The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ไฟล์รวมสุขศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ไฟล์รวมสุขศึกษา

ไฟล์รวมสุขศึกษา

ศิร ศิ าณี ผาด่านแก้ว รหัสหั 62100189111 แผนการจัด จั การเรีย รี นรู้สุ รู้ ข สุ ศึกษา โรงเรียรีนโนนสูงสูพิทพิยาคาร อำ เภอเมือมืง จังจัหวัดวัอุดรธานี สำ นักนังานเขตพื้นพื้ที่การศึกษามัธมัยมศึกษาอุดรธานี ครุศาสตรบัณ บั ฑิต สาขาวิชาพลศึก ศึ ษาและสุข สุ ศึก ศึ ษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


ค ำอธิบำยรำยวิชำ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้สุขศึกษำและพลศึกษำ พ 21103 สุขศึกษำ ( รำยวิชำพื้นฐำน ) ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1 เวลำเรียน 1 ชั่วโมง/สัปดำห์ 20 ชั่วโมง/ภำคเรียน ภำคเรียนที่ 2 จ ำนวน ( 0.5 หน่วยกิต ) ศึกษาความสำคัญของระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อที่มีผลต่อสุขภาพการเจริญเติบโตและ พัฒนาการของวัยรุ่น วิธีดูแลรักษาระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อให้ทำงานตามปกติ ภาวการณ์ เจริญเติบโตทางร่างกายของร่างกาย ของตนเองกับเกณฑ์มาตรฐาน แสวงหาแนวทางในการพัฒนาตนเอง ให้เจริญเติบโตสมวัย อธิบายวิธีการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์และพัฒนาการ ทางเพศอย่างเหมาะสม ทักษะการปฏิเสธเพื่อป้องกันตนเองจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศ โดยใช้ทักษะ ต่าง ๆ และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการดำรงชีวิตตามหลักแนวการคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับวัย วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากภาวะโภชนาการที่มีผลกระทบต่อ สุขภาพ การควบคุมน้ำหนัก การสร้างเสริมและปรับปรุงสมรรถภาพทางกายตาผลการทดสอบ ตลอดจน แสดงวิธีการปฐมพยาบาลและเคลื่อนย้ายผู้ป่วยอย่างปลอดภัย อธิบายลักษณะอาการของผู้ติดสารเสพติด และการป้องกัน รวมทั้งแสดงความสัมพันธ์ของการใช้สารเสพติดกับการเกิดโรคและอุบัติเหตุ และแสดง วิธีการชักชวนผู้อื่นให้ลด เลิกสารเสพติดด้วยกระบวนการและทักษะต่าง ๆ อธิบายหลักการเคลื่อนไหวที่ ใช้ทักษะกลไกและทักษะพื้นฐานที่นำไปสู่การพัฒนาทักษะการเล่นกีฬา กีฬาไทยและกีฬาสากลประเภท บุคคลและทีมโดยใช้ทักษะพื้นฐานตามชนิดกีฬาอย่างละ 1 ชนิด กิจกรรมนันทนาการอย่างน้อย 1 กิจกรรม ความสำคัญของการออกกำลังกายและการเล่นกีฬาที่เลือกและการเล่นกีฬาและการทำงานเป็น ทีมอย่างสนุกสนาน ความแตกต่างระหว่างวิธีการเล่นกีฬาของตนเองกับผู้อื่น โดยใช้กระบวนการทางสุขศึกษาและพลศึกษา การอธิบาย การวิเคราะห์ การแสวงหา การแสดง การเพิ่มพูนความสามารถ และนำความรู้ที่ได้ไปเชื่อมโยงสัมพันธ์กับวิชาอื่น ภายใต้กรอบแนวทางตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การปฏิบัติ การวางแผน การประเมินตนเองและผู้อื่น การปรับปรุงและการ นำไปใช้อย่างเป็นระบบ การร่วมมือ การเปรียบเทียบ และการยอมรับ การเลือกการบริโภคและอุปโภค การควบคุมน้ำหนักตนเอง และการสร้างเสริมสุขภาพและสมรรถภาพ เพื่อให้เห็นคุณค่าในการดูแลรักษาสุขภาพ รักการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา มีทักษะ กระบวนการทางสุขศึกษาและพลศึกษา เกิดความคิด การแก้ไขป้องกันปัญหา เห็นความสำคัญของการ ออกกำลังกายและเล่นกีฬาจนเป็นวิถีชีวิตที่ดี มีสุขภาพที่ดี มีวินัย มีจิตสาธารณะ สามารถสื่อสารสิ่งที่


เรียนรู้ มีทักษะในการดำรงชีวิต และนำความรู้สุขศึกษาและพลศึกษาเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้วิชาอื่น และนำไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่างถูกต้องและเหมาะสม ตัวชี้วัด พ.1.1 ม.1/1 , พ.1.1 ม.1/2 , พ.1.1 ม.1/3 , พ.1.1 ม.1/4 พ.2.1 ม.1/1 , พ.2.1 ม.1/2 พ.4.1 ม.1/1 , พ.4.1 ม.1/2 , พ.4.1 ม.1/3 , พ.4.1 ม.1/4 พ.5.1 ม.1/1 , พ.5.1 ม.1/2 , พ.5.1 ม.1/3 , พ.5.1 ม.1/4


ก ำหนดกำรสอน สัปดำห์ที่ หน่วยกำรเรียนรู้ มำตรฐำน/หน่วยกำรเรียนรู้ จ ำนวนชั่วโมง น ำหนักคะแนน 1 ปฐมนิเทศ 1 6 2-3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 อันตรายจากสารเสพติด พ 5.1 ม.1/1 พ 5.1 ม.1/3 2 7 4-6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 ชักชวนทำดี หลีกหนีสารเสพติด พ 5.1 ม.1/4 3 7 6-9 หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 การปฐมพยาบาล พ 5.1 ม.1/1 3 10 10 สอบกลำงภำคเรียนที่ 1 1 20 11-14 หน่วยการเรียนรู้ที่ 11 เคลื่อนย้ายปลอดภัย พ 5.1 ม.1/1 4 15 15-19 หน่วยการเรียนรู้ที่ 12 ทดสอบสมรรถภาพ พ 4.1 ม.1/4 5 15 20 สอบปลำยภำคเรียนที่ 1 1 20 รวมคะแนนก่อนกลำงภำค 30 สอบกลำงภำค 20 รวมคะแนนสอบหลังสอบกลำงภำค 30 สอบปลำยภำค 20 รวมทั งหมด 100 รวมเวลำตลอดภำคเรียน 20 ชั่วโมง


โครงสร้างรายวิชาสุขศึกษระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ล าดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ตัวชี้วัด ๑ ปฐมนิเทศ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๘ อันตรายจากสารเสพ ติด พ ๕.๑ ม.๑/๒ อธิบาย ลักษณะอาการของ ผู้ติดสาร เสพติดและการป้องกันการติด สารเสพติด พ ๕.๑ ม.๑/๓ อธิบาย ความสัมพันธ์ของ การใช้สาร เสพติดกับการเกิดโรคและ อุบัติเหต อัน- ค- ลัควาการ- แ- กโรง๒ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๙ ชักชวนทำดี หลีกหนี สารเสพติด พ ๕.๑ ม.๑/๔ แสดงวิธีการ ชักชวนผู้อื่น ให้ลด ละ เลิก สารเสพติดโดยใช้ทักษะต่าง ๆ ชักช- ปั- ทัเสพ๓ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๐ การปฐมพยาบาล พ ๕.๑ ม.๑/๑ แสดงวิธี ปฐมพยาบาล และเคลื่อนย้าย ผู้ป่วยอย่างปลอดภัย การ- คพย- ห


ษา ๑ รหัสวิชา พ๒๑๑๐๓ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จ านวน ๐.๕ หน่วยกิต สาระการเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง) น้ าหนักคะแนน ตรายจากสารเสพติด วามหมายของสารเสพติด ักษณะและอาการของผู้ติดสารเสพติด - ามสัมพันธ์ของการใช้สารเสพติดกับ รเกิดโรคและอุบัติเหตุ แนวทางการป้องกันการใช้สารเสพติด ารมีส่วนร่วมในการป้องกันสารเสพติดใน งเรียน ๓ ๑๓ ชวนทำดี หลีกหนีสารเสพติด ปัจจัยเสี่ยงต่อการติดสารเสพติด ทักษะในการชักชวนผู้อื่นให้ลด ละ เลิกสาร พติด ๓ ๗ รปฐมพยาบาล วามหมายและความสำคัญของการปฐม าบาล หลักทั่วไปในการปฐมพยาบาล ๓ ๑๐


ล าดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ตัวชี้วัด - วิธี๔ สอบกลางภาคเรียนที่ ๒ พ ๕.๑ ม.๑/๒ อธิบาย ลักษณะอาการของ ผู้ติดสาร เสพติดและการป้องกันการติด สารเสพติด พ ๕.๑ ม.๑/๓ อธิบาย ความสัมพันธ์ของ การใช้สาร เสพติดกับการเกิดโรคและ อุบัติเหต พ ๕.๑ ม.๑/๔ แสดงวิธีการ ชักชวนผู้อื่น ให้ลด ละ เลิก สารเสพติดโดยใช้ทักษะต่าง ๆ พ ๕.๑ ม.๑/๑ แสดงวิธี ปฐมพยาบาล และเคลื่อนย้าย ผู้ป่วยอย่างปลอดภัย อัน- ค- ลัควาการ- แ- กโรงชักช- ปั- ทัเสพการ- คพย๕ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๑ เคลื่อนย้ายปลอดภัย พ ๕.๑ ม.๑/๑ แสดงวิธี ปฐมพยาบาล และเคลื่อนย้าย ผู้ป่วยอย่างปลอดภัย เคลื- คปล- ห


สาระการเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง) น้ าหนักคะแนน ธีการปฐมพยาบาลผู้ป่วยอย่างปลอดภัย ตรายจากสารเสพติด วามหมายของสารเสพติด ักษณะและอาการของผู้ติดสารเสพติด - ามสัมพันธ์ของการใช้สารเสพติดกับ รเกิดโรคและอุบัติเหตุ แนวทางการป้องกันการใช้สารเสพติด ารมีส่วนร่วมในการป้องกันสารเสพติดใน งเรียน ชวนทำดี หลีกหนีสารเสพติด ปัจจัยเสี่ยงต่อการติดสารเสพติด ทักษะในการชักชวนผู้อื่นให้ลด ละ เลิกสาร พติด รปฐมพยาบาล วามหมายและความสำคัญของการปฐม าบาล ๑ ๒๐ ลื่อนย้ายปลอดภัย วามสำคัญของการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยอย่าง อดภัย หลักทั่วไปในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ๔ ๑๕


ล าดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ตัวชี้วัด - วิธี๖ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๒ ทดสอบสมรรถภาพ พ ๔.๑ ม.๑/๔ สร้างเสริม และปรับปรุง สมรรถภาพทาง กายตามผลการทดสอบ ทด- คเสริ- ป- วิธี- วิธีโดย- วิธีทางกาย๗ สอบปลายภาคเรียนที่ ๒ พ ๕.๑ ม.๑/๑ แสดงวิธี ปฐมพยาบาล และเคลื่อนย้าย ผู้ป่วยอย่างปลอดภัย พ ๔.๑ ม.๑/๔ สร้างเสริม และปรับปรุง สมรรถภาพทาง กายตามผลการทดสอบ เคลื- คปล- ห- วิธีทด- คเสริ- ป


สาระการเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง) น้ าหนักคะแนน ธีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยแบบต่าง ๆ สอบสมรรถภาพ วามหมายและความสำคัญของการสร้าง ริมสมรรถภาพทางกาย ประเภทของสมรรถภาพทางกาย ธีทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ธีการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย ยทั่วไป ธีการสร้างเสริมและปรับปรุงสมรรถภาพ งกายตามผลการทดสอบสมรรถภาพทาง ยเพื่อสุขภาพ ๕ ๑๕ ลื่อนย้ายปลอดภัย วามสำคัญของการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยอย่าง อดภัย หลักทั่วไปในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ธีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยแบบต่าง ๆ สอบสมรรถภาพ วามหมายและความสำคัญของการสร้าง ริมสมรรถภาพทางกาย ประเภทของสมรรถภาพทางกาย ๑ ๒๐


ล าดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ตัวชี้วัด - วิธี- วิธีโดย- วิธีทางกาย


สาระการเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง) น้ าหนักคะแนน ธีทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพธีการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย ยทั่วไปธีการสร้างเสริมและปรับปรุงสมรรถภาพ งกายตามผลการทดสอบสมรรถภาพทาง ยเพื่อสุขภาพ


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ วิชาสุขศึกษา ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๘ อันตรายจากสารเสพติด ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา 2566 เรื่อง ความหมายของสารเสพติด และลักษณะและอาการของผู้ติดสารเสพติด เวลา ๕๐ นาที วันที่............................................... ครูผู้สอน ศิราณี ผาด่านแก้ว กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา โรงเรียนโนนสูงพิทยาคาร สพม.อุดรธานี ๑.มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ พ ๕.๑ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยาสารเสพติด และความ รุนแรง มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด พ ๕.๑ ม.๑/๒ อธิบายลักษณะอาการของผู้ติดสารเสพติดและการป้องกันการติดสารเสพติด พ ๕.๑ ม.๑/๓ อธิบายความสัมพันธ์ของการใช้สารเสพติดกับการเกิดโรคและอุบัติเหตุ ๒.สาระส าคัญ ผู้ติดสารเสพติดจะมีพฤติกรรมที่แปลกไปจากเดิม และสารเสพติดนั้นจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ผู้นั้นด้วย ดังนั้นนักเรียนควรหลีกเลี่ยงไม่ยุ่งเกี่ยวกับสารเสพติด เพราะอาจเป็นต้นเหตุที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุ และเกิดโรคต่างๆ ตามมาได้ ๓.จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑.อธิบายความหมายของสารเสพติดได้(K) ๒. อธิบายลักษณะและอาการของผู้ติดสารเสพติดได้(K) ๓.มีทักษะในการสังเกตผู้ที่ติดสารเสพติด (P) ๔. เห็นความสำคัญของโทษที่เกิดจากสารเพติดได้(A) ๔.สาระการเรียนรู้ ๑.ความหมายของสารเสพติด ๒.ลักษณะและอาการของผู้ติดสารเสพติด ๕. จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน ๑.ด้านความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์


๑. ใฝ่เรียนรู้ ๒.มุ่งมั่นในการทำงาน ๖.สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ๖.๑ สื่อ ๑.หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษา ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ของบริษัท สำนักพิมพ์เอมพันธ์ จำกัด ๒.โปรแกรม PowerPoint ชั่วโมงที่ ๒๑ เรื่อง ความหมายของสารเสพติด และลักษณะอาการของผู้ติดสารเสพติด ๓.ใบงาน เรื่อง ทันต่อเหตุการณ์ ๔.ใบงานแผนผังความคิด เรื่อง ลักษณะและอาการของผู้ติดสารเสพติด ๕.การใช้เทคโนโลยี Augmented Reality (AR) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่สามารถเข้าถึงวิดีโอและข้อมูลต่างๆ ทำให้ ผู้สอนสามารถนำสื่อจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ไปยังผู้เรียนจากแอปพลิเคชันAimphan Educati ๖.๒แหล่งเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้นี้ใช้วิธีการบูรณาการที่หลากหลาย คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบอภิปรายและ กรณีศึกษา ๗.การจักกิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้นี้ใช้วิธีการบูรณาการที่หลากหลาย คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบอภิปรายและ กรณีศึกษา ขั้นน า ๑. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อวัดพื้นฐานความรู้ของนักเรียน ๒. นำภาพข่าวที่เกิดขึ้นในสังคมที่ปรากฏเป็นข่าว หรือสื่ออื่นๆเกี่ยวกับเรื่องยาเสพติด เช่น ภาพข่าวการ จับกุมยาเสพติด คนเสพยาเสพติดคลุ้มคลั่ง เป็นต้น แล้วบันทึกความรู้ลงในใบงาน เรื่อง ทันต่อเหตุการณ์ ตัวอย่าง ข่าว เช่นซุ่มจับคาเสาไฟฟ้า ๒ โจ๋โผล่รับยาบ้า ยึดของกลางล็อตใหญ่ ๑.๑ แสนเม็ด (ที่มา : https://www.thairath.co.th/news/crime/1177702 ๓. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิดที่ว่า “จากข่าวนี้นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างถ้านักเรียนเป็นผู้อยู่ใน เหตุการณ์นักเรียนจะทำอย่างไร” ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน (ตัวอย่างค าตอบ จากข่าวทำให้รู้ว่าสารเสพติดเป็นอันตรายต่อสังคมอย่างแท้จริง ถึงกรณีที่จับได้จะเป็นเสมือน พ่อค้าคนกลางแต่ก็เป็นเยาวชนที่ตกเป็นทาสของสารเสพติดเนื่องจากรับงานขนส่งสารเสพติด โดยแลกเปลี่ยนเป็น สารเสพติดเพื่อนำมาเสพ นอกจากนี้เห็นได้ว่าการกระทำของวัยรุ่นทั้งสองคนนี้คิดว่าได้ของที่ตนเองอยากได้มาโดย ผิดวิธีโดยไม่คาดคิดถึงผลที่ตามมา) ๔. ครูเสริมนักเรียนถึงความหมายของสารเสพติด หมายถึง สารเคมีหรือวัตถุชนิดใด ๆ ซึ่งเมื่อเสพเข้าสู่ ร่างกายด้วยการกิน ดม สูบ ฉีด หรือวิธีอื่น ๆ แล้วทำให้เกิดอันตรายต่อร่างกายและจิตใจ


ขั้นสอน ๑. เปิดวีดิทัศน์เรื่องการบำบัดรักษา และอาการผู้ติดสารเสพติด มาให้นักเรียนสังเกต วิเคราะห์พฤติกรรม ลักษณะและอาการของผู้ติดสารเสพติด ผู้ติดสารเสพติดแตกต่างจากบุคคลทั่วไปอย่างไร ให้แต่ละกลุ่มสรุปในใบ งานแผนผังความคิดเรื่อง ลักษณะและอาการของผู้ติดสารเสพติด (ตัวอย่างค าตอบ ลักษณะและอาการของผู้ติดสารเสพติด มี ๒ ลักษณะ ดังนี้ ๑) การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย เช่น • สุขภาพทรุดโทรม • ริมฝีปากเขียวคล้ำ แห้ง แตกถ้าเสพ โดยการสูบ • ตาไม่ค่อยสู้แสงสว่าง • น้ำมูกไหล น้ำตาไหล เหงื่อออกมาก กลิ่นตัวแรง สกปรก • ร่างกายมีร่องรอยการใช้สารเสพติด • เล็บจะมีคราบเหลืองดำสกปรก • พฤติกรรมมีลักษณะเปลี่ยนไปจากปกติ ได้แก่ การกัดกราม มีอาการง่วงเหงาหาวนอน ๒) การเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรมสังเกตได้ดังนี้ • เบื่อหน่ายการงาน และการเรียน เกเร หนีโรงเรียน ระเบียบวินัยลดหย่อน • ขาดความรับผิดชอบในหน้าที่ • บุคลิกภาพเสียไป ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง • ชอบอยู่สันโดษ หลบหน้าเพื่อนฝูง ทำตัวลึกลับ • ลักษณะนิสัยก้าวร้าว อารมณ์หงุดหงิด ฉุนเฉียว ไม่มีเหตุผล) ๒. แนะนำให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลให้ครอบคลุมในสิ่งที่นักเรียนควรรู้ให้มากที่สุดเกี่ยวกับผลกระทบที่เกิด กับบุคคลที่ติดสารเสพติด โดยให้ประยุกต์การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ ๓. ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้นี้เป็นแนวทางให้ครูคิดกิจกรรม โดยให้นักเรียนเป็นผู้แสวงหาองค์ความรู้ ด้วยตนเอง ให้นักเรียนค้นคว้าโดยใช้เทคโนโลยีและรู้จักการทำงานเป็นทีมโดยการสืบค้นกรณีศึกษาที่เกี่ยวกับเรื่อง ลักษณะและอาการของผู้ติดสารเสพติดโดยครูสามารถเป็นผู้รวบรวมข่าวเหตุการณ์ต่าง ๆ จากผู้ติดสารเสพติดแล้ว ก่อคดีต่าง ๆ มาเป็นกรณีศึกษาให้นักเรียนรู้จักการคิดวิเคราะห์จับประเด็นสรุปความรู้ เพื่อเป็นตัวอย่างให้นักเรียน จากนั้นครูต้องแสวงหาวิดีโอจากหน่วยงานอื่น ๆ ที่บำบัดรักษา มาให้นักเรียนคิด วิเคราะห์ พฤติกรรมของ ผู้ติดสารเสพติด เปรียบเทียบกับบุคคลทั่วไปเพื่อการหลีกเลี่ยง และป้องกันตนเองจากอันตรายที่อาจได้รับในชีวิต จริง ๔. นำเสนอความรู้ที่แต่ละกลุ่มสรุปจากข่าวกรณีศึกษาที่ครูมอบหมาย


ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องความหมายของสารเสพติด และลักษณะและอาการของผู้ติดสารเสพติด จากโปรแกรมนำเสนอ PowerPoint เรื่อง ความหมายของสารเสพติด และลักษณะและอาการของผู้ติดสารเสพติด ขั้นสรุป ๑. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้จากการเรียนในวันนี้ ๒. ครูผู้สอนเปิดโอกาสให้นักเรียนถามข้อสงสัย


๘. กระบวนการวัดและประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ๑. ใบงาน เรื่อง ทันต่อเหตุการณ์ ๒. ใบงานแผนผังความคิด เรื่อง ลักษณะและอาการของผู้ติดสาร เสพติด (K) ๑.แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๒.แบบประเมินแผนผังความคิด (Mind Mapping) ๑. เกณฑ์การประเมิน ผ่านเกณฑ์ ต้องได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ๒. เกณฑ์การประเมิน ผ่านเกณฑ์ ต้องได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ๑. นักเรียนอภิปรายเรื่องข่าวที่ เกิดขึ้นในสังคมที่ปรากฏเป็นข่าว หรือสื่ออื่นๆเกี่ยวกับเรื่องยาเสพติด เช่น ภาพข่าวการจับกุมยาเสพติด คนเสพยาเสพติดคลุ้มคลั่ง (P) ๑.แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๑. เกณฑ์การประเมิน ผ่านเกณฑ์ ต้องได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ๑. เห็นความสำคัญของโทษที่เกิด จากสารเพติดได้ (A) ๑.แบบประเมินการตอบคำถามใน ชั้นเรียน ๑.ผ่านเกณฑ์การประเมินที่ระดับ คุณภาพปานกลางขึ้นไป


ความเห็นของครูพี่เลี้ยง ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ นางสาวศิราณี ผาด่านแก้ว แล้วมีความคิดเห็นดังนี้ 1. องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ ครบถ้วนและถูกต้อง ยังไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้อง ควรปรับปรุงพัฒนา.......................................................... 2. ความสอดคล้องของแผนการจัดการเรียนรู้กับหลักสูตรสถานศึกษา สอดคล้อง ยังไม่สอดคล้อง ควรปรับปรุงพัฒนา............................................................................... 3. รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ควรปรับปรุงพัฒนา............................................................. 4. สื่อการเรียนรู้ เหมาะสมกับรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ยังไม่เหมาะสม ควรปรับปรุงพัฒนา............................................................................... 5. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ครอบคลุมจุดประสงค์การเรียนรู้ ยังไม่ครอบคลุมจุดประสงค์การเรียนรู้ ควรปรับปรุงพัฒนา............................................. 6. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ นำไปใช้ได้จริง ควรปรับปรุงก่อนนำไปใช้ 7. ระดับคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ ดีเยี่ยม ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง 8. ข้อเสนอแนะอื่นๆ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ……………………………………………………… (นางสาวยุพารัตน์ แก้วเนตร) ครูพี่เลี้ยง


ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ นางสาวศิราณี ผาด่านแก้ว แล้วมีความคิดเห็นดังนี้ 1. องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ ครบถ้วนและถูกต้อง ยังไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้อง ควรปรับปรุงพัฒนา....................................................... ... 2. ความสอดคล้องของแผนการจัดการเรียนรู้กับหลักสูตรสถานศึกษา สอดคล้อง ยังไม่สอดคล้อง ควรปรับปรุงพัฒนา............................................................................... 3. รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ควรปรับปรุงพัฒนา............................................................. 4. สื่อการเรียนรู้ เหมาะสมกับรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ยังไม่เหมาะสม ควรปรับปรุงพัฒนา............................................................................... 5. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ครอบคลุมจุดประสงค์การเรียนรู้ ยังไม่ครอบคลุมจุดประสงค์การเรียนรู้ ควรปรับปรุงพัฒนา............................................. 6. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ นำไปใช้ได้จริง ควรปรับปรุงก่อนนำไปใช้ 7. ระดับคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ ดีเยี่ยม ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง 8. ข้อเสนอแนะอื่นๆ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ………………………………………………………….. (นางสาวยุพารัตน์ แก้วเนตร) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา


ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ นางสาวศิราณี ผาด่านแก้ว แล้วมีความคิดเห็นดังนี้ 1. องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ ครบถ้วนและถูกต้อง ยังไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้อง ควรปรับปรุงพัฒนา.................................................................................. 2. ความสอดคล้องของแผนการจัดการเรียนรู้กับหลักสูตรสถานศึกษา สอดคล้อง ยังไม่สอดคล้อง ควรปรับปรุงพัฒนา.................................................................................... 3. รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ควรปรับปรุงพัฒนา............................................................... 4. สื่อการเรียนรู้ เหมาะสมกับรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ยังไม่เหมาะสม ควรปรับปรุงพัฒนา...................................................................................... 5. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ครอบคลุมจุดประสงค์การเรียนรู้ ยังไม่ครอบคลุมจุดประสงค์การเรียนรู้ ควรปรับปรุงพัฒนา.................................................. 6. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ นำไปใช้ได้จริง ควรปรับปรุงก่อนนำไปใช้ 7. ระดับคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ ดีเยี่ยม ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง 8. ข้อเสนอแนะอื่นๆ .............................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................. ลงชื่อ............................................................. (นายวีระศักดิ์ สุวรรณวงค์) ตำแหน่งรองผู้อำนวนการโรงเรียนโนนสูงพิทยาคาร


แบบประเมินแผนผังความคิด (Mind Mapping) (ส าหรับครูผู้สอน) กลุ่มที่.............เรื่อง......................................................................................................................... รายวิชา................................รหัสวิชา...............................ชั้นมัธยมศึกษาปีที่................................ ค าชี้แจง ให้ครูผู้สอนทำเครื่องหมาย ลงในช่องระดับคะแนนตามเกณฑ์การประเมิน ลงชื่อ……………………………….ผู้ประเมิน (………………………….……) …………/…………/……….. เลข ที่ ชื่อ - สกุล สรุปความรู้ได้ถูกต้อง ครบตรงประเด็น การเชื่อมโยงความรู้ได้ ถูกต้องตามล าดับขั้นของ ความสัมพันธ์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ในการเขียนแผนผัง ความคิด รวม ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ . .


เกณฑ์การประเมินแบบประเมินแผนผังความคิด (Mind Mapping) (ส าหรับครูผู้สอน) ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน / ระดับคุณภาพ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๑. สรุปความรู้ได้ถูกต้อง ครบตรงประเด็น สรุปความรู้ได้ ครบถ้วน ตรง ประเด็นและ ถูกต้องทุกหัวข้อ แสดงถึงความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ สรุปความรู้ได้ ครบถ้วน ตรง ประเด็นและ ถูกต้องทุกหัวข้อ สรุปความรู้ได้ ครบถ้วน ตรง ประเด็นและมี ความถูกต้อง เป็นส่วนใหญ่ สรุปความรู้ได้ บางประเด็น สรุปความรู้ได้ น้อย ไม่ ครบถ้วน ๒. การเชื่อมโยงความรู้ ได้ถูกต้องตามลำดับขั้น ของความสัมพันธ์ เชื่อมโยงความรู้ ได้ถูกต้อง ตามลำดับของ ความสัมพันธ์ แสดงถึงความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ เชื่อมโยงความรู้ ได้ถูกต้อง ตามลำดับของ ความสัมพันธ์ เชื่อมโยงความรู้ ตามลำดับขั้น ของความ สัมพันธ์ได้เป็น ส่วนใหญ่ เชื่อมโยงความรู้ ตามลำดับขั้น ของความ สัมพันธ์ได้ บางส่วน เชื่อมโยงความรู้ ได้น้อยไม่ เป็นไป ตามลำดับขั้น ของ ความสัมพันธ์ ๓. มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ในการเขียน แผนผังความคิด เขียนแผนผัง ความคิดได้ใน รูปแบบที่ถูกต้อง สวยงามและ แสดงถึงความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ เขียนแผนผัง ความคิดได้ใน รูปแบบที่ถูกต้อง และสวยงาม เขียนแผนผัง ความคิดได้ใน รูปแบบที่ ถูกต้อง เขียนแผนผัง ความคิดได้ใน รูปแบบที่ ถูกต้องบางส่วน เขียนแผนผัง ความคิดได้น้อย ไม่ตรงตาม รูปแบบ เกณฑ์การตัดสินระดับคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๓ – ๑๕ ดีมาก ๑๐ – ๑๒ ดี ๗ – ๙ ปานกลาง ๔ – ๖ พอใช้ ๑ – ๓ ควรปรับปรุง


แบบประเมินสมรรถนะส าคัญ ด้านความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ค าสั่ง ให้สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนตามพฤติกรรมที่กำหนด ค าชี้แจง สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนแล้วเติมเครื่องหมาย ลงในช่องระดับคะแนนให้ตรงกับความ เป็นจริง ชื่อ-นามสกุล............................................................................................................ ......................เลขที่............ รายวิชา..............................................................รหัสวิชา..................................ชั้นมัธยมศึกษาปีที่................... ตัวชี้วัดที่ ๓ ทำงานและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข พฤติกรรมบ่งชี้ ปฏิบัติตามกฎ กติกา หน้าที่ ความรับผิดชอบ พฤติกรรมบ่งชี้ ระดับคะแนน ดีเยี่ยม (๓) ดี (๒) พอใช้(๑) ปรับปรุง (๐) ปฏิบัติตามกฎ กติกา หน้าที่ ความรับผิดชอบ เกณฑ์การประเมิน พฤติกรรมบ่งชี้ ระดับคะแนน ดีเยี่ยม (๓) ดี (๒) พอใช้(๑) ปรับปรุง (๐) ปฏิบัติตามกฎ กติกา หน้าที่ ความ รับผิดชอบ ปฏิบัติตามกฎ กติกาของสังคม สามารถระบุหน้าที่ ในความรับผิดชอบ ของตน และปฏิบัติ ตามหน้าที่ ที่ส่งผล ให้เกิดผลดีต่อ ตนเองและ ส่วนรวม ปฏิบัติตามกฎ กติกาของสังคม สามารถระบุหน้าที่ ในความ รับผิดชอบของตน และปฏิบัติตาม หน้าที่ ที่ส่งผลให้ เกิดผลดีต่อตนเอง ได้ ปฏิบัติตามกฎ กติกาของสังคม สามารถระบุ หน้าที่ได้ แต่ ละเลยการปฏิบัติ เป็นบางครั้ง ไม่ปฏิบัติตาม กฎ กติกาของ สังคมหรือ ละเลยในหน้าที่ ลงชื่อ……………………………….ผู้ประเมิน (นางสาวศิราณี ผาด่านแก้ว) …………/…………/………..


แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ข้อที่ ๑ ใฝ่เรียนรู้ ค าสั่ง ให้สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนตามพฤติกรรมที่กำหนด ค าชี้แจง สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนแล้วเติมเครื่องหมาย ลงในช่องระดับคะแนนให้ตรงกับความเป็นจริง ชื่อ-นามสกุล..................................................................................................................................เลขที่............ รายวิชา..............................................................รหัสวิชา..................................ชั้นมัธยมศึกษาปีที่................... ตัวชี้วัดที่ ๔.๑ ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ พฤติกรรมบ่งชี้ ระดับคะแนน ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๔.๑.๑ ตั้งใจเรียน ๔.๑.๒ เอาใจใส่และมีความเพียร พยายามในการเรียนรู้ ๔.๑.๓ สนใจเข้าร่วมกิจกรรม การเรียนรู้ต่าง ๆ เกณฑ์การประเมิน พฤติกรรมบ่งชี้ ระดับคะแนน ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๔.๑.๑ ตั้งใจเรียน ๔.๑.๒ เอาใจใส่และมี ความเพียรพยายาม ในการเรียนรู้ ๔.๑.๓ สนใจเข้าร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ ต่าง ๆ ไม่ตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ในการเรียน มีส่วน ร่วมในการเรียนรู้ และเข้าร่วมกิจกรรม การเรียนรู้ต่าง ๆ เป็นบางครั้ง เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียน เอาใจ ใส่และมีความเพียร พยายามในการ เรียนรู้ มีส่วนร่วม ในการเรียนรู้ และ เข้าร่วมกิจกรรม การเรียนรู้ต่าง ๆ บ่อยครั้ง เข้าเรียนตรงเวลาตั้งใจ เรียน เอาใจใส่และมี ความเพียรพยายามใน การเรียนรู้ มีส่วนร่วมใน การเรียนรู้ และเข้าร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ทั้งภายในและ ภายนอกโรงเรียนเป็น ประจำ ลงชื่อ……………………………….ผู้ประเมิน (นางสาวศิราณี ผาด่านแก้ว) …………/…………/………..


แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ข้อที่ ๓ มุ่งมั่นในการท างาน ค าสั่ง ให้สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนตามพฤติกรรมที่กำหนด ค าชี้แจง สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนแล้วเติมเครื่องหมาย ลงในช่องระดับคะแนนให้ตรงกับความเป็นจริง ชื่อ-นามสกุล...........................................................................................................เลขที่.................................. รายวิชา..............................................................รหัสวิชา..................................ชั้นมัธยมศึกษาปีที่................... ตัวชี้วัดที่ ๖.๑ ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่การงาน พฤติกรรมบ่งชี้ ระดับคะแนน ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๖.๑.๑ เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติ หน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย ๖.๑.๒ ตั้งใจและรับผิดชอบใน การ ทำงานให้สำเร็จ ๖.๑.๓ ปรับปรุงและพัฒนาการ ทำงาน ด้วยตนเอง เกณฑ์การประเมิน พฤติกรรมบ่งชี้ ระดับคะแนน ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๖.๑.๑ เอาใจใส่ต่อการ ปฏิบัติหน้าที่ ที่ ได้รับมอบหมาย ๖.๑.๒ ตั้งใจและรับผิดชอบในการ ทำงานให้สำเร็จ ๖.๑.๓ ปรับปรุงและ พัฒนาการ ทำงาน ด้วยตนเอง ไม่ตั้งใจปฏิบัติ หน้าที่การงาน ตั้งใจและ รับผิดชอบในการ ปฏิบัติหน้าที่ที่ ได้รับมอบหมาย ให้สำเร็จ ตั้งใจและรับผิดชอบ ในการปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายให้ สำเร็จ มีการ ปรับปรุงและ พัฒนาการทำงานให้ ดีขึ้น ตั้งใจและรับผิดชอบ ในการปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายให้ สำเร็จ มีการ ปรับปรุงและ พัฒนาการทำงานให้ ดีขึ้นด้วยตนเอง ลงชื่อ……………………………….ผู้ประเมิน (นางสาวศิราณี ผาด่านแก้ว) …………/…………/………..


ใบงานเรื่อง ทันต่อเหตุการณ์ สมาชิกในกลุ่ม ๑. ชื่อ.....................................................................................ชั้น....................เลขที่...... ........ ๒. ชื่อ.....................................................................................ชั้น....................เลขที่.............. ๓. ชื่อ.....................................................................................ชั้น....................เลขที่...... ........ ๔. ชื่อ.....................................................................................ชั้น....................เลขที่...... ........ ๕. ชื่อ.....................................................................................ชั้น....................เลขที่.............. ๖. ชื่อ.....................................................................................ชั้น....................เลขที่...... ........ ๗. ชื่อ.....................................................................................ชั้น........ ............เลขที่.............. ๘. ชื่อ.....................................................................................ชั้น....................เลขที่...... ........ ค าชี้แจง : ให้นักเรียนสรุปองค์ความรู้จากข่าวกรณีศึกษาของกลุ่มตามเรื่องที่ได้รับ สาเหตุการเกิด ๑. ............................................................................................................................. ...................................... ๒. ................................................................................................................................................................... ๓. ............................................................................................................................. ...................................... ๔. ............................................................................................................................. ...................................... แนวทางการป้องกัน ............................................................................................................................. .............................................. ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ..............................................


ใบงาน เรื่อง ลักษณะและอาการของผู้ติดสารเสพติด ชื่อ.....................................................................................ชั้น....................เลขที่...... ........ ค าชี้แจง : ให้นักเรียนโยงเส้นจากรูปที่กำหนดให้ หากโยงที่อวัยวะส่วนใดให้บอกลักษณะและอาการของผู้ที่ติดสาร เสพติด .......................................... .......................................... .......................................... .......................................... .......................................... .......................................... .......................................... ....................................................... ...................................................... ..................................................................................... ................................................................ ................................................................ ................................................................ ................................................................ ................................................................ ................................................................ .............................................. ............................................... .............. ............................................................................ ............................................................................ . ..................................................................................... ....................................................................................


เฉลยใบงาน เรื่อง ลักษณะและอาการของผู้ตดิสารเสพตดิ ชื่อ.....................................................................................ชั้น....................เลขที่.............. คา ชีแ้จง : ให้นักเรียนโยงเส้นจากรูปที่ก าหนดให้ หากโยงที่อวัยวะส่วนใดให้บอกลักษณะและ อาการของผู้ที่ติดสารเสพติด ตัวอย่างการตอบ บริเวณแขนปรากฏรอยแผล ต่าง ๆ ที่เกิดจากการใช้สาร เสพติดทางเข็มฉีดยาโดยการ ฉีดเข้าสู่ร่างกาย และการไม่ ระวังระวังตนเอง บางรายาจ ท าร้ายตนเอง รมิ ฝีปากเขียวคลา้ แหง้แตก ถา้เสพ โดยการสูบ ตาไม่ค่อยสูแ้สงสว่าง เพราะม่านตาจะขยายมากกว่าปกติ หูมลี่องรอยการเกาหรอืแกะ จากกการเป็นแผล ทเี่กดิจากการเสพสารเสพตดิ นา้ มูกไหล นา้ ตาไหล เหงอื่ออกมาก กล่นิตวัแรง สกปรก เลบ็จะมคีราบเหลอืงดา สกปรก มีล่องรอยการใช้สารเสพติด ผมและควิ้มกีล่นิเหมน็อาจมคีราบจากสารเสพตดิ ปนเปื้อน


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ วิชาสุขศึกษา ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๘ อันตรายจากสารเสพติด ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา 2566 เรื่อง ความสัมพันธ์ของการใช้สารเสพติดกับการเกิดโรคและอุบัติเหตุ เวลา ๕๐ นาที วันที่............................................... ครูผู้สอน ศิราณี ผาด่านแก้ว กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา โรงเรียนโนนสูงพิทยาคาร สพม.อุดรธานี ๑.มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ พ ๕.๑ ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยาสารเสพติด และความรุนแรง มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด พ ๕.๑ ม.๑/๒ อธิบายลักษณะอาการของผู้ติดสารเสพติดและการป้องกันการติดสารเสพติด พ ๕.๑ ม.๑/๓ อธิบายความสัมพันธ์ของการใช้สารเสพติดกับการเกิดโรคและอุบัติเหตุ ๒.สาระส าคัญ การดำเนินการป้องกันและแก้ปัญหาสารเสพติด ซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขระดับประเทศ ทุก ฝ่ายต้องร่วมมือกันดำเนินการทั้งในชุมชนและในโรงเรียน โรงเรียนเป็นสถาบันสำคัญรองจากสถาบัน ครอบครัวจึงมีบทบาทสำคัญที่ทำให้นักเรียนและเยาวชนปลอดภัยจากสารเสพติด ๓.จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. อธิบายความสัมพันธ์ของการใช้สารเสพติดกับการเกิดโรคและอุบัติเหตุได้(K) ๒.ปฏิบัติตนตามแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสารเสพติด (P) ๓. เห็นความสำคัญของโทษที่เกิดจากสารเพติดได้(A) ๔.สาระการเรียนรู้ ๑.ความสัมพันธ์ของการใช้สารเสพติดกับการเกิดโรคและอุบัติเหตุ ๕. จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน ๑.ด้านความสามารถในการคิด ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. ใฝ่เรียนรู้ ๒.มุ่งมั่นในการทำงาน


๖.สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ๖.๑ สื่อ ๑.หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษา ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ของบริษัท สำนักพิมพ์เอมพันธ์ จำกัด ๒.ปรแกรม PowerPoint ชั่วโมงที่ ๒๒ เรื่อง ความสัมพันธ์ของการใช้สารเสพติดกับการเกิด โรคและอุบัติเหตุ ๓.หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ สุขศึกษา ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ของบริษัท สำนักพิมพ์เอม พันธ์ จำกัด ๔.การใช้เทคโนโลยี Augmented Reality (AR) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่สามารถเข้าถึงวิดีโอและ ข้อมูลต่างๆ ทำให้ผู้สอนสามารถนำสื่อจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ๖.๒แหล่งเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้นี้ใช้วิธีการบูรณาการที่หลากหลาย คือ กิจกรรมการเรียนรู้แบบอภิปรายและ กรณีศึกษา ๗.การจักกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน า ๑.นักเรียนดูสื่อวีดีโอประกอบการสอนเรื่อง “สิ่งที่ซ่อมไม่ได้” (เข้าถึงได้จาก : https://www.youtube.com/watch?v=2xFFWS0hj6Q ??) ๒.เมื่อนักเรียนดูจบ ครูซักถามนักเรียนว่าได้ข้อคิดอะไรจากที่ได้ดูวิดีโอเรื่องนี้โดยครูนำนักเรียน อภิปรายตามประเด็นต่อไปนี้ ๒.๑ สถานการณ์ปัญหากล่าวถึงอะไร (ตัวอย่างค าตอบ เกิดจากการใช้สารเสพติดส่งผลให้สมองติดยา ทำให้ร่างกายทรุดโทรม ขาดความ รับผิดชอบต่อตนเอง เกิดความขัดแย้งในครอบครัวจนก่อให้เกิดปัญหาในครอบครัว) ๒.๒ สาเหตุของสถานการณ์ปัญหาดังกล่าวเกิดจากอะไร (ตัวอย่างค าตอบ เกิดจากการใช้สารเสพติด) ๒.๓ ถ้าปัญหาดังกล่าวเกิดขึ้นกับนักเรียนจะแก้ปัญหาอย่างไร (ตัวอย่างค าตอบ ศึกษาหาความรู้และตระหนักถึงภัยอันตรายของสารเสพติด หาวิธีบำบัดให้กับผู้ติดสาร เสพติด หากเกิดกับสมาชิกในครอบครัว ต้องคอยให้กำลังใจและสนับสนุนช่วยเหลือ) ขั้นสอน ๑.ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น ๔ กลุ่มโดยให้นักเรียนจัดบอร์ดนิทรรศการความรู้ในหัวข้อดังต่อไปนี้ กลุ่มที่ ๑ ความสัมพันธ์ของการใช้สารเสพติดกับการเกิดโรค กลุ่มที่ ๒ ความสัมพันธ์ของการใช้สารเสพติดกับอุบัติเหตุ


กลุ่มที่ ๓ แนวทางการป้องกันสารเสพติด กลุ่มที่ ๔ แนวทางการแก้ไขปัญหาสารเสพติด โดยให้นักเรียนศึกษาเนื้อหาสาระของแต่ละกลุ่มให้ถูกต้อง พร้อมตกแต่งบอร์ดนิทรรศการให้สวยงาม และออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียน ๒.ครูกล่าวถึงเกณฑ์การประเมินการนำเสนอ ดังนี้ ความเหมาะสมของบทบาทการน าเสนอ เช่น แสดงสมบทบาท สมาชิกทุกคนในกลุ่มมีส่วนร่วมในการนำ เสนอมีความพร้อมในการนำเสนอ มี ความน่าสนใจในการนำเสนอ และพูดออกเสียงชัดเจน ความถูกต้องของข้อมูลเนื้อหาสาระ เช่น อธิบายเนื้อหาสาระได้ถูกต้องครบถ้วน ละเอียดชัดเจน ส่วนประกอบอื่น ๆ และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เช่น เตรียมอุปกรณ์ประกอบการนำเสนอได้เหมาะสม ดึงดูดความสนใจแสดงถึงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ๓.เมื่อกลุ่มที่ ๑ นำเสนอเสร็จแล้ว ครูเสริมเรื่องความสัมพันธ์ของการใช้สารเสพติด กับการเกิดโรคและอุบัติเหตุ ดังนี้ • เมื่อเสพสารเสพติดเข้าสู่ร่างกายในระยะแรกจะออกฤทธิ์ทำให้ร่างกายตื่นตัวหัวใจเต้นเร็ว ความ ดันเลือดสูง ใจสั่น ประสาทตึงเครียด แต่เมื่อหมดฤทธิ์ยาจะรู้สึกอ่อนเพลียมากกว่าปกติ ประสาทล้า ทำ ให้การตัดสินใจช้าและผิดพลาด เป็นเหตุให้เกิดอุบัติเหตุร้ายแรงได้ ถ้าใช้ติดต่อกันเป็นเวลานานจะทำให้ สมองเสื่อม เกิดอาการประสาทหลอน เห็นภาพลวงตา หวาดระแวง คลุ้มคลั่ง เสียสติ เป็นบ้า อาจทำร้าย ตนเองและผู้อื่นได้ ในกรณีที่ได้รับยาในปริมาณมาก (Overdose) จะไปกดประสาทและระบบการหายใจ ทำให้หมดสติหรือถึงแก่ความตาย ๔. เมื่อกลุ่มที่ ๒ นำเสนอเสร็จแล้วครูเสริมเรื่องความสัมพันธ์ของการใช้สารเสพติดกับการเกิด โรค ดังนี้ • การใช้สารเสพติดทุกชนิดจะก่อให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บได้ง่าย เพราะระบบการต้านทานโรคน้อย กว่าปกติและรักษาให้หายยาก สารเสพติดมีความสัมพันธ์กับการเกิดโรค ดังนี้ ๑) ทำให้เกิดอาการชักและอาจเป็นลมบ้าหมู ๒) เสี่ยงต่อโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ๓) ทำให้ภูมิคุ้มกันในร่างกายลดลง ผู้ที่เสพสารเสพติดไม่ว่าชนิดใดก็ตาม ฤทธิ์ของยาจะทำให้ ระบบต่าง ๆภายในร่างกายเกิดความผิดปกติ ๔) ส่งผลต่อปอดและหลอดลมสารเสพติดประเภทสารระเหย ที่ต้องทำการสูดดม เช่น กาว ทิน เนอร์ กัญชาเมื่อเสพเข้าไปจะส่งผลให้ปอดและหลอดลมอักเสบ นอกจากนั้นสารเสพติดดังกล่าวยังเข้าไป ขัดขวางกลไกการสร้างเม็ดเลือดแดงครูเสริมความรู้เกี่ยวกับเรื่องบุหรี่ไฟฟ้า สามารถบูรณาการร่วมกับ


กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สาระเคมี) โดยให้นักเรียนวิเคราะห์กลไกการทำงาน ของบุหรี่ไฟฟ้าและเปรียบเทียบว่า บุหรี่โรงงาน พ(Manufactured cigarettes) กับบุหรี่ไฟฟ้าชนิดใด ส่งผลต่อร่างกายมากกว่ากัน (ตัวอย่างค าตอบ ไม่ว่าชนิดใดก็ส่งผลเสียทั้งต่อร่างกายตนเองและผู้อื่นเนื่องจากบุหรี่จัดเป็นสิ่ง แปลกปลอมและสิ่งที่ไม่จำเป็นต่อร่างกาย) ๗. เมื่อกลุ่มที่ ๓ นำเสนอเสร็จเเล้วครูเสริมเรื่องตัวอย่างการเสพสารเสพติดที่ทำให้เกิดโรค ๑) การเสพยาบ้า มีผลต่อจิตใจทำให้เกิดโรคจิตชนิดหวาดระแวง ส่งผลให้มีพฤติกรรม เปลี่ยนแปลงไป ๒) การสูบบุหรี่ ทำให้เกิดโรคที่พบได้บ่อย คือ ถุงลมโป่งพอง เป็นโรคเกี่ยวกับระบบทางเดิน หายใจ ๓) การเสพสารระเหยเป็นอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจมีอาการระคายเคืองหลอดลม เยื่อบุ จมูกมีเลือดออก หลอดลมอักเสบ ระบบทางเดินอาหารจะมีเลือดออกในกระเพาะอาหาร เนื้อตับถูก ทำลายระบบทางเดินปัสสาวะ จะทำ ให้ไตอักเสบจนถึงพิการ ระบบหัวใจและหลอดเลือด ๔) การดื่มสุราทำ ให้เกิดโรคพิษสุราเรื้อรังมีโอกาสเป็นโรคมะเร็งตับ ๕. เมื่อกลุ่มที่ ๔ นำเสนอเสร็จแล้วครูเสริมเรื่องความสัมพันธ์ของการใช้สารเสพติดกับการเกิด อุบัติเหตุครูกล่าวว่า การใช้สารเสพติดนอกจากจะก่อให้เกิดอุบัติเหตุหรือผลกระทบด้านต่าง ๆ ต่อ ตนเองแล้ว ยังส่งผลกระทบต่อคนอื่น เพราะฉะนั้นนักเรียนไม่ควรเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับสารเสพติด เพื่อลด อุบัติเหตุและผลกระทบต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้น จะทำให้ชุมชนเกิดความปลอดภัย ๖. จากนั้นครูให้นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับระดับแอลกอฮอล์ในเลือด ดังนี้ระดับแอลกอฮอล์ใน เลือดกับโอกาสเกิดอุบัติเหตุจราจร และให้นักเรียนศึกษาการเกิดอุบัติเหตุจากการดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์จากสารคดีเรื่อง “Reality เมาแล้วขับ”(ที่มา :https://www.thaihealth.or.th/Multimedia/1650/) ครูตั้งคำถาม ดังนี้ • นักเรียนคิดว่าอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นมีสาเหตุมาจากอะไร (ตัวอย่างค าตอบ เกิดจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และขับขี่ยานพาหนะ) • นักเรียนคิดว่าผู้ที่เมาแล้วขับจนเกิดอุบัติเหตุมีระดับแอลกอฮอล์ในเลือดประมาณเท่าใด เพราะเหตุใดนักเรียนถึงคิดเช่นนั้น (ตัวอย่างค าตอบ ขึ้นอยู่กับความแตกต่างของบุคคล แต่ต้องอธิบายเหตุผลให้สอดคล้องกับปริมาณ แอลกอฮอล์ในเลือด เช่น ๑๐๐ มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ มีผลทำให้ความสามารถในการขับรถลดลงเฉลี่ยร้อย ละ ๑๕ เนื่องจากเกิดอุบัติและอาการของผู้ขับขี่สื่อสารไม่รู้เรื่อง) • นักเรียนมีแนวทางป้องกันในการลดอัตราการเมาแล้วขับอย่างไร


(ตัวอย่างค าตอบ ศึกษาหาความรู้เพื่อให้รู้เท่าทันโทษของการเมาแล้วขับนอกจากจะส่งผลถึงตนเองแล้ว ยังสร้างความเดือดร้อนต่อสังคมและคนรอบข้าง) ขั้นสรุป ๑. นักเรียนและครูร่วมกันประเมินผลงานนำเสนอของแต่ละกลุ่ม • ให้กลุ่มที่ไม่ได้ทำการนำเสนอให้คะแนน เป็นการใช้แนวคิดการคิดขั้นสูง รวมถึงบอก เหตุผลที่มาของการให้คะแนนมีเกณฑ์อย่างไรบ้าง • จากนั้นครูให้คะแนน แล้วนำคะแนนของกลุ่มที่ไม่ได้ทำการนำเสนอมารวมกันเพื่อ เป็นคะแนนสำหรับกลุ่มที่ทำการนำเสนอ ๒. ตรวจสอบและประเมินใบงานจากหนังสือเสริมฝึกประสบการณ์สุขศึกษา ๑ ใบงาน ที่ ๘.๓ เรื่องสารเสพติดกับการเกิดโรคและอุบัติเหตุ ๓. ครูสรุปความรู้โดยใช้โปรแกรมนำเสนอ PowerPoint เรื่อง ความสัมพันธ์ของการใช้สารเสพ ติดกับการเกิดโรคและอุบัติเหตุ และครูเน้นยํ้าและกล่าวเพื่อสร้างความตระหนักให้นักเรียนไม่ยุ่งเกี่ยวกับ สารเสพติด ดังนี้ “สารเสพติดส่งผลกระทบในหลายด้าน เช่น ในระดับบุคคลทำให้เกิดผลกระทบด้าน สุขภาพและด้านการเรียน ทำให้พัฒนาการหรือทักษะต่าง ๆ ไม่เป็นไปตามศักยภาพ อีกทั้งยังส่งผลใน ระดับครอบครัว ทำให้เกิดความขัดแย้ง ความรุนแรง รวมทั้งได้รับผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจ อกจากนี้ ยังส่งผลกระทบในระดับชุมชน นำไปสู่การเกิดปัญหาอาชญากรรมและปัญหาสังคมต่าง ๆมากมายที่ เชื่อมโยงสัมพันธ์กัน”


๘. กระบวนการวัดและประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ๑. นักเรียนอภิปรายและสรุปร่วมกันใน เรื่องข่าวที่เกี่ยวกับการใช้สารเสพติดกับ อุบัติเหตุและการเกิดโรค ๒. ใบงานที่ ๘.๓ เรื่อง สารเสพติดกับ การเกิดโรคและอุบัติเหตุ (K) ๑.แบบสังเกตพฤติกรรม รายบุคคล ๒.เฉลยหนังสือเสริมฝึก ประสบการณ์ สุขศึกษา ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ใบงานที่ ๘.๓ ๑. เกณฑ์การประเมิน ผ่านเกณฑ์ ต้องได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ๒.ผ่านเกณฑ์การประเมินที่ระดับ คุณภาพดีขึ้นไป ๑. การจัดนิทรรศการ เรื่อง ความสัมพันธ์ของการใช้สารเสพติดกับ การเกิดโรค ความสัมพันธ์ของการใช้ สารเสพติดกับอุบัติเหตุ แนวทางการ ป้องกันสารเสพติดแนวทางการแก้ไข ปัญหาสารเสพติด (P) ๑.แบบประเมินการจัด นิทรรศการ ๑.ผ่านเกณฑ์การประเมินที่ระดับ คุณภาพปานกลางขึ้นไป ๑. เห็นความสำคัญของโทษที่เกิดจาก สารเพติดได้ (A) ๑.แบบประเมินการตอบ คำถามในชั้นเรียน ๑. เกณฑ์การประเมิน ผ่านเกณฑ์ ต้องได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐


ความเห็นของครูพี่เลี้ยง ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ นางสาวศิราณี ผาด่านแก้ว แล้วมีความคิดเห็นดังนี้ 1. องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ ครบถ้วนและถูกต้อง ยังไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้อง ควรปรับปรุงพัฒนา.......................................................... 2. ความสอดคล้องของแผนการจัดการเรียนรู้กับหลักสูตรสถานศึกษา สอดคล้อง ยังไม่สอดคล้อง ควรปรับปรุงพัฒนา............................................................................... 3. รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ควรปรับปรุงพัฒนา............................................................. 4. สื่อการเรียนรู้ เหมาะสมกับรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ยังไม่เหมาะสม ควรปรับปรุงพัฒนา............................................................................... 5. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ครอบคลุมจุดประสงค์การเรียนรู้ ยังไม่ครอบคลุมจุดประสงค์การเรียนรู้ ควรปรับปรุงพัฒนา............................................. 6. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ นำไปใช้ได้จริง ควรปรับปรุงก่อนนำไปใช้ 7. ระดับคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ ดีเยี่ยม ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง 8. ข้อเสนอแนะอื่นๆ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ……………………………………………………… (นางสาวยุพารัตน์ แก้วเนตร) ครูพี่เลี้ยง


ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ นางสาวศิราณี ผาด่านแก้ว แล้วมีความคิดเห็นดังนี้ 1. องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ ครบถ้วนและถูกต้อง ยังไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้อง ควรปรับปรุงพัฒนา....................................................... ... 2. ความสอดคล้องของแผนการจัดการเรียนรู้กับหลักสูตรสถานศึกษา สอดคล้อง ยังไม่สอดคล้อง ควรปรับปรุงพัฒนา............................................................................... 3. รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ควรปรับปรุงพัฒนา............................................................. 4. สื่อการเรียนรู้ เหมาะสมกับรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ยังไม่เหมาะสม ควรปรับปรุงพัฒนา............................................................................... 5. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ครอบคลุมจุดประสงค์การเรียนรู้ ยังไม่ครอบคลุมจุดประสงค์การเรียนรู้ ควรปรับปรุงพัฒนา............................................. 6. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ นำไปใช้ได้จริง ควรปรับปรุงก่อนนำไปใช้ 7. ระดับคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ ดีเยี่ยม ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง 8. ข้อเสนอแนะอื่นๆ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ………………………………………………………….. (นางสาวยุพารัตน์ แก้วเนตร) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา


ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ นางสาวศิราณี ผาด่านแก้ว แล้วมีความคิดเห็นดังนี้ 1. องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ ครบถ้วนและถูกต้อง ยังไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้อง ควรปรับปรุงพัฒนา.............................................................. 2. ความสอดคล้องของแผนการจัดการเรียนรู้กับหลักสูตรสถานศึกษา สอดคล้อง ยังไม่สอดคล้อง ควรปรับปรุงพัฒนา.................................................................................... 3. รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ควรปรับปรุงพัฒนา............................................................... 4. สื่อการเรียนรู้ เหมาะสมกับรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ยังไม่เหมาะสม ควรปรับปรุงพัฒนา..................................................................................... 5. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ครอบคลุมจุดประสงค์การเรียนรู้ ยังไม่ครอบคลุมจุดประสงค์การเรียนรู้ ควรปรับปรุงพัฒนา................................................. 6. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ นำไปใช้ได้จริง ควรปรับปรุงก่อนนำไปใช้ 7. ระดับคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ ดีเยี่ยม ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง 8. ข้อเสนอแนะอื่นๆ .............................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................................................. ลงชื่อ............................................................. (นายวีระศักดิ์ สุวรรณวงค์) ตำแหน่งรองผู้อำนวนการโรงเรียนโนนสูงพิทยาคาร


แบบประเมินสมรรถนะส ำคัญ ด้ำนควำมสำมำรถในกำรคิด ค าสั่ง ให้สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนตามพฤติกรรมที่กำหนด ค าชี้แจง สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนแล้วเติมเครื่องหมาย ลงในช่องระดับคะแนนให้ตรงกับความเป็นจริง ชื่อ-นามสกุล..................................................................................................................................เลขที่............ รายวิชา..............................................................รหัสวิชา..................................ชั้นมัธยมศึกษาปีที่................... ตัวชี้วัดที่ ๑ คิดพื้นฐาน (การคิดวิเคราะห์) พฤติกรรมบ่งชี้ สามารถระบุหลักการสำคัญ แนวคิดหรือความรู้ที่ปรากฏในข้อมูลที่พบเห็นในบริบทของ การดำเนินชีวิตประจำวัน พฤติกรรมบ่งชี้ ระดับคะแนน ดีเยี่ยม (๓) ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรุง (๐) สามารถระบุหลักการสำคัญ แนวคิดหรือความรู้ที่ปรากฏ ในข้อมูลที่พบเห็นในบริบท ของการดำเนิน ชีวิตประจำวัน เกณฑ์การประเมิน พฤติกรรมบ่งชี้ ระดับคะแนน ดีเยี่ยม (๓) ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรุง (๐) สามารถระบุหลักการสำคัญ แนวคิดหรือความรู้ที่ปรากฏ ในข้อมูลที่พบเห็นในบริบท ของการดำเนิน ชีวิตประจำวัน ระบุหลักการสำคัญ แนวคิดหรือความรู้ที่ ปรากฏในข้อมูล ต่าง ๆ ที่พบเห็นใน บริบทของการ ดำเนินชีวิตประจำวัน ได้อย่างถูกต้องและ ครบถ้วน ระบุหลักการสำคัญ แนวคิดหรือความรู้ที่ ปรากฏในข้อมูลต่าง ๆ ที่พบเห็นในบริบท ของการดำเนิน ชีวิตประจำวันได้ ถูกต้องแต่ไม่ ครบถ้วน ระบุหลักการสำคัญ แนวคิดหรือความรู้ที่ ปรากฏในข้อมูลต่าง ๆ ที่พบเห็นในบริบท ของการดำเนิน ชีวิตประจำวัน ได้ถูกต้องเป็น บางส่วนและไม่ ครบถ้วน หลักการสำคัญ แนวคิด หรือ ความรู้ที่ปรากฏ ในข้อมูลต่าง ๆที่ พบเห็นในบริบท ของการดำเนิน ชีวิต ประจำวัน ไม่ถูกต้อง ลงชื่อ……………………………….ผู้ประเมิน (นางสาวศิราณี ผาด่านแก้ว) …………/…………/………..


แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ข้อที่ ๑ ใฝ่เรียนรู้ ค าสั่ง ให้สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนตามพฤติกรรมที่กำหนด ค าชี้แจง สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนแล้วเติมเครื่องหมาย ลงในช่องระดับคะแนนให้ตรงกับความเป็นจริง ชื่อ-นามสกุล..................................................................................................................................เลขที่............ รายวิชา..............................................................รหัสวิชา..................................ชั้นมัธยมศึกษาปีที่................... ตัวชี้วัดที่ ๔.๑ ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ พฤติกรรมบ่งชี้ ระดับคะแนน ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๔.๑.๑ ตั้งใจเรียน ๔.๑.๒ เอาใจใส่และมีความเพียร พยายามในการเรียนรู้ ๔.๑.๓ สนใจเข้าร่วมกิจกรรม การเรียนรู้ต่าง ๆ เกณฑ์การประเมิน พฤติกรรมบ่งชี้ ระดับคะแนน ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๔.๑.๑ ตั้งใจเรียน ๔.๑.๒ เอาใจใส่และมี ความเพียรพยายาม ในการเรียนรู้ ๔.๑.๓ สนใจเข้าร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ ต่าง ๆ ไม่ตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ในการเรียน มีส่วน ร่วมในการเรียนรู้ และเข้าร่วมกิจกรรม การเรียนรู้ต่าง ๆ เป็นบางครั้ง เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียน เอาใจ ใส่และมีความเพียร พยายามในการ เรียนรู้ มีส่วนร่วม ในการเรียนรู้ และ เข้าร่วมกิจกรรม การเรียนรู้ต่าง ๆ บ่อยครั้ง เข้าเรียนตรงเวลาตั้งใจ เรียน เอาใจใส่และมี ความเพียรพยายามใน การเรียนรู้ มีส่วนร่วมใน การเรียนรู้ และเข้าร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ทั้งภายในและ ภายนอกโรงเรียนเป็น ประจำ ลงชื่อ……………………………….ผู้ประเมิน (นางสาวศิราณี ผาด่านแก้ว) …………/…………/………..


แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ข้อที่ ๒ มุ่งมั่นในการท างาน ค าสั่ง ให้สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนตามพฤติกรรมที่กำหนด ค าชี้แจง สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนแล้วเติมเครื่องหมาย ลงในช่องระดับคะแนนให้ตรงกับความเป็นจริง ชื่อ-นามสกุล...........................................................................................................เลขที่.................................. รายวิชา..............................................................รหัสวิชา..................................ชั้นมัธยมศึกษาปีที่................... ตัวชี้วัดที่ ๖.๑ ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่การงาน พฤติกรรมบ่งชี้ ระดับคะแนน ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๖.๑.๑ เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติ หน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย ๖.๑.๒ ตั้งใจและรับผิดชอบใน การ ทำงานให้สำเร็จ ๖.๑.๓ ปรับปรุงและพัฒนาการ ทำงาน ด้วยตนเอง เกณฑ์การประเมิน พฤติกรรมบ่งชี้ ระดับคะแนน ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๖.๑.๑ เอาใจใส่ต่อการ ปฏิบัติหน้าที่ ที่ ได้รับมอบหมาย ๖.๑.๒ ตั้งใจและรับผิดชอบในการ ทำงานให้สำเร็จ ๖.๑.๓ ปรับปรุงและ พัฒนาการ ทำงาน ด้วยตนเอง ไม่ตั้งใจปฏิบัติ หน้าที่การงาน ตั้งใจและ รับผิดชอบในการ ปฏิบัติหน้าที่ที่ ได้รับมอบหมาย ให้สำเร็จ ตั้งใจและรับผิดชอบ ในการปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายให้ สำเร็จ มีการ ปรับปรุงและ พัฒนาการทำงานให้ ดีขึ้น ตั้งใจและรับผิดชอบ ในการปฏิบัติหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายให้ สำเร็จ มีการ ปรับปรุงและ พัฒนาการทำงานให้ ดีขึ้นด้วยตนเอง ลงชื่อ……………………………….ผู้ประเมิน (นางสาวศิราณี ผาด่านแก้ว) …………/…………/………..


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓ วิชาสุขศึกษา ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๘ อันตรายจากสารเสพติด ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา 2566 เรื่อง แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาสารเสพติด และการมีส่วนร่วมในการป้องกันสารเสพติด ในโรงเรียน เวลา ๕๐ นาที วันที่............................................... ครูผู้สอน ศิราณี ผาด่านแก้ว กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา โรงเรียนโนนสูงพิทยาคาร สพม.อุดรธานี ๑.มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ พ ๕.๑ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยาสารเสพติด และความรุนแรง มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด พ ๕.๑ ม.๑/๒ อธิบายลักษณะอาการของผู้ติดสารเสพติดและการป้องกันการติดสารเสพติด พ ๕.๑ ม.๑/๓ อธิบายความสัมพันธ์ของการใช้สารเสพติดกับการเกิดโรคและอุบัติเหตุ ๒.สาระส าคัญ การศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับโทษของสารเสพติดจะทำให้เกิดความกลัวอันตรายของสารเสพติด หากมีใครมาชักชวนก็สามารถปฏิเสธโดยการอ้างถึงโทษต่าง ๆ ๓.จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑.อธิบายความสัมพันธ์ของการใช้สารเสพติดกับการเกิดโรคและอุบัติเหตุได้ (K) ๒.อธิบายถึงความสำคัญของการป้องกันและแก้ไขปัญหาสารเสพติด (K) ๓.หาแนวทางป้องกันการติดสารเสพติด (P) ๔.ปฏิบัติตนตามแนวทาง ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสารเสพติด(P) ๕. เห็นความสำคัญของโทษที่เกิดจากสารเพติดได้(A) ๔.สาระการเรียนรู้ ๑.แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาสารเสพติด ๒.การมีส่วนร่วมในการป้องกันสารเสพติดในโรงเรียน ๕. จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน ๑.ด้านความสามารถในการคิด


ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. ใฝ่เรียนรู้ ๒.มุ่งมั่นในการทำงาน ๖.สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ๖.๑ สื่อ ๑.หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษา ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ของบริษัท สำนักพิมพ์เอมพันธ์ จำกัด ๒.โปรแกรม PowerPoint ชั่วโมงที่ ๒๓ เรื่อง แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาสารเสพติด และการมีส่วนร่วมในการป้องกันสารเสพติดในโรงเรียน ๓.การใช้เทคโนโลยี Augmented Reality (AR) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่สามารถเข้าถึงวิดีโอและ ข้อมูลต่างๆ ทำให้ผู้สอนสามารถนำสื่อจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ไปยังผู้เรียนจากแอปพลิเคชันAimphan Education ๖.๒แหล่งเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้นี้ใช้วิธีการบูรณาการที่หลากหลาย คือ กิจกรรมการเรียนรู้แบบอภิปรายและ ฝึกฝน ๗.การจักกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน า ๑. ครูให้นักเรียนสำรวจตนเองว่ามีพฤติกรรมใดในชีวิตประจำวันที่ทำแล้วพบว่าตนเอง “เกิด การเสพติดบ้าง” (ในกิจกรรมนี้รูปแบบการถามมีหลายรูปแบบ เช่น ถามแล้วโต้ตอบในชั้นเรียนหรือครู ให้นักเรียนเขียนข้อมูลลงในกระดาษแล้วส่งครูเพื่อสำรวจพฤติกรรมการติดสารเสพติดของนักเรียนในชั้น เรียน) (ตัวอย่างค าตอบ ดื่มนํ้าหวาน/นํ้าอัดลม เล่นเกม การใช้ยา การใช้สารเสพติด ถ้านักเรียนคนใด ตอบว่าติดสารเสพติด ครูเก็บข้อมูลนักเรียนและแก้ปัญหารายบุคคล) ครูถามต่อว่า “พฤติกรรมการเสพติดนั้นส่งผลกระทบอย่างไรบ้าง” (ตัวอย่างค าตอบ ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ เช่น การดื่มนํ้าหวานทำให้เป็นโรคอ้วน) ครูกล่าวว่า “พฤติกรรมการเสพติดไม่ได้พบแต่ในกรณีที่ติดสารเสพติดเท่านั้น นักเรียนควร สำรวจตนเองว่าตนเองมีพฤติกรรมการเสพติดอะไรวิเคราะห์ข้อดี ข้อด้อย และปรับพฤติกรรมการเสพติด นั้น แต่ในสัปดาห์นี้เราจะเรียนเกี่ยวกับแนวทางการป้องกันสารเสพติด และการมีส่วนร่วมในการป้องกัน สารเสพติดในโรงเรียน” ๒. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิดที่ว่า “ถ้าในโรงเรียนหรือชุมชนของนักเรียนมียาเสพติด แพร่ระบาด นักเรียนจะมีวิธีแก้ปัญหาและหาทางการป้องกันอย่างไร” ๓. ให้นักเรียนช่วยกันตอบคำถามและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน


๔. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มคละความสามารถ กลุ่มละ ๕ คน ให้นักเรียนออกแบบวิธี แก้ปัญหาและหาทางการป้องกันยาเสพติด ๕. นักเรียนเลือกวิธีที่สนใจจะนำมาแก้ปัญหาและป้องกันยาเสพติด ขั้นสอน ๑.นักเรียนออกแบบแนวทางการป้องกันการใช้สารเสพติด โดยให้นักเรียนออกแบบอย่าง สร้างสรรค์ เช่น • กลุ่มที่ ๑ ป้ายรณรงค์ • กลุ่มที่ ๒ การประชาสัมพันธ์ • กลุ่มที่ ๓ การแสดงบทบาทสมมติ • กลุ่มที่ ๔ การจัดนิทรรศการ แล้วให้นักเรียนออกมานำ เสนอหน้าชั้นเรียน โดยครูมีเกณฑ์การประเมิน ดังนี้ • ความเหมาะสมของบทบาทการนำเสนอ เช่น แสดงสมบทบาท สมาชิกทุกคนในกลุ่มมีส่วน ร่วมในการนำ เสนอมีความพร้อมในการนำเสนอ มีความน่าสนใจในการนำเสนอ และพูดออกเสียง ชัดเจน • ความถูกต้องของข้อมูลเนื้อหาสาระ เช่น อธิบายเนื้อหาสาระได้ถูกต้องครบถ้วน ละเอียด ชัดเจน • ส่วนประกอบอื่น ๆ และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เช่น เตรียมอุปกรณ์ประกอบการนำเสนอได้ เหมาะสม ดึงดูดความสนใจ แสดงถึงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ๒.ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับแนวทางการป้องกันการใช้สารเสพติดและการมีส่วนร่วมในการ ป้องกันสารเสพติดในโรงเรียน โดยใช้โปรแกรมนำเสนอ PowerPoint ตัวอย่างเช่นการมีส่วนร่วมในการ ป้องกันสารเสพติดในโรงเรียน เช่น ๑) ศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับโทษของสารเสพติด ๒) เห็นความสำคัญของการป้องกันสารเสพติด ๓) ชักชวนเพื่อนเข้าร่วมชมรมที่เป็นประโยชน์ ๔) เฝ้าระวังปัญหาทั้งในโรงเรียนและชุมชน ขั้นสรุป ๑.เมื่อทำผลงานเสร็จแล้ว ให้แต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานในชั้นเรียน และนำผลงานเผยแพร่สู่สื่อ สังคมออนไลน์ ๒.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้จากการเรียนในวันนี้ ๓. ตรวจสอบและประเมินกิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน ดังนี้


• ให้กลุ่มที่ไม่ได้ทำการแสดงให้คะแนน เป็นการใช้แนวคิดการคิดขั้นสูง รวมถึงบอกเหตุผลที่มา ของการให้คะแนนมีเกณฑ์อย่างไรบ้าง • จากนั้นครูให้คะแนน แล้วนำคะแนนของกลุ่มที่ไม่ได้ทำการแสดงมารวมกันเพื่อเป็นคะแนน สำหรับกลุ่มที่ทำการแสดง ๔.ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและร่วมกันสรุปความรู้ เรื่อง อันตรายจากสารเสพติด ๕. ครูให้นักเรียนร่วมกันตอบคำถามท้ายหน่วยการเรียนรู้ ๖. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนเพื่อวัดความรู้ความเข้าใจของนักเรียนในหน่วยการ เรียนรู้ที่ ๘ ๗. ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจและเฉลยใบงานและแบบฝึกหัดจากหนังสือเสริมฝึก ประสบการณ์ คำถามท้ายหน่วยการเรียนรู้ และแบบทดสอบหลังเรียน


๘. กระบวนการวัดและประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ๑. นักเรียนออกแบบอย่าง สร้างสรรค์ เช่น ป้ายรณรงค์ การ ประชาสัมพันธ์ การแสดงบทบาท สมมติ การจัดนิทรรศการ เป็นต้น (K) ๑.แบบประเมินใบงาน/ชิ้นงาน/ ๒. แบบบประเมินบทบาทสมมติ ๓. แบบประเมินการนำเสนอ ๔. แบบประเมินการจัดนิทรรศการ ๑. เกณฑ์การประเมิน ผ่านเกณฑ์ต้องได้ไม่ น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ๑. นักเรียนออกแบบอย่าง สร้างสรรค์ เช่น ป้ายรณรงค์ การ ประชาสัมพันธ์ การแสดงบทบาท สมมติ การจัดนิทรรศการ เป็นต้น (P) ๑.แบบประเมินใบงาน/ชิ้นงาน/ ๒. แบบบประเมินบทบาทสมมติ ๓. แบบประเมินการนำเสนอ ๔. แบบประเมินการจัดนิทรรศการ ๑. เกณฑ์การประเมิน ผ่านเกณฑ์ต้องได้ไม่ น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ๑. เห็นความสำคัญของโทษที่เกิด จากสารเสพติดได้(A) แบบประเมินการตอบคำถามในชั้น เรียน ผ่านเกณฑ์การประเมินที่ ระดับคุณภาพปาน กลางขึ้นไป


ความเห็นของครูพี่เลี้ยง ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ นางสาวศิราณี ผาด่านแก้ว แล้วมีความคิดเห็นดังนี้ 1. องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ ครบถ้วนและถูกต้อง ยังไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้อง ควรปรับปรุงพัฒนา.................................................. 2. ความสอดคล้องของแผนการจัดการเรียนรู้กับหลักสูตรสถานศึกษา สอดคล้อง ยังไม่สอดคล้อง ควรปรับปรุงพัฒนา.................................................................... 3. รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ควรปรับปรุงพัฒนา................................................... 4. สื่อการเรียนรู้ เหมาะสมกับรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ยังไม่เหมาะสม ควรปรับปรุงพัฒนา..................................................................... 5. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ครอบคลุมจุดประสงค์การเรียนรู้ ยังไม่ครอบคลุมจุดประสงค์การเรียนรู้ ควรปรับปรุงพัฒนา................................... 6. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ นำไปใช้ได้จริง ควรปรับปรุงก่อนนำไปใช้ 7. ระดับคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ ดีเยี่ยม ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง 8. ข้อเสนอแนะอื่นๆ ............................................................................................................................. ....................................... .................................................................................................................................................................... ลงชื่อ……………………………………………………… (นางสาวยุพารัตน์ แก้วเนตร) ครูพี่เลี้ยง


ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ได้ทำการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ นางสาวศิราณี ผาด่านแก้ว แล้วมีความคิดเห็นดังนี้ 1. องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ ครบถ้วนและถูกต้อง ยังไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้อง ควรปรับปรุงพัฒนา................................................ 2. ความสอดคล้องของแผนการจัดการเรียนรู้กับหลักสูตรสถานศึกษา สอดคล้อง ยังไม่สอดคล้อง ควรปรับปรุงพัฒนา.................................................................... 3. รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญมาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม ยังไม่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ควรปรับปรุงพัฒนา.................................................. 4. สื่อการเรียนรู้ เหมาะสมกับรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ยังไม่เหมาะสม ควรปรับปรุงพัฒนา..................................................................... 5. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ครอบคลุมจุดประสงค์การเรียนรู้ ยังไม่ครอบคลุมจุดประสงค์การเรียนรู้ ควรปรับปรุงพัฒนา................................... 6. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่ นำไปใช้ได้จริง ควรปรับปรุงก่อนนำไปใช้ 7. ระดับคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ ดีเยี่ยม ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง 8. ข้อเสนอแนะอื่นๆ .......................................................................................................... .......................................................... ............................................................................................................................. ....................................... ลงชื่อ………………………………………………………….. (นางสาวยุพารัตน์ แก้วเนตร) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา


Click to View FlipBook Version