16
อัตราการตดิ เชื้อในโรงพยาบาลตึกผปู้ ว่ ยในหญิงปงี บประมาณ 2561-2565
อตั ราการติดเช้ือในโรงพยาบาลตึกผปู้ ่ วยในหญิงปี งบประมาณ 2561-2565
12
10 10 10 10 10
10
8 Interven
6 tion
4 3.5
4.5
2 2562 0.92 0 0
2563 2564 2565
0
2561
อตั ราการติดเชือ้ ในโรงพยาบาล เปา้ หมาย/1000 วนั นอน
แผนภูมิท่ี 3: แสดงอตั ราการติดเชอ้ื ในโรงพยาบาลตกึ ผู้ป่วยในหญิงปงี บประมาณ 2561-2565
จากข้อมลู การเฝา้ ระวังในปีงบประมาณ 2562 พบการติดเชอ้ื ในโรงพยาบาล เป็นร้อยละ 4.5 เปน็ การติดเช้ือ
ปอดอกั เสบจากการนอนโรงพยาบาลนาน (HAP) หน่วยงานร่วมกบั ทีม IC ทำการทบทวนถงึ สาเหตุการเกิดการติดเชื้อ
และดำเนนิ การแก้ไข โดยสนับสนนุ ให้มีการใช้ Care Bundle HAP ในการดแู ลผปู้ ว่ ยท่ีมคี วามเสี่ยงตอ่ การตดิ เชือ้
ปงี บประมาณ 2564 และ งบประมาณ 2565 ไมพ่ บการตดิ เชื้อในโรงพยาบาล ท้ังนี้หนว่ ยงานยงั เฝา้ ระวังการติด
เชื้อใน เรื่อง CA-UTI Phlebitis EPIS Omphalitis ทบทวนการปฏิบัติงานเป็นประจำ และปฏิบัติตาม Standard
Precautions
17
รูปภาพที่ 1 : แสดง HAP care bundle
18
5.4 อตั ราการเกิดหลอดเลือดดำอกั เสบ ปีงบประมาณ 2565
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. รวม
จำนวนครงั้ การเกิด 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 2 1 3
หลอดเลือดดำอกั เสบ
จำนวนวนั นอนผปู้ ่วย 205 219 184 100 165 143 131 228 209 263 294 302 2141
ทเี่ ปดิ เส้นเลอื ดดำ
ทงั้ หมด
อัตราการเกดิ หลอด 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 6.80 3.31 1.23
เลอื ดดำอักเสบจาก
การให้สารนำ้ และยา
ตารางที่ 10: แสดงอตั ราการเกิดหลอดเลือดดำอักเสบผู้ป่วยในหญิง ปี 2565
จากข้อมูลพบอตั ราการเกิดหลอดเลือดดำอักเสบจากการใหส้ ารนำ้ และยาจำนวน 3 ราย จากการทบทวนพบ
เป็นการเกิดของการอักเสบในระดับที่ 1 จำนวน 2 ราย จากการ round IV ทุกเวรทำให้สามารถให้การพยาบาลได้
ทันท่วงที ผู้ป่วยได้รับยาปฏิชีวนะร่วมด้วยพิจารณาร่วมกับ PTC และแพทย์ผู้ดูแลพบว่าน่าจะเกิดจาก Chemical
Phlebitis
เดือนกันยายน 2565 พบการเกิดหลอดเลือดดำอักเสบจากการให้สารน้ำและยา 1 ราย จากการทบทวน พบ
การเกิด Extravasation มีอาการปวดแสบร้อน ผิวหนังแดง บวมบริเวณทีฉ่ ดี จากการทบทวนพบเกดิ ความเข้มข้นของ
ยาท่ีให้มีความเข้มข้นมากเกินไปเกิดจาก Chemical Phlebitis แนวทางการแก้ไขเบื้องต้น หากพบความผิดปกติให้
แจ้ง เภสัชกรเพือ่ ตรวจสอบซ้ำ และเปลยี่ นตำแหน่งทฉ่ี ีดโดยเรว็
รปู ท่ี 2: รูปภาพ การเกิด Extravasation จากการได้รับการ drip KCI vein และ รว่ มทบทวนในหน่วยงาน
กับเภสัชกร
19
อตั ราการเกดิ หลอดเลือดดำอักเสบผปู้ ่วยในหญิง ปีงบประมาณ 2561-2565
อัตราการเกดิ หลอดเลือดดาอกั เสบผปู้ ่วยในหญงิ ปี 2561-2565
12
10 10 10 10 10
10
8
6
4 2.92
2.12
2 1.33 1.23
0.37
0
2561 2562 2563 2564 2565
เป้าหมาย/1000 device days อัตราการเกดิ หลอดเลอื ดดาอกั เสบ
แผนภูมิท่ี 4 : แสดงอัตราการเกดิ หลอดเลือดดำอกั เสบ ผู้ป่วยในหญงิ ปีงบประมาณ 2561-2565
จากแผนภมู ิในปี 2561-2563 พบอตั ราการหลอดเลือดดำอักเสบ 2.92 2.12 และ 1.33 ต่อพันวนั คาสายทาง
หลอดเลือดดำ หน่วยงานทำการทบทวนแนวทางปฏิบตั ิ มีข้อสรปุ ดงั นี้
1. ทบทวนแนวทางปฏิบตั ิการให้สารนำ้ ทางหลอดเลือดดำ
2. กำหนดการปฏิบตั งิ านในเรือ่ ง IV-round รายวัน
3. นิเทศกำกับการปฏิบัตงิ านรายวัน โดย หวั หนา้ หนว่ ยงาน นิเทศกำกบั การปฏิบตั ิงานโดยหัวหนา้ ตึกราย
สัปดาห์
4. มี CQI เร่อื ง IV-care ในหน่วยงาน
ปี 2564-2565 พบอตั ราการเกดิ หลอดเลือดดำอักเสบ เปน็ 0.37 และ 1.23 ตามลำดับตอ่ พันวนั คาสายทาง
หลอดเลอื ดดำ ตามลำดับ จากการทบทวน พบเกิดจาก Chemical Phlebitis หน่วยงานจึงใหค้ วามสำคัญในกรณีที่
ผูป้ ่วยไดย้ าพเิ ศษ ได้แก่ Nor-E / Antibioticทกุ ชนิด / 10%D/W
ปี 2565 พบอตั ราการเกิดหลอดเลือดดำอักเสบ 1.23 จากการทบทวน พบการเกิด Extravasation มีอาการ
ปวดแสบรอ้ น ผวิ หนังแดง บวมบริเวณทีฉ่ ดี จากการทบทวนพบเกิดความเข้มขน้ ของยาท่ใี หม้ ีความเขม้ ข้นมากเกินไป
เกดิ จาก Chemical Phlebitis แนวทางการแก้ไขเบื้องตน้ หากพบความผิดปกติใหแ้ จง้ เภสัชกรเพ่ือ ตรวจสอบซ้ำ
และเปลย่ี นตำแหน่งที่ฉีดโดยเรว็
20
รปู ภาพที่ 3 ; แสดงตัวอยา่ ง การแก้ไขตาม CQI เร่ือง “ IVF care ”
21
5.5 ร้อยละการ Re admit ปีงบประมาณ 2565
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. รวม
จำนวนผู้ป่วย 187 158 175 159 134 167 157 140 171 144 190 222 2004
จำหนา่ ย 0 5 0 0 2 0 1 0 1 1 1 5 16
จำนวนครั้งการ
Re admit
ร้อยละการ 0 3.16 0 0 1.49 0 0.64 0 0.58 0.69 0.53 2.25 0.80
Re admit
ตารางท่ี 11: แสดงอตั ราการ re-admit ผู้ป่วยในหญิง ปีงบประมาณ 2565
ผูป้ ว่ ยกลับมารักษาซ้ำภายใน 28 วันโดยไม่ได้วางแผน และร้อยละการกลบั มารักษาซ้ำโดยไมไ่ ดว้ างแผน
ผปู้ ว่ ยในหญิง แยกรายเดือน ปี 2565 เปา้ หมาย < 5
กลุ่มโรคทีก่ ารกลบั มารบั การรักษาซ้ำใน 28 วันโดยไม่ได้วางแผนใน ตึกผปู้ ่วยในหญงิ ได้แก่
1. COPD จำนวน 9 ราย
2. Acute bronchitis จำนวน 4 ราย
3. Asthma จำนวน 1 ราย
4. infectious diarrhea จำนวน 1 ราย
5. seizure จำนวน 1 ราย
จากข้อมูลปงี บประมาณ 2565 พบว่าโรคท่ีผู้ปว่ ยกลบั มารักษาซ้ำภายใน 28 วนั โดยไม่ได้วางแผน ส่วนใหญ่
เปน็ โรค COPD และ กลุ่มโรคทางเดินหายใจท้ังในเด็กและผู้ใหญ่ หนว่ ยงานได้ดำเนินการในเรอ่ื งการวางแผนจำหน่าย
การใหค้ วามรู้กอ่ นกลบั บ้าน ที่สำคญั ในเร่ืองการรักษา Hygiene ส่วนบุคคล รวมถงึ การวางแผนการเยยี่ มบ้านในกลุ่ม
ผ้ปู ว่ ย COPD รว่ มกบั งาน COC
22
รอ้ ยละการ Re admit ปีงบประมาณ 2561-2565
ร้อยละการ Re admit ปีงบประมาณ 2561-2565
7
5.79
6
55555
5
4 3.74
3 2.46
1.8
2
0.99
1
0 2562 2563 2564 2565
2561
เปา้ หมาย ร้อยละ re admit
แผนภูมทิ ่ี 5 : แสดงร้อยละการกลับมารักษาซ้ำโดยไมไ่ ดว้ างแผน ผปู้ ่วยในหญิง ปีงบประมาณ 2561-2565
พบว่าปีงบประมาณ 2560-2561 ร้อยละการ re admit ผู้ป่วยในหญิง เพิ่มสูงขึ้น เป็น 2.99 5.79 ตามลำดับ
หน่วยงานจึงทบทวนสาเหตุการ re admit ของผู้ป่วย ผู้ป่วยที่กลับมารบการรักษาซ้ำส่วนใหญ่เป็นโรคทางเดินหายใจ
ได้แก่ COPD Bronchitis และ Asthma จึงมีการทำแนวทางปฏิบัติการวางแผนการจำหน่ายสำหรับผู้ป่วยทางเดิน
หายใจ ทำงานร่วมกับทมี PCT palliative care และ COC เพอ่ื ติดตามเย่ียมบ้าน วางแผนในการทำ nursing home
รว่ มกับทมี COC ในกรณผี ู้ปว่ ยที่ re-admit ซำ้ ๆ
จากข้อมูลปีงบประมาณ 2565 พบว่าโรคท่ีผู้ป่วยกลับมารักษาซ้ำภายใน 28 วันโดยไม่ได้วางแผน ส่วนใหญ่เป็น
โรค COPD และ กล่มุ โรคทางเดินหายใจทง้ั ในเดก็ และผู้ใหญ่ หน่วยงานได้ดำเนินการในเรอ่ื งการวางแผนจำหนา่ ย การ
ใหค้ วามรู้ก่อนกลบั บ้าน ท่สี ำคัญในเรื่องการรกั ษา Hygiene สว่ นบุคคล รวมถึงการวางแผนการเยยี่ มบ้านในกลมุ่ ผู้ป่วย
COPD รว่ มกับงาน COC
23
5.6 จำนวนคร้ังการรกั ษาพยาบาล ระบตุ วั ผูป้ ่วยผิดคนปีงบประมาณ 2565
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. รวม
จำนวนครั้ง 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
ระบุตัวผู้ปว่ ย
ผดิ คน
ตารางที่ 12: แสดงจำนวนครง้ั การรกั ษาพยาบาล และการระบตุ วั ผปู้ ่วยผิดคน ปีงบประมาณ 2565
จากการเฝา้ ระวงั ไม่พบรายงานการระบุตวั ผู้ป่วยผิดคน ยงั คงดำเนนิ การตดิ ตามความเสย่ี งเกี่ยวกับการระบุตวั ผู้ปว่ ย
ผิดคนอยา่ งต่อเน่ือง รวมถึงมีการนเิ ทศกำกับติดตามผปู้ ฏบิ ัตงิ านอย่างต่อเน่ือง
จำนวนครงั้ การรกั ษาพยาบาล และการระบตุ วั ผปู้ ่วยผิดคน ปีงบประมาณ 2560-2564
จานวนครั้งการรักษาพยาบาล และการระบุตัวผปู้ ว่ ยผดิ คน ปี 2561-2565
3.5 3
3
2.5
2
1.5
1
0.5 0 0 0 0 0
0
2561 2562 2563 2564 2565
เป้าหมาย จานวนครัง้ การระบตุ ัวผ้ปู ่วยผิดคน
แผนภูมทิ ี่ 6 : แสดงจำนวนครัง้ การรกั ษาพยาบาล ระบุตัวผู้ป่วยผดิ คนปีงบประมาณ 2561-2565
จากแผนภูมิ พบวา่ ปี 2561 เกดิ อบุ ัติติการณ์การระบุตวั ผู้ปว่ ยผิดคน 3 ครง้ั ได้มกี ารทบทวน พบว่า มีการส่ง
ผู้ป่วย CXR ผิดคน 1 ครั้ง และ การติดป้ายชื่อผู้ป่วยผิดคน(ทำหัตถการถูกต้อง) 2 ครั้ง หน่วยงานได้มีการวาง
แนวทางปฏบิ ตั ิการระบุ(identify) ดงั น้ี
1. ตรวจสอบปา้ ยช่ือ ทเ่ี ขียนจาก OPD ,ER .LR ทุกครง้ั ท่ีรับผู้ปว่ ย ร่วมกบั การถามช่ือ-สกุล ปลายเปิด กรณีเด็กแรก
คลอดที่ผู้ปกครองยังไม่ได้ตั้งช่ือ ให้เขียนป้ายชื่อโดยระบุ เพศและชื่อ-สกุลมารดา ตัวอย่างเช่น เด็กหญิงบุตรนาง
ก. นามสกุล มมี าก เป็นต้น
2. กรณสี ง่ ผู้ป่วยไป X- ray ต้องเชค็ ชอื่ -สกลุ และรายการท่ีแพทย์สง่ั X- ray ทกุ ครั้ง
เพิม่ เตมิ ในเร่ืองการระบุตัวตนท่สี ำคญั ได้แก่
3. การระบตุ วั ในการทำหตั ถการตา่ งๆ
24
3.1 ตรวจสอบป้ายช่ือ รว่ มกับการถามชอ่ื -สกุล ปลายเปิด กรณผี ู้ป่วยเดก็ สอบถามบิดามารดาทกุ ครั้ง
3.2 ตรวจสอบโดย Double check ทุกครัง้ ในกรณี ตอ่ ไปนี้
3.2.1 การใหย้ า HAD
3.2.2 การเจาะเลอื ดและการส่งตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัติการทุกประเภท
3.3 ตรวจสอบโดย Triple check ทุกครง้ั ในกรณี ต่อไปน้ี
3.3.1 การใหเ้ ลือดและสว่ นประกอบของเลือด
4. การตรวจสอบใบระบสุ ารนำ้ กบั แผนการรักษาทุกครง้ั ทีต่ อ้ งนำสารนำ้ ไปให้กับผู้ป่วย
5. การส่ง Lab ใหเ้ ก็บ specimen 1 คน/ 1 ครัง้ เทา่ นั้นไม่รวม tube หลายๆคน ตดิ sticker กลอ่ ง specimen โดย
ระบชุ ่ือ-สกลุ อายุ HN ส่ิงส่งตรวจใหช้ ัดเจน
หลังจากได้ดำเนินตามแนวทางดังกล่าวจะเห็นว่า ปีงบประมาณ 2562-2565 ไม่พบรายงานการ
รักษาพยาบาลระบุตัวผู้ป่วยผิดคน มีการทบทวนความเสี่ยงเกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติการระบุตัวผู้ป่วย(identify)
สมำ่ เสมอ เพื่อโอกาสการเกิดอุบัตกิ ารณ์
25
5.7 จำนวนครงั้ การเกิดความเสยี่ ง(ระดบั D ขึ้นไป)
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. รวม
ความเส่ียงท้งั หมด
ในหนว่ ยงาน 0 0 4 1 2 2 7 2 3 2 5 3 31
ความเสย่ี งทาง 0 0 2 1 2 2 3 1 2 2 3 3 21
clinic
จำนวนคร้ังการเกดิ
ความเสีย่ ง(ระดับ D 0 0 1 0 0 2 2 1 1 0 1 1 9
ข้นึ ไป)
ความเสย่ี งNon 0 0 2 0 0 0 4 1 1 0 2 0 10
clinic
ตารางท่ี 13 :แสดงจำนวนคร้ังการเกิดความเสย่ี งในหน่วยงาน ปี 2565
จากขอ้ มลู พบการรายงานความเสยี่ งทางคลินิกระดับ D จำนวน 9 คร้งั ไมพ่ บรายงานความเสี่ยงระดับ E ข้ึนไป
ในหน่วยงาน และความเสี่ยงNon clinic จำนวน 10 ครั้ง รายงานที่พบเป็นความเสี่ยงทางคลินิก เป็นเรื่อง
Medication Err. ความเสีย่ งNon clinic เป็นความไม่พรอ้ มใช้ของอปุ กรณจ์ ่ายกลาง และ การหลบหนี 2ครัง้
หน่วยงานได้มีการทบทวนเรื่อง Admin err. / ความไม่พร้อมใช้ของอุปกรณ์จากจ่ายกลาง / และการหนี
ส่งผลใหเ้ กดิ แนวทางการปฏิบัติงานในเรอ่ื ง
1. การตรวจสอบกระบวนการให้ยาทั้งหมด ร่วมกับฝ่ายเภสัชกรรม /ลดการคัดลอกยาซ้ำ / การทำ double
check /
2. เรื่องความไม่พร้อมใช้ของอุปกรณ์ มีการเช็ค double check จำนวนของที่เขียนเบิกว่าครบหรือไม่ในขณะ
จา่ ยกลางมาส่งอุปกรณ์ ในกรณีทอ่ี ปุ กรณ์มปี ัญหาไมส่ ามารถใชไ้ ด้ ไดแ้ จ้งให้ทางจา่ ยกลางทราบและแก้ปัญหา
ต่อไป
3. เนน้ ย้ำในเร่ืองการปิดประตหู น่วยงานทกุ ครัง้ / การควบคมุ การเขา้ ออกอาคารอย่างเข้มงวด
26
จานวนครั้งการเกิดความเสย่ี ง ปงี บประมาณ 2561-2564
60 57
50
40
30 27 29 27 11
22 24 10
20 16 0
3 5 2564 2565
10 2562 2563
0
0
2561
ความเสยี่ งระดบั D ขนึ ้ ไป ความเสยี่ ง clinic ความเสยี่ ง non clinic
แผนภมู ิท่ี 7 :แสดงจำนวนครงั้ การเกิดความเสยี่ ง ปงี บประมาณ 2561-2565
จากแผนภมู ิ แสดงให้เหน็ วา่ การรายงานความเสี่ยงทางคลินิกเข้าสู่ระบบลดลง non-clinic เพิ่มสงู ข้ึน วิเคราะห์
ไดว้ ่าระบบการทำงานของหน่วยงานเปน็ ไปในทางท่ีดขี ึ้น ตอ้ งเฝ้าระวงั ต่อเนือ่ งเพ่อื ปอ้ งกันการเกิดความเสี่ยงรนุ แรง
27
5.8 จำนวนครัง้ การเกดิ ความคลาดเคลอ่ื นทางยา(Administration error)
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. รวม
0 0 1 1 2 0 1 1 1 1 1 10
จำนวนคร้ังการ 0
เกิดAdmin-
errorระดับ A-D
จำนวนครัง้ การ 0 0 000 00 0 0000 0
เกดิ Admin-
errorระดับ E-I
ตารางท่ี 14 : แสดงจำนวนครงั้ การเกดิ ความคลาดเคล่ือนทางยา(Administration errorทกุ ระดับ) ปี 2565
จากตารางไม่พบการรายงานความคลาดเคล่ือนทางยาในระดับ E ข้นึ ไป พบมรี ายงานความคลาดเคลือ่ นทางยา
ระดับ A-D จำนวน 10 คร้งั แบง่ เป็น ระดบั A คร้ัง B 2 คร้ัง / ระดับ C 2 ครงั้ /ระดบั D 4 คร้งั
จำนวนครงั้ การเกดิ ความคลาดเคลือ่ นทางยา(Administration error) ปีงบประมาณ 2561-2565
35
30
30
25
20 17
15 11 10 10
10
5 0 2 0 0
0 2562 2563 2564 2565
0
2561
Administration error ระดบั ความเสย่ี ง A-D Administration error ระดบั ความเสย่ี ง E-I
แผนภูมทิ ี่ 8 : แสดงจำนวนครง้ั การเกิด Administration error ทกุ ระดับ ปีงบประมาณ 2561-2565
พบวา่ ปีงบประมาณ 2565 มีการเกดิ ความคลาดเคล่ือนทางยา (Administration error) มีจำนวน 10 ครง้ั
แบง่ เป็น ระดับ A 2 คร้งั ระดบั B 2 ครัง้ / ระดับ C 2 ครง้ั /ระดับ D 4 ครงั้ จึงไดม้ ีการทบทวนกระบวนการ
ทำงานพบวา่ ขาดการปฏิบัติตามแนวทางการปฏิบัติท่ีกำหนดไว้ จากการประชมุ หน่วยงานไดม้ าตรการในเร่ือง
28
1. กำหนดให้มีกจิ กรรมทบทวนเรอื่ งการบรหิ ารยาทุกประเภท ยา HAD รว่ มกับฝ่ายเภสชั กรรมชุมชน
2. กำหนดกจิ กรรมการปฏิบตั ิทางการพยาบาลทีช่ ดั เจน เชน่ การรับสง่ เวรโดยพรอ้ มเพรียงกัน การQuick
round ทกุ เวร (เดมิ ปฏบิ ัตใิ นเวรเช้า)
3. กำหนดการนิเทศกำกบั ตดิ ตามเรอ่ื งการบรหิ ารยาโดยหัวหนา้ หนว่ ยงาน อยา่ งชัดเจน
4. การกำหนดเร่ืองการบรหิ ารยา เปน็ specific functional competency ในการพัฒนาบคุ ลากร
รูปภาพที่ 4; แสดงการทบทวน เร่ือง Med error , Hight alert drug รว่ มกับทมี สหวิชาชีพ
29
5.9 ร้อยละความผิดพลาดจากการสง่ specimen
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. รวม
จำนวนครง้ั 0 0 1 0 0 0 1 0 0 0 0 0 2
การเกิด
ความ
ผดิ พลาด
จากการส่ง
specimen
จำนวนคร้ัง 328 372 316 190 237 286 103 328 334 882 435 393 4204
การสง่
specimen
ทง้ั หมด
รอ้ ยละการ 0.00 0.00 0.32 0.00 0.00 0.00 0.97 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.05
สง่
specimen
ผดิ พลาด
ตารางท่ี 14: แสดงจำนวนคร้งั การเกิดความผิดพลาดจากการส่ง specimen ปงี บประมาณ 2565
ปี 2565 พบความผิดพลาดจากการจัดการ specimen จำนวน 2 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 0.05 จากการ
ทบทวนพบเป็นความเสี่ยงระดับ D หน่วยงานได้ทำการทบทวนและ ปรับระบบการทำงาน ในเรื่องการปรับมาตรฐาน
เรื่องการรับ-ส่งเวร / การทำสัญลักษณ์สำหรับ lab ที่แพทย์สั่งล่วงหน้า / การสอบถามชื่อ-สกุล ทุกครั้งเมื่อต้องเจาะ
เลือด
30
รอ้ ยละความผิดพลาดจากการสง่ specimen ปงี บประมาณ 2561-2565
1.2
11111
1
0.8
0.6
0.4
0.2
0.04 0 0.06 0.05
0
0
2561 2562 2563 2564 2565
เป้าหมาย รอ้ ยละความผดิ พลาดจากการสง่ specimen
แผนภูมทิ ่ี 9 :แสดงจำนวนครง้ั การเกดิ ความผิดพลาดจากการสง่ specimen ปีงบประมาณ 2561-2564
ปี 2565 พบการรายงานความผิดพลาดจากการส่ง lab เพิ่มสูงขึ้น ได้ปรับกิจกรรมการปฏิบัติงานตาม
รายละเอยี ดในหวั ขอ้ ที่ 5.9 และ ทบทวนการปฏบิ ัติงานอย่างสม่ำเสมอ เพม่ิ การนเิ ทศกำกบั ติดตาม
31
5.10 อัตราการเกดิ แผลกดทับของผปู้ ว่ ยทนี่ อนโรงพยาบาล
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. รวม
จำนวนครง้ั ผู้ป่วยเกดิ 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
แผลกดทับ
จำนวนวนั นอนรวม 24 20 10 15 24 23 12 31 12 9 42 46 268
ของผูป้ ว่ ย Barden 0 00 000
score
<16
อัตราการเกดิ แผลกด 0 0 0 0 0 0 0
ทบั
ตารางท่ี 15 : อัตราการเกิดแผลกดทับของผู้ปว่ ยท่ีนอนโรงพยาบาล ปี 2565
ปี 2565 ไมพ่ บรายงานการเกิดแผลกดทบั
อตั ราการเกิดแผลกดทับของผูป้ ่วยท่นี อนโรงพยาบาล 10
12
10 10 10 10
10
8
6
4
2
0 0.05 0.73 0.65 1.09
0
2561 2562 2563 2564 2565
เป้าหมาย/1000วันนอน อัตราการเกดิ แผลกดทับ
แผนภมู ทิ ่ี 10 : แสดงอตั ราการเกิดแผลกดทบั ของผปู้ ่วยทีน่ อนโรงพยาบาล ปี 2561-2565
จากข้อมูลพบว่า ปี 2564 พบ อัตราการเกิดแผลกดทับ คิดเป็นร้อยละ 1.09 ได้มีการทบทวนเป็นกรณีศึกษา
และได้เกิด กระบวนการดแู ลผู้ปว่ ย
1. ผู้ปว่ ยแรกรบั ทกุ รายตอ้ งไดร้ บั การประเมนิ Barden score เพื่อประเมนิ ความเส่ียงทีจ่ ะเกดิ ข้ึน
2. ผู้ป่วย ที่มีคะแนน Barden score <16 มีโอกาสที่เกิดแผลกดทับได้ง่าย จากการทบทวนพบว่า ผู้ป่วยส่วน
ใหญ่ทมี่ คี ะแนน Barden score <16 เปน็ กลุ่มผสู้ ูงอายุ และผู้ป่วยโรคเรือ้ รัง้
32
3. ดแู ลให้การพยาบาลตามมาตรฐานวชิ าชีพ โดยดำเนินการดงั นี้
- พลกิ ตะแคงตวั ทุก 2 ช่ัวโมง ในกรณที ี่ผู้ป่วยชว่ ยเหลือตวั เองได้ กระตนุ้ ambulate
- จัดทา่ นอน ศีรษะสงู 45 องศา โดยเฉพาะหลงั รบั ประทานอาหาร เพอ่ื ปอ้ งกนั การเกดิ Pneumonia
- ดูแล complete bed bath ทุกวัน เพราะการทำความสะอาดร่างกาย เป็นลดการสะสมของเชื้อโรคใน
รา่ งกาย
4. ใสเ่ ตียงลมใหผ้ ู้ป่วย ท่ีมคี ะแนน Barden score <16
จากข้อมูลปี 2565 ไม่พบผู้ป่วยที่มีแผลกดทับซึงมีแนวโน้มลดลงจากปี 2564 แต่ยังจำเป็นต้องให้การ
พยาบาลตามมาตรฐานการพยาบาล และ มีการประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดตาม Barden score ตามมาตรฐาน
ต่อไป
33
5.11. จำนวนครงั้ ผู้ปว่ ยหลบหนจี ากโรงพยาบาล
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. รวม
จำนวนคร้ัง 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 2 2
ผู้ป่วย
หลบหนจี าก
โรงพยาบาล
ตารางท่ี 16 : แสดงจำนวนคร้งั ผ้ปู ว่ ยหลบหนจี ากโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2565
จานวนครงั้ ผูป้ ่วยหลบหนจี ากโรงพยาบาลปี 2561-2565
10 7
52 0 1 2
00 0 00 0
2561
2562 2563 2564 2565
เปา้ หมาย จานวนท่ีผปู้ ว่ ยทีห่ ลบหนี
แผนภมู ทิ ี่ 11 : แสดงจำนวนคร้งั ผปู้ ่วยหลบหนีจากโรงพยาบาล ปงี บประมาณ 2551-2565
ปี 2565 มีผู้ป่วยหลบหนีจากหอผู้ป่วยในหญิง 2 ราย จากการทบทวนพบว่าผู้ป่วยออกจากอาคาร
พรอ้ มกับเจ้าหน้าท่ฝี า่ ยอ่นื ท่ีมาติดตอ่ ประสานงาน ดำเนินการแกไ้ ขดังน้ี
1. เนน้ ยำ้ ในเรื่องการปดิ ประตูหนว่ ยงานทุกครั้ง / การควบคมุ การเข้าออกอาคารอย่างเข้มงวด
2. ตดิ ต่อประสานเจา้ หนา้ ที่ รพ.สต. เพ่อื ติดตามอาการผปู้ ่วย
3. ประสานหอ้ งยาเพ่อื นำยา Home med ให้แก่ผ้ปู ว่ ยโดยผา่ นทมี เยีย่ มบ้านหรอื เจ้าหน้าที่ รพ.สต.
4. หากประเมินได้ว่าผู้ป่วย มีความเสี่ยงที่จะหลบหนี หัวหน้าเวรตอ้ งอธิบายถึงความสำคัญของการพักรักษาตวั
ในโรงพยาบาล หากผู้ป่วยยืนยนั ทีจ่ ะกลบั บ้านใหแ้ จ้งให้ แพทยเ์ จ้าของไขท้ ราบ และดำเนินการแก้ไขต่อไป
5. ทบทวนเรอ่ื งการจดั การเอกสาร กรณีมผี ปู้ ว่ ยหลบหนี
6. การนิเทศกำกบั ตดิ ตามการปฏิบตั งิ านตามแนวทางท่ีกำหนด
34
5.12. จำนวนครั้งการเกดิ ความผดิ พลาดจากการใหเ้ ลือดปีงบประมาณ 2565
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. รวม
จำนวนครั้งการ 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
เกดิ ความ
ผิดพลาดจาก
การให้เลือด
ตารางที่ 17: แสดงจำนวนครง้ั การเกิดความผิดพลาดจากการให้เลอื ดปีงบประมาณ 2565
ปงี บประมาณ 2565 ไม่พบความผิดพลาดจากการให้เลือด
จำนวนคร้ังการเกิดความผิดพลาดจากการใหเ้ ลอื ดปีงบประมาณ 2561-2565
1.2 1
1
0.8
0.6
0.4
0.2 0 0 0 0 0
0
2561 2562 2563 2564 2565
เป้าหมาย จานวนครงั้ การเกิดความผิดพลาดจากการให้เลอื ด
แผนภมู ิที่ 12: แสดงจำนวนครัง้ การเกดิ ความผดิ พลาดจากการใหเ้ ลือดปีงบประมาณ 2561-2565
ปีงบประมาณ 2561 พบความผิดพลาดจากการให้เลือด 1 ครั้ง จากการทบทวนพบว่าเกิดความผิดพลาด
ของการเขยี นหมายเลขถุง ซึง่ สามารถตรวจสอบได้ก่อนให้ผปู้ ่วย และติดตามปงี บประมาณ 2562-2565 ไม่พบการเกิด
ความผิดพลาดจากการให้เลือด การใช้กระบวนการ Triple check ในการดำเนินงานจึงเป็นประโยชน์ และสำคัญใน
การลดอบุ ตั ิการณ์
35
5.13 จำนวนคร้งั ผู้ปว่ ยพลัดตกหกลม้ ปีงบประมาณ 2565
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. รวม
จำนวนครง้ั 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
ผปู้ ว่ ยพลัดตก
หกลม้
ตารางท่ี 18: แสดงจำนวนครั้งผปู้ ่วยพลดั ตกหกล้มปี 2565
จากตารางไม่พบรายงานการพลดั ตกหกลม้ ในหน่วยงาน ยังคงมาตรฐานการพยาบาลในเรอื่ งการปอ้ งกนั การตก
เตยี ง การประเมนิ fall score ในผปู้ ่วยทกุ รายเพื่อประเมินความเส่ยี ง
จำนวนคร้ังผปู้ ่วยพลัดตกหกล้ม ปีงบประมาณ 2565
จานวนครง้ั ผปู้ ว่ ยพลัดตกหกลม้ ปีงบประมาณ 2561 - 2565
2.5
2
2
1.5
1
1
0.5
00000
0
2561 2562 2563 2564 2565
เปา้ หมาย จานวนครงั้ การเกิดพลดั ตกหกล้ม
แผนภูมทิ ่ี 13: แสดงจำนวนครง้ั ผู้ปว่ ยพลัดตกหกล้ม ปงี บประมาณ 2551-2565
ปี 2561 และ 2563 พบรายงานการพลัดตกหกล้ม จำนวน 2 และ 1 ครั้ง ตามลำดับ หน่วยงานได้ทบทวน
อบุ ัตกิ ารณแ์ ละ กำหนดแนวทางปฏบิ ตั ิ ไดแ้ ก่
1. ประเมนิ ความเสยี่ งพลัดตกหกล้มในผู้ปว่ ยทกุ ราย โดยใช้ แบบประเมนิ Mouse fall score หากพบว่ามีความ
เส่ียงให้ปฏิบัติแนวทาง
2. สำหรับเดก็ อายุ 0-12 ปีทกุ ราย ใหใ้ สผ่ ้ากนั้ เตียงเพ่อื ป้องกันการตกเตยี ง
3. การใช้เตยี งเสริม ทม่ี ขี นาดความสงู น้อยกวา่ ปกติ สำหรบั ผทู้ ี่ไมม่ ีข้อหา้ ม
4. อธบิ ายแกญ่ าติเรอื่ งการดแู ลเพือ่ ไม่ใช้เกดิ การพลัดตกหกล้ม กรณี เด็กไม่ควรทิง้ ผปู้ ่วยเด็กไว้บนเตียงลำพัง
หลังจากท่ีดำเนินการปีงบประมาณ 2564-2565 ไม่พบผ้ปู ว่ ยพลดั ตกหกล้ม
36
5.14 อัตราความสมบรู ณ์ของเวชระเบียนผปู้ ่วยใน ปีงบประมาณ 2561-2565
120 อัตราความสมบรู ณข์ องเวชระเบยี นผู้ป่วยใน ปงี บประมาณ 2561-2565
100 93.47
91.61 96.37 95.87
80
60
40
20
0
0
2561 2562 2563 2564 2565
เปา้ หมาย> 85% อัตราความสมบูรณข์ องเวชระเบียนผปู้ ว่ ยใน
แผนภูมิที่ 14: แสดงอตั ราความสมบรู ณข์ องเวชระเบียนผู้ป่วยใน ปีงบประมาณ 2561-2565
เป้าหมายอัตราความสมบูรณ์ของเวชระเบียนผู้ป่วยในมากกว่าร้อยละ 85 จากข้อมูลพบว่า ปี 2561 - 2563
ความสมบูรณ์ของเวชระเบยี น คดิ เป็นรอ้ ยละ 93.47 91.61 96.37 ตามลำดบั จงึ ได้มีการทบทวนเกีย่ วความสมบูรณ์
ของเวชระเบียน มีการแก้ไขดังน้ี
1. ปรับเปลีย่ นการบันทึกทางการพยาบาล เพื่อใหค้ รอบคลมุ ใช้หลักการ Focus charting
2. มกี ารตรวจสอบความสมบรู ณข์ องเวชระเบียนรายวัน
3. ปรับปรงุ แบบบนั ทึกรับใหม่ให้ครอบคลมุ ครบถว้ น
หลังจากได้ดำเนินการจะเห็นได้ว่า มีงบประมาณ 2564 ความสมบูรณ์ของเวชระเบียนอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคิด
เป็น ร้อยละ 95.87 สำหรับปี 2565 ยงั ไม่ไดด้ ำเนนิ การตรวจสอบความสมบูรณ์ของเวชระเบียน จะดำเนนิ การตดิ ตาม
เพื่อเขา้ สู่ระบบการตรวจสอบตอ่ ไป
37
5.15 ร้อยละการใหส้ ุขศกึ ษาแก่ผรู้ บั บริการผูป้ ว่ ยในหญิงปงี บประมาณ 2565
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. รวม
รอ้ ย 93. 96.0 93.0 93.2 97.6 94.4 92.3 102. 100. 100. 100. 100. 97.2
ละ 55 9 8 0 7 4 6 86 00 00 00 00 3
การ
ใหส้ ขุ
ศึกษา
ตารางท่ี 19 : แสดงรอ้ ยละการใหส้ ุขศกึ ษาแกผ่ ูร้ ับบริการผู้ป่วยในหญงิ
งานผปู้ ว่ ยในได้เริม่ ดำเนินการเกบ็ ข้อมูลในการให้ความรู้แกผ่ ู้ป่วยและญาติ ในปี 2563 เปา้ หมายการดำเนินงาน
ตอ้ งไมน่ อ้ ยกว่า ร้อยละ 85 ได้ผลการดำเนินงานปี 2563-2565 ได้ 91.95 93.06 และ 97.23 ตามลำดบั เพ่ือส่งเสรมิ
ใหผ้ ูป้ ่วยและญาตมิ ีความรู้ ทัศนคติ ท่ดี ใี นการดูแลสุขภาพของตนเอง
หนว่ ยงาน จำดำเนนิ การพฒั นาในเรื่อง การให้สุขศึกษารายโรค ได้แก่ หญิงหลังคลอด COPD โรคติดเชอ้ื
ทางเดนิ หายใจในเด็ก / จัดทำสอื่ การสอนในกลมุ่ รายโรค
รอ้ ยละการให้สขุ ศกึ ษา ปงี บประมาณ 2563-2564
100 97.23
98
96 93.06
94 91.95
92
90
88 85 85 85
86
84
82
80
78
2563 2564 2565
เป้าหมาย> 85% รอ้ ยละการใหส้ ุขศึกษาแกผ่ ู้รับบริการผปู้ ่วยในหญิง
แผนภมู ิท่ี 15: แสดงรอ้ ยละการให้สขุ ศึกษางานผู้ป่วยในหญิง ปีงบประมาณ 2563-2565
38
5.16 ร้อยละผู้ป่วยที่ไดร้ ับบาดเจบ็ จากการผูกยดึ ปงี บประมาณ 2565
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. รวม
จำนวนคร้ัง 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
ผปู้ ว่ ยที่
ได้รับการผูก
ยดึ
ตารางท่ี 20 : แสดงรอ้ ยละผูป้ ่วยท่ีได้รับบาดเจ็บจากการผูกยดึ ปีงบประมาณ 2565
ไม่พบผปู้ ว่ ยไดร้ ับบาดเจบ็ จากการผกู ยึด เป้าหมาย ร้อยละ 0
รอ้ ยละผู้ปว่ ยท่ีได้รับบาดเจบ็ จากการผกู ยึดปีงบประมาณ 2561-2565
70
60
60
50
40
30
20
10 0 0 0 0
2562 2563 2564 2565
0
0
2561
เปา้ หมาย ร้อยละผ้ปู ่วยเกดิ การเบาดเจ็บจากการผกู ยดึ
แผนภมู ิท่ี 16: แสดงรอ้ ยละผู้ป่วยทไ่ี ด้รับบาดเจ็บจากการผูกยึด
พบว่า ปีงบประมาณ 2561 ผู้ป่วยที่รับบาดเจบ็ จากการผูกยึด 3 ราย คิดเป็นร้อยละ 60 จึงมีการทบทวนการ
ปฏิบตั ิงาน และมแี นวทางการดำเนนิ การดังน้ี
1. ผู้ป่วยที่ได้รับการผูกยึดทุกรายต้องมีการแจ้งให้ญาติถึงความจำเป็นที่ต้องผูกยึดและต้องได้รับความยินยอมจาก
ญาติ
2. ระหว่างติดตามเยี่ยมอาการผู้ป่วย ต้องเช็คตำแหน่งที่ผูกยึดทุกครั้ง หากพบรอยช้ำหรือมีแนวโน้มที่จะเกิดการ
บาดเจ็บ ใหเ้ ปลีย่ นตำแหน่งทันที
3. เปลี่ยนตำแหน่งผูกยดึ ผปู้ ่วยทุกเวร
4. ในกรณผี ้ปู ว่ ยสงู อายุ ใหเ้ อาผ้ารองบริเวณทีผ่ ูกยึดทกุ ครง้ั
5. ตำแหน่งทผ่ี กู ยดึ ต้องแหง้ ไม่เปน็ แผล หรอื เปยี กแฉะ
จากการดำเนินการ ปงี บประมาณ 2562 ถึง 2565 ไมพ่ บผ้ปู ่วยที่ได้รบั การบาดเจ็บจากการผูกยึด
39
5.17 ร้อยละความพงึ พอใจของผูร้ บั บริการงานผู้ป่วยในหญงิ ปงี บประมาณ 2565
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. รวม
ร้อย 85.70 86.62 86.53 88.04 88.28 86.45 88.46 87.36 89.93 85.95 86.33 85.73 87.10
ละ
ความ
พงึ
พอใจ
ตารางที่ 21 : แสดงความพึงพอใจของผ้รู ับบริการงานผู้ปว่ ยใน ปี 2565
ร้อยละความพึงพอใจ ร้อยละ 87.10 อยู่ในระดับที่ดี ตามเป้าหมาย เป้าหมายการวัดความพึงพอใจ > ร้อยกว่า
ร้อยละ 80 จึงเพิ่มช่องทางการรับข้อเสนอแนะต่อการปฏิบัติงาน โดยมีระบบสแกนคิวอาร์โค๊ด เพื่อให้สะดวกแก่ การ
รับขอ้ เสนอแนะ
ภาพที่ 5 : แสดงตูร้ ับขอ้ เสนอแนะ หน้าตกึ ผูป้ ่วยหญิง และ ระบบสแกนคิวอาร์โค๊ดสำหรับผปู้ ่วย
รอ้ ยละความพงึ พอใจของผ้รู ับบริการงานผู้ปว่ ยในปี 2561 – 2565 40
88 86.91 87.1
86.09
86
84.21 83.7
84
Inter
82 ven
80 80 80 tion 80 80
80
78
76
2561 2562 2563 2564 2565
เป้าหมาย ความพึงพอใจ
แผนภูมิท่ี 17: แผนภมู แิ สดงรอ้ ยละความพึงพอใจของผู้รับบริการงานผปู้ ่วยในปี 2561 – 2565
พบว่าร้อยละความพงึ พอใจ ปงี บประมาณ 2561-2562 เป็น 84.21 และ 83.7 ตามลำดับหน่วยงานจึงได้มีการ
ทบทวนเพ่ือปรบั ปรุงบรกิ ารในหนว่ ยงานดังนี้
1. ปรบั ปรุงพฤติกรรมบริการ การส่อื สารกบั ผปู้ ่วยและญาติ
2. ปรับปรุงเร่อื งความสะอาดของสง่ิ แวดลอ้ มในหน่วยงาน
3. เพม่ิ ชอ่ งทางการแสดงความคิดเหน็ ของผู้ป่วยและญาติเพ่อื การปรบั ปรุงการบริการ
4. ทบทวนข้อเสนอแนะของผปู้ ่วยและญาติทุกเดือน เพื่อการปรบั ปรุงการบรกิ าร
หลังจากทไ่ี ด้ดำเนนิ การ ตามแนวทางดังกลา่ ว พบวา่ ร้อยละความพงึ พอใจ ปงี บประมาณ 2563 – 2565 ความ
พึงพอใจ เพ่ิมเปน็ ร้อยละ 86.09 ,86.91 และ 87.10 ตามลำดบั
41
5.18 จำนวนข้อรอ้ งเรยี นพฤตกิ รรมบรกิ าร
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
จำนวนข้อ 00 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
ร้องเรียน
พฤติกรรมบรกิ าร
ตารางที่ 22 :จำนวนข้อร้องเรียนพฤตกิ รรมบริการปี 2565
ไม่พบการร้องเรียนพฤติกรรมบรกิ าร หนว่ ยงานผู้ปว่ ยในหญงิ มีการทบทวนเร่อื งขอ้ ร้องเรียนเรื่องพฤตกิ รรม
การบรกิ ารทุกเดือนเพ่ือการปรับปรุงการบรกิ าร
จานวนขอ้ ร้องเรยี นพฤติกรรมบริการ (ครง้ั )
100% 1
50%
0% 0 2562 000
2561 2563 2564 2565
จานวนข้อรอ้ งเรียนพฤตกิ รรมบรกิ าร (ครงั้ )
แผนภมู ิท่ี 18 : แผนภูมิแสดงจำนวนข้อร้องเรยี นพฤตกิ รรมบรกิ าร
จากแผนภูมิพบว่า ปีงบประมาณ 2562 พบข้อร้องเรียนเกี่ยวกับพฤติกรรมบริการ 1 ครั้ง เรื่องการพูดคุย
เสียงดงั ไดม้ กี ารประชุมช้แี จงเกี่ยวกับข้อร้องเรียนทเ่ี กิดขึน้ เพื่อปรบั ปรงุ การบริการ ลดข้อร้องเรยี นเกี่ยวกับพฤติกรรม
การบริการ หลังจากดำเนินการ ปีงบประมาณ 2563-2565 ไม่พบข้อร้องเรียนเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริการ
42
5.19 รอ้ ยละหญิงหลังคลอดทเี่ ล้ียงลูกด้วยนมแม่ 6 เดือน ปงี บประมาณ 2565
ต.ค. พ.ย ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. รวม
.
ร้อยละ 93. 85. 90.9 93.3 92.5 91.1 92.6 83.7 97.3 91.6 91.8 87.2 90.7
หญิง 75 11 1 3 0 1 8 8 7 7 9 3 1
หลัง
คลอดท่ี
เลยี้ งลกู
ดว้ ยนม
แม่ครบ
6เดอื น
ตารางที่ 23 :ร้อยละหญิงหลังคลอดทเี่ ลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 6 เดอื น ปงี บประมาณ 2565
เปา้ หมายหญิงหลังคลอดเลยี้ งลกู ด้วยนมแม่ครบ 6 เดอื น > ร้อยละ 80จากตารางพบวา่ ปีงบประมาณ 2565
ร้อยละหญงิ หลังคลอดท่เี ลีย้ งลกู ด้วยนมแม่ครบ 6 เดือน เป็นร้อยละ 90.71
รอ้ ยละหญงิ หลงั คลอดทเ่ี ล้ียงลูกด้วยนมแม่ 6 เดอื น ปงี บประมาณ 2561-2565
100
80 80 80 80 80
80 84.43 90.71
60 76.27 84.88
72.76
Inter
40 ven
tion
20
0
2561 2562 2563 2564 2565
เปา้ หมาย ร้อยละหญิงหลงั คลอดเลย้ี งลูกดว้ ยนมแมค่ รบ 6 เดือน
แผนภมู ทิ ่ี 19 :แผนภมู ิแสดงรอ้ ยละหญิงหลังคลอดท่เี ล้ียงลกู ดว้ ยนมแม่ 6 เดือน ปีงบประมาณ 2561-2565
43
แสดงใหเ้ ห็นวา่ ปีงบประมาณ 2560 ไมม่ ีการติดตามเย่ียมหญิงหลังคลอดและไม่มขี ้อมลู เก่ยี วกับการเลย้ี งลกู
ด้วยนมแม่ครบ 6 เดือน จงึ ได้ดำเนินการดงั นี้
1. ให้ความรูเ้ ก่ยี วกับปฏิบัตติ ัวหลังคลอด การเล้ยี งลูกดว้ ยนมแม่ ประโยชนข์ องนมแม่ โดยดำเนินการจัดทำ
แผนการสอนหญิงหลังคลอด
2. จัดทำแบบฟอรม์ การจำหนา่ ยสำหรับหญิงหลงั คลอดและทารก ทกุ รายเพ่ือประเมนิ หลงั การสอน
3. ตดิ ตามหญิงหลงั คลอดที่เล้ยี งลูกดว้ ยนมแม่ 6 เดือน โทรศัพทต์ ามเยี่ยมทุกราย
หลงั จากท่ไี ด้ดำเนินการ พบว่า ปีงบประมาณ 2561 -2565 มีร้อยละหญงิ หลังคลอดทเี่ ลีย้ งลกู ดว้ ยนมแม่ 6
เดอื น เพ่ิมมากขน้ึ 84.43 72.76 76.27 84.88 และ 90.71 ตามลำดับ จากการวเิ คราะห์ข้อมลู การเลี้ยงลูกดว้ ย
นมแม่ครบ 6 เดือน พบวา่ หญิงหลงั คลอดเล้ยี งลูกด้วยนมแม่ครบ 6 เดือนทุกราย แต่มีการปอ้ นอาหารเสริมได้แก่ ข้าว
กล้วย ตอนอายปุ ระมาณ 3-4 เดือน
44
สรุปกิจกรรมการพยาบาลงานผูป้ ่วยในหญงิ
1.กิจกรรม 5 ส.
- กจิ กรรม 5 ส. จะมีการทำกิจกรรมทกุ บา่ ยวันพฤหสั บดีของทกุ สปั ดาห์ โดยมโี ซนรบั ผดิ ชอบของสมาชกิ ใน
หน่วยงาน
- มีการประเมินจาก ทมี คณะกรรมการ ปีงบประมาณละ 2 คร้ัง
45
รปู ท่ี 6 : แสดงภาพกจิ กรรม 5ส.
46
2.กจิ กรรมการใหส้ ุขศกึ ษา
- กจิ กรรมการใหส้ ุขศึกษาแก่ผรู้ ับบริการทกุ วนั ใหส้ ขุ ศึกษาทัง้ รายกลมุ่ และสอนแบบตัวตอ่ ตัว
- จดั บอรด์ ให้ความรูท้ ุกเดือน
- จดั มมุ ให้สขุ ศึกษา เอกสารแผ่นพบั
- ให้คำแนะก่อนกลับบา้ น
รปู ท่ี 7 : แสดงภาพกิจกรรม การให้สขุ ศึกษา
47
3.นิเทศทางการพยาบาล
- นิเทศทางการพยาบาลภายในหน่วยงานโดยหวั หน้าตกึ ทุกวนั และในเวลานอกเวลาราชการจะมีการนเิ ทศ
ติดตามโดยหวั หนา้ เวรแต่ละเวร
รปู ที่ 8 : แสดงภาพกิจกรรม การนเิ ทศกำกับติดตาม
48
4.กิจกรรม palliative care
- Family meeting
- ทำกจิ กรรมพิธีทางศาสนาอ่ืนๆ กจิ กรรมในหอผู้ป่วยในหญงิ ทกุ สัปดาห์ จะมกี จิ กรรมพูดคุยกบั ผ้รู บั บริการเพ่อื ลด
การวิตกกังวลของผูป้ ่วย ทำกิจกรรมรว่ มอฐิษฐาน แก่ผรู้ บั บรกิ าร
- เยยี่ มผู้ป่วยเพื่อตดิ ตามอาการ
รูปท่ี 9 : แสดงภาพกิจกรรม ที่เกยี่ วขอ้ งการงาน PC
49
5. กจิ กรรมคณุ ภาพ
- ทบทวนขา้ งเตยี งเกยี่ วกับดแู ลผู้ป่วย การให้การพยาบาล
- ทบทวนความเส่ยี งทกุ เดือน ทำ RCA เพ่อื หาสาเหตแุ ละแนวทางการแก้ไขปัญหา
- ทบทวนผู้ป่วยทไี่ ด้รับการสง่ ตอ่ ทุกราย เพ่ือ ทบทวนกระบวนการทำงาน
-ทบทวนผูป้ ่วยทเ่ี สยี ชีวติ ในหนว่ ยงานทุกราย
-ทบทวนการใชย้ าโดยทีมสหสาขาวชิ าชพี
รปู ท่ี 10 : แสดงภาพกจิ กรรมการทบทวนในหน่วยงาน
50
6. กิจกรรมลดพงุ ลดโรคในหน่วยงาน
จากปัญหาพบว่าบคุ ลากรตึกผู้ป่วยในหญงิ มีภาวะ BMI ผดิ ปกติดังแผนภมู ิ
แสดงร้อยละ BMI แตล่ ะระดบั ของบคุ ลากรตกึ ผ้ปู ่ วยในหญิงก่อนทากิจกรรม
45
40
35 40
30
25 26.67
20
15 20
10
5 6.67 6.67
ผอม
0
อ้วนมาก อ้วน ท้วม ปกติ
ร้ อยละ
แผนภูมิที่ 20 : แสดงร้อยละ BMI แต่ละระดบั ของบคุ ลากรตกึ ผูป้ ว่ ยในหญิงก่อนทำกิจกรรม
จากแผนภมู ิพบวา่ บุคลากรอ้วนมาก และผอม คิดเปน็ ร้อยละ 6.67 อ้วน คดิ เหน็ ร้อยละ 20 ทว้ ม คดิ เปน็ ร้อยละ
26.67 ปกติ คดิ เป็นรอ้ ยละ 40 หน่วยงานมกี ารวางแผนเพื่อสุขภาพที่ดีและพร้อมปฏิบตั ิงานของบคุ ลากรต้องทำการ
ลดBMI ภายใน 4 เดือน โดยใหม้ กี ารจัดกิจกรรม
1. IF เพื่อทำความการควบคมุ อาหาร
2. ออกกำลังกายเพอื่ สุขภาพทแ่ี ข็งแรง
3. งดหวาน มัน แปง้
หลังทำกิจกรรมภายใน 4 เดอื น วัดผลการเปลี่ยนแปลงทั้งเรื่อง BMI และรอบเอว ดังน้ี
51
แสดงร้อยละ BMI ของบคุ ลากรตกึ ผ้ปู ่ วยในหญิง เปรียบเทียบก่อนหลงั ทากิจกรรม
45 26.67 26.67 20 40 40 6.67 6.64
40 13.34
35 อ้วน ปกติ ผอม
30 ท้วม
25
20
15
10
5 6.67 6.67
0
อ้วนมาก
ก่อนทากิจกรรม ร้อยละหลงั ทากจิ กรรม
แผนภูมทิ ี่ 21 : แสดงรอ้ ยละ BMI แต่ละระดับของบคุ ลากรตกึ ผู้ป่วยในหญิงกอ่ น-หลังทำกจิ กรรม
จากตารางจะเหน็ ได้วา่ ร้อยละของเจา้ หน้าท่ีท่ีมี BMI อยู่ในเกณฑ์ ท้วม มีจำนวนลดลง จากรอ้ ยละ 20 ลดลง
เหลอื รอ้ ยละ 13.34
แสดงขนาดรอบเอว (นิ้ว) ของบุคลากรตึกผปู้ ่วยในหญงิ เปรียบเทยี บก่อน-หลังทา
กจิ กรรม
120 110
100 71 92 97 76 70 78 74 80 83 84 82 90 72
80 67 85 72 67 77 78 72 80 87 82 90 80
60 66 66
66
40
43
20
0
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
กอ่ นทำกจิ กรรม หลงั ทำกจิ กรรม
แผนภูมทิ ่ี 22 : แสดงขนาดรอบเอว (นิ้ว) ของบคุ ลากรตึกผู้ปว่ ยในหญิง เปรยี บเทียบก่อน-หลังทำกิจกรรม
52
จากตารางจะเหน็ ได้ว่าหลังจากการทำกิจกรรม พบว่าเจา้ หนา้ ท่ี 11 คนจาก 15 คนมีขนาดรอบเอวลดลง
อยา่ งเห็นไดช้ ดั คิดเป็นรอ้ ยละ 73.34 ส่งผลใหเ้ จ้าหนา้ ที่มีสขุ ภาพกายดี จติ ดี และสามารถใหก้ ารดูแลผู้ปว่ ย
ไดอ้ ย่างเตม็ ที่
53
7. กิจกรรมการสรา้ งเสรมิ ภูมติ ้านทานใหก้ บั บุคลากร
ในหน่วยงานการสนับสนนุ ให้บคุ ลากรในหนว่ ยงานไดร้ ับการตรวจสขุ ภาพ 100% และได้รบั วัคซีนพ้ืนฐาน
100% เพ่ือการสร้างเสริมสุขภาพรา่ งกายที่พร้อมกอ่ นปฏิบัติหน้าที่ ผลการดำเนินงานดังรายละเอียด
แผนภมู ิแสดงร้อยละการตรวจสุขภาพบุคลากร และการได้รับวัคซนี ท่จี าเป็ นของบุคลากร
ทางการพยาบาล งานผู้ป่ วยในหญิง ปี 2562-2565
120 100 100 100
100 93.34 100
86.67
100 100 80 80 80
80
80
60
40
20
0 2563 2564 2565
2562
เปา้ หมาย การตรวจสขุ ภาพ วคั ซีนไข้หวดั ใหญ่ วคั ซีนโควดิ ครบ 3 เข็ม
ในปี 2563 และ 2564 มบี คุ ลากรในหนว่ ยงาน จำนวน 2 ราย และ 1 รายตามลำดับท่ีไม่ไดร้ บั การฉีดวัคซีน
ไขห้ วัดใหญป่ ระจำปี เน่อื งจากตง้ั ครรภ์ และต้องปฏิบตั ิงานในโรงพยาบาลสนาม ปี 2565 ตดิ ตามการดำเนนิ งาน
ต่อเนือ่ งส่งเสรมิ และกระตนุ้ จนบุคลากรรับวัคซีนครบทกุ คน
54
CQI 1 เร่อื ง “ IVF care ”
ความสำคัญและสาเหตุของปัญหา
ภาวะหลอดเลือดดำอักเสบเป็นภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้จากการให้ยาทางหลอดเลือดดำระหว่างหรือ
หลงั ฉีดยา พบมากในผปู้ ว่ ยท่ีใส่สาย Catheter เปน็ เวลานาน สามารถแบง่ เปน็ 3 ลักษณะดังน้ี
1) mechanical phlebitis
2) chemical phlebitis
3) infective phlebitis
โดยมีปจั จัยที่เกย่ี วขอ้ ง คือ
1. ปจั จัยทเ่ี ก่ยี วกับยา pH เลอื ดมี pH = 7.35-7.45ยาทม่ี คี ุณสมบตั เิ ปน็ กรด (pH<7) และเป็นดา่ ง (pH>7) ทำใหเ้ กิด
Chemical phlebitis
2. ปัจจัยที่เกี่ยวกับอุปกรณ์เข็มหรือสาย catheter ทำให้เกิด mechanical phlebitis ชนิดของสาย catheter
ตำแหน่งที่ฉดี ยา ขนาดของหลอดเลือดทฉี่ ดี ยา ระยะเวลาในการลงสายหรือเข็ม ชนิดของวัสดุปดิ แผล
3. ปจั จยั เกยี่ วกับผปู้ ว่ ย อายุ เพศ โรคทเ่ี ป็น การทำงานของระบบไหลเวียนเลือด
4. ปัจจัยเกี่ยวกับบุคคล ความรู้ ทักษะ เทคนิค ความชำนาญในการเตรียมฉีดยาและการแทงเข็ม ซึ่งอาการและ
อาการแสดง (Sign & Symptom) ที่พบ คอื อาการปวด (Pain), บวม (edema), แดง (erythema) , หลอดเลือด
ดำเปน็ ลำแขง็ (thrombus formation cording of the vein) จะทำใหผ้ ปู้ ่วยไมส่ ขุ สบายมากขนึ้
จากอัตราการเกิด Phlebitis ใน เดือนกรกฎาคม 2559 เกดิ Phlebitis 1 รายซ่งึ เกิดจากการให้ยาทางหลอด
ดำ จึงได้ทบทวนและปรับปรุงแนวทางการให้ยาหลอดเลือดดำโดยที่เภสัชกรจัดทำฉลากยาและวิธีการผสมยาทาง
หลอดเลือดในผู้ป่วยทกุ ราย หลงั จากน้นั อัตราการเกิด Phlebitis =0
จากข้อมูลเดือนสิงหาคม 2560 มีอุบัติการณ์ Phlebitis 1 ราย Phlebitis ระดับ 4 เป็นความเสี่ยงระดับ E
ดงั นน้ั ทางหอผ้ปู ่วยในหญิง โรงพยาบาลอมก๋อยได้ตระหนักถงึ ความสำคัญของปัญหาจึงได้มีการจัดทำแนวทางป้องกัน
ภาวะหลอดเลือดดำอักเสบเพือ่ การดูแล ป้องกัน รักษา ภาวะหลอดเลือดดำอักเสบเพ่ือเพิ่มความสขุ สบายให้แกผ่ ู้ป่วย
และลดภาวะแทรกซ้อนในการนอนโรงพยาบาลรวมท้งั ลดค่าใช้จา่ ยในการรกั ษาพยาบาล
จากดำเนินการอย่างต่อเน่ือง ปงี บประมาณ 2564 พบ Phlebitis 6 ราย พบระดบั Phlebitis 1 และ ระดบั 2
ซึ่งสาเหตเุ กดิ จาก การใหส้ ารน้ำท่ีมีต่อการอักเสบของเส้นเลือด ไดแ้ ก่ Norepinephrine
วตั ถุประสงค์
1. เพอ่ื ป้องกันภาวะภาวะหลอดเลอื ดดำอกั เสบทีส่ มั พนั ธก์ บั หลอดเลอื ดดำส่วนปลายท่ีจะเกิดขนึ้ กับผู้ป่วย
2. เพื่อให้บุคลากรปฏิบัติตามแนวปฏิบัติทางคลินิกเพื่อป้องกันภาวะหลอดเลือดดำอักเสบที่สัมพันธ์กับหลอด
เลือดดำส่วนปลาย
ตัวชว้ี ัด
อตั ราการเกิดภาวะหลอดเลือดดำอกั เสบ (Phlebitis) นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 20 ต่อพนั วนั นอน
วิธกี ารดำเนนิ การ
1. ทบทวนระบบการปฏิบัตกิ าร การเฝา้ ระวัง เพอ่ื คน้ หาสาเหตขุ องปญั หาและแนวทางแกไ้ ข
2. ทบทวน หลักการทำหัตถการ ON IVF
55
การปฏิบัตพิ ยาบาลเพอ่ื ลดการเกดิ ภาวะหลอดเลอื ดดำอกั เสบ
1. ในการเร่ิมต้นทีจ่ ะให้ยาหรือสารละลายควรปฏิบัติโดยใช้หลัก aseptic technique มกี ารศึกษาพบว่าการล้าง
มอื ช่วยลดการติดเชอื้ ในการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำได้
2. เลอื กตำแหน่งท่ีแทงเข็มโดยหลีกเลยี่ งบริเวณข้อพับและแขนขาขา้ งที่อ่อนแรง ควรเลอื กตำแหน่งบริเวณarm
, back of the hand , anticubitalfossa,forearm and wrist ตามลำดบั
3. เลือกcatheterท่ีเหมาะสม โดยเลือกcatheterที่มขี นาดเลก็ กว่าเสน้ เลือด
4. ให้ทำความสะอาดบริเวณที่แทงcatheterด้วย75%alcohol และใช้ tegaderm/opsite ในการยึดติด
catheter กับผวิ หนงั เพ่อื ให้สงั เกตบรเิ วณทแ่ี ทงcatheterวา่ มีภาวะบวม แดง ร้อน หรอื ไม่ และให้เขียนวันท่ี
บนั ทึกไว้ด้วย
5. การยึดตรึงสายiv ให้ติดสาย iv ในลักษณะ u- shapeเพอ่ื ปอ้ งกันสาย iv เลือ่ นหลุด
6. เวลาท่ีเปลี่ยนที่แทงเข็มให้เปลี่ยนเมื่อมีข้อบ่งชี้ ได้แก่ ปวด บวม แดง ร้อน แต่ถ้าครบ 96 ชั่วโมงให้เปลี่ยน
tegaderm/opsiteแล้ว dressing แผลด้วย alcohol แล้วปิดด้วย tegaderm/opsiteและให้เขียนวันท่ี
บนั ทกึ ไวด้ ว้ ย
7. ในการบริหารยาทม่ี คี วามเขม้ ขน้ สูง ได้แก่ cloxacillin, vancomycinเปน็ ตน้ ควรเลอื กตำแหนง่ หลอดเลือด
ที่มีขนาดใหญ่เนื่องจากมีเลือดไหลเวียนได้ดี หากยังเกิดปัญหาการเกิดภาวะหลอดเลือดดำอักเสบควร
พิจารณาปัจจัยอื่นๆร่วมด้วย ได้แก่ อัตราการไหลของสารละลาย ระยะเวลาในการให้ยาหรือสารละลาย ใน
กรณีที่ให้ยา antibiotic หลายชนิด ต้องมีการใช้ NSS Pushก่อนและหลังการให้ antibioticแต่ละชนิด เป็น
ต้น มกี ารศกึ ษาพบวา่ การให้ยาโดยการหยดเขา้ เส้นเลอื ดช้าๆจะช่วยลดภาวะการเกิดหลอดเลอื ดดำอักเสบ
8. ตรวจดูตำแหน่งการแทงเขม็ ทุก 2 ช่วั โมง เพ่ือประเมินภาวะหลอดเลือดดำอกั เสบ
9. หากพบภาวะหลอดเลือดดำอักเสบให้บันทึกในใบประเมินภาวะหลอดเลือดดำอักเสบทุกครั้งและให้การ
พยาบาลตามระดับ และอาการของภาวะหลอดเลือดดำอกั เสบ
10. สต๊กิ เกอร์สีตามวันทค่ี รบเปลีย่ น set IVF
11. คดิ นวตั กรรมเกย่ี วกบั การ ดาม IV
56
ผลการดำเนินการ
อตั ราการเกดิ หลอดเลือดดำอักเสบผปู้ ่วยในหญงิ ปีงบประมาณ 2561-2565
อตั ราการเกดิ หลอดเลอื ดดาอกั เสบผู้ป่วยในหญงิ ปี 2561-2565
12 10 10 10 10 10
10
8
6
4 2.92 2.12 1.33 1.23
2
0.37
0
2561 2562 2563 2564 2565
เปา้ หมาย/1000 device days อัตราการเกดิ หลอดเลือดดาอักเสบ
แผนภมู ิที่ 4 : แสดงอัตราการเกิดหลอดเลอื ดดำอกั เสบ ผู้ป่วยในหญิง ปีงบประมาณ 2561-2565
จากแผนภูมใิ นปี 2560-2561 พบอัตราการหลอดเลือดดำอักเสบ 0.23 และ 2.92 ต่อพันวันคาสายทางหลอด
เลือดดำ หนว่ ยงานทำการทบทวนแนวทางปฏบิ ตั ิ มขี ้อสรุปดงั นี้
1. ทบทวนแนวทางปฏบิ ัตกิ ารใหส้ ารน้ำทางหลอดเลือดดำ
2. กำหนดการปฏบิ ตั ิงานในเรอ่ื ง IV-round รายวัน
3. นิเทศกำกับการปฏิบัติงานรายวัน โดย หัวหน้าหน่วยงาน นิเทศกำกับการปฏิบัติงานโดยหัวหน้าตึกราย
สัปดาห์
4. มี CQI เรื่อง IV-care ในหน่วยงาน
ปี 2562-2564 พบอัตราการเกดิ หลอดเลือดดำอกั เสบ เปน็ 2.12 2.33 และ 0.37 ตามลำดับตอ่ พันวนั คาสายทาง
หลอดเลือดดำ ตามลำดับ จากการทบทวน พบเกิดจาก Chemical Phlebitis หน่วยงานจึงให้ความสำคัญในกรณีท่ี
ผูป้ ว่ ยได้ยาพิเศษ ได้แก่ Nor-E / Antibioticทุกชนิด / 10%D/W
ปี 2565 พบอัตราการเกิดหลอดเลือดดำอักเสบ 1.23 จากการทบทวน พบการเกิด Extravasation มีอาการ
ปวดแสบร้อน ผิวหนังแดง บวมบริเวณที่ฉีด จากการทบทวนพบเกิดความเขม้ ข้นของยาที่ให้มีความเข้มข้นมากเกินไป
เกิดจาก Chemical Phlebitis แนวทางการแก้ไขเบื้องต้น หากพบความผิดปกติให้แจ้ง เภสัชกรเพื่อ ตรวจสอบซ้ำ
และเปล่ยี นตำแหน่งท่ฉี ดี โดยเรว็
ปีงบประมาณ 2565 พบการเกิดหลอดเลอื ดดำอักเสบจากการให้สารนำ้ และยา 3 ราย
เกดิ หลอดเลือดดำอักเสบ ระดบั 1 จำนวน 2 ราย พบระหว่าง จากการ round IV ทุกเวรทำใหส้ ามารถให้การพยาบาล
ได้ทันทว่ งที
57
จากการทบทวน พบการเกิด Extravasation มีอาการปวดแสบร้อน ผิวหนังแดง บวมบริเวณที่ฉีด จากการ
ทบทวนพบเกิดความเข้มข้นของยาที่ให้มีความเข้มข้นมากเกินไปเกิดจาก Chemical Phlebitis แนวทางการแก้ไข
เบื้องตน้ หากพบความผิดปกตใิ ห้แจง้ เภสชั กรเพ่อื ตรวจสอบซ้ำ และเปลยี่ นตำแหน่งทีฉ่ ีดโดยเร็ว
รูปภาพท่ี 11: ตัวอย่างสต๊ิกเกอร์สตี ามวันทีค่ รบเปล่ียน set IVF
58
CQI 2 เร่อื ง “การ์ดเตอื นใจ”
ความสำคัญและสาเหตุของปญั หา
งานผู้ป่วยในหญิงมีการบริหารยาแก่ผู้ป่วยทั้งยากิน และยาฉีด จากการทบทวนเกี่ยวกับอัตราความ
คลาดเคลื่อนจากการให้ยา Administration Error พบว่า มีการความคลาดเคลื่อนจากการให้ยา Administration
Error เกดิ ขึ้นทุกปีเม่ือมีการทบทวนกระบวนการให้ยา จา่ ยยา ฉีดยา จะพบความผดิ พลาดที่เกิดข้นึ บ่อยและรุนแรงใน
การบริหารยาฉีด ซึ่งตรงกับรายงานความเสี่ยงปี 2564 ยังพบความผิดพลาด ในการบริหารยา แต่เป็นความเสี่ยงที่
สามารถตรวจสอบได้ก่อนผปู้ ว่ ย โดยกระบวนการตรวจสอบซ้ำเป็นการตรวจสอบอิสระ การทบทวนปี 2564-2565 มี
การปรับกระบวนการทำงานร่วมกับ งานเภสัชกรรม โดยมีการพิมพ์สติกเกอร์ยา โดยที่มีรายละเอียด ชื่อยา ขนาดยา
ขนานยา การDilute ยา จึงได้มีการทบทวนทำ RCA จากการทบทวนการเกิดความผิดพลาด พบช่วงเวรดึกซึ่งไม่มี
เภสัชกรประจำการจงึ ทำใหไ้ มส่ ามารถพมิ พส์ ติกเกอร์ยาได้ ทำให้มีโอกาสทจี่ ะเกดิ ความเสย่ี งได้
จากปัญหาดังกล่าวจงึ ได้มีการวางแนวทางปฏิบตั ิเพื่อให้เกิดความปลอดภัยต่อผู้ป่วยและสร้างความตระหนัก
แก่ผ้ปู ฏบิ ัติงานไมใ่ ห้เกดิ ความผดิ พลาดและเป็นอันตรายต่อผู้ปว่ ย
วัตถุประสงค์ เพื่อใหก้ ารบริหารยาถูกตอ้ งและปลอดภัย
ตัวชี้วดั อัตราความคลาดเคล่ือนจากการให้ยา Administration Error น้อยกว่าร้อยละ 5
การดำเนินการ ทบทวนสาเหตุเพื่อค้นหาปัญหา จากการทบทวนพบสาเหตุ คือในกระบวนฉีดยามีเจ้าหน้าที่เพียงคน
เดียว ทั้งในขั้นตอนการตรวจเช็ค เตรียมยา ฉีดยา โดยมามีการตรวจเช็คซ้ำ ด้วยสาเหตุนี้เราจงึ มีการจัดทำ CQI เรื่อง
“การ์ดเขยี วเตือนใจ”
1. ทบทวนการบริหารยาโดยใชห้ ลัก 7R โดยให้ความรู้แกผ่ ู้ปฏิบตั ิงาน สร้างความเขา้ ใจ สรา้ งความตระหนัก
ในการใช้หลกั 7R
2. ปรบั เปลย่ี นกระบวนการบรหิ ารยาฉีด เวรเชา้ -เวรบา่ ย
3. Treatment 1 ทำหนา้ ทีบ่ รหิ ารยาฉดี
4. Treatment 2 ทำหนา้ ทตี่ รวจสอบขณะเตรยี มยา ฉีดยา และเชค็ ชอื่ ผู้ปว่ ยทา้ ยเตียง
เวรดึก
5. In charge ทำหน้าที่บริหารยาฉีด
6. On call ทำหน้าทต่ี รวจสอบขณะเตรียมยา ฉดี ยา และเชค็ ชื่อผู้ป่วยทา้ ยเตียง
จึงได้เปลย่ี นแปลงกระบวนการใหม่ คือ
เวรเชา้ -เวรบา่ ย
1. Treatment 1 ทำหน้าทบี่ ริหารยาฉดี ผูเ้ ตรียมยาทิง้ ไวใ้ น syringe โดยท่ียังไมต่ ้องผสม กับสารละลาย
2. Treatment 2 ทำหน้าทตี่ รวจสอบขณะเตรยี มยา ฉีดยา ขนาดยา และเชค็ ช่ือผ้ปู ว่ ยทา้ ยเตียง
เวรดกึ
1. In charge ทำหน้าท่ีบรหิ ารยาฉีด ผูเ้ ตรียมยาท้งิ ไว้ใน syringe โดยที่ยังไม่ตอ้ งผสม กบั สารละลาย
2. On call ทำหนา้ ทต่ี รวจสอบขณะเตรียมยา ฉีดยา และเช็คชอื่ ผปู้ ่วยท้ายเตยี ง
3. รบั ใหม่ เวรดกึ ให้เขยี น การด์ ยาฉีด โดยใชก้ ารด์ เขียว เพื่อการตรวจสอบกระบวนการตรวจสอบซ้ำ
และ ปรับเปลยี่ นให้ ยาก่อนนอน เขยี นการ์ดสีขาว
ผลการดำเนินงาน กำลังดำเนินการ 59
ยา ยาฉดี
ก่อนนอน
รปู ภาพที่ 12 : รปู การด์ ยาสีเขยี ว และสขี าว
60
ผลงานที่ภาคภมู ใิ จ
1. my foot prints
จากข้อมูลสถติ ิ การมารับบรกิ ารหอผ้ปู ว่ ยในหญิง 5 ปียอ้ นหลังพบว่า ผูร้ บั บริการมารดาหลงั คลอด
ทารกคลอด เป็นลำดับที่ 1 และลำดับที่ 2 ของการมารับบริการของหอผู้ป่วยในหญิง ดังนั้นจึงมีการได้ประชุมวาง
แนวทางปฏิบัตงิ านเพ่ือใหร้ องรบั การมารบั บรกิ าร และใหเ้ กิดความพงึ พอใจของการมารบั บริการ
ดังนั้น ทางหอผู้ปว่ ยในหญงิ จัดทำของที่ระลึก เป็นการปัม๊ รอยเท้าแรกของทารถที่คลอดในรพ.อมก๋อย พร้อม
ระบุข้อมูลบางส่วนของทารารกเชน่ ชื่อ-นามสกุล น้ำหนักแรกคลอด วันเกิด และเวลา โดยมีชื่อว่า “รอยเท้าแรกของ
หนู” มอบให้กับผู้ปกครองของทารถเพื่อเป็นของที่ระลึก แสดงความยินดี และเป็นขวัญกำลังใจ ทั้งยังสร้าง
สมั พนั ธภาพที่ดีใหก้ ับครอบครวั ของทารกและเจา้ หน้าทโี่ รงพยาบาล
61
2. ขวัญใจของผู้รับบรกิ าร
ตึกผู้ปว่ ยในหญิงให้บริการผปู้ ่วยหลายชว่ งวัยตั้งแต่แรกเกิด-ผสู้ ูงอายุ ผรู้ ับบริการหลายมีหลายชนเผ่า มีความ
เช่อื และศาสนาทต่ี ่างกัน การให้บรกิ ารของเจา้ หน้าท่ีบางคร้งั ไมส่ นองตามความต้องการของผู้รับบริการและญาติ ทาง
หอผู้ป่วยในหญิง จึงได้เปิดโอกาส ให้ผู้รับบริการ ได้แสดงความคิดเห็น ต่อการให้บริการ เพื่อเป็นการปรับปรุงการ
บริการให้ดมี ากยิ่งขึ้น ตามมาตรฐานการพยาบาล และโดยการทำงานที่ต้องหมุนเวยี นอัตรากำลัง บางสถานการณ์อาจ
เกิดความเครียด ไม่มีกำลังในการทำงาน จึงได้มีการวางแผนเพื่อปรับปรุงบริการและสร้างขวัญกำลังใจแก่ทีมผู้
ปฏบิ ตั กิ าร โดยมกี ารดำเนนิ การดังน้ี
1.แจกแบบประเมินความพึงพอใจ ให้ผู้รับบริการได้ตอบแบบสอบถามและแสดงความคิดเห็นหรื อ
ข้อเสนอแนะเพอื่ มาปรับปรุงในหนว่ ยงานซึ่งในปีงบประมาณ 2565 ท่ผี ่านมา พบ วา่ การประเมินความพึงพอใจต่อการ
บริการผปู้ ว่ ยใน อยู่ระดับทีด่ ี
ร้อยละความพงึ พอใจของผรู้ บั บรกิ ารงานผูป้ ่วยในปี 2561 – 2565
88 86.91 87.1
86.09 80
86 84.21 83.7
84
82 Inte
80
80 80 rven 80
80
78
76 2562 2563 2564 2565
2561
เป้าหมาย ความพึงพอใจ
แผนภมู ิท่ี 23 : ร้อยละความพงึ พอใจของผู้รับบริการงานผู้ปว่ ยในปี 2561 – 2565
รปู ภาพท่ี 13 : ตัวอยา่ งการประเมินความพงึ พอใจของผู้รับบริการ
62
2. มกี ารเปิดโหวต ขวญั ใจผู้รับบรกิ าร โดยผรู้ ับบริการเปน็ ผูใ้ หค้ ะแนนโหวต ผุ้ทีไ่ ด้รับการโหวต คะแนนสงู
ในแต่ละเดือน จะได้รับประกาศนียบัตร เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจในการทำงานของเจ้าหน้าที่ และสร้างจิตสำนึก
จริยธรรมในการปฏิบัตงิ าน
รูปภาพท่ี 14:ภาพแสดง การมอบประกาศนยี บัตร แกบ่ ุคลากร ขวญั ใจผู้รับบรกิ าร
63
3. กจิ กรรมลดพงุ ลดโรคในหน่วยงาน
จากตรวจสขุ ภาพพบว่าบคุ ลากรตึกผ้ปู ่วยในหญงิ มีภาวะ BMI ผิดปกตดิ ังแผนภูมิ
แสดงร้อยละ BMI แตล่ ะระดบั ของบคุ ลากรตกึ ผ้ปู ่ วยในหญิงก่อนทากิจกรรม
45 40
40
26.67
35
20 ท้วม ปกติ 6.67
30 อ้วน ผอม
25
20
15
10
5 6.67
0
อ้วนมาก
ร้ อยละ
จากแผนภมู พิ บว่า บุคลากรอ้วนมาก และผอม คิดเปน็ ร้อยละ 6.67 อว้ น คิดเหน็ ร้อยละ 20 ทว้ ม คิดเปน็ ร้อยละ
26.67 ปกติ คิดเป็นรอ้ ยละ 40 หน่วยงานมีการวางแผนเพื่อสุขภาพที่ดแี ละพร้อมปฏิบตั ิงานของบุคลากรต้องทำการ
ลดBMI ภายใน 4 เดอื น โดยให้มกี ารจัดกิจกรรม
1. IF เพือ่ ทำความการควบคุมอาหาร
2. ออกกำลังกายเพ่ือสขุ ภาพที่แขง็ แรง
3. งดหวาน มนั แป้ง
หลงั ทำกจิ กรรมภายใน 4 เดอื น วดั ผลการเปล่ยี นแปลงทงั้ เรอ่ื ง BMI และรอบเอว ดังน้ี
64
แสดงร้อยละ BMI ของบคุ ลากรตกึ ผ้ปู ่ วยในหญิง เปรียบเทียบก่อนหลงั ทากิจกรรม
45 26.67 26.67 20 40 40 6.67 6.64
40 13.34
35 อ้วน ปกติ ผอม
30 ท้วม
25
20
15
10
5 6.67 6.67
0
อ้วนมาก
กอ่ นทากิจกรรม ร้อยละหลงั ทากจิ กรรม
จากตารางจะเหน็ ไดว้ ่า รอ้ ยละของเจา้ หนา้ ที่ท่ีมี BMI อยู่ในเกณฑ์ ทว้ ม มีจำนวนลดลง จากรอ้ ยละ 20 ลดลง
เหลอื ร้อยละ 13.34
แสดงขนาดรอบเอว (นวิ ้ ) ของบคุ ลากรตกึ ผ้ปู ่วยในหญิง เปรียบเทียบกอ่ น-หลงั ทา
กิจกรรม
120 110
100 92 83 84 90
80 87
80 71 97 76 70 78 74 80 82 90 72
60 66 72 67 77 78 72 82 80
85 66
67 66
40
43
20
0
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
ก่อนทากิจกรรม หลงั ทากิจกรรม
จากตารางจะเหน็ ได้ว่าหลังจากการทำกจิ กรรม พบวา่ เจา้ หนา้ ท่ี 11 คนจาก 15 คนมีขนาดรอบเอวลดลงอย่างเห็นได้
ชดั คดิ เปน็ รอ้ ยละ 73.34 สง่ ผลให้เจ้าหน้าทีม่ ีสขุ ภาพกายดี จติ ดี และสามารถให้การดูแลผูป้ ว่ ยไดอ้ ยา่ งเต็มที่
65
4. กิจกรรมการสรา้ งเสริมภูมิต้านทานให้กับบคุ ลากร
ในหน่วยงานการสนับสนุนให้บุคลากรในหน่วยงานได้รับการตรวจสุขภาพ 100% และได้รับวัคซีนพื้นฐาน
100% เพือ่ การสรา้ งเสรมิ สุขภาพรา่ งกายทพี่ รอ้ มก่อนปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ ผลการดำเนินงานดงั รายละเอยี ด
แผนภมู แิ สดงร้อยละการตรวจสุขภาพบุคลากร และการได้รับวคั ซีนท่ี
จาเป็ นของบุคลากรทางการพยาบาล งานผ้ปู ่ วยในหญงิ ปี 2562-2565
120
100 100 100 100
100 100 93.34 100
80
86.67
80 80 80 80
60
40
20
0
เป2า้ 5ห6ม2าย การตรวจส2ขุ 5ภ6าพ3 วคั ซีนไข้หวดั 2ใ5หญ64่ วคั ซีนโควดิ คร2บ536เ5ข็ม
ในปี 2563 และ 2564 มีบุคลากรในหน่วยงาน จำนวน 2 ราย และ 1 รายตามลำดับที่ไม่ได้รับการฉีดวัคซีน
ไข้หวัดใหญ่ประจำปี เนื่องจากตั้งครรภ์ และต้องปฏิบัติงานในโรงพยาบาลสนาม ปี 2565 ติดตามการดำเนินงาน
ต่อเน่ืองสง่ เสรมิ และกระต้นุ จนบุคลากรรับวคั ซีนครบทุกคน
รปู ภาพที่ 15 : ภาพแสดงการรับวคั ซีนของบคุ ลากร ตกึ ผู้ป่วยในหญงิ