32
Thalassemia
ชนิดของผู้ป่วยธารัสซีเมียที่เข้ารับบริการในโรงพยาบาลอมก๋อย
14% Beta-thalassemia
41%
Alpha-thalassemia
38%
7% Thalassemia trait
กล่มุ โรคเลือดอนื่ ๆทีต่ ้องเขา้ รบั การเติมเลอื ด
ประจา
แผนภมู ทิ ี่ 14 แสดงจานวนรอ้ ยละผปู้ ว่ ยธาลสั ซเี มยี ทเ่ี ข้ารับการักษาทีร่ พ.อมก๋อย ในปี2565
ในปงี บประมาณ 2565 มีผู้ป่วยมารับบริการที่โรงพยาบาลอมก๋อย ด้วยเร่ืองธาลัสซีเมีย (Thalassemia)
จานวน 25 ราย แยกตามชนิดของโรคธาลัสซเี มีย ดังนี้ Beta-thalassemia, Alpha-thalassemia, Thalassemia
trait และกลุ่มโรคเลอื ดอน่ื ๆที่ต้องเข้ารบั การเตมิ เลอื ดประจา เชน่ PNH, HPFH จานวน 5 ราย
ชนิดของผูป้ ่วยธาลัสซเี มียที่เขา้ รับบรกิ ารในโรงพยาบาลอมก๋อย ปีงบประมาณ 2563
Beta-thalassemia Alpha-thalassemia Thalassemia trait โรคเลอื ดอน่ื ๆ (ระบ)ุ
(D561) (D560) (D563)
ด.ช.ณรงค์ชยั ดลิ ก ด.ช.ยงยุทธ กลีบกลาง นางยอดเรือน วงค์นอ้ ย นางตอตึอ สว่างไพร
ประพฤทธิ์ วลั ย์ HPFH (D564)
ด.ญ.ประภาวะรนิ ทร์ หมด ด.ญ.รตั นติกาน ด๊ิผอ ด.ช.นริ นั ศุภกิจก้องพนา นางอโนทัย ปู่เงนิ
สังข์ PNH (D595)
ด.ญ.ปณิตา หนนุ ภิรมย์ ด.ช.ชนพฒั น์ อารงุ สาคร ด.ช.รามลิ เติมทรัพย์
ขวญั Herediatary
heamolytic anemia
ด.ญ.พณภา แววพริ าม นายดอ่ เส กุคา ด.ญ.ญาณิศา โกนมลู
(D569)
น.ส.กานตส์ ริ ิ พาติ นายจา่ พอ ณฐั ธยานนท์ นายพะถอ่ เง ภภู ัพ
33
ด.ญ.เบญจรัตน์ พะแนะ PNH (D595)
นายพลธชั ชัย สายชลคา้
ด.ญ.นฤมล เงินสขุ ใจ จุน
ด.ญ.สรุ ีย์ ขยนั กิจวริ ฬุ ห์ ด.ช.วรเมธ พทิ ักษบ์ ุญสติ า
ด.ญ.ฐิตกิ านต์ พทิ กั ษบ์ ุญสิ
ด.ญ.ประภาพร ดลิ ก ตา
ประพฤทธ์ิ น.ส.กัญญาลักษณ์ กนั ทะ
ด.ช.ปัณณวิชญ์ ศรีสุวรรณ์
ด.ญ.กวนิ ทิพย์ ชาญชนวฒุ ิ ด.ช.รัชชานนท์ ปานมลู
ด.ช.พรประทาน กระสนิ ธุ์
ด.ช.ทินภัทร เฉลมิ ผล
นรเศรษฐ์
ตารางที่14. แสดงรายชอ่ื ผู้ป่วยแยกตามชนิดธาลสั ซเี มีย ปีงบประมาณ2565
ในปีงบประมาณ 2565 มีผู้ป่วยมารับบริการท่ีโรงพยาบาลอมก๋อย ด้วยเรื่องธาลัสซีเมีย จานวน 25 ราย และ
ผปู้ ว่ ยโรคเลอื ดอ่นื ๆที่ต้องเข้ารับการเติมเลือดประจา จานวน 5 ราย ไม่พบผู้ปว่ ยรายใหม่
ตัวชว้ี ดั : ร้อยละของผ้ปู ่วย Thalassemia มาตรวจตรงตามนัด
หน่วยละ : จานวน
นา้ หนกั : รอ้ ยละ 80
คาอธบิ าย
ผู้ป่วย Thalassemia คือ ผู้ป่วยท่ีมีความผิดปกติเกิดจากความผิดปกติในการสังเคราะห์ฮีโมโกลบิน
(Hemoglobin) มคี วามจาเป็นทจ่ี ะต้องได้รบั การเติมเลือด และยาบารุงเลือด เพอ่ื ตดิ ตามระดับค่าความเข้มข้นของ
เลอื ดให้อย่ใู นระดับท่ีเหมาะสม เพ่ือปอ้ งกนั ภาวะแทรกซ้อนจากภาวะซดี จากโรคธาลสั ซเี มยี
วธิ ีการเกบ็ ขอ้ มูล
เก็บข้อมูลจากการรายงานความเสย่ี งหนว่ ยงานผ้ปู ่วยนอก และการเกบ็ รายงานแต่ละวนั ของงานผปู้ ่วย
นอก โรงพยาบาลอมก๋อย
สตู รการคานวณ ระดบั คะแนน
จานวนผูป้ ่วยธาลสั ซเี มยี ทม่ี าตรวจตามนัดทงั้ หมดในเดอื นนัน้ 1
จานวนผู้ปว่ ยธาลสั ซเี มียท้ังหมดที่นัดมาในเดอื นน้นั 2
เกณฑ์การให้คะแนน 3
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
รอ้ ยละของผู้ป่วยรับยา Thalassemia มาตามนดั รอ้ ยละ 60
ร้อยละของผ้ปู ว่ ยรบั ยา Thalassemia มาตามนดั รอ้ ยละ 65
ร้อยละของผู้ปว่ ยรบั ยา Thalassemia มาตามนัด รอ้ ยละ 70
34
ร้อยละของผ้ปู ่วยรับยา Thalassemia มาตามนดั รอ้ ยละ 75 4
รอ้ ยละของผู้ป่วยรับยา Thalassemia มาตามนดั ร้อยละ 80 5
แหล่งข้อมลู / วิธกี ารจัดเก็บข้อมูล
เกบ็ ข้อมูลจากการรายงานร้อยละของผปู้ ว่ ย Thalassemia มาตรวจตรงตามนัด และการเกบ็ รายงานแต่
ละวันของงานผู้ปว่ ยนอก โรงพยาบาลอมก๋อย
วธิ กี ารจดั เกบ็ -จดั เก็บขอ้ มลู ผปู้ ว่ ย Thalassemia มาตรวจตรงตามนัด สัปดาห์ละ 1 ครัง้ ทุกเดอื น
สรปุ การมาตามนัดของผู้ปว่ ยโรคธาลัสซีเมยี ปี 2562-2563
ตัวช้วี ัดทีส่ าคัญ ผลลัพธท์ ป่ี ฏิบตั ิ ปี 2562
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
61 61 61 62 62 62 62 62 62 62 62 62
รอ้ ยละของ 100 100 100 100 71.4 91.7 90 100 100 100 100 100
ผู้ปว่ ย
Thalassemi
a มาตรงตาม
นัด
ตารางท่ี15. แสดงร้อยละของผปู้ ว่ ย Thalassemia มาตรงตามนัด ปี 2562 รอ้ ยละ 96
ตัวชี้วดั ทส่ี าคญั ผลลพั ธ์ทปี่ ฏิบัติ ปี 2563
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
62 62 62 63 63 63 63 63 63 63 63 63
ร้อยละของ 90.90 81.81 90.90 90.90 81.81 81.81 90.90 90.90 100 100 100 100
ผู้ป่วย
Thalassemia
มาตรงตามนดั
ตารางท่1ี 6. แสดงร้อยละของผู้ปว่ ย Thalassemia มาตรงตามนดั ปี 2563 ร้อยละ 89.99
ตวั ชี้วดั ท่สี าคญั ผลลัพธ์ทป่ี ฏิบตั ิ ปี 2564
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
6๓ 6๓ 6๓ 6๔ 6๔ 6๔ 6๔ 6๔ 6๔ 6๔ 6๔ 6๔
รอ้ ยละของ 86.67 81.81 90.90 100 93.75 87.50 94.12 100 100 95.00 90.00 92.86
ผ้ปู ว่ ย
Thalassemia
มาตรงตามนดั
ตารางที1่ 7. แสดงร้อยละของผ้ปู ่วย Thalassemia มาตรงตามนดั ปี 2564 ร้อยละ 92.72
35
ตัวชีว้ ดั ทส่ี าคัญ ผลลพั ธท์ ปี่ ฏิบัติ ปี 256๕
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
6๔ 6๔ 6๔ 6๕ 6๕ 6๕ 6๕ 6๕ 6๕ 6๕ 6๕ 6๕
รอ้ ยละของ 83.3 90.9 92.3 90.9 81.8 100 88.8 80 90 88.8 ๙๐ ๘๘.๘
ผปู้ ่วย
Thalassemia
มาตรงตามนดั
ตารางท1ี่ 8. แสดงร้อยละของผู้ป่วย Thalassemia มาตรงตามนดั ปี 256๕ รอ้ ยละ 88.6
กราฟแสดงรอ้ ยละของผู้มารับบริการตามนัดของผู้ป่วยธาลสั ซเี มยี
ร้อยละของผ้ปู ว่ ยมาตามนดั
98 96 89.99 92.72 88.8
96
94 พ.ศ.2563 พ.ศ.2564 พ.ศ.2565
92
90
88
86
84
พ.ศ.2562
แผนภูมทิ ี่ 15. แสดงจานวนร้อยละของผู้มารับบริการตามนัดของผปู้ ่วยธาลสั ซีเมีย 4 ปยี อ้ นหลงั
จากกราฟจะเห็นได้ว่าแนวโน้มของการมารับบริการตามนัดจะลดลงในปี 2565 สืบเน่ืองมาจากการ
ระบาดของโรคโควิด 19 หากการตรวจค้นหาผู้ป่วยโควิด 19 เชิงรุกแล้วพบผู้ป่วยธาลัสซีเมียติดเช้ือแพทย์จะ
ประเมินจากผล Hct ก่อน หากอยู่ในเกณฑ์ปกติแพทย์จะเล่ือนนัดให้มาเติมเลือดหลังรักษาโควิด 19 หายแล้ว
ดังน้นั จงึ ทาใหผ้ ู้ป่วยมาตามนัดลดน้อยลงในปี 2565 สว่ นผปู้ ่วยรายอื่นที่ยังมาผิดนัด มักเกิดจากการสังเกตตนเอง
หากมีซีดมาก เหน่ือยง่าย ผู้ป่วยจะขอมา F/U ก่อนนัด และอีกบางส่วนคือผู้ป่วยท่ีไปศึกษาต่อในเมือง จึงไม่
สามารถมาตามนัดได้ วิธกี ารแก้ปัญหาคือเพ่ิมช่องทางการส่ือสาร ให้ผู้รับบริการโทรมาสอบถามหากไม่สามารถมา
ได้ เพอ่ื เตรียมความพรอ้ มกบั ห้อง lab ในกรณที ต่ี อ้ งจองเลือด เพื่อให้มีเลือดพร้อมใช้ในวันที่ผู้ป่วยมารับบริการ ใน
รายท่ีมีการศึกษาต่อในพ้ืนที่อื่นแนะนาแพทย์ออกใบรับรองการเจ็บป่วยเพ่ือให้ผู้ป่วยนาไปรักษาโรงพยาบาลอ่ืนที่
ใกล้สถานศึกษา ส่วนรายที่ติดเช้ือโควิด 19 ให้ติดตามอาการและออกใบนัดให้มาเติมเลือดและขับเหล็กหลังรับ
การรักษาโควิดหายแลว้
36
งานสานักงานหลกั ประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ (สปสช)
ระบบบรู ณาการการคดั กรองความผดิ ปกติของหญิงต้ังครรภ์และทารกแรกเกดิ
กล่มุ ผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซเี มีย(ฉนดิ รุนแรง)
การบนั ทึกข้อมลู การให้บริการ จานวน Transfusion of packed cells (Leukocyte Poor PRC) และ
จานวนยาขบั เหล็ก Desferrioxamine, Deferipone(L1) โดยมีรายละเอียดการโอนเงนิ ดังน้ี
รายละเอียดการโอนเงนิ กองทุนหลักประกันสขุ ภาพของโรงพยาบาลอมก๋อย (0000011134)
ณ วนั ที่ 10.10.2018 ID No.2938
กองทุน งวด จานวนเงนิ จดั สรรในงวดน้ี
กองทนุ CENTRAL REIMBURSE TDT งวด 6 102,435.75
รวมทัง้ ส้ิน 102,435.75
รายละเอียดการโอนเงนิ กองทนุ หลักประกันสุขภาพของโรงพยาบาลอมก๋อย (0000011134)
ณ วนั ที่ 30.04.2019 ID No.1724
กองทนุ งวด จานวนเงินจัดสรรในงวดน้ี
กองทุน CENTRAL REIMBURSE TDT งวด 6 75,702.50
รวมท้ังสน้ิ 75,702.50
รายละเอยี ดการโอนเงินกองทนุ หลกั ประกันสขุ ภาพของโรงพยาบาลอมก๋อย (0000011134)
ณ วันท่ี 08.10.2019 ID No.3442
กองทุน งวด จานวนเงนิ จัดสรรในงวดน้ี
กองทุน CENTRAL REIMBURSE TDT งวด 12 49,395.01
รวมทง้ั สิ้น 49,395.01
รายละเอยี ดการโอนเงินกองทนุ หลกั ประกนั สุขภาพของโรงพยาบาลอมก๋อย (0000011134)
ณ วันท่ี 09.07.2020 ID No.1106
กองทุน งวด จานวนเงินจดั สรรในงวดนี้
กองทนุ CENTRAL REIMBURSE DTDT6308050008 64,226.71
รวมทง้ั สิ้น 64,226.71
รายละเอียดการโอนเงนิ กองทนุ หลักประกนั สุขภาพของโรงพยาบาลอมก๋อย (0000011134)
ณ วันที่ 16.10.2020 ID No.1701
กองทุน งวด จานวนเงนิ จดั สรรในงวดนี้
กองทุน CENTRAL REIMBURSE DTDT6314090014 191,651.75
รวมทั้งสน้ิ 191,651.75
37
รายละเอียดการโอนเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพของโรงพยาบาลอมก๋อย (0000011134)
ณ วนั ท่ี 14.05.2021 ID No.0796
กองทนุ งวด จานวนเงนิ จดั สรรในงวดน้ี
กองทุน CENTRAL REIMBURSE DTDT6407040007 235,263.36
รวมทงั้ สิน้ 235,263.36
รายละเอยี ดการโอนเงนิ กองทนุ หลกั ประกนั สุขภาพของโรงพยาบาลอมก๋อย (0000011134)
ณ วันท่ี 30.04.2022
กองทุน งวด จานวนเงนิ จัดสรรในงวดนี้
กองทุน CENTRAL REIMBURSE DTDT65043000005 227,438.37
รวมท้งั สิน้ 227,438.37
จากขอ้ มูลข้างตน้ พบรายละเอยี ดการโอนเงินกองทนุ หลักประกนั สุขภาพของโรงพยาบาลอมก๋อย มีจานวน
ลดลงจากปกี ่อน เน่อื งจากมผี ปู้ ่วยเสียชีวติ จากการตดิ เชื้อโควิด 19 จานวน 1 ราย และมผี ู้ปว่ ยไปศึกษาต่อยังพื้นท่ี
อื่น จงึ ทาใหจ้ านวนการเบกิ จ่ายลดน้อยลง แต่ท้งั น้ียังไมพ่ บปญั หาในการลงขอ้ มูลของระบบออนไลน์ สปสช.
ลาดับท่ี PDX ชอ่ื -สกลุ Admit(ครัง้ )
1 D561 ด.ช.ณรงค์ชัย ดลิ กประพฤทธ์ิ 9
2 D561 ด.ญ.ประภาวะรินทร์ หมดสงั ข์ 10
3 D560 ด.ญ.ปณิตา หนุนภริ มย์ขวญั 5
4 D561 ด.ญ.พณภา แววพริ าม 9
5 D561 น.ส.กานต์สริ ิ พาติ 6
6 D561 ด.ญ.เบญจรัตน์ พะแนะ 10
7 D561 ด.ญ.นฤมล เงินสุขใจ 10
8 D561 ด.ญ.สรุ ยี ์ ขยันกิจวิรุฬห์ 10
9 D561 ด.ญ.ประภาพร ดิลกประพฤทธิ์ 10
10 D561 ด.ช.ปัณณวชิ ญ์ ศรสี วุ รรณ์ 10
11 D561 ด.ญ.กวนิ ทพิ ย์ ชาญชนวฒุ ิ 1
12 D561 ด.ช.ทนิ ภัทร เฉลมิ นรเศรษฐ์ 6
13 D564 นางตอตึอ สวา่ งไพรวลั ย์ 0
14 D595 นางอโนทยั ปู่เงิน 9
15 D589 ด.ช.รามิล เติมทรัพย์ 25
16 D569 ด.ญ.ญาณศิ า โกนมูล 3
17 D595 นายพะถอ่ เง ภูภพั 11
38
รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ 2565 กองทนุ พระราชทานเพ่ือสงเคราะหค์ นไขย้ ากจนใน
สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธิราชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี
โครงการสว่ นพระองคส์ มเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
สวนจิตรลดา กรงุ เทพฯ 10303 โทร 0 228206511, 2 22811 3921 โทรสาร 0 2281 3923
............................................................................................................................. .................................................
โรงพยาบาลอมก๋อย ตาบลอมกอ๋ ย อาเภออมก๋อย จงั หวัดเชียงใหม่ รหสั ไปรษณยี ์ 50310
โทรศพั ท์ 053-467110 โทรสาร 053-467014
1. ขอ้ มลู พืน้ ฐาน
1.1 ผูอ้ านวยการโรงพยาบาลชอ่ื นพ.วเิ ชียร ศิริ
1.2 เจา้ หน้าที่รบั ผดิ ชอบกองทนุ ชือ่ นางสาวกญั ชพร ประตะนะ
1.3 จานวนบคุ ลากรของโรงพยาบาลอมกอ๋ ย แพทย์ 7 คน เจ้าหนา้ ท่ีอื่นๆ รวมทั้งหมด 197 คน คนไข้เขา้ มารับ
บริการเฉลยี่ 104 คน/วนั
1.4 จานวนเตียง 30 เตียง แตใ่ หบ้ ริการ 60 เตียง จานวนผู้ปว่ ยในเฉลย่ี 3,554 คน/ปี
2. ยอดเงนิ กองทุนพระราชทานเพื่อสงเคราะหค์ นไขย้ ากจน คงเหลอื รวมทั้งล้ิน
2.1. ยอดเงินคงเหลือบญั ชีธนาคาร ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2564 (ยอดยกมาจากปี 2564) 436,231.55 บาท
2.2. ยอดเงินสดในมอื 15,721.00 บาท
รวม 451,952.55 บาท
3. การดาเนนิ งานในปีงบประมาณ 2565 ( 1 ตุลาคม 2564 –30 กันยายน 2565)
3.1 รายรบั ในปีงบประมาณ 2565
เงินพระราชทาน - บาท
- บาท
เงนิ บริจาคสมทบ 1,643.72 บาท
- บาท
ดอกเบย้ี 551.08+550.47+542.17 รวม 1,643.72 บาท
อ่นื ๆ (ระบ)ุ ...................................................... 17,000.00 บาท
รวมรายรบั 417,875.27 บาท
18,721.00 บาท
3.2 รายจ่ายในปงี บประมาณ 2563 436,596.27 บาท
เงนิ คา่ ใชจ้ ่ายสงเคราะหค์ นไข้ยากจน
3.3 ยอดเงินคงเหลือทั้งสน้ิ ณ วันที่ 30 กันยายน 2565
ยอดเงนิ คงเหลอื บญั ชีธนาคาร
ยอดเงนิ สดในมอื
รวม
4. รายละเอียดการใชจ้ า่ ยกองทุนฯ: ใน ปีงบประมาณ 2565 โรงพยาบาลได้ใช้จา่ ยสงเคราะหค์ นไขต้ าม
ตารางขา้ งลา่ งนี้
รายการ จานวนคร้งั จานวนเงิน (บาท)
39
ค่ายา - -
ค่ารักษาพยาบาล - -
คา่ อาหาร - -
คา่ เดนิ ทาง (ผูป้ ว่ ยไปเอง 500 บาท/ครัง้ ) 34 คร้ัง 17,000.00
ค่าเคร่ืองมือ/อปุ กรณส์ าหรับตรวจโรค - -
อ่ืนๆ (ระบ)ุ - -
17,000.00
รวม
ลงชือ่ ............................................ผูร้ ายงาน
(นางสาวกัญชพร ประตะนะ)
ตาแหน่ง พยาบาลวชิ าชพี ปฏิบัตกิ าร
วนั ท่ี 3 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2565
หมายเหตุ 1. เงินพระราชทานนับวันที่ได้รบั พระราชทาน ณ สถานทที่ ี่รว่ มปฏิบัติงานหนว่ ยแพทย์
พระราชทาน
2. กรณุ าปรบั ยอดสมดุ บัญชธี นาคารหลังจากวนั ท่ี 30 กนั ยายนก่อนท่ีจะกรอกแบบรายงานนี้
3.กรุณาตรวจสอบข้อมูลทกี่ รอกใหค้ รบถว้ น และถกู ตอ้ งก่อนส่ง
40
Productivity หนว่ ยงานผู้ป่วยนอก รพ.อมกฮ๋ ย
แผนภูมทิ ่ี 16 เปรียบเทียบ productivity หนว่ ยงานผูป้ ่วยนอกรพ.อมก๋อย รายเดอื นปี 2565
แผนภมู ิที่ 17. เปรยี บเทียบ productivity หน่วยงานผู้ปว่ ยนอกรพ.อมก๋อย
ปี 2559-2565
41
จากกราฟจะเหน็ ไดว้ ่าแนวโนม้ ของproductivity ของหนว่ ยงานผปู้ ่วยนอกเพิ่มข้ึนง สบื เน่อื งมาจากกา
ระบาดของเช้ือไวรสั โควดิ 19 ลดลง ทาให้ผู้ปว่ ยเกดิ ความม่นั ใจในสถานการณ์ รวมทั้งการมาใหบ้ รกิ ารที่รพ.
อมก๋อย แต่การทางานของเจ้าหน้าทหี่ น่วยงานผปู้ ่วยนอกยงั ถือว่าคอ่ นขา้ งเหมาะสมกับงาน หน่วยงานได้
รบั ผดิ ชอบคลนิ ิกโรคระบบทางเดนิ หายใจ ซ่ึงเปน็ หน่วยงานทีเ่ ป็นแบบ One stop service มีการทาหตั ถการ
ต่างๆอาทิ การเจาะตรวจทางห้องปฏบิ ัตกิ าร การพ่นยา ฉดี ยา เป็นตน้ ซึง่ ต่างจากหน่วยบรกิ ารผปู้ ่วยนอก
ท่วั ไป
ผลการดาเนินโครงการ ประจาปี 2565
โครงการตรวจสขุ ภาพ ของเจ้าหนา้ ทีโ่ รงพยาบาล
แผนภมู แิ สดงรอ้ ยละการเขา้ รว่ มโครงการตรวจสขุ ภาพ
ประจาปี ของเจา้ หนา้ ท่รี พ.อมก๋อย ยอ้ นหลงั 8 ปี
100%
80%
60%
40%
20%
0%
2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565
ตรวจสขุ ภาพ ไม่ไดต้ รวจสขุ ภาพ
แผนภมู ทิ ี่ 18. เปรียบเทียบ จานวนเจ้าหน้าทร่ี พ.อมก๋อย ทไี่ ด้รบั และไม่ได้ตรวจสุขภาพ
ปี 2558-2565
42
แผนภูมทิ ่ี 19. แสดงดัชนมี วลกายของเจ้าหนา้ ท่รี พ.อมก๋อย ปี 2558-2565
แผนภูมิท2ี่ 0. แสดงภาวะนา้ ตาลในกระแสเลือดของเจา้ หนา้ ที่โรงพยาบาลอมก๋อย ปี 2560-2565
43
แผนภมู แิ สดงรอ้ ยละภาวะไขมนั ในกระแสเลอื ดของเจา้ หนา้ ที่รพ.อมกอ๋ ยอายมุ ากกวา่ 35ปี ปี2560-2565
100
90
80
70
60
50
40
30
20
10
0
2560 2561 2562 2563 2564 2565
ไขมนั ในเลอื ดสงู กลมุ่ เส่ยี ง ปกติ
แผนภูมิท2่ี 1. แสดงภาวะไขมนั ในกระแสเลือดของเจ้าหน้าทีโ่ รงพยาบาลอมก๋อย ปี 2560-2564
44
ผลความพงึ พอใจโครงการ ตรวจสุขภาพประจาปี 2565
มีผตู้ อบแบบสอบถามจานวน 108 คน แบ่งรายละเอียดดงั ตอ่ ไปน้ี
45
46
สรปุ ผลการตรวจสุขภาพประจาปี 2565
โครงการตรวจสขุ ภาพเจา้ หน้าท่ีโรงพยาบาลอมก๋อย ประจาปี 2565 ไดด้ าเนินการตง้ั แตว่ นั ที่ 13-24
มถิ นุ ายน 2565 มเี จ้าหนา้ ท่ีเข้ารบั การตรวจสุขภาพทงั้ สนิ้ 222 คน จากจานวนเจา้ หน้าที่ทงั้ หมดของ
โรงพยาบาลอมก๋อย 228 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 97.36% ซ่งึ ถือวา่ มผี เู้ ข้ารบั การตรวจสุขภาพมจี านวนเพม่ิ ขึน้ เมอ่ื
เทยี บกบั ปี 2564 เน่ืองจากมกี ารรบั เจ้าหน้าท่ีเขา้ มาทางานเพมิ่ และ จากการลาคลอดของเจ้าหน้าท่ี 3 คน
เจา้ หนา้ ทีไ่ ด้ลาไปศึกษาต่อ2 คน และเจา้ หนา้ ที่ทีร่ พ.ไมเ่ ขา้ รบั การตรวจสขุ ภาพ 1 คน ซ่ึงคดิ เปน็ จานวนรอ้ ยละ
เจา้ หนา้ ทีม่ ารับการตรวจสขุ ภาพทัง้ หมด 2.63% จากจานวนเจา้ หนา้ ท่โี รงพยาบาลทั้งหมด
ขอ้ มลู โดยรวมของการตรวจสุขภาพเจา้ หนา้ ท่ีพบว่า
1.คา่ BMI อยใู่ นเกณฑผ์ ดิ ปกต(ิ เกนิ เกณฑ์)อยู่ 95 คน คดิ เป็นร้อยละ 42.99% จาก 49.76% เม่อื
47
เทยี บกับปี 2564 ซง่ึ มีจานวนเพมิ่ ขน้ึ
2.ปจั จัยเสี่ยง 3 อนั ดบั โรค คือ
2.1.โรคภาวะไขมันในเลือดสงู มีจานวน 12 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 13.95% มีกลุม่ เส่ยี งภาวะไขมันใน
เลอื ดสงู 11 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 12.79% ของเจ้าหน้าท่ีทม่ี ารับการตรวจสุขภาพ
2.2.โรคเบาหวาน มี 3 คน คดิ เป็นร้อยละ 3.49% มีกลุ่มเส่ยี งเป็นเบาหวาน 7 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ
8.14% ของเจา้ หน้าท่ีท่ีมารับการตรวจสุขภาพ
2.3.โรคภาวะความดนั โลหติ สงู
จากข้อมูลภาวะสขุ ภาพเจ้าหนา้ ท่ีที่มีการเปล่ยี นแปลง ซึ่งอาจเป็นผลจากเจา้ หน้าทท่ี ม่ี ีอายนุ อ้ ยลง การที่
เจ้าหน้าทีไ่ ด้รับการตรวจสขุ ภาพทุกปี ทาให้ส่วนหนง่ึ เรมิ่ ได้รับการเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมและรับการรกั ษา แต่ยัง
มปี ัญหาเร่อื งBMIที่เกนิ เกณฑ์ ซง่ึ อาจเกิดจากค่านยิ มในการบริโภคอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตสูง อาหาร
สาเร็จรูปและอาหารประเภทฟาสต์ฟู้ดอยู่
ปัญหาอุปสรรค
- บคุ ลากรไมส่ ามารถเข้ารับการตรวจสขุ ภาพตรงตามกาหนดการ เนอ่ื งจากติดภารกิจเร่งด่วน
- การมาตรวจไมเ่ ป็นไปตามกระบวนการทว่ี างไว้(ลดั ขนั้ ตอน)
- มีวยั เจรญิ พนั ธ์ุเพมิ่ ข้ึน จากที่จบการศึกษาและมาทางาน แต่งงาน ทาใหต้ ้องตรวจการต้ังครรภซ์ ่งึ
ไมม่ ีในโปรแกรม
ข้อเสนอแนะ
1.มีขยายระยะเวลาการตรวจสขุ ภาพออกไป พร้อมแจ้ง บุคลากรที่ไมไ่ ด้มาตรวจสขุ ภาพ
2.มกี ารชีแ้ จงกระบวนการให้แก่เจา้ หนา้ ท่ี ให้มากขนึ้
ตัวช้วี ัด เกณฑ์ชีว้ ดั คณุ ภาพการพยาบ
เกณฑ์ ว
มติ ทิ ่ี 1 ด้านประสิทธผิ ลตามพันธกิจ
100% จานวนแผนงาน/โครงก
1. ร้อยละของแผนงาน/โครงการ จานวนแผนงาน
ท่ีบรรลตุ ามเปา้ หมาย
มติ ทิ ี่ 2 ด้านคณุ ภาพการใหบ้ ริการ 100% จานวนผู้ใชบ้ รกิ ารท่ไี ด้ร
พยาบาล จานวนผู้ใชบ้
1.ความปลอดภยั ของผู้ใชบ้ ริการ
0 ตรวจสอบจากเอกส
1.1 ร้อยละของใชบ้ ริการได้รับการส่ง
ตรวจถูกหอ้ งตรวจตามประเภท/ 0 ตรวจสอบจากเอกส
ความรุนแรงของอาการ
1.2 จานวนอบุ ัติการณก์ ารระบตุ ัว 0 ตรวจสอบจากเอกส
ผใู้ ชบ้ รกิ ารผดิ คน
1.3 จานวนอุบัตกิ ารณ์การรักษา
พยาบาลผปู้ ่วยผดิ คน
1.4 จานวนอุบตั ิการณก์ ารเกิดภาวะ
แทรกซ้อนทีป่ ้องกนั ได้ของผใู้ ชบ้ รกิ าร
48
บาลผูป้ ่วยนอก ปงี บประมาณ
วิธีคานวณ 2563 2564 2565 ผูร้ บั ผดิ ชอบ
การท่บี รรลตุ ามเป้าหมาย x
น/โครงการทง้ั หมด 100 100% 100% 100%
วัลลภ
รับการสง่ ตรวจถูกหอ้ ง ฯ x 100
บรกิ ารท้ังหมด 100 100 100
ตฤณญา
สารรายงานอุบัตกิ ารณ์ 01
00 0
สารรายงานอบุ ัตกิ ารณ์ 00
ภาวิดา
สารรายงานอบุ ัติการณ์
0
ณรงคศ์ กั ดิ์
0
ทอ่ี าการไม่คงที่หรือเสีย่ งต่อการเกิด
อาการรุนแรงเฉียบพลนั
1.5 จานวนอบุ ัติการณ์การเกิด 0 ตรวจสอบจากเอกส
การพลัดตก หกล้มของผ้ใู ชบ้ ริการ
2. รอ้ ยละของผ้ใู ชบ้ ริการได้รับคา 100% จานวนผูใ้ ชบ้ ริการ
แนะนา/ข้อมลู ทางดา้ นสขุ ภาพ จานวนผ้ใู ชบ้
เมื่อมารบั การตรวจ
ตวั ชี้วดั เกณฑ์ ว
3. ร้อยละของผู้ปว่ ยโรคทาลัสซีเมยี ไดร้ บั 100% จานวนผู้ป่วยโรคทาล
การดูแลต่อเนื่อง จานวนผู้ปว่ ยโรค
5. การรอ้ งเรยี นของผใู้ ช้บรกิ าร
5.1 จานวนขอ้ ร้องเรยี นเกี่ยวกับการ 0 ตรวจสอบจากเอกสารข้อ
ละเมิดสิทธขิ องผใู้ ช้บรกิ าร ขอ
5.2 จานวนข้อร้องเรียนเก่ียวกับ
พฤติกรรมบรกิ ารของบุคลากร 0 ตรวจสอบจากเอกสารข้อร้อ
ทางการพยาบาล บคุ ลากร
6. รอ้ ยละความพึงพอใจของผูใ้ ช้บริการ
≥ ผลรวมคะแนน
49
สารรายงานอบุ ตั กิ ารณ์ 00 แพรว
พรรณ
รที่ได้รบั คาแนะนา ฯ x
บรกิ ารทง้ั หมด 100 100 100 1
วิธีคานวณ วราภรณ์
ลสั ซเี มียได้รับการดูแล 100
คทาลสั ซีเมยี ท้ังหมด
สมศรี
ปงี บประมาณ
2563 2564 2565 ผู้รบั ผดิ ชอบ
x
100 89.99 92.72 88.8
วาภรณ์
อร้องเรียนเกีย่ วกับการละเมิดสิทธิ 00 0
องผู้ใชบ้ รกิ าร วลั ลภ
องเรียนเกย่ี วกับพฤติกรรมบริการของ 0 0 1
รทางการพยาบาล สมศรี
นความพึงพอใจ 72.5 83.1 80.2
85%
ตอ่ บริการพยาบาล 90- ผลรวมคะแนนเต็ม
มิตทิ ี่ 3 ด้านประสิทธิภาพของการปฏบิ ัติ 110%
การพยาบาล จานวนชั่วโมงการป
จานวนชว่ั โมงก
1. ผลติ ภาพ ( Productivity ) ของหน่วย
งานอย่ใู นเกณฑม์ าตรฐาน จานวนบคุ ลากรฯที่ป
จานวนบุคลากรทาง
2. ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาล 100%
ปฏบิ ตั ิตามมาตรฐาน/แนวทางปฏิบัติ
ทีก่ าหนดไว้
ตวั ชว้ี ดั เกณฑ์ ว
3. ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาล 100% จานวนบคุ ลากรฯปฏิบตั กิ าร
ปฏิบตั ิการพยาบาลโดยใช้กระบวนการ จานวนบุคลากรทาง
พยาบาลได้ถูกต้อง
มิตทิ ่ี 4 ด้านการพัฒนาองค์กร 100% จานวนบุคลากรทางการพ
1. ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาล
50
มของแบบสอบถาม สมศรี
ปฏบิ ัตงิ านท่ีตอ้ งการ x
การปฏิบตั ิงานจริง 100 97.65 80.63 106.01
ปฏิบัตติ ามมาตรฐานฯ x วลั ลภ
งการพยาบาลทง้ั หมด 100 100 100
100
กัญชพร
วธิ คี านวณ ปงี บประมาณ
รพยาบาลโดยใชก้ ระบวนฯ 2563 2564 2565 ผู้รบั ผิดชอบ
งการพยาบาลทง้ั หมด 100
x
100 100 100
กญั ชพร
x
พยาบาลทีไ่ ด้รบั การอบรม ฯ 100 100 100 100
ได้รับการอบรมเก่ียวกบั งานท่ีรบั ผิดชอบ 0 จานวนบุคลากรทาง
เฉล่ยี อย่างน้อย 10 วัน/คน/ปี ตรวจสอบจากเอกส
2. จานวนอุบตั กิ ารณ์การเกิดอบุ ัติเหตุ
จากการปฏิบัติงานของบุคลากรทาง
การพยาบาล
51
งการพยาบาลทั้งหมด 00 วลั ลภ
สารรายงานอบุ ัตกิ ารณ์
0
ณรงค์ศักด์ิ
ก
ผลงานทนี่ ่าภูมิใจหน่วยงานผู้ป่วยนอก 2565
การดาเนินการข้อตกลงรว่ มมือโครงการต
กลมุ่ งาน/ฝ่าย กจิ กรรมหลัก วตั ถุประสงค์ กลุ่มเป้าห
รับผิดชอบ
กิจกรรมการตรวจ 1. เจ้าหนา้ ท
ปราณี เกดิ อาชาชาญ สุขภาพอนามยั และการ ตาบลอมก๋อย
ทดสอบสมรรถภาพ 13 คน
ร่างกาย ของเจ้าหน้าที่
เทศบาลตาบลอมก๋อย
ประจาปี 2565
1. กลุ่มเจ้าหนา้ ที่ อายุ
น้อยกว่า 35 ปบี ริบูรณ์
2. กลมุ่ เจ้าหน้าที่ อายุ
35 ปีขึ้นไป
2. เจ้าหน้าท
ยางเปยี ง จา
คน
ก
ตรวจสุขภาพระหวา่ งอปท.กับรพ.อมก๋อย
หมาย ตวั ช้วี ดั ระยะเวลา งบประมาณ
25 ก.ค. 65– 4 ต.ค65 (แจงรายละเอยี ด)
ท่ีเทศบาล 1. รอ้ ยละ
ย จานวน 94.12 ของ กลุ่มเจา้ หน้าท่เี ทศบาลตาบลอม
ก๋อย
เจ้าหน้าที่ 1. ชายอายุ 35 ปขี ้ึนไปจานวน 2
เทศบาลตาบล คน x 800 บาท เปน็ เงิน 1,600
อมก๋อย ได้รบั บาท
การตรวจ 2. หญิงอายุ 35 ปขี ้ึนไปจานวน 10
สุขภาพ คน x 1,050 บาท เป็นเงิน 10,500
ประจาปี บาท
3. ชายอายุนอ้ ยกว่า 35 ปี จานวน
0 คน x 380 บาท เปน็ เงิน 0 บาท
4. หญิงอายุน้อยกวา่ 35 ปี จานวน
1 คนx 580 บาท เปน็ เงิน 580
บาท
รวมเปน็ เงนิ 12,680 บาท
ที่ อบต. 25 ก.ค. 65–26 ก.ค. กลุ่มเจ้าหน้าท่ี อบต.ยางเปยี ง
านวน 13 65 1. ชายอายุ 35 ปขี ึน้ ไปจานวน 4
คน x 800 บาท เป็นเงิน 3,200
บาท
2. หญิงอายุ 35 ปขี ้นึ ไปจานวน 7
คน x 1050 บาท เป็นเงิน 7,350
3.เจา้ หนา้ ที่ต
โขง (แมห่ ลอ
ตาบลสบ ข
อง)
บาท
3. ชายอายุน้อยกว่า 35 ปจี านวน
2 คน x 380 บาท เป็นเงิน 760
บาท
4. หญงิ อายุนอ้ ยกว่า 35 ปีจานวน
0 คน x 580 บาท เปน็ เงนิ 0 บาท
รวมเป็นเงิน 11,310 บาท
กล่มุ เจา้ หน้าท่ี อบต.สบโขง
1. ชายอายุ 35 ปขี น้ึ ไปจานวน 4
คน x 800 บาท เป็นเงนิ 3,200
บาท
2. หญงิ อายุ 35 ปขี น้ึ ไปจานวน 2
คน x 1,050 บาท เป็นเงนิ 2,100
บาท
3. ชายอายนุ อ้ ยกวา่ 35 ปีจานวน
1 คน x 380 บาท เป็นเงิน 380
บาท
4. หญิงอายนุ อ้ ยกว่า 35 ปีจานวน
0 คน x 580 บาท เปน็ เงิน 0 บาท
รวมเป็นเงนิ 5,680 บาท
รวมท้ังส้ิน 29,670 บาท
ก
สรปุ ผลการดาเนนิ งาน
ผลลัพธ์
โครงการตรวจสขุ ภาพเจ้าหน้าที่ในเขตพืน้ ท่ีอาเภออมกอ๋ ย มีทัง้ หมด 6 ตาบล ได้แก่ 1.ตาบลอมก๋อย
แบง่ เปน็ 2 เขต คือ เขตเทศบาลอาเภออมก๋อย และเขตอาเภออมก๋อย 2.ตาบลยางเปียง 3.ตาบลแมต่ ่ืน 4.ตาบล
ม่อนจอง 5.ตาบลสบโขง (แม่หลอง) 6.ตาบลนาเกยี น ประจาปี 2565 ไดด้ าเนินการตงั้ แต่ วนั ท่ี 15 กรกฎาคม -
4 ตุลาคม 2565 มเี จา้ หน้าที่เข้ารับการตรวจสุขภาพในเขตพน้ื ท่ีอาเภออมก๋อยทั้งสนิ้ 3 แหง่ ได้แก่
1.เขตเทศบาลอาเภออมก๋อย มเี จ้าหน้าทเ่ี ขา้ รบั การตรวจสุขภาพจากท้งั หมด 16 คน จาก 17 คน คดิ
เปน็ รอ้ ยละ 94.12
2.ตาบลยางเปยี ง มเี จา้ หน้าท่ีเข้ารบั การตรวจสุขภาพจากท้ังหมด 13 คน จาก 16 คน คน คดิ เปน็ รอ้ ย
ละ 81.25
3.ตาบลแมห่ ลอง มีเจา้ หน้าท่เี ข้ารบั การตรวจสุขภาพจากทั้งหมด 7 คน จาก 11 คน คดิ เปน็ ร้อยละ
63.63
จากข้อมูลการตรวจสขุ ภาพเจ้าหนา้ ที่ในเขตพ้นื ที่อาเภออมกอ๋ ย พบว่าเขตที่ยังไม่ไดม้ ารบั การตรวจ
สุขภาพประจาปีได้แก่ เขตตาบลอมก๋อย ตาบลแม่ตืน่ ตาบลม่อนจอง ตาบลนาเกียน แตห่ ากคดิ เปน็ ร้อยละของ
หนว่ ยงานที่มารบั การตรวจสุขภาพ คดิ เปน็ ร้อยละ42.85 ของจานวนหนว่ ยงานองค์การบรหิ ารสว่ นทอ้ งถน่ิ
ท้งั หมด ซง่ึ ปีนี้ถือวา่ เปน็ ปีแรกท่ไี ดม้ ีการดาเนินงานดังกลา่ ว
ปัญหาและอุปสรรค
1. เจา้ หนา้ ที่ไม่ได้เข้ารบั การตรวจสุขภาพตามกาหนดที่แจ้งไว้ เนือ่ งจากติดภารกจิ เร่งดว่ น
2. การประสานงาน ทมี่ คี วามคลาดเคลอ่ื น ท้งั เร่ืองสทิ ธ์ิการเบิกจา่ ย สง่ ผลตอ่ ความไม่มนั่ ใจในการมารับ
บริการตรวจสขุ ภาพ
3. หนว่ ยงานดา้ นประกันสงั คม ยังไม่สามารถเคลมสิทธปิ์ ระกันสงั คม ส่งผลทาใหไ้ มส่ ามารถตรวจสุขภาพ
เจ้าหน้าท่ที ม่ี สี ทิ ธ์ปิ ระกนั สงั คมได้
ขอ้ เสนอแนะ
1. ใหข้ ยายระยะเวลาในการตรวจสขุ ภาพ
2. ต้องการใหม้ ีการแจ้งวัน เวลา ในการตรวจสขุ ภาพก่อน อย่างน้อย 1-7 วนั
3. ตดิ ตามการเคลมประกันสิทธิ์ประกันสังคมเพ่อื ให้สามารถเคลมสิทธดิ์ งั กล่าวได้
ข
ภาคผนวก
รปู ที่ ๑ .การใหบ้ รกิ ารแบบเดิมของari clinic ป2ี 563 รปู ที่ ๒. บรรยากาศของari clinic ปี2564
รูปที่ ๓. บรรยากาศของari clinic ป2ี 565 รูปท่4ี .การให้บริการตรวจสุขภาพจนท.อบต.แมห่ ลอง
รูปที่5 . ถงึ เวลาสร้างเสริมสุขภาพจนท.รพ.อมกอ๋ ยบา้ ง รูปที่ 6.จอใหญเ่ ตน้ แอโรบทิ หลายคน
รปู ท่ี ๗. รพ.สต.ก็เขา้ ร่วม รปู ที่๘.คุณจานงคส์ นใจดว้ ยครับ
ค
รูปที9่ .ความเปลย่ี นแปลงของหนว่ ยงานปีงบ 2565 รปู ที่ 10.ใกล้บ้านใกลใ้ จ ใบส่งตัวในรพ
สต.เผา่
รูปที่ 11.หน่วยงานopd ในชมุ ชน รูปที่ 12.การสรา้ งเครอื ข่ายระบบส่งต่อ ในชุมชน
รปู ที่ 13.ใกล้บา้ นใกล้ใจ ใบส่งตัวในชุมชน
ง
คานา
แผนกผู้ปว่ ยนอกโรงพยาบาลอมก๋อย เปน็ หนว่ ยงานในกล่มุ การพยาบาล ซึ่งจดั บริการในโรงพยาบาลอม
กอ๋ ย ในปีงบประมาณ 2562 เพอ่ื เปน็ การพฒั นาคุณภาพบริการ ทีมงานเจา้ หนา้ ท่ีแผนกผ้ปู ว่ ยนอกจึงไดม้ ีการ
สรปุ ผลการปฏิบตั งิ านเพื่อนาไปเป็นข้อมลู แกห่ นว่ ยงานและผู้ทีม่ คี วามสนใจต่อไป
ทีมงานผู้ปว่ ยนอก
สารบญั จ
1. พนั ธกจิ และวิสัยทัศน์ รพ.อมก๋อย และหน่วยงานผู้ป่วยนอก หนา้ ที่
2. ลักษณะงาน 1
3. โครงสรา้ งกลุ่มการพยาบาล และงานผ้ปู ว่ ยนอก 2
4. สถิตผู้มารับบริการ 3
5. สถิติ 10 อับดับโรคหน่วยงานผ้ปู ว่ ยนอก 5
6. สรุประยะเวลารอคอย 6
7. สถติ สิ รุปความพึงพอใจ 8
8. การมาตามนดั ของผู้รับบริการ 12
9. แนวทางการตอบกลับ Refer 16
10.สถิตกิ ารส่งตัวออนไลน์ 18
11.Thalassemia 24
12.รายงาน กองทนุ พระราชทานเพอื่ สงเคราะห์คนไข้ 31
13.Productivity หนว่ ยงานผปู้ ่วยนอก 37
14.โครงการตรวจสขุ ภาพเจ้าหน้าท่ี 39
15.ตัวชีว้ ดั opd คณุ ภาพรายงาน 40
16.ผลงานทนี่ า่ ภมู ิใจหน่วยงานผ้ปู ่วยนอก ปี2565 48
17.ภาคผนวก ก.
ง.
ก
สรุปผลงานประจาปี 2565
ของหน่วยงานผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลอมกอ๋ ย
จัดทาโดย
เจา้ หน้าทีแ่ ผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลอมก๋อย
เสนอ
ผู้อานวยการโรงพยาบาลอมกอ๋ ย
อาเภออมกอ๋ ย จงั หวัดเชียงใหม่
ปี 2565
1
กลมุ่ การพยาบาล โรงพยาบาลอมกอ๋ ย
วิสัยทัศนโ์ รงพยาบาล
โรงพยาบาลทมี่ ีมาตรฐาน ร่วมคดิ รว่ มมอื รว่ มใจ ใหส้ ขุ ภาพดี
พันธกิจโรงพยาบาล
1. โรงพยาบาลชมุ ชนมาตรฐาน ตามแนวทางการพัฒนาคณุ ภาพโรงพยาบาลของสถาบนั พฒั นาและรบั รอง
คณุ ภาพโรงพยาบาล
2. พัฒนาระบบสุขภาพอย่างมสี ่วนรว่ มและย่ังยนื
วิสัยทัศน์กลุ่มการพยาบาล
มงุ่ สู่การพยาบาลทปี่ ระทับใจ ได้มาตรฐานวิชาชีพ เพอื่ สขุ ภาพที่ดขี องประชาชน
พนั ธกิจกล่มุ การพยาบาล
1. กล่มุ การพยาบาลมุ่งม่นั พฒั นาการพยาบาลให้มคี ณุ ภาพ มาตรฐานเพอ่ื ประโยชนข์ องผรู้ บั บริการ
2. กลมุ่ การพยาบาลมุง่ เน้นพัฒนาบคุ ลากรใหม้ คี ณุ ภาพอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
3. กลมุ่ การพยาบาลจะดารงไวซ้ ง่ึ จรยิ ธรรม จรรยาบรรณแหง่ วชิ าชีพและเคารพในสิทธิผูป้ ว่ ย
วัฒนธรรมขององค์กรพยาบาล
ทางานเป็นทมี บรกิ ารดว้ ยหัวใจความเปน็ มนษุ ย์
เป้าประสงคข์ ององค์กรพยาบาล
ผูใ้ ช้บรกิ ารพึงพอใจ ปลอดภยั และสามารถดูแลตนเองได้
ปรัชญากลุ่มการพยาบาล
บริการพยาบาลท่ีใช้กระบวนการพยาบาล ควบคู่ไปกับการบริหารจัดการและการพัฒนาครอบคลุมการ
ปฏิบัติงานส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาล ฟ้ืนฟูสภาพ โดยอาศัยความรู้ ความสามารถและศักยภาพ
ของทีมการพยาบาลที่ให้การดูแลบุคคล ที่มีภาวะเจบ็ ป่วยหรือภาวะเส่ียงต่อสุขภาพ ด้วยความเมตตา เห็นใจ เอา
ใจใส่ ให้คาปรึกษา เฝ้าระวงั อย่างใกล้ชดิ ตอ่ เนอื่ งตลอด 24 ชั่วโมง ในระยะที่บุคคลเจ็บป่วย มกี ารกระต้นุ ให้บุคคล
เกดิ การพัฒนาตนเอง จนสามารถดแู ลสขุ ภาพตนเอง ใหม้ พี ฤตกิ รรมอนามยั ท่เี อื้ออานวยให้บุคคลและครอบครวั มี
สุขภาพสมบรู ณ์ท้งั ดา้ นรา่ งกายและจติ ใจสามารถปรบั ตวั และดารงอยู่ในสงั คมได้อย่างปกตสิ ุข เกิดคณุ ภาพชวี ติ ทีด่ ี
2
ค่านิยม : ม อ ก
ม : มาตรฐาน
อ : อ่อนนอ้ ม
ก : กล้าหาญ
บทบาทหนา้ ที่
1. กาหนดพนั ธกิจ ปรัชญา ขอบเขต เป้าหมาย และวตั ถุประสงค์ของการจดั บริการพยาบาลเป็นลายลักษณ์
อักษร
2. จดั องค์กรและการบริหารบรกิ ารพยาบาลได้ตามพันธกิจทีก่ าหนดไว้ได้อยา่ งมีคณุ ภาพ และประสิทธิภาพ
3. จัดการดา้ นทรพั ยากรบุคคล เพื่อให้บริการพยาบาลได้ตามพันธกจิ ทกี่ าหนดไวไ้ ดอ้ ยา่ งมีคณุ ภาพ และ
ประสทิ ธภิ าพ
4. เตรยี มความพร้อม เพมิ่ พนู ความรู้ และทกั ษะ เพื่อใหเ้ จ้าหนา้ ทสี่ ามารถปฏิบตั ิหน้าทบี่ รกิ ารพยาบาลได้
อยา่ งมีคุณภาพ และมปี ระสิทธิภาพ
5. กาหนดนโยบาย และวธิ ปี ฏิบัติเปน็ ลายลักษณอ์ ักษรซ่งึ สะท้อนความรู้และหลกั การของวชิ าชพี ที่ทันสมยั
สอดคล้องกบั วัตถปุ ระสงคข์ องบรกิ ารพยาบาลรวมท้งั กฎระเบียบทีเ่ กีย่ วขอ้ ง และเจ้าหนา้ ทยี่ ึดถอื เปน็
แนวทางในการปฏบิ ัติ
6. จัดระบบงาน / กระบวนการบริการพยาบาลทม่ี ปี ระสิทธิภาพ ตามมาตรฐานวิชาชีพ และตอบสนอง
ความต้องการของผปู้ ว่ ย
7. กาหนดกิจกรรมตดิ ตาม ประเมินและพัฒนาคุณภาพของบริการพยาบาล โดยการทางานเปน็ ทีม และมี
การพัฒนาอยา่ งต่อเนือ่ ง
เป้าหมาย
สมาชิกพยาบาลสามารถดูแลผู้ป่วยโดยใช้กระบวนการพยาบาลอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ
จริยธรรม จรรยาบรรณและทางานร่วมกับสหวิชาชีพเพ่ือให้ผู้รับบริการได้รับบริการท่ีมีคุณภาพ ประทับใจและ
ไวว้ างใจ
เป้าหมายดา้ นบริหาร
พัฒนาคุณภาพการพยาบาลให้ได้มาตรฐาน และส่งเสริมสนับสนุนบุคลากรทุกระดับให้มีความรู้ ทักษะ
ในการให้บรกิ ารอยา่ งมคี ณุ ภาพ
3
เป้าหมายการจัดบริการ
ให้บริการพยาบาลแบบองค์รวม และผสมผสานด้านส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาล และ
ฟนื้ ฟูสภาพ ให้เป็นไปตามมาตรฐานการพยาบาลในการใช้กระบวนการพยาบาลเป็นแนวทางปฏิบัติ และบันทึก
การพยาบาลอย่างมปี ระสิทธิภาพ
วตั ถุประสงค์
ดา้ นบรกิ าร
1.มีการใช้ความรู้ และวทิ ยาการใหม่ๆ มาพฒั นากระบวนการใหบ้ ริการพยาบาลทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพมากขน้ึ
2.สร้างบริการท่ดี ใี นทกุ หน่วยงานของฝ่ายการพยาบาล เพ่อื ให้ผู้มารบั บริการเกิดความพึงพอใจในบริการท่ี
ไดร้ ับ
3.พฒั นากระบวนการดูแลรักษาผู้ป่วยรว่ มกับสหวิชาชีพอืน่ เช่นแพทย์ เภสัชกร เพอ่ื ใหเ้ กดิ ผลการรักษาท่ี
ดที ี่สุด
ด้านบคุ ลากร
1.ส่งเสรมิ ให้บุคลากรพยาบาลมีความรูใ้ หม่ๆโดยการอบรม สัมมนา เป็นต้น
2.จัดอตั รากาลังคนใหเ้ พียงพอในการทางานของแต่ละจดุ บริการพยาบาล
3.สรา้ งความพงึ พอใจของบคุ ลากรพยาบาล เพือ่ การทางานอย่างมปี ระสิทธิภาพเกดิ ประสิทธภิ าพสูงสุด
ดา้ นชมุ ชน
1.มีการพฒั นาสัมพนั ธภ์ าพระหวา่ งชมุ ชนกับองคก์ ร
ผอู้ านวยกา
นพ
กลมุ่ งานก
พว.อญั ช
วเิ คราะห์ กาหนดทิศทาง นโยบาย และยทุ ธศาสตร์ ในการบริหารจดั การและพัฒนา
งานการพยาบาลผู้ปว่ ยนอก งานการพยาบาลผปู้ ่วยอุบัติเหตุฉกุ เฉิน ง
พว.วลั ลภ เรือนกอ๋ งเงนิ และนติ เิ วช
- งาน
- งานการพยาบาลผู้ป่วยนอก หรือ พว.อารรี ัตน์ ตั้งพิษฐานสกุล พยาบ
ผู้ใช้บริการสุขภาพที่มารับบริการทุก รอคล
มติ ใิ ห้การพยาบาลผู้ป่วยผใู้ ช้บรกิ ารท่ี - งานการพยาบาลผู้ป่วย อุบัติเหตุฉุกเฉิน - งาน
ไม่ต้องพักรักษาตัวใน รพ. ด้วยการ การพยาบาลเพื่อช่วยชีวิต แก้ไขภาวะ
คัดกรอง การปฐมพยาบาล การตรวจ วิกฤติท่ีคุกคามชีวิต ศูนย์รับผู้ป่วย งาน งานกา
พิเศษ การให้คาปรึกษาและ งาน การส่งต่อ และการบริการหน่วยปฐม พ
ตรวจสขุ ภาพ พยาบาล
-งานศูนยเ์ คร่อื งมือแพทย์ - งานกา
- งาน ก ารพ ย าบ าล ผู้ป่ วยผ่ าตั ด เพื่ อ กรอง กา
บาบัดรักษาหรือผ่าตัดส่งตรวจ เพ่ือการ และสขุ ภ
วินิจฉัยรักษา ติดตามผลการพยาบาล ไม่ติดต่อ
ผปู้ ่วยผ่าตัดเล็ก และวนิ ิจฉยั พัฒนาคุณภาพ
การพยาบาล ท้ังก่อนการผ่าตัด ขณะ ให้ บ ริ ก า
ผ่าตัด และหลงั ผา่ ตดั เร้ือรัง ได
ดันโลหิต
หอบหืด
สุขภาพจ
4
ารโรงพยาบาลอมก๋อย
พ.วิเชียร ศิริ
การพยาบาล
ชลี กนั ทา
าคณุ ภาพ การพยาบาล จัดระบบการพยาบาล ระบบประกนั คณุ ภาพด้านการพยาบาล
งานการพยาบาลผู้คลอด งานการพยาบาลผ้ปู ่วยในหญงิ งานพยาบาลหนว่ ยควบคมุ การ
พว.ดวงกมล ฝนั้ เมา พว.วไิ ลพร ศริ ิ ติดเชอื้ งานจา่ ยกลาง
พว.สุภัสสรา สุรยิ บุปผา
นการพยาบาลผู้คลอด การ - งานการพยาบาลผปู้ ่วยในหญงิ
บาลในระยะต้ังครรภ์ ระยะ ทุกประเภท ทกุ สาขาบรกิ าร - งานการพยาบาลควบคุม
ลอด ระยะคลอด การตดิ เชอื้ ในโรงพยาบาล
นการพยาบาลทารกแรกเกดิ งานการพยาบาลผปู้ ว่ ยในชาย - งานหน่วยจ่ายกลาง
ารพยาบาลโรคไมต่ ิดตอ่ เรอ้ื รงั พว.ธชั ชนันท์ ตันใบ งานโภชนาการ
น.ส.ขนิษฐา ปุนณภา
พว.สรอ้ ยมาลี มณีขัติย์ - งานการพยาบาลผ้ปู ่วยในชาย
- งานบริหารจัดการอาหารตาม
ารพยาบาลผู้ป่วยนอกดว้ ยการคัด ทุกประเภท ทุกสาขาบรกิ าร มาตรฐานโภชนาการ
- งานโภชนบาบัดให้คาปรึกษา
ารตรวจพิเศษ การให้คาปรึกษา ค า แ น ะ น า ค ว า ม รู้ ด้ า น
โภชนาการ และโภชนบาบัด
ภาพจติ งานคลนิ ิกพเิ ศษ งานโรค
อเร้อื รงั
า ร สุ ข ภ า พ ค ลิ นิ ก โ ร ค ไม่ ติ ด ต่ อ
ด้แก่ โรคไตวายเรื้อรัง โรคความ
ตสูง โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรค
โรคเบาหวาน ผู้ป่วยท่ีมีปัญหา
จิต
5
งานบรกิ ารผ้ปู ่วยอบุ ตั เิ หตแุ ละฉกุ เฉนิ โรงพยาบาลอมกอ๋ ย
ประจาปี 2565
การบริการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉกุ เฉิน เป็นการให้บริการพยาบาลแก่บุคคลท่ีได้รบั บาดเจ็บหรือมี
ภาวะเจ็บป่วยฉุกเฉินและวกิ ฤต ท้ังระบบร่างกายและจิตใจ โดยการประเมินสภาวะความรุนแรงของการเจ็บป่วย
ตัดสินใจให้การปฐมพยาบาล การใช้เคร่ืองมือ อุปกรณ์ และเวชภัณฑ์ท่ีจะช่วยชีวิตผู้ป่วย ตลอดจนการเฝ้าระวัง
อาการเปล่ียนแปลงของผู้ป่วย เพื่อแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินที่อาจคุกคามชีวิตของผู้ป่วยได้อย่างทันท่วงที โดยให้
การพยาบาล ณ จุดเกิดเหตุและที่โรงพยาบาลแบบผู้ป่วยนอก ตลอดจนรับไว้สังเกตอาการเฉพาะหน้า ณ ห้อง
ฉุกเฉินหรอื ห้องสังเกตอาการ พยาบาลที่ปฏบิ ัตงิ านบริการพยาบาลผู้ปว่ ยอุบตั ิเหตุและฉุกเฉนิ จะต้องปฏบิ ัตโิ ดยใช้
ความรู้ ความสามารถ และตัดสินใจอย่างเร่งด่วน เพ่ือให้บริการพยาบาลมีคุณภาพ ช่วยเหลือผู้ป่วยอย่างรีบด่วน
ปลอดภัยหรือบรรเทาจากภาวะแทรกซ้อนท่ีเกิดขึ้นและคงไว้ซึ่งสภาวะสุขภาพ แต่ท่ามกลางการเปล่ียนแปลงที่
เกิดขน้ึ อย่างรวดเร็วในระบบสขุ ภาพและเทคโนโลยีทางการแพทย์ มีผลให้ขอบเขตของการบริการพยาบาลผู้ป่วย
อุบัติเหตุและฉุกเฉินจะต้องยืดหยุ่นเพียงพอ ที่จะสามารถตอบสนองประเด็นการเปล่ียนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น
มาตรฐานการบริการพยาบาล ผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินนี้ จัดทาขึ้นเพ่ือให้พยาบาลผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงาน
อุบัติเหตุและฉุกเฉินใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานและควบคุมกากับให้การบริการพยาบาลมีคุณภาพ ได้
มาตรฐาน สร้างความประทับใจแก่ผใู้ ช้บรกิ าร
เจ้าหนา้ ที่ในหน่วยงาน ตั้งพิษฐานสกุล พยาบาลวิชาชีพชานาญการ
1. นางอารรี ตั น์ กุมภการ พยาบาลวิชาชีพปฏบิ ัติการ
2. นางสาวขวัญประภา สมวงค์ พยาบาลวิชาชพี ปฏิบตั ิการ
3.นางสาวจิณัฐตา ชัยทรพั ย์ พยาบาลวชิ าชพี ปฏบิ ตั ิการ
4.นายมนตรี สจุ รติ ค้าจนุ วงศ์ พยาบาลวชิ าชีพปฏิบัตกิ าร
5.นางสาวจนั ทรเ์ พ็ญ นามแกว้ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัตกิ าร
5.นางสาวกลุ นาถ สรุ ิยบปุ ผา พยาบาลวิชาชีพ
6. นางสาวรสคนธ์ บรรจงอเนก พยาบาลวิชาชีพ
7. นางสาวดาว ชัยนาถ พยาบาลวชิ าชีพ
8. นายบญุ ชรตั น์ ศรีจันทร์ พยาบาลวชิ าชีพ
9. นายจริ ชยั ยะนา เจ้าพนักงานเวชกิจฉุกเฉนิ ปฏิบตั ิงาน
10.นางสาวจฑุ ารตั น์ คุรกุ รเกษม เจ้าพนักงานเวชกจิ ฉุกเฉิน
11.นางสาวภณั ฑริ า ฝั้นเมา พนกั งานช่วยเหลอื คนไข้
12.นางสาวกัลยา จะดา ผชู้ ว่ ยพยาบาล
13.นางสาวนภารัตน์ คามาเมือง ผู้ชว่ ยพยาบาล
14.นางสาวสนุ นั ทา
6
15.นายปญั ญา แสนใจอิ พนักงานเปล
16.นายรชั พล พยุงบงกช พนกั งานเปล
17.นายสขุ สันต์ ยอดสรรเสริญ พนักงานเปล
18.นายสนั ติ สตุ นั๋ พนกั งานเปล
19.นายประพันธ์ ศักดิ์ศรีอสิ ยาห์ พนักงานการแพทย์และรังสีเทคนิค
20.นายสมชาติ ยะมัง พนกั งานการแพทย์และรงั สเี ทคนิค
พันธกิจงานอบุ ัตเิ หตแุ ละฉุกเฉิน
เป็นการจดั บรกิ ารเพื่อรักษาพยาบาลผปู้ ่วยท่อี ยู่ในภาวะฉกุ เฉนิ และครอบคลมุ ผูป้ ว่ ยทกุ ประเภท ณ. หอ้ ง
อุบตั เิ หตุ-ฉกุ เฉนิ ตลอด 24 ชวั่ โมง
ใหบ้ รกิ ารรักษาพยาบาลผปู้ ว่ ยอบุ ัติเหตุและผูป้ ว่ ยฉกุ เฉิน ณ.จดุ เกิดเหตุ ตลอด 24 ชว่ั โมง
เจตจานง / ความมงุ่ หมาย ( Purpose )
ให้บริการดูแลรักษาพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินทุกประเภทอย่างถูกต้อง ปลอดภัย รวดเร็วทันเวลาตาม
ประเภทความรุนแรง ไมม่ ภี าวะแทรกซ้อนท่สี ามารถปอ้ งกันได้ และผู้รบั บริการพงึ พอใจในบริการ
เป้าหมาย
ผรู้ ับบริการทุกคนได้รับบริการอย่างรวดเร็วทันเวลา ถูกต้อง และปลอดภัยเหมาะสมตามประเภทความ
รุนแรงของการเจบ็ ป่วยและผู้รบั บรกิ ารมีความพึงพอใจในบรกิ าร
ขอบเขตบรกิ ารและภาระงาน
1.งานบริการผูป้ ว่ ยอบุ ัตเิ หตแุ ละฉกุ เฉนิ ตลอด 24 ชว่ั โมงครอบคลมุ ผู้ป่วยทั้ง 5 ระดับ ได้แก่
Resuscitation, Emergency, Urgent, Ac.illness, Non Acute illness
2. ใหก้ ารพยาบาลผูป้ ่วยห้องสังเกตอาการ หอ้ งผา่ ตัดเล็ก ไดแ้ ก่ การทาหัตถการขดู มดลูก, Excision
3. งานบริการตรวจรกั ษานอกเวลาราชการ
4. งานบริการการแพทยฉ์ กุ เฉนิ ( EMS ) ทมี บริการทางการแพทยฉ์ กุ เฉนิ (Emergency Medical
Service: EMS) โดยมีศกั ยภาพในการให้บรกิ ารตั้งแต่หนว่ ยปฏบิ ตั ิการระดบั พน้ื ฐาน (Basic Life Support: BLS)
ไปจนถึงหนว่ ยปฏิบัติการระดบั สงู (Advance Life Support: ALS)
5. ศูนยป์ ระสานงานการส่งต่อและงานบรกิ ารส่งตอ่ ผ้ปู ว่ ย
6. งานเตรียมความพร้อมอุบตั ภิ ยั -อุบตั ิเหตุหมู่ ,สถานการณ์ฉกุ เฉนิ และสาธารณภัย ตามโครงสร้าง ICS
7. งานชนั สตู รและคดีความ / งานคดียาเสพตดิ
8. ช่วยเหลอื กิจกรรมทางสังคมตามที่รอ้ งขอ ได้แก่
- เปน็ วทิ ยากรเพื่อใหค้ วามรเู้ รอ่ื งการปฐมพยาบาลและการช่วยฟ้ืนคนื ชพี นอกพน้ื ที่อาเภออมก๋อย
- เปน็ วทิ ยากรเพ่อื ใหค้ วามร้เู รอ่ื งการปฐมพยาบาลและการช่วยฟน้ื คืนชีพในพนื้ ท่อี าเภออมกอ๋ ย
7
8.3 ออกหน่วยปฐมพยาบาล ออกหน่วยปฐมพยาบาลและให้ความรู้แก่ประชาชนด้านการ
ปฐมพยาบาล
9. งานบรกิ ารเปลเข็นผูป้ ่วยและงานรงั สเี ทคนิค
10. ดแู ลหญิงต้ังครรภท์ มี่ ีภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกาหนด
โครงสร้างการดาเนนิ งานของ
ผู้อานวยกา
นพ.ว
หวั หนา้
พว.อญั
หัวหน้างานอบุ
พว.อารรี ตั น์
พว.อารรี ตั น์ ตั้งพษิ ฐานสกลุ พว.ขวญั ประภา กุมภการ พว.มนตรี ชัยทรัพย์
- ECS คุณภาพ -การคัดแยกผู้ป่วย/ระบบ EMS - Stroke
- คณะกรรมการ Service plan (การออกเหตุ,รับแจ้งเหตุ,อุบัติเหตุ - คณะกรรมการทมี ENV
หม,ู่ EMR,PHTLS) -ระบบ EMS ท่เี ก่ียวข้องกับ
สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน ของ -ระบบสง่ ตอ่ ผ้ปู ่วย (Refer in, หน่วยงานกชู้ ีพของ อปท.
จังหวดั เชียงใหม่ Refer out,Refer back
- RB, DHS, พชอ คณะกรรมการทีม RM
- คณะกรรมการทีม PCT
พว.รสคนธ์ สรุ ยิ บปุ ผา พว.ดาว บรรจงเอนก พว.บุญชรตั น์ ชยั นาถ
- งาน OSCC - งานห้องผ่าตดั และเกบ็ รายงาน - งานสารสนเทศ,ระบบ IT ของ ER
- คณะกรรมการทีม ENV ของห้องผ่าตดั - Pain Clinic
- OSCC - งานไข้เลือดออก
- โรค URI ในเดก็ - งานวัณโรค - คณะกรรมการทีม IM
- COC
- IMC
8
งหน่วยงานอบุ ัติเหตุและฉกุ เฉิน
ารโรงพยาบาล
วเิ ชียร ศริ ิ
นาพยาบาล
ญชลี กนั ทา
บตั ิเหตุและฉุกเฉิน
น ต้ังพษิ ฐานสกลุ
พว.จณิ ัฐตา สมวงค์ พว.จันทรเ์ พญ็ สุจรติ คา้ จนุ วงศ์ พว.กลุ นาถ นามแก้ว
- Sepsis - ACS - งานศัลยกรรมกระดูก
- ผปู้ ว่ ยศัลยกรรม - งาน palliative care -ง า น อุ บั ติ เห ตุ (Head injury,
- คณะกรรมการทีม ENV,ดูแล - งานแมแ่ ละเดก็ ขอ้ มลู Pher,อุบตั เิ หตุตามเทศกาล)
- คณะกรรมการทีม RM งานยาเสพติด/ชันสูตร/คด/ี รายงาน
เครือ่ งมอื แพทย์ในหนว่ ยงาน การเสียชีวิต
- คณะกรรมการทีม RM
พว.จิรชัย ศรจี นั ทร์ นางสาวจฑุ ารัตน์ ยะนา นางสาวภัณฑิรา คุรกุ รเกษม
เจา้ พนกั งานเวชกิจฉุกเฉนิ เจ้าพนักงานเวชกจิ ฉกุ เฉิน
- งานสขุ ศกึ ษา
- ความพงึ พอใจ - IS - ระบบ EMS ที่เก่ียวข้องกับ
- Data Audit หน่วยงานกู้ชพี ของ อปท.
- ระบบวทิ ยสุ ่ือสาร
- คณะกรรมการทมี IC - ลงขอ้ มลู ระบบ ITEM
- รถ Ambulance ตรวจความ
พรอ้ มใช้
- คณะกรรมการทมี ENV
งานการพยาบาลผปู้
พว.อารีรตั
มอบหมายงาน นิเทศ กากับ แนะนา บรหิ ารจัดการทรพั
นางสาวกัลยา ฝ้นั เมา นางสาว
ตาแหนง่ พนักงานชว่ ยเหลอื คนไข้ ตาแหนง่
-รับผดิ ชอบโซน 5ส ตามมอบหมาย -รับผดิ ชอบโซน 5ส
-ดูแลตรวจเช็คเครือ่ งมอื ตามที่ไดร้ บั มอบหมาย -ดูแลตรวจเชค็ เครอ่ื
ในแตล่ ะวัน ในแต่ละวัน
-เก็บรายงานตวั ช้ีวัดตามมอบหมาย -เกบ็ รายงานตัวช้ีวัด
-เบิกพสั ดสุ านักงาน งานบ้านงานครวั -เก็บรายงานความพ
-เตรียมความพร้อมใช้ของเอกสารสานกั งาน -เตรยี มความพรอ้ มใ
ของงาน ER นายสมชาติ ยะมัง ของงาน OR
ตาแหนง่ เจ้าพนักงานรงั สีเทคนคิ
- ดูแลตรวจเชค็ เคร่อื งมอื อปุ กรณเ์ อกซเรยต์ ามทไี่ ดร้ บั
มอบหมายในแต่ละวัน
-เกบ็ รายงานความไม่พร้อมใชข้ องอุปกรณ์ทางการแพทย์
ของงานเอกซเรย์
-เกบ็ ตวั ช้วี ัดของงานเอกซเรย์ นายปญั ญา แสนใจอิ
นายรัชพล พยุงบงกช
ตาแหน่ง พนักงานเปล ตาแหนง่ พนักงานเปล
- เช็ดทาความโตะ๊ ทางาน เชด็ ทา - เช็ดทาความโต๊ะทางาน เชด็ ทา
ความสะอาดรถเข็นนอน รถนอน ความสะอาดรถเข็นนอน รถนอน
-รับผดิ ชอบโซน 5 ส ตามมอบหมาย -รบั ผดิ ชอบโซน 5 ส ตามมอบหมาย
-ดแู ลตรวจเชค็ รถเขน็ รถนอนให้ -ตรวจเช็คความพร้อมใชข้ อง
พร้อมใชง้ านตามทไ่ี ด้รับมอบหมาย ออกซิเจนภายในห้องเกบ็ ถัง
-ดูแลอุปกรณ์เคล่อื นยา้ ยผู้ปว่ ย -ดแู ลอุปกรณ์เคล่อื นย้ายผู้ปว่ ย
9
ป่วยอบุ ตั เิ หตฉุ ุกเฉนิ และนิตเิ วช
ตน์ ตง้ั พษิ ฐานสกลุ
พยากรและกาลังคน บริหารความเสี่ยง ควบคุมงานตามหลัก IC
วนภารตั น์ จะดา นางสาวสุนนั ทา คามาเมอื ง
ง ผู้ชว่ ยพยาบาล ตาแหนง่ ผูช้ ว่ ยพยาบาล
ตามมอบหมาย -รบั ผดิ ชอบโซน 5ส ตามมอบหมาย
องมอื ตามที่ได้รับมอบหมาย -ดแู ลตรวจเช็คเครือ่ งมือตามท่ีไดร้ บั มอบหมาย
ในแตล่ ะวัน
ดตามมอบหมาย -เกบ็ รายงานตวั ชว้ี ัดตามมอบหมาย
พงึ พอใจของงาน ER -งาน OR
ใช้ของเอกสารสานกั งาน -เตรียมความพร้อมใช้ของเอกสารสานักงาน
นายประพันธ์ ศกั ดศ์ิ รอี สิ ยาขหอ์ งงาน OR
ตาแหน่ง เจ้าพนกั งานรงั สีเทคนคิ
- ดูแลตรวจเชค็ เครื่องมืออุปกรณ์เอกซเรยต์ ามทีไ่ ดร้ ับ
มอบหมายในแตล่ ะวนั
-เก็บรายงานความไมพ่ รอ้ มใชข้ องอุปกรณ์ทางการแพทย์
ของงานเอกซเรย์
-เกบ็ ตัวช้วี ัดของงานเอกซเรย์
นายสขุ สนั ต์ ยอดสรรเสริญ นายสนั ติ สุตนั๋
ตาแหน่ง พนกั งานเปล ตาแหนง่ พนักงานเปล
- เช็ดทาความโต๊ะทางาน เช็ดทา - เช็ดทาความโตะ๊ ทางาน เช็ดทา
ความสะอาดรถเข็นนอน รถนอน ความสะอาดรถเขน็ นอน รถนอน
-รบั ผิดชอบโซน 5 ส ตามมอบหมาย -รับผิดชอบโซน 5 ส ตามมอบหมาย
-ดูแลตรวจเชค็ รถเขน็ รถนอนให้ -ดแู ลตรวจเชค็ รถเขน็ รถนอนให้
พรอ้ มใช้งานตามทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย พร้อมใช้งานตามทีไ่ ด้รับมอบหมาย
-ดแู ลอปุ กรณ์เคลื่อนย้ายผู้ป่วย -ดูแลอปุ กรณเ์ คลอ่ื นยา้ ยผู้ป่วย
10
ผรู้ บั ผลงานและความตอ้ งการทีส่ าคัญ
ลูกค้าภายใน
ฝา่ ย / หนว่ ยงาน ความตอ้ งการ
แพทย์ - บนั ทกึ ประวตั แิ ละสัญญาณชีพให้ครบถว้ น
- ประเมนิ อาการผู้ปว่ ยให้ถูกตอ้ งเพอ่ื ประสทิ ธภิ าพในการรกั ษา
- จดั เตรยี มอุปกรณช์ ่วยชีวิตและอุปกรณท์ าหัตถการใหพ้ รอ้ มใชเ้ สมอ
OPD - มีการประสานงานทด่ี ีในกรณที ีจ่ ะสง่ ผู้ป่วยมารบั การรักษาพยาบาลเบ้อื งต้น
- มีการปฏบิ ัติตามขอ้ บ่งชี้ในการส่งผปู้ ่วยตรวจรกั ษาท่ตี ึกผู้ปว่ ยนอก
ผ้ปู ่วยใน - Admit ผปู้ ว่ ยให้ตรงตามข้อบง่ ชข้ี องผปู้ ว่ ย
- ผู้ปว่ ยไดร้ ับการดแู ลรักษาพยาบาลเบื้องตน้ ท่เี หมาะสมกอ่ นส่งเข้าตกึ
- มีการประสานงานใหต้ กึ เตรยี มความพรอ้ มในกรณีทม่ี ีการส่งผปู้ ่วยที่อยู่ในภาวะ
วิกฤตเข้าไปในตกึ และมีการบนั ทึกเวชระเบียนทีถ่ กู ตอ้ ง
หนว่ ยจา่ ยกลาง - Check ของหมดอายุสม่าเสมอ
- แยกของมคี ม ขยะติดเชอื้ แยกผา้ สะอาดกับผ้าสกปรก แกะกระดาษหรือเทปทต่ี ิด
กบั ผา้ ห่อ Set ใหเ้ รยี บร้อย
ห้องบัตร - มกี ารแจง้ ใหเ้ ปลีย่ นสิทธิบัตรกรณที ีพ่ บวา่ เปน็ อุบตั ิเหตจุ ากรถ
- แจ้งให้ตรวจสอบสิทธบิ ัตรก่อนการ Admit / refer
ชนั สตู ร - ทีมการพยาบาลมีการเก็บส่ิงส่งตรวจท่ีถูกต้องและเพียงพอในการตรวจชันสูตร
รวมทงั้ การเขยี นใบนาส่งและการเกบ็ Specimen ถกู ต้อง
งานทันตสาธารณสุข - ต้องการได้รับการติดตอ่ ประสานงานไดร้ วดเรว็ ถูกต้อง
- ไดร้ บั ความรว่ มมอื ทดี่ ีในการปรึกษา หรอื ส่งตอ่ ผู้ปว่ ย
- มชี ่องทางขอความชว่ ยเหลอื ทรี่ วดเร็วเมื่อเกดิ เหตุ วิกฤต ฉกุ เฉนิ ขณะทาฟนั
งานการเงินการบญั ชี - ให้ส่งเอกสารทางการเงนิ ให้ถูกตอ้ งครบถ้วน ตรงเวลาและตรวจสอบกอ่ นสง่ ทุก
ครงั้
ฝ่ายเภสชั กรรม - ให้หยิบยา First in - First out
- ตรวจสอบยาหมดอายุ
- check ยาเพ่อื ป้องกนั ยาไมพ่ อใชน้ อกเวลา
- บันทึกคา่ ยาและอปุ กรณท์ ่ีใช้ใหค้ รบถ้วน
- แจง้ เภสัชกรกรณีพบผู้ป่วยแพย้ า
รงั สี - กรณี Refer ให้ญาติผู้ป่วยหรือเจ้าหน้าท่ีแจง้ เจ้าหน้าที่เพ่ือเตรียมแผ่นซีดีให้ผู้ป่วย
ไดท้ ันทว่ งที
เวชปฏบิ ัตคิ รอบครวั - ขอให้ชว่ ยบริการฉีดยา วัคซนี /รายงานโรคติดต่อทนั เวลา
หอ้ งคลอด - จัดบุคลากรเพอื่ ใหก้ ารชว่ ยเหลอื กรณเี จ้าหน้าที่ห้องคลอดไมเ่ พยี งพอ
11
ลกู คา้ ภายนอก
ฝ่าย / หน่วยงาน ความตอ้ งการ
ผู้รบั บริการ
- ได้รับการตรวจรกั ษาท่ี รวดเรว็ ปลอดภยั ไม่มีภาวะแทรกซ้อน และอธบิ าย
โรงพยาบาลท่วั ไป เก่ยี วกับ การเจบ็ ป่วยรวมท้งั วธิ กี ารตรวจรักษาตา่ งๆ
โรงพยาบาลศนู ย์ - มเี จา้ หน้าทร่ี ับผู้ปว่ ยอยู่ด่านหนา้ ตลอดเวลา กระตือรือร้นเต็มใจบรกิ าร
ตารวจ - ส่งตอ่ ผู้ปว่ ยอย่างถูกต้อง ปลอดภัย พรอ้ ม มีการประสานศูนย์ส่งต่อโดยส่งขอ้ มลู
หน่วยกชู้ พี เข้า Thai refer ทุกราย
- แก้ไขปัญหาฉกุ เฉนิ กอ่ นส่ง เชน่ Case ทต่ี อ้ ง On Endotracheal Tube, ON
ผูป้ ระกอบการ Hard Collar, Splint, Stop Bleed และX -ray ก่อนส่ง
- มกี ารบันทึกข้อมูลในใบชันสูตรบาดแผลถกู ต้องรวดเร็ว
- การใหค้ าแนะนาการรบั โทรศพั ท์ การรับวทิ ยุการดแู ลผู้ปว่ ย ณ จุดเกิดเหตุ
ขณะนาส่ง และรายงานอาการนาส่ง
- สนับสนนุ วสั ดกุ ารแพทย์
- ให้ความรู้ เรอื่ งการชว่ ยฟื้นคนื ชพี และการปฐมพยาบาลเบ้อื งต้น
โรงเรียน - ให้ความรู้ เรื่องการช่วยฟ้ืนคนื ชพี และการปฐมพยาบาลเบอ้ื งต้น
12
สรปุ ผลการดาเนนิ งานระบบบรกิ าร การแพทย์ฉุกเฉินแบบครบวงจรและระบบสง่ ต่อ
งานอบุ ัตเิ หตแุ ละฉุกเฉนิ โรงพยาบาลอมก๋อย ประจาปี 2565 (เดือน ตลุ าคม 2564 – กันยายน 2565)
สถติ ิงานบริการ/กิจกรรมของหน่วยงาน
อตั รากาลัง
มีการจดั อตั รากาลังทีมการพยาบาลดแู ลผูป้ ่วยตลอด 24 ช่ัวโมง ดงั น้ี
ตาแหนง่ เชา้ วนั ทาการ อตั รากาลงั (ราย) บา่ ย ดึก
เช้าวนั หยุด/นักขตั ฤกษ์
3 3
พยาบาลวชิ าชพี 4 4 1 0
1 0
เวชกิจฉกุ เฉิน 1 1 2 1
7 4
พนกั งานชว่ ยเหลอื คนไข้ 3 1
พนกั งานเปลและเอกซเรย์ 4 3
รวม 11 9
ปริมาณงาน หน่วย จานวน
นับ 2561 2562 2563 2564 2565
NO รายการ
จานวนผปู้ ว่ ยเขา้ รบั บรกิ าร ราย 22,660 24,235 26,570 27,524
1 ผู้ป่วยวิกฤต(Resuscitate)
2 ผู้ปว่ ยฉุกเฉนิ (Emergency) ราย - 77 62 68 51
3 ผปู้ ว่ ยฉกุ เฉนิ เร่งดว่ น (Urgent)
4 ผปู้ ว่ ยฉุกเฉินไมเ่ ร่งดว่ น (Acute ราย 1,342 1,761 1,591 2,031 1,814
illness) ราย 4,225 5,423 4,425 3,629 4,127
5 ผ้ปู ว่ ยตรวจโรคท่ัวไป (Non-
ราย 12,409 12,232 10,013 8,292 12,110
Acute Illness)
6 ผู้ปว่ ยอบุ ัตเิ หตุจราจร ราย 6,259 7,071 6,424 7,219 9,422
7 ผู้ป่วยจากอุบัติเหตุท่ัวไป
ราย 307 282 306 404 403
หตั ถการตา่ งๆ ราย 1,762 1,830 1,766 2,162 2,671
8 ทาแผล
9 เยบ็ แผล ครัง้ 4,171 4,614 4,636 4,904 5,954
10 ผา่ ฝี/ผ่าสิง่ แปลกปลอม ราย 377 354 425 464 545
11 Excisions ราย 103 109 123 177 206
12 พน่ ยา ราย 21 29 3 18 35
13 การฉีดยา IV IM SC ราย 2,882 3,934 2,368 1,695 1,586
ราย 8,234 8,316 7,017 7,854 6,524