (Sesbania sesban)
5 เทียนเยาวพาณี เทยี นเกลด็ หอย จนั ทนเ ทศ (ผล) จันทนเทศ (ใบ) เถามวกขาว (เถา) เถามวกแดง (เถา) ฝายแดง (Gossypi-
(ดอก) จันทนเทศ (เนือ้ ไม) จนั ทนแดง (แกน ) ครห้ี รอื สักขี (แกน um arboreum) (ใบ) คคุ ะ (Cro_cau) (เถา) กูดพรา วหรอื หัสดาํ
(Cya_lat) (หัว) ละอองไฟฟาหรอื หัสแดง (Cib_bar) (หัว) เนระ
หรอื ราก) หญา แหว หมู (หัว) ราชดัด (ผล) สารพดั พษิ พูสไี ทย (Tac_cha) (หวั ) เปราะหอม (Kaempferia galanga)
(Sophora tomentosa) (ราก) กระวาน (ผล) กานพลู อบเชย
อยางละ 1 บาท ตากแหง แลวบดเปน ผงละเอียด
ญวนหรอื ใชอ บเชยจนี (เปลอื ก) สมลุ แวง (เปลอื ก) ผสมผงยาใหเขา กนั
หญา ตีนกา (Ele_ind) (ท้งั 5) แฝกหอม (ราก) ชะลูด (เปลือก
เถา) เปราะหอม (Kaempferia galanga) มะขามปอ ม (ผล) วธิ ีใช
สมอพิเภก (ผล) ชะเอมเทศ (เน้ือไม) ผกั ชี (เมลด็ ) กะดอม (ผล)
บอระเพด็ (เถา) สนเทศหรือสนแผง (แกน ) ขอนดอกพิกลุ (เนื้อ ผใู หญใชย าผงครัง้ ละ 1 ชอนชา เด็กอายุต่าํ กวา 10 ชวบ ใช 0.5
ชอนชา ละลายกับน้ําอนุ หรอื นํ้าสุก 0.5-1 แกวชา ดืม่ 4-6 ครง้ั /
ไมพ ิกุลท่ีมีเชื้อรา) กะลาํ พัก (แกนไมสลดั ไดปาทีม่ เี ชื้อรา)
นาํ้ ประสานทองสตุ อยา งละ 4 บาท ตากแหงแลว บดเปนผง วนั หรอื ด่มื ทุกๆ 3-4 ชั่วโมง เมอ่ื ยังมอี าการ, และเพือ่ เพิม่
ประสิทธภิ าพใหผ สมยา 1 ชอ นโตะกบั นา้ํ สกุ 1 ถว ย
ละเอยี ด ผสมผงยาใหเ ขากนั ใชผา ชุบนํา้ เช็ดตัวอกี ดว ย

วิธใี ช คาํ เตือน

ใชยาผง 0.5-1 ชอนชา ละลายกับนํ้าอนุ หรือน้าํ สกุ 0.5-1 แกว หา มใชกบั ผูปว ยทส่ี งสัยวาอาจจะเปน ไขเลือดออก
ชา ดม่ื เม่อื มอี าการ หรือทกุ ๆ 3 ชัว่ โมงเมอ่ื ยงั มีอาการ

159

สมอพิเภก กฤษณา

ÂÒμÃÕËÍÁ ÂÒËÍÁÍÔ¹·¨¡Ñ Ï

(S3-03) (S3-04)

-------------------- --------------------

แกทองผกู ในเด็ก ชวยระบายความรอนระบายพษิ ไข แกค ลน่ื เหยี นอาเจยี น หนา มืดจะเปนลม ลมจุกเสยี ด
แนนหนาอก แนนทอง ทอ งอืด อาหารไมย อ ย
สวนประกอบ
ปรบั ระบบการหมุนเวียนเลือดใหด ี ชวยบาํ รงุ หัวใจ
สมอไทย (เน้อื ผล) และโกฐนํา้ เตา (นึ่งจนสกุ กอน) อยางละ 22
บาท, สมอพิเภก (เนอื้ ผล) สมอเทศ (เนอื้ ผล) มะขามปอ ม (เน้ือ สว นประกอบ
ผล) ผกั ชลี า (เมล็ด) อยางละ 4 บาท, ชะเอมเทศ (เปลอื กและ
เน้อื ไม) โกฐสอ น้ําประสานทองสตุ และลูกซัด (ใชเมลด็ ที่คว่ั เบญจกูล เกสรทัง้ 7 (ยกเวน เกสรบวั หลวง) เทยี นท้ัง 5 โกฐ
กกั กรา โกฐน้ําเตา โกฐทง้ั 9 (ยกเวน โกฐหัวบัว และโกฐชฎา
แลว ) อยางละ 1 บาท ตากแหงแลว บดใหเปน ผงละเอียด มังษ)ี จันทนแดง (แกน) จันทนา (แกน) จันทนเทศ (ผล) จนั ทน
แลวนํามาอัดหรือปน เปน เม็ด หนักเม็ดละ 0.2 กรมั เทศ (ดอก) เถามวกขาว (เถา) เถามวกแดง (เถา) เถายานาง

วธิ ีใช (ราก) ชะลูด (เปลอื กเถา) ผักชี (เมล็ด) อบเชยญวนหรอื
อบเชยจนี (เปลอื ก) สมลุ แวง (เปลือก) กฤษณา (เนื้อไม) ฝาง
ทานกอนอาหาร เด็กอายุ 1-2 เดอื น คร้ังละ 2-3 เมด็ , เด็กอายุ (แกน ) กะลําพกั (แกนไมส ลัดไดทม่ี เี ชื้อรา) ขอนดอกพิกุล (เนอ้ื
3-5 เดือน คร้งั ละ 4-5 เมด็ , เดก็ อายุ 6-12 เดอื น ไมพ ิกุลท่มี เี ชือ้ รา) กะดอม (ผล) กระวาน (ผล) กานพลู อําพัน
คร้งั ละ 6-8 เม็ด แดงหรอื ลําพันแดง (Enhalus acoroides) (เหงา ) คาํ แสดหรอื
คําไทย (Bixa orellana) (ดอก) หญา ฝรั่น (Crocus sativus)
(ทัง้ 5) กาํ ยาน (ยางไม) อาํ พนั ทอง (อวกวาฬ) ชะมดเชยี ง
เลอื ดแรด (สัตวไมใชพชื ) ดีงูเหา (สัตว) ดีหมปู า (สตั ว) ดีววั
(สัตว) พิมเสน (แรธ าต)ุ อยางละเทา ๆ กัน ตากแหงแลว บดให

เปนผงละเอยี ด ผสมผงยาใหเขา กัน

วิธีใช

ใชย า 1-2 ชอนชา ละลายกับน้าํ อนุ หรอื นํ้าสุก 0.5-1 แกวชา
ดื่มเมอื่ มีอาการ หรอื ทุกๆ 3-4 ชัว่ โมงเมือ่ ยงั มอี าการ

160

เพกา กะเพราแดง

ÂÒ»ÃÐÊСҹ¾ÅÙ ÂÒ»ÃÐÊСÐà¾ÃÒ

(S3-05) (S3-06)

-------------------- --------------------

แกปวดทองจากอาการจุกเสียดแนน ทองอืดทองเฟอ แกปวดทอ งจากอาการจกุ เสยี ดแนน ทอ งอดื ทองเฟอ
อาหารไมยอย หรอื ธาตุไมปกติ ชวยขับลม อาหารไมย อ ย ชวยขบั ลม

สว นประกอบ สว นประกอบ

กานพลู (ดอก) 130 สว น, ครห้ี รอื สกั ขี (เปลอื ก) 10 สวน, พริกไทย ดปี ลี (ผล) กระเทยี ม (หวั ) วานน้ํา (เหงา ) มหาหงิ ค
จนั ทนเทศ (เนอ้ื ไม) จนั ทนเทศ (ผล) ขมิ้นชัน (หวั ) ขา วสาร และยาดํา อยางละ 1 บาท, กะเพราแดง (ใชใ บของกะเพราสาย
(รากของตน ไมชนดิ หนง่ึ ) อยางละ 8 สว น, เพกา (เปลือก) ขอี้ า ย
(เปลอื ก) ผักชลี า (เมลด็ ) แฝกหอม (ราก) กระวาน (ผล) วานน้าํ พนั ธุทมี่ ีกา นใบและกิง่ ออนสีแดง) หนกั เทากับตวั ยาอืน่ ๆ
(หัว) กระชาย (หัว) เปราะหอม (หัว) แจง (ราก) กรงุ เขมา (ราก) รวมกัน, ตากแหงแลวบดเปนผงละเอยี ด ใชเ ปนยาแบบผง หรือ
เทยี นแดง เทียนขาว โกฐสอ โกฐกระดูก อยา งละ 4 สว น, ไพล
(หัว) เบญจกูล อยา งละ 2 สว น, ตรกี ฏก อยางละ 1 สว น, อดั เม็ดขนาดเทา เม็ดพรกิ ไทย หรือประมาณ 100 mg.
กํามะถันเหลือง และการบรู อยางละ 4 สวน, น้ําประสานทอง
วิธีใช
สตุ 2 สวน, ตากแหงแลว บดใหเ ปนผงละเอยี ด
ทานกอ น/หลงั อาหาร 2 เวลา เชาและเยน็ หรอื เมือ่ มีอาการ,
วิธีใช เดก็ 1-3 เดอื น ครงั้ ละ 1-2 เม็ด, อายุ 4-6 เดือน ครงั้ ละ 2-3
เม็ด, อายุ 7-12 เดือน ครั้งละ 4-6 เมด็ , ผใู หญทานครง้ั ละ 1
ใชยา 1 ชอ นชา ละลายกับนํ้าอนุ หรือน้าํ สุก 0.5-1 แกวชา ดมื่
เม่ือมอี าการ หลงั อาหาร หรอื ทกุ ๆ 3-4 ช่วั โมงเม่อื ยงั มีอาการ ชอ นชา หรือ 6-10 เม็ด, ถา แกอ าการทอ งอดื ทอ งเฟอให
กระสายกับนาํ้ สุกหรอื น้ํากระเพราแดงตม แตถ า เปน อาการปวด
คําเตอื น
ทองแนนทองใหกระสายดว ยหวั ไพลเผาไฟพอสุกฝนกับ
หามใชก บั สตรีมีครรภ หรือผทู ม่ี ีไข, ผูทีม่ ีความผิดปกติของตบั นา้ํ สุราหรอื นา้ํ สกุ
หรือไตไมค วรใชย าตอเนือ่ งยาวนาน
คําเตือน

หามใชก ับสตรมี ีครรภ หรือผูที่มีไข

161

ไพล สวาด

ÂÒ»ÃÐÊÐä¾Å ÂÒ»ÃÐÊÐÁÐáǧŒ

(S3-07) (S3-08)

-------------------- --------------------

แกป วดประจําเดือน แกประจําเดอื นมานอ ยกวาปกติ แกไ อ ขับเสมหะ ทําใหชุมคอ
ขบั น้ําคาวปลาหลังคลอด
สว นประกอบ
สวนประกอบ
มะแวงตน (ผล) และ มะแวงเครอื (ผล) อยา งละ 8 บาท (ทงั้
มะกรูด กระเทียม หัวหอม วานน้ํา พริกไทย ดปี ลี ขิงแหง สองชนดิ หนกั เทากับตัวยาอ่ืนๆ รวมกัน), สวาด (ใบ) ตานหมอน
(Zingiber ligulatum) ขม้นิ ออย เทียนดาํ และเกลอื สนิ เธาว
อยา งละ 1 สวน หรือเทาๆ กัน, การบรู 1/8 สวน, ไพล (หัว) (ใบ) กะเพรา (ใบ) หนักอยา งละ 4 บาท, ขมนิ้ ออ ย 3 บาท,
หนกั เทากบั ตวั ยาอน่ื ๆ รวมกัน, ตากแหงแลว บดเปน ผงละเอยี ด สารสมสตุ 1 บาท, ตากแหงแลวบดเปนผงละเอียด แทรกดีงู
เหลอื ม (สัตว) และพิมเสน (แรธ าต)ุ เลก็ นอย ใชเปน ยาแบบผง
ใชเ ปน ยาแบบผง หรอื บรรจแุ คปซลู ขนาด 400 mg.
หรือผสมนํา้ สุกปน เปน ลกู กลอนหนัก 200 mg.
วิธีใช
วธิ ีใช
ทานกอนอาหาร 3 เวลา ยาผงคร้งั ละ 1 ชอ นชา ละลายกับนํ้า
อุน 1 แกว ถา แคปซลู ครง้ั ละ 2-3 เมด็ , กรณปี วดประจาํ เดือน วันละ 3 คร้งั หรอื เมือ่ มอี าการ เดก็ อายุ 6-12 ป คร้งั ละ 1-2
ทาน 2-3 วนั กอนมปี ระจาํ เดอื น และตอไปจนถึงวนั ที่ 1-2 ทม่ี ี เม็ด หรอื 0.5 ชอ นชา, ผูใหญค รั้งละ 5-7 เม็ด หรือ 1-1.5 ชอ น
ประจาํ เดือน, กรณีระดมู านอ ยกวา ปกติ ทาน 3-5 วนั กอ น ชา, โดยใชย าลกู กลอนหรือยาผงละลายกับนํ้ามะขามเปยกหรอื
ประจําเดอื นมา แลว หยุดทานเมอื่ ประจาํ เดือนมา, กรณขี ับนา้ํ นํ้ามะนาว 1 ซีก แทรกเกลือเล็กนอ ย ไดข องเหลวประมาณ 1
คาวปลา ทานจนกวา นาํ้ คาวปลาจะหมด แตไมเกิน 15 วัน
ชอ นโตะ ใชดื่ม หรอื ผสมยาใหมลี ักษณะขน เหนยี วใชสําหรบั
คําเตือน กวาดคอ หากไมส ะดวกสามารถใชยาลกู กลอนอมเฉยๆ กไ็ ด

หา มใชก บั สตรมี คี รรภ สตรตี กเลอื ดหลงั คลอด หรอื ผูท ่มี ไี ข และ
หามใชกบั ผูท มี่ ีประจําเดอื นมามากกวาปกติ (เพราะยาจะทําใหมี

การขับประจาํ เดอื นมากกวาปกตยิ งิ่ ขน้ึ )

162

แกน ไมจันทนแ ดง ฝก ดปี ลี

ÂÒ»ÃÐÊШѹ·¹á ´§ ÂÒÇÔÊÑÁ¾ÂÒãËÞ‹

(S3-09) (S3-10)

-------------------- --------------------

แกไข ตวั รอ น รอนในกระหายนํา้ ไขเซื่องซึม แกทองอืดทอ งเฟอ จกุ เสียดแนนทอ ง
ไขเปลย่ี นฤดู ขบั ลมในกระเพาะอาหาร

สวนประกอบ สว นประกอบ

จันทนแดง (แกน) 32 สวน (หนกั เทากับตวั ยาอนื่ ๆ รวมกัน), ดีปลี (ผล) 27 สวน หรือเทา กบั ตวั ยาอื่นๆ รวมกัน, จันทนเ ทศ
มะไฟแรดหรอื เหมือดคน (Scl_pen) (ราก) มะปรางหวาน (ผล) จันทนเ ทศ (ดอก) และ ผกั ชลี า (เมลด็ ) อยา งละ 4 สวน,
(ราก) มะนาวหวาน (ราก) เปราะหอม (หวั ) จนั ทนเทศ (เนื้อไม) กระวาน (ผล) อบเชยญวนหรือใชอบเชยจนี (เปลือก) สมุลแวง
ฝาง (แกน) และโกฐหัวบวั อยางละ 4 สวน, บวั หลวง (เกสร) (เปลือก) สมอไทย (เนื้อผล) สมอเทศ (เนอ้ื ผล) วานน้ํา (เหงา )
บนุ นาค (ดอก) สารภี (ดอก) มะลิ (ดอก) อยา งละ 1 บาท, ตาก บอระเพด็ (เถา) ขงิ แหง (Zingiber ligulatum) (หัว) กานพลู
แหงแลว บดเปนผงละเอยี ด แทรกชะมดเช็ด (ไขมนั สตั ว) และ พญารากขาว (ไมทราบชนดิ ) (ราก) และ โกฐทั้ง 5 อยางละ 1
พมิ เสน (แรธาต)ุ เลก็ นอย ใชเ ปนยาแบบผง หรือผสมนา้ํ สุก สวน, ตากแหงแลว บดเปน ผงละเอยี ด แทรกดวยนํ้าประสาน

ปนเปน ลกู กลอนหนกั 250 mg. ทองสตุ เลก็ นอ ย ใชเปนยาแบบผง หรือผสมน้ําสกุ
ปนเปนลกู กลอนหนกั 250 mg.
วิธีใช
วธิ ใี ช
ทานกอ นหรือหลังอาหาร วันละ 3 ครงั้ และกอ นนอน หรอื ทกุ ๆ
3-4 ช่ัวโมง, เดก็ อายุ 6-12 ป ครง้ั ละ 1-2 เม็ด หรือ 0.5 ชอ น ทานกอ นหรอื หลังอาหาร เมอ่ื มีอาการหรอื ทกุ ๆ 3-4 ชวั่ โมง,
ชา, ผใู หญครง้ั ละ 2-4 เมด็ หรือ 1 ชอนชา, ยาแบบผง ถา ใชแก เด็กอายุ 1-12 ป คร้ังละ 1-2 เม็ด หรือ 0.3-0.5 ชอ นชา, ผูใหญ
ไขรอนในใหกระสายดว ยน้าํ ดอกมะลหิ รอื นํ้าสุก แกไขเซ่ืองซมึ ให
ครั้งละ 3-4 เม็ด หรือ 1 ชอ นชา, ยาแบบผง
กระสายผลจนั ทนเทศฝนกบั นํ้าสกุ ละลายกบั นาํ้ สุก 0.5-1 แกว ชา

คาํ เตอื น คําเตือน

ไมควรใชกบั ผปู ว ยไขเ ลอื ดออก ไมค วรใชก บั สตรีมคี รรภ และผมู ไี ข

มะคําดีควาย 163

ขอนดอกพกิ ลุ

ÂÒà·¾Á§¤Å ÂÒÁËÒ¹ÅÔ á·‹§·Í§

(S3-11) (S3-12)

-------------------- --------------------

แกไขต ัวรอ น ถอนพษิ ไข ไขกาฬ, แกอ าการชกั - แกไ ขตัวรอ น ไขหัด ไขอสี ุกอใี ส แกรอนในกระหายนา้ํ
ลน้ิ กระดางคางแข็ง-แนน งิ่ หนาเปลยี่ นสี-มีอาการ แกปากเปอ ยเพราะพิษรอนหรอื รอ นใน
มึน-กระหายนํา้ หอบพกั , แกโรคหละ-โรคละออง-
สวนประกอบ
โรคซางในเดก็
มะกอก (Spo_pin) (เมล็ด) มะไฟ (ราก) มะปรางหวาน (ราก)
สว นประกอบ กระทอน (ราก) ลําโพงกาสลกั (Datura metel) (ราก) สกั
(Tec_gra) (ไม) ขมนิ้ ออ ย (หัว) ละหุงแดง (ใชร ากของละหุงสาย
บุนนาค (ดอก) บวั หลวง (เกสร) กฤษณา (เน้อื ไม) กะลาํ พกั (แกนไม พันธทุ ี่มีกงิ่ ออนและกานใบสีแดง) อยางละเทาๆ กนั ทุกอยา งนาํ
สลดั ไดปาท่ีมเี ชื้อรา) ขอนดอกพกิ ุล (เนื้อไมพิกุลท่ีมีเชื้อรา) หวาย- ไปสมุ ไฟใหเปนถานสีดํา, ทองหลางใบมน (ใบ) มะคําดคี วาย
(ผล) อยางละเทา ๆ กนั ทง้ั สองนาํ ไปค่วั ใหไ หมเกรยี ม, นาํ สวน
ตะครา (เถา) จันทนแดง (แกน ) จนั ทนา (แกน) เทียนดํา และ ผสมทุกอยา งบดเปน ผง คลกุ เคลาใหเ ขา กัน ผสมนา้ํ ดอกมะลิ
โกฐพงุ ปลา อยางละ 1 บาท, ดจี ระเข (สัตว) ดงี เู หลอื ม (สัตว) ชะเมด็ - ปน เปน เม็ดลกู กลอน นํ้าหนัก 500 mg. แลว ปด ทองคาํ เปลว
เช็ด (ไขมนั จากสตั ว) หญายองไฟ (หยากไยท ี่ตดิ เขมา ไฟตามหลงั คา
ครวั ) ชาดหรคณุ จีน (แรธาต)ุ พิมเสน (แรธาตุ) และนา้ํ ประสานทอง วธิ ีใช

สตุ อยา งละ 1 บาท ตากแหง แลวบดเปนผงละเอยี ด, ขแี้ มลงสาบ เดก็ อายุ 6-12 ป ทานครัง้ ละ 1-2 เมด็ ผูใหญค รงั้ ละ 3-4 เม็ด
(สัตว) และ เข้ียวจระเข อยา งละ 1 บาท ทงั้ สองนาํ มาคั่วหรอื ปง ให กอ นหรอื หลังอาหาร 2 เวลา เชาและเยน็ , แกไขต ัวรอนให
รอนระอุ แลว บดใหเ ปน ผงละเอยี ด, คลุกเคลา ตวั ยาทง้ั หมดใหเขากนั กระสายกบั น้าํ สุกหรอื นํา้ ดอกมะลิ, แกพิษไขห ดั อีสุกอีใส ให
กระสายนา้ํ รากผกั ชีตม, แกป ากเปอ ยเพราะพิษรอนไขใ ห
ผสมกับนา้ํ สุกปนเปน ลกู กลอนหนัก 100 mg.
แลวปดรอบดวยทองคาํ เปลว กระสายลกู เบญจกานีฝนแลว ทาแผล

วิธีใช คาํ เตอื น

ทานทกุ ๆ 3-4 ชว่ั โมง ไมจาํ กัดเวลา เดก็ อายุ 1-3 เดอื น ครงั้ ละ 1 ไมค วรใชกับผปู วยไขเ ลือดออก
เมด็ , เดก็ อายุ 4-6 เดอื น คร้งั ละ 2 เมด็ , เด็กอายุ 7-12 เดือน ครง้ั ละ
3 เมด็ , ผใู หญค ร้ังละ 7-10 เม็ด, แกอาการชกั -ล้ินกระดา งคางแข็ง แน
นง่ิ ตาแขง็ ใหกระสายกบั นา้ํ ดอกไม, แกอ าการแนนิง่ หนา สแี ดงให

ละลายกับนํ้าฝางแลวกวาดคอ, แกแนน ง่ิ หนาเหลืองตัวเหลอื งให
กระสายกับนํ้าขมิน้ เครือกวาดคอ, แกแนนงิ่ หนาเขยี วใหดงั กบั ควนั
เทียน แลว กระสายกับน้ําหัวหอมและดงี ูเหลอื มกวาดคอ, แกแ นน่ิง
สีหนา คลา ยดอกตะแบกช้ํา ใหกระสายกับน้าํ ดอกมะลิ แกโรคหละ

โรคละออง โรคซางใหก ระสายกับน้าํ หวั หอมตม

164

กะดอม หวั หญา แหว หมู

ÂҨѹ·¹Å ÕÅÒ ÂÒàËÅ×ͧ»´ÊÁØ·Ã

(S3-13) (S3-14)

-------------------- --------------------

แกไ ขต ัวรอ น ไขหวดั ไขเปลี่ยนฤดู รกั ษาอาการทองเสยี ทไี่ มม สี าเหตจุ ากการติดเชื้อ
ไมม ไี ขแทรก อุจจาระไมเ ปน มูกหรือมีเลือดปน
สวนประกอบ
สวนประกอบ
จันทนแ ดง (แกน ) จันทนา (เนือ้ ไม) กะดอม (Gymnopetalum
chinense) (ผล) ปลาไหลเผือก (ราก) โกฐสอ โกฐเขมา โกฐจุฬา ขม้ินชัน (หัว) 6 สว น, ขมน้ิ ออ ย (หวั ) ทบั ทมิ (ใบ) หญาแหวหมู
ลมั พา และพมิ เสน (แรธาต)ุ อยา งละเทา ๆ กนั ทกุ อยางบดเปน (หวั ) เพกา (เปลือก) กลวยตบี (Musa × paradisiaca ‘Tib Ta
Nod’) ถา ไมมีใชก ลว ยนาํ้ วา ก็ได (ราก) กระเทียม (หัว) เทียน-
ผง แทรกดว ยชะมดเชด็ (สะตุ) เล็กนอย คลุกเคลา ใหเ ขา กนั
ใชแบบยาผง หรืออดั เปน เมด็ นา้ํ หนกั 250 mg. บา น (Impatiens balsamina) (ใบ) สเี สยี ดแกน (Acacia
catechu) (เปลอื กตน) สีเสียดแกน (Acacia catechu) (กอ น
วธิ ใี ช ยางสเี สียด) ชนั ของไมตะเคยี น อยางละ 1 สว น ตากแหงแลวบด

เดก็ อายุ 6-12 ป ทานคร้งั ละ 2-4 เม็ด หรอื 0.5-1 ชอ นชา เปนผง อัดเปนเมด็ นาํ้ หนัก 250 mg.
ผูใหญค รง้ั ละ 4-6 เม็ด หรอื 1-2 ชอ นชาละลายกบั นํา้ อุน กอ น
หรอื หลงั อาหาร 3 เวลา และกอนนอน หรือทกุ ๆ 3-4 ชั่วโมง วธิ ีใช

เมอื่ ยังมีอาการ รับประทานเมือ่ มอี าการ ทกุ ๆ 3-4 ช่ัวโมง, เดก็ อายุ 1-2 เดือน
ครงั้ ละ 1 เมด็ , อายุ 3-5 เดอื น ครัง้ ละ 2 เมด็ , อายุ 5-12 เดือน
คําเตอื น คร้ังละ 3 เม็ด เดก็ โตและผใู หญ ครงั้ ละ 3-4 เม็ด, ถา แกท อ งเดิน
ใหก ระสายเปลอื กแคตมกบั น้าํ ปูนใส, แกอุจจาระเปนมกู เลอื ดใช
ไมค วรใชกับผูป ว ยไขเ ลอื ดออก
กระทอื กับกระชายเผาไฟพอสุกฝนกบั น้ําปนู ใส, หรือ
ถาไมส ะดวกสามารถกระสายกบั นาํ้ สุกได

165

หญา ขดั เนือ้ ผลมะขามปอมแหง

ÂÒ¸ÒμغÃèº ÂÒÍÒí ÁĤÇÒ·/Õ ÍÁĤÇÒ·Õ

(S3-15) (S3-16)

-------------------- --------------------

แกทองเดิน ทองเสียท่ีไมมสี าเหตจุ ากการตดิ เช้อื แกไอ ชวยขับเสมหะ
ไมม ีไขแ ทรก, แกทองอืด ทองเฟอ แกธาตไุ มปกติ
สว นประกอบ
หรอื ธาตพุ กิ าร
ชะเอมเทศ (เปลอื กหรอื ราก) 7 สว น, มะขามปอ ม (เนอื้ ผล)
สวนประกอบ สมอพเิ ภก (เนอื้ ผล) ผกั ชีลา (เมด็ ) โกฐพงุ ปลา เทยี นขาว และ

จนั ทนแดง (แกน) จนั ทนเทศ (ผล) จันทนเ ทศ (ดอก) จันทนเทศ นาํ้ ประสานทองสตุ อยางละ 1 สวน, ทุกอยา งบดเปน ผง
(เนื้อไม) กระวาน (ผล) กานพลู (ดอก) ขงิ (หัว) ดีปลี (ผล) คลกุ เคลา ใหเ ขากัน ใชแ บบยาผง
ตะคา นเล็กหรือสะคา น (เถา) เจตมูลเพลงิ แดง (ราก) หญาขดั
(ราก) หญาแหว หมู (หวั ) มะตมู (ผลออ น) อบเชยเทศหรือ วธิ ใี ช
อบเชยลงั กา (Cinnamomum verum) (เปลอื ก) สมลุ แวง
(เปลอื ก) เปราะหอม (หัว) แฝกหอม (Chrysopogon ใชด่มื จบิ หรอื กวาดคอ หลงั อาหาร 3-4 เวลา หรอื เมอื่ มอี าการ,
zizanioides) (ราก) ตรผี ลา โกฐท้งั 5 เทยี นทั้ง 5 และน้าํ เดก็ อายุ 6-12 ป ทานครัง้ ละ 0.5-1 ชอนชา ผใู หญครง้ั ละ 1-2
ประสานทองสตุ อยา งละเทา ๆ กนั ทุกอยางบดเปนผง ชอ นชา, ละลายกับน้ําอุน หรอื นาํ้ กระสายเปนนาํ้ สมซา หรือ
คลกุ เคลาใหเ ขากนั ใชแบบยาผง
นา้ํ มะขามเปยก หรือน้าํ มะนาว แทรกเกลอื เล็กนอ ย
วธิ ีใช

ทานกอ นอาหาร 3 เวลา, เดก็ อายุ 6-12 ป ทานครงั้ ละ 0.5
ชอ นชา ผใู หญครั้งละ 1 ชอ นชาละลายกบั นาํ้ อนุ หรอื ละลายกับ
นา้ํ กระสาย ถา ทอ งอดื ทอ งเฟอ ใหกระสายกบั กระเทียมทบุ 3
กลบี ชงกับน้ําอนุ หรอื ชงกบั ใบกะเพรา 1 กํามือ, ถา แกท องเดนิ

ใหก ระสายเปลอื กแคตมกับนํ้าปนู ใส

คาํ เตือน

ไมควรใชก บั สตรีมคี รรภ หรือผทู ่มี ีไข

166

ฝายแดง ประคาํ ไก

ÂÒà¢ÕÂÇàºÞ¨¢Ñ¹¸ ÂÒà¢ÕÂÇàºÞ¨¢Ñ¹¸ (¤ÑÁÀÃÕ à ÇªÈÖ¡ÉÒ)

(S3-17) (S3-18)

-------------------- --------------------

แกไขห วดั ไขอ ีสุกอีใส ไขด ําแดง ไขห ดั ไขตวั รอน แกไขตวั รอ น ไขหวดั ไขหัด ไขอีสกุ อีใส
รอ นใน กระหายนํ้า ทมี่ อี าการเพอ ดวย

สวนประกอบ สว นประกอบ

พมิ เสน (Pogostemon cablin) (ใบ) ฝา ยแดง (Gossypium สนั พรามอญหรือปกไกดํา (Justicia gendarussa) สนั พรา หอม
arboreum) (ใบ) ทองพนั ช่งั (ใบ) ผักกะโฉม (Limnophila (Eupatorium fortunei) ประคําไก (ใบ) พมิ เสน (Pogoste-
rugosa) (ใบ) หญาใตใ บ (Phy_uri) หรือใช ลูกใตใ บ (Phy_ mon cablin) (ใบ) ฝา ยแดง (Gossypium arboreum) (ใบ)
ผักกะโฉม (Limnophila rugosa) (ใบ) พรมมิ (Trianthema
ama) กไ็ ด (ท้ัง 5) อยางละเทาๆ กัน, ตากแหง
แลวบดเปนผงอะเอียด triquetrum) ใชใบของพชื ทง้ั 7 ชนดิ อยางละเทา ๆ กนั ,
ตากแหง แลวบดเปนผงอะเอียด
วิธใี ช
วิธใี ช
รบั ประทานกอนอาหาร 3 เวลา และกอนนอน เด็กใช 0.5 ชอน
ชา ผูใ หญใช 1 ชอนชา แกไ ขห วัดใหก ระสายกับน้ําดอกมะลิหรือ รบั ประทานกอนอาหาร 3 เวลา และกอนนอน เด็กใช 0.5 ชอ น
จันทนแ ดง, แกไ ขห ัด ไขอ สี กุ อีใส ไขดําแดง กระสายนํ้ารากผักช,ี ชา ผใู หญใช 1 ชอ นชา ถาใชก ระทุง ไขหดั หรอื ไขอ สี กุ อใี สใชน ้าํ
ถา แกไขห วัดใหญ ไขก าฬ ใชเ ขีย้ วสัตวตางๆ ฝนเปนนาํ้ กระสาย, กระสายจากรากผักชีตม ถา แกไขท่มี อี าการเพอกลมุ ดวยให
ยาแกไขอ าเจยี น ใชน ้ําลกู ยอตมเปน นา้ํ กระสาย, แกไ ขต ัวรอนให
กระสายกับนํ้าซาวขา ว 1 ถว ยแกว ใชพน ตัวคนไขช วยลดอาการ กระสายกบั นํ้าซาวขา วใชท งั้ กินทั้งชะโลมรางกาย

ไขร อนในไดดี

167

จันทนเทศ กะเมง็

á¡ÅŒ ÁÍØ·¸§Ñ ¤ÁÒÇÒμРᡌ䢌μÑÇÃÍŒ ¹¨Ñ´/á¡âŒ ä«Ò§ª¡Ñ

(S3-19) (S3-20)

-------------------- --------------------

แกล มอุทธังคมาวาตะ หรือลมตขี ึ้นปะทะอกหายใจ แกไ ขต วั รอ นจดั แกไขซางชัก
ไมอ อกราวจะสนิ้ ใจ (มอี าการเรอรวมกับแนน ทอ ง
รุนแรง ลนิ้ กระดางคางแข็ง ชกั เกร็ง มอื กาํ เทา กาํ ) สวนประกอบ

สวนประกอบ ตาํ ลงึ ผกั เปดแดง (Alternanthera sessilis) กะเมง็ โหระพา
แมงลัก ใชใบของพืชทง้ั 5 ชนดิ อยา งละเทา ๆ กนั , ตากแหงแลว
จนั ทนเทศ (ผล) จนั ทนเ ทศ (ดอก) กระวาน (ผล) กานพลู (ดอก)
อบเชยเทศ (Cinnamomum verum) สมอท้งั 3 รงทอง (ยางสี บดเปนผงอะเอยี ด
เหลอื งใหสะตกุ อน โดยบดเปน ผงแลว หอ ดวยใบขาหรือใบบวั 7
วิธีใช
ช้นั ยางไฟจนใบไมกรอบเกรยี มทงั้ 7 ชนั้ ) และมหาหงิ ค
อยา งละเทา ๆ กนั , ตากแหงแลวบดเปนผงละเอยี ด ทานคร้ังละ 1 ชอนชา ละลายกับนาํ้ อุน 1 แกวชา กอนหรือหลงั
อาหาร 3 เวลา และกอ นนอน หรอื ทุกๆ 3-4 ชัว่ โมง
วธิ ีใช

ทานคร้ังละ 1 ชอนชา เมอื่ มอี าการ โดยละลายกบั น้าํ อุน หรอื
ผสมกบั นาํ้ ผึง้ ใหไดนํ้า 1 แกว ชา

168

ฝาง บุนนาค

ÂÒÍØ·ÑÂâÍʶ á¡äŒ ¢ŒμÇÑ ÃŒÍ¹

(S3-22) (S3-23)

-------------------- --------------------

แกไขตวั รอน แกร อ นในกระหายนํ้า แกออนเพลยี แกไขตวั รอ น
ระเหี่ยใจ เพมิ่ ความสดชนื่ บาํ รุงหัวใจ
สว นประกอบ
สว นประกอบ
จนั ทนา (เน้ือไม) จนั ทนแดง (แกน ) พกิ ุล (ดอก) บนุ นาค (ดอก)
ฝาง (แกน) เทา กับน้าํ หนกั ตัวยาท้งั หมด, จันทนแ ดง (แกน) ครง่ึ อญั ชันดอกขาว (ดอก) อัญชันดอกมว ง (ดอก) พมิ เสน
หนึ่งของตัวยาทั้งหมด, มะเด่ืออุททุ พร (ราก) และบวั หลวง (ใช
รากสดหรืออบแหง) อยา งละ 8 บาท, บัวหลวง (เมลด็ ) แหวจีน (Pogostemon cablin) (ใบ) หญา ชันกาศ (Pan_rep) (ราก
(Eleocharis dulcis) (ใชห วั สดหรืออบแหง ) โกฐหัวบวั โกฐสอ และเหงา ) หญาปากควาย (Dactyloctenium aegyptium)
โกฐเชยี ง ชะเอมเทศ (เปลือกและไม) คําฝอย (ดอก) และเกสร (ทง้ั 5) อยางละเทา ๆ กัน, ตากแหง แลว บดเปน ผงละเอยี ด
ทัง้ 5 อยา งละ 3 บาท, กฤษณา (เน้อื ไม) จนั ทนเ ทศ (เนื้อไม)
จันทนา (เนอ้ื ไม) จันทนชะมด (Man_gag) (แกน ) ขอนดอกพิกุล วธิ ีใช
(เน้อื ไมพ ิกลุ ที่มเี ชอ้ื รา) คนทา (ราก) ชะเอมปา หรอื ชะเอมไทย
(เปลือก) อบเชยเทศ (Cinnamomum verum) เชยี ดหรือ ทานกอ นหรือหลงั อาหาร 3 เวลา และกอ นนอน, เด็กคร้ังละ
อบเชยไทย (Cin_ine) แหวกระดาน (ไมทราบชนดิ ) (หวั ) และ 0.5 ชอนชา ผใู หญค ร้ังละ 1 ชอนชา ละลายกบั นา้ํ อุนหรอื
กระจบั (Trapa natans) (เนอ้ื ในผลสดหรอื อบแหง) อยางละ 1
บาท, นาํ ไปอบหรอื ตากแหง , ตมนํา้ ฝาง ใสนํา้ พอทว มแกน ฝาง น้าํ ดอกไมเ ทศ 1 แกว ชา
ใชไฟปานกลางเค่ยี วจนงวดเหลอื น้ํา 1 ใน 3 สวน แลวกรอง
ตะกอนและกากออก, ตมตวั ยาอน่ื ๆ แยกกับน้ําฝาง เค่ยี วจนงวด
เหลือน้าํ 1 ใน 3 สว น, ผสมนํ้ายาสองสว นเขา ดว ยกัน ลอยดวย
ดอกมะลิ และดอกกระดังงาในหมอปดฝา 1 คืน กรองตะกอน

อกี คร้ัง แทรกดวยชะมดเชด็ (สะตุ) และพมิ เสน เล็กนอย

วิธใี ช

แกก ระหายน้าํ เพิม่ ความสดชื่น ใชผสมกบั น้าํ ดื่ม 3-4 หยด/แกว
ดื่มแทนนาํ้ , แกไ ขตวั รอน ใชคร้ังละ 1 ชอนโตะ ผสมนํา้ ดม่ื 1
แกว ดืม่ 3 เวลากอนหรอื หลังอาหาร และกอ นนอน หรอื
ทกุ ๆ 3-4 ชั่วโมง

169

ขม้ินออย ขงิ

·ÍŒ §Í´× -·ŒÍ§à¿Í‡ ·ŒÍ§Í´× -·ÍŒ §à¿‡Í

(S3-24) (S3-25)

-------------------- --------------------

แกทอ งอืด ทองเฟอ ชว ยขบั ลม ชว ยยอยอาหาร แกทอ งอืด ทองเฟอ ชว ยขบั ลม ทาํ ใหผ ายลม

สว นประกอบ สว นประกอบ

ขม้ินออย (หวั ) ขงิ (หัว) กระชาย (หัว) ไพล (หวั ) ขา (หัว) ขิง (หวั ) ถั่วลิสง (เมลด็ ค่ัวใหสุก) กานพลู ชาพลู (ใบ) สะคา น
กะเพรา (ทงั้ 5) พริกไทย (เมลด็ ) ดปี ลี (ฝก) กระเทยี ม (หวั ) (เถา) กระเทยี ม (หัว) มะกรดู (ผวิ ผล) การบูร (แรธาต)ุ และมหา

ผักคราด (Acmella oleracea) (ราก) การบูร (แรธ าตุ) หิงค อยา งละเทาๆ กัน, ตากแหงแลวบดเปนผงละเอียด
อยางละเทาๆ กัน, ตากแหงแลวบดเปน ผงละเอยี ด
วธิ ใี ช
วิธีใช
ทานเมื่อมีอาการ หรือกอ นอาหาร 3 เวลา, เด็กครัง้ ละ 0.5 ชอน
ทานเมือ่ มอี าการ หรอื กอ นอาหาร 3 เวลา, เด็กครัง้ ละ 0.5 ชอ น ชา ผูใหญครง้ั ละ 1 ชอ นชา ละลายกับนํ้าอุน 1 แกวชา
ชา ผูใหญค ร้งั ละ 1 ชอนชา ละลายกบั นา้ํ อนุ 1 แกว ชา

170

ใบเงนิ วา นพังพอน

á¡Œ¾ÉÔ ¡Ô¹¼´Ô ÊÒí á´§ á¡·Œ ÍŒ §àÊÂÕ áººÁäÕ ¢Œ

(S3-35) (S3-36)

-------------------- --------------------

แกพษิ กนิ ผดิ สําแดง กินของแสลง แกท อ งเสยี แบบมไี ข อาหารเปน พษิ

สวนประกอบ สวนประกอบ

หญาคา (ราก) มะกรดู (ราก) มะนาว (ราก) มะปรางหวาน มะเดอื่ อทุ มพร (ราก) ชงิ ชี่ (ราก) เถายานาง (ราก) มะพรา ว
(ราก) รางจดื (เถา) หญาแหว หมู (หัว) ใบเงนิ (Graptophyl- (ราก) กลว ยตบี (Musa × paradisiaca ‘Tib Ta Nod’) ถา
lum pictum) (ใบ) เถายานาง (เถา) จนั ทนา (เนอ้ื ไม) จนั ทน ไมม ีใชก ลวยน้ําวา กไ็ ด (ราก) ขม้นิ ออ ย (หัว) เนระพูสีไทย หรือ
แดง (แกน) เกสรทั้ง 5 และเทยี นท้งั 5 อยางละเทา ๆ กนั , ใช วานพังพอน ก็ได (เหงา ) และขอี้ าย (เปลอื ก) อยา งละ

ใชของสดหรือตากแหง เทาๆ กนั , ใชข องสดหรือตากแหง

วิธีใช วธิ ีใช

ตม น้าํ ดื่มครัง้ ละ 1 แกวชา เมอ่ื มีอาการ หรอื กอ นอาหาร ตม นา้ํ ดืม่ คร้ังละ 1 แกวชา เมือ่ มีอาการ และกอนอาหาร
หากยงั มีอาการ 3 เวลา และกอนนอน

171

ชิงชี่ พุดทุง

á¡·Œ ÍŒ §¼Ù¡ ·ŒÍ§Í´× -·ŒÍ§à¿Í‡

(S3-37) (S3-39)

-------------------- --------------------

แกท อ งผกู ชวยระบายทอ ง แกทองอดื ทอ งเฟอ ชวยขบั ลมในลําไส

สวนประกอบ สว นประกอบ

เถายา นาง (ราก) เทา ยายมอม (Cle_ind) (ราก) ชิงช่ี (ราก) จันทนเ ทศ (ผล) พริกไทย (เมลด็ ) กะเพรา (ราก) ตะคา นเลก็
สมอไทย (รากหรอื ผลสด) มะกาหรอื ใชม ะกาตน (ใบ) ราชพฤกษ หรอื สะคาน (เถา) สมอไทย (ผล) วา นน้าํ (Acorus calamus)
หรือคูน (เนอื้ ในสดี าํ ของฝกแก) จันทนแ ดง (แกน) จันทนา (เน้ือ
ไม) กะดอม (ผล) บนุ นาค (ดอก) มะลิ (ดอก) อยา งละเทา ๆ กนั , (เหงา) พดุ ทงุ หรอื หัสคุณเทศ (Hol_cur) (ราก) อยา งละ
เทาๆ กนั , ตากแหงแลว บดเปน ผงละเอยี ด
ใชข องสดหรือตากแหง
วธิ ใี ช
วธิ ีใช
ทานกอ นอาหาร 3 เวลา ผใู หญค รงั้ ละ 1 ชอ นโตะ เด็กครั้งละ
ตมนํ้าดมื่ เม่ือมีอาการ คร้งั ละ 1 แกวชา แทรกดเี กลือประมาณ 1-3 ชอนชา ละลายกบั น้ําอนุ 0.5-1 แกวชา
หยิบมือ (ปรับปรมิ าณตามธาตุหนกั -เบาของผปู วย)

172

สลดั ได มะตูม

ÂÒËÍÁ á¡Œ·ŒÍ§¼Ù¡/¾Ãô֡

(S3-40) (S3-41)

-------------------- --------------------

แกเปน ลม วงิ เวียนศรษี ะ หนามืดตาลาย แกอ าการทอ งผกู หรอื พรรดกึ (อาการทองผูกรนุ แรง
มอี ุจจาระเปน กอนกลมแขง็ )
สว นประกอบ
สวนประกอบ
จันทนแ ดง (แกน ) จันทนา (เน้ือไม) จนั ทนเทศ (ดอก) กฤษณา
(เนื้อไม) อบเชยเทศ (Cinnamomum verum) หรอื ใชอ บเชย มะตูม (ผลออน) ประคาํ ไก (ทัง้ 5) ขี้เหลก็ (ท้ัง 5) มะกา หรอื ใช
จีนหรือญวนกไ็ ด (เปลือก) ขอนดอกพิกลุ (เนอ้ื ไมทมี่ เี ช้อื รา) มะกาตน ก็ได (ใบ) หญา แหว หมู (หัว) เถาวัลยเ ปรียง (เถา)
กะลาํ พกั (แกน ไมส ลัดไดปา ทมี่ ีเช้ือรา) เกสรทั้ง 5 โกฐกระดกู สมอเทศ (เนื้อผล) สมอไทย (เนอ้ื ผล) มะขามปอม (ผล) และ
โกฐจฬุ าลัมพา โกฐพุงปลา พิมเสน (แรธาต)ุ อยา งละเทา ๆ กนั ยาดํา อยางละเทาๆ กนั ใชข องสดหรือตากแหง
ตากแหง แลว บดเปนผงละเอียด แทรกดว ยอาํ พนั ทอง (อวกวาฬ)
วธิ ใี ช
และชะมดเช็ด (สะตกุ อ น) ใชแ บบยาผง หรอื อัดเปน เมด็
ขนาดเทา เมด็ ขา วโพด ตม นํา้ ดมื่ คร้ังละ 1 แกว ชา กอ นอาหาร 3 เวลา

วธิ ใี ช

ทานเมอ่ื มีอาการ หรือทุกๆ 2-3 ช่วั โมง หากยงั มอี าการ, ครงั้ ละ
1 ชอนชาหรอื 3 เม็ด กระสายหรือละลายกับ
นาํ้ ดอกไมเ ทศ หรือใชน้าํ อุน ก็ได

173

ยอบา น แคบาน

ᡤŒ Åè¹× àËÂÕ ¹-ÍÒà¨Õ¹ á¡·Œ ÍŒ §ÃÇ‹ §-·ÍŒ §àÊÂÕ -ºÔ´

(S3-42) (S3-43)

-------------------- --------------------

แกคลน่ื เหยี น อาเจยี น แกท อ งรว ง-ทองเสีย แกบิด ชว ยคมุ ธาตุ

สวนประกอบ สวนประกอบ

ยอบา น (ผลออ นเผาไฟใหสุกกอ นนําไปใช) ผักชี (เมลด็ ) มะตมู สมอพเิ ภก (เน้อื ผล) แคบา น (เปลือก) ทับทมิ (เปลือกผล)
(ผลออ น) หญาแหว หมู (หวั ) เพกา (เปลือก เผาไฟใหห อมกอ น ขม้ินออย (หัว) พิกลุ (ดอก) บนุ นาค (ดอก) บัวหลวง (เกสร)
นําไปใช) เทียนดาํ อยางละเทา ๆ กนั ใชข องสดหรอื ตากแหง ข้เี หลก็ (ทง้ั 5) เบญจโลกวิเชียร (หรอื ยาหาราก) อยา งละเทาๆ

วิธใี ช กัน ใชข องสดหรือตากแหง

ตม นาํ้ ดมื่ คร้งั ละ 1 แกวชา เม่อื มีอาการ หรอื ทานตอเน่อื ง วธิ ใี ช
กอ นอาหาร 3 เวลา หากยงั มอี าการ
ตมนํ้าดื่ม คร้ังละ 1 แกว ชา กอ นอาหาร 3 เวลา และกอนนอน

174

ไมจ นั ทนา สะเดา

á¡Œμ¹Œ 䢌 (䢌ÃÐÂÐáá) á¡»Œ ÅÒÂ䢌 (䢌ÃÐÂлÅÒÂ)

(S3-44) (S3-45)

-------------------- --------------------

แกตน ไข (ไขเบ้ืองตนหรือไขร ะยะแรก เชน ไขต วั แกปลายไข (ไขในระยะปลาย เปนไขต วั รอน ไขกาฬ
รอ น ไขก าฬ ไขพิษ ไขก ําเดา) ไขก ําเดา มาแลวหลายวนั ชวยทําใหหายไขเรว็ ข้นึ
ชวยแกธ าตุ คมุ ธาตใุ หส มดุล เปนยาระบายออ นๆ
สวนประกอบ
และชวยใหเจรญิ อาหาร)
จนั ทนเ ทศ (ดอกหรือผล) จันทนา (เน้ือไม) มะกรูด (ราก)
มะนาว (ราก) มะปรางหวาน (ราก) กะดอม (ผล) บอระเพด็ สว นประกอบ
(เถา) เกสรทั้ง 5 และ เบญจโลกวเิ ชยี ร อยางละเทา ๆ กนั
ใชข องสดหรอื ตากแหง ใชเ ปนยาตม หรือบดเปน ผงละเอยี ด สะเดา (ใบและกา นใบ) บอระเพ็ด (เถา) กะดอม (ผล) ขเี้ หล็ก
(ท้ัง 5) ขมิน้ ออ ย (หวั ) เถายา นาง (ทัง้ 5) มะกาหรอื ใชม ะกาตน
บรรจุแคปซลู ขนาด 400 mg. ก็ได (ใบ) ราชพฤกษหรือคนู (ใบ) หญา แหวหมู (หวั ) มะตมู (ผล
ออน) จนั ทนแ ดง (แกน) ตรผี ลา เกสรท้งั 5 โกฐทั้ง 5 และเทียน
วธิ ีใช
ทงั้ 5, ใชข องสดหรอื ตากแหง ใชเปน ยาตม หรือบดเปนผง
ทานกอนหรือหลังอาหาร 3 เวลา และกอนนอน หรอื ทกุ ๆ 3-4 ละเอยี ดบรรจแุ คปซูลขนาด 400 mg.
ชวั่ โมง, ยาตม เดก็ อายุ 6-12 ขวบ ดม่ื ครง้ั ละ 0.5 แกวชา
ผูใหญ 1 แกว ชา, ยาเมด็ เด็กทานครั้งละ 1-3 เมด็ วธิ ีใช
ผใู หญทานคร้ังละ 3-5 เม็ด
ทานกอนหรือหลงั อาหาร 3 เวลา และกอ นนอน, ยาตม เด็กอายุ
คาํ เตือน 6-12 ขวบ ด่มื ครง้ั ละ 0.5 แกว ชา ผใู หญ 1 แกว ชา, ยาเม็ด
เดก็ ทานคร้งั ละ 1-3 เมด็ ผใู หญท านครั้งละ 3-5 เม็ด
ไมควรใชก บั ผูปว ยไขเ ลือดออก
คําเตอื น

ไมควรใชกบั ผูปวยไขเลือดออก

175

คนทา หญา ปากควาย

䢌ËÇÑ´ 䢌ÃÍŒ ¹ã¹¡ÃÐËÒ¹íéÒ/·ŒÍ§àÊÕÂẺÁäÕ ¢Œ

(S3-46) (S3-47)

-------------------- --------------------

แกไ ขหวัด แกไขรอนในกระหายน้ํา แกทอ งเสยี แบบมไี ข
แกไ ขอ าเจียน แกไขน อนไมหลับ
สว นประกอบ
สว นประกอบ
เถายา นาง (ราก) คนทา (ราก) ชงิ ชี่ (ราก) จนั ทนแ ดง (แกน )
จันทนเทศ (แกน) กะดอม (ผล) บอระเพ็ด (เถา) สะเดา (ใบและ หญา แพรก (Cynodon dactylon) (ท้งั 5) หญา ปากควาย
(Dactyloctenium aegyptium) (ทงั้ 5) เถายา นาง (ทงั้ 5)
กานใบเพสลาด) ชะเอมเทศ (เปลือกและเนือ้ ไม) ตรผี ลา เทา ยายมอม (ราก) สวาด (ใบ) ทับทมิ (เปลือกผล) จนั ทนแ ดง
โกฐเขมา โกฐจุฬาลมั พา อยางละเทา ๆ กัน ใชข องสดหรอื (แกน ) จันทนเทศ (ผล) บอระเพ็ด (ใบ) ตานหมอน (ใบ) ราม
หรอื พลิ ังกาสา (Ard_ell) (เมล็ด) ขมน้ิ ออย (หวั ) อยางละเทา ๆ
ตากแหง , ใชเ ปน ยาตม หรอื บดเปน ผงละเอียด
บรรจแุ คปซลู ขนาด 400 mg. กัน ตากแหง แลวบดเปน ผงละเอยี ด

วิธใี ช วิธใี ช

ทานกอ นหรือหลังอาหาร 3 เวลา และกอ นนอน หรือทกุ ๆ 3-4 ทานกอนอาหาร 3 เวลา และกอ นนอน หรอื ทกุ ๆ 3-4 ช่ัวโมง,
ชว่ั โมง, ยาตม เดก็ อายุ 6-12 ขวบ ดื่มคร้ังละ 0.5 แกว ชา ครั้งละ 1 ชอ นชา กระสายกบั นาํ้ อุน 1 แกวชา, หรือใหไ ดผ ลดี
ผใู หญ 1 แกวชา, ยาเม็ด เด็กทานคร้งั ละ 1-3 เมด็
ผูใหญท านครัง้ ละ 3-5 เมด็ แกไขสาํ รอกอาเจยี นใชล ูกยอเผาไฟตมกับลูกผักชีเปน น้าํ
กระสาย, แกไขทองเสีย ใชเปลอื กแคบา นกับใบกะเพราตมเปน
คาํ เตือน
น้ํากระสาย, แกไขรอนในกระหายนาํ้ ใชรากตาลหรอื ราก
ไมค วรใชก บั ผปู ว ยไขเลอื ดออก มะพรา วตม เปน นา้ํ กระสาย, แกไ ขนอนไมหลบั ใชใ บชุมเหด็ ไทย

(Senna tora) ตม เปน น้าํ กระสาย

176
ทองหลางใบมน

ä¢ŒË´Ñ /ä¢ÍŒ ÕÊØ¡ÍãÕ Ê/䢌ÍÕ´íÒÍáÕ ´§ ระยอม

(S3-48) ᡹Œ Òíé ¹ÁáËŒ§/¢Ñº¹éÒí ¹Á

-------------------- (S3-50)

แกไ ขหัด ไขเหอื ด (หดั เยอรมนั ) ไขอ ีสุกอีใส --------------------
ไขอ ดี าํ อีแดง กระทงุ พิษไข
แกน า้ํ นมแหง ชว ยขบั น้าํ นมในสตรีหลงั คลอด
สว นประกอบ
สว นประกอบ
จนั ทนแดง (แกน ) จันทนา (เนื้อไม) เบญจโลกวิเชียร (หรอื ยาหา
ราก) พิมเสน (Pogostemon cablin) (ใบ) มะระ หรอื มะระ- ระยอม (Rau_ser) (ราก) นํ้านมราชสีห (ทัง้ ตน ) บนุ นาค (ดอก)
ขี้นก ก็ได (ใบ) มะยม (ใบ) พรมมิ (Trianthema triquetrum) กระวาน (ใบ) เรวใหญ (Alp_mut_nob) (ผล) อบเชยเทศหรอื

สมี (Sesbania sesban) (ใบ) ฝายแดง (Gossypium ใชอบเชยจีนหรือญวนก็ได (เปลือก) ขิงแหง (Zingiber
arboreum) (ใบ) สนั พรา มอญ (Justicia gendarussa) ligulatum) (หัว) อยางละเทาๆ กัน, ใชข องสดหรือ
ทองหลางใบมน (ใบ) เถามวกขาว (เถา) เถามวกแดง (เถา)
ตากแหงแลวใชเปนยาตม
อยา งละเทาๆ กัน, ตากแหงแลว ใชเปนยาตม หรือ
บดเปน ผงละเอียดใชเ ปน ยาผง วิธใี ช

วิธีใช ตมนาํ้ ดืม่ ครัง้ ละ 1 แกวชา กอนอาหาร เชา และเย็น

ผใู หญใ ช ยาตม ดื่มครั้งละ 1 แกวชา ยาผงคร้งั ละ 1 ชอ นชา,
เดก็ อายตุ ่าํ กวา 10 ชวบ ยาตม ด่มื ครงั้ ละ 0.5 แกวชา ยาผงครัง้
ละ 0.5 ชอนชา, ยาผงใหก ระสายกบั นํ้าอุนหรอื นํ้ารากผักชีตม
0.5-1 แกว ชา ดืม่ 4-5 ครั้ง/วนั หรือด่มื ทุกๆ 3-4 ชัว่ โมง เม่ือยงั
มอี าการ, และเพอื่ เพ่ิมประสิทธภิ าพใหผ สมยา 1 ชอนโตะกับ

นํา้ สกุ 1 ถวย ใชผ าชบุ นาํ้ เชด็ ตวั อกี ดวย

คาํ เตอื น

หา มใชก บั ผูปวยทส่ี งสัยวาอาจจะเปนไขเ ลอื ดออก

177

กําจาย ลกู ใตใบ

á¡ŒÁ´ÅÙ¡¾¡Ô ÒÃ-ÍÑ¡àʺ/ ´Õ«Ò‹ ¹
¢ºÑ ¹éíÒ¤ÒÇ»ÅÒ
(S3-52)
(S3-51)
--------------------
--------------------
รักษาโรคดซี าน
แกมดลูกพกิ าร มดลูกอักเสบ ชวยบํารุงรกั ษามดลกู
บํารุงสตรีหลังคลอด ชว ยขับนํ้าคาวปลา สว นประกอบ
ขบั เลือดเสีย
แจง (ราก) จนั ทนแ ดง (แกน ) กรงุ เขมา (หวั ) กะดอม (ผล)
สว นประกอบ หญาใตใ บ (Phy_uri) หรือใชล กู ใตใ บ (Phy_ama) ก็ได (ทง้ั ตน)
พงั โหม (Pae_foe) (ใบและเถา) สนสองใบ (Pin_lat) หรอื ใช
จันทนเทศ (ผล) จันทนเทศ (ดอก) วานชกั มดลูก (Curcuma
zanthorrhiza) (หัว) วา นสากเหล็ก (เหงา) ขี้เหล็ก (แกน ) สนสามใบ (Pin_kes) ก็ได (แกน ) อยางละเทาๆ กัน
ตะคานเล็กหรือสะคาน (เถา) ขงิ แหง (Zingiber ligulatum) ใชของสดหรือตากแหง
(หวั ) ดปี ลี (ผลหรือดอก) กานพลู กระวาน (ผล) กําจดั ตน
(แกน ) กาํ จาย (แกน) พุดทงุ หรือหัสคณุ เทศ (ราก) หางไหลแดง วิธีใช
(ราก) และเทยี นดาํ อยางละเทาๆ กนั ใชของสดหรอื ตากแหง
บดหรอื ตาํ ใหแหลกหยาบๆ หอดว ยผา ขาวบาง ใสเ หลาขาว ตม นาํ้ ด่มื ครง้ั ละ 1 แกวชา กอนหรือหลงั อาหาร 3 เวลา

พอทวมตวั ยา ดองไวอยา งนอย 7 วนั ใชไ ด

วิธีใช

ด่มื ครง้ั ละ 1 จอก หลังอาหาร 3 เวลา

คาํ เตือน

หา มใชก ับสตรมี ีครรภ และผมู ไี ข

178

กระดึงชา งเผือก/ขี้กาแดง

ÁÐàçç μѺ/½‚ã¹μºÑ /μÑºÍ¡Ñ àʺ

(S3-74)

--------------------

รกั ษาโรคมะเร็งตบั (ระยะที่ 1-3), โรคฝในตับ,
โรคตับอักเสบ, โรคกาฬลงตบั (มีอาการเพอคลมุ คลงั่

และนัยตาเปนสีแดงรวมดวย)

สว นประกอบ

หญาแหว หมู (หวั ) 8 บาท, สมอทง้ั 3 (เนอ้ื ผล) และ โมกมนั
(Wri_arb) (เปลือก) อยา งละ 4 บาท, มะตมู (ราก) มะดกู (ราก)
ทองพนั ช่งั (ตน ใบ กง่ิ ) ชา พลู (ราก) ดปี ลี (ผล) ตะคา นเลก็ หรอื
สะคา น (เถา) กระดงึ ชางเผอื กหรือขีก้ าแดง (Tri_tri_tri) (ราก)

โคกกระสนุ (Tribulus terrestris) (ทง้ั ตน ) ผักชีลา (เมล็ด)
ผักชลี อม (เมล็ด) โกฐทง้ั 5 และสารสม อยางละ 2 บาท,

ใชข องสดหรือตากแหง, ใชเปนยาตม หรอื บดเปน
ผงละเอยี ดเปน ยาผง

วธิ ีใช

ทาน 3 เวลา กอนอาหาร, ยาตม ดื่มคร้งั ละ 1 แกวชา, ยาผง
ทานครงั้ ละ 1 ชอ นชา กระสายกบั นาํ้ มะนาวหรือสม ซา

คาํ เตอื น

ผปู วยโรคมะเรง็ ตบั ควรไดรับการประเมินอาการหรือระยะ
ลุกลามของโรคจากแพทยผเู ช่ยี วชาญกอ นการใชยาน้ี



180

181

สว่ นที่ 3

พืชปา่ สมุนไพร

( 512 ชนดิ เรยี งตามอกั ษรชอื่ ไทย )

182
กรวยปา่
ชอื่ ทอ งถิน่ : กรวยปา (อดุ รธานี, พิษณุโลก)
ชอื่ วทิ ยาศาสตร : Casearia grewiifolia Vent.
ชื่อวงศ : SALICACEAE
ลักษณะเดน : ไมต น มขี นสน้ั นมุ ตามก่งิ และแผนใบดานลาง ใบ
เรียงสลับ รูปขอบขนาน โคนใบเบย้ี ว ขอบใบหยักซีฟ่ น ผลรปู รี
สุกสเี หลอื ง แตก 3 ซกี

สรรพคณุ สรรพคณุ
• ผลสด : แกผ ดผื่นคัน แกตุมคนั จากไขอีสกุ อไี ส (N1) • ตาํ รบั ยาหอมอนิ ทจกั ร : ใชดอกเขา ยา แกคลน่ื เหียนอาเจียน
• ใบหรอื ราก : แกไ ข แกท องรวง (NE3) หนามืดจะเปนลม ลมจกุ เสยี ดแนน หนา อก แนน ทอง ทอ งอืด
• ราก : แกริดสีดวงจมกู รกั ษาอาการอักเสบของทางเดินหายใจ อาหารไมยอ ย ปรบั ระบบการหมุนเวียนเลอื ดใหด ี ชวยบํารงุ
(S2) หวั ใจ, หรือใชดอกกระดงั งาสงขลา (Cananga odorata var.
fruticosa) แทนได ซึง่ กระดังงาสงขลาเปน ไมพ ุม แตกกง่ิ ต่ํา สงู
ถึง 5 ม. มีกลบี ดอกจํานวนมากกวา 6 กลีบ และมีปลายกลีบ
ดอกเรียวยาวและมวนบดิ งอมากกวา, ไมพ บในปาธรรมชาติ
เปน ไมป ลูกประดบั และทําสมนุ ไพร (S3-04)

กระดงั งาไทย กระดึงช้างเผอื ก
ช่อื ทอ งถนิ่ : กระดงั งา (พทั ลงุ , ตรัง) ชอื่ ทอ งถิน่ : ขีก้ าแดง (พทั ลุง, ตรัง)
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Cananga odorata (Lam.) Hook. f. & ชื่อวิทยาศาสตร : Trichosanthes tricuspidata Lour. var.
Thomson var. odorata tricuspidata
ช่อื วงศ : ANNONACEAE ช่อื วงศ : CUCURBITACEAE
ลักษณะเดน : ไมต น สูงถงึ 30 ม. เปลอื กเรยี บ ตามกิ่งออนและ ลักษณะเดน : ไมเ ถาเนอ้ื ออน ยาวถึง 20 ม. ตามปลายก่ิงมมี ือ
เสนแขนงใบมีขนสั้น ใบเรยี งสลับ รปู ไข โคนใบเบ้ยี ว ปลายใบ พันออกจากซอกใบ ใบเรียงสลับ รปู ไขกวาง ปลายหยัก 3–5 พู
เรยี วแหลม ดอกสเี ขยี ว-เหลอื ง มี 6 กลีบ มกี ลนิ่ หอมแรงเมือ่ ถกู แผน ใบสากดานบน กลบี ดอกสีขาว มี 5 กลีบ ปลายกลีบเปนฝอย
ความรอน พบตามชายปาดงดบิ ชน้ื ในภาคใตต อนลา ง ผลรูปไขก วาง ยาว 6–7 ซม. สุกสีแดง ผิวมันเงา
สรรพคณุ
• ตาํ รับยาขบั น่วิ ในถงุ น้ําดี : รกั ษาน่วิ ในถุงนา้ํ ดี (S2-11)

183

• ตํารับยาแกไ ขต ัวรอ น : แกไข ตวั รอน ไขเปลีย่ นฤดู (S2-17) กระดูกกบ
• ตํารบั ยาบํารุงเลอื ด/หวั ใจ/รา งกาย : บํารุงเลอื ด ดมู เี ลือดฝาด กระโดน
บาํ รงุ หวั ใจ บํารงุ รา งกายทงั้ ชาย-หญิง แกอาการซบู ผอม ชอื่ ทองถิ่น : กระโดน (พิษณุโลก), กระโดน โดน
(S2-51) (ตรงั )
• ตํารบั ยาโรคมะเรง็ ตบั /ฝในตับ/ตับอักเสบ : รักษาโรคมะเรง็ ชื่อวิทยาศาสตร : Careya arborea Roxb.
ตับ (ระยะที่ 1–3), โรคฝในตับ, โรคตับอักเสบ, โรคกาฬลงตับ ช่อื วงศ : LECYTHIDACEAE
(มอี าการเพอ คลุมคลง่ั และนัยตาเปนสีแดงรว มดว ย) (S3-74) ลักษณะเดน : ไมตนผลัดใบ สงู ถึง 20 ม. เปลือกขรุขระ เปลอื ก
กระดกู กบ ในมีเสน ใยออนนุม ใบเดี่ยว เรียงเวียน รูปไขก ลบั ขอบใบจกั ฟน
ชอื่ ทอ งถ่ิน : โคคลานตวั ผู เหล่อื มบันดง (สระแกว ) เลอ่ื ย โคนใบสอบ ใบเกล้ยี ง มักเปลี่ยนเปน สสี ม -แดงกอ นรว ง มี
ชื่อวิทยาศาสตร : Hymenopyramis brachiata Wall. ex กลีบดอกสีขาว 4 กลีบ เกสรเพศผูเปนเสนจํานวนมาก สีขาว
Griff. โคนกลีบสีแดง ผลทรงกลม กวาง 5-7 ซม. ปลายผลมีจุกของ
ชื่อวงศ : LAMIACEAE กลบี เลี้ยงตดิ คงทน
ลกั ษณะเดน : ไมเถาเนื้อแข็ง ยาวถึง 20 ม. กิ่งเปนสเ่ี หลย่ี ม มีขน
สั้นหนานุมตามกิ่งออ น ชอดอก กานใบและแผน ใบ, ใบเดี่ยว เรยี ง
ตรงขา มต้งั ฉาก รูปรี-รปู ไข ยาว 7-15 ซม. กลีบดอกสขี าว มี 4
กลบี ยาว 7 มม. ผลรูปไขกวาง ยาว 1-1.5 ซม. เปนถงุ มี 4
เหลี่ยม ภายในปอ งมเี มลด็ แขง็ 1 เมล็ด

สรรพคณุ สรรพคณุ
• เถา : แกปวดประดง แกปวดขอเขา (E2) • เปลือก : ชว ยสมานแผลภายนอก หรอื แผลภายใน (N1)
• ใบ : สมานแผล ปดแผล (S2)

184
กระแตไตไ่ ม้
กระแตไตไม (สระแกว, อดุ รธาน)ี ,
กระแตไตไ ม หวั รอ ยรู (พษิ ณุโลก), หัววา ว (ตรัง)
ชือ่ วิทยาศาสตร : Drynaria quercifolia (L.) Sm.
ชือ่ วงศ : POLYPODIACEAE
ลักษณะเดน : ไมล มลกุ อิงอาศยั มเี หงา ทอดเลอ้ื ย ตามตน ไมห รอื
บนกอ นหิน เนอื้ อวบน้ํา ใบมีสองแบบ คอื ใบทไี่ มสรา งสปอรจ ะ
ไมมีกา นใบ รปู ไข ยาว 15–30 ซม. ขอบหยักเปน พตู ้ืนแบบขนนก
ใบสรางสปอรร ูปขอบขนาน ยาว 40–150 ซม. ขอบหยักลกึ แบบ
ขนนกเกือบถึงเสนกลางใบ

สรรพคุณ ไมเถาเนื้อแข็ง ยาวถึง 15 ม. ใบเดี่ยวเรียงสลับ
• เหงา : บํารงุ กําลงั (E2) กงิ่ ออนมีชองอากาศสขี าว ขอบใบจกั ฟน เลือ้ ยถ่ี ผลกลม กวาง
• เหงา : แกโรคฝห นอง (N1) 8–10 มม. สกุ สีเหลอื ง แตกอา 3 แฉก มเี นอื้ ในสีแดง
• เหงา : ขบั ปสสาวะ แกไ ตพิการ ชวยลดความดนั โลหิตสูง รกั ษา สรรพคุณ
แผลไฟไหม นํา้ รอ นลวก (NE3) • เถาและใบ : บํารงุ เสน เอน็ (N1)
• ตํารบั ยาขับนวิ่ ในไต-ทางเดินปส สาวะ : ชวยขับนิว่ ในไต และ • เถา : รกั ษาแผลมะเร็งเตา นม ตาํ หรือบดผสมกับแกนชายชู
ทางเดินปส สาวะ ชวยลางไต รักษาทางเดนิ ปสสาวะอักเสบ ตัวผู และชายชูตัวเมยี (ท้ังสองเปน พืชสกุลชงิ ชี่ Capparis
(S2-14) spp.) ผสมนํา้ ใหข น ใชท าแผลมะเร็งเตา นม (NE3)
• ตาํ รบั ยาไขอีสุกอีใส : แกโ รคอสี ุกอีใส หรือไขสกุ ใส (S2-38) • เปลือกตน ผล และเมลด็ มฤี ทธ์ิทําใหอาเจยี น ยาระบาย ใช
กระทงลาย เปนยาพอกฝม ะมว ง เปน ยาบํารุง กินแกปวดทอ งในเด็ก; ใบ :
ชือ่ ทองถ่นิ : มะแตกเครือ (พิษณุโลก), หมากแตก แกไ ข พอกแผล; ผล : เปน ยาเยน็ แกก ระหายนํ้า, ผลดิบเปนยา
(อุดรธานี) ฝาดสมาน แกบิด เปนยาพอกชว ยสมานแผล ตมนาํ้ ลางแผล
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Celastrus paniculatus Willd. รักษาอาการปวดกระเพาะ ยาขับน้ํานม รักษาโรคผิวหนงั เรอ้ื รงั
ชอื่ วงศ : CELASTRACEAE โรคโลหิตจาง (R3)

185

กระท่อมเลอื ด กระทือ
ช่อื ทองถ่นิ : กล้ิงกลางดง สบเู ลือด (ฉะเชงิ เทรา) ชอื่ ทองถิ่น : กระทอื (ตรัง, สระแกว, พิษณุโลก)
ชื่อวิทยาศาสตร : Stephania venosa (Blume) Spreng. ชื่อวิทยาศาสตร : Zingiber zerumbet (L.)
ช่อื วงศ : MENISPERMACEAE Roscoe ex Sm. subsp. zerumbet
ลกั ษณะเดน : ไมเถาเนอื้ ออน ยาวถงึ 7 ม. เถาเกลี้ยงและมีนํา้ ช่อื วงศ : ZINGIBERACEAE
ยางสีแดงคลายเลอื ด มีหวั อยูใกลผวิ ดนิ ทรงกลม กวา งไดถงึ 40 ลกั ษณะเดน : ไมล ม ลกุ สูงถึง 1.5 ม. มเี หงาใตด ิน เน้อื ในเหงาสี
ซม. ผิวคอ นขางบางเรยี บมีตมุ เล็กกระจาย ใบรปู หัวใจ แผน ใบ เหลืองออ น ใบประกอบแบบขนนก มีใบยอ ยขา งละ 5–10 ใบ รปู
ดานลา งเกลี้ยงและมนี วล กานใบติดแบบใบบัว ขอบขนาน ยาวถึง 40 ซม. ชอ ดอกออกจากเหงา สงู ประมาณ 30
ซม. รูปไข-ทรงกระบอก ใบประดบั ซอ นกนั แนน สีเขยี ว-แดง ดอก
สเี หลืองครมี

สรรพคณุ สรรพคณุ
• ตาํ รับยาอยูไฟ/มดลกู เขาอ/ู ไสเลื่อน : ใชแทนการอยูไฟ มดลกู • เหงา : รักษาอาการหดื หอบ แกบิด แกท อ งอืดทองเฟอ ชว ยขับ
เขาอูไว แกไสเ ลื่อนทั้งชายและหญิง (E3-01) ลม; หนอ ออ น : ทานเปนผักสดหรอื ลวก (E2)
• เหงา : รกั ษาฝหนอง แตถาฝยังเปนหนองจะชว ยเรง ใหฝ สุกแตก
เร็ว (N1)
• ตาํ รับยาปรบั ธาต/ุ ปวดเมอ่ื ย/ปวดขอ -เอ็น : ชวยปรบั ธาตุ แก
ปวดเมอ่ื ย ปวดเขา-ขอ -เอ็น แกเอ็นพกิ าร (S2-26)
• ตาํ รบั ยาบํารงุ รักษามดลูก : ชวยบาํ รงุ รกั ษามดลูก บาํ รงุ สตรี
หลังคลอด มดลูกพิการ (S2-60)
• ตาํ รบั ยาแกปวดเมอ่ื ยกลามเน้อื -เสนเอน็ : ทําลูกประคบ แก
ปวดเมือ่ ยกลามเนอื้ และเสนเอน็ (S2-62)
• ตาํ รับยารกั ษาอาการบวมอักเสบจากพษิ บาดแผล/แผล
อักเสบ : รกั ษาอาการบวมอักเสบจากพษิ บาดแผล รักษาแผลผุ
พอง เปน หนอง (S2-67)

186

กระทมุ่ สรรพคุณ
ชอ่ื ทอ งถ่ิน : กระทมุ บก (ตรงั ), โกสม ตะกู • เปลอื กและใบ : ตม น้ําดืม่ ชวยลดความดนั โลหิต แกไข ใชอ ม
(อดุ รธาน)ี , ตะกู (สระแกว ) กล้วั คอแกอ าการอักเสบของเยือ่ เมอื กในปาก รกั ษาโรคในลาํ ไส
ชื่อวิทยาศาสตร : Neolamarckia cadamba (Roxb.) Bosser แกอาการปวดมดลูก (R51)
ชือ่ วงศ : RUBIACEAE • เปลือก : เปลอื กกระทมุ หรือกระทุม โคก รากกา นเหลือง ราก
ลักษณะเดน : ไมตน สูงถงึ 30 ม. แตกก่ิงต้ังฉากกับลําตน ตอ ไส รากทองแมว รากกะเจียน ตมรวมกนั มีสรรพคุณบํารงุ
เปลือกแตกเปนรอ งตน้ื ตามยาว ใบเรยี งตรงขาม รปู ไข ยาว เลอื ด ขับนาํ้ คาวปลาหลงั คลอด แกปวดเม่อื ย (R35)
17-30 ซม. ปลายใบแหลม มีขนประปราย-เกล้ยี ง มีหูใบที่ยอด • ผลสุก : ทานเน้ือหมุ เมล็ดสุกทีม่ สี สี ม ชว ยบํารุงเลือด บาํ รุง
ชอ ดอกทรงกลม กวา ง 4–5 ซม. สีเหลอื ง สายตา (E2)
• ราก : รักษาโรคเบาหวาน แกป วดทอง (NE3)
• ตาํ รบั ยาบํารงุ นา้ํ นม : บํารงุ นาํ้ นม (NE4-025)
• ตาํ รับยาแกป วดเม่ือยเสนเอน็ : แกปวดเม่ือยตามเสนเอ็น
เสนเอน็ อักเสบ บรรเทาอาการอัมพฤกษ-อมั พาต (S2-31)

กระทมุ่ เนิน
ชือ่ ทอ งถิ่น : กระทุม (พิษณุโลก)
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Mitragyna rotundifolia (Roxb.) Kuntze
ชอื่ วงศ : RUBIACEAE
ลักษณะเดน : ไมต นผลัดใบ สูงถงึ 20 ม. เปลอื กเรยี บ-รอนเปน
แผน บาง ตามก่งิ แผน ใบและกานใบคอ นขางเกลี้ยง มีหูใบรปู ไข
กลับทยี่ อด ใบเรยี งตรงขา มรูปไขกลับ ชอดอกทรงกลม สเี หลอื ง
กวา ง 2–3 ซม.

187
กระบก
ชอื่ ทอ งถ่นิ : กระบก (ตรงั , สระแกว, พิษณุโลก),
หมากบก (อดุ รธาน)ี
ชือ่ วิทยาศาสตร : Irvingia malayana Oliv. ex A. W. Benn.
ชอ่ื วงศ : IRVINGIACEAE
ลักษณะเดน : ไมต น สงู ถึง 30 ม. โคนตน เปน พูพอนจํานวนมาก
เปลอื กคอนขางเรียบ-ขรุขระ ปลายกงิ่ มหี ูใบเรียวยาวและโคง
คลายเคียว ใบรูปรีแกมไข ยาว 5-11 ซม. โคนใบเบยี้ วเล็กนอ ย
ผิวใบเกลย้ี ง ผลรปู รี-ไข ยาว 3–6 ซม. สกุ สเี หลือง
สรรพคุณ
• เปลือก : แกทอ งรวงทองเสยี ชว ยสมานแผลภายนอก หรอื แผล
ภายใน (N1)
กระเทยี มชา้ ง
ช่อื ทองถ่นิ : พลับพลงึ ปา (พิษณโุ ลก)
ชื่อวทิ ยาศาสตร : Crinum amoenum Roxb. ex Ker Gawl.
ชือ่ วงศ : AMARYLLIDACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมลมลุก มีหวั ใตด ินทรงกลม ใบเปน กระจุก เรียง
เวียนชิดผวิ ดนิ รปู แถบยาว 0.5–0.9 ม. เนอ้ื ใบออนนุม ชอดอกสี
ขาว ยาวถึง 0.6 ซม.

สรรพคณุ บน : ผล, ลา งซา ย : หใู บ, ลา งขวา : เมลด็ กระบกค่ัว
• ใบ : แกปวดขอ ปวดหัวฝ (N1) สรรพคณุ
• เนอ้ื ในเมล็ด : รกั ษาโรคเบาหวาน ความดนั โลหิต บํารงุ หัวใจ
(E2)
• เน้ือไม : บาํ รงุ กําลงั บาํ รุงเสน เอ็น (N1)
• เนือ้ ในเมลด็ : ยาถายพยาธใิ นลาํ ไส (S2)
• ตํารับยาแกไอ : แกไ อ (NE2-167)

188

กระเบากลัก ดา นลางแผนใบนนู ชัดเจน ผลทรงกลม กวาง 8–12 ซม. มขี นสน้ั
ช่ือทอ งถ่ิน : กระเบากลกั (สระแกว , พิษณุโลก) และชองอากาศสีน้าํ ตาลแดงหนาแนน , พบขึ้นตามริมหว ยหรอื
ชื่อวทิ ยาศาสตร : Hydnocarpus ilicifolius King หุบเขาในภาคใต
ชื่อวงศ : ACHARIACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมต น สูงถงึ 30 ม. ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข- ขอบ
ขนาน ยาว 10-17 ซม. ขอบใบจกั ฟนเล่ือยหาง ปลายใบเรยี ว
แหลม โคนใบสมมาตร ผิวเกลี้ยง เนื้อใบคอนขา งหนา ผลทรง
กลม กวาง 4–7 ซม. มีขนกาํ มะหย่ีสีดาํ หนาแนน

สรรพคุณ สรรพคุณ
• เมลด็ แก : รักษาผิวหนังทคี่ ันอักเสบ รักษาโรคผวิ หนงั เรือ้ รัง; • ตํารบั ยาโรคผวิ หนังจากเชื้อรา/แผลติดเช้ือ : แกก ลาก เกลอื้ น
แกนหรือราก : ยาอายุวฒั นะ บาํ รงุ เลอื ด บาํ รงุ สายตา (E2) แกพษิ บาดแผล แผลติดเชอื้ (S1-42)
• เมลด็ : แกโ รคกลาก เกลือ้ น อาการคนั จากเชื้อรา (N1) • ตาํ รับยาโรคผวิ หนงั จากเช้ือรา/แกคนั จากการแพ : ยาข้ีผงึ้
กระเบาใต้ หรอื ยาหมอ งทารักษาโรคผิวหนงั จากเช้ือรา เชน กลาก เกลือ้ น
ชอ่ื ทอ งถนิ่ : กระเบา กระเบาใหญ (ตรัง) แกอาการคนั ตามผวิ หนังทั่วไปจากอาการแพ ผ่ืนคัน คันจาก
ชื่อวิทยาศาสตร : Hydnocarpus calvipetalus Craib แมลงสัตวกดั ตอย (S2-64)
ช่อื วงศ : ACHARIACEAE กระเบาน้าํ
ลกั ษณะเดน : ไมต น สงู ถงึ 30 ม. ใบเด่ยี ว เรยี งสลับ รูปใบ ช่อื ทอ งถนิ่ : กระเบา กระเบาใหญ (ตรัง)
หอก-ขอบขนาน ขอบใบเรียบ โคนใบเบย้ี วเลก็ นอย เสนแขนงใบ ชือ่ วิทยาศาสตร : Hydnocarpus castaneus Hook. f. &
Thomson
ช่อื วงศ : ACHARIACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมต น สูงถงึ 20 ม. เปลือกเรยี บ ใบรูปขอบ
ขนาน-รปู ใบหอก ยาว 15-25 ซม. ขอบใบเรียบ โคนใบเบยี้ วเล็ก
นอยและมเี สนแขนงใบดานลา งแผนใบเรียบเห็นไมช ดั เจน (จุด
ตา งจากกระเบาใต Hyd_cal) ผลทรงกลม กวา ง 8–12 ซม. มีขน
สน้ั และชอ งอากาศสีนํ้าตาลแดงหนาแนน, พบข้นึ ตามริมคูคลอง
ในเขตที่ราบนา้ํ ทวมถงึ ทั่วประเทศ

189

สรรพคุณ สรรพคุณ
• ตํารบั ยาโรคผิวหนังจากเชือ้ รา/แผลตดิ เชื้อ : แกกลาก เกลอื้ น • เนอ้ื ไม : บํารุงเสน เอน็ ; ผล : แกเ บอ่ื แกเมา (N1)
แกพ ษิ บาดแผล แผลตดิ เช้อื (S1-42) • เนือ้ ไม เปลอื ก หรือราก : บาํ รงุ รางกาย (NE3)
• ตาํ รบั ยาโรคผวิ หนงั จากเชอ้ื รา/แกค นั จากการแพ : ยาข้ผี ้งึ • ตํารบั ยารักษาแผลเบาหวาน/แผลอักเสบเรอ้ื รัง : รักษาแผล
หรอื ยาหมอ งทารักษาโรคผวิ หนังจากเชอ้ื รา เชน กลาก เกลื้อน เบาหวาน หรือแผลอกั เสบเร้อื รัง (NE2-015)
แกอาการคันตามผวิ หนังทัว่ ไปจากอาการแพ ผ่นื คัน คนั จาก • ตาํ รับยาแกบิด/ทอ งเสยี : แกบ ดิ ถา ยเปน มกู เลือด หรอื ทอ ง
แมลงสตั วกัดตอ ย (S2-64) เสีย (NE3-010)
กระมอบ กระวาน
ชอ่ื ทอ งถิน่ : สดี าโคก (พษิ ณโุ ลก), สดี าโคก สีดาปา ชอื่ ทองถน่ิ : กระวาน (พัทลุง, ตรงั , ฉะเชงิ เทรา)
(อดุ รธานี) ชอื่ วทิ ยาศาสตร : Amomum verum Blackw.
ชอื่ วทิ ยาศาสตร : Gardenia obtusifolia Roxb. ex Hook. f. ช่อื วงศ : ZINGIBERACEAE
ชอื่ วงศ : RUBIACEAE ลกั ษณะเดน : ไมลมลุก สูงถึง 1.3 ม. มีเหงาใตดิน มีกลิ่นหอม
ลกั ษณะเดน : ไมพุมผลดั ใบ สูงถึง 4 ม. ยอดมชี ันสเี หลืองใสหมุ ใบประกอบแบบขนนก ยาว 1.5–2 ม. มีใบยอ ยขางละ 4–9 ใบ
ใบเดี่ยวเรียงตรงขา ม รปู ไขก ลบั -หอกกลบั ยาว ผิวคอนขา งเกลี้ยง รูปขอบขนาน ยาว 30–70 ซม. ชอ ดอกออกจากเหงา ยาวไมเ กนิ
กา นใบยาวไมเกนิ 5 มม. ดอกเปน หลอดยาวสีขาว เมื่อใกลโรยสี 30 ซม. ใบประดับรปู ไขปลายแหลม เปน แผนบางแหง สีขาวคลาํ้
เหลืองออน มกี ลนิ่ หอม ผลทรงกลม กวาง 2 ซม. ผิวมชี องอากาศ ดอกสีขาว กลีบปากมสี ีเหลอื งแตม ท่ปี ลายกลบี ผลสขี าว ทรงกลม
ขรุขระสีนาํ้ ตาลแดง กวาง 1 ซม. เมือ่ แกแ หง แตก 3 ซกี เมล็ดสดี ําและมีกลิน่ หอม,
พบในปา ดงดบิ ชืน้ ในภาคตะวันออก, ชอ่ื สามญั วา Siamese
Cardamon , นยิ มปลกู บนเขาสอยดาว จงั หวดั จนั ทบุรี ชอบ
อากาศชืน้ และเย็น ใชเ มลด็ เปนเคร่อื งเทศและสมุนไพร หรือใช
หนอออนปรุงอาหาร

ผลกระวาน

190

สรรพคุณ กระวานขาว
• ผล : แกไขเด็ก (S3) ช่ือทองถน่ิ : กระวาน (ตรงั )
• ตาํ รบั ยาปถวผี ง : แกลมปวง จุกเสียดแนน ทอง แกถ ายทอ ง ทอง ชื่อวทิ ยาศาสตร : Amomum testaceum Ridl.
รว ง แกเคลด็ ฟกชํา้ แกป วดฟนจากฟนผุ แกรํามะนาด แกพษิ ช่ือวงศ : ZINGIBERACEAE
แมลงสตั วก ัดตอ ย (E1-07) ลกั ษณะเดน : ไมลม ลกุ สูงถงึ 1.5 ม. มีเหงา ใตดิน มีกลิน่ หอม ใบ
• ตํารับยารกั ษากระดูกทบั เสน : รักษาอาการกระดกู ทับเสน ประกอบแบบขนนก ยาว 1.5–2 ม. มีใบยอ ยขางละ 4–9 ใบ รปู
(S2-04) ขอบขนาน ยาว 20–60 ซม. ชอดอกออกจากเหงา ยาว 15–50
• ตาํ รบั ยาขับเสมหะในลาํ คอ-อก/แกโ รคหอบหดื : ชวยขบั ซม. ลักษณะทัว่ ไปคลายกระวาน (Amo_ver) แตกตา งตรง
เสมหะในลาํ คอ-อก แกห อบหดื (S2-08) กระวานขาวทีก่ ลบี ปากมีสเี หลืองแตมท่ปี ลายกลีบและมเี สน สีแดง
• ตํารับยาละลายลิ่มเลือด : ชวยละลายลมิ่ เลือด บรรเทาอาการ ขนาบแถบสเี หลอื งทั้งสองดา น, พบในปาดงดิบชืน้ ในภาคตะวัน
เสนเลอื ดตบี (S2-30) ตกและภาคใต (ไมพ บในภาคตะวนั ออก), กระวานขาวมสี รรพคณุ
• ตาํ รับยาโรคอัมพฤกษ- อัมพาต : รกั ษาอมั พฤกษ- อัมพาต คลา ยกนั สามารถใชแ ทนกระวานได
(S2-33) สรรพคณุ
• ตาํ รบั ยาบํารงุ เลอื ด/หัวใจ/รางกาย : บํารุงเลือด ดูมีเลือดฝาด • ผล : แกไ ขเดก็ (S3)
บาํ รงุ หวั ใจ บํารงุ รา งกายท้งั ชาย-หญงิ แกอาการซบู ผอม (S2-51) • ตํารับยาแกลมอทุ ธงั คมาวาตะ : แกลมอุทธังคมาวาตะ หรอื ลม
• ตํารับยาซอ มแซม/เสริมสรางเสน เอน็ พิการ : ชวยซอมแซม ตีขน้ึ ปะทะอกหายใจไมอ อกราวจะสนิ้ ใจ (มีอาการเรอรวมกบั
และเสรมิ สรางเสนเอ็นท่พี กิ าร แกอาการกระษยั เสน ในทอ ง (เสน แนนทอ งรนุ แรง ลิน้ กระดา งคางแข็ง ชกั เกร็ง มอื กําเทากาํ )
ทองแขง็ ) (S2-54) (S3-19)
• ตาํ รับยาบาํ รงุ โลหิตระดู : บาํ รุงโลหติ ระดู (S2-56) • ตาํ รับยาแกน ํ้านมแหง/ขบั น้ํานม : แกนาํ้ นมแหง ชว ยขับ
• ตาํ รบั ยารักษากระดกู ทบั เสน : รักษาอาการกระดูกทับเสน นา้ํ นมในสตรหี ลังคลอด (S3-50)
(S2-66) • ตํารับยารักษามดลกู พกิ าร-อกั เสบ/ขับนํา้ คาวปลา : แกมดลกู
• ตาํ รบั ยาหอมนวโกฐ : แกคลน่ื เหยี นอาเจียน วิงเวยี น ลมจกุ แนน พิการ มดลกู อักเสบ ชวยบาํ รงุ รกั ษามดลูก บาํ รุงสตรหี ลงั คลอด
ในอก แกลมปลายไข แกอาการสะบัดรอ นสะบัดหนาว หรอื ครั่น ชวยขับน้าํ คาวปลา ขับเลือดเสีย (S3-51)
เน้ือครั่นตัว รอนวบู วาบเหมือนจะเปน ไข บาํ รุงประสาท (S3-01) • ตํารับยารักษากระดูกทบั เสน : รกั ษาอาการกระดกู ทบั เสน
• ตํารบั ยาหอมอนิ ทจักร : แกค ลืน่ เหยี นอาเจียน หนามืดจะเปน (S2-04)
ลม ลมจุกเสยี ดแนน หนาอก แนน ทอ ง ทอ งอืด อาหารไมย อย • ตํารบั ยาขบั เสมหะในลาํ คอ-อก/แกโรคหอบหืด : ชวยขับ
ปรบั ระบบการหมนุ เวียนเลือดใหดี ชว ยบาํ รงุ หวั ใจ (S3-04) เสมหะในลําคอ-อก แกห อบหดื (S2-08)
• ตํารบั ยาประสะกานพลู : แกป วดทองจากอาการจุกเสยี ดแนน • ตาํ รบั ยาละลายลมิ่ เลือด : ชว ยละลายลมิ่ เลือด บรรเทาอาการ
ทองอดื ทอ งเฟอ อาหารไมยอ ย หรือธาตุไมปกติ ชว ยขับลม เสน เลอื ดตบี (S2-30)
(S3-05)
• ตํารับยาธาตบุ รรจบ : แกท องเดนิ ทอ งเสยี ท่ไี มม สี าเหตุจากการ
ติดเชอื้ ไมมีไขแทรก, แกท องอดื ทองเฟอ แกธาตไุ มปกติหรอื
พกิ าร (S3-15)
• ตํารับยาแกล มอุทธังคมาวาตะ : แกลมอทุ ธังคมาวาตะ หรอื ลม
ตขี ึน้ ปะทะอกหายใจไมออกราวจะสิน้ ใจ (มอี าการเรอรวมกบั
แนนทอ งรุนแรง ลิ้นกระดา งคางแขง็ ชกั เกรง็ มอื กําเทากาํ )
(S3-19)
• ตํารับยาแกน า้ํ นมแหง /ขบั น้ํานม : แกนํ้านมแหง ชวยขบั นํ้านม
ในสตรหี ลงั คลอด (S3-50)
• ตาํ รับยารักษามดลูกพกิ าร-อักเสบ/ขบั นาํ้ คาวปลา : แกม ดลกู
พิการ มดลกู อกั เสบ ชวยบํารุงรกั ษามดลูก บํารุงสตรีหลังคลอด
ชวยขับนาํ้ คาวปลา ขบั เลอื ดเสีย (S3-51)

191

• ตาํ รับยาโรคอมั พฤกษ-อมั พาต : รักษาอมั พฤกษ- อมั พาต สรรพคณุ
(S2-33) • หวั หรอื ราก : แกไ ขท รพิษ แกฝดาด; ใบ : แกร อ นใน รักษาโรค
• ตํารบั ยาบํารงุ เลือด/หวั ใจ/รางกาย : บํารงุ เลอื ด ดูมเี ลอื ดฝาด ปากนกกระจอก (N1)
บาํ รุงหวั ใจ บาํ รงุ รา งกายทั้งชาย-หญิง แกอาการซบู ผอม • ใบ : แกรอ นใน แกไ ขตัวรอน บาํ รงุ รา งกาย (NE2)
(S2-51) • ใบ : ค้ันนาํ้ ดืม่ แกไ ข แกไขก าํ เดา บาํ รุงรา งกาย เปน ยาอายุ
• ตํารบั ยาบาํ รงุ โลหิตระดู : บาํ รุงโลหติ ระดู (S2-56) วัฒนะ; ราก : ตม นํ้าดมื่ บํารุงอวยั วะเพศชาย (NE5)
• ตาํ รบั ยารกั ษากระดูกทบั เสน : รกั ษาอาการกระดูกทับเสน • ใบ : แชในนํ้า หยอดตา แกอาการเจ็บตา น้าํ ตม จากใบเปนพิษ
(S2-66) ตอหญิงมคี รรภทาํ ใหแ ทงลกู ได; เน้อื ไม หรอื แกน : ตํารายาไทย
• ตาํ รับยาหอมนวโกฐ : แกค ลน่ื เหียนอาเจยี น วิงเวยี น ลมจกุ ใชขบั เหงอื่ แกไขตวั รอน แกป วดศรี ษะ ลดความรอ นชว ยขบั
แนน ในอก แกล มปลายไข แกอาการสะบดั รอนสะบัดหนาว เหงอ่ื , ชาวเขาเผา กะเหรยี่ งจะใชรากสะสมอาหารหรอื หวั ใบ
หรือครน่ั เน้อื คร่ันตวั รอ นวูบวาบเหมอื นจะเปน ไข บาํ รงุ และราก ตมน้ําด่ืมและอาบ รกั ษาไขมาลาเรียหรอื แกไข (R7)
ประสาท (S3-01) • ตาํ รับยาบํารงุ นาํ้ นม : บํารุงน้ํานม (NE4-025)
• ตาํ รบั ยาหอมอินทจกั ร : แกคล่ืนเหยี นอาเจยี น หนา มืดจะเปน • ตาํ รบั ยาขบั นิ่วในถุงนํา้ ดี : รักษาน่ิวในถงุ น้ําดี (S2-11)
ลม ลมจุกเสยี ดแนน หนา อก แนนทอง ทอ งอดื อาหารไมยอย • ตํารบั ยาแกไ ขตวั รอ น : แกไ ข ตัวรอน ไขเ ปล่ียนฤดู (S2-17)
ปรบั ระบบการหมุนเวียนเลือดใหดี ชว ยบาํ รุงหวั ใจ (S3-04) • ตาํ รบั ยาไขก าํ เดาใหญ : แกไ ขกาํ เดาใหญ (S2-47)
• ตาํ รับยาประสะกานพลู : แกปวดทองจากอาการจุกเสียดแนน • ตํารับยาแกปวดเมอ่ื ยกลามเนอ้ื -เสน เอ็น/บํารุงกําลัง : แกป วด
ทอ งอดื ทอ งเฟอ อาหารไมย อ ย หรอื ธาตุไมปกติ ชวยขับลม เมอ่ื ยกลามเนือ้ -เสนเอ็น บํารงุ กาํ ลัง (S2-61)
(S3-05) • ตาํ รบั ยาประสะกานพลู : แกปวดทอ งจากอาการจกุ เสียดแนน
• ตาํ รบั ยาธาตุบรรจบ : แกทองเดนิ ทองเสียที่ไมมสี าเหตุจาก ทอ งอดื ทอ งเฟอ อาหารไมย อย หรอื ธาตไุ มปกติ ชวยขบั ลม
การติดเชื้อ ไมมีไขแ ทรก, แกท อ งอดื ทองเฟอ แกธ าตไุ มปกติ (S3-05)
หรือพกิ าร (S3-15) • ตาํ รับยาโรคดซี าน : รักษาโรคดีซา น (S3-52)
กรุงเขมา (กรงุ เข-มา) กฤษณา
ชอ่ื ทอ งถ่นิ : กรุงเขมา (กรงุ ขะเหมา) (พทั ลงุ , ตรัง), ชอื่ ทอ งถน่ิ : กฤษณา (สระแกว, พษิ ณุโลก)
เครอื หมอนอ ย (พษิ ณุโลก), หมานอ ย (อุดรธาน)ี ช่อื วทิ ยาศาสตร : Aquilaria crassna Pierre ex Lecomte
ชื่อวทิ ยาศาสตร : Cissampelos pareira L. var. hirsuta ชอ่ื วงศ : THYMELAEACEAE
(Buch. ex DC.) Forman ลักษณะเดน : ไมตน สูงถึง 30 ม. เปลือกเรียบและบางมเี สนใย
ชื่อวงศ : MENISPERMACEAE เหนียว ใบมเี สน ใยเหนยี วสขี าวตามแนวขวาง แผนใบมีขน
ลักษณะเดน : ไมเถาเนอ้ื ออ น ยาวถึง 5 ม. มีรากสะสมอาหาร ประปรายตามขอบใบและเสน กลางใบ ผลคอ นขางกลม กวา งและ
ใตดนิ เปน แทง ยาวอวบ เน้ือในสขี าว เถาและใบมีขนยาวสากคาย ยาว 2.5–3.5 ซม. ผิวมีขนกาํ มะหยี่หนาแนนปกคลุม, พบตาม
หนาแนน (จดุ ตางกับยานปด Ste_jap_dis) ใบรปู ไขแ กม ปา ดงดิบทั่วประเทศ ยกเวนภาคใต
สามเหลยี่ ม กา นใบติดแบบใบบัว, ใบและเถาขยาํ นาํ้ แลวใหว ุน ใส
ใชประกอบอาหาร

192
(S3-21)
• ตํารบั ยาหอม (สูตรพนื้ บา น) : แกเปนลม วิงเวียนศรษี ะ หนา
มดื ตาลาย (S3-40)
กฤษณาใต้
ช่ือทองถิน่ : กฤษณา ไมหอม (พัทลุง), กฤษณา
ไมหอม พวมพราว (ตรงั )
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Aquilaria malaccensis Lam.
ชอ่ื วงศ : THYMELAEACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมตน สูงถงึ 30 ม. เปลอื กเรยี บและบางมีเสนใย
เหนยี ว ใบมเี สนใยเหนียวสขี าวตามแนวขวาง แผนใบเกลี้ยงท้ัง
สองดา น คลายกบั กฤษณา (Aqu_cra) มจี ดุ ตางทก่ี ฤษณาใตม ผี ล
รปู รี ยาว 2.5–4 ซม. ผิวมีขนประปราย-เกลี้ยง, พบตามปา ดงดบิ
ในภาคใต, มสี รรพคณุ คลายกฤษณาใชแทนกนั ได

สรรพคณุ สรรพคณุ
• เนอื้ ไม หรอื แกน : แกอาการรอ นในกระหายนํา้ ขบั เสมหะ • เนอื้ ไม : บํารงุ หวั ใจ (S1)
บํารงุ หัวใจ (E2) • เนอ้ื ไม : แกไ ขเ ด็ก (S3)
• เน้อื ไม : ชว ยบาํ รุงเลือด บาํ รุงกําลงั เปนยาอายวุ ฒั นะ (N1) • ตํารับยาโรคไมเกรน/วงิ เวียนศรีษะ : แกโรคไมเกรน แกวงิ
• เนื้อไม : บาํ รงุ หัวใจ (S1) เวียนศรษี ะ (S2-21)
• เน้อื ไม : แกไขเ ดก็ (S3) • ตาํ รับยาละลายลม่ิ เลือด : ชว ยละลายลิ่มเลอื ด บรรเทาอาการ
• ตาํ รับยาไขทับระดู : แกไขท ับระดู ระดูผา ไข แกพ ษิ โลหิตระดู เสนเลือดตบี (S2-30)
แกร อนใน แกค ลุมคลั่ง (E1-06) • ตํารับยาไขกาํ เดาใหญ : แกไขกาํ เดาใหญ (S2-47)
• ตํารับยาโรคไมเกรน/วงิ เวยี นศรษี ะ : แกโ รคไมเกรน แกว งิ • ตํารบั ยาบํารงุ เลือด/หัวใจ/รางกาย : บํารงุ เลอื ด ดมู ีเลือดฝาด
เวยี นศรษี ะ (S2-21) บาํ รงุ หัวใจ บํารงุ รา งกายทง้ั ชาย-หญิง แกอ าการซบู ผอม
• ตํารับยาละลายลม่ิ เลือด : ชวยละลายล่ิมเลอื ด บรรเทาอาการ (S2-51)
เสนเลอื ดตีบ (S2-30) • ตํารับยาบํารุงโลหิตระดู : บาํ รงุ โลหิตระดู (S2-56)
• ตาํ รับยาไขก าํ เดาใหญ : แกไขกาํ เดาใหญ (S2-47)
• ตํารับยาบํารงุ เลือด/หัวใจ/รางกาย : บาํ รุงเลอื ด ดมู ีเลือดฝาด
บาํ รงุ หวั ใจ บาํ รงุ รา งกายทั้งชาย-หญงิ แกอ าการซบู ผอม
(S2-51)
• ตาํ รบั ยาบํารุงโลหติ ระดู : บํารุงโลหิตระดู (S2-56)
• ตํารบั ยาหอมอินทจกั ร : แกค ล่ืนเหียนอาเจียน หนามดื จะเปน
ลม ลมจกุ เสยี ดแนนหนาอก แนนทอ ง ทองอดื อาหารไมยอย
ปรับระบบการหมนุ เวยี นเลือดใหดี ชว ยบาํ รงุ หัวใจ (S3-04)
• ตํารบั ยาเทพมงคล : แกไ ขตวั รอ น ถอนพิษไข ไขกาฬ, แก
อาการชกั -ล้นิ กระดางคางแขง็ -แนน ง่ิ หนา เปลี่ยนส-ี มอี าการ
มนึ -กระหายนา้ํ หอบพกั , แกโรคหละ-โรคละออง-โรคซางในเด็ก

193

• ตาํ รบั ยาหอมอินทจักร : แกคล่นื เหยี นอาเจยี น หนามดื จะเปน ลักษณะเดน : ไมลม ลุก ลาํ ตน สงู 2–8 ม. กา นใบยาว 1–2 ม.
ลม ลมจุกเสียดแนนหนา อก แนนทอ ง ทองอดื อาหารไมย อย แผนใบยาวถึง 3 ม. แผน ใบดา นลา งมกั จะไมม นี วลแปง ปลีสแี ดง
ปรบั ระบบการหมุนเวียนเลอื ดใหด ี ชว ยบาํ รงุ หัวใจ (S3-04) อมมว ง ชอ้ี อกดานขางแลวจงึ หอ ยลงเม่ือตดิ ผลหมดแลว กานชอ
• ตาํ รบั ยาเทพมงคล : แกไ ขต วั รอ น ถอนพษิ ไข ไขก าฬ, แก ดอกมขี นสน้ั ผลรปู ทรงกระบอก ยาว 6–10 ซม. มี 4–5 เหลย่ี ม
อาการชัก-ลิ้นกระดา งคางแขง็ -แนน ิง่ หนา เปลย่ี นส-ี มอี าการ ตามแนวยาว ปลายผลมักโคงขึ้นชที้ องฟา มีจกุ ที่ปลายชดั เจน
มนึ -กระหายนาํ้ หอบพกั , แกโรคหละ-โรคละออง-โรคซางในเดก็ กลวยปา มีลักษณะคลายกบั กลว ยไขแตภ ายในมีเมลด็ แข็งสีดาํ
(S3-11) จาํ นวนมาก
• ตํารบั ยาหอม (สตู รพ้นื บาน) : แกเ ปนลม วิงเวียนศรีษะ หนา
มดื ตาลาย (S3-40)

กลว้ ยเต่า
กน ครก (อุดรธาน)ี , ตบั เตาเตย้ี ไขเตา

(พิษณุโลก)
ช่ือวทิ ยาศาสตร : Polyalthia debilis (Pierre) Finet & Gagnep.
ชือ่ วงศ : ANNONACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมพ มุ สงู 0.3–1 ม. ตามกงิ่ ออน แผน ใบดานลา ง
และผลมีขนสัน้ หนาแนน ใบรูปไขก ลบั ยาว 5–10 ซม. ดอกสี
เหลอื งออ น ผลรปู ทรงกระบอก ยาว 2–3 ซม. ออกเปนกลุม 1–5
ผล/กลุม สกุ สีเหลอื ง

สรรพคุณ สรรพคณุ
• รากและตน : แกผ ดิ สาํ แดง บํารุงนํา้ นม (NE3) • หัวปลี : ยาแกทอ งเสีย โรคเกีย่ วกับลาํ ไส (S2)
• ตํารบั ยาโรคตับ : รกั ษาโรคตบั ตบั อกั เสบ ตับแข็ง (N1-136) • ตํารบั ยาโรคไทรอยดเ ปนพษิ : รกั ษาโรคไทรอยดเปนพษิ
กลว้ ยปา่ (N1-119)
ชอื่ ทองถ่ิน : กลว ยเถอ่ื น (ตรงั ), กลวยปา กลอย
(พิษณุโลก) ชื่อทองถิน่ : กลอย (ตรัง, อดุ รธาน)ี , กลอย กลอย
ชื่อวิทยาศาสตร : Musa acuminata Colla subsp. เบื่อเมา (พษิ ณุโลก)
acuminata ช่ือวิทยาศาสตร : Dioscorea hispida Dennst.
ชอ่ื วงศ : MUSACEAE ชอ่ื วงศ : DIOSCOREACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมเถาลมลุก ยาวถงึ 7 ม. มีหวั ใตด นิ คอนขางกลม
กวางไดถ ึง 40 ซม. เนอื้ ในสีขาว-เหลอื งออน เถาและกา นใบมี
หนาม ใบเรยี งสลับ ใบประกอบมี 3 ใบยอย รูปไข- รี มีเสนใบออก
จากโคนใบ 3–5 เสน แผน ใบดา นลางมขี นสั้นหนาแนน ผลรปู ทรง
กระบอก ยาว 5 ซม. มี 3 ครบี ตามแนวยาว มขี น เมือ่ แกจ ะแหง
แลวแตกอา 3 ซกี

194
ซม. ดอกเด่ยี ว สีเหลืองออน ยาวประมาณ 1 ซม. ผลทรงกลม
กวาง 5–7 ซม. ติดเปน กลมุ 20–30 ผล/กลมุ กานผลยอ ยยาว
7–15 มม. สุกสดี ํา รสหวานทานได, พบตามปา ดงดิบใกลนํ้า ท่ัว
ประเทศ

สรรพคณุ สรรพคุณ
• เปลือกและดอก : ตมนาํ้ อาบแกอาการตมุ คนั โรคผวิ หนงั โรค • ตาํ รับยาบํารุงนาํ้ นม : บํารุงนา้ํ นม ขับน้าํ นม (N1-155)
หิด ดมื่ เปน ยาแกเ บาหวาน; แกน : ตมนํา้ ดื่มแกป วดเม่อื ย คลาย • ตํารับยาบาํ รงุ น้ํานม : บาํ รงุ น้าํ นม ชว ยขบั นํา้ นม (N1-255)
เสนเอน็ ขบั ฟอกโลหิตระดู บาํ รุงโลหิต ขบั ปส สาวะ แกก ระษยั • ตํารับยาบาํ รงุ นํา้ นม : บํารงุ น้ํานม (N1-270)
ไตพกิ าร แกกลอมลงฝก อนั ทําใหอ ณั ฑะขา งหนึง่ บวม (R18) • ตํารับยาหาราก (สตู รพนื้ บา น) : แกไ ข ตวั รอ น แกป วดหวั
• หัว : ชว ยคลายเสน เอ็น รกั ษาโรคคดุ ทะราด โรคชนั นะตุ (N1) (S1-06)
• หวั : รักษาแผลภายนอกเทานัน้ แผลอกั เสบ ฝอักเสบ กดั หนอง • ตํารบั ยาแกไ ขต วั รอ น : แกไ ขต ัวรอ น ปวดหัว ถอนพษิ ไข ไข
(NE2) หวัด ไขป อดบวม (S2-01)
• หวั ใตด ิน : แกเ ถาดาน (อาการแข็งเปน ลําในทอง) หงุ เปน นาํ้ มัน • ตาํ รบั ยาขบั นว่ิ ในไต-ทางเดินปสสาวะ : ชว ยขบั นิ่วในไต และ
ใสแผล กัดฝา กดั หนอง, ราก : บดผสมกบั นํ้ามันมะพรา ว ใบ ทางเดินปสสาวะ (S2-13)
ยาสบู ใบลําโพงหรอื พรกิ ใชท าหรือพอกฆา หนอนในแผลสตั ว กอมขม
เลี้ยง, หัว : ตากแหง ปรงุ เปนยาแกนา้ํ เหลืองเสีย ขบั ปสสาวะ ชือ่ ทอ งถ่นิ : ดงี ตู น (พิษณโุ ลก)
(R37) ชอื่ วทิ ยาศาสตร : Picrasma javanica Blume
• ตาํ รบั ยาไขม าลาเรยี : แกไ ขมาลาเรีย ไขจับสน่ั หรือไขป า ชอ่ื วงศ : SIMAROUBACEAE
(NE3-012) ลกั ษณะเดน : ไมต น สูงถึง 20 ม. ใบเรียงสลับ ใบประกอบแบบ
• ตาํ รับยาแกไ ขกาํ เดา/ไขห วดั ใหญ : แกไขกําเดา ไขห วัดใหญ ขนนกปลายค่ี ใบยอ ยเรยี งตรงขาม มี 5 ใบ รูปขอบขนาน-ไขก ลับ
(NE3-072) ขอบใบเรยี บ ปลายใบเรยี วแหลม กา นใบยอ ยโคง ขึน้ และไมบวม
กลงึ กลอ่ ม พอง ใบมรี สขมมาก ผลมีกลีบเล้ียงขยายตัวหมุ เมล็ดสีขาว มี 3–4
ชอ่ื ทองถน่ิ : นํ้านอง นาํ้ นองตน (ตรงั ), นํ้านอย เมล็ด เม่ือสกุ สีดาํ
(พิษณุโลก)
ชื่อวิทยาศาสตร : Polyalthia suberosa (Roxb.) Thwaites
ชอื่ วงศ : ANNONACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมพ ุมสงู 2–5 ม. ตามกิ่งออน กานใบและทองใบมี
ขนสนั้ ประปราย-เกลย้ี ง ใบรูปหอกกลับ-ขอบขนาน ยาว 5–10

195

สรรพคณุ
• เปลือก : รักษาแผลในปาก (NE2)
• ราก : รากกานเหลือง เปลือกกระทมุ โคก รากตอไส รากทอง
แมว รากกะเจียน ตม รวมกนั มีสรรพคุณบาํ รงุ เลือด ขบั นา้ํ
คาวปลาหลงั คลอด แกปวดเมือ่ ย (R35)

สรรพคุณ กะตังใบ
• เนื้อไม : แกไ ข แกโรคเบาหวาน (N1) ชื่อทอ งถิ่น : กะตงั ใบ (ตรัง, พษิ ณุโลก), ตา งไก
• เปลือก เนือ้ ไม และใบ : มีรสขม เปนยาแกไ ข ไขม าลาเรีย ไข (อดุ รธาน)ี , ยาหวั ขอ (สระแกว)
จับส่นั ไขป าง และไขทุกชนิด; ผล : บดเปนยากวาดคอเดก็ มี ชื่อวิทยาศาสตร : Leea indica (Burm. f.) Merr.
รสขม ชวยแกอ าการเจบ็ คอ; ใบและเปลอื ก : ใชต ม กับน้าํ อาบ ชอื่ วงศ : VITACEAE
รักษาอาการผ่นื คนั หรอื แกพิษบุง (R52) ลกั ษณะเดน : ไมล ม ลกุ สงู ถงึ 1.5 ม. มีเหงาใตด ิน ใบประกอบ
แบบขนนก 1–2 ชัน้ กา นใบยอยมกั มสี แี ดง ดอกสขี าวอมเขยี ว
ผลรูปกลมแบนปลายบมุ คลา ยผลมะยม

กะเจยี น สรรพคุณ
ช่อื ทอ งถนิ่ : ชางสรอย (อุดรธานี) • ทงั้ 5 : แกโรคเบาหวาน (E2)
ชื่อวทิ ยาศาสตร : Hubera cerasoides (Roxb.) Chaowasku • หวั หรอื ราก : ชวยขบั เหงือ่ แกไ ขต ัวรอน แกทอ งรว ง; ใบ : แก
ช่ือวงศ : ANNONACEAE วิงเวียน (N1)
ลกั ษณะเดน : ไมตนผลดั ใบ สงู ถงึ 30 ม. เปลอื กแตกรอยปรติ าม • ใบออ น : ในมาเลเซียใชท ํายาสมานแผล; รากและใบ : ใน
ยาว ตามกิง่ ออน กา นใบ ดอก และแผน ใบดา นลา งมขี นสน้ั หนา มาเลเซยี ใชทํายาลดไข (R29)
นุม ใบเดีย่ ว เรียงสลบั รปู ไข-ขอบขนาน ยาว 9-18 ซม. ดอก • ตํารับยาไขม าลาเรยี : แกไขม าลาเรยี ไขจ ับสั่น หรอื ไขปา
เดีย่ ว สเี หลอื งอมเขยี ว กลบี ดอกหนา ยาว 1 ซม. ผลทรงกลมรี (NE3-012)
ตดิ เปน กลมุ 20–30 ผล/กลุม กานผลยอ ยยาว 1.5–2 ซม. • ตํารับยาไขห วดั ใหญ : แกไขหวดั ใหญ (S2-57)

196
กะอวม
ชอ่ื ทองถน่ิ : -
ช่อื วทิ ยาศาสตร : Acronychia pedunculata
(L.) Miq.
ชื่อวงศ : RUTACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมพุม สงู ถึง 5 ม. ใบเดีย่ ว เรยี งตรงขา มตั้งฉาก ใบ
รปู ขอบขนานแกมรี ยาว 10–20 ซม. ผวิ เกลย้ี ง ขยใ้ี บมีกลนิ่ หอม
ดอกสขี าวอมเขียว ผลทรงกลม กวาง 1–1.5 ซม.

สรรพคุณ สรรพคุณ
• เปลอื ก : รกั ษาโรคผวิ หนงั จากเช้อื รา กลาก เกลอื้ น (NE3) • เนือ้ ไมห รอื ราก : แกเ สนเอ็นพกิ าร แกปวดเม่อื ย บาํ รงุ เสน เอน็
(NE3)
• ผลสกุ : รสหวานเปน ผลไม หรือตาํ สมผสมกับผลตะโกนา, ทาน
ชว ยรกั ษาแผลในทางเดนิ อาหาร, ราก ชวยขับลมในลําไส;
เปลือก : ชวยหา มเลอื ด สมานแผล ตม ทํานํา้ ลางแผล; ราก : แก
เสนเอ็นพิการ บํารงุ เสนเอ็น แกปวดเมอ่ื ย (R54)
• ตํารับยารกั ษาโรคตบั โต/โรคตบั อักเสบ : รักษาตับโต/ตบั
อกั เสบ (NE2-020)
กันเกรา
ชือ่ ทอ งถน่ิ : กนั เกรา (สระแกว, พิษณโุ ลก), ตาํ เสา
(ตรงั )
ช่ือวทิ ยาศาสตร : Fagraea fragrans Roxb.
ชื่อวงศ : GENTIANACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมตน สงู ถึง 30 ม. เปลือกแตกเปนรอ งลกึ ตามยาว
ใบเดย่ี ว เรียงตรงขา มต้ังฉาก รูปร-ี ไข ยาว 10–17 ซม. ผวิ ใบ
เกล้ียง โคนกานใบโอบก่งิ ดอกสขี าว-เหลืองออน มีกล่นิ หอม ผล
ทรงกลม กวาง 1 ซม. สุกสีแดง

กดั ลิน้
ชอ่ื ทองถิ่น : กัดลนิ้ (พษิ ณุโลก), กัดลิ้น คาลิน้ ฆา
ลิ้น (อดุ รธานี)
ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Walsura trichostemon Miq.
ช่ือวงศ : MELIACEAE
ลักษณะเดน : ไมต น สงู ถงึ 15 ม. ใบประกอบแบบขนนกปลายค่ี
เรียงสลับ มีใบยอย 5 ใบ เรียงตรงขา ม รปู ไข- รี ยาว 4–10 ซม.
ผวิ ใบเกลี้ยง กา นใบยอยบวมนนู ทปี่ ลายทงั้ สองดา น ผลกลมรี ยาว
2–3 ซม. สกุ สีเหลอื งคล้ํา

197

สรรพคณุ ก้างปลาขาว
• แกน : ขบั ลม บาํ รงุ โลหิต บาํ รุงรางกาย (E2) ชือ่ ทอ งถ่นิ : กางปลาขาว (ตรงั ), กา งปลาแดง
• แกน : มรี สฝาดเฝอ น และขม ชว ยบาํ รุงไขมัน บาํ รุงธาตุใน (พิษณโุ ลก)
รา งกาย แกเ ลือดพกิ าร ยาอายุวฒั นะ แกไ ขจบั สน่ั (มาลาเรยี ); ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Flueggea virosa (Roxb. ex Willd.) Voigt
เปลือก : บํารุงโลหติ รกั ษาผวิ หนงั ผุพอง ปวดแสบปวดรอ นตาม ชอ่ื วงศ : PHYLLANTHACEAE
ผิวหนงั (R55) ลักษณะเดน : ไมพมุ สูง 2–5 ม. กงิ่ ออน และแผนใบเกล้ียง ก่ิง
• ตาํ รบั ยาแกไข/ แกร อ นใน : แกไ ข ตวั รอน แกรอนใน (S1-25) เปน เหลีย่ ม ใบเด่ียว เรียงสลับ รูปรี-ไขกลับ ยาว 3–8 ซม. ผลก
• ตํารับยาโรคเกาท : รกั ษาโรคเกาท แกป วดขอ ปวดเขา แกพ ิษ ลม กวา ง 7 มม. สีขาว, ในทางสมุนไพรไทย กางปลาขาวจะมีกง่ิ สี
ในกระดกู บาํ รงุ กระดกู (S2-03) เขยี วออน สว นกางปลาแดงมีกิ่งสแี ดง แตด า นอนุกรมวิธานพชื ทง้ั
• ตํารบั ยาโรครดิ สีดวงทวาร : รักษาโรครดิ สีดวงทวาร (S2-42) สองถอื เปนชนดิ เดยี วกนั
• ตาํ รับยาแกป วดเมื่อยกลา มเน้ือ-เสน เอ็น/บํารงุ กําลัง : แกปวด
เมื่อยกลา มเนื้อ-เสน เอ็น บาํ รงุ กาํ ลัง (S2-61)

กาเล็ดกาเว๊า
ช่อื ทองถนิ่ : ตองขา วตม (พษิ ณโุ ลก), เล็ดหนู
(ตรัง), วา นกาเหวาลาย (สระแกว )
ชอ่ื วิทยาศาสตร : Stachyphrynium repens (Körn.)
Suksathan & Borchs.
ช่ือวงศ : MARANTACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมลมลกุ สงู 30–40 ซม. มีเหงา ใตด ิน ใบรปู ขอบ
ขนาน ยาว 15–30 ซม. ผิวเกล้ียง มันเงา ดานบนสีเขียวมลี ายสี
เขียวเขม แตม ตามแนวเสน แขนงใบ กา นใบยาว 10–30 ซม.
ปลายกานใบบวมพอง ชอดอกออกท่กี า นใบ รปู เรียวยาว ยาว
4–7 ซม. กาบใบสเี ขยี วออน ดอกสีขาว

สรรพคณุ
• ราก : แกไ ขอีสกุ อีใส (N1)
• ตาํ รบั ยาไขอ ีสุกอีใส : แกโ รคอสี ุกอีใส หรือไขส กุ ใส (S2-38)

สรรพคณุ กา้ งปลาเครือ
• ท้งั 5 : บาํ รุงกําลงั ; เหงา : ตาํ พอกแผลชวยสมานแผล หรือแก ชื่อทองถ่นิ : กางปลาเครอื (ตรัง), กางปลาเครอื
พษิ งูลาย (E2) กา งปลาแดง (สระแกว )
• เหงาหรือหวั : บํารุงกาํ ลัง บาํ รุงเสน เอน็ (N1) ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Phyllanthus reticulatus Poir.
• ตาํ รบั ยาบาํ รงุ กําลงั : ชว ยบาํ รุงกําลัง (S2-74) ชอ่ื วงศ : PHYLLANTHACEAE
ลักษณะเดน : ไมพ มุ รอเลือ้ ย-ไมเ ถา ยาวไดถงึ 10 ม. กิ่งออน
และใบมขี นสน้ั ประราย-หนาแนน ใบเดย่ี ว เรยี งสลบั ระนาบเดยี ว
ใบรปู ไขก วา ง-ขอบขนาน ยาว 2–5 ซม. ปลายใบมน-แหลม ผลอ
อกใตซ อกใบ ทรงกลมแบน กวาง 1 ซม. สุกสมี ว ง-ดํา เนื้อผลฉํา่
นา้ํ สีดาํ

198

สรรพคุณ
• ราก : รากกานเหลือง เปลอื กกระทุม โคก รากตอ ไส รากทอง
แมว รากกะเจยี น ตม รวมกันมสี รรพคณุ บํารุงเลอื ด ขบั นํา้
คาวปลาหลังคลอด แกป วดเมื่อย (R35)
• ตาํ รับยาโรคตับ : รักษาโรคตับ ตับอักเสบ ตบั แขง็ (N1-136)

สรรพคุณ กาฝากมะม่วง
• ทัง้ 5 : รกั ษาเบาหวาน ความดนั โลหิตสงู แกไ ขต วั รอ น (E2) ช่อื ทองถ่นิ : กาฝาก กาฝากมะนาว (พิษณโุ ลก),
• ราก : รักษาเบาหวาน ชวยลดน้ําตาลในเลือด (S2) กาฝากมะมวงคนั กาฝากมะมว งปา (ตรงั )
• ตาํ รับยาอยูไ ฟ/มดลูกเขา อ/ู ไสเ ลอื่ น : ใชแทนการอยไู ฟ มดลกู ชือ่ วิทยาศาสตร : Dendrophthoe pentandra (L.) Miq.
เขาอไู ว แกไสเลอ่ื นทัง้ ชายและหญงิ (E3-01) ช่อื วงศ : LORANTHACEAE
ลักษณะเดน : ไมพุม ยาวถึง 2 ม. เปนกาฝากอาศยั บนตนไมอื่น
ๆ ตามสวนออ นๆ มขี นสีนา้ํ ตาลแดงปกคลุม ใบเด่ยี ว เรยี งเกอื บ
ตรงขา ม รูปไข- รปู รี ยาว 15–20 ซม. เน้ือใบหนาและกรอบ ดอก
สเี ขยี วอมเหลอื ง ผลรปู ไข ยาว 1–1.5 ซม. เนอื้ ในผลมยี างเหนยี วใส

ก้านเหลอื ง
ช่ือทอ งถิน่ : ตบั เตานอย (พษิ ณโุ ลก)
ชื่อวทิ ยาศาสตร : Nauclea orientalis (L.) L.
ช่ือวงศ : RUBIACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมต น สงู ถงึ 30 ม. เปลือกแตกสะเก็ดเลก็ เน้ือไมม ี
สีเหลอื งขมนิ้ กิง่ และใบมขี นประปราย-หนาแนน ปลายก่ิงมหี ูใบ
รปู รกี วา งหุม ยอด ใบรูปไขกวา ง ยาว 15–22 ซม. ปลายใบมน ชอ
ดอกทรงกลม กวา ง 5 ซม. สีเหลือง มกี ลนิ่ หอม, ชอบขึน้ ตามริม
นาํ้ ทั่วประเทศ

สรรพคณุ
• ตาํ รับยาแกเ ลอื ดกําเดาไหล/โรคเลอื ดออกตามไรฟน : แก
เลือดกาํ เดาไหล-เลือดออกตามไรฟน (N1-189)
• ตาํ รบั ยาโรคความดนั โลหติ สงู /โรคเบาหวาน : ชว ยลดความ
ดนั โลหิตสูง เบาหวาน ลดไขมนั ในเลือด (S1-15)
• ตาํ รับยาโรคความดนั โลหติ : ชว ยลดความดันโลหิตสูง (S2-39)

199

กาสามปีก สรรพคุณ
ชื่อทอ งถน่ิ : - • รากหรือเปลอื ก : แกท อ งเสีย แกปวดฟน ชว ยสมานแผล รักษา
ชื่อวิทยาศาสตร : Vitex peduncularis Wall. ex Schauer แผลพพุ อง ตม นา้ํ ใชลางแผล (NE3)
ชือ่ วงศ : LAMIACEAE • ทุกสว น : เปน ยาขบั ปส สาวะ; ราก : ตมกับเน้อื สัตว ทานเปน
ลกั ษณะเดน : ไมต น สูงถึง 30 ม. เปลือกเรียบ ใบเรยี งตรงขา ม ยาขับนํา้ นม; เปลอื ก : เปน ยาหามเลือด แกโ รคบิด แกโรคบวม
ต้ังฉาก ใบประกอบมี 3 ใบยอย ใบยอ ยรปู หอก ยาว 6–12 ซม. นํา้ ประจําเดือนมามาก; ใบ : แกเลอื ดกาํ เดาไหล ยาขบั เหงอ่ื
แผนใบดา นลางเกลี้ยง มตี อ มสีเหลืองขนาดเล็กกระจาย กานใบ ยาระบาย และยาฝาดสมาน แกทองรว ง; ผล : แกปวดทอง
แกไ มพ บปก ผลกลม กวา ง 1 ซม. (R3)
กุ่มน้าํ
สรรพคุณ ชื่อทองถิ่น : กมุ นา้ํ (พัทลุง, ตรัง, พิษณโุ ลก)
• ใบ เปลือก และราก : รกั ษาริดสีดวงจมูก, เนอื้ ไมและราก : ช่อื วทิ ยาศาสตร : Crateva magna (Lour.) DC.
รักษาโรคกระเพาะ (NE3) ชื่อวงศ : CAPPARACEAE
ลักษณะเดน : ไมต น สงู 7–20 ม. เปลือกเรียบ ใบเรียงเวยี น ใบ
ประกอบมี 3 ใบยอ ย รปู ใบหอก ปลายใบเรียวแหลม แผน ใบดา น
ลางเกล้ียง มสี ีเขยี วนวล ดอกสขี าว-เหลอื งครีม ผลรูปรีกวาง
ปลายกลม ยาว 4–6 ซม. ผวิ ผลมีสะเกด็ สขี าวขรุขระ

กกุ๊
ชอ่ื ทอ งถนิ่ : ออ ยชาง
ชอื่ วิทยาศาสตร : Lannea coromandelica (Houtt.) Merr.
ชอ่ื วงศ : ANACARDIACEAE
ลกั ษณะเดน : ไมต นผลัดใบ สูง 10–30 ม. เปลือกเรียบ มีน้ํายาง
เปน สีดําเมอ่ื ถูกอากาศ ใบเรยี งเวยี น ใบประกอบแบบขนนกปลาย
ค่ี ใบยอ ย 7–11 ใบ เรยี งตรงขา ม กานใบยอยยาว 0.5 ซม. แผน
ใบมขี นประปราย-หนาแนน ผลทรงรยี าวและเบ้ยี วเลก็ นอ ย ยาว
1–1.5 ซม.

สรรพคณุ
• เปลือก : รสรอ น ชว ยเพิ่มอณุ ภูมิในรางกาย ทาํ ใหร างกาย
อบอนุ (N1)
• ใบ : ชวยขับเหงอื่ (S3)
• ตาํ รบั ยาแกล มกองหยาบ/วงิ เวยี น-ใจสนั่ : แกว งิ เวียนศรี ษะ
ใจส่นั อาการบานหมุน หนามืดตาลาย ลมข้นึ แนน หนาอก
(ประเภทลมกองหยาบ) (S1-38)


Click to View FlipBook Version