The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปผลการดำเนินงานของกลุ่มการพยาบาลรพ.อมก๋อย ปีงบประมาณ2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by oamamjib, 2022-12-06 00:51:20

สรุปผลการดำเนินงานของกลุ่มการพยาบาลรพ.อมก๋อย ปีงบประมาณ2565

สรุปผลการดำเนินงานของกลุ่มการพยาบาลรพ.อมก๋อย ปีงบประมาณ2565

ตดิ เชื้อในโรงพยาบาลอมก๋อย ประจาปี 2565

ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ผู้รบั
ผดิ ชอบ

IPC
ICN+ICWN

1


กจิ กรรม ต.ค. พ.ย. ธ

1.4 เฝา้ ระวังการตดิ เชื้อในผู้ป่วยหลังการจาหนา่ ย

1.5 ตรวจสอบประสิทธภิ าพการเฝา้ ระวงั โรคตดิ เชือ้ ในโรงพยาบาล

1.6 สารวจความชกุ ของโรคตดิ เช้อื ในโรงพยาบาล

2. การเฝ้าระวงั การติดเชื้อในเจ้าหน้าท่ี

2.1 ตรวจสุขภาพเจ้าหน้าทก่ี ่อนประจาการทกุ ราย

2.2 ตรวจสุขภาพเจ้าหน้าทีข่ ณะประจาการ

2.3 ตรวจสุขภาพเจ้าหนา้ ทเ่ี ฉพาะความเสยี่ ง รว่ มกับงานอาชวี อนามัยใน

โรงพยาบาล

2.4 วเิ คราะหข์ ้อมูล แปรผลภาวะสขุ ภาพอนามัย ดาเนนิ การแก้ไข นาเสนอ

คณะกรรมการ IPC

2.5 ประสานงานกบั ทมี HPH ในการวิเคราะหภ์ าวะสขุ ภาพ และจดั กิจกรรม

แก้ปัญหา

2.6 เฝา้ ระวังการเกดิ อุบัตเิ หตุจากการปฏบิ ัติงาน

2.7 กระตุ้นเจา้ หนา้ ท่ีใหป้ ฏิบตั ิตามแนวทางเม่อื เกดิ อบุ ัตเิ หตุจากการปฏบิ ัตงิ าน


ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ผู้รับ
ผดิ ชอบ

ICN+HPH

2


กิจกรรม ต.ค. พ.ย. ธ

2.8 กระตุ้นเจ้าหนา้ ทใ่ี ชห้ ลกั UP ในการปฏิบัติงานโดย IPCN round

3. การเฝ้าระวงั การติดเชื้อในระบบสุขาภิบาลสงิ่ แวดลอ้ ม

3.1 หน่วยจา่ ยกลาง
- - ตรวจสอบการทาใหป้ ราศจากเช้อื 3 ท้ังกระบวนการ
- - กากบั ติดตามการปฏิบัตงิ านใหไ้ ด้ตามมาตรฐาน
3.2 หน่วยซักฟอก
- - ทบทวนแนวทางปฏิบัตกิ ารป้องกนั การแพรก่ ระจายเชอื้
- - กากับติดตามการปฏิบตั ิงานใหไ้ ดต้ ามมาตรฐาน
3.3 โรงครวั
- - ทาลายเช้อื ในภาชนะบรรจอุ าหารทกุ ช้นิ ท่ผี า่ นการใช้กับผู้ป่วยทกุ ประเภท
- - แยกอปุ กรณ์สาหรับผูป้ ว่ ยโรคติดเชื้อทางเดินอาหาร
- - ทบทวนแนวทางปฏบิ ตั กิ ารปอ้ งกันการแพรก่ ระจายเชอ้ื
- - กากับติดตามการปฏิบตั ิงานใหไ้ ดต้ ามมาตรฐาน

3.4 หนว่ ยกาจัดขยะติดเชื้อ
- - รณรงคเ์ ร่ืองการแยกขยะตดิ เชื้อใหถ้ ูกต้อง
- - ทบทวนแนวทางปฏิบตั ิการป้องกันการแพร่กระจายเชอื้
- - กากับตดิ ตามการปฏิบตั งิ านให้ได้ตามมาตรฐาน


ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ผู้รับ
ผิดชอบ

ICN

ICWN

ICN+
ENV

3


กจิ กรรม ต.ค. พ.ย.

3.5 หน่วยบาบดั นา้ เสีย
- - ตรวจสอบคณุ ภาพของน้าเสียก่อนปลอ่ ยลงในแหลง่ ชุมชนทุก 3 เดอื น( BOD )
- - ประสานกับทีม ENV ในการพฒั นาระบบบาบดั นา้ เสยี
- - ประสานงานกับทมี ENV ในการตรวจสอบการทางานของระบบบาบัดอยา่ ง

น้อยปลี ะ 1 คร้งั
- - ทบทวนแนวทางปฏิบัตกิ ารปอ้ งกนั การแพร่กระจายเชื้อสูช่ มุ ชน
- - กากบั ติดตามการปฏิบตั ิงานใหไ้ ด้ตามมาตรฐาน

3.6 หนว่ ยบาบดั นา้ ใช้
- - ตรวจสอบปรมิ าณ chlorine ตกคา้ งในน้าใชต้ ามจดุ ต่าง ทกุ วัน
- - ตรวจสอบความเปน็ กรด-ดา่ ง ในนา้ ใช้ทกุ เดือน
- - ทบทวนแนวทางปฏบิ ตั ิการป้องกนั การแพรก่ ระจายเชอ้ื
- - กากบั ตดิ ตามการปฏิบตั ิงานให้ไดต้ ามมาตรฐาน
- - ตรวจ E.coli และ coli form bacteria ในน้าใช้ ทุก 3 เดือน


ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ผู้รับ
ผิดชอบ
ICN +
ENV

4


กจิ กรรม ต.ค. พ.ย. ธ

3.7 หนว่ ยซ่อมบารงุ

- - ให้ความรู้เกีย่ วกบั การแพรก่ ระจายเชอ้ื และการปอ้ งกนั โรคตดิ เชอ้ื
- - ทบทวนแนวทางปฏบิ ัติการปอ้ งกันการแพร่กระจายเชื้อ
- - กากับติดตามการปฏิบัติงานใหไ้ ดต้ ามมาตรฐาน
3.8 หนว่ ยยานยนต์
- - กระตุ้นใหเ้ จ้าหนา้ ท่ีปฏบิ ตั ิงานตามมาตรฐานการปอ้ งกันการแพร่กระจายเช้อื
- - ทบทวนแนวทางปฏิบัตกิ ารป้องกันการแพร่กระจายเช้อื
- - กากบั ติดตามการปฏิบตั งิ านให้ได้ตามมาตรฐานการปอ้ งกนั และควบคุมการ

แพร่กระจายเชื้อในโรงพยาบาล
3.9 กากับตดิ ตามทุกหนว่ ยงานในดา้ นการจัดอาคารสถานที่ อปุ กรณ์ เคร่อื งมือ

เคร่อื งใช้ โดยใชห้ ลัก 5ส.รว่ มกับคณะกรรมการ ENV

4 กจิ กรรมอื่นๆ
4.1 การควบคุมเทคนคิ บริการโดย ICN Round
4.2 นเิ ทศการปฏบิ ัติงานภายในโรงพยาบาล
4.3 นเิ ทศการปฏบิ ัตงิ านรพ.สต
4.4 ประชมุ วิชาการฟื้นฟูความร้ขู อง IC


ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ผู้รับ
ผิดชอบ

ICN+
ENV
ICN

5


กจิ กรรม ต.ค. พ.ย. ธ

5.การพัฒนาดา้ นวิชาการ

- ปฐมนเิ ทศเจา้ หน้าทีใ่ หมท่ กุ ระดบั กอ่ นประจาการ
- อบรมฟ้ืนฟคู วามรู้เจา้ หนา้ ที่โรงพยาบาล + สถานีอนามัย
- อบรมฟน้ื ฟคู วามรแู้ กผ่ ชู้ ว่ ยเหลือคนไข้,คนงาน,พนักงานขบั รถ
- อบรมซ้อมแผนในการป้องกนั โรคอบุ ัติใหม-่ อบุ ตั ิซา้
- อบรมพฒั นาศักยภาพ ICWN ประจาปี

6. สรุปผลงานการดาเนินงานป้องกันและควบคุมการติดเช้ือในโรงพยาบาล
ประจาปีงบประมาณ 2565


ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ผู้รับ
ผิดชอบ

IPC
ICN

6


2. คณะกรรมการป้องกันและควบคุมโรคติดเชอื้ ในโรงพยาบาล

คณะกรรมการปอ้ งกนั และควบคมุ การตดิ เชือ้ ในโรงพยาบาล ปี 2565 ประกอบด้วยเจา้ หนา้ ท่จี ากฝา่ ยตา่ งๆ ดังน้ี

1. นส.นรศิ รารตั น์ เตรยี มวิศษิ ย์ ประธานกรรมการ
2. นายธนกร แก้วจา รองประธานกรรมการ

3. นส.กุศลนิ การะหงษ์ กรรมการ
4. นส.จริ าพรรณ จันทร์แดง กรรมการ
5. นายรัตนพงษ์ สิงหก์ ุย กรรมการ

6. นส.เรวดี วงศธ์ นาปารกลุ กรรมการ
7. นายณรงค์ศกั ดิ์ สุภา กรรมการ

8. นส.สุนิษา กันทา กรรมการ
9. นส.อรอนงค์ บปุ ผาศรไี สว กรรมการ
10. นางสริ ินาถ ใจภภิ ักด์ิ กรรมการ

11. นส.วจิ ติ รา อนิ ต๊ะ กรรมการ
12. นส.วนิดา ปนิ่ แก้ว กรรมการ

13. นางวิไลพร ศิริ กรรมการและเลขานกุ าร
14. นส.สุภสั สรา สุรยิ บุปผา กรรมการและผ้ชู ่วยเลขานุการ

7


บทบาทหนา้ ทค่ี ณะกรรมการ IPC ( Infection and Prevention Committee )
1. กาหนดนโยบายของโรงพยาบาลท่ีเกย่ี วขอ้ งกับการปอ้ งกนั และควบคมุ การติดเชื้อในโรงพยาบาล รวมทงั้ แนวปฏบิ ตั ทิ ่ีเป็น

รูปธรรม
2. กาหนดกลไกในการเฝา้ ระวังการตดิ เช้ือในโรงพยาบาล กาหนดวธิ ีการเก็บรวบรวมข้อมลู ผู้รวบรวมข้อมูล ผ้รู บั ผิดชอบใน

การรวบรวมข้อมลู วิเคราะห์ นาเสนอข้อมูล และนาข้อมูลไปใช้ในการดาเนนิ งาน
3. กาหนดมาตรการและแนวทางในการปอ้ งกันและควบคมุ การติดเช้ือในโรงพยาบาล
4. กาหนดแนวทางในการเผยแพรข่ ้อมูลขา่ วสารเกย่ี วกับการตดิ เช้ือในโรงพยาบาล ความไวตอ่ ยาตา้ นจลุ ชีพของเชื้อที่ตรวจพบ

ในโรงพยาบาล เพื่อให้แพทยแ์ ละบุคลากรของโรงพยาบาลทราบอยา่ งทั่วถงึ และทันต่อเหตุการณ์
5. ดาเนินการใหม้ กี ารพฒั นาประสทิ ธิภาพของห้องปฏิบตั กิ ารจลุ ชีววทิ ยา เพอ่ื ประโยชนใ์ นการวนิ ิจฉยั โรค การรกั ษา และการ

เฝ้าระวงั การตดิ เช้ือในโรงพยาบาล
6. เผยแพรน่ โยบายควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล ใหบ้ ุคลากรทุกระดบั และทุกหนว่ ยงานได้รับทราบ
7. ประเมินผลการดาเนินงานป้องกนั และควบคมุ การตดิ เชือ้ ในโรงพยาบาล
8. รายงานผลการดาเนนิ งาน สถานการณ์การติดเชอื้ ในโรงพยาบาล รวมทัง้ แผนงานทีจ่ ะดาเนินการตอ่ ไปแกค่ ณะกรรมการ

บรหิ ารโรงพยาบาล
9. การดูแลสุขภาพเจา้ หนา้ ท่ที ี่ติดเช้ือและไมต่ ดิ เชื้อ จากการปฏบิ ัติงาน

8


โครงสรา้ งการดาเนนิ งาน

ผูอ้ านวยการโรงพยาบาล

คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล คณะกรรมการ IPC

องคก์ รแพทย์ กลมุ่ การพยาบาล เภสัชกรรม ชันสตู ร / กายภาพ แพทยแ์ ผนไทย ทันตกรรม เวชปฏบิ ัติ
เอกซเรย์ /กิจกรรม

งาน OPD / ARI งานER งานLR งานIPD งานจ่ายกลาง งานโภชนาการ
/ NCD ชาย / หญิง

แผนผงั ที่ 1 ; แสดงโครงสร้างการดาเนินงานคณะกรรมการปอ้ งกนั และควบคุมการตดิ เช้อื ในโรงพยาบาล

ระบบการปฏิบัติงานในการเฝา้ ระวงั การตดิ เชือ้ ในโรงพยาบาล ใช้ระบบ Hospital wide ผสมผสานกบั ระบบ Target
Surveillance เนื่องจากผปู้ ่วยนอนในโรงพยาบาลมีจานวนนอ้ ย และวนั นอนโรงพยาบาลสน้ั การเฝ้าระวังท้ัง 2 แบบ จะชว่ ยให้
การเฝ้าระวงั เกิดความคลอบคลุมมากยิ่งขึน้ มีกระบวนการการเฝ้าระวังการติดเชือ้ ในโรงพยาบาล ดงั น้ี

Surveillance In Hospital

Patients Healthcare Personnel Environment

OPD Post Discharge IPD Accident-Needle Waste water
stick injury Water used
OPD Hospital Wide Targeted
( EPIS/ HAP /
ER Unit Direct SSTI / CA- Work-related infection
(LR / Supply /ER /
ชนั สูตร/ ARI ) UTI )

Priority Directed

(EPIS/ HAP / SSTI / CA-UTI )

แผนผังท่ี 2 ; แสดงกระบวนการ การเฝา้ ระวงั การตดิ เชือ้ ในโรงพยาบาล

9


ในกระบวนการการเฝา้ ระวงั การตดิ เชอ้ื ในโรงพยาบาลนนั้ ทีมมีรปู แบบ และข้ันตอนการปฏบิ ตั ิงานดงั น้ี
หนว่ ยงานพบการติดเช้อื

ICWN (2)

ICWN OPD ICN IPC
(1)

ICWN ER

ICWN LR (1)

ICWN จา่ ยกลาง
(1)

คณะทางานหนว่ ยงานอ่นื ๆทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง

(ทันตกรรม / เวชฯ / แลป-เอกซเรย์)

แผนผงั ที่ 3; แสดงรูปแบบการเฝา้ ระวงั การติดเช้อื ในโรงพยาบาลอมก๋อย

วธิ ีการเฝ้าระวังการติดเชอื้ โดย ICWN ในแตล่ ะหนว่ ยงาน

Identify new - Routine work
infection - Sign & Symptoms / Laboratory test
- Diagnosis
- Consult physician

Record surveillance - HAI / CI
form - Analyze

Report to ward - Ward intervention
personnel - Send surveillance form to ICN/IPC

แผนผังท่ี 4; แสดงรปู แบบการเฝา้ ระวงั การตดิ เชื้อในโรงพยาบาลอมกอ๋ ย โดยพยาบาลควบคุมโรคตดิ เช้ือ

10


3. วิสยั ทศั น์ พนั ธกิจ เป้าหมาย

วสิ ัยทัศน์
ดาเนินงานปอ้ งกันและควบคุมโรคตดิ เช้ือในโรงพยาบาลอมก๋อยให้ไดม้ าตรฐาน ปลอดภยั ท้ังผู้ให้และผู้รับบรกิ าร

พนั ธกจิ
1. สรา้ งและพัฒนามาตรฐานงานป้องกันและควบคมุ โรคตดิ เช้อื ในโรงพยาบาลใน รพ. และ ชุมชน
2. เฝา้ ระวังการปอ้ งกันและควบคมุ โรคตดิ เช้อื ทั้งในโรงพยาบาลและชุมชน
3. พัฒนาความรู้ใหแ้ ก่บุคลากรในงานปอ้ งกนั และควบคมุ โรคติดเชื้อในโรงพยาบาล และ ชมุ ชน
4. มีการดาเนนิ การสอบสวนโรคระบาด โรคอบุ ัติใหม่-อุบัตซิ า้
5. ส่งเสริมให้มกี ารนา และการดาเนินการทา CQI, R2R และวิจยั

เป้าหมายการดาเนนิ งาน
1. เพ่มิ ศักยภาพการเฝ้าระวงั และมกี ารควบคุมคุณภาพอย่างตอ่ เนื่อง
2. มมี าตรฐาน/ มาตรการในการปฏิบัติงาน IC อย่างครอบคลมุ ใน รพ. และ ชุมชน
3. มีการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเช้ือดอ้ื ยาอย่างเป็นระบบ
4. ลดอตั ราการเกิด HAI ในตาแหนง่ ทสี่ าคัญ และการไดร้ ับอบุ ตั ิเหตุ หรอื ติดเชื้อจากการปฏบิ ัตงิ าน
5.การปอ้ งกันและควบคุมการแพร่กระจายเช้ือ ในหน่วยงานทม่ี ีความเส่ียงสงู ตอ่ การติดเชอ้ื ถกู ต้องตามมาตรฐานการดาเนินงาน
6. มรี ะบบสขุ าภิบาลและสง่ิ แวดล้อมที่สะอาดไม่มีการปนเปอื้ นเช้ือโรค
7. มีการนางานวิจยั และการนาหลกั ฐานเชิงประจักษม์ าใช้ในการดาเนนิ งาน

นโยบายการดาเนนิ งาน
1. มีระบบการเฝ้าระวังการตดิ เช้อื ในโรงพยาบาลในผู้ป่วย ทุกแผนก ทุกหอผปู้ ว่ ยและมีการนาขอ้ มูลทเ่ี ป็นประโยชนใ์ นการ

วางแผนควบคมุ กากบั ประเมินผลการควบคุมปอ้ งกันโรคตดิ เช้อื ในโรงพยาบาลตลอดจนการพฒั นาคุณภาพบริการของ
โรงพยาบาล
2. บคุ ลากรของโรงพยาบาลไดร้ บั การดแู ลสุขภาพ โดยมีระบบการเฝ้าระวังและป้องกันการตดิ เชอื้ จากการปฏิบตั ิงานของ
บคุ ลากร และมกี ารสร้างเสริมภูมคิ มุ้ กันโรคในบุคลากรกลมุ่ เสี่ยง
3. มีการควบคมุ สิง่ แวดล้อมในโรงพยาบาลท่ีสาคัญให้เกิดความปลอดภัยต่อผรู้ บั บริการ บุคลากรในโรงพยาบาลและชุมชน
4. มกี ารควบคุมมาตรฐานการทาลายเช้ือและการทาให้ปราศจากเช้อื ทถี่ ูกตอ้ งและควบคมุ ให้มีการใชน้ ้ายาทาลายเชอื้ อย่าง
เหมาะสมตามมาตรฐาน
5. บุคลากรทุกระดบั ของโรงพยาบาลมีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการปอ้ งกนั และควบคมุ การตดิ เชื้อและการแพรก่ ระจายเชอื้
ในโรงพยาบาล
6. บุคลากรของโรงพยาบาลมีการปฏิบัติตามหลกั Standard Precautions โดยเน้นเกย่ี วกับการลา้ งมือ และการปอ้ งกันการ
ไดร้ ับบาดเจบ็ จากเข็มทม่ิ แทงและของมคี มบาด
7. มีมาตรการดแู ลผูป้ ่วยท่มี ีความเสี่ยงต่อการติดเช้อื และปอ้ งกนั การแพรก่ ระจายเช้อื
8. การพฒั นาคณุ ภาพการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร การเฝา้ ระวังเชือ้ โรคด้อื ยา ซึง่ จะนาไปสู่การใชย้ าปฏิชีวนะอยา่ งเหมาะสม
9. ประสานงานกบั หนว่ ยงานสาธารณสุขในชมุ ชน
10. งานดา้ นวิชาการ เพ่ือการพัฒนาคณุ ภาพการดูแลผู้ปว่ ย

11


4. ผลการดาเนินงาน

ในการดาเนนิ งานด้าน IPC ได้ปฏบิ ัติตามนโยบายการดาเนินงานดา้ น IC ผลการดาเนนิ งานมรี ายละเอียด ดังน้ี

4.1การเฝา้ ระวังการติดเชอ้ื ในโรงพยาบาล

ดาเนินการเฝา้ ระวังในผปู้ ่วยในหอ้ งฉกุ เฉินทุกราย , ผู้ป่วย CAPD ในคลินิกโรคเร้ือรัง , ผู้คลอด และผูป้ ว่ ยนอนทกุ ราย
โดยเฉพาะผ้ปู ว่ ยที่มหี ัตถการสาคัญ เช่น ใส่สาย ICD , ไดร้ ับสารน้าทางหลอดเลอื ดดา , การใส่สายสวนปัสสาวะ , ผปู้ ่วยคลอดและ
ทารก , ผู้ป่วยทมี่ ีบาดแผลและแผลกดทบั , ผูป้ ่วยไดร้ บั ออกซเิ จนทง้ั จากการใชเ้ ครือ่ งช่วยหายใจ oxygen high flow และ
oxygen low flow ผลการเฝ้าระวังการติดเชอื้ ในผปู้ ่วยมีรายละเอียดดงั นี้

4.1.1 อตั ราการติดเช้อื ในโรงพยาบาล
โรงพยาบาลอมกอ๋ ยดาเนนิ การเฝา้ ระวงั การตดิ เชื้อแบบ Hospital wide ผสมผสานกบั การเฝา้ ระวงั การติดเชอื้ เฉพาะ

ตาแหน่ง (Target Surveillance) โดยตาแหนง่ ทีเ่ ฝา้ ระวังการติดเชอ้ื เป็นพิเศษ คอื EPIS/ HAP / SSTI / CA-UTI เป้าหมาย นอ้ ย
กว่าร้อยละ 1

ในปี 2565 รายงานขอ้ มูลการเฝ้าระวงั การตดิ เช้ือในโรงพยาบาลดังรายละเอียด

ข้อมูล ต.ค.25 พ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ มี.ค เม.ย พ.ค ม.ิ ย ก.ค ส.ค. ก.ย. รวม

65 2565 2565 2565 2565 2565 2565 2565 2565 2565 2565 2565

Pt-

Discharge 277 298 277 242 280 255 245 286 308 350 380 356 3554
(คน)

Pt -Days

(วัน) 825 856 788 660 739 700 691 801 834 939 1055 1062 9950

จานวน HAI 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0

HAI : 1000

days 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0

ตารางที่ 1; แสดงจานวนผู้ป่วย จานวนวนั นอน จานวนคร้ังการติดเชอื้ และ ร้อยละการติดเชอื้ ในโรงพยาบาล ประจาปี 2565

ป2ี 565 มีผ้ปู ่วย 3,554 รายวันนอนโรงพยาบาล 9,950 วนั ไมพ่ บรายงานการติดเช้อื ในโรงพยาบาล สืบเนือ่ งจากจานวน
ผู้รับบริการลดลงจากสถานการณโ์ ควดิ ทาให้วันนอนโรงพยาบาลผ้ปู ่วยลดลง ทีมไดป้ รบั ระบบการเฝา้ ระวงั การติดเชือ้ ในผู้ปว่ ย
หลังจาหน่าย และยังคงเฝา้ ระวงั การติดเชื้อในผ้รู ับบริการทกุ รายอย่างตอ่ เนอื่ ง

12


4.1.2 อัตราการติดเชือ้ แผลเย็บสะอาด

ทีม IPC เฝา้ ระวงั การตดิ เช้อื ของแผลสะอาด โดยกาหนดให้ ทาหตั ถการแผลผา่ ตัดสะอาดทกุ ประเภท ให้ดาเนนิ การใน
ห้องผา่ ตดั เพอ่ื ลดความเสยี่ งจากปัจจัยด้านสิ่งแวดลอ้ มที่อาจสง่ ผลตอ่ การติดเชอ้ื (อตั ราการติดเชือ้ น้อยกว่ารอ้ ยละ 1) ผลการเฝ้า
ระวงั การตดิ เชอื้ มีรายละเอยี ดดังน้ี

อัตราการติดเชอื้ ในแผลสะอาด

เดอื น ทั้งหมด ติดเชอ้ื รอ้ ยละ

ต.ค 2564 0 0 0

พ.ย.2564 0 0 0

ธ.ค 2564 5 0 0

ม.ค.2565 2 0 0

ก.พ.2565 1 0 0

มี.ค.2565 0 0 0

เม.ย.2565 0 0 0

พ.ค.2565 0 0 0

ม.ิ ย.2565 0 0 0

ก.ค.2565 0 0 0

ส.ค.2565 0 0 0

ก.ย.2565 0 0 0

รวม 8 0 0

ตารางที่ 2; แสดงจานวนแผลสะอาดทัง้ หมด และแผลสะอาดทีม่ กี ารติดเชอ้ื ประจาปี 2565

จากการเฝา้ ระวงั การตดิ เชอื้ ในแผลสะอาด (แผลผา่ ตัดเลก็ ) ไม่พบรายงานการติดเช้อื ในแผลสะอาด เฝา้ ระวังการ
ดาเนนิ งานตามมาตรฐานต่อไป

13


4.1.3 อตั ราการติดเช้อื ในผปู้ ว่ ยคาสายสวนปสั สาวะและกลับบา้ น

หน่วยงานพบว่าผ้ปู ว่ ยส่วนหนึ่งได้รบั การสวนปัสสาวะแลว้ กลับบ้าน ทาให้เกิดความเส่ยี งต่อการตดิ เช้ือในทางเดนิ
ปสั สาวะจากการคาสาวสวน จงึ ได้เฝ้าระวังการติดเช้อื ในผ้ปู ่วยสวนปัสสาวะแบบคาสายท่ีตอ้ งกลับบ้านเพื่อเฝา้ ระวังโดยเฉพาะ
เช้อื ด้ือยา ผลการเฝา้ ระวังมีรายละเอียดดงั นี้

การติดเช้อื ในผู้ป่วยคาสายสวนปสั สาวะกลับบ้าน หมายเหตุ

เดือน ผู้ป่วยใสส่ ายสวนปสั สาวะ ตดิ เชือ้ รอ้ ยละ
ทง้ั หมด

ต.ค 2564 NA NA NA
พ.ย.2564 4 1 25.00
ธ.ค 2564 9 1 11.11
ม.ค.2565 3 0 0.00
ก.พ.2565 3 0 0.00
มี.ค.2565 1 0 0.00
เม.ย.2565 4 0 0.00
พ.ค.2565 21 1 4.76
ม.ิ ย.2565 16 0 0.00
ก.ค.2565 11 0 0.00
ส.ค.2565 19 0 5.26
ก.ย.2565 13 00

รวม 104 3 2.88

ตารางที่ 3 ; แสดงจานวนผ้ปู ว่ ยคาสายสวนปัสสาวะทงั้ หมด และ การตดิ เชือ้ จากการคาสายสวน ประจาปี 2565

จากการทบทวนเคสทไี่ ดร้ ับการรักษาด้วยการใสส่ ายสวนแล้วรกั ษาต่อทีบ่ ้าน มีผู้ปว่ ยทพ่ี บว่าตอ้ งคาสายสวนและกลบั
บ้านจานวน 104 ราย พบผูป้ ่วย BPH ท่ีต้องคาสายสวน และพบมีตดิ เช้ือหลังใส่สายสวนจานวน 3 ราย คดิ เป็นรอ้ ยละ 2.88

แพทย์ให้การรักษาดว้ ยยาปฏิชีวนะ และตอบสนองตอ่ การรกั ษา สิ่งทต่ี ้องพัฒนา คือเพมิ่ การให้สขุ ศึกษาในการดูแลสายสวน
ปัสสาวะ และไมพ่ บการติดเช้ือดอ้ื ยาในผู้ป่วยในกล่มุ นี้

14


4.1.4 อัตราการติดเช้อื แผลเย็บทวั่ ไป
IPC ไดด้ าเนนิ การเฝา้ ระวงั การติดเช้อื แผลเย็บ ณ ตึกอบุ ัตเิ หตุ-ฉกุ เฉนิ ประจาปี 2565 จาแนกแผลเป็น 3ประเภท ได้แก่
1. Clean-Contaminated Wound อัตราการตดิ เชื้อ < % 4
2. Contaminated Wound อัตราการตดิ เชอื้ < % 7
3. Dirty Wound อัตราการตดิ เช้อื < % 8
มีผลการรายงานตามรายละเอยี ดต่อไปน้ี

15


รายงานการเฝา้ ระวงั การตดิ เชอื้ ทแี่ ผลเย็บ ตกึ อบุ ัต

เดอื น Clean-Contaminated Wound Contaminated Wound
(< %4) (< %7)
ต.ค 2564
พ.ย.2564 ทั้งหมด ตดิ เช้ือ 0 ทัง้ หมด ตดิ เชอื้ ร้อยล
ธ.ค 2564
ม.ค.2565 1 0 0.00 28 0 0.0
ก.พ.2565
ม.ี ค.2565 0 0 0.00 35 1 2.8
เม.ย.2565
พ.ค.2565 0 0 0.00 19 0 0.0
มิ.ย.2565
ก.ค.2565 0 0 0.00 10 0 0.0
ส.ค.2565
ก.ย.2565 0 0 0.00 12 0 0.0

รวม 1 0 0.00 14 0 0.0

0 0 0.00 11 0 0.0

0 0 0.00 15 0 0.0

0 0 0.00 16 0 0.0

1 0 0.00 16 0 0.0

0 0 0.00 14 0 0.0

0 0 0.00 15 0 0.0

3 0 0.00 205 0 0.0

ตารางที่ 4 ; แสดงจานวนแผลทง้ั หมด และแผลที่มกี ารติดเชอื้ ในตึก


ติเหตุ-ฉกุ เฉนิ โรงพยาบาลอมก๋อย ประจาปี 2565

Dirty Wound

(< %8) รวมตดิ เช้ือ Suture อตั ราการติดเชอ้ื

ละ ทั้งหมด ติดเชื้อ ร้อยละ total

00 13 0 0.00 0 39 0.00
86 10 0 0.00 1 55 1.82

00 18 0 0.00 0 49 0.00

00 17 0 0.00 0 48 0.00

00 2 0 0.00 0 46 0.00

00 3 0 0.00 0 46 0.00

00 0 0 0.00 0 43 0.00

00 1 0 0.00 0 34 0.00

00 0 0 0.00 0 47 0.00

00 0 0 0.00 0 47 0.00

00 0 0 0.00 0 40 0.00

00 0 0 0.00 0 36 0.00

00 64 0 0.00 1 530 0.19

กอบุ ัตเิ หตฉุ ุกเฉนิ แบง่ ตามชนิดแผลแตล่ ะประเภท ประจาปี 2565

16


พบการติดเชอ้ื ในผปู้ ว่ ยแผล Contaminated Wound จากการสอบถามและซักประวัติพบวา่ ผ้ปู ว่ ยไมไ่ ด้ทาความสะอาดแผลเลย
จนครบตัดไหม ด้วยลักษณะแผลทกี่ ีง่ ปนเปอ้ื นทาให้สังเกตการติดเชอื้ รายวันได้ยาก แนะนาให้ล้างแผล รพ.สต ใกล้บา้ น หรือทาแผลเอง
ไดห้ ากแผลมีขนาดไม่ใหญ่และคนไข้ไมส่ ามารถไป รพ.สต.ได้ และนดั คนไขม้ าตรวจกอ่ นตัดไหม

17


4.1.5 การเฝ้าระวงั การตดิ เชื้อผปู้ ่วยหลงั จาหน่าย (Post Discharge Surveillance)

เดือน จานวนผู้ป่วยเฝา้ ระวงั จานวนครั้งการตดิ เชอ้ื ในผปู้ ว่ ยหลัง รอ้ ยละการตดิ เชือ้ หลังการ

ต.ค 2564 17 จาหนา่ ย จาหน่าย
พ.ย.2564 10
ธ.ค 2564 27 00
ม.ค.2565 20
ก.พ.2565 18 00
มี.ค.2565 9
เม.ย.2565 9 00
พ.ค.2565 20
มิ.ย.2565 16 00
ก.ค.2565 5
ส.ค.2565 16 00
ก.ย.2565 4
171 00
รวม
00

00

00

00

00

00

00

ตารางท่ี 5 ; แสดงจานวนผู้ป่วยทม่ี กี ารตดิ เชอื้ หลังการจาหน่าย ประจาปี 2565

ป2ี 565 สง่ ผปู้ ว่ ยทาแผลต่อใน รพ.สต. จานวน 191 ราย ไม่พบการตดิ เช้ือในผปู้ ว่ ยที่สงกลบั ไปทาแผลต่อใน รพ.สต

18


4.1.6 การเฝ้าระวังการตดิ เชอ้ื ในผู้ป่วยหลังคลอด

ดาเนนิ การเฝา้ ระวังในผูป้ ่วยหลังคลอดทุกรายโดยติดตามจากผู้ป่วยทม่ี ารบั การตรวจหลงั คลอดในโรงพยาบาลอมก๋อย
ผลการดาเนนิ งานมีรายละเอยี ดดังนี้

เดอื น จานวนผปู้ ่วยคลอด จานวนผู้ป่วยทีม่ กี าร ร้อยละการตดิ เช้ือ ร้อยละการตรวจ รอ้ ยละการเกิด

ในโรงพยาบาล ติดเชอื้ หลงั คลอด ในหลงั คลอด หลังคลอด แผลฝเี ยบ็ แยก

ทั้งหมด (ระบตุ าแหน่งการตดิ

เชือ้ )*

ต.ค 2564 46 0 0 36.96 2.17

พ.ย.2564 39 0 0 53.85 0

ธ.ค 2564 36 0 0 63.89 0

ม.ค.2565 42 0 0 33.33 2.38

ก.พ.2565 48 0 0 22.92 2.08

ม.ี ค.2565 35 0 0 31.43 0

เม.ย.2565 36 0 0 27.78 5.56

พ.ค.2565 48 0 0 33.33 0

มิ.ย.2565 20 0 0 100 0

ก.ค.2565 36 0 0 25 2.78

ส.ค.2565 37 0 0 59.46 8.11

ก.ย.2565 31 0 0 58.06 3.23

รวม 454 0 0 43.39 2.20

ตารางที่ 6 : แสดงจานวนผู้ปว่ ยคลอด ร้อยละการติดเชอ้ื ของแผลฝเี ยบ็ รอ้ ยละการตรวจหลงั คลอด และ รอ้ ยละการเกิดแผลฝเี ย็บแยก

ปี 2565 ไม่พบการตดิ เชอื้ จากแผลฝเี ย็บในผู้ปว่ ยหลงั คลอด ทาคลอดท้ังหมด 454 ครงั้ ไมพ่ บอตั ราการติดเชอ้ื ในผปู้ ว่ ย
หลงั คลอด หญิงหลังคลอด รอ้ ยละ 43.39 กลับมาตรวจหลงั คลอดที่โรงพยาบาลอมกอ๋ ย และพบว่าร้อยละ 2.2 มีการแยกของ
แผลฝีเย็บ แตไ่ มม่ กี ารติดเชือ้ หน่วยงานทาการทบทวนพบ ปัญหาเร่อื งในเร่ืองเทคนคิ ในการเย็บปิดแผลในขนั้ ตอนสุดท้าย และผู้

คลอดท่ีแผลมลี กั ษณะบวมมากระหวา่ งการคลอด ทาให้แผลฝีเย็บแยก หน่วยงานห้องคลอดจะดาเนนิ การฝกึ การเยบ็ แผลผูป้ ว่ ย
คลอด

19


4.1.7 การเฝ้าระวังการติดเชือ้ ในผู้ปว่ ย CAPD

งานโรคเรื้อรงั ทาหน้าท่ีดูแลผู้ป่วยทีต่ อ้ งรบั การทา CAPD ในพื้นที่ ไดเ้ ฝ้าระวงั การติดเชอ้ื ร่วมกับงานเย่ียมบ้านและออก
เยี่ยมบ้านในผู้ป่วยดงั กล่าว มีผลการเฝ้าระวังดังน้ี

เดือน จานวนผู้ป่วยCAPD จานวนผ้ปู ่วยทม่ี กี ารติดเชอื้ รอ้ ยละการตดิ เช้อื

ต.ค 2564 NA NA NA

พ.ย.2564 NA NA NA

ธ.ค 2564 NA NA NA

ม.ค.2565 NA NA NA

ก.พ.2565 NA NA NA

มี.ค.2565 NA NA NA

เม.ย.2565 NA NA NA

พ.ค.2565 NA NA NA

มิ.ย.2565 NA NA NA

ก.ค.2565 7 1 14.29
ส.ค.2565 8 0 0.00
ก.ย.2565 9 0 0.00
รวม 24 1 4.17

ตารางที่ 7 : แสดงรอ้ ยละการตดิ เช้อื ของแผลฝเี ย็บ และ รอ้ ยละการกลับมาตรวจหลงั คลอด

ปี2565 ได้ตามเย่ียมผู้ปว่ ย CAPD ในพนื้ ที่ จานวน 24 ราย พบมกี ารตดิ เชอื้ จากการทา CAPD 1 ราย คิดเปน็ รอ้ ยละ
4.17 ผปู้ ว่ ยรบั การรกั ษาโรงพยาบาลจอมทอง ติดตามเยยี่ มบ้านผู้ปว่ ยรายดังกล่าวพบปัญหา เร่อื ง Hygiene ของผปู้ ว่ ยให้
คาแนะนาเรือ่ ง Hand Hygiene กอ่ นการทา CAPD

20


4.1.8 การประเมินประสิทธิภาพการเฝา้ ระวงั การตดิ เชอื้ ในโรงพยาบาล

วนั ที่สารวจ HAIจากการเฝา้ ระวัง HAI จากการสารวจความชุก ประสทิ ธิภาพการเฝ้าระวงั

24 กมุ ภาพันธ์ 2565 0 0 100

10 สงิ หาคม 2565 0 0 100

ตารางท่ี 8; แสดงผลการประเมินประสทิ ธภิ าพการเฝา้ ระวังการตดิ เชือ้ ในโรงพยาบาลประจาปี 2565

จากการประเมนิ ประสทิ ธิภาพการเฝ้า 2 คร้งั ตอ่ ปี ระวังพบวา่ ประสิทธภิ าพการเฝา้ ระวังคดิ เป็นรอ้ ยละ 100

4.1.9 การสารวจความชกุ โรคตดิ เชอื้ ในโรงพยาบาล

ขอ้ มลู การสารวจความชกุ โรคติดเช้ือในโรงพยาบาล ปี 2565

25 21.88 *Prevalence RateNI.
20 17.39 <%>
0.00
15 PrevalenceRate CI. <%>
ครั้งท่ี 2
10
50

0

คร้งั ที่ 1

แผนภมู ทิ ่ี 1; แสดงร้อยละการติดเช้อื ในโรงพยาบาล และการตดิ เชอ้ื ในชุมชน จากการสารวจความชุก ประจาปี 2565

ปี 2565 มีสารวจความชกุ โรคติดเช้อื ในโรงพยาบาล 2 คร้ัง ไมพ่ บการติดเชือ้ ในโรงพยาบาล แตพ่ บการติดเช้อื ในชุมชน
คิดเปน็ รอ้ ยละ 17.39 และ 21.88 ตามลาดบั การใหค้ วามร้เู รือ่ งโรค และการปอ้ งกนั การเกดิ โรค ประกอบการมสี ุขาภิบาล
ส่งิ แวดลอ้ มท่ีเหมาะสมจะช่วยให้ประชาชนมสี ุขภาพดี

21


4.2 การดแู ลสุขภาพบคุ ลากร

มกี จิ กรรมในการดาเนนิ งาน ในเร่อื ง
4.2.1 กิจกรรมการตรวจสขุ ภาพประจาปี

1. กจิ กรรมการตรวจสขุ ภาพประจาปี ปี 2565 ดาเนินงานโดยงานผูป้ ่วยนอก โรงพยาบาลอมก๋อยเจา้ หนา้ ทคี่ ิดเปน็ รอ้ ยละ
97.36

2. ไม่พบความผดิ ปกติของการตรวจภาพรังสีปอด

4.2.2 การเฝา้ ระวังการสมั ผัสเลอื ดและสารคัดหลั่งขณะปฏิบัติงาน

มบี ุคลากรทม่ี ีความเสยี่ งตอ่ การสมั ผัสสารคัดหล่ังท้ังหมด จานวน 208 ราย เปน็ กลุ่มท่ีถกู ของมีคมทม่ิ ตาทงั้ หมด 8 ราย คดิ
เป็นร้อยละ 3.85 รายละเอยี ดดงั น้ี

จานวนบคุ ลากรทม่ี ีความเส่ียง จานวนครัง้ การเกิดอบุ ัติเหตุ ประเภทกจิ กรรมท่ีเกิดอุบตั ิเหตุ

(แยกตามหน่วยงาน)

ฝา่ ยการพยาบาล 7 เขม็ ทิ่มนิ้วมอื (7)

องค์กรแพทย์ 1 เขม็ ทิ่มนิว้ มอื (1)

ตารางท่ี 9; แสดงจานวนครงั้ บคุ ลากรสมั ผสั สารคัดหล่ังขณะปฏบิ ตั ิงาน ประจาปี 2565

จากตารางพบว่าพบรายงานการเกิดเขม็ ทิ่มตาในโรงพยาบาลทัง้ หมด 8 ราย แบง่ เปน็ แพทย์ 1 ราย ผชู้ ว่ ยพยาบาล 1
ราย เวชกิจฉุกเฉิน 1 ราย และพยาบาล 5 ราย เป็นการปฏิบัติงานในตึกอุบัติเหตุฉุกเฉิน หน่วยงานได้ทาการทบทวนพบว่า
บุคลากรไม่ได้ปฏิบัติตามหลัก one hand technique ไม่ได้สวมอุปกรณ์ป้องกันตัวเอง ขาดความระมัดระวัง อุปกรณ์ท้ิงเข็ม
ไม่ได้ตามมาตรฐาน (เป็นแกลลอนใส ทาให้เข็มทะลุ) จึงได้กากับติดตามในเรื่อง ให้เจ้าหน้าท่ีปฏิบัติตามหลัก Universal
Precaution ในการทาหัตถการทุกคร้ัง การสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันในการทาหัตถการทุกครั้ง การปฏิบัติตามหลัก one hand
technique การจดั หาอุปกรณ์ทีท่ ิ้งเขม็ ทปี่ ลอดภัยและมีมาตรฐาน การปฏบิ ตั ิงานอย่างมสี ติ รอบคอบ ไมป่ ระมาทในการทางาน

22


4.2.3 เฝ้าระวงั โรคในบุคลากรท่เี กิดการเจบ็ ปว่ ยขณะปฏบิ ตั ิงาน
มีการเฝา้ ระวังการเจ็บปว่ ยของบุคลากรตามกล่มุ โรคสาคญั 7 กลุม่ โรค และเพิม่ เติมการเฝ้าระวังโรคตดิ เช้อื COVID-19

No กล่มุ โรคท่ี ต.ค.- พ.ย.- ธ.ค.- ม.ค.- ก.พ.- ม.ี ค.- เม.ย.- พ.ค.- ม.ิ ย.- ก.ค.- ส.ค.- ก.ย.- รวม
ตอ้ งเฝา้ 64 64 64 65 65 65 65 65 65 65 65 65
ระวัง

1 TB Lung 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
2 Mump 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
3 Measles 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
4 Chicken 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0

pox
5 DF 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
6 Influenza 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
7 Chikun- 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0

kunya
8 ตดิ เช้ือ 0 0 6 0 6 14 26 6 1 3 8 21 91

COVID-19

ตารางท่ี 10 ; แสดงจานวนเจา้ หน้าทีต่ ดิ เชอ้ื ดว้ ยโรคทต่ี ้องเฝา้ ระวงั ประจาปี 2565

จากตารางพบวา่ ไม่พบรายงานเจ้าหน้าทีป่ ่วยดว้ ยโรคท่ีเฝ้าระวัง ทีมได้ดาเนินการคัดกรองความเส่ียงในบคุ ลากรท่ีตอ้ ง
ปฏิบัตงิ านในพื้นท่เี สี่ยง ก่อนกลับเข้าประจาการ

จากการเฝ้าระวงั เจ้าหน้าท่ีติดเชอื้ COVID-19 ในหน่วยงานมากขึน้ คดิ เป็นร้อยละ 39.92 ของบุคลากรทัง้ หมด จากการ
สอบสวนพบเปน็ การติดเชื้อเปน็ กลมุ่ ก้อนในแต่ละฝ่าย การมีพฤตกิ รรมการรบั ประทานอาหารร่วมกันในฝา่ ย และพบประวัติคน
ในครอบครัวตดิ เชอื้ มากอ่ น จงึ ใหค้ าแนะนาในเรอื่ งการปฏิบตั ิตาม standard precautions โดยเฉพาะการใช้ PPE ทจ่ี าเป็นและ
เหมาะสม การทาความสะอาดมอื การแยกรับประทานอาหาร การทาความสะอาดพนื้ ผวิ สัมผัสร่วมกันประจาวันดว้ ยนา้ ยาฆา่ เช้ือ
ท่ีเหมาะสมกับพืน้ ผิว (70%Alcohol และ 1% sodium hypochlorite)

23


4.2.4 ดาเนนิ การรณรงค์ให้ภูมคิ ุม้ กนั โรค
ในปี 2565 ดาเนนิ การให้ภมู ิคุม้ กนั โรคในเจา้ หนา้ ที่ ดงั นี้

1. วัคซนี ปอ้ งกันโรคไข้หวดั ใหญ่ รณรงคใ์ นเจา้ หน้าท่ี จานวน 142 ราย คดิ เป็นร้อยละ 73.20
2. วัคซีนปอ้ งกนั หดั รณรงคใ์ นเจ้าหน้าทจ่ี านวน 64 รายคิดเปน็ ร้อยละ 32.99

3. วัคซนี ปอ้ งกนั โรคCOVID-19 ครบ 4 เขม็ รณรงค์ในเจ้าหน้าที่ 102 ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 52.85

แสดงร้อยละการรณรงคว์ คั ซีนในบุ คลากร ปี 2561-2565

120 100 99.55 98.63 100
100
80 80 80 80
100 73.2
80
ร้อยละ
80
52.85
60
32.99
40
0 0 0
20 2562 2564
0 Influenza 2563 เป้าหมาย 2565
COVID-19
0
2561

Measles

แผนภมู ทิ ่ี 2; แสดงร้อยละการไดร้ บั วัคซีนไข้หวดั ใหญ่ วัคซีนโควดิ และวคั ซนี ปอ้ งกันโรคหัด เทียบกับเปา้ หมาย ปี 2561-2565

จากขอ้ มูลพบว่าปี 2565 บคุ ลากรมารับการฉีดวัคซนี รณรงคล์ ดลงกวา่ ปีท่ผี ่านมา สืบเนื่องจากการรณรงค์วัคซนี ยังมนี ้อย
บคุ ลากรมภี ารกิจในการปฏิบัตงิ านมากขน้ึ การให้วัคซีนบุคลากร เช่นCOVID จงึ มผี ลตอ่ การฉีดวัคซนี ตัวอื่นๆ การแกไ้ ขคอื
การประชมสมั พันธ์ และดาเนินการรณรงค์ให้มากขนึ้ การเปลยี่ นวิธกี ารการฉีดให้กับบุคลากรเช่นจากการจัดจดุ บริการเป็น
การเข้าไปฉีดตามฝ่าย เปน็ ต้น

24


4.3 การควบคุมสง่ิ แวดล้อมในโรงพยาบาล

4.3.1 การตรวจสอบคุณภาพนา้ ใช-้ นา้ เสยี

IPC รว่ มกบั ทีม ENV ไดด้ าเนินการตรวจสอบคุณภาพของระบบบาบดั น้าเสยี กอ่ นปลอ่ ยสู่ชมุ ชน โดยยึดหลกั การตรวจตาม

กระทรวงเทคโนโลยแี ละส่งิ แวดล้อม เรือ่ ง การกาหนดมาตรฐานควบคมุ ระบบนา้ ทง้ิ จากอาคาร บางประเภท และบางขนาด
2537 โดยในโรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 เตยี ง กาหนดใหม้ ีการตรวจ ดังนี้

ลาดับ รายละเอียด ค่าปกติ ความถ่ใี น คร้ังที่ 1 คร้งั ท่ี 2 ครงั้ ที่ 3 คร้งั ที่ 4

การตรวจ การตรวจ 19 ตุลาคม 7 กุมภาพันธ์ 12 20 กนั ยายน

2564 2565 พฤษภาคม 2565

2565

1. ค่าความเป็น 5-9 ทกุ วนั 7.67 7.71 7.85 7.52
กรด-ด่าง

2. ปรมิ าณคลอรีน 0.5-1.0 mg/L ทุกวัน 0.5 0.5 0.5 0.5

ท่ีตกคา้ ง

3. ปรมิ าณตะกอน 200-350 mg/L ทกุ 7 วัน 50 114 334 148

4. B.O.D ไม่เกิน 20 3 เดือน 2.25 7 1 68.20
mg/L

5. COD ไมเ่ กนิ 120 3 เดอื น 16.64 71.06 82.8 76.80
mg/L

ตารางที่ 11; แสดงมาตรฐานการควบคุมระบบนา้ ท้งิ ในโรงพยาบาลชุมชน และการตรวจสอบน้าเสียทีผ่ า่ นการบาบัดแลว้ ของ
โรงพยาบาลอมกอ๋ ย

ปี 2565 ไดด้ าเนินการสง่ น้าเสยี ท่ีผ่านการบาบดั เพือ่ ส่งตรวจตามมาตรฐานการปอ้ งกนั การแพร่กระจายเชอ้ื สู่ชุมชน

จานวน 4 ครั้ง พบวา่ มคี า่ BOD สูงขนึ้ จากการทบทวนพบว่า เคร่ืองเตมิ อากาศในระบบเสีย 1 ตัว ได้แจ้งประสานช่างเพื่อ
ดาเนินการแกไ้ ขและจะส่งตรวจซา้ หลังผา่ นการซ่อมแซมแลว้

25


มาตรฐานการตรวจสอบน้าใชแ้ ละผลการตรวจสอบ ปี 2565

ลาดับ รายละเอยี ด ค่าปกติ ครัง้ ท่ี 1 คร้ังท่ี 2 ครง้ั ที่ 3 ครัง้ ท่ี 4
การตรวจ 19 ตุลาคม 2564 7 กุมภาพนั ธ์ 12 พฤษภาคม 20 กันยายน 2565

ต้นทอ่ ปลายทอ่ 2565 2565 ต้นท่อ ปลายท่อ

ตน้ ท่อ ปลาย ต้นท่อ ปลาย
ทอ่ ทอ่

1. pH 6.5-8.5 7.85 7.87 7.16 8.09 6.81 6.78 6.54 6.71

2. Turbid <5 8.72 8.4 5.7 7.29 16.5 1.78 2.2 8.38
NTU

3. Hardness <500 22 32 20 30 34 32 36 32
mg/L

4. TDS <1000 71 66.5 71 79.5 91.5 91.5 81.5 66.5
mg/L

5. Fe <0.5 0.22 0.17 0.18 0.19 0.099 0.092 0.087 0.36
mg/L

6. Mn. <0.3 0.0054 <0.005 <0.005 <0.005 0.068 0.014 0.057 0.25
mg/L

7. Fluoride <0.7 0.54 0.48 0.57 0.64 0.28 0.3 0.58 0.6
mg/L

8. Coliform ไมพ่ บ <1.8 4.5 >23 13 >23 >23 <1.1 <1.1
Bacteria (MPN/

100
cc)

9. Fecal coli ไม่พบ Not Not 23 4.5 23 18 Not Not
Detected Detected
form Detected Detected
bacteria (MPN/
100

cc)

ตารางที่ 12; แสดงมาตรฐานการควบคุมระบบนา้ ใช้ในโรงพยาบาลชุมชน และการตรวจสอบนา้ ใชข้ องโรงพยาบาลอมก๋อย

ปี 2565 ได้ดาเนนิ การส่งนา้ ใชเ้ พอ่ื ตรวจตามมาตรฐานการนา้ อุปโภค ในการตรวจตอนตน้ ปี พบวา่ เกดิ

ปอ้ งกนั การแพร่กระจายเช้ือสูช่ ุมชน จานวน 4 คร้งั พบวา่ มีคา่ BOD สงู ขึน้ จากการทบทวนพบวา่ เครอื่ งเตมิ อากาศใน
ระบบเสีย 1 ตัว ได้แจง้ ประสานช่างเพ่ือดาเนนิ การแกไ้ ขและจะสง่ ตรวจซ้าหลังผ่านการซอ่ มแซมแล้ว (เดือนตุลาคม 2565)

26


4.3.2 การตรวจสอบประสทิ ธิภาพการทาให้ปราศจากเช้อื

หนว่ ยงานจา่ ยกลางรว่ มกบั งานชนั สูตร ได้ตรวจสอบและควบคุมมาตรฐานการทาให้ปราศจากเชื้อดว้ ยการตรวจวิธที าง
ชีวภาพผลการตรวจสอบไมพ่ บความผดิ ปกติในกระบวนการการทาใหป้ ราศจากเช้ือ

เดอื น จานวนการนงึ่ ทั้งหมด ผลการตรวจสอบทาง ผลการตรวจสอบทาง ผลการตรวจสอบทาง
(หอ่ )
กายภาพ เคมี ชีวภาพ

ต.ค 2564 6,430 ผ่าน ผา่ น ผ่าน
พ.ย.2564 7,107 ผ่าน ผา่ น ผา่ น
ธ.ค 2564 7,227 ผา่ น ผ่าน ผา่ น
ม.ค.2565 7,041 ผ่าน ผา่ น ผา่ น
ก.พ.2565 6,532 ผ่าน ผ่าน ผ่าน
มี.ค.2565 8,265 ผ่าน ผ่าน ผ่าน
เม.ย.2565 5,717 ผา่ น ผ่าน ผา่ น
พ.ค.2565 7,754 ผ่าน ผา่ น ผ่าน
มิ.ย.2565 8,194 ผ่าน ผ่าน ผ่าน
ก.ค.2565 9,830 ผ่าน ผา่ น ผ่าน
ส.ค.2565 7,152 ผา่ น ผา่ น ผ่าน
ก.ย.2565 8,226 ผ่าน ผา่ น ผา่ น
รวม 89,475 ผ่าน ผา่ น ผ่าน

ตารางท่ี 13; แสดงจานวนคร้ังการทา sterilization และผลการตรวจสอบทง้ั 3 ดา้ น

27


4.3.3 การควบคุมการใช้ยาปฏชิ วี นะ

ไดม้ กี ารควบคุมการใช้ยาปฏชิ วี นะในโรงพยาบาลเพือ่ ลดการเกดิ เชอื้ ด้ือยาในผู้รับบรกิ าร มีรายละเอยี ดการดาเนนิ งาน
ดังนี้

ร้อยละการใชย้ าปฏชิ วี นะในโรคติดเช้อื ที่ระบบการหายใจช่วงบน
และหลอดลมอกั เสบเฉียบพลนั ในผู้ปว่ ยนอก

40 26.40
30 33.78 24.78

20 20 20 20 20 20 20
10 16.61 16.58 12.69

0 2565
2560 2561 2562 2563 2564

รอ้ ยละการใชย้ าปฏิชวี นะ เปา้ หมาย

แผนภมู ทิ ี่ 3 : แสดงรอ้ ยละการใชย้ าปฏชิ วี นะในกลมุ่ โรค URI ประจาปี 2560-2565

จากแผนภมู พิ บว่าอัตราการใช้ยาปฏิชีวนะในการรกั ษาโรคติดเชือ้ ในระบบทางเดนิ หายใจในปี 2565 ลดลงจนต่ากวา่
เปา้ หมาย เนอ่ื งมาจากบุคลากรให้ความสาคญั อยา่ งต่อเนอ่ื งในการใช้ยาปฏชิ ีวนะอยา่ งสมเหตสุ มผล ลดการเกดิ เชือ้ ดือ้ ยา ลด
ค่าใช้จ่ายในการใช้ยาลง (ข้อมูล ณ 22 กันยายน 2565)

รอ้ ยละการใช้ยาปฏิชีวนะในโรคอุจจาระรว่ งเฉียบพลัน

25.00 23.17

20.00 21.05 20 20 20 20
20 20 11.53 12.67 13.53

15.00

10.00 11.77
5.00

0.00
2560 2561 2562 2563 2564 2565

รอ้ ยละการใช้ยาปฏิชีวนะ เปา้ หมาย

แผนภมู ิท่ี 4 ; แสดงรอ้ ยละการใช้ยาปฏชิ ีวนะในกลุ่มโรค AGE ประจาปี 2560-2565

จากแผนภูมิพบว่าอัตราการใชย้ าปฏิชวี นะโดยไมจ่ าเปน็ ในการรกั ษาโรคทางเดินอาหารปี 2565 มแี นวโนม้ เพิม่ ขนึ้ แตย่ งั
ต่ากว่าเป้าหมาย เน่อื งจากมีแพทย์ Intern หมุนเวียนบอ่ ยในช่วง 1 ปที ผี่ า่ นมา ทาให้คยี ์ ICD 10 ไม่ตามหลัก RDU จึงได้มกี าร
ปรับปรุงการคยี ์ ICD 10 ตาม RDU (ข้อมลู ณ 22 กันยายน 2565)

28


ร้อยละการใชย้ าปฏิชีวนะในหญงิ คลอดปกติครบกาหนดทางชอ่ งคลอด

20.00

15.00 15.00 10 10 106.93
6.15 4.63 2565
12.50
10.00 10 10 150.42
5.00

0.00 2561 2562 2563 2564
2560

ร้อยละการใชย้ าปฏิชีวนะ เป้าหมาย

แผนภมู ทิ ี่ 5 : แสดงรอ้ ยละการใช้ยาปฏชิ วี นะในหญงิ คลอดครบกาหนดทางชอ่ งคลอด ประจาปี 2560-2565

จากแผนภมู พิ บว่า มีการใชย้ าปฏิชีวนะในหญงิ คลอดปกติปี 2565 มแี นวโน้มเพ่มิ ขึน้ แต่ยงั ตา่ กว่าเปา้ หมาย เนื่องจากมี
แพทย์ Intern หมุนเวียนบ่อยในชว่ ง 1 ปที ่ผี ่านมา ทาให้คีย์ ICD 10 ไม่ตามหลัก RDU จงึ ได้มีการปรับปรุงการคีย์ ICD 10 ตาม
RDU (ข้อมูล ณ 22 กนั ยายน 2565)

รอ้ ยละการใช้ยาปฏิชีวนะในบาดแผลสดจากอุบัติเหตุ

56.00 54.85 54.45 54.02 53.60
54.06
54.00 54.20
52.00 50 50 50 50 50
2565
50.00 2561 2562 2563 2564
50

48.00

46.00
2560

รอ้ ยละการใชย้ าปฏิชวี นะ เป้าหมาย

แผนภมู ิท่ี 6 : แสดงร้อยละการใช้ยาปฏิชวี นะในบาดแผลสดจากอุบตั เิ หตุ ประจาปี 2560-2565

จากแผนภมู พิ บวา่ มีการใชป้ ฏชิ ีวนะในแผลสดปี 2565 ของผปู้ ว่ ยทม่ี ารบั บริการมากกวา่ เป้าหมายทก่ี าหนด
คณะกรรมการจงึ ไดจ้ ัดทาแบบประเมนิ การใชย้ าปฏิชวี นะในบาดแผลสดจากอบุ ัติเหตุ เพ่ือเป็นเกณฑส์ าหรบั การสง่ั ใช้ยาปฏิชีวนะ
อย่างสมเหตสุ มผล เพื่อลดโอกาสการเกิดเชื้อดือ้ ยา ลดค่าใช้จา่ ยยาลง และ เพ่อื ความปลอดภัยของผปู้ ว่ ย (ขอ้ มลู ณ 22 กันยายน

2565)

29


5. กจิ กรรมที่ดาเนินงานไปแล้ว

1. ฟื้นฟวู ิชาการงาน Infection Control

เจ้าหน้าท่ีเขา้ ร่วมประชุมปี 2565 คิดเป็นรอ้ ยละ 97.46 แยกเปน็ แตล่ ะหนว่ ยงานดงั น้ี

สรปุ จำนวนเจำ้ หนำ้ ที่เขำ้ อบรมICประจำปี 2565

120%

100% 100% 100% 100% 9140.101%% 100% 8180.808%% 100% 100%
80% 96.55% 97.29% 77.77%

60%

40% เปำ้ หมำยในกำรเข้ำร่วมอบรมIC จำนวนเจำ้ หนำ้ ท่ที ่ีเขำ้ อบรมIC

20%

0%

แผนภมู ิที่ 7 : แสดงรอ้ ยละบุคลากรเขา้ ร่วมอบรมฟ้นิ ฟวู ิชาการประจาปี 2565 แยกแตล่ ะกลุ่มงาน

สาเหตุทีเ่ จ้าหน้าทแี่ ต่ละฝ่ายไมส่ ามารถเข้าร่วมได้ครบเนอ่ื งจากมกี ารจัดกจิ กรรมอบรมรว่ มกบั งาน พอสว.เดนิ เทา้ ในปี
ถดั ไปการดาเนินการอบรมจะปรับเปล่ยี นกระบวนการเพื่อให้บุคลากรมสี ว่ นร่วมมากขน้ึ

30


2. นเิ ทศการดาเนนิ งานใน รพ.สต.

ผลการนเิ ทศงานแต่ละ รพ.สต. และโรงพยาบาลแมต่ ื่นตามเกณฑก์ ารนิเทศการดาเนินงานดา้ น IC ของจังหวัดเชียงใหมม่ ี
รายละเอยี ด ดงั แผนภมู ิ

31


ผลการนิเทศงาน IC ใน รพ.สต ปี 2565

120 95.83 97.22 97.22 90.28 93.06 95.83 97.22 97.22
100 80.56 65.28
80
80 80 80 80 80 80 80 80

60 80 69.44 80 80

40 ร้อยละการนเิ ทศงาน IC ใน รพ.สต goal

20

0 อูตูม นาเกียน แมห่ ลอง สบลาน ยางเปียง ตงุ ลอย มูเซอร์

แม่ต่นื ทุ่งต้นงวิ้ ห้วยนา้ ขาว ซแิ บร

แผนภมู ทิ ี่ 8 : แสดงร้อยละของคะแนนการนิเทศงานด้าน IC ประจาปี 2565 แยกแตล่ ะรพ.สต.

ข้อเสนอแนะในการปรับกระบวนการทางานได้สรุปแจ้งให้กบั รพ.สต แต่ละจุดเพือ่ การพัฒนาและปรับปรุงหน่วยงาน
นามาซ่งึ ความปลอดภยั ต่อผูร้ ับบริการ และบคุ ลากร

3. ประชมุ วิชาการประจาปี

32


4. รณรงค์กจิ กรรมทาความสะอาดมือในหน่วยงาน และสุม่ สังเกตพฤตกิ รรมการทาความสะอาดมอื ของบคุ ลากร
พบวา่ บุคลากรในโรงพยาบาลมรี อ้ ยละการทาความสะอาดมือ 91.32 เปรียบเทียบ 5 ปียอ้ นหลัง

รอ้ ยละการทาความสะอาดมือในบุคลากร
ปี 2561 - 2565

120 80 80 98.33 91.32
80 80
100 79.2
80 68.62 เป้าหมาย 2565

80 รอ้ ยละการทาความสะอาดมอื

60 65.8 2562 2563 2564
40

20

0
2561

แผนภูมทิ ่ี 9: รอ้ ยละการทาความสะอาดมอื ของบุคลากรทางการพยาบาลปี 2560 - 2565

5. การเข้ารว่ มประชมุ คณะกรรมการปอ้ งกันและควบคมุ โรคติดเชอ้ื ในโรงพยาบาลชมุ ชน จงั หวัดเชยี งใหม่ทกุ เดือน เพือ่ พฒั นา
ความรู้ในงาน

6. ใหภ้ มู คิ มุ้ กันแกเ่ จ้าหน้าทีกลุม่ เสี่ยง (Influenza Vaccine) และ COVID Vaccine

33


7. ติดตามเยย่ี มบ้านในผปู้ ว่ ย CAPD

34


6.กจิ กรรมที่จะดาเนนิ ตอ่ ไป
1. อบรม IC ฟื้นฟูวชิ าการประจาปี
2. ให้ความรบู้ ุคลากรทางสาธารณสขุ ในการปอ้ งกนั การแพร่กระจายเช้อื ในสถานบริการ
3. พัฒนาความร้ใู ห้กบั ICWN ในหัวข้อการเฝา้ ระวงั การติดเช้ือในโรงพยาบาล
4. นเิ ทศกากบั ติดตามการปฏิบัติงานในโรงพยาบาลและ รพ.สต.อยา่ งตอ่ เน่อื ง
5. กิจกรรมรณรงคแ์ ละเฝ้าระวัง การทาความสะอาดมอื ในหน่วยงานอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
6. รณรงค์ กระตุ้น การปฏิบัติตาม standard precautions ในโรงพยาบาล เพ่ือลดการแพร่กระจายเช้ือ
7. พฒั นาระบบการเฝา้ ระวังเชือ้ ด้ือยาในโรงพยาบาล

35


7. แผนการดาเนินงานดา้ นการปอ้ ง

โครงการ / กิจกรรม ต.ค.
นิเทศการดาเนนิ งานดา้ น IPC ทัง้ ในรพ.สต. และโรงพยาบาล
อบรมฟืน้ ฟูวชิ าการเกยี่ วกบั การป้องกนั การแพร่กระจายเชื้อในโรงพยาบาลอม
กอ๋ ย และโรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพระดับตาบล
ส่งเสรมิ การใช้ WI ในการดาเนนิ งานเพ่ือปอ้ งกัน Infection control
การเฝ้าระวงั การติดเช้ือในโรงพยาบาล
การสารวจความชกุ โรคตดิ เชอ้ื ในโรงพยาบาล
การตรวจสอบประสทิ ธภิ าพการเฝา้ ระวังการตดิ เชื้อในโรงพยาบาล
การเฝ้าระวังการติดเช้ือในสง่ิ แวดล้อม
การเฝา้ ระวงั กระบวนการทาลายเชื้อ-การทาใหป้ ราศจากเชอ้ื
รณรงคว์ ัคซีนไขห้ วัดใหญ่
ประชมุ คณะทางานด้านการปอ้ งกันและควบคุมโรคติดเชอื้ ในโรงพยาบาลชมุ ชน
จ.เชยี งใหม่
นิเทศการดาเนินร่วมกับคณะทางานระดับจังหวดั
ประชมุ วชิ าการ IC-Forum
ประชุมวิชาการ IC ประจาปี 2565 (ร่วมกับคณะทางานฯ)


งกันและควบคมุ โรคติดเชื้อในโรงพยาบาล ปี 2566
พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

36


1

งานบรกิ ารพยาบาลชุมชน
Palliative Care OMKOI

วิสยั ทัศน์
โรงพยาบาลที่มีมาตรฐาน รว่ มคิด ร่วมมือ ร่วมใจ ให้สขุ ภาพดี

จดุ เน้น
มงุ่ สูก่ ารพยาบาลทปี่ ระทบั ใจ ได้มาตรฐานวชิ าชีพ เพ่ือให้ผู้ปว่ ยอยู่ในระยะสุดทา้ ยอยา่ งมีความสุข

พนั ธกิจ
1.โรงพยาบาลชมุ ชนมาตรฐาน ตามแนวทางการพฒั นาคุณภาพโรงพยาบาลของสถาบันพฒั นาและ
รบั รองคณุ ภาพโรงพยาบาล
2. พฒั นาระบบสขุ ภาพอยา่ งมสี ่วนร่วม และย่งั ยืน

จดุ เนน้
1. มงุ่ ม่นั พัฒนาการพยาบาลผปู้ ว่ ยระยะสุดท้ายใหม้ ีคุณภาพ ไดม้ าตรฐานตามวิชาชพี
2. มงุ่ เนน้ พฒั นาบคุ ลากรให้มีคณุ ภาพในการดูแลผ้ปู ว่ ยระยะสุดท้ายอย่างต่อเนือ่ ง
3. ดารงไว้ซึง่ จรยิ ธรรม จรรยาบรรณแหง่ วชิ าชพี และเคารพในสทิ ธิผปู้ ว่ ย

เป้าหมาย GOOD DEAD


2

วตั ถปุ ระสงคใ์ นการดูแลผ้ปู ่วย Palliative Care
1. ให้ผปู้ ่วย Palliative Care มีคุณภาพชวี ิตทีด่ ี สามารถใช้ชวี ติ ไดต้ ามสภาพ ไม่ทกุ ข์ทรมาน
2. ให้ผปู้ ว่ ย Palliative Care สามารถเขา้ ถึงการบรกิ าร รวมถึงยาที่มคี วามจาเพาะในการบรรเทาอาการ
ไม่สขุ สบาย
3. ลดคา่ ใช้จา่ ยของผปู้ ่วยในการรกั ษา และลดตน้ ทนุ ในการรักษาแบบย้ือชวี ิต
4. วฒั นธรรมของพื้นทีอ่ าเภออมก๋อย....เสียชีวติ ท่ีบ้าน...บรรลุ ACP และ Family meeting

โครงสร้างการดาเนินงาน Palliative Care
ผูอ้ านวยการโรงพยาบาล นายแพทย์วิเชยี ร ศริ ิ
หัวหนา้ กลุม่ การพยาบาล นางอัญชลี กนั ทา
ผู้รับผดิ ชอบงานหอผู้ปว่ ยในชาย นางสาวลาวณั ย์ ตระกลู อัปราชยั
ผู้รบั ผดิ ชอบงานหอผู้ป่วยในหญิงนางสาวรนิ ธร พฒั นาชาตนิ ิยม
ผูร้ บั ผดิ ชอบงานผปู้ ว่ ยนอกนางสาวกัญชพร ปะตะนะ
ผู้รับผิดชอบงานอุบตั เิ หตุและงานฉกุ เฉนิ นางสาวรัตนธ์ ิชา กติกาสติ
ผรู้ บั ผิดชอบงานโรคคลินิกตดิ ตอ่ ไมเ่ รอื้ งรังนางสาวภทั รวดี บวรธเนศ
ผรู้ บั ผิดชอบงานของแตล่ ะรพสต


3

ขอบเขตการดูแลผ้ปู ่ วยแบบประคบั ประคอง 8 กล่มุ โรค...... 10 Criteria ของกรมการแพทย์

ผู้ป่ วยเข้าเกณฑ์ Palliative Care ตามทก่ี รมการแพทย์กาหนด ( Z 515)

8 กลุ่มโรค 10 criteria ผ้ปู ่ วยทเ่ี ข้าสู่ภาวะ Palliative Care

1. โรคมะเร็ง 1. มีการถดถอยของการประกอบกิจกรรมประจาวนั นง่ั หรือนอน PPS
2. Neurological Disease / Stroke ≤ ร้อยละ 50
3. โรคไตในระยะท่ีตอ้ งไดร้ ับการ 2. ไม่ตอบสนองต่อการรักษา
บาบดั ทดแทนไต (Renal 3. ผปู้ ่ วย/ครอบครัวเลือกท่ีจะไมร่ ักษาตวั โรคต่อไปอยา่ งเตม็ ที่
Replacement Therapy) และ 4. เขา้ รับการรักษาในโรงพยาบาลอยา่ งไมค่ าดหมายบ่อยคร้ัง
กลุ่มท่ีมีภาวะไตวายเร้ือรังเร่ิมเขา้ สู่ 5. มีเหตุการณ์ที่มีผลกระทบ เช่น การลม้ รุนแรง ภาวะสูญเสีย การรับเขา้
ภาวะคุกคามตอ่ ชีวิตการรักษา ดูแลในสถานพยาบาล /บริบาล
เป็นไปเพอื่ ประคบั ประคองและ 6. Multiple Co-morbidity ซ่ึงเป็นตวั บ่งช้ีท่ีมีความสาคญั เช่น On TT
ชะลอการเส่ือมของไต tube, pressure sore
4. Pulmonary and Heart Disease 7. โรคอยใู่ นระยะลุกลาม ไมค่ งตวั มีอาการซบั ซอ้ นท่ีไม่สุขสบายมาก
5. Multiple Trauma Patient 8. Terminal Delirium มีภาวะสมองเส่ือม
6. Infectious Disease HIV / AIDS 9. Cachexia, น้าหนกั ลดลงต่อเนื่อง,
7. Pediatric Serum albumin < 2.5 mg/dl ตอ่ เน่ือง
8. Aging / Dementia 10.Persistent Hypercalcemia

ตารางท่ี1แสดงการการดแู ลแบบประคบั ประคองตามขอบเขตการดูแลผปู้ ่วยแบบประคับประคอง 8กลุ่มโรค
10 Criteriaของกรมการแพทย์


4

การดาเนนิ งาน Palliative care
ดา้ นการบริหาร
การบริหารอตั รากาลัง

1. บุคลากรด้าน Palliative Care ของโรงพยาบาลอมกอ๋ ยผ่านการอบรมการพยาบาลดูแลผูป้ ว่ ยแบบ
ประคับประคองข้นั พ้นื ฐาน ผ่านระบบZoom meeting ถ่ายทอด ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลมะเร็ง
ลาปาง(หลักสตู ร 5วนั ) 1 ราย

2. มีการConsult case Palliative care ผา่ นระบบ Lineกบั ทางรพ.นครพงิ ค์เพื่อนามาวางแผนการ
รกั ษาในรายบุคคล

3. สรา้ งความเข้าใจเรื่อง Palliative Care ใหส้ หสาขาวิชาชีพรบั ทราบเพ่ือให้มีความเข้าใจตรงกัน
เน้นใหแ้ พทยว์ ินิจฉัย Palliative Care (Z515) ทาให้เกิดการพัฒนาในงาน Palliative Care

4. เภสัชกรรมมีทะเบียน และรายการยาทใี่ ช้ในงาน palliative Careและ Pain clinic สร้างเปน็
แนวทางให้สามารถเลือกใชไ้ ด้เหมาะสมกบั อาการผปู้ ว่ ยแต่ละราย

การบริหารงบประมาณ
มกี ารบริหารจดั การเร่ืองการเบกิ เงนิ กบั สปสช. ผ่านระบบ e-claim โดยการเหมาจา่ ยต่อรายในการ

ดแู ลผู้ป่วยจนถึงเสียชวี ติ


5

แผนภมู ิท1ี่ แสดงจานวนเงนิ Eclaim Palliative case ปี2565
จากแผนภมู ิแสดงให้เหน็ จานวนเงิน Eclaim ท่ีไดร้ ับจานวน 88,000 170,000 115,000และ10,200 ในปี
2562-2565 ตามลาดบั มผี ูป้ ว่ ยจานวน 68 คนแปรผนั กับจานวนCase ทไี่ ดร้ ับการดแู ลแบบประคับประคองใน
ปี2565
สรปุ ปีงบ 2565
เสียชวี ิต4 คนสามารถ Claim ไดเ้ งนิ มา 10,200 บาท


6

การบรหิ ารเครื่องมือสาคญั
1.มีคลังออกซิเจนไฟฟา้ ใหผ้ ปู้ ว่ ยได้ยืมใชท้ บี่ า้ น ทั้งหมด 20 เครอ่ื ง ดังนี้

- รพ.อมก๋อย 15 เครื่อง
- รพ.แม่ตืน่ 2 เครอ่ื ง
- รพ.สต.นาเกยี น 1 เครอื่ ง
- รพ.สต.ซแิ บร 1 เคร่ือง
- รพ.สต.ห้วยน้าขาว 1 เคร่ือง
2.เคร่ืองSuction 4เครื่อง

รูปที่3แสดงรูปภาพเครอื่ งผลติ ออกซิเจนไฟฟ้าในคลัง
ปัญหาที่พบ
-เครื่องผลิตออกซเิ จนไฟฟ้ามไี มเ่ พยี งพอต่อความตอ้ งการของผปู้ ว่ ยPalliative case เนื่องจากพ้นื ทห่ี ่างไกล
บางพนื้ ที่ไม่มไี ฟฟา้ ใช้ทาให้ผู้ป่วยบางรายท่จี าเปน็ ต้องใช้เครื่องผลิตไฟฟ้าออกซเิ จน ไม่สามารถใช้ได้
-การยมื เพ่ือหมนุ เวียนเคร่ืองมือในรพสตเป็นไปด้วยความยากลาบากและพนื้ ทห่ี ่างไกล
3.ศนู ยอ์ ปุ กรณ์ มีศูนย์อปุ กรณ์โดยทมี กายภาพบาบัดโดยงานกายภาพบาบัดเป็นผู้ควบคมุ การเบิกจ่าย

รปู ท่ี4 แสดงอุปกรณ์กายภาพบาบัด


7

ด้านวชิ าการ

1.สง่ เจ้าหน้าทีผ่ ูร้ ับผิดชอบงานเข้าประชมุ เพื่อ Update ความรู้
2.มีการประชมุ ทางไกลผ่านจอภาพระบบZoom meetingเพ่อื ติดตามผลการดาเนนิ งาน Palliative caseและ
การประชุมเชิงปฏิบัติการทักษะการเข้าถึงการดูแลแบบประคบั ประคองและการทา ( Living will )
3.การมีLine group เพ่ือConsult caseกับสสจ.เชียงใหมแ่ ละ Line groupในการรบั Consul caseและส่ง
caseในพื้นท่อี าเภออมก๋อย

ดา้ นบริการ

1. ให้การดแู ล Palliative Care ในโรงพยาบาล
2. ทา Family meeting และ Advance care planทกุ รายท่ีเข้าสู่กระบวนการดูแลผปู้ ่วยPalliative

case
3. สอน,ใหค้ วามรู้เพ่ือเตรยี มความพร้อมในการดแู ลเม่ือกลับไปอย่บู ้าน
4. ให้การพยาบาลตามระดบั PPS 3 ระยะ

PPS 0-30 %
PPS 40-60 %
PPS 70-100 %
5. ให้การดูแล Palliative Care ในชมุ ชน...เยี่ยมบ้าน
6. มกี ารส่งต่อผ้ปู ว่ ยระยะสุดทา้ ยที่เลือกจะเสยี ชวี ติ ทบี่ ้าน กลับบ้านตามความตอ้ งการ
7. มีการตดิ ตามเย่ียมบา้ น


Click to View FlipBook Version