143
ประวัติ วัดโพธิสมภรณ์
ในปี พ.ศ. ๒๔๔๙ มหาอำมาตย์ศรพี ระยาสุริยราชวรานุวตั ิ
(โพธิ เนตติโพธ์ิ) สมหุ เทศาภบิ าลมณฑลอดุ รธานี ได้พิจารณาเหน็ ว่า
ในเขตเทศบาล เมืองอุดรธานีนี้ มีวัดมัชฌิมาวาสอยู่วัดเดียวเท่านั้น
สมควรจะได้จัดสร้างวัดข้ึนใหม่อีกสักวัดหนึ่ง และก็เห็นว่าทางทิศ
ตะวันตกของหนองประจักษ์ เป็นที่เหมาะสมควรแก่การสร้างวัด จึง
ได้ชกั ชวนราษฎรในหมบู่ า้ นนนั้ ชว่ ยกนั ถากถางป่าพอควรแกก่ ารปลกู
กุฏิศาลาโรงธรรม สำหรับบำเพ็ญบุญการกุศล ได้ทำการก่อสร้างอยู่
เป็นเวลา ๑ ปี ก็สำเร็จเป็นสำนักสงฆ์ จึงได้กราบทูลขอช่ือวัดต่อ
สมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา้ กรมหลวงชนิ วรสริ วิ ฒั น์ ซง่ึ ไดท้ รงประทานนาม
ว่า “วัดโพธิสมภรณ์” ให้เป็นอนุสรณ์แก่พระยาศรีสุริยราชวรานุวัติ
(โพธิ เนตตโิ พธ)์ิ ผสู้ รา้ งวดั นี้ ตอ่ มาไดอ้ าราธนาพระครธู รรมวนิ ยานยุ ตุ ิ
(หนู) จากวัดมัชฌิมาวาสมาเป็นเจ้าอาวาส โดยท่ีสงั ขารของท่านอยู่ใน
วยั ชรานานแลว้ ได้เป็นเจา้ อาวาสอย่ไู มน่ านกถ็ ึงแกม่ รณภาพ
ครน้ั ในปี พ.ศ. ๒๔๕๖ เจา้ พระยามขุ มนตรี (อวบ เปาโรหติ ย)์
ซงึ่ เปน็ สมหุ เทศาภบิ าลมณฑลอดุ รธานี ไดม้ าเสรมิ สรา้ งวดั โพธสิ มภรณ์
ใหก้ วา้ งขวางขน้ึ โดยขยายอาณาเขตออกไปอกี กบั ไดก้ อ่ สรา้ งเสนาสนะ
เพ่ิมข้ึน พร้อมกับอุโบสถจนแล้วเสร็จ และได้ขอพระราชทาน
วิสุงคามสีมาให้เป็นหลักฐาน เม่ือได้พิจารณาแล้วเห็นว่าในเขต
เทศบาลน้ี ไม่มีวัดธรรมยุต จึงสมควรจัดวัดโพธิสมภรณ์น้ีให้เป็น
วัดของฝ่ายธรรมยุตเสียเลย และได้กราบทูลขอเจ้าอาวาส สมเด็จ
พระสังฆราชเจ้าจึงได้รับสั่งให้เจ้าอาวาสวัดเทพศิรินทร์ เลือกเฟ้นหา
พระเปรียญให้ ก็ได้พระครูสังฆวุฒิกร (จูม พนฺธุโล) ปธ. ๓ มาเป็น
เจา้ อาวาสวดั โพธสิ มภรณ์ เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๖๖
วดั โพธิสมภรณ์ จึงได้เปน็ วัดธรรมยตุ ตัง้ แต่บัดนั้น
เป็นต้นมาจนถึงปจั จุบันน
้ี
146
n พระคณาจารย์ทสี่ ำคญั ของฝา่ ยวปิ สั สนาธรุ ะ
n สทั ธิวหิ าริก ของเจา้ คณุ พระธรรมเจดยี ์ (จมู พนฺธุโล)
• แถวบน
(จากซา้ ย) พระอาจารยฝ์ ัน้ อาจาโร หลวงปูข่ าว อนาลโย
เจ้าพระคณุ พระธรรมเจดยี ์ (จมู พนธฺ ุโล) พระอุปัชฌาย
์
พระอาจารย์ออ่ น ญาฺ ณสริ ิ พระอาจารย์มหาบัว ญาฺ ณสมปฺ นโฺ น
• แถวกลาง
(จากซ้าย) พระอาจารยจ์ นั ทร์ เขมปตโฺ ต พระอาจารยก์ งมา จริ ปุญโฺ ญ
ฺ
• แถวล่าง
(จากซ้าย) หลวงพ่อบัว สริ ปิ ุณโฺ ณ พระอาจารย์ออ่ นสา สุขกาโร
147
พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)
นามเดิม จูม จนั ทรวงศ์
บิดา คำสงิ ห์ จนั ทรวงศ์
มารดา เขยี ว จันทรวงศ์
เกดิ เป็นบตุ รคนที่ ๓ ในจำนวน ๙ คน ท่บี า้ น
ท่าอุเทน ตำบลท่าอุเทน อำเภอท่าอุเทน
จังหวัดนครพนม เม่ือวันท่ี ๒๔ เมษายน
พ.ศ. ๒๔๓๑ ตรงกบั วนั ๕๖ฯ๖ปีชวด
การบรรพชาและอปุ สมบท เบ้ืองแรกเมอ่ื อายุ ๑๒ ปี
ได้บรรพชาเป็นสามเณร ท่ีวัดโพนแก้ว
ตำบลท่าอุเทน อำเภอท่าอุเทน จังหวัด
นครพนม ในวนั ที่ ๑๐ ธนั วาคม ๒๔๔๒
เมื่ออายุครบบวชแล้ว ได้อุปสมบทที่วัดมหาชัย ตำบลหนองบัว อำเภอ
หนองบัวลำภู จังหวัดอดุ รธานี ในวันท่ี ๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๕๐ โดยมีพระครูแสง
ธมฺมธโร เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูสีมา สีลสมฺปนฺโน (วัดจันทาราม อำเภอภูเวียง
จงั หวดั ขอนแกน่ ) เปน็ พระกรรมวาจาจารย์ พระจนั ทร์ เขมโิ ย (พระเทพสทิ ธาจารย
์
วัดศรีเทพ จงั หวดั นครพนม) เป็นพระอนสุ าวนาจารย์
การจารกิ เพอื่ ศกึ ษาธรรมปฏิบัติ เมอื่ พ.ศ.๒๔๔๖ ไดต้ ดิ ตามพระจนั ทร์ เขมิโย ไปจำพรรษาที่
วัดเลียบ จังหวัดอุบลราชธานี อันเป็นสำนักของพระอาจารย์เสาร์และพระอาจารย์มั่น
ซงึ่ เปน็ อาจารยฝ์ า่ ยวปิ สั สนาธรุ ะ ไดศ้ กึ ษาขอ้ วตั รปฏบิ ตั ใิ นดา้ นสมถวปิ สั สนากมั มฏั ฐาน
กบั ทา่ นอาจารย์ท้งั สองเป็นเวลาถึง ๓ ปี จึงเป็นมลู เหตุให้ท่านเปน็ ผูม้ ีอุปนสิ ัยนอ้ มไป
ในฝา่ ยวปิ ัสสนาธุระ และไดป้ ระพฤติปฏบิ ตั ิตอ่ เนอื่ งไปจนถงึ วนั อวสานแหง่ ชวี ติ
การศึกษาทางพระปริยัติธรรม ได้เข้ามาเล่าเรียนศึกษาทางพระปริยัติธรรมต่อท่ีวัดเทพศิรินทร์
จนไดเ้ ปรยี ญธรรม ๓ ประโยค
สมณศกั ด ์ิ พ.ศ. ๒๔๖๓ เป็นพระครูสังฆวุฒิกร ฐานานุกรมของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์
(เจริญ ญฺาณวโร) ครงั้ เมื่อเปน็ พระสาสนโสภณ และไดย้ า้ ยจากวดั เทพศิรินทรม์ าเปน็
เจ้าอาวาสวัดโพธิสมภรณ์ จังหวัดอุดรธานี เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๖ กับได้ตราต้ังเป็น
พระอปุ ัชฌาย์ด้วย
๖ พฤศจกิ ายน ๒๔๗๐ ไดร้ บั พระราชทานเลอ่ื นสมณศกั ดเ์ิ ปน็ พระราชาคณะทพี่ ระญาณดลิ ก
๖ พฤศจิกายน ๒๔๗๓ ไดเ้ ปน็ พระราชาคณะที่ พระราชเวที
๑๙ กันยายน ๒๔๗๘ ไดเ้ ปน็ พระราชาคณะที่ พระเทพกว
ี
๑๙ ธนั วาคม ๒๔๘๘ ไดเ้ ป็นพระราชาคณะท่ี พระธรรมเจดีย
์
มรณภาพ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๐๕ ณ โรงพยาบาลศริ ริ าช
148
เม่ือครั้งเป็นที่พระครูสังฆวุฒิกร เป็นพระ นอกจากนี้ยังมีพระอาจารย์กว่า สุมโนอีก
อปุ ชั ฌายะ พระรถเปน็ พระกรรมวาจาจารย์ รปู หน่ึง ซงึ่ พออายคุ รบบวชก็ได้อปุ สมบทเปน็ พระ
และพระมกุ เปน็ พระอนุสาวนาจารย์
ธรรมยุติกนิกาย หลังจากพระอาจารย์ฝั้นญัตติ
กอ่ นหนา้ นน้ั ในเดอื นมกราคม พ.ศ. ๒๔๖๗ เพียงไมก่ ีว่ นั
ได้มีพระอาจารย์มารับการญัตติเป็นธรรมยุตอีก
๒ รูป คือ
สำหรบั พระอาจารยฝ์ น้ั ภายหลงั ญตั ติ
แลว้ ทา่ นกเ็ ดนิ ทางไปหาพระอาจารยม์ นั่ ท่ี
พระอาจารยอ์ อ่ น ญาฺ ณสริ ิ และพระอาจารย์ วดั อรญั วาสี อำเภอทา่ บอ่ จงั หวดั หนองคาย
อนุ่
และจำพรรษาอยู่ท่ีวดั นัน้ เลย
149
พระอาจารย์ต่างๆ ที่ร่วมจำพรรษาในปี ระหว่างพรรษาน้ัน พระอาจารย์ฝั้นอาพาธ
เดยี วกันนัน้ (พ.ศ. ๒๔๖๘) ไดแ้ ก
่ เป็นไข้มาลาเรีย ออกพรรษาแล้วก็ยังไม่หายขาด
พระอาจารย์มน่ั ภรู ทิ ตโฺ ต
ปรากฏว่าระหวา่ งอาพาธอยนู่ นั้ แมจ้ ะมีไขจ้ บั แต่
พระอาจารย์กู่ ธมฺมทินฺโน *๑
เมอื่ ถงึ วนั ประชมุ ฟงั โอวาทจากพระอาจารยม์ น่ั ทา่ น
พระอาจารยอ์ อ่ น ญฺาณสริ ิ *๒
ก็ไม่เคยย่อท้อ อุตส่าห์ไปฟังโอวาทมิได้ขาดเลย
พระอาจารย์สาร
สักคร้ังเดียว ยิ่งไปกว่านั้น การทำข้อวัตรปฏิบัติ
เชน่ ตกั นำ้ และปดั กวาดบรเิ วณวดั ทำความสะอาด
พระอาจารย์ฝน้ั อาจาโร
เสนาสนะ ทา่ นกร็ ่วมทำกบั ภิกษสุ ามเณรอน่ื ๆ อยู่
พระอาจารยก์ ว่า สุมโน *๓
เสมอมา แมจ้ ะมผี นู้ มิ นตใ์ หท้ า่ นหยดุ ทา่ นกไ็ มย่ อม
และยงั มพี ระภกิ ษสุ ามเณรอกี รวมถงึ ๑๖ รปู
การกระทำตนเหมือนมิได้ป่วยไข้ โดยใช้พลังจิต
เข้าต่อสู้ดังกล่าว เป็นอุบายให้ท่านสามารถพลิก
(ขวา)
ดา้ นหน้าวัดอรัญวาสี
วดั อรญั วาสี อำเภอทา่ บอ่
จังหวดั หนองคาย
พระอาจารย์ฝั้นไดม้ า
จำพรรษาปี พ.ศ. ๒๔๖๘
(ซา้ ย)
อโุ บสถวดั อรัญวาส
ี
พระอาจารยส์ วุ รรณ ศษิ ยร์ นุ่ แรก
ของพระอาจารยม์ ัน่ ได้สรา้ งไว้
น่าสังเกตว่า ไม่ว่าวัดหรอื
อโุ บสถวหิ ารใดๆ ถา้ พระอาจารย์
สวุ รรณเปน็ ผสู้ รา้ งจะตอ้ งมรี ปู ปนั้
สนุ ัขไวเ้ ปน็ สญั ลกั ษณ
์
*๑ ดูประวัติย่อ หน้า ๑๕๐
*๒ ดูประวัติย่อ หน้า ๑๖๙
*๓ ดูประวัติย่อ หน้า ๒๐๓
150
ความป่วยเจ็บมาเป็นธรรมอริยสัจจข้ึนได้ จน พระอาจารย์กู่ ธมฺมทินฺโน
กระท่ังพระอาจารย์ม่ันถึงกับออกปากชมว่า “ท่าน
ฝั้นได้กำลงั ใจมากนะพรรษานี้”
(องค์ซา้ ย)
เม่ือใกล้จะออกพรรษา พระอาจารย์มั่นได้ นามเดมิ กู่ สุวรรณรงค์
ประชุมหมู่ศิษย์เพื่อเตรียมออกเทยี่ วธุดงคห์ าทว่ี ิเวก บดิ า หลวงพรหม (เมฆ)
และได้จัดหมู่ศิษย์ออกไปเป็นพวกๆ โดยจัดพระ มารดา หลา้ สวุ รรณรงค
์
อาจารยก์ ู่ พระอาจารย์ออ่ น และพระอาจารยฝ์ ้ันให้ เกดิ วันเสาร์ เดือน ๕ ปชี วด พ.ศ. ๒๔๔๓
ไปเป็นชดุ เดียวกัน เพราะเห็นว่ามนี ิสัยตอ้ งกันมาก การอุปสมบท ได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุฝ่ายมหานิกาย
นอกนั้นกจ็ ัดเปน็ ชุดๆ อกี หลายชุด
ณ สำนกั วดั โพธชิ ยั บา้ นมว่ งไข่ อำเภอพรรณานคิ ม
ก่อนออกธดุ งค์ พระอาจารยม์ ั่นไดส้ ัง่ ไว้ด้วย จงั หวัดสกลนคร โดยมีพระครูสกลสมณกจิ (ท่าน
ว่า แต่ละชุดให้เดินธุดงค์เลียบภูเขา ภาวนาวิเวก อาญาครธู รรม) เป็นพระอปุ ัชฌาย
์
ไปตามแนวภูเขานั้น และแต่ละชุดก็ไม่จำเป็นต้อง การจารกิ เพอื่ ศกึ ษาธรรมปฏบิ ตั ิ ตลอดเวลาทท่ี า่ นบวช
เดินธุดงค์ไปด้วยกันโดยตลอด ระหว่างทางท่านใด อยู่ ท่านเป็นผู้ยินดีในเสนาสนะป่าเป็นส่วนมาก
อยากไปพักวิเวก ณ ทใ่ี ด เชน่ ตามถ้ำซ่ึงมอี ยตู่ าม ไดจ้ ารกิ แสวงหาทวี่ เิ วกเพอื่ สมาธภิ าวนาตามปา่ ชฏั
ทางกท็ ำได้ เพียงแตบ่ อกเลา่ กันให้ทราบในระหว่าง ได้มีโอกาสศึกษาธรรมเบื้องต้นกับอาจารย์ดูลย์
พระภิกษุชุดเดียวกัน จะได้นัดหมายไปพบกันข้าง อตุโล (พระรัตนากรวิสุทธ์ิ) ท่ีวัดบ้านม่วงไข่น้ี
หน้าเพื่อเดินธดุ งคต์ ่อไปได้อกี
และต่อมาก็ได้เดินทางไปพบท่านอาจารย์ม่ัน
และได้อยู่ศึกษาธรรมและปฏิบัติสมถวิปัสสนา
คร้ันออกพรรษาแล้ว พระอาจารย์กู่กับ
กมั มฏั ฐาน
พระอาจารยอ์ อ่ น ไดแ้ ยกไปทางภเู ขาพระพทุ ธบาท การขอญัตติ เม่อื พ.ศ. ๒๔๖๖ ไดญ้ ัตติเปน็ พระภิกษุ
บัวบก อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี ส่วน
ธรรมยุติกนิกาย โดยมีพระอดิศัยคุณาธาร (คำ
พระอาจารยฝ์ น้ั ออกไปทางบา้ นนาบง ตำบลสามขา อรโก) เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอาจารย์ม่ันเป็น
(ปจั จบุ นั เปน็ ตำบลกองนาง) อำเภอทา่ บอ่ จงั หวดั พระกรรมวาจาจารย์ ณ วดั มหาชยั ตำบลหนองบวั
หนองคาย แลว้ ไปภาวนาอยทู่ วี่ ดั ร้างแห่งหนงึ่
อำเภอหนองบวั ลำภู จังหวดั อดุ รธานี
มรณภาพ ท่านอาพาธด้วยฝีฝักบัวท่ีต้นคอ ซึ่งเป็นโรค
พระอาจารยฝ์ นั้ พกั อยทู่ ว่ี ดั รา้ งนนั้ อกี หลายวนั ประจำตัว เมอ่ื ออกพรรษาปี ๒๔๙๕ แลว้ ทา่ นได้
จงึ ออกเทยี่ วธดุ งคต์ อ่ ไปโดยเลยี บไปกบั ฝงั่ แมน่ ำ้ โขง ลาญาติโยมขึ้นไปทำสมณกจิ ท่ีถ้ำเจ้าผขู้ า้ จนลว่ ง
เม่ือเข้าเขตศรีเชียงใหม่ วันหน่ึงขณะที่ท่านออก ไปได้ ๓ เดือน อาการของโรคได้กำเริบมากขึ้น
เที่ยวไปจนค่ำ ไปพบศาลภูตาแห่งหนึ่งท่ีอยู่ริมฝ่ัง จนกระทั่งท่านได้มรณภาพในอริยาบถนั่งสมาธิ
แมน่ ำ้ เปน็ ศาลากวา้ งครงึ่ วา ยาว ๑ วา สงู จากพนื้ ณ ถ้ำเจ้าผู้ข้า เมื่อวันท่ี ๒๓ มกราคม พ.ศ.
ประมาณ ๑ ศอก มุงหลังคาด้วยแผ่นไม้เล็กๆ ๒๔๙๖ รวมอายทุ า่ นได้ ๕๓ ปี
คลา้ ยกระเบ้อื ง เปิดโล่งสามดา้ นขา้ ง ทา่ นจึงเขา้ ไป
อาศัยพัก ตอนยำ่ รุ่ง มีคนแจวเรือมาจอดท่ีรมิ ฝัง่ นำ้
๑๕๑
๑ วดั ป่าสารวารี (วดั บ้านค้อ) อำเภอบา้ นผือ จังหวดั อดุ รธานี
พระอาจารยม์ ่นั จำพรรษา ปี พ.ศ. ๒๔๖๒ และปี พ.ศ. ๒๔๖๗
๒ วดั บา้ นหนองกอง อำเภอบ้านผอื จงั หวัดอดุ รธาน
ี
๓ พระพุทธบาทบวั บก อำเภอบ้านผอื จงั หวัดอุดรธานี
๔ บ้านผักบุง้ อำเภอบ้านผอื จงั หวดั อดุ รธาน
ี
๕ วดั บา้ นนาสีดา ตำบลกลางใหญ่ อำเภอบา้ นผอื จังหวดั อดุ รธานี
๖ วัดอรญั วาสี อำเภอทา่ บ่อ จังหวดั หนองคาย
พระอาจารย์ฝ้ัน อาจาโร จำพรรษาเม่ือปี พ.ศ. ๒๔๖๘
เปน็ พรรษาที่ ๑. โดยอยู่ร่วมจำพรรษากบั พระอาจารยม์ น่ั
๗ บ้านนาบง ตำบลกองนาง อำเภอทา่ บอ่ จังหวดั หนองคาย
152
ตรงกบั บรเิ วณทตี่ งั้ ศาลภตู านนั้ แลว้ ยกมอื ขน้ึ อธษิ ฐาน
ด้วยเสียงอันดังว่า “ขอให้เจ้าแม่นางอ้ัวบันดาลให้
ค้าขายดีๆ ร่ำรวย อยู่เย็นเป็นสุข” ท่านนึกขำ จึง
ออกเสยี งแทนเจา้ แมไ่ ปวา่ “เออ เอาซ”ี เลน่ เอาผนู้ นั้
รบี แจวหนีไปอยา่ งตกอกตกใจ
ออกจากศาลภูตาแล้วท่านก็เที่ยวต่อไป และ
ไปแวะพกั ทวี่ ดั ผาชนั (วดั อรญั ญบรรพต) ซง่ึ อยใู่ กล้
ฝั่งแม่น้ำเช่นเดียวกัน พักอยู่หลายวันจึงเลยไปถึงที่
หินหมากเป้ง พักอยอู่ กี ระยะหน่งึ ตอ่ มาจงึ เดนิ ทาง
ย้อนกลับไปพบพระอาจารย์กู่และพระอาจารย์อ่อน
ทพี่ ระพทุ ธบาทบวั บกตามทต่ี กลงกนั ไวก้ อ่ นแยกทาง
แตพ่ อถงึ บา้ นผกั บงุ้ เชงิ เขาพระบาทบวั บก กท็ ราบวา่
พระอาจารยท์ งั้ สองไดอ้ อกเดนิ ธดุ งคไ์ ปทบี่ า้ นคอ้ แลว้
ท่านจึงพักอยู่ท่ีบ้านผักบุ้ง ๕ วัน โดยหาสถานที่
สงบเจริญกมั มฏั ฐานอยู่ตามภเู ขาลูกนั้น
(บน) กุฏสิ งฆ์วัดอรัญญบรรพต (ผาชัน) อำเภอศรีเชียงใหม
่ ระหว่างพำนักอยู่ที่น่ันมีเหตุการณ์อันไม่
จังหวดั หนองคาย พระอาจารย์ฝั้นได้เคยมาพักอยู่
คาดฝันอุบัติขึ้น คือวันหน่ึงเมื่อท่านได้เดินขึ้น
(ล่าง) ศาลภูตา (นางอ้ัว) ริมแม่น้ำโขง
ไปบนภูเขาเพื่อแสวงหาสถานท่ีสงบตามลำพัง
ขณะผ่านราวป่าท่านถึงกบั สะดุง้ เพราะได้ยนิ
เสียงผิดสังเกตห่างออกไปไม่มากนักทาง
ด้านข้าง เป็นเสียงคล้ายสัตว์กำลังตะกุยดิน
อยู่ สามัญสำนึกบอกท่านว่าคงเป็นสัตว์ใหญ่
อาจเปน็ สัตวร์ า้ ย และอาจเปน็ เสือกไ็ ด
้
พอนึกถึงเสือท่านก็ยืนน่ิงตัวแข็ง แล้วใน
อึดใจนั้นเอง ขณะที่ท่านกำลังสำรวมจิตใจมิให้
ตื่นเต้นต่อเหตุการณ์ที่จะบังเกิดขึ้น สัตว์ตัวน้ัน
กผ็ งกหัวพน้ กอหญ้าอันรกทบึ ขึน้ มา
เสือจริงๆ นั่นแหละ เห็นจากหัวท่ี
โผลข่ ้ึนมาตัวมนั ไม่ใชเ่ ล็ก
พอแน่ใจว่าเป็นเสือท่านก็เย็นวาบไปตาม
ไขสันหลัง เหง่ือเม็ดโป้งๆ ผุดขึ้นตามใบหน้า
ความรู้สึกบอกตัวท่านโดยฉับพลันว่า ถ้าหันหลัง
วง่ิ เปน็ เสรจ็ แน่ มนั จะกระโจนเขา้ ใสอ่ ยา่ งไมม่ ปี ญั หา
จึงพยายามสำรวมจิตใจให้แน่วแน่เพื่อรับกับ
สถานการณ์ที่อุบัติข้ึนอย่างกะทันหันทุกลมหายใจ
ในขณะน้ันมันให้ติดให้ขัดไม่สะดวกดายเหมือน
ในภาวะธรรมดา
พระพุทธบาทบวั บก อำเภอบ้านผือ จังหวดั อุดรธาน
ี
154
(ซา้ ย) วัดบา้ นคอ้ (ปจั จุบนั วัดปา่ สารวารี) อำเภอบ้านผอื จงั หวัดอดุ รธานี
(บน) กฏุ ิสงฆ์วดั บา้ นคอ้
(ล่าง) ศาลาการเปรียญวัดบา้ นค้อ
155
(บน) วัดบ้านหนองกอง อำเภอบ้านผือ พระอาจารย์ม่ันได้เดินธุดงค์มาพักอยู
่
ชวั่ คราว ในขณะทีย่ ังเปน็ ปา่ ก่อนทจ่ี ะเดนิ ทางไปจำพรรษาทีว่ ดั บา้ นคอ้
(ขวา) ต้นกระบก ในวัดบ้านหนองกอง ชาวบ้านได้ร่ำลือสืบมาว่าระหว่างที
่
พระอาจารย์ม่ันได้เข้าพักรุกขมูลอยู่ในสมัยนั้น ท่านได้อธิษฐานจิตขอไม่
ให้ลูกตกลงมาในระหว่างที่ท่านพำนักอยู่ ปรากฏว่าในปัจจุบันลูกกระบก
ต้นนี้ถึงแม้มีลูกตกมา แต่ไม่ตกหล่นลงพ้ืนตามคำอธิษฐาน เหี่ยวแห้งคา
ต้นไปเลย
นับว่าท่านตัดสินใจรับสถานการณ์ได้ การเดินทางจึงช้าลง และมาทราบภายหลังว่า
ถกู ตอ้ ง เจา้ เสอื รา้ ยจอ้ งดทู า่ นไดเ้ พยี ง ๒ - ๓ พระอาจารยเ์ กงิ่ อธมิ ตุ ตฺ โก*๑ และ พระอาจารยส์ ลี า
อดึ ใจ กร็ อ้ งกอ้ งปา่ แลว้ กระโจนหายกลบั เขา้ ไป อิสสฺ โร*๒ ได้อาราธนานิมนต์พระอาจารย์ม่นั ไปอยู่
ในป่า
บ้านสามผง อำเภอท่าอเุ ทน (ปจั จบุ ันอยใู่ นอำเภอ
บรรดาพระเณรข้างล่างได้ยินเสียงร้องของ ศรีสงคราม) จงั หวดั นครพนม พระอาจารย์ฝั้นได้
เสอื กต็ ามขนึ้ มาตะโกนถามวา่ เกดิ อะไรขน้ึ ครนั้ เมอ่ื พยายามติดตามไปจนพบพระอาจารย์ม่ัน แต่
ทราบความจริงแล้ว ทุกรปู กโ็ ล่งอก
อาการอาพาธของทา่ นกย็ งั ไมห่ ายดี พระอาจารยม์ นั่
หลังจากเที่ยวธุดงค์ไปหลายแห่งแล้ว
จึงให้ท่านน่ังพิจารณาภายในร่างกายตลอดคืน ก็
พระอาจารยฝ์ นั้ กก็ ลบั มายงั วดั อรญั วาสี อำเภอทา่ บอ่ นา่ อศั จรรยอ์ ยู่ไมน่ อ้ ย พอรุ่งเช้าอาการอาพาธของ
จังหวัดหนองคาย ซ่ึงเป็นวัดท่ีท่านจำพรรษา แต่ ท่านก็หายไปราวปลิดท้ิง ท่านจึงตั้งใจว่า ในปีต่อ
ขณะทกี่ ลบั มาถงึ ปรากฏวา่ กอ่ นหนา้ นน้ั พระอาจารย์ ไปจะจำพรรษาอยกู่ บั พระอาจารย์มั่นอีก
มั่น ออกเดินธุดงค์ไปท่ีตำบลหนองลาด อำเภอ พอเดอื น ๗ ปี พ.ศ. ๒๔๖๙ พระอาจารยฝ์ น้ั
วาริชภูมิ จังหวัดสกลนคร ท่านจึงได้ติดตามไป ไดเ้ ขา้ รว่ มทำญตั ตกิ รรมพระอาจารยเ์ กง่ิ อธมิ ตุ ตฺ โก
พอถึงอำเภอสว่างแดนดิน ท่านก็เกิดอาพาธข้ึน และพระอาจารยส์ ีลา อสิ สฺ โร พรอ้ มทงั้ พระภิกษทุ ่ี
*๑ ดูประวัติย่อ หน้า ๑๖๓ *๒ ดูประวัติย่อ หน้า ๑๖๔
156
ก. บ้านสามผง ตำบลสามผง อำเภอศรีสงคราม จงั หวดั นครพนม
ข. บา้ นดอกแดงคอกช้าง ตำบลบา้ นเสียว กง่ิ อำเภอนาหว้า จงั หวัดนครพนม
157
บรร๑ย ายบแรผเิ วนณทหข่ี นยอางยสามกผ
ง พระอาจารยม์ ่นั ได้
จัดสร้างอุทกุกเขปสีมา (โบสถ์น้ำ) ขึ้น
เพื่อทำการญัตติกรรม พระอาจารย์เก่ิง
พระอาจารยส์ ลี า และทา่ นอาญาครดู รี วมทง้ั
พระภิกษกุ ว่า ๒๐ รปู ในระหวา่ งกอ่ นเขา้
๒ พบรริรเวษณา บป้าี นพส.ศา.ม๒ผ๔ง ๖พ๙ร
ะอาจารย์มั่นได
้
จดั สรา้ งเสนาสนะ เปน็ สำนกั สงฆ์ จำพรรษา
ในปี พ.ศ. ๒๔๖๙ ปจั จบุ นั เปน็ วดั โพธชิ์ ยั
๓ วดั ศรีวชิ ยั บ้านศรีเวนิ ชยั พระอาจารยว์ งั
ฐิตฺ ิสาโร เป็นผู้สรา้ งวดั น้
ี
บรร๑ย ายบแรเิผวณนทปา่ขี่ บยา้ านยดอขน
แดงคอกชา้ ง พระอาจารย์
ฝน้ั ได้จดั สร้างเสนาสนะป่าเป็นสำนกั สงฆ์
ขน้ึ จำพรรษาในปี พ.ศ. ๒๔๖๙
(เปน็ พรรษาที่ ๒)
ระหว่างออกพรรษาปี พ.ศ. ๒๔๖๙
พระอาจารย์ม่ัน ได้นำศิษย์พระภิกษุและ
สามเณร ๗๐ กว่ารูปเดินทางจากบ้าน
สามผง มาพักอยู่ชั่วคราว ก่อนเดินทาง
เข้าสู่จังหวัดอุบลราชธานี การบิณฑบาต
จำเปน็ ตอ้ งแยกกนั ไปตามหมบู่ า้ น ระหวา่ ง
บา้ นเสียวกบั บ้านดอนแดงคอกช้าง
แม่น้ำศรีสงคราม อำเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม
เป็นศิษย์ของท่านท้ังสองอีกประมาณ ๒๐ องค์
มาพบ และขอร้องให้พระอาจารย์ม่ันไป
อีกด้วย ในจำนวนพระภิกษุที่มาทำการญัตติ มี จำพรรษาท่ีบ้านดอนแดงคอกช้าง แต
่
พระอาจารย์สิม พุทฺธาจาโร* ซ่ึงครั้งน้ันยังเป็น พระอาจารย์ม่ัน มีเหตุอันจำเป็นต้องขัดข้อง
สามเณรรวมอยู่ด้วยรูปหนึ่ง ท่ีอุทกุกเขปสีมา จึงให้พระอาจารย์กู่ พระอาจารย์ฝั้น และ
(โบสถ์น้ำ) หนองสามผง สำหรับโบสถ์น้ำที่ท่าน พระอาจารย์กว่า ไปจำพรรษาที่บ้านดอนแดง
จัดสรา้ งข้ึนน้ี ใช้เรือ ๒ ลำลอยเป็นโป๊ะ เอาไมพ้ นื้ คอกช้าง ตามที่ชาวบ้านปรารถนา ซึ่งนับ
ปูเป็นแพ แต่ไม่มีหลังคา เหตุท่ีสร้างโบสถ์น้ำทำ เปน็ พรรษาที่ ๒ ของพระอาจารยฝ์ ้ัน
สังฆกรรมคราวนี้ ก็เพราะในป่าจะหาโบสถ์ให้ถูก หลังจากออกพรรษาแล้ว พระอาจารย์มั่น
ตอ้ งตามพระวินยั ไมไ่ ด้ การทำญัตติกรรมครั้งน้ไี ด้ ได้เดินทางมาท่ีบ้านดอนแดงคอกช้าง พร้อมด้วย
อาราธนาทา่ นเจา้ คณุ พระธรรมเจดยี ์ (จมู พนธฺ โุ ล) พระภกิ ษสุ ามเณรประมาณ ๗๐ รูป และไดม้ ีการ
เมอ่ื ครง้ั เปน็ พระครชู โิ นวาทธำรง มาเปน็ พระอปุ ชั ฌาย์ ประชมุ หารอื กนั ในเรอื่ งทจ่ี ะไปเผยแพรธ่ รรมและไป
หลงั จากนน้ั อกี ๗ วนั ทา่ นอาญาครดู ี ซง่ึ เปน็ อาจารย์ โปรดเทศนาญาติโยมท่ีเมืองอุบล พร้อมกันน้ัน
ของพระอาจารย์ฝั้นมาก่อนก็เดินทางมาขอญัตติ กไ็ ดห้ ารอื ในการทจี่ ะใหโ้ ยมมารดาของพระอาจารยม์ นั่
อกี รปู หนงึ่ ณ ทีเ่ ดียวกันน
ี้ ย้ายไปอยู่ที่เมืองอุบลด้วย เม่ือตกลงกันแล้ว ก็
ก่อนเข้าพรรษาประมาณ ๗ วนั กำนนั ปฏบิ ตั ิไปตามน้นั
บา้ นดอนแดงคอกชา้ ง อำเภอทา่ อเุ ทน (ปจั จบุ นั เม่ือส่งโยมมารดาของพระอาจารย์มั่น ไป
อยู่ในก่ิงอำเภอนาหว้า) จังหวัดนครพนม อยู่เมืองอุบลแล้ว ก็แยกกันเดินทางออกเป็นหมู่ๆ
พร้อมด้วยลูกบ้านอีกจำนวนหน่ึง ซ่ึงเลื่อมใส สำหรับพระอาจารย์ฝั้นได้เดินทางออกจากบ้าน
ศรัทธาในคณะพระปฏิบัติสัทธรรมชุดนี้ได้เข้า ดอนแดงคอกชา้ งกบั พระอาจารยก์ ู่ พระอาจารยอ์ อ่ น
* ดูประวัติย่อ หน้า ๒๖๖
(ขวา) หมู่บ้านสามผง ตำบลสามผง อำเภอ
ศรีสงคราม จงั หวัดนครพนม
(ลา่ ง) ห้วยอูนตอนผ่านอำเภอศรีสงคราม
เ ป็ น แ ห ล่ ง น้ ำ ท่ี อุ ด ม ส ม บู ร ณ ์ ที่ สุ ด ใ น
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพราะชุกชุม
ดว้ ยปลานานาชนดิ
(บนสุด) หนองสามผง ซ่ึงได้จัดต้ังเป็นอุทกุกเขปสีมา ใน
การทำญตั ตกิ รรม
(ซ้าย) ศาลาวัดโพธิ์ชัย บ้านสามผง ซึ่งในปี พ.ศ. ๒๔๖๙
พระอาจารย์มัน่ ไดจ้ ดั ต้งั เปน็ สำนกั สงฆ์ข้ึน
(บน) พระอาจารย์แดง ฐิฺตวิริโย เจ้าอาวาสวัดโพธิ์ชัย
ในปจั จบุ ัน (เปน็ ภิกษุรปู หน่งึ ในจำนวน ๒๐ องค์ ซึ่ง
ไดท้ ำญัตตกิ รรม ใน พ.ศ. ๒๔๖๙)
(บน) ศาลาวดั ศรวี ชิ ัย บา้ นศรีเวินชัย อำเภอศรสี งคราม จังหวัดนครพนม ซงึ่ พระอาจารย์วัง ฐติฺ สิ าโร เปน็ ผู้สรา้ ง
(ล่าง) บรเิ วณป่า บ้านดอนแดงคอกชา้ ง ซึ่งพระอาจารย์ฝั้น ได้สรา้ งเสนาสนะป่า ข้ึนเป็นสำนกั สงฆ์ เพ่ือจำพรรษา ในปี พ.ศ. ๒๔๖๙
162
(ซ้าย) หม่บู า้ นดอนแดงคอกช้าง
(บน) หมบู่ ้านเสียว
(ลา่ ง) ผเู้ ฒา่ คนหนง่ึ ของหมบู่ า้ นดอนแดงคอกชา้ ง ไดช้ ส้ี ถานท่ี
ซ่ึงเดิมเป็นกุฏิของพระอาจารย์ฝ้ัน เม่ือครั้งจำพรรษา
ในปี พ.ศ. ๒๔๖๙
163
การอุปสมบท ได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุฝ่ายมหานิกาย ท่ีวัดโพธิ์ชัย บ้าน
สามผง ตำบลสามผง อำเภอศรสี งคราม จังหวัดนครพนม เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๕๐
มพี ระอาจารยค์ ำดี เปน็ พระอปุ ชั ฌาย์ พระอาจารยส์ าย เปน็ พระกรรมวาจาจารย์
การจาริกเพือ่ ศึกษาธรรมปฏิบตั ิ พ.ศ. ๒๔๖๙ ได้จารกิ ไปยังถนิ่ ตา่ งๆ เพื่อ
แสวงหาอาจารย์แนะแนวทางปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน เมื่อได้ทราบข่าวว่า
พระอาจารยม์ ัน่ ซึง่ เป็นอาจารยใ์ หญฝ่ ่ายวิปสั สนาธุระทีม่ ีชื่อเสยี ง มาวเิ วกและ
เผยแพรธ่ รรมแก่ชาวบ้าน ทีบ่ ้านหนองลาด อำเภอวาริชภูมิ จังหวัดสกลนคร
จึงได้ชกั ชวน พระอาจารยส์ ีลา ติสสฺ โร ไปพบ เมื่อไดฟ้ ังธรรมเทศนาพรอ้ มทั้ง
เฝ้าดูข้อวัตรปฏิบัติของท่านอาจารย์มั่นอย่างใกล้ชิดแล้วก็เกิดความเล่ือมใส
จึงได้อาราธนาท่านไปจำพรรษาท่ี เสนาสนะป่าบ้านสามผง (วัดโพธิ์ชัยใน
ปจั จบุ นั )
พระอาจารยเ์ กง่ิ อธมิ ตุ ตฺ โก
การขอญตั ติ วนั ที่ ๑๙ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๔๖๙ ได้ขอญัตติ เปน็ พระภกิ ษุ
ธรรมยุติกนิกายโดยมี เจ้าคุณพระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล) เมื่อครั้งเป็น
นามเดิม เก่งิ ทันธรรม
พระครูชิโนวาทธำรง เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม เป็น
บดิ า ทัน ทันธรรม
พระกรรมวาจาจารย์ พระอาจารยม์ หาปน่ิ ปญญฺ าฺ พโล เปน็ พระอนสุ าวนาจารย์
มารดา หนูมน่ั ทันธรรม
และทา่ นพระอาจารยม์ นั่ นงั่ หตั ถบาสรว่ มอยดู่ ว้ ย ณ อทุ กกุ เขปสมี า (โบสถน์ ำ้ )
เกิด เปน็ บุตรคนท่ี ๓
หนองสามผง บา้ นสามผง
วันอาทิตย์ที่ ๓๐ ตุลาคม พ.ศ. มรณภาพ เม่ือ ๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๘ ด้วยโรคกระเพาะและลำไส้
๒๔๓๐ ที่บ้านสามผง ตำบลสามผง อำเภอ เร้อื รัง ท่ศี าลาการเปรียญ วัดโพธิช์ ยั บ้านสามผง อำเภอศรีสงคราม จังหวดั
ศรีสงคราม จงั หวดั นครพนม
นครพนม รวมอายไุ ด้ ๗๘ ป
ี
พระอาจารยก์ วา่ และพระเณรอีก ๒-๓ รูป เดนิ แล้ววกมาถามพวกศิษย์อย่างเราๆ บ้างว่าจะ
ธุดงค์ไปตามป่าเขา ผ่านบ้านตาน บ้านนาหว้า เก่งเหมือนพระอาจารย์ม่ันหรือไม่ประการใด
บา้ นนางวั -บา้ นโพธส์ิ วา่ ง จนถงึ บา้ นเชยี งเครอื แลว้ พวกศิษย์อย่างเราจะตอบปัญหาได้หรือไม่ก็
พกั อยทู่ สี่ กลนคร ๗ วัน จงึ ออกเดนิ ธดุ งคไ์ ปทาง ไมท่ ราบ พระอาจารยฝ์ น้ั ไดก้ ลา่ ววา่ จะไปกลวั
อำเภอนาแก ลัดป่าข้ามภูเขาไปยังบ้านห้วยทราย ทำไมในเรอื่ งนี้ ธรรมทง้ั หลายเกดิ ขนึ้ ทใ่ี จ รวม
อำเภอคำชะอี จงั หวัดนครพนม แลว้ เดนิ ธดุ งค์เขา้ อยทู่ ่ใี จ พวกเราร้จู ุดรวมของธรรมทงั้ หลายอยู่
สู่เขตเมอื งอุบล
แล้ว ตอบเขาไปวันยังค่ำก็ไม่มีอับจน เร่ืองนี้
ไม่ต้องวิตก พระอาจารย์อ่อนได้ฟังดังน้ันก็
ระหวา่ งเดนิ ธดุ งคร์ ว่ มกนั มา พระอาจารย์ เกิดกำลังใจหายวิตกไปได้
อ่อนเกิดความวิตกและกล่าวขึ้นว่า เมื่อไปพบ
กับพระอาจารย์มั่นท่ีเมืองอุบลแล้ว ท่ีนั่นมี ท้ังหมดเดินธุดงค์ไปถึงบ้านหัววัว ตำบล
พวกญาติโยมท่ีเล่าเรียนพระปริยัติธรรมจน กำแมด เมอื งอบุ ล (ปจั จบุ นั อยอู่ ำเภอกดุ ชมุ จงั หวดั
แตกฉานเป็นปราชญ์อยู่มาก ถ้าโยมเหล่าน้ัน ยโสธร) กพ็ บพระอาจารยม์ นั่ คอยอยทู่ นี่ น่ั กอ่ นแลว้
ตั้งปัญหาธรรมต่างๆ พระอาจารย์ม่ันคงต้อง เมอ่ื ศษิ ยท์ งั้ หลายตามมาครบทกุ ชดุ กเ็ ดนิ ธดุ งคต์ อ่ ไป
ตอบไดไ้ ม่ติดไม่คา แตถ่ ้าถามพระอาจารยม์ ่ัน จนกระทงั่ ไปพกั ทบี่ า้ นหวั ตะพาน อำเภออำนาจเจรญิ
164
จังหวัดอุบลราชธานี แต่พระอาจารย์มั่น แยกไป ยงั คงใสบ่ าตรกนั อยเู่ ปน็ ปกติ นายอำเภอทราบเรอ่ื ง
พักท่ีบ้านหนองขอน ห่างจากบ้านหัวตะพาน ไป จงึ ไปพบพระภกิ ษคุ ณะนอ้ี กี ครง้ั แลว้ แจง้ วา่ มาในนาม
ประมาณ ๕๐ เส้น โดยพระอาจารย์ฝน้ั ติดตามไป ของจงั หวดั ทางจงั หวดั สง่ ใหม้ าขบั ไล่ พระอาจารย์
จดั เสนาสนะถวาย
สิงห์ ซึ่งเป็นคนจังหวัดอุบลฯ ได้ตอบโต้ไปว่า
ระหวา่ งนนั้ สมเดจ็ พระมหาวรี วงศ*์ (อว้ น ท่านเกิดท่ีนี่ก็ควรจะอยู่ที่นี่ได้ นายอำเภอไม่ยอม
ตสิ โฺ ส) เมอื่ ครงั้ ดำรงตำแหนง่ เปน็ พระโพธวิ งศาจารย์ พระอาจารย์ฝั้นก็ได้ช่วยพูดขอร้องให้มีการผ่อนส้ัน
เจ้าคณะมณฑลและเจ้าคณะธรรมยุตในภาคอีสาน ผ่อนยาวกันบ้าง แต่นายอำเภอก็ไม่ยอมท่าเดียว
ทราบขา่ ววา่ คณะพระกมั มฏั ฐานของพระอาจารยม์ นั่ จากน้ันก็จดช่ือพระกัมมัฏฐานไว้ทุกองค์ รวมท้ัง
เดนิ ทางมาพกั อยทู่ บ่ี า้ นหวั ตะพาน จงึ สง่ั ใหเ้ จา้ คณะ พระอาจารย์มั่น พระอาจารย์สิงห์ พระอาจารย์
แขวงอำเภอม่วงสามสิบกับเจ้าคณะ แขวงอำเภอ มหาป่ิน พระอาจารย์เท่ียง พระอาจารย์อ่อน
อำนาจเจรญิ พรอ้ มดว้ ยนายอำเภออำนาจเจรญิ ไป พระอาจารย์ฝ้นั พระอาจารยเ์ กงิ่ พระอาจารยส์ ลี า
ทำการขบั ไล่พระภิกษคุ ณะน้ีออกไปใหห้ มด ทงั้ ยัง ฯลฯ จนหมด แม้กระท่ังนามโยมบิดามารดา
ได้ประกาศด้วยว่า ถ้าผู้ใดใส่บาตรพระกัมมัฏฐาน สถานทีเ่ กิด วัดทบี่ วช ทง้ั หมดมีพระภกิ ษสุ ามเณร
เหล่านี้จะจับใสค่ กุ ให้หมดส้ิน แต่ชาวบา้ นกไ็ มก่ ลัว กวา่ ๕๐ รปู และพวกลูกศษิ ยผ์ ้าขาวอกี มากรว่ ม
การอุปสมบท ได้อุปสมบท เป็นพระภิกษฝุ า่ ยมหานิกาย ทวี่ ดั โพธช์ิ ัย ตำบล
วาใหญ่ อำเภอวานรนิวาส จงั หวดั สกลนคร เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๒
มีพระครูหลักคำ เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูศรีธรรมา เป็นพระ
กรรมวาจาจารย์
การจาริกเพ่ือศึกษาธรรมปฏิบัติ ต่อมาได้พบอาจารย์เก่ิง อธิมุตฺตโก ซ่ึงมี
พรรษาแกก่ ว่า และไดเ้ ปน็ สหธรรมมิก อยูร่ ว่ มศกึ ษาสำนักเดยี วกันตลอดมา
พ.ศ. ๒๔๖๙ พระอาจารยเ์ กงิ่ อธมิ ตุ ตฺ โก ไดช้ กั ชวนไปพบพระอาจารยม์ นั่
ที่เสนาสนะป่า บ้านหนองลาด อำเภอวาริชภูมิ จังหวัดสกลนคร ได้บังเกิด
ความเลือ่ มใส จึงไดต้ ิดตามพระอาจารย์ม่ัน ไปบา้ นสามผง ดว้ ย
การขอญัตติ เมอ่ื ๒๒ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๔๖๙ ไดต้ กลงใจญัตตเิ ป็นพระภกิ ษุ
ธรรมยุติกนิกาย ณ อุทกุกเขปสีมา (โบสถ์น้ำ) ท่ีหนองสามผง บ้านสามผง
พระอาจารย์สีลา อิสฺสโร
โดยมเี จา้ คณุ พระธรรมเจดยี ์ (จูม พนฺธุโล) เม่ือครงั้ เปน็ พระครชู โิ นวาทธำรง
เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม เป็นพระกรรมวาจาจารย์
นามเดิม สีลา กรมแสนพิมพ
์ พระอาจารยม์ หาปนิ่ ปญญฺ าฺ พโล เปน็ พระอนสุ าวนาจารย์ และมพี ระอาจารยม์ นั่
บดิ า จันทรชมภู กรมแสนพมิ พ์
น่งั หตั ถบาส รว่ มอย่ดู ้วย
มารดา บัวทอง กรมแสนพมิ พ
์
เกดิ เป็นบุตรคนโต ที่บ้านวาใหญ่ ตำบล
มรณภาพ เม่ือ ๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๑๐ ด้วยโรคปอด ณ โรงพยาบาล
วาใหญ่ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร จังหวดั สกลนคร รวมอายไุ ด้ ๘๑ป
ี
เม่อื วนั ที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๒๙
* ดูประวัติย่อ หน้า ๒๑๑
บรรยายแผนท่ี
ในปี พ.ศ. ๒๔๖๙ พระอาจารยม์ นั่ ไดน้ ำคณะศษิ ยพ์ ระภกิ ษแุ ละสามเณรจากบา้ นดอนแดงคอกชา้ ง
ไปเผยแพรพ่ ระพทุ ธศาสนา ฝา่ ยวปิ สั สนาธรุ ะในทอ้ งทจี่ งั หวดั อบุ ลราชธาน
ี
๑ บา้ นหัววัว ตำบลกำแมด อำเภอกุดชมุ (ปัจจุบนั ขน้ึ อยใู่ นเขตจงั หวัดยโสธร) ซง่ึ เป็นสถานทน่ี ดั หมายให้
คณะศิษย์ที่เดินทางมาจากบ้านดอนแดงคอกชา้ ง ไดพ้ บกนั กอ่ นท่ีจะเขา้ สู่จงั หวดั อุบลราชธานี
๒ บา้ นน้ำปลกี ซง่ึ พระอาจารยเ์ กงิ่ และพระอาจารย์สลี าไดอ้ ย่จู ำพรรษา
๓ บ้านหัวตะพาน ซง่ึ พระอาจารย์ออ่ น อยจู่ ำพรรษา
๔ บ้านหนองขอน ซึ่งพระอาจารย์มั่น อยู่จำพรรษา
๕ บ้านบอ่ ชะเนง ซ่ึงพระอาจารย์กู่ พระอาจารยฝ์ ้นั และพระอาจารยก์ วา่ อยจู่ ำพรรษา
166
บ้านบอ่ ชะเนง อำเภอหวั ตะพาน จงั หวดั อุบลราชธานี
ทพ่ี ระอาจารย์ฝัน้ ไดจ้ ำพรรษาอยู่ ในปี พ.ศ. ๒๔๖๙
ร้อยคน นายอำเภอต้องใช้เวลาจดต้ังแต่กลางวัน “แผน่ ดินตรงนน้ั ขาด”
จนถงึ สองยามจึงเสรจ็ ตง้ั หน้า ตงั้ ตาจดจนกระทั่ง คือแยกออกจากกันเป็นสองข้าง ข้างโน้นก็
ไมไ่ ดก้ นิ ขา้ วเท่ยี ง เสร็จแลว้ กก็ ลบั ไป
มาไมไ่ ด้ ข้างนีก้ ็ไปไม่ได้ พอดสี วา่ ง พระอาจารย์
ฝัน้ จึงเล่าเรือ่ งท่นี ิมิตให้พระอาจารยม์ นั่ ฟงั
ทางฝา่ ยพระอาจารย์ กป็ ระชมุ ปรกึ ษากนั วา่
ทำอย่างไรดีเรื่องนี้จึงจะสงบลงได้ ไม่ลุกลามออก เช้าวันนั้นเอง พระอาจารย์มหาปิ่น กับ
พระอาจารย์ออ่ น ได้ออกเดนิ ทางไปจังหวดั อุบล
ไปเป็นเรื่องใหญ่ ในที่สุดก็ได้มอบให้พระอาจารย์ เพ่ือพบกับเจา้ คณะจงั หวัด เจา้ คณะจังหวดั ชแ้ี จง
มหาป่ิน พระอาจารย์อ่อน และพระอาจารย์ฝ้ัน
รบั เรอ่ื งไปพิจารณาแก้ไข
เสร็จการปรกึ ษาหารือแลว้ พระอาจารยฝ์ ัน้ ว่าท่านไม่ได้รู้เรื่องอะไรเลย จากน้ันได้ให้นำ
ก็รีบเดินทางไปพบพระอาจารย์ม่ัน ที่บ้านหนอง จดหมายไปบอกนายอำเภอวา่ ทา่ นไมไ่ ดเ้ กยี่ วขอ้ ง
ขอน ซง่ึ อย่หู า่ งออกไป ๕๐ เสน้ พระอาจารยม์ ่ัน เรอื่ งยุง่ ยากทั้งหลายจึงไดย้ ุตลิ ง
ทราบเร่ืองจึงให้พระอาจารย์ฝ้ันนั่งพิจารณา พอ เมอื่ ผา่ นพน้ เรอ่ื งนน้ั ไปดว้ ยดแี ลว้ พระอาจารย์
กำหนดจิตเป็นสมาธแิ ล้วปรากฏเปน็ นมิ ติ วา่
ฝั้น ได้กราบลาพระอาจารย์ม่ันออกธุดงค์ ย้อน
167
กลับไปเยีย่ ม พระอาจารยด์ ี ฉนฺโน ที่บา้ นกดุ แห่ เข้าไปป่าวรอ้ งในหมู่บา้ น ให้บรรดาญาตโิ ยมไปฟัง
ตำบลกุดเชียงหมี อำเภอเลิงนกทา (ปัจจุบันข้ึน ธรรมโอวาทของพระอาจารยฝ์ นั้ ท่วี ดั ในตอนคำ่
อยู่กบั จงั หวดั ยโสธร)
ถงึ เวลานดั ญาตโิ ยมทงั้ หลายกห็ ลงั่ ไหล
พระอาจารย์ดี ตอ้ นรบั ขับสู้พระอาจารย์ฝ้นั เขา้ ไปในวดั เรม่ิ แรกพระอาจารยฝ์ นั้ ใหญ้ าตโิ ยม
เหล่าน้ันยึดพระไตรสรณคมน์เป็นที่พ่ึง เม่ือ
อย่างแข็งขัน จากการถามทกุ ข์สขุ พระอาจารย์ดี บูชาคุณพระรัตนตรัยแล้ว ท่านได้เริ่มเทศนา
ไดแ้ สดงความวติ กกงั วลตอ่ พระอาจารยฝ์ นั้ เรอ่ื งหนงึ่ ให้รู้จักแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ด้วยตนเอง
วา่ ทา่ นไดส้ อนธรรมขอ้ ปฏบิ ตั ใิ หญ้ าตโิ ยมทง้ั หลาย เม่ือญาติโยมเข้าใจวิธีแก้แล้ว ท่านจึงนำเข้าท่ี
ไปแล้ว แต่ญาติโยมบางคนเม่ือปฏิบัติแล้วได้เกิด ภาวนา เม่ือเห็นผู้ใดกำหนดจิตไม่ถูกต้อง
วปิ สั สนปู กเิ ลส* มอี นั เปน็ ไปตา่ งๆ บางพวกออกจาก ท่านก็เตือน ขณะเดียวกันท่านก็กำหนดจิต
การภาวนาเดินไปถึงสี่แยก เกิดเข้าใจเอาว่าเป็น ติดตามกำกับจิตของญาติโยมเหล่าน้ันไป
ทางเดินของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และ
เรอ่ื ยๆ ญาตโิ ยมทีเ่ คยกำหนดจิตหลงทางต่าง
พระอรหันต์เจ้า พวกน้ีจะพากันคุกเข่ากราบไหว้ ก็กลับมาเดินถูกทางไปท้ังหมด พอเลิกจาก
อยู่ท่ีน่ันเป็นเวลานานจึงได้ลุกเดินไปบ้าง พอไป การภาวนา ต่างก็สาธุการ และแซ่ซ้องยินดี
ถึงส่ีแยกหน้าก็เข้าใจผิดและปฏิบัติเช่นน้ีอีกเรื่อยๆ โดยท่ัวกัน พากันกราบไหว้เคารพว่า ท่าน
บางคนลกุ จากภาวนาไดก้ ถ็ อดผา้ นงุ่ ผา้ หม่ ออกหมด อาจารย์ช่างเข้าใจวิธีแก้ได้เก่งมาก หากไม่
เดินฝ่าญาติโยมท่ีนั่งภาวนาอยู่ด้วยกัน จนเกิด ได้ทา่ นพวกเขาอาจถึงกับเสยี จรติ ไปก็ได
้
โกลาหลกันยกใหญ่ มีญาติโยมบางคนกราบไหว้
พระอาจารย์ดี ให้ท่านไปช่วยแก้ไขให้ ท่านก็มิร
ู้
จะแก้ได้อย่างไร เป็นเหตุให้กระวนกระวายใจมา พระอาจารยฝ์ น้ั กไ็ ดน้ ำพวกญาตโิ ยมภาวนา
เกือบปีแล้ว จึงขอความกรุณาให้พระอาจารย์ฝั้น ตดิ ตอ่ ไปถงึ ๔-๕ คนื เมอื่ เหน็ วา่ ตา่ งกเ็ ดนิ ถกู ทาง
ชว่ ยแกไ้ ขใหด้ ว้ ย พระอาจารยฝ์ น้ั ตรองหาทางแกไ้ ข กันแล้ว ท่านก็กลับมากราบเรียนพระอาจารย์มั่น
อยู่ไม่นานนักก็รับปาก พระอาจารย์ดีจึงให้เณร ทบี่ ้านหนองขอน ให้ทราบเรื่องราวทีไ่ ด้ปฏบิ ตั ิไป
* วปิ สั สนปู กเิ ลส ๑๐ คือเครอื่ งเศร้าหมองของวิปัสสนาซ่ึงจะเกดิ ขน้ึ ในขณะเร่ิมญาณท่ี ๔ คอื อุทยพั พยญาณอยา่ งออ่ นๆ มชี ่ือเรียก
ว่า ตรณุ อุทยพั พยญาณ วิปสั สนปู กิเลสมี ๑๐ อยา่ ง ได้แก่
๑. โอภาส มีแสงสว่างรุ่งโรจน์แรงกล้า สว่างกว่าแต่กาลก่อน ๒. ปีติ อ่ิมใจเป็นอย่างยิ่งกว่าท่ีได้เคยพบเห็นมา ๓. ปัสสิทธิ
จิตสงบเยือกเย็นมาก ๔. อธิโมกข์ น้อมใจเช่ือเลื่อมใสอย่างเด็ดขาด ปัญญาก็เกิดได้ยาก ๕. ปัคคาหะ พากเพียรอย่างแรงกล้า
๖. สุข มคี วามสุขสบายเหลือเกิน ชวนให้ตดิ สขุ เสยี ๗. ญาณ มปี ัญญามากไป จะทำใหเ้ สยี ปัจจุบนั ๘. อปุ ฏั ฐาน ตั้งมัน่ ใน
อารมณ์รูปนามเกินไป ทำให้ปรากฏนิมิตต่างๆ ๙. อุเปกขา วางเฉยมาก เป็นเหตุให้หย่อนความเพียร ๑๐. นิกันติ ชอบใจใน
อปุ กเิ ลส ๙ อยา่ งข้างบนน้ัน
วิปสั สนูปกเิ ลส จะไมเ่ กิดแกบ่ คุ คล ๓ จำพวก คอื
๑. พระอริยบุคคล เพราะได้เคยดำเนินในทางทีถ่ ูกแล้ว ๒. ผู้ปฎิบตั ิผดิ จากทางวปิ ัสสนา ๓. ผู้มีความเพียรอ่อน เพราะผู้ท่ีมีความ
เพยี รอย่างแรงกลา้ เทา่ น้นั จึงจะเกดิ วปิ สั สนูปกิเลส
168
พระอาจารยฝ์ นั้ ตง้ั ใจไวว้ า่ ในปนี จ้ี ะจำพรรษา
ร่วมกับพระอาจารย์ม่ันต่อไปอีก ขณะเดียวกัน
ทา่ นอาจารยก์ กู่ ไ็ ปจำพรรษาทบี่ า้ นบอ่ ชะเนง อำเภอ
เดยี วกนั ระยะนนั้ ปรากฏวา่ ฝนตกชกุ มาก พระภกิ ษุ
ประสบอุปสรรคไม่อาจไปร่วมทำอุโบสถได้สะดวก
โดยเฉพาะทบ่ี า้ นบอ่ ชะเนง ไมม่ พี ระสวดปาตโิ มกขไ์ ด้
พระอาจารย์มั่นจึงได้ส่ังให้พระอาจารย์ฝั้นซ่ึงสวด
ปาฏิโมกข์ได้ ไปจำพรรษาเพ่ือช่วยพระอาจารย์กู่
ท่บี ้านบ่อชะเนง
ในระหว่างพรรษาท่ีบ้านบ่อชะเนง พระ
อุปัชฌาย์ลุย เจ้าคณะตำบลบ้านเค็งใหญ่ได้ทราบ
ว่าพระอาจารย์กู่ และพระอาจารย์ฝ้ันมาสร้างเสนา
สนะป่าเป็นสำนักสงฆ์ข้ึนในเขตตำบลของท่าน
จึงเดินทางไปขับไล่ เพราะไม่ชอบพระกัมมัฏฐาน
(บน) พระอาจารย์คำอุ่น (ศิษย์ในสายพระอาจารย์มั่น)
เจ้าอาวาสวดั ปา่ สนั ตธิ รรม บ้านบอ่ ชะเนง
(ล่าง) กฏุ สิ งฆ์วดั ป่าสันตธิ รรม บา้ นบ่อชะเนง
169
พระอุปัชฌาย์ลุยปรารภข้ึนว่า ผมมาท่ีนี่เพื่อไล่ พระอาจารย์อ่อน ญฺาณสิร
ิ
พวกท่าน และจะไม่ให้มีพระกัมมัฏฐานอยู่ในเขต
ตำบลนี้ ทา่ นจะวา่ อยา่ งไร พระอาจารยฝ์ น้ั ตอบไปวา่
ท่านมาขับไล่ก็ดีแล้ว กัมมัฏฐานนั้น ได้แก่อะไร นามเดมิ
ไดแ้ ก่ เกสา คือผม โลมา คือขน นะขา คือเล็บ ออ่ น กาญวิบลู ย์
ทนั ตา คือฟัน และตะโจ คอื หนงั ท่านเจา้ คณะก็ บดิ า
เป็นพระอุปัชฌาย์ด้วย ได้สอนกัมมัฏฐานแก่พวก เมอื งกลาง กาญวบิ ูลย์
กุลบุตรท่ีเข้ามาบวชเรียนเป็นศิษย์ของท่าน ท่านก็ มารดา
คงสอนกัมมัฏฐานอย่างนี้ให้เขาไม่ใช่หรือขอรับ บญุ มา กาญวิบูลย์
แล้วท่านจะมาขับไล่กัมมัฏฐานด้วยวิธีใดกันล่ะ เกดิ
เกสา-โลมา ท่านจะไล่ด้วยวิธีต้มน้ำร้อนลวกแบบ เปน็ บตุ รคนท่ี ๘
ฆ่าเป็ดฆ่าไก่ แล้วเอาคีมเอาแหนบมาถอนเช่นน้ี ในจำนวน ๑๐ คน
หรอื ? ส่วนนะขา-ทันตา-และตะโจ ท่านจะไลด่ ้วย
การเอาฆ้อนตีตะปูตีเอากระนั้นหรือไร? ถ้าจะไล่ ที่บ้านดอนเงิน ตำบลแชแล อำเภอกุมภวาปี
กัมมฏั ฐานแบบนก้ี ระผมกย็ นิ ดีใหไ้ ลน่ ะขอรับ
จังหวดั อุดรธานี วันอังคาร เดือน ๗ ปขี าล พ.ศ. ๒๔๔๕
พระอุปัชฌาย์ลุยได้ฟังก็โกรธมาก พูด การบรรพชาและอปุ สมบท เมอ่ื อายุ ๑๖ ปี ไดบ้ รรพชา
อะไรไม่ออก ควา้ ย่ามลงจากกฏุ ไิ ปเลย
เปน็ สามเณรทว่ี ดั เกาะเกตุ บา้ นเมอื งเกา่ อำเภอกมุ ภวาปี
จงั หวัดอุดรธานี
ระหว่างจำพรรษาปีนั้น พระอาจารย์กู่กับ ครัน้ เมื่ออายุครบบวช กไ็ ด้อุปสมบทเป็นพระภกิ ษ
ุ
พระอาจารย์ฝั้น ได้เทศนาสั่งสอนพวกญาติโยม ฝ่ายมหานิกาย ณ วัดปะโค อำเภอกุมภวาปี จังหวัด
บ้านบ่อชะเนงและบ้านอื่นๆ ใกล้เคียงมาตลอด อุดรธานี เมื่อเดือน ๗ แรม ๑๑ ค่ำ ปีระกา ตรงกับ
ผู้คนต่างก็เลื่อมใสในปฏิปทาของท่านทั้งสองเป็น พ.ศ. ๒๔๖๔ โดยมีพระอาจารย์จันทา เจ้าคณะอำเภอ
อย่างมาก ถึงกับให้ลูกชายลูกสาว บวชเป็นพระ กมุ ภวาปีเปน็ พระอปุ ัชฌาย์
เปน็ เณร และเป็นแมช่ กี ันอยา่ งมากมาย
การจาริกเพื่อศึกษาธรรมปฏิบัติ ใน พ.ศ. ๒๔๖๕
เมอ่ื ออกพรรษาแลว้ พระอาจารยม์ นั่ ไดพ้ า ได้เดินธุดงค์ไปจนถึงอำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย
พระภกิ ษสุ ามเณร มาทบี่ า้ นบอ่ ชะเนง แลว้ ปรกึ ษา และได้เข้าศึกษาปฏิบัติกัมมัฏฐาน กับพระอาจารย์สุวรรณ
หารือกันในอันที่จะเดินทางเข้าตัวจังหวัดอุบลฯ เปน็ เบือ้ งต้น
เพื่อเทศนาสั่งสอนประชาชนตลอดจนญาติโยม
พ.ศ. ๒๔๖๖ ไดถ้ วายตวั เปน็ ศษิ ยข์ องพระอาจารย์
ท่ีศรัทธาตอ่ ไป
เสาร์ และพระอาจารย์มั่น ที่วัดบ้านค้อ อำเภอบ้านผือ
จังหวัดอุดรธานี ณ ท่ีนี้ได้พบกับ พระอาจารย์ฝั้นเป็น
ครง้ั แรก
การขอญัตติ เมอ่ื เดือน ๓ ข้ึน ๑ คำ่ ปีชวด ตรงกบั
พ.ศ. ๒๔๖๗ ได้ญัตติ เป็นพระภิกษุธรรมยุติกนิกาย
ณ วัดโพธิสมภรณ์ จังหวัดอุดรธานี โดยมีเจ้าคุณ
พระธรรมเจดยี ์ (จมู พนธฺ โุ ล) เมอ่ื ครงั้ ยงั เปน็ พระอปุ ชั ฌาย์
ท่านพระครูอดิศัยฯ (อดีตเจ้าคณะจังหวัดเลย) เป็น
พระกรรมวาจาจารย์
ปัจจุบัน พระอาจารย์อ่อน ญฺาณสิริ จำพรรษาอยู่ท่ีวัด
ป่านิโครธาราม บ้านหนองบัวบาน ตำบลหมากหญ้า
อำเภอหนองววั ซอ จงั หวัดอุดรธาน
ี
171
หนองสูง อำเภอคำชะอี จังหวัดนครพนม
บรรยายแผนที
่
¥ หนองนอ่ ง บา้ นห้วยทราย อำเภอคำชะอี จงั หวัดนครพนม
ใน พ.ศ. ๒๔๖๔ พระอาจารย์ม่ันไดม้ าจำพรรษาอยู่
ใน พ.ศ. ๒๔๗๑ พระอาจารยฝ์ นั้ ได้มาจำพรรษาอยู่
๑ หมู่บ้านคำบก ท่ีพระอาจารย์ฝั้นได้ธุดงค์มาพร้อมกับพระอาจารย์ดูลย์ เพ่ือตามหาพระอาจารย์ม่ัน
ในปี พ.ศ. ๒๔๖๓
๒ หมบู่ า้ นบาก
๓ หมบู่ า้ นหว้ ยทราย ซง่ึ พระอาจารยฝ์ น้ั ไดอ้ าศยั บณิ ฑบาตระหวา่ งจำพรรษาในปี พ.ศ. ๒๔๗๑
๔ หมู่บา้ นหนองสงู ท่านอาจารยฝ์ ้นั ไดธ้ ุดงค์มา หลงั จากออกพรรษา ในปี พ.ศ. ๒๔๗๐
๕ ถำ้ จำปา ท่ที า่ นอาจารย์ฝนั้ ได้พักบำเพ็ญภาวนาอยเู่ ป็นเวลา ๒๐ วัน เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๐
(ตรงลูกศรช้ี) ถ้ำจำปา บา้ นหนองสูง
เม่ือนัดหมายกันแล้ว พระอาจารย์ฝ้ัน
มีถ้ำอยู่แห่งหน่ึง ชื่อถ้ำจำปา ท่านจึงให้พาไป
ได้เดินทางร่วมกับพระอาจารย์มั่นไปก่อน พักท่
ี ครนั้ พอไปถงึ หนองนำ้ ใหญแ่ หง่ หนงึ่ กพ็ ากนั หยดุ พกั
วัดสทุ ศั น์ ๒ คนื วดั เลียบ ๒ คนื แลว้ พักอย่ทู ่ี
พอหายเหนื่อย ก็พากนั เดนิ ทางตอ่ ไป เมื่อเดนิ ไป
วัดบูรพาอีก ๑๐ คืน ระหว่างพักอยู่ท่ีวัดบูรพา ไดพ้ ักใหญก่ ย็ งั ไมถ่ งึ สักที โยมชกั ละล้าละลงั แลว้
พระอาจารยม์ ่ัน ได้พาโยมมารดาจากอบุ ลฯ ไปอยู่ ก็บอกวา่ ถา้ จะเลยมาเสียแล้ว จงึ ไดพ้ ากันเดินย้อน
บา้ นบอ่ ชะเนง ตามทตี่ งั้ ใจไวแ้ ตต่ น้ เมอ่ื จดั หาทพี่ กั กลบั มาทหี่ นองนำ้ ใหม่ ไดเ้ ดนิ กลบั ไปกลบั มาเชน่ น้ี
ใหโ้ ยมมารดาเรยี บรอ้ ยแลว้ กม็ อบใหพ้ ระอาจารยอ์ นุ่ อยู่สองเท่ียว โดยวกไปเวียนมา ในท่ีสุดก็กลับมา
รับภาระดูแลโยมมารดาต่อไป
ท่เี ก่าทุกคราว โยมท่ีนำมาบอกว่าไม่ใช่ทีเ่ กา่ ท่าน
ออกพรรษาคร้ังน้ี พระอาจารย์ฝ้ัน พร้อม จงึ ไดช้ น้ี ำ้ หมาก ทที่ า่ นไดบ้ ว้ นไวต้ อนหยดุ พกั เหนอื่ ย
ด้วยพระภกิ ษสุ ามเณร ๓ รูป และลูกศษิ ย์ผ้าขาว เมอื่ สักครนู่ ใ้ี หด้ ู โยมคนนัน้ จึงได้ยอมจำนน แล้วก็
๒ คน ไดล้ าพระอาจารยม์ นั่ ออกเทย่ี วธดุ งคไ์ ปตาม ไดพ้ ากนั เดนิ หาตอ่ ไป ในทสี่ ดุ กพ็ บถำ้ จำปาเอาเมอ่ื
ป่าเขาจนกระท่ังไปถึงบา้ นหนองสูง อำเภอคำชะอี เวลาประมาณ ๕ โมงเย็น ต่างก็เข้าไปดูสภาพ
จังหวัดนครพนม ขณะเสาะหาสถานท่ีบำเพ็ญ ภายในถ้ำ และจัดเตรียมทีท่ ี่จะพกั กนั ตอ่ ไป
ภาวนาอยนู่ น้ั โยมผ้หู นึง่ ได้แจง้ แกท่ า่ นว่าละแวกน้ี
173
พระอาจารย์ฝ้ัน ได้ถามโยมผู้น้ันอีกว่า
หมู่บ้านอยู่ที่ไหน เพ่ือจะทราบท่ีบิณฑบาต และ
บริเวณนี้จะหาน้ำได้ที่ไหน โยมตอบว่าหมู่บ้าน
ไมร่ ูเ้ หมือนกนั วา่ อย่ตู รงไหนแน่ ส่วนน้ำอยใู่ ตถ้ ำ้
คนื นนั้ ในขณะที่ท่านได้น่งั สมาธอิ ยู่ ไดน้ มิ ติ
เห็นทางคนเดิน และได้ยินเสียงวัวร้อง ท่านจึงได้
มองตามทางสายน้ันไปเร่ือยๆ จนได้ระยะจากถ้ำ
ประมาณ ๒๐๐ เส้น จึงเห็นโรงนาหลังหน่ึงและ
ทางเขา้ หมบู่ า้ นอยใู่ กลๆ้ ในตอนเชา้ วนั รงุ่ ขน้ึ ทา่ น
พรอ้ มดว้ ย พระ เณร และลกู ศษิ ยผ์ า้ ขาวคนหนง่ึ ได้
ออกบิณฑบาต โดยตัวท่านเองเดินนำไปตามทาง
ปรากฏว่าระหว่างทางเป็นป่ารก ต้นไม้ก็ทึมทึบ
สุดท้ายก็ได้พบโรงนาและทางเข้าหมู่บ้าน ซ่ึงตรง
กบั ท่ปี รากฏในนิมติ ทา่ นจงึ นำเข้าไปบิณฑบาตใน
(ลา่ ง) ภูผากูต บ้านคำบก อำเภอคำชะอี จังหวัดนครพนม
ทพ่ี ระอาจารย์มั่นจำพรรษาอยใู่ น ปี พ.ศ. ๒๔๕๙
(ขวา) หมูบ่ ้านหนองสงู
174
(บน) บริเวณหนองน่อง บ้านห้วยทราย ท่ีพระอาจารย์ฝ้ัน
ไดม้ าจำพรรษาอยู่ ในปี พ.ศ. ๒๔๗๑
(ซ้าย) คุณแม่แก้ว เสียงล้ำ สำนักชีบ้านหว้ ยทราย อำเภอคำชะอี
จังหวดั นครพนม
(ล่าง) แมช่ แี หง่ สำนกั ชีคุณแม่แกว้ ไดช้ ี้บริเวณท่ีตง้ั กุฏขิ อง
พระอาจารย์ฝั้น
(บน) หมูบ่ า้ นหว้ ยทราย อำเภอคำชะอี นครพนม
175
(ล่าง) หม่บู ้านบาก อำเภอคำชะอี นครพนม
หมบู่ า้ น ซ่ึงมอี ย่ปู ระมาณ ๗ – ๘ หลงั คาเรอื น
ในตอนกลับท้ังหมดต่างก็กลับไม่ถูก ได้ถาม
ชาวบ้านดูก็ไม่มีใครรู้จักถ้ำจำปาเลยสักคนเดียว
ท้ังน้ีเน่ืองจากชาวบ้านเหล่านี้เพ่ิงจะอพยพมาอยู่
และต้ังหมู่บ้านข้ึนได้เม่ือไม่นานมานี้เอง ยังไม่คุ้น
กับภูมิประเทศในละแวกน้ี ทา่ นไดอ้ อกปากถามถึง
หนองน้ำใหญ่ ชาวบ้านก็รู้จักกันดี ท่านจึงได้ให้
ชาวบา้ นพาไปสง่ แลว้ จบั เสน้ ทางจากหนองนำ้ กลบั ไป
ถำ้ กวา่ จะถงึ ก็เปน็ เวลาลว่ งเขา้ ๓ โมงเช้าแลว้
ทีถ่ ำ้ จำปา พระอาจารยฝ์ ัน้ ไดพ้ ักทำความ
เพียรอยู่เป็นเวลาถึง ๒๐ วัน จึงได้เดินทางกลับ
ไปที่บ้านบ่อชะเนง พอไปถึงได้ทราบว่า เจ้าคุณ
พระปญั ญาพศิ าลเถร* (หนู ฐติฺ ปญโฺ ญ)ฺ เจา้ อาวาส
วัดสระปทุม ได้พาพระอาจารย์มั่นเข้ากรุงเทพฯ
ไปแลว้ เมือ่ ไมพ่ บพระอาจารยม์ ่ัน ท่านจึงเดนิ ทาง
ยอ้ นกลับไปยังบ้านหนองสงู อกี
ในพรรษาที่ ๔ ของพระอาจารย์ฝั้น คือ
พ.ศ. ๒๔๗๑ ทา่ นได้จำพรรษาอยสู่ ำนกั สงฆ์ ท่ี
หนองนอ่ ง บา้ นหว้ ยทราย อำเภอคำชะอี จงั หวดั
นครพนม ซ่ึงเป็นที่พระอาจารย์มั่น ได้เคย
จำพรรษาเมื่อปี ๒๔๖๔ ระหว่างท่ีจำพรรษาท่าน
* ดูประวัติย่อ หน้า ๑๙๘
176
ไดอ้ าพาธเปน็ โรคกระเพาะ อาการหนกั มาก แตพ่ อ คนขับก็ลงไปตรวจดู แต่ก็ไม่พบข้อ
ออกพรรษากค็ อ่ ยหายเป็นปกติ จึงไดเ้ ดนิ ทางยอ้ น บกพร่องจึงติดเคร่ืองใหม่ รถก็สตาร์ทติดเป็น
กลับมาที่อำเภออำนาจเจริญ จังหวัดอุบลราชธานี ปกติ แต่พอรถว่ิงผ่านกรมทหาร (ปัจจุบัน
อกี ครงั้ และไดร้ ว่ มปรกึ ษาหารอื กบั พระอาจารยส์ งิ ห์ คือท่ีต้ังกองทัพภาค ๒) ไปได้หน่อยเดียว
และพระอาจารย์มหาป่ิน ที่บ้านหัววัว ว่าขณะน้ี ท่านก็กำหนดจิตกลับเข้าไปที่เคร่ืองยนต์อีก
จังหวัดขอนแก่นมีเหตุการณ์ไม่สู้จะดี ควรลงไป เพยี งแวบเดยี วเครอ่ื งยนตก์ ด็ บั อกี เปน็ ครง้ั ที่ ๒
ช่วยเจ้าคุณพระพิศาลอรัญเขต (จันทร์ เขมิโย) พอคนขับลงไปแก้ไข ก็ไม่พบข้อบกพร่อง
ซ่ึงเป็นเจ้าคณะธรรมยุตจังหวัดขอนแก่นอยู่ เม่ือ เหมือนครั้งแรก จึงข้ึนมาติดเคร่ืองขับต่อไป
เหน็ พอ้ งตอ้ งกนั แลว้ ตา่ งกแ็ ยกยา้ ยกนั ออกเดนิ ทาง ใหม่ เม่ือรถวิ่งไปอีกสักครู่ท่านก็กำหนดจิต
โดยกำหนดให้ไปพบกันก่อนเข้าพรรษาท่ีขอนแก่น เข้าไปในเครื่องอีก เครื่องยนต์ก็ดับอีกเป็น
สำหรบั พระอาจารยฝ์ นั้ ตอ้ งการจะไปเยยี่ มญาตโิ ยม คร้ังที่ ๓ ครั้งน้ีท่านจึงได้ทราบถึงสาเหตุและ
ทางอำเภอพรรณานิคมก่อน จึงได้เดินทางผ่าน คิดเสียใจที่ความอยากรู้อยากเห็นของท่าน
ธาตุพนม-นาแก มาจนถึงสกลนคร พอถึงวัด
ทำให้ผู้อื่นต้องเดือดร้อนและเสียเวลา จึงได้
พระธาตเุ ชงิ ชมุ กเ็ หน็ รถยนตโ์ ดยสารเขา้ ตง้ั แตเ่ กดิ เลิกพิจารณาอีก รถก็ได้ว่ิงไปถึงพรรณานิคม
มาทา่ นไมเ่ คยเหน็ รถยนตเ์ ลย จงึ คดิ จะลองขนึ้ ดบู า้ ง
โดยเรยี บรอ้ ย
เมื่อน่ังไปได้สักครู่หน่ึง ก็เกิดความ พระอาจารย์ฝั้น ลงรถที่บ้านม่วงไข่แล้ว
สงสัยข้ึนมา ว่ารถยนต์น้ีวิ่งไปได้อย่างไรหนอ เดินไปพักที่บ้านบะทอง เมื่อเย่ียมญาติโยมท่ีนั่น
จึงได้กำหนดจิตพิจารณาไปจนกระท่ังเข้าไป ตามที่ตั้งใจไว้แล้วก็ออกเดินทางต่อไปทางบ้านแร่
ถงึ เครือ่ งยนต์
ไปออกอำเภอวาริชภูมิ ตัดป่าฝ่าภูเขาไปอำเภอ
เพยี งแวบเดยี วเคร่อื งยนต์ก็ดบั
หนองหาน จังหวัดอุดรฯ ไปพักที่บ้านเชียงแหว
และมุ่งต่อไปอำเภอกุมภวาปี แล้วเดินไปจนถึง
บรรยายแผนท
่ี
ในปี พ.ศ. ๒๔๗๒-๒๔๗๔ พระอาจารยส์ งิ ห์ ไดน้ ำพระภกิ ษสุ ามเณรในคณะปฏบิ ตั สิ ทั ธรรม ไปทำการเผยแผ่
พระพุทธศาลนาฝ่ายวิปัสสนาธุระ ในท้องที่จังหวัดขอนแก่น โดยได้แยกย้ายกันไปจัดตั้งสำนักสงฆ์ฝ่ายอรัญวาสีข้ึนหลาย
แห่งคือ
๑ วัดเหลา่ งา (ปัจจบุ นั เปน็ วัดป่าวิเวกธรรม) มีพระอาจารย์สงิ ห์ พระอาจารย์ภมุ มี พระอาจารย์กงมา พระอาจารยห์ ลุย
อยู่จำพรรษาร่วมกนั
๒ วดั ป่าบ้านท่มุ พระอาจารยอ์ นุ่ อยู่จำพรรษา
๓ วดั ป่าบา้ นคำไฮ พระอาจารย์สีลา อยจู่ ำพรรษา
๔ วัดปา่ ชัยวัน พระอาจารยเ์ ก่ิง อยู่จำพรรษา
๕ วดั ปา่ บ้านพระคือ พระอาจารย์มหาป่ิน และพระอาจารย์อ่อน อย่จู ำพรรษาร่วมกัน
๖ วัดปา่ บ้านผือ พระอาจารย์ฝนั้ อยู่จำพรรษา ในปี พ.ศ. ๒๔๗๒ - ๒๔๗๓
๗ วัดปา่ บา้ นยางคำ พระอาจารย์ซามาอยู่จำพรรษา
๘ วัดปา่ สุมนามัย อำเภอบ้านไผ่ พระอาจารย์นนิ อยู่จำพรรษา
๙ ภูระงำ อำเภอชนบท พระอาจารย์ฝ้ัน ได้อยู่จำพรรษา ในปี พ.ศ. ๒๔๗๔
177
แผนท่ีแสดงที่ตั้งของสำนักสงฆ์ฝ่ายอรัญวาสีทำการเผยแผ่พระพุทธศาสนาฝ่ายวิปัสสนาธุระ
ในทอ้ งทีจ่ ังหวัดขอนแก่น ปี พ.ศ. ๒๔๗๒ – ๒๔๗๔
178
พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม
นามเดมิ สิงห์ บุญโท
บดิ า *เพยี อคั รวงศ์ (อ้วน)
มารดา หลา้ บุญโท
เกิด วันที่ ๒๗ มกราคม พ.ศ. ๒๔๒๓ ตรงกับ
วนั จนั ทร์ ขน้ึ ๗ คำ่ เดอื น ๓ ปีฉล
ู
บรรพชา ได้บรรพชาเป็นสามเณร เม่ือ พ.ศ. ๒๔๔๖
ในสำนักพระอุปัชฌาย์ “ป้อง” ณ วัดบ้านหนอง
ขอน ตำบลหัวทะเล อำเภออำนาจเจริญ จังหวัด
อบุ ลราชธานี
อุปสมบท เมื่ออายุครบบวชก็ได้อุปสมบทเป็นพระภิกษ
ุ
ณ พทั ธสมี าวดั สทุ ศั นฯ์ อำเภอเมอื ง จ.อบุ ลราชธานี
เม่ือวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๕๒ โดย
สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส) สมัยเมื่อ
ดำรงสมณศักดิ์ เป็นพระศาสนดิลก เจ้าคณะ
มณฑลอีสาน เป็นพระอุปัชฌาย์ นับว่าเป็น
สัทธวิ หิ าริกอนั ดับ ๒ ของสมเดจ็ พระมหาวีรวงศ์
การจารกิ เพอื่ ศกึ ษาธรรมปฏบิ ตั ิ เหตทุ ไ่ี ดจ้ งู ใจใหท้ า่ นออกเทย่ี วธดุ งค์ เจรญิ สมถวปิ สั สนากมั มฏั ฐานนนั้
สาเหดุด้วยได้คำนึงถึงพระพุทธศาสนาว่า หมดเขตสมัยมรรคผลธรรมวิเศษแล้ว หรือว่ายังมี
หนทางปฏบิ ตั ิดปี ฏบิ ตั ิชอบในพทุ ธศาสนาอย่
ู
ในระหว่างพรรษา ปี พ.ศ. ๒๔๕๘ ได้พบกับพระอาจารย์ม่ันซ่ึงจำพรรษาอยู่ที่วัดบูรพา
จังหวัดอบุ ลราชธานี ทราบวา่ เป็นผู้ปฏิบัติดปี ฏบิ ตั ชิ อบ เมอื่ ได้ศกึ ษากับทา่ นจนได้ความแน่ชดั ว่า
หนทางปฏิบัติดีปฏิบัติชอบน้ันมีอยู่ จึงได้ตกลงใจออกเที่ยวธุดงค์หาที่วิเวก เพ่ือเจริญสมถ
วปิ ัสสนากัมมฏั ฐานตงั้ แต่นั้นมา
สมณศักด์ ิ ได้รับพระราชทานสมณศักด์ิขึ้นเป็นพระราชาคณะช้ันสามัญฝ่ายวิปัสสนาธุระมีนามว่า
พระญาณวศิ ษิ ฏ์ สมิทธิวรี าจารย์ เม่อื วันท่ี ๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๐๐
มรณภาพ อาพาธด้วยโรคมะเร็งเร้ือรังในกระเพาะ ได้มรณภาพเมื่อวันที่ ๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๐๔
เวลา ๑๐.๒๐ น. ณ วดั ป่าสาลวนั จงั หวดั นครราชสมี า รวมอายไุ ด้ ๗๓ ป
ี
* เพียอัครวงศ์ เป็นตำแหน่งข้าราชการหวั เมอื งลาวกาว-ลาวพวน มีหน้าทจ่ี ัดการศึกษาและการพระศาสนา
179
(บน) พระอุโบสถวดั เหล่างา (ปัจจุบันวดั ป่าวิเวกธรรม) อำเภอเมอื ง จงั หวดั ขอนแกน่
(ล่าง) ประตูทางเข้าวดั ปา่ วเิ วกธรรม
180
นามเดิม ปน่ิ บญุ โท เปน็ นอ้ งชายรว่ มบดิ ามารดากบั พระอาจารยส์ งิ ห์
บดิ า เพยี อคั รวงศ์ อ้วน บญุ โท
มารดา หลา้ บญุ โท
เกดิ ไมป่ รากฏในประวัติท่ใี ด
อปุ สมบท ไมป่ รากฏในประวัตทิ ี่ใด
การจาริกเพ่ือศึกษาธรรมปฏิบัติ พ.ศ.๒๔๕๘ ได้พบและศึกษา
ธรรมกับท่านอาจารย์ม่ัน ขณะที่ท่านจำพรรษาอยู่ที่วัดบูรพา
จังหวัดอุบลราชธานี มีความเล่ือมใสในปฏิปทาของท่านอาจารย์
ม่ันมาก ได้ปวารณาตัวไว้ว่าจะไปศึกษาปฏิบัติธรรมที่กรุงเทพฯ
กอ่ น แล้วจะกลับมาปฏิบตั ติ ามพระอาจารย์มัน่ ในภายหลัง
พ.ศ.๒๔๖๕ หลังจากท่ีท่านได้ศึกษาปฏิบัติธรรมจนได้
เปรียญ ๕ ประโยคแล้ว ได้กลับมาฌาปนกิจศพโยมมารดา ต่อ
จากนั้น ได้จำพรรษาอยู่ท่ีวัดสุทัศน์ในจังหวัดอุบลราชธานี และ
ได้ศึกษาการเจริญสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน กับพระอาจารย์สิงห์
ผู้พี่ชาย เม่ือออกพรรษาในปีนี้แล้วก็ได้ออกเท่ียวธุดงค์ร่วมกัน
จากอบุ ลราชธานี มุง่ ไปทางสกลนคร และอุดรธานี
นับว่าเป็นพระมหาองค์แรกที่ได้ออกธุดงค์ในยุคน้ัน และ
ปรากฏว่าตลอดเวลาท่านได้เจริญสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน จนถึง
วนั มรณภาพ
มรณภาพ ทา่ นไดม้ รณภาพ เมอ่ื ๒ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๔๘๙ ณ วดั ปา่ แสนสำราญ อำเภอวารนิ ชำราบ จงั หวดั อบุ ลราชธานี
อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น จากน้ันก็ข้ึน พระลับ (ปัจจุบันอำเภอเมือง) จังหวัดขอนแก่น
รถไฟ จากน้ำพองไปลงในตัวจังหวัด เพ่ือพบกับ พระอาจารย์สิม พุทฺธาจาโร ซ่ึงอุปสมบทเป็น
พระอาจารย์สิงห์ และพระเณรตามท่ีได้นัดกันไว้ที่ พระภิกษุในปนี ัน้ ก็ไดม้ าจำพรรษารวมอย่ดู ้วย
พระอาจารยม์ หาปนิ่ ปญญฺ ฺาพโล พระอาจารย์
วดั เหลา่ งาต่อไป
ท่ีวัดเหล่างา (ปัจจุบันคือวัดวิเวก ออ่ น ญฺาณสริ ิ จำพรรษาทว่ี ดั ปา่ บา้ นพระ คอื ตำบล
ธรรม) พระปฏิบัตสิ ทั ธรรม ชุดน้ีซงึ่ มอี ยู่ โนนทัน
ประมาณ ๗๐ รูป ได้ประชุมตกลงให้ พระอาจารย์เกิ่ง อธิมุตฺตโก จำพรรษาท่ี
แยกย้ายกันไปต้ังเป็นสำนักสงฆ์วัดป่าฝ่าย
อรัญวาสีข้ึนหลายแห่งในจังหวัดขอนแก่น วัดปา่ ชัยวนั บ้านสฐี าน อำเภอพระลบั
เพอื่ เผยแพรธ่ รรม เทศนาสงั่ สอนประชาชน พระอาจารย์สีลา อสิ ฺสโร จำพรรษาท่วี ัดป่า
ให้ละมิจฉาทฏิ ฐิ เลกิ จากการเคารพนับถือ
ภตู ผีปศี าจ และใหต้ ้งั อยูใ่ นไตรสรณคมน์ บา้ นคำไฮ ตำบลเมืองเกา่
พระอาจารย์ดี ฉนฺโน จำพรรษาที่วัดบ้าน
โคกโจด อำเภอพระลับ
พระอาจารยอ์ นุ่ จำพรรษาท่ีวดั ปา่ บ้านทมุ่
ในพรรษาปี พ.ศ. ๒๔๗๒ พระอาจารยส์ งิ ห์ พระอาจารย์ซามา อจุตฺโต จำพรรษาที่
ขนตฺ ยาคโม พระอาจารยภ์ มุ มี ฐติฺ ธมโฺ ม พระอาจารย์ วดั ปา่ บ้านยางคำ
กงมา จิรปุญฺโญฺ พระอาจารย์หลุย จนฺทสาโร พระอาจารย์นนิ มหนตฺ ปญฺโญฺ จำพรรษาที่
จำพรรษาท่ีวัดเหล่างา ตำบลโนนทัน อำเภอ วดั ปา่ สมุ นามัย อำเภอบา้ นไผ่
181
(บน) วดั ศรีจันทร์ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแกน่
(ล่างซา้ ย) วดั ป่าชัยวัน อำเภอเมอื ง จังหวดั ขอนแกน่
(ล่างขวา) วัดป่าสมุ นามยั อำเภอบ้านไผ่ จงั หวดั ขอนแกน่
182
ดอนป่าช้า บา้ นผือ จงั หวดั ขอนแกน่ ท่พี ระอาจารย์ฝ้ันได้มาจำพรรษาอยใู่ นปี พ.ศ. ๒๔๗๒ - ๒๔๗๓
สำหรับพระอาจารย์ฝ้ันเอง จำพรรษาท
่ี เหมือนสามคนแรก เพียงให้เอาก้อนหินขว้างขับ
วดั ปา่ บา้ นผือ ตำบลโนนทนั
ไล่ใหไ้ ป
เมื่อพระอาจารย์ฝั้น เดินทางไปถึงบ้านผือ ผู้ใหญ่บ้านดูจะเป็นคนท่ีมีใจเป็นธรรม
ทา่ นได้ไปพักอยูท่ ศ่ี าลภตู า ศาลภตู าคอื สถานทซี่ งึ่ กว่าเพอ่ื น ไดท้ ดั ทานลูกบา้ นทงั้ ๔ คนน้นั ไว้
ชาวบ้านสรา้ งเป็นหอขน้ึ สำหรับเป็นทส่ี ิงสถิตของ ว่า ควรสอบถามดูก่อนว่าเป็นพระจริงหรือ
ภตู ผปี ศี าจ ชาวบา้ นไปสกั การะบวงสรวงกนั บอ่ ยๆ พระปลอม พระดีหรือพระร้าย ยังผลให้
เพราะถือเปน็ สถานทอี่ นั ศกั ดิส์ ทิ ธิ์ ระหวา่ งทไ่ี ปพกั ลูกบ้านทง้ั ๔ ไม่พอใจ แตพ่ ากันถอยออกไป
อยู่ศาลภูตา มีชาวบ้านสองคนมาตักน้ำ เมื่อพบ ยนื ดอู ยู่หา่ งๆ
ท่านเข้าจึงเอาน้ำมาถวาย ท่านก็ขอให้ชาวบ้าน
พระอาจารย์ฝั้น ได้บอกกับผู้ใหญ่บ้านว่า
ท้ังสองไปบอกผู้ใหญ่บ้านให้รับทราบในการมาพัก ท่านเที่ยวธุดงค์ปฏิบัติกัมมัฏฐานไปตามที่อันวิเวก
ของทา่ นดว้ ย หลงั จากนน้ั ไมน่ านนกั ผใู้ หญบ่ า้ นกบั ต่างๆ เมื่อมาถึงท่ีนี่จึงขอพักอาศัยในศาลภูตานี้
ลูกบ้านอกี ๔ คน ก็มาถึง ลูกบา้ นได้แสดงความ เพราะศาลภตู าเป็นท่พี ่ึงของคนในหมู่บ้าน ท่านจึง
ไมพ่ อใจในการทที่ า่ นมาพกั ทศี่ าลภตู าน้ี คนหนง่ึ ได้ ขอพงึ่ พาอาศยั บา้ ง ทา่ นไดบ้ อกผใู้ หญบ่ า้ นไปดว้ ยวา่
โวยวายขน้ึ วา่ พระอะไรไมเ่ คยเหน็ มานอนกลางดนิ ทา่ นพง่ึ ศาลภตู าไดด้ กี วา่ ชาวบา้ นเสยี อกี ชาวบา้ นพงึ่
กินกลางทรายเช่นน้ีจะถือว่าเป็นพระอย่างไรได้ ศาลภตู ากนั อยา่ งไร ปล่อยให้สกปรกรกรงุ รังอยไู่ ด้
คนทส่ี องใหค้ วามเหน็ ขนึ้ มาดงั ๆ วา่ เอาปนื ยงิ หวั เสยี ท่านเองพอเข้ามาพ่ึงก็ปัดกวาดถากถางหนามและ
กส็ นิ้ เรอ่ื ง คนทสี่ ามกโ็ พลง่ ขน้ึ วา่ เอาสากมองทหี่ วั ข่อยออกไปจนหมดส้ินอย่างที่เห็น ผู้ใหญ่บ้าน
ไปก็พอ แต่คนสุดท้ายออกความเห็นไม่รุนแรง ประจักษ์ข้อเท็จจริงเพียงประการแรกก็ถึงกับน่ิงงัน
183
(บน) ร.ร. บา้ นผอื ตำบลพระลบั อำเภอเมือง จงั หวดั ขอนแก่น
(ลา่ ง) หมูบ่ ้านผือ พระอาจารย์ฝัน้ ได้อาศัยบิณฑบาตในระหว่างจำพรรษาปี พ.ศ. ๒๔๗๒ - ๒๔๗๓
184
ไม่ห่างไปจากที่นี่นักมีดอนป่าช้าอยู่แห่งหนึ่ง
น้ำไม่ท่วม เหมาะสำหรับเป็นสถานท่ีจำพรรษา
อย่างย่ิง ท่านไม่อาจปฏิเสธต่อไปอีกได้ จึงไป
จำพรรษาอยู่ท่ดี อนป่าชา้ ตามทช่ี าวบา้ นนมิ นต์
ถึงกลางพรรษา ชาวบ้านส่วนหนึ่งซึ่งยัง
นับถือภูตผีปีศาจอยู่ ได้รับความเดือดร้อนตาม
ความเชอื่ เรื่องผีเข้าเปน็ อันมาก กลา่ วคอื เช่อื กนั วา่
มีผีเข้าไปอาละวาดอยู่ในหมู่บ้าน เข้าคนโน้นออก
คนนี้ ท่ีตายไปก็มี ที่ยังไม่ตายก็มี นอกจากน
ี้
ยังมี โยมอุปัฏฐาก ๓-๔ คน ไปปรึกษากับ
พระอาจารยฝ์ นั้ ดว้ ย เลา่ วา่ สามลี อ่ งเรอื บรรทกุ ขา้ ว
ไปขายท่ีจังหวัดอุบลราชธานี ภรรยากับลูกๆ ซ่ึง
เป็นโยมอุปัฏฐากกลัวว่าจะถูกผีเข้าเหมือนคนอื่น
ไมท่ ราบจะพงึ่ ใครได้ จงึ มากราบไหวข้ อใหท้ า่ นเปน็
ทพี่ ง่ึ พระอาจารยฝ์ น้ั กบ็ อกวา่ ไมเ่ ปน็ ไร ไมต่ อ้ งกลวั
พระราชพศิ าลสุธี (ทองอินทร์ ถริ เสวี)
ภาวนา พุทโธ พุทโธ ไว้เสมอผีเข้าไม่ได้หรอก
(ปจั จุบัน) รองเจ้าคณะ (ธ) ภาค ๙ วดั ศรีจันทร์ ขอนแก่น
ตอ่ ใหเ้ รียกผี หรือท้าใหผ้ ีมากิน มนั กไ็ ม่กล้ามากิน
ครน้ั แลว้ กส็ อบถามทา่ นถงึ ปญั หาธรรมตา่ งๆ เหมอื น หรือมารบกวน โยมอุปัฏฐากกลุ่มน้ันก็เช่ือฟังและ
เป็นการลองภูมิ ท่านก็อธิบายให้ฟังอย่างลึกซ้ึง ปฏบิ ตั ิตาม
อย่างไรก็ดี ปรากฏว่ายังมีผีเข้าชาวบ้านอยู่
หมดจดไปทกุ ขอ้ ทำเอาผใู้ หญบ่ า้ นถงึ กบั ออกปากวา่
“น่าเล่ือมใสจริงๆ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เรื่อยๆ มีชาวบ้านได้ไปแจ้งแก่พระอาจารย์ฝ้ันให้
เสด็จโปรดเทศนาส่ังสอนคนสมัยก่อน บัดนี้มา ทราบว่าได้ถามผีดูแล้วว่า ทำไมไม่ไปเข้าพวกท่ี
เจอเอาคนจรงิ เขา้ แลว้ ” เชน่ เดยี วกนั ลกู บา้ นทง้ั ๔ ปฏิบัติอุปัฏฐากบ้างละ ผีในร่างคนก็ตอบว่า ไม่
ซงึ่ ยนื สดบั ตรบั ฟงั อยใู่ กลๆ้ เกดิ ความเลอื่ มใสไปดว้ ย
กล้าเข้าไป จะให้เข้าไปได้อย่างไร พอเข้าบ้านก็
ทั้งหมดได้กลับไปยังหมู่บ้าน จัดหาเสื่อ เห็นแต่พระพุทธรปู นัง่ อย่เู ปน็ แถว
ที่นอนและหมอนมุ้งไปทำที่พักให้พระอาจารย์ฝั้น อย่างไรก็ตาม ชาวบ้านกลุ่มอ่ืนยังคงมี
ทิฏฐิเดิมท่ีมีอยู่ปราศนาการไปจนหมดส้ิน ถึงกับ
ความหวาดหวั่นเรื่องผีเข้ากันอยู่ ได้มีการประชุม
นิมนต์ให้ท่านจำพรรษาเสียท่ีน่ันเลยด้วยซ้ำ แต่ หารือกันเพื่อหาหมอผีมาไล่ผีออกไป เมื่อเสาะหา
ทา่ นปฏเิ สธวา่ ทนี่ น่ั นำ้ ทว่ ม เพราะใกลก้ บั ลำชี ไมอ่ าจ หมอผมี าไดแ้ ลว้ ชาวบา้ นกลบั เดอื ดรอ้ นหนกั ยง่ิ ขนึ้
จำพรรษาได้อย่างท่ีชาวบ้านปรารถนา ชาวบ้าน ไปอกี เพราะหมอผตี ง้ั เงอื่ นไขวา่ จะไลผ่ อี อกไปจาก
ซ่ึงมีความเลื่อมใสศรัทธาอยู่ก็แจ้งแก่ท่านว่า
หมู่บ้านน้ันไม่ยาก แต่ทุกครัวเรือนจะต้องนำเงิน
186
บรรยายแผนท
ี่ ความสำคัญไป ความเช่ือเร่ืองผสี างของชาวบา้ นก็
คอ่ ยๆ ลดนอ้ ยลง
๑ วัดโพธิสมภรณ์ อำเภอเมอื ง จงั หวัดอุดรธานี
๒ วดั ปา่ บา้ นตาด
ออกพรรษาปีน้ัน พระอาจารย์ฝ้ันได้ลา
๓ บา้ นจดี อำเภอหนองหาน จงั หวดั อุดรธาน
ี ญาติโยมออกจากดอนป่าช้าจะไปอำเภอน้ำพอง
เม่ือถึงวัดศรีจันทร์ ปรากฏว่าเดินทางต่อไปไม่ได้
ไปมอบใหเ้ สยี กอ่ น จงึ จะทำพธิ ขี บั ไลใ่ ห้ โยมอปุ ฏั ฐาก เพราะชาวบ้านเหล่าน้ันได้ติดตามมาขอร้องให้
จึงได้นำความไปปรึกษาหารือกับพระอาจารย์ฝั้น ทา่ นกลบั ไปชว่ ยเหลอื อกี สกั ครงั้ โดยอา้ งวา่ มผี รี า้ ย
ว่าจะทำอย่างไรดี ท่านจึงแนะนำว่าหากหมอผีจะ ข้ึนไปอยู่บนหลังคาบ้านทุกหลัง ท่านจึงต้องกลับ
เกบ็ เงนิ เพอ่ื ไปสรา้ งโนน่ สรา้ งนที่ เ่ี ปน็ สาธารณสมบตั ิ ไปที่หมบู่ า้ นนั้นอีกครง้ั หน่ึง
หรอื สรา้ งวดั วาอารามกค็ วรให้ แตถ่ า้ หมอผเี กบ็ เงนิ
ไปเพอ่ื ประโยชนส์ ว่ นตนกไ็ มค่ วรให้ ทงั้ ยงั ไดแ้ นะนำ การกลับไปครั้งนี้ ผู้ใหญ่บ้านได้ประชุม
ไมใ่ หเ้ ชอ่ื เรอื่ งผสี างอกี ตอ่ ไป เพราะเปน็ เรอื่ งเหลวไหล ลูกบ้านแล้วพากันเข้ามานมัสการท่าน ขอรับ
คนเราป่วยเจ็บกันได้ทุกคน จะปักใจเชื่อเอาเสีย ไตรสรณคมน์ ต่อจากนั้นความเช่ือเร่ืองผีสางจึง
เลยว่าผีเข้า ย่อมเป็นเรื่องงมงายไร้เหตุผล โยม หมดส้ินลง
เหล่านั้นก็พากันเชื่อฟังท่าน และไม่ยอมจ่ายเงิน
ให้ตามท่ีหมอผีเรียกร้องไว้ ในท่ีสุดหมอผีก็หมด
187
ปี พ.ศ. ๒๔๗๓ พระอาจารยฝ์ นั้ ก็เอาน้ำเต้าทองมารดเพ่ือชุบชีวิต แล้วจะได้ไปสู่
ได้จำพรรษาท่ีบ้านผือ จังหวัดขอนแก่น สวรรค์ด้วย
พอออกพรรษาแลว้ ทา่ นกบั พระอาจารย์ พระอาจารย์ฝั้น ได้ช้ีแจงแสดง
อ่อน ได้เที่ยวธุดงค์ปฏิบัติกัมมัฏฐานไป ธรรมต่อไปทง้ั วนั ชีผา้ ขาวกบั ผทู้ ีเ่ ชอ่ื ถือ
จนถงึ หมบู่ า้ นจดี ในเขตอำเภอหนองหาน เหล่าน้ันกย็ งั ไม่ยอมแพ
้
จังหวัดอุดรธานี บังเอิญได้ข่าวว่าโยม
พี่สาวของพระอาจารย์อ่อนป่วยหนัก ตอนหนง่ึ ชีผ้าขาว อา้ งว่าตนมคี าถาดี คือ
ทุ โส โม นะ สา ธุ พระอาจารยฝ์ ัน้ ได้ออกอุบาย
พระอาจารยอ์ อ่ นจงึ แยกไปรกั ษาโยมพส่ี าว แกว้ ่า ทุ สะ นะ โส เปน็ คำของเปรต ๔ พน่ี อ้ ง
ส่วนทา่ นพำนกั อยทู่ บ่ี ้านจีดโดยลำพัง
ท้ังส่ีก่อนตายเป็นเศรษฐีมีทรัพย์สมบัติมากมาย
ที่นั่น พระอาจารย์ฝั้น ได้เผชิญศึกหนัก
แตต่ ลอดชวี ติ ไมเ่ คยทำคณุ งามความดี ไมเ่ คยสรา้ ง
เข้าเรื่องหนึ่ง เป็นเรื่องท่ีเกี่ยวกับ “ธรรมต่อไก่” กุศลเลย เอาแต่ประพฤติช่ัวเสเพลไปตามที่ต่างๆ
ธรรมตอ่ ไกเ่ ปน็ วธิ บี รรลธุ รรมอยา่ งหนง่ึ ซงึ่ ชผี า้ ขาว ครนั้ ตายแลว้ จงึ กลายเปน็ เปรตไปหมด ตา่ งตกนรก
คนหนง่ึ ช่อื “ไท้สุข” บัญญตั ิข้ึนมาว่า หากใครนำ ไปถงึ ๖ หม่ืนปี พอครบกำหนด คนพีโ่ ผล่ขึ้นมา
ก็ออกปากพูดได้คำเดยี ววา่ “ทุ” พวกนอ้ งๆ โผล่
ไก่ตัวผู้และไก่ตัวเมียคู่หนึ่งมามอบให้ชีผ้าขาวแล้ว ขึ้นมาก็ออกปากได้คำเดียวเช่นเดียวกันว่า “สะ”
“นะ” “โส” ตามลำดับ หมายถึงว่าเราทำแต่
เพียงแต่กลับไปนอนบ้านก็สามารถบรรลุธรรมได้ ความช่ัว เราไม่ทำความดีเลย เม่ือไรจะพ้นหนอ
มชี าวบ้านหลงเชือ่ กนั อยเู่ ป็นจำนวนมาก
พระอาจารย์ฝ้ัน จึงไปเทศนาส่ังสอนให้
ฉะนั้นคำเหล่านั้นจึงเป็นคำของเปรต ไม่ใช่คาถา
ชีผ้าขาวผู้นั้นได้สำนึกว่าท่ีพ่ึงของคนเรานั้น
หรือคำสั่งสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพทุ ธเจา้
คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ซึ่งเรียกว่า
ไตรสรณคมน์เท่านั้น แต่ชีผ้าขาวกับผู้ที่เช่ือถือ ส่ังสอนแก้ไขกันอยู่ถึงอาทิตย์หน่ึง
กลับเถียงว่าเขานับถือมากกว่าไตรสรณคมน์ คือ กย็ ังไมอ่ าจละทฏิ ฐิของพวกนน้ั ลงได
้
นบั ถอื ถงึ ๔ โดยมี “กฏุ ฐงั ” ขน้ึ นำหนา้ แลว้ ตอ่ ดว้ ย
พทุ โธ ธมั โม สงั โฆ ทา่ นจงึ แยง้ ขน้ึ วา่ กฏุ ฐงั แปลวา่ พอดีโยมพ่ีสาวของพระอาจารย์อ่อนหาย
โรคเรอ้ื น ถา้ นบั ถอื ขท้ี ดู มนั จะถกู ตอ้ งและไดบ้ ญุ กศุ ล ป่วย พระอาจารย์อ่อน จึงย้อนกลับมา โดยม
ี
อย่างไรได้ นับถือเพียง ๓ คือ ไตรสรณคมน
์ พระอาจารยก์ ู่ มาสมทบดว้ ยอกี รปู หนงึ่ กำลงั ใจของ
ตา่ งหากจงึ จะไดไ้ ปสสู่ คุ ติ แตช่ ผี า้ ขาว กลบั โตเ้ ถยี ง พระอาจารย์ฝัน้ จงึ ดขี ้นึ เพราะตลอดเวลาทีผ่ ่านมา
อกี ว่า คนทน่ี บั ถอื เพยี ง ๓ นัน้ พากันตายไปหมด ทางฝ่ายท่านมีท่านเพียงรูปเดียวเท่าน้ัน อธิบาย
ถา้ นบั ถอื ใหถ้ งึ ๔ แลว้ จะไมต่ าย ถงึ ตายพระอนิ ทร์ อะไรออกไปกถ็ ูกขัดถูกแซงไปเสยี หมด
ในทส่ี ดุ ชผี า้ ขาวกบั พรรคพวกกย็ อมแพย้ อม ระหว่างที่พำนักอยู่ที่บ้านจีด มีโยมผู้หญิง
เหน็ ตามและรบั วา่ เหตทุ ่ีเขาบญั ญัติ “ธรรมตอ่ ไก่” คนหนึ่งไอทั้งวัน ท้ังคืน เสาะหายาจากท่ีต่างๆ
ขึ้นมาก็เพื่อเป็น “นากิน” (อาชีพหากินด้วยการ มากนิ จนนบั ขนานไมถ่ ว้ น ก็ยงั ไม่หาย ฟงั เทศน์
หลอกลวง) และยอมรบั นบั ถอื ไตรสรณคมน์ตามที่ ก็ฟังไม่ได้ ขณะนั่งฟังก็ไออยู่ตลอดเวลา เป็นท่ี
ทา่ นสงั่ สอนไว้แต่ต้น
รบกวนสมาธขิ องผูอ้ ื่น คืนท่สี ามพอฟงั เทศนจ์ บลง
แตป่ ญั หากย็ ังไมห่ มดไปอยู่ดี เพราะวา่ เมอื่ พระอาจารยฝ์ น้ั จงึ ถามวา่ ทำไมไมร่ กั ษา โยมผนู้ น้ั
พระอาจารยฝ์ น้ั บอกใหช้ ผี า้ ขาวตดั ผมเสยี ชผี า้ ขาว ตอบวา่ กนิ ยามาหลายขนานแลว้ กไ็ มเ่ หน็ หาย ทา่ นจงึ
ผู้นั้นก็ไม่ยอมตัดอ้างว่าถ้าตัดผมเป็นต้องตายแน่ๆ บอกโยมผนู้ นั้ ไปวา่ คงเปน็ กรรมทท่ี ำมาแตป่ างกอ่ น
พระอาจารย์อ่อนจึงบอกว่าอย่ากลัว ดูทีหรือว่าจะ ขอให้หัดภาวนาดู แล้วบอกคาถาให้ บริกรรมว่า
ตายจริงหรือไม่ คนอื่นเขาตัดผมกันทั่วไปไม่เห็น ปฏกิ ะ มนั ตุ ภตู านิ วันแรกท่านให้ภาวนาต้ังจิต
บริกรรม โดยกำหนดจิตท่ีใดที่หนึ่ง วันแรกน่ัง
ตายเลยสกั คน ชีผ้าขาวจึงได้ยอม
บรกิ รรมไดส้ กั พกั กย็ งั ไออยตู่ ลอด วนั ทสี่ องปรากฏวา่
เมื่อตัดผมแล้วไม่ตาย ชีผ้าขาวจึง มีอาการค่อยชุ่มคอขึ้นหน่อย อาการไอห่างไปบ้าง
ยอมรับนับถือบรรดาพระอาจารย์ทั้งสาม พอถึงวันท่ีสามอาการไอก็หายไปราวกับปลิดทิ้ง
ยิง่ ข้ึน
รู้สึกคอชุ่มข้ึน โยมผู้นั้นนั่งบริกรรมอยู่จนดึกด่ืน
189
ใครๆ หลับกันหมด แกกย็ ังไม่ยอมหลับ ในที่สดุ
อาการไอกห็ ายโดยเดด็ ขาดตง้ั แตว่ ันน้นั เปน็ ต้นมา
โยมผนู้ น้ั สำนกึ ในบญุ คณุ ไดเ้ อาเงนิ ทองมา
ถวายพระอาจารยฝ์ น้ั แตท่ า่ นไมย่ อมรบั ผลทส่ี ดุ
กเ็ อาจกั รเยบ็ ผา้ มาถวาย อา้ งวา่ เปน็ คา่ ยกครู เพอ่ื
ไม่ให้เสียน้ำใจ ท่านจึงได้เอาจักรน้ันไปเย็บจีวร
ของท่านเองจนเสรจ็ แล้วจงึ คนื ให้
เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๔ ซึ่งเปน็ พรรษา
ที่ ๗ ของพระอาจารย์ฝั้น ท่านได
้
จำพรรษาอยู่ที่ภูระงำ อำเภอชนบท
จงั หวดั ขอนแกน่ โดยมพี ระอาจารยก์ งมา
จิรปญฺโญฺ ติดตามอยู่ร่วมจำพรรษาด้วย
นับเป็นปีท่ี ๓ ท่ีท่านไปจำพรรษาอยู่ที่
ขอนแกน่
190
กอ่ นหน้าทจ่ี ะไปถึงภูระงำ ท่านไดอ้ อกจาก (บน) พระนอน บนภรู ะงำ
อำเภอหนองหาน มาท่ีวัดศรีจนั ทร์ และได้เขา้ รว่ ม (ล่าง) พระอาจารย์บญุ มา (องค์ซ้าย) ศษิ ย์พระอาจารย์ฝ้นั
พิธีกระทำญัตติกรรมพระภิกษุคร้ังใหญ่ ในการน้ี ปจั จุบนั เป็นเจ้าอาวาสสำนักสงฆ์ ที่ภูหนั
ทา่ นอดตาหลบั ขบั ตานอนจนตาลายไปหมด เพราะ
ตอ้ งเตรยี มตดั เยบ็ สบง จีวร สังฆาฏิ ทั้งกลางวนั
กลางคนื เปน็ เหตใุ ห้ท่านอาพาธลง
พ อ ใ ก ล้ เ ข้ า พ ร ร ษ า จึ ง ไ ด้ ตั ด สิ น ใ จ ไ ป
จำพรรษาที่ภูระงำ ซึ่งขณะน้ันอาการอาพาธ
ของท่านยงั ไม่ทุเลาดีนกั
ระหวา่ งจำพรรษาอยบู่ นภรู ะงำ ปรากฏวา่ ทา่ น
ไดร้ บั ความทกุ ขเ์ วทนาเปน็ อนั มาก ตามเนอื้ ตวั ปวด
ไปหมด จะน่ังจะนอนก็ปวดเมื่อยไปทุกอิริยาบถ
ท่านจึงตัดสินใจออกไปนั่งภาวนาทำความเพียรอยู่
ในทโ่ี ลง่ แจง้ ตงั้ ใจวา่ จะภาวนาสละชวี ติ คอื ภาวนา
ไปเร่ือยๆ จนกว่าจะมรณภาพ โดยน่ังภาวนาถึง
ความทุกข์ ความเวทนา ท่เี กิดขึ้นในร่างกาย และ
191
ปากถำ้ เป็นทโี่ ล่งแจ้ง ทพี่ ระอาจารย์ฝ้ันนง่ั ภาวนาสละชวี ิต คือภาวนาตาย ยงั ผลให้ทา่ นระลึก “พทุ โธ” ไดเ้ ปน็ ครัง้ แรก
ด้วยความสำรวมใจท่ีแน่วแน่ จิตของท่านก็พลัน ปรากฏว่าจากการน่ังบำเพ็ญสมาธิ
สงบวูบลงไป ร่างกายเบาหวิว ความทุกข์ทรมาน ภาวนาบนภูระงำครั้งนั้น ยังผลให้ท่าน
ทง้ั หลายแหลก่ ็พลอยปราศนาการไปหมดส้นิ
ระลึก พทุ โธ ไดเ้ ปน็ ครงั้ แรก อาการอาพาธ
ตัง้ แต่ทุ่มเศษจนกระทงั่ ๙ โมงเชา้ ท่าน ปวดเม่ือยหายไปหมด พ้นจากการทุกข์
นั่งภาวนาในอิริยาบถเดียวอยู่ตลอดเวลา จน
ทรมาน เบาตวั เบากาย สบายเปน็ ปกติ และ
พระเณรทั้งหลายท่ีกลับจากบิณฑบาต ไม่กล้า ทำให้ท่านคิดได้ด้วยว่า สมเด็จพระสัมมา
รบกวน แตพ่ อพระเณรเขา้ ไปกราบ ทา่ นกร็ สู้ กึ ตวั สัมพุทธเจ้าได้เคยทำความเพียร นงั่ สมาธิ
และถอนจิตออกจากสมาธลิ ืมตาขึน้ มา
อยไู่ ดน้ านถงึ ๔๙ วนั เมอ่ื เปน็ เชน่ น้ี หาก
พระเณรต่างก็นิมนต์ให้ท่านฉันจังหัน แต่ ทา่ นจะนงั่ นานยง่ิ กวา่ ทที่ า่ นเคยนง่ั ในขณะนี้
ท่านแย้งว่ายังไม่ได้ออกบิณฑบาตเลย พระเณร อีกสักเท่าไร กค็ วรจะตอ้ งน่ังได
้
ต้องกราบเรียนว่า ขณะนัน้ ใกลจ้ ะ ๑๐ โมงอยูแ่ ลว้
ตา่ งไปบณิ ฑบาตกลบั มากนั หมดแลว้ ทา่ นจงึ รำพงึ ในการนั่งภาวนาทำความเพียรอีกคร้ังหน่ึง
ขนึ้ มาวา่ ทา่ นไดน้ ง่ั ภาวนาประเดย๋ี วเดยี วเทา่ นน้ั เอง พอจิตสงบท่านได้นิมิตเห็นหญิงมีครรภ์แก่มา
นกึ ไม่ถงึ เลยวา่ จะข้ามคืนมาจนถงึ ขณะนี้
เจ็บท้องอยู่ตรงหน้า แล้วคลอดมาเป็นเด็กใหญ่
สามารถเดินได้ว่ิงได้เลยทันที ขณะเดียวกันก็
(บน) บนยอดภรู ะงำ
นมิ ิตคาถาขององคลุ ีมาล ซงึ่ เปน็ คาถาสำหรับหญงิ (ล่าง) เส้นทางจากภูหันไปภูระงำ
คลอดลูกขึ้นมาได้ด้วย เมื่อถอนจิตจากสมาธิแล้ว ๓ วันหญงิ ชรากม็ าสง่ ขา่ วว่าลูกสาวคลอดบตุ รแล้ว
ทา่ นไดจ้ ดคาถาบทนัน้ ไว้วา่ “โสตถคิ ัพภัสสะ”
ไมเ่ จ็บไม่ปวดแต่ประการใด
ตง้ั แตน่ นั้ มา ชาวบา้ นจะคลอดลกู ก็
ตอ่ มาปรากฏวา่ มหี ญงิ ชราผหู้ นงึ่ พาลกู สาว
ซ่ึงเจ็บท้องใกล้จะคลอดเป็นท้องแรกมาหา แจ้งว่า มาขอคาถาท่านอยู่เปน็ ประจำ
เจบ็ ทอ้ งมา ๓ วนั แลว้ ไมค่ ลอดสกั ที ไดร้ บั ทกุ ขเ์ วทนา ออกพรรษาคราวนั้น ท่านลงจากภูระงำ
เปน็ อนั มาก ขอรอ้ งใหท้ า่ นชว่ ยเหลอื เพราะไมท่ ราบ เท่ียวธุดงค์ปฏิบัติกัมมัฏฐาน เทศนาธรรมส่ังสอน
จะพง่ึ ใครได้ พระอาจารยฝ์ นั้ จงึ ไดเ้ ขยี นคาถาบทนนั้ ชาวบ้านไปเร่ือยๆ จนถึงอำเภอน้ำพอง ซ่ึงท่ีนั่น
ลงไปบนซองยา แลว้ ใหไ้ ปภาวนาทีบ่ า้ น ต่อมาอีก ทา่ นไดพ้ บกบั พระอาจารยส์ งิ ห์ พระอาจารยม์ หาปน่ิ