60
61
62
การประชุมเชิงปฏบิ ัติการเร่ืองการจัดทาแผนและการซ้อมแผนการส่งตอ่ ในพนื้ ที่
63
64
1
สรปุ ผลการดาเนนิ งาน
งานห้องคลอด โรงพยาบาลอมกอ๋ ย
ประจาปี 2565
วสิ ยั ทัศน์โรงพยาบาลอมก๋อย
โรงพยาบาลคณุ ภาพชนั้ นาในพน้ื ที่สงู ทท่ี ุกคนไวว้ างใจ
พนั ธกิจโรงพยาบาลอมก๋อย
1. พฒั นาคณุ ภาพบริการแบบองค์รวมตามวิถีชนเผ่า
2. พฒั นาคณุ ภาพและความร่วมมอื ในการสร้างสุขภาพเชงิ รกุ รว่ มกบั ภาคเี ครอื ขา่ ย
3. พัฒนาการบริการตามสทิ ธ์ิและศักดิศ์ รขี องความเป็นมนุษย์
4. พัฒนาคุณภาพบรหิ ารจัดการโรงพยาบาลและเครือข่ายสุขภาพอาเภออมก๋อย
วิสยั ทศั นก์ ลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลอมก๋อย
มุ่งส่กู ารพยาบาลท่ีประทบั ใจ ไดม้ าตรฐานวชิ าชพี เพ่ือสุขภาพทด่ี ขี องประชาชน
พนั ธกจิ กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลอมก๋อย
1.กลมุ่ การพยาบาลมุง่ ม่ันพัฒนาการพยาบาลใหม้ คี ุณภาพ มาตรฐานเพอ่ื ประโยชนข์ องผรู้ ับบริการ
2.กลมุ่ การพยาบาลมุ่งเน้นพฒั นาบุคลากรใหม้ ีคุณภาพอยา่ งต่อเนื่อง
3.กลุม่ การพยาบาลจะดารงไว้ซ่ึง จรยิ ธรรม จรรยาบรรณแหง่ วชิ าชีพและเคารพในสิทธผิ ูป้ ่วย
วฒั นธรรมขององค์กรพยาบาล โรงพยาบาลอมก๋อย
ทางานเปน็ ทีม บรกิ ารดว้ ยหวั ใจความเปน็ มนษุ ย์
เป้าประสงค์ขององคก์ รพยาบาล โรงพยาบาลอมก๋อย
ผ้ใู ชบ้ ริการพึงพอใจ ปลอดภยั และสามารถดูแลตนเองได้
ปรชั ญากล่มุ การพยาบาล โรงพยาบาลอมก๋อย
บริการพยาบาลท่ีใช้กระบวนการพยาบาล ควบคู่ไปกับการบริหารจัดการและการพัฒนาครอบคลุมการ
ปฏบิ ัติงานสง่ เสริมสขุ ภาพ ปอ้ งกันโรค รักษาพยาบาล ฟื้นฟูสภาพ โดยอาศยั ความรู้ ความสามารถและศักยภาพของ
ทีมการพยาบาลท่ีให้การดูแลบุคคล ท่ีมีภาวะเจ็บป่วยหรือภาวะเสี่ยงต่อสุขภาพ ด้วยความเมตตา เห็นใจ เอาใจใส่
ใหค้ าปรกึ ษา เฝา้ ระวังอยา่ งใกลช้ ิดต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง ในระยะที่บุคคลเจบ็ ป่วย มีการกระต้นุ ให้บุคคลเกิดการ
พัฒนาตนเอง จนสามารถดูแลสุขภาพตนเอง ให้มีพฤติกรรมอนามัย ท่ีเอื้ออานวยให้บุคคลและครอบครัวมีสุขภาพ
สมบูรณท์ ั้งด้านร่างกายและจิตใจสามารถปรับตวั และดารงอยู่ในสงั คมได้อยา่ งปกตสิ ขุ เกดิ คณุ ภาพชีวิตที่ดี
2
คา่ นยิ ม : ม อ ก
ม : มาตรฐาน
อ : ออ่ นน้อม
ก : กล้าคดิ กลา้ ทา
บทบาทหน้าท่ีกลุม่ การพยาบาล โรงพยาบาลอมก๋อย
1. กาหนดพันธกิจ ปรัชญา ขอบเขต เป้าหมาย และวัตถุประสงค์ของการจัดบริการพยาบาลเป็นลายลักษณ์
อกั ษร
2. จัดองค์กรและการบรหิ ารบรกิ ารพยาบาลได้ตามพันธกิจที่กาหนดไวไ้ ด้อย่างมีคณุ ภาพ และประสิทธภิ าพ
3. จดั การด้านทรัพยากรบุคคล เพ่อื ใหบ้ ริการพยาบาลไดต้ ามพันธกิจที่กาหนดไวไ้ ด้อยา่ งมคี ณุ ภาพ และ
ประสทิ ธิภาพ
4. เตรียมความพร้อม เพิ่มพูนความรู้ และทักษะ เพื่อให้เจ้าหน้าทีส่ ามารถปฏบิ ัตหิ นา้ ทีบ่ รกิ ารพยาบาลได้
อย่างมีคณุ ภาพ และมีประสิทธภิ าพ
5. กาหนดนโยบาย และวิธีปฏบิ ตั ิเป็นลายลักษณ์อักษรซึ่งสะท้อนความรู้และหลักการของวชิ าชีพทท่ี ันสมยั
สอดคล้องกับวตั ถุประสงค์ของบรกิ ารพยาบาลรวมทงั้ กฎระเบยี บท่เี กี่ยวข้อง และเจ้าหน้าที่ยดึ ถือเป็น
แนวทางในการปฏบิ ตั ิ
6. จดั ระบบงาน / กระบวนการบรกิ ารพยาบาลทมี่ ีประสิทธภิ าพ ตามมาตรฐานวชิ าชพี และตอบสนอง
ความตอ้ งการของผปู้ ่วย
7. กาหนดกิจกรรมตดิ ตาม ประเมนิ และพฒั นาคุณภาพของบรกิ ารพยาบาล โดยการทางานเปน็ ทมี และมี
การพฒั นาอย่างต่อเน่ือง
เปา้ หมายกลมุ่ การพยาบาล โรงพยาบาลอมกอ๋ ย
สมาชิกพยาบาลสามารถดูแลผู้ป่วยโดยใช้กระบวนการพยาบาลอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ
จริยธรรม จรรยาบรรณและทางานร่วมกับสหวิชาชีพเพื่อให้ผู้รับบริการได้รับบริการที่มีคุณภาพ ประทับใจและ
ไว้วางใจ
เป้าหมายด้านบรหิ าร กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลอมก๋อย
พัฒนาคุณภาพการพยาบาลให้ได้มาตรฐาน และส่งเสริมสนับสนุนบุคลากรทุกระดับให้มีความรู้ ทักษะ
ในการให้บริการอย่างมีคณุ ภาพ
3
เป้าหมายการจัดบริการ กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลอมก๋อย
ให้บริการพยาบาลแบบองค์รวม และผสมผสานด้านส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาล และ
ฟน้ื ฟูสภาพ ให้เป็นไปตามมาตรฐานการพยาบาลในการใช้กระบวนการพยาบาลเป็นแนวทางปฏบิ ัติ และบันทกึ การ
พยาบาลอย่างมีประสทิ ธภิ าพ
วตั ถปุ ระสงค์กลุม่ การพยาบาล โรงพยาบาลอมกอ๋ ย
ด้านบรกิ าร
1.มกี ารใช้ความรู้ และวิทยาการใหม่ๆ มาพัฒนากระบวนการใหบ้ ริการพยาบาลท่มี ีประสิทธิภาพมากข้นึ
2.สร้างบรกิ ารทดี่ ีในทุกหนว่ ยงานของฝ่ายการพยาบาล เพ่อื ใหผ้ มู้ ารบั บริการเกดิ ความพึงพอใจในบริการทไี่ ด้รับ
3.พฒั นากระบวนการดแู ลรักษาผู้ปว่ ยร่วมกบั สหวิชาชพี อน่ื เช่นแพทย์ เภสัชกร เพอ่ื ให้เกิดผลการรักษาที่ดีท่ีสดุ
ด้านบคุ ลากร
1.สง่ เสริมใหบ้ คุ ลากรพยาบาลมคี วามร้ใู หมๆ่ โดยการอบรม สัมมนา เปน็ ต้น
2.จัดอัตรากาลงั คนใหเ้ พียงพอในการทางานของแต่ละจุดบรกิ ารพยาบาล
3.สร้างความพึงพอใจของบุคลากรพยาบาล เพ่อื การทางานอย่างมีประสทิ ธิภาพเกดิ ประสิทธิภาพสงู สดุ
ดา้ นชุมชน
1.มีการพฒั นาสมั พันธภ์ าพระหวา่ งชุมชนกับองคก์ ร
4
งานหอ้ งคลอด โรงพยาบาลอมกอ๋ ย
วิสยั ทศั น์
ให้บรกิ ารทางสูติกรรม อย่างมีคุณภาพ ผรู้ บั บริการปลอดภัย
พนั ธกจิ
ใหบ้ ริการดูแลหญิงต้ังครรภข์ ณะรอคลอด จนถึงหลังคลอด ทงั้ มารดาและทารกตามมาตรฐานวชิ าชพี แบบ
องค์รวม อย่างมคี ุณภาพเพอื่ ให้มารดาและทารกปลอดภัย คลอบคลุม 4 มติ ิ โดยยึดผ้รู ับบรกิ ารเป็นศนู ย์กลาง
คานงึ ถึงสิทธิของผูป้ ว่ ย ผรู้ ับบรกิ ารเกิดความพึงพอใจ เจ้าหน้าท่รี ่วมกนั พฒั นาปรบั ปรุงระบบบริการอย่างตอ่ เน่ือง
เพอ่ื พฒั นางานอนามยั แมแ่ ละเดก็
ขอบเขตของการจดั บริการ
1. ให้การดูแลหญิงต้ังครรภ์ท่มี ีอายุครรภ์ครบกาหนดหรือเกนิ กาหนด หรอื หญงิ ตั้งครรภ์ทุกระยะที่มีอาการ
แสดงวา่ เข้าสู่ระยะคลอดและทาคลอดในรายปกติ ตลอด 24 ช่ัวโมง
2. ใหก้ ารดูแลผู้คลอดท่คี ลอดก่อนถงึ โรงพยาบาล (Birth Befor Admit )
3. ใหก้ ารดูแลหญงิ ตั้งครรภ์ท่ีมีภาวะแทรกซ้อนทางสตู ิกรรม ไดแ้ ก่
ภาวะถงุ นา้ ครา่ แตกก่อนกาหนด
ความดนั โลหิตสูงระหวา่ งต้ังครรภ์ ในระยะ Active phase
เจบ็ ครรภ์ก่อนกาหนด GA > 24 สัปดาห์ขน้ึ ไป
ทารกตายในครรภ์ ( Dead Fetus in Utero )
การคลอดท่ากน้ (Breech Presentation) ในระยะ Active phase
รกค้างจากการคลอดทัง้ ในและนอกโรงพยาบาล
ภาวะตกเลือดหลงั คลอดในระยะแรกทสี่ ามารถแก้ไขสาเหตุได้
4. ให้บรกิ ารดูแลมารดาและทารกหลงั คลอด 2 ชว่ั โมง
5. ตรวจคดั กรองสุขภาพทารกแรกเกดิ และให้วัคซีนป้องกนั โรคในทารกแรกเกิด
6. สง่ เสรมิ สายสัมพันธ์แม่ลูกการเลีย้ งลกู ดว้ ยนมแม่
7. ส่งเสริมให้ครอบครวั ได้มสี ว่ นร่วมในการดแู ลมารดาและทารก
8. ให้บริการดูแลมารดาและทารกทม่ี ภี าวะแทรกซ้อน การประสานส่งตอ่ ไปยังสถานบรกิ ารระดับตติยภูมิ
9. ติดตามผลการการส่งต่อ เพอ่ื ตดิ ตามผลการรกั ษา
10. การเกบ็ ตวั อย่างเลือดทารกจากกระดาษซบั เลือดส่งศนู ยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทยเ์ พื่อวินจิ ฉัยภาวะพรอ่ ง
ฮอรโ์ มนไทรอยดแ์ ละติดตามทารกท่ีผลเลอื ดผิดปกตเิ พอ่ื ให้ได้รบั การรักษาอยา่ งทันท่วงที
ผู้อานวยกา
นพ
กลมุ่ งานก
พว.อัญช
วิเคราะห์ กาหนดทศิ ทาง นโยบาย และยุทธศาสตร์ ในการบริหารจัดการและพัฒนา
งานการพยาบาลผปู้ ่วยนอก งานการพยาบาลผปู้ ่วยอุบตั เิ หตุฉกุ เฉิน งาน
พว.วัลลภ เรอื นก๋องเงิน และนติ เิ วช
- งา
- งานการพยาบาลผู้ป่วยนอก หรือ พว.อารรี ัตน์ ตั้งพษิ ฐานสกลุ ท
ผู้ใช้บริการสุขภาพทมี่ ารับบรกิ ารทุกมิติ
ให้การพยาบาลผู้ป่วยผู้ใช้บริการที่ไม่ - งานการพยาบาลผู้ป่วย อุบัติเหตุฉุกเฉิน งานการ
ต้องพักรักษาตัวใน รพ. ด้วยการคัด การพยาบาลเพ่ือช่วยชีวิต แก้ไขภาวะ พ
กรอง การปฐมพยาบาล การตรวจ วิกฤติที่คุกคามชีวิต ศูนย์รับผู้ป่วย งาน
พเิ ศษ การให้คาปรึกษาและ งานตรวจ การส่งต่อ และการบริการหน่วยปฐม - งานกา
สุขภาพ พยาบาล เร้ือรัง ด
- งานศนู ยเ์ ครอ่ื งมือแพทย์ พิเศษ ง
-- งาน ก ารพ ย าบ าล ผู้ ป่ วย ผ่ าตั ด เพ่ื อ วายเรื้อร
งานการพยาบาลผคู้ ลอด บาบัดรักษาหรือผ่าตัดส่งตรวจ เพ่ือการ ป อ ด อุ ด
พว.ดวงกมล ฝน้ั เมา วนิ ิจฉัยรักษา ติดตามผลการพยาบาลผูป้ ่วย โรคเบา
ผ่าตัดเล็ก และวินิจฉัยพัฒนาคุณภาพการ สขุ ภาพจ
- งานการพยาบาลผคู้ ลอดการพยาบาล พยาบาล ท้ังก่อนการผ่าตัด ขณะผ่าตัด
ในระยะคลอด และหลงั ผา่ ตัด
- งานการพยาบาลทารกแรกเกดิ
ารโรงพยาบาลอมก๋อย 5
พ.วเิ ชยี ร ศิริ
การพยาบาล
ชลี กนั ทา
าคณุ ภาพ การพยาบาล จัดระบบการพยาบาล ระบบประกันคณุ ภาพดา้ นการพยาบาล
นการพยาบาลผู้ปว่ ยในชาย งานการพยาบาลผู้ป่วยในหญิง งานพยาบาลหน่วยควบคมุ การ
พว.ธชั นนั ท์ ตนั ใบ พว.วิไลพร ศิริ ติดเชือ้ งานจ่ายกลาง
พว.สุภสั รา สรุ ยิ บปุ ผา
านการพยาบาลผปู้ ว่ ยในชาย - งานการพยาบาลผปู้ ว่ ยในหญงิ
ทกุ ประเภท ทุกสาขาบรกิ าร ทุกประเภท ทกุ สาขาบรกิ าร - งานการพยาบาลควบคมุ
การตดิ เช้ือในโรงพยาบาล
รพยาบาลโรคไมต่ ิดต่อเร้ือรัง
พว.สร้อยมาลี มณีขัติย์ - งานหนว่ ยจ่ายกลาง
ารพยาบาลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อ งานโภชนาการ
ด้วยการคัดกรอง การตรวจ น.ส.ขนษิ ฐา ปนุ ณภา
งานคลินิกพิเศษ ได้แก่ โรคไต
รัง โรคความดันโลหิตสูง โรค - งานบริหารจัดการอาหารตาม
ด กั้ น เร้ือ รัง โรค ห อ บ หื ด มาตรฐานโภชนาการ
าห วาน ผู้ ป่ วย ท่ี มี ปั ญ ห า - งานโภชนบาบัดให้คาปรึกษา
จติ ค า แ น ะ น า ค ว า ม รู้ ด้ า น
โภชนาการ และโภชนบาบดั
โครงสรา้ งการบริหารงานหอ้ งคลอด
ผอู้ านวยการ
นพ
หวั หน้ากล
พว.อัญ
พว.วิภาวดี เปง็ หล้า หวั หน้า
พว.ดว
พยาบาลวิชาชีพชานาญการ
- อตั รามารดาเสยี ชีวิตจาก
- อตั ราตายทารกแรกคลอด - อัตราการตกเลือดหลงั ค
- กากับตดิ ตามการเกบ็ ตวั
- อตั ราการติดเชอ้ื แผลฝเี ยบ็ - ลงขอ้ มูล Data ordit
- คณะกรรมการ PCT
- จานวนอบุ ัตกิ ารณ์การเกดิ ผดิ พลาดในการบรหิ ารยา - คณะกรรมการ NUR
- คณะกรรมการ MRA
- ตรวจสอบเวชระเบยี น ตกึ ผูป้ ว่ ยใน - คณะกรรมการ MCH bo
- ลงรายงาน QA benchmark
- งานครภุ ัณฑ์ทางการแพทย์งานการพยาบาล
- คณะกรรมการ RM - คณะกรรมการ ENV
พว.วรรณนิศา อปุ นันท์
พยาบาลวิชาชีพปฏิบตั กิ าร
- อตั ราการคลอด BBA
- จานวนอบุ ัตกิ ารณม์ ารดาที่มาคลอดท่ากน้
- อตั ราการคลอดก่อนกาหนด (< 37 wks.)
- ลงรายงาน ก1 ก2 , ลงรายงาน บช.1 , บช.2
- คณะกรรมการ IM
ด กลมุ่ การพยาบาล โรงพยาบาลอมกอ๋ ย 6
รโรงพยาบาลอมกอ๋ ย
พ.วิเชยี ร ศิริ
ลุม่ การพยาบาล
ญชลี กนั ทา
างานห้องคลอด พว.เรวดี วงคธ์ นาปารกลุ
วงกมล ฝ้นั เมา
พยาบาลวชิ าชพี ปฏบิ ตั กิ าร
กการคลอด - อัตราการเกดิ ภาวะ Birth asphyxia
คลอด - อตั ราการคลอดที่เตรียมรบั คลอดไม่พร้อมในรายท่ีมกี าร
วชวี้ ดั ในหนว่ ยงาน เฝ้าคลอด
- จานวนมารดาคลอดที่มอี ายนุ อ้ ยกวา่ 20 ปี
oard - เกบ็ รวบรวมรายงานรเี ฟอรแ์ ละตดิ ตามผลการรีเฟอร์
- ตดิ ตามและสง่ กระดาษซับเลอื ด
- คณะกรรมการ IC
นางประกายแกว้ ตะ๊ ชู้
ผชู้ ่วยพยาบาล
- อตั ราความพงึ พอใจของผู้รับบรกิ ารหอ้ งคลอด
- ตดิ ตามและออกใบรบั รองการคลอด
- ตรวจเชค็ ความพร้อมใชข้ องอุปกรณ์
- เบกิ จา่ ยพัสดุ สานักงาน
7
อตั รากาลงั งานหอ้ งคลอด
เพื่อให้การบริการผู้ป่วยได้ตามมาตรฐานงานห้องคลอดคุณภาพที่กาหนดไว้อย่างมีคุณภาพและ
ประสิทธิภาพงานห้องคลอดมีการจัดอัตราการกาลังในหน่วยงานยึดหลักการจัดตาม กองการพยาบาล กระทรวง
สาธารณสขุ อตั รากาลงั ในการทาคลอดคือ พยาบาล 2 ตอ่ ผปู้ ว่ ย 1 คน ดังนั้นงานหอ้ งคลอดจึงไดม้ กี ารจัด
อตั รากาลังในการปฏบิ ตั งิ านดังนี้
คลอดปกติ คลอดโดยการทาสูติศาสตรห์ ัตถการ
- พยาบาลทาคลอด 1 คน - แพทย์ 1 คน
- พยาบาลผชู้ ่วย 1 คน - พยาบาล 1 คน
- ผูช้ ว่ ยพยาบาล/ ผูช้ ว่ ยเหลอื คนไข้ 1 คน - พยาบาลผูช้ ่วย 1-2 คน
- ผู้ช่วยพยาบาล/ ผชู้ ว่ ยเหลอื คนไข้ 1 คน
- เวรเชา้ มอี ตั รากาลังพยาบาลวชิ าชพี ประจาหอ้ งคลอด 3 คน (รวมหวั หนา้ งาน) ผู้ชว่ ยพยาบาล 1 คน
- เวรบา่ ย และเวรดึก มีอัตรากาลังพยาบาลวชิ าชพี จาก ER 1 คน เป็นผูร้ บั ผิดชอบตามที่ไดร้ ับมอบหมาย
ข้อมลู งานบรกิ ารและปริมาณงานย้อนหลงั 5 ปี
2561 2562 2563 2564 2565
ผู้มารบั บริการ admit (ครง้ั ) 451 526 565 620 649
458
ผคู้ ลอดท้ังหมด (ราย) 422 482 470 498 1.25
คลอดเฉล่ยี (ต่อวัน) 1.36 99.49
Productivity 1.16 1.32 1.29 88.74
79.26 66.57 90.46
ตารางแสดงขอ้ มลู งานบรกิ ารและปรมิ าณงาน ปี 2561-2565
จากตารางข้อมูลจะพบว่าปรมิ าณงานการให้บริการและ productivity เพ่ิมมากข้ึน คณะกรรมการ
การพยาบาลจึงมีความเห็นให้เพ่ิมจานวนเจ้าหน้าท่ีเวรลอยเช้าประจาห้องคลอด 1 คน ส่วนที่เหลือให้เป็นเวรแปด
เพ่ือให้การดาเนินงานเป็นไปอย่างต่อเน่ืองและมีมาตรฐาน กรณีเวรนอกเวลามีผู้คลอดมากกว่า 1 ราย หรือมี
เหตกุ ารณ์ไมป่ กติ สามารถเรยี กเวร On call พยาบาลหรือผูช้ ว่ ยพยาบาลข้นึ ปฏิบัตงิ านเสริมได้
8
ข้อมลู การคลอดย้อนหลงั 5 ปี
ข้อมลู การคลอดย้อนหลัง 5 ปี
422 482 470 498 458
12 25 16 30 24
2561 2562 2563 2564 2565
การคลอดทงั้ หมด ( ราย ) การคลอด BBA ( ราย )
กราฟแสดงขอ้ มลู การคลอดยอ้ นหลงั 5 ปี
จากกราฟแสดงข้อมูลการคลอดในปี 2565 พบวา่ มีจานวนการคลอดในโรงพยาบาลลดลงเล็กนอ้ ย จานวน
การคลอด BBA ก็ลดลงเช่นกัน พบว่ามีการคลอดที่โรงพยาบาลอมก๋อยสาขาแม่ต่ืนและรพ.สต.ในเขตอาเภออมก๋อย
และการคลอดที่บา้ นยังมีจานวนคอ่ นข้างสงู ดังตารางขา้ งล่าง ซ่งึ นาไปสู่การพัฒนาศกั ยภาพเจ้าหน้าท่ีในรพ.สต.ให้มี
ทักษะความรู้ความสามารถในการดูแลหญิงต้ังครรภ์และการทาคลอด การคัดกรองภาวะเสี่ยงสูง โดยการอบรม
เจา้ หนา้ ท่ีตอ่ ไป
อัตราการคลอดจาแนกตามเวร ย้อนหลัง 3 ปี
ตารางแสดงอัตราการคลอดจาแนกตามเวร ปี 2563-2565
จากตารางแสดงอตั ราการคลอดจาแนกตามเวร ตั้งแตป่ ี 2563-2565 พบว่ามีจานวนผู้คลอดในเวรเชา้ มาก
ทีส่ ุด รองลงมาคือเวรดึก เวรบา่ ยตามลาดบั เนื่องจากในช่วงเวรบา่ ย ดกึ อัตรากาลังมีน้อยแพทย์ใหง้ ดทา Active
9
management ในช่วงเวลาดงั กลา่ ว เพื่อเป็นการลดภาระงานของเจ้าหน้าท่ีในเวรและลดความเสี่ยงต่อคนไข้ให้
นอ้ ยลง จึงใหม้ ีการทาหตั ถการเฉพาะเวรเชา้ เชน่ ใหย้ าเรง่ คลอด เจาะถุงน้า ในปีงบประมาณ 2565 ได้มกี ารเพม่ิ
อัตรากาลังเวรดึก เน่อื งจากมี Productivity เพมิ่ ขึ้น และมีการคลอดในเวรดกึ มากขน้ึ เพอ่ื ให้การบริการผู้ปว่ ยได้
ตามพันธกิจท่ีกาหนดไว้อย่างมีคณุ ภาพและประสิทธภิ าพ
ข้อมูลการคลอดท่ีโรงพยาบาลแม่ตืน่ และรพ.สต.อาเภออมกอ๋ ย ปงี บประมาณ 2565
รพ.แม่ต่ืน แม่หลอง สบลาน ยางเปียง ตุงลอย นาเกียน อตู ูม ซิแบร ทุง่ ต้นง้ิว หว้ ยนา้ มูเซอ รวม
ขาว
43
คลอดสถานบรกิ าร 33 4 0 6 0 0 0 0 0 0 0
คลอดทบี่ ้าน/BBA 9 28 0 0 0 8 3 4 11 0 1 64
รวม 42 32 0 6 0 8 3 4 11 0 1 107
แมต่ าย
ลกู ตาย 0 0 0 0 0 0 00 0 0 0 0
0 0 0 0 0 0 00 0 0 0 0
ตารางแสดงจานวนการคลอดนอกสถานบริการโรงพยาบาลอมก๋อย
จากตารางแสดงข้อมูลการคลอดที่โรงพยาบาลแม่ต่ืน การคลอด BBA และการคลอดในรพ.สต.ปี 2565
พบว่านอกจากโรงพยาบาลแม่ตื่นแล้ว การคลอดท่ีบ้านหญิงหลังคลอดและทารกไม่ได้มารับบริการท่ีรพ.สต. ทาให้
เส่ียงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด ดังน้ันงานห้องคลอดร่วมกับทีม MCH Broad อาเภออมก๋อย ได้มีการ
ประชุมร่วมกัน ให้มีการติดตามเยี่ยมหลังคลอด เพื่อประเมินอาการมารดาและทารกหลังคลอด ป้องกันการเกิด
ภาวะแทรกซ้อนท่ีอาจเกิดขนึ้ ได้ มีการจดั อบรมพสช.ในรพ.สต.และสสช.ในการดูแลและประสานส่งต่อหญิงต้ังครรภ์
รวมทั้งเพิ่มการให้คาแนะนาระหว่างฝากครรภ์เร่ืองการวางแผนการคลอด การให้ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ใน
พื้นที่ทุรกันดาร
10
ขอ้ มลู จานวนการสง่ ต่อในหอ้ งคลอดยอ้ นหลงั 5 ปี
Refer 2561 2562 2563 2565 2565
Refer ก่อนคลอด 46 100 77 83 62
Refer หลังคลอด 6 10 5 5 3
ตารางแสดงจานวนการส่งต่อย้อนหลงั 5 ปี
จากตารางแสดงข้อมลู การสง่ ตอ่ ย้อนหลงั 5 ปี พบอัตราการสง่ ตอ่ ในปี 2565 ลดลง เน่อื งจากมกี ารคน้ หา
ความเส่ียงหญงิ ต้งั ครรภต์ ง้ั แต่ ANC มีการสง่ พบแพทยเ์ ฉพาะทางมากข้ึน มีการนัดผู้ปว่ ยทีม่ ีความเสี่ยงสงู ไปคลอดท่ี
รพ.แม่ข่ายมากข้นึ ทาให้มอี ัตราการการสง่ ต่อฉุกเฉินทีห่ ้องคลอดลดลง งานห้องคลอดไดม้ กี ารพฒั นาระบบการเฝ้า
ระวงั การคดั กรองความเสี่ยง รวมทงั้ การรายงานเคสในกลุ่มไลน์เครือข่ายห้องคลอดสายใต้ (One Zone One LR :
OZOL)เพ่ือใหแ้ พทย์โรงพยาบาลอมก๋อยและสูตแิ พทย์ทางานรว่ มกันอย่างมีประสิทธภิ าพ มีการส่งต่ออย่างเหมาะสม
ขอ้ มลู โรคที่ Refer 5 อนั ดับแรก เปรียบเทยี บ 3 ปี ยอ้ นหลงั
อันดบั 2563 2564 2565
1 R/O CPD 22 preterm 13 Preterm 14
2 Breech presentation 9 R/O CPD 11 R/O CPD 13
3 Fetal distress 6 Breech presentation 7 Breech presentation 8
4 PIH 4 Previous C/S 4 previous C/S 6
5 Placenta Previa 3 PPH 2 Fetal macrosomia 4
ตารางแสดงข้อมลู โรคที่ Refer 5 อันดบั แรก ปี2563-2565
11
ข้อมลู การ Refer กอ่ นคลอด ปี 2565
แผนภมู ิวงกลมแสดงข้อมูลการ Refer มารดากอ่ นคลอด ปี 2565
จากตารางแสดงข้อมูลโรคท่ี Refer 5 อนั ดับแรก และแผนภูมวิ งกลมแสดงขอ้ มูลการ Refer พบว่าในปี
2564-2565 ปัญหาท่ี Refer ไดแ้ ก่ ภาวะเจ็บครรภค์ ลอดก่อนกาหนด ซึ่งเป็นปญั หาสาคัญในพืน้ ท่ีอาเภออมก๋อย
พบสาเหตุหลักคือการปฏิบัติตัวของหญงิ ต้ังครรภไ์ ม่ถกู ต้อง เชน่ การทางานหนัก การมเี พศสัมพันธ์ และ Previous
preterm ไดม้ กี ารดาเนนิ การแกไ้ ขปญั หา โดยงานแม่และเด็กสายใต้ได้กาหนดแนวทางการส่งต่อหญิงตั้งครรภ์ท่ีมี
ประวตั ิคลอดกอ่ นกาหนดไปพบสูติแพทย์เพ่อื รับยา progesterone และวดั ความยาวของปากมดลูก อกี ทั้งงาน
PCT โรงพยาบาลอมกอ๋ ยก็ได้มีแนวทางในการดูแลภาวะเจ็บครรภค์ ลอดก่อนกาหนด มีการจัดทา standing order
preterm labor and PROM ที่ชดั เจน อตั ราการ refer ทพ่ี บอบั ดบั สองคือ R/O CPD ตั้งแต่ปี 2564 เครือขา่ ย
แม่และเด็กสายใต้มีระบบ OZOL สูตแิ พทยไ์ ดร้ ับทราบเคสทกุ เคสท่ีadmit หอ้ งคลอด ทาใหก้ ารสง่ ต่อในเคส R/O
CPD เปน็ ไปอย่างรวดเร็ว สง่ ผลใหห้ ญิงต้ังครรภแ์ ละทารกในครรภ์ปลอดภยั มากขึ้น และอนั ดบั สาม คือ Breech
presentation in labor พบวา่ สว่ นใหญ่เกดิ ปญั หาจากภาวะคลอดกอ่ นกาหนดร่วมด้วย โดยหญงิ ตงั้ ครรภ์สว่ นใหญ่
ได้รบั การ comfirm ท่าเดก็ ในครรภแ์ ลว้ แตย่ งั ไม่ไดร้ บั ใบสง่ ตัว ส่วนสาเหตุอ่ืนๆพบวา่ มีจานวนนอ้ ยลงตามลาดับ
12
โรค ข้อมลู การรีเฟอรห์ ลังคลอด 3 ปีย้อนหลัง 2565
PPH 2563 2564 0
Cervical tear 1 (PPH)
4th perineum tear 21 1 (BBA)
Retained placenta 21 1 (PPH)
01
รวม 10 3
53
ตารางข้อมลู การ Refer มารดาหลงั คลอด ปี 2563-2565
จากตารางแสดงข้อมูลการ Refer มารดาหลังคลอด ตั้งแต่ปี 2563-2565 พบการจานวนส่งต่อหลังคลอด
คงเดิม สาเหตุเกิดจากการคลอดที่มีภาวะ Cervical tear , Retained placenta ร่วมกับมีภาวะตกเลือดหลังคลอด
และการคลอด BBA ส่งผลให้เกิด perineum tear งานแม่และเด็กได้มีแนวทางการป้องกันและช่วยเหลือโดยการ
ประชาสัมพันธ์การเข้าถึงระบบ EMS ตง้ั แต่ ANC พัฒนาศักยภาพเจา้ หน้าที่ในการทาคลอดและการช่วยเหลือกรณี
เกิดภาวะแทรกซอ้ น โดยการจดั อบรมภาวะฉุกเฉินทางสตู ิกรรม เพือ่ ใหเ้ กดิ ความปลอดภยั แก่ผ้ปู ่วยใหม้ ากท่ีสุด
ข้อมลู การ Refer ทารกแรกคลอด 3 ปียอ้ นหลัง
โรค 2563 2564 2565
Preterm Term Preterm Term Preterm Term
respiratory distress syndrome 728 5 -1
--
Severe birth asphyxia 2-2 - 1(BBA) -
21
Birth asphyxia -21 - --
--
Neonatal sepsis (EONS) 13 - - --
--
TTNB - - 2 -
1-
Meconium aspiration syndrome (MAS) - 1 - - --
-3
Subgaleal hemorrhage -2- -
45
Inguinal hernia -1- -
Low birth weight --1 -
Diaphragmatic hernia -- - 1
Refer พร้อมมารดา -4- 5
รวม 10 15 14 11
ตารางข้อมูลการ Refer ทารกแรกคลอดปี 2563-2565
จากตารางข้อมลู การ refer ทารกแรกคลอด ย้อนหลงั 3 ปี ต้ังแต่ปี 2563-2565 พบว่าปัญหาสว่ นใหญ่ยงั
เปน็ ภาวะคลอดกอ่ นกาหนด ถงึ แม้ในปี 2565 จานวนการ refer จะลดลงแต่ยงั พบว่าปัญหาภาวะเจ็บครรภ์คลอด
ก่อนกาหนดยังเปน็ ปญั หาสาคัญของพื้นที่ ที่ตอ้ งได้รบั การแก้ไขตอ่ ไป
13
ตวั ชว้ี ัดทส่ี าคัญของงานห้องคลอด
1. อัตราการมารดาเสียชีวติ จากการคลอด
ในปี 2565 ไมพ่ บมารดาเสยี ชีวิตจากการคลอดทง้ั ในและนอกโรงพยาบาล
2. อตั ราตายทารกแรกคลอด
กราฟแสดงข้อมลู อัตราตายทารกแรกคลอด ปี 2561-2565
จากกราฟแสดงอัตราทารกตายแรกคลอด (เกณฑ์เป้าหมาย: ไม่เกิน 5 ต่อ 1,000 การเกิดมีชีพ)จากขอ้ มูล
พบว่าในปี 2565 อัตราการตายทารกแรกคลอดเพิ่มสูงขึ้น จากการทบทวนพบว่าเกิดจากสาเหตุการคลอดก่อน
กาหนด ทารกน้าหนักตัวน้อยกว่า 1000 กรัม และเป็นครรภ์แฝด โดยเครือข่ายงานแม่และเด็กสายใต้ได้กาหนด
แนวทางการส่งตอ่ หญิงตั้งครรภ์ท่ีมีประวัติคลอดก่อนกาหนด ส่งพบสูติแพทย์เพ่ือรับยา progesterone ต้ังแต่ GA
24-36 สัปดาห์ ส่วนของงาน PCT โรงพยาบาลอมก๋อยได้มีแนวทาง CPG ในการดูแลภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อน
กาหนด และมีการจัดทา standing order preterm labor and PROM ที่ชดั เจน ประชาสัมพันธ์และสง่ เสริมการ
เขา้ ถึงระบบการแพทย์ฉกุ เฉนิ ตั้งแต่แผนกฝากครรภ์
14
3. อัตราการเกิดภาวะตกเลือดหลงั คลอด
กราฟแสดงขอ้ มลู อตั ราการตกเลือดหลังคลอด ปี 2561-2565
จากข้อมูลอัตราการเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอด (เกณฑ์เป้าหมาย:ไม่เกินร้อยละ 5) พบว่าในแต่ละปี
2565 อัตราการตกเลือดหลังคลอดเพิ่มข้ึนจากปี 2564 มีผู้คลอดที่มีภาวะตกเลือดหลังคลอดที่ต้องส่งต่อ 2
ราย แต่ไม่มีตกเลือดรุนแรงถึงขั้นต้องตัดมดลูก งานห้องคลอดร่วมกับงานแม่และเด็กได้มีการมีการพัฒนาแนว
ทางการป้องกันการตกเลือดหลังคลอดอย่างต่อเนื่อง มีการปรับปรุงกระบวนการประเมินความเส่ียงต้ังแต่ระยะ
ฝากครรภ์ การป้องกันและแก้ไขภาวะโลหิตจาง การสารองเลือดให้พร้อมใช้ ปรับปรุงแนวทางการดูแลและ
ป้องกันการตกเลือดหลังคลอด ปรับปรุง CPG standing Order for PPH ร่วมกับทีม PCT สูติแพทย์
กาหนดให้เพ่ิมยา Transamin เป็นยา first line drug ในการรักษาภาวะตกเลือดหลังคลอด ฝึกทีมทา
Condom balloon tamponade, Bimanual uterine compression
งานห้องคลอดกาหนดให้มกี ารเฝ้าระวังความก้าวหน้าระหว่างการคลอดโดยใช้ Partograph จดั ใหม้ ียา
และสารนา้ ท่ีจาเป็นตามเกณฑ์ห้องคลอดคณุ ภาพ สวนปัสสาวะกอ่ นทาคลอดรกทุกครงั้ มีการใชถ้ งุ ตวงเลอื ดทุก
ราย สอนเทคนิคการเย็บแผล แก่พยาบาลจบน้องใหม่ การทา Active management ในระยะท่ี 3 ของการ
คลอด จัดทา Flow chart ขั้นตอนการช่วย Case PPH ไว้ในห้องคลอด และการเฝา้ ระวัง หลังคลอด และการ
นา Case มาทบทวน เพ่อื หาแนวทางมาปรับปรงุ แกไ้ ขอยา่ งต่อเนื่อง
15
4. อัตราการเกดิ ภาวะ Birth Asphyxia
กราฟแสดงอัตราการเกดิ ภาวะ Birth Asphyxia ปี 2561-2565
อัตราการเกิดภาวะขาดออกซเิ จนในทารกแรกเกิด (เกณฑ์เปา้ หมาย: < 25 ต่อ 1000 การเกดิ มชี พี )
จากขอ้ มลู ในปี 2565 ไมค่ ่อยแตกตา่ งจากปี 2564 พบว่ามจี านวนท้งั หมด มี จานวน 16 ราย จาแนกเป็น
1. Prolong 2nd stage >> V/E จานวน 3 ราย
2. Cord พันคอ 3 ราย
3. คลอดตดิ ไหล่ 1 ราย
4. Twin 2 ราย
5. คลอดทา่ Breech 2 ราย
6. Thick meconium 4 ราย
7. คลอด BBA 1 ราย (Refer)
จากจานวนทารกที่เกิดภาวะ Birth Asphyxia ทั้งหมด มีทารกท่ีไดร้ ับการ refer ต่อ 1 ราย เสียชวี ิต 2
ราย GA 25 wks. น้าหนักนอ้ ยกวา่ 1,000 กรัม เสียชีวติ หลังคลอด 6 ช่ัวโมง เนื่องจากภาวะ RDS จากทบทวน
เคส งานหอ้ งคลอดไดม้ ีการจัดวางแนวทางโดยการประเมินแรกรบั ดว้ ย NST และ Ultrasound รายงานเคสที่
มีความเส่ียงในไลน์ OZOL ทุกราย ใช้ Partograph ในการเฝ้าคลอด กรณีการใช้ยาเร่งคลอดให้ Monitor
EFM ไว้ตลอด ในระยะท่ี 2 ของการคลอด กาหนดระยะเวลาการเบ่งคลอด 30 นาที ให้รายงานแพทย์ได้เลย
กรณี Case กลุ่มเสี่ยง ท่ีอาจเกิดภาวะ Birth Asphyxia ให้แพทย์เตรียมมารอรับเด็กก่อนคลอด จัดเตรียม
อุปกรณ์ช่วยเหลือเด็กให้พร้อมใช้ จัด Zone resuscitation ทารกแรกคลอด มีการนาCase มาทบทวน แนว
ทางการดูแลอย่างตอ่ เนอ่ื ง
16
5. อัตราทารกนา้ หนักน้อยกวา่ 2,500 กรมั
กราฟแสดงอัตราทารกท่ีมีนา้ หนกั ตา่ กวา่ 2500 กรัม ปี 2561-2565
อัตราทารกที่มีนา้ หนักต่ากว่า 2500 กรัม (เกณฑ์เป้าหมาย: ไม่เกินร้อยละ 7) จากข้อมูลพบว่าในปี
2565 อัตราทารกน้าหนักน้อยกว่า 2500 กรัม เพิ่มขึ้น จากการทบทวนพบว่าสาเหตุอันดับแรกเกิดจากการ
คลอดก่อนกาหนด ครรภ์แฝด และการเกิดภาวะทารกเติบโตช้าในครรภ์ งานห้องคลอดร่วมกับ ทีม MCH
Broad จึงได้มีการพัฒนาปรับปรุงแนวทางการดูแลหญิงต้ังครรภท์ ี่มภี าวะคลอดก่อนกาหนด การคัดกรองหญิง
ตงั้ ครรภ์ท่ีมีประวัติคลอดก่อนกาหนด ให้พบแพทย์เฉพาะทางเพื่อให้ได้รับยา Progesterone และวัดความยาว
ของปากมดลูก เพ่ือป้องกันการคลอดก่อนกาหนด กรณีพบว่ามี ภาวะ IUGR ต้ังแต่ GA 28 wks.กาหนดให้มี
การติดตาม Ultrasound ทุก 2 สัปดาห์ ดูน้าหนักทารกในครรภ์ ดูน้าคร่า ติดตาม NST ทุก 1 สัปดาห์หรือถี่
กว่านั้น และให้สิ้นสุดการต้ังครรภ์ท่ี GA 37-38 สัปดาห์ งาน PCT โรงพยาบาลอมก๋อยได้มีแนวทาง CPG ใน
การดูแลภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกาหนด และมีการจัดทา standing order preterm labor and PROM ท่ี
ชดั เจน
17
6. อตั ราคลอดกอ่ นกาหนด
กราฟแสดงอตั ราทารกคลอดกอ่ นกาหนด ปี 2561-2565
อัตราการคลอดก่อนกาหนด (เกณฑ์เป้าหมาย: ไม่เกินร้อยละ 7) จากการวิเคราะห์ข้อมูลในปี 2565
พบว่าอัตราทารกคลอดก่อนกาหนด สูงกว่าค่าเป้าหมาย และสูงกว่าปีก่อนๆ เน่ืองมาจาก การคลอดก่อน
กาหนดมกี ารรายงานเคสในกลุ่มไลน์ OZOL สูติแพทย์มกี ารให้ปลอ่ ยคลอดได้ โดยในปี 2565 งานห้องคลอดได้
เกบ็ ข้อมูลการคลอดก่อนกาหนด ท้ังหมด 65 ราย
- การคลอด preterm ท่สี ูตแิ พทย์ให้ Expectant management จานวน 47 ราย คิดเปน็ 72.31 %
- การคลอด preterm ท่ไี ม่ได้ Expectant management จานวน 10 ราย คิดเปน็ 15.38 %
- อนื่ ๆ ไดแ้ ก่ BBA, DFIU (Hx. Covid-19 ) จานวน 8 ราย คิดเป็น 12.31 %
สาเหตุส่วนใหญ่ของการเกิดการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกาหนดเนื่องมาจาก การปฏิบัติตัวของหญิง
ต้ังครรภ์ไม่ถูกต้อง เช่นการทางานหนัก การมีเพศสัมพันธ์ Previous preterm และครรภ์แฝด งานห้องคลอด
ได้มีการดาเนินการแก้ไขปัญหา ร่วมกับเครือข่ายงานแม่และเด็กสายใต้ได้กาหนดแนวทางการส่งต่อหญิง
ต้ังครรภ์ท่ีมีประวัติคลอดก่อนกาหนดไปพบสูติแพทย์เพ่ือรับยา progesterone และวัดความยาวของปาก
มดลูก อีกท้ังงาน PCT โรงพยาบาลอมก๋อยก็ได้มีแนวทางในการดูแลภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกาหนด มีการ
จัดทา standing order preterm labor and PROM ทุกสถานบริการสุขภาพเพิ่มการให้สุขศึกษาเร่ืองการ
ปฏิบัตติ ัวระหวา่ งตงั้ ครรภ์ การเขา้ ถึงการใหบ้ ริการการแพทย์ฉกุ เฉิน
18
7. อตั ราความพึงพอใจของผู้รบั บริการห้องคลอด
อตั ราความพึงพอใจของผ้รู ับบรกิ ารห้องคลอด
จากข้อมลู ในปี 2565 พบวา่ อัตราความพงึ พอใจเพ่ิมข้นึ ร้อยละ 91.24 งานหอ้ งคลอดยังคงมี
มาตรการการปอ้ งกันการแพร่กระจายเชือ้ โควิด-19 โดยห้ามญาตเิ ข้ามาเฝ้าหญิงต้ังครรภ์ในหอ้ งคลอด แต่ได้
ผอ่ นคลายการตรวจคัดกรองลง โดยตรวจโควิด-19เฉพาะรายท่มี ีอาการระบบทางเดินหายใจและในรายที่มี
ความเส่ยี งเทา่ นน้ั เจ้าหนา้ ที่งานห้องคลอดได้มีการดแู ลผ้คู ลอดอยา่ งใกลช้ ดิ มีการส่ือสารกับผคู้ ลอดและญาติ
อย่างสม่าเสมอ โดยอธิบายความกา้ วหน้าของการคลอด ปญั หาแนวทางแก้ไข ให้ผูค้ ลอดและญาติทราบ
รวมทง้ั เมอื่ เกดิ ภาวะวิกฤตฉิ ุกเฉินของมารดาและทารกมีการประสานส่งต่ออยา่ งรวดเรว็ เพ่อื ความปลอดภยั ของ
มารดาและทารก ทาใหผ้ ู้คลอดและญาติเกิดความพงึ พอใจ
8. ห้องคลอดโควดิ
จากสถานการณโ์ ควดิ -19 งานแม่และเด็กสานกั งานสาธารณสุขกาหนดใหเ้ คสโควิดทต่ี ง้ั ครรภ์
ประเภทสเี ขียวใหค้ ลอดท่ีโรงพยาบาลชมุ ชนได้ ตง้ั แตเ่ ดอื น ธนั วาคม 2565 จงึ ได้จดั ทาห้องคลอดโควดิ โดย
ปรับปรงุ หอ้ งผ่าตดั เป็นห้องคลอด ในเดือนเมษายน 2565 ไดจ้ ดั ทาห้อง Negative pressure tent เพิ่มในห้อง
ผา่ ตดั มีผู้คลอดท้ังหมดจานวน 19 ราย
19
ปญั หาและอุปสรรค
1. อัตราการคลอดก่อนกาหนดสูง ทาให้ เกดิ ภาวะ LBW และ BA ตามมา
2. คลอด BBA / คลอดเองท่ีบ้าน ยงั เปน็ ปัญหาท่สี าคัญ สง่ ผลให้มีปญั หารกค้าง ตกเลือดหลังคลอด
3. ศักยภาพเจ้าหน้าท่ีไม่เพียงพอ ยงั ขาดทักษะอยู่
4. สถานที่คบั แคบเจ้าหน้าท่ีทาหัตถการไม่สะดวก ซงึ่ เป็นปญั หาทางดา้ นโครงสร้างไม่สามารถแก้ไขได้ในระยะ
สัน้
การพฒั นาต่อเนอื่ ง
1. การให้ความร้แู กเ่ จ้าหนา้ ทใ่ี นการประเมินคดั กรองความเส่ียงต้ังแต่ฝากครรภ์คร้งั แรก เพ่ือให้ไดร้ บั การดแู ลที่
ถูกตอ้ งไดร้ บั การสง่ ตอ่ ทเ่ี หมาะสม
2. ในรายท่ีเข้าสู่ระยะคลอด มีช่องทางปรึกษาแพทย์และส่งตัวมาเพ่ือได้รับการรักษาอย่างรวดเร็วและ
เหมาะสม
3. จัดอบรมภาวะฉุกเฉินทางสูติกรรมให้แก่เจ้าหน้าท่ีท่ีเก่ียวข้องท้ังในโรงพยาบาลและ ในรพ.สต. เพ่ือให้การ
ช่วยเหลอื ไดอ้ ย่างปลอดภยั ทง้ั แม่และลกู
4. พัฒนาระบบติดตามหลังคลอดในหญิงตั้งครรภ์เสี่ยงสูง เพื่อวางแผนการดูแลท่ีเหมาะสมในครรภ์ถัดไปหรือ
ส่งเสริมสนับสนุนการคุมกาเนิดท่ีถูกต้องเหมาะสม โดยงานANC สรุปจานวนหญิงต้ังครรภ์เส่ียงสูงในแต่ละ
เดือน ส่งใหห้ นว่ ยงานท่เี กยี่ วข้อง
แผนพัฒนางานในปีต่อไป
1. พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าท่ีพยาบาลโดยการอบรมการช่วยฟื้นคืนชีพทารกแรกคลอด และอบรมภาวะฉุกเฉิน
ทางสตู กิ รรม 1 คร้งั / ปี ฝกึ ปฏิบตั ิซอ้ มแผนภาวะฉุกเฉินทางสตู ิกรรม 2 ครั้ง/ปี
2. พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าท่ี เพื่อทบทวนความรู้ ทักษะการการทาคลอดทักษะการเย็บแผลฝีเย็บ และการใช้
อุปกรณ์เครอ่ื งมอื ทจ่ี าเปน็ ในหอ้ งคลอดโดยใหม้ าเวียนปฏบิ ตั งิ านทหี่ ้องคลอด
3. ร่วมกับทีม MCH Broad จัดทาแนวทาง การติดตามหญิงตั้งครรภ์ใกล้คลอด , การวางแผนการคลอด , จัด
บา้ นพกั รอคลอด
4. พัฒนา CPG ,Guide line ตา่ งๆให้อพั เดตอยูเ่ สมอ
20
กิจกรรม ปี 2565
โครงการอบรมพัฒนาศกั ยภาพพนกั งานสขุ ภาพชุมชนและบคุ ลากรในพ้นื ทีท่ ุรกนั ดาร
วนั ที่ 18-22 เมษายน 2565
21-22 เมษายน 2565 อบรมงานแม่และเดก็
อบรมเรอ่ื งการดแู ลหญิงตง้ั ครรภ์และภาวะฉกุ เฉินหลงั คลอด
21
กจิ กรรม ปี 2565
สอนการเปิดเส้นให้น้าเกลอื
สอนการประสานและส่งต่อหญิงต้ังครรภ์
22
กิจกรรม ปี 2565
นเิ ทศงานแม่และเดก็ /เยีย่ มเสรมิ พลังจากทีมโรงพยาบาลจอมทอง 20 เมษายน 2565
หอ้ งคลอด Covid-19
23
รายงานสรปุ ผลการดำเนนิ งานกลมุ่ การพยาบาล
โรงพยาบาลอมก๋อย ปีงบประมาณ 2565
ผู้จดั ทำ
งานผู้ป่วยในหญงิ
กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลอมกอ๋ ย
จังหวดั เชยี งใหม่ 2565
คำนำ
เอกสารฉบับนี้ เป็นเอกสารสรุปผลงาน หอผปู้ ว่ ยในหญงิ ปีงบประมาณ 2565 โดยมวี ัตถุประสงค์ เพื่อสรุป
การทำงานหอผู้ปว่ ยในหญงิ ปีงบประมาณ 2565 มีรายละเอยี ดเกีย่ วกับ สถติ กิ ารมารับบรกิ ารของผูร้ บั บริการ โรคที่
พบบ่อย ตวั ช้วี ัดคณุ ภาพ และ CQI นวตั กรรมตา่ งๆ ซ่งึ สามารถนำข้อมูลทบทวนการทำงาน พัฒนาการทำงาน แกไ้ ข
กระบวนการทำงานเพ่อื ไม่ใหเ้ กดิ ข้อผดิ พลาด และผู้จัดทำจะนำแนวทางแก้ไข ปรบั ปรงุ การทำงานและพฒั นางาน
ปงี บประมาณ 2565
คณะเจ้าหนา้ ท่ี งานผู้ป่วยในหญิง
ตลุ าคม 2565
สารบัญ หนา้
หวั ขอ้ 1
1
1. บทนำ 1
วิสัยทศั นโ์ รงพยาบาลอมก๋อย 1
พันธกจิ โรงพยาบาลอมก๋อย 2
ค่านยิ มองค์กร 3
วิสยั ทศั นง์ านผปู้ ่วยในหญงิ 3
งานทอ่ี ยู่ในความรับผิดชอบ
ขอบเขตการบริการของงานผู้ป่วยใน 4
ข้อกำหนดบริการงานผูป้ ว่ ยใน 5
5
2. อัตรากำลงั บุคลากร 6
จำนวนเจ้าหนา้ ท่ี
สมรรถนะของพยาบาลวิชาชพี 8
การจัดทีมพยาบาล 9
10
3. ข้อมลู สถติ ิการบริหารอัตรากำลงั
4. ข้อมูลดา้ นงานบริการผปู้ ว่ ยในหญิง 12
13
สถิติการให้บริการ 15
จำนวนผู้รบั บริการแยกตามประเภท 18
รายงาน 5 อันดบั โรคผูม้ ารับบรกิ าร 21
5. ตัวช้ีวัดในหน่วยงาน 23
อัตราตายผูป้ ว่ ยในหญิง 25
รอ้ ยละการส่งต่อ และรอ้ ยละการสง่ ตอ่ ท่ีไม่ได้วางแผน 27
อัตราการติดเชื้อในตึกผปู้ ่วยในหญิง 29
อตั ราการเกดิ หลอดเลือดดำอักเสบ
รอ้ ยละการ Re admit
จำนวนครัง้ การระบุตัวผปู้ ่วยผิดคน
จำนวนครัง้ การเกิดความเส่ียง
จำนวนครง้ั การเกิดความคลาดเคล่ือนทางยา
รอ้ ยละความผดิ พลาดจากการส่ง specimen
สารบัญ(ตอ่ ) หนา้
หัวขอ้ 31
33
อัตราการเกิดแผลกดทบั ของผู้ป่วยทน่ี อนโรงพยาบาล 34
จำนวนครั้งผู้ปว่ ยหลบหนจี ากโรงพยาบาล 35
จำนวนครง้ั การเกิดความผิดพลาดจากการให้เลือด 36
จำนวนครง้ั ผปู้ ว่ ยพลัดตกหกล้ม 37
อัตราความสมบูรณข์ องเวชระเบยี นผู้ปว่ ยใน 38
ร้อยละการให้สขุ ศึกษาแก่ผรู้ ับบริการ 39
รอ้ ยละผู้ปว่ ยทไ่ี ดร้ ับบาดเจบ็ จากการผกู ยึด 41
ร้อยละความพงึ พอใจของผู้รบั บริการงานผูป้ ่วยในหญงิ 42
จำนวนข้อรอ้ งเรียนพฤติกรรมบริการ 44
รอ้ ยละหญงิ หลงั คลอดที่เล้ียงลูกดว้ ยนมแม่ 6 เดือน
สรปุ กิจกรรมการพยาบาลงานผู้ปว่ ยในหญิง
1
สรปุ ผลงาน ตกึ ผปู้ ว่ ยในหญงิ ประจำปงี บประมาณ 2565
1. บทนำ
วสิ ัยทศั นโ์ รงพยาบาลอมก๋อย
โรงพยาบาลทมี่ ีคณุ ภาพ ชน้ั นำในพนื้ ทส่ี ูง ท่ีทุกคนไวว้ างใจ
พันธกิจโรงพยาบาลอมกอ๋ ย
1.พฒั นาคุณภาพบริการแบบองคร์ วมตามวิถีชนเผา่
2.พฒั นาคุณภาพและความร่วมมอื ในการสร้างสขุ ภาพเชิงรุกรว่ มกบั ภาคเี ครือขา่ ย
3.พัฒนาการบริการตามสิทธิแ์ ละศักด์ิศรขี องความเป็นมนษุ ย์
4.พัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจัดการโรงพยาบาลและเครือขา่ ยสุขภาพอำเภออมก๋อย
ค่านิยมองค์กรโรงพยาบาลอมก๋อย
ม อ ก : มาตรฐาน อ่อนน้อม กระตือรือร้นกล้าแสดงออก
วสิ ัยทัศน์ผ้ปู ว่ ยในหญงิ
ใหก้ ารพยาบาลผูป้ ่วยแบบองคร์ วม ตามมาตรฐานการพยาบาล ผู้รับบริการพึงพอใจ
งานบรกิ ารผปู้ ่วยในหญิง
ให้บรกิ ารผู้ป่วยเพศหญิงทกุ ประเภท ทารกแรกคลอดและผู้ปว่ ยโรคติดต่อทางเดินหายใจรนุ แรง ที่รับไวใ้ น
โรงพยาบาลตัง้ แต่แรกรบั จนถึงจำหน่าย โดยให้การพยาบาลแบบองคร์ วมครอบคลมุ ทง้ั ด้านการรักษาพยาบาล
ส่งเสรมิ สขุ ภาพ ป้องกันโรค และฟืน้ ฟสู ภาพ
จำนวนเตยี ง
ให้บริการรับผูป้ ่วยนอน จำนวน 30 เตยี ง
แบ่งเปน็
ห้องผปู้ ว่ ยธรรมดา จำนวน 25 เตยี ง
หอ้ งแยกโรคผู้ปว่ ยตดิ เช้ือ จำนวน 1 เตยี ง
ห้องพเิ ศษ จำนวน 4 เตยี ง
2
งานทอ่ี ยูใ่ นความรบั ผิดชอบงานผ้ปู ว่ ยในหญงิ มีดงั น้ี
ด้านบริหาร
1. บริหารทรัพยากรบุคคลดว้ ยการนำการคดิ ภาระงาน (Productivity) ในการบริหารอัตรากำลัง
2. สนบั สนุนให้บุคลากรไดร้ บั การตรวจสุขภาพประจำปี และไดร้ ับวคั ซนี ท่ีจำเป็นเพอื่ สขุ ภาพที่ดขี องบุคลากร
3.
ด้านบรกิ าร
1. ให้บริการพยาบาลผู้ป่วยตามมาตรฐานวชิ าชพี การพยาบาล
2. ใหก้ ารพยาบาลผ้ปู ่วยตามแผนการพยาบาล
3. ใหก้ ารพยาบาลผปู้ ว่ ยตามแผนการรักษาของแพทย์
4. งานบรกิ ารอาหารผปู้ ว่ ย
5. งานบรกิ ารดา้ นสุขศึกษาและการให้คำปรึกษา
6. ให้การพยาบาลผู้ป่วยระยะสดุ ท้ายแบบประคบั ประคอง (Palliative care)
7. ให้การพยาบาลผู้ปว่ ยระยะกลาง (Intermediate care)
8. การฟน้ื ฟสู ภาพ ความสามารถในการดูแลตนเอง และเตรียมความพร้อมก่อนจำหนา่ ย
9. งานเฝ้าระวังและควบคุมการติดเชอ้ื ในหน่วยงาน (Infection control)
10. งาน 5ส. งานคุณภาพ QA ,HA, RM, IM, ENV, HHC
11. งานอ่ืนๆที่ไดร้ บั มอบหมายจากผ้บู ังคบั บญั ชา
ด้านวิชาการ
1. จัดให้มีกจิ กรรมอบรมพัฒนาศักยภาพบคุ ลากรอยา่ งตอ่ เน่ือง ไดแ้ ก่ อบรมฟื้นฟวู ิชาการ IC อบรมฟน้ื ฟู CPR
2. จัดใหม้ กี าร KM ในหนว่ ยงานและระหว่างหน่วยงาน ไดแ้ ก่ กจิ กรรม 12 ทบทวนในหนว่ ยงานทุกครง้ั ทีม่ ี
Incidence Report ทบทวน HADและการบริหารยาระหว่างหน่วยงานเภสชั
3. สนบั สนนุ ให้มกี ารอบรมพัฒนาศักยภาพและความรู้เพ่ือพฒั นาวชิ าชพี ของตนเอง
ด้านการประสานงาน
1. งานรับสง่ ตอ่ ผปู้ ว่ ยระหวา่ งโรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลทั่วไป
2. งานรับส่งต่อระหว่างโรงพยาบาลชุมชน กับรพ.สต.
3. งานรับส่งตอ่ ระหว่างโรงพยาบาลชุมชน กบั หนว่ ยกภู้ ยั
3
ขอบเขตการบรกิ ารของงานผปู้ ว่ ยใน
1. ให้การดูแลผ้ปู ่วยเพศหญิง ทุกแผนก ทแ่ี พทย์ได้ทำการวินิจฉัย ว่าสมควรต้องไดร้ บั การรักษาในโรงพยาบาลตง้ั แต่
แรกรับจนกระทง่ั จำหนา่ ย
2. ให้การดูแลผ้ปู ่วยหลังคลอด ท่ีรบั ยา้ ยตึกหอ้ งคลอด มารกั ษาตอ่ ภายในตกึ รวมทัง้ ดูแลเด็ก
ทารกแรกเกดิ ทกุ คน
3. ให้การดแู ลผูป้ ว่ ยตดิ เชื้อทางเดินหายใจรุนแรงตามมาตรฐานการปฏิบตั งิ าน เฝ้าระวังและควบคุมการตดิ เชื้อใน
หน่วยงาน (Infection control)
4. ส่งตอ่ ผู้ปว่ ยเพื่อการดูแลรกั ษาต่อเน่อื ง โดยใหก้ ารดูแลและส่งตอ่ ผูป้ ่วยที่มีความจำเป็นต้องรกั ษาต่อเน่ืองอย่าง
เหมาะสม มีการประสานงานทีถ่ กู ต้องรวดเรว็
5. การดูแลผูป้ ่วยในต่อเน่ืองจากโรงพยาบาล สคู่ รอบครัวและชมุ ชน โดยมกี ารเตรยี มจำหน่ายผู้ป่วย การดูแล
ต่อเนอ่ื ง มีการวางแผนร่วมกับครอบครวั ชุมชน เพ่ือใหผ้ ปู้ ่วยไดร้ บั การดูแลต่อเนื่อง เหมาะสม และติดตามเยีย่ ม
โดยทีมเยี่ยมบา้ น
6. ใหก้ ารพยาบาลผปู้ ว่ ยแบบองค์รวม โดยใช้กระบวนการตามมาตรฐานวิชาชพี โดยเนน้ ผู้ปว่ ยเปน็
ศนู ยก์ ลาง ครอบคลุมท้งั 4 มิติรกั ษา ส่งเสรมิ ป้องกัน ฟืน้ ฟู
7. ผ้ปู ่วยทมี่ ปี ัญหาซบั ซ้อนจะได้รบั การดแู ลร่วมกนั ระหวา่ งสาขาวชิ าชีพ
8. พิทกั ษส์ ทิ ธิผปู้ ว่ ย ปฏิบตั ติ ามแนวทางพิทักษส์ ิทธผิ ูป้ ว่ ย
ขอ้ กำหนดบริการงานผปู้ ่วยใน
ผ้ทู ี่มารบั บรกิ ารทแ่ี ผนกหอผู้ปว่ ยใน จะไดร้ ับบรกิ ารดงั ต่อไปนี้
1. การนอนพกั ในสถานที่ทสี่ ะอาด ปลอดภัย
2. มเี ครอื่ งมอื เคร่อื งใชเ้ พียงพอ อปุ กรณ์การแพทย์ท่ีสะอาดปราศจากเช้ือ
3. ใหญ้ าตเิ ฝา้ ดแู ลไดต้ ลอดเวลา 1 คน
4. มีอาหารท่สี ะอาด เหมาะสมกับโรค วันละ 3 มอื้ และไดร้ ับยาที่มคี ุณภาพ
5. รบั การตรวจรักษาโดยแพทย์อยา่ งนอ้ ยวนั ละ 1 ครง้ั
6. ทราบผลการตรวจวินจิ ฉยั และคำแนะนำ ในการปฏบิ ัติตนใหเ้ หมาะสมกับโรค
7. การดแู ลโดยพยาบาลตลอด 24 ชัว่ โมง
8. การบริการอย่างเป็นกนั เองและ มอี ัธยาศยั ทดี่ ี
9. ผู้ป่วยแรกรับนอนการรักษาพยาบาลไมเ่ กิน 30 นาที เม่ือมาถงึ หอผู้ปว่ ย
4
2. อตั รากำลังบคุ ลากรในผปู้ ่วยในหญิง
2.1 จำนวนเจ้าหน้าที่ผปู้ ว่ ยใน
มกี ารจดั อัตรากำลงั เพ่ือใหเ้ พียงพอท้งั ในเวลาราชการ นอกเวลาราชการ ตลอด 24 ชวั่ โมงจำนวน
บคุ ลากรในหน่วยงานประกอบด้วย พยาบาลวิชาชีพ ผู้ชว่ ยพยาบาล และผชู้ ่วยเหลอื คนไข้ ดังรายชอ่ื ต่อไปน้ี
1. นางวไิ ลพร ศิริ พยาบาลวชิ าชีพชำนาญการ หวั หน้าตกึ
2. นางสาวทบั ทิม ศรนี วล พยาบาลวิชาชีพปฏบิ ัติการ รองหัวหนา้ ตึก
3. นางสาวทิพวลั ย์ ทฆี วฒั นส์ กลุ พยาบาลวชิ าชีพปฏิบัติการ
4. นางอรพนิ จนั ทรม์ ลู พยาบาลวิชาชีพปฏิบตั ิการ
5. นางสาวอรอนงค์ ปุบผาศรีไสว พยาบาลวชิ าชีพปฏิบตั ิการ
6. นางสาวรัตนธ์ ิชา กตกิ าสติ พยาบาลวชิ าชีพปฏบิ ัติการ
7. นางสาวพรนชั ชา มานัสพพิ ัฒ พยาบาลวชิ าชีพปฏบิ ัติการ
8. นางสาวทดิ าพร มงคลวาท พยาบาลวิชาชีพปฏบิ ัติการ
9. นางสาวศภุ ลกั ษณ์ วนั เจ พยาบาลวิชาชีพ
10. นางสาววชั ราภรณ์ ปานดษุ ฎี พยาบาลวชิ าชีพ
11. นางสาวศิรินธร พัฒนาชาตินิยม พยาบาลวชิ าชีพ
12. นางระนอง แสนใจอิ ผชู้ ว่ ยพยาบาล
13. นายธนกร สกุลปาล พนกั งานผูช้ ว่ ยเหลอื คนไข้
14. นางสาววรรณา ชปิ ๋วย พนักงานผู้ช่วยเหลือคนไข้
15. นางสาวโสภติ สดุ า ไชยเสน พนักงานผ้ชู ่วยเหลือคนไข้
5
2.2 สมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ
อายุงาน จำนวนผู้ปฏิบัตงิ าน ระดบั สมรรถนะ ร้อยละ
1-3 ปี 2 Novice 18.18
3-5 ปี 3 Advance Beginner 27.28
5-7 ปี 2 Competent 18.18
8-10 ปี 2 Proficient 18.18
มากกวา่ 10 ปี 2 Expert 18.18
ตารางท่ี 1: แสดงสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในตึกผู้ป่วยในหญงิ ปีงบประมาณ 2565
จากตารางจะเหน็ ไดว้ ่าระดับสมรรถนะพยาบาลวชิ าชพี ในหน่วยงานสว่ นใหญ่อยู่ในระดับAdvance Beginner
Competent คดิ เปน็ ร้อยละ 25 และระดับ Novice คิดเป็นร้อยละ 16.66 ในระดบั Novice และ Advance
Beginner
มกี ารกำกบั ดแู ลใช้การนเิ ทศทางการพยาบาล เพ่ือการปฏบิ ัติงานท่มี ปี ระสทิ ธิภาพ ลดการเกิดความเส่ียงในหนว่ ยงาน
2.3 การจัดทมี พยาบาล
มีการจดั อัตรากำลังทมี การพยาบาลดูแลผปู้ ่วย 24 ชั่วโมง ดงั นีก้ ารจดั ทีมการพยาบาล
เวร พยาบาล ผู้ชว่ ยพยาบาล ผชู้ ว่ ยเหลอื รวมต่อเวร
คนไข้
ดกึ 2 0 13
เช้า 5 1 28
บ่าย 3 0 14
รวม 10 1 4
ตารางท่ี 2: แสดงการจดั อัตรากำลังในแตล่ ะเวร ของตึกผู้ป่วยในหญิงปีงบประมาณ 2564
จากตารางจะเหน็ ไดว้ า่ เวรเช้ามีการจัดอตั รากำลังเจ้าหน้าท่ีในงาน เพื่อใหก้ ารพยาบาลที่เหมาะสมกับจำนวน
ผู้รบั บริการ ในเวรดกึ มจี ำนวนการจัดอัตรากำลังในเวร จำนวน 3 คน จากการทบทวนกระบวนการทำงาน และความ
เสย่ี งในหน่วยงาน พบวา่ เวรดึกซึ่งมโี อกาสเกิดความเสย่ี งเนอื่ งจากอัตรากำลงั ไมเ่ พยี ง จงึ ไดก้ ำหนดการเรยี ก
อตั รากำลังเสริม อตั รากำลังกับภาระงานโดยอา้ งอิงจาก Productivity มากกวา่ 110 หมายถึงภาระงานมาก
อัตรากำลงั น้อยเกนิ ไป สามารถเรียกอัตรากำลังเสริมได้ เพ่อื ใหอ้ ัตรากำลังกบั ภาระงานในแตล่ ะเวรไม่ให้เกดิ ความเส่ียง
ความผดิ พลาดจากการทำงาน
3. ขอ้ มูลสถิตกิ ารบริหารอตั รากำลัง
ลำดับ รายการตวั ชีว้ ัดคุณภาพการพยาบาล ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค.
1 อัตราการครองเตียง 49.46 54.33 44.19 38.28
1.1 จำนวนวันนอน 460 489 411 356
1.2 จำนวนเตียง*จำนวนวนั ในเดือน 930 900 930 930
2 Active bed 14.84 16.30 13.26 11.48
อัตราครองเตยี ง 49.46 54.33 44.19 38.28
จำนวนเตยี งตามกรอบ 30 30 30 30
3 productivity 93.49 101.66 93.43 72.36
จำนวนผ้ปู ่วยเฉลยี่ /วนั 19.16 20.63 17.32 15.00
จำนวนชว่ั โมงความต้องการการ 4.43 4.46 4.92 4.4
พยาบาล/วนั (NHPPD/day)
จำนวน จนท.เฉลี่ย/วัน 12.97 12.93 13.03 13.03
ตารางที่ 3 : แสดงอตั ราครองเตยี ง Active bed Pro
จากตารางพบวา่ อัตราครองเตยี งเปน็ ร้อยละ 50.76 Active bed 15.23 จากข้อ
98.07 (คา่ Productivity ปกติ 80-120) แสดงให้เห็นว่าปริมาณงานเหมาะสมกบั จำนวนบ
6
ผลการเฝ้าระวังตัวชี้วดั การพยาบาล
ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. รวม
50.48 48.39 42.67 53.33 42.56 55.81 67.85 61.67 50.76
424 450 384 496 383 519 631 555 5,558
840 930 900 930 900 930 930 900 10,950
15.14 14.52 12.80 16.00 12.77 16.74 20.35 18.50 15.23
50.48 48.39 42.67 53.33 42.56 55.81 67.85 61.67 50.76
30 30 30 30 30 30 30 30 30
105.09 80.89 83.04 105.59 83.66 113.08 129.44 115.90 98.07
18.85 16.58 16.10 21.68 18.00 22.13 26.06 24.13 19.64
4.57 4.45 4.52 4.64 4.49 4.65 4.52 4.64 4.56
11.71 13.03 12.52 13.61 13.80 13.00 13.00 13.80 13.04
oductivity ของตกึ ผู้ปว่ ยในหญิงปีงบประมาณ 2565
อมูลแสดงให้เห็นวา่ จำนวนเตียงเพยี งพอต่อผูร้ ับบรกิ าร Productivity เฉล่ยี ร้อยละ
บคุ ลากร และไดม้ ีการทบทวนภายในหน่วยงาน หากมี Productivity
7
ในแตล่ ะเวร มากกว่า 110 สามารถเรียกบุคลากรปฏบิ ตั ิการเสรมิ ได้ เพื่อการลดความเส่ียงการทำงานจากภาระงาน
มากเกนิ
ปญั หาและอุปสรรค จำนวนบคุ ลากรมีการโยกย้าย มผี ู้ปฏิบัตงิ านระดับ Novice , Advance Beginner
แก้ไขโดยการใชก้ ารนเิ ทศทางการพยาบาล กำกบั ติดตาม โดยหัวหนา้ งาน หัวหนา้ เวรในแตล่ ะเวร มกี ารประเมิน
competency เพอ่ื ให้ประเมินผ้ปู ฏบิ ัติงานและนเิ ทศกำกบั ติดตาม
8
4. ขอ้ มูลด้านงานบรกิ ารผู้ป่วยในหญิง (ข้อมลู จาก HOS-XP วนั ท่ี 1/10/64-30/9/65)
4.1 สถิติการให้บริการ 2561 2562 2563 2564 2565
ลำดบั รายการ
1 จำนวนผรู้ บั บริการทั้งหมด (คน) 2,807 3,102 2,721 2,433 2,067
2 จำนวนผู้ป่วยเฉล่ยี ตอ่ วนั (คน) 20.43 24.54 21.44 18.33 19.64
3 จำนวนวนั นอนผ้ปู ว่ ยของแยกโรคทางเดนิ หายใจ 101 102 123 50 129
4 จำนวนผ้ปู ่วยห้องพิเศษ (คน) 244 350 278 185 213
5 จำนวนหญิงหลังคลอด (คน) 482 499 409 541 447
ตารางที่ 4: แสดงสถติ ิการให้บรกิ ารงานผปู้ ่วยในหญิง ปงี บประมาณ 2561-2565
จากตารางจะเห็นได้ว่า ปี 2561-2565 มผี ู้รับบรกิ าร 2,807 3,102 2,721 2,433 2,067คน ตามลำดับ ปี
2565 มีผ้มู ารับบริการลดลงเล็กนอ้ ย เล็กน้อยจากสถานการณ์โควดิ
จำนวนผปู้ ว่ ยเฉล่ีย/วนั ในปี 2561 – 2565 คดิ เปน็ 20.43 25.54 21.44 18.33 และ 19.64คน ตามลำดับ
จำนวนผ้ปู ่วยเฉลี่ย/วนั เพม่ิ ข้ึนจากปีทผ่ี า่ นมา
มีการใชห้ อ้ งแยกโรคทางเดนิ หายใจ ในปี 2561 – 2565 95 101 102 123 50 และ129 วนั ตามลำดับ
และในปีนี้ การใชห้ ้องแยกทางเดินหายใจลดลงตามจำนวนผ้รู ับบรกิ ารท่ีเพิ่มขนึ้ ผู้รับบริการสว่ นใหญ่ทีเ่ พิ่มขนึ้ ไดแ้ ก่
โรค covid-19
จำนวนหญิงหลงั คลอดท่นี อนโรงพยาบาล ในปี 2561 – 2565 คดิ เปน็ 482 499 409 541และ447คน
ตามลำดับ ปีนี้มกี ารรบั ดแู ลผู้ปว่ ยหลงั คลอดสูงขน้ึ คดิ เป็น ร้อยละ 21.62 ของผ้รู บั บริการท้ังหมด
9
4.2 จำนวนผรู้ ับบริการแยกตามประเภท
ปีงบประมาณ
ลำ ประเภท 2561 2562 2563 2564 2565
ดับ จำนวนผู้ป่วย จำนวนผู้ป่วย จำนวนผปู้ ่วย จำนวนผปู้ ว่ ย จำนวนผู้ป่วย
(ครั้ง) (คร้งั ) (ครง้ั ) (ครั้ง) (ครั้ง)
1 อายกุ รรม 1,122 1,031 1,100 909 816
2 ศัลยกรรม 57 39 41 23 27
3 สูตกิ รรม 526 548 582 682 515
4 นรีเวชกรรม 13 13 24 29 9
5 กมุ ารเวช 1,063 1,302 974 784 633
กรรม
6 ศลั ยกรรม 1 2 1 11
กระดูก
7 จติ เวช 4 4 1 20
8 ทันตกรรม 14 12 1 32
ตารางที่ 5 : จำนวนผ้รู บั บริการแยกตามประเภทงานผปู้ ่วยหญงิ ปงี บประมาณ 2561 – 2565
จากตารางแสดงข้อมูลยอ้ นหลัง 5 ปีผ้รู บั บรกิ ารแผนกอายุรกรรม มารบั การรักษามากท่ีสดุ รองลงมาคือ
แผนก กมุ ารกรรม และสตู ิกรรม ตามลำดบั
10
4.3 รายงาน 5 อนั ดับผู้มารับบริการผู้ปว่ ยในหญิงปีงบประมาณ 25560-2564
ลำดบั ปงี บประมาณ
2561 2562 2563 2564 2565
1 O800 O800 O800 O800 O800
Spontaneous Spontaneous Spontaneous Spontaneous Spontaneous
vertex delivery vertex delivery vertex vertex vertex
delivery delivery delivery
2 Z380 Z380 Z380 Z380 Z380
Singleton, born in Singleton, born in Singleton, Singleton, Singleton,
hospital hospital born in born in born in
hospital hospital hospital
3 P599 P599 J209 D561 Beta J441
Neonatal jaundice Neonatal jaundice Acute thalassemia COPD
bronchitis
4 J180 J209 D561 J209 D561
Bronchopneumonia Acute bronchitis Beta Acute Beta
thalassemia bronchitis thalassemia
5 D561 Beta J219 Acute J441 J441 J209
thalassemia bronchiolitis COPD COPD Acute
bronchitis
ตารางที่ 6 :แสดงรายงาน 5 อันดบั ผู้มารบั บรกิ ารผปู้ ่วยในหญงิ ปีงบประมาณ 2561-2565
พบว่าผู้รับบริการของงานผู้ป่วยในหญิง เป็นกลุ่มมารดา-ทารก ผู้ป่วยโรคเลือด ผู้ป่วยทางเดินหายใจ
ตามลำดับ จากรายงานอันดับโรคที่มารับบริการได้มีการพัฒนาการรับบริการโดย มีการกำหนด early warning sign
ตามกลมุ่ โรค เพ่ือตดิ ตามเฝ้าระวงั อาการตามกลุ่มโรค และพัฒนาระบบการติดตามเยยี่ มบ้านในผปู้ ว่ ยแตล่ ะกล่มุ โรค
กล่มุ มารดา ทารก มกี ารให้สขุ ศกึ ษาก่อนกลบั บ้านทุกราย เนน้ ยำ้ การดแู ลหลงั การจำหน่าย มีการติดตามเยี่ยมบ้านทุก
ราย โดยติดตามเรื่องการปฏิบัติตัวหลังคลอด การเลี้ยงดูบุตรด้วยนมมารดา มีการส่งเสริมให้เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
อย่างน้อย 6 เดอื น
11
5. ตัวช้วี ัดในหน่วยงาน
5.1 อตั ราตายผู้ป่วยในหญิง ปงี บประมาณ 2565
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. รวม
จำนวน 1 0 0 0 0 0 1 0 0 0 0 0 2
ผปู้ ่วย
เสียชีวิต
จำนวนวัน 155 179 159 147 172 162 133 175 147 193 228 198 2048
นอนผปู้ ่วย
ในหญิง
อตั ราตาย 0.65 0 0 0 0 0 0.76 0 0 0 0 0 0.10
ผูป้ ่วยใน
หญิง
ตารางที่ 7: แสดงอัตราตายของงานผู้ปว่ ยหญิง ปี 2565
พบว่าปงี บประมาณ 2565 มีรายงานผ้ปู ว่ ยเสียชวี ิตในโรงพยาบาล 2 ราย คดิ เป็นอัตราตายคิดเป็น 0.10 ต่อพนั วัน
นอนโรงพยาบาล
12
อตั ราตายผ้ปู ่วยในหญิงปีงบประมาณ 2559-2564
อตั ราตายผ้ปู ่ วยในหญิงปีงบประมาณ 2561-2565
0.4 Interven
0.34 tion
0.35 0.32
0.31
0.3
0.25
0.2
0.15
0.1
0.1
0.05 0 0 0 0
0 2562 2563 2564 2565
00
2561
เปา้ หมาย อตั ราตายต่อพนั วนั นอน
แผนภมู ิที่ 1 : แสดงอัตราตาย งานผปู้ ่วยในหญิง ปี 2561-2565
ปีงบประมาณ 2561-2565 พบรายงานอัตราตายในตึกผู้ป่วยในหญิงเป็น 0 0.32 0.34 0.31 และ 0.10
ตามลำดับ จากการทบทวนในหน่วยงาน และการทบทวนในทีม PCT พบปัญหาในเรื่อง การประเมิน และ
กระบวนการดูแลผปู้ ว่ ยไม่ครอบคลมุ ทำใหเ้ กิดความเสี่ยง หนว่ ยงานไดท้ ำการทบทวนในเรือ่ ง
1. การประเมนิ การแยกประเภทผู้ปว่ ยตามความรนุ แรงและความตอ้ งการการพยาบาลของผ้ปู ว่ ยแตล่ ะราย
2. การใช้ early warning sign ในการดูแลผู้ป่วยตามกลุ่มสำคัญและการรายงานแพทย์เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการ
ดูแลอยา่ งทนั ท่วงที
3. หัวหน้างาน ต้องมีการนิเทศกำกับติดตาม การปฏิบัติตามแนวทางของทีมรักษา และการบันทึกทางการ
พยาบาลให้คลอบคลมุ
4. หัวหน้างานต้องมีการประเมินสมรรถนะการปฏิบัติงานของบุคลากรในหน่วยงาน ทุก 6 เดือน และให้มีการ
สง่ เสริมสมรรถนะชองบุคลากรในหน่วยงานตาม competency
5. การประเมินผู้ป่วยที่มาด้วยอาการ atypical chest pain เพิ่มการ investigate การประเมินซ้ำ เพื่อติดตาม
อาการและการเปลย่ี นแปลงของผ้ปู ่วย
อีก 1 รายเป็นการเสยี ชวี ิต ในผู้ปว่ ยระยะสุดท้าย และไดร้ บั การดแู ลตามมาตรฐานและสมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
จึงได้มีการพัฒนาแนวทางการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (palliative care) และการประเมินซ้ำ เน้นย้ำในเรื่อง
การวางแผนร่วมกันระหวา่ งญาติ และ ผูป้ ว่ ย ในการดแู ลผ้ปู ่วยระยะสุดทา้ ย เพอ่ื ใหก้ ารพยาบาลตามมาตรฐาน
13
5.2 ร้อยละการส่งตอ่ และ ร้อยละผ้ปู ่วย unplan Refer ผ้ปู ่วยในหญงิ ปีงบประมาณ 2565
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. รวม
จำนวนผ้ปู ่วยนอน 155 179 159 147 172 162 144 175 147 193 228 198 2059
โรงพยาบาลใน
เดอื นเดียวกนั
จำนวนผ้ปู ่วยส่ง 6 7 8 3 10 11 10 4 5 5 10 7 86
ตอ่
อตั ราการส่งต่อ 3.8 3.91 5.03 2.04 5.81 6.79 6.94 2.28 3.4 2.59 4.38 3.53 4.41
จำนวนผ้ปู ่วย 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1
unplan Refer
ร้อยละผู้ปว่ ย 0.6 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0.5
unplan Refer
ตารางที่ 8: แสดงร้อยละการส่งต่อ และ ร้อยละผู้ป่วย unplan Refer ผู้ปว่ ยในหญงิ และ ปงี บประมาณ 2565
พบว่าปงี บประมาณ 2565 มีการส่งตอ่ 86 ครงั้ คิดเป็นรอ้ ยละ 4.41 และมีการส่งต่อโดยไมไ่ ดว้ างแผน 1 ราย คดิ เป็น
ร้อยละ 0.5 ของจำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการส่งต่อทั้งหมด จึงได้ทบทวนถึงสาเหตุการส่งต่อพบว่ากลุ่มโรคที่ยังมีการส่งต่อ
แบบไมไ่ ดว้ างแผน คอื กลมุ่ โรคทางเดนิ หายใจ กลมุ่ โรคติดเช้ือในกระแสเลอื ด
หนว่ ยงานไดด้ ำเนินการรว่ มกับทีม PCT ในการกำหนดแนวทางประเมินและประเมนิ ซ้ำในผูป้ ว่ ยทุกๆรายเพอ่ื ไม่ให้เกิด
การส่งต่อผู้ปว่ ยทลี่ า่ ช้า การใช้ early warning sign ในการประเมินคนไขท้ งั้ 2 กลุ่ม
14
ร้อยละการส่งต่อ และ รอ้ ยละผู้ป่วย unplan Refer ผูป้ ่วยในหญิง ปีงบประมาณ 2561-2565
9 Interven
8.1
tion
8 7.7 7.4
7 5.82
6 4.41
5 4.7
4 3.41
3
1.91
2
1 0.25 0.5
2565
0 256ร2้ อยละการส่งต่อ 256ร3้อยละผ้ปู ่วย un plan 2564
2561
refer
แผนภมู ทิ ี่ 2 : แสดงร้อยละการส่งต่อ และ ร้อยละผปู้ ่วย unplan Refer ผู้ปว่ ยในหญงิ และ ปงี บประมาณ
2561-2565
จากแผนภูมิ พบว่าร้อยละการสง่ ต่อปงี บประมาณ 2561-2563 คดิ เป็นรอ้ ยละ 4.7 5.82 และ 1.91
ตามลำดับ หนว่ ยงานจงึ ได้มีการทบทวนการดแู ลผ้ปู ว่ ยร่วมกบั ทมี สหวชิ าชพี ทีม PCT เกิดแนวทางการแก้ไขดังนี้
1. กำหนดแนวทางประเมิน ประเมินซ้ำ
2. มีการกำหนดใหใ้ ช้ early warning sign ในการประเมิน ผปู้ ่วยโรคทางเดนิ หายใจ และผ้ปู ่วยติดเชอื้ ในกระแส
เลือด
3. มีจำแนกประเภทผปู้ ว่ ยตามความรุนแรงและตามความต้องการการพยาบาลของผู้ปว่ ยแต่ละราย
4. กำหนด Specific clinical risk เพอ่ื การเฝ้าระวงั ความผดิ ปกติและรายงานแพทย์เพ่ือการรกั ษาท่ีทันเวลา
5. มกี ารใช้ระบบ Line ในการปรกึ ษากับแพทยท์ ด่ี ูแล และแพทย์เฉพาะทางในโรงพยาบาลแม่ข่าย เพือ่ การดแู ล
รกั ษาเฉพาะโรค
6. ปรกึ ษาทีม PTC ในการจดั ซื้อยาทจ่ี ำเปน็ สำหรบั ผปู้ ว่ ย ได้แก่ ยา Hydrocortisone
7. มกี ารทบทวนผ้ปู ่วยที่ถกู ส่งต่อทุกราย เพ่ือเปน็ การทบทวนกระบวนการดแู ลและการแก้ไข
8. นำแนวทางการดูแลรักษาจาก รพ.แม่ขา่ ย ปรับใช้ในการดูแลผูป้ ่วย
9. มกี ารนเิ ทศกำกบั ตดิ ตามในเรื่อง การประเมนิ ประเมนิ ซำ้ การบนั ทกึ ทางการพยาบาลอย่างต่อเน่ือง
10. ส่งเสรมิ สนับสนุนการใช้ O2 high flow ในการพยาบาลผปู้ ่วยท่ีตอ้ งการใช้ออกซิเจนแรงดันสูง ตามแผนการ
รกั ษาของแพทย์
หลังจากไดด้ ำเนินการดังกล่าวพบวา่ ปีงบประมาณ 2565 รอ้ ยละการสง่ ตอ่ เป็น 4.41 แตร่ ้อยละการส่งต่อท่ี
ไมไ่ ด้วางแผน ลดลง เปน็ ร้อยละ 0.5
15
5.3 อัตราการติดเชอื้ ในโรงพยาบาลตึกผ้ปู ่วยในหญงิ ปีงบประมาณ 2565
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. รวม
จำนวนคร้งั 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
การตดิ เชื้อใน
โรงพยาบาล
จำนวนวนั 452 489 411 356 424 450 384 496 383 519 631 555 5550
นอน
โรงพยาบาล
อัตราการติด 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
เชอื้ ในตึก
ผู้ปว่ ยในหญงิ
ตารางท่ี 9: แสดงอัตราการตดิ เชอ้ื ในโรงพยาบาล งานผ้ปู ่วยในหญิง ปี 2565
ปี 2565 ไม่พบอัตราการตดิ เชื้อในโรงพยาบาลในตกึ ผู้ปว่ ยใน หนว่ ยงานได้เพม่ิ การเฝ้าระวังการตดิ เช้ือ COVID-19
ในหนว่ ยงานท้งั ในบุคลากร และ ผูร้ ับบริการ โดยดำเนินการในเรื่อง
1. การกำหนดการเฝา้ และการงดเยีย่ ม
2. การใช้หน้ากากอนามยั 100% ในผปู้ ว่ ยและญาติ หากไม่มขี อ้ ห้าม
3. การใช้หนา้ กากอนามยั 100% ในบุคลากร
4. การใช้แบบประเมนิ ความเสย่ี งโควดิ ในผูป้ ่วยรับนอนทุกราย
5. ผูป้ ่วย PUI จัดใหแ้ ยกนอนจากผ้ปู ่วยท่ัวไป
6. การจัดเตยี งเป็นไปตามมาตรฐานการป้องกันการแพร่กระจายเช้อื droplet precaution
7. จดั ใหม้ ี Alcohol hand rub ในทา้ ยเตียงผู้ปว่ ยทุกเตียง
8. การซ้อมและการฝกึ ใช้ PPE ในบคุ ลากรทุกระดับ
9. มกี ารทบทวนเก่ียวกบั โรคติดเชือ้ ทางเดินหายใจแยกประเภทผปู้ ่วยเพือ่ ป้องกนั การแพร่กระจายเชื้อ droplet
precaution
10. การซ้อมแผนกรณีมที ีต่ ้องใช้ท่อช่วยหายใจผูป้ ่วยตดิ เชื้อ และ ผูป้ ่วย PUI
11. สรา้ งความตระหนักในหน่วยงานเกย่ี วกับการปฏิบตั ิตาม Standard Precautions