The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prasopchock.pra, 2021-06-10 05:47:28

แผนการจัดการเรียนการสอนวิทย์พื้นฐาน ม.2

99

ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย


ได้จัดท าการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ................ รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ว22101)

แล้วมีความคดเห็นดังนี้
1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท ี่
 มีองค์ประกอบครบ

 มีองค์ประกอบยังไม่ครบ ควรเพิ่มเติม ...................................................................................................

2. การจัดกิจกรรมได้น าเอากระบวนการเรียนรู้

 เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม
 ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป

3. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท ี่

 น าไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรุงก่อนน าไปใช ้


4. ข้อเสนอแนะอื่นๆ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….……
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………
………………………….…………………………………………………………………………………………………………….………………………






ลงชื่อ ..............................................................
(นางลัดดา ผาพันธ์)
ผู้อ านวยการโรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศึกษา

100

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศึกษา

รายวิชา ว22101 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบและความสัมพันธ์ในร่างกายมนุษย์ จ านวน 22 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง เลือด เวลาสอน 1 ชั่วโมง


ู้
1. มาตรฐานการเรียนร


มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัตของสงมีชวิต หน่วยพื้นฐานของสงมีชวิต การลาเลยงสารเข้าและออกจากเซลล ์
ิ่
ิ่



ี่


ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าทของระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ทท างานสมพันธ์กัน ความสมพันธ์ของโครงสร้าง
ี่
และหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ท างานสัมพันธ์กัน รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์

2. ตัวชี้วดชั้นปี
บรรยายโครงสร้างและหน้าที่ของหัวใจ หลอดเลือด และเลือด (ว 1.2 ม. 2/6)
3. จุดประสงค์การเรียนร ู้
1. บอกส่วนประกอบของเลือดได้ (K)
2. อธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบของเลือดได้ (K)
3. มีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้อยากเห็น (A)
4. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ (A)
5. ท างานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ (A)

6. สื่อสารและน าความรู้เรื่องเลือดไปใชในชีวิตประจ าวันได้ (P)
4. สาระส าคัญ
เลือดประกอบด้วยน้ าเลือด เม็ดเลือด และเกล็ดเลือด
5. สาระการเรียนร ู้

ระบบหมุนเวียนเลือด
– เลือด
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์

1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการท างาน
4. มีจิตวิทยาศาสตร์
7. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน

1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

8. ชิ้นงานหรือภาระงาน
สืบค้นข้อมูลเลือด

101

9. การจัดกจกรรมการเรียนร ู้


ครูดาเนินการทดสอบก่อนเรียน โดยให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความพร้อมและพื้นฐาน

ของนักเรียน
ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน
1) ครูถามค าถามนักเรียนเพื่อกระตุ้นความสนใจ เช่น
– นักเรียนเคยหกล้มแล้วมีบาดแผลเกิดขึ้นหรือไม่ (แนวค าตอบ เคย)

– เมื่อมีบาดแผลเกิดขึ้นแล้วจะท าให้เกิดสิ่งใด (แนวค าตอบ มีเลือดไหลออกมาจากบาดแผล)
– เลือดมีลักษณะอย่างไร (แนวค าตอบ เป็นของเหลวและมีสีแดง)
2) นักเรียนร่วมกันตอบค าถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับค าตอบ เพื่อเชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้เรื่อง เลือด
ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนร ู้


จดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใชกระบวนการสบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ร่วมกับแบบกลบดาน ชนเรียน

ั้



(flipped classroom) ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
1) ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement)
(1) ครูถามค าถามนักเรียนเพื่อกระตุ้นความสนใจ เช่น
– เลือดมีส่วนประกอบใดบ้าง (แนวค าตอบ น้ าเลือด เม็ดเลือด และเกล็ดเลือด)
– ส่วนประกอบใดของเลือดช่วยท าให้เลือดหยุดไหล (แนวค าตอบ เกล็ดเลือด)
(2) นักเรียนร่วมกันอภิปรายหาค าตอบเกี่ยวกับค าถามตามความคิดเห็นของแต่ละคน
2) ขั้นส ารวจและค้นหา (Exploration)




(1) ครูให้นักเรียนศกษาเรื่องเลอด จากใบความรู้หรือในหนังสอเรียน โดยครูชวยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า ใน
ี่
ร่างกายของมนุษย์มีเลือดอยู่ประมาณร้อยละ 9 – 10 ของน้ าหนักตว เลอดมีสวนประกอบทสาคญ 2 สวน คอ สวนทเป็น




ี่






ี่
ของเหลว ซึ่งเรียกว่า น้ าเลอด หรือ พลาสมามีอยู่ประมาณ ร้อยละ 55 ของปริมาณเลอดทงหมด ทาหน้าทลาเลยง
ั้




สารอาหาร เอนไซม์ ฮอร์โมน และแก๊สไปยังเซลลต่างๆ ของร่างกาย และลาเลยงของเสยตางๆ มายังปอดเพื่อขับออกจาก







ี่
ร่างกาย และสวนทเป็นของแข็ง ประกอบดวยเม็ดเลอดและเกลดเลอด ซึ่งมีอยู่ประมาณร้อยละ 45 ของปริมาณเลอด



ทั้งหมด


(2) ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับเม็ดเลือดให้นักเรียนเข้าใจว่า เม็ดเลอดมี 2 ชนิด คือ เม็ดเลือดแดงทาหน้าทล าเลยง
ี่

ี่
แก๊สออกซิเจนไปยังเซลล์ต่างๆ ของร่างกาย สร้างจากไขกระดูก มีอายุประมาณ 110–120 วัน และถูกท าลายทตับและม้าม

ี่

และเม็ดเลือดขาวทาหน้าทตอต้านและก าจดเชื้อโรคหรือสงแปลกปลอมที่เข้าสร่างกาย สร้างจากม้าม ไขกระดูก และตอม

ู่

ิ่
น้ าเหลือง มีอายุประมาณ 7–14 วัน และถูกท าลายที่ตับและม้าม
ื้

(3) ครูอธิบายเรื่องน่ารู้ เรื่องวัคซีนให้นักเรียนเข้าใจว่า วัคซีน คอ แอนติเจนของเชอโรคที่ไม่สามารถท าอันตรายตอ




ุ้

ร่างกายได การให้วัคซีนแก่ร่างกายเพื่อให้แอนติเจนไปกระตนร่างกายให้สร้างแอนติบอดีที่ทาปฏกิริยาจ าเพาะตอแอนติเจน
ชนิดนั้น ๆ ซึ่งการน าวัคซีนเข้าสู่ร่างกายท าได้โดยการฉีด รับประทาน หรือการปลูกฝี




ี่
(4) ครูอธิบายเรื่องน่ารู้ เรื่องเซรุ่มให้นักเรียนเข้าใจว่า เซรุ่ม คอ น้ าเลอดทมีแอนตบอดทเมื่อร่างกายไดรับแลว
ี่




ื้
สามารถตานทานพิษของโรคนั้นไดทนท เซรุ่มไดจากการฉีดเชอโรคทอ่อนฤทธิ์แลวเข้าไปในม้าหรือกระตาย เมื่อม้าหรือ




ี่



ู่


กระตายสร้างแอนติบอดีขึ้นในน้ าเลือด จงสกัดเอาน้ าเลอดที่มีแอนตบอดีของม้าหรือกระต่ายมาฉีดเขาสร่างกายของมนุษย์



โดยตรง เซรุ่มใชรักษาในกรณจาเป็นเร่งดวน เชน เมื่อถูก งูพิษกัดหรือถูกสนัขบ้ากัด ข้อดของเซรุ่ม คอ ทาให้ร่างกายมี







ภูมิคุ้มกันโรคทันที

102

(5) ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับเกล็ดเลอดให้นักเรียนเขาใจว่า เกล็ดเลอดทาหน้าทช่วยให้เลอดแข็งตัวในกรณที่เกิด






ี่



บาดแผล โดยจบตวเป็นกระจุกร่างแหอุดรูของหลอดเลือดฝอย ท าให้เลอดหยุดไหล เกลดเลือดสร้างจากไขกระดก มีอายุ


ประมาณ 4 วัน และถูกท าลายที่ม้าม
(6) ครูแบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5 – 6 คน สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับเลือด ตามขั้นตอนดังนี้
– แตละกลมวางแผนการสบคนข้อมูล โดยแบ่งหัวข้อย่อยให้เพื่อนสมาชกชวยกันสบคนตามทสมาชกกลม






ี่
ุ่
ุ่


ช่วยกันก าหนดหัวข้อย่อย เช่น น้ าเลือด เม็ดเลือด และเกล็ดเลือด
ุ่






ี่

ุ่

– สมาชกกลมแตละคนหรือกลมย่อยชวยกันสบคนข้อมูลตามหัวข้อย่อยทตนเองรับผดชอบ โดยการสบคน
จากหนังสือ วารสาร สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยส าหรับเยาวชน หรืออินเทอร์เน็ต
ุ่
ี่
ั้



– สมาชกกลมน าข้อมูลทสืบคนได้มารายงานให้เพื่อนๆ สมาชกในกลมฟัง รวมทงร่วมกันอภิปรายซักถามจน
ุ่
คาดว่าสมาชิกทุกคนมีความรู้ความเข้าใจที่ตรงกัน

– สมาชิกกลุ่มช่วยกันสรุปความรู้ที่ได้ทั้งหมดเปนผลงานของกลุ่ม และชวยกันจดท ารายงานการศกษาค้นคว้า



เกี่ยวกับเลือด
(7) ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่ได้จากการปฏิบัติกิจกรรม




(8) ครูคอยแนะน าชวยเหลือนักเรียนขณะปฏบัตกิจกรรม โดยครูเดนดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิดโอกาสให้นักเรียน
ทุกคนซักถามเมื่อมีปัญหา
3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation)
(1) นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าห้องเรียน
(2) ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้แนวค าถาม เช่น

– น้ าเลอดทาหน้าที่อะไร (แนวคาตอบ ลาเลียงสารอาหาร เอนไซม์ ฮอร์โมน และแก๊สไปยังเซลลต่างๆ ของ




ร่างกาย และล าเลียงของเสียต่างๆ มายังปอดเพื่อขับออกจากร่างกาย)
– เม็ดเลือดแดงท าหน้าที่อะไร (แนวค าตอบ ล าเลียงแก๊สออกซิเจนไปยังเซลล์ต่างๆ ของร่างกาย)
– เม็ดเลือดขาวท าหน้าที่อะไร (แนวค าตอบ ต่อต้านและก าจัดเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกาย)
– เกล็ดเลือดท าหน้าที่อะไร (แนวค าตอบ ช่วยให้เลือดแข็งตัวในกรณีที่เกิดบาดแผล)



(3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัตกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า เลอดประกอบดวยน้ า
เลือด เม็ดเลือด และเกล็ดเลือด
4) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration)



นักเรียนคนคว้าคาศพทภาษาตางประเทศเกี่ยวกับเลอด จากหนังสอเรียนภาษาตางประเทศหรืออินเทอร์เน็ต และ





น าเสนอให้เพื่อนฟัง คัดค าศัพท์พร้อมทั้งค าแปลลงสมุดส่งครู
5) ขั้นประเมิน (Evaluation)
(1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อทเรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจดใดบ้างที่ยังไม่เข้าใจหรือยัง

ี่
มีข้อสงสัย ถ้ามี ครูช่วยอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ

(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และไดมีการแก้ไขอย่างไรบ้าง

(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเหนเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และการน าความรู้ท ี่
ได้ไปใช้ประโยชน์
(4) ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยการให้ตอบค าถาม เช่น

103

– ร่างกายมนุษย์มีเลือดอยู่ประมาณร้อยละเท่าใด (แนวค าตอบ ประมาณร้อยละ 9–10 ของน้ าหนักตัว)


– เม็ดเลอดแดง เม็ดเลือดขาว และเกล็ดเลอดถูกท าลายที่อวัยวะใด (แนวคาตอบ เม็ดเลอดแดงและเม็ดเลือด


ขาวถูกท าลายที่ตับและม้าม และเกล็ดเลือดถูกท าลายที่ม้าม)
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับเลือด โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ความคิดหรือผังมโนทัศน์
10. สื่อการเรียนร ู้

1. หนังสือ วารสาร สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยส าหรับเยาวชน หรืออินเทอร์เน็ต
2. หนังสือเรียนภาษาต่างประเทศ
3. คู่มือการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1
4. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เลม 1

ี่
5. แบบฝึกทักษะรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีท 2 เล่ม 1
6. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีท 2 เล่ม 1
ี่

11. การวดและประเมินผลการเรียนร ู้

ด้านคุณธรรม จริยธรรมและ
ด้านความรู้ (K) ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
จิตวิทยาศาสตร์ (A)

1. ซักถามความรู้เรื่องเลือด 1. ประเมินเจตคตทางวิทยาศาสตร์เป็น 1. ประเมินทักษะการคิดโดยการ
2. ตรวจชิ้นงานหรือภาระงานของ รายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบ สังเกตการท างานกลุ่ม
กิจกรรมฝึกทักษะระหว่างเรียน วัดเจตคติทางวิทยาศาสตร์ 2. ประเมินพฤติกรรมในการปฏิบัต ิ
2. ประเมินเจตคติต่อวิทยาศาสตร์เป็น กิจกรรมเป็นรายบุคคลหรือราย

รายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบ กลุ่มโดยการสังเกตการทางาน

วัดเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ กลุ่ม

104

บันทึกผลหลังการสอน
สรุปผลการเรียนการสอน

1. นักเรียนจ านวน ..................... คน
ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ..................... คน คิดเป็นร้อยละ .........................
ไม่ผ่านจุดประสงค์ .................................. คน คิดเป็นร้อยละ .........................


2. ด้านความรู้ความเข้าใจ (K)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….……
…………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………


3. ด้านทักษะกระบวนการ (P)
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………….……
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………


4. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………


ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………….……
…………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………


ข้อแนะน า
………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………






ลงชื่อ .......................................................
(นายประสพโชค ประภา)
ต าแหน่ง ครู

105

ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย


ได้จัดท าการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ................ รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ว22101)

แล้วมีความคดเห็นดังนี้
1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท ี่
 มีองค์ประกอบครบ

 มีองค์ประกอบยังไม่ครบ ควรเพิ่มเติม ...................................................................................................

2. การจัดกิจกรรมได้น าเอากระบวนการเรียนรู้

 เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม
 ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป

3. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท ี่

 น าไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรุงก่อนน าไปใช ้


4. ข้อเสนอแนะอื่นๆ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….……
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………
………………………….…………………………………………………………………………………………………………….………………………






ลงชื่อ ..............................................................
(นางลัดดา ผาพันธ์)
ผู้อ านวยการโรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศึกษา

106

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศึกษา

รายวิชา ว22101 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบและความสัมพันธ์ในร่างกายมนุษย์ จ านวน 22 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การหมุนเวียนของเลือดในร่างกาย เวลาสอน 1 ชั่วโมง


1. มาตรฐานการเรียนร
ู้

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัตของสงมีชวิต หน่วยพื้นฐานของสงมีชวิต การลาเลยงสารเข้าและออกจากเซลล ์


ิ่


ิ่
ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าทของระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ทท างานสมพันธ์กัน ความสมพันธ์ของโครงสร้าง
ี่

ี่

และหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ท างานสัมพันธ์กัน รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์
2. ตัวชี้วดชั้นปี

ออกแบบการทดลองและทดลอง ในการเปรียบเทียบอัตราการเตนของหัวใจ ขณะปกติและหลงท ากิจกรรม (ว 1.2


ม. 2/8)
3. จุดประสงค์การเรียนร ู้
1. ตรวจสอบการเต้นของชีพจรได้ (K)
2. มีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้อยากเห็น (A)
3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ (A)
4. ท างานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ (A)
5. สื่อสารและน าความรู้เรื่องการหมุนเวียนของเลือดในร่างกายไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ (P)
4. สาระส าคัญ
ชพจรบอกถึงจงหวะการเตนของหัวใจ ซึ่งอัตราการเตนของหัวใจในขณะปกตและหลงจากทากิจกรรมตางๆ จะ








แตกต่างกัน
5. สาระการเรียนร ู้
ระบบหมุนเวียนเลือด
– การหมุนเวียนของเลือดในร่างกาย
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการท างาน
4. มีจิตวิทยาศาสตร์

7. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใชทักษะ/กระบวนการและทักษะในการด าเนินชีวิต


107

8. ชิ้นงานหรือภาระงาน
สังเกตอัตราการเต้นของชีพจร

9. การจัดกจกรรมการเรียนร ู้


ครูดาเนินการทดสอบก่อนเรียน โดยให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความพร้อมและพื้นฐาน

ของนักเรียน
ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน

1) ครูให้นักเรียนทบทวนความรู้เดิมที่ได้เรียนรู้มาแล้วโดยใช้ค าถามต่อไปนี้
– ระบบหมุนเวียนเลือดมีสิ่งใดท าหน้าที่ล าเลียงสารอาหารไปสู่เซลล์ (แนวค าตอบ เลือด)
– สารอาหารถูกส่งไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกายด้วยส่วนประกอบใดของเลือด (แนวค าตอบ น้ าเลือด)
2) นักเรียนร่วมกันตอบคาถามและแสดงความคดเห็นเกี่ยวกับคาตอบ เพื่อเชอมโยงไปสการเรียนรู้เรื่อง การ
ื่
ู่



หมุนเวียนของเลือดในร่างกาย
ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนร ู้


ั้



จดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใชกระบวนการสบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ร่วมกับแบบกลบดาน ชนเรียน
(flipped classroom) ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
1) ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement)
(1) ครูถามค าถามนักเรียนเพื่อกระตุ้นความสนใจ เช่น



ี่

– อวัยวะใดทาหน้าทเสมือนเครื่องสบฉีดชวยให้เลอดไหลเวียนไปยังสวนตางๆ ของร่างกายได (แนวคาตอบ




หัวใจ)
– เลือดภายในร่างกายมีการไหลเวียนไปในทิศทางเดียวกันหรือไม่ (แนวค าตอบ ทิศทางเดียวกัน)
(2) นักเรียนร่วมกันอภิปรายหาค าตอบเกี่ยวกับค าถามตามความคิดเห็นของแต่ละคน
2) ขั้นส ารวจและค้นหา (Exploration)


(1) ครูให้นักเรียนศกษาเรื่องการหมุนเวียนของเลอดในร่างกาย จากใบความรู้หรือในหนังสอเรียน โดยครูชวย






อธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า สารอาหารและแก๊สจะถูกล าเลยงไปยังสวนตางๆ ของร่างกายพร้อมกับเลอด โดยอาศยระบบ



ื่
หมุนเวียนเลอดในหลอดเลอด การเคลอนทหรือการไหลของเลอดนั้น บางครั้งมีการไหลจากศรษะไปยังปลายเทาหรือจาก



ี่

ปลายเทาไปยังศรษะ การทเลอดไหลไปในทศทางตางๆ ไดนั้นเนื่องมาจากร่างกายของมนุษย์มีหัวใจซึ่งเป็นอวัยวะททา



ี่
ี่





หน้าทเสมือนเครื่องสูบฉีด ท าให้เกิดแรงดันเพื่อให้เลอดไหลไปตามหลอดเลอด แล้วไหลต่อไปยังสวนตางๆ ของร่างกายและ

ี่

ไหลกลับเข้าสู่หัวใจ



(2) ครูอธิบายเรื่องน่ารู้ เรื่องวิลเลยม ฮาร์วีย์ให้นักเรียนเขาใจว่า วิลเลียม ฮาร์วีย์ นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ เปน
คนแรกที่ค้นพบการหมุนเวียนของเลือด โดยชี้ให้เห็นว่าเลือดมีการไหลเวียนไปในทิศทางเดียวกัน
(3) ครูแบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5 – 6 คน ปฏิบัติกิจกรรม สังเกตอัตราการเต้นของชีพจร ตามขั้นตอน ดังนี้
– หงายมือข้างหนึ่งขึ้น แล้วใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางของมืออีกข้างหนึ่งวางบริเวณข้อมือ โดยกดนิ้วชี้และนิ้วกลาง
เบาๆ ตรงต าแหน่งที่มีการเต้นของชีพจร
– นับจานวนครั้งในการเตนของชพจรในเวลา 1 นาท พร้อมกับสงเกตว่าการเตนของชพจรสม่ าเสมอหรือไม่







แล้วบันทึกผล
– ด าเนินการเช่นเดียวกับข้อ 1–2 อีก 2 ครั้ง และหาค่าเฉลี่ย
– นักเรียนออกไปวิ่งรอบสนามฟุตบอล 2 รอบ แล้วด าเนินการเช่นเดียวกับข้อ 1–3 อีกครั้ง

108

(4) ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่ได้จากการปฏิบัติกิจกรรม


(5) ครูคอยแนะน าชวยเหลือนักเรียนขณะปฏบัตกิจกรรม โดยครูเดนดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิดโอกาสให้นักเรียน


ทุกคนซักถามเมื่อมีปัญหา
3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation)
(1) นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าห้องเรียน
(2) ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้แนวค าถาม เช่น


– การนับจานวนครั้งในการเต้นของชีพจรควรนับ 3 ครั้งแล้วจึงหาค่าเฉลี่ย เพราะเหตุใด (แนวค าตอบ เพราะ
จะท าให้เราได้ค่าที่ใกล้เคียงความเป็นจริงมากที่สุด)

– ขณะทร่างกายของเราอยู่ในสภาวะปกติกับขณะเลนกีฬา การเตนของชพจรแตกต่างกันหรือไม่ เพราะเหต ุ


ี่



ี่



ใด (แนวคาตอบ แตกตางกัน เพราะขณะทร่างกายอยู่ในสภาวะปกติ การเตนของ ชพจรมีอัตราการเต้นตากว่าขณะเลน




กีฬา เนื่องจากขณะเลนกีฬาร่างกายต้องใช้พลงงานมาก หัวใจจงต้อง มีการสูบฉีดเลอดเร็วขึ้นเพื่อน าแก๊สออกซิเจนไปยัง
เซลล์ ส าหรับใช้ในการเผาผลาญสารอาหารให้ได้พลังงานน าไปใช้อย่างเพียงพอ)

– ผลสรุปของกิจกรรมนี้คืออะไร (แนวคาตอบ จากการท ากิจกรรมนี้สามารถสรุปได้ว่า การออกก าลังกายมีผล
ต่ออัตราการเต้นของชีพจร ท าให้อัตราการเต้นของชีพจรสูงขึ้นกว่าในขณะที่ร่างกายอยู่ในสภาวะปกติ)
(3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า การออกก าลงกายมีผล

ต่ออัตราการเต้นของชีพจร ท าให้อัตราการเต้นของชีพจรสูงขึ้นกว่าในขณะที่ร่างกายอยู่ในสภาวะปกต ิ
4) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration)



ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการตรวจสอบการเต้นของชีพจรให้นักเรียนเข้าใจว่า การตรวจสอบการเตนของชพจรทา

ให้ทราบว่า อัตราการเต้นของหัวใจอยู่ในชวงปกติหรือไม่ โดยอัตราปกติคอประมาณ 60–100 ครั้งต่อนาที ถ้าหัวใจมีอัตรา

การเต้นผดปกติ ก็อาจสันนิษฐานได้ว่าร่างกายมีความผิดปกติ ซึ่งการวัดอัตราการเต้นของหัวใจวัดได้จากการฟังการเต้นของ

หัวใจ และการจับชีพจรบริเวณข้อมือและซอกคอ
5) ขั้นประเมิน (Evaluation)
(1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อทเรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจดใดบ้างที่ยังไม่เข้าใจหรือยัง
ี่

มีข้อสงสัย ถ้ามี ครูช่วยอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไขอย่างไรบ้าง

(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเหนเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และการน าความรู้ท ี่
ได้ไปใชประโยชน์

(4) ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยการให้ตอบค าถาม เช่น

– เพราะเหตุใดจงวัดอัตราการเต้นของหัวใจไดจากการสัมผัสหลอดเลอดที่บริเวณข้อมือ (แนวค าตอบ เพราะ


หลอดเลือดจะหดตัวและขยายตัวตามจังหวะการเต้นของหัวใจ)


– หลังออกก าลงกายเสร็จใหม่ๆ การเตนของชีพจรจะเป็นอย่างไร (แนวค าตอบ การเตนของชีพจรจะเร็วและ

แรงขึ้น)



ี่

– เลอดในร่างกายมนุษย์หมุนเวียนผานหัวใจในลกษณะใด (แนวคาตอบ หัวใจห้องบนขวารับเลอดทมีแก๊ส






คาร์บอนไดออกไซดสูงจากส่วนตางๆ ของร่างกายและส่งผานลิ้นหัวใจไปยังหัวใจห้องลางขวาซึ่งจะบีบตวและส่งเลือดไปยัง

109

ิ้
ี่
ู่

ั้



ปอดทง 2 ข้าง เพื่อแลกเปลยนแก๊ส จากนั้นเลอดที่มีแก๊สออกซิเจนสงจะกลับเขาสู่หัวใจห้องบนซ้ายผานลนหัวใจลงสหัวใจ
ห้องล่างซ้ายเพื่อบีบตัวและส่งเลือดไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย)
ขั้นสรุป
1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการหมุนเวียนของเลอดในร่างกาย โดยร่วมกันเขยนเป็นแผนที่ความคดหรือ



ผังมโนทัศน์


2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศกษาคนคว้าเนื้อหาของบทเรียนชวโมงหน้า เพื่อจดการเรียนรู้ครั้งตอไป โดยให้


ั่
นักเรียนศึกษาค้นคว้าล่วงหน้าในหัวข้อระบบหายใจ
3) ครูให้นักเรียนเตรียมประเด็นค าถามที่สงสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 ค าถาม เพื่อน ามาอภิปรายร่วมกันในห้องเรียน
ครั้งต่อไป
10. สื่อการเรียนร ู้
1. ใบกิจกรรม สังเกตอัตราการเต้นของชีพจร
2. คู่มือการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

3. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เลม 1
ี่
4. แบบฝึกทักษะรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีท 2 เล่ม 1
5. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

11. การวดและประเมินผลการเรียนร ู้

ด้านคุณธรรม จริยธรรมและ
ด้านความรู้ (K) ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
จิตวิทยาศาสตร์ (A)
1. ซักถามความรู้เรื่องการหมุนเวียนของ 1. ประเมินเจตคตทางวิทยาศาสตร์เป็น 1. ประเมินทักษะกระบวนการทาง

เลือดในร่างกาย รายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบ วิทยาศาสตร์โดยใช้แบบวัด
2. ตรวจชิ้นงานหรือภาระงานของ วัดเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทาง

กิจกรรมฝึกทักษะระหว่างเรียน 2. ประเมินเจตคติต่อวิทยาศาสตร์เป็น วิทยาศาสตร์
รายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบ 2. ประเมินทักษะการคิดโดยการ
วัดเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ สังเกตการท างานกลุ่ม
3. ประเมินทักษะการแก้ปัญหา

โดยการสังเกตการท างานกลุ่ม
4. ประเมินพฤติกรรมในการปฏิบัต ิ
กิจกรรมเป็นรายบุคคลหรือราย

กลุ่มโดยการสังเกตการทางาน
กลุ่ม

110

บันทึกผลหลังการสอน
สรุปผลการเรียนการสอน

1. นักเรียนจ านวน ..................... คน
ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ..................... คน คิดเป็นร้อยละ .........................
ไม่ผ่านจุดประสงค์ .................................. คน คิดเป็นร้อยละ .........................


2. ด้านความรู้ความเข้าใจ (K)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….……
…………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………


3. ด้านทักษะกระบวนการ (P)
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………….……
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………


4. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………


ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………….……
…………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………


ข้อแนะน า
………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………






ลงชื่อ .......................................................
(นายประสพโชค ประภา)
ต าแหน่ง ครู

111

ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย


ได้จัดท าการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ................ รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ว22101)

แล้วมีความคดเห็นดังนี้
1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท ี่
 มีองค์ประกอบครบ

 มีองค์ประกอบยังไม่ครบ ควรเพิ่มเติม ...................................................................................................

2. การจัดกิจกรรมได้น าเอากระบวนการเรียนรู้

 เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม
 ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป

3. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท ี่

 น าไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรุงก่อนน าไปใช ้


4. ข้อเสนอแนะอื่นๆ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….……
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………
………………………….…………………………………………………………………………………………………………….………………………






ลงชื่อ ..............................................................
(นางลัดดา ผาพันธ์)
ผู้อ านวยการโรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศึกษา

112

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศึกษา

รายวิชา ว22101 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบและความสัมพันธ์ในร่างกายมนุษย์ จ านวน 22 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง กระบวนการหายใจ เวลาสอน 1 ชั่วโมง


ู้
1. มาตรฐานการเรียนร

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัตของสงมีชวิต หน่วยพื้นฐานของสงมีชวิต การลาเลยงสารเข้าและออกจากเซลล ์
ิ่



ิ่

ี่


ี่
ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าทของระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ทท างานสมพันธ์กัน ความสมพันธ์ของโครงสร้าง
และหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ท างานสัมพันธ์กัน รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์
2. ตัวชี้วดชั้นปี

ระบุอวัยวะและบรรยายหน้าที่ของอวัยวะที่เกี่ยวข้องในระบบหายใจ (ว 1.2 ม. 2/1)
3. จุดประสงค์การเรียนร ู้
1. อธิบายหน้าที่ของอวัยวะที่เกี่ยวข้องในระบบหายใจได้ (K)
2. มีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้อยากเห็น (A)
3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ (A)
4. ท างานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ (A)
5. สื่อสารและน าความรู้เรื่องกระบวนการหายใจไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ (P)
4. สาระส าคัญ
ภายในปอดมีถงลมจานวนมาก เมื่ออากาศเขาสปอด บริเวณถุงลมจะมีการแลกเปลยนแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์กับ

ู่

ี่

แก๊สออกซิเจน
5. สาระการเรียนร ู้
ระบบหายใจ
– กระบวนการหายใจ
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์

1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการท างาน
4. มีจิตวิทยาศาสตร์
7. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน

1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา


4. ความสามารถในการใชทักษะ/กระบวนการและทักษะในการด าเนินชีวิต
5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี


113

8. ชิ้นงานหรือภาระงาน
สังเกตลมหายใจออก


9. การจัดกจกรรมการเรียนร ู้

ครูดาเนินการทดสอบก่อนเรียน โดยให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความพร้อมและพื้นฐาน

ของนักเรียน
ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน

1) ครูถามค าถามนักเรียนเพื่อกระตุ้นความสนใจ เช่น
– ขณะที่หัวใจสบฉดเลอดเพื่อลาเลียงไปยังส่วนตางๆ ของร่างกาย ในเลือดมีแก๊สที่เกี่ยวข้องกับการด ารงชีวิต





ของมนุษย์กี่ชนิด อะไรบ้าง (แนวค าตอบ 2 ชนิด คือ แก๊สออกซิเจนและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์)

– เลอดที่หมุนเวียนเข้าสปอดและเลือดทหมุนเวียนออกจากปอดมีลกษณะใด (แนวคาตอบ เลือดที่หมุนเวียน
ู่

ี่

เข้าสู่ปอดมีแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์สูง และเลือดที่หมุนเวียนออกจากปอดมีแก๊สออกซิเจนสูง)
ื่



2) นักเรียนร่วมกันตอบคาถามและแสดงความคดเห็นเกี่ยวกับคาตอบ เพื่อเชอมโยงไปสการเรียนรู้เรื่อง
ู่
กระบวนการหายใจ
ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนร ู้




ั้
จดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใชกระบวนการสบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ร่วมกับแบบกลบดาน ชนเรียน

(flipped classroom) ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
1) ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement)
(1) ครูแบ่งกลมนักเรียนแลวเปดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มน าเสนอข้อมูลเกี่ยวกับระบบหายใจทครูมอบหมายให้ไป
ุ่
ี่


เรียนรู้ล่วงหน้าให้เพื่อนๆ ในกลุ่มฟัง จากนั้นให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมาน าเสนอข้อมูลหน้าห้องเรียน
ี่
(2) ครูตรวจสอบว่านักเรียนท าภาระงานทไดรับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทกของนักเรียน


และถามค าถามเกี่ยวกับภาระงาน ดังนี้
– อวัยวะที่ส าคัญในระบบหายใจมีอะไรบ้าง (แนวค าตอบ จมูก ท่อลม ปอด กะบังลม และกระดูกซี่โครง)
ี่
ี่
ี่


ี่
– ระบบหายใจทาหน้าทอะไร (แนวคาตอบ แลกเปลยนแก๊สทอยู่ภายในร่างกายและแก๊สทอยู่ภายนอก
ร่างกาย)

(3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตงประเดนค าถามที่นักเรียนสงสยจากการทาภาระงานอย่างน้อยคนละ 1 คาถาม ซึ่ง


ั้

ครูให้นักเรียนเตรียมมาล่วงหน้า และให้นักเรียนช่วยกันตอบและแสดงความคิดเห็น
(4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับภาระงาน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า ระบบหายใจประกอบด้วย
ี่

จมูก ท่อลม ปอด กะบังลม และกระดูกซี่โครง ซึ่งทาหน้าทร่วมกันในการแลกเปลยนแก๊สทอยู่ภายในร่างกายและแก๊สทอยู่
ี่
ี่
ี่
ภายนอกร่างกาย
2) ขั้นส ารวจและค้นหา (Exploration)
(1) ครูให้นักเรียนศึกษาเรื่องระบบหายใจ จากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า
ี่


ี่
ี่

ี่
ระบบหายใจทาหน้าทแลกเปลยนแก๊สทอยู่ภายในร่างกายและแก๊สทอยู่ภายนอกร่างกายซึ่งถูกลาเลยงมาพร้อมกับเลอด

แก๊สที่ส าคัญซึ่งเกี่ยวข้องกับการด ารงชีวิตของมนุษย์มี 2 ชนิด คือ แก๊สออกซิเจน และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด ์

(2) ครูอธิบายเพิ่มเตมเกี่ยวกับกระบวนการหายใจให้นักเรียนเข้าใจว่า เมื่อเราหายใจเข้า อากาศจากภายนอก
ร่างกายจะผ่านรูจมูกทั้ง 2 ข้าง เข้าไปตามช่องจมูก โดยขนจมูกและเยื่อในช่องจมูกจะช่วยกรองฝนละอองที่ปนมากับอากาศ
ุ่


ี่
ไว้ จากนั้นอากาศจะผานท่อลมเขาสู่หลอดลมและเข้าสู่ปอดในที่สุด ทปอดมีถุงลมเลก ๆ อยู่เปนจ านวนมากซึ่งมีหลอดเลือด



114

ี่

ฝอยห้อมลอมอยู่ เมื่ออากาศมาถึงบริเวณถุงลม อากาศทมีแก๊สออกซิเจนเข้มข้นมากกว่าจะแพร่ผานผนังถุงลมเข้าสู่หลอด






เลอดฝอย โดยเข้าไปรวมตวกับเฮโมโกลบินในเม็ดเลอดแดง จากนั้นจะไหลไปตามหลอดเลอดกลบเข้าสหัวใจ เพื่อให้หวใจ
ู่

สูบฉีดไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย

ขณะที่เลือดถูกลาเลียงไปตามหลอดเลือดนั้น แก๊สออกซิเจนในเลือดจะแพร่จากเม็ดเลือดแดงเข้าสู่เซลล์ตางๆ ของ





ร่างกาย เมื่อแก๊สออกซิเจนเข้าสเซลลแลว จะทาปฏิกิริยาเผาผลาญสารอาหารทอยู่ภายในเซลล ทาให้สารอาหารปลอย

ี่
ู่

พลังงานออกมา แล้วร่างกายก็น าไปใชในการท ากิจกรรมต่างๆ ซึ่งนอกจากจะได้พลังงานแลว ยังไดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด ์



และน้ าอีกด้วย กระบวนการที่เกิดขึ้นนี้เรียกว่า การหายใจ
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ภายในเซลล์จะแพร่ผ่านผนังหลอดเลือดฝอยเข้าสู่เลือด และล าเลยงไปกับเลือดเข้าสู่หัวใจ



ห้องบนขวา ผ่านหัวใจห้องลางขวาไปยังปอด แล้วแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดก็จะแพร่เข้าสู่ถุงลมในปอด และลาเลียง
ผ่านทางเดินหายใจสู่ภายนอกร่างกายทางลมหายใจออก
(3) ครูแบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5 – 6 คน ปฏิบัติกิจกรรม สังเกตลมหายใจออก ตามขั้นตอน ดังนี้
– น ากระจกเงาที่เช็ดท าความสะอาดจนแห้งแล้ว มาไว้บริเวณปลายจมูก
– หายใจออกรดกระจกเงา แล้วสังเกตสิ่งที่อยู่บนกระจกเงา บันทึกผล



– เป่าลมหายใจออกผานหลอดกาแฟลงในน้ าปูนใส (สารละลายแคลเซียมไฮดรอกไซด) สงเกตการ
เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น บันทึกผล
(4) ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่ได้จากการปฏิบัติกิจกรรม




(5) ครูคอยแนะน าชวยเหลือนักเรียนขณะปฏบัตกิจกรรม โดยครูเดนดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิดโอกาสให้นักเรียน
ทุกคนซักถามเมื่อมีปัญหา
3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation)
(1) นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าห้องเรียน
(2) ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้แนวค าถาม เช่น
– นักเรียนสังเกตเห็นสิ่งใดเมื่อหายใจออกรดกระจกเงา (แนวค าตอบ กระจกเงาเป็นฝ้า)
ี่



– ลมหายใจออกของนักเรียนมีแก๊สชนิดใด สงเกตจากอะไร (แนวคาตอบ แก๊สทออกมากับลมหายใจออก คอ




แก๊สคาร์บอนไดออกไซด สงเกตไดจากเมื่อเป่าลมหายใจลงไปในน้ าปูนใส น้ าปูนใสจะขุ่น ซึ่งเป็นสมบัตของแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์)
(3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัตกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า แก๊สทออกมากับลม

ี่





หายใจทาให้น้ าปูนใสขุ่น ซึ่งเป็นสมบัตของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด ดงนั้นแก๊สทเราหายใจออกมา คอ แก๊ส
ี่
คาร์บอนไดออกไซด ์
4) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration)

นักเรียนคนคว้าคาศพทภาษาตางประเทศเกี่ยวกับกระบวนการหายใจ จากหนังสอเรียนภาษาตางประเทศหรือ






อินเทอร์เน็ต และน าเสนอให้เพื่อนฟัง คัดค าศัพท์พร้อมทั้งค าแปลลงสมุดส่งครู
5) ขั้นประเมิน (Evaluation)
(1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อทเรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจดใดบ้างที่ยังไม่เข้าใจหรือยัง

ี่
มีข้อสงสัย ถ้ามี ครูช่วยอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไขอย่างไรบ้าง

115


(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเหนเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และการน าความรู้ท ี่
ได้ไปใช้ประโยชน์

(4) ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยการให้ตอบค าถาม เช่น
– บริเวณใดของปอดที่มีการแลกเปลี่ยนแก๊ส (แนวค าตอบ ถุงลม)
– ผลผลิตที่ได้จากปฏิกิริยาการหายใจคืออะไร (แนวค าตอบ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ น้ า และพลังงาน)
ขั้นสรุป

ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับกระบวนการหายใจ โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ความคิดหรือผังมโนทัศน์
10. สื่อการเรียนร ู้
1. ใบกิจกรรม สังเกตลมหายใจออก
2. หนังสือเรียนภาษาต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต

3. คู่มือการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1
4. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เลม 1

5. แบบฝึกทักษะรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีท 2 เล่ม 1
ี่
6. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1


11. การวดและประเมินผลการเรียนร ู้

ด้านคุณธรรม จริยธรรมและ
ด้านความรู้ (K) ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
จิตวิทยาศาสตร์ (A)
1. ซักถามความรู้เรื่องกระบวนการ 1. ประเมินเจตคตทางวิทยาศาสตร์เป็น 1. ประเมินทักษะกระบวนการทาง

หายใจ รายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบ วิทยาศาสตร์โดยใช้แบบวัด
2. ตรวจชิ้นงานหรือภาระงานของ วัดเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทาง
กิจกรรมฝึกทักษะระหว่างเรียน 2. ประเมินเจตคติต่อวิทยาศาสตร์เป็น วิทยาศาสตร์
รายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบ 2. ประเมินทักษะการคิดโดยการ

วัดเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ สังเกตการท างานกลุ่ม
3. ประเมินทักษะการแก้ปัญหา
โดยการสังเกตการท างานกลุ่ม
4. ประเมินพฤติกรรมในการปฏิบัต ิ

กิจกรรมเป็นรายบุคคลหรือราย
กลุ่มโดยการสังเกตการทางาน

กลุ่ม

116

บันทึกผลหลังการสอน
สรุปผลการเรียนการสอน

1. นักเรียนจ านวน ..................... คน
ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ..................... คน คิดเป็นร้อยละ .........................
ไม่ผ่านจุดประสงค์ .................................. คน คิดเป็นร้อยละ .........................


2. ด้านความรู้ความเข้าใจ (K)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….……
…………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………


3. ด้านทักษะกระบวนการ (P)
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………….……
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………


4. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………


ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………….……
…………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………


ข้อแนะน า
………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………






ลงชื่อ .......................................................
(นายประสพโชค ประภา)
ต าแหน่ง ครู

117

ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย


ได้จัดท าการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ................ รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ว22101)

แล้วมีความคดเห็นดังนี้
1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท ี่
 มีองค์ประกอบครบ

 มีองค์ประกอบยังไม่ครบ ควรเพิ่มเติม ...................................................................................................

2. การจัดกิจกรรมได้น าเอากระบวนการเรียนรู้

 เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม
 ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป

3. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท ี่

 น าไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรุงก่อนน าไปใช ้


4. ข้อเสนอแนะอื่นๆ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….……
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………
………………………….…………………………………………………………………………………………………………….………………………






ลงชื่อ ..............................................................
(นางลัดดา ผาพันธ์)
ผู้อ านวยการโรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศึกษา

118


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศึกษา

รายวิชา ว22101 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบและความสัมพันธ์ในร่างกายมนุษย์ จ านวน 22 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง กลไกการหายใจ เวลาสอน 1 ชั่วโมง


ู้
1. มาตรฐานการเรียนร

ิ่

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัตของสงมีชวิต หน่วยพื้นฐานของสงมีชวิต การลาเลยงสารเข้าและออกจากเซลล ์
ิ่



ี่
ี่


ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าทของระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ทท างานสมพันธ์กัน ความสมพันธ์ของโครงสร้าง
และหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ท างานสัมพันธ์กัน รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์
2. ตัวชี้วดชั้นปี

อธิบายกลไกการหายใจเข้าและออก โดยใช้แบบจ าลอง รวมทั้งอธิบายกระบวนการแลกเปลี่ยนแก๊ส (ว 1.2 ม. 2/2)
3. จุดประสงค์การเรียนร ู้
1. อธิบายกลไกการหายใจเข้าและออกได้ (K)
2. มีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้อยากเห็น (A)
3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ (A)
4. ท างานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ (A)
5. สื่อสารและน าความรู้เรื่องกลไกการหายใจไปใชในชีวิตประจ าวันได้ (P)

4. สาระส าคัญ
การหายใจเข้าและออกเกิดจากการท างานประสานกันของกล้ามเนื้อกะบังลมกับกล้ามเนื้อยึดกระดูกซี่โครง
5. สาระการเรียนร ู้
ระบบหายใจ

– กลไกการหายใจ
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย

2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการท างาน
4. มีจิตวิทยาศาสตร์
7. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน

1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา

4. ความสามารถในการใชทักษะ/กระบวนการและทักษะในการด าเนินชีวิต
5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี


119


8. ชิ้นงานหรือภาระงาน
สังเกตแบบจ าลองการเคลื่อนที่ของอากาศเข้าและออกจากปอด


9. การจัดกจกรรมการเรียนร ู้


ครูดาเนินการทดสอบก่อนเรียน โดยให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความพร้อมและพื้นฐาน
ของนักเรียน
ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน

1) ครูให้นักเรียนทบทวนความรู้เดิมที่ได้เรียนรู้มาแล้วโดยใช้ค าถามต่อไปนี้
– การแลกเปลี่ยนแก๊สออกซิเจนและแก๊สคาร์บอนไดออกไซดเกิดขึ้นบริเวณใด (แนวค าตอบ การแลกเปลยน

ี่
แก๊สออกซิเจนและแก๊สคาร์บอนไดออกไซดเกิดขึ้น 2 บริเวณ คอ ระหว่างถุงลมในปอดกับหลอดเลอดฝอย และระหว่าง



หลอดเลือดฝอยกับเซลล์)
– การแลกเปลี่ยนแก๊สออกซิเจนและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เกิดขึ้นโดยวิธีใด (แนวค าตอบ กระบวนการแพร่)


ื่
2) นักเรียนร่วมกันตอบคาถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคาตอบ เพื่อเชอมโยงไปสู่การเรียนรู้เรื่อง กลไกการ
หายใจ
ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนร ู้
ั้





จดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใชกระบวนการสบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ร่วมกับแบบกลบดาน ชนเรียน
(flipped classroom) ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
1) ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement)
(1) ครูถามค าถามนักเรียนเพื่อกระตุ้นความสนใจ เช่น
– การหายใจเข้าและออกส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาตรในช่องอกหรือไม่ (แนวค าตอบ ส่งผล)
– การหายใจเข้าและออกส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาตรในช่องอกลักษณะใด (แนวคาตอบ การหายใจเขา


ท าให้ปริมาตรในช่องอกเพิ่มขึ้น และการหายใจออกท าให้ปริมาตรในช่องอกลดลง)
(2) นักเรียนร่วมกันอภิปรายหาค าตอบเกี่ยวกับค าถามตามความคิดเห็นของแต่ละคน
2) ขั้นส ารวจและค้นหา (Exploration)




(1) ครูให้นักเรียนศกษาเรื่องกลไกการหายใจ จากใบความรู้หรือในหนังสอเรียน โดยครูชวยอธิบายให้นักเรียน

เข้าใจว่า ในขณะที่เราสูดลมหายใจเข้า กลามเนื้อกะบังลมจะหดตว และกลามเนื้อยึดกระดูกซี่โครงจะดึงกระดูกซี่โครงให้ยก











ตวขึ้น ชองอกจงขยาย ทาให้ปริมาตรในชองอกเพิ่มขึ้น สงผลให้ความดนในชองอกลดลง อากาศภายนอกร่างกายจง
ี่

เคลื่อนทเขาสจมูก ผ่านทอลม และเข้าสู่ปอดในจังหวะการหายใจเข้า แต่ในขณะที่เราปลอยลมหายใจออก กล้ามเนื้อกะบัง

ู่

ลมและกลามเนื้อยึดกระดกซี่โครงจะคลายตวกลบสสภาพเดม ทาให้ปริมาตรในชองอกลดลง สงผลให้ความดนในชองอก









ู่

เพิ่มขึ้น อากาศจากปอดจึงเคลื่อนที่เข้าสู่ท่อลม และออกสู่ภายนอกร่างกายทางจมูกในจังหวะการหายใจออก
ื่
ี่


ุ่

(2) ครูแบ่งนักเรียนกลมละ 5–6– คน ปฏิบัตกิจกรรม สงเกตแบบจาลองการเคลอนทของอากาศเข้าและออก
จากปอด ตามขั้นตอน ดังนี้




– จัดอุปกรณแบบจาลองการทางานของปอด ดงรูป ยกกล่องพลาสตกขึ้น ใชมือดงแผนยางลงชา ๆ แลวสงเกต







ลูกโป่งในกล่องพลาสติก
– ปล่อยแผ่นยางสู่สภาพเดิม จากนั้นใช้นิ้วดันแผ่นยางขึ้น พร้อมกับสังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นและบันทึกผล
(3) ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่ได้จากการปฏิบัติกิจกรรม

120






(4) ครูคอยแนะน าชวยเหลือนักเรียนขณะปฏบัตกิจกรรม โดยครูเดนดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิดโอกาสให้นักเรียน
ทุกคนซักถามเมื่อมีปัญหา
3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation)
(1) นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าห้องเรียน
(2) ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้แนวค าถาม เช่น


– เมื่อดึงแผนยางลง ปริมาตรและความดันของอากาศภายในกลองพลาสตกเปลี่ยนแปลงในลกษณะใด (แนว



ึ้
ค าตอบ เมื่อดึงแผนยางลง ปริมาตรของอากาศในกล่องพลาสตกจะเพิ่มขน ทาให้ความดันของอากาศภายในลดลงและน้อย





ื่
ี่



กว่าความดนของอากาศภายนอก อากาศภายนอกจงเคลอนทเข้าหลอดแก้วรูปตววายและผานไปยังลกโป่ง ทาให้ลกโป่ง

พองออก)

– เมื่อปริมาตรของอากาศภายในกล่องพลาสติกลดลงจะสงผลต่อลกโป่งภายในกล่องพลาสตกหรือไม่ ลักษณะ


ใด (แนวค าตอบ ส่งผล คือ ท าให้ลูกโป่งแฟบลง)





– ถ้าเราใชนิ้วอุดปากหลอดแก้วรูปตววายแลวดนแผนยางขึ้น ลกโป่งภายในกลองพลาสตกจะมีการ



เปลี่ยนแปลงหรือไม่ เพราะอะไร (แนวค าตอบ ลูกโป่งไม่มีการเปลี่ยนแปลง เพราะอากาศเข้าหรือออกจากลูกโป่งไม่ได้)
ี่
(3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเขาใจว่า การเปลยนแปลงปริมาตร




ของอากาศและความดนของอากาศในกล่องพลาสติกมีผลต่อลกโป่ง กลาวคอ ลกโป่งจะพองออกเมื่อปริมาตรของอากาศใน





กลองพลาสตกเพิ่มขึ้นและความดนของอากาศในกลองพลาสตกลดลง ลกโป่งจะแฟบลงเมื่อปริมาตรของอากาศภายใน



กล่องพลาสติกลดลงและความดันของอากาศในกล่องพลาสติกเพิ่มขึ้น
4) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration)







นักเรียนคนคว้าคาศพทภาษาตางประเทศเกี่ยวกับกลไกการหายใจ จากหนังสอเรียนภาษาตางประเทศหรือ
อินเทอร์เน็ต และน าเสนอให้เพื่อนฟัง คัดค าศัพท์พร้อมทั้งค าแปลลงสมุดส่งครู
5) ขั้นประเมิน (Evaluation)
ี่
(1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อทเรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจดใดบ้างที่ยังไม่เข้าใจหรือยัง

มีข้อสงสัย ถ้ามี ครูช่วยอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไขอย่างไรบ้าง
(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเหนเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และการน าความรู้ท ี่

ได้ไปใช้ประโยชน์
(4) ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยการให้ตอบค าถาม เช่น

ื่

ี่
– การเคลอนทของอากาศเข้าและออกจากปอดจาเป็นตองอาศยการทางานของอวัยวะใดในร่างกาย (แนว


ค าตอบ กระดูกซี่โครงและกะบังลม)


ึ้
– ขณะที่กลามเนื้อกะบังลมหดตว กระดกซี่โครงยกตัวขึ้น ทาให้ปริมาตรในชองอกเพิ่มขน ความดันในช่องอก



ลดลง อากาศภายนอกจึงผ่านเข้าสู่ปอด เป็นจังหวะใดของการหายใจ (แนวค าตอบ การหายใจเข้า)
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับกลไกการหายใจ โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ความคิดหรือผังมโนทัศน์

121


10. สื่อการเรียนร ู้
1. ใบกิจกรรม สังเกตแบบจ าลองการเคลื่อนทของอากาศเขาและออกจากปอด
ี่

2. หนังสือเรียนภาษาต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต
3. คู่มือการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1
ี่

4. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีท 2 เลม 1
5. แบบฝึกทักษะรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีท 2 เล่ม 1
ี่
6. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1
11. การวดและประเมินผลการเรียนร ู้


ด้านคุณธรรม จริยธรรมและ
ด้านความรู้ (K) ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
จิตวิทยาศาสตร์ (A)

1. ซักถามความรู้เรื่องกลไกการหายใจ 1. ประเมินเจตคตทางวิทยาศาสตร์เป็น 1. ประเมินทักษะกระบวนการทาง
2. ตรวจชิ้นงานหรือภาระงานของ รายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบ วิทยาศาสตร์โดยใช้แบบวัด
กิจกรรมฝึกทักษะระหว่างเรียน วัดเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทาง
2. ประเมินเจตคติต่อวิทยาศาสตร์เป็น วิทยาศาสตร์

รายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบ 2. ประเมินทักษะการคิดโดยการ
วัดเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ สังเกตการท างานกลุ่ม
3. ประเมินทักษะการแก้ปัญหา
โดยการสังเกตการท างานกลุ่ม
4. ประเมินพฤติกรรมในการปฏิบัต ิ

กิจกรรมเป็นรายบุคคลหรือราย

กลุ่มโดยการสังเกตการทางาน
กลุ่ม

122


บันทึกผลหลังการสอน
สรุปผลการเรียนการสอน

1. นักเรียนจ านวน ..................... คน
ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ..................... คน คิดเป็นร้อยละ .........................
ไม่ผ่านจุดประสงค์ .................................. คน คิดเป็นร้อยละ .........................


2. ด้านความรู้ความเข้าใจ (K)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….……
…………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………


3. ด้านทักษะกระบวนการ (P)
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………….……
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………


4. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………


ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………….……
…………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………


ข้อแนะน า
………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………






ลงชื่อ .......................................................
(นายประสพโชค ประภา)
ต าแหน่ง ครู

123


ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย


ได้จัดท าการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ................ รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ว22101)

แล้วมีความคดเห็นดังนี้
1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท ี่
 มีองค์ประกอบครบ

 มีองค์ประกอบยังไม่ครบ ควรเพิ่มเติม ...................................................................................................

2. การจัดกิจกรรมได้น าเอากระบวนการเรียนรู้

 เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม
 ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป

3. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท ี่

 น าไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรุงก่อนน าไปใช ้


4. ข้อเสนอแนะอื่นๆ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….……
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………
………………………….…………………………………………………………………………………………………………….………………………






ลงชื่อ ..............................................................
(นางลัดดา ผาพันธ์)
ผู้อ านวยการโรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศึกษา

124


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศึกษา

รายวิชา ว22101 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบและความสัมพันธ์ในร่างกายมนุษย์ จ านวน 22 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ความจุอากาศของปอด เวลาสอน 1 ชั่วโมง


1. มาตรฐานการเรียนร
ู้
มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัตของสงมีชวิต หน่วยพื้นฐานของสงมีชวิต การลาเลยงสารเข้าและออกจากเซลล ์


ิ่


ิ่



ี่
ี่
ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าทของระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ทท างานสมพันธ์กัน ความสมพันธ์ของโครงสร้าง
และหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ท างานสัมพันธ์กัน รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์
2. ตัวชี้วดชั้นปี

อธิบายกลไกการหายใจเข้าและออก โดยใช้แบบจ าลอง รวมทั้งอธิบายกระบวนการแลกเปลี่ยนแก๊ส (ว 1.2 ม. 2/2)
3. จุดประสงค์การเรียนร ู้
1. วัดความจุอากาศของปอดได้ (K)
2. บอกปัจจัยที่มีผลต่อความจุอากาศของปอดได้ (K)
3. มีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้อยากเห็น (A)
4. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ (A)
5. ท างานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ (A)
6. สื่อสารและน าความรู้เรื่องความจุอากาศของปอดไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ (P)
4. สาระส าคัญ
ความจุอากาศของปอดของแต่ละบุคคลแตกต่างกันขึ้นอยู่กับปัจจยหลายประการ เช่น เพศ อายุ ขนาดของร่างกาย

การออกก าลังกาย และโรคบางชนิด

5. สาระการเรียนร ู้
ระบบหายใจ
– กลไกการหายใจ

6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการท างาน
4. มีจิตวิทยาศาสตร์

7. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา

4. ความสามารถในการใชทักษะ/กระบวนการและทักษะในการด าเนินชีวิต

125


5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

8. ชิ้นงานหรือภาระงาน

1. สังเกตความจุอากาศของปอด
2. สืบค้นข้อมูลความจุอากาศของปอด


9. การจัดกจกรรมการเรียนร ู้
ครูดาเนินการทดสอบก่อนเรียน โดยให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความพร้อมและพื้นฐาน


ของนักเรียน
ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน
1) ครูถามค าถามนักเรียนเพื่อกระตุ้นความสนใจ เช่น
– นักเรียนเคยเห็นการแข่งขันเป่าลูกโป่งหรือไม่ (แนวค าตอบ เคย)

– ถ้าเด็กและผู้ใหญ่แข่งขันกันเป่าลูกโป่ง นักเรียนคิดว่าใครจะเป่าลูกโป่งแตกได้ก่อน (แนวค าตอบ ผู้ใหญ่)



– เพราะอะไรผใหญ่จงเป่าลกโป่งแตกไดก่อน (แนวคาตอบ เพราะมีปริมาตรของอากาศอยู่ภายในปอด
ู้

มากกว่า จึงเป่าอากาศออกมาได้มากกว่า ท าให้ลูกโป่งแตกได้ก่อน)
ื่
ู่



2) นักเรียนร่วมกันตอบคาถามและแสดงความคดเห็นเกี่ยวกับคาตอบ เพื่อเชอมโยงไปสการเรียนรู้เรื่อง ความจ ุ
อากาศของปอด
ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนร ู้


จดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใชกระบวนการสบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ร่วมกับแบบกลบดาน ชนเรียน


ั้

(flipped classroom) ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
1) ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement)
(1) ครูถามค าถามนักเรียนเพื่อกระตุ้นความสนใจ เช่น

ี่



– นอกจากอายุแลว ยังมีปัจจยอื่นอีกหรือไม่ททาให้แตละบุคคลมีความจอากาศของปอดไม่เทากัน (แนว


ค าตอบ มี)
– ยกตวอย่างปัจจยอื่นนอกจากอายุที่ทาให้แต่ละบุคคลมีความจุอากาศของปอดไม่เทากัน (แนวคาตอบ เพศ





และขนาดของร่างกาย)
(2) นักเรียนร่วมกันอภิปรายหาค าตอบเกี่ยวกับค าถามตามความคิดเห็นของแต่ละคน
2) ขั้นส ารวจและค้นหา (Exploration)
ี่

(1) ครูให้นักเรียนศกษาเรื่องสัดส่วนของแก๊สบางชนิดทอยู่ในลมหายใจเข้าและลมหายใจออก จากใบความรู้หรือใน

หนังสือเรียน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า แก๊สหลายชนิดที่เปนส่วนประกอบของอากาศ เช่น แก๊สไนโตรเจน แก๊ส

ออกซิเจน และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด แก๊สเหล่านี้จะเข้าสู่ปอดเมื่อเราหายใจเข้า และออกจากปอดสู่ภายนอกร่างกายเมื่อ
เราหายใจออกโดยมีสัดส่วนที่ไม่เท่ากัน
(2) ครูแบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5 – 6 คน ปฏิบัติกิจกรรม สังเกตความจุอากาศของปอด ตามขั้นตอน ดังนี้
– ตวงน้ าใสขวดให้เตมดวยบีกเกอร์ขนาด 500 ลกบาศก์เซนตเมตร ทาเครื่องหมายไว้ทก ๆ 500 ลกบาศก์








เซนติเมตรของน้ าที่เติม

– เติมน้ าในกะละมังให้สง 10 เซนติเมตร แล้วคว่ าขวดที่ใส่น้ าเต็มลงในกะละมัง น าปลายสายยางข้างหนึ่งใส่ไว้
ที่ปากขวด

126


ี่

– สูดลมหายใจเข้าปอดให้เต็มที่แล้วเปาลมหายใจออกให้มากทสุดเพียงครั้งเดียวทางปลายสายยางอีกข้างหนึ่ง
สังเกตผลที่เกิดขึ้น และวัดปริมาตรของอากาศที่หายใจออกไปแทนที่น้ าในขวด


– ดาเนินการเชนเดยวกับข้อ 1 – 3 อีก 2 ครั้ง และหาคาเฉลย น าข้อมูลทไดมาเปรียบเทยบกันระหว่าง

ี่
ี่



นักเรียนเพศชายกับเพศหญิง
(3) ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่ได้จากการปฏิบัติกิจกรรม

(4) ครูคอยแนะน าชวยเหลือนักเรียนขณะปฏบัตกิจกรรม โดยครูเดนดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิดโอกาสให้นักเรียน



ทุกคนซักถามเมื่อมีปัญหา
3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation)
(1) นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าห้องเรียน
(2) ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้แนวค าถาม เช่น
– การวัดปริมาตรของอากาศในการหายใจออกใช้วิธีใด (แนวค าตอบ เป่าลมหายใจออกไปแทนที่น้ าในขวด)


– นักเรียนมีวิธีการอย่างไรจงจะทาให้คาทไดถูกต้องมากทสุด (แนวคาตอบ ท าสเกลที่ขวดบรรจน้ าให้ถูกต้อง


ี่

ี่

และชัดเจน สูดลมหายใจเข้าปอดให้เต็มทแล้วเปาลมหายใจออกให้มากทสุด)

ี่
ี่
– ถ้านักเรียนต้องการตรวจสอบว่า อายุ เพศ ขนาดของร่างกาย และกิจกรรมที่ท ามีผลตอปริมาตรของอากาศ

ี่
ี่




ทหายใจออกหรือไม่ นักเรียนจะออกแบบการทดลองอย่างไร (แนวคาตอบ ทาการทดลองเหมือนกิจกรรมนี้แตเปลยนตว
ี่
แปร เชน ถ้าอยากทราบว่า เพศทแตกต่างกันจะมีปริมาตรของอากาศทหายใจออกแตกต่างกันหรือไม่ ตองก าหนดตัวแปร

ี่

ดงนี้ ตวแปรตน เพศชายและเพศหญิง กลมละ 4 – 5 คน เพื่อหาคาเฉลย ตวแปรตาม ปริมาตรของอากาศในการหายใจ


ี่



ุ่
ออก และตัวแปรควบคุม อายุ สภาพของร่างกาย เช่น ขณะพัก ความแข็งแรงของร่างกาย น้ าหนัก ส่วนสูงต้องใกล้เคียงกัน)


(3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัตกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเขาใจว่า ปริมาตรของอากาศใน


การหายใจออกเต็มที่ของแตละบุคคลไม่เทากัน ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาตรของอากาศในการหายใจออก ได้แก่ อายุ เพศ ขนาด
ของร่างกาย การออกก าลังกาย และโรคบางชนิด
4) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration)




ครูให้นักเรียนสบคนข้อมูลเกี่ยวกับความจอากาศของปอด จากหนังสอ วารสาร สารานุกรมวิทยาศาสตร์
สารานุกรมไทยส าหรับเยาวชน หรืออินเทอร์เน็ตแล้วน าข้อมูลที่ได้มาน าเสนอหน้าห้องเรียน
5) ขั้นประเมิน (Evaluation)
ี่

(1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อทเรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจดใดบ้างที่ยังไม่เข้าใจหรือยัง
มีข้อสงสัย ถ้ามี ครูช่วยอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไขอย่างไรบ้าง

(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเหนเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และการน าความรู้ท ี่
ได้ไปใช้ประโยชน์
(4) ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยการให้ตอบค าถาม เช่น
– แก๊สแต่ละชนิดในอากาศทหายใจเขาและออกมีปริมาตรเท่ากันหรือไม่ ลักษณะใด (แนวค าตอบ มีปริมาตร
ี่

ไม่เท่ากัน โดยแก๊สออกซิเจนในลมหายใจเข้ามีปริมาตรมากกว่าในลมหายใจออก แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในลมหายใจออก
มีปริมาตรมากกว่าในลมหายใจเข้า และแก๊สไนโตรเจนในลมหายใจเข้าและออกมีปริมาตรเท่ากัน)
ี่
– ยกตัวอย่างกิจกรรมทช่วยท าให้ความจุอากาศของปอดเพิ่มขึ้น (แนวค าตอบ การว่ายน้ า)

127


ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับความจุอากาศของปอด โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ความคิดหรือผังมโนทัศน์

10. สื่อการเรียนร ู้
1. ใบกิจกรรม สังเกตความจุอากาศของปอด
2. หนังสือ วารสาร สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยส าหรับเยาวชน หรืออินเทอร์เน็ต
3. คู่มือการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

4. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เลม 1

5. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

11. การวดและประเมินผลการเรียนร ู้

ด้านคุณธรรม จริยธรรมและ
ด้านความรู้ (K) ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
จิตวิทยาศาสตร์ (A)

1. ซักถามความรู้เรื่องความจุอากาศของ 1. ประเมินเจตคตทางวิทยาศาสตร์เป็น 1. ประเมินทักษะกระบวนการทาง

ปอด รายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบ วิทยาศาสตร์โดยใช้แบบวัด
2. ตรวจชิ้นงานหรือภาระงานของ วัดเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทาง

กิจกรรมฝึกทักษะระหว่างเรียน 2. ประเมินเจตคติต่อวิทยาศาสตร์เป็น วิทยาศาสตร์
รายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบ 2. ประเมินทักษะการคิดโดยการ
วัดเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ สังเกตการท างานกลุ่ม
3. ประเมินทักษะการแก้ปัญหา

โดยการสังเกตการท างานกลุ่ม
4. ประเมินพฤติกรรมในการปฏิบัต ิ
กิจกรรมเป็นรายบุคคลหรือราย

กลุ่มโดยการสังเกตการทางาน
กลุ่ม

128


บันทึกผลหลังการสอน
สรุปผลการเรียนการสอน

1. นักเรียนจ านวน ..................... คน
ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ..................... คน คิดเป็นร้อยละ .........................
ไม่ผ่านจุดประสงค์ .................................. คน คิดเป็นร้อยละ .........................


2. ด้านความรู้ความเข้าใจ (K)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….……
…………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………


3. ด้านทักษะกระบวนการ (P)
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………….……
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………


4. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………


ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………….……
…………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………


ข้อแนะน า
………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………






ลงชื่อ .......................................................
(นายประสพโชค ประภา)
ต าแหน่ง ครู

129


ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย


ได้จัดท าการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ................ รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ว22101)

แล้วมีความคดเห็นดังนี้
1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท ี่
 มีองค์ประกอบครบ

 มีองค์ประกอบยังไม่ครบ ควรเพิ่มเติม ...................................................................................................

2. การจัดกิจกรรมได้น าเอากระบวนการเรียนรู้

 เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม
 ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป

3. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท ี่

 น าไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรุงก่อนน าไปใช ้


4. ข้อเสนอแนะอื่นๆ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….……
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………
………………………….…………………………………………………………………………………………………………….………………………






ลงชื่อ ..............................................................
(นางลัดดา ผาพันธ์)
ผู้อ านวยการโรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศึกษา

130


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 18
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศึกษา

รายวิชา ว22101 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบและความสัมพันธ์ในร่างกายมนุษย์ จ านวน 22 ชั่วโมง
ื่
แผนการจัดการเรียนรู้ เรอง โรคถุงลมโป่งพอง เวลาสอน 1 ชั่วโมง


1. มาตรฐานการเรียนร
ู้
ิ่


มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัตของสงมีชวิต หน่วยพื้นฐานของสงมีชวิต การลาเลยงสารเข้าและออกจากเซลล ์


ิ่


ี่
ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าทของระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ทท างานสมพันธ์กัน ความสมพันธ์ของโครงสร้าง

ี่
และหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ท างานสัมพันธ์กัน รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์
2. ตัวชี้วดชั้นปี


ตระหนักถึงความสาคญของระบบหายใจ โดยการบอกแนวทางในการดแลรักษาอวัยวะในระบบหายใจให้ทางาน



เป็นปกติ (ว 1.2 ม. 2/3)
3. จุดประสงค์การเรียนร ู้
1. อธิบายอันตรายของสารเจือปนในอากาศและบอกวิธีการป้องกันสารเจือปนในอากาศเข้าสู่ร่างกายได้ (K)
2. มีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้อยากเห็น (A)
3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ (A)
4. ท างานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ (A)
5. สื่อสารและน าความรู้เรื่องโรคถุงลมโป่งพองไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ (P)
4. สาระส าคัญ
การสบบุหรี่ การสูดอากาศทมีสารปนเปื้อน และการเป็นโรคเกี่ยวกับระบบหายใจบางโรคอาจท าให้เกิดโรคถุงลม

ี่
โป่งพอง ซึ่งส่งผลให้ความจุอากาศของปอดลดลง
5. สาระการเรียนร ู้
ระบบหายใจ
– กลไกการหายใจ

6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการท างาน
4. มีจิตวิทยาศาสตร์

7. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี


131


8. ชิ้นงานหรือภาระงาน
สืบค้นข้อมูลสารเจือปนในอากาศ

9. การจัดกจกรรมการเรียนร ู้



ครูดาเนินการทดสอบก่อนเรียน โดยให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความพร้อมและพื้นฐาน
ของนักเรียน
ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน

1) ครูให้นักเรียนทบทวนความรู้เดิมที่ได้เรียนรู้มาแล้วโดยใช้ค าถามต่อไปนี้

– ปัจจยใดททาให้ความจอากาศของปอดของแตละบุคคลแตกตางกัน (แนวคาตอบ เพศ อายุ ขนาดของ





ี่
ร่างกาย การออกก าลังกาย และโรคบางชนิด)
– ยกตัวอย่างโรคทท าให้ความจุอากาศของปอดลดลง (แนวค าตอบ โรคมะเร็งปอด โรคหอบหืด โรคถุงลมโป่ง
ี่
พอง โรคหลอดลมอักเสบ และโรควัณโรค)
ื่


2) นักเรียนร่วมกันตอบค าถามและแสดงความคิดเหนเกี่ยวกับคาตอบ เพื่อเชอมโยงไปสการเรียนรู้เรื่อง โรคถุงลม
ู่
โป่งพอง
ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนร ู้
จดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใชกระบวนการสบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ร่วมกับแบบกลบดาน ชนเรียน
ั้





(flipped classroom) ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
1) ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement)
(1) ครูถามค าถามนักเรียนเพื่อกระตุ้นความสนใจ เช่น

– โรคถุงลมโป่งพองท าให้ความจุอากาศของปอดลดลงเพราะอะไร (แนวค าตอบ เพราะหายใจเอาแก๊สพิษเขา
ไปในปอด ซึ่งแก๊สพิษจะไปท าให้ถุงลมถูกท าลายและทะลุถึงกัน จนพื้นที่แลกเปลี่ยนแก๊สลดลง)
(2) นักเรียนร่วมกันอภิปรายหาค าตอบเกี่ยวกับค าถามตามความคิดเห็นของแต่ละคน
2) ขั้นส ารวจและค้นหา (Exploration)

(1) ครูให้นักเรียนศกษาเรื่องโรคถุงลมโป่งพอง จากใบความรู้หรือในหนังสอเรียน โดยครูชวยอธิบายให้นักเรียน




ี่
เขาใจว่า โรคถุงลมโป่งพองเป็นโรคหนึ่งททาให้ความจอากาศของปอดลดลง เกิดจากการหายใจเอาแก๊สพิษเข้าไปในปอด





เชน แก๊สจากทอไอเสยของรถยนต จากโรงงานอุตสาหกรรม หรือจากควันบุหรี่ โดยเฉพาะจากควันบุหรี่ แก๊สเหล่านี้จะไป

ี่




ี่
ท าให้ถงลมถกทาลายและทะลถึงกัน จนพื้นทแลกเปลยนแก๊สลดลง เกิดอาการเหนื่อยหอบ บางรายอาจทาให้เป็นมะเร็งใน
ปอดและหัวใจวายได ้


(2) ครูอธิบายเรื่องน่ารู้ เรื่องการสบบหรี่ให้นักเรียนเข้าใจว่า การสบบหรี่ เปนอันตรายต่อระบบหายใจ เนื่องจากมี





สารพิษทเป็นอันตรายหลายชนิด เชน นิโคตน ทาร์ แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด และสารอื่นๆ เชน สารระคายเคอง สารหนู

ี่


และสารฆ่าแมลง
(3) ครูแบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5 – 6 คน ปฏิบัติกิจกรรม สืบค้นข้อมูลสารเจือปนในอากาศ ตามขั้นตอน ดังนี้
– สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสารเจือปนในอากาศ โดยค้นคว้าในประเด็นต่างๆ ต่อไปนี้
 ชนิดของสารเจือปนในอากาศ
 อันตรายของสารเจือปนในอากาศ
 วิธีการป้องกันสารเจือปนในอากาศเข้าสู่ร่างกาย

132


– น าข้อมูลที่ได้มาอภิปรายร่วมกัน แล้วน าเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าห้องเรียน
(4) ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่ได้จากการปฏิบัติกิจกรรม



(5) ครูคอยแนะน าชวยเหลือนักเรียนขณะปฏบัตกิจกรรม โดยครูเดนดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิดโอกาสให้นักเรียน


ทุกคนซักถามเมื่อมีปัญหา
3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation)
(1) นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าห้องเรียน
(2) ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้แนวค าถาม เช่น
– ยกตัวอย่างกิจกรรมที่ก่อให้เกิดสารเจือปนในอากาศ (แนวค าตอบ การสูบบุหรี่ การเผาขยะ การใช้รถยนต์)




ี่
– ถ้านักเรียนอยู่ในบริเวณทมีสารเจอปนในอากาศจะมีวิธีการป้องกันตนเองอย่างไร (แนวคาตอบ ใชผาปิด
ปากและจมูกไว้)
(3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเขาใจว่า สารเจือปนในอากาศ เชน


ฝุ่นละออง เขม่า ควัน แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ถ้ามีปริมาณมากกว่า
เกณฑ์ที่ก าหนดจะส่งผลเสียต่ออวัยวะในระบบหายใจ
4) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration)
(1) ครูอธิบายเรื่องน่ารู้ เรื่องควันบุหรี่มือสองให้นักเรียนเข้าใจว่า ควันบุหรี่มือสอง คอ ควันบุหรี่ทผสบบุหรี่พ่น
ู้
ี่



ออกมาและควันบุหรี่ที่ลอยออกจากปลายมวนบุหรี่ ซึ่งส่งผลร้ายแรงกว่าผู้สูบบุหรี่เข้าทางปอด ในแต่ละปีมีผที่ไม่ไดสูบบุหรี่
ู้


ี่
ี่
หลายแสนคนตองเสยชีวิตดวยโรคทเกิดจากการได้รับควันบุหรี่มือสอง เนื่องจากสดดมสารก่อมะเร็งทอยู่ในควันบุหรี่เข้าส ู่


ร่างกาย



(2) นักเรียนค้นคว้าคาศพทภาษาตางประเทศเกี่ยวกับโรคถุงลมโป่งพอง จากหนังสอเรียนภาษาตางประเทศหรือ



อินเทอร์เน็ต และน าเสนอให้เพื่อนฟัง คัดค าศัพท์พร้อมทั้งค าแปลลงสมุดส่งครู
5) ขั้นประเมิน (Evaluation)
ี่
(1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อทเรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจดใดบ้างที่ยังไม่เข้าใจหรือยัง

มีข้อสงสัย ถ้ามี ครูช่วยอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไขอย่างไรบ้าง

(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเหนเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และการน าความรู้ท ี่
ได้ไปใช้ประโยชน์
(4) ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยการให้ตอบค าถาม เช่น
– เพราะเหตุใดโรคถุงลมโป่งพองจึงท าให้ความจุอากาศของปอดลดลง (แนวค าตอบ เพราะถุงลมถูกท าลาย)
ี่
– ยกตัวอย่างพฤติกรรมทเสี่ยงต่อการเป็นโรคถุงลมโป่งพอง (แนวค าตอบ การสูบบุหรี่)
ขั้นสรุป
1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับโรคถุงลมโป่งพอง โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ความคิดหรือผังมโนทัศน์
2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศกษาคนคว้าเนื้อหาของบทเรียนชวโมงหน้า เพื่อจดการเรียนรู้ครั้งตอไป โดยให้
ั่




นักเรียนศึกษาค้นคว้าล่วงหน้าในหัวข้อระบบขับถ่าย
3) ครูให้นักเรียนเตรียมประเด็นค าถามที่สงสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 ค าถาม เพื่อน ามาอภิปรายร่วมกันในห้องเรียน
ครั้งต่อไป

133


10. สื่อการเรียนร ู้
1. ใบกิจกรรม สืบค้นข้อมูลสารเจือปนในอากาศ

2. หนังสือเรียนภาษาต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต
3. คู่มือการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1
4. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เลม 1

5. แบบฝึกทักษะรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีท 2 เล่ม 1
ี่
6. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

11. การวดและประเมินผลการเรียนร ู้

ด้านคุณธรรม จริยธรรมและ
ด้านความรู้ (K) ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
จิตวิทยาศาสตร์ (A)
1. ซักถามความรู้เรื่องโรคถุงลมโป่งพอง 1. ประเมินเจตคตทางวิทยาศาสตร์เป็น 1. ประเมินทักษะการคิดโดยการ

2. ตรวจชิ้นงานหรือภาระงานของ รายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบ สังเกตการท างานกลุ่ม
กิจกรรมฝึกทักษะระหว่างเรียน วัดเจตคติทางวิทยาศาสตร์ 2. ประเมินพฤติกรรมในการปฏิบัต ิ
2. ประเมินเจตคติต่อวิทยาศาสตร์เป็น กิจกรรมเป็นรายบุคคลหรือราย

รายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบ กลุ่มโดยการสังเกตการทางาน

วัดเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ กลุ่ม

134


บันทึกผลหลังการสอน
สรุปผลการเรียนการสอน

1. นักเรียนจ านวน ..................... คน
ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ..................... คน คิดเป็นร้อยละ .........................
ไม่ผ่านจุดประสงค์ .................................. คน คิดเป็นร้อยละ .........................


2. ด้านความรู้ความเข้าใจ (K)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….……
…………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………


3. ด้านทักษะกระบวนการ (P)
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………….……
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………


4. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………


ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………….……
…………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………


ข้อแนะน า
………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………






ลงชื่อ .......................................................
(นายประสพโชค ประภา)
ต าแหน่ง ครู

135


ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย


ได้จัดท าการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ................ รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ว22101)

แล้วมีความคดเห็นดังนี้
1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท ี่
 มีองค์ประกอบครบ

 มีองค์ประกอบยังไม่ครบ ควรเพิ่มเติม ...................................................................................................

2. การจัดกิจกรรมได้น าเอากระบวนการเรียนรู้

 เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม
 ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป

3. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท ี่

 น าไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรุงก่อนน าไปใช ้


4. ข้อเสนอแนะอื่นๆ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….……
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………
………………………….…………………………………………………………………………………………………………….………………………






ลงชื่อ ..............................................................
(นางลัดดา ผาพันธ์)
ผู้อ านวยการโรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศึกษา

136


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 19
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศึกษา

รายวิชา ว22101 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบและความสัมพันธ์ในร่างกายมนุษย์ จ านวน 22 ชั่วโมง
ื่
แผนการจัดการเรียนรู้ เรอง การก าจัดของเสียทางไต เวลาสอน 1 ชั่วโมง


1. มาตรฐานการเรียนร
ู้



มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัตของสงมีชวิต หน่วยพื้นฐานของสงมีชวิต การลาเลยงสารเข้าและออกจากเซลล ์
ิ่
ิ่




ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าทของระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ทท างานสมพันธ์กัน ความสมพันธ์ของโครงสร้าง
ี่
ี่
และหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ท างานสัมพันธ์กัน รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์

2. ตัวชี้วดชั้นปี
ระบุอวัยวะและบรรยายหน้าที่ของอวัยวะในระบบขับถ่ายในการก าจัดของเสียทางไต (ว 1.2 ม. 2/4)
3. จุดประสงค์การเรียนร ู้
1. อธิบายการก าจัดของเสียทางไตได้ (K)
2. มีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้อยากเห็น (A)
3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ (A)
4. ท างานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ (A)
5. สื่อสารและน าความรู้เรื่องการก าจัดของเสียทางไตไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ (P)
4. สาระส าคัญ
ระบบขับถ่ายมีอวัยวะทเกี่ยวข้อง คอ ไต ทอไต กระเพาะปัสสาวะ และทอปัสสาวะ โดยมีไต ทาหน้าทก าจดของ



ี่

ี่


ี่
เสีย เช่น แอมโมเนีย ยูเรีย กรดยูริก รวมทั้งสารทร่างกายไม่ตองการออกจากเลอด และควบคมสารทมีมากหรือน้อยเกินไป
ี่


เช่น น้ า โดยขับออกมาในรูปของปัสสาวะ
5. สาระการเรียนร ู้
ระบบขับถ่าย
– การก าจัดของเสียทางไต
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการท างาน
4. มีจิตวิทยาศาสตร์

7. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี


137


8. ชิ้นงานหรือภาระงาน
สืบค้นข้อมูลการก าจัดของเสียทางไต

9. การจัดกจกรรมการเรียนร ู้

ครูดาเนินการทดสอบก่อนเรียน โดยให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความพร้อมและพื้นฐาน


ของนักเรียน
ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน

1) ครูถามค าถามนักเรียนเพื่อกระตุ้นความสนใจ เช่น
– นักเรียนเคยออกก าลังกายหรือไม่ (แนวค าตอบ เคย)




– หลงจากออกก าลังกายแลว ร่างกายก าจดสิ่งใดออกจากร่างกาย และก าจดออกทางใด (แนวค าตอบ ก าจด

เหงื่อออกจากร่างกายทางผิวหนัง)
– นอกจากการก าจัดของเสียในรูปของเหงื่อแล้ว ร่างกายยังก าจัดของเสียออกจากร่างกายในรูปใดได้อีก (แนว
ค าตอบ ก าจัดน้ าส่วนเกินออกจากร่างกายในรูปของปัสสาวะ)
2) นักเรียนร่วมกันตอบค าถามและแสดงความคดเห็นเกี่ยวกับคาตอบ เพื่อเชอมโยงไปสู่การเรียนรู้เรื่อง การก าจด

ื่


ของเสียทางไต
ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนร ู้



ั้
จดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใชกระบวนการสบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ร่วมกับแบบกลบดาน ชนเรียน


(flipped classroom) ซึ่งมีขนตอนดังนี้
ั้
1) ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement)
(1) ครูแบงกลุ่มนักเรียนแล้วเปิดโอกาสให้นักเรียนในกลุ่มน าเสนอข้อมูลเกี่ยวกับระบบขับถ่ายที่ครูมอบหมายให้ไป

เรียนรู้ล่วงหน้าให้เพื่อนๆ ในกลุ่มฟัง จากนั้นให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมาน าเสนอข้อมูลหน้าห้องเรียน
ี่

(2) ครูตรวจสอบว่านักเรียนท าภาระงานทไดรับมอบหมายไปหรือไม่ โดยตรวจสอบจากการจดบันทกของนักเรียน

และถามค าถามเกี่ยวกับภาระงาน ดังนี้
– อวัยวะที่ส าคัญในระบบขับถ่ายมีอะไรบ้าง (แนวค าตอบ ไต ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ และท่อปัสสาวะ)
– ระบบขับถ่ายท าหน้าที่อะไร (แนวค าตอบ ก าจัดของเสียออกจากร่างกาย)
(3) ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตงประเดนค าถามที่นักเรียนสงสยจากการทาภาระงานอย่างน้อยคนละ 1 คาถาม ซึ่ง




ั้
ครูให้นักเรียนเตรียมมาล่วงหน้า และให้นักเรียนช่วยกันตอบและแสดงความคิดเห็น
(4) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับภาระงาน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า ระบบขับถ่ายประกอบด้วย
ไต ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ และท่อปัสสาวะ ซึ่งท าหน้าที่ร่วมกันในการก าจัดของเสียออกจากร่างกาย
2) ขั้นส ารวจและค้นหา (Exploration)
(1) ครูให้นักเรียนศึกษาเรื่องระบบขับถ่าย จากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน โดยครูช่วยอธิบายให้นักเรียนเข้าใจว่า
ี่



สารทไม่เป็นประโยชน์และร่างกายไม่ตองการ เชน แอมโมเนีย ยูเรีย และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด เป็นของเสยทร่างกาย

ี่




จ าเป็นต้องก าจดออกภายนอก ดังนั้น ร่างกายจงตองมีระบบขับถ่าย เพื่อก าจดของเสยเหลานี้ออกจากร่างกาย การก าจด



ของเสียออกจากร่างกาย เรียกว่า การขับถ่าย


(2) ครูอธิบายเพิ่มเตมเกี่ยวกับการก าจดของเสยทางไตให้นักเรียนเข้าใจว่า ไตของมนุษย์มี 2 ข้าง โดยอยู่ข้างซ้าย

ี่
ี่

และขวาข้างละ 1 ไต ทาหน้าทกรองของเสยทอยู่ในเลอดและขับออกมาในรูปของปัสสาวะ นอกจากนี้ยังทาหน้าทรักษา



ี่
สมดุลของน้ าและสารต่างๆ ในร่างกาย

138




ภายในไตประกอบดวยหน่วยไตเล็ก ๆ จ านวนมากมาย และมีหลอดเลือดฝอยเป็นกระจกกระจายอยู่ภายใน เลอด

จะเข้าสไตโดยผานหลอดเลอดแดง ซึ่งจะลาเลยงสารทงทมีประโยชน์และไม่มีประโยชน์เข้าสหน่วยไต เพื่อให้หน่วยไตทา

ั้

ี่

ู่
ู่


หน้าที่กรองสารที่มีอยู่ในเลือด



สารบางชนิดที่เป็นประโยชน์ตอร่างกาย เชน น้ าตาลกลูโคส กรดแอมิโน รวมทงน้ าบางสวนจะถูกดูดซึมกลบคนส ู่
ั้


หลอดเลือดฝอย และเข้าสู่หลอดเลือดด าซึ่งเป็นหลอดเลือดที่น าเลือดเข้าสู่หัวใจ ส่วนของเสียอื่นๆ เช่น น้ าบางสวน ยูเรีย ซึ่ง

เป็นสารทร่างกายไม่ต้องการจะถูกส่งต่อไปทท่อรวมไปสกรวยไต ทอไต และกระเพาะปัสสาวะ และถูกขับออกจากร่างกาย
ี่

ู่
ี่
ทางท่อปัสสาวะในรูปของปัสสาวะต่อไป
(3) ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการตรวจสอบปัสสาวะให้นักเรียนเข้าใจว่า ในปัสสาวะนอกจากจะมีน้ า ยูเรีย และ

ี่



ของเสียอื่นๆ ทร่างกายไม่ตองการแล้ว บางครั้งเราอาจพบสารบางชนิด เชน น้ าตาลกลโคส โปรตีนบางชนิด และเม็ดเลอด








แดงปะปนมากับปัสสาวะดวย ซึ่งสารเหลานี้เกิดจากไตทางานผดปกต ทาให้การกรองสารตางๆ ผดปกตได ดงนั้น การ



ตรวจสอบปัสสาวะจึงเป็นการตรวจสอบเบื้องต้นเกี่ยวกับการท างานของไต
(4) ครูแบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5 – 6 คน ปฏิบัติกิจกรรม สืบค้นข้อมูลการก าจัดของเสียทางไต ตามขั้นตอน ดังนี้
– สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการก าจัดของเสียทางไต โดยค้นคว้าในประเด็นต่างๆ ต่อไปนี้
 การก าจัดของเสียทางไต
 ชนิดของสารที่ถูกก าจัดทางไต
– น าข้อมูลที่ได้มาอภิปรายร่วมกัน แล้วน าเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าห้องเรียน
(5) ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่ได้จากการปฏิบัติกิจกรรม




(6) ครูคอยแนะน าชวยเหลือนักเรียนขณะปฏบัตกิจกรรม โดยครูเดนดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิดโอกาสให้นักเรียน
ทุกคนซักถามเมื่อมีปัญหา
3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation)
(1) นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าห้องเรียน
(2) ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้แนวค าถาม เช่น
– ไตของคนเราท าหน้าที่อะไร (แนวค าตอบ กรองของเสียออกจากเลือด และรักษาสมดุลของน้ าและสารต่างๆ
ในร่างกาย)
– ส่วนที่ท าหน้าที่กรองสารภายในไตเรียกว่าอะไร (แนวค าตอบ หน่วยไต)

– ถ้าไตทางานผดปกตจะพบสารใดในปัสสาวะ (แนวคาตอบ น้ าตาลกลโคส โปรตนบางชนิด และเม็ดเลอด






แดง)

(3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลจากการปฏบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า ระบบขับถายในมนุษย์มี

ี่


ี่


ไตทาหน้าทก าจัดของเสียที่อยู่ในเลอดออกจากร่างกาย โดยมีหน่วยไตจ านวนมากทาหน้าทกรองของเสียออกจากเลอดและ

ู่

ดูดซึมสารที่มีประโยชน์กลบคืนสหลอดเลือด ส่วนของเหลวที่เหลืออื่นๆ เชน น้ าบางส่วนและยูเรียจะถูกขบออกจากร่างกาย

ในรูปของปัสสาวะ
4) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration)

ี่



(1) ครูอธิบายเรื่องน่ารู้ เรื่องโกลเมอรูลสให้นักเรียนเข้าใจว่า โกลเมอรูลสเป็นกระจุกหลอดเลอดฝอยทบรรจอยู่ใน
ี่
ื่


เบาว์แมนสแคปซูล ผนังของโกลเมอรูลสทาหน้าทกรองของเสยออกจากเลอดให้เข้าสเบาว์แมนสแคปซูล และเคลอนทไป

ี่
ู่



ตามท่อหน่วยไตเข้าสู่ท่อรวม กรวยไต ท่อไต และสะสมในกระเพาะปัสสาวะ ซึ่งเรียกของเหลวนี้ว่า ปัสสาวะ

139




(2) นักเรียนคนคว้าค าศัพทภาษาตางประเทศเกี่ยวกับการก าจัดของเสียทางไต จากหนังสือเรียนภาษาต่างประเทศ

หรืออินเทอร์เน็ต และน าเสนอให้เพื่อนฟัง คัดค าศัพท์พร้อมทั้งค าแปลลงสมุดส่งครู
5) ขั้นประเมิน (Evaluation)
(1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อทเรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจดใดบ้างที่ยังไม่เข้าใจหรือยัง

ี่
มีข้อสงสัย ถ้ามี ครูช่วยอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไขอย่างไรบ้าง

(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเหนเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และการน าความรู้ท ี่

ได้ไปใช้ประโยชน์
(4) ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยการให้ตอบค าถาม เช่น
– ร่างกายก าจัดของเสียออกทางใด (แนวค าตอบ ผิวหนัง การหายใจ และไต)

– ผิวหนังท าหน้าที่ก าจัดของเสียในรูปใด (แนวค าตอบ เหงื่อ)
ี่

– เพราะเหตใดปัสสาวะของคนทเป็นโรคเบาหวานจงมีน้ าตาลกลโคสปนอยู่ดวย (แนวคาตอบ เพราะ





ี่

โรคเบาหวานเกิดจากความผดปกตของตบอ่อนทไม่สามารถควบคมระดบน้ าตาลกลโคสในเลอดให้เป็นปกตได ไตจงไม่








ู่

ี่



สามารถดดซึมน้ าตาลกลโคสกลบคนสหลอดเลอดไดหมด ทาให้ปัสสาวะของคนทเป็นโรคเบาหวานมีน้ าตาลกลโคสปนอยู่




ด้วย)
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการก าจัดของเสียทางไต โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ความคิดหรือผังมโนทัศน์
10. สื่อการเรียนร ู้
1. ใบกิจกรรม สืบค้นข้อมูลการก าจัดของเสียทางไต
2. หนังสือเรียนภาษาต่างประเทศหรืออินเทอร์เน็ต
3. คู่มือการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1
4. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เลม 1

5. แบบฝึกทักษะรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีท 2 เล่ม 1
ี่
6. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

11. การวดและประเมินผลการเรียนร ู้

ด้านคุณธรรม จริยธรรมและ
ด้านความรู้ (K) ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
จิตวิทยาศาสตร์ (A)
1. ซักถามความรู้เรื่องการก าจัดของเสีย 1. ประเมินเจตคตทางวิทยาศาสตร์เป็น 1. ประเมินทักษะการคิดโดยการ

ทางไต รายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบ สังเกตการท างานกลุ่ม
2. ตรวจชิ้นงานหรือภาระงานของ วัดเจตคติทางวิทยาศาสตร์ 2. ประเมินพฤติกรรมในการปฏิบัต ิ
กิจกรรมฝึกทักษะระหว่างเรียน 2. ประเมินเจตคติต่อวิทยาศาสตร์เป็น กิจกรรมเป็นรายบุคคลหรือราย

รายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบ กลุ่มโดยการสังเกตการทางาน
วัดเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ กลุ่ม

140


บันทึกผลหลังการสอน
สรุปผลการเรียนการสอน

1. นักเรียนจ านวน ..................... คน
ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ..................... คน คิดเป็นร้อยละ .........................
ไม่ผ่านจุดประสงค์ .................................. คน คิดเป็นร้อยละ .........................


2. ด้านความรู้ความเข้าใจ (K)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….……
…………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………


3. ด้านทักษะกระบวนการ (P)
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………….……
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………


4. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………


ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………….……
…………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………


ข้อแนะน า
………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………






ลงชื่อ .......................................................
(นายประสพโชค ประภา)
ต าแหน่ง ครู

141


ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย


ได้จัดท าการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ................ รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ว22101)

แล้วมีความคดเห็นดังนี้
1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท ี่
 มีองค์ประกอบครบ

 มีองค์ประกอบยังไม่ครบ ควรเพิ่มเติม ...................................................................................................

2. การจัดกิจกรรมได้น าเอากระบวนการเรียนรู้

 เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม
 ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป

3. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท ี่

 น าไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรุงก่อนน าไปใช ้


4. ข้อเสนอแนะอื่นๆ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….……
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………
………………………….…………………………………………………………………………………………………………….………………………






ลงชื่อ ..............................................................
(นางลัดดา ผาพันธ์)
ผู้อ านวยการโรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศึกษา

142


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 20
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศึกษา

รายวิชา ว22101 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบและความสัมพันธ์ในร่างกายมนุษย์ จ านวน 22 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ภาวะไตวาย เวลาสอน 1 ชั่วโมง


ู้
1. มาตรฐานการเรียนร
ิ่

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัตของสงมีชวิต หน่วยพื้นฐานของสงมีชวิต การลาเลยงสารเข้าและออกจากเซลล ์

ิ่





ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าทของระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ทท างานสมพันธ์กัน ความสมพันธ์ของโครงสร้าง
ี่
ี่
และหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ท างานสัมพันธ์กัน รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์

2. ตัวชี้วดชั้นปี


ี่


ตระหนักถึงความสาคญของระบบขับถ่ายในการก าจดของเสยทางไต โดยการบอกแนวทางในการปฏิบัตตนทชวย


ให้ระบบขับถ่ายท าหน้าที่ได้อย่างปกติ (ว 1.2 ม. 2/5)
3. จุดประสงค์การเรียนร ู้
1. อธิบายภาวะไตวายได้ (K)
2. มีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้อยากเห็น (A)
3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ (A)
4. ท างานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ (A)
5. สื่อสารและน าความรู้เรื่องภาวะไตวายไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ (P)
4. สาระส าคัญ
ภาวะไตวายเป็นอาการของไตที่ไม่สามารถท างานได้อย่างเป็นปกติ ท าให้มีการสะสมของของเสียที่อาจเป็นพิษ จนมี
ผลต่อการรักษาสมดุลของน้ าและสารต่างๆ ในร่างกายได ้
5. สาระการเรียนร ู้
ระบบขับถ่าย
– การก าจัดของเสียทางไต

6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการท างาน
4. มีจิตวิทยาศาสตร์

7. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา

4. ความสามารถในการใชทักษะ/กระบวนการและทักษะในการด าเนินชีวิต

143


8. ชิ้นงานหรือภาระงาน
1. สังเกตอวัยวะของระบบอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย
2. สืบค้นข้อมูลภาวะไตวาย


9. การจัดกจกรรมการเรียนร ู้


ครูดาเนินการทดสอบก่อนเรียน โดยให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความพร้อมและพื้นฐาน
ของนักเรียน
ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน
1) ครูให้นักเรียนทบทวนความรู้เดิมที่ได้เรียนรู้มาแล้วโดยใช้ค าถามต่อไปนี้
– สารชนิดใดที่ถูกก าจัดออกจากร่างกายทางไต (แนวค าตอบ น้ า ยูเรีย และคลอไรด์)
– ถ้าไตท างานปกติจะไม่พบสารใดในปัสสาวะ (แนวค าตอบ โปรตีน น้ าตาลกลูโคส และกรดแอมิโน)

2) นักเรียนร่วมกันตอบค าถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับค าตอบ เพื่อเชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้เรื่อง ภาวะไต
ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนร ู้
จดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใชกระบวนการสบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ร่วมกับแบบกลบดาน ชนเรียน



ั้


(flipped classroom) ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
1) ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement)
(1) ครูถามค าถามนักเรียนเพื่อกระตุ้นความสนใจ เช่น
– อาการของไตที่ไม่สามารถท างานได้อย่างเป็นปกติเรียกว่าอะไร (แนวค าตอบ ภาวะไตวาย)
– ถ้าไตของคนเราผิดปกติจะส่งผลต่อปริมาณการสะสมของเสียในร่างกายอย่างไร (แนวค าตอบ ท าให้ปริมาณ
การสะสมของเสียในร่างกายเพิ่มขึ้น)

(2) นักเรียนร่วมกันอภิปรายหาค าตอบเกี่ยวกับค าถามตามความคิดเห็นของแต่ละคน
2) ขั้นส ารวจและค้นหา (Exploration)



(1) ครูให้นักเรียนศกษาเรื่องภาวะไตวาย จากใบความรู้หรือในหนังสือเรียน โดยครูชวยอธิบายให้นักเรียนเขาใจว่า

ภาวะไตวายเปนอาการของไตที่ไม่สามารถท างานไดอย่างเป็นปกติ ทาให้มีการสะสมของของเสยที่อาจเป็นพิษ จนมีผลตอ




การรักษาสมดุลของน้ าและสารต่างๆ ในร่างกายได้


ื้



สาเหตของภาวะไตวายอาจเกิดจากการตดเชออย่างรุนแรง การสญเสยเลอดเป็นจานวนมาก หรือการเป็น

โรคเบาหวานเป็นเวลานาน ๆ
ภาวะไตวายรักษาดวยการควบคุมชนิดและปริมาณของอาหารที่รับประทาน การใช้ยาควบคุมการติดเชื้อ การผ่าตด


เปลี่ยนไตหรือปลูกถ่ายไต และรักษาด้วยการฟอกเลือดโดยใช้ไตเทียม

ี่

ี่
(2) ครูอธิบายเรื่องน่ารู้ เรื่องไตเทยมให้นักเรียนเข้าใจว่า ไตเทยม เป็นเครื่องมือทสร้างขึ้นเพื่อทาหน้าทแทนไต



ี่

ื่
ประกอบดวยแผนเยื่อเซลโลเฟน ซึ่งเป็นเยอบางๆ หรือเยื่อเลอกผานทยอมให้สารโมเลกุลขนาดเลกผ่านออกมาได แตสาร





โมเลกุลขนาดใหญ่ผานออกมาไม่ได ปัจจบันเยื่อนี้ไดมีการพัฒนาโดยผลตมาจากเซลลโลส หลักการท างานของเครื่องมือนี้






คือ การน าเลอดของผป่วยจากหลอดเลอดแดงบริเวณแขนให้ไหลเขาไปในเครื่องไตเทยม เลอดจะผานเยื่อเซลโลเฟน ของ

ู้









ี่



เสยทอยู่ในเลอดซึ่งมีโมเลกุลเลกจะผานเยื่อเซลโลเฟนออกมาดวย ท าให้ของเสยในเลือดมีปริมาณลดลงจนเขาสู่ระดบปกต ิ
จากนั้นเลือดจะไหลกลับเข้าสู่ร่างกายทางหลอดเลือดด าบริเวณแขนเช่นเดียวกัน
(3) ครูแบ่งนักเรียนกลุ่มละ 5 – 6 คน ปฏิบัติกิจกรรม สังเกตอวัยวะของระบบอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย ตามขั้นตอน

144





– เลอกภาพอวัยวะของระบบอวัยวะตางๆ จากรูปมาประกอบเป็นระบบหมุนเวียนเลอด ระบบหายใจ และ
ระบบขับถ่ายในภาพร่างกายของมนุษย์













การสังเกตอวัยวะของระบบอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย

– เขียนเส้นชี้อวัยวะของระบบต่างๆ พร้อมทั้งระบุชื่อของอวัยวะแต่ละอวัยวะในแต่ละระบบ
(4) ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่ได้จากการปฏิบัติกิจกรรม
(5) ครูคอยแนะน าชวยเหลือนักเรียนขณะปฏบัตกิจกรรม โดยครูเดนดูรอบๆ ห้องเรียนและเปิดโอกาสให้นักเรียน




ทุกคนซักถามเมื่อมีปัญหา
3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation)
(1) นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าห้องเรียน
(2) ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยใช้แนวค าถาม เช่น

– เพราะเหตุใดเลือดจงไหลไปตามหลอดเลือดแล้วไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกายได้ (แนวค าตอบ เพราะร่างกาย
ของมนุษย์มีหัวใจ ซึ่งทาหน้าทเสมือนเครื่องสูบฉด ท าให้เกิดแรงดนให้เลอดไหลไปตามหลอดเลือดและไปยังส่วนต่างๆ ของ


ี่


ร่างกายได้)
ี่
– แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่ได้จากกระบวนการหายใจนั้นก่อนทจะถูกขับออกจากร่างกายจะต้องผ่านขั้นตอน
ี่

ู่
ใดบ้าง (แนวคาตอบ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ทได้จากกระบวนการหายใจจะแพร่ออกจากเซลล์ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์เข้าสหลอด




เลือดและละลายอยู่ในเลือด แล้วถูกล าเลียงไปยังปอด แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งมีความเขมขนสงจะถูกปลอยออกมาและ
แพร่เข้าสู่ถุงลมในปอด แล้วล าเลียงผ่านหลอดลมออกสู่ภายนอกทางลมหายใจออก)
– โครงสร้างของไตที่ท าหน้าที่กรองสารที่มีอยู่ในหลอดเลือดคืออะไร (แนวค าตอบ หน่วยไต)
(3) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปผลจากการปฏิบัติกิจกรรม โดยครูเน้นให้นักเรียนเข้าใจว่า ระบบอวัยวะต่างๆ แต่ละ

ระบบมีอวัยวะภายในแตกต่างกันและทาหน้าที่แตกต่างกัน ซึ่งระบบอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของมนุษย์ท างานประสานกัน
ได ้
4) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration)

ครูให้นักเรียนสืบคนข้อมูลเกี่ยวกับภาวะไตวาย จากหนังสือ วารสาร สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยส าหรับ
เยาวชน หรืออินเทอร์เน็ตแล้วน าข้อมูลที่ได้มาน าเสนอหน้าห้องเรียน

145


5) ขั้นประเมิน (Evaluation)

ี่
(1) ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากหัวข้อทเรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรม มีจดใดบ้างที่ยังไม่เข้าใจหรือยัง
มีข้อสงสัย ถ้ามี ครูช่วยอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจ
(2) นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการแก้ไขอย่างไรบ้าง
(3) ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเหนเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม และการน าความรู้ท ี่

ได้ไปใช้ประโยชน์

(4) ครูทดสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยการให้ตอบค าถาม
ขั้นสรุป
1) ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับภาวะไตวาย โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนที่ความคิดหรือผังมโนทัศน์

ั่
2) ครูมอบหมายให้นักเรียนไปศกษาคนคว้าเนื้อหาของบทเรียนชวโมงหน้า เพื่อจดการเรียนรู้ครั้งตอไป โดยให้



นักเรียนศึกษาค้นคว้าล่วงหน้าในหัวข้อระบบประสาทและการแสดงพฤติกรรม
3) ครูให้นักเรียนเตรียมประเด็นค าถามที่สงสัยมาอย่างน้อยคนละ 1 ค าถาม เพื่อน ามาอภิปรายร่วมกันในห้องเรียน
ครั้งต่อไป
10. สื่อการเรียนร ู้

1. ใบกิจกรรม สังเกตอวัยวะของระบบอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย
2. หนังสือ วารสาร สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานุกรมไทยส าหรับเยาวชน หรืออินเทอร์เน็ต
3. คู่มือการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1


4. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เลม 1
ี่
5. แบบฝึกทักษะรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีท 2 เล่ม 1
6. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 1

11. การวดและประเมินผลการเรียนร ู้

ด้านคุณธรรม จริยธรรมและ
ด้านความรู้ (K) ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
จิตวิทยาศาสตร์ (A)

1. ซักถามความรู้เรื่องภาวะ ไตวาย 1. ประเมินเจตคตทางวิทยาศาสตร์เป็น 1. ประเมินทักษะกระบวนการทาง
2. ตรวจชิ้นงานหรือภาระงานของ รายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบ วิทยาศาสตร์โดยใช้แบบวัด

กิจกรรมฝึกทักษะระหว่างเรียน วัดเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทาง
2. ประเมินเจตคติต่อวิทยาศาสตร์เป็น วิทยาศาสตร์
รายบุคคลโดยการสังเกตและใช้แบบ 2. ประเมินทักษะการคิดโดยการ
วัดเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ สังเกตการท างานกลุ่ม

3. ประเมินทักษะการแก้ปัญหา
โดยการสังเกตการท างานกลุ่ม
4. ประเมินพฤติกรรมในการปฏิบัต ิ
กิจกรรมเป็นรายบุคคลหรือราย

กลุ่มโดยการสังเกตการทางาน
กลุ่ม

146


บันทึกผลหลังการสอน
สรุปผลการเรียนการสอน

1. นักเรียนจ านวน ..................... คน
ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ ..................... คน คิดเป็นร้อยละ .........................
ไม่ผ่านจุดประสงค์ .................................. คน คิดเป็นร้อยละ .........................


2. ด้านความรู้ความเข้าใจ (K)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….……
…………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………


3. ด้านทักษะกระบวนการ (P)
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………….……
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………


4. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………


ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………….……
…………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………


ข้อแนะน า
………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………






ลงชื่อ .......................................................
(นายประสพโชค ประภา)
ต าแหน่ง ครู

147


ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย


ได้จัดท าการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ................ รายวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน (ว22101)

แล้วมีความคดเห็นดังนี้
1. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท ี่
 มีองค์ประกอบครบ

 มีองค์ประกอบยังไม่ครบ ควรเพิ่มเติม ...................................................................................................

2. การจัดกิจกรรมได้น าเอากระบวนการเรียนรู้

 เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม
 ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป

3. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท ี่

 น าไปใช้ได้จริง
 ควรปรับปรุงก่อนน าไปใช ้


4. ข้อเสนอแนะอื่นๆ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….……
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………
………………………….…………………………………………………………………………………………………………….………………………






ลงชื่อ ..............................................................
(นางลัดดา ผาพันธ์)
ผู้อ านวยการโรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศึกษา

148


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 21
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศึกษา

รายวิชา ว22101 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบและความสัมพันธ์ในร่างกายมนุษย์ จ านวน 22 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ส่วนต่างๆ ของระบบประสาท เวลาสอน 1 ชั่วโมง


1. มาตรฐานการเรียนร
ู้
มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัตของสงมีชวิต หน่วยพื้นฐานของสงมีชวิต การลาเลยงสารเข้าและออกจากเซลล ์

ิ่



ิ่

ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าทของระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ทท างานสมพันธ์กัน ความสมพันธ์ของโครงสร้าง
ี่
ี่


และหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ท างานสัมพันธ์กัน รวมทั้งน าความรู้ไปใช้ประโยชน์

2. ตัวชี้วดชั้นปี


ี่
ระบุอวัยวะและบรรยายหน้าทของอวัยวะในระบบประสาทสวนกลางในการควบคมการทางานตางๆ ของร่างกาย


(ว 1.2 ม. 2/10)
3. จุดประสงค์การเรียนร ู้
1. อธิบายหน้าที่ของอวัยวะในระบบประสาทได้ (K)
2. มีความสนใจใฝ่รู้หรืออยากรู้อยากเห็น (A)
3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ (A)
4. ท างานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ (A)


5. สื่อสารและน าความรู้เรื่องสวนต่างๆ ของระบบประสาทไปใชในชีวิตประจ าวันได้ (P)
4. สาระส าคัญ
ระบบประสาทท าหน้าที่ควบคมและส่งความรู้สึกไปยังอวัยวะทุกส่วนของร่างกาย ประกอบด้วยสมองและไขสันหลง


โดยที่บริเวณไขสันหลังจะมีเส้นประสาทแผ่ขยายออกไปทั่วร่างกาย
5. สาระการเรียนร ู้
ระบบประสาทและการแสดงพฤติกรรม
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการท างาน
4. มีจิตวิทยาศาสตร์

7. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด

3. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

8. ชิ้นงานหรือภาระงาน
สืบค้นข้อมูลเซลล์ประสาท


Click to View FlipBook Version