The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปผลการดำเนินงานของกลุ่มการพยาบาลรพ.อมก๋อย ปีงบประมาณ2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by oamamjib, 2022-12-06 00:51:20

สรุปผลการดำเนินงานของกลุ่มการพยาบาลรพ.อมก๋อย ปีงบประมาณ2565

สรุปผลการดำเนินงานของกลุ่มการพยาบาลรพ.อมก๋อย ปีงบประมาณ2565

สารบญั ข

เร่อื ง หนา้

คานา ก
สารบญั ข
วสิ ยั ทัศน์ พันธกจิ วัฒนธรรม เปา้ หมาย 1
บทบาทหนา้ ท่ี 1
เป้าหมาย 1
วตั ถปุ ระสงค์ 1
การจัดองค์กรและการบรหิ าร 2
อัตรากาลังของแผนก 3
ขบวนการทางาน 4
ลักษณะสาคัญของงานบรกิ ารและปรมิ าณงาน 5-6
รายงานขอ้ มูลตวั ชว้ี ดั คุณภาพการพยาบาล 7-11
สิง่ ท่ีดาเนินการเสร็จแล้ว 12-13
โอกาสพฒั นา 14
ภาพผนวก 15-17


1

1. วสิ ัยทัศน์ พนั ธกิจ วัฒนธรรม เปา้ ประสงค์

ให้บริการอุปกรณ์/เคร่ืองมือทางการแพทย์ท่ีได้มาตรฐาน ปลอดภัย เพียงพอ พร้อมใช้งาน ผู้รับบริการพึงพอใจ

2. บทบาทหนา้ ท่ี

งานจา่ ยกลางโรงพยาบาลอมก๋อยให้บริการอุปกรณ์ และเครื่องมือท่ีปราศจากเชื้อแก่ทกุ หน่วยงานในโรงพยาบาล
ตลอดจนสนบั สนนุ การทาให้เคร่อื งมือ/อปุ กรณ์ทางการแพทย์ปราศจากเชอื้ แก่ สถานีอนามัยในเขตรับผดิ ชอบ ทุกวันไมเ่ ว้น
วนั หยุด ในเวลา 8.30 – 16.30 น.

3. เป้าหมาย

ใหบ้ รกิ ารอปุ กรณ/์ เครอ่ื งมือทางการแพทย์ทไ่ี ดม้ าตรฐาน ปลอดภยั เพยี งพอ พร้อมใช้งาน ผูร้ บั บรกิ ารพึงพอใจ

4. วัตถปุ ระสงค์

1. เพอ่ื พัฒนาคุณภาพงานจ่ายกลาง ผ้รู ับบริการปลอดภยั
2. เพ่ือส่งเสริมพัฒนางานจ่ายกลาง ในการทาให้ปราศจากเชื้อเพ่ือความปลอดภัย ถูกต้องตามหลักวิชาการ

ผรู้ ับบริการพงึ พอใจ
3. พัฒนาส่งเสริมใหบ้ คุ ลากรมีความรู้ ปฏบิ ตั งิ านไดถ้ ูกต้อง มคี วามปลอดภัย สขุ ภาพอนามยั ทีด่ ใี นการปฏบิ ตั ิงาน
4. สง่ เสริม สนบั สนนุ ให้มกี ารใชเ้ ทคโนโลยีทีท่ นั สมยั เพื่อใช้ในการนามาพฒั นางานอยา่ งต่อเนือ่ ง
5. ลดการแพร่กระจายเชื้อ ลดขัน้ ตอนการทางาน ลดค่าใช้จ่ายในขบวนการทางาน แตค่ งไวซ้ ึ่งคุณภาพของงาน
6. พฒั นาคุณภาพการพยาบาล เก่ียวกับการใหบ้ รกิ ารผ้ปู ่วยที่ใชเ้ ครื่องมือทป่ี ราศจากเช้อื
7. ส่งเสริมใหเ้ กิดความปลอดภัยในส่งิ แวดลอ้ มการทางานทง้ั ภายในและภายนอกงานจา่ ยกลาง


2

โครงสรา้ งองคก์ รกลุ่มการพยาบาล หน่วยงานจา่ ยกลาง โรงพยาบาลอมก๋อย

ผู้อำนวยกำรโรงพยำบำล

นางอัญชลี กันทา
พยาบาลวชิ าชพี ชานาญการพเิ ศษ

หัวหนา้ ฝ่ายการพยาบาล

นางสาวสุภสั สรา สรุ ิยบปุ ผา
พยาบาลวิชาชีพปฏบิ ตั ิการ

หัวหน้าหน่วยจ่ายกลาง

พนักงานบรกิ าร พนกั งานบรกิ าร พนกั งานทาความสะอาด นางสาวประทุมพร ครี สี วรรค์ พนกั งานชว่ ยเหลือคนไข้

พนักงานชว่ ยเหลอื คนไข้


3

5. อตั รากาลงั ของแผนก

1. เจ้าหน้าที่ทุกคนปฏิบัติงานในวันและเวลาราชการ เวลา 08.30-16.30 น. จานวน 6 คน ประกอบด้วย
หัวหน้างาน 1คน พนักงานบริการ 2 คน พนักงำนช่วยเหลือคนไข้2 คน และพนักงานทาความสะอาด 1

คน
2. วันหยุด เสาร์-อาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ ปฏิบัติงาน เวลา 08.30-16.30 น. ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่

จานวน 3 คน
3. กรณีท่ีเวลาราชการมี เจ้าหน้าท่ีปฏิบัติงานไม่เพียงพอ ทาให้เกิดความล่าช้าต่องานบริการ ให้ข้ึนปฏิบัติงาน

เสริมในเวลา 16.30-20.30 น. ต่อได้ ทงั้ นต้ี อ้ งแจง้ ให้หัวหน้างานทราบทุกคร้ัง


4

6. ขบวนการทางาน

รับอปุ กรณ์จำกหน่วยงำน

Cleaning Checking Packing

Sterilization Disinfection

Sodium hypochlorite

Gravity / Pre vac EO-Gas


5

7. ลกั ษณะสาคญั ของงานบรกิ ารและปรมิ าณงาน

7.1สถิตกิ ารล้างอปุ กรณท์ างการแพทย์ (จานวนชิน้ )

แผนภมู แิ สดงจานวนการลา้ งอุปกรณท์ างการแพทย์
จากแผนภมู ิพบวา่ สถิตกิ ารลา้ งอปุ กรณ์ทางการแพทย์ปริมาณมากทส่ี ุดคอื ปี 2562 จานวน 113,438 ช้ิน
รองลงมาคอื ปี2563 จานวน 104,597 และนอ้ ยสุดในป2ี 565 จานวน 89,475 ชิน้ จากสถานการณ์การระบาดของ
โรคโควดิ -19 ทาใหอ้ ัตราการadmit และการผู้ป่วยมารบั บริการทโ่ี รงพยาบาลลดลงสง่ ผลให้การใช้อุปกรณท์ าง
การแพทย์ลดลง และสถิตกิ ารลา้ งอปุ กรณท์ ี่ลดลงตามไปด้วยเชน่ กัน
7.2สถติ กิ ารตรวจสอบความสะอาด และความพร้อมใชข้ องอปุ กรณ์ กอ่ นการบรรจุหบี หอ่ (จานวนช้ิน)

แผนภมู ิแสดงจานวนการตรวจสอบความสะอาดและพรอ้ มใช้ของอปุ กรณ์ทางการแพทย์
จากแผนภมู ิพบว่าสถติ ิการตรวจสอบความสะอาด และความพรอ้ มใชข้ องอปุ กรณ์ กอ่ นการบรรจหุ บี ห่อ ปี 2561
จานวน 98,192 ชิ้น , ป2ี 562 จานวน 113,438 ช้ิน , ป2ี 563 จานวน 104,597 ชิ้น , ปี 2564 94,994 ช้นิ และปี
2565 จานวน 89,475 ชน้ิ มกี าร ตรวจสอบความสะอาด และความพรอ้ มใช้ของอปุ กรณ์ ก่อนการบรรจหุ บี หอ่ มาก
ทสี่ ุด ป2ี 562 และนอ้ ยสุดปี2565เนอ่ื งด้วยสถานการณก์ ารระบาดของโรคโควดิ -19ทาใหอ้ ัตราการนอนโรงพยาบาล
ลดลงและอตั ราการใชอ้ ุปกรณเ์ คร่ืองมือแพทยล์ ดลงดว้ ยเชน่ กัน


6

7.3สถติ กิ ารทาใหอ้ ุปกรณ์ปราศจากเช้ือ (จานวนชิน้ )

แผนภูมแิ สดงจานวนการทาให้ปราศจากเชื้อของอุปกรณท์ างการแพทย์
จากแผนภูมพิ บว่าสถิติการทาอุปกรณ์ให้ปราศจากเช้ือ ด้วยวธิ ีกานง่ึ ไอนา้ ปี 2561 จานวน 79,922 ชนิ้ ปี 2562
จานวน 90,391 ชิน้ , ปี 2563 จานวน 87,594 ชน้ิ , ปี 2564 จานวน 78, 937 ช้ิน และ 2565 จานวน 78,378 ชิน้
ส่วนการทาใหป้ ราศจากเชอื้ ด้วยวธิ อี บแก๊สน้า ปี 2561 จานวน 18,270 ชิ้น ปี 2562 จานวน 23,047 ช้ิน , ปี 2563
จานวน 17,003 ช้นิ , ปี 2564 จานวน 16,057 ช้ิน และ 2565 จานวน 11,097 ชิ้น เนื่องด้วยสถานการณก์ ารระบาด
ของโรคโควิด-19ทาใหอ้ ัตราการใชอ้ ปุ กรณ์เครือ่ งมือแพทยล์ ดลง อตั ราการทาอุปกรณ์ให้ปราศจากเช้ือ ก็ลดลงดว้ ย
เช่นกนั
7.4สถติ ิการทา stock วสั ดุทางการแพทยเ์ พอ่ื สารองใชส้ าหรบั หนว่ ยงานและสถานอี นามัย(จานวนชน้ิ )

แผนภูมิแสดงจานวนการทา stock อปุ กรณ์ทางการแพทย์
จากแผนภูมิพบวา่ สถติ กิ ารทา stock วัสดทุ างการแพทย์เพอื่ สารองใช้สาหรบั หน่วยงานและสถานีอนามยั
ปริมาณมากที่สดุ คือ ปี 2563 จานวน 19,849 ช้ิน รองลงมาคือ ป2ี 564 จานวน 19,588 และนอ้ ยสุดในปี2565
จานวน 17,551 ชนิ้ จากสถานการณอ์ ัตราการadmitลดลง และการผปู้ ว่ ยมารบั บริการท่ีโรงพยาบาลลดลงในชว่ งต้นปี
2565สง่ ผลให้การใชอ้ ุปกรณ์ทางการแพทยล์ ดลง สถิตกิ ารทา stock วสั ดุทางการแพทยเ์ พอื่ สารองใช้สาหรับ
หนว่ ยงานและสถานีอนามยั ลดลงตามไปดว้ ยเช่นกนั


7

8.รายงานข้อมลู ตวั ชวี้ ดั คณุ ภาพการพยาบาล

8.1อตั ราการลา้ งอปุ กรณ์ทางการแพทย์สะอาด (ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ 100)

กราฟแสดงอตั ราการล้างอุปกรณท์ างการแพทยส์ ะอาด

จากกราฟพบวา่ อตั ราการล้างเครื่องมืออปุ กรณ์การแพทยส์ ะอาดรอ้ ยละ 100 ผ่านตามเกณฑ์เปา้ หมายที่ตง้ั ไวอ้ ยู่ท่ี
ร้อยละ 100
8.2อัตราการจัดอุปกรณ์ถูกต้อง ครบถว้ น (ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 100)

กราฟอัตราการจัดอุปกรณ์ถูกต้อง ครบถ้วน
จากกราฟพบวา่ อตั ราการจดั อุปกรณถ์ กู ตอ้ ง ครบถ้วน ปี2561 ร้อยละ99.96 , ปี 2562 รอ้ ยละ99.9 8ปี2563
รอ้ ยละ 99.98 และในป2ี 564 และ 2565 รอ้ ยละ 100


8

8.3ประสิทธภิ าพการทาใหป้ ราศจากเช้อื ทงั้ 3 ด้านผ่านเกณฑ์ (ผา่ นเกณฑ์รอ้ ยละ 100 )
การตรวจสอบประสทิ ธิภาพการทาให้ปราศจากเชือ้ ท้ัง 3 ดา้ น ไดแ้ ก่

1. การตรวจสอบทางกายภาพ ได้แก่ การตรวจสอบความพร้อมใช้ของเครื่องนึ่งประเภท Gravity ตาม
แบบฟอรม์ SP-008 และการตรวจสอบ Bowie dick test ในเครื่องนึ่งประเภท pre-vacuum

2. การตรวจสอบทางเคมี ท้ังภายนอก และภายในห่ออุปกรณ์ โดยภายนอกอุปกรณ์ ใช้การตรวจสอบโดย
การติดแถบ Autoclave tape อย่างน้อย 3 ช่องเต็มในการตรวจสอบ การตรวจสอบทางเคมีภายใน โดย
การบรรจแุ ถบ comply test grade 5 ในการตรวจสอบ โดยบรรจุแถบดังกลา่ วในห่ออปุ กรณ์ ณ ตาแหน่ง
ทคี่ าดว่าไอนา้ เข้าถึงได้ยากที่สดุ และบรรจุในห่ออปุ กรณท์ ่ีมีความเสี่ยงต่อการติดเช้ือสูง เช่น set suture,
set คลอดม set curettage, set สวนปสั สาวะ เปน็ ต้น

3. การตรวจสอบทางชีวภาพ เป็นการตรวจสอบโดยใช้หลอด Spore test ในทุกอาทิตย์ และตรวจสอบใน
ทกุ ๆหม้อนึง่

ผลการตรวจสอบมรี ายละเอียด ดังนี้

จากกราฟพบวา่ รอ้ ยละการผา่ นเกณฑข์ องการตรวจสอบ Bowie dick testผา่ นรอ้ ยละ100

กราฟพบวา่ ร้อยละการผ่านเกณฑข์ องการตรวจสอบเคมีภายนอกผ่านร้อยละ100


9

จากกราฟพบว่ารอ้ ยละการผา่ นเกณฑข์ องการตรวจสอบเคมีภายในผ่านรอ้ ยละ100

จากกราฟพบว่าการตรวจสอบทางชีวภาพ ไม่ผ่าน1 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ99.38 ได้ดาเนินการดังน้ี 1.ส่งตรวจ
Spore test ซ้าจานวน 2 ตัวอย่าง ห้องปฏิบัติการโรงพยาบาลอมก๋อยผล positive 2.ส่ง Spore test ตรวจซ้าท่ี
ปฏิบัติการห้องโรงพยาบาลฮอดผล native 3.สอบถามจากผเู้ ช่ียวชาญ ถึงผลการรายงานของห้องปฏิบตั ิการ และให้
คาแนะนาแก่เจ้าหน้าท่ีห้องปฏิบัติการทบทวนเร่ืองการรายงานผล และตรวจ Spore testซ้า 3 ตัวอย่างท่ี
หอ้ งปฏิบัตกิ ารโรงพยาบาลอมกอ๋ ย ผล negative


10

8.4.อัตราการพบอุปกรณเ์ ปยี กช้นื ( เป้าหมายรอ้ ยละ 0 )

จากกราฟพบว่าอัตราการพบอุปกรณ์เปียกชื้น ร้อยละ0.03 ในปี 2561 แต่ ในปีท่ีผ่านมาไม่พบอัตราการพบ
อุปกรณเ์ ปยี กช้นื

8.5อัตราการหมดอายุของเครื่องมอื แพทย์ ลดลง ( เป้าหมาย < 5 % )

จากกราฟพบว่าอตั ราการหมดอายขุ องเครอื่ งมือแพทย์ ลดลง จากเดิมปี2561 อตั ราการหมดอายุของ
เครือ่ งมือแพทย์อยทู่ ่ี 1.01 % ปจั จุบันปี 2565อตั ราการหมดอายขุ องเครื่องมอื แพทย์ดลงอย่ทู ่ี 0.49% หน่วยบรกิ าร
และหนว่ ยจ่ายกลางเนน้ ในเรอื่ งเช็ควนั หมดอายแุ ละการหยิบใช้หลกั First in /First out เพื่อเปน็ การลดต้นทนุ ในการ

re-sterile


11

8.6 อัตราการได้รบั อุบัติเหตุจากการปฏิบตั งิ าน (น้อยกวา่ รอ้ ยละ 5)

จากกราฟไม่พบเจา้ หนา้ ทีไ่ ด้รบั อุบตั ิเหตุจากการปฏิบัติงาน
8.7อัตราความพงึ พอใจของผ้รู บั บริการ (เปา้ หมาย 85 %)

จากกราฟพบว่าอัตราความพึงพอใจของผู้รบั บริการมีแนวโน้มท่ีดีข้ึน จากปี2561 ได้อัตราความพงึ พอใจของ
ผรู้ ับบรกิ าร ร้อยละ 80.37 % ปัจจบุ ัน ป2ี 565 อัตราความพงึ พอใจของผู้รบั บรกิ าร อยูท่ ่ี 84.49 %


12

9. สิ่งที่ดาเนนิ การเสรจ็ แล้ว

1.ได้มกี ารตดิ ต้งั เครือ่ งนึ่งฆา่ เช้อื ดว้ ยไอนา้ ขนาด 650 ลิตร ระบบ pre-vac 1เคร่อื ง


13

2.ปรบั ปรงุ ซอ่ มแซมเครื่องน่งึ และเครื่องอบแก๊สประจาปี2565


14

11. โอกาสพัฒนา

1.จดั ซ้อื เคร่อื งล้างเครอ่ื งมอื เพอื่ การลา้ งทส่ี ะอาดและทั่วถงึ ลดความเสย่ี งตอ่ การบาดเจ็บของ จนท
2.จัดซื้อเครอื่ งล้างสายพร้อมอบแห้ง เพ่อื การล้างทสี่ ะอาดและท่วั ถึง ลดการปนเปือ้ น และหมุนเวยี นสายต่างๆ ได้
อยา่ งรวดเร็ว
3.จัดซื้ออุปกรณ์ท่ีต้องทาให้ปราศจากเชื้อโดยการอบ EO เพิ่ม เพื่อให้สามารถหมุนเวียนได้ทัน โดยที่ระบาย EO
ออกหมดแล้ว เช่น ขวด suction, set พน่ ยา, o2 canular เป็นต้น
4.ยกเลิกการใช้หม้อ gauze, กระปุก Forcep, และกระปุกสาลแี ห้ง โดยทาเปน็ single pack แทน
5.ยกเลิกการใช้อับสาลี Alc. โดยใช้แบบสาเร็จรปู แทน
6.ขออาคารจ่ายกลาง แยกจากซกั ฟอกและโภชนาการ จดั ทา one-way อยา่ งชัดเจน
7.พฒั นาให้หนว่ ยจา่ ยกลางเป็น central supply อยา่ งสมบรู ณ์ (คา้ งงานทนั ตกรรม)
8.ทาการตรวจสอบปริมาณ EO ตกค้างในอปุ กรณ์การแพทย์

-เพือ่ นาข้อมลู มาพฒั นาวธิ ที จ่ี ะลดปริมาณการตกคา้ งของ EO
-เพื่อเสนอผบู้ ริหารในการพิจารณายกเลิกการนา สาย o2 canular มา re-sterile เพราะพบปรมิ าณการ
ตกค้างของ EO มากถึง 99.99% และต้องอาศัยระยะเวลานาน 2 สัปดาห์ถึงจะระบายแก๊ส EO ออกได้ถึงระดับท่ี
ปลอดภัยกับผใู้ ช้
9.ทาประตหู ้อง EO เพ่มิ เปน็ 2 ชน้ั เพื่อป้องกนั การกระจายของ EO ทีด่ ีกว่า
10.ต่อเตมิ จา่ ยกลาง เพื่อเพม่ิ พนื้ ท่ปี ฏบิ ตั ิงาน


15

12ประมวลภาพกจิ กรรมต่างๆของงานจา่ ยกลาง

ภาพการตรวจสอบประสิทธภิ าพการทาใหป้ ราศจากเชื้อ ทั้ง 3 ดา้ นผา่ นเกณฑ์

การตรวจสอบ Bowie dick testผา่ น การตรวจสอบเคมีภายนอกผา่ น

การตรวจสอบเคมภี ายในผ่าน การตรวจสอบเคมีภายในผ่าน

การตรวจสอบทางชวี ภาพผา่ น การตรวจสอบทางชีวภาพผา่ น


16

ภาพกจิ กรรม 5 ส . ในหนว่ ยงาน


17

ภาพเจา้ หน้าท่หี นว่ ยจา่ ยกลางร่วมอบรมเรื่องการสวมอุปกรณ์ปอ้ งกันในการปฏิบตั งิ าน


1

รายงานสรปุ ผลการดาเนนิ งานกลุ่มการพยาบาล
โรงพยาบาลอมกอ๋ ย ปีงบประมาณ 2565

ผูจ้ ัดทา
แผนก โภชนาการ
กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลอมก๋อย
จงั หวัดเชยี งใหม่ 2565


2



คานา

รายงานสรุปผลการดาเนินงาน แผนกโภชนาการ ฉบับนี้จัดทาข้ึนเพื่อสรุปผลการดาเนินงานประจา
ปงี บประมาณ 2565 ของแผนกโภชนาการ โรงพยาบาลอมก๋อย เพื่อนาผลท่ีได้จากการรายงานไปใช้เป็นข้อมูล
สาหรบั หน่วยงานทเี่ ก่ียวข้องในการวางแผนพัฒนาการดาเนนิ งานใหม้ ีประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผลมากข้นึ

ในโอกาสนี้ คณะผู้จดั ทาขอขอบคณุ บุคลากรท่ีเก่ียวข้องกับการดาเนินงานทุกท่าน ที่ให้ความร่วมมือทา
ใหก้ ารดาเนนิ งานบรรลุผลตามเป้าหมายท่กี าหนดเปน็ อยา่ งดี

งานโภชนาการ
ตลุ าคม 2565


สารบญั ข3

คานา หนา้
สารบญั
วสิ ยั ทัศน์ พันธกิจ วัฒนธรรม เป้าหมาย ก
บทบาทหน้าที่ ข
เป้าหมาย 1
วตั ถุประสงค์ 1
การจดั องค์กรและการบริหาร 1
อตั รากาลังของแผนก 1
กระบวนการทางาน 2
ลกั ษณะสาคัญของงานบรกิ ารและปรมิ าณงาน 3
รายงานข้อมูลตวั ชวี้ ดั คุณภาพการพยาบาล 3
ส่ิงท่ดี าเนินการเสร็จแลว้ 4
ปญั หาและอุปสรรค์ 9
โอกาสพัฒนา 13
ประมวลภาพกิจกรรมตา่ งๆของงานโภชนาการ 16
กจิ กรรมท่ที าร่วมกบั หนว่ ยงานอ่นื ๆ 16
17
20


1

วิสยั ทศั น์ พันธกจิ วฒั นธรรม เปา้ ประสงค์

ผลิตอาหารทม่ี ีคณุ ค่าทางโภชนาการ สะอาด ปลอดภยั เพียงพอ เหมาะสมกบั โรคและผรู้ ับบรกิ ารพึงพอใจ

1. บทบาทหน้าที่

ให้บริการด้านอาหารแก่ผู้รับบริการท้ังในและนอกโรงพยาบาล ต้ั งแต่เวลา 6.30–16.30 น. ไม่เว้น
วนั หยดุ ราชการ มขี อบเขตบริการ
1. ควบคุมดแู ลการผลติ อาหารและการบรกิ ารอาหารทุกประเภท แก่ผู้ป่วยท่ีนอนรักษาตัวในโรงพยาบาล ให้ตรง

ตามแผนการรกั ษาของแพทย์
2. สอนและสาธิตการประกอบอาหารทางสายให้อาหาร แก่ผู้ป่วย และญาติผู้ป่วยเพ่ือให้สามารถดูแลตนเองได้

ทง้ั ในโรงพยาบาลและชุมชนในเขตอาเภออมก๋อย

2. เป้าหมาย

อาหารมีคุณคา่ ทางโภชนาการ สะอาด ปลอดภัย เพียงพอ เหมาะสมกับโรคและผู้รับบริการพึงพอใจ
ผใู้ หบ้ รกิ ารปลอดภัย

3. วัตถุประสงค์

1. เพื่อให้ไดร้ ับอาหารทถ่ี ูกต้องตามหลักโภชนาการและโภชนบาบดั
2. เพื่อบรรเทาอาการ ป้องกันโรคแทรกซ้อนและสนับสนุนการรักษาของแพทย์ และลดระยะเวลาค่าใช้จ่ายใน

การรักษา
3. เพื่อสอนและสาธติ การประกอบอาหารทางสายใหอ้ าหาร แกผ่ ปู้ ่วย และญาติผู้ปว่ ยเพื่อให้สามารถดูแลตนเอง

ได้ทั้งในโรงพยาบาลและชมุ ชนในเขตอาเภออมก๋อย
4. เพ่อื ส่งเสริม สนับสนนุ การใชเ้ ทคโนโลยที ที่ นั สมยั เขา้ มารว่ มพฒั นาคุณภาพงานอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
5. เพ่อื พฒั นาระบบสูก่ ารรับรองคุณภาพโรงพยาบาล
6. เพอ่ื สง่ เสริมความปลอดภัยสง่ิ แวดล้อมทง้ั ภายในและภายนอกงานโภชนาการ


2

4.การจดั องค์กรและการบริหาร

คณะกรรมการพัฒนา ผอู้ านวยการโรงพยาบาลอมก๋อย
คุณภาพโรงพยาบาล

นางอัญชลี กนั ทา
พยาบาลวิชาชีพชานาญการพิเศษ

หวั หน้าฝ่ายการพยาบาล

นักโภชนากร
หัวหน้างานโภชนาการ

7.


5.อัตรากาลงั ของแผนก 3

เจ้าหนา้ ท่ีประกอบดว้ ย 1. ตรวจสอบอาหารสด-แห้ง
1.นักโภชนากร 1 คน เพื่อการสั่งซื้ออาทิตย์ละ 2
2.พนักงานประกอบอาหาร 2 คน ครง้ั
3.พนักงานบรกิ าร 1 คน
2. จดั เตรียมภาชนะ อุปกรณ์
6.กระบวนการทางานการทางาน สาหรบั ประกอบอาหาร

ตรวจสอบยอดผู้รับบริการ 3. ประกอบอาหารเหลวป่ัน
กรณีมีผรู้ ับบริการ
ประกอบอาหาร ประกอบอาหาร
ตาม เมนอู าหาร / จัด-แจกอาหาร
อาหารเหลวป่ัน

1. อาหารทว่ั ไป เกบ็ ภาชนะ-ลา้ ง 1. กาจัดเศษอาหารและคราบ
2. อาหารห้องพิเศษ ไขมันโดยใช้น้ายาลา้ งภาชนะ
3. อาหารว่างผู้ป่วยหอ้ ง
2. กาจดั น้ายาลา้ งภาชนะโดยใช้
พิเศษ น้าสะอาด ซึ่งใช้น้าจากกอ๊ ก
ไหลผ่านภาชนะทุกช้นิ

3. ฆ่าเช้ือโดยแชน่ ้าร้อนนาน 1
นาที


4

7.ลักษณะสาคญั ของงานบรกิ ารและปริมาณงาน

1.งานโภชนบริการ

1.1 สถติ ิการประกอบอาหารแตล่ ะประเภท

50000 41,305 17,260
32,001 2565
40000 33,868
30000 18,760

20000 2562 2563 2564
อาหารธรรมดา
10000

0
2561

แผนภูมทิ 1ี่ แสดงจานวนคร้ังทีป่ ระกอบอาหารธรรมดา

6000
5000 4,900
4,351
3,717
4000 3,069

3000 2,053
2000

1000

0
2561 2562 2563 2564 2565

อาหารออ่ น

แผนภมู ทิ 2่ี แสดงจานวนคร้ังทปี่ ระกอบอาหารออ่ น


5

200 172
94
150
0 2564 65
100 2562 2563 2565
50 39
อาหารเหลว
0
2561

แผนภมู ทิ ่3ี แสดงจานวนครั้งทป่ี ระกอบอาหารเหลว

2500 1,195 2,250
843 2565
2000
186
1500
1000 867 2562 2563 2564
อาหารเฉพาะโรค
500

0
2561

แผนภมู ิท่ี4 แสดงจานวนครง้ั ท่ปี ระกอบอาหารเฉพาะโรค


6

5000 4,744

4000 3,207 2,936 2,868
3000
1,814 1,598 1,420
2,126 1,079 958
2000

1000

0
2561 2562 2563 2564 2565

อาหารห้องพิเศษ อาหารว่างหอ้ งพเิ ศษ

แผนภมู ิที่5 แสดงจานวนครง้ั ทีป่ ระกอบอาหารหอ้ งพเิ ศษและอาหารวา่ งหอ้ งพเิ ศษ

จากแผนภูมิท่ี1-5 แสดงสถิตกิ ารประกอบอาหารแตล่ ะประเภทน้ัน จะเห็นไดว้ า่ ในป2ี 565 จานวนการ
ประกอบอาหารประเภทอาหารเฉพาะโรคเพ่มิ ขน้ึ ส่วนการประกอบอาหารประเภทอ่ืนมีการจานวนลดลง
เนื่องจากมีผมู้ ารบั บริการลดลง

500 414
400

300

200 153 157

100 66 33

0
ต.ค-64 พ.ย.-64 ธ.ค.-64 ม.ค.-65 ก.พ-65

การบริการอาหารให้ผปู้ ว่ ย COVID-19/ผูป้ ่วยท่รี อรบั การส่งต่อ ผปู้ ่วยPUI
ปี 2565 จานวนคร้ัง

แผนภูมิที่6 แสดงจานวนครง้ั การบริการอาหารใหผ้ ู้ปว่ ย COVID-19 ทร่ี อรับการสง่ ต่อ/ผปู้ ่วยPUI ปี 2565

จากแผนภูมิแสดงจานวนการบรกิ ารผปู้ ว่ ย COVID-19 แสดงให้เห็นว่ามกี ารบริการในเดอื น ต.ค64-กพ.65

จานวน 823 ครัง้ หลงั จากนน้ั มีการประกาศเปิดศูนย์ CI HI จงึ ไมไ่ ด้มกี ารบริการอาหารต่อ และมปี ระกาศให้โรค
ระบาดCOVID-19 เป็นโรคประจาถิน่ ในเวลาต่อมา


7

1200 954 169
1000 2565
800 420
600 481 212
400
2562 2563 2564
200 อาหารทางสายยาง
0
2561

แผนภมู ทิ ี่7 แสดงจานวนครั้งท่ปี ระกอบอาหารทางสายยาง

จากแผนภูมิ พบว่าการประกอบอาหารทางสายยางในปี 2564 มจี านวน 954 ครงั้ ซ่ึงเปน็ จานวนครง้ั ที่
ประกอบมากกว่าปอี ื่นๆเน่อื งจาก มีผูป้ ่วย 1 Case ท่ญี าติไมไ่ ดม้ ารับกลบั ไปดแู ลที่บ้าน จงึ ทาให้มอี ตั ราการ
ประกอบอาหารทางสายยางเพิม่ ขึน้ เป็นจานวน 954 ครง้ั

งานโภชนศกึ ษา

การให้ความรูด้ ้านโภชนาการ และโภชนบาบดั แก่ผู้ป่วยและครอบครวั
กลมุ่ ผปู้ ่วยใน

เมื่อคัดกรองภาวะโภชนาการแล้วผู้ป่วยเสี่ยงทุพโภชนาการ นักโภชนากรจะข้ึนไปเยี่ยมให้โภชนบาบัด
คานวณพลังงานรายบุคคล ให้โภชนศึกษา/ประกอบแผ่นพับ วงล้ออาหาร ในการปรับเปล่ียนพฤติกรรม การกิน
อาหารใหถ้ ูกต้องกบั สภาวะของโรค

กลุม่ ผปู้ ว่ ยนอก
งานคลนิ ิกโรคไมต่ ิดต่อเร้อื รัง ใหโ้ ภชนศกึ ษาในกลุ่มโรคไตวายเรื้อรัง(จานวน 14 ครง้ั ),ความดนั โลหิตสูง

(จานวน 77 ครงั้ ) และเบาหวาน(จานวน 164 ครง้ั )
กลมุ่ ผ้ปู ว่ ยเย่ียมบ้าน
นักโภชนากรรวมกบั ทมี สหสาขาวิชาชีพ ดาเนินการเย่ยี มบ้าน เช่น ผู้ปว่ ยโรค COPD CKD DM

palliative care เพื่อติตามดูแลเรื่องโภชนาการของผูป้ ว่ ย และการดูแลของญาตดิ า้ นโภชนาการของผูป้ ่วย เพ่อื ให้
ผปู้ ว่ ยมคี ณุ ภาพชีวติ ที่ดี เลือกทานอาหารท่ีถกู ตอ้ งเหมาะสมกบั โรคท่ีเปน็ อยู่ (จานวน 10 เคส)

โครงการต่างๆร่วมกับทมี สหวชิ าชพี
นกั โภชนากรรวมกับทีมสหสาขาวชิ าชพี ดาเนนิ การใหความรูเฉพาะกลุม โดยนักโภชนากร ให้คาปรึกษา/
คาแนะนาในเร่อื งอาหารที่เสี่ยงตอการเกิดโรค/ทุพโภชนาการ ชนิดของอาหารท่ีมีปริมาณน้าตาลและ แคลอรี่สูง

อาหารแลกเปล่ยี น ยกตัวอยางสดั สว่ นอาหารใน 1 วัน อาหารชะลอไตเสื่อม คานวณพลังงานอาหารและสัดส่วน
อาหารเพอ่ื ลดนา้ หนัก


8

กลุ่มผู้ปว่ ยให้อาหารทางสายยาง
จดั ให้มีการสอนการประกอบอาหารทางสายยางแก่ญาติผปู้ ่วยทุกรายท่เี ข้ารบั การรักษาในการโรงพยาบาล
ด้วยคู่มือการทาอาหารทางสายยางและสาธิตการทาอาหารทางสาย ต้ังแต่ การเตรียมวัตถุดิบ การช่ัง การต้ม
อาหาร การปั่น การกรอง การตวง ของการทาอาหารทางสายยาง และข้อควรระวังในการทาอาหารทางสายยาง
การเกบ็ รักษาอาหารทางสายยาง และข้อควรระวังในการทาอาหารทางสายยาง พร้อมจัดทาแผ่นพับส่ือการสอน
แสดงวิธีทา อุปกรณ์ และปริมาณสูตรของผู้ป่วยเพ่ือความสะดวกแก่ผู้ปฏิบัติ สาหรับผู้ป่วยรายที่ไม่มีปัญหาเรื่อง
ทรัพย์ จะแนะนาให้ซ้ืออาหารสาเร็จรูปเพ่ือสะดวก แก่ผู้ดูแล นักโภชนากรได้บันทึกท่ีอยู่ และเบอร์ติดต่อเพ่ือ
สอบถามความกา้ วหน้ากบั ญาติผปู้ ว่ ย (อาหารปัน่ ผสมเอง จานวน 5 ราย)

2.1 สถติ กิ ารใหส้ ขุ ศึกษาด้านโภชนาการ 461
2565
500
400 379

300

200

100

0
2561 2562 2563 2564
ผปู้ ่วยท่ีได้รบั การให้โภชนศึกษา

แผนภูมท่ี 8 แสดงจานวนผูป้ ่วยท่ีไดร้ บั การใหส้ ุขศกึ ษาดา้ นโภชนาการ
จากแผนภูมิ แสดงจานวนผู้ปว่ ยท่ีไดร้ บั การให้สุขศึกษาดา้ นโภชนาการ ในป2ี 565 มจี านวนการให้สขุ
ศึกษา เพ่ิมมากขึ้น


9

8.รายงานข้อมูลตัวช้วี ดั คณุ ภาพการพยาบาล

1. รอ้ ยละของผู้รับบริการอาหารเฉพาะโรคไดร้ บั อาหารไม่ถูกต้องน้อยกว่ารอ้ ยละ ≤3

รอ้ ยละบริการอาหารไมถ่ ูกต้อง

0.12
0.09

00 0.02

2561 2562 2563 2564 2565

กราฟที่ 1 แสดงร้อยละการบรกิ ารอาหารเฉพาะโรคได้รับอาหารไมถ่ กู ต้อง

จากแผนภูมิ พบว่าในปี2563 ได้บริการอาหารเฉพาะโรคไม่ถูกร้อยละ 0.12 จึงได้มีการทบทวนใน
หนว่ ยงาน และเพ่ิมแนวทางเรื่องการบรกิ ารอาหารเฉพาะโรคเน้นยา้ ใหจ้ นท.ตดิ Tag อาหารเฉพาะโรคและให้เสิร์ฟ

อาหารเฉพาะโรคกอ่ นจากนั้นค่อยเสริ ์ฟอาหารให้ผู้ป่วยอาหารประเภทอ่ืนเดิมไม่ได้เรียงลาดับการเสิร์ฟอาหารให้
ผู้ป่วย ส่งให้ในปี 2564 และ2565 มีอุบัติการณ์ผู้ป่วยเฉพาะโรคได้รับอาหารไม่ถูกต้องลดลงเป็นร้อยละ 0.09,
0.02 ตามลาดับ

2. ร้อยละของผรู้ ับบรกิ ารไดร้ บั อาหารตรงเวลาน้อยกวา่ รอ้ ยละ 95 100
รอ้ ยละบริการอาหารตรงเวลา

100 100 100 100

2561 2562 2563 2564 2565

กราฟท2่ี แสดงร้อยละการบรกิ ารอาหารตรงเวลา

จากกราฟ พบว่าต้ังแตป่ ี2560-2565ไดบ้ รกิ ารอาหารใหผ้ รู้ บั บริการตรงเวลา และไมม่ ีเรอ่ื งรอ้ งเรียนเรอ่ื ง
การบรกิ ารอาหารไม่ตรงเวลา


10

3.รอ้ ยละของผู้รบั บริการไดอ้ าหารไมค่ รบถ้วนน้อยกว่ารอ้ ยละ ≤5 คร้ัง 4
รอ้ ยละการบริการอาหารไมค่ รบ

44

1

0
2561 2562 2563 2564 2565

กราฟท่ี3 แสดงร้อยละการบริการอาหารไม่ครบ
จากราฟพบว่าในปี2561 พบอบุ ัตกิ ารณ์ 1 คร้ัง และ ในปี2563-2565 มีอุบัติการณ์ผู้ป่วยได้รับอาหารไม่
ครบจานวนปีละ 4 ครงั้ จากอบุ ัติการณ์ที่เกิดในปี2561 นั้น ทบทวนพบว่าการเบิกจ่ายอาหารยังเป็นระบบ Man
Nuan นัน้ ทาให้การเบิกจา่ ยอาหารไมเ่ พียงพอเพราะการเบิกอาหารแบบ Man Nuan ยอดผู้ป่วยไม่ตรงกับใบเบิก
อาหาร ในป2ี 563 จึงได้พฒั นาการสั่งเบิกอาหานผ่านระบบHos-xp แต่ยังเกิดอุบัติการณ์ ผู้รับบริการได้อาหารไม่
ครบ ทบทวนปรับเปลี่ยนแนวทางการสงั่ อาหารเดิมให้จนท.ในวอร์ดเปน็ ผสู้ งั่ อาหารซ่งึ พบว่ายอดผู้ป่วยไม่ตรงกับใบ
เบกิ อาหาร และไม่ทันท่วงที จงึ ปรับเปลยี่ นให้จนท.ทท่ี าการAdmid ใหส้ ่งั อาหารในระบบHos-xp ทุกราย และเพิ่ม
กระบวนการ การเบกิ จา่ ยอาหาร โดยให้เจ้าหน้าที่ตรวจเช็คผู้ป่วยก่อนนาส่งอาหารท้ัง 3 ม้ือ และให้เสิรฟอาหาร
ห้องพิเศษ ห้องแยกโรค เน่ืองจากทบวนเคสส่วนมากพบผู้ป่วยที่พักห้องแยก ห้องพิเศษ จะไม่ได้รับอาหาร และ
เพม่ิ ให้เจา้ หนา้ ที่วอรด์ แจ้งเจ้าหนา้ ท่โี ภชนาการเมอ่ื มกี ารเขา้ ห้องแยก หรอื หอ้ งพเิ ศษ


11

4.จานวนครง้ั ทพ่ี บสง่ิ ปนเปอ้ื นในอาหารนอ้ ยกว่านอ้ ยกวา่ 5 ครัง้
จานวนครงั้ ทีพ่ บสง่ิ ปนเปอื้ น

1

0000
2561 2562 2563 2564 2565

กราฟที่4 แสดงจานวนคร้งั ท่พี บสง่ิ ปนเปอ้ื นในอาหาร
จากราฟ ในปี2565 ได้พบอบุ ตั ิการณพ์ บสงิ่ ปนเปื้อนในอาหาร จากการทบทวนอุบตั กิ ารณ์ 1 คร้ัง
เน่อื งจากนักโภชนากรตรวจพบ เส้นผมในหม้อข้าวต้ม ม้ือเชา้ ไดม้ กี ารทบทวนแจ้งเหตกุ ารณ์ นเิ ทศให้เจา้ หน้าทีใ่ น
งานตระหนกั ในเรอื่ งการแต่งกายตามหลกั สุขภบิ าล สวมหมวก ให้เครง่ ครดั

5.รอ้ ยละของผู้ป่วยเบาหวานทมี่ ีระดบั น้าตาลลดลงหลงั ได้รบั การใหค้ าปรกึ ษาด้านโภชนาการมากกว่าร้อยละ 60

ผ้ปู ว่ ยเบาหวานทม่ี รี ะดบั น้าตาลลดลงหลงั ไดร้ ับการใหค้ าปรกึ ษา

73.09 84.0

000 2565
2561 2562 2563 2564

กราฟท5ี่ แสดงจานวนร้อยละผปู้ ่วยเบาหวานทมี่ รี ะดบั น้าตาลลดลงหลังได้รบั การใหค้ าปรึกษาด้านโภชนาการ
จากกราฟ ในป2ี 564-2565 รอ้ ยละผู้ป่วยเบาหวานท่มี รี ะดบั น้าตาลลดลงหลังได้รับการให้คาปรึกษาด้าน

โภชนาการ พบว่า ไดร้ อ้ ยละ 73.09 และ 84.0 ตามลาดับ ซ่ึงทาได้ตามเป้าหมายท่ีตั้งไว้ เป็นกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน

รายเดี่ยว แนะนาการบริโภคอาหารผู้ป่วย โดยซักถามประวัติการบริโภคอาหารของผู้ป่วยท่ีทาให้ระดับน้าตาลใน
เลอื ดสูงและแนะนาการบรโิ ภคอาหารที่เหมาะสมเพื่อควบคุมระดับน้าตาล ทาใหผ้ ูป้ ว่ ยมคี วามตระหนักในเรื่องการ

บริโภคและผู้ป่วยบางกล่มุ ทม่ี ีความรเู้ พม่ิ ขึน้ เกี่ยวกบั อาหาร


12

6.รอ้ ยละของผูร้ บั บรกิ ารพงึ พอใจในการบริการมากกว่ารอ้ ยละ 80 87.6
2565
100
80 72.94 77.2 76.85 78.44
60
40
20
0

2561 2562 2563 2564
รอ้ ยละความพงึ พอใจ

แผนภมู ิท่ี 9 แสดงร้อยละความพึงพอใจของผู้มารับบรกิ าร
จากแผนภูมิ พบวา่ ในป2ี 564-2565 มีการพฒั นาการบริการอาหารปรบั เปล่ียนเมนูอาหาร เพม่ิ ผลไม้ในมื้อ

อาหารกลางวัน มีเมนูชูสุขภาพ มีการปรับภาชนะใส่อาหารให้ได้มาตรฐาน แยกอาหารเฉพาะโรคและโรคทั่วไป
ชัดเจน ส่งผลให้ผู้มารับบริการ มีความพึงพอใจเพ่ิมขึ้นเป็น ร้อยละ 78.44,87.6ตามลาดับ และร้อยละความพึง
พอใจในปี2565นัน้ ผ้รู ับบรกิ ารไดแ้ สดงความคดิ เหน็ วา่ รสชาติอาหารดคี ดิ เปน็ รอ้ ยละ84 สีสนั และความหลาหลาย

ของอาหารคิดเป็นร้อยละ84.2 ความสะอาดของภาชนะคดิ เปน็ รอ้ ยละ88 ปรมิ าณอาหารเหมาะสมคิดเป็นร้อยละ
86.2 การแต่งกายของเจ้าหน้าท่ีเหมาะสมคิดเป็นร้อยละ88.8 พฤติกรรมของเจ้าที่คิดเป็นร้อยละ89.6 ความ

สะอาดของเจา้ ท่ีคิดเป็นรอ้ ยละ90.5 และให้บรกิ ารอาหารตรงเวลาคดิ เป็นรอ้ ยละ89.6


13

9.ส่ิงที่ดาเนินการเสร็จแลว้

1. บริการอาหารแบบ Centralized System และการทาบัตรกากับถาดอาหารแบบสติ๊กเกอร์ การชั่งตวง
อาหาร ซึ่งนักโภชนากรจะสามารถตรวจสอบได้ว่าการจัดและตักอาหารได้ตามปริมาณท่ีกาหนดไว้ ตรง
ตามใบเบิกอาหาร

2. พฒั นาระบบการตดิ ตามประเมินกลุ่มผู้ป่วยให้อาหารทางสายให้อาหารอย่างต่อเน่ืองท่ีบ้าน และมีผลลัพธ์ใน
การดแู ล โดยเชอ่ื มกบั ทีมสหวิชาชพี และทมี เยย่ี มบ้าน


14

3. พฒั นาการประเมนิ ภาวะโภชนาการในกลุ่มผูป้ ว่ ยสาคญั ท่มี ภี าวะทพุ โภชนาการ และวางแผนโภชนบาบัด


15

4. ดาเนนิ การโรงพยาบาลอาหารปลอดภัย

5. พัฒนาสมรรถนะแกพ่ นกั งานประกอบอาหาร ในการดดั แปลงอาหารเฉพาะโรค และเนน้ ย้าใหผ้ ปู้ ฏิบัติเล็งเห็น
ความสาคัญในการประกอบอาหารเฉพาะโรค ตามสดั ส่วนพลงั งาน สารอาหาร และเครอื่ งปรุงท่ีกาหนดตาม
แผนการรกั ษา การดูแลดา้ นโภชนบาบดั


16

10.ปัญหาและอปุ สรรค์

1. โครงสร้างอาคารมีพน้ื ที่คับแคบ ยงั ไม่ได้มาตรฐานสขุ ภิบาล
2. การจดั ตกั และแจก ในปจั จุบนั เปน็ ระบบแบบ Decentralized System หมายถึงการนาอาหารไปตกั

แบ่งใสภ่ าชนะบนหอผปู้ ว่ ย ในสว่ นม้ือเชา้ ซึ่งนักโภชนากรตรวจสอบไมไ่ ดท้ กุ ครง้ั วา่ การจัดและตักอาหาร
ไดต้ ามปรมิ าณท่กี าหนดไว้ และผู้ปว่ ยได้รับอาหารถกู ต้อง ตรงตามใบเบกิ อาหาร
3. ตู้เยน็ เกบ็ วัตถดุ ิบมอี ุณหภมู ิไมส่ ม่าเสมอ สง่ ผลใหว้ ตั ถุดิบเสอ่ื มเสีย ไมส่ ามารถนาไปประกอบอาหารได้

11.โอกาสพัฒนา

1. พัฒนาสมรรถนะแก่พนักงานประกอบอาหาร ในการดัดแปลงอาหารเฉพาะโรค และเน้นย้าใหผ้ ู้ปฏิบัติเล็งเห็น
ความสาคัญในการประกอบอาหารเฉพาะโรค ตามสดั ส่วนพลังงาน สารอาหาร และเครอ่ื งปรุงที่กาหนดตาม
แผนการรักษา การดูแลดา้ นโภชนบาบัด (แบบสาธติ ปฏิบัต)ิ

2. ปรับปรงุ โครงสร้างอาคารที่มีมาตรฐานตามระบบGMP/HACCP และเพิ่มการกากับติดตามในผู้ปฏิบัติงานให้
ปฏบิ ัติตามหลกั สขุ ภบิ าลอาหารและสขุ ลักษณะสว่ นบคุ คลอยา่ งเครง่ ครัด


17

ประมวลภาพกิจกรรมตา่ งๆของงานโภชนาการ

บริการอาหารผ้ปู ว่ ย

 5ส.


18

 5ส.
 big cleaning day


19

 อบรมงานสขุ ภิบาลอาหาร

 งานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย


20

กจิ กรรมท่ที ารว่ มกบั หนว่ ยงานอนื่ ๆ

กิจกรรมใหค้ วามรู้ตามคลินกิ ตา่ งๆ


21

ให้ความรใู้ นโครงการ NCD


22

ให้ความรใู้ นโครงการ อสม.


23

ร่วมกบั ทีมสหวชิ าชพี เย่ียมบ้าน


24

ตามนโยบายโรงพยาบาลอาหารปลอดภยั /
สุขภบิ าลอาหาร


รายงานสรปุ ผลการดาเนินงานกลมุ่ การพยาบาล
โรงพยาบาลอมกอ๋ ย ปีงบประมาณ 2565

ผู้จดั ทา
งานป้องกันและควบคมุ โรคติดเช้อื ในโรงพยาบาล

กลุม่ การพยาบาล โรงพยาบาลอมก๋อย
จงั หวัดเชยี งใหม่ 2565


คานา

การดาเนนิ งานด้านการปอ้ งกนั และควบคมุ โรคติดเชอ้ื ในโรงพยาบาล เป็นงานที่มี

ความสาคัญในการปอ้ งกันและควบคมุ การแพรก่ ระจายเชื้อโรค ดูแลปอ้ งกันผู้ให้บริการใหม้ คี วาม

ปลอดภยั จากการตดิ เชื้อขณะใหก้ ารดแู ล ดูแลปอ้ งกนั ไม่ใหผ้ ปู้ ่วยไดร้ บั อนั ตรายจากการติดเชอื้ โรค

จากการมารบั การรักษา และการดูแลสิง่ แวดลอ้ มของโรงพยาบาลไม่ใหเ้ ปน็ แหล่งแพรเ่ ช้ือตอ่

ชมุ ชน ซง่ึ การดาเนนิ งานใหส้ าเร็จลุล่วงดว้ ยดีน้นั ตอ้ งอาศัยทีมงานเป็นสาคญั

ในปี 2565 ทผี่ ่านมา คณะกรรมการด้านการป้องกันและควบคุมโรคตดิ เชื้อในโรงพยาบาล

ไดด้ าเนินงานเพือ่ วัตถปุ ระสงค์ดงั กล่าว และสรปุ ผลการดาเนินงานไวเ้ ปน็ เอกสารสาหรับเจ้าหน้าที่

และผู้สนใจ หากมีความผดิ พลาดประการใด ทมี งานขอน้อมรับขอ้ เสนอแนะดงั กล่าว

คณะกรรมการปอ้ งกันและควบคมุ โรคติดเช้ือในโรงพยาบาล
กันยายน 2565


สารบัญ หน้า

เรอื่ ง 1
7
1. แผนการดาเนินงานปี 2565 11
2. รายนามคณะกรรมการ
12
3. วิสัยทศั น์ พันธกิจ เปา้ หมาย 12
4. ผลการดาเนินงาน 13
14
4.1 การเฝา้ ระวังการติดเช้ือในโรงพยาบาล 15
4.1.1 อัตราการตดิ เชื้อในโรงพยาบาล 18
4.1.2 อัตราการติดเชอ้ื แผลเย็บสะอาด 19
20
4.1.3 อตั ราการตดิ เชอ้ื ในผู้ปว่ ยคาสายสวนปัสสาวะแลว้ กลบั บา้ น 21
4.1.4 อตั ราการติดเชอื้ แผลเยบ็ ทว่ั ไป 21

4.1.5 การเฝา้ ระวังการติดเชื้อผปู้ ว่ ยหลงั จาหน่าย 22
4.1.6 การเฝา้ ระวงั การติดเชอื้ ในผูป้ ่วยหลังคลอด 22
4.1.7 การเฝา้ ระวังการตดิ เชือ้ ในผู้ป่วย CAPD 23
24
4.1.8 การประเมินประสทิ ธภิ าพการเฝา้ ระวงั การตดิ เชอื้ ในโรงพยาบาล
4.1.9 การสารวจความชกุ โรคติดเช้ือในโรงพยาบาล 25
27
4.2 การดูแลสุขภาพบคุ ลากร 27
4.2.1 กิจกรรมการตรวจสุขภาพประจาปี 30
4.2.2 การเฝา้ ระวงั การสัมผัสเลอื ด สารคัดหล่งั ขณะปฏิบตั งิ าน 35
36
4.2.3 การเฝ้าระวังในบุคลากรทเ่ี กิดจากการปฏบิ ัติงาน
4.2.4 ดาเนินการรณรงค์ให้ภมู ิคุ้มกนั โรค

4.3 การควบคุมสง่ิ แวดลอ้ มในโรงพยาบาล
4.3.1 การตรวจสอบคุณภาพ น้าใช้ นา้ เสีย
4.3.2 การตรวจสอบประสิทธภิ าพการทาใหป้ ราศจากเชื้อ

4.3.3 การควบคมุ การใช้ยาปฏิชีวนะ
5. กิจกรรมท่ดี าเนินงานไปแลว้

6. กิจกรรมทจี่ าดาเนินการตอ่ ไป
7. แผนการดาเนนิ งานปี 2566


แผนการดาเนินงานการป้องกันและควบคมุ การต

กจิ กรรม ต.ค. พ.ย. ธ

1. พฒั นาองค์กรในการดาเนนิ งานป้องกันและควบคุมการติดเชือ้ ใน
โรงพยาบาล

1.1 จัดทาโครงการเสนอคณะกรรมการบรหิ ารโรงพยาบาล
1.2 ปรบั ต้งั คณะกรรมการปอ้ งกนั และควบคมุ การติดเชอื้ ในโรงพยาบาล
1.3 ประชมุ คณะกรรมการปอ้ งกันและควบคุมการติดเชอ้ื ในโรงพยาบาล

2. ดาเนินการเฝา้ ระวังการติดเชอื้ ในโรงพยาบาล

1. การเฝา้ ระวงั การตดิ เชื้อในผรู้ ับบริการ
1.1 เฝา้ ระวังการตดิ เชื้อในโรงพยาบาลในผู้ปว่ ย ทกุ รายท่เี ขา้ รับ การรกั ษา
1.2 เฝา้ ระวงั การติดเช้อื เฉพาะตาแหน่งทไ่ี ดร้ บั หตั ถการพเิ ศษ
1.3 เฝ้าระวงั การตดิ เช้อื จากแผลเยบ็ ณ ตกึ อบุ ัตเิ หตุ-ฉกุ เฉิน


Click to View FlipBook Version