The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ภาพชีวประวัติและปฏิปทา พระอาจารย์ฝั้น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-02-24 21:42:40

ภาพชีวประวัติและปฏิปทา พระอาจารย์ฝั้น

ภาพชีวประวัติและปฏิปทา พระอาจารย์ฝั้น

Keywords: ภาพชีวประวัติและปฏิปทา พระอาจารย์ฝั้น

393

สีลพั พตปรามาส ความลบู คลำมันกไ็ ม่ลูบคลำ อ้อ - - จริงอยา่ งน
้ี

เมอื่ เหน็ เปน็ เชน่ นแ้ี ลว้ จติ มนั กว็ า่ ง พอจติ วา่ งแลว้ มนั กถ็ งึ อรปู ถงึ อรปู ภพ
จติ มันก็ว่างหมด เพราะไมม่ เี หลา่ น้มี นั ละแล้ว ถึงอรปู ภพ นี่ในภพทั้ง ๓ นแ่ี หละ จะ
ไดน้ ำมาชีแ้ จงให้พากันเข้าใจตอ่ ไป น่ีแหละนัง่ ดสู มาธิของเรา


อธบิ ายใหฟ้ งั แลว้ มนั หลงอะไร ถา้ มนั หลงรปู กย็ กรปู อนั นี้ หลงรปู เสยี ง กลนิ่ รส
นมี่ นั ขอ้ งตรงไหนแกต้ รงนน้ั เดย๋ี วนจี้ งึ วา่ สมถกรรมฐาน วปิ สั สนากรรมฐาน นร่ี จู้ กั กรรมทที่ ำ ฐานะ
ทต่ี ง้ั เวลานเี้ ราตงั้ ฐานอะไร กรรมอนั ใดอยู่ ไปยดึ อนั ใดอยู่ นเี่ ราตอ้ งเพง่ - - ดตู รงน้ี ใหม้ นั รู้ จติ ของ
เราขอ้ งอะไร มนั หลงอะไร ตอ้ งรจู้ กั เมอื่ เราจติ สงบไดแ้ ลว้ มนั นงิ่ แลว้ มนั กร็ จู้ กั ทขี่ อ้ ง มนั รจู้ กั ทคี่ า


แน–่ เมอ่ื รจู้ กั แลว้ ก็ - ตัด นี่ - - มนั จะได้เปน็ วิปสั สนาเกดิ ข้นึ

วิปัสสนาญาณ ความรู้แจ้งเห็นจริงสัจจธรรมเหล่าน้ี เรื่องมันเป็นอย่างนี้ เหตุ
น้ันให้พากันต่างคนต่างทำ ต่างคนต่างพิจารณาว่า เราในเวลานี้ เราอยู่ในช้ันใด ภูมิอันใด

ในภพอนั ใด เวลาน้เี ราหัดเขา้ สู่สงคราม

เฮ่อ - - หดั เวลานี้ สงครามอันใด เราตอ้ งเตรียมพรอ้ มเสยี เดี๋ยวนี้

เฮอ่ - - สงครามจะเกดิ ขน้ึ คอื อะไร คอื กเิ ลสสงคราม อนั นวี้ า่ สงครามภายนอก
ขา้ ศกึ สงคราม เขากเ็ กณฑท์ หารทกุ ปี หดั ทกุ วนั เมอื่ สงครามมาเมอ่ื ใด กไ็ มต่ อ้ งกลวั ยกทพั ไปเมอื่ นน้ั
อนั นกี้ เิ ลสสงคราม เราละ่ คอื ความเกดิ ความแก่ ความเจบ็ ความตาย โรคภยั บงั เกดิ ขน้ึ มาแลว้

เราจะรบทางไหนเลา่ เราจะสูว้ ิธีไหนเล่า น่ี - - มาหัดไว้น
้ี
เออ้ - - ใหม้ นั รู้เหน็ ไว้เดยี๋ วนี้ ให้เพ่งเดี๋ยวน้ี เราต้องเขา้ สมาธิทำจติ ให้ตั้งม่นั
เข้าหลุมเพลาะ คือหลุมเพลาะ คือเขารบสงครามภายนอก เขามีหลุมเพลาะแล้วเขาก็ไม่กลัว
ถา้ แหล่งใดมหี ลุมเพลาะต้งั ภมู ชิ ัยแลว้ ชนะขา้ ศึก


อนั นีเ้ รามีสมาธิแนน่ หนาแลว้ ทกุ ขเวทนาเหลา่ นัน้ มันกเ็ ข้าไม่ถงึ จิตของ
เรา เพราะเราปลอ่ ยแล้ว เราวางแล้ว เราละแล้ว


เหลอื แต่อรูปจติ อันนีใ้ นภพท้งั ๓ นี้เปน็ ทกุ ข์อยู่ เร่ืองสมมตุ ทิ ง้ั หลาย จิตนั้น

กล็ ะ ละภพท้ัง ๓ มนั กเ็ ป็นวิมุตติ หลุดพน้ ไปหมด น่ลี ะเป็นวิมตุ ติ แปลวา่ หลุดพน้ จะเป็น
อย่างโน้นอย่างนี้ จิตนั้นจะได้เข้าสู่ปรินิพพาน ดับทุกข์ในวัฏสงสาร ไม่ต้องสงสัย แน่ - -
เวยี นวา่ ยตายเกดิ ในโลกอนั นี้ เรอ่ื งมนั เปน็ อยา่ งน้ี วฏั สงสาร ทำไมจงึ วา่ วฏั ฏะ เครอื่ งหมนุ เวยี น
สงสาร คอื ความสงสัยในรูป เฮอ - - ในสง่ิ ทัง้ หลายทัง้ หมด มนั เลยไมล่ ะ วจิ ิกิจฉา ได้ซี่

394

เดยี๋ วนเ้ี รารแู้ ลว้ ไมต่ อ้ งวนเวยี นอกี เกดิ แลว้ กร็ แู้ ลว้ วา่ มนั ทกุ ข์ ชรากร็ แู้ ลว้
มนั ทกุ ข์ พยาธกิ ็รู้แลว้ มันทกุ ข์ มรณะเรารแู้ ลว้ มนั ทกุ ข์


เม่ือเราทุกข์เหล่าน้ี ก็ทุกข์เพราะความเกิด เราก็หยุด ผู้น้ีไม่เกิดแล้วใครจะเกิดอีกเล่า

ผนู้ ี้ไมเ่ กดิ แล้วผู้น้กี ็ไม่แก่ ไม่ตาย


ผู้นไี้ มต่ ายแลว้ อะไรจะมาเกดิ มันไม่เกดิ จะเอาอะไรมาตาย ดูซิ - - ใจความคดิ ของเรา
เดย๋ี วนเ้ี ราเกดิ เกิดแล้วกต็ าย ตายแล้วกเ็ กิด เกดิ แล้วก็ตายอย่อู ยา่ งน้ี มันกเ็ ป็นทกุ ขไ์ ม่แล้วสักที


พระพุทธเจา้ รู้แล้วเป็น อมตํ ท่านกไ็ ม่ตาย แน่ะ ท่านเป็นอยา่ งน้นั น่ีฉันใด คอื
กันนั่นแหละ คือท่านเกิดท่านก็ไม่เกิด ตายท่านก็ไม่ตาย น่ีแหละให้ถึงของท่ีไม่ตาย จิตเดิม
ของเรา ฐติฺ ิภตู ํ ความเป็นอยู่


เอา้ ตอ่ ไปเพง่ ดู ตา่ งคนตา่ งเพง่ ไดย้ นิ ไดฟ้ งั แลว้ โอปนยโิ ก ใหน้ อ้ มเขา้ ไปภายใน ตา่ งคนตา่ งดู
อยา่ ไปดูขา้ งนอก


เออ - - ได้ยิน ได้สญั ญาไว้ เมือ่ เทศนาอยนู่ ้ี จิตทงั้ หลายก็มาฟงั ดว้ ยเสยี งต่อ
น้ี ไปฟังภายใน วินโย มนั จะนำเสยี จากความชัว่ นำตนออกจากความชว่ั นำความช่วั ออกจาก
ตน รวมแลว้ วนิ ยั ทงั้ หลายก็ สติวนิ โย ผมู้ ีสตแิ หละเป็นองค์วนิ ัย


ให้เพ่งเล็งดู นี่แหละให้สัญญาไว้ ได้ยินเสียงอะไรก็ตาม รู้ว่าสิ่งน้ันไม่มีอันตรายแล้วเราไม่ต้อง
เดอื ดร้อน เพง่ - - ดูใจของเราตามสมควร เอาจนไดเ้ วลา เอา้ เพง่ พิจารณา


ต่อน้ีจะไม่อธิบายละ เมื่ออธิบายแล้วจะมาฟังแต่เสียง พอได้ความแล้วให้รู้จัก
มันข้องตรงไหน มันคาตรงไหน - - แกต้ รงนนั้ เหมอื นกบั เราคนั คนั ในตัวของเรา คันตรง
ไหนเราก็ตอ้ งเกาตรงนั้น มนั จะหาย - - อนั นก้ี ็ฉันใด จติ เราข้องตรงไหน ก็ตอ้ งแกต้ รงนน้ั
ตอ้ งชำระตรงน้นั ใหม้ ันสน้ิ ไปหมดไป เฮอ่ เรือ่ งมันเปน็ อย่างน
้ี

เพราะฉะนนั้ เราอยากพน้ ทกุ ข์ ความทพ่ี น้ ทกุ ข์ รไู้ ดย้ งั ไง รวมมาสน้ั ๆ แลว้
คอื จติ เราไมท่ กุ ข์ เมอ่ื จติ เราไมท่ กุ ข์ กแ็ ปลวา่ มนั พน้ ทกุ ข์ จติ ยงั มที กุ ขอ์ ยู่ มนั กไ็ มพ่ น้ ทกุ ข

มนั ยังมีทุกข์อยตู่ รงไหน ก็ดตู รงนน้ั


เออ - - อยา่ ไปหา อยากเหน็ โนน่ อยากเหน็ น่ี อยากเปน็ โนน่ เปน็ นี่ อยา่ ไปหา
ไปหา มันเป็นตณั หา มนั ตนั เจ้าของ ทำนง่ิ - อยู่


เปรยี บนายพรานเขายิงเนอื้ เขาไม่ไดว้ งิ่ เขาไม่ไดเ้ ตน้ เขานง่ิ อยู่เท่านัน้ แหละ เขาดกั เนื้อ
เนอ้ื เข้ามา เวลาเขาจะยงิ ปืน เขากเ็ ลง็ ตาเดียว นน่ั มันจึงถกู


เออ นัน่ - - นก่ี ็เราตงั้ จิตนงิ่ - - ดมู ันจะไปข้างหน้าหรอื มันจะมาข้างหลงั
ขา้ งซา้ ย ข้างขวา ให้มันรู้

395

เอา้ ! ...ตอ่ นไ้ี ปต่างคนต่างตง้ั วางใหส้ บาย สิ่งใดไม่ดแี ล้ว เพราะเราไม่ตอ้ งการ
ใครเป็นผู้ไปยึดถือเอา คนท้ังหลายเกิดมาแต่อยากดี เราไปยึดเอาแต่ส่ิงท่ีไม่ดี มันก็ไม่ดีซิน่ี
ต่างคนต่างสงบ


วันนข้ี อถวายพระราชกุศลใหม้ หาบพติ รด้วย


เรากเ็ พง่ ดู ตา่ งคนตา่ งสงบ ประเทศชาตขิ องเราจะไดม้ คี วามสขุ จะไดม้ คี วามเจรญิ

ท่านมหาบพติ ร ท่านก็เห็นเราทง้ั หลาย มีความดี มคี วามใจดี มคี วามสุข
ความสบาย ท่านกไ็ ดร้ ับความสขุ ความสบาย

วันถวายพระราชกุศลวันน้ี จึงเป็นสิริมงคล ถ้าพวกเราวุ่นวายเดือดร้อน ท่านก็ได้รับ
ความทกุ ขค์ วามยาก


เหมือนกับบิดามารดา ลูกไม่ดี บิดามารดา ก็เป็นทุกข์ ถ้าลูกดี บิดามารดาก็
เปน็ สุข แนะ่


นก่ี ฉ็ นั ใดคอื กนั นน่ั แหละ ประเทศชาตขิ องเรา ถา้ ตา่ งคนตา่ งมคี วามสขุ ความสบาย
แลว้ มันกม็ ีความสุขความเจรญิ ย่งั ยนื ถาวร เออ ตลอดกาลไป - น่ี


คนเรากลัวจะเปน็ อย่างโนน้ กลัวจะเป็นอยา่ งน้ี ประเทศเราต่อไปจะเป็นอย่างไร
นง่ั ดูเด๋ยี วนีแ้ หละ ถา้ เราดีสงบเรยี บรอ้ ย อนาคตมนั ก็เปน็ อยา่ งน้ี ถ้าจติ ของเราวนุ่ วาย ไมส่ งบ
อนาคตมันก็เป็นอย่างนั้น เพราะฉะน้ัน เราก็เพ่งดูซิ กำจัดออกให้หมด ภัย - เวร

ทง้ั หลาย อาศยั พุทธานุภาเวนะ นี่แหละ


เอาพระพุทธเจ้าเป็นอานุภาพ เอาพระธรรมมีอานุภาพ เอาพระสงฆ์มี
อานภุ าพ


พทุ ธะ คอื ความรู้ พระธรรม คอื เราทำอยเู่ ดี๋ยวนแ้ี หละ พระสงฆ์ คือเรา
ปฏิบตั อิ ยูเ่ ด๋ียวนแี้ หละ


เมอื่ เราปฏิบัตดิ แี ล้วก็เรียกว่า พุทฺโธ เม นาโถ เปน็ ใหญก่ วา่ - หมดแหละ ธมโฺ ม เม นาโถ
เป็นใหญ่ กวา่ หมด สงโฺ ฆ เม นาโถ เปน็ ใหญ่กว่า - - โม๊ด - - ใน ๓ โลกน้ี


เอ้า - ต่อไปใหพ้ งึ รู้พงึ เข้าใจ อยา่ ได้วติ กวจิ าร

เออ - - ใหเ้ หน็ จรงิ แจง้ ประจกั ษน์ นั่ ซิ จะมาอยากรอู้ ยากเหน็ วา่ มนั เปน็ อยา่ งไร
- ตอ่ ไป กเ็ ปน็ อยา่ งน้ีแหละ

396

แน่ะ คือเราน่ังอยู่เดียวนี้แหละ ถ้าเราสงบอย่างน้ี มันก็สงบอย่างนี้ต่อไป

ถา้ เราไมส่ งบมันกไ็ มส่ งบต่อไป จะว่าอยา่ งไรละ่ มันก็ไปจากน้ีแหละอนาคต เออ–เอา้ - ต่อไป
ได้ความแล้วต่างคนต่างฟัง เอ้า – น่ังให้สบายๆ อาตมภาพก็จะได้นั่งต่อไปน่ังสมาธิภาวนา

นงิ่ เงียบ


ตัวของเราดี หรอื ไม่ดี นีม่ าวัดดูมาเข้าวดั

วันน้ีดูมันสงบดี ใจของเรา ต่อไปพากันทำอย่างนี้เร่ือยๆ ไป ประเทศชาติของเรา

เคยอธิบายให้ฟังแล้ว มันจะเจริญอยู่ได้ อาศัยพุทธศาสนา ศาสนาคือคำส่ังสอน คือสอนอย่างน้ีแหละ
สอนกายสอนใจของเรา เราทำคุณงามความดจี งึ มคี วามสขุ ความเจรญิ

เราทา่ นทง้ั หลาย ทกุ รปู ทกุ นามกต็ อ้ งการความสขุ ความสบาย ตอ้ งการความสขุ
ความเจรญิ ต้องการคณุ งามความดี แนะ่ -

- อธิบายใหฟ้ ังแล้วมันดีตรงไหน เจรญิ ยิง่ ๆ ขนึ้ ไป มนั ไมด่ ีแล้ว ใหพ้ ากันเลิก
กนั ละแกไ้ ขต่อไป

ประเทศชาตเิ ราจะอยไู่ ด้ อาศัยคณุ งามความดี นเี่ ร่อื งมนั เปน็ อย่างนัน้ อย่าให้
เปน็ มจิ ฉาทิฏฐิ เห็นผิดเป็นชอบประกอบเหมือนกบั แมงเม่าเห็นไฟ ใหเ้ ปน็ สัมมาทิฏฐิ เหน็ ชอบ
คือ เรานัง่ ดู - - แหละ

สมั มาแปลวา่ ความชอบ เราทำแลว้ ชอบอกชอบใจ ดอี กดใี จ ไดร้ บั ความเบกิ บาน
ได้รับความสุขความสบาย - - ไม่วุ่นวายเดือดร้อน น่ี - เร่ืองมันเป็นอย่างนี้ นำความสุข
ความเจรญิ ใหใ้ นปจั จุบันและเบื้องหน้า ดังทอี่ ธบิ ายมาแล้ว


วันน้ีเปน็ วนั ถวายพระราชกุศลท่านมหาบพิตร สมเด็จพระญาณฯ ทา่ นจึง
ไดด้ ำรเิ พอื่ เป็นสิริมงคลแกป่ ระเทศชาตบิ า้ นเมอื ง แกพ่ วกเราท้งั หลาย ทา่ นจงึ ไดช้ ักนำ
บำเพ็ญกศุ ล เรื่องมนั เป็นยงั ง
ี้

บำเพ็ญกศุ ลก็ คือบำเพญ็ อย่างนี้แหละ กศุ ลก็คือความสขุ ความสบาย คือความ
สขุ ความเจรญิ เพ่อื ใหเ้ ราได้รบั ความเยือกความเยน็ เรารับความเบาความสบาย


- - นแี่ หละ ตา่ งคนตา่ งจติ ใจสขุ สบายแลว้ ทา่ นกจ็ ะไดร้ บั ความเยอื กความเยน็
ความสขุ ความสบาย ดงั อธิบายมาแลว้


ถ้าเรามคี วามยุ่งยากวุ่นวาย ผู้ปกครองประเทศชาติพากันหนกั อกหนกั ใจ
เปน็ ทุกข์เปน็ รอ้ น

397

น่เี ปรยี บอุปมาเหมือนบดิ ามารดา ถ้าลูกวา่ ยากสอนยาก บดิ า มารดา
ก็เป็นทกุ ขเ์ ปน็ รอ้ น ถ้าลกู วา่ ง่ายสอนง่าย บดิ ามารดาก็มคี วามสุข ความสบาย


นก่ี ็ฉันใด ประเทศเราผ้ปู กครองก็เช่นเดียวกัน น่พี ากนั เข้าใจไว้ขอ้ นี้ เพ่อื เอาใจใส่ - -
ใครก็อยากได้ความสุขความสบายท้ังนั้น ใครมาใครก็อยากได้ความร่ำความรวย อยากได้ความสวย


ความงาม ได้ความพน้ ทุกข์พ้นภยั พ้นกิเลสจัญไรทงั้ หลายทง้ั หมด


เคยอธิบายมาแล้ว กิเลสจัญไรทั้งหลายก็ไม่ได้อยู่ที่อ่ืนที่ไกล อยู่ที่กายที่ใจ

ของเรา ในธรรมะคำสัง่ สอน ทา่ นไดบ้ อกว่า มโนปุพฺพงคฺ มา ธมฺมา มโน วา่ นโม พลกิ นะ
เปน็ โม โม เปน็ นะ มโนปพุ ฺพงคฺ มา ธมมฺ า มโนคอื ความน้อมนึก ธมมฺ า คอื ความคิด ปพุ ฺพ
ในเบือ้ งตน้ บุญและบาปสง่ิ ใด ใจเราถงึ กอ่ นสงิ่ ทงั้ หลายท้งั หมดใจเราถงึ ก่อน


อนาคตก็ดีต้องดูเดี๋ยวนี้ ถ้าปัจจุบันนี้ดีแล้ว อนาคตมันก็ดีไม่ต้องสงสัย
ใหพ้ ากนั หายสงสัย


ถ้าในปัจจุบันนี้ไม่ดี อนาคตมันก็ไม่ดี น่ีใครต้องการส่ิงไม่ดีล่ะ ไม่มีใครสักคน
เมอ่ื เปน็ เชน่ นี้ ตา่ งคนตา่ งทำสงบ มคี วามเยอื กความเยน็ ความสขุ ความสบาย - - - เบกิ บาน
จึงได้นามวา่ “พุทโธ” พระพทุ ธเจา้ นั่นแหละ จึงดี - -


น่ีแหละ ใจเราเป็นหลักฐาน ใจเป็นประธาน มันสำเร็จกับดวงใจ สิ่งไรๆ ท้ังหมด

นี่แหละนำมาเตือนใจโดยย่นย่อนี้พอเป็นข้อปฏิบัติ ประดับสติปัญญาบารมีของท่านท้ังหลาย เมื่อท่าน

ท้ังหลายได้สดับแล้ว ในโอวาทธรรมะคำส่ังสอนโดยย่นย่อน้ีพอเป็นข้อปฏิบัติแล้ว นำไปพินิจพิจารณา
ให้ทะลุหัวข้อใจความในพระพุทธศาสนา คือกายกับใจนี้ เป็นที่ตั้งแห่งพระพุทธศาสนา เป็นที่ต้ังแห่ง
คุณพระพุทธเจ้า เปน็ ทตี่ งั้ แหง่ พระธรรม เปน็ ท่ีต้ังแห่งพระสงฆ์ เปน็ ท่ตี งั้ แห่งมรรคและผล


เมื่อได้ยินได้ฟังดังนี้ โยนิโสมนสิการ พากันกำหนดจดจำไว้แล้ว นำไป
ประพฤตปิ ฏิบตั ิ ฝกึ หดั ตนของตนเปน็ ไปในธรรมคำสัง่ สอน


แต่นีต้ ่อไป เมื่อเราท่านท้งั หลาย เมือ่ ไมม่ ีความประมาทแล้ว จกั ประสบ
พบเหน็ แตค่ วามสขุ ความเจริญ ดงั ไดแ้ สดงมา เอวํ กม็ ี ดว้ ยประการฉะนี้

398

พระอาจารยฝ์ ั้น อาจาโร

แสดงพระธรรมเทศนา

ณ วัดป่าถำ้ ขาม จงั หวดั สกลนคร

วันที่ ๒๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๑๖


สวฺ ากขฺ าโต ภควตา ธมโฺ ม

ดีไหมละ่ ธรรมของพระผู้มพี ระภาคเจ้า


ทกุ สิ่งทกุ อยา่ งมันเหลอื แตข่ องเปล่าๆ สนทฺ ฏิ ฐฺ ฺโิ ก ผูป้ ฏบิ ัติร้เู องเหน็ เอง ถา้ ตน
ไมร่ บู้ ุคคลอน่ื บอกมนั ก็ไม่เชื่อ มันกไ็ ม่รู้ ถา้ เราร้แู ลว้ ไมม่ ีใครบอกได้ มันเปน็ อยา่ งน้ัน คนว่า
ทุกวันนศี้ าสนาหมดคราวหมดสมัยพระอรหตั ต์ อรหันตก์ ไ็ ม่มี มรรคผลไมม่ ีเสยี แล้ว คนเขา้ ใจ
อย่างนัน้ เสยี มาก หมดคราวหมดสมยั แท้ท่ีจริงในธรรมคุณท่านบอกว่า อกาลโิ ก ไม่เลอื กกาล
เลอื กเวลาเลอื กฤดู ได้ผลอยู่เสมอ ธรรมะทงั้ หลายมนั หมดไม่เปน็ เพราะวา่ ธรรมทั้งหลายไมไ่ ด้
อยู่ท่ีอื่นท่ีไกล ตัวของเราน้ีเป็นธรรม มรรคผลการท่ีไม่มี เพราะอาศัยคนไม่ปฏิบัติ เมื่อ

คนไมป่ ฏบิ ัตแิ ลว้ ก็เลยไม่มมี รรคไมม่ ีผล ถ้าคนยงั ปฏบิ ตั อิ ยู่ มรรคผลมนั กม็ ีอยู่ ตราบนัน้ ถ้า
คนไม่ปฏิบัติแล้ว ก็จะเอามรรคมาจากไหนเล่า มรรคคือการกระทำ เมื่อเรากระทำแล้วก็จะ

ได้รับผล นี่ไม่ได้กระทำแล้วจะเอาผลมาจากไหนล่ะ ท่านจึงว่า อกาลิโก ไม่มีกาลไม่มีเวลา

แทท้ ี่จริงธรรมทงั้ หลายมีแตไ่ หนแตไ่ รมา มนั มีอย่อู ย่างนัน้


พระพุทธเจ้าตรัสรู้ชี้แจงแสดงให้ฟัง แต่เมื่อพระพุทธเจ้าไม่ได้ตรัสรู้ก็มีอยู่อย่างนั้น


อุปฺปาทา วา ภกิ ฺขเว ตถาคตานํ อนปุ ฺปาทา วา ตถาคตานํ แตเ่ มือ่ พระตถาคตยงั ไมต่ รสั ร้กู ็มีอยอู่ ย่างน้นั
เมือ่ ตรสั ร้แู ลว้ กม็ อี ยูอ่ ยา่ งน้ัน ไม่ได้มาจากไหน


เหมือนกับตัวเราเกิดมาแล้ว ก็มีอยู่อย่างนี้ มีทุกข์อยู่อย่างนี้ ทุกข์ทั้งหลาย

ไม่ได้มาจากอ่ืนไกล ไม่ใช่อื่นเป็นทุกข์ คนทั้งหลายกลัวอดกลัวอยาก กลัวน้ันกลัวน้ีเป็นทุกข์
ไม่มียศถาบรรดาศักด์ิเป็นทุกข์ ไม่มีที่อยู่ท่ีอาศัยเป็นทุกข์ น่ันพระพุทธเจ้าท่านไม่ได้ว่าทุกข์
ทกุ ขค์ ืออ่นื ใดเลา่ อิทํ โข ปน ภิกขฺ เว ทุกขฺ ํ อริยสจจฺ ํ ของจริง ภิกฺขเว ดูกอ่ นทา่ นท้ังหลาย
ภกิ ษทุ งั้ หลาย ของจริงคอื อะไรเล่า ชาตปิ ิ ทุกฺขา ทกุ ข์เพราะความเกิด


ท่านไม่ได้วา่ อะไรทุกข์ คอื ความเกดิ นน่ั แหละเป็นทุกข


399

น่ีแหละตัวทุกข์ เราก็พิจารณาซิ อะไรเกิดเล่า คือตัวของเรานี้เกิดมา

มนั ก็เป็นทกุ ข์ ทุกข์เพราะความเกิด เกิดเปน็ เจบ็ เปน็ ไข้ เกิดเปน็ โน้นเป็นนี่ เกิดอยาก
โนน้ อยากนี้ จติ ของเราไมส่ งบ กอ่ กรรมกอ่ เวรกอ่ ภยั ใหเ้ กดิ ขน้ึ ภวาภเว สมภฺ วนตฺ ิ เทย่ี ว
ตอ่ ภพนอ้ ยๆ ใหญๆ่ อยมู่ ันกเ็ ลยเปน็ ทกุ ข์กันสิ เราไมอ่ ยากทกุ ขแ์ ล้ว เราก็หยดุ นั่งอยู่
ที่น้ี ไม่ก่อกรรมกอ่ เวรอยู่ ว่าเราไมไ่ ดไ้ ปทำบาปทำกรรมอะไร ดูซิ พิจารณาซิ มันไป
เที่ยวต่อภพนอ้ ยๆ ใหญๆ่ อยู่ อารมณส์ ัญญาของเรานี่แหละไปสร้างบาปสรา้ งกรรมไว้
ทั้งกลางคืน กลางวนั ทัง้ น่งั ทั้งนอน ทง้ั เดิน ทัง้ ยืน เพราะฉะนน้ั ทา่ นจงึ สอนให้มสี ติ
นง่ั ก็ดี นอนอย่กู ็ดี ยืนอยกู่ ด็ ี เดินอยู่ก็ดี ใหม้ ีสติอยู่ ให้มันรู้ มสี ติสัมปชัญญะ นง่ั ก

ให้รู้อยู่ว่านั่ง นอน เดินก็ให้รู้จัก สติของเราเพ่งเล็งอยู่อย่างนั้น การทำความสงบมิใช่
อืน่ ไกล เพราะฉะน้ัน กใ็ ห้พากนั เพ่งเลง็ ดู


มิใช่อ่ืนทุกข์ คือความเกิดน่ะเป็นทุกข์ เราน่ังอยู่ที่นี้เราเป็นสุขหรือเป็นทุกข์
อะไรทุกข์ ต้นไม้ ภูเขาเหล่ากอ ดินฟ้าอากาศ ทรัพย์สมบัติ การงานทุกข์หรือ? ก็ไม่ใช่

ทกุ ข์เพราะความเกดิ น้ ี


ทุกข์ทส่ี อง ชราปิ ทุกขฺ า ทุกข์เพราะความเฒา่ แกช่ ราครำ่ คร่า เพราะความเจ็บ
ความไข้ น่ันเป็นทุกข์ ไม่ใช่อ่ืนไกล ความเจ็บตรงโน้น ปวดตรงน้ี ความชำรุดทรุดโทรม

นนั่ แหละความแก่มาถงึ แลว้ ไมใ่ ชท่ ุกข์เพราะอ่ืน ทกุ ขเ์ พราะอนั น้ี มรณมฺปิ ทุกฺขํ ทุกข์เพราะ
ความตาย ไมใ่ ชอ่ น่ื เป็นทุกข


น่ีแหละความทกุ ขท์ ั้งหลาย ใหพ้ ากนั พิจารณาดซู ิ อะไรมันเกดิ อะไร
มันแก่ อะไรมันเจบ็ อะไรมันตายเล่า?


เหตุนั้น ท่านยังให้พิจารณาปฏิจจสมุปบาท ท่านให้กำหนดทุกข์ว่า ทุกข์มา

จากไหน? อะไรเปน็ เหตปุ ัจจัยมาให้เกดิ ทกุ ข์?


ทา่ นใหพ้ จิ ารณาเหน็ แลว้ วา่ ทกุ ขม์ นั มาจากความตาย น!่ี ตายนเี้ ปน็ เหตปุ จั จยั มา
ใหท้ กุ ข์ นี่ “ตาย” มาจากไหน เปน็ เหตปุ จั จยั มาจะใหต้ าย มาจากโรคภยั ไขเ้ จบ็ อาพาธทงั้ หลาย
ต่างๆ เป็นเหตุปัจจัยมา อันน้ีอาพาธท้ังหลายเหล่าน้ีมาจากไหนเป็นเหตุปัจจัยมา มาจากชรา
ความเฒา่ แกช่ ราครำ่ ครา่ อนั นค้ี วามเฒา่ แกช่ ราครำ่ ครา่ มาจากไหนเปน็ เหตปุ จั จยั มา มาจากชาติ
คือความเกิด น่ีมาจากน่ี มันคดไปเป็นปฏิจจสมุปปบาท ๑๒ อันนี้ความเกิดน้ีมาจากไหนเล่า
เปน็ เหตุปจั จยั มา มาจากภพ คือ เข้าไปตัง้ เขาไปยึด เข้าไปถือไว้ อารมณข์ องเราไปยึดไว้

400

ยึดมันก็ก่อภพขึ้น อันน้ีภพมันมาจากไหนเป็นเหตุปัจจัยมา มาจากอุปาทาน การยึดถือ ทีนี้
อุปาทานมาจากไหนเป็นเหตุปัจจัยมา มาจากตัณหาความทะเยอทะยานอยาก ความด้ินรน
ตณั หามาจากไหนเปน็ เหตปุ จั จยั มา มาจากเวทนา ทกุ ขเวทนา สขุ เวทนา เมอื่ ความทกุ ขเ์ กดิ ขน้ึ
ก็อยากจะหาความสุข เม่ือสุขเกิดขึ้นก็อยากไม่ให้ทุกข์เกิดขึ้น น่ีมาจากเวทนา ทีน้ี เวทนา

มาจากไหนเป็นเหตุปัจจัยมา มาจากผัสสะ ความกระทบถูกต้องนี่แหละผัสสะ อันน้ี ผัสสะมา
จากไหนเป็นเหตปุ ัจจัยมา มาจากอายตนะ เปน็ บ่อเกิดอายตนะคือ ตา หู จมกู ล้ิน กาย ใจ
เหล่าน้ี อายตนะมาจากไหนเปน็ เหตุปัจจยั มา มาจากนามรูป นามรปู อันนี้มาจากไหน เปน็ เหตุ
ปัจจยั มา มาจากวญิ ญาณ วญิ ญาณมาจากไหนเป็นเหตปุ ัจจยั มา มาจากสังขาร สงั ขารมาจาก
ไหนเปน็ เหตุปัจจัยมา มาจากอวิชชา น้ีขน้ั ตน้ มันจบน้ี


อวิชชาคอื ความหลงละ หลงสมมตุ ิ หลงภพ หลงชาติ หลงตน หลงตัว อวิชชฺ า
ปจฺจยา สงฺขารา เม่ืออวิชชาความหลงเป็นปัจจัยให้เกิดสังขารความปรุงแต่ง เม่ือสังขารมีแล้ว

ก็เป็นปัจจัยให้เกิดวิญญาณ วิญญาณมีแล้วก็เป็นปัจจัยให้เกิดนามรูปฯลฯ ให้พิจารณาทวน
กระแสกลับ วิญญาณมีแล้วก็เป็นปัจจัยให้เกิดนามรูป นามรูปมีแล้วก็เป็นปัจจัยให้เกิดอายตนะ
ตา หู จมูก อายตนะมีแล้วก็เป็นปัจจัยให้เกิดผัสสะ ผัสสะมีแล้วก็เป็นปัจจัยให้เกิดเวทนา
เวทนามีแล้วก็เป็นปัจจัยให้เกิดตัณหา ตัณหามีแล้วก็เป็นปัจจัยให้เกิดอุปาทาน อุปาทานมีแล้ว
ก็เป็นปัจจัยให้เกิดภพ ภพมีแล้วก็เป็นปัจจัยให้เกิดชาติ คือความเกิดชาติมีแล้วก็เป็นปัจจัย

ใหเ้ กดิ ชรา ความชำรุดทรดุ โทรมเฒ่าแกช่ ราครำ่ ครา่ ความเฒา่ แก่ชราครำ่ ครา่ มแี ลว้ กเ็ ปน็ ปจั จัย
ให้เกิดพยาธิ ความเจ็บไข้และพยาธิ ความเจ็บไข้และพยาธิมีแล้วก็เป็นปัจจัยให้เกิดความตาย
ความตายมีแล้วกเ็ ป็นปจั จัยให้เกิดทกุ ข์ โสกปรเิ ทวทุกขโทมนสั อปุ ายาส น่ีแหละ


เหตุนี้จึงให้พากันนั่งสมาธิพิจารณาตัวของเรากำหนดทุกข์ นี้เรื่องทุกข์
เร่ืองสมุทัย นี่แหละความหลงของเรา ให้พากันเพ่งเล็งดู น่ีข้อสำคัญว่ามันเป็นอย่างน้ี
อกาลโิ ก ไมม่ กี าล เปน็ อยเู่ สมอ นง่ั อยกู่ เ็ ปน็ ทกุ ข์ เปน็ โทษ ใหพ้ ากนั รจู้ กั ทนี เ้ี มอื่ ฟงั แลว้
เอหิปสฺสิโก คำสอน จงร้องเรียกสัตว์ทั้งหลายให้มาดูธรรม ท่านไม่ได้ให้ไปดูธรรม
ท่านใหม้ าดู ดูรูปธรรมนามธรรมน้


รูปธรรมก็คือสภาพร่างกายของเรา นามธรรมคือดวงใจของเราตัวคิดตัวนึก

ดูเพือ่ เหตุใด? เหตุทเ่ี ราถอื วา่ รูปเหล่านเ้ี ป็นตวั เปน็ ตน เป็นสตั ว์เปน็ บุคคล เปน็ เราเปน็ เขา เปน็
ผู้หญิงเป็นผู้ชาย เป็นพระเป็นเณร เราถือรูปอันนี้ หากเราเพ่งรูปอันนี้แล้วไม่มีตัวตน

ไม่มีสัตว์ไม่มีบุคคล ไม่มีเราไม่มีเขา เอาอะไรเป็นตัวเป็นตน เอาอะไรเป็นสัตว์เป็นบุคคล

เป็นทไี่ หนเลา่ เพราะฉะนัน้ ทา่ นจงึ ได้วางมูลกรรมฐานไว้ให้พจิ ารณา นโม นอ้ มเข้ามาพิจารณา

401

มาพิจารณา น มาพิจารณา โม น้ี พิจารณาเพื่อเหตุใด เพ่ือใหร้ ู้ตวั ของเรานี้ วา่ เราเปน็ ของ
สวยของงาม ว่าเปน็ ตวั เป็นตน ท่านบอกไว้ในอภณิ หปัจเวกขณ์ว่า ตจปรยิ นโฺ ต มีหนังหมุ้ อยู่
เป็นท่ีสุดโดยรอบ ปูโรนานปฺปการสฺส อสุจิโน เต็มไปด้วยของไม่สะอาดมีประการตา่ งๆ อตถฺ ิ
อมิ สฺมึ กาเย ในกายนี้ ทา่ นไมไ่ ด้วา่ กายโน้น กายนี้กแ็ ปลว่าชี้ท่ีกายของเราทกุ คน เต็มไปด้วย
ความไม่สะอาดมปี ระการตา่ งๆ อตฺถิ อิมสมฺ ึ กาเย ในกายนี้ อะไรล่ะทีอ่ ยู่ในกายน้ี เกสา คือ
ผมทงั้ หลาย ทท่ี า่ นวา่ ไมส่ ะอาด โลมา คอื ขนทง้ั หลาย นขา คอื เลบ็ ทง้ั หลาย ทนตฺ า คอื ฟนั ตโจ
คอื หนงั นเี่ ตม็ ไปดว้ ยอยา่ งนเ้ี รยี กของไมส่ ะอาด มสํ ํ คอื เนอื้ นหารู คอื เสน้ เอน็ อฏฐฺ ฺิ คอื กระดกู
อฏฐฺ มิฺ ญิ ชฺ ํ เยอื่ ในกระดกู เลา่ วกกฺ ํ ไต หทยํ หวั ใจ ยกนํ ตบั กโิ ลมกํ พงั ผดื ปหิ กํ ไต ปปผฺ าสํ
ปอด อนตฺ ํ ไสใ้ หญ่ อนตุ คณุ ํ ไสน้ อ้ ย กรสี ํ อาหารเกา่ อทุ รยิ ํ อาหารใหม่ นแี่ หละ ทา่ นวา่ เตม็
ไปดว้ ยของไมส่ ะอาด ทนี เ้ี ราวา่ สะอาดไงละ่ เราถอื นว้ี า่ เปน็ ตวั เปน็ ตน มนั เปน็ แตอ่ าการเทา่ นน้ั


ถ้าเราเห็นเป็นอย่างนี้แล้ว มันก็ละสักกายทิฏฐิ ความถือว่าเป็นตัวเป็นตนเป็น
สตั ว์เปน็ บุคคล เราเขาไมม่ เี สยี แลว้ วิจิกิจฉา ความสงสัยเคลอื บแคลงวา่ จะดีอย่างโนน้ ไมม่ ีเสยี
แลว้ มนั เปน็ อยา่ งนี้ สลี พั พตปรามาส การลบู คลำมนั กไ็ มม่ สี ขุ จรงิ ๆ ทกุ ขจ์ รงิ ๆ ดชี ว่ั จรงิ ไมต่ อ้ ง
ลูบคลำ ทุกขอ์ ยู่โนน้ ทุกข์อยู่นี่ ศลี อยู่โนน้ ธรรมอยโู่ น้น ไมม่ ีเสียแลว้ อย่กู บั ตัวของพวกเรา
เหตุน้ันให้พากันพิจารณาน้ีมันจึงละได้ ถ้ามันไม่เห็นอย่างนี้แล้วก็ว่าเป็นคน เป็นคนละ หาว่า
สนกุ สนาน หาว่าเป็นของดบิ ของดี สวยงามอะไรตา่ งๆ แทท้ ี่จรงิ มันเปน็ อยา่ งน้ี เรากพ็ ิจารณา
ให้มนั รูใ้ ห้มนั เห็นแล้วจะสงสัยอะไรละ เราทำอยู่อย่างน้ี อนั น้ี ปิตฺตํ น้ำดี ดทู น่ี ำ้ ดี ทีไ่ หนเล่า
ทา่ นรอ้ งเรยี กใหส้ ตั วท์ ง้ั หลายมาดธู รรม เสมหฺ ํ นำ้ เสลดเลา่ ปพุ โฺ พ นำ้ เหลอื งเลา่ โลหติ ํ นำ้ เลอื ด
เหลา่ นี้อย่ทู ่ีไหนเล่า เสโท น้ำเหงื่อเล่า เมโท น้ำมันขน้ อสฺสุ นำ้ ตา วสา น้ำมันเหลว เขโฬ
นำ้ ลาย สิงฺฆาณิกา นำ้ มกู เลา่ ลสิกา น้ำไขขอ้ มุตตฺ ํ น้ำมตู รเล่า มนั เปน็ อย่างน้ี ส่งิ เหล่าน้เี ป็น
ของทิ้งท้ังหมด มิใช่ว่าเป็นของเอา ไม่ใช่ว่าของท่ีอยากได้ เห็นเลือดออกมานี่ล่ะใครเก็บไหม
ขมี้ ูกนำ้ ลายอยา่ งนี้ ขี้เหงอ่ื ไคลอย่างน้ี นำ้ มูตรเหลา่ น้ี เห็นไหมล่ะ หรือไมเ่ หน็ พวกเรา จริง
หรือไม่จริง แน่! มันเป็นของทิ้งท้ังหมด เราก็เพ่งพิจารณาอยู่อย่างนั้น แล้วมันก็ละ ที่ถือว่า
เป็นตวั เปน็ ตน เป็นสัตวบ์ ุคคลมนั ก็ไม่ถอื เสียแลว้ นีแ่ หละ ก็รู้จกั น น แปลว่าไม่ใช่ ไม่ใชต่ วั
ไม่ใช่ตน ไม่ใช่สัตว์ไม่ใช่บุคคล ไม่ใช่เขาไม่ใช่เรา ไม่ใช่จริงๆ เพราะว่าถ้าเป็นตัวเราแล้ว
ทำไมจึงเป็นไปเพ่ือทุกข์เพ่ือภัยเพื่ออาพาธ ถ้าเป็นตัวเรา นี่ไม่ใช่ตัวเราเสียแล้ว ทำไมเป็นไป
เพอ่ื แกเ่ ฒ่าชราครำ่ คร่าความชำรุดทรุดโทรมลงไป ทำไมล่ะ? แลว้ กเ็ พ่งพิจารณามันแนน่ อนลง
ไปอย่างงน้ั ซิ จิตของเรามันจงึ สงบ เพราะไมเ่ หน็ อยา่ งน้แี ล้ว ไม่ใชต่ ัวแลว้ มันจะเอาอะไรเลา่ ?
ไม่ใช่สัตว์ใช่บุคคลเสียแล้ว ไม่ใช่ตนใช่ตัวเสียแล้ว ไม่ใช่เขาใช่เราเสียแล้ว มันก็เลิกอุปาทาน
การยึดท้งั หลายเสยี ท้ังหมด

402

นี่พิจารณาเพือ่ ให้รู้ ใหจ้ ำแนกแจกออกแล้ว ถ้าเราไม่จำแนกแจกออก
กเ็ ข้าใจวา่ เปน็ คนจริงๆ เม่อื จำแนกแจกออกแล้วมนั กไ็ ม่เปน็ ตวั เสียแล้ว


นแี่ หละพระพทุ ธเจา้ ทา่ นสอนใหร้ จู้ กั น รจู้ กั โม พอรจู้ กั นโมแลว้ หวั ใจตวั เรากร็ กั ษาได้
มันกไ็ ม่ทะเยอทะยาน ดิน้ รนตามสง่ิ ทงั้ หลายต่างๆ อนั นี้แหละความทุกข์ จิตของเรามนั ก็สงบ น่คี นส่วน
เราเห็นเป็นอย่างนี้ๆ ก็ละสักกายทิฏฐิแล้ว ละทิฏฐิมานะของเราเสียแล้ว จิตของเรามันก็สงบมีความสุข
มคี วามสขุ เพราะวา่ เรามยี ศฐาบรรดาศกั ดิ์ สขุ เพราะทรพั ยส์ มบตั ิ ตกึ ขา้ วของเงนิ ทอง ทา่ นไมไ่ ดว้ า่ อยา่ งนน้ั
อะไรสขุ ละ่ พอเราละส่ิงเหล่านแ้ี ล้วจิตของเรากส็ งบ นตถฺ ิ สนฺติ ปรํ สขุ ํ สขุ อ่ืนเสมอเหมอื นจติ สงบไม่มี
เหตุน้ีเราจะทำจิตให้สงบ เมื่อจิตสงบแล้วมันก็เป็นสุขเพราะไม่ได้ไปก่อกรรม ก่อเวร ก่อภพ ก่อชาติ
ภพน้อยๆ ใหญๆ่ ก็ไมไ่ ดไ้ ปกอ่ เราเหน็ ทุกขเ์ ห็นโทษแลว้ ในสังขารท้งั หลาย เราไม่หลง พอเราไม่หลงก็
ไม่เวียนกลบั ทีน้มี ันหลงก็กลับไปกลับมาอยูอ่ ย่างนี้


เราเกิดมาแล้ว ก็ว่าเราไม่ได้เกิด เราว่าจะเกิดมาจากไหน คนเราเกิดมาจะ

มาจากไหนเล่า มันมอี ยู่อยา่ งนนั้ แต่ไหนแต่ไรมา นแ่ี หละนัง่ สมาธดิ ูแล้ว มันไปกอ่ ภพ กอ่ ชาติ
ก่อกรรมก่อเวร จะรู้จักภพอ่ืนชาติอ่ืนอะไรเล่า แต่เราเกิดมาเท่าน้ีเราก็จำชาติเราไม่ได้แล้ว

เรามาเวลาน้มี นั มี ๓ ชาตมิ าแล้ว จะรไู้ ด้ ๓ ชาติน่ะ นกึ ดูซิเราอยใู่ นครรภ์มารดา ใครระลึกได้
ทุกข์ยากเท่าไร แลแคบคับ คับเหลือเกิน กล้ิงตัวก็ไม่ได้ น่ันท้ังตกโลกันตนรก โลกันตา

มืดมิด คดิ ไม่รู้อะไร โลกันตนรก นเี่ พ่งดซู ิ ตกในขุมมูตรขุมคูถ อยใู่ นขมุ มตู รขุมคูถแลว้ จะว่า
อย่างไรล่ะ อยู่ครรภ์ของมารดา มูตรก็อยู่น่ัน คูถก็อยู่น่ัน นั่นแหละตกนรก นรกอยู่ที่ไหนล่ะ
แสนทุกข์ทุกข์ยากแสนลำบาก กล้ิงตัวก็ไม่ได้ ขดอยู่อย่างน้ัน น่ี! เราทั้งหลายก็ต้ังความ
ปรารถนา ว่า โอ๊ยยย.....ขอให้พ้นเถิดนรกหลุมน้ี ออกไปนี้พ้นจากนรก ข้าพเจ้าจะให้ทาน

รักษาศีลภาวนาจะบวชในพระพุทธศาสนา จะปฏิบัติ ขอให้พ้นนรกขุมน้ี น่ีแหละเรื่องมันเป็น
อย่างน้ัน ทุกข์ตกในโลกันตนรก โลกันตาแปลว่ามืดบังหมดไม่รู้เห็นอะไรอยู่ในครรภ์ ลองดูซิ
ตกขุมมตู รขุมคถู อันนเี้ ปน็ ขุมมูตรอย่างใดเลา่ ขุมคถู อยา่ งใดเล่า วา่ ไงเลา่ ? ขมุ มตู รวา่ ไงเลา่ ?
ขุมคูถว่าไงเล่า? ตกขุมขี้ขุมเยี่ยวไม่ใช่เหรอ นี่แหละเราเกิดอยู่ท่ีนั่นตกอยู่ท่ีน่ัน ทีนี้คำภาวนา
อยนู่ ัน้ ก็มากซิ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ก ข ค ฆ ง จ ฉ ช ฌ ญ แน่ ภาวนาอยู่น่ัน

ขอให้พ้น ออกไปแล้วจะทำบุญทำกุศล ออกไปลืมหมด ตกใจ หลุดออกจากครรภ์มารดา

ท่านเปรียบอุปมาเหมือนกับตกเหวร้อยช่ัว เหมือนกับหลุดลงตกเหวร้อยช่ัวลืมหมดคำภาวนา
สลบไป เลยหยุดตั้งใจได้ ยังเหลือแต่ตัว อ กับตัว ง เท่าน้ัน อะแง้ อะแง้ เท่านั้นแหละ

รอ้ งแอๆ๋ อยนู่ แี่ น่ ลมื หมด เหลอื สองตวั อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ลมื หมด ยงั เหลอื อยแู่ ตต่ วั อ
กบั ตัว ง เท่านัน้ ออกมาแล้วก็นอนถา่ ยมตู รถ่ายคูถอย่นู ัน่ ระลึกไดไ้ หม ทกุ ขเ์ ท่าไรยากเทา่ ไร

403

นี่เราเกิดมามันเป็นอย่างน้ันยังจำไม่ได้ ระลึกไม่ได้ น่ีชาติที่สอง คือนอนถ่ายมูตรถ่ายคูถอย
ู่
ท่ีน่ันนี่ทีน้ีชาติท่ีสามเกิดมาเป็นตัว เติบโตขึ้นมาแล้ว ระลึกได้ไหมเวลาน้ีสองภพ ว่าเราไม่ได้
เป็นอย่างน้ัน ว่าเราไม่ได้เกิด ว่าเราไม่ได้อยู่ในครรภ์มารดา ไม่ได้ระลึกเลยว่าเราไม่ได้นอน
ถ่ายมูตรถ่ายคูถ ลืมหมด ตัว อ ก็ลืมหมด ตัว ง ก็ลืมหมด ลืมหมดไม่มีอะไรว่าตัวไม่ได้

เปน็ อะไร


ให้พากนั เพ่งพจิ ารณาให้มนั รมู้ ันเหน็ ซิ เหตนุ ้ันทา่ นจงึ ไดว้ างศาสนาเพื่อแกท้ กุ ข์
อันนี้ ใหร้ ู้จักภพของเราชาติของเรา นท่ี า่ นจึงไดส้ อน ศลี สมาธิ ปญั ญาน้ไี ว้หลกั พทุ ธศาสนา
ให้พากันพิจารณาเหล่านี้แน่นอนลงไปแล้ว เราก็ไม่อยากไปเกิดอีกแล้ว ถ้าได้เกิดเป็นสัตว์
เดรจั ฉานมนั ยง่ิ แสนทกุ ขแ์ สนยาก นแี่ หละใหพ้ ากนั เพง่ เลง็ ดใู หม้ นั รแู้ นน่ อนลงไปซิ จรงิ หรอื ไมจ่ รงิ ละ

สงิ่ เหล่าน้ี เพ่งดซู ิ น่ันลืมหมดแลว้ วา่ เราไมไ่ ด้เปน็ อะไรมา ลืมบุญลืมกศุ ลเสยี แล้ว ลืมพระสูตร
ลืมพระวนิ ยั เสียแล้ว ลมื หมดนรกถามหานรก วา่ นรกเป็นรูปอยา่ งใดก็ว่าใหฟ้ งั แลว้ น่ี บคุ คลน่ัน
แหละนรก ปุคฺคโล บุคคลน่ันแหละเป็นตัวนรก ตัวนรกเป็นยังไง คือตัวคนน่ีแหละ คนน่ัน
แหละไปตก ตัวสวรรค์ คอื ตัวคนนัน่ แหละ คนนน่ั แหละไปเปน็ สวรรค์ ตัวนพิ พาน คือตัวคนน่ัน
แหละ คนน่ันแหละไปเป็นนิพพาน อุปมาเหมือนกับน่ังอยู่นี้ล่ะ เป็นพระเป็นเณร อะไรเป็น

คนนนั่ แหละเป็นพระเป็นเณร วา่ ยงั ไงละ ท่พี ระพุทธเจ้าได้เป็นพระอรหนั ต์ กค็ นนัน่ แหละเปน็
นแ่ี หละใหร้ ู้จกั เป็นขข้ี โมยขโจร เปน็ นักโทษก็คนน่นั แหละ เปน็ นกั เรยี นกเ็ หมือนกนั ไมใ่ ช่อนื่
เป็น เปน็ ตำรวจเป็นทหารก็เป็นคน นายรอ้ ยนายพัน นายพลจอมพลกเ็ ปน็ คน พระเจ้าอยหู่ ัวก็
เป็นคน เรามนั สมมตุ ิกนั ให้รู้จกั สมมตุ


การประพฤติดปี ฏิบตั ิดี นำไปทางดี ประพฤตไิ ม่ดี ทำไมด่ ี ปฏิบตั ไิ มด่ ี มันก็ไปทางต่ำ
ไปทางไม่ดี นี่แหละ พากันเพ่งเล็งดูให้แน่นอนลงไปซิ จะสงสัยอะไรในธรรมในวินัยน้ี ในศาสนานี้
ไมใ่ ชส่ งสยั ว่า ตายแลว้ จะเกิดไหม? เราเกิดมาแทๆ้ ยงั วา่ ไมไ่ ด้เกิดอยู่ เราเกิดมาท้ังน้นั น่งั อยนู่ ่ี หรือใคร
ไม่ได้เกิดมา มาน่ังอยู่อย่างน้ีหรือเป็นอยู่อย่างน้ีอยู่เหรอ? ต่างเกิดมาท้ังนั้นไม่ใช่หรือ ตายแล้วก็ต้อง


เกิดซิเวียนว่ายตายเกิด เกิดแล้วตาย ตายแล้วเกิด เกิดแล้วตาย ตายแล้วเกิด เกิดแล้วตาย ตายแล้วเกิด

เกิดแล้วตาย ตายแล้วเกิด ไมร่ ้กู ่ีกปั ป์กี่กลั ป์ อนนั ตชาติยังไม่ร้ตู วั คดิ ดซู ิ พทุ โธ ใหม้ นั รู้เสียซิ ให้มนั รู้
ตนรตู้ วั เสยี ซิ อย่าได้ไปหลงซิ นี่แหละความหลงของเราเปน็ อย่างน้ัน


ฉะนั้น พระพุทธเจ้าท่านจึงนั่งสมาธิเพ่งเพื่อไม่ให้หลง ไม่ให้หลงภพหลงชาติ
หลงเกดิ หลงแก่ หลงเจ็บ หลงตาย นมี่ นั หลง หลงแล้วก็เกิดละ ไม่หลงแล้วมนั ก็ไมเ่ กดิ เกดิ
ทำไมมนั กท็ กุ ข์ นเี่ ราหลงซิ น่ขี อ้ สำคัญ

404
เอาต่อนี้ไป ให้พากนั เขา้ ท่เี พง่ พจิ ารณาดซู ิ จรงิ หรอื ไมจ่ ริง เอา้ เพง่ …..ไมไ่ ดน้ าน สัก ๓๐ นาที

ทดลองดูซิ ว่ามนั จะเปน็ ยังไง หอื ! เป็นไง ยอมหรอื ยงั …. ว่ายังไง ยอมแล้วหรอื เพง่ ดูซิ ใหเ้ หน็ ทกุ ข์ เห็นโทษเหน็
ภยั การเกิดของเรา การแก่ของเรา การเจ็บของเรา การตายของเรา ให้มนั รู้ ให้มนั เหน็ ชิ ให้มันเห็นทกุ ข์ เห็นโทษ
เหน็ ภยั ของเรา อย่าไปยอมซิ เอาให้พากนั นัง่ ด


เอาเข้าทีด่ ู เพง่ เลง็ ดใู หม้ นั แนน่ อนลงไป เช่ือม่ันลงไป ให้เหน็ แจง้ ประจักษ์ลงไป
สนฺทิฏฺฐโิฺ ก ผู้ปฏบิ ตั ิ พึงรู้เองเห็นเอง โอปนยิโก กใ็ หน้ ้อมเขา้ มา ปจจฺ ตตฺ ํ รจู้ ำเพาะตนเทา่ นัน้
ถ้าตนเองไม่รู้ บุคคลอื่นก็บอกอะไรไม่ได้ พิจารณาดูความเกิดของเรา น่ีมันเป็นทุกข์อย่างน้ี

ทีไ่ ด้อธิบายมาแล้ว ต่อไปต่างคนตา่ งกันเพง่ เลง็ ดูใหม้ นั รู้แจง้ เหน็ จรงิ เมอ่ื ตนเห็นแล้ว มันกเ็ ลิก
ก็ละเอง ตนยังไมเ่ หน็ แล้ว ยงั ไมร่ แู้ ลว้ มนั กย็ ังเลกิ ไมไ่ ดล้ ะไม่ได


ตอ่ นไี้ ปจะไมอ่ ธบิ ายเพราะเขา้ ใจแลว้ ตอ่ ไปใหเ้ พง่ ดู เมอื่ จติ ของเรามนั ไมก่ อ่ ภพกอ่ ชาตแิ ลว้
มันก็สงบ มันก็เป็นสุข น่ีเราต้องการความสุขความเจริญ ต้องการความพ้นทุกข์ ความสุขความสบาย


ก็เมอ่ื จิตเราสงบ มนั ไม่ไปปรงุ ไปแต่ง ไมไ่ ปกอ่ กรรมกอ่ เวร ไมไ่ ปทำอะไรสกั อย่าง มนั นิ่งเฉย มนั วา่ ง
อยู่หมด นี่มันสุขอยู่ตรงนี้ ไม่ใช่สุขอยู่ตรงอ่ืน มันไม่สุขมันเป็นอย่างไง? มันไปปรุงไปแต่ง มันไป


ก่อกรรมก่อเวรก่อภัยอยู่ นี่ละจะว่าอย่างไงเล่า? กรรมทั้งหลายว่า เราเป็นกรรมอันโน้นเป็นกรรมอันน้ี
กรรมไม่มีในต้นไม้ภูเขาเหล่ากอ ในป่าในดงในบ้านในเมืองในถนนหนทาง ในชัยมงคลคาถาท่านว่า
กายกรรม วจกี รรม มโนกรรม กรรมเกดิ จากน้ี กายกรรม กรรมเกดิ จากกายของเรา วจีกรรม กรรมเกดิ
จากวาจา มโนกรรม เกิดจากดวงใจของเรา แตเ่ วลานีก้ ายกรรมของเราก็ดีแล้ว ไมม่ อี ะไร นัง่ กเ็ รียบร้อย
แลว้ วจกี รรมของเรากไ็ มม่ แี ลว้ ยงั เหลอื แตม่ โนกรรมความนอ้ มนกึ และระลกึ อะไรอยู่ นก่ี รรมเปน็ ของๆ ตน
กมฺมสฺสโกมหฺ ิ กรรมนั้นเปน็ ของๆ ตน กลฺยาณํ วา ปาปกํ วา ตสสฺ ทายาโท ภวสิ ฺสามิ


เราจะทำกรรมอันใดไว้ เป็นบุญหรือเป็นบาป เราจะรับผลของกรรมน้ัน

สืบไป เราไม่ต้องคำนึงถึงอดีตถึงอนาคต (เราทำกรรมอันใดไว้ เป็นบุญหรือเป็นบาป เราจะ

รับผลของกรรมน้ันสืบไป) เราก็นั่งดูซิ เราจะไม่สืบอย่างไรเล่า ทีน้ีจะรู้ได้อย่างไรเล่า

กรรมอันดีกรรมอันช่ัว กรรมดีคือ กลฺยาณํ วา กรรมอันดีรวมมาส้ันๆ คือใจเราดี.........

มีความสขุ ความสบาย เบาตนเบาตัว ไมม่ คี วามปรงุ แต่ง มีความเยอื กเย็นมสี ุขสบาย ว่างหมด
ไมม่ ีภยั ไมม่ ีเวร ไม่มอี ะไรสักอยา่ ง


พทุ โธ มแี ตค่ วามเบกิ บาน พทุ โธ ความสวา่ งไสว พทุ โธ ความเปน็ ผผู้ อ่ งใส
พุทโธ เป็นผตู้ รสั รู้ พทุ โธ เปน็ ผ้รู ู้ พุทโธ เป็นผูไ้ มต่ าย น่ีแหละ กรรมอันดี เมอ่ื ใจเรา
ดแี ลว้ อดีตมันก็ดี อนาคตมนั กด็ ี ใหร้ จู้ กั ไวอ้ ย่างน้ี ปาปกํ กรรมชัว่ ละ่ อยูท่ ี่ไหนเล่า
รวมมาแลว้ คอื ใจไมด่ ี ใจไมด่ คี อื ทกุ ขย์ ากวนุ่ วายเดอื ดรอ้ น นนั่ แหละกรรมชวั่ เปน็ ของๆ
ใคร มนั เปน็ ของๆ ตนมใิ ชห่ รอื ใครละ่ เปน็ ผไู้ ดร้ บั ตนเปน็ ผไู้ ดร้ บั มใิ ชห่ รอื ไมม่ ผี อู้ นื่ รบั

405

ทกุ ข์มันไม่ได้มีอยใู่ นดนิ ฟา้ อากาศตน้ ไม้ภเู ขาเหลา่ กอ ในบา้ นในเมอื ง
ในถนนหนทาง ใจเราเปน็ ทกุ ข์ ความทพี่ น้ ทกุ ขค์ อื อะไร? จติ เราไมท่ กุ ข์ จติ เราไมท่ กุ ข์
มนั ก็พน้ ทกุ ข์ จติ เรามที กุ ข์อยมู่ ันกไ็ ม่พน้ ทุกข์ ไมใ่ ช่ส่งิ อนื่ เป็นทกุ ข์ ทุกขเ์ พราะเรา
ไปปรุงไปแตง่ เพราะเราไปกอ่ ภพกอ่ ชาตขิ น้ึ คอื อธิบายมาแล้ว ไปก่อกรรมกอ่ เวร
มาแล้ว หมดกรรมหมดเวรหมดภยั คอื จิตสงบอันเดยี ว ไมม่ วี ิธีอนื่ ทจ่ี ะล้างบาปล้าง
กรรมนอกจากนงั่ สมาธิจิตสงบน้ี


เมื่อจิตสงบแล้วหมด เพราะไม่ได้ไปก่อบาปก่อกรรม มโน ปุพฺพงฺคมา ธมฺมา
บญุ และบาปสิ่งใดใจมันถึงกอ่ น มโน คือความน้อมนกึ ธัมมา คอื ความคิด บุพพ คอื เบ้ืองต้น
มันเกิดจากต้น จากตนน้ีเอง เราก็เพ่งเล็งดูซิ มันเป็นกรรมอยู่ท่ีไหนเล่า มโนกรรม ฉะนั้น

เราเพ่งพิจารณาใหม้ ันรซู้ ิ กรรมดีก็อธิบายให้ฟังแล้ว กรรมชั่วก็อธิบายใหฟ้ ังแลว้ แน่นอนลงไป
เชื่อม่ันลงไป เราจะเอากรรมอันใดเล่า น้ีให้มันรู้มันเห็นซิ สนฺทิฏฺฐฺิโก ผู้ปฏิบัติ ถ้าเราไม่รู้ไม่
เห็นแล้ว มันก็ละไม่ได้ เลิกไม่ได้ความช่ัว ถ้ารู้แล้วมันก็เลิกก็ละ จะเอาไปทำไมในความช่ัว

จะเอาไปทำไมทกุ ข์ เราไม่ใช่ทกุ ข์ ใครเปน็ ผู้เป็นเลา่ ? เราเปน็ ผู้เปน็ ใครปรงุ ใครแต่ง เราเปน็
ผู้ปรุงผู้แต่ง พิจารณาให้มันแน่นอนลงไปซิ ไม่มีผู้อ่ืนปรุงแต่งให้ ไม่มีบุคคลอ่ืนทำให้ เราทำ

เอาเอง นั่งอยู่เดี๋ยวน้ีแหละ ไม่ต้องสงสัยละ มันเป็นสุขหรือมันเป็นทุกข์ มันเป็นทุกข์ ก็นั่น
แหละความชว่ั มนั เปน็ สขุ กน็ น่ั แหละความดี ใหพ้ ากนั อยากดี ปรารถนาดี ใหม้ นั รมู้ นั เหน็ ซิ เอา
จะไม่อธิบายแล้วต่อไป ถ้าจะมีเสียงอะไรก็ตาม สัญญาไว้ว่าส่ิงเหล่านั้นไม่มีอันตรายแล้ว และ

ก็ไม่ต้องเดือดร้อน ต่างคนต่างโอปนยิโก น้อมเข้าไปให้ถึงใจของตน ไม่นานก็สัก ๓๐ นาที
ทดลองดูซิ........


ตอนนนี้ ั่งสมาธิประมาณ ๓๐ นาท


มันหลดุ พน้ ตรงน้ี เปน็ ยงั ไงก็พิจารณาใหม้ นั แนน่ อนลงไป เชอ่ื ม่ันลงไป ใหม้ นั รู้
จริงเห็นจริง นี่แหละเป็นขอ้ สำคญั พระพทุ ธเจ้าทรงเทศนาไวแ้ ลว้ ความเป็นอยู่ ความมอี ยู่ ให้
รู้กนั ต่อไป ถ้าไม่ทำมนั กไ็ ม่รู้ เราเปน็ อะไรอยู่ นงั่ เพ่งเล็งให้รู้ อยากรู้ อะไรไปเกิดหรอื ไม่ได้เกดิ
กใ็ หม้ ันรู้ เป็นนรกหรอื เปน็ สวรรคก์ ็ใหม้ นั รู้ มันสขุ มันทกุ ข์ก็ให้มันรู้ อยากรู้ ไมใ่ ช่อ่ืนไกล นข่ี ้อ
สำคัญ เข้าใจไหมละ่ ต่างคนตา่ งทำให้มนั รมู้ นั เห็น เปน็ ยงั ไงล่ะ... วนั นี้ หอื ....


(เสียงศิษย)์ คะ่ อยู่ไกลค่ะ ไม่เห็นนัง่ อย่ทู น่ี ่ี เห็นนงั่ อยไู่ กลลิบโน่น... เหน็ มีไฟส่อง...


(เสยี งทา่ นอาจารย)์ อยไู่ กลเหรอ? แน่ ! มนั กร็ ู้ เหมอื นกนั ซิ มนั เปน็ สขุ ไหมละ่ ฮนั่ นนั่ ละใหร้ ไู้ ว้
อยากสขุ อยากสบาย อนั นนั้ แหละความสขุ นน่ั แหละความดี มนี นั่ แหละเปน็ บญุ เปน็ วาสนาบารมขี องเรา เปน็ นสิ ยั
ของเรา ธรรมนัน้ ยอ่ มรักษาผปู้ ระพฤติธรรม ผู้ปฏบิ ัตธิ รรมไม่ใชธ่ รรมอ่นื รกั ษา เรือ่ งเปน็ อย่างง้นั ...หอื ! ยังไงล่ะ

406
(เสยี งทา่ นอาจารย)์ เห็นไหมละ่ ตัวเจา้ ของเข้าใจไหมละ่ ทอี่ ธบิ ายใหฟ้ งั ทำไมไม่พิจารณาตาม

เล่าดูเจ้าของ นั่น.... มันเป็นสุขหรือเป็นทุกข์เล่า แน่ ! ทำไมไม่ดูเล่า ดูอะไรเหอ..... ให้ดูเจ้าของบอกแล้วจะ

ไปดูอื่นไงเล่า มันเป็นสุขหรือเป็นทุกข์ เราว่าทำอะไรมันไม่ดี อะไรไม่ดีเล่า ใจเราไม่ดี ทำอะไรมันดี อะไรดีเล่า

ใจเรามนั ดีกอ็ นั น้ี ความพน้ ทกุ ขอ์ ะไรมันพน้ ใจเราไมท่ ุกข์ ใจเราไมท่ กุ ขแ์ สดงวา่ พ้นทุกขเ์ ปน็ อยา่ งงัน้ ให้หมน่ั ทำ
นะต่อไป เฮ้อ ! เกิดมาไปดูแต่การแต่งานอ่ืน ไปเรียนอย่างอื่น หัวใจเราไม่เรียน มันจึงได้เป็นทุกข์เป็นยาก

มันยงุ่ ยากวุ่นวายเดอื ดรอ้ น เรยี นหวั ใจแล้วแกไ้ ขนไ่ี ดแ้ ลว้ มันไมย่ งุ่ มันด


นี่ พทุ โฺ ธ เม สามิกสิ สฺ โร กจิ พระพุทธศาสนาเป็นของสำคญั กิจไหนจะเท่ากจิ
พระพุทธศาสนา กิจพุทธศาสนาคือมารู้จักชาติของเราน่ะซิ....เหอ.... น่ีเราไม่รู้จักชาติของเรา
มนั เป็นอะไรอยู่ อะไรรกั ษาเราอยู่ นใ่ี ห้ร้จู ัก ให้มันรู้ให้มนั เหน็ ซิ หอื ! เป็นอย่างไง? หอื ! แมช่ ี
เปน็ อยา่ งไงละ่ แมช่ ี กลางคนื นงั่ หมดเชา้ ? จะไปภวู วั ไหมละ่ ? หอื ...ยงั เปน็ ตงั้ ใจ เอา้ ! ตงั้ ไวก้ ด็ ี
อย่าให้มันล้มเสียเล่า อย่าให้มันล้มนา มันล้มใช้ไม่ได้นา เหมือนกับตุ่มน้ำโอ่งน้ำมันล้มนะ

ฝนตกมาเท่าไร มันก็ไมเ่ ขา้ นะ ใจเราถ้ามนั ต้งั ฝนตกมามันก็เขา้ ถ้าใจเราลม้ แล้วโอวาทธรรม
คำสง่ั สอนของพระพทุ ธเจา้ มนั กไ็ มเ่ ขา้ ถงึ ใจ เขา้ ถงึ ใจมนั กร็ ู้ ทนี ี้ มนั ไมเ่ ขา้ ถงึ ใจ มนั ไปอยขู่ า้ งนอก
มนั ไปหาสขุ หาทุกข์ขา้ งนอกกนั มนั กเ็ ลยไม่เห็น หาดี หาชั่วขา้ งนอกมันก็ไม่เจอสักที โอปนยิโก
นอ้ มเขา้ มาให้เห็น แน.่ ... มนั กท็ ำได้ ใจของเราเปน็ ไม่ใช่อ่นื เปน็ เรากร็ ีบมาแก้ไข พจิ ารณา
ภายในซิ มันเกิดจากใน ไม่ใช่มันเกิดจากนอก มรรคผลทั้งหลาย สุขทุกข์ทั้งหลาย อุปมา
อุปไมย เหมือนกับผลไม้ มันไม่ได้เกิดมาจากอ่ืน มันงอกมาจากใน นี่แหละความเกิดของคน
มันเหมือนกับเมด็ มะพรา้ ว ลกู มะพรา้ ว เห็นลูกกลมเฉยๆ มันจะมอี ะไรไหม พอเรามีทกุ ขอ์ ะไร
ข้ึนมาเอาไปปลูกเข้า งอกข้ึนมาเป็นต้น เป็นลำข้ึนมา เกิดข้ึนมาจากนั้นเองล่ะ นี่ก็ฉันใด

สขุ ทกุ ขท์ งั้ หลาย มนั งอกขน้ึ จากใจของเรา มใิ ช่อ่นื ไกล... หือ.... เปน็ ยงั ไง ....


(เสียงศษิ ย)์ ทำยังไง อย่าให้หลบั ...


(เสียงท่านอาจารย์) อยา่ ใหห้ ลับเหรอ ใจดีไหมเล่า....


(เสยี งศษิ ย)์ ดคี ะ่ ….


เอ้อดี ใหม้ ันร้ซู ิ เราอยากรเู้ รามีโอกาสน้อยอย่าว่าน้อย อกาลิโก ไม่เลอื กกาล
เลอื กเวลา ทำมันแน่นอนลงไป ใครจะทำให้เราเล่า ไมใ่ ช่พระพทุ ธเจา้ จะทำให้ เราทำเอา เรา
ปฏบิ ตั เิ อา กรรมทงั้ หลาย ไมใ่ ชพ่ ระพทุ ธเจา้ ทำให้ เทวบตุ ร เทวดา ญาตพิ น่ี อ้ งทำให้ มโนกรรม
เราทำเอาทัง้ น้นั เราสร้างเอาทง้ั นนั้ ให้นัง่ ดูซิ ให้มนั รมู้ นั เห็นมันซิ อา น่ี ใหม้ นั แน่นอนลงไปซิ
มนั เหน็ แลว้ มนั กล็ ะสกั กายทฏิ ฐิ แนะ่ ! ผจู้ ะเขา้ ถงึ มรรคในเบอ้ื งตน้ คอื มรรคทง้ั สี่ โสดา สกทิ าคา
อนาคา อรหัตตา....โสดามรรค โสดาผล สกิทาคามรรค สกทิ าคาผล อนาคามรรค อนาคาผล
อรหัตตมรรค อรหัตตผล ตลอดมรรค กแ็ ปลว่าการกระทำ การแต่ง การปฏบิ ตั ิ

407

เม่ือเราปฏิบัติเต็มที่แล้ว มันก็ได้มรรค เมื่อได้มรรคมันก็ได้รับผล ผลความสุข
ความสบาย ถ้าเราทำกรรมดี ถ้าเราทำกรรมช่ัว ก็ได้รับผลความทุกข์ เป็นอย่างงั้น น่ีแหละ
เหตุน้ัน จะให้พิจารณาไม่ใช่ตัวตน อือ! ก็ไม่หลับซิ เห็นแล้วมันไม่ใช่ตัวตน แน่! ก็ไม่ง่วง

ไม่เหงา อือ! บอกแล้วอาศัยอาการที่ ๓๒ ตรงน้ี เพ่งเล็งดูแล้วมันก็ละสักกายทิฏฐิ มันเห็น
แลว้ มันก็ไมเ่ ป็นตวั เปน็ ตนแลว้ ผมเป็นคนยงั ไงเลา่ ผม ขนเปน็ คนอยา่ งไงเลา่ ขน อือ! เล็บเป็น
คนยังไงเล่าเล็บ ฟันเป็นคนยังไงว่าฟัน หนังเป็นคนยังไงว่าหนัง เน้ือเป็นคนยังไงว่าเนื้อ

น่ัน คนอยู่ที่ไหนละ? มันไม่มี เป็นสมมุติเฉยๆ เล่า เราเห็นอย่างงั้นแล้ว มันก็เอาอะไรมา
ง่วงเหงาหาวนอนละมนั ก็ไม่มี จติ มนั พุทโธ มนั ก็สว่างไสวซิ มันเหน็ เปน็ อยา่ งงัน้ แลว้ มันกล็ ะ
สักกายทิฏฐิซิว่าไม่ถือเป็นตัวเป็นตน ละวาง ปล่อยแล้ว วิจิกิจฉาความสงสัยว่าเป็นอย่างนั้น
อยา่ งน้ี ไม่มเี สียแลว้ มันเป็นจรงิ อย่างนั้น มนั เต็มไปด้วยของไม่สะอาดทงั้ หมด แน่ ! เหน็ จรงิ
แจ้งประจักษ์อย่างง้ัน สีลัพพตปรามาส การลูบคลำเรื่องศีล เรื่องธรรม เรื่องบุญเรื่องบาปไม่
ต้องลูบคลำแล้ว เห็นจริงแจ้งประจักษ์ ปจฺจตฺตํ แล้ว เฮ่อ ! สุขจริงๆ ทุกข์จริงๆ ดีจริงๆ

ชั่วจริงๆ ศีลความปกติกาย ปกติใจของเรา จะไปลูบคลำอยู่ที่ไหนเล่า เราไม่ต้องไปหาอยู่ท่ี
โนน่ หาอยทู่ ี่นี่ ไม่ตอ้ งหาล่ะ หาธรรม โอปนยโิ ก ใหน้ ้อมเขา้ มา คนท้ังหลายไปหาธรรมไมถ่ ูก
ไปหาอย่างอ่ืน สุขก็ไปหาอยู่ทางโน้น สุขทางอื่นมีไหมล่ะ ทุกข์ไปหาทางอ่ืนไม่มีน่ี น่ันไปหา
ทำไมล่ะ จิตของเราสงบ มันก็เป็นสุข จิตไม่สงบ มันก็เป็นทุกข์ อย่าไปก่อภพ ก่อชาติ

เห็นไหม โลกนั ตนรก จิตไปก่อภพ มันก็ตกนรกน่ะ ออื โลกันตนรก อยใู่ นครรภม์ ารดา แน.่ ..
ใหพ้ จิ ารณาดซู ิ อย่าหลงต่อไปใหม้ ันรู้


(ทา่ นถาม) หือ ก่ที ุ่มแล้ว….. น?่ี


เอาละ พอกนั ที เลิกได


408

พระอาจารย์ฝัน้ อาจาโร

แสดงพระธรรมเทศนา “จิตตภาวนา พุทโธ”

ณ วดั บวรนิเวศวิหาร กรงุ เทพฯ

วนั ท่ี ๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๘


เราทุกคนมาชมุ นุมกนั ท่นี ี้ ประชุมท้ังในทงั้ นอก เมอื่ เขา้ มาถึงวัด
แล้ว ใหพ้ ากันวัดดจู ิตใจของเราวา่ มันอยู่นอกวดั หรือในวัด วัดดเู พือ่ เหตุใด


นแี่ หละเราอาศยั พระพทุ ธศาสนา ศาสนาเปน็ เครอื่ งแกท้ กุ ข์ และเปน็ เครอ่ื งดบั ทกุ ข

พระพุทธเจ้า ท่านบัญญัติศาสนาในพุทธบริษัททั้งส่ีนี่แหละ ท่านไม่ได้บัญญัติที่อื่น
บริษทั ทงั้ สี่คืออะไร ภกิ ษุ ภิกษุณี แตเ่ วลาน้ีภกิ ษณุ ไี มม่ ี สามเณร อุบาสก อุบาสกิ า

ในสี่เหล่านีแ้ หละ (ที่พระพทุ ธเจ้าทรงบญั ญตั )ิ พระพุทธศาสนา (คอื เป็นศาสน
ทายาท) ศาสนาจะเจรญิ ได้กอ็ าศัยสเ่ี หลา่ น้ี ศาสนาจะเสอ่ื มกอ็ าศยั สีเ่ หล่าน้เี หมือนกนั

ศาสนาจะเส่อื มเพราะเหตใุ ด?

เพราะเราไม่ประพฤติเราไม่ปฏิบัติ เรื่องเป็นอย่างนี้ ในคุณพระพุทธเจ้าเราก็
ไม่มคี วามเคารพ ในคุณพระธรรมก็ไมม่ ีความเคารพ ในคุณพระอริยสงฆเ์ ราก็ไม่มคี วามเคารพ
ในทานกไ็ ม่มีความเคารพ ในศลี ก็ไมม่ คี วามเคารพ ในภาวนากไ็ มม่ ีความเคารพ ในปฏสิ ณั ฐาน
การต้อนรับซึ่งกันและกันก็ไม่มีความเคารพ เม่ือเราไม่เคารพใน ๗ สถานน้ีแหละ เป็นเหตุ

ให้ศาสนาเสื่อม ถา้ พวกเรายงั มคี วามเคารพอย่ใู นส่งิ ๗ สถานนแี้ ลว้ ศาสนากจ็ ะเจริญรุง่ เรอื ง
ขึน้ ไป

ท่านบัญญัติศาสนา ในพระไตรปิฎกท่านบอกว่า ในพระอภิธรรมท่านไม่ได้
บัญญัติอย่างอื่น เราท้ังหลายบ้างก็ว่าบางคนไม่ได้เรียนบัญญัติ เอ้อ ! ให้รู้จักบัญญัติ ท่าน
บัญญัติธรรมวินัย ท่านบอกว่า ฉปญฺญฺตฺติโย ขนฺธปญฺญฺตฺติ อายตนปญฺญฺตฺติ ธาตุปญฺญฺตฺติ
อินฺทฺริยปญฺญตฺ ตฺ ิ ปุคฺคลปญฺญตฺ ฺติ นี่ - ทา่ นบัญญตั ิศาสนาไวต้ รงนี้อนั นี้ทา่ นวางไว้ นีบ่ ญั ญตั ิ
ศาสนา ให้พากันพงึ ร้พู งึ เขา้ ใจนะ

409

ขนฺธปญฺญฺตฺติ คือท่านบัญญัติในเบญจขันธ์ เมื่อวานก็ได้อธิบายไปแล้ว

คอื บญั ญตั ิในรูปบัญญัตใิ นเวทนา สัญญา สังขาร วญิ ญาณ น่ี เรากน็ อ้ มดซู ี รปู อยู่ท่ีไหนเลา่
คือน่ังอยู่นี่แหละ เรียกว่า รูปขันธ์ ขนฺธปญฺญฺตฺติ นี่ บัญญัติตรงน้ี เพ่ือเหตุใด เพื่อให้รู้จัก

สิง่ เหล่านี้วา่ มันเปน็ อยอู่ ยา่ งไร มันเปน็ สขุ หรอื เปน็ ทุกข์ มันดหี รอื มันชวั่ มันเกิดข้นึ มาจากน้ี
เออ้ ! เรยี กวา่ รปู ขนั ธ.์ เวทนาขนั ธล์ ะ่ ความสขุ ทกุ ข์ ทกุ ขา เวทนา สขุ า เวทนา อเุ บกขา
เวทนา เราก็ตอ้ งดเู อาซี ตรงนี้ทา่ นบัญญัตไิ ว้ สญั ญาขันธ์ ความสำคัญมัน่ หมาย ความจำโน่น
จำนี่ นี่ - - ทา่ นบัญญัติไวต้ รงน.้ี สงั ขารขนั ธ์ ความปรงุ ความแตง่ ดซู ี เวลานเี้ ราปรงุ เปน็
กุศลหรืออกุศล ให้พึงรู้พึงเห็น ไม่ใช่ฟ้าอากาศปรุงเป็นกุศลอกุศล กุศลเราจะรู้ได้อย่างไรเล่า

รวมมาสนั้ ๆ แลว้ คอื ใจเราดี - - มคี วามสขุ ความสบาย - - เยน็ อกเยน็ ใจ นเี้ รยี กวา่ กศุ ลธรรม
นำความสุขความเจริญมาให้ในปัจจุบันและเบ้ืองหน้า อกุศลธรรม จิตไม่ดีทุกข์ยากวุ่นวาย

เดือดร้อน ธรรมน้ีนำสัตว์ท้ังหลายให้ตกทุกข์ได้ยาก ให้ฉิบหายในปัจจุบันและเบื้องหน้า

เป็นอยา่ งน้ี วิญญาณขันธล์ ะ่ วิญญาณนี้เปน็ ผรู้ แู้ ละจะไปปฏิสนธใิ นส่งิ ทเี่ ราได้ปรงุ แต่งไว้ กรรม
เหล่านแ้ี หละนำไปตบแต่ง ไม่มีใครตบแต่งให้เรา ธรรมนำมาเอง นี่ เร่ืองมันเปน็ อยา่ งงี้ ธรรม
มันอยู่ตรงนี้ จะเรียนธรรม จะรู้ธรรม ให้มาดูตรงน้ี มาดูรูป ดูเวทนา ดูสัญญา ดูสังขาร

ดูวิญญาณ นใ้ี ห้พิจารณารูปนแ้ี หละ เพง่ - - เพ่ือเหตุใด ท่านยงั วา่ มนั หลงรูป หลงรูป รูปอนั
นม่ี นั มีอะไรจึงพากันไปหลงอยนู่ กั หนา พระพุทธเจา้ จึงไดว้ างไว้ใหพ้ ิจารณารูปน
้ี

อายตนปญฺญฺตฺติ นั่นเป็นบ่อเกิดแห่งความดีและความชั่ว อายตนะภายใน
ภายนอก อายตนะภายใน ไดแ้ ก่ ตา หู จมูก ล้ิน กาย ใจ ของเรา อายตนะภายนอก ไดแ้ ก่
รปู เสียง กลนิ่ รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ รวมเข้ามาแลว้ สิง่ นกี้ อ็ ย่ใู นรูปนี้ น่เี ป็นอยา่ งนัน้


ธาตปุ ญญฺ ฺตตฺ ิ บญั ญตั ิธาตุ ธาตุดนิ ธาตุนำ้ ธาตุลม ธาตุไฟ มาประชุมกนั เขา้
เรยี กว่าตัวตน สัตวบ์ คุ คล เราเขา เม่อื เป็นเชน่ น้ี เราตอ้ งมาพิจารณาในรปู นีต้ ั้งสตเิ พ่ง - - ดู
รูปอันนี้ ดเู พอ่ื เหตใุ ด เพือ่ ไม่ใหห้ ลง เรอ่ื งมันเป็นอย่างนี้ เม่อื เราเห็นแลว้ ไมห่ ลงรูปอันน้ี เราก็
รู้จัก นะ รู้จกั โม หัวใจตวั เราจึงรกั ษาได้ แตเ่ วลานีเ้ ราไมร่ จู้ ัก นะ ไมร่ ู้จัก โม


นโม คอื อะไรเล่า นโม คือความนอ้ มนึก นะ คือความนอ้ ม เรานอ้ มอะไร เปน็ อย่าง
นนั้ คอื ดนิ และนำ้ ไดอ้ ธบิ ายเรอื่ ง นะ แลว้ มนั ไมใ่ ชต่ วั ไมใ่ ชต่ น ไมใ่ ชส่ ตั วไ์ มใ่ ชบ่ คุ คล ไมใ่ ชเ่ ขาไมใ่ ชเ่ รา


เมอื่ วานกอ็ ธบิ ายคำว่า “โม” แล้ว นะ คอื อะไรเลา่ นะแปลวา่ ไม่ใช่ ปิตฺตํ นำ้ ดี
ดูซิน้ำดีอยู่ที่ไหนเล่า มันเป็นคนเป็นผู้หญิงหรือผู้ชาย เรียกว่าน้ำดี เสมฺหํ น้ำเสลด เป็นคน
หรอื เปน็ อะไร อยู่ท่ีไหนเล่า ปุพฺโพ น้ำเหลือง น่ีเป็นคนหรอื เปน็ อะไร โลหิตํ นำ้ เลอื ด เลือด
เรานีแ่ หละ มนั เป็นคนหรือเป็นอะไร มันเปน็ ผหู้ ญิงหรือเป็นผ้ชู าย เสโท นำ้ เหงือ่ อสสฺ ุ น้ำตา
วสา นำ้ มนั เหลว เขโฬ น้ำลาย สงิ ฺฆาณิกา น้ำมูก ลสกิ า นำ้ ไขข้อ มุตตฺ ํ นำ้ มูตร สิง่ เหลา่ น้ี

410

เป็นคนหรือเป็นอะไร เป็นของเอาหรอื ของท้ิง นีแ่ หละจงึ เรียกวา่ นะ แปลวา่ ไมใ่ ชค่ น เป็นของ
ท้ิงท้ังหมด หรือใครจะเก็บสิ่งเหล่าน้ีเอาไว้ อยู่ท่ีไหนเล่า นี่ให้พากันพิจารณาสิ่งเหล่าน้ีแหละ
มนั จงึ จะละซง่ึ กามารมณ์ได้ รูปารมณ์ได้ เมอื่ เราเห็นเชน่ นแ้ี ล้ว หรอื ให้พากันเพง่ เลง็ ดสู ่งิ เหลา่ น้ี
ให้มันร้มู ันเหน็ โดยไมต่ ้องสงสัย สิ่งเหลา่ นี้ไม่ไดอ้ ย่ทู ีอ่ น่ื อยทู่ ่ตี ัวของเรา เรามาถอื เอาสง่ิ เหล่านี่
แหละวา่ เป็นตวั เปน็ ตน เม่อื อธบิ ายให้ฟังอย่างนี้แลว้ ให้พากันนั่งเพง่ ดู...


เอา้ ! นัง่ ให้สบายๆ ลงมือทำ ถา้ ไม่ทำแลว้ ก็ไมเ่ ห็น เอานั่งใหส้ บายๆ นแ่ี หละให้รจู้ กั
ชน้ั ศาสนา แก่นศาสนา ทา่ นบัญญตั ิไวท้ ี่ตรงนี้ ทา่ นไมไ่ ด้บญั ญัติทอี่ ่นื


เมอ่ื เปน็ เชน่ นี้ เราทา่ นทง้ั หลายทมี่ า ณ ทน่ี ใี้ นวนั นี้ เพอ่ื ประเทศชาตขิ องเรา สมเดจ็ ญาณฯ
ท่านดำริให้มีการแผ่พระราชกุศลถวายแด่มหาบพิตร และพวกเราต้องการให้ประเทศชาติของเรา


อยู่เย็นเป็นสุข และย่ังยืนถาวร และต้องการให้ประเทศของเราให้มีความสุขความเจริญ ในปัจจุบัน

และเบ้อื งหน้า


เราตอ้ งเพง่ ดซู ิ ประเทศชาตกิ เ็ กดิ ขึ้นจากตัวของพวกเราน
ี้

ศาสนาจะเส่ือมมันเป็นอย่างไร ศาสนาเจริญเป็นอย่างไร ศาสนาจะเจริญได้คือ
เรามาทำกันอย่างน้ีแหละ เข้าถึงคุณพระพุทธเจ้า เข้าถึงคุณพระธรรม เข้าถึงคุณพระสงฆ์

เข้าถงึ คุณพระพทุ ธเจา้ คือเขา้ ถึงพทุ ธะ คอื ความรู้ เราวางกายให้สบาย แลว้ เราระลกึ ถึงความรู้
ของเรา ถ้าเราไม่รูจ้ ักท่อี ยู่ของพทุ ธะ คอื ความรู้ว่าอย่ตู รงไหนแลว้ (เราก็ไมส่ ามารถเข้าถึงพุทธะ)
ในเบ้ืองตน้ ก็ใหน้ กึ ถึงคำบริกรรมเสียก่อน


ผทู้ ่เี คยทำมาแล้ว หรือผทู้ ยี่ งั ไม่เคยทำก็ดี ใหร้ ะลกึ ว่า พระพทุ ธเจ้าอยใู่ นใจ พระธรรม
อยู่ในใจ พระอริยสงฆ์สาวกอยู่ในใจ เชื่อม่ันอย่างน้ันแล้ว ให้ระลึกคำบริกรรมภาวนาว่า พุทโธ ธัมโม
สังโฆ สามหนแล้ว รวมเอาแต่พุทโธ พุทโธ คำเดียว หลับตางับปากนะ ให้ระลึกเอาในใจ ล้ินก็ไม่
กระดกุ กระดิก ให้ระลึกอยใู่ นใจ


พทุ โธ ความร้สู กึ อยู่ตรงไหนแลว้ ให้ตัง้ สติไว้ตรงน้ัน


ตาเราก็เพ่งดูท่ีความรู้สึกน้ัน หูก็ไปฟังที่รู้สึกอยู่นั้น น่ีแหละ เราจะรู้จักว่า
ศาสนาทำไมจึงเส่ือมทำไมจึงเจริญ ศาสนาเส่ือมเป็นอย่างไรเล่า คือจิตของเราไม่ได้เจริญ

อทิ ธบิ าท และไมเ่ จรญิ ใน ศีล สมาธิ ปญั ญา เปน็ หลักพระพุทธศาสนา นีเ่ รอื่ งเป็นอย่างน้ี คอื
ในคุณพระพทุ ธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ ดังไดอ้ ธิบายมาแล้ว


ศีลนี่เป็นหลักพุทธศาสนา เราดูซิศีลคืออะไร ศีล คือความงามในเบื้องต้น

งามทา่ มกลาง และงามทสี่ ดุ ในบาลที า่ นกลา่ ววา่ อาทกิ ลยฺ าณํ มชเฺ ฌกลยฺ าณํ ปรโิ ยสานกลยฺ าณ


411

กลยาณํ คอื ความงาม งามเบอ้ื งตน้ คอื อะไรเลา่ เปน็ ผมู้ ศี ลี อะไรเปน็ ศลี เลา่ ทา่ นบอกวา่ สำรวม
กาย วาจา ใจ ให้เรียบร้อย ดซู ิกายเราเรียบร้อย วาจาเราเรียบร้อย ใจเราเรียบร้อย ไม่ได้
ทำโทษน้อยใหญ่ท้งั กายทงั้ ใจแลว้ น่จี งึ เรียกว่า เป็นผู้มศี ีล


ศลี แปลว่า ความปกตกิ ายปกตใิ จ เดยี๋ วน้ี ใจเราปกตหิ รอื ยงั ไมป่ กติ มนั เป็น
อย่างไร ถ้าใจมันปกติ มันก็ไม่พิกลพิการ มันไม่ทะเยอทะยาน เร่ืองเป็นเช่นน้ีกายของเรา

ปกติ มันก็ไม่พิกลพิการ ให้พิจารณาดูซิ ทำจิตให้เป็นปกติ เหมือนกับก้อนหิน ลมพัดมา

ทุกทิศท้ังส่ีก็ไม่หวั่นไหว นี่เราก็ทำใจเราเหมือนก้อนหิน ใครจะว่าอย่างไรก็ตาม ดีชั่วไม่เป็น
เหมือนเขาว่า เม่ือเราไม่ดแี ล้วเขาว่าดี มันกไ็ ม่ดีครือเขาว่า เม่ือเราดแี ล้วเขาว่าไม่ดี ก็ไม่เป็น
เหมอื นเขาวา่ เราก็ดซู ิ ให้เห็นซิ นี่แหละจิตของเราเปน็ ศลี เรากร็ จู้ ัก ตามทีไ่ ด้อธบิ ายมาแลว้
ขา้ งต้น นใ่ี ห้พากนั พงึ รพู้ ึงเข้าใจ


สมาธิ งามทา่ มกลาง เรากต็ ง้ั จติ มนั่ ลองดซู วิ า่ จติ เราตง้ั หรอื ไมต่ ง้ั มนั เอนเอยี งไปทางไหน
มันข้องตรงไหน มันคาตรงไหน เราได้แตว่ ่าสมาธิ คือจิตต้ังมนั่ เราตั้งดซู มิ ันต้ังหรอื ไมต่ ง้ั ถ้ามันต้ังมัน
เป็นอย่างไรเล่า มันก็ไม่เอนเอียงไปหาความรักความชัง ไม่หลงในรูปเสียงกลิ่นรสสัมผัสอารมณ์ทั้ง
หลายต่างๆ สิ่งใดเกิดขึ้นเราก็ดับ นี่มันจึงเข้าถึงสมาธิ จิตต้ังม่ันเมื่อจิตสงบตั้งมั่นแล้วมันก็ใส นี่แหละ
สมถกรรมฐาน ใหร้ จู้ กั สมถคือทำจิตใหส้ งบภายใน


เม่ือจิตของเราสงบภายในแล้วอุปมาเหมือนน้ำสงบ น้ำสงบแล้วก็ใส ใส
แลว้ กม็ องเหน็ เหตุ มองเหน็ ผล มองเหน็ บญุ กศุ ล มองเหน็ สขุ มองเหน็ ทกุ ข์ มองเหน็ ดี
มองเห็นชว่ั


เมื่อจิตของเราสงบแล้ว มันจะออกข้างซ้ายข้างขวา ข้างหน้าข้างหลัง ข้างบน
ขา้ งล่าง เราก็รู้ เรียกวา่ มนั ตั้ง เพ่งเลง็ มสี ตอิ ยู่ตรงน้ี นีแ่ หละใหพ้ งึ รพู้ งึ เขา้ ใจต่อไปในการทำ
สมาธิ อันนี้เมื่อจิตของเราเห็นแล้วอย่างน้ัน เห็นส่ิงท่ีมันเกิดขึ้นในสังขารท้ังหลาย และปัญญา
ความรอบรู้ในกองสังขาร มันจะได้เกิดปัญญารอบรู้ในกองสังขาร ว่าใครเป็นผู้ปรุงแต่งเล่า
ไมใ่ ชว่ า่ คนอน่ื ปรงุ แตง่ กายสังขาร จติ สงั ขาร ปรงุ ขึ้นจากจิตของเรา น่แี หละมนั จะได้เกดิ เปน็
วิปัสสนา บาทของสมถะ


เด๋ียวน้ีคนท้ังหลายเข้าวิปัสสนา เข้าวิปัสสนา ได้แต่ว่าเข้าวิปัสสนา แต่ไม่รู้ว่าวิปัสสนา

เปน็ อย่างไร


เมื่อสมถเป็นบาทของวิปัสสนา คือเม่ือจิตเราสงบแล้ว เห็นท่ีเกิดแห่งสังขาร
และเห็นที่ดับแห่งสังขาร นี่เป็นอย่างน้ี ให้พึงรู้พึงเข้าใจ เด๋ียวนี้เราไม่รู้ว่ามันเกิดมาจากไหน
ไม่ร้จู กั ทีเ่ กดิ และกไ็ ม่รจู้ กั ที่ดบั มนั จะเป็นวปิ ัสสนาได้อยา่ งไรเลา่

412

วิปัสสนาคือเมื่อจิตมันสงบแล้วก็เห็นท่ีเกิดแห่งสังขาร โอ้เกิดจากจิต
ของเรา และก็ดบั ท่ีจติ ของเรา


เราจะดบั ได้เพราะเหตใุ ด เราเห็นอาทนี วโทษ เห็นโทษแห่งสงั ขาร เห็นภยั แห่งสังขาร
ทงั้ หลาย เหน็ ทกุ ขแ์ หง่ สงั ขารทงั้ หลาย นม่ี นั จะดบั ไดต้ รงนี้ เมอื่ เหน็ ทกุ ขเ์ หน็ โทษแลว้ มนั กต็ ดั ได้ จงึ เปน็
วิปสั สนา ความรแู้ จง้ เห็นจริงสจั จธรรม สจั จของจริงคอื อะไรเล่า เมอื่ สังขารความปรงุ ความแตง่
เกดิ ขน้ึ แลว้ มนั กเ็ กดิ มนั หลง เมอื่ หลงแลว้ ทา่ นกบ็ อกวา่ อวชิ ชฺ าปจจฺ ยา สงขฺ ารา สงขฺ ารปจจฺ ยา
วิญฺญฺาณํ วิญฺญฺาณปจฺจยา นามรูปํ เมื่ออวิชฺชาความหลงมีแล้วก็เป็นปัจจัยให้เกิดสังขาร
สงั ขารมแี ล้วเป็นปจั จัยใหเ้ กิดวิญญาณ วิญญาณมีแล้วกเ็ ป็นปจั จัยใหเ้ กิดนามรูป นามรปู มีแล้วก็
เป็นปจั จัยใหเ้ กดิ อายตนะ อายตนะมแี ล้วก็เปน็ ปจั จัยใหเ้ กิดผัสสะ ความกระทบ ถกู ตอ้ ง ผสั สะ
มีแล้วก็เป็นปัจจัยให้เกิดเวทนา เวทนามีแล้วก็เป็นปัจจัยให้เกิดตัณหา ความทะเยอทะยาน
ตณั หามีแลว้ กเ็ ปน็ ปัจจยั ใหเ้ กดิ อุปาทาน การยึดถอื นี่ให้พิจารณาอันน้ี อปุ าทานมีแลว้ กเ็ ป็น
ปัจจัยให้เกิดภพ คือเข้าไปตั้ง ภพมีแล้วก็เป็นปัจจัยให้เกิดชาติ คือความเกิดชาติมีแล้วก็เป็น
ปัจจัยให้เกิดชรา ชรามีแล้วก็เป็นปัจจัยให้เกิดพยาธิ พยาธิมีแล้วก็เป็นปัจจัยให้เกิดมรณะ

คอื ความตาย มรณะมแี ลว้ กเ็ ป็นปจั จยั ให้เกิดทุกข


น่ีพระพุทธเจ้าจึงได้พิจารณาในปฏิจจสมุปบาทเป็นเคร่ืองข้องอยู่
ท่านจึงได้ค้นทกุ ข์อนั น
้ี

เหตุนั้นท่านจึงว่าทุกข์ควรกำหนด ท่านไม่ให้ละทุกข์ ทุกข์ควรกำหนดควร
พิจารณา ไปละสมุทัย นี่เป็นอย่างน้ี เราก็รู้เรื่องสมุทัย สัตว์ทั้งหลายจมลงในมหาสมุทรเป็น
เหยื่อปลาหมด ปาโป ปาปํ จมในมหาสมทุ ร คอื หลงความสมมติ ท่านค้นแลว้ ว่าทุกข์น้ีมนั มา
จากไหน ท่านทวนกระแส ทีแรกท่านพิจารณาว่าทุกข์มาจากไหน อะไรเป็นเหตุปัจจัยมา มา
จากความตาย ความตายมาจากไหนเป็นเหตุปจั จยั มา มาจากความเจบ็ ไขไ้ ด้พยาธิอาพาธโรคา
ส่ิงเหล่านี้มาจากไหนเล่า มาจากชรา ความเฒ่าแก่ ความชำรุดทรุดโทรม ความชำรุดทรุด
โทรมมาจากไหนเล่า มาจากความเกิด ชาตคิ อื ความเกิด เกิดมาจากไหน มาจากภพ ภพคอื
เข้าไปต้ัง ภพมาจากไหนเล่า ทา่ นพิจารณา มาจากอุปาทาน ความยึดถือ ถ้าเรายึดถือทไี่ หน
ก็ไปต้ังภพที่นั่น ให้ดูเอาซิภพของเราน้อยๆ ใหญ่ๆ อุปาทานมาจากไหนเล่า มาจากตัณหา
ความทะเยอทะยาน ตณั หามาจากไหน มาจากเวทนา มนั มเี วทนา สุขาเวทนา ทกุ ขาเวทนา
ทีนี้ เวทนาเหล่านี้มาจากไหนเล่า มาจากผัสสะ ความกระทบถูกต้อง ผัสสะมาจากไหนเล่า

มาจากอายตนะ ตา หู จมกู ลิน้ กาย ใจ เราน้ี อายตนะมาจากไหนเลา่ มาจากรปู นามรปู

413

รูปมาจากไหน มาจากวิญญาณ ปฏิสนธิวิญญาณ วิญญาณมาจากไหนเล่า มาจากสังขาร
สังขารความปรุงความแตง่ สังขารมาจากไหนเล่า มาจากอวิชชา


นี่ - ท่านค้นมาจบตรงนี้จึงว่า อวิชฺชาปจฺจยา สงฺขารา, สงฺขารปจฺจยา วิญฺญฺาณํ นี่มา
จากอวิชชา เราต้องเรียน ไปถึงอวิชชา ใครๆ ก็ไปหลงแต่อวิชชา เราไม่ได้โอปนยิโก ใครเป็นผู้รู้ว่า
อวิชชา และไมร่ ะลกึ ถงึ มนั มผี ู้รอู้ ยู่ จึงรูว้ า่ อวชิ ชา


ทำใหม้ นั เหน็ แจง้ เหน็ จรงิ ในตวั ของเรา นแ่ี หละเปน็ ขอ้ ปฏบิ ตั ิ เพราะฉะนน้ั
ให้พากันพึงรู้พึงเข้าใจ อยา่ ไปหลง


เราน่ังอยู่เด๋ียวนี้เราหลงอะไร น่ีแหละให้รู้จักพุทธศาสนา ศาสนาจะเจริญขึ้นก็
อาศัยเราประพฤตปิ ฏบิ ัติ เรากระทำอยา่ งนี้ จงึ จะเจรญิ ได้ เมือ่ เราไมป่ ระพฤตปิ ฏบิ ัติ ศาสนาก็
เสื่อม เร่ืองเป็นอย่างนี้ เสื่อมเสีย ไม่ได้เสื่อมไปไหน เสื่อมจากตัวบุคคล คือคนไม่ประพฤติ
คนไมก่ ระทำ


เด๋ียวนี้บางคนว่าพระอรหัตพระอรหันต์ไม่มี พระโสดาสกิทาคาอนาคาก็ไม่มี จะมีได


ยงั ไง เพราะคนไมก่ ระทำ เพราะคนไมป่ ฏบิ ัติ เพราะคนไมไ่ ด้ขดั ไม่ได้เกลา และของเราไม่ได้ประพฤติ
เราไม่ได้ดู เรื่องเป็นอย่างน้ี เมื่อเราได้ยินได้ฟังแล้ว โอปนยิโก ดูซิพระโสดาอยู่ที่ไหนเล่า

ตำราบอกไว้ สกั กายทฏิ ฐิ วจิ กิ จิ ฉา สลี พั พตปรามาส กเ็ ทา่ น้ี รอู้ นั นเี้ มอื่ เรารอู้ นั นแี้ ลว้ นน่ั แหละ

เข้ามรรคในเบือ้ งตน้ จะได้เป็นพระโสดา สกั กายทิฏฐิ เดยี๋ วนีเ้ รามาถือตัวตน เมื่อเราพิจารณา
ดังอธบิ ายมาเบอ้ื งตน้ นะ มันไม่เปน็ ตัวเป็นตนแลว้ มนั ก็ละทฏิ ฐิ ละมานะ อหังการ มมังการ
ถอื วา่ เปน็ ตัวเป็นตน ไมถ่ อื จิตมั่นก็ละ มันก็วาง วจิ ิกจิ ฉา สงสัยวา่ จะดีอยา่ งโนน้ อยา่ งนี เราก็
เห็นแลว้ ข้มี ูกนำ้ ลายของเราเลือดของเรา เหมอื นที่อธบิ ายมาแล้วนน่ั


จะสงสัยอะไรอีกเล่า มนั ดหี รือมันช่ัวละ่ ดูซิ เพ่งดซู ิ โลหติ ํ น้ำเลอื ด เพ่งกสณิ ดูซิ กสณิ
แปลวา่ ความเพง่ สแี ดง เพ่งดซู ิเลือดอย่ทู ไี่ หน สีแดง คอื เลือด เลอื ดของตนและของบคุ คลอื่น
เปน็ อยา่ งไร เพง่ ดูซิ มนั จะละได้หรอื ละไม่ได้ เม่อื เหน็ ว่าเป็นเลือดแลว้ ใครจะเอาละ่ ใครยงั จะ
ต้องการอีกเล่า เพ่งกสิณเรียกอสุภะให้เห็นกสิณเพ่งให้มันเห็น เห็นแล้วจิตของเราจะได้ไม่มี
ความสงสัย มันจะถอนสักกายทิฏฐิได้ มันจะไม่เป็นสีลลัพพตปรามาสความลูบคลำ ว่า

ศีล สมาธิ ปัญญา อยู่ที่อ่ืนที่ไกล ประจำใจของเราอยู่ สุขทุกข์ทั้งหลาย นี่พระพุทธศาสนา

ใหพ้ ากนั รู้จกั น่ีแหละเมอื่ เราเห็นแจง้ แล้ว จติ ของเรากห็ ย่งั ถึงศีล ถงึ สมาธิ มันมปี ญั ญาความ
รอบรูใ้ นกองสังขารท้งั หลาย มันปรุงแต่งไม่ได้ ให้พงึ รพู้ ึงเหน็ นแ่ี หละศาสนาจึงจะเจริญได


เดี๋ยวนี้ศาสนาจะเสือ่ มกค็ ือ

414

ภกิ ษสุ ามเณรบวชแลว้ ไมป่ ระพฤตปิ ฏบิ ตั ศิ ลี ของตน สมาธขิ องตนไมร่ กั ษา
ที่เล่าเรียนไปก็เรียนไปเปล่าๆ ประโยชน์ ไม่ประพฤติไม่ปฏิบัติและไม่ฝึกหัด ไม่มี
ความสำรวมระวงั ปลอ่ ยไปประพฤตไิ ปตา่ งๆ นานา เดย๋ี วนพี้ ระเณรเดนิ ขบวนกม็ ี ทำไป
เหลวไหล รับประทานอาหารยามวิกาลก็มี จับเงินจับทองก็มี ต่อของซ้ือของขายก็มี
พดู เก้ียวสีกาก็มี เทีย่ วเล่นตามถนนหนทางก็มี พวกน้ีซมิ ายำ่ ยพี ระศาสนา ทำศาสนาให้
เสือ่ ม ไม่มีความสำรวมระวงั ศลี ของตน ไมป่ ระพฤตปิ ฎบิ ตั ิศีลของตน


อุบาสกอบุ าสกิ า กไ็ มม่ ีความเคารพในทาน ศลี ภาวนา ของตน นซี่ ิมันเสอื่ ม
พระภิกษุสามเณรบวชเข้ามาแล้ว ก็ควรเล่าเรียนศึกษาสำรวมสิกขาวินัยของตนให้เรียบร้อย

ร้จู กั แลว้ ศีลของเรา ๒๒๗ เณรกศ็ ีล ๑๐ เป็นขอ้ งดเวน้ เราสำรวมระวังอย่างนศี้ าสนากเ็ จริญ
รุ่งเรือง เดีย๋ วนี้มันไม่เป็นเชน่ นัน้ ศาสนาจงึ เส่ือมเสีย


คนท้ังหลายก็ดูหม่ินศาสนา ดูถูกศาสนา เพราะเราไม่มีศีล ไม่มีสมาธ

ไม่มปี ญั ญา มแี ต่ศรี ษะโลน้ กับผา้ เหลอื ง วา่ เป็นพระเทา่ นน้ั


ข้อวัตรข้อปฏิบัติเป็นอย่างไร ก็ให้ดูเอาซิว่าท่านห้ามอะไร เราทั้งหลายก็บวชแล้วได้
ศึกษามาแลว้ การท่พี ระพทุ ธเจ้าสอนทุกสง่ิ ทุกอย่างในศีล ๒๒๗ ใหง้ ดเว้น นุ่งหม่ ท่านก็สอน นั่งนอน
เดินยืนท่านก็สอน ถ่ายอุจจาระปัสสาวะ บ้วนเขฬะท่านก็สอน จรดคำข้าวเข้าปากท่านก็สอน น่ีแหละ
ความละเอยี ดของทา่ นทตี่ ้องการความสวยความงาม ความสำรวมระวัง นเี่ ปน็ อย่างน้ี


อบุ าสกอุบาสกิ ากด็ ี ท่านกส็ อนใหเ้ ขา้ ถงึ พระไตรสรณคมน์ คือ เอาพระพุทธเจ้า
พระธรรม พระสงฆ์ เป็นสรณะท่ีพ่ึง ท่ีระลึก ท่ีกราบไหว้ ไม่เอาสิ่งอ่ืนเป็นสรณะ นตฺถิ เม
สรณํ อญฺญํฺ ทีพ่ ่งึ ของข้าพเจา้ อน่ื ไมม่ ี นอกจากพระพทุ ธเจ้าเทา่ น้ัน


ถา้ เราไมถ่ อื เชน่ นแี้ ลว้ ไตรสรณคมนข์ องเรากเ็ ศรา้ หมอง เจา้ ของเปน็ บาป
ขาดจากพระพทุ ธศาสนา เหตุน้ีให้พงึ รพู้ ึงเขา้ ใจตอ่ ไป


ผู้ปฏิบัติศาสนาอุบาสกอุบาสิกาท้ังหลาย ท่านจะไปหามื้อหาวันทำงานทำการ
ตอ้ งการวนั ดี ไมใ่ ชว่ นั นน้ั ไมด่ ี วนั นไี้ มด่ ี วนั ไมไ่ ดท้ ำอะไรแกค่ น วนั ดที ำไมคนจงึ ตายได้ วนั ไมด่ ี
ทำไมคนจงึ เกดิ ในเจ็ดวันนี้ อาทิตย์ จนั ทร์ อังคาร พุธ พฤหสั ศกุ ร์ เสาร์ มเี ท่านี้


การหาวันน้ัน คือวันอย่างน้ี สมมติว่าเราจะทำงานทำการส่ิงใด เราพร้อมแล้วหรือยัง
เม่ือหาวันพร้อมเพรียงกันแล้ว จะเอาวันไหนเวลาไหน นัดกันพร้อมกัน ถ้าพร้อมแล้ววันนั้นแหละเป็น
วันดี นี่ให้หาวันอย่างนี้ ถ้าวันใดยังไม่พร้อมกันก็อย่าเพิ่งทำ จะแต่งงานแต่งการปลูกบ้านปลูกช่อง

415

ตึกร้านอาคารก็ตาม ขนึ้ บ้านใหมก่ ต็ าม ให้รไู้ ว้ ถ้าวันน้ันมันพรอ้ มแลว้ เรียบรอ้ ยแลว้ กท็ ำไดข้ ้นึ ได้ ถ้ายัง
ไมพ่ ร้อมแล้วก็ยังขดั ข้องทำไมไ่ ด้ เรยี กวา่ วนั ไม่ดี หาวนั อยา่ งนี้หรอก ให้เข้าใจ


อธิบายมาให้ฟงั ย่อๆ แล้ว


ให้ละเว้นการเลือกวันโน้นวันน้ีเสีย การดูดวงก็เหมือนกัน ดูเอาว่าดวงดี
ดวงไมด่ ี ผกู ดวงผกู ดาว คนโกหกหลอกลวงกนั ใหว้ นุ่ วายเดอื ดรอ้ น ในพระพทุ ธศาสนา
ดวงดีไม่ดกี ใ็ หด้ เู อาซิ ไมใ่ ช่มาจากฟา้ อากาศ ให้ดดู วงดีเด๋ยี วนี้ซิดวงดีเปน็ ยังไง ดวงดี

รวมมาสั้นๆ แลว้ คือใจเราดี มีความสุขความสบาย เมอ่ื ใจเราสขุ สบายแลว้ ทำอะไร
ก็สบาย การงานก็สบาย ประเทศชาติก็สบาย นี่แหละดวงดี


ดวงไมด่ ีเป็นไง ดวงไมด่ คี อื ใจเราไมด่ ี ใจมที กุ ขย์ ากวุน่ วายเดือดรอ้ น นีแ่ หละดวงไม่ดี
ทำอะไรก็ไมด่ ี หาอะไรกไ็ ม่ดี น่ีเรียกว่าดวงไมด่ ี ดตู รงนี้ จะใหใ้ ครดใู ห้เลา่


ดูเอาซิ ทกุ คนทีม่ านั่งอยนู่ ท่ี ้ังพระทั้งเณร ท้ังอบุ าสกอบุ าสิกาทงั้ หลายดวงดีไม่ดี
ก็ให้พิจารณาตรงนี้ อย่าไปพิจารณาอื่น และอย่าเข้ารีดพวกเดียรถีย์นิครนถ์ คนนอกศาสนา
ถ้าไปถอื อย่างนั้นแล้ว ขาดจากพทุ ธศาสนา นี่แหละผูจ้ ะปฏิบตั ศิ าสนาจะต้องถืออยา่ งนี้ อุบาสก
อบุ าสกิ ากใ็ หถ้ อื ศลี หา้ รกั ษาศลี หา้ อยา่ มวั มารบั เอากบั พระ ญาตโิ ยมวา่ ศลี อยกู่ บั พระ พระวา่ ศลี
อยกู่ ับพระพุทธเจ้า ศาสนาเปน็ ของพระพุทธเจา้ ไมน่ ึกวา่ เปน็ ของของเรา เม่ือเราไมน่ กึ ว่าเปน็
ของของเราแลว้ เรากท็ อ้ ถอย ถา้ สงิ่ เหลา่ นเี้ ป็นของของเราแลว้ เราก็เอาใจใส่รักษา ศลี ... จะไป
รับกบั ใครเลา่


เราเกดิ มามศี ลี ห้าพร้อม ตวั ศีลหา้ ได้มาพรอ้ มตง้ั แต่เราเกดิ มา มีขาทัง้ สอง แขน
ทง้ั สอง ศีรษะอนั หนงึ่ นี่แหละตวั ศลี หา้ อย่าเอาห้าไปทำโทษหา้ โทษห้าน้นั คอื ปาณานั้นกโ็ ทษ
อทนิ นานั้นกโ็ ทษ กาเมนนั้ กโ็ ทษ มุสาน้ันก็โทษ สุราน้ันก็โทษ แน่ะเปน็ โทษทัง้ หมด


ท่ีเรายุ่งทุกวันนี้ก็เพราะห้าอย่างนี้ กลัวคนมาฆ่า กลัวคนขโมย กลัวคนผิดในกาม

กลัวคนมุสาฉ้อโกงหลอกลวง กลัวคนมึนเมาสุราสาโท กัญชายาฝิ่น นี่เป็นโทษ ถ้าเราละเว้นอันน้ีแล้ว
ทา่ นว่า สเี ลน สุคตึ ยนฺติ มคี วามสุข ก็เพราะศลี สีเสน โภคสมฺปทา มีโภคสมบัติ ก็เพราะศลี นี่แหละ
ใหพ้ ากันพึงเขา้ ใจ ให้ละเวน้ โทษทัง้ หลายหา้ อยา่ งนี.้


เมอื่ เราจะรบั ศลี หรอื ไมร่ บั ศลี อยทู่ ไ่ี หนๆ ตวั ของเรากเ็ ปน็ ศลี แมก้ ระทง่ั อยใู่ นรถ
ในป่าในดง ในบา้ นในเมอื ง ในถนนหนทาง เราไม่ทำผดิ ห้าอย่างน้ีแลว้ มันกเ็ ป็นศีล อนั น้ีจะมา
กล่าวว่าไม่ได้รับกับพระแล้ว เราไม่มีศีลน้ัน ใช้ไม่ได้ เราก็รู้กันอยู่แล้ว มารับศีลกับพระว่า

416

ปาณาติปาตา เวรมณี พอยุงมากัดตบปั๊ปวันยังค่ำ มันจะเป็นศีลหรือ มันก็เป็นศีลไม่ได้น่ะซิ
ใหร้ จู้ ักซิ อทนิ นาทานา เหน็ ของเขาก็ขโมยซะถงึ จะว่าวนั ยังคำ่ มนั กไ็ ม่เป็นศีล เราละเวน้ โทษ
ห้าอยา่ งนแี้ หละ พากันใหร้ จู้ กั ไดอ้ ธิบายมาทั้งขา้ งนอกข้างในแลว้ เอ้า ! น้อมเขา้ ไป ในเวลาน้ี
สง่ิ เหลา่ น้มี าจากไหนใหพ้ ากนั งดเวน้ ต่อไปน้ีให้พากันตงั้ จิตดู เพ่งดโู ทษท้งั หลายอยทู่ ่ีไหน สุข
อยทู่ ่ีไหน ทกุ ข์อยู่ท่ไี หน ให้พากนั พึงรู้พงึ เขา้ ใจ


ประเทศของเรามันยุ่งยากตรงไหน เหมือนเราทำถนนหนทาง มันขัดข้องตรงไหนเรา


กแ็ กไ้ ข จิตใจของเราข้องตรงไหนคาตรงไหนกใ็ หแ้ กไ้ ขเสยี จะมาน่ังหลบั ตาเจ็บเอวเอาเปล่าๆ เรามานง่ั
ดูตัวของเรา เวลาน้เี ราอยใู่ นชน้ั ใดภูมอิ ันใดในภพใด


นี่ให้รู้จักจิตของเราเป็นกุศล หรือเป็นอกุศลให้รู้จัก จิตของเราสงบหรือไม่สงบ
จิตของเราดีหรือไม่ดใี หร้ ูจ้ ัก นีแ่ หละ กามาวจรํ กสุ ลํ จิตตฺ ํ ให้รจู้ ักจติ ของเรา อุปปฺ นนฺ ํ โหติ
มันอบุ ัตขิ ้นึ จากตนของตนนี้ เอา้ ! ต่อไปนี้ต่างคนตา่ งไดย้ นิ ไดฟ้ งั โอปนยิโก คือพจิ ารณาน้อม
เข้ามาดู นะ อันน้ี พจิ ารณาเพง่ ดหู ัวใจของเรา เราขอ้ งอะไรอยู่ จติ ของเราเปน็ อยา่ งไร จิตของ
เราดีเป็นอย่างไร จิตดีเป็นอย่างนี้ จิตสงบดีมีความสุขความสบาย เย็นอกเย็นใจ ไม่ทุกข์

ไม่ร้อนไม่วุ่นไม่วาย


พทุ โธ ใจเบกิ บานสบาย นแี่ หละ นำความสขุ ความเจรญิ มาให้ ในปจั จบุ นั
และเบ้ืองหนา้


เรามาที่นี้ต้องการความสุขความสบาย ความสุขความเจริญ ถ้าจิตของเราเป็น
อยา่ งน้ีแล้ว สนั ทฏิ ฐิโก เราก็รเู้ องเหน็ เอง นเ่ี ป็นอยา่ งนี้ ถ้าจติ ของเราไมด่ แี ล้วเป็นอย่างไร จิต
ไม่สงบจิตวุ่นวายจิตทะเยอทะยานด้ินรน จิตไม่ดีแล้วทุกข์ยากเดือดร้อนวุ่นวายทุกข์ยาก
ลำบาก ให้หนักหน่วงให้ง่วงเหงาให้มืดให้มัววุ่นวาย น่ีนำสัตว์ท้ังหลายตกทุกข์ได้ยากทั้ง
ปจั จบุ นั และเบื้องหน้า เมอ่ื จติ เปน็ เช่นนแ้ี ล้ว ประเทศชาติของเรากว็ นุ่ วาย ไม่ใช่อ่ืนเป็น ไม่ใช่
อน่ื วุ่นวาย ดวงใจของเราน้ีวนุ่ วาย เอา้ ! วัดดเู อาซิ จะกวา้ งขวางอะไร


บตุ รภรรยาสามรี กั กนั บดิ ามารดาญาตพิ นี่ อ้ งรกั กนั ถา้ จติ ไมด่ แี ลว้ มนั กท็ ะเลาะกนั
น่ันวดั ดซู ิ ถ้าจติ ดีแลว้ มนั ไม่ทะเลาะกัน หรอื ว่าไง เพ่งดซู ิจริงหรือไม่จรงิ เลา่ อยากร่ำอยากรวย
อยากสวยอยากงาม บางคนทำไมมันไม่รวย บางคนอยากรวยทำไมเงินเดือนไม่ขึ้น ทำไมยศ
ไม่ข้ึน เพราะเหตุใดมันไม่ข้ึน เพราะจิตเราไม่ดีเราไม่ได้สร้างคุณงามความดีไว้ในปัจจุบันและ
เบื้องหน้า จิตไม่ดีทุกข์.ยากลำบากอดอยาก แน่ะ ! จิตดวงน้ีนำให้เราได้ทุกข์ได้ยาก

ทำอะไรมันก็ไม่ขน้ึ ทำอะไรมนั กไ็ ม่รวย มันรวยเปน็ ยงั ไง จิตดีมคี วามสุข ความสบาย อนั นีน้ ำ
ความสขุ ความเจริญใหใ้ นปจั จบุ ันและเบือ้ งหนา้

417
ต่อนีไ้ ปจะไม่อธิบายอกี แลว้ อธบิ ายไปกไ็ มม่ ที ส่ี ้ินสดุ


สรุปหัวข้อแล้วรวมลงท่ีกายกับใจเท่าน้ี เอ้าเพ่งดู อธิบายดีชั่วทั้งภายใน
ภายนอกให้รู้แลว้ ต่อไปน้ี โอปนยโิ ก จรงิ หรอื ไม่จริง ใหพ้ ากันเพ่งดูว่ามนั ข้องตรงไหน มนั คา
ตรงไหน ไม่ดีตรงไหน ให้พากันเพ่งดูอยู่ตรงนั้น อย่าส่งไปข้างหน้ามาข้างหลัง ข้างซ้าย

ข้างขวา ข้างบนข้างล่าง ให้ต้ังเฉพาะตรงท่ีรู้อยู่น้ัน มันเป็นยังไงแล้วค่อยแก้ไขตรงน้ัน

คอยชำระตรงน้ัน เล็งดู ไม่ใช่ดูอ่ืน ดูจิตของเรา ดูภพของเรา ดูท่ีพึ่งของเรา ไม่ใช่ดูอื่นไกล

ใหด้ ูให้ร้จู กั ทพี่ ่ึงดหี รอื ไมด่ ีต้องรู้จกั ตรงนี้ สันทฏิ ฐโิ ก ผ้ปู ฏิบัติเองรู้เองเห็นเอง ถา้ เราไมร่ ้คู นอ่นื
บอกก็ไม่รู้ นี่ข้อปฏิบัติเป็นอย่างน้ี ต่อนี้ไปได้ยินเสียงอะไรก็ตาม ให้สัญญาไว้ว่าส่ิงนั้นไม่มี
อันตรายแล้ว เราไม่ต้องเดือดร้อนทำจิตของเรา และก็จะไม่อธิบายต่อไป จะสงบ เอ้าต่างคน
ต่างสงบ วางให้สบาย เราอยากไดค้ วามสุขความสบาย จะไดเ้ ป็นบญุ วาสนาของเรา จะได้เปน็
นสิ ยั ของเรา มนั ก็พ้นทุกข์


เราท้งั หลายอยากพ้นทกุ ข์ กด็ เู อาซิ มันพ้นทกุ ข์ คอื จิตเราไม่ทกุ ข์ เม่ือ
จติ เราไม่ทุกข์ มันก็พ้นทุกข์ นีแ่ หละเราทำบญุ ทำกศุ ล เรยี กวา่ ปฏปิ ตั ตบิ ชู า บูชาอย่าง
เลิศอย่างประเสริฐแท้ เข้าถึงธรรมถึงวินัย เข้าถึงพุทธศาสนา ถึงชั้นศาสนา เมื่อทำ
อย่างน้แี ล้วจะไมถ่ งึ อย่างไรเล่า บอกแลว้ ในเบือ้ งต้น ท่านบัญญัตลิ งทน่ี ้ี เร่อื งกายกับใจ
เท่านี้ เอา้ เพง่ ดู


(น่งั สมาธ)ิ


พวกเราไดท้ ำกศุ ลสองสามวนั มานแ้ี ล้ว เปน็ อยา่ งไรจิตของพวกเรา ทำมาจนถึง
ระยะนี้ ต่อไปให้พากันรู้จัก ความสงบของประเทศชาติและความสุขความเจริญของพวกเราใน
ปัจจุบันและเบ้ืองหน้า และท่ีอยู่ของเราในปัจจุบันและเบ้ืองหน้า ให้พากันน่ังดู เม่ือน่ังดู แล้ว
เปน็ ไงเล่า ที่พงึ่ ของเราทอี่ ย่ขู องเราให้รู้จักไว้ ถ้าจติ ของเราสงบ คอื ตามท่ีอธบิ ายให้ฟังแล้ว มี
ความสุขความสบาย เยน็ อกเย็นใจไมท่ ุกขไ์ ม่ร้อนไม่วุน่ ไม่วาย


พุทโธ นี่เป็นสรณท่ีพึ่งของเรา พุทโธ เป็นผู้เบิกบานสว่างไสวแล้ว
นำความสุขความเจรญิ มาให้แกป่ ระเทศชาติ


สมเด็จฯ ท่านก็ต้องการให้ประเทศชาติเจริญ มนุษย์ทั้งหลายเป็นเพื่อน

เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันท้ังนั้น ต้องการความสุขความเจริญและความพ้นทุกข์ ชักชวน

พวกเราให้เป็นบุญเป็นกุศล บุญคือความสุข บุญคือความสบาย ท่ีเราท่านท้ังหลายมาน
้ี
ก็ต้องการความสุข ความสบาย มิใช่อื่นไกล นั่งดูแล้วมันสุขไหม มันสบายไหม นี่แหละให


418

พึงรู้พึงเข้าใจ เมื่อจิตของเรามีความสุขความสบายแล้ว การงานของเราทุกส่ิงทุกอย่างมัน

ก็สบายไปหมด ตลอดจนประเทศชาติ เทพบตุ ร เทวดา พระอนิ ทร์ พระพรหม ดนิ ฟ้าอากาศ
ก็ตอ้ งรักษามนุษย์ท้ังหลาย “ธมฺโม หเว รกฺขติ ธมฺมจารึ” สัตว์อาศัยธรรม ธรรมอาศัยสัตว์
ถ้าสัตว์ปฏิบัติธรรมดี ท่านก็นำความดีให้แก่พวกเรา มิใช่อ่ืนไกล ใครจะเอาอะไรแต่ง

ตัวทั้งหมดของพวกเรานี้ ตา หู จมูก เหล่าน้ี ใครแต่งได้ แต่งไม่ได้ แล้วแต่พระธรรมท่าน

แตง่ ให้ เร่ืองเป็นอย่างน้ัน


ถ้าปฏิบัติดีประพฤติดีเราทำดี ท่านก็นำคุณงามความดีมาให้ นำความสุขความเจริญมา
ให้ ถ้าเราปฏิบตั ไิ ม่ดีทำไม่ดี ทา่ นก็นำความไม่ดีมาให้แก่เรา ในปัจจุบันและเบือ้ งหน้า


นี่แหละบุญวาสนาที่เราได้ทำอย่างนี้เรียกว่า ปฏิปัตติบูชา บูชาอย่างเลิศอย่าง
ประเสริฐแท้ พระพทุ ธเจา้ ทำบญุ กุศลใหท้ านมานบั อสงไขย ทา่ นก็ไมไ่ ด้สำเร็จมรรคผล ตอ่ เม่อื
ทา่ นนง่ั สมาธิเหมอื นกบั เราน่ังนี่แหละ ท่านจึงได้สำเร็จมรรคผล เพราะฉะนั้น ทา่ นจึงสอนไวใ้ ห้
พากันหม่ันน่ังทุกวัน ให้เข้าวัดทุกวัน ประพฤติดีทุกวัน มันขัดข้องตรงไหนมันไม่ดีตรงไหน

เราตอ้ งแกไ้ ขตรงนนั้ นแี่ หละ ใหพ้ ากนั พงึ รพู้ งึ เขา้ ใจ บางคนวา่ ใจเราไมอ่ ยู่ มนั ไปอยทู่ ไี่ หนเลา่
แทท้ จี่ รงิ ใจเราอยู่มาตัง้ แต่เกดิ ทว่ี า่ ใจเราไม่อยู่นั้น กค็ อื ความหลงจากอวชิ ชา เราต้องนงั่ ดใู จที่
มนั ไม่อยู่น่แี หละว่า มันไปกอ่ ภพไหนเล่า ภวาภเว สมภฺ วนตฺ ิ มนั เที่ยว ก่อภพน้อยๆ ใหญๆ่
อยนู่ นั่ เราตอ้ งนง่ั ดมู นั วา่ ภพนน้ั ๆ เปน็ กศุ ลหรอื อกศุ ล เราจะรไู้ ดอ้ ยา่ งไร กศุ ลไดอ้ ธบิ ายมาแลว้
กุศล กค็ อื ความสุขสบายอกสบายใจ


เราจะไปในภพใดชาติใดก็ตาม ในปัจจุบันก็ตาม เราทำมาทุกวัน ทำการงาน
ทุกชิ้นทุกอย่างอันใดก็ตาม เราต้องการความสุขความสบาย จะได้เป็นนิสัยเป็นวาสนาบารมี
ของเรา เราตอ้ งตงั้ สจั จอธิษฐานให้เห็นจริงแจง้ ประจกั ษ์ เชือ่ ตวั ของเรา อันนีภ้ พท่ไี มด่ ี ใจเรา
ไม่ดี ทุกข์ยากวุ่นวายเดือดร้อน นำไปสู่ทุคติในปัจจุบันและเบ้ืองหน้า เม่ือเป็นเช่นน้ีแล้ว

พวกท่านท้ังหลายได้สดับแล้วในโอวาทานุสาสนีอันเป็นธรรมคำสั่งสอนนี้ ท่ีนำมาเตือนใจโดย
ยน่ ย่อพอเป็นขอ้ ปฏบิ ัติประดับสตปิ ญั ญาบารมขี องท่านท้งั หลาย


เม่ือท่านทั้งหลายได้ยินได้ฟังแล้ว โยนิโสมนสิการ พากันกำหนด
จดจำไว้แล้ว นำไปประพฤติปฏิบัติฝึกหัดตนของตนไปในธรรมคำส่ังสอน สรุป
หัวข้อใจความแล้ว คือกายกับใจน้ี เป็นที่ต้ังแห่งพระพุทธศาสนา เป็นท่ีต้ังแห่ง
มรรคและผล

419

เม่ือเข้าใจเช่นน้ีแล้ว พากันอุตสาหะพยายามกระทำให้เกิดให้มีให้เป็นขึ้น
ในตัวของเรา ผลทีส่ ุดอปั ปมาทธรรม คอื ความไมป่ ระมาท ก็จะเกดิ ขนึ้ เมอื่ เราทา่ นท้งั
หลายไม่มีความประมาทแล้ว แต่นี้ต่อไปท่านทั้งหลายจะได้ประสบพบแต่ความสุข
ความเจริญ ดงั ได้แสดงมา เอวํ กม็ ดี ว้ ยประการฉะนี้



ในท่สี ดุ กศุ ลเจตนาในบ้นั ปลายของพระอาจารย์ฝั้น อาจาโร ในอนั ที่จะ
บำเพ็ญสาธารณประโยชน์ด้วยการให้มีโรงพยาบาลขนาด ๓๐ เตียง ขึ้นสักแห่งหนึ่ง
สำหรับช่วยเหลือประชาชนผู้เจ็บไข้ได้ป่วยโดยท่ัวไป ก็บรรลุผลสมดังเจตนารมณ์ของ
ทา่ นโดยสมบรู ณ์ หลังจากเปิดบรกิ ารแก่ประชาชนมาไดป้ ระมาณครึง่ ปี คณะกรรมการ
ดำเนินการก่อสร้างก็ได้กระทำพิธีมอบตึกโรงพยาบาลให้กระทรวงสาธารณสุข รับไป
ดำเนินกจิ การเรียบรอ้ ยแล้ว

422

วันรับมอบอาคารโรงพยาบาลพระอาจารย์ฝ้ัน อาจาโร

เมื่อวันท่ี ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๑


รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขได้สักการะบูชารูปปั้น โรงพยาบาลดังกล่าวคอื “โรงพยาบาล
พระอาจารย์ฝ้ัน อาจาโร ก่อนพิธีรับมอบโรงพยาบาล
พระอาจารยฝ์ นั้ อาจาโร” ซงึ่ กอ่ สรา้ งขนึ้ ทอ่ี ำเภอ
พรรณานิคม จงั หวัดสกลนคร ไมไ่ กลจากวดั
ป่าอุดมสมพรอันเป็นสถานที่พระราชทาน
เพลงิ ศพของพระอาจารยฝ์ ัน้ เทา่ ใดนกั


พธิ มี อบและรบั มอบไดก้ ระทำกนั ในบรเิ วณ
หอ้ งโถงของโรงพยาบาล เมอื่ เวลา ๑๐.๓๐ น. ของ
วนั ที่ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๑ โดยมพี ระอาจารย์
แปลง สนุ ทฺ โร รกั ษาการณเ์ จา้ อาวาสวดั ปา่ อดุ มสมพร
เปน็ ผกู้ ลา่ วมอบในนามของคณะกรรมการดำเนนิ การ
ก่อสร้าง ตลอดจนบรรดาข้าราชการและพ่อค้า
ประชาชนชาวจงั หวดั สกลนคร และ ฯพณฯ รฐั มนตรี
วา่ การกระทรวงสาธารณสขุ ร.ท. ยงยทุ ธ สจั จวาณชิ ย์
ร.น. เป็นผู้กล่าวรบั มอบในนามของทางราชการ

423

มูลเหตุท่ีมีการก่อสร้างโรงพยาบาลดังกล่าว มีอยู่ว่า เม่ือ พ.ศ. ๒๕๑๘

พระอาจารย์ฝ้ัน อาจาโร ได้จัดสร้างตึกพิเศษสงฆ์ให้กับโรงพยาบาลจังหวัดสกลนครหลังหน่ึง
ระหว่างนั้นก็ปรากฏว่า ทางกระทรวงสาธารณสุขปรารถนาจะให้มีศูนย์การแพทย์และอนามัย
ขนาด ๑๐ เตยี งขึ้นในอำเภอพรรณานคิ มแห่งหนึง่ พระอาจารยฝ์ ั้น อาจาโร กบั คณะศษิ ย์ฯ ได้
หารือกันแล้ว จึงได้ยื่นแสดงความจำนงจะขอสร้างโรงพยาบาลให้เอง โดยขอขยายให้ใหญ่ข้ึน
เปน็ ขนาด ๓๐ เตียง ในการน้จี ะออกเงินสมทบการกอ่ สร้างให้ โดยใชเ้ งนิ ทไ่ี ดจ้ ากการบรจิ าค
ของบรรดาสานุศิษย์ นอกจากน้ีสำหรับตัวท่านเองก็ยังได้เป็นธุระในเร่ืองการพิจารณากำหนด
สถานท่ีต้ัง จัดหาท่ีดินให้ด้วย ในที่สุดกระทรวงสาธารณสุขก็ได้ให้ความเห็นชอบและอนุมัติให้
ดำเนินการก่อสร้างโรงพยาบาลได้ เมือ่ เดอื นพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๙


พระอาจารยฝ์ น้ั อาจาโร ได้ทำพิธวี างศลิ ามงคล เมอื่ วนั ท่ี ๒๐ สิงหาคม พ.ศ.
๒๕๑๘ จากนั้นคณะศิษย์จากหมบู่ ้านต่างๆ ไดร้ ่วมแรงรว่ มใจกนั กอ่ สรา้ งโดยไม่คดิ คา่ ตอบแทน
มาตลอด ขอแต่เพียงให้ได้รับแจกเหรียญรูปพระอาจารย์ฝ้ันคนละหนึ่งเหรียญเท่าน้ันเอง ด้วย

พระอาจารย์แปลง สุนฺทโร

รักษาการเจ้าอาวาส

วัดป่าอุดมสมพรเป็นผู้กล่าว
มอบในนามของคณะกรรมการ
ดำเนินการก่อสร้าง

424

ความศรัทธาในพระอาจารย์ บางวันมีผู้มาช่วย
กอ่ สรา้ งถงึ ๑,๒๐๐ คน ถึงแมส้ ่วนใหญ่จะไมม่ ี
ความรู้ในการก่อสร้างเลย แต่นายช่างประมวล
วงษ์ดี และศิษย์ท่ีมีความรู้ทางนี้ ก็ได้แบ่งงาน
และควบคุมการก่อสร้างไปได้อย่างเรียบร้อย
และรวดเร็วเกินคาด เพียง ๙๐ วันหลังจาก
วางศิลาฤกษ์ อาคารก็เป็นรูปเป็นร่างขึ้นมาได้
เกนิ กวา่ ครงึ่ จนกระทงั่ เสรจ็ เรยี บรอ้ ยสามารถเปดิ
ดำเนนิ การไดต้ งั้ แต่วนั ที่ ๒๐ สงิ หาคม ๒๕๒๐
รวมคา่ ใชจ้ า่ ยในการกอ่ สรา้ งโรงพยาบาลจนเสรจ็
เรยี บรอ้ ยเปน็ จำนวนเงนิ ๕,๕๐๔,๐๙๑.๗๔ บาท
และต่อมาได้กระทำพิธีมอบและรับมอบกันเป็น

ทเี่ รียบร้อยไปแลว้ ดงั กลา่ วขา้ งต้น •


(ซ้าย) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ได้กล่าวรับมอบ
ในนามของทางราชการ (ล่าง) พระอาจารย์วัน อุตฺตโม

ได้ร่วมพิธีในคร้ังนี้ด้วย

425

426

คณะกรรมการดำเนนิ การจดั ทำหนงั สอื ภาพชวี ประวัติ

และปฏิปทา พระอาจารยฝ์ ้ัน อาจาโร


กรรมการท่ปี รกึ ษา


พระอาจารย์อ่อน ญฺาณสิริ วดั ปา่ นโิ ครธาราม อุดรธานี


พระพทุ ธพจนวราภรณ์ วดั ราชบพธิ สถติ มหาสีมาราม กรุงเทพฯ


พระอดุ มสงั วรวิสุทธิเถร (พระอาจารยว์ นั อุตตฺ โม)


วัดถ้ำอภยั ดำรงธรรม สกลนคร


พระปริยัตกิ ว ี วดั ราชบพิธสถิตมหาสีมาราม กรุงเทพฯ


พระครูพิศาลปัญโญภาส วัดปา่ ภูธรพิทกั ษ ์ สกลนคร


พระแปลง สนุ ทฺ โร วัดป่าอดุ มสมพร สกลนคร


พระเคี่ยม โสรโย วัดปา่ ถำ้ ขาม สกลนคร


พระสุจินต์ สจุ นิ ตฺ ามโย ศานตินิเวศน ์ กรุงเทพฯ


พระจำรัส อนุกกฺ โม วัดป่าอดุ มสมพร สกลนคร


พระป่ิน ปิยธมโฺ ม วัดปา่ อดุ มสมพร สกลนคร


ประธานกรรมการ

พลอากาศตรศี กั ดิ์ ธารฉี ตั ร



เรื่องในเล่ม






มืดฟ้ามัวดนิ

เรยี บเรยี ง

หนา้ ๖๕
ประวติ ร ผลวัฒนะ
หนา้ ๓๑๓

วันพระราชทานเพลิง หนา้ ๓๕๓

เร่อื งและเรยี บเรยี ง

ประวิตร ผลวฒั นะ
ปชู นียภิกษุฝน้ั อาจาโร


ชวี ประวตั แิ ละปฏิปทา
เรือ่ งและเรยี บเรยี ง

สงบ แจม่ พฒั น์

พระอาจารย์ฝ้ัน อาจาโร หน้า ๑๑๕

เรอ่ื ง
ชาวภูไท
พระอาจารยอ์ อ่ น ญาฺ ณสริ ิ
เร่ือง

พรหม สวุ รรณรงค
์ พรหม สวุ รรณรงค์

เรียบเรยี ง

สพุ ล นา่ ชม
ประวติ ร ผลวฒั นะ

นาวาอากาศเอก เกษม งามเอก

427

กรรมการฝา่ ยจัดทำหนังสือ


นาวาอากาศเอก เกษม งามเอก นายเกษม จงเจรญิ


นาวาเอก ประชุม เวศมว์ ิบลู ย์ ร.น. นายประจติ ร ผลวฒั นะ


นายพรหม สุวรรณรงค ์ นายสงบ แจม่ พฒั น์


นายสุพล น่าชม นายสงวน ตงั เดชะหิรัญ


นายวโิ รจน์ ตงั เดชะหิรญั กรรมการฝ่ายจัดหารายได้

นายพชิ ัย เลาหประสิทธ์ ิ นาวาอากาศโท ประเสรฐิ ไก่แก้ว

นายอาคม ทนั นิเทศ นาวาอากาศโท จนั ทร์ คงสวุ รรณ

นาวาอากาศโท เจอื สวา่ งเนตร


กรรมการฝ่ายประสานงาน


นางดวงพร ธารฉี ัตร เรืออากาศโทหญิง พนอ นุ่มนวน


นาวาอากาศโท ประจกั ษ์ อิงคนนิ นั ท์ นายสเุ ทพ เศวตวงษ์


นาวาอากาศตรี สำเนียง เพ็ญบญุ ม ี นายธงชัย รัตนโกศล


กรรมการและเลขานกุ าร

ม.ร.ว.ชยธวชั ศรธี วัช








ตระกลู สุวรรณรงค ์ หน้า ๓๖๗

ภาพในเล่ม


นาวาอากาศเอก เกษม งามเอก

เรื่อง
เกษม จงเจรญิ

พรหม สุวรรณรงค์
พชิ ัย เลาหประสทิ ธ
ิ์
เรียบเรยี ง
วโิ รจน์ ตงั เดชะหริ ญั

ประวิตร ผลวัฒนะ

หนา้ ๓๘๕
สงวน ตงั เดชะหิรญั

พระธรรมเทศนา
ดำเนนิ การจดั ทำ

ถอดจากแถบบันทึกเสยี ง
นาวาอากาศเอก เกษม งามเอก

นาวาอากาศเอก ประชมุ เวศมว์ ิบลู ย์ ร.น.

พระปรยิ ตั กวี

พระสุจินฅ์ สุจนิ ฺตามโย



ม.ร.ว.ชยธวชั ศรธี วชั

428

บันทกึ ท้ายเล่ม


อนสุ นธจิ ากมรณกรรมของท่านพระอาจารย์ฝัน้ อาจาโร เมอ่ื วันที่ ๔ มกราคม ๒๕๒๐
บรรดาศิษยานุศิษย์ และผู้ที่มีความเคารพนับถือท่าน ต่างก็คิดที่จะจัดสร้างส่ิงท่ีเป็นอนุสรณ์อย่างใด
อย่างหนงึ่ ตามทเ่ี หน็ สมควร เพอ่ื ถวายเป็นเคร่อื งสักการะท่าน


ศิษยานุศิษย์ทั้งพระสงฆ์และฆราวาสคณะน้ีก็ได้ร่วมประชุมปรึกษากันในการนี้ ในที่สุดก็มีความเห็น
พอ้ งทจี่ ะรว่ มกนั จดั ทำหนงั สอื ภาพชวี ประวตั ปิ ฏปิ ทา และคำสอนธรรมบางสว่ นของทา่ นขนึ้ เพอื่ เปน็ อนสุ รณแ์ กท่ า่ น
เชน่ เดยี วกัน


ในการน้ีมีข้อแม้วา่ ทุนทรัพยท์ ่ีจะจดั หามาใช้ทำหนังสือนี้ จะตอ้ งหลีกเลีย่ งไมน่ ำมาจากปจั จัยท่ที ่าน
ผู้มีจิตศรัทธาได้ต้ังใจบริจาคถวายวัดไว้แต่เดิมในเจตจำนงอื่น และมีมติว่าควรจะได้บอกบุญโดยตั้งวัตถุประสงค์ใน
การรบั บริจาคขน้ึ ใหม่ โดยกำหนดเป็นการเฉพาะอยา่ งชัดแจ้งรวม ๓ ประการดงั นี


๑. เพ่ือใช้จดั ทำหนงั สอื ชีวประวตั แิ ละปฏปิ ทาของท่านพระอาจารย์ฝ้ัน อาจาโร

๒. เพื่อเป็นทุนกอ่ ตั้งมลู นิธิของท่านพระอาจารย์

๓. เพื่อร่วมการกุศลเกี่ยวเนอ่ื งด้วยท่านพระอาจารย์

ดงั นั้นจึงได้นำความขึ้นนมัสการปรกึ ษาทา่ นพระอาจารย์และทา่ นพระเถรานุเถระผใู้ หญ่ ซง่ึ ทุกทา่ นก็
เมตตาแนะนำ สนบั สนุนและอนุโมทนา ทส่ี ุดทา่ นรกั ษาการเจ้าอาวาสวดั ป่าอดุ มสมพร จงึ ไดม้ ปี ระกาศแต่งต้ังคณะ
กรรมการจัดทำหนังสือน้ีข้ึน เมื่อวันท่ี ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๒๐ จากน้ัน จึงได้มีการบอกบุญรับบริจาคและลงมือ
รวบรวมจัดทำหนังสือนี้ข้ึน แล้วเสร็จก่อนวันพระราชทานเพลงิ ฯ ในวนั ที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๒๑ หนงั สอื จำนวน

429

คณะกรรมการดำเนินการ
จัดทำหนังสือฯ แถลงผลงาน,
การเงิน, การจัดตั้งมูลนิธิ

และการจัดพิมพ์ หนังสือภาพ
ชีวประวัติฯ คร้ังที่สอง แก่
คณะกรรมการท่ีปรึกษาฝ่าย
สงฆ์ (ภาพซ้าย) เมื่อ ๒๕
กุมภาพันธ์ ๒๔๒๑ ณ.วัดป่า
อุดมสมพร สกลนคร


หนึ่งหมื่นเล่มท่ีจัดทำในครั้งน้ันเม่ือจัดส่วนท่ีจะถวายวัดต่างๆ รวมท้ังห้องสมุดทั้งในและนอกประเทศบางแห่งตาม

ท่ีเห็นควรแล้ว ก็ได้นำไปสมนาคุณท่านผู้บริจาค และในโอกาสเดียวกันน้ันได้จัดพิมพ์เป็นเล่มเล็กย่ออีกจำนวน

หกหมนื่ เลม่ ไปแจกในวนั งานพระราชทานเพลงิ ฯ และในโอกาสอน่ื


ทนุ ทรพั ยท์ งั้ หมดทไ่ี ดร้ บั ในการบรจิ าคครง้ั นนั้ นอกจากชำระเปน็ มลู คา่ ของคา่ พมิ พห์ นงั สอื ใหก้ บั โรงพมิ พ์
กบั คา่ สง่ อกี เลก็ นอ้ ยแลว้ ไมม่ คี า่ ใชจ้ า่ ยอนื่ ใดอกี ทงั้ สนิ้ ทนุ บรจิ าคทเ่ี หลอื สทุ ธทิ ง้ั หมดจำนวน ๖๒๓,๔๒๕.๘๙ บาทน้ี
จะไดน้ ำไปดำเนนิ การให้ถูกต้อง กบั วัตถุประสงค์ทีต่ ้งั ไวอ้ ยา่ งเคร่งครดั โดยในขัน้ ตอนน้ีไดน้ ำทุนดงั กล่าวส่วนหนึ่ง
จำนวนหน่ึงแสนบาทเป็นทุนเร่ิมต้นไปจดทะเบียนก่อต้ังมูลนิธิท่านพระอาจารย์ฝั้น อาจาโร เรียบร้อยถูกต้องตาม
กฎหมายแลว้ เมอ่ื วันท่ี ๙ พฤษภาคม ๒๕๒๑ ตามใบอนญุ าตท่ีแสดงไว้ในหนงั สือน้ี


มูลเหตุแห่งการท่ีต้องพิมพ์หนังสือเล่มใหม่นี้อีกครั้ง ก็เพราะต้องการเพิ่มทุนทรัพย์ให้กับ
มลู นธิ ฯิ ใหม้ กี ำลงั เพยี งพอทจ่ี ะดำเนนิ การตามเปา้ หมายของวตั ถปุ ระสงคไ์ ดก้ วา้ งขวางขน้ึ เปน็ ประการแรก
และเพอื่ เปน็ การสนองความประสงคท์ ม่ี ผี เู้ รยี กรอ้ งตอ้ งการหนงั สอื นอ้ี กี จำนวนมากทา่ นเปน็ ประการสดุ ทา้ ย
คณะกรรมการดำเนินการจัดทำหนังสือจึงได้มีมติให้จัดทำหนังสือน้ีข้ึนอีกจำนวนหนึ่งหม่ืนห้าพันเล่ม
และใหเ้ ป็นการพิมพค์ รง้ั สุดทา้ ยด้วย


หนังสือภาพชีวประวัติและปฏิปทาของพระอาจารย์ฝ้ัน อาจาโร เล่มใหม่น้ีเนื้อความส่วนใหญ่ก็คง
เช่นเดียวกับเล่มที่ได้จัดทำไปแล้ว กล่าวคือได้เน้นหนักในเร่ืองชีวประวัติและปฏิปทาของท่านตามช่ือหนังสือ โดย
รวบรวมจากท่ีทา่ นได้เล่าใหฟ้ ัง ท้งั สว่ นทไี่ ดบ้ ันทกึ ในแถบบันทกึ เสยี งบ้าง, จากความจำบ้าง, จากคำบอกเล่าและ
บนั ทกึ ความทรงจำของลกู ศษิ ยท์ ไ่ี ดต้ ดิ ตามรบั การอบรมและปฏบิ ตั กิ บั ทา่ นมาบา้ ง โดยเฉพาะจากทา่ นครบู าอาจารย์
ท่เี ป็นเพ่อื นสหธรรมิกทใี่ กล้ชดิ กับท่าน เชน่ ท่านพระอาจารย์ออ่ น ญาฺ ณสิริ บา้ ง จงึ ได้นำเรอ่ื งราวตา่ งๆ กับข้อมลู

430
เหล่าน้ันมาประมวลเข้าด้วยกัน เปรียบเทียบเหตุการณ์กับประวัติของท่านพระอาจารย์องค์อ่ืนๆ ที่เก่ียวข้องอยู่ใน
เรือ่ งเท่าทีจ่ ะรวบรวมค้นหามาได้ ทง้ั ได้ตรวจสอบ เปรยี บเทยี บสถานที่ วัน เวลา เหตุการณ์ ให้ถูกต้องแนน่ อน
ท่ีสดุ ทงั้ น้ี ด้วยมคี วามปรารถนาท่ีจะใหห้ นงั สอื นสี้ ามารถใชเ้ ป็นหลักฐานอ้างอิงได้ในกาลข้างหนา้


ในส่วนของการอบรมธรรมของท่านน้ัน ก็ได้นำมาลงประกอบด้วยเพียงส่วนหน่ึง โดยได้ถอดจาก
แถบบันทึกเสียงของท่าน ชนิดคำต่อคำ เพื่อรักษาอรรถรสแห่งคำสอนของท่านท่ีแสดงด้วยปากเปล่าตามแบบ

ของท่าน ซงึ่ สอนดว้ ยคำพดู ง่ายๆ มงุ่ ใหท้ ุกคนฟังแล้วตามปฏิบัติไดถ้ ูกต้อง


สำหรับภาพถ่ายประกอบเรื่องนั้น นอกจากบางภาพท่ีเป็นการประกอบทางด้านศิลปแล้ว ส่วนใหญ่
คงเป็นภาพที่ได้ถ่ายจากสถานที่จริงตามเหตุการณ์ในท้องเรื่อง จะผิดก็แค่ในส่วนของกาลเวลาบ้าง หลายๆ

ภาพจะไมช่ ัดเจน แต่กเ็ ปน็ ภาพแหง่ ประวตั ทิ ี่จะตอ้ งรักษาไว


โดยเฉพาะอย่างยิ่งคณะกรรมการฯ ได้รับพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานภาพถ่าย
ในโอกาสท่ีเสด็จพระราชดำเนินไปพระราชทานน้ำสรงศพ และพระราชทานเพลิงฯ รวมทั้งภาพถ่ายท่ี
เก่ยี วเนอื่ งระหว่างพระองคก์ บั พระอาจารยฝ์ ั้น อาจาโร ทั้งสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ กไ็ ดโ้ ปรดเกลา้ ฯ
พระราชทานพระราชนิพนธ์โคลงด้ันวิวิธมาลี “อาจาราศิรวาท” ให้อัญเชิญลงในหนังสือนี้ด้วย นับเป็น
พระมหากรุณาธิคุณลน้ เกล้าล้นกระหม่อม


รวมท้ังพระเมตตาของสมเด็จพระสังฆราชก็ได้พระทานลิขิตให้เป็นอนุสรณ์กับท่านพระอาจารย์ฝั้น
ซง่ึ ไดเ้ ชิญมาลงในหนังสือน้ีดว้ ยเช่นกนั


อย่างไรก็ตาม เน่ืองด้วยคณะกรรมการจัดทำหนังสือนี้ มิได้มีความชำนาญและงานอาชีพน้ีมาก่อน
ทั้ง มไิ ดเ้ ป็นผ้ทู รงความรู้ หรอื นกั วชิ าการท้ังทางด้านการศาสนาและอักษรศาสตร์ ฉะนั้นหากทา่ นผู้รู้พบเห็นความ
ขาดตกบกพร่องหรอื ข้อผดิ พลาดใดๆ ขอไดก้ รณุ าประทานอภัยใหด้ ว้ ยก็จกั เปน็ พระคุณอยา่ งย่ิง


คณะกรรมการดำเนนิ การจัดทำ

หนังสอื ภาพชีวประวตั แิ ละปฏิปทา

พระอาจารย์ฝนั้ อาจาโร


Click to View FlipBook Version