The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปผลการดำเนินงานของกลุ่มการพยาบาลรพ.อมก๋อย ปีงบประมาณ2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by oamamjib, 2022-12-06 00:51:20

สรุปผลการดำเนินงานของกลุ่มการพยาบาลรพ.อมก๋อย ปีงบประมาณ2565

สรุปผลการดำเนินงานของกลุ่มการพยาบาลรพ.อมก๋อย ปีงบประมาณ2565

66

5. ส่งเสรมิ การดูแลด้านจติ วญิ ญาน
5.1 ทำกิจกรรมส่งเสริมการดูแลด้านจิตวิญญานในหอผู้ป่วยในหญิง ทุกสัปดาห์ เช่น กิจกรรมพูดคุยกับ
ผ้รู บั บริการเพ่ือลดการวิตกกงั วลของผู้ปว่ ย ทำกจิ กรรมร่วมอฐนิ ฐานแก่ผรู้ บั บรกิ าร
5.2 ช่วงปี2563-2564เนื่องด้วยสถานการณ์โควิด-19 ทางโรงพยาบาลร่วมกับผู้ป่วยในได้มีมารตการการ
ปอ้ งกันโควดิ โดยงดเยีย่ มผูป้ ่วย ทำให้ญาติไม่สามารถเขา้ เยี่ยมผูป้ ว่ ยไดท้ ุกคน ในปีงบประมาณ 2565 ไดม้ ีการปรบั ให้
มีการเปิดประตูให้ญาติเข้าเย่ียมแต่เพื่อไม่ให้ขัดกับแนวทางการป้องโรคได้เปิดให้เข้าเยี่ยมเป็นเวลาและมีก ารกำหนด
ข้อปฏิบัตใิ นการเข้าเยีย่ ม

รูปภาพท่ี 16: ภาพแสดงการทำกจิ กรรมส่งเสริมการดแู ลด้านจิตวญิ ญาณ


67

รอ้ ยละความพงึ พอใจของผู้รบั บริการงานผู้ปว่ ยในปี 2561 – 2565

88 86.91 87.1
86.09 80
2565
86 84.21 83.7
84

82 Inte
80
80 80 rven 80

80

78

76 2562 2563 2564
2561

เปา้ หมาย ความพึงพอใจ

แผนภมู ทิ ี่ 23 : ร้อยละความพึงพอใจของผรู้ บั บรกิ ารงานผู้ปว่ ยในปี 2561 – 2565
วัดผลจากความพงึ พอใจ จากแผนภมู ิท่ี 23 จะพบว่า แนวโนม้ ระดบั ความพงึ พอใจเพม่ิ ากข้นึ

ตามลำดบั


68

6.กจิ กรรมการใหก้ ารพยาบาลด้วยหัวใจความเปน็ มนษุ ย์

กรณีศึกษา

ประวตั ิผู้ปว่ ย
case female 79 yrs U/D HT รบั ยาทโ่ี รงพยาบาลอมกอ๋ ย รบั ประทานยาสมำ่ เสมอ ประวตั เิ ดมิ ก่อนการเขา้

รับการรกั ษาท่โี รงพยาบาลจอมทอง ผ้ปู ว่ ยมีประวตั ิ ล้ม ศีรษะกระแทกโต๊ะ ไม่สลบ ไม่มีแผล/บวมโนท่ีศีรษะ ไมม่ ี
ชกั /ออ่ นแรง/ชา ไม่มอี าเจียน บน่ ปวดศรี ษะ ยังชว่ ยเหลือตัวเองได้ปกติ มีถา่ ยเหลว วันละครง้ั ไมม่ ีมูกเลือดปน ไม่พดู
ถามแลว้ ไม่ตอบ ไม่ทานข้าว ยงั ลกุ เดินได้ ตอนเทีย่ ง ไปนอนแลว้ ไมล่ ุกอีก ลืมตา แต่ไม่พดู มีไข้ ไม่ไอ ไม่มนี ำ้ มูก จาก
การตรวจรา่ งกายและผลตรวจทางห้องปฏิบตั ิการ ได้รับการวินจิ ฉัย Dx sepsis c UTI DDx ICH
รบั การรักษา โรงพยาบาลจอมทอง 3 เดือน

ตกึ ผู้ป่วยในหญิงได้รบั การรับ case refer กลับจาก รพ.จอมทอง เพ่ือรบั การรักษาต่อ
การวินจิ ฉัยของแพทย์ดงั นี้

1. Lt obturator muscle abscess --> no sx , IV ATB --> improve from 4 cm to 9 mm
2. E.faecium UTI --> vancomycin 14 day (แพ้ vancomycin)
3. Lt leg DVT --> on warfarin keep INR 2-3
4. bedsore at coccyx grade3
แผนการรักษา
- continue metro oral (400) 1*3 po pc * 10 days
- จอมทองไม่นัด
- on warfarin keep INR 2-3 F/U q 3-5 day ไปก่อน
- DW bed sore
- PT rehab + HHC
current med
- warfarin (2) 1*1
- Atorvas (40) 1*hs
- Bco 1*3
- Folic 1*1
- Para (500) 1 tab po prn
อาการแรกรับผู้ปว่ ยรสู้ ึกตัวดี E4 V1 M6 pupli 3 mm RTLBE motor power แขนสองข้าง grade 5 ขาสองข้าง
grade 0 หายใจปกติ Lung Clear both lung มนี ำ้ ลายไหลตลอด ไมส่ ามารถพูดคยุ สื่อสาร on NG for feed รบั
feed ได้ มีก้อนกดเปน็ ไตแข็งบริเวณตน้ ขาขา้ งซ้าย ไม่มบี วมแดงรอ้ น มี bedsore at coccyx grade3


69

รปู ภาพท่ี 17: ภาพแสดงการใช้ Nursing Process
ปญั หาทางการพยาบาลที่พบ จากการประเมินภาวะสขุ ภาพ
1. ผู้ปว่ ยไม่สามารถชว่ ยเหลอื ตนเอง (Barden scoreได้ 13 คะแนน) ไดอ้ าจจะเกิดภาวะแทรกซ้อน จากการนอน
นานเชน่ Pneumonia ,แผลกดทับ
1. ผปู้ ว่ ยไม่สามารถรบั ประทานอาหารเองได้
2. ไม่มีญาติมาตดิ ตามดแู ลทำให้ไม่สามารถดำเนินการวางแผนจำหนา่ ยได้ เนอ่ื งจากผู้ป่วยอาศัยอยู่คนเดียวไม่มที ่ี

อยอู่ าศยั เป็นของตัวเอง
3. ผูป้ ว่ ยมปี ัญหาเรื่องแผลกดทบั grade 3
4. ผู้ปว่ ยมีปัญหาเรื่อง มีไข้ จากการติดเชอ้ื Lt obturator muscle abscess

จากการ รวมรวบปัญหาทั้งหมดของทีมโดยใชก้ ระบวนการพยาบาล เพอื่ วางแผนการทำงาน ในสัปดาห์แรก
ด้านรา่ งกาย พบวา่

สถานการณ์สัปดาห์แรก ผูป้ ว่ ยอาการ stable ดี สัญญานชพี อยูใ่ นเกณฑป์ กติ การไดร้ ับยาครบตามแผนการ
รักษา มีการตดิ ตามอาการโดยสหสาขาวชิ าชพี ทงั้ แพทย์ พยาบาล เภสชั กร นักกายภาพบำบดั นักโภชนากร และนกั
กิจกรรมบำบดั ไม่มพี บภาวะแทรกชอ้ นจากการให้ยา ผปู้ ่วยสามารถรับประทานอาหารเหลวเสริมจากอาหาร BD
FEED ได้ พบปญั หาทเ่ี พ่ิมเตมิ คอื แผลของผู้ปว่ ยมีแนวโน้มทจ่ี ะมีการพัฒนามากขึ้น
การแก้ไข

ไดม้ ีการรวบรวมข้อมูลท้ังหมด ทบทวนทำ RCA เพื่อหาสาเหตุและ วางแนวทางการให้การพยาบาลโดยใช้
กระบวนการพยาบาล เพือ่ ทบทวนการปฏิบตั กิ าร ทบทวน WI การปฏิบตั ิการทั้งหมด ทมี ปฏิบตั ิงานได้มีการ
ดำเนนิ การแกไ้ ข WI การดูแลผู้ปว่ ยทม่ี ีแผลกดทบั ได้ ดำเนินการดังนี้

1. ประเมนิ ความเสี่ยงตอ่ การเกิดแผลกดทบั โดยใช้ Barden score ซ้ำ พบวา่ ผ้ปู ว่ ยรายนี้มคี ะแนน Barden
score <11 (น้อยลงกวา่ เดิม)


70

2. ประเมนิ ดา้ นโภชนาการ และประสานงานกับโภชนการเพอื่ จดั อาหารโภชนาบำบัด ส่งเสริมการหายของแผล
3. ดแู ลใหก้ ารพยาบาลตามมาตรฐานวชิ าชพี โดยดำเนนิ การดงั นี้

- นำBUNDLE Care ในเร่ืองการปอ้ งกนั HAP มาใช้ในการดูแลดังน้ี

- ดแู ล complete bed bath ทกุ วัน เพราะการทำความสะอาดร่างกาย เป็นลดการสะสมของเช้ือโรคใน
ร่างกาย

- ดูแลสังเกต การขบั ถ่าย ทุก 2 - 4 ชัว่ โมง เพือ่ ลดการหมกั หมมของเชือ้ แบคทีเรีย
- จดั ท่นี อนให้เหมาะสม ไดแ้ ก่ การใช้ท่ีนอนลม


71

แผลแรกรับ

แผลสัปดาหแ์ รกหลัง

Admit

แผลหลัง
INTERVENTION


72

ด้านสงั คม พบว่า
ผู้ป่วยไม่มบี ้านทำให้ไมส่ ามารถกลับบา้ นได้ จึงทำการประสานญาติ แต่ญาติปฏิเสธท่จี ะรับผูป้ ว่ ยไปดแู ล

การแก้ไข
1. ประชุมหนว่ ยงานในเรอื่ งการประสาน พม. อำเภออมก๋อย (ระยะเวลาประสาน 1 เดือน ในการแก้ไขปญั หา)
2. ทำเอกสารผปู้ ่วย แจ้ง พม.เชียงใหม่ในการประสานรบั ผูป้ ว่ ยไวด้ ูแล
3. สง่ ผูป้ ว่ ยไป บ้านธรรมปกรณ์ เชยี งใหม่ (ใชเ้ วลาประสานงานท้งั หมด 3 เดือน)

ด้านจติ ใจ อารมณ์ พบว่า
ผปู้ ว่ ยมอี าการเครียดจากอาการเจบ็ ปว่ ย ไม่มีญาติ และ ไม่มีท่อี ยู่อาศัย แสดงพฤติกรรม คอื ไม่ยอมพดู ไม่

รับประทานอาหาร ไม่ใหค้ วามร่วมมือในการรกั ษาใดๆ
การแก้ไข

1. ชวนพูดคยุ ทุกวนั ให้กำลังใจ โดยเฉพาะเรอ่ื งทผี่ ปู้ ่วยสนใจ ไดแ้ ก่ ความสวยความงาม
2. พูดคุยความก้าวหนา้ เรอ่ื งการรกั ษา และ การประสานเรื่องที่อยู่อาศยั
3. ใหก้ ารพยาบาลดจุ ญาติมิตร

สรปุ อาการก่อนจำหนา่ ย (ADMIT 5 เดือน)
ผู้ปว่ ยร้สู ึกตวั ดี E4 V1 M6 pupli 3 mm RTLBE motor power แขนสองข้าง grade 5 ขาสองข้าง grade 0

หายใจปกติ Lung Clear both lung สามารถพดู คุยส่ือสารได้ on NG for feed รบั feed ได้ ไม่มแี ผล bedsore
ผปู้ ว่ ยได้รบั การติดต่อ สถานสงเคราะห์ บา้ นธรรมปกรณ์ เชียงใหม่ เพื่อดูแลต่อ

แผล กอ่ นจำหน่าย


73

ส่ิงทไ่ี ดจ้ ากการถอดบทเรยี น จากกรณีศึกษา

1. การพยาบาลโดยใชห้ ลักกระบวนการพยาบาล (Nursing process) เป็นแนวทางในปฏิบัตงิ าน ส่งผลใหง้ าน
ดูแลผู้ปว่ ยมีคุณภาพมากขึน้

2. การทำ RCA เพื่อหาสาเหตุของปัญหาและดำเนินการแก้ไขเพ่อื ใหเ้ หมาะสมแก่การดูแลผู้ป่วยแต่ละราย
3. ทีมปฏิบตั ิงานพบว่า การใหก้ ารพยาบาลตามหลักวิชาการ (Evidence Base Practice) จะชว่ ยลดความ

รนุ แรงของโรคและความเจ็บป่วย
4. การดูแลผ้ปู ว่ ยดุจญาตมิ ิตร มีผลต่อการมีกำลังใจในการใช้ชีวติ ของผูป้ ว่ ยต่อไป
5. การมีชวี ติ อย่ดู ้วยแรงบันดาลใจ ทำให้การใชช้ วี ติ มีคุณค่า และมีความหมายมากยง่ิ ขนึ้
6. ความหวงั แม้เพียงเล็กน้อย บุคลากรพยาบาลไม่ควรทำลาย และมองข้าม


74

จดุ เนน้ ในการพฒั นา ปี 2566

1. ปรับปรุง WI ของ IPD ทส่ี ำคัญโดยเฉพาะ การใชเ้ ครื่องออกซิเจนแรงดันสงู การดแู ลผู้ป่วยใชเ้ ครอื่ งช่วยหายใจ
การพยาบาลเพื่อป้องกนั การติดเชื้อในโรงพยาบาล การทำหัตถการสำคัญได้แก่ CPR ICD

2. พัฒนาระบบ Emergency Response ในหน่วยงาน (CODE E)

3. พัฒนาระบบการให้การพยาบาลผปู้ ว่ ยตามกลมุ่ โรคสำคัญ ได้แก่ กลมุ่ โรคทางเดินหายใจ กลุ่มโรคตดิ เช้ือ กลุ่มโรค
เรอ้ื รงั และกลมุ่ Palliative care / IMC ใหค้ ลอบคลุมตาม Nursing process (เน้นเร่อื งการประเมนิ และดแู ล
ตาม specific clinical risk และการวางแผนจำหน่าย)

4. พฒั นาการทบทวนกรณีศกึ ษาทงั้ การ review chart และ เม่อื เกิด Incidence
5. พัฒนางานแมแ่ ละเดก็ โดยจัดใหม้ มี มุ นมแม่ การวางแผนให้สขุ ศึกษา / วางแผนการจำหน่ายหลงั คลอด
6. พฒั นางาน Palliative care / IMC
7. พัฒนาระบบ บันทึกทางการพยาบาลแบบ FOCUS Charting
8. พัฒนาระบบ การรับสง่ เวรโดยใชห้ ลัก SBAR

9. พฒั นาระบบนเิ ทศทางการพยาบาล


1

สรุปผลงาน ตึกผู้ป่วยในชาย ประจาปีงบประมาณ 2565

วิสยั ทศั น์
ทา่ นจะได้รับการดแู ลรกั ษา ให้บรรเทาจากการเจ็บป่วย ดุจญาติมติ ร และบรกิ ารดว้ ยความเตม็ ใจ

พนั ธกิจ
ให้บริการดูแลรกั ษาพยาบาลผู้ป่วยท่ีรบั ไว้นอนในโรงพยาบาลเพศชายทุกโรค โดยให้การดูแลแบบองค์

รวมและครอบคลุม4มิติ ตามมาตรฐานวิชาชีพ อย่างถูกต้องปลอดภัย ให้การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายอย่าง
สมศักดิศ์ รี คานึงถงึ สิทธิผปู้ ว่ ย ผู้ใหบ้ รกิ ารพงึ พอใจ สามารถพงึ ตนเองได้อย่างต่อเน่ืองเม่ือกลับส่ชู ุมชน

ค่านยิ มขององค์กร
มาตรฐาน อ่อนนอ้ ม กระตือรอื รน้ กลา้ แสดงออก

เป้าหมาย
ให้บริการที่ไดม้ าตรฐาน ปลอดภยั และพงึ พอใจ

ขอบเขตงานบรกิ ารของหนว่ ยงาน
1. การดูแลโดยพยาบาลตลอด 24 ชว่ั โมง
2. การนอนพักในสถานทท่ี ส่ี ะอาด ปลอดภยั
3. การบรกิ ารอย่างเป็นกันเอง และมีอธั ยาศัยทด่ี ี
4. การรกั ษาพยาบาลไมเ่ กิน 30 นาทเี มอ่ื มาถึงหอผู้ป่วย
5. ให้ญาติเฝา้ ดแู ลไดต้ ลอดเวลา 1คน
6. มเี ครอื่ งมอื เคร่ืองใชเ้ พยี งพอ อปุ กรณ์ทางการแพทยท์ ี่ปราศจากเชอ้ื
7. มอี าหารทส่ี ะอาด เหมาะสมกบั โรค วนั ละ 3 มอ้ื และไดร้ บั ยาท่มี คี ณุ ภาพ
8. การตรวจรักษาโดยแพทยอ์ ยา่ งน้อยวันละ 1 ครงั้
9. ทราบผลการตรวจวนิ จิ ฉยั และคาแนะนาในการปฏิบตั ิตนให้เหมาะสมกบั โรค


2

โครงสร้างการบริหารขององค์กร

1.นางอญั ชลี กนั ทา พยาบาลวิชาชีพชานาญการพเิ ศษ ประธาน

2.นางสาวดวงกมล ฝน้ั เมา พยาบาลวชิ าชพี ชานาญการ หัวหน้างานห้องคลอด

3.นายวลั ลภ เรือนก๋องเงิน พยาบาลวิชาชีพชานาญการ หัวหนา้ งานผปู้ ว่ นนอก

4.นางอารรี ตั น์ ต้ังพิษฐานสกลุ พยาบาลวชิ าชีพชานาญการ หัวหน้างานอบุ ัติเหตุและฉุกเฉิน

5.นางสรอ้ ยมาลี มณีขัตยิ ์ พยาบาลวิชาชพี ชานาญการ งานคลนิ กิ โรคไม่ติดต่อเร้ืองรัง

6.นางศรสี ดุ า สิงห์กุย พยาบาลวชิ าชีพชานาญการ งานการพยาบาล รพ.สาขาแมต่ ื่น

7.นางสาวขนิษฐา ปนุ ณภา นักโภชนาการ งานโภชนาการ

8.นางวิไลพร ศริ ิ พยาบาลวชิ าชีพชานาญการ หัวหน้างานผปู้ ่วยในหญิง งาน IC

9.นางสาวธชั ชนนั ท์ ตนั ใบ พยาบาลวิชาชพี ชานาญการ หวั หนา้ งานผูป้ ่วยในชาย

9.นางสาวสุภสั สรา สรุ ยิ ะบุปผา พยาบาลวิชาชีพปฏิบตั ิการ งานหนว่ ยจา่ ยกลาง

โครงสร้างการบรหิ ารของหน่วยงาน

1. นางสาวธัชชนนั ท์ ตนั ใบ พยาบาลวิชาชพี ชานาญการ หัวหนา้ ตึก
พยาบาลวิชาชพี ปฏิบัติการ รองหวั หนา้ ตึก
2. นางสาวลาวัณย์ ตระกลู อัปราชยั พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
พยาบาลวิชาชีพปฎิบัติการ
3. นางสาวสุนษิ า กนั ทา พยาบาลวชิ าชพี ปฏิบตั ิการ
พยาบาลวิชาชพี
4. นางสาวณัฐฌา ต๊ะชู้ พยาบาลวชิ าชีพปฏิบตั กิ าร
พยาบาลวชิ าชพี ปฏิบตั กิ าร
5. นางสาววนดิ า กระสานติ์ พยาบาลวชิ าชพี
ผชู้ ว่ ยพยาบาล
6. นางสาวพรนภิ า สกุณามารตุ พนกั งานผูช้ ว่ ยเหลอื คนไข้
พนักงานผ้ชู ่วยเหลอื คนไข้
7. นางสาวสิริมา ปู่ปี พนกั งานผูช้ ว่ ยเหลือคนไข้
พนักงานทาความสะอาด
8. นางสาวนรี ชา ฑีฆวัฒนส์ กุล

9. นางสาวกฤษณา กนั จูยะ

10. นางสาวสุวมิ ล กนั ทามา

11. นางณฐั ฐนิ ี สุแฮ

12. นางอรวรรณ พนิ ิจพงษ์พร

13. นางสาวเจนจิรา เลศิ ฤดี

14. นางสาวดสี ุข บญุ มา


3

1.ดา้ นการบรหิ าร
1.1อัตรากาลังบุคลากรในผ้ปู ่วยในชาย การจดั อัตรากาลงั การปฏิบัตงิ านในเวลาราชการ นอกเวลาราชการ โดย
จะมกี ารจัดทีมการพยาบาลในการดูแลผู้ปว่ ยโดยและ การจัดอตั รากาลงั ทมี การพยาบาลการดูแลผปู้ ว่ ย ดงั น้ี

เวรเช้า เวรบา่ ย เวรดกึ

พยาบาล 4 คน (รวมหัวหนา้ ตกึ ) พยาบาล 3 คน พยาบาล 2คน
ผชู้ ่วยเหลอื คนไข้ 2 คน ผู้ช่วยเหลือคนไข้ 1 คน ผู้ช่วยเหลอื คนไข้ 1 คน
แมบ่ ้าน 1 คน
พนักงานทาความสะอาด 1 คน

1.2 แบ่งสมรรถนะพยาบาล จานวนพยาบาล จานวนรอ้ ยละ
1 คน 11.1
ระดบั 3 คน 33.3
1.novice 2 คน 22.2
2.advance beginner 2 คน 22.2
3.competent 1 คน 11.1
4.proficient
5.expert


4

2.ผรู้ ับบรกิ าร 2561 2562 2563 2564 2565

สถติ บิ รกิ าร 2129 2371 1907 1441 1491
7354 7600 6624 4486 4396
จานวนผ้ปู ว่ ยท่เี ขา้ รบั การรกั ษาในแผนกผปู้ ว่ ยใน 3.45 3.20 3.47 3.13 2.94
จานวนวนั นอน 66.98 69.41 60.49 45.20 40.18
จานวนวนั นอนเฉลี่ย 20.09 20.82 18.15 13.56 12.05
อัตราครองเตียง 106.75 114.83 104.18 83.20 84.08
Active bed
Productivity

รายงาน 5 อันดับโรคท่พี บบอ่ ยในตึกผปู้ ว่ ยในชายประจาปี 2565

ลาดับ โรค

1.COPD
2.Acutebronchitis
3.Pneumonia
4.Typhus fever
5.UGIH


5

ตารางแสดง ตัวชว้ี ดั ในหนว่ ยงาน
ลาดับ ตวั ชี้วัด
1. จานวนข้อรอ้ งเรยี นเกยี่ วกบั พฤติกรรมบริการทางการพยาบาล
2. อัตราความสมบรู ณ์ของเวชระเบยี นผู้ป่วยใน
3. รอ้ ยละความพึงพอใจของผู้ใช้บรกิ าร/ครอบครัวต่อบรกิ ารพยาบาล
4. จานวนอุบัติการณค์ วามผิดพลาดในการบรหิ ารยาทกุ ระดบั
5. จานวนอุบัตกิ ารณ์การระบตุ ัวผปู้ ว่ ยผดิ คน/รกั ษาผดิ คน
6. รอ้ ยละผูป้ ว่ ยและครอบครัวมคี วามรูใ้ นการดูแลสุขภาพตนเอง
7. จานวนอบุ ตั กิ ารณก์ ารตายในตกึ ผ้ปู ว่ ยชาย
8. จานวนคร้งั การเกิดความเสย่ี ง
9. จานวนผู้ปว่ ย sepsis และจานวนผูป้ ่วย septic shock
10. รอ้ ยละความพึงพอใจของผปู้ ว่ ยและครอบครัวที่ไดร้ บั การดแู ลแบบประคบั ประคอง
11. อัตราการกลับมารกั ษาซ้าในโรงพยาบาล ภายใน 28 วนั โดยไม่ไดว้ างแผน(ทว่ั ไป/ COPD)
12. จานวนครง้ั ความไม่พรอ้ มใช้ของเคร่ืองมอื แพทย์ทมี่ ีความเสี่ยงสงู
13. อัตราการติดเชื้อในตึกผปู้ ่วยชาย
14. จานวนผูป้ ่วย /จานวนวนั นอน การใชเ้ ครื่องช่วยหายใจ
15. จานวนคร้งั การเกดิ ความผดิ พลาดจากการส่ง specimen
16. ระยะเวลาการรายงานค่าแลปวิกฤต
17. จานวนคร้งั การปฏิเสธการรักษา/การส่งตอ่ /การขอย้าย
18. จานวนอบุ ตั ิการณ์การพลัดตกหกลม้ ในตกึ ผู้ปว่ ยชาย
19. อตั ราการเกิดแผลกดทับของผู้ปว่ ยทีน่ อนโรงพยาบาล
20. จานวนอุบัติการณ์ผปู้ ว่ ยบาดเจ็บจากการจัดทา่ การผูกยดึ การใช้อปุ กรณแ์ ละเคร่อื งมือ
21. จานวนอบุ ัตกิ ารณ์การเกดิ ความผิดพลาดจากการใหเ้ ลอื ดและส่วนประกอบของเลือด
22. จานวนครั้งการหลบหนอี อกจากโรงพยาบาล
23. อตั ราการเกดิ หลอดเลือดดาอกั เสบจากการให้ยาและสารนา้ ทางหลอดเลือดดา

ตารางที่ 1 แสดงตัวชว้ี ัดในหนว่ ยงาน


6

สรุปผลการดาเนนิ งานตามเกณฑ์ตัวช้ีวดั คุณภาพ

1.ตารางแสดงข้อมลู จานวนข้อร้องเรียนเกีย่ วกับพฤติกรรมบรกิ ารทางการพยาบาล

ตัวชว้ี ัด เป้าหมาย ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565

จานวนขอ้ รอ้ งเรยี น 0 0 0001
เกยี่ วกบั พฤตกิ รรมบริการ

ตารางที่ 2 แสดงขอ้ มูลจานวนขอ้ รอ้ งเรียนเกยี่ วกบั พฤตกิ รรมบริการทางการพยาบาล

กราฟแสดงข้อมูลจานวนข้อร้องเรยี นเกย่ี วกับพฤตกิ รรม

จำนวนคร้ัง/ปี ทางการพยาบาล

10
8
6
4
2
0

ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565

จำนวนขอ้ ร้องเรียนเก่ียวกบั พฤติกรรมบริกำรทำงกำรพยำบำล เป้ำหมำย

-เดือนกันยายน ป2ี 565 พบจานวนขอ้ รอ้ งเรยี นเกี่ยวกับพฤติกรรมบรกิ ารทางการพยาบาล 1 ครง้ั ซึง่ เป็น
การโพสทางสื่อโชเชียล fackbook ได้มีการทบทวนหาสาเหตุเกิดการการส่ือสารระหว่างเจ้าหน้าท่ี
พยาบาลและญาติผู้ป่วย ซึ่งยุติปัญหาได้ในหน่วยการการพยาบาล ทั้งยังได้หาแนวทางแก้ไข ปรับปรุง
พฤติกรรมการพยาบาลและการสอื่ สารกบั ผู้ป่วยและญาติ


7

2.ตารางแสดงขอ้ มูลอตั ราความสมบูรณ์ของเวชระเบยี นใน

ตัวชีว้ ัด เปา้ หมาย ปี ปี ปี ปี ปี

2561 2562 2563 2564 2565

อตั ราความสมบรู ณ์ >85% 86.25 87.78 81.77 90.31 NA
ของเวชระเบียน

ตารางท่ี 3 แสดงขอ้ มูลอัตราความสมบรู ณ์ของเวชระเบยี นใน

กราฟแสดงข้อมูลอัตราความสมบรู ณข์ องเวชระเบยี นใน

อตั ราร้อยละ

100 87.78 90.31
90 86.25
81.77
80

70

60

50
ปี2561 ปี2562 ปี2563 ปี2564 ปี2565

เปา้ หมาย อตั ราความสมบรู ณข์ องเวชระเบียนใน

-จากผลการประเมนิ อัตราความสมบรู ณข์ องเวชระเบยี นผ้ปู ว่ ยในพบวา่ ปี 2561-2565 มแี นวโนม้ เพิ่มข้นึ
ตามลาดับ ส่วนปี 2563อัตราความสมบูรณ์ของเวชระเบียนผู้ป่วยในลดลงกวา่ เกณฑ์มาตราฐานที่กาหนด จาก
การทบทวนพบว่ามีสาเหตุมาจากการการเขียนบันทึกทางการพยาบาลไม่ต่อเนื่อง และจากการเขียนปัญหา
ทางการพยาบาลเฉพาะกลุ่มโรคยังไม่ครอบคลุม ซ่ึงได้แก้ไขโดยมีการนิเทศทางการพยาบาลโดยหัวหน้างาน
เรื่องการเขียนบันทึกการพยาบาล ให้น้องๆในตึกเขียนบันทึกการพยาบาลถูกต้อง ครอบคลุมและต่อเนื่องมาก
ขึ้น และทางทีม PCTได้จัดทาแนวทาง specific clinical risk เฉพาะกลุ่มโรคสาคัญ เพื่อเป็นแนวทางในการ
ดแู ลผู้ปว่ ยได้ครอบคลมุ มากขน้ึ สว่ นในปี 2565 ยังไมม่ ขี อ้ มลู อตั ราความสมบรู ณ์ของเวชระเบียน


8

3.ตารางแสดงขอ้ มูล รอ้ ยละความพงึ พอใจของผ้ใู ช้บริการ/ครอบครวั ต่อบริการพยาบาล

ตัวช้ีวดั เป้าหมาย ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565

รอ้ ยละความพึงพอใจของ >80% 83.30 81.72 87.46 86.91 90.71

ผู้ใชบ้ ริการ/ครอบครวั ตอ่

บริการพยาบาล

ตารางท่ี 4 แสดงขอ้ มลู รอ้ ยละความพึงพอใจของผู้ใช้บรกิ าร/ครอบครวั ต่อบริการพยาบาล

กราฟแสดงข้อมูลร้อยละความพงึ พอใจของผู้ใช้บริการ/

ร้อยละ ครอบครัวตอ่ บริการพยาบาล

100 87.46 86.91 90.71

90 83.3 81.72

80

70

60

50

ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565

เป้ำหมำย ร้อยละควำมพึงพอใจของผใู้ ชบ้ ริกำร/ครอบครัวต่อบริกำรพยำบำล

-จากผลการประเมินผลด้านความพึงพอใจของผู้รบั บริการ พบวา่ ผู้รับบริการมคี วามพึงพอใจต่อการบริการ
พยาบาลมีแนวโน้มเพิม่ ขน้ึ และผา่ นเกณฑเ์ ป้าหมายที่กาหนด


9

4.ตารางแสดงขอ้ มูลจานวนอบุ ัตกิ ารณ์ความผดิ พลาดในการบรหิ ารยาทกุ ระดับ

ตัวช้ีวัด เปา้ หมาย ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565

จานวนอบุ ตั กิ ารณ์ความ <10 ครง้ั ตอ่ 8 8 3 5 5

ผิดพลาดในการบรหิ ารยาทุก 1000 วันนอน

ระดับ รพ.

ตารางที่ 5 แสดงขอ้ มูลจานวนอบุ ตั ิการณค์ วามผิดพลาดในการบริหารยาทุกระดบั

กราฟแสดงข้อมูลจานวนอุบัตกิ ารณค์ วามผดิ พลาดใน

จำนวนคร้ัง/ปี การบริหารยาทกุ ระดับ

10 8 8
9
8
7
6 5 5

5 3
4
3
2
1
0

ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565

เป้ำหมำย จำนวนอบุ ตั ิกำรณ์ควำมผิดพลำดในกำรบริหำรยำทุกระดบั

-จากผลการประเมินอุบัติการณ์ความผิดพลาดในการบริหารยาท่ีเกิดข้ึนในปี 2561-2562 ได้มีการแก้ไข โดย
การทา sticker ยา สาหรับติด med sheet และสาหรับการให้ยา มีการ Double check ก่อนการให้ยา
ผู้ป่วยทกุ คร้งั และกระตนุ้ บคุ ลากรตะหนกั ถึงหลักการให้ยาที่ถกู ต้อง โดยยึดหลกั 7 R อยา่ งเครง่ ครดั
ซึง่ ในปี 2565 จานวนอบุ ัตกิ ารณ์ความผดิ พลาดในการบรหิ ารยาทกุ ระดับมีแนวโน้มลดลงตามลาดบั


10

5.ตารางแสดงจานวนอบุ ตั กิ ารณ์การระบตุ ัวผปู้ ว่ ยผดิ คน/รกั ษาผดิ คน

ตัวชี้วดั เป้าหมาย ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565

จานวนอุบตั ิการณ์การระบตุ วั 0 N/A 0 0 0 0
ผู้ปว่ ยผดิ คน/รักษาผดิ คน

ตารางที่ 6 แสดงจานวนอบุ ัติการณ์การระบตุ ัวผู้ปว่ ยผิดคน/รกั ษาผดิ คน

กราฟแสดงจานวนอุบัตกิ ารณก์ ารระบตุ ัวผู้ป่ วยผิดคน/

จำนวนคร้ัง/ปี รักษาผิดคน

5

4

3

2

10 0 0 0 0
0

ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565

จำนวนอุบตั ิกำรณ์กำรระบุตวั ผปู้ ่ วยผิดคน/รักษำผดิ คน เป้ำหมำย

-จากผลการดาเนนิ งานจานวนอบุ ัติการณ์การระบตุ วั ผู้ปว่ ยผดิ คน/รกั ษาผิดคน พบวา่ ไม่มกี ารระบุตวั ผู้ปว่ ยผดิ
คน/รกั ษาผดิ คน


11

6.ตารางแสดงร้อยละผู้ป่วยและครอบครัวมคี วามร้ใู นการดูแลสขุ ภาพตนเอง

ตัวช้ีวัด เป้าหมาย ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565

ร้อยละผู้ปว่ ยและครอบครวั มี ≥ 98% 85.51 73.75 91.49 96.81 95.44

ความรู้ในการดูแลสุขภาพ

ตนเอง

ตารางที่ 7 แสดงรอ้ ยละผูป้ ว่ ยและครอบครัวมคี วามรู้ในการดแู ลสุขภาพตนเอง

กราฟแสดงข้อมูลร้อยละผู้ป่ วยและครอบครัวมีความรู้ใน

ร้อยละ การดแู ลสุขภาพตนเอง

100 98 98 98 98 98
90 85.51 95.44
80 91.49 96.81
70
73.75

60

50

ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565

เป้ำหมำย ร้อยละผปู้ ่ วยและครอบครัวมีควำมรู้ในกำรดูแลสุขภำพตนเอง

-จากผลการประเมนิ รอ้ ยละผ้ปู ่วยและครอบครวั มคี วามรูใ้ นการดูแลสขุ ภาพตนเองมีแนวโน้มเพ่ิมมากขึ้นทุกปี
แต่ทั้งน้ียงั ไมผ่ ่านเกณฑ์เป้าหมาย ซึ่งปญั หาดังกลา่ วได้ถกู นามาทบทวนในทมี วเิ คราะหห์ าสาเหตุ ซึง่ เกดิ จาก
ในบางเวร มีการจาหน่ายผู้ป่วยนอกเวลา ซ่ึงเจ้าหน้าท่ีได้มีการให้คาแนะนาสุขศึกษาก่อนกลับทุกราย แต่ลืม
ให้ผปู้ ่วยและญาติ เซ็นใบสมดุ ใหค้ าปรกึ ษา ทาใหข้ อ้ มูลหายไป


12

7.ตารางแสดงจานวนอบุ ัตกิ ารณก์ ารตายในตกึ ผปู้ ่วยชาย

ตัวชีว้ ดั เปา้ หมาย ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565

จานวนอบุ ตั ิการณก์ ารตายใน 0 31031
ตกึ ผู้ป่วยชาย

ตารางท่ี 8 แสดงจานวนอบุ ตั กิ ารณ์การตายในตกึ ผปู้ ่วยชาย

กราฟแสดงจานวนอุบตั กิ ารณก์ ารตายในตกึ ผู้ป่ วยชาย

จำนวนคร้ัง/ปี 1 0 3 1
0 0
5 ปี 2563 0
ปี 2562 ปี 2565
4 ปี 2564
3

3

2

1
0

0

ปี 2561

เป้ำหมำย จำนวนอุบตั ิกำรณ์กำรตำยในตึกผปู้ ่ วยชำย2

-จากผลการดาเนินงาน ปี2561-2562 และปี 2564-2565 ทผี่ ่านมา พบอุบตั ิการณ์การตายในตึกผู้ปว่ ยชาย ได้
ทบทวนโดยกระบวนการ M&M conference พบปัญหาและแนวทางการแก้ไข คือ การประเมินและการ
ประเมินซ้าผู้ป่วย และทางตึกได้แก้ไขปรับปรุงตามกระบวนการพยาบาล ซ่ึงในปี 2563 ไม่พบอุบัติการณ์การ
ตายในตกึ ชาย


13

8.ตารางแสดงจานวนครง้ั การเกดิ ความเสย่ี ง(D/E/Clinic/nonclinic)

ตัวชีว้ ดั เปา้ หมาย ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565

จานวนครง้ั การเกดิ ความ - 6/0/24/2 47/1/57/17 50/0/52/4 58/3/121/10 11/4/51/3
เสยี่ ง

ตารางท่ี 9 แสดงจานวนครง้ั การเกิดความเส่ยี ง(D/E/Clinic/nonclinic)

จำนวนคร้ัง/ปี กราฟแสดงจานวนครัง้ การเกดิ ความเสี่ยง
(D/E/Clinic/nonclinic)
140
120 121
100
57 502 58 51 D
80 47 E
60 clinic
40 24 17 130 4131 non clinic
20 206 1 04 เปา้ หมาย

0

-จากการประเมินเม่ือพบความเส่ียงจะทาการรายงานความเสี่ยงท้ังหมดให้ทีมความเส่ียง ผ่าน การเขียน
หรือลงโปรแกรม risk management โดยแยกเก็บรายงานความเส่ียง Clinical , non Clinical ความ
เส่ียง A ,B,C และ D ข้ึนไป เพื่อทบทวนความสาคัญและความรุนแรงของการเกิดความเส่ียงและหาแนว
ทางการป้องกันการเกิดซ้าพร้อมท้ังให้เจ้าหน้าที่ในตึกเรื่องการตระหนักในความเสี่ยงที่เกิดข้ึนและเห็น
ความสาคัญของการเขียนรายงานความเส่ียง ดังจะเห็นได้ว่าในแต่ละปี มีการรายงานความเส่ียงในระดับ
ต่างๆมีแนวโน้มเพมิ่ ขนึ้


14

9.ตารางแสดง จานวนผู้ป่วย sepsis และจานวนผ้ปู ่วย septic shock

ตวั ช้วี ัด เป้าหมาย ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565

จานวนผูป้ ่วย sepsis และ 0 4/0 6/0 3/0 1/0 0/0
septic shock

ตารางที่ 10 แสดงจานวนผูป้ ่วย sepsis และจานวนผู้ป่วย septic shock

กราฟแสดงจานวนผู้ป่ วย sepsis และจานวนผู้ป่ วย

จำนวนคร้ัง/ปี septic shock

10 6 3 1 00
9 0 0
8 0 ปี 2565
7 ปี 2563 ปี 2564
6 ปี 2562
54
4
3
2
10
0

ปี 2561

เป้ำหมำย จำนวนผปู้ ่ วยseptic shock จำนวนผปู้ ่ วยsepsis

-จากผลการดาเนินงาน ปี 2561-2563 พบจานวนผปู้ ว่ ย sepsis และจานวนผ้ปู ว่ ย septic shock
10 รายได้มกี ารดูแลและรกั ษาตามแนวทางการดูแลผปู้ ว่ ย sepsis และทบทวนการดแู ลผู้ปว่ ยทุกราย
ทาใหป้ ี 2564 และ ปี 2565 พบจานวนผู้ป่วย sepsis และจานวนผู้ป่วย septic shock ลดลงเหลือ 1 รายและ
ไมพ่ บผปู้ ่วย ตามลาดับ


15

10.ตารางแสดงรอ้ ยละความพงึ พอใจของผปู้ ่วยและครอบครวั ท่ีไดร้ ับการดูแลแบบประคบั ประคอง

ตวั ชวี้ ัด เปา้ หมาย ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565

รอ้ ยละความพงึ พอใจของ >80% N/A N/A 90.74 97.83 98.22

ผู้ปว่ ยและครอบครวั ท่ไี ดร้ ับ

การดแู ลแบบประคับประคอง

ตารางท่ี 11 แสดงรอ้ ยละความพงึ พอใจของผปู้ ว่ ยและครอบครวั ทไี่ ดร้ ับการดูแลแบบประคับประคอง

กราฟแสดงข้อมูลร้อยละความพงึ พอใจของผู้ป่ วยและ

ร้อยละ ครอบครัวทไี่ ดร้ ับการดแู ลแบบประคับประคอง

100 90.74 97.83 98.22

90 80 80 80 80 80

80

70

60

50

ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565

เป้ำหมำย

ร้อยละควำมพงึ พอใจของผปู้ ่ วยและครอบครัวท่ีไดร้ ับกำรดูแล
แบบประคบั ประคอง

-จากผลการประเมินผลความพึงพอใจของผู้ป่วยและครอบครัวท่ีได้รับการดูแลแบบประคับประคอง ปี 2563-
2565 พบว่าผู้รบั บรกิ ารมคี วามพึงพอใจต่อการบริการพยาบาลและผ่านเกณฑเ์ ปา้ หมายที่กาหนด


16

11.ตารางแสดงข้อมลู อตั ราการกลับมารกั ษาซ้าในโรงพยาบาล ภายใน 28 วนั โดยไมไ่ ดว้ างแผน(ท่วั ไป/ COPD)

ตัวช้วี ดั เป้าหมาย ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565

อัตราการกลบั มารกั ษาซ้าใน ≤ 5% 5.21 7.81 4.60 1.81 1.93

โรงพยาบาล ภายใน 28 วัน

โดยไม่ได้วางแผน(ทั่วไป/

COPD)

ตารางที่ 12 แสดงข้อมลู อัตราการกลับมารกั ษาซา้ ในโรงพยาบาล ภายใน 28 วนั โดยไมไ่ ดว้ างแผน(ทว่ั ไป/ COPD)

กราฟแสดงข้อมูลอัตราการกลับมารักษาซา้ ในโรงพยาบาล ภายใน

28 วันโดยไม่ไดว้ างแผน(ท่วั ไป/ COPD)

อตั รำร้อยละ

10
9 7.81

8

7 5.21 4.61
6

5

4
3 1.81 1.93

2

1

0

ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565

เป้ำหมำย

อตั รำกำรกลบั มำรักษำซ้ำในโรงพยำบำล ภำยใน 28 วนั โดยไมไ่ ดว้ ำงแผน(ทวั่ ไป/ COPD)

-จากการประเมินผลอัตราการกลับมารกั ษาซ้าในโรงพยาบาล ภายใน 28 วันโดยไม่ได้วางแผน(ท่ัวไป/ COPD)
มแี นวโนม้ ลดลงทุกปีและผ่านเกณฑเ์ ป้าหมายตามท่ีกาหนด


17

12.ตารางแสดงจานวนคร้ังความไมพ่ รอ้ มใชข้ องเครอ่ื งมือแพทยท์ ่ีมีความเส่ยี งสูง

ตวั ชวี้ ดั เปา้ หมาย ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565

จานวนครัง้ ความไมพ่ รอ้ มใช้ 0 00000

ของเครื่องมอื แพทย์ทม่ี คี วาม

เส่ียงสูง

ตารางท่ี 13 แสดงจานวนครัง้ ความไม่พรอ้ มใชข้ องเครื่องมือแพทย์ที่มีความเสย่ี งสูง

กราฟแสดงจานวนครัง้ ความไม่พร้อมใช้ของเคร่ืองมือ

จำนวนคร้ัง/ปี แพทยท์ ม่ี คี วามเสย่ี งสูง

5

4

3

2

10 0 0 0 0
0

เป้ำหมำย จำนวนคร้ังควำมไมพ่ ร้อมใชข้ องเคร่ืองมือแพทยท์ ี่มีควำมเสี่ยงสูง

-จากการประเมนิ ผลไม่พบจานวนครั้งความไมพ่ ร้อมใช้ของเครอื่ งมือแพทยท์ ่ีมีความเส่ียงสงู


18

13.ตารางแสดงอตั ราการตดิ เชอ้ื ในตึกผปู้ ่วยในชาย

ตัวชีว้ ดั เป้าหมาย ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565

อตั ราการตดิ เชอื้ ทกุ ตาแหน่ง <2ต่อ1000 1.22 2.84 0 0 0

วนั นอน รพ.

ตารางที่ 14 แสดงอัตราการตดิ เช้อื ในตกึ ผู้ป่วยในชาย

กราฟแสดงข้อมูลอัตราการตดิ เชอื้ ในตกึ ผู้ป่ วยใน

อตั รำร้อยละ ชาย

5

4 2.84
3
2 1.22

1 000

0

เป้ำหมำย อตั รำกำรติดเช้ือในตึกผปู้ ่ วยในชำย

จากการประเมินผลอัตราการติดเชื้อในตึกผู้ป่วยใน ในปี 2561-2562 มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้น ได้มีการทบทวนและ
พัฒนาระบบการป้องกันควบคุมการติดเช้ืออย่างจริงจังและเป็นระบบมากย่ิงขึ้น เช่นมุ่งเน้นด้าน อนามัยส่วน
บุคคล การล้างมือท่ีถูกต้องตามหลักและขั้นตอนในเจ้าหน้าท่ี การให้ความสาคัญกับทุกขั้นตอนการพยาบาล
ทาให้ในปี 2563- 2565 ไม่พบอตั ราการตดิ เชื้อในตกึ ผปู้ ว่ ยในชาย


19

14.ตารางแสดง จานวนผูป้ ่วย จานวนวันนอน การใช้เครอื่ งชว่ ยหายใจ

ตวั ชี้วัด เป้าหมาย ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565

จานวนผปู้ ว่ ย จานวนวันนอน 0 0311 0
การใชเ้ ครื่องชว่ ยหายใจ

ตารางที่ 15 แสดงจานวนผปู้ ว่ ย จานวนวันนอน การใช้เครื่องช่วยหายใจ

กราฟแสดงจานวนผู้ป่ วย จานวนวันนอน การใช้

จำนวนคร้ัง/ปี เครือ่ งช่วยหายใจ

5

43
3

2 11
10 0
0

เป้ำหมำย จำนวนจำนวนผปู้ ่ วย จำนวนวนั นอน กำรใชเ้ คร่ืองช่วยหำยใจ

จานวนผู้ป่วย จานวนวนั นอน การใชเ้ คร่ืองชว่ ยหายใจจากตาราง พบจานวนผปู้ ่วย จานวนวันนอน การใช้
เครอื่ งชว่ ยหายใจ เดอื น ปี 2561 จานวน 0 ราย ปี 2562 จานวน 3 รายและปี 2563และปี 2564จานวน 1
ราย


20

15.ตารางแสดงจานวนครงั้ การเกดิ ความผดิ พลาดจากการส่ง specimen

ตวั ชีว้ ัด เป้าหมาย ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565

จานวนครั้งการเกดิ 0 00040

ความผิดพลาดจากการ

สง่ specimen

ตารางที่ 16 แสดงจานวนครัง้ การเกดิ ความผดิ พลาดจากการสง่ specimen

กราฟแสดงจานวนครัง้ การเกดิ ความผิดพลาดจากการ

จำนวนคร้ัง/ปี ส่ง specimen
0
5
4

3
2

10 0 0 0
0

เป้ำหมำย จำนวนคร้ังกำรเกิดควำมผดิ พลำดจำกกำรส่ง specimen

จากการประเมนิ ผล ปี 2560-2563 ไมพ่ บจานวนครัง้ ความผิดพลาดจาการส่ง specimen
ปี 2564 จานวนครั้งการเกดิ ความผิดพลาดจากการเกบ็ specimen 4 ครั้ง
ซ่ึงแต่ละครั้งที่พบอุบัติการณ์ก็ได้นามา ทบทวนในทีม พร้อมทั้งหาสาเหตุความผิดพลาดและดาเนินการ หา
แนวทางแก้ไข ทาให้ใน ปี 2565 ไมพ่ บอุบตั ิการณ์ความผดิ พลาดจากการสง่ specimen


21

16.ตารางแสดงระยะเวลาการรายงานคา่ Labวิกฤต

ตวั ชว้ี ัด เปา้ หมาย ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565

ระยะเวลากา <5 2.3 2.0 1.5 1.3 1.1

รายงาน

ค่าLabวิกฤต(นาที)

ตารางท่ี 17 แสดงระยะเวลาการรายงานคา่ Labวกิ ฤต

กราฟแสดงระยะเวลาการรายงานค่าLabวกิ ฤต

จำนวนคร้ัง/ปี
10
9 2.3 2 1.5 1.3 1.2
78
6
5
4
3
2
1
0

เป้ำหมำย ระยะเวลำกำรรำยงำนค่ำLabวกิ ฤต

จากการประเมนิ ผลระยะเวลารายงานคา่ Labวกิ ฤต ผา่ นเกณฑ์เปา้ หมายทกี่ าหนด


22

17.ตารางแสดงข้อมูลจานวนครั้งการปฏเิ สธการรักษา/การส่งต่อ/การขอย้าย

ตวั ชี้วดั เป้าหมาย ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565

จานวนครั้งการปฏิเสธ 0 24/87/0 34/109/2 39/116/1 48/152/0 22/62/0
/ส่งตอ่ /การขอย้าย

ตารางท่ี 18 แสดงขอ้ มลู จานวนครัง้ การปฏเิ สธการรักษา/การสง่ ต่อ/การขอยา้ ย

กราฟแสดงจานวนครั้งการปฏเิ สธการรักษา/การส่งต่อ/การขอ

จำนวนคร้ัง/ปี ย้าย

160 152
140

120 116

100 ปฎิเสธการรกั ษา
80
60 การสง่ ต่อ
39 48
40 การขอยา้ ย

20 เปา้ หมาย

00

จากการประเมนิ ผล จานวนครง้ั การปฏเิ สธการรักษา/การส่งตอ่ /การขอย้าย จานวนครงั้ การปฏิเสธการรกั ษา
มแี นวโน้มเพ่มิ ขึ้นตามลาดับ เน่ืองจากต้องการกลบั ไปทาพธิ ีท่ีบ้านตามความเช่ือและตอ้ งการไปตรวจท่ี
โรงพยาบาลอืน่


23

18.ตารางแสดงจานวนอุบัติการณ์การพลดั ตกหกลม้ ในตึกผู้ปว่ ยชาย

ตัวชวี้ ัด เป้าหมาย ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565

จานวนอบุ ตั กิ ารณก์ ารพลดั ตก 0 14430
หกล้มในตึกผู้ปว่ ยชาย

ตารางที่ 19 แสดงจานวนอบุ ัติการณ์การพลัดตกหกลม้ ในตึกผปู้ ว่ ยชาย

กราฟแสดงจานวนอุบัตกิ ารณก์ ารพลัดตกหกล้มในตึก

จำนวนคร้ัง/ปี ผู้ป่ วยชาย

10 44
9 3
8
7 1 0
6
5
4
3
12
0

เป้ำหมำย จำนวนอุบตั ิกำรณ์กำรพลดั ตกหกลม้ ในตึกผปู้ ่ วยชำย

จากการประเมินผล จานวนอบุ ัติการณ์เกิดการพลัดตกหกล้มของผูใ้ ช้บรกิ ารในโรงพยาบาล ปี 2562-2563
เกิดขึ้น ปีละ4 ครง้ั ซึ่งได้มีการทบทวนทุกคร้ัง พร้อมจัดทาแนวทางและปฏิบัติตามแนวทางอยา่ งเคร่งครัด
กระตุ้นให้บิดามารดาให้ความสาคัญในการดูแลบุตรขณะอยู่โรงพยาบาลอย่างปลอดภัย ทาให้ปี 2564
อบุ ัตกิ ารณ์พลัดตกหกล้มลดลงเหลอื 3 ครั้ง และไมพ่ บอบุ ตั ิการณ์พลัดตกหกลม้ ในปี 2565


24

19.ตารางแสดงอัตราตราการเกดิ แผลกดทับของผ้ปู ว่ ยท่ีนอนโรงพยาบาล

ตัวช้วี ัด เปา้ หมาย ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565

อตั ราการเกิดแผลกดทบั <2ตอ่ 1000 0 3 1 5.2 0

ของผู้ปว่ ยทีน่ อนโรงพยาบาล วันนอน รพ

ตารางที่ 20 แสดงอัตราตราการเกดิ แผลกดทบั ของผปู้ ว่ ยท่ีนอนโรงพยาบาล

กราฟแสดงข้อมลู อัตราการการเกดิ แผลกดทบั ของผปู้ ่ วยทน่ี อน

อตั รำร้อยละ โรงพยาบาล

7 5.2
6 3
5
4 0 0
3
2
1
0

เป้ำหมำย อตั รำกำรเกิดแผลกดทบั ของผปู้ ่ วยที่นอนโรงพยำบำล

จากการดาเนนิ งาน ในปี 2564 พบอัตราการเกดิ แผลกดทับของผูป้ ่วยขณะนอนโรงพยาบาล สงู ถึง 5.2 จึงไดม้ ี
การทบทวนในทีม พร้อมจดั ทาแนวทาง ประเมิน barden scale เพ่ือใช้เปน็ แบบประเมินความเสย่ี งของการ
เกดิ แผลกดทับ และให้การพยาบาลตามความเส่ียงน้นั ๆ ทาใหใ้ นปี 2565 ไม่พบอัตราการเกิดแผลกดทับของ
ผูป้ ่วยขณะนอนโรงพยาบาล


25

20.ตารางแสดงจานวนอบุ ตั กิ ารณผ์ ปู้ ่วยบาดเจบ็ จากการจัดทา่ การผกู ยึด การใชอ้ ุปกรณ์และเครื่องมอื

ตวั ชวี้ ัด เป้าหมาย ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565

.จานวนอุบตั ิการณ์ผู้ป่วย 0 1200 0

บาดเจ็บจากการจดั ท่า การ

ผูกยดึ การใช้อปุ กรณ์และ

เครื่องมือ

ตารางที่ 21 แสดงจานวนอุบัตกิ ารณผ์ ู้ป่วยบาดเจบ็ จากการจัดทา่ การผกู ยึด การใชอ้ ปุ กรณ์และเคร่อื งมือ

กราฟแสดงจานวนอุบตั กิ ารณผ์ ู้ป่ วยบาดเจบ็ จากการจัดทา่

จำนวนคร้ัง/ปี การผูกยดึ การใช้อุปกรณแ์ ละเครือ่ งมอื

10
9
8
7
6
5
4
3 2
2 1
0 0 0
1
0

จำนวนอบุ ตั ิกำรณ์ผปู้ ่ วยบำดเจบ็ จำกกำรจดั ท่ำ กำรผกู ยดึ กำรใชอ้ ปุ กรณ์และ
เคร่ืองมือ

จากการประเมินผลจานวนอุบัติการณ์ ผู้ป่วยท่ีได้รับการบาดเจ็บจากการผูกยึด ปี 2561-2562 พบ3ราย เป็น
ผู้ปว่ ยพษิ สรุ าเรื้อรังทมี่ กี ารผูกยึดผู้ปว่ ยไวก้ ับเตียงเป็นเวลามากวา่ 3 วัน ได้ทบทวนและหาแนวทางในการแกไ้ ข
ปัญหา ซง่ึ ในปี 2563 -ปี2565 ไม่พบผปู้ ว่ ยทไ่ี ด้รบั การบาดเจบ็ จากการผกู ยึด


26

21.ตารางแสดงจานวนอบุ ตั ิการณ์การเกิดความผิดพลาดจากการให้เลือดและส่วนประกอบของเลอื ด

ตัวชีว้ ดั เป้าหมาย ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565

จานวนอุบตั กิ ารณ์การเกิด 0 0 0 0 0 0
ความผิดพลาด
จากการให้เลอื ดและ
ส่วนประกอบของเลือด

ตารางที่ 22 แสดงจานวนอบุ ตั ิการณก์ ารเกดิ ความผดิ พลาดจากการให้เลือดและสว่ นประกอบของเลอื ด

กราฟแสดงจานวนอุบตั กิ ารณก์ ารเกดิ ความผิดพลาดจาก

จำนวนคร้ัง/ปี การใหเ้ ลือดและส่วนประกอบของเลอื ด

10
9
8
7
6
5
4
3
2
1 0 0 0 0 0

0

จำนวนอบุ ตั ิกำรณ์กำรเกิดควำมผดิ พลำดจำกกำรใหเ้ ลือดและส่วนประกอบของเลือด
เป้ำหมำย

จากการประเมนิ ผล ไม่พบจานวนอบุ ัติการณ์การเกดิ ความผดิ พลาดจากการให้เลอื ดและสว่ นประกอบ
ของเลือด


27

22.ตารางจานวนครงั้ การหลบหนีออกจากโรงพยาบาล

ตวั ช้วี ดั เป้าหมาย ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2565 ปี 2565

จานวนครงั้ การหลบหนี 0 0323 2
ออกจากโรงพยาบาล

ตารางท่ี 23 จานวนครงั้ การหลบหนอี อกจากโรงพยาบาล

กราฟแสดงจานวนครั้งการหลบหนีออกจากโรงพยาบาล

จำนวนคร้ัง/ปี

10
9
8
7
6
5
4 33
3 22

2 0
1
0

เป้ำหมำย จำนวนคร้ังกำรหลบหนีออกจำกโรงพยำบำล

จากการทบทวน ผ้ปู ่วยที่หนีออกจาก พบว่าเกิดจากผปู้ ว่ ยและญาติต้องการกลับบา้ นเพื่อไปทาพธิ ี
และไปตรวจ โรงพยาบาลอน่ื ซง่ึ ไดแ้ จ้งแพทยเ์ จ้าของไข้แลว้ แพทยต์ ้องการใหผ้ ้ปู ่วยอย่ตู ่อ
แนวทางดาเนนิ การแก้ไข ไดต้ ิดตงั้ ประตู มเี จ้าหนา้ ทีใ่ นเวรเปดิ ปิด ประตู ตามกาหนดเวลา
เนน้ ย้าเรือ่ งการสงั เกตพฤติกรรม ของผู้ป่วยท่ีมีแนวโนม้ หลบหนี และเฝา้ ระวังอยา่ งใกลช้ ิด


28

23.ตารางแสดงอตั ราการเกดิ หลอดเลอื ดดาอักเสบจากการให้ยา สารนา้

ตัวช้วี ดั เป้าหมาย ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565

อตั ราการเกดิ หลอดเลือดดา < 5 ตอ่ 100วนั 2.03 0.39 2.59 0.95 1.21
อกั เสบจากการให้ยาและสาร นอน รพ
นา้

ตารางท่ี 24 แสดงอัตราการเกดิ หลอดเลือดดาอักเสบจากการให้ยา สารน้า

กราฟแสดงข้อมูลอัตราการเกดิ หลอดเลอื ดดาอักเสบจาก

อตั รำร้อยละ การใหย้ า สารนา้

10

8

6

4 2.03 2.59
2
0.39 0.95 1.21

0

เป้ำหมำย อตั รำกำรเกิดหลอดเลือดดำอกั เสบจำกกำรใหย้ ำ สำรน้ำ

จากตาราง อตั ราการเกดิ หลอดเลือดดาอักเสบจากการให้ยา สารน้า ใน ปี 2561และ ปี 2563 มี
แนวโนม้ เพ่ิมขึ้น เปน็ 2.03 และ 2.59 ตามลาดับ ได้มกี ารทบทวน และหาแนวทาง ให้เจา้ หนา้ ทีต่ ระหนักและ
ปฏบิ ัตติ ามแนวทางการพยาบาลเพือ่ ป้องกนั การเกิด Phlebitis อย่างเครง่ ครัด โดยมีการ round IVF โดย
พยาบาล Tx 1 ทุกเวร พร้อมท้ังมีการประเมินการอกั เสบของหลอดเลือดดาทุกเวร มกี ารเปลยี่ นตาแหนง่ ON
IVF ทุก 4 วนั หรือเมือ่ พบการรั่วซมึ หรือมีอากรอักเสบของหลอดเลือดดา ทาใหใ้ น ปี 2564และป2ี 565 มีอัตรา
การอักเสบของหลอดเลือดดาลดลงตามลาดับ


29

กิจกรรมคุณภาพ (พฒั นาต่อเน่ือง)
จากอบุ ตั กิ ารณ์การการพลัดตกหกล้มผู้ใชบ้ ริการในตึกชาย ปี 2562 และปี 2563 รวมจานวน 8 คร้งั ทาง

ตึกผู้ป่วยในตระหนักถึงความสาคัญของปญั หาดังกล่าว ได้ทบทวนและจดั หาแนวทางป้องกันรว่ มกบั ทีม
วธิ ดี าเนินงาน
1. ประชมุ ชี้แจง วเิ คราะหป์ ัญหาที่เกดิ ขน้ึ กบั เจ้าหน้าท่ใี นตึก
2 .ได้จดั ทาเคร่ืองและป้ายหา้ มนั่งและนอนเตียงผ้ปู ่วยมาติดไว้ หลงั จากทาความสะอาดเตียงผ้ปู ว่ ยเสรจ็

(รปู ท่ี 1 แสดงเคร่ืองและปา้ ยห้ามนง่ั และนอนเตียงผู้ป่วย)

3 .ติดปา้ ยเตอื นให้ยกไม้กนั้ เตียงทุกครั้งทีม่ ผี ู้ปว่ ยอยูบ่ นเตียง

(รูปที่ 2 แสดงป้ายยกไม้กน้ั เตยี งทกุ ครง้ั เม่อื มผี ปู้ ว่ ย)


30

4. จดั ทาแนวทางการเฝา้ ระวงั การพลัดตกหกล้มในโรงพยาบาล ตดิ ท่เี ตียงทุกเตยี ง

(รูปที่ 3 แสดงปา้ ยแนวทางการเฝา้ ระวังการพลดั ตกหกล้มในโรงพยาบาล)

5. จดั ทาผ้ากนั้ เตยี งสาหรบั ผู้ป่วยเดก็ เพ่ือปอ้ งกันการตกเตียง

(รปู ที่ 4 แสดงการจดั ทาผา้ กนั้ เตียงสาหรับผปู้ ว่ ยเด็กเพอ่ื ป้องกนั การตกเตยี ง)


31

6. เพิ่มการบนั ทึก fall score ในฟอรม์ ปรอท โดยใชเ้ ครื่องมือประเมนิ ความเสีย่ งต่อการพลัดตกหกล้ม Morse
ประเมินผู้ใหญ่อายุ 13 ปขี ึน้ ไป และเคร่ืองมือประเมินการพลัดตกหกล้ม The Humpty Dumpty Scale
ประเมนิ ผู้ปว่ ยเดก็ อายุ0-13ปี ซ่ึงหากประเมนิ แลว้ มคี วามเสยี่ งใหป้ ระเมนิ ทกุ เวร หรือเม่ือมีอาการ
เปลีย่ นแปลง

(รปู ที่ 5 แสดงเครื่องมอื ประเมนิ ความเสย่ี งตอ่ การพลดั ตกหกล้ม)

หลังจากที่ได้ดาเนนิ การในปี 2564 ยังพบอบุ ัติการณ์ผูใ้ ชบ้ ริการพลดั ตกหกลม้ ลดลงเหลือ 3 ครง้ั จากการ
ทบทวน พบวา่ เจา้ หนา้ ท่ีในตึก ปฏิบตั ติ าม แนวทางการปอ้ งกันการพลัดตกหกล้มในโรงพยาบาลอย่างเคร่งครัด
สาเหตุเกดิ จากท่ี บดิ า มารดา ละเลยเด็ก ปล่อยเด็กตามลาพงั จึงทาให้เกดิ เหตุการณ์ตกเตยี งดังกล่าว จึงได้มี
การประชุมแนวทางแก้ไขอีกครัง้
ได้มแี นวทางเพ่ิมจากแนวทางเดิมคือ
1.เพมิ่ ผา้ ก้นั เตยี งท่ีราวกนั้ ทัง้ 2 ขา้ ง ในผ้ปู ่วยเด็ก
2.กระตนุ้ ให้บดิ ามารดา ตระหนกั และ ไมป่ ล่อยให้เด็กอยบู่ นเตยี งโดยลาพัง
3.เปลย่ี นเป็นเตียงพับท่ีมีขนาดสูงไมม่ าก หากพบคะแนน fall sore อยใู่ นระดบั สงู ทงั้ ผู้ป่วยผใู้ หญแ่ ละเดก็
3.ในอนาคต อาจมจี ัดซือ้ เตียงเด็กสาหรบั ผูป้ ่วยเด็ก โดยตรง
หลังจากการดาเนินการตามแนวทางอยา่ งเคร่งครัด ในปี 2565 ไม่พบอบุ ัตกิ ารณพ์ ลัดตกหกลม้


32

-กิจกรรม 5ส.


33


34

-ประชุม/ทบทวนเคส


35

-สวสั ดปี ใี หม่แตล่ ะฝาย


36

-ใหส้ ุขศกึ ษา ทา้ ยเตยี ง


37

-อบรม HAD

-ฉีดวัคซนี ไขห้ วดั ใหญป่ ระจาปี


38

-จัดบอร์ดความรู้ แผ่นพับให้ความรู้


39

-แผนพฒั นา


รายงานสรุปผลการดาเนนิ งานกลมุ่ การพยาบาล
โรงพยาบาลอมก๋อย ปงี บประมาณ 2565

ผู้จดั ทา
แผนก หน่วยจ่ายกลาง
กลมุ่ การพยาบาล โรงพยาบาลอมก๋อย
จงั หวัดเชียงใหม่ 2565




คานา

รายงานสรุปผลการดาเนินงาน แผนกหน่วยจ่ายกลาง ฉบับนี้จัดทาขึ้นเพ่ือสรุปผลการดาเนินงานประจาปี
งบประมาณ 2565 ของแผนกหน่วยจ่ายกลาง โรงพยาบาลอมก๋อย เพื่อนาผลที่ได้จากการรายงานไปใช้เป็นข้อมูล
สาหรบั หนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้องในการวางแผนพฒั นาการดาเนินงานใหม้ ีประสิทธิภาพและประสิทธผิ ลมากข้ึน

ในโอกาสนี้ คณะผู้จัดทาขอขอบคุณบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานทุกท่าน ที่ให้ความร่วมมือทาให้
การดาเนินงานบรรลผุ ลตามเป้าหมายทีก่ าหนดเป็นอย่างดี

หน่วยจ่ายกลาง
ตุลาคม 2565


Click to View FlipBook Version