วนั เปิดตกึ พเิ ศษสงฆ์ “พระอาจารย์ฝ้นั อาจาโร”
ในโรงพยาบาลสกลนคร เม่ือวันที่ ๒๐ สงิ หาคม ๒๕๑๙
344
ตกึ สงฆ์อาพาธในโรงพยาบาลจงั หวดั สกลนคร พระอาจารย์ฝัน้ ได้ใชเ้ งินบริจาคจดั สร้างข้นึ โดยทำพธิ ีวางศิลาฤกษ์
เมอื่ วนั ท่ี ๒๐ สิงหาคม ๒๕๑๘ สรา้ งเสร็จ ทำพิธเี ปิดเม่ือวันที่ ๒๐ สงิ หาคม ๒๕๑๙
345
พระอาจารย์ฝัน้ ในหม่แู พทย์ พยาบาล
เมอ่ื วนั วางศิลาฤกษ์ตึกสงฆ์อาพาธ ในโรงพยาบาลสกลนคร
หลวงพอ่ จะบรรยายพระพทุ ธธรรม ซง่ึ หลวงพอ่ กลา่ ววา่ เปน็ ธรรมทพี่ ระพทุ ธเจา้
หามาแล้วหกปแี ละหลวงพอ่ ทา่ นก็ปฏิบัตติ ามมาแลว้ จบลงดว้ ยการใหพ้ ระภิกษุ สามเณร แม่ชี
ตลอดจนฆราวาสนัง่ ตรวจดูความดี ไมด่ ี ในจติ ใจตนเองอยจู่ นดึกดื่นค่อนคนื
เมื่อท่านเข้ารับการเยียวยารักษาจากแพทย์ในเมืองหลวง โรงพยาบาลก็
เนอื งแน่นไปด้วยผหู้ ่วงใยในอาการปว่ ยเจ็บของหลวงพอ่ ข้าราชการสำนักพระราชวังซึ่งไปคอย
ประสานงาน ต้องเป็นยามเฝ้าประตูกลายๆ คอยห้ามปรามสานุศิษย์ไม่ให้หลวงพ่อต้องมีภาระ
โอภาปราศรยั ดว้ ยมากนกั
คำหา้ มเปลา่ ประโยชน์ มาตรการตา่ งๆ หยดุ ยง้ั ผศู้ รทั ธา เคารพไดแ้ คป่ ระตู
พอหลวงพอ่ เห็นใบหนา้ สลอนเยีย่ ม ท่านก็จะต้องลกุ ขึน้ ถามไถ่ทกั ทายทุกคนไป
“ยังไง...หือ”
ภายหลังเม่ือกลับไปรักษาตวั ที่วัดป่าอดุ มสมพร รอบกฏุ ขิ องหลวงพ่อถงึ กับตอ้ ง
ขึงลวดหนามป้องกันการเยี่ยมเยียนท่ีจะกลายเป็นเพิ่มความเหน็ดเหนื่อยให้หลวงพ่อ
แม้กระน้ันลวดหนามก็เกือบไม่สามารถป้องกันความพยายามเล็ดลอดนำอาหารผู้ป่วยเข้าไป
ถวายใหถ้ ึงหลวงพ่อกนั แทบจะย่สี ิบส่ีชั่วโมง
346
วนั วางศิลาฤกษ์ตึกโรงพยาบาลพระอาจารย์ฝัน้ อาจาโร
อำเภอพรรณานิคม เมอื่ วนั ท่ี ๒๐ สิงหาคม ๒๕๑๘
และก็ตามเคย ถ้าหลวงพ่อมองเห็นใบหน้าของผู้หน่ึงผู้ใดเข้า ท่านก็จะลุกขึ้น
โดยไม่ฟังคำหา้ มปราม
“พวกนเี้ ขามาทำไมกัน” ทา่ นตง้ั คำถาม
“เขามาทำบญุ กนั ” หลวงพ่อฝั้นตอบคำถามของทา่ นเอง
บญุ คอื อะไร คือความสบาย.... เย็นอกเยน็ ใจ ไมท่ กุ ข์ไม่ร้อน
โรงพยาบาลพระอาจารย์ฝนั้ อาจาโร ที่อำเภอพรรณานิคม จังหวดั สกลนคร
วางศลิ าฤกษ์ เม่ือวันที่ ๒๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๑๘ และไดเ้ ปดิ รบั คนไขแ้ ล้ว ตั้งแต่วันที่ ๒๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๒๐ เป็นต้นมา
ผทู้ แี่ หเ่ ขา้ ไปในปา่ ปนี ขนึ้ ไปบนภเู ขา ผคู้ นเหลา่ นนั้ ตอ้ งการพบหลวงพอ่ พบแลว้
ดีอกดีใจ ช่ืนอกชนื่ ใจ หมดความทกุ ขอ์ ยา่ งนอ้ ยกช็ ว่ั ขณะท่เี ห็นรอยยิม้ ปราณขี องหลวงพอ่
“ยงั ไง....หือ”
ถอ้ ยคำสน้ั ๆ ทหี่ ลวงพอ่ ทกั ทาย เหมอื นดงั หยาดนำ้ ทพิ ยช์ โลมเยน็ ฉำ่ ตลอดรา่ งกาย
และจิตวิญญาณ ปลม้ื อกปล้มื ใจ มพี ลังจะเสรมิ สร้างความดี มพี ลงั อดทน ต่อสิง่ สาหสั สากรรจ์
ต่างๆ ทยี่ ังจะตอ้ งเผชิญกันตอ่ ไป
หลวงพ่อฝ้ันมรณภาพวันท่ี ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๒๐ พอข่าวแพร่ออกไป
ผคู้ นตา่ งหลงั่ ไหลไปยงั วดั ปา่ อดุ มสมพรทกุ ทศิ านทุ ศิ รถโดยสารของเอกชนทกุ สายจากกรงุ เทพฯ
349
ในการก่อสร้างโรงพยาบาล
พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร บรรดา
สานศุ ิษย์และญาติโยมไดม้ ศี รัทธา
ไปชว่ ยเหลืออยา่ งพร้อมเพรยี ง
โดยไม่รบั คา่ ตอบแทน จนกระทั่ง
เสรจ็ การกอ่ สร้าง
350
ความศรทั ธาของชาวบ้าน
ท่มี ตี อ่ พระอาจารย์ฝ้ัน
กำลังเทคอนกรตี พืน้ ใตถ้ ุน
ศาลาโรงธรรม เพอ่ื เป็นที
่
ฉันภัตตาหารสำหรับพระภิกษุ
สามเณรท่วี ัดป่าอดุ มสมพร
เมตตาธรรม
ไปสกลนคร ถูกแพทย์และพยาบาลจองท่ีน่ังเต็มหมด รถโดยสารของบริษัทขนส่งต้องจัดรถ
เพิม่ ขน้ึ กวา่ ปกตนิ บั สิบๆ คัน รถโดยสารไปยังจังหวัดใกลเ้ คียงสกลนคร บางคันมีแตผ่ ูโ้ ดยสาร
เดนิ ทางเพอ่ื ไปวัดป่าอุดมสมพรทั้งหมด จนทางฝา่ ยรถประจำทางตอ้ งออกนอกเสน้ ทางไปสง่ ถงึ
วดั เลยทีเดียว
โดยพระมหากรุณาธิคุณ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรม
ราชินีนาถทรงโปรดเกล้าเสด็จพระราชดำเนินถวายสักการะ พระราชทานหีบศพทองทึบ
ของหลวง และโปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ดั บำเพญ็ กศุ ลเปน็ การในพระบรมราชานเุ คราะหอ์ กี ดว้ ย
352
กาลนมี้ ปี ระวตั กิ ารณต์ อ้ งจารกึ เอาไวอ้ กี ขอ้ หนงึ่ โดยโบราณราชประเพณี เมอ่ื พระราชทาน
น้ำอาบศพแล้ว ผู้ใดจะรดน้ำต่ออีกไม่ได้ แต่สำหรับกรณีหลวงพ่อฝั้น ล้นเกล้าล้นกระหม่อมทรง
พระราชทานพระมหากรุณาธคิ ณุ ให้บรรดาผ้ทู ่ีเคารพนับถอื หลวงพอ่ ถวายนำ้ สรงตอ่ ไปได
้
“อย่าได้ห้ามผู้ใด” มีพระกระแสรับสัง่
สว่ นทางด้านของพระภกิ ษสุ งฆ์นั้น พระราชาคณะและพระอาจารยฝ์ า่ ยวปิ ัสสนา
กรรมฐานองคส์ ำคญั ๆ ไดไ้ ปรว่ มชมุ นมุ ณ วดั ปา่ อดุ มสมพรอยา่ งพรกั พรอ้ ม ขาดแตท่ ชี่ ราภาพ
มากเพยี งไม่กีร่ ูป
อัฏฐบริขารของหลวงพ่อฝั้น อาจาโร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง
พระราชปรารภตอ้ งการให้เกบ็ รกั ษาไว้เพอ่ื สร้างเปน็ พิพธิ ภัณฑ์ในโอกาสตอ่ ไป
ในเนื้อทก่ี วา้ งใหญข่ องป่าเก่า อันกลายเป็นอารามอรญั ญิกอดุ มสมพรคบั แคบลง
ถนดั สำหรบั ผคู้ น ทงั้ ฆราวาสและบรรพชติ เนอื งแนน่ ไปกราบคารวะ พทุ ธประทปี ฝนั้ อาจาโร
ต้นไมใ้ หญน่ อ้ ยชกู า้ นใบนง่ิ ประดับฟ้าซึ่งเกล่อื นกลน่ ด้วยเมฆทะมนึ ทำทา่ ดงั กบั จะหลั่ง
นำ้ ตาสวรรคล์ งมา
ทกุ ถว้ นหนา้ ทไี่ ปสวู่ ดั ปา่ อดุ มสมพร หมองคลำ้ ยง่ิ กวา่ พยบั ฟา้ นำ้ ตาหลน่ พรพู ราย
กอ่ นสายฝน
แม้พระภกิ ษรุ ูปสำคัญก็ยงั มนี ้ำตาคลอคลองตั้งหลายสบิ รูป
“ชาวภูไท”
354
“ชาวภูไท”
355
ต้นตระกูลของพระอาจารย์ฝ้ัน อาจาโร เป็นชาวภูไท
จึงควรรู้จักไว้ในท่ีน้ีด้วยว่า ชาวภูไทมีประวัติ ความ
เป็นมาอย่างไรจนกระท่ังผนวกเป็นคนไทย อยู่ในผืน
แผน่ ดนิ เดียวกนั กับเราๆ ท่านๆ ทกุ วนั นี
้
356
ไม่มีประวัติศาสตร์เล่มใด หรือศิลาจารึกหลักไหนระบุไวแ้ ต่ถึงกระนั้น
ท่านผู้เฒ่าผู้แก่ชาวภูไท ก็ยังไม่ลืมชาติกำเนิดของตนเองได้บอกเล่าสืบต่อกันมา
จนกระทั่งทุกวันนว้ี า่ .....
จะกี่ร้อยปีไม่ปรากฏ เหนือแผ่นดินไทยปัจจุบันขึ้นไปเป็นท่ีทำมาหากินของ
ชนกลุ่มหน่ึง ประมาณสามหมื่นคน เมืองน้ีเรียกกันว่า เมืองน้ำน้อยอ้อยหนู เจ้าเมือง
ผเู้ ปน็ หวั หนา้ คอื พอ่ ขนุ พระเยาว ภรรยาจะชอ่ื อะไรไมป่ รากฏ เลา่ กนั มาแตว่ า่ มลี กู ชายสองคน
ผพู้ ชี่ อ่ื เจา้ หนุ ผนู้ อ้ งชอ่ื เจา้ หาญ ตอ่ มาผคู้ นไมเ่ ปน็ ปกตสิ ขุ เพราะถกู ภยั ธรรมชาตคิ กุ คามอยบู่ อ่ ยๆ
บางทฝี นแลง้ ตดิ ตอ่ กนั หลายปี การทำไรท่ ำนาตลอดจนการปลกู พชื ผกั ตา่ งๆ ไมไ่ ดผ้ ล เปน็ เหตุ
ให้ผู้คนอดอยากอยู่เนืองๆ
เม่ือไม่มีทางใดจะแก้ไขได้ พ่อขุนพระเยาวจึงอพยพผู้คนของท่านละท้ิงถ่ินเดิม
มงุ่ หนา้ ลงทางใต้ เพอ่ื แสวงหาถนิ่ ใหมท่ อี่ ดุ มสมบรู ณก์ วา่ แตเ่ นอื่ งจากผคู้ นทอ่ี พยพลงมามจี ำนวน
มากประมาณสามหมื่นคน การอพยพซึ่งต้องกระทำโดยทางเท้าจึงเต็มไปด้วยความยากลำบาก
ขณะเดนิ ทางผา่ นปา่ ยง่ิ ประสบอปุ สรรคมากขน้ึ เพราะนำ้ อาบนำ้ กนิ หายาก ผคู้ นตา่ งกระหายนำ้
เปน็ ทน่ี า่ เวทนาย่ิงนัก
พ่อขุนพระเยาวกับเจ้าหุนและเจ้าหาญผู้ลูก ตระหนักถึงความทุกข์ทรมาน
ของผู้คน แต่ก็จนปัญญาไม่ทราบว่าจะแก้ไขอย่างไรได้ จึงตั้งสัตย์อธิษฐานอ้อนวอนเทพเจ้า
ตลอดจนสงิ่ ศกั ดสิ์ ทิ ธทิ์ ง้ั หลายและทา้ วจตโุ ลกบาลทง้ั ส่ี ขอดลบนั ดาลใหไ้ ดพ้ บหว้ ยหนองคลองบงึ
ท่ีมีน้ำสะอาดและอุดมสมบูรณ์โดยเรว็ เพ่ือบำบัดความหิวกระหายของผูค้ นใหห้ มดสิน้ ไป
ทนั ทที ตี่ งั้ สตั ยอ์ ธษิ ฐานจบลง กไ็ ดย้ นิ เสยี งนกกวกั รอ้ งขน้ึ ในทอี่ นั ไมไ่ กลนกั
ถึงสามคร้ัง ปกตินกกวักมักอาศัยอยู่ตามแหล่งท่ีมีน้ำ จึงได้พากันไปดูตามทิศทางที่
นกกวักร้อง ก็พบหนองน้ำอันกว้างใหญ่เต็มไปด้วยน้ำใสสะอาด ผู้คนทั้งสามหม่ืนจึง
รอดตาย ไดน้ ้ำอาบนำ้ กนิ มาบำบดั ความกระหายไปได้ระยะหนึง่
เมื่อพักผ่อนใกล้หนองน้ำน้ันพอสมควรแล้ว พ่อขุนพระเยาวก็อพยพผู้คน
ทั้งสามหมื่นเดินทางมุ่งต่อลงทางใต้ วันหนึ่งทั้งหมดเดินทางมาถึงแม่น้ำใหญ่ ทั้งลึกท้ังกว้าง
กระแสนำ้ กไ็ หลเชีย่ วสดุ ปัญญาท่จี ะอพยพผูค้ นข้ามไปได้ อปุ สรรคใหญจ่ ึงอุบตั ขิ น้ึ อกี คร้ัง
358
พ่อขุนพระเยาวกับเจ้าหุนและเจ้าหาญได้ต้ังสัตย์อธิษฐานเหมือนคราวแรก
ขอให้มขี อนไม้ที่ใหญ่และยาวมาก่ายฝัง่ ข้างโน้น จะได้ใชเ้ ปน็ สะพานไต่ขา้ มไป ทนั ใดก็มีซุงใหญ่
และยาวล่องมาตามกระแสน้ำ พอถงึ ท่พี ักซุงต้นมหึมากข็ วางแม่นำ้ ทันที แลว้ หยุดลงในลกั ษณะ
ปลายซุงพาดฝ่งั ทัง้ สองข้างไว้
พอ่ ขนุ พระเยาว กบั คนทง้ั สามหมน่ื กเ็ ดนิ ขา้ มแมน่ ำ้ ไปไดด้ ว้ ยความปลอดภยั
พอขา้ มไปไดห้ มด ซงุ ตน้ นนั้ กเ็ รมิ่ ขยบั ตวั กระดกิ หวั กระดกิ หางกลายเปน็ งใู หญช่ หู วั ขน้ึ
พ้นนำ้ จากน้ันก็ดำน้ำชูหางขน้ึ มา แลว้ จมหายไปทนั ท
ี
พอ่ ขนุ พระเยาวเหน็ เปน็ อัศจรรย์ จงึ ประกาศต่อผคู้ นทัง้ นนั้ วา่ ในภาย
ภาคหน้าจะไปต้ังบ้านเรือนอยู่ ณ ท่ีใดก็ดี ถ้าอยู่ตามทุ่งห้ามมิให้กินงู ถ้าอยู่ตาม
ภูผาหรอื ป่าดงพงไพร หา้ มมใิ ห้กินนกกวัก เพราะสตั วท์ ัง้ สองชนิดน้ีมบี ญุ คุณ ช่วย
ให้พ้นภัยพิบัติและความเดือดร้อนต่างๆ ดังประจักษ์อยู่แล้ว คำประกาศิตของ
พอ่ ขุนพระเยาวดังกลา่ ว ยังติดปากผู้เฒา่ ผูแ้ กช่ าวภูไทสบื ตอ่ มา จนกระทัง่ ทกุ วนั น ้ี
รำภไู ทของชาวภไู ทท่บี ้านโนนหอม สกลนคร
359
ลกั ษณะการแตง่ กายของสาวๆ ชาวภูไททเ่ี รณูนคร
คร้นั อพยพมาถงึ กรุงศรสี ัตนาคนหุต (เมอื งเวียงจันทน์) พอ่ ขุนพระเยาวเจ้าหนุ
และเจา้ หาญไดเ้ ขา้ เฝา้ เจา้ แผน่ ดนิ ผคู้ รองเมอื ง (จะเปน็ สมยั ใดไมป่ รากฏ สนั นษิ ฐานวา่ นา่ จะเปน็
สมัยเดียวกับพระเจ้าไชยเชษฐา หรือไม่ก็ก่อนหน้านั้นเล็กน้อย) พระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุต
มีพระดำรัสถามว่า เดิมต้ังหลักแหล่งอยู่ท่ีใด เหตุใดจึงอพยพผู้คนมาเป็นจำนวนมากเช่นนี้
พ่อขุนพระเยาวทูลตอบว่า เดิมต้ังบ้านเรือนอยู่ท่ีน้ำน้อยอ้อยหนู ถูกภัยธรรมชาติคุกคาม
ผู้คนต้องอดอยากยากแค้น จึงอพยพลงมาเพ่ือแสวงหาถ่ินใหม่อันอุดมสมบูรณ์กว่า เมื่อ
พระเจ้ากรุงศรสี ัตนาคนหตุ มีพระดำรสั ถามถงึ การประกอบอาชพี พ่อขุนพระเยาวกท็ ลู ช้แี จงว่า
เคยทำไร่ไถนาและปลกู พืชบางชนิดเลยี้ งชพี เชน่ ฝ้าย พรกิ และอืน่ ๆ เป็นต้น โดยมากชอบ
อยู่ใกล้ภูเขาเพราะสะดวกในการทำนาข้าว พระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุตจึงทรงแนะนำให้อพยพ
ต่อลงไปทางใต้ของแม่น้ำโขง เพราะยังมีพื้นที่ท่ีอุดมสมบูรณ์อยู่อีกมาก แล้วพระราชทาน
นางสนมคนหน่ึงชื่อนางลาวให้เป็นภรรยาของพ่อขุนพระเยาว กับโปรดให้พระราชครูรูปหนึ่ง
เดนิ ทางไปด้วย เพ่ือสั่งสอนอบรมให้ซาบซง้ึ ในพระพุทธศาสนา ทง้ั ยังพระราชทานพระพุทธรปู
องคห์ นง่ึ ไปไว้สกั การะบชู าอกี ด้วย
360
แผนท่ีแสดงการอพยพต้ังถนิ่ ทีอ่ ยู่ของชาวภูไท
จงั หวัดสกลนคร ๑ อำเภอกุสุมาลย์ ๒ อำเภอพรรณานิคม เป็นพวกราชวงศ์เมืองวัง อพยพต้งั ถ่นิ ทอี่ ยู่ ๓ อำเภอวาริชภมู ิ
จังหวดั กาฬสนิ ธ์ุ ๔ อำเภอสหัสขนั ธ์ ชาวภูไทไดต้ ง้ั ถน่ิ ทอี่ ยใู่ นหมบู่ า้ นโพน บา้ นหนองช้าง และบ้านหนองยาง
๕ อำเภอกฉุ นิ ารายณ์ ชาวภไู ทไดต้ ง้ั ถนิ่ ทอ่ี ยใู่ นหมบู่ า้ นตำบลบวั ขาว ตำบลแจนแลน บา้ นภแู ลน่ ชา้ ง บา้ นสงเปลอื ย
และบ้านคุม้ เก่า
จังหวดั นครพนม ๖ อำเภอคำชะอี ชาวภไู ทไดต้ ้งั ถิน่ ทอี่ ย่ใู นหมบู่ ้านคำชะอี และบา้ นหนองสงู
๗ กิ่งอำเภอเรณนู คร ชาวภไู ทได้ตั้งถ่ินท่อี ยใู่ นบา้ นเรณนู คร และบา้ นโพนทอง
361
พ่อขุนพระเยาวได้อพยพคนสามหมื่นลงใต้มาโดยลำดับ คร้ันมาถึงเมือง
วงั อ่างคำ ซงึ่ เป็นถ่ินของพวกขา่ พิจารณาแลว้ เห็นว่ามพี ืน้ ทอ่ี ดุ มสมบูรณ์ จงึ ตดั สนิ ใจ
ต้ังรกรากอยทู่ เ่ี มืองน้นั
พวกขา่ เมอื งวงั อา่ งคำเปน็ อสิ ระ ไมไ่ ดส้ ง่ สว่ ยสาอากรขนึ้ กบั เมอื งใด แตช่ าวภไู ท
ตระหนักในพระคุณของพระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุต ดังน้ัน เมื่อต้ังหลักฐานได้มั่นคงดีแล้ว
จึงส่งส่วยไปถวาย เป็นพร้าโต้ปีละ ๓๐ เล่มมาตลอด ความเรื่องนี้ทำให้พวกข่าบังเกิดความ
ไม่ไว้วางใจ เกรงว่าชาวภูไทจะพาพวกตนไปอ่อนน้อมขึ้นต่อกรุงศรีสัตนาคนหุต จึงคิดจะรวม
อำนาจปกครองชาวภูไทให้อยู่ในเง้ือมมือ แต่ชาวภูไทรู้ทันจึงคิดจะรวมอำนาจปกครองพวกข่า
ไว้ในทำนองเดยี วกัน ในท่สี ดุ พวกข่ากบั ชาวภูไทก็ใช้กำลังเข้ารบพ่งุ กนั เป็นสามารถ ในระหว่าง
ทย่ี งั ไมม่ ฝี า่ ยใดแพช้ นะ พอ่ ขนุ พระเยาวกเ็ สนอเงอ่ื นไขขนึ้ วา่ การตอ่ สกู้ นั ดว้ ยกำลงั มแี ตจ่ ะเกดิ
ความล้มตายไร้ประโยชน์เปรียบประดุจสาดน้ำรดกันย่อมต้องเปียกปอนทั้งสองฝ่าย การที่ผู้ใด
จะเป็นใหญ่เป็นโตปกครองผู้คนนั้นควรต้องเป็นผู้มีบุญวาสนา มีสติปัญญาและบารมีอันแก่กล้า
และการที่จะรู้ว่าผู้ใดมีคุณสมบัติดังกล่าว จะกระทำได้โดยไปเสี่ยงบุญวาสนากันท่ีหน้าผา
โดยให้ทำหน้าไม้ไปยิงหน้าผาเสี่ยงบารมี หากลูกหน้าไม้ไปเสียบติดอยู่ที่หน้าผาถึงสามคร้ัง
ผู้นั้นแหละสมควรได้เป็นใหญ่เป็นโตปกครองคน จึงจะชอบ พวกข่าก็เห็นด้วย และตกลงจะ
เส่ยี งบารมีกันตามนัน้
พวกขา่ ไดช้ ว่ ยกนั สรา้ งหนา้ ไมท้ แ่ี ขง็ แรง ขายาวถงึ สามศอก หวงั ใหล้ กู หนา้ ไมเ้ กดิ
กำลงั พงุ่ จะไดฝ้ งั ตดิ กบั หนา้ ผา แตฝ่ า่ ยภไู ทไมเ่ ชน่ นนั้ กลบั ทำหนา้ ไมอ้ ยา่ งขาออ่ นๆ และใชข้ ส้ี ตู
ปิดไว้ทีป่ ลายลกู หน้าไม้
ถึงวันนัด ต่างฝ่ายต่างแห่แหนหน้าไม้ของตนไปสู่หน้าผาที่กำหนดเส่ียงบารมี
ฝ่ายข่าเป็นผู้ยงิ ก่อน ยงิ หนา้ ไมส้ ามคร้งั ลกู หนา้ ไม้ไปกระทบผาซึ่งเปน็ หนิ แขง็ ก็กระเด็นตกลงมา
ทงั้ สามครงั้ ฝา่ ยภไู ทเปน็ ผยู้ งิ ทหี ลงั ลกู หนา้ ไมพ้ งุ่ ไปถกู หนา้ ผาเพยี งเบาๆ ขสี้ ตู ปลายลกู หนา้ ไม้
เป็นของที่เหนียวหนับ ลูกหน้าไม้จึงจับติดหน้าผาทั้งสามครั้งอย่างง่ายดาย พวกข่าเห็นเป็น
อัศจรรย์จงึ พากนั อ่อนน้อม ยอมอยู่ใตก้ ารปกครองของชาวภไู ทตามสัญญา
แต่ยังมีข่ากลุ่มหนึ่งไม่ยอมอยู่ใต้อำนาจชาวภูไท พากันแตกหนีเข้าไปซ่อนตัว
อยู่ตามเขา ตามถ้ำ ฝ่ายภูไทได้ยกกำลังออกไปสะกัดที่ผาลูกหน่ึง แต่ไม่ทันจึงติดตามรอย
ไปจนถึงผาอีกลูกหน่ึง พบรอยเท้าใหญ่และเล็กเข้าไปในถ้ำเป็นจำนวนมาก ฝ่ายภูไทจึงเอา
พรกิ มากองไวท้ ปี่ ากถำ้ แลว้ จดุ ไฟใหค้ วนั รมเขา้ ไปขา้ งใน พวกขา่ ทนสำลกั ควนั พรกิ ไมไ่ หวกพ็ ากนั
ออกมาออ่ นน้อมแตโ่ ดยดี
362
ผาที่ชาวภูไทยกกำลังไปสะกัด เรียกช่ือกันว่า “ผากาด” ส่วนผาที่ชาวภูไทรมควัน
พรกิ พวกขา่ เรยี กกันวา่ “ผาอูด”
พ่อขุนพระเยาวได้มีบุตรกับนางลาวที่พระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุตพระราชทานให้
รวมสองคน ผู้พ่ีชื่อเจ้าก่า ผู้น้องช่ือเจ้าแก้ว นอกจากน้ันพวกข่าเห็นว่าพ่อขุนพระเยาวเป็น
ผมู้ บี ุญบารมีอันแก่กล้า จงึ ได้ยกลกู สาวหวั หนา้ ขา่ ให้เปน็ ภรรยาด้วยอกี คนหนึ่ง พ่อขนุ พระเยาว
จึงไดบ้ ุตรชายอนั เกิดจากลูกสาวหวั หนา้ ขา่ อีกคน ช่ือเจา้ กล่ำ
ครั้นพ่อขุนพระเยาวถึงแก่กรรมลง ฝ่ายภูไทได้ยกเจ้าก่าขึ้นเป็นเจ้าเมือง
วงั อา่ งคำ เจา้ กา่ มบี ตุ รคนหนง่ึ ชอื่ เจา้ โรงกลาง สว่ นเจา้ หนุ เจา้ หาญบตุ รชายของพอ่ ขนุ พระเยาว
แต่เดิม ไม่ปรากฏบทบาทในระยะหลงั แตป่ ระการใด
ในปี พ.ศ. ๒๓๒๑ ซึ่งตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชกรุงธนบุรี
ครงั้ นน้ั เจา้ บญุ สารเจา้ เมอื งเวยี งจนั ทนไ์ ดเ้ กดิ ววิ าทกบั พระวอเสนาบดี พระวอพา่ ยการรบจงึ หลบหนี
มาอาศัยอยู่ในเมืองจำปาศักดิ์ ภายหลังได้อพยพข้ามโขงเข้ามาอาศัยอยู่ที่ตำบลดอนมดแดง
แขวงเมืองอุบลราชธานี แล้วขอสวามิภักด์ิต่อสมเด็จพระเจ้าตากสิน เจ้าบุญสารทราบความจึง
ให้พระยาสุโพลงยกกำลังมาจับพระวอฆ่าเสีย สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงพระพิโรธ จึงรับสั่งให้
สมเดจ็ เจ้าพระยามหากษตั ริย์ศึกยกกองทัพไปทางบก ให้เจ้าพระยาสุรสีหย์ กกองทัพเรือไปทาง
แม่น้ำโขง ตีหัวเมืองรายทางขึ้นไปจนถึงเมืองเวียงจันทน์ ระหว่างนั้นเจ้าร่มขาวเจ้าเมือง
หลวงพระบางขอสวามภิ กั ด์ิ กองทพั ไทยไดล้ อ้ มเมอื งเวยี งจนั ทนอ์ ยถู่ งึ สเ่ี ดอื น เจา้ บญุ สารสไู้ มไ่ ด้
จงึ หลบหนอี อกไปอยทู่ เ่ี มอื งคำเกดิ ไทยจงึ ไดเ้ มอื งเวยี งจนั ทน์ เมอื งหลวงพระบาง รวมเขตแควน้
363
หมบู่ า้ นภูไท
ทีบ่ ้านบะทอง
พรรณานคิ ม
หัวเมืองลาวทั้งหมดมาข้ึนกับกรุงธนบุรี ท้ังได้กวาดต้อนผู้คนตามหัวเมืองน้อยใหญ่ลงมาต้ัง
หลักฐานอยู่ตามหัวเมืองต่างๆ ทางภาคกลางอีกมากมาย เช่น สระบุรี ลพบุรี สุพรรณบุรี
อ่างทอง ปราจีนบุรี นครนายก ราชบุรี เพชรบุรี ชลบุรี ท่ีกวาดต้อนเข้ามายังส่วนในก็มี
เช่น บา้ นหม้อ บา้ นบาตร และแถววดั สระเกศ เป็นตน้
ตอ่ มาในสมัยรัชกาลที่ ๓ ถึง พ.ศ. ๒๓๖๙ เจา้ อนุวงศ์เมอื งเวียงจนั ทนเ์ ปน็ กบฏ ทรง
พระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้จัดแม่ทัพนายกองขึ้นไปปราบปรามกระทั่งจับเจ้าอนุวงศ์ได้ กองทัพไทยได้
กวาดต้อนผู้คนตามหัวเมืองน้อยใหญ่ลงมาอยู่ในภาคกลางอีกคร้ังหน่ึง คร้ังน้ันชาวภูไทเมืองวังอ่างคำก็
ประสบภัยเช่นกัน แต่พากันหลบหนีไปได้เป็นส่วนใหญ่ แล้วไปอาศัยอยู่ที่เมืองราชคำอั้ว โดยซุ่มซ่อน
อาศยั อยู่ตามปา่ ตามเขา
ถงึ พ.ศ. ๒๓๗๘ เจา้ ราชวงศอ์ นิ ทรเ์ มอื งเวยี งจนั ทนก์ บั เจา้ เมอื งกาฬสนิ ธไุ์ ดข้ นึ้ ไป
เกลยี้ กลอ่ มผคู้ นทซี่ มุ่ ซอ่ นอยตู่ ามปา่ วา่ ขณะนเี้ มอื งเวยี งจนั ทนไ์ ดอ้ อ่ นนอ้ มตอ่ พระเจา้ กรงุ สยามแลว้
ขอให้กลับไปทำมาหากินได้เช่นเดิม ผู้ใดจะข้ามไปกินข้าวในนาปลาในหนองทางฝ่ังขวาของ
364
กรุงสยามก็ไปได้ตามใจชอบ ชาวภูไทเมืองวังอ่างคำ และเมืองพิณ เมืองนอง เมืองกองแก้ว
เมืองมหาไชย เมอื งคำเกิด คำมว่ น และเมืองอัตตะปอื แสนปาง จงึ ไดอ้ พยพข้ามโขงเข้ามาตงั้
บา้ นเรอื นอยใู่ นแขวงเมอื งสกลนคร นครพนมและกาฬสนิ ธุ์ โดยเฉพาะชาวภไู ทเมอื งวงั อา่ งคำนน้ั
ได้อพยพมาต้ังบ้านเรือนที่กุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธ์ุ บ้านหนองสูง อำเภอคำชะอี และ
เมืองเว (เรณนู คร) จังหวัดนครพนม
ส่วนเจา้ ลี เจ้าอนิ ทร์ เจ้านวล สามพ่ีน้องลูกชายของเจ้าโรงกลางเจา้ เมือง
วังอ่างคำ ได้อพยพข้ามโขงเข้ามาโดยลำดับ แล้วใช้ช้าง ๙ เชือกเป็นพาหนะบรรทุก
เครื่องสัมภาระและครอบครัวผ่านเข้ามาทางบ้านหนองเชียงสือ แขวงเมืองสกลนคร
คร้ันมาถึงบ้านเปือยท่ีตำบลวังยางในปัจจุบัน ได้หยุดพำนักอยู่ชั่วคราวก็ต้องอพยพต่อ
เพราะสถานทนี่ นั้ เปน็ ทลี่ มุ่ มากกวา่ ทด่ี อน ชาวบา้ นวงั ยางไดเ้ รยี กสถานทน่ี นั้ วา่ “ทา่ พรรณา”
เพราะอยู่ใกล้ลำห้วยอูนทางขา้ มไปบ้านหนองหวาย
น่าสังเกตว่า ประมาณสิบปีท่ีผ่านมาหลักผูกช้างของชาวภูไทชุดน้ียังปรากฏให้เห็นอยู่
แต่ต่อมาเกิดไฟไหม้ปา่ จึงสาบสูญไปหมด
365
เมอื่ อพยพต่อมาจนถงึ บา้ นพนั พร้าว เหน็ วา่ เป็นสถานที่อนั เหมาะสมจะต้ังแหลง่
พำนกั ได้ เจา้ ลจี งึ ตงั้ หลกั แหลง่ ทบี่ า้ นพนั พรา้ ว สว่ นเจา้ นวลไดต้ ง้ั ทบี่ า้ นมว่ งไข่ จากนนั้ เจา้ ลแี ละ
เจา้ นวลพรอ้ มดว้ ยคณะกรมการไดล้ งมาเฝา้ พระเจา้ กรงุ สยาม ขอตง้ั “เมอื งพรรณนา” ขนึ้ อยอู่ าศยั
พระเจา้ กรงุ สยามกท็ รงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานยศฐาบรรดาศกั ดิ์
ใหเ้ จา้ ลเี ปน็ พระเสนาณรงคเ์ จา้ เมอื งพรรณานคิ ม และแตง่ ตง้ั ใหเ้ จา้ นวลเปน็ อาชญาอปุ ฮาด
แลว้ แตง่ ตงั้ กรมการเมอื งคอื ราชบตุ ร ราชวงศ์ เมอื งแสน เมอื งจนั ทร์ เมอื งขวา เมอื งซา้ ย
เมืองกลาง เมืองคกุ เมืองฮาม เมืองแพน นาเหนอื นาใต้ ซาเนตร ซานนท์ มหาเสนา
มหามนตรี ซาบณั ฑติ ย์ กรมเมอื งและสโุ พ ปกครองราษฎรชาวภูไทใหอ้ ยู่เยน็ เปน็ สขุ
เมอื งพรรณนานคิ มไดส้ ง่ สว่ ยตอ่ พระเจา้ กรงุ สยามทกุ ปี ปหี นง่ึ เปน็ ทองคำนำ้ หนกั ๒๒ บาท
สว่ นหัวเมอื งอน่ื ๆ นอกจากเมอื งพรรณานคิ ม ตา่ งสง่ สว่ ยด้วยผลมะแหนง่
กอ่ นอพยพขา้ มโขงมา ชาวภไู ทไดอ้ ญั เชญิ ดวงวญิ ญาณของบรรพบรุ ษุ คอื พอ่ ขนุ
พระเยาว เจา้ หนุ เจา้ หาญมาดว้ ย เพอื่ ขอใหป้ กปอ้ งคมุ้ ครองใหร้ อดพน้ จากเหลา่ รา้ ย เมอื่ ตงั้ เมอื ง
พรรณานคิ มขน้ึ แลว้ ชาวภไู ทจงึ ปลกู หอขนึ้ เรยี กวา่ หอทะดา แลว้ อญั เชญิ ดวงวญิ ญาณดงั กลา่ ว
ขนึ้ สงิ สถติ พรอ้ มกบั เทพเจา้ และสงิ่ ศกั ดสิ์ ทิ ธอิ์ นื่ ๆ ครบปจี ะมพี ธิ เี ลย้ี งทะดา ทำพธิ กี รรมบวงสรวง
ตามทเ่ี คยปฏิบตั ิมาแต่ก่อน
366
เมอ่ื พระเสนาณรงค์ (ล)ี ตน้ สกลุ แกว้ กา่ ถงึ แกก่ รรม เจา้ นวลผเู้ ปน็ อาชญาอปุ ฮาด
พร้อมคณะกรมการเมืองได้ลงไปเฝ้าพระเจ้ากรุงสยามท่ีบางกอก ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
แต่งตั้งให้เจ้านวลเป็นพระเสนาณรงค์คนที่ ๒ กับแต่งตั้งให้เจ้าคำขันธุ์เป็นอาชญาอุปฮาด
พระเสนาณรงค์ (นวล) ไดย้ า้ ยทท่ี ำงานไปตงั้ อยทู่ บี่ า้ นมว่ งไข่ (เหตทุ ช่ี อื่ บา้ นมว่ งไข่ เพราะแตเ่ ดมิ
มมี ะม่วงไข่ตน้ ใหญ่อยูท่ นี่ ั่นตน้ หนงึ่ ปัจจุบันตายผุพังไปหมดแลว้ )
เม่ือพระเสนาณรงค์ (นวล) ถึงแก่กรรมลงอีก เจ้าคำขันธ์ุ ได้เป็น
พระเสนาณรงค์คนท่ี ๓ เจ้าเมืองพรรณานิคมแทน และเจ้าสุวรรณ์บุตรชายเจ้าอินทร์
ผู้เป็นพี่ชายพระเสนาณรงค์ (นวล) ได้เป็นอาชญาอุปฮาด แต่เจ้าคำขันธุ์ อายุสั้น
ถึงแก่กรรมเสียท่ีเมืองบางกอก พระเจ้ากรุงสยามส่ังโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เจ้าสุวรรณ์
เปน็ พระเสนาณรงคค์ นท่ี ๔ กบั แตง่ ตง้ั ใหห้ ลวงจำนงคร์ าชกจิ บตุ รชายของพระเสนาณรงค์
(ล)ี เป็นอาชญาอปุ ฮาด
ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ได้มีการเปล่ียนแปลงระบบบริหารส่วนท้องถิ่นบางประการ
หวั เมอื งต่างๆ ถูกยุบเป็นอำเภอไปมากมาย หลายครอบครัวรวมกันเปน็ หมบู่ ้าน หลายหมบู่ า้ น
รวมกนั เปน็ ตำบล หลายตำบลรวมกนั เปน็ อำเภอ และหลายอำเภอรวมกนั เปน็ จงั หวดั กบั หลาย
จังหวดั รวมกนั เปน็ มณฑล พระเสนาณรงค์ (สุวรรณ)์ จงึ ได้รับพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ใหเ้ ปน็
นายอำเภอคนแรกของอำเภอพรรณานคิ ม
พระเสนาณรงค์ (สุวรรณ์) คนท่ี ๔ ท่านน้ีเอง คือเจ้าของนามสกุล
“สุวรรณรงค์” ในสมัยรัชกาลท่ี ๖ และพระอาจารย์ฝ้ัน อาจาโร ก็เป็นชาวภูไทใน
สกุลนี้ด้วย ดงั จะได้กลา่ วตอ่ ไปในเรื่องของตระกลู “สุวรรณรงค”์ โดยเฉพาะ
ตระกูล “สุวรรณรงค์”
369
ตระกูล “สุวรรณรงค์”
จากเรอ่ื ง “ประวตั ชิ าวภไู ท” ซง่ึ ไดอ้ พยพมาพง่ึ พระบรม
โพธิสมภาร ในสมัยรัชกาลที่ ๓ กรุงรตั นโกสินทร์ ดงั ได้กล่าว
มาแลว้ คงจำกนั ได้ว่าเจ้าลี เจา้ อนิ ทร์ และเจา้ นวล รวมดว้ ยกนั
สามพ่ีน้อง ซ่ึงเป็นลูกชายเจ้าเมืองวัง ได้อพยพผู้คนชาวภูไท
ข้ามโขงมาตั้งเมืองพรรณา ซ่ึงปัจจุบันเป็นอำเภอพรรณานิคม
จังหวัดสกลนคร และเจ้าลีได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็น
พระเสนาณรงค์ เจา้ เมืองพรรณานิคมคนที่ ๑
ต่อมาเจ้านวลได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็นพระเสนา
ณรงค์ เจ้าเมืองพรรณานคิ มคนที่ ๒
พระเสนาณรงค์ (นวล) มีภรรยา ๔ คน ภรรยาคนแรก
ไม่ทราบชือ่ มบี ตุ รดว้ ยกัน ๔ คน คือ
๑. อาชญาราชบตุ ร (วงศ)์
๒. อาชญาผู้ชว่ ย (แวน่ )
๓. นางคำผุย
๔. นางคำพนั
อาชญาราชบุตร (วงศ์) มีภรรยาชื่อนางบัวทอง มีบุตร
ด้วยกันรวม ๗ คนคือ
370
๑. เจ้าไชยกมุ มาร (เมา้ ) บดิ าพระอาจารยฝ์ ้ัน อาจาโร
๒. เจ้าหลวงพรหม (เมฆ) บิดาพระอาจารย์กู่ ธมฺมทินโน
และพระอาจารย์กว่า สุมโน
๓. เจา้ กุ
๔. เจ้าทอง
๕. เจ้าคำ
๖. เจ้าจบี
๗. นางน้อย
สำหรับเจ้าอินทร์ ผู้เป็นพ่ีชายของพระเสนาณรงค์ (นวล)
เจ้าเมืองพรรณานิคมคนที่ ๒ มภี รรยาชื่อใดไม่ปรากฏ มีบตุ รดว้ ยกัน
๔ คน ดงั นี
้
๑. เจา้ บญุ จันทน์
๒. เจ้าสวุ รรณ์
๓. เจ้าสวุ ฒั น์ .
๔. นางดวงตา
เจา้ สวุ รรณบ์ ตุ รของเจา้ อนิ ทรไ์ ดร้ บั พระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ แตง่ ตง้ั
เป็นพระเสนาณรงค์ เจ้าเมอื งพรรณานิคมคนท่ี ๔ สว่ นเจ้าบญุ จนั ทร์ได้รับ
แต่งต้งั เปน็ อาชญาพระไชยสงคราม
เจา้ สวุ รรณ์ หรอื พระเสนาณรงค์ เจา้ เมอื งพรรณานคิ มคนท่ี ๔ ทา่ น
นเี้ อง คอื ทม่ี าของคำวา่ “สวุ รรณรงค”์ อนั เปน็ สกลุ ของพระอาจารยฝ์ น้ั ดว้ ย
ทีม่ าของสกุล “สวุ รรณรงค์” มีดงั นี้
ครัง้ รัชกาลที่ ๕ กรงุ รัตนโกสนิ ทร์ พระเสนาณรงค์ (สุวรรณ)์
เจา้ เมอื งพรรณานคิ มคนที่ ๔ ไดร้ บั ใบบอกจากกรงุ เทพฯ ใหค้ มุ ทหารไปสมทบ
กองทหารจากหวั เมอื งตา่ งๆ ทเ่ี มอื งเวยี งจนั ทน์ เพอ่ื ปราบฮอ่ ทกี่ อ่ การกบฏ สว่ น
ทพั หลวงนน้ั รชั กาลท่ี ๕ ไดม้ พี ระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ ใหย้ กไป
จากกรงุ เทพฯ เพอ่ื สมทบกนั เขา้ ปราบปราม พระเสนาณรงคจ์ งึ ตระเตรยี มกำลงั
ทหารพรอ้ มดว้ ยเสบยี งกรงั และอาวธุ ยทุ โธปกรณ์ แลว้ ยกไปสมทบกบั กองทพั
หลวงตามพระบรมราชโองการ โดยมตี วั ทา่ นเองเปน็ แมท่ พั อาชญาพระไชย
สงคราม (บญุ จนั ทร์) อาชญาอุปฮาดหลวงจำนงคร์ าชกิจ เปน็ รองแมท่ ัพ
กอ่ นยกกำลงั ออกไปจากเมอื งพรรณานคิ ม แมท่ พั นายกองทงั้ หลาย
ไดไ้ ปนมสั การเจ้าผ้าขาว ซงึ่ ประชาชนนยิ มเรยี กกันวา่ “เจ้าผูข้ ้า” เพื่อขอ
371
สริ มิ งคลปกปอ้ งใหพ้ น้ ภยั พบิ ตั แิ ละรบชนะศกึ เจา้ ผขู้ า้ กใ็ หพ้ ร และใหโ้ อวาทวา่
การไปรบพงึ ตง้ั อยใู่ นความสตั ยส์ จุ รติ ไมค่ ดิ คด ไมผ่ ดิ ลกู ผดิ เมยี ผอู้ นื่ ทรพั ย์
สงิ่ ของตา่ งๆ ทมี่ เี จา้ ของหวงแหนอยา่ ไดค้ ดิ แตะตอ้ งเปน็ ของตน ถา้ ตง้ั อยใู่ น
สตั ยส์ จุ รติ ดงั กลา่ วแลว้ ภยั พบิ ตั ติ า่ งๆ จะไมอ่ าจกลำ้ กลายไดเ้ ลย แลว้ ทา่ นผขู้ า้
กแ็ จกหอ่ ผา้ ขาวบรรจดุ นิ ทรายไวใ้ นหอ่ หากเมอ่ื โรยใสห่ วั แลว้ กจ็ ะพน้ ภยั พบิ ตั ิ
ทัง้ มวล แม่ทัพนายกองทัง้ หลายรบั คำแล้วกน็ มัสการลาท่านออกเดินทาง
“เจา้ ผขู้ า้ ” ทชี่ าวภไู ทเมอื งพรรณานคิ มนบั ถอื นี้ เปน็ ผซู้ ง่ึ ออกไป
บำเพญ็ พรหมจรรยอ์ ยใู่ นถำ้ แหง่ หนงึ่ ทอี่ ยเู่ ชงิ เขาภพู าน เขตตำบลไร่ อำเภอ
พรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ท่านบริโภคแต่ยอดไม้ใบหญ้า หัวเผือก
หัวมนั หรือไม่กฟ็ ักทองไปจนตลอดชีวติ
ครน้ั ยกกำลงั ทหารไปสมทบกบั กองทพั หลวงแลว้ ทางกองทพั หลวง
ไดใ้ หท้ พั จากหวั เมอื งตา่ งๆ ขดุ สนามเพลาะรอบคา่ ยฮอ่ ตา่ งฝา่ ยตา่ งยงิ กระสนุ
เข้าใส่กันอย่างดุเดือด ยิงกันอยู่หลายวันทัพไทยก็ยังตีค่ายฮ่อไม่สำเร็จ
เพราะพวกฮ่อสรา้ งค่ายรายร้ัวไว้อยา่ งมนั่ คงแขง็ แรง
ประวัติ “เจา้ ผ้ขู า้ ”
สมัยเม่ือร้อยปีเศษมาแล้ว “เจ้าผู้ข้า” เป็น
ชื่อท่ีชาวเมืองพรรณานิคม ยกย่องบูชา เคารพ
นับถือในปฏิปทาและคุณธรรมของท่าน ได้พากัน
ขนานนามวา่ “เจา้ ผขู้ า้ ” คอื เจา้ ผเู้ ปน็ ทพ่ี งึ่ แหง่ เรา
นามเดิมคือ นายน้อยหนา เกิดที่เมืองวัง
แขวงมหาไชย ประเทศลาว อพยพมากบั ครอบครวั
เมื่อคร้ังยังเล็กๆ เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารใน
รัชกาลท่ี ๓ กรุงรัตนโกสินทร์ โดยได้มาตั้งบ้าน
เรือนอยู่บ้านม่วงไข่ อำเภอพรรณานิคม จังหวัด
สกลนคร ได้เริ่มต้นเรียนหนังสือไทยน้อย จนอ่านออกเขียนได้และเข้ารับราชการอยู่
โรงศาล มภี รรยาคนหน่ึง แต่ช่อื ใดไมป่ รากฏ มลี ูกสาวคนเดยี วชือ่ “ดอกป”ี
ครั้งน้ันเมืองพรรณานิคม จะต้องส่งส่วยไปให้เจ้ากรุงสยามทุกปีเป็นทองคำหนัก
๒๒ บาท นายนอ้ ยหนาเป็นผู้หนง่ึ ซ่งึ มหี น้าที่ไปเมืองวัง เพ่ือนำทองคำทร่ี อ่ นได้เปน็
คา่ สง่ สว่ ยตามความต้องการทกุ ๆ ปี
ต่อมามีความเบื่อหน่ายในชีวิตหน้าท่ีราชการและลูกเมีย ได้หนีออกจากบ้าน
ไปบำเพ็ญพรต อาศัยอยู่ในถ้ำกลางป่า ถือศีลแปดปฏิบัติธรรมจนมีคุณธรรมสูง
ได้ประกอบคุณความดีใหแ้ ก่ชาวบ้านไวม้ ากมาย
เม่ือถึงวัยชราภาพมากแล้ว ท่านก็ได้สิ้นชีพไปด้วยอาการสงบ ณ ที่ถ้ำเจ้าผู้ข้า
บา้ นอ้มุ ไผ่ ตำบลช้างมงิ่ อำเภอพรรณนานคิ ม จงั หวดั สกลนคร เมื่อวนั ศกุ ร์ข้ึน ๓ คำ่
เดอื นยี่ ปวี อก ตรงกบั วันที่ ๑๙ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๔๒๗
372
ถ้ำเจ้าผขู้ า้ บา้ นอุ้มไผ่ จงั หวดั สกลนคร
วันหน่ึง พระเสนาณรงค์ (สุวรรณ์) ได้ประชุมบรรดานายทัพ
นายกองเมอื งพรรณานคิ ม แลว้ ปรกึ ษาหารอื เหน็ พอ้ งกนั วา่ หากยงิ โตต้ อบกนั อยู่
เช่นน้ี เหน็ ทีจะเอาชนะข้าศึกศัตรูไดย้ าก จึงตกลงทำพิธบี วงสรวง ตงั้ สตั ย์
อธษิ ฐานเจา้ ผขู้ า้ และทะดาซงึ่ อญั เชญิ ดวงวญิ ญาณบรรพบรุ ษุ มาสงิ สถติ ไวใ้ น
พรรณานคิ ม ตลอดจนสกั การะเทพเจา้ และสง่ิ ศกั ดสิ์ ทิ ธทิ์ ง้ั หลายทง้ั ปวง ขอให้
คมุ้ ครองภยั พบิ ตั ติ า่ งๆ ขอใหร้ า่ งกายของทหารพรรณานคิ ม จงออ่ น เหมอื นกบั
เพา (ตะไครน่ ำ้ ) และเบาเหมอื นดงั นนุ่ เมอ่ื ตงั้ สตั ยอ์ ธษิ ฐานจบลงแลว้ ไดใ้ ห้
ทหารทกุ คนเอาดนิ ทรายจากเจา้ ผขู้ า้ โรยใสห่ วั ฉบั พลนั นนั้ บรรดาทหารหาญ
ตา่ งกบ็ งั เกดิ ความกลา้ หาญฮกึ เหมิ พอออกศกึ อกี ครงั้ กก็ ระโดดขา้ มคา่ ยของ
พวกฮอ่ เขา้ ไปไลฟ่ นั ทม่ิ แทงดว้ ยหอกดาบ กบั ไลย่ งิ พวกฮอ่ ลม้ ตายไปเปน็ อนั มาก
ขณะต่อสู้กันอยู่นั้นลูกปืนที่พวกฮ่อยิงเข้ามาต่างเฉียดกายหวีดหวิวไปสิ้น
มไิ ด้ระคายผิวกายของทหารหาญเมืองพรรณนานคิ มเลยสักคน
เม่ือทัพไทยได้ชัยชนะโดยเด็ดขาดแล้ว กองทัพเมืองพรรณานิคม
กแ็ ยกตวั กลับมาด้วยความปลอดภัย
ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ ๖ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา
พระราชบัญญัตินามสกุลข้ึนใช้โดยให้ไพร่ฟ้าประชาชนมีนามสกุลโดยถ้วน
ท่ัวทุกคน ต่างคนจึงต่างก็ต้ังนามสกุลในครอบครัวของตนเองขึ้น ท่ีเป็น
ขา้ ราชการใกลช้ ดิ กข็ อพระราชทานนามสกลุ ในการนไ้ี ดม้ ปี ระกาศใหจ้ ดทะเบยี น
นามสกลุ โดยท่ัวไปทัง้ หัวเมืองชัน้ ในและช้นั นอกด้วย
373
ชดุ ตำแหน่งเจา้ เมืองพรรณานคิ ม ของพระเสนาณรงค์ (สวุ รรณ์)
สำหรับสกุลของชาวภูไท โดยเฉพาะสกุลบรรพบุรุษของ
พระอาจารย์ฝั้นน้ัน แต่เดิมใช้ “อินทรสุวรรณ” โดยเอาชื่อเจ้าอินทร
์
ผเู้ ปน็ พอ่ กับชือ่ สุวรรณผ์ เู้ ปน็ ลกู มาผสมกนั ใช้เปน็ นามสกลุ แต่ภายหลังเพือ่
รำลึกถึงการปราบฮอ่ ได้ชัยชนะจึงไดเ้ ปลย่ี นมาเป็น “สุวรรณรงค”์
เอาช่อื “เจ้าสวุ รรณ์” (พระเสนาณรงค)์ แม่ทัพ กบั คำว่า
“ณรงค์” ในทน่ี ตี้ ัดมาจากคำ “รณรงค”์ แปลวา่ การรบมา ผสมกนั
เข้าเป็น “สุวรรณรงค”์ แล้วก็สบื สกลุ เป็นปกึ แผน่ ตง้ั แตน่ ัน้ เป็นต้นมา
374
ทำเนยี บขา้ ราชการ
หวั เมอื งลาวกาว – ลาวพวน
จากหนังสือ ชีวิตกับเหตุการณ
์
ของ.... สมเดจ็ พระมหาวรี วงศ์ (พมิ พ์ ธมมฺ ธโร)
ทำเนียบข้าราชการท่ีใช้ในหัวเมืองลาวกาว และหัวเมือง
ลาวพวน แต่เดิมมานั้นมีอยู่ ๕ ช้ัน คือ
๑ อาชญาส่ี เปน็ ตำแหนง่ ผบู้ งั คบั บญั ชาสงู สดุ มอี ยู่ ๔ ตำแหนง่
คอื เจา้ เมอื ง อปุ ฮาด ราชวงศ์ ราชบตุ ร และแบง่ กองการปกครองออกเปน็
๔ กอง คอื กองเจา้ เมอื ง กองอปุ ฮาด กองราชวงศ์ กองราชบตุ ร ใหร้ าษฎร
ข้ึนทะเบียนใน ๔ กองนนั้ ไดต้ ามใจสมคั ร
เจา้ เมอื งมอี ำนาจสทิ ธขิ์ าดในการบา้ นเมอื งทงั้ ปวง แตถ่ า้ เปน็
เมอื งขนึ้ ไมม่ อี ำนาจตดั สนิ ประหารชวี ติ ผรู้ า้ ยอกุ ฉกรรจแ์ ละไมม่ อี ำนาจ
แต่งตัง้ ถอดถอนกรมการเมือง หรืออปุ ฮาด ราชวงศ์ ราชบตุ รได
้
อุปฮาด มีหน้าที่ทำการแทนเจ้าเมือง และรักษาการใน
เมื่อเจา้ เมอื งชราภาพ ตาย หรอื ถกู ถอดถอน
ราชวงศ์ มหี นา้ ทเ่ี กยี่ วกบั อรรถคดี ตดั สนิ วา่ ถอ้ ยชำระความ
ราชบุตร มีหน้าท่ีควบคุมเก็บรักษาผลประโยชน์แผ่นดิน
ของเมอื ง
๒ ผู้ช่วยอาชญาสี่ มีอยู่ ๔ ตำแหน่ง คอื ท้าวขัตยิ ะ ท้าว
สุริโยทัย ท้าวโพธิสาร และท้าวสิทธิสาร ซึ่งมีหน้าท่ีพิจารณาอรรถคด
ี
พิพากษาแห่งศาลเมืองชน้ั สงู และการปกครองแผนกตา่ งๆ ของเมือง
๓ ขอื่ บา้ นขางเมอื งกลาง มอี ยู่ ๑๗ ตำแหนง่ คอื เมอื งแสน
เมอื งจนั ทร์ เมอื งขวา เมอื งซา้ ย เมอื งกลาง เมอื งคกุ เมอื งฮาม เมอื งแพน
นาเหนือ นาใต้ ซาเนตร ซานนท์ มหาเสนา มหามนตรี ซาบัณฑิตย์
กรมเมือง และสโุ พ
เมอื งแสน มีหนา้ ท่ีกำกับฝา่ ยทหาร
เมอื งจันทร์ มหี นา้ ทีก่ ำกบั ฝา่ ยพลเรือน
375
เมอื งขวา เมอื งซา้ ย เมอื งกลาง มหี นา้ ทดี่ แู ลพสั ดทุ กุ อยา่ ง รกั ษาดแู ล
นักโทษ จะปล่อยหรือคุมขังตามที่คณะอาชญาส่ีส่ัง ปฏิสังขรณ์หรือสร้างวัด
กำกบั ในการสักเลข และรักษาบัญชีเลขไพรพ่ ลทไ่ี ปมีภรรยาตา่ งเมือง
เมืองคุก เมืองฮาม เมืองแพน มีหน้าท่ีเป็นพะทำมะรง คือ
พสั ดีและช่วยเมอื งขวา เมืองซ้าย เมอื งกลาง
นาเหนอื นาใต้ มหี นา้ ทจี่ ดั เสบยี งไวใ้ นยงุ้ ฉาง สำรวจสำมะโนครวั
๓ ปตี อ่ ครั้ง เก็บสว่ ย จบั กมุ ควบคุมสัตว์พาหนะ และแทงจำหนา่ ยเลข
ซาเนตร ซานนท์ เป็นเสมียนของเมือง
มหาเสนา มหามนตรี เป็นหัวหน้าออกคำส่ังนัดประชุมหรือ
ทำพธิ ีการต่างๆ ของเมอื ง
ซาบัณฑิตย์ เป็นพนักงานอ่านท้องตราและอ่านประกาศคำส่ัง
ของเจ้าเมือง กรมการผู้ใหญ่ ในเวลาประชุม
กรมเมอื งและสโุ พ เป็นแมท่ ัพฝ่ายทหารสูงสดุ ของเมอื ง
๔ ตำแหน่งพิเศษ หรือเพียซาโนชิต ซาภูธร ราชต่างใจ
คำมงุ คลุ มีหนา้ ทีใ่ กลช้ ดิ เจา้ เมือง
เพยี ซาบรรทม มีหน้าที่จดั ท่บี รรทม
เพยี ซาตนี แทน่ แลน่ ตนี เมอื ง พนกั งานตามเสดจ็ หรอื ตามเจา้ เมอื ง
เพียซาหลาบคำ มีหนา้ ท่เี ชญิ พระแสงหรอื ดาบ
เพยี ซามนเทียร มีหน้าท่รี ักษาพระราชฐานปรางปราสาท
เพยี ซาบฮุ ม มีหน้าทก่ี นั้ พระกลดหรือพดั จามร
เพียซามาตยอ์ าชาไนย มีหนา้ ท่ีทางช่างวิศวกรรม
เพยี แขกขวา เพยี แขกซา้ ย มหี นา้ ทรี่ บั แขกตา่ งดา้ วทา้ วตา่ งแดน
เพียศรีสนุ นท์ เพียศรสี ุธรรม เพียศรีบญุ เฮือง เพยี ศรีอัครฮาด
เพยี อัครวงศ์ มีหนา้ ทีจ่ ดั การศึกษาและการพระศาสนา ทง้ั ๑๗ ตำแหนง่ นี้
จะตั้งหรอื ไม่ต้งั ก็ได
้
๕. ตำแหนง่ สำหรบั หม่บู า้ น คือ
ท้าวฝา่ ย เทียบกับนายอำเภอ
ตาแสง เทียบกบั กำนนั
พ่อบา้ นหรอื นายบ้าน เทียบกับผใู้ หญบ่ า้ น
จ่าบา้ น เทียบกบั สารวตั รหมูบ่ ้านหรอื ตำบล
385
พระอาจารยฝ์ ้นั อาจาโร
แสดงพระธรรมเทศนา “จติ ตภาวนา พุทโธ”
ณ วัดบวรนิเวศวหิ าร กรุงเทพฯ
วันท่ี ๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๘
เราทา่ นทง้ั หลายทม่ี าประชมุ พรอ้ มเพรยี งกนั นี้ จากประชมุ ทางกายแลว้
มาประชมุ ทางใจ ทเี่ รียกวา่ มรรคสมังค
ี
ความประชุมทางกายทางใจของเรา วานนี้ก็ได้เทศนไ์ ปแลว้
ไมใ่ ชเ่ ร่ืองอ่ืนเร่ืองไกล เรื่องตัวของพวกเราทง้ั นัน้
วันนี้เราทั้งหลายให้น้อมจิตของเรา อย่าส่งไปทางอื่น เดี๋ยวนี้เราอยาก
รู้จักว่าความเป็นอยู่ของเราเวลานี้อยู่ในชั้นใด ภูมิอันใด ในภพอันใด ให้พากันให้น้อม
เขา้ ไปด
ู
อย่าสักว่าฟังแต่เสียง การที่ฟังธรรมคำส่ังสอนของพระพุทธเจ้า เมื่อท่านสอน
แตก่ ่อน ผ้ใู ดไดส้ ดบั วา่ ธรรมะคำสง่ั สอนน้นั ไดส้ ำเร็จมรรค สำเรจ็ ผลเปน็ จำนวนมาก
แตเ่ ราทกุ วนั น้ี การทีฟ่ ัง - ฟงั กนั ทกุ วนั แตไ่ ม่ปรากฏจะไดส้ ำเรจ็ มรรคสำเร็จผล
คือเราเป็นแต่ฟังแต่เป็นพิธี มิได้ฟังถึงธรรมถึงวินัย ถึงข้อปฏิบัติ ฟังแต่เป็น
แต่พธิ เี ท่าน้ัน
อันน้กี ารสำเรจ็ มรรคสำเรจ็ ผล ไม่ไดส้ ำเรจ็ ทอ่ี ื่นทีไ่ กล สำเร็จที่ดวงใจ
ของเรา
ธรรมะ คำส่ังสอนของพระพุทธเจ้า ท่านวางไว้ถึง ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์
ท่านกไ็ มไ่ ด้วางไวท้ อ่ี ่นื วางท่ีกายทีใ่ จของเรานเี้ อง นเี่ รียกวา่ เปน็ ทต่ี ้ังแหง่ ธรรมวินัย
มใิ ช่อื่นเป็นธรรม มใิ ช่อน่ื เปน็ วินยั ทา่ นบอกว่า คือตวั ของเราน่แี หละเปน็ ธรรม
เป็นวนิ ยั
ทา่ นบอกวา่ ตา เป็นธรรม ตา เป็นวินัย หู เปน็ ธรรม หู เป็นวินยั
386
คือเหตุไฉนจึงวา่ ยงั งน้ั เล่า
ตา สำหรับดู หู สำหรบั ฟัง เมื่อไดย้ ินแลว้ เราตอ้ งน้อมเข้าภายใน
วินโย แปล นำเสียจากความชั่ว นำความชั่วจากตน นำตนออกจากความช่ัว
การทเี่ มอื่ ทา่ นได้ยินไดฟ้ ังแลว้
ความช่ัวท้ังหลายอยู่ที่ไหนเด๋ียวน้ี สุขทุกข์มันอยู่ที่ไหนเดี๋ยวน้ีให้พากัน
ใหพ้ งึ รพู้ งึ เขา้ ใจ ไมใ่ ชฟ่ า้ อากาศเปน็ สขุ ไมใ่ ชฟ่ า้ อากาศเปน็ ทกุ ข์ สงิ่ ทงั้ หลายเขาไมไ่ ดส้ ขุ
เขาไม่ได้ทุกข์ นอกจากใจของเราแล้วเทา่ น้ี ใหพ้ ากันพิจารณาดซู ิ ใหน้ ้อมอยา่ งนีแ้ หละ
เมอ่ื เราเหน็ ทกุ ขสจั จะอนั นแี้ หละ อา้ – เราจะไดพ้ น้ จากทกุ ข์ เดยี๋ วนค้ี วามทพี่ น้ ทกุ ข์
ก็จะพน้ จากท่ีไหนเลา่ คอื ใจเราไม่ทกุ ข์ แปลว่าพน้ ทกุ ข์ เพราะฉะนัน้ ไดย้ นิ แลว้ ใหพ้ ากนั น้อม
เข้าภายใน
นี่ - ศาสนาท่านได้วางไว้ - ในตัวของพวกเรา ไม่ได้วางไว้ที่อื่น
นแี่ หละ -
เมื่อเป็นเช่นนี้แล้ว ให้พากันให้พิจารณาถึงท่ีพ่ึงของเรา ท่านสอนไว้ การท่ีว่า
สำเร็จมรรคสำเร็จผลมันเป็นอย่างไร น่ีรูปเปรียบภายนอก ให้เห็นเหมือนกับเราทำการทำงาน
เสร็จแล้วหรือยัง มันเสรจ็ แล้วเป็นยังไง
อุปมาเหมือนทำกุฏิก็ดี วิหารก็ดี หรือทำการงานก็ดี เสร็จแล้วเป็นอย่างไร
ส่ิงทั้งหลายท้ังหมด แต่ก่อนเขาไมไ่ ดว้ า่ กฏุ ิ เปน็ ไม้ หรือเปน็ ปนู หรอื เปน็ เหล็ก เปน็ อันอน่ื ไป
นายชา่ งผฉู้ ลาดรวม - - สง่ิ เหลา่ นน้ั เขา้ เปน็ กอ้ นอนั เดยี ว ตเี ขา้ ตดิ หมด ไมก้ ห็ าย เหลก็ กห็ าย
ปูนก็หาย อะไรกห็ าย - - ไปหมด รวมแล้วเป็นกุฏิ ศาลา นี่ อันน้ี
น่ี - ธรรมะคำสง่ั สอนของพระพทุ ธเจา้ รวมเขา้ ไวใ้ นจติ ดวงเดยี ว เอก จติ ตฺ
ให้จิตเป็นของเดิม จิตฺต ความเป็นอยู่ ถ้าเราน้อมเข้าถึงจิตแล้ว ความสำเร็จอยู่ท่ีน่ัน
ถ้าเราไม่รวมแล้วมันก็ไม่สำเร็จ ทำการทำงานทุกส่ิงทุกอย่าง ก็ต้องรวมถึงจะเสร็จ ถ้า
ไม่รวมเม่อื ไรก็ไม่สำเรจ็
เอกํ ธมมฺ ํ มธี รรมดวงเดยี ว เวลาน้เี ราทงั้ หลายขยายออกไปแลว้ กก็ ว้างขวาง
พิสดารมากมาย ถ้าวิตถารนัยก็พรรณนาไปถึง ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ รวมเข้ามาแล้ว
สังเขปนยั แลว้ มีธรรมอนั เดียว เอกํ ธมฺมํ เป็นธรรมอนั เดยี ว เอกํ จิตตฺ ํ มจี ติ ดวงเดียว นี่เปน็
ของเดิม ให้พากนั ให้พงึ รู้พึงเข้าใจต่อไป
387
นแ่ี หละ - - ต่อไปพากันให้รวมเขา้ มาได้ ถ้าเราไม่รวมนไี่ มไ่ ด้เม่ือใด จติ เราไม่
รวมได้เมือ่ ใดมนั ก็ไม่สำเรจ็
ธรรมะ ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขนั ธ์ คนท้งั หลาย อา่ นพระไตรปิฎก ในปฎิ กท้งั สาม และ
ตู้พระไตรปิฎก นอ่ี ย่ทู ีไ่ หนเล่า ตู้พระไตรปฎิ ก นเี่ ราเรยี นเข้ามาภายใน อยา่ ไปเรียนภายนอก
เหตุฉันใดจึงว่าเช่นน้ันล่ะ ปิฎกน้ันคืออะไร มันอยู่ที่ไหนล่ะ ฟังแล้วคืออยู่ไกล
คัมภีร์ทั้งหลายเราเป็นผู้ทำ เราเป็นผู้เขียน เราเป็นผู้อ่าน สิ่งเหล่านั้นล่ะ ท่านว่า สุตตปิฎก
วนิ ยั ปิฎก ปรมตั ถปิฎก ปฎิ กท้ัง ๓ เรยี กตู้พระไตรปิฎก นี่อยทู่ ีไ่ หนเล่า ตูพ้ ระไตรปิฎก ถา้ ดูแล้ว
อยู่ทไี่ หนเล่า
สตุ ตปิฎก กไ็ ดแ้ กล่ มหายใจเขา้ ไป ดซู ี - - น่แี หละธรรมคือลมหายใจเข้าไป
วินัยปิฎก ก็ได้แก่ลมหายใจออกมา ปรมัตถปิฎกได้แก่ผู้รู้ทางในรักษาชีวิตินทรีย์ นิ่งอยู่
ไม่แตกทำลาย น่ีรวมแลว้ เปน็ ตู้พระไตรปฎิ ก
ดูซิลมหายใจอยู่ที่ไหนเล่า ความรู้เราอยู่ท่ีไหนเล่า รู้ว่าสุขก็ดี รู้ว่าทุกข
์
ก็ดี น่ีแหละมาเปิดคัมภีร์ตรงนี้ ถ้าเราไม่เปิดคัมภีร์ตรงน้ีแล้ว เราไม่รู้จักจะพ้นจาก
ทุกขไ์ ด
้
ถ้าเราน้อมเข้าภายในแล้ว มนั จะรู้จัก
นี่ - - ถ้าน้อมเข้าไปในไตรปฎิ กแล้ว เช่น ปรมัตถปฎิ ก ท่านบอก กามาวจรํ
กุสลํ จิตตฺ ํ นน่ั - - ดซู เิ ลา่ กุศลทัง้ หลายเกดิ จากจิต กุสลํ จติ ตฺ ํ อปุ ปฺ นนฺ ํ โหติ อุบัติขึ้น
โสมนสสฺ สหคตํ ใครเป็นผู้ยินดีล่ะ ญาฺ ณสมฺปยุตฺตํ นั่นญาณ ญาฺ ณํ คอื ญาณความรู้ สมปฺ ยตุ ตฺ ํ
เราไปสัมปยุตอะไรไว้เดี๋ยวน้ี สัมปยุตดีหรือสัมปยุตช่ัว ใครเป็นผู้สัมปยุตเล่า เราเอาอะไรเล่า
เปน็ อารมณ์
นเี้ พอ่ื ใหส้ งั เกต และเทศนใ์ หเ้ พื่อเข้าใจแนวทางไว้ เพอื่ พจิ ารณา น่ี - - ญฺาณ
สมฺปยุตฺตํ รูปารมฺมณํ วา เราเอารูปอันใดเป็นอารมณ์เด๋ียวน้ี ท่านว่าได้แจกไปก็มากแต่ไม่
อธบิ ายใหม้ าก รูปารมฺมณํ วา เอารปู อนั ใดเปน็ อารมณ์ รูปดรี ปู ชั่ว ถา้ เราเอารปู ดเี ปน็ อารมณ์
เราก็ได้ไปสคุ ติ ถา้ เอารปู ชวั่ เป็นอารมณ์ เรากไ็ ปทุคติ น่ี - - เรือ่ งมันเป็นอยา่ งนี้
รูปดีจะรู้ได้อย่างไรเล่า ว่ารูปนั้นรูปนี้ มันไกลไป รวมมาส้ันๆ แล้ว
คือใจเราไม่ดี อนั นี้รูปไม่ดี รปู ดเี ปน็ อยา่ งไรเลา่ คอื ใจเราดี น่ี - - มนั เป็นอย่างน้ี
ใหพ้ ากนั ใหพ้ จิ ารณา
388
สทฺทารมฺมณํ วา เราเอาเสียงอะไรเป็นอารมณ์ น่ีเป็นอารมณ์ของเรา นี่แหละ
ท่านจึงสวดอภิธรรมสังคหะเวลาคนถึงแก่กรรมไป เสียงดี เสียงช่ัว นน่ั - - ใหพ้ ากนั ให้ร้จู ัก
คนฺธารมฺมณํวา กล่ินดี กล่ินชั่ว เราเอากล่ินอันใดเป็นอารมณ์เล่า ให้พากันให้รู้จัก
รสารมฺมณํ วา รสดี รสชั่ว โผฏฺฐฺพฺพารมมฺ ณํ วา สัมผัสดี สมั ผัสชว่ั
รวมเข้า ธมฺมารมฺมณํ วา รวมเข้าธรรมอันเดียวคือดวงใจของเราไปยึดเอาสิ่ง
อารมณ์น้ันๆ มาไวใ้ นใจของเรา อันนี้คัมภีรอ์ ภิธรรม
นนั่ ดซู ิ ฟงั แลว้ คอื อยู่ไกล เฮอ - - อยู่ในตพู้ ระไตรปฎิ ก ดูซิ เฮอ่ - -
อนั นี้คัมภรี ท์ ี่ ๒ ปญฺจกฺขนธฺ า รูปกขฺ นโฺ ธ เวทนากฺขนโฺ ธ สญฺญาฺ กขฺ นโฺ ธ สงขฺ า
รกฺขนโฺ ธ วิญฺญฺาณกฺขนฺโธ
ขนั ธ์ๆ ก็แปลว่า กอง รปู ขันธ์ นีก่ องรูปอยนู่ ี่หมด นี่รปู ขนั ธ์ รูปขนั ธ์
กไ็ ดแ้ กอ่ ะไร ขาสอง แขนสอง ศรี ษะอนั หนงึ่ อันนี้รูปขันธ์
น่ีขันธ์อันนี้แหละ อยู่ในนี้ให้พิจารณารูปอันน้ีส่ิงรูปอันนี้มันเท่ียงหรือไม่เที่ยงล่ะให้
พิจารณาซี
น่ีอธบิ ายลดั ๆ ตัดใหเ้ พือ่ เข้าใจไว้ เครือ่ งพจิ ารณา นล่ี ะ่
เวทนากฺขนฺโธ ขันธ์น่ะกองเวทนา คือความเสวยสุข ความเสวยทุกข์ ไม่ใช่สุข
ทกุ ข์ ฮะ่ อันนี้ ให้พจิ ารณาดซู ี
สญฺญฺากฺขนฺโธ ความจำความหมาย อยู่ท่ีไหนล่ะ จำว่าเป็นโน้นเป็นนี้ นั่นดูซี
อะไรเป็นผจู้ ำล่ะ
สงขฺ ารกขฺ นโฺ ธ ความปรุงความแตง่ นี่ - ให้รู้จกั ใครเปน็ ผูป้ รุงผู้แตง่ ล่ะ
วญิ ญฺ าฺ ณกขฺ นโฺ ธ ผรู้ จู้ ะไปปฏสิ นธวิ ญิ ญาณ และไปยดึ เอาสงิ่ ทงั้ หลายทง้ั หมด นี่ -
ใหพ้ ากนั ใหพ้ ึงนอ้ มเขา้ มาพิจารณา นีแ่ หละ - ใหเ้ หน็ สง่ิ ทัง้ หลายเหล่าน
ี้
ทา่ นเทศนาปัญจวคั คีย์ภกิ ษทุ งั้ ๕ ทา่ นก็ได้ฟังโอวาทอันน้ี ท่าน
ก็ได้สำเรจ็ พระอรหันตห์ มดทั้ง ๕ พระองค์
คดิ ดซู ิ เรากส็ วดอยูแ่ ลว้ ในสงั เวคคาถานะ่ รูปํ อนิจฺจํ นั่น - ดซู ิ มันเทีย่ งหรอื
ไม่เที่ยง ฮ่นั -
389
เราเข้าใจอยู่แลว้ เวทนา อนิจจฺ า สญญฺ าฺ อนิจฺจา สงขฺ ารา อนิจฺจา วิญฺญฺาณํ อนจิ จฺ ํ
วญิ ญาณนแี่ หละ เอาแต่มนั จะเป็น มันเทย่ี งหรอื ไมเ่ ท่ยี ง
เหตุนั้นให้พิจารณาให้พึงรู้พึงเห็นซิ เรามาพิจารณาตรงน้ี นี่ท่านสอนอีก รูปํ อนตฺตา
เวทนา อนตฺตา สญฺญฺา อนตตฺ า สงขฺ ารา อนตตฺ า วิญฺญฺาณํ อนตตฺ า ฮ่นั - มนั ไมใ่ ช่ตวั ตนท้ังน้ัน เม่อื
เปน็ เช่นนี้แหละ
เอา้ - - ตอ่ นไี้ ปใหพ้ ากนั เขา้ ดู จะอธบิ ายขยายมนั กม็ ากไป เอา้ - - ใหเ้ ขา้ ที่ นงั่ สมาธิ ตงั้ จติ ลองดู
มันจะเทยี่ งหรอื ไมเ่ ท่ยี ง มนั จะเป็นยงั ไง ให้มนั รู้มันเหน็ น่ีจะเทศนอ์ ธบิ ายไปนีก้ ไ็ มม่ ที ่ีส้นิ สดุ
เอ้า - ลงมือทำ ใหด้ ตู วั จรงิ มนั จะเปน็ ยังไง
เออ - เอา้ - - ใหเ้ ขา้ ทนี่ ั่งสบายๆ
เออ - มาน่ี อยากสุขอยากสบาย ไม่ไดโ้ กหกหลอกลวงใครให้ตา่ งคนต่างดู
เอ้า - น่งั ใหส้ บายๆ
เรามานี่ เราตอ้ งการความสุขความสบาย
เพง่ - เลง็ ดู ใหม้ นั รมู้ ันเห็น
ความเป็นอยู่ความมีอยู่ นีอ่ ธิบายใหฟ้ ังแลว้
เอา้ ตอ่ ไปนง่ั ใหส้ บายๆ วางทา่ วางทางใหส้ บายแลว้ ขาขวาทบั ขาซา้ ย มอื ขวาทบั มอื ซา้ ย
ตัง้ กายใหส้ บาย
เม่ือกายสบายแล้ว น่ี – ก็เราก็วางดวงใจของเราให้น้อมเข้าไปภายใน น่ีแล้ว
ลงมอื ทำ
ท่านฟังแต่ก่อนท่านทำไปพร้อม เดี๋ยวน้ีเรา - - สักแต่ได้ยินได้ฟัง ก็จำว่า
อนั น้ันเป็นอย่างนอี้ ันนเ้ี ปน็ อยา่ งนั้นแลว้ สำคญั เราเขา้ ใจ สำคัญเราได้ เราพูดได้ เราวา่ เราได้
เราดูตัวจรงิ ซี
เราอยากพ้นทุกข์ เราอยากได้ความสุขความสบาย เราอยากพ้นทุกข์ ผู้ที
่
ไมเ่ คยทำ เออ - - ผูท้ ี่เคยทำแลว้ ก็นกึ คำภาวนาของตน
ผทู้ ไ่ี มเ่ คยก็ให้นึกวา่ คุณทง้ั หมดรวมแลว้
คณุ พระพทุ ธเจา้ อยู่ท่ีใจ พระธรรมอยทู่ ี่ใจ พระอริยสงฆอ์ ยูท่ ใ่ี จ
390
ใหเ้ ชอ่ื มน่ั ลงแลว้ กใ็ หน้ กึ คำบรกิ รรม ภาวนาวา่ พทุ โฺ ธ - - ใหร้ ะลกึ ดซู ิ ธมโฺ ม - - สงโฺ ฆ - -
ในใจของเรา พุทฺโธ - ธมฺโม - สงโฺ ฆ สาม หนแล้ว - - ใหร้ วมเอาแต่ พุทโฺ ธ พุทโฺ ธ คำเดยี ว
หลับตา งับปากนะ ล้ินก็ไม่กระดุกกระดิก ให้ระลึกเอาในใจ นึกระลึกเพื่อเหตุใด
เราอยากรู้เวลาน้ีน่ะ ตัวของเราอยู่ในช้ันใดในภพอันใด ภพมันมีอยู่สาม - - เช่น กามภพ รูปภพ
อรปู ภพ ดซู ิ - - มนั เป็นอย่างไร จึงเรยี กว่า กามภพ รูปภพ อรปู ภพ นี่ - - ท่ีอยขู่ องโลกทัง้ ๓ กามโลก
รูปโลก อรูปโลก น่นั ภพน้ี เป็นภพทอ่ี ยขู่ องเรา อันน้ีในกามภพนี้ เฮอ่ นึกดใู หเ้ พง่ ดูท่ีอยู่ของเรา
เม่อื จิตของเราตง้ั - - อย่ทู ่ีรู้ตรงไหนแล้ว เราจะร้จู กั ภพของเรา เมอ่ื จติ
ของเราตงั้ - - ระลกึ พทุ โธ - - ความรสู้ กึ อยตู่ รงไหนแลว้ ตงั้ - - สตไิ วต้ รงนน้ั อยา่ สง่
ไปขา้ งหนา้ มาขา้ งหลงั ขา้ งซา้ ย ขา้ งขวา ขา้ งบน ขา้ งลา่ ง ตง้ั - - เฉพาะทำการ อนั ทีร่ ู้
- - อย่นู นั้
นี่แหละจิตของเรา มันดีหรือไม่ดีรู้จักตรงนี้ มันไม่ดีก็รู้จักตรงน้ี วานน้ีเราก็
เปรียบแล้ว เหมือนกับนายช่างเขาตั้งเสา นี่เราก็ทำสมาธิ สมาธิน่ะคือ จิตต้ังมั่น นายช่าง
เขาตงั้ เสา เขาตงั้ ยงั ไง เขาตง้ั แลว้ เขาก็มอง - - ดขู ้างหนา้ ขา้ งหลัง เอาระดบั จบั ดูมนั เทย่ี ง
หรอื ไม่เท่ียง มันเอนเอียงไปทางไหน นน่ั
เขารู้จักมนั เอนเอียงเขาก็ผลักขึน้ มา ผลักแลว้ เขากเ็ ล็งดู ฮั่น - จนมันเท่ยี งตรง
เขาก็ฝงั ไว้ให้มนั แน่น น่เี รียก - ฐติฺ ิภตู ํ เราก็เดย๋ี วน้ี ก็ต้ังให้มนั เปน็ ของเท่ยี ง วญิ ญาณของเรา
มันไม่เทยี่ ง เด๋ียวนอ้ี ยากให้มนั เทย่ี ง มันจะไดเ้ ป็นพระนิพพานได้ เรอ่ื งมันเป็นอยา่ งนั้น ให้มัน
เที่ยง นีม่ ันออกไปทางไหน มันเข้าไปทางไหน
น่ี - จิตของเราขอ้ งตรงไหน คาตรงไหน ใหพ้ ึงรู้พงึ เห็น
ไม่ใช่นั่ง - - หลับตาเฉย–เฉย - - อย่างน้ัน ดูจิตของเรานี่ มันหลงอะไร มันข้องอะไร
มนั คาอะไร
น่ี ใหร้ จู้ กั น่ี - จติ ของเราทอ่ งเทยี่ วอยใู่ นกามภพ กามภพนมี้ นั แบง่ เปน็ ๒ นยั คอื
จิตอย่ใู นรปู ในเสียง ในกล่นิ ในรสสัมผัสอารมณท์ ั้งหลายตา่ งๆ นีจ่ ิตของเราท่องเที่ยว อยูน่ ี้
นั่น - ดูซิ ในกามภพนี้ แบ่งเป็นสองนัยนะ แบ่งเป็นอบายภูมิอันหน่ึง
แบง่ เปน็ ฉกามาวจรอนั หนงึ่ น่ัน - ดซู ิ มนั เปน็ อบายภมู เิ ปน็ ยังไง คอื จิตของเรามนั เศร้าหมอง
จติ ไมผ่ อ่ งใส จติ วนุ่ วาย จติ เดือดร้อน จิตทะเยอทะยาน จติ ดิน้ รน จิตกระวนกระวาย ทกุ ข์ยาก
นี่แหละ
391
นั่งอยู่เดี๋ยวน้ีแหละ เราไม่ต้องคำนึงถึงอดีต อนาคต เฮ่อ ให้ดู น่ัง
ปจั จุบนั เดี๋ยวนน้ี ่แี หละ เมอื่ จติ เปน็ อยา่ งน้ันแล้ว มันไปอบายภูมิทง้ั ส
่ี
ให้พากนั ให้พิจารณา อนั นี้เม่อื จติ ของเราแบ่งเป็นฉกามาวจรสวรรค์ มนั
เปน็ ยงั ไง จติ เราผอ่ งใส - - - มนั ไมด่ น้ิ รน ไมก่ ระวนกระวาย มคี วามสขุ ความสบายอก
สบายใจ จิตนน้ั ไม่ได้ว่นุ วาย ส - บ - า - ย
น่ี ดเู อาซี อนั นเ้ี ม่อื ดบั ขนั ธ์ไป กไ็ ปสวรรค์ นั่น - ให้รูจ้ ัก
สวรรคก์ ค็ อื ความสขุ ความสบาย อะไรสขุ สบาย ดวงใจเราสขุ ดวงใจเราสบาย
ก็ฟังดูซี บอกให้ฟัง เร่ืองมันเป็นอย่างนี้ อันนี้จิตพ้นจากกามภพ คือ จิตนั้น
มันไม่ได้ไปยึดเอาในรูป ในเสียง ในกล่ิน ในรส ในภายนอก มันเห็นแต่ภายใน เข้ามา
เหลือแต่รูป เห็น - - แต่สังขารร่างกายเราน้ี เบื้องบน เบื้องล่าง ด้านกว้าง สถานกลาง
มีแต่กายของเราเท่าน้ี พิจารณาส่ิงเหล่าน้ีอยู่ ตจปริยนฺโต มีหนังหุ้มอยู่เป็นที่สุดรอบ
ปูโรนานปฺปการสฺส อสุจิโน ส่ิงเหล่านี้มันเต็มไปด้วยของไม่สะอาด มีประการต่างๆ อตฺถิ
อิมสฺมึ กาเย ในกายนี้ ท่านไมไ่ ด้บอกว่า กายโนน้ กายนี้ แปลว่า กายของเราน่แี หละ ไม่ใช่
กายอน่ื คืออะไรเลา่
ยกตวั อยา่ งให้เห็น เชน่ เกสา คอื ผม แน่ะ - เตม็ ไปอย่างนี้ ของไม่สะอาด
โลมา คอื ขน นขา คือเล็บ ทนั ตา คอื ฟนั ตโจ คอื หนงั แนะ่ - มํสํ คอื เนอื้ นล่ี ะ่
อนั นีเ้ ต็มไปอย่างน้ี สิ่งเหลา่ นแี้ หละให้พิจารณา - - เหน็ - - อยู่ เฮ่อ - -
เวลานนี้ ะ่ เป็นอย่างไร สิ่งเหลา่ น้ีเป็นของสะอาดหรอื เป็นของไม่สะอาด
น่เี ราทั้งหลายมาเห็นอนั นี้ ท่านจึงได้สอนมูลกรรมฐาน และวา่ พระอย่ปู า่
และว่าพระกรรมฐาน สมมุติว่าอาตมาภาพมานี้ ว่าพระกรรมฐาน แท้ท่ีจริงมันเป็น
กรรมฐานหมดทง้ั นนั้
อปุ ชั ฌายะทา่ นบวชเรยี น - บรรพชาเปน็ สามเณร ทา่ นกส็ อนมลู กรรมฐาน พระอยตู่ ามบา้ น
กว็ ่าไมเ่ ปน็ พระกรรมฐาน ญาตโิ ยมผูห้ ญงิ ผชู้ ายวา่ เราไม่เป็นกรรมฐาน แนะ่ เป็นหรอื ไม่เปน็ ก็ดูซิ ทา่ น
สอนไหมกรรมฐาน เกสา คือผมน่นั น่ะ ผมอยทู่ ไ่ี หนล่ะ ดูซี - อนั นีแ้ หละมลู กรรมฐาน เปน็ มูลแห่งสัตว์
ท้งั หลายหลงในโลกน้ี เวียนว่ายตายเกดิ อยนู่ ้ี มาหลงผม นแ่ี หละ - ฮ่ัน
392
น่ีแหละพิจารณาซิ ผมของเรามันเป็นของสวยหรือเป็นของงาม หรือเป็นของ
สะอาด หรอื เปน็ ของนา่ เกลยี ด ให้พงึ รูพ้ ึงเห็นซ่ี เหน็ วา่ มนั สวยแล้ว ถ้าผมของเราหลดุ ใส่ขา้ ว
หรือใส่อาหาร เรากร็ บั ทานมิได้ แนะ่ - เมื่อรบั ทานไมไ่ ด้ มันเปน็ ยงั ไงเลา่ รวมแลว้ กเ็ ปน็ ของ
นา่ เกลยี ด แนะ่
ดูซี โลมา คือขน ตามสรรพางค์รา่ งกายของเรา ดซู ิ นใ่ี หพ้ ิจารณาอนั น้
ี
นขา คอื เลบ็ ดซู ีเลบ็ อยู่ปลายมอื ปลายเท้าของเราน
ี่
ทนฺตา คอื ฟัน ฮัน่ - อยูใ่ นปากของเรา สิ่งเหล่าน้ีแหละ
ตโจ คอื หนัง หนงั หุ้มอยู่นี่ - - เป็นทสี่ ุดรอบ เอาหนังนีอ่ อกดูแล้วเปน็ ยังไง
หรอื หนังคนอยใู่ นจานขา้ ว เราจะรับได้ไหม เม่ือรบั ไม่ได้ เราจะว่ามนั สวยมนั งามยงั ไง มันเป็น
คนยงั ไง
นจี่ ำแนกแจกออกอย่างน้ี จงึ วา่ ภควา เป็นผจู้ ำแนกแจกธรรม
เมื่อเราพิจารณาอนั นี้ จิตของเรามนั จะไดน้ พิ พิทาความเบื่อหนา่ ย ในรูป
เสยี ง กลน่ิ รส ทงั้ หลายท้งั หมด นเ่ี ราเห็นอยา่ งนี้ ให้เพง่ พิจารณานีแ่ หละจึงเปน็ ธรรม
จึงเป็นผู้รู้ธรรม เห็นธรรม ถ้าเราไมจ่ ำแนกแจกออกแลว้ แหม - - เลยถอื ว่าเรา เปน็
คนสวยคนงาม คนด–ี แน่ - - ก็เลยหลงอยซู่ ี่ เลยเกดิ ทฏิ ฐิ เกิดมานะ เกดิ กิเลส เกิด
ตัณหา เกิดราคะ เกิดโลภะ เกิดโทสะ เกิดโมหะ เกิดอวิชชา ตัณหา อุปาทาน
ภพชาตขิ ึน้ มา
เมื่อเราพิจารณาเห็นเป็นเช่นนี้แล้ว มันไม่มีทิฏฐิ มันไม่มีมานะ อหังการ
มมังการ จะถือไดอ้ ยา่ งไรเล่า
หนังคนใครจะเอาเล่า เถือหนังออกให้หมดเป็นยังไง ลอกหนังออกให้หมดเป็น
ยงั ไง คนเรา นา่ - - ดูไหม
นแ่ี หละใหพ้ ากนั พิจารณา อันนจ้ี ึงได้เหน็ เปน็ ธรรม เม่อื เอาหนังออกแลว้ กเ็ อา
เนอ้ื ออกดู เอาเน้อื ออกดแู ลว้ ก็เอากระดกู ออกดู เอา - ทั้งหมดออกดู ไสน้ อ้ ย ไสใ้ หญ่ ตับ
ไต ออกมาดู มันเป็นยงั ไง มันเปน็ คนหรอื เป็นยังไง
ทำไม - - เราตอ้ งไปหลง
เออ - - นี่แหละพิจารณาให้มันเห็นอย่างนแ้ี หละ มันจะละสกั กายทิฏฐิ แน่
มันจะละวจิ กิ จิ ฉา ความสงสัย จะเป็นอยา่ งโนน้ อยา่ งนี้ มันเลยไม่มี