44
ทมี ทนั ตกรรมมาดแู ลเร่ืองฟันและชอ่ งปาก
45
การติตามเยยี่ มบา้ นผปู้ ว่ ยโดยทมี สหวิชาชพี
46
Template ตวั ช้วี ัดบริการ NCD Clinic Plus
ตวั ช้ีวัดที่ 1 ร้อยละการตรวจตดิ ตามยืนยันวินจิ ฉยั กลมุ่ สงสัยปว่ ยโรคเบาหวาน
A = จานวนประชากรสงสัยปว่ ยโรคเบาหวาน อายุ 35 ปี ในเขตรบั ผิดชอบ ได้รับการตรวจยืนยนั โดยการตรวจ
ระดบั พลาสม่ากลูโคสหลงั อดอาหาร มากกว่า 8 ชม.(FPG) ทางห้องปฏิบัตกิ ารในสถานบริการสาธารณสุขภายใน
ปงี บประมาณ (ท้งั นี้ควรตรวจตดิ ตามภายใน 3-6 เดือน)
B = จานวนประชากรอายุ 35ปี ขน้ึ ไปในเขตรบั ผิดชอบทีไ่ ด้รบั การคัดกรองโรคเบาหวานและเป็นกลมุ่ สงสยั ปว่ ยโรคเบาหวาน
สตู ร A/B x 100
ตวั ชี้วัดท่ี 2 รอ้ ยละของผูป้ ว่ ยเบาหวานทไี่ ด้รบั การตรวจไขมัน LDL
A=จานวนผู้ป่วยเบาหวานในเขตรับผิดชอบทไ่ี ดร้ ับการตรวจไขมนั LDLในปีงบประมาณ
B = จานวนผปู้ ว่ ยเบาหวานในเขตรับผิดชอบทง้ั หมด
สูตร A/B x 100
ตวั ช้วี ัดท่ี 3 รอ้ ยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ไดร้ บั การตรวจไขมนั LDL และมคี ่า LDL ‹ 100 mg/dl
A=จานวนผปู้ ่วยเบาหวานในเขตรับผิดชอบท่ีได้รบั การตรวจไขมนั LDLในปีงบประมาณและมคี า่ ไขมัน LDLครง้ั สดุ ทา้ ย ‹100 mg/dl
B = จานวนผปู้ ่วยเบาหวานในเขตรบั ผดิ ชอบท้ังหมด
สตู ร A/B x 100
ตัวชว้ี ัดท่ี 4 ร้อยละของผปู้ ว่ ยเบาหวานทคี่ วบคุมระดบั นา้ ตาลในเลอื ดไดด้ ี
A = จานวนผปู้ ่วยเบาหวานในเขตรับผิดชอบทค่ี มุ ระดบั นา้ ตาลได้ดี
B = จานวนผปู้ ่วยเบาหวานในเขตรบั ผิดชอบทั้งหมด
สูตร A/B x 100
ตวั ช้ีวัดท่ี 5 รอ้ ยละของผ้ปู ่วยเบาหวานท่ีมีความดันโลหิตควบคุมได้ตามเกณฑ์
A = จานวนผู้ปว่ ยเบาหวานในเขตรบั ผิดชอบทีไ่ ด้รับการตรวจวดั ความดันหติ และมคี า่ ความดนั โลหิตครงั้ สดุ ท้ายใน
ปีงบประมาณ นอ้ ยกวา่ 140/90 mmHg
B = จานวนผปู้ ว่ ยเบาหวานในเขตรบั ผิดชอบทง้ั หมด
สูตร A/B x 100
ตัวชี้วัดที่ 6 รอ้ ยละของผู้ป่วยเบาหวานทีม่ ีภาวะอ้วน [BMI >25 กก./ตร.ม. ] ลดลงจากงบประมาณท่ผี า่ นมา(ตัวชีว้ ดั
ปรับแก้ Template )
A = จานวนผ้ปู ว่ ยเบาหวานในเขตรบั ผิดชอบท่ีมภี าวะอ้วน [BMI >25 กก./ตร.ม. ] ในปีงบประมาณปจั จบุ ัน
B = จานวนผปู้ ่วยเบาหวานในเขตรับผิดชอบที่มภี าวะอว้ น [BMI >25 กก./ตร.ม. ] ในปงี บประมาณทผี่ า่ นมา
สตู ร (( B-A ) / B) x 100
47
ตัวชี้วัดท่ี 7 รอ้ ยละของการเกดิ ภาวะแทรกซอ้ นเฉียบพลนั ในผูป้ ่วยเบาหวาน
A=จานวนผปู้ ่วยเบาหวานในเขตรบั ผิดชอบทีม่ ารกั ษาดว้ ยภาวะระดบั นา้ ตาลในเลือดต่าและ/หรอื ภาวะนา้ ตาลในเลือดสงู
B = จานวนผู้ป่วยเบาหวานในเขตรับผิดชอบทง้ั หมด
สตู ร A/B x 100
ตัวช้วี ัดที่ 8 รอ้ ยละการตรวจติดตามยืนยันวนิ ิจฉยั กลุ่มสงสยั ปว่ ยโรคความดันโลหติ สงู
A = จานวนประชากรสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสงู อายุ 35 ปี ในเขตรับผิดชอบ ทไี่ ดร้ บั การวัดความดนั โลหติ ซ้า
ตามแนวทางการวัดความดันโลหิตท่บี ้าน
B = จานวนประชากรสงสยั ปว่ ยโรคความดันโลหิตสงู อายุ 35 ปี ในเขตรบั ผิดชอบ
สตู ร A/B x 100
ตวั ชีว้ ัดท่ี 9 รอ้ ยละของผู้ที่มีความดนั โลหิต ≥ 180/110 mmHg จากการคดั กรองได้รบั การวินิจฉัย
A=จานวนผูท้ ่ีมีความดนั โลหติ สูง ≥ 180/110 mmHg จากการคัดกรองไดร้ บั การวินิจฉัย ในปีงบประมาณ
B = จานวนผู้ที่มคี วามดนั โลหิตสูง ≥ 180/110 mmHg จากการคดั กรองในเขตรบั ผิดชอบ
สตู ร A/B x 100
ตวั ชว้ี ัดที่ 10 ร้อยละของผู้ปว่ ยความดนั โลหิตสูงท่ีควบคุมระดบั ความดนั โลหติ ได้ดี
A=จานวนผูป้ ่วยความดันโลหิตสงู ในเขตรบั ผดิ ชอบที่ควบคมุ ความดนั โลหิตไดด้ ี 2 ครั้งสุดท้ายติดกนั ในปีงบประมาณ
B = จานวนผู้ปว่ ยความดนั โลหิตสูงในเขตรับผดิ ชอบ
สตู ร A/B x 100
ตัวชี้วัดท่ี 11 ร้อยละของผปู้ ว่ ยเบาหวาน และ/ ความดนั โลหติ สูงทไ่ี ด้รบั การ คน้ หาและคดั กรองโรคไตเรือ้ รัง
A=จานวนผ้ปู ว่ ยเบาหวานและ/หรอื ความดนั โลหิตสูงทีไ่ ม่เคยไดร้ ับการวินจิ ฉยั วา่ เปน็ โรคไตเร้ือรงั ในเขตรับผดิ ชอบท่ไี ด้รบั การตรวจ
คัดกรอง
B= จานวนผ้ปู ว่ ยเบาหวานและ/หรอื ความดันโลหิตสูงทไ่ี ม่เคยได้รบั การวินิจฉัยวา่ เปน็ โรคไตเร้ือรังในเขตรับผิดชอบทั้งหมด
สูตร A/B x 100
ตัวชว้ี ัดท่ี 12 รอ้ ยละของผ้ปู ่วยเบาหวาน และ/หรอื ความดนั โลหติ สูงทม่ี ี CVD Risk ≥ 20% ในช่วงไตรมาส 1, 2 และมี
ผล CVD Risk ลดลงเป็น < 20% ในไตรมาส 3, 4
A=จานวนผปู้ ่วยเบาหวาน(E10-E14)ความดันโลหิตสงู (I10-I15)อายุ 35-60 ปี ทขี่ นึ้ ทะเบียนและอยูใ่ นเขตพื้นทรี่ ับผดิ ชอบไดร้ บั การ
ประเมนิ โอกาสเส่ียงต่อการเกดิ โรคหวั ใจและหลอดเลือด(CVDRisk)ใน10ปขี า้ งหน้าที่มีระดับความเสีย่ ง CVDRisk≥20% ในช่วงไตร
มาศ1 ,2 และมีระดบั ความเสี่ยง CVDRisk ลดลง‹20 %ในชว่ งไตรมาศ3,4
B= จานวนผปู้ ่วยเบาหวาน (E10-E14)ความดนั โลหิตสูง(I10-I15)อายุ 35-60 ปี ท่ีขึ้นทะเบยี นและอยู่ในเขตพนื้ ท่ีรับผิดชอบไดร้ บั
การประเมนิ โอกาสเสย่ี งต่อการเกิดโรคหวั ใจและหลอดเลือด(CVDRisk)ใน10ปขี ้างหน้าทมี่ ีระดบั ความเสย่ี ง CVDRisk≥20%ในช่วง
ไตรมาศ1 ,2
สตู ร A/B x 100
48
ตวั ชว้ี ัดที่ 13 ร้อยละของผปู้ ว่ ยเบาหวาน และ/หรอื ความดนั โลหิตสูง ที่เปน็ CKD 3-4 ชะลอการลดลงของ eGFR ได้
ตามเป้าหมาย
A = จานวนผ้ปู ่วยเบาหวาน และ/หรอื ความดันโลหิตสูง สัญชาตไิ ทยที่มารับบริการท่ี โรงพยาบาล ที่เป็น CKD 3-4
ตอนเริ่มประเมินไดร้ ับการตรวจ creatinine และมีผล eGFR ≥ 2 คา่ และคา่ ทัง้ สอง หา่ งกนั ไม่นอ้ ยกวา่ 3 เดอื น
โดยพิจารณาคา่ ของ eGFR ตัง้ แต่ยอ้ นหลงั 1 ปีงบประมาณ และมีค่าเฉลย่ี การเปล่ียนแปลง ‹ 5
B = จานวนผปู้ ่วยเบาหวาน และ/หรือ ความดนั โลหติ สงู สัญชาติไทยท่มี ารับบริการที่ โรงพยาบาล ท่เี ปน็ CKD 3-
4 ตอนเริ่มประเมนิ ได้รบั การตรวจ creatinine และมีผล eGFR ≥ 2 ค่า และค่าท้งั สอง หา่ งกนั ไมน่ อ้ ยกวา่ 3 เดอื น
โดยพิจารณาค่าของ eGFR ตง้ั แต่ยอ้ นหลงั 1 ปีงบประมาณ
สตู ร A/B x 100
49
Template ตวั ชวี้ ัดสาคัญของหน่วยงานคลนิ ิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรงั
ตัวชว้ี ัดท่ี 1 อตั ราความพึงพอใจของผู้รบั บรกิ ารคลนิ ิกโรคไม่ติดต่อเรอ้ื รัง
A = คะแนนรวมความพึงพอใจทัง้ หมดของกลมุ่ ตัวอย่าง
B = คะแนนเต็มความพึงพอใจ
สูตร A/B x 100
ตวั ชว้ี ัดที่ 2 จานวนอุบัตกิ ารณก์ ารเกิดภาวะแทรกซอ้ นขณะรอตรวจ
A = จานวนอบุ ัติการณก์ ารเกดิ ภาวะแทรกซอ้ นขณะรอตรวจ
B = จานวนคร้งั ทง้ั หมดท่ผี ปู้ ่วยที่มาตรวจใน 1 ปี งบประมาณ
สูตร A/B x 100
ตัวชว้ี ัดท่ี 3 อัตราผปู้ ว่ ยสเี หลอื งรอตรวจเกนิ 1 ชั่วโมง ( ตัวช้ีวดั เพิ่มใหมใ่ นปีงบ 2564)
A = จานวนครง้ั ผปู้ ่วยสีเหลืองรอตรวจเกิน 1 ช่วั โมง
B = จานวนครัง้ ท้งั หมดที่ผู้ป่วยทม่ี าตรวจใน 1 ปี งบประมาณ
สูตร A/B x 100
ตวั ชว้ี ัดท่ี 4 จานวนขอ้ ร้องเรยี นจากผ้รู ับบริการเกยี่ วกับการใหบ้ ริการคลินกิ โรคไม่ติดต่อเรอื้ รัง
A = จานวนขอ้ ร้องเรยี นจากผ้รู ับบรกิ าร
B = จานวนครง้ั ท้งั หมดทผ่ี ู้ป่วยที่มาตรวจใน 1 ปี งบประมาณ
สูตร A/B x 100
ตัวชว้ี ัดท่ี 5 จานวนอบุ ัติการณ์คดั กรอง ตรวจรกั ษาพยาบาลผิดคน
A = จานวนตรวจรกั ษาพยาบาลผดิ คน
B = จานวนคร้งั ท้ังหมดที่ผปู้ ่วยทม่ี าตรวจใน 1 ปี งบประมาณ
สูตร A/B x 100
ตัวช้วี ัดท่ี 6 อัตราการมาตรวจตามนัดในผ้ปู ว่ ยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
A = จานวนผู้ปว่ ยทม่ี าตรวจตามนดั
B = จานวนผปู้ ่วยท้ังหมดทนี่ ัด
สูตร A/B x 100
ตัวชีว้ ัดที่ 7 อตั ราการมาตรวจตามนัดในผปู้ ่วยโรคเบาหวาน
A = จานวนผูป้ ่วยโรคเบาหวานที่มาตรวจตามนดั ภายใน 1 เดือน
B = จานวนผปู้ ว่ ยเบาหวานทั้งหมดทน่ี ดั
สตู ร A/B x 100
50
ตัวช้วี ัดท่ี 8 อัตราการมาตรวจตามนัดในผปู้ ว่ ยโรคความดนั
A = จานวนผปู้ ่วยโรคความดนั ทีม่ าตรวจตามนดั ภายใน 1 เดือน
B = จานวนผ้ปู ่วยความดันทั้งหมดที่นดั
สูตร A/B x 100
ตัวชว้ี ัดท่ี 9 อัตราการมาตรวจตามนัดในผ้ปู ่วยโรคไต
A = จานวนผปู้ ่วยโรคไตทีม่ าตรวจตามนัดภายใน 1 เดอื น
B = จานวนผปู้ ว่ ยโรคไตทงั้ หมดทนี่ ดั
สตู ร A/B x 100
ตัวชี้วัดท่ี 10 อตั ราการมาตรวจตามนัดในผปู้ ่วยโรคปอดอุดก้นั เรอื้ รัง
A = จานวนผปู้ ่วยโรคปอดอดุ ก้นั เร้ือรงั ทมี่ าตรวจตามนดั ภายใน 1 เดอื น
B = จานวนผปู้ ่วยโรคปอดอุดกนั้ เรอื้ รงั ทง้ั หมดที่นดั
สูตร A/B x 100
ตัวช้ีวัดที่ 11 อตั ราการมาตรวจตามนัดในผู้ป่วยโรคหอบหืด
A = จานวนผู้ปว่ ยโรคหอบหดื ท่มี าตรวจตามนดั ภายใน 1 เดอื น
B = จานวนผปู้ ่วยโรคหอบหืดทั้งหมดทนี่ ัด
สูตร A/B x 100
ตัวช้ีวัดที่ 12 อัตราการมาตรวจตามนดั ในผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ดสมอง
A = จานวนผู้ป่วยโรคหลอดเลอื ดสมองทีม่ าตรวจตามนัดภายใน 1 เดือน
B = จานวนผปู้ ่วยโรคหลอดเลือดสมองทง้ั หมดท่ีนัด
สูตร A/B x 100
ตัวชี้วัดที่ 13 ผ่านการประเมนิ คลนิ กิ NCD คุณภาพ
ประเมินตามแบบฟอรม์ การประเมิน NCD คุณภาพ
51
Template ตัวชว้ี ดั โรคเบาหวานและโรคความดนั โลหิตสูง
ตวั ช้ีวัดที่ 1 รอ้ ยละของผปู้ ว่ ยเบาหวานท่คี วบคุมระดับนา้ ตาลในเลือดไดด้ ี
A = จานวนผู้ปว่ ยเบาหวานในเขตรบั ผิดชอบท่ีคุมระดบั น้าตาลไดด้ ี
B = จานวนผูป้ ว่ ยเบาหวานในเขตรับผิดชอบทง้ั หมด
สูตร A/B x 100
ตัวช้วี ัดท่ี 2 รอ้ ยละของผปู้ ่วยเบาหวานทมี่ ีความดนั โลหติ นอ้ ยกว่า 140/90 mmHg
A = จานวนผู้ปว่ ยเบาหวานในเขตรบั ผิดชอบท่ไี ด้รับการตรวจวัดความดนั หิตและมีคา่ ความดนั โลหิตคร้งั สดุ ทา้ ยใน
ปีงบประมาณ นอ้ ยกวา่ 140/90 mmHg
B = จานวนผปู้ ่วยเบาหวานในเขตรับผดิ ชอบทง้ั หมด
สตู ร A/B x 100
ตวั ชว้ี ัดที่ 3 รอ้ ยละของผปู้ ว่ ยความดนั โลหิตสูงท่คี วบคมุ ระดับความดันโลหิตได้ดี
A = จานวนผ้ปู ว่ ยความดนั โลหติ สูงในเขตรบั ผดิ ชอบทค่ี วบคุมความดันโลหิตไดด้ ี 2 ครัง้ สดุ ท้ายติดกันใน
ปีงบประมาณ
B = จานวนผู้ปว่ ยความดนั โลหิตสงู ในเขตรบั ผดิ ชอบ
สตู ร A/B x 100
ตวั ชี้วัดที่ 4 ร้อยละผูป้ ว่ ยเบาหวานไดร้ ับการคดั กรองภาวะแทรกซอ้ นทางตา
A = จานวนผปู้ ่วยความดันโลหิตสูงในเขตรบั ผดิ ชอบทค่ี วบคมุ ความดนั โลหิตได้ดี 2 คร้งั สุดท้ายติดกันใน
ปงี บประมาณ
B = จานวนผปู้ ว่ ยความดันโลหิตสงู ในเขตรบั ผดิ ชอบ
สูตร A/B x 100
ตัวช้วี ัดที่ 5 รอ้ ยละผู้ปว่ ยเบาหวานท่มี ภี าวะแทรกซอ้ นตา
A = จานวนผปู้ ว่ ยเบาหวานในเขตรบั ผิดชอบทม่ี ีภาวะแทรกซ้อนทางตาท่ีตอ้ งส่งตอ่
B = จานวนผู้ป่วยเบาหวานในเขตรับผดิ ชอบทั้งหมด
สูตร A/B x 100
ตวั ชว้ี ัดท่ี 6 รอ้ ยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหติ สูง ได้รับการคดั กรองภาวะแทรกซอ้ นทางไต
A = จานวนผู้ป่วยเบาหวานและ/หรอื ความดันโลหติ สงู ทไี่ มเ่ คยได้รับการวินจิ ฉัยวา่ เป็นโรคไตเรือ้ รงั ในเขตรบั ผดิ ชอบ
ท่ีไดร้ ับการตรวจคัดกรอง
B= จานวนผู้ป่วยเบาหวานและ/หรือความดนั โลหิตสูงท่ไี ม่เคยไดร้ บั การวนิ จิ ฉยั ว่าเป็นโรคไตเร้อื รังในเขตรับผิดชอบท้งั หมด
สูตร A/B x 100
52
ตวั ชี้วัดที่ 7 รอ้ ยละผปู้ ่วยเบาหวานไดร้ ับการคดั กรองภาวะแทรกซอ้ นทางเทา้
A = จานวนผู้ป่วยเบาหวานท่ีไดร้ บั การคัดกรองภาวะแทรกซอ้ นทางเทา้
B = จานวนผู้ป่วยเบาหวานในเขตรับผดิ ชอบทง้ั หมด
สูตร A/B x 100
ตัวชวี้ ัดที่ 8 ร้อยละผปู้ ว่ ยเบาหวานทม่ี ีภาวะแทรกซอ้ นทางเท้า
A = จานวนผูป้ ว่ ยเบาหวานท่ีได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซอ้ นทางเทา้
B = จานวนผ้ปู ว่ ยเบาหวานในเขตรับผิดชอบทั้งหมด
สูตร A/B x 100
ตัวชว้ี ัดท่ี 9 รอ้ ยละผปู้ ว่ ยเบาหวานได้รับบรกิ ารทนั ตกรรม
A = จานวนผู้ปว่ ยเบาหวานท่ีไดร้ ับบรกิ ารทนั ตกรรม
B = จานวนผปู้ ว่ ยเบาหวานในเขตรบั ผิดชอบทัง้ หมด
สูตร A/B x 100
ตัวชว้ี ัดที่ 10 ร้อยละผู้ปว่ ยเบาหวานได้รับการคดั กรอง TB
A = จานวนผู้ป่วยเบาหวานท่ีได้รบั การคดั กรอง TB
B = จานวนผู้ปว่ ยเบาหวานในเขตรบั ผดิ ชอบทง้ั หมด
สตู ร A/B x 100
ตัวชว้ี ัดที่ 11 ร้อยละผูป้ ว่ ยความดันทีม่ ภี าวะแทรกซอ้ นทางหลอดเลือดสมอง
A = จานวนผปู้ ่วยความดันท่ีมีภาวะแทรกซ้อนทางหลอดเลือดสมอง
B = จานวนผปู้ ว่ ยความดนั ในเขตรบั ผิดชอบท้ังหมด
สูตร A/B x 100
53
Template ตวั ช้วี ัดโรคเบาหวานและโรคความดนั โลหิตสงู ระดับโรงพยาบาล
ตัวชี้วัดท่ี 1 รอ้ ยละของผปู้ ว่ ยเบาหวานท่คี วบคุมระดบั น้าตาลในเลือดไดด้ ี
A = จานวนผปู้ ว่ ยเบาหวานในเขตรบั ผิดชอบทค่ี ุมระดับนา้ ตาลไดด้ ี
B = จานวนผปู้ ่วยเบาหวานในเขตรบั ผิดชอบทง้ั หมด
สูตร A/B x 100
ตวั ชี้วัดที่ 2 รอ้ ยละของผู้ปว่ ยเบาหวานทม่ี ีความดนั โลหติ น้อยกว่า 140/90 mmHg
A = จานวนผูป้ ว่ ยเบาหวานในเขตรับผิดชอบท่ไี ดร้ บั การตรวจวดั ความดันหติ และมีคา่ ความดนั โลหิตครั้งสดุ ทา้ ยใน
ปีงบประมาณ นอ้ ยกว่า 140/90 mmHg
B = จานวนผู้ปว่ ยเบาหวานในเขตรบั ผดิ ชอบทัง้ หมด
สตู ร A/B x 100
ตัวชว้ี ัดที่ 3 ร้อยละของผู้ป่วยความดนั โลหติ สูงทค่ี วบคุมระดับความดนั โลหติ ได้ดี
A = จานวนผ้ปู ว่ ยความดันโลหติ สงู ในเขตรบั ผดิ ชอบท่ีควบคมุ ความดันโลหิตได้ดี 2 ครัง้ สดุ ท้ายตดิ กันใน
ปงี บประมาณ
B = จานวนผูป้ ว่ ยความดนั โลหติ สูงในเขตรับผดิ ชอบ
สูตร A/B x 100
ตวั ชว้ี ัดท่ี 4 รอ้ ยละผปู้ ว่ ยเบาหวานไดร้ บั การคัดกรองภาวะแทรกซอ้ นทางตา
A = จานวนผู้ป่วยความดนั โลหติ สงู ในเขตรบั ผดิ ชอบท่คี วบคมุ ความดันโลหติ ไดด้ ี 2 ครงั้ สดุ ท้ายตดิ กันใน
ปงี บประมาณ
B = จานวนผู้ปว่ ยความดนั โลหิตสงู ในเขตรับผิดชอบ
สูตร A/B x 100
ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของผูป้ ว่ ยเบาหวาน ความดนั โลหติ สงู ได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซอ้ นทางไต
A=จานวนผู้ป่วยเบาหวานและ/หรือความดนั โลหิตสูงทีไ่ มเ่ คยได้รับการวนิ จิ ฉยั ว่าเปน็ โรคไตเรอ้ื รงั ในเขตรบั ผิดชอบทไี่ ด้รับการตรวจ
คัดกรอง
B= จานวนผู้ปว่ ยเบาหวานและ/หรอื ความดนั โลหิตสงู ที่ไม่เคยได้รบั การวนิ จิ ฉัยว่าเป็นโรคไตเรือ้ รังในเขตรับผดิ ชอบท้งั หมด
สูตร A/B x 100
ตัวชี้วัดท่ี 6 รอ้ ยละผ้ปู ่วยเบาหวานไดร้ ับการคดั กรองภาวะแทรกซอ้ นทางเท้า
A = จานวนผปู้ ่วยเบาหวานท่ีไดร้ บั การคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางเทา้
B = จานวนผปู้ ว่ ยเบาหวานในเขตรบั ผดิ ชอบทั้งหมด
สตู ร A/B x 100
54
ตัวชีว้ ัดท่ี 7 ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานไดร้ บั บรกิ ารทันตกรรม
A = จานวนผูป้ ่วยเบาหวานที่ไดร้ บั บริการทนั ตกรรม
B = จานวนผู้ปว่ ยเบาหวานในเขตรบั ผดิ ชอบท้งั หมด
สูตร A/B x 100
Template ตวั ช้วี ัดเพม่ิ เติมโรคเบาหวานและโรคความดนั โลหิตสงู งานปฐมภมู ิ
ตัวช้ีวัดที่ 1 ประชากรอายุ 35 ปขี ึ้นไปได้รบั การคัดกรองเบาหวาน
A = จานวนประชากรอายุ 35 ปีข้ึนไปท่ีได้รบั การคัดกรองเบาหวาน
B = จานวนประชากรอายุ 35 ปีข้ึนไปในเขตรบั ผิดชอบทง้ั หมด
สตู ร A/B x 100
ตวั ชี้วัดท่ี 2 ประชากรอายุ 35 ปขี ึน้ ไปไดร้ บั การคัดกรองความดนั โลหติ สงู
A = จานวนประชากรอายุ 35 ปขี น้ึ ไปที่ไดร้ ับการคัดกรองความดนั โลหิตสูง
B = จานวนประชากรอายุ 35 ปีข้นึ ไปในเขตรบั ผิดชอบทัง้ หมด
สูตร A/B x 100
ตวั ช้ีวัดที่ 3 ประชากรกลุ่มเสี่ยงไดร้ ับการปรบั เปลีย่ นพฤติกรรม
A = จานวนประชากรกล่มุ เสี่ยงเบาหวานความดันทไี่ ด้รบั การปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรม
B = จานวนประชากรกลมุ่ เส่ียงเบาหวานความดันทัง้ หมด
สูตร A/B x 100
55
Template ตวั ชีว้ ัดโรค COPD ระดบั อาเภอ
ตัวชว้ี ัดที่ 1 ร้อยละผปู้ ่วย COPD ไดร้ บั การคัดกรอง TB
A = จานวนผู้ป่วย COPD ได้รบั การคดั กรอง TB
B = จานวนผูป้ ่วย COPD ทั้งหมด
สูตร A/B x 100
ตัวชี้วัดท่ี 2 อตั ราผปู้ ว่ ย COPD ได้รบั การเป่า spirometer
A = จานวนผู้ปว่ ย COPD ไดร้ ับการเป่า spirometer
B = จานวนผ้ปู ว่ ย COPD ท้ังหมด
สตู ร A/B x 100
ตัวชว้ี ัดท่ี 3 อตั ราผปู้ ่วย COPD Re-visit
A = จานวนผปู้ ว่ ย COPD Re-visit ภายใน 48 ชั่วโมง
B = จานวนผู้ปว่ ย COPD ทง้ั หมด
สตู ร A/B x 100
ตัวชี้วัดที่ 4 อตั ราผปู้ ่วย COPD Re-admit
A = จานวนผปู้ ว่ ย COPD Re-admit ภายใน 28 วัน
B = จานวนผปู้ ่วย COPD ทง้ั หมด
สูตร A/B x 100
ตวั ชี้วัดที่ 5 อตั ราผูป้ ่วย COPD Re-admit ได้รบั การเยยี่ มบา้ น
A = จานวนผปู้ ว่ ย COPD Re-admit ไดร้ บั การเยี่ยมบ้าน
B = จานวนผ้ปู ่วย COPD Re-admit ท้ังหมด
สูตร A/B x 100
ตวั ชว้ี ัดที่ 6 อตั ราผู้ป่วย COPD ไดร้ บั การฉดี วัคซีนไขห้ วดั ใหญ่
A = จานวนผปู้ ่วย COPD ได้รับการฉีดวัคซีนไขห้ วดั ใหญ่
B = จานวนผปู้ ว่ ย COPD ทง้ั หมด
สูตร A/B x 100
ตวั ชีว้ ัดที่ 7 อตั ราการมาตรวจตามนดั ในผ้ปู ว่ ยโรค COPD
A = จานวนผ้ปู ่วย COPD ทม่ี าตรวจตามนัด
B = จานวนผู้ป่วย COPD ท่ีนัดทง้ั หมด
สูตร A/B x 100
56
Template ตัวช้ีวดั โรค Asthma ระดับอาเภอ
ตวั ชี้วัดท่ี 1 อตั ราผปู้ ่วย Asthma Re-visit
A = จานวนผปู้ ่วย Asthma Re-visit ภายใน 48 ช่วั โมง
B = จานวนผปู้ ่วย Asthma ทง้ั หมด
สูตร A/B x 100
ตัวชี้วัดท่ี 2 อัตราผปู้ ่วย Asthma Re-admit
A = จานวนผ้ปู ว่ ย Asthma Re-admit ภายใน 28 วนั
B = จานวนผปู้ ว่ ย Asthma ทัง้ หมด
สตู ร A/B x 100
ตัวชี้วัดท่ี 3 อัตราการมาตรวจตามนดั ในผู้ป่วยโรค Asthma
A = จานวนผู้ปว่ ย Asthma ทีม่ าตรวจตามนดั
B = จานวนผู้ปว่ ย Asthma ที่นดั ทั้งหมด
สูตร A/B x 100
Template ตวั ชว้ี ดั โรค CKD ระดับอาเภอ
(ผปู้ ่วยทเ่ี ข้าคลนิ ิก CKD stage 3, CKD stage 4, CKD stage 5 )
ตัวชว้ี ัดท่ี 1 อัตราผูป้ ว่ ย CKD stage 5 ได้รบั การเยี่ยมบา้ น
A = จานวนผปู้ ่วย CKD stage 5 ไดร้ ับการเยี่ยมบ้าน
B = จานวนผู้ป่วย CKD stage 5 ทงั้ หมด
สตู ร A/B x 100
ตวั ชี้วัดที่ 2 อัตราการมาตรวจตามนัดในผู้ป่วยโรคไต
A = จานวนผู้ปว่ ยโรคไตทีม่ าตรวจตามนดั
B = จานวนผปู้ ว่ ยโรคไตท่นี ัดมาทัง้ หมด
สตู ร A/B x 100
ตัวชวี้ ัดที่ 3 ผู้ป่วย BP ≤ 140/90 mmHg
A = จานวนผู้ปว่ ย CKD BP ≤ 140/90 mmHg
B = จานวนผปู้ ว่ ย CKD ทัง้ หมด
สูตร A/B x 100
57
ตวั ชี้วัดที่ 4 ผ้ปู ว่ ยไดร้ บั ACEi/ARB
A = จานวนผู้ปว่ ย CKD ไดร้ บั ACEi/ARB
B = จานวนผปู้ ว่ ย CKD ทั้งหมด
สตู ร A/B x 100
Template ตวั ชี้วดั โรค CKD ระดับอาเภอ
(ผปู้ ว่ ยท่เี ข้าคลินิก CKD stage 3, CKD stage 4, CKD stage 5 )
ตัวชว้ี ัดที่ 5 ผปู้ ่วยมีอตั ราการลดลงของ eGFR < 4 ml/min/1.72 m2/yr
A = จานวนผปู้ ว่ ย CKD มอี ัตราการลดลงของ eGFR < 4 ml/min/1.72 m2/yr
B = จานวนผู้ป่วย CKD ทง้ั หมด
สตู ร A/B x 100
ตัวชว้ี ัดท่ี 6 Hb > 10 gm/dl
A = จานวนผปู้ ว่ ย CKD มี Hb > 10 gm/dl
B = จานวนผปู้ ว่ ย CKD ทั้งหมด
สูตร A/B x 100
ตวั ชี้วัดที่ 7 HbA1c 6.5-7.5 (เฉพาะผู้ปว่ ยเบาหวาน)
A = จานวนผู้ปว่ ย CKD มี HbA1c 6.5-7.5 (เฉพาะผ้ปู ว่ ยเบาหวาน)
B = จานวนผปู้ ว่ ย CKD ทงั้ หมด
สูตร A/B x 100
ตัวชว้ี ัดท่ี 8 serum K < 5.5 mEq/L
A = จานวนผปู้ ่วย CKD มี serum K < 5.5 mEq/L
B = จานวนผปู้ ่วย CKD ทง้ั หมด
สูตร A/B x 100
ตัวชว้ี ัดท่ี 9 serum HCO3 > 22 mEq/L
A = จานวนผปู้ ว่ ย CKD มี serum HCO3 > 22 mEq/L
B = จานวนผปู้ ว่ ย CKD ทงั้ หมด
สตู ร A/B x 100
58
ตัวชี้วัดที่ 10 ตรวจ urine protein โดยใชแ้ ถบสจี ุม่ (dipstick)
A = จานวนผปู้ ่วย CKD ท่ีตรวจ urine protein โดยใชแ้ ถบสีจ่มุ (dipstick)
B = จานวนผูป้ ว่ ย CKD ทั้งหมด
สูตร A/B x 100
ตัวชว้ี ัดที่ 11 ผู้ปว่ ยไดร้ ับการประเมิน UPCR
A = จานวนผปู้ ว่ ย CKD ท่ีได้รับการประเมิน UPCR
B = จานวนผ้ปู ่วย CKD ทง้ั หมด
สตู ร A/B x 100
ตัวชว้ี ัดที่ 12 CKD education
A = จานวนผู้ปว่ ย CKD ท่ีได้รบั CKD education
B = จานวนผ้ปู ่วย CKD ทั้งหมด
สูตร A/B x 100
Template ตัวชีว้ ัดงานสุขภาพจิต ระดบั อาเภอ
ตัวชว้ี ัดท่ี 1 อตั ราการมาตรวจตามนดั ในผู้ป่วยโรคจติ เวช
A = จานวนผู้ป่วยจิตเวชที่มาตรวจตามนัด
B = จานวนผ้ปู ่วยจติ เวชที่นัดท้งั หมด
สูตร A/B x 100
ตัวชว้ี ัดที่ 2 อตั ราการฆ่าตัวตายสาเรจ็
A = จานวนฆ่าตวั ตายสาเร็จ
B = จานวนประชากรกลางปี
สตู ร (A/B)x100,000
ตัวช้ีวัดที่ 3 รอ้ ยละของผู้พยายามฆ่าตัวตายไม่กลับไป ทารา้ ยตนเองซ้า ภายใน 1 ปี
A = จานวนไมฆ่ ่าตัวตายสาเรจ็
B = จานวนประชากรกลางปี
สตู ร A/B x 100
ตวั ชีว้ ัดที่ 4 ร้อยละของผปู้ ่วยโรคซึมเศรา้ เขา้ ถึงบริการสุขภาพจิต
A = จานวนผปู้ ว่ ยโรคซึมเศร้าที่มารับบริการตัง้ แต่ปงี บประมาณ 2552 สะสมมาจนถงึ ปงี บประมาณ 2563
B จานวนผูป้ ่วยโรคซึมเศรา้ คาดประมาณจากความชกุ ทไี่ ดจ้ ากการสารวจ
สูตร A/B x 100
59
ตัวชี้วัดท่ี 5 รอ้ ยละของผู้ป่วยโรคจิตเข้าถึงบรกิ ารสุขภาพจิต
A = จานวนผปู้ ่วยโรคจติ (F20-29)ทเี่ ข้าถงึ บรกิ ารสะสมถงึ ปีงบประมาณ2563
B = จานวนผู้ป่วยโรคจิตคาดประมาณจากตัวเลขความชกุ ที่สารวจในการสารวจ
สตู ร A/B x 100
ตัวช้วี ัดท่ี 6 การคดั กรองและเฝ้าระวงั ความเส่ียงตอ่ การฆา่ ตัวตายในกล่มุ เส่ียง
A = จานวนกลุ่มเสย่ี งทไ่ี ด้รับการคัดกรองและเฝ้าระวังความเสย่ี งต่อการฆา่ ตวั ตาย
B = จานวนกลุ่มเสี่ยงตอ่ การฆ่าตัวตายทงั้ หมด
สตู ร A/B x 100
1
วสิ ยั ทัศนโ์ รงพยาบาลอมกอ๋ ย
โรงพยาบาลคุณภาพ ช้นั นาในพน้ื ท่ีสูง ที่ทกุ คนไวว้ างใจ
พนั ธกิจโรงพยาบาลอมก๋อย
1. พัฒนาคณุ ภาพบริการแบบองคร์ วมตามวิถชี นเผ่า
2. พัฒนาคณุ ภาพคณุ ภาพและความรว่ มมือในการสร้างสขุ ภาพเชิงรกุ รว่ มกบั ภาคีเครือข่าย
3. พฒั นาการบรกิ ารตามสทิ ธ์ิและศักดศิ์ รีของความเปน็ มนุษย์
4. พัฒนาคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการโรงพยาบาลและเครอื ข่ายสุขภาพอาก๋อย
นโยบายหน่วยงานผปู้ ่วยนอกโรงพยาบาลอมก๋อย
งานผปู้ ่วยนอกเปน็ งานบริการส่วนหนึ่งของกลุ่มการพยาบาลที่มุ่งเน้นงานบริการแบบองค์รวม
ที่มคี ณุ ภาพและไดม้ าตรฐาน โดยยึดผู้ปว่ ยเป็นศนู ยก์ ลาง และอยบู่ นพ้นื ฐานของสทิ ธิผู้ปว่ ย
พันธกิจหนว่ ยงานผปู้ ่วยนอกโรงพยาบาลอมก๋อย
ใหบ้ รกิ ารคดั กรอง ตรวจวินจิ ฉัย และสง่ ตอ่ ทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ ปลอดภยั ผูร้ บั บรกิ ารพึงพอใจ
วิสยั ทัศน์หน่วยงานผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลอมก๋อย
- สะอาดและสวย ดพี ร้อมดว้ ยบริการ ประสานกิจกรรม นาสคู่ ุณภาพ
- มีการควบคุมคณุ ภาพงานบริการตามมาตรฐานงานควบคมุ คุณภาพการพยาบาล
- มีการดูแลอาคารสถานที่ปฏิบัติงาน ให้สะอาดมีระเบียบ สวยงามถูกต้องตามวิชาการโดย
ดาเนินงานตามหลกั การ 5 ส และงานป้องกนั ควบคุมการติดเชอ้ื ของโรงพยาบาล
- สถานพยาบาลเป็นทยี่ อมรับของชุมชน และผา่ นการรับรองคณุ ภาพ
- มีการทางานเปน็ ทีม
ปรัชญาหรอื อดุ มการณห์ นว่ ยงานผูป้ ่วยนอกโรงพยาบาลอมก๋อย
บริการคลอบคลมุ ทุกกลุ่มเป้าหมาย ภายใต้จรรยาบรรณ ทุกชนชัน้ เสมอภาค มากด้วยคุณภาพ
เป้าหมายหน่วยงานผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลอมก๋อย
1. ต้อนรับและคัดกรองก่อนพบแพทย์
2. อานวยความสะดวกแกผ่ รู้ ับการบริการและให้บรกิ ารเปลแกผ่ ู้ปว่ ยทชี่ ่วยเหลอื ตวั เองได้น้อย
3. ให้คาแนะนาและให้สุขศึกษาแก่ผู้ป่วยและญาติในด้านสุขภาพอนามัย ปัญหาด้านสังคม ด้านจิตใจ
และอารมณ์
4. เฝ้าระวังและป้องกันการติดเช้ือในโรงพยาบาล ท้ังด้านสุขภาพอนามัยของเจ้าหน้าท่ี สถานที่ๆ
ให้บริการ อุปกรณแ์ ละเคร่อื งมอื ต่างๆ
5. สง่ ผู้ปว่ ยทมี่ โี รคเรื้อรังและต้องได้รับการฟื้นฟสู ภาพให้กรรมการ HHC เพ่ือติดตามเยี่ยมงาน
6. สนับสนุนการให้บริการด้านส่งเสริมสุขภาพเจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาล และส่วนราชการท่ีเกี่ยวข้อง เช่น
การตรวจสุขภาพ
ขอบเขตงาน/กจิ กรรม
- งานบริการผู้ป่วยนอก ให้บริการคัดกรองผู้มารับบริการ ณ. ตึกผู้ป่วยนอก งานบริการห้องตรวจ
โรคงานบริการหลงั แพทย์ตรวจ งานระเบียบรายงานสถิติข้อมลู ผู้ป่วยนอก
- งานบริการคลนิ กิ พิเศษ เช่น คลินกิ โรคทาลสั ซเี มีย คลนิ ิกโรคหัวใจ คลนิ กิ โรคstroke
- สนบั สนุนตดิ ตอ่ ประสานงานทีมให้บริการในคลินิกใหค้ าปรึกษาคลินกิ ARV
- การตรวจพิเศษ
- การประสานงานและส่งตอ่ ผู้ป่วยตามจดุ ตา่ งๆ
2
งานบรกิ ารผปู้ ่วยนอกโรงพยาบาลอมก๋อย
การบริการพยาบาลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลอมก๋อย เป็นการบริการท่ีบุคลากรทางการพยาบาลให้บริการ
แกผ่ ใู้ ช้บรกิ ารด้านสุขภาพครอบคลุมการตรวจรักษาพยาบาลการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคและการฟื้นฟู
สภาพ สาหรับผู้มีสุขภาพดีและผู้มีปัญหาสุขภาพ โดยการคัดกรองภาวะสุขภาพ แยกประเภทความเจ็บป่วย
และความรุนแรงของโรค ช่วยเหลือแพทย์ในการตรวจรักษาโรคและสุขภาพให้การพยาบาลก่อนขณะและหลัง
การตรวจรักษาให้การดูแลรักษาพยาบาลช่วยเหลือปฐมพยาบาลเบื้องต้น ในรายที่มีอาการรบกวน อาการไม่คงที่
และอาการรุนแรงหรือมีภาวะเส่ียงอันตรายต่อชีวิตเฉียบพลัน บริการให้ความรู้แก่ผู้ใช้บริการและครอบครัว
เก่ียวกับการปฏิบัติตน ปรับพฤติกรรมและดูแลสุขภาพตนเอง ตลอดจนการบริการปรึกษาสุขภาพ งานคลินิก
ตรวจโรคและสุขภาพทว่ั ไป
บุคลากรทางการพยาบาลในหน่วยงานบริการผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลอมก๋อย นอกจากจะต้องใช้
ความรู้ความสามารถ และทักษะทางการพยาบาลพื้นฐานและเฉพาะทางแล้ว ยังต้องมีทักษะสาคัญที่มุ่งเน้นด้าน
การสร้างสัมพันธภาพ การส่ือสารการเจรจาต่อรอง การถ่ายทอด ข้อมูลและความรู้ด้านสุขภาพ ความอดทน
โดยลักษณะเฉพาะพ้ืนที่ในอาเภออมก๋อยประชากรเป็นชนเผ่าเป็นส่วนใหญ่ การส่ือสารระหว่างผู้รับบริการเป็น
ปัจจัยหลัก ซ่ึงจะทาให้ระบบบริการผู้ป่วยนอกมีคุณภาพ เพื่อให้ผู้มาใช้บริการเข้าใจภาวะสุขภาพและสามารถ
นาไปปฏิบัตติ นเองได้ถกู ต้องและมีประสทิ ธิภาพ รวมทั้งเป็นการปอ้ งกันความขัดแยง้ และสร้างความประทับใจใน
บริการรกั ษาพยาบาล
3
โครงสร้างกลุ่มการพยาบาล
นพ.วเิ ชียร ศิริ
ผู้อานวยการรพ.อมก๋อย
พว.อัญชลี กนั ทา
หัวหนา้ กลมุ่ การพยาบาล
พว.ดวงกมลฝน้ั เมา พว.วไิ ลพรศริ ิ พว.วัลลภ เรอื นก๋องเงิน
หวั หน้างานหอ้ งคลอด หวั หนา้ งานผู้ป่วยใน หวั หนา้ งานผู้ปว่ ยนอก
พว.สร้อยมาลี มณีขตั ิย์ พว.อารีรตั น์ ต้ังพษิ ฐานสกุล
หวั หนา้ งานโรคไม่ติดต่อ หวั หน้างานหอ้ งฉกุ ฉิน
โครงสรา้ งหน่วยงานผ้ปู ่วยนอก
พว.วลั ลภ เรือนก๋องเงิน
หวั หนา้ งานผปู้ ่ วยนอก
พว.กญั ชพร ประตะนะ พว.สมศรี กมลสง่า พว.วราภรณ์ ทาเบ้ียว
รองหวั หนา้ งานผปู้ ่ วยนอก พยาบาลวชิ าชีพปฏิบตั ิการ พยาบาลวชิ าชีพปฏิบตั ิการ
พว.แพรวพรรณ ธรรมศดานนั ท์ พว.ณรงศกั ด์ิ สุภา พว.ภาวดิ า สร้อยฟ้า
พยาบาลวชิ าชีพปฏิบตั ิการ พยาบาลวชิ าชีพ พยาบาลวชิ าชีพ
พว.ญารินดา รินลาจม พว.ตฤณญา ชยั เงิน พว.ปราณี เกิดอาชาชาญ
พยาบาลวชิ าชีพ พยาบาลวชิ าชีพ พยาบาลวชิ าชีพ
นางมยรุ ี ศิริวรรณ์ นางสาวพรทิพย์ มกุฎเกตุกานต์ นางสาวอมรรัตน์ จงดหี าญชัย
ผชู้ ่วยเหลือคนไข้
ผชู้ ่วยเหลือคนไข้ ผชู้ ่วยพยาบาล
4
1. นายวัลลภ เรอื นกอ๋ งเงนิ บคุ ลากรในหนว่ ยงาน
2. นางสาวกัญชพร ประตะนะ
3. นางสาวสมศรี กมลสง่า พยาบาลวิชาชพี ชานาญการ
4 นางสาววราภรณ์ ทาเบ้ียว พยาบาลวิชาชีพ ชานาญการ
5. นายณรงค์ศกั ด์ิ สุภา พยาบาลวชิ าชีพ ปฏิบตั ิการ
6. นางสาวภาวิดา สร้อยฟ้า พยาบาลวิชาชีพ ปฏบิ ตั กิ าร
7. นางสาวตฤณญา ชยั เงนิ พยาบาลวิชาชีพ
8. นางสาวแพรวพรรณ ธรรมศดานันท์ พยาบาลวชิ าชพี
9.นางสาวญารินดา รินลาจม พยาบาลวิชาชพี
10.นางสาวปราณี เกดิ อาชาชาญ พยาบาลวชิ าชพี
11. นางสาวพรทิพย์ มกฎุ เกตกุ านต์ พยาบาลวิชาชพี
12.นางมยุรี ศีริวรรณ์ พยาบาลวิชาชีพ
13.นางสาวอมรรตั น์ จงดหี าญชยั ผ้ชู ่วยเหลือคนไข้
ผ้ชู ่วยเหลือคนไข้
ผูช้ ว่ ยพยาบาล
5
สรุปสถิตผิ ู้รับบริการผปู้ ่วยนอก โรงพยาบาลอมกอ๋ ย
ประจาปีงบประมาณ 2558-2565
2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565
จำนวนครง้ั ทมี่ ำรบั บรกิ ำร 38148 37229 33158 33201 34159 27797 26518 27194
จำนวนคนที่มำรบั บรกิ ำร 16204 16275 15320 14909 15329 13530 12457 13436
จำนวนผมู้ ำรบั บรกิ ำรใหม่ 12196 11548 10221 9828 9569 8232 7322 7878
คำ่ รกั ษำ (ลำ้ นบำท) 8.071 8.368 7.793 7.945 8.849 7.892 8.164 12.426
ตารางท่ี 1 ยอดผูร้ ับบริการผ้ปู ว่ ยนอกโรงพยาบาลอมกอ๋ ย ย้อนหลงั 7 ปี
จากตารางดงั กลา่ วขา้ งต้น แสดงใหเ้ หน็ วา่ จานวนผ้รู ับบริการในแผนกผูป้ ว่ ยมีจานวนผ้รู บั บรกิ ารยอดตลอดปี
และยอดเฉล่ยี ต่อวนั เพิม่ ขนึ้ ในปีงบประมาณ 2562 และลดลงในปี2563 และ2565 ซงึ่ ทงั้ นอี้ าจเกิด ปจั จัยที่
สง่ ผลการลดลงของผ้มู ารับบริการคือ
1. ในปี 2563 , 2565 เปน็ ช่วงสถานการณ์ covid-19 ทกี่ าลงั ระบาด
2. ประชาชนมคี วามไมแ่ น่ใจในสถานการณ์ของโรคระบาด
3. มกี ารระบาดของเชือ้ covid-19 ท่สี บลาน ประชาชนเกดิ ความกลัว
4. ระบบสขุ ภาพในอาเภออมก๋อย มกี ารพัฒนาเพ่มิ มากขึน้ ทงั้ ศกั ยภาพ การเข้าถงึ ชมุ ชน
แผนภมู ิท่ี 1 เปรยี บเทียบยอดผู้รับบรกิ าร ยอ้ นหลงั 7 ปี
6
ต.ค สถติ ิ 10 อนั ดับโรคโรงพยาบาลอมก๋อย ปี 2565
พ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ มี.ค เม.ย พ.ค ม.ิ ย ก.ค ส.ค ก.ย
common clod 13 172 188 182 195 235 114 157 264 275 662 133
9 2
150 131 160 131 148 155 187 203 191 213 226
dyspepsia 18
5
fever cause 87 92 69 104 125 118 170
AGE 112 54 73 98
UTI 73 49
asthma 67 108 103 76 105 64 98 115 97 117
headace
myalgia 69 56 55 50 57 59 45 62 65 100 113
acute bronchitis 47
LBP 67 59 59 54 46 71
bacterial infectoin
chronic bronchitis
typhus fever 76
dermatitis
acute
bronchiolitis
acute pharygitis
pneumonia
dizziness 60 50 43 39
ตารางที่ 1 เปรียบเทียบ 10 อนั ดบั โรคการเจ็บปว่ ยของโรงพยาบาลอมก๋อย ป2ี 565
7
แผนภูมทิ 2ี่ แสดงอตั ราการรับบริการตกึ ผูป้ ว่ ยนอกโรงพยาบาลอมกอ๋ ยดว้ ย 10 อันดับโรคแรกรายเดือน
ปี 2565
จากตารางแสดงใหเ้ ห็น10 อันดับโรคแรกของงานผู้ป่วยนอก ยังคงเป็นโรคระบบทางเดินหายใจ สืบเน่ือง
จากภูมิประเทศท่ีเป็นภูเขาสูง ประกอบกับอากาศหนาวเย็นตลอดปี ส่งผลให้ประชาชนเกิดโรคระบบทางเดิน
หายใจ ดังกล่าวได้ง่าย การดูแลสุขภาพของประชาชนยังคงไม่เหมาะสมตลอดจนการศึกษาที่ค่อนข้างน้อยและ
ฐานะครอบครัวยงั ยากจนเป็นส่วนใหญ่ เมื่อเทียบอัตราการให้บริการในช่วงระยะเวลาเป็นเดือนแยกเป็นรายปี จะ
เหน็ ไดว้ า่ อตั ราการมารบั บรกิ ารในช่วงเดือนมิถุนายนของทุกปี แต่ในปี 2563 - 2565 มีการกระจายตัวของการ
มารับบริการท่ีผิดรูปแบบไปจากเดิม โดยเป็นผลกระทบจาก covid 19 เกิดเป็น New Normal จากข้อมูล
ดังกล่าว หน่วยงานผู้ป่วยนอกได้มีการเตรียมรับสถานการณ์ดังกล่าวคือ มีการประเมินสถานการณ์ภาวะดังกล่าว
อย่างใกล้ชิด ได้มีการส่งเสริมการให้สุขศึกษารายกลุ่มในทุกวันให้มีการบุรณการณ์ร่วมกับอปท. คพสอ. อสม.ใน
การดูแลสุขภาพประชากรเพ่ิมมากขึ้น รวมทั้งอธิบายขั้นตอนการมารับบริการดังกล่าวและในปีถัดไปได้มีการ
ดาเนินการศึกษาพัฒนาระบบส่งต่อออนไลน์ เพื่อลดความแออัดในสถานบริการ ลดค่าใช้จ่ายของประชาชน และ
รฐั บาล ตลอดจนเพิ่มการเขา้ ถึงของผูร้ บั บรกิ ารถงึ แม้พ้นื ท่จี ะห่างไกล
8
สถิติระยะเวลารอคอย ณ จดุ บริการผปู้ ่วยนอก โรงพยาบาลอมก๋อย
2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565
ตค 53.83 100.5 119.7 124.3 135.6 88.93 70.91
พย 53.02 100.4 108 86.98 110.6 83.51 66.28
ธค 70.35 102.1 100.4 96.76 120.3 72.16 73.39
มค 61.45 78.1 74.07 74.94 98.72 71.38 62.08
กพ 72.85 80.49 92.6 88.54 105.8 82.14 78.23
มีค 81.88 91.78 96.74 92.51 97.42 84.48 70.33
เมย 83.26 99.49 87.75 95.14 87.11 72.56 60.93
พค 92.25 95.5 100.2 104.7 88.72 80.96 77.16
มิย 74.48 93.9 102.1 87.88 82.57 72.51 63.32
กค 104.8 115.8 125.2 140.5 88.73 59.96 64.32
สค 80.86 120.8 89.68 114.8 89.04 72.58 66.11
กย 88.42 134.8 104.1 89.42 58.13 66.32 55.35
เฉลีย่ 76 100 100 99.7 97 76 67.4
ตารางที่ 2 เปรียบเทียบระยะเวลารอคอย ณ จุดบริการผู้ป่วยนอก ย้อนหลัง 7 ปี
9
แผนภมู แิ สดงระยะเวลารอคอยเฉล่ียในแต่ละปี งบ
160 160
140 140
120 120
100 100
80 80
60 60
40 40
20 20
00
2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565
แผนภมู ิท่ี 3 เปรียบเทียบ ระยะเวลารอคอยของตึกผ้ปู ่วยนอก ย้อนหลัง 7 ปี
10
ระยะเวลารอคอยเฉลี่ยการใหบ้ ริการแผนกผปู้ ่วยนอก(OPD) รพ.อมกอ๋ ย ปี 2565
ในชว่ งเวลา 08.30 น .-16.30 น. ไมร่ วม Lab, X-Ray ปี 2565
จดุ ซักประวัติ ส่งเขา้ หอ้ งตรวจ แพทยเ์ ริม่ ตรวจ แพทยต์ รวจเสร็จ รวมเวลาเฉลีย่ (นาท)ี
ตค 20.17 4.291 26.62 8.032 70.91
พย 17.14 3.935 27.4 6.297 66.28
ธค 14.91 4.721 35.35 7.312 73.39
มค 18.85 3.907 25.5 5.803 62.08
กพ 16.64 4.079 40.43 4.521 78.23
มีค 20.40 3.336 30.76 3.552 70.33
เมย 22.25 3.507 23.48 3.946 60.93
พค 29.94 3.038 39.28 4.705 77.16
มิย 21.364 3.974 25.28 3.757 63.32
กค 14.86 3.423 35.61 40.6 64.32
สค 16.57 4.203 33.44 3.902 66.11
กย 16.8 3.276 20.43 2.917 53.35
รวมเวลาเฉลี่ยตอ่ ปี
67.4
11
ตารางท่ี 3 เปรยี บเทียบระยะเวลารอคอย ณ จดุ บรกิ ารผู้ปว่ ยนอก ปี2565
ในปงี บ 2565 แผนกผู้ปว่ ยนอกโรงพยาบาลอมก๋อย มีการเริ่มใชต้ ู้ kiosk (คอี อส) เพอ่ื ลดการตอ่ ควิ ใน
การเปิดบตั รรับบรกิ าร เพื่อความสะดวกรวดเรว็ ของผู้ป่วย ทางโรงพยาบาลอมก๋อย ได้มีการประชาสัมพันธถ์ ึง
เทคโนโลยใี หม่ท่ีนามาใชภ้ ายใน โรงพยาบาลอมกอ๋ ยทกุ เชา้ เพ่อื ความสะดวกรวดเรว็ และลดการต่อคิวของผู้ป่วย
ทม่ี าใช้บริการกันภายในโรงพยาบาล จะสังเกตเหน็ ระยะเวลาในการรับบรกิ ารที่รวดเรว็ จากตารางท่ีแสดงดังกลา่ ว
ซง่ึ ในปนี ีร้ ะยะเวลารอคอยเฉลี่ยในการรบั บรกิ ารของแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลอมก๋อยใช้เวลาทัง้ หมด 1 ชว่ั โมง
7 นาที จากเดิมประมาณ 1 ช่ัวโมง – 2 ชวั่ โมง
แผนภูมทิ ่ี 4 วเิ คราหส์ าเหตุปญั หาของระยะเวล
12
ลารอคอย หน่วยงานผ้ปู ่วยนอก ประจาปี 2565
สรุปความพึงพอใจของตกึ ผู้ปว่ ยนอกโรง
รอ้ ยละความพงึ พอใจหน่วยงานผู้ปว่
ต.ค พ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ มี.ค เม.
แพทย์
พยาบาล
ส่ิงแวดลอ้ ม
รอ้ ยละความพึงพอใจหนว่ ยงานผูป้ ่ว
ต.ค พ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ มี.ค
แพทย์ 74.8 66.9 74.8 66.9 66.9 66.6
พยาบาล 72.6 68 72.6 68.2 68 68
ส่งิ แวดล้อม 56.6 55.15 56.6 55.1 55.1 55.9
13
งพยาบาลอมก๋อย รายปี 2561-2564
วยนอก รพ.อมก๋อย ประจาปี 2561
.ย พ.ค ม.ิ ย ก.ค ส.ค ก.ย เฉลี่ย
84 78 77.3 80.8 79.9825
86 87 88.1 87.46 87.26325
70 75 77.7 76.33 74.725
วยนอก รพ.อมก๋อย ประจาปี 2562
เม.ย พ.ค ม.ิ ย ก.ค ส.ค ก.ย เฉลยี่
6 66.5 68.2 75 67 73.2 73.4 70.05833
8 68.3 72 75 68 76 73.8 70.85833
9 56.1 54.6 57 55 56.1 60.15 56.175
ร้อยละความพึงพอใจหน่วยงานผปู้ ่ว
ต.ค พ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ มี.ค
แพทย์ 66.66 66.8 62.1 72.66 69.6 67.33
พยาบาล
สิ่งแวดลอ้ ม 68 69.66 70.86 71.93 70.33 76.73
55.95 54.75 53.05 48.65 56 57.8
แพทย์ ต.ค พ.ย ร้อยละความพึงพอใจหน่วยงานผปู้ ่ว
พยาบาล 76.3 77
สง่ิ แวดลอ้ ม 79.8 81.2 ธ.ค ม.ค. ก.พ มี.ค
60.8 61.5 78.93 80.1 79.8 80.5
82.7 85.3 84.1 83.4
62.4 63.5 62.6 63.3
แพทย์ ต.ค พ.ย ร้อยละความพงึ พอใจหน่วยงานผปู้ ่ว
พยาบาล 82 82
ส่ิงแวดลอ้ ม 82.06 84 ธ.ค ม.ค. ก.พ มี.ค
63.45 67.5 80 79.46 66.43 66.93
82.73 82.06 69.33 70.8
66.7 66.15 49.4 53.4
ตารางที่ 4 แสดงรอ้ ยละความพึงพอใจหน่วยงาน
14
วยนอก รพ.อมก๋อย ประจาปี 2563 ก.ย รวม เฉล่ยี
75.2 822.47 68.539167
เม.ย พ.ค ม.ิ ย ก.ค ส.ค 78.9 870.823 72.568583
74 66.9 67 65.46 68.8 60.4 675.7 56.308333
78.3 68.8 70 74.53 72.8
62.8 55.3 55 57.45 58.7
วยนอก รพ.อมก๋อย ประจาปี 2564 ส.ค ก.ย รวม เฉล่ยี
82.93 76.3 959.26 79.93833
เม.ย พ.ค ม.ิ ย ก.ค 83.6 84.2 998.3 83.19167
81.3 81.3 81.9 82.9 63.95 70.3 763.5 63.625
83.2 83.3 83.4 84.1
63.3 63.75 63.9 64.2
วยนอก รพ.อมก๋อย ประจาปี 2565
เม.ย พ.ค มิ.ย ก.ค ส.ค ก.ย รวม เฉลยี่
78.53 79.86 79.86 80.4 80.53 80.01 936.01 78
81.26 82.06 82.34 83.25 82.51 81.15 963.55 80.29
65.7 66.3 81.76 82.48 82.52 79.63 823.99 68.66
นผูป้ ่วยนอก รพ.อมก๋อย ยอ้ นหลงั 5 ปี
15
ค่าเฉล่ียของความพึงพอใจในแต่ละปี งบ 2562-2565
2565 10 20 30 40 50 60 70 80 90
2564 ส่งิ แวดลอ้ ม พยาบาล แพทย์
2563
2562
0
แผนภูมิที่ 5 แสดงคา่ เฉล่ยี ความพึงพอใจของผใู้ ชบ้ รกิ ารตอ่ งานผู้ป่วยนอกรพ.อมก๋อย ปี 2561-2565
แผนภูมทิ ี่6 แสดงแบบสอบถามความพึงพอใจของหนว่ ยงานตอ่ งานผ้ปู ่วยนอก
16
จากการสารวจความพงึ พอใจของผู้มารับบรกิ ารต่องานบริการผปู้ ว่ ยนอก โดยภาพรวมของ
ปงี บประมาณ 2562 คิดเป็นร้อยละ ด้านแพทย์ ร้อยละ 70.05833 พยาบาล ร้อยละ 70.85833 ส่ิงแวดล้อม ร้อยละ
56.175.
ปีงบประมาณ2563 คิดเป็นร้อยละ แพทย์ ร้อยละ 68.53917 พยาบาล ร้อยละ 72.56858. สิ่งแวดล้อม ร้อยละ
56.30833
ปีงบประมาณ2564 คิดเป็นร้อยละ แพทย์ ร้อยละ 79.93833 พยาบาล ร้อยละ 83.19167 สิ่งแวดล้อม ร้อยละ
63.625
ดา้ นความพึงพอใจผปู้ ว่ ยนอก ไดเ้ ริ่มเปลีย่ นมาใช้เกณฑ์ตัวชี้วัดจากสภาพยาบาล แบบ opd voice เร่มิ ปี
2562 เพอื่ ให้ได้มาตรฐานสากล จากกราฟจะเหน็ ไดว้ ่า ดา้ นความพงึ พอใจของผูร้ บั บรกิ ารมีแนวโน้มท่ดี ขี ึ้นแต่ยังมี
บางประเดน็ ที่หน่วยงานตอ้ งมีการปรบั ปรุงสบื เนอ่ื งมาจากเร่ืองความคาดหวงั ของผรู้ ับบริการกบั สถานการณ์จรงิ
ยังคงไมเ่ ปน็ ไปในแนวทางเดยี วกัน ทางหนว่ ยงานจึงมแี นวทางในการแกไ้ ขหรือเพ่ิมความเชอ่ื มั่นในการให้บริการ
โดยการให้สุขศึกษาและการชี้แจงรายละเอยี ดขัน้ ตอนใหแ้ ก่ผู้รับบริการทงั้ ภาษาไทยกลางและภาษากระเหรี่ยง
รวมท้ังอธบิ ายเก่ียวกบั สถานการณ์ของรพ.และหน่วยงานท่เี ป็นจริง และ สถานการณก์ ารระบาดของเชือ้ โควิด-19
ทาใหเ้ กิดผลกระทบต่อการทางานของเจ้าหนา้ ท่ี ไม่วา่ จะเป็นในแงข่ องเจา้ หน้าทท่ี ตี่ ้องไปปฏิบัติงานในรพ.สนามทั้ง
ในเชยี งใหม่ และการฉีดวคั ซีนทั้งในศนู ยฉ์ ีดที่จังหวัด หรือทั้งในอาเภออมก๋อย ทาให้เกิดเป็นภาระงานท่ีหนกั สง่ ผล
ตอ่ การใหบ้ ริการทางการพยาบาลที่อาจะไม่ครอบคลมุ ส่วนจากการประเมนิ ของเจา้ หน้าท่ีนอกหนว่ ยงานมีความ
คดิ เห็นเร่ืองของสาธารณูปโภคในหนว่ ยงานยังไม่พอเพยี ง จากโครงสรา้ งของอาคาร
การปรบั ปรงุ พัฒนา
1. ตักเตือนเร่ืองน้าเสียงการพูดท่ีเน้นเสียงของบุคลากรรายบุคคลท่ีต้องการให้ฟังชัดเจนแต่เสี่ยงต่อความไม่พึง
พอใจ
2. มกี ารนิเทศพยาบาลใหม่โดย พยาบาลทีม่ ีประสบการณ์ เพมิ่ พนู ทักษะประสบการณ์เจ้าหนา้ ทใ่ี หม่
3. สารวจความไม่พงึ พอใจของผู้ใช้บริการเดมิ และเพ่ิมของหน่วยงานอ่นื ทีค่ ดิ เหน็ ต่องานผู้ป่วยนอก เพื่อเป็นข้อมลู
ประกอบการพฒั นา โดยมปี ระเดน็ เรอื่ งเพ่ิมชว่ งเวลาการประชาสัมพันธ์ในช่วงบา่ ย และเพิม่ จดุ ใหบ้ ริการ
4. มปี ระชาสัมพนั ธใ์ หค้ วามรู้แก่ผ้รู บั บรกิ าร และจดั ทาโครงการสร้างสมั พนั ธภาพระหว่างผ้รู บั บรกิ ารกบั เจา้ หนา้ ท่ี
เพ่ือลดช่องว่างในการปฏิบตั งิ าน
5. ปลายปงี บประมาณ 2564 จดั ระบบsmart OPD เพ่ือลดความผิดพลาดของการลงข้อมูล
6. ปลายปี 2563 ไดม้ ีการทาระบบสง่ ตอ่ ออนไลนส์ าหรบั คนไข้ท่ีมใี บนดั จากรพ.ศนู ย์ แบบเตม็ รปู แบบ รวมท้ังเริ่ม
ศึกษาผลกระทบของการทาระบบสง่ ตัวออนไลน์ โดยมปี ระสานความรว่ มมอื ในรูปคปสอ. อสม.อาเภออมก๋อย
รวมทั้งรพ.ศนู ย(์ รพ.จอมทอง) โดยคาดว่าจะเปน็ แนวคิดการสง่ ตอ่ ใหก้ บั รพ.ชมุ ชนในเขตพนื้ ทหี่ า่ งไกล รวมทัง้ เพ่ิม
ศักยภาพระบบสง่ ต่อใหผ้ ้รู บั บริการได้เข้าถึงการรับบรกิ ารที่สะดวกรวดเร็ว
7.มกี ารปรบั ปรุงหนว่ ยงานผ้ปู ่วยนอก และห้องเวชระเบียน เพือ่ ลองรบั การใหบ้ ริการแบบ smart OPD มีการใช้
เทคโนโลยีเพ่ือให้เกิดความรวดเร็ว โดยงบประมาณดงั กล่าวได้รับมาจากการบรจิ าค
17
แผนการพัฒนา
1. ฝกึ ทักษะพยาบาลใหม่ให้สามารถปฏบิ ัติงานในแตล่ ะจุด
2. ประเมินความไม่พึงพอใจในหนว่ ยงานผู้ป่วยนอกให้ครบคลมุ ทัง้ ผ้ใู ช้บริการและผรู้ ่วมประสานงานอย่างต่อเนอ่ื ง
3. จดั ทาโครงการสร้างสัมพันธภาพระหวา่ งเจ้าหน้าที่กบั ผู้รับบรกิ ารตอ่ เนื่องทกุ ปี และการประชาสัมพนั ธ์โดยภาษา
ชนเผา่ ทุกวนั
4. มกี ารวางแผนสร้าง network opd รวมกบั รพสต.และรพ.ศูนยส์ ายใต้ในการส่งข้อมูลการรักษา เพื่อให้เกดิ
การบูรณาการดา้ นการรกั ษาและเยยี่ มบา้ น แนวคิดใกล้บา้ นใกล้ใจในป2ี 565 มีการขยายความรว่ มมอื กับอ.ส.
ม.ในชมุ ชน
5. มงุ่ หลงั คาเพิ่มพื้นทบ่ี รเิ วณทางเดินหน้าอาคารผ้ปู ่วยนอก
สรปุ การมารบั บริการตามนัดของผรู้ ับบรกิ ารตกึ ผูป้ ่วยนอก รพ.อมก๋อย ประจาปี ๒๕๖๕
1000 จานวนที่นดั มา
900 มาตามนดั
800 ไมม่ าตามนดั
700
600
500
400
300
200
100
0
ต.ค 64 พ.ย 64 ธ.ค 64 ม.ค 65 ก.พ 65 ม.ี ค 65 เม.ย 65 พ.ค 65 มิ.ย 65 ก.ค 65 ส.ค 65 ก.ย 65
แผนภมู ทิ ี่ 7 แสดงร้อยละการมาตามนัดของผูร้ บั บรกิ ารตึกผูป้ ่วยนอก รพ. อมก๋อย ปีงบประมาณ ๒๕๖๕
จากการวเิ คราะหข์ ้อมลู การมารับบริการตามนัดของผรู้ บั บรกิ ารตกึ ผูป้ ่วยนอกพบวา่ มผี ู้รับบรกิ ารมารบั
บริการตามนัด ร้อยละ ๖๑.๓ และมีผู้รับบรกิ ารไม่มารบั บริการตามนดั รอ้ ยละ ๓๘.๗ ซ่ึงในปงี บประมาณ ๒๕๖๕
ถือวา่ อัตราการมารบั บรกิ ารตามนดั เพิ่มมากขึน้ อาจเกี่ยวเน่อื งกับสถานการณ์การแพรร่ ะบาด/ความรุนแรงของ
การตดิ เชือ้ Covid- 19 ทลี่ ดลง และมาตรการการป้องกนั ของทางโรงพยาบาลอมก๋อยท่เี ข้มงวดมากขึน้ จึงทาให้
ผู้รับบรกิ ารมีความม่ันใจทจ่ี ะมารบั บริการตามนดั เพิ่มมากขึน้
18
สรุปสาเหตุการมาผิดนดั ของผู้รับบริการตกึ ผปู้ ่วยนอกรพ.อมก๋อย ประจาปี ๒๕๖๕
200 ไมม่ ีคนมาสง่
180 ลืมดใู บนดั
160 ไมว่ า่ ง
140 ทางาน
120 มากอ่ นนดั
100 ยามีอยู่
จาวนั นดั ผิดวนั
80 อาการดีขนึ้
60
40
20
0
ต.ค 64 พ.ย 64 ธ.ค 64 ม.ค 65 ก.พ 65 ม.ี ค 65 เม.ย 65 พ.ค 65 มิ.ย 65 ก.ค 65 ส.ค 65 ก.ย 65
แผนภูมทิ ่ี 8 แสดงสาเหตุของการมาผดิ นดั ของผรู้ ับบรกิ ารตึกผปู้ ่วยนอก รพ.อมก๋อย ปีงบประมาณ ๒๕๖๕
จากการวเิ คราะหข์ ้อมลู พบวา่ สาเหตุการมารับบริการผิดนัด อนั ดบั ๑ คอื อาการดีขนึ้ คิดเป็นร้อยละ
๓๙.๖ อนั ดับ ๒ การลืมดใู บนัด คิดเป็นร้อยละ ๒๖.๑ อันดับ ๓ ไมม่ ีคนมาส่ง คดิ เป็นร้อยละ ๑๓.๘ อนั ดบั ๔ ไม่
วา่ ง คิดเปน็ ร้อยละ ๑๓.๗ และอันดบั ๕ สาเหตุอนื่ ๆ คิดเป็นรอ้ ยละ ๖.๘ ตามลาดับ ซ่ึงในการลดอตั ราการมาผิด
นัด และเพิ่มอตั ราการมารบั บรกิ ารตามนัดน้ัน อาจจะต้องเนน้ ย้าผู้รับบริการในเร่ืองความสาคญั ของการมารบั
บรกิ ารติดตามอาการตามนัดในข้ันตอนของการให้คาปรึกษาก่อน D/C เพิ่มมากขนึ้
19
การตอบกลับ Refer โรงพยาบาลอมก๋อย
การตอบกลับ Refer หมายถึง การส่งต่อข้อมูลผู้ป่วยกลับไปยังสถานพยาบาลต้นทาง หลังจากได้รับการ
วินิจฉยั และได้รบั การบาบัดรักษาจาเพาะ (Definitive Care) เรยี บรอ้ ยแลว้
รพ.สต. ท่ีมีการส่งตอ่ ผูป้ ว่ ยไปยงั สถานพยาบาลที่มีศกั ยภาพสูงกวา่ หรือสถานพยาบาลที่มีศักยภาพในการ
ดูแลรักษา ด้วยเหตุผลในการส่งต่อ เช่น เกินศักยภาพ เพื่อการวินิจฉัย/รักษา ขาดเคร่ืองมือทางการแพทย์ ขาด
ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ส่งต่อตามสิทธ์ิการรักษา หรือเป็นความประสงค์ของผู้ป่วย/ญาติ เป็นต้น โดยมี รพ.สต. ท่ี
ส่งต่อผปู้ ว่ ยมารบั การรกั ษายงั โรงพยาบาลอมกอ๋ ย ดงั น้ี
1. รพ.แม่ต่นื
2. รพ.สต.หว้ ยนา้ ขาว
3. รพ.สต.มูเซอร์
4. รพ.สต.ยางเปียง
5. รพ.สต.อตู ูม
6. รพ.สต.นาเกียน
7. รพ.สต.แมห่ ลองหลวง
8. รพ.สต.ซิแบร์
9. รพ.สต.ตุงลอย
10.รพ.สต.ทงุ่ ตน้ ง้วิ
11.รพ.สต.สบลาน
แนวทางในการตอบกลับ Refer: เจ้าหน้าท่ีที่รับผิดชอบตอบกลับ Refer ของแต่ละแผนกรวบรวมใบตอบกลับมา
ส่งเจ้าหน้าที่ประจาแผนกผู้ป่วยนอกภายในวันท่ี ๓๐ ของทุกเดือน เพ่ือทาการรวบรวมและออกเลขท่ีใบ Refer
และแยกตอบกลบั ไปยังแต่ละ รพ.สต. โดยฝากเอกสารไวท้ ่ี สสอ. เพือ่ ใหง้ ่ายตอ่ การมารับเอกสาร
20
สรปุ จานวนใบตอบกลบั Refer ของแต่ละ รพ.สต. ต้ังแต่ ตลุ าคม ๒๕๖๑ – กันยายน ๒๕๖๒
เดือน ร.พ รพ. รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต. รพ. รพ.สต.
แม่ สต. มูเซอร์ ยางเปยี ง อตู ูม นาเกยี น แม่ ซแิ บร์ ตุงลอย สต. สบ
ตืน่ ห้วย หลอง ท่งุ ต้น ลาน
น้า หลวง งว้ิ
ขาว
ต.ค. ๔๓ ๐ ๑ ๕ ๑๑ ๑ ๑ ๐ ๒๐๑
พ.ย. ๕๓ ๐ ๑ ๑๔ ๑๑ ๔ ๕ ๐ ๓๑๖
ธ.ค. ๕๐ ๐ ๒ ๘ ๑๘ ๓ ๕ ๐ ๐๓๐
ม.ค. ๕๐ ๐ ๓ ๒ ๙ ๒ ๔ ๐ ๑ ๑ ๕
ก.พ. ๘๓ ๐ ๒ ๑๐ ๑๕ ๒ ๔ ๐ ๑๐๓
มี.ค. ๗๒ ๐ ๓ ๒ ๑๕ ๓ ๕ ๑ ๒๐๐
เม.ย. ๗๗ ๐ ๓ ๕ ๑๒ ๒ ๙ ๐ ๒๐๓
พ.ค. ๖๐ ๐ ๑ ๔ ๑๐ ๑ ๘ ๐ ๒๐๑
มิ.ย. ๗๑ ๐ ๗ ๑๑ ๐ ๐ ๗ ๔ ๙ ๐ ๐
ก.ค. ๕๔ ๐ ๐ ๕ ๖ ๑ ๓ ๓ ๓ ๐ ๔
ส.ค. ๔๘ ๐ ๑ ๘ ๑๐ ๐ ๐ ๐ ๐๐๓
ก.ย. ๔๗ ๑ ๒ ๘ ๒๒ ๔ ๓ ๑ ๐๐๑
รวม ๗๐๘ ๑ ๒๖ ๘๒ ๑๓๙ ๒๓ ๕๔ ๙ ๒๕ ๕ ๒๗
ตารางที่5. แสดงใบตอบกลับrefer ของแต่ละรพ.สต.ต้งั แต่ ตลุ าคม๖๑-กันยายน๖๒
21
สรปุ จานวนใบตอบกลับ Refer ของแต่ละ รพ.สต. ตงั้ แต่ ตุลาคม ๒๕๖๒ – กันยายน ๒๕๖๓
เดอื น ร.พ รพ. รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต.
แม่ สต. มเู ซอร์ ยางเปียง อตู มู นาเกียน แม่ ซิแบร์ ตงุ ลอย ทุ่งตน้ สบ
ต่นื ห้วย หลอง ง้ิว ลาน
น้า หลวง
ขาว
ต.ค. ๔๓ ๐ ๑ ๕ ๑๑ ๑ ๑ ๐ ๒ ๐ ๑
พ.ย. ๕๓ ๐ ๑ ๑๔ ๑๑ ๔ ๕ ๐ ๓ ๑ ๖
ธ.ค. ๕๐ ๐ ๒ ๘ ๑๘ ๓ ๕ ๐ ๐ ๓ ๐
ม.ค. ๖๔ ๐ ๒ ๗ ๑๐ ๓ ๒ ๑ ๒ ๐ ๑
ก.พ. ๓๙ ๐ ๑ ๔ ๑๔ ๒ ๔ ๒ ๐ ๐ ๐
มี.ค. ๕๐ ๐ ๐ ๑ ๘ ๗ ๔ ๑ ๑ ๐ ๑
เม.ย. ๓๘ ๐ ๑ ๑ ๓ ๕ ๒ ๒ ๐ ๑ ๑
พ.ค. ๓๗ ๐ ๔ ๑ ๑๐ ๗ ๒ ๒ ๑ ๐ ๑
มิ.ย. ๕๑ ๐ ๓ ๐ ๒๑ ๓ ๓ ๑ ๐ ๐ ๐
ก.ค. ๕๐ ๑ ๓ ๓ ๑๕ ๒ ๖ ๒ ๒ ๐ ๑
ส.ค. ๕๙ ๐ ๓ ๑๒ ๘ ๑ ๓ ๑ ๐ ๐ ๐
ก.ย. ๒๑ ๑ ๖ ๑๐ ๔ ๗ ๙ ๑ ๑ ๐ ๐
รวม ๕๘๕ ๒ ๒๗ ๖๖ ๑๓๓ ๔๕ ๔๖ ๑๓ ๑๒ ๕ ๑๒
ตารางที่6. แสดงใบตอบกลับrefer ของแตล่ ะรพ.สต.ต้งั แต่ ตุลาคม๒๕๖๒-กรกฎาคม๒๕๖๓
22
สรุปจานวนใบตอบกลับ Refer ของแต่ละ รพ.สต. ตง้ั แต่ ตุลาคม ๒๕๖๓ – กนั ยายน ๒๕๖๔
เดอื น ร.พ รพ. รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต.
แม่ สต. มูเซอร์ ยางเปยี ง อูตูม นาเกียน แม่ ซิแบร์ ตงุ ลอย ทุง่ ตน้ สบ
ตื่น ห้วย หลอง งว้ิ ลาน
นา้ หลวง
ขาว
ต.ค. ๕๕ ๐ ๖ ๖ ๑๒ ๗ ๖ ๒ ๐ ๐ ๑
พ.ย. ๕๐ ๑ ๒ ๔ ๑๐ ๑ ๓ ๔ ๔ ๐ ๒
ธ.ค. ๔๔ ๐ ๗ ๓ ๑๐ ๓ ๘ ๑ ๐ ๐ ๑
ม.ค. ๕๒ ๐ ๒ ๑ ๑๒ ๘ ๑๓ ๐ ๑ ๐ ๒
ก.พ. ๔๙ ๑ ๔ ๗ ๙ ๓ ๔ ๓ ๑ ๐ ๐
มี.ค. ๕๘ ๑ ๑ ๙ ๑๑ ๒ ๙ ๐ ๒ ๐ ๐
เม.ย. ๔๒ ๓ ๔ ๑ ๖ ๗ ๒ ๓ ๐ ๐ ๑
พ.ค. ๔๑ ๒ ๕ ๔ ๖ ๕ ๒ ๑ ๐ ๐ ๐
มิ.ย. ๒๖ ๒ ๒ ๔ ๔ ๓ ๗ ๑ ๑ ๐ ๐
ก.ค. ๒๑ ๑ ๓ ๒ ๘ ๑ ๐ ๒ ๐ ๐ ๑
ส.ค. ๓๕ ๐ ๒ ๐ ๔ ๓ ๔ ๑ ๑ ๐ ๐
ก.ย. ๑๒ ๐ ๑ ๑ ๗ ๓ ๑ ๑ ๐ ๐ ๓
รวม ๔๘๕ ๑๑ ๓๙ ๔๒ ๙๙ ๔๖ ๕๙ ๑๙ ๑๐ ๐ ๑๑
ตารางที่7. แสดงใบตอบกลับrefer ของแตล่ ะรพ.สต.ตง้ั แต่ ตลุ าคม๒๕๖3-กรกฎาคม๒๕๖4
23
สรุปจานวนใบตอบกลบั Refer ของแต่ละ รพ.สต. ต้ังแต่ ตุลาคม ๒๕๖4 – กนั ยายน ๒๕๖5
เดือน ร.พ รพ. รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต. รพ.สต.
แม่ สต. มูเซอร์ ยางเปยี ง อตู ูม นาเกยี น แม่ ซแิ บร์ ตงุ ลอย ทงุ่ ต้น สบลาน
ตน่ื ห้วย หลอง ง้วิ
น้า หลวง
ขาว
-๒๐๐ ๑๐ ๐ ๒ ๑ ๒ ๓ ๔๒๐๐๐
พ.ย. พ ๑๖ ๑ ๑ ๐ ๗ ๒ ๙ ๑ ๐ ๐ ๐
ธ.ค. ๒๒ ๐ ๑ ๐ ๒ ๓ ๕ ๐ ๐ ๐ ๑
ม.ค. ๒๓ ๐ ๑ ๐ ๘ ๑ ๘ ๑ ๐ ๐ ๐
ก.พ. ๒๒ ๐ ๒ ๐ ๔ ๓ ๒ ๑ ๐ ๐ ๑
มี.ค. ๑๒ ๐ ๕ ๐ ๒ ๒ ๐ ๑ ๐ ๐ ๑
เม.ย. ๑๐ ๐ ๐ ๐ ๙ ๕ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐
พ.ค. ๐ ๐ ๑ ๐ ๒ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐
มิ.ย. ๑๕ ๐ ๑ ๐ ๖ ๓ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐
ก.ค. ๑๗ ๐ ๑ ๐ ๓ ๑ ๕ ๐ ๐ ๐ ๑
ส.ค. ๒๑ ๐ ๑ ๑ ๙ ๒ ๗ ๒ ๐ ๐ ๑
ก.ย. ๘ ๐ ๑ ๐ ๗ ๔ ๓ ๐ ๐ ๐ ๒
รวม ๑๗๖ ๑ ๑๗ ๒ ๖๑ ๒๙ ๔๓ ๘ ๐ ๐ ๗
ตารางที8่ . แสดงใบตอบกลับrefer ของแต่ละรพ.สต.ตง้ั แต่ ตุลาคม ๒๕๖๔- กันยายน ๒๕๖๕
24
แผนภูมิที่ 9 แสดงจานวนใบตอบกลับreferตั้งแตเ่ ดอื น ตุลาคม ๒๕๖๑- กันยายน ๒๕๖5
จากแผนภูมิจะเห็นได้ว่า ตั้งแต่เดือนตุลาคม ๒๕๖๑ – กันยายน ๒๕๖๒ มีจานวนใบตอบกลับ Refer
ท้ังหมด ๑๐๙๙ ฉบับ ตั้งแต่เดือนตุลาคม ๒๕๖๒ – กันยายน ๒๕๖๓ มีจานวนใบตอบกลับ Refer ทั้งหมด ๙๔๖
ฉบับ และต้ังแต่เดือนตุลาคม ๒๕๖4 – กันยายน ๒๕๖5 มีจานวนใบตอบกลับ Refer ทั้งหมด 343 ฉบับ โดย
รพ.แม่ตื่น มีจานวนใบตอบกลับ Refer มากทส่ี ดุ โดยปัญหาที่พบคือเจา้ หน้าท่สี ง่ กลับใบ Refer ช้า ทาให้เจ้าหน้าท่ี
รพ.สต. ติดตามดูแลผู้ป่วยได้ล่าช้า วิธีแก้ไขปัญหาคือ ในกรณีท่ีแพทย์ต้องการให้ทาง รพ.สต.ติดตามผู้ป่วยอย่าง
ใกล้ชดิ ต่อเนอื่ ง จะส่งรายละเอียดการรับการรักษาใหเ้ จ้าหน้าที่ รพ.สต.ผ่านทางไลน์ ระบบใบส่งตัว คปสอ.อมก๋อย
เพื่อให้เจ้าหน้าที่รับทราบเคสในทันที และอีกปัญหาท่ีพบคือตัวหนังสือในใบตอบกลับเรือนลาง อ่านยาก วิธีแก้ไข
ปัญหาคือ ปริ้นใบเวชระเบียนติดกับใบตอบกลับ Refer เพื่อเห็นประวัติการรับการรักษาอย่างครบถ้วน อ่านง่าย
ติดตามดูแลได้อยา่ งตรงจดุ ตามแผนการรักษาแพทย์
25
อัตราการการมาขอใบสง่ ตัว
ในระบบออนไลน์และมาผดิ ขนั้ ตอนในปีงบประมาณ2565
ตรวจสอบและบันทึกข้อมลู ท่ีได้จากใบเวชระเบียนในระบHosxp.และใบสง่ ตวั วิเคราะหข์ ้อมูลลงในนคอมพิวเตอร์
แสดงผลในรปู แบบตาราง,กราฟและการพรรณนา เปรยี บเทียบการมาขอรบั ใบสง่ ตัวในระบบออนไลน์กบั มาผิด
ขนั้ ตอนการขอใบสง่ ตัวออนไลน์โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวน ทางเดียว (one-way anaylsis of vaviance)
26
รายการ จานวน
เพศ 58
ชาย 90
หญิง
36
อายุ 112
น้อยกวา่ 15ปี
มากกวา่ 15ปี 148
สทิ ธิบัตร 15
บัตรทอง 30บาท 12
2
สถานบริการท่ีสง่ ผปู้ ่วยมา 0
รพ.สต.อูตูม 16
รพ.สต.นาเกียน 25
รพ.สต.แมห่ ลอง 3
รพ.แมต่ นื่ 7
รพ.สต.ห้วยน้าขาว 45
รพ.สต.ยางเปียง 12
รพ.สต.ทุง่ ต้นง้วิ 11
รพ.สต.ซิแบร์
รพ.สต.ตุงลอย 81
รพ.สต.สบลาน 19
รพ.สต.มูเชอร์ 46
0
สถานบรกิ ารท่ีสง่ ผปู้ ว่ ยไป 1
รพ.จอมทอง 1
รพ.นครพงิ ค์
รพ.มหาราชนครเชียงใหม่ 65
รพ.ประสาท 9
รพ.สวนปรงุ 22
รพ.อน่ื ๆ 8
19
แผนกที่รบั ผปู้ ่วยไวต้ รวจรักษาต่อ 23
อายรุ กรรม 2
ศัลยกรรม
กมุ ารเวชกรรม
สตู ิ-นรีเวชกรรม
ศัลยกรรมกระดูก
ตา และหู คอ จมูก
อ่นื ๆ
ตารางท่ี 9 ข้อมูลผู้ป่วยทีม่ าขอใบส่งตวั ออนไลน์ตามระบบ ปงี บประมาณ2565
27
รพ.สต.อตู ูม จานวนแสดงการมารบั ใบส่งตวั แบบออนไลน์ในงบปี 2565
รพ.สต.นาเกียน ต.ค พ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ ม.ี ค เม.ย พ.ค มิ.ย ก.ค ส.ค ก.ย รวม
รพ.สต.แม่หลอง 4 5 2 1 0 0 1 0 1 1 0 0 15
รพ.แม่ตื่น 4 0 0 1 1 1 1 1 1 1 1 0 12
รพ.สต.ห้วยนา้ ขาว 1 0 0 1 0 0 0 000002
รพ.สต.ยางเปยี ง 0 0 0 0 0 0 0 000000
รพ.สต.ทุ่งตน้ งวิ้ 6 0 2 1 2 2 0 1 2 0 0 0 16
รพ.สต.ซิแบร 9 3 2 2 2 4 0 0 0 0 0 3 25
รพ.สต.ตงุ ลอย 2 0 0 1 0 0 0 000003
รพ.สต.สบลาน 1 2 1 2 0 1 0 000007
รพ.สต.มเู ชอร์ 19 6 6 2 3 1 0 3 1 0 1 3 45
รวม 1 0 0 1 1 1 0 0 0 1 3 4 12
5 2 0 0 0 2 0 0 2 0 0 0 11
52 18 13 12 9 12 2 5 7 3 5 10 148
ตารางท1่ี 1 จานวนแสดงการมารับใบส่งตวั แบบออนไลน์ในงบปี 2565
จานวนแสดงการมารับใบส่งตัวแบบออนไลนใ์ นงบปี 2565
45
40
35
30
25
20
15
10
5
0
รพ.สต.อูตูม
รพ.สต.นาเ ีกยน
รพ.สต.แม่หลอง
รพ.แม่ ่ืตน
รพ.สต.ห้วยน้าขาว
รพ.สต.ยางเ ีปยง
รพ.สต. ่ทุงต้น ิง้ว
รพ.สต.ซิแบร
รพ.สต.ตุงลอย
รพ.สต.สบลาน
รพ.สต.มูเชอร์
แผนภมู ทิ ี่ 10 แสดงจานวนการมารบั ใบสง่ ตัวแบบออนไลน์ในปี 2565
28
จานวนแสดงการมารับใบสง่ ตัวแบบออนไลนผ์ ดิ ระบบในงบปี 2565
ต.ค พ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ มี.ค เม.ย พ.ค มิ.ย ก.ค ส.ค ก.ย รวม
รพ.สต.อตู มู 7 12 26 15 3 0 0 0 0 0 0 0 63
รพ.สต.นาเกียน 6 17 8 5 5 3 0 0 0 1 0 0 45
รพ.สต.แมห่ ลอง 10 10 7 4 6 2 0 0 1 2 1 0 43
รพ.แม่ต่นื 25 6 18 17 14 7 3 0 3 2 0 0 95
รพ.สต.หว้ ยน้าขาว 8 8 7 1 3 1 0 0 0 0 0 0 28
รพ.สต.ยางเปยี ง 6 12 13 4 11 7 1 0 0 0 0 0 54
รพ.สต.ทงุ่ ต้นงว้ิ 5 2 11 2 2 0 0 0 0 0 0 0 22
รพ.สต.ซิแบร์ 7 5 11 2 5 2 0 0 0 0 0 0 32
รพ.สต.ตุงลอย 47 18 25 39 25 22 3 1 5 1 0 0 186
รพ.สต.สบลาน 23 8 9 2 8 2 0 0 1 1 0 0 54
รพ.อมกอ๋ ย 78 16 15 17 16 14 2 0 4 2 1 0 165
รพ.สต.มเู ชอร์ 12 9 20 9 4 1 0 0 0 2 0 0 57
รวม 234 123 170 117 102 61 9 1 14 11 2 0 844
ตารางท1่ี 1 จานวนแสดงการมารับใบสง่ ตวั แบบออนไลน์ผิดระบบในงบปี 2565
แผนภูมแิ สดงจานวนแสดงการมารับใบส่งตวั แบบออนไลน์ผดิ ข้ันตอนในงบปี 2565
200
180
160
140
120
100
80
60
40
20
0
รพ.สต.อูตูม
รพ.สต.นาเกียน
รพ.สต.แม่หลอง
รพ.แม่ ่ืตน
รพ.สต.ห้วยน้าขาว
รพ.สต.ยางเ ีปยง
รพ.สต. ่ทุงต้น ิง้ว
รพ.สต.ซิแบร
รพ.สต.ตุงลอย
รพ.สต.สบลาน
รพ.อมก๋อย
รพ.สต.มูเชอร์
แผนภูมทิ ่ี 11 แสดงจานวนการมารับใบส่งตวั แบบออนไลน์ผดิ ข้นั ตอนในปี 2565
29
ตารางที่ 12 จานวนแสดงการมาขอรับใบสง่ ตัวแบบออนไลน์ถกู ต้องตามระบบและมาขอใบส่งตวั แบบออนไลน์ผิด
ระบบในงบปี 2565
รายช่อื รพ.สต ผดิ ขั้นตอน ระบบออนไลน์
รพ.สต.อตู ูม 7 15
รพ.สต.นาเกียน 19 12
รพ.สต.แม่หลอง 14 2
รพ.แมต่ น่ื 16 0
รพ.สต.หว้ ยน้าขาว 14 16
รพ.สต.ยางเปียง 44 25
รพ.สต.ทงุ่ ต้นงว้ิ 5 3
รพ.สต.ซแิ บร 8 7
รพ.สต.ตุงลอย 62 45
รพ.สต.สบลาน 20 12
รพ.อมก๋อย 59 0
รพ.สต.มเู ชอร์ 5 11
รวม 273 148
ตารางที่ 12 จานวนแสดงการมาขอรับใบส่งตัวแบบออนไลน์ถูกตอ้ งตามระบบและมาขอใบส่งตวั แบบออนไลน์
ผดิ ระบบในงบปี 2565
รายชื่อรพ.สต ปี2563 ปี 2564 ปี2565
8 12
รพ.สต.อตู มู 1 13 15
รพ.สต.นาเกียน 26 12
รพ.สต.แมห่ ลอง 14 61 2
รพ.แม่ต่นื 3 20 0
รพ.สต.หว้ ยนา้ ขาว 2 23 16
รพ.สต.ยางเปียง 01 25
รพ.สต.ทุ่งตน้ งว้ิ 15 3
รพ.สต.ซแิ บร 1 53 7
รพ.สต.ตุงลอย 0 13 45
รพ.สต.สบลาน 09 12
รพ.สต.มูเชอร์ 32 216 11
รวม 148
ตารางที่ 13 จานวนแสดงการมาขอรับใบสง่ ตัวแบบออนไลนถ์ กู ตอ้ งตามระบบ ในงบปี2563-2565
30
แผนภมู ิแสดงจานวนการสง่ ต่อออนไลนข์ องรพ.สต.อาเภออมก๋อย ปี 2563- 2565
250
200
150
100
50
0
รพ.สต.อูตูม
รพ.สต.นาเกียน
รพ.สต.แม่หลอง
รพ.แม่ ่ืตน
รพ.สต.ห้วยน้าขาว
รพ.สต.ยางเ ีปยง
รพ.สต. ่ทุงต้น ิง้ว
รพ.สต.ซิแบร
รพ.สต.ตุงลอย
รพ.สต.สบลาน
รพ.อมก๋อย
รพ.สต.มูเชอร์
รวม
ปี63 ปี 64 ปี 65
แผนภูมทิ ี่ 12 แสดงจานวนการมารับใบส่งตัวแบบออนไลน์ย้อนหลงั 3 ปี
แผนภูมแิ สดงจานวนการส่งตอ่ ออนไลนข์ องรพ.สต.อาเภออมก๋อย ปี 2563- 2565
250
200
150
100
50
0
ปี2563 ปี2564 ปี2565
แผนภูมิท่ี 13 แสดงจานวนการมารับใบส่งตวั แบบออนไลน์ภาพรวมปี 2563-2565
จากตารางแผนภูมิที่13 เปรียบเทียบจานวนผู้มาขอรบั บริการขอใบส่งตัวออนไลน์ ท้ัง3 ปี งบประมาณ
2563,2564และ2565การดาเนนิ งานท่ผี ่านมาพบว่ามีผ้มู าขอรบั บริการขอใบส่งตวั ออนไลน์ จากรพ. อมกอ๋ ย ในปี
งบ 2563 มี 32ราย ปงี บ 2564 เพม่ิ ขน้ึ เปน็ 216 รายและในปีงบ 2565 จานวนผ้มู าขอรับบริการขอใบสง่ ตัว
ออนไลน์ ลดลงเหลอื เพยี ง 148 รายเนอ่ื งจาก สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
2019 ประชาชนในอาเภออมก๋อย เกิดความกังวลและกลัวการการระบาดของเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 จึงออกจาก
บ้านเมื่อจาเป็นเท่านั้น คนไข้ทอี่ าการดขี ้ึนหรือไม่มีอาการผิดปกติ กลุ่มนจ้ี งึ ไม่ไปรับบรกิ ารตรวจรกั ษาตามนดั และ
ในอีกกลุ่มหนึง่ คือต้องมารับการตรวจทางหอ้ งปฏิบัติการทีโ่ รงพยาบาลเชน่ ตรวจ ATK , swab covid เพื่อนาผลไป
ตามนดั จงึ จาเป็นต้องมาขอใบสง่ ตวั ที่โรงพยาบาล จึงทาให้จานวนผปู้ ว่ ยมาขอรับบรกิ ารใบส่งตัวออนไลน์ ในปงี บ
2565 ลดลงเมือ่ เทยี บกับ ปงี บ2564 ซึ่งเจ้าหนา้ ทยี่ งั คงดาเนินการประชาสัมพันธข์ า่ วสารไปยังรพ.สต.และหมูบ่ ้าน
31
ต่างๆ ในอาเภออมก๋อย เพื่อให้ผู้มารบั บริการได้เลง็ เห็นถึงความสะดวกสบายในการให้บริการและลดการระยะเวลา
คา่ ใชจ้ ่ายในการเดนิ ทางมารพ. อย่างต่อเน่ือง
ระบบสง่ ต่อออนไลน์ ในปีพ.ศ.2565 กลุ่มงานผู้ป่วยนอกได้สร้างระบบrefer online โดยรว่ มกับภาคี
เครือข่ายคือ รพสต. อสม. และผนู้ าทอ้ งถิ่น ในอาเภออมกอ๋ ย จ.เชียงใหม่ ทาให้ระบบส่งต่อออนไลน์ มี
ประสิทธภิ าพมากยิ่งข้นึ โดยนาระบบ Computer Network (ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์) เทคโนโลยีส่ือทางด้าน
social media และ e-mail เป็นสอื่ การติดต่อเพ่ิมเขา้ มาเป็นนวัฒกรรมในเรือ่ งการดแู ลสุขภาพผู้ป่วย อาเภออม
ก๋อย
จากฐานขอ้ มูล ในปี พ.ศ. 2563 มีจานวนผูม้ ารับบรกิ ารในระบบการส่งต่อ online จานวนทัง้ สิน้ 32ราย
ปี พ.ศ.2564 มีจานวนทงั้ สน้ิ 216 ราย และในปี พ.ศ.256 มีจานวนทง้ั ส้นิ 148 ราย จากจานวนผมู้ ารับบรกิ ารขอ
ใบส่งตวั ในรพ.อมก๋อย ท้งั หมด273ราย เม่ือคิดเป็น เปอร์เซ็นต์ จงึ ได้เทา่ กับ 35.15% ของผรู้ ับบริการทัง้ หมด แต่
หาก นาจานวนผมู้ ารับบรกิ ารท่ีอยู่ในเขตบรกิ าร ของอาเภออมก๋อย ออก ซ่ึงจะเหน็ ได้ว่าอัตราการมารบั บริการ ใน
ระบบสง่ ตอ่ ออนไลน์ ท้ังหมดคิดเปน็ 40.88% หรอื 2ใน 4 จากจานวนผู้มารับบริการของรพ.สต.ทงั้ หมด ซงึ่ จาก
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 ประชาชนในอาเภออมก๋อย เกดิ ความกังวลและกลัว
การการระบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 จึงออกจากบา้ นเมื่อจาเป็นเทา่ น้นั คนไขท้ ่ีอาการดขี ึ้นหรือไม่มีอาการ
ผิดปกติ กลุ่มน้ีจึงไม่ไปรบั บรกิ ารตรวจรักษาตามนดั และในอีกกลุ่มหนึง่ คือต้องมารับการตรวจทางห้องปฏบิ ัติการที่
โรงพยาบาลเช่น ตรวจ ATK , swab covid เพอ่ื นาผลไปตามนดั จงึ จาเปน็ ต้องมาขอใบสง่ ตัวท่โี รงพยาบาลและ
บางรายยงั มคี วามจาเปน็ ในการมารับการเพอ่ื ทาหตั ถการอนื่ ๆดว้ ย
จากแนวทางดงั กล่าวทาให้เจ้าหน้าที่มีความคดิ เหน็ ท่ีจะพฒั นาระบบงาน คือ เพิ่มขีดความสามารถของ
ภาคีเครือข่ายเพ่ือให้เกดิ การบูรณาการ ในงานระบบสง่ ต่อonline เพมิ่ มากยิ่งขึ้น โดยจะเปน็ การเพม่ิ ศกั ยภาพ
ของอสม.ตามเขตรับผดิ ชอบ ใหม้ ีการลงพืน้ ที่ ทผี่ ู้ป่วยอาศยั อยู่ รวมทงั้ ยังจะช่วย้ในการเข้าถึงชมุ ชนและเปน็ การบูร
ณาการร่วมกับชมุ ชนได้อย่างดีย่ิงขึ้น โดยใหอ้ สม.แตล่ ะพ้นึ ทร่ี บั ผิดขอบออกตดิ ตามผูป้ ว่ ยท่ีมใี บนัดจากรพ.ท่รี บั การ
รกั ษาเพ่อื สง่ ต่อข้อมลู ออนไลน์ และสง่ ขอ้ มลู ไปยังรพสต.ทรี่ ับผดิ ชอบในเขตพ้นื ท่นี น้ั ๆ เพอื่ ให้ผ้ปู ่วยเกิดความ
สะดวกและได้รับการดูแลอย่างต่อเน่ือง รวมทัง้ ติดตามเยย่ี มcase ได้อย่างต่อเนื่อง ดังน้นั ในปี 2566 หนว่ ยงาน
ผปู้ ่วยนอกท่รี ับผิดชอบในการจดั ทาดูแลระบบส่งตอ่ on line จึงไดม้ กี ารวางแผนเพื่อพฒั นาเกีย่ วกับระบบส่งตอ่
online รวมถึงการเกบ็ รวบรวมข้อมูล จานวนผู้ป่วยท่ีมาผิดระบบการมาขอรบั ใบส่งตัว on line จงึ เห็นว่าในปี
2566 ควรมกี ารเกบ็ ขอ้ มลู ในสว่ นน้ี เพ่อื ใหเ้ กิดแนวทาง ในการพัฒนาสืบเนื่องต่อไป