The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ภาพชีวประวัติและปฏิปทา พระอาจารย์ฝั้น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-02-24 21:42:40

ภาพชีวประวัติและปฏิปทา พระอาจารย์ฝั้น

ภาพชีวประวัติและปฏิปทา พระอาจารย์ฝั้น

Keywords: ภาพชีวประวัติและปฏิปทา พระอาจารย์ฝั้น

193

และพระเณรอกี หลายรปู ซงึ่ ตา่ งกเ็ ทย่ี วธดุ งคก์ นั มา บริเวณทเ่ี คยเปน็ กฏุ ิของพระอาจารย์ฝน้ั บนภรู ะงำ

จากสถานทีท่ ีจ่ ำพรรษาดว้ ยกันทั้งน้นั

พระธดุ งคเ์ อาเลย ทา่ นวา่ เปน็ พระขเี้ กยี จไมศ่ กึ ษา
และท่ีอำเภอน้ำพองน่ีเอง สมเด็จพระมหา เล่าเรียน ถึงกับมีเรื่องต้องขับไล่ไสส่งมาแล้ว
วรี วงศ์ (อว้ น ตสิ โฺ ส) เจา้ คณะมณฑลอสี าน เมอื่ ครงั้ หลายครง้ั หลายหน แมแ้ ตพ่ ระอาจารยส์ งิ ห์ ซงึ่ เปน็
ยงั เปน็ พระพรหมมนุ ี ไดม้ บี ญั ชาใหพ้ ระอาจารยส์ งิ ห์ สทั ธวิ หิ ารกิ ของทา่ นเอง กย็ งั เคยถกู ขบั ไลม่ าแลว้
นำพระภิกษุสามเณรในคณะของท่าน เดินทางไป จนบางครั้งพระอาจารย์สงิ หเ์ กดิ รำคาญ ถึงกบั จะ
จงั หวดั นครราชสมี า เพอื่ เทศนาสงั่ สอนพทุ ธบรษิ ทั หลบออกนอกประเทศไปเลยก็มี แต่ทุกคร้ังที่มี
ซึ่งพระอาจารย์ฝ้ันก็ได้ร่วมเดินทางไปกับพระภิกษุ เหตกุ ารณร์ ุนแรงดังกล่าว พระอาจารย์ฝ้นั จะเปน็
สามเณรคณะนด้ี ้วย
ผแู้ กไ้ ข และไดพ้ ยายามขอรอ้ งใหพ้ ระอาจารยส์ งิ ห์
ตอ่ สดู้ ว้ ยการปฏบิ ตั ดิ ปี ฏบิ ตั ชิ อบมาตลอด ในทส่ี ดุ
เป็นที่น่าสังเกตว่าสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ สมเดจ็ พระมหาวรี วงศก์ ก็ ลบั บงั เกดิ ความเลอื่ มใส
(อว้ น ตสิ ฺโส) นนั้ แต่ไหนแตไ่ รมาทา่ นไมช่ อบ และยอมรบั ปฏปิ ทาของพระอาจารยท์ ง้ั ปวงในสาย
กมั มฏั ฐานตลอดมา จนถงึ กาลอวสานของชวี ติ ทา่ น

เม่ือถึงนครราชสีมา พระอาจารย์ฝ้ันได้ไป อบุ าลคี ุณปู มาจารย์ * (จนั ทร์ สริ ิจนฺโท) เมอ่ื ถึง

พักอยู่ที่วัดสุทธจินดาท่ีวัดนั้นมีพุทธบริษัทไปร่วม กรุงเทพฯ ก็ได้เข้าพักอยู่ที่วัดบรมนิวาส ต้ังแต่

ทำบญุ กันมาก เมื่อครั้งทีห่ ลวงชาญนคิ ม ผูบ้ ังคบั เดอื นสาม จนถงึ เดอื นหก


กองตำรวจ จงั หวดั นครราชสมี า ไดย้ กทดี่ นิ ผนื ใหญ่ ระหวา่ งพำนกั อยใู่ นกรงุ เทพฯ เรอ่ื งท่ี
ให้สร้างวัดป่าสาลวัน ท่านก็อยู่ร่วมในพิธีถวาย ไมน่ า่ จะเกดิ ไดอ้ บุ ตั ขิ นึ้ แกท่ า่ นโดยบงั เอญิ
ที่ดินคราวนน้ั ด้วย
ที่ว่าไม่น่าจะเกิดนั้น ก็เพราะเป็นเรื่องท่ี

รงุ่ ขน้ึ จากวนั ทมี่ กี ารถวายทด่ี นิ พระอาจารย์
ฝน้ั กเ็ ดนิ ทางเขา้ กรงุ เทพฯ เปน็ ครง้ั แรก โดยเดนิ ทาง เกย่ี วกับสตรเี พศ

เรื่องมีว่า วันหนึ่งพระอาจารย์สิงห์ ได้พา
ร่วมมากับพระอาจารย์สิงห์ และพระมหาปิ่น
ปญญฺ าฺ พโล เพอื่ เขา้ มาเยยี่ มอาการปว่ ยของเจา้ คณุ ทา่ นไปนมสั การทา่ นเจา้ คณุ พระปญั ญาพศิ าลเถระ

* ดูประวัติย่อ หน้า ๑๙๖

195

(บน) อโุ บสถวัดบรมนวิ าส กรงุ เทพฯ

(ล่าง) หอธรรมวจิ ารณ์ หรอื หอเขียว ในวัดบรมนิวาส


(หนู) ที่วัดสระปทุม ระหว่างทางได้เดินสวนกับ

ผู้หญิงคนหนึ่งเข้า นับต้ังแต่วินาทีนั้นเป็นต้นมา
พระอาจารยฝ์ ั้น กล็ ืมผ้หู ญงิ คนนนั้ ไมล่ ง


ท่านรู้สึกว่า ท่านได้เกิดความรัก
ข้ึนในใจเสียแล้ว ขณะเดียวกันท่าน

ก็บอกตัวเองด้วยว่า ท่านจะต้องขจัด
ความรู้สึกดังกล่าวออกไปเสียให้พ้นจาก
ความรสู้ กึ นกึ คิดให้ได้


กลบั วดั บรมนวิ าสในวนั นน้ั ทา่ นไดน้ งั่ ภาวนา
พจิ ารณาแกไ้ ขตวั เองถงึ สามวนั แตก่ ไ็ มไ่ ดผ้ ล ใบหนา้
ของหญิงผูน้ น้ั ยังคงอยูใ่ นความร้สู กึ นกึ คดิ จนไม่
อาจสลัดให้ออกไปได้ ในที่สุดเมื่อเห็นว่าเป็นการ
ยากทจ่ี ะแกไ้ ขไดด้ ว้ ยตวั เองแลว้ ทา่ นจงึ ไดเ้ ลา่ เรอ่ื ง

196

นามเดิม จนั ทร์ ศุภษร


บดิ า สอน ศุภษร


มารดา แกว้ ศุภษร


เกิด เป็นบุตรหัวปี ในจำนวน ๑๑ คน วันศุกร

แรม ๑๐ คำ่ เดอื น ๔ ปีมะโรง พ.ศ. ๒๓๙๙
ท่บี ้านหนองไหล อยู่ห่างจากตัวเมอื งประมาณ
๔๐๐ เส้น จงั หวดั อบุ ลราชธาน


การบรรพชาและอุปสมบท อายุย่างได้ ๑๓ ปี ได้
บรรพชาเป็นสามเณร เม่ือเดือนย่ี ปีมะโรง พ.ศ.
๒๔๑๑ ที่วัดบ้านหนองไหล โดยเจ้าอธิการโสดา
เป็นพระอุปัชฌาย์ บวชอยู่ได้ ๗ พรรษา ก็ต้อง

ลาสกิ ขาเพราะมีกจิ จำเปน็


พระอุบาลีคุณูปมาจารย์
และเม่ืออายุย่างได้ ๒๒ ปี ได้อุปสมบทเป็น
(จนั ทร์ สริ ิจนโฺ ท)
พระภิกษุ ที่วัดศรีทอง ณ วันขึ้น ๘ ค่ำ เดือน

๖ ปีฉลู พ.ศ. ๒๔๒๐ โดยท่านเทวธมฺมี (ม้าว)
เป็นพระอุปัชฌาย์ เจ้าอธิการสีโห วัดไชยมงคล
เปน็ พระกรรมวาจาจารย์


การศึกษาปรยิ ัตธิ รรม ได้เข้ามาศึกษาปริยตั ธิ รรม ทีก่ รุงเทพฯ ประมาณปี พ.ศ. ๒๔๒๓

พ.ศ. ๒๔๒๘ สอบไดเ้ ปรยี ญ ๓ ประโยค ขณะเมื่อจำพรรษาอยู่วัดบปุ ผาราม

พ.ศ. ๒๔๓๗ สอบได้เปรียญ ๔ ประโยค ขณะเม่อื จำพรรษาอย่วู ดั เทพศริ ินทร


การศึกษาในทางวิปัสสนาธุระ ในปี พ.ศ. ๒๔๓๘ ได้ไปเรียนวิปัสสนากัมมัฏฐาน กับท่านเจ้าคุณ ปัญญาพิศาลเถระ
(สิง) วดั สระปทมุ แล้วออกไปเจริญวิปสั สนาทเ่ี ขาคอก และในบริเวณแขวงเมอื งนครราชสมี าจนถงึ พ.ศ. ๒๔๓๙
จึงได้กลับมาวดั สระปทมุ หลงั จากนนั้ ไดอ้ อกวเิ วกทกุ ๆ ปี เมือ่ ออกพรรษาแล้วตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๕๔


สมณศักด ิ์ ๑๐ กรกฎาคม ๒๔๓๓ ไดร้ บั พระราชทานสญั ญาบตั ร เปน็ พระครูวจิ ติ รธรรมภาณี เจา้ คณะใหญ่

เมืองนคร จัมปาศักดิ์

๑๐ พฤศจิกายน ๒๔๔๒ ไดร้ บั พระราชทานสญั ญาบัตรเป็นพระราชาคณะช้นั สามัญ ที่ พระญานรกั ขิต

๖ พฤษภาคม ๒๔๕๒ ไดร้ บั พระราชทานสญั ญาบัตรเปน็ พระราชาคณะ ที่ พระราชกวี

๑๐ พฤศจิกายน ๒๔๕๗ ได้รับพระราชทานสญั ญาบตั รเป็นพระราชาคณะ ที่ พระเทพโมลี

๔ มกราคม ๒๔๕๙ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ พระราชทานตำแหนง่ สมณศกั ดเิ์ ปน็ พระธรรมธรี ราชมหามนุ

๙ พฤศจกิ ายน ๒๔๖๖ ได้รับพระราชทานสัญญาบตั รเลือ่ นขน้ึ เป็นพระราชาคณะที่ พระโพธิวงศาจารย

๙ พฤศจกิ ายน ๒๔๖๘ ไดร้ บั พระราชทานสญั ญาบตั รเลอื่ นขนึ้ เปน็ พระราชาคณะที่ พระอบุ าลคี ณุ ปู มาจารย


มรณภาพ ในเดอื น มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ และได้รบั พระราชทานเพลงิ ศพ เมอ่ื ๓๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๗๕

197

นามเดมิ อว้ น แสนทวสี ขุ


บิดา *เพยี เมืองกลาง (เคน)


มารดา บุดสี แสนทวีสขุ


เกดิ วันท่ี ๒๑ มนี าคม พ.ศ. ๒๔๑๐

ตรงกับวัน ๗๑ฯ๓๔ ปเี ถาะ




บรรพชาและอุปสมบท พ.ศ. ๒๔๒๙ ได้บรรพชา
เจ้าพระคณุ สมเด็จพระมหาวรี วงศ

เป็นสามเณรท่ีวัดบ้านสว่าง อำเภอวารินชำราบ (อ้วน ติสฺโส)

จังหวัดอุบลราชธานี ได้อุปสมบทที่วัดศรีทอง
อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี เมื่อวันที่ ๒๐
มีนาคม พ.ศ. ๒๔๓๐ โดยมีญาท่านเทวธมฺมี
(ม้าว) เป็นพระอุปัชฌาย์ พระโชติปาลเถร (ทา)

เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอุบาลีคุณูปมาจารย์
(จนั ทร์ สิริจนโฺ ท) เป็นอทุ เทศาจารย


สมณศักด ์ิ ๒๔ ธันวาคม ๒๔๔๗ ได้รับพระราชทานสมณศกั ดิ์เป็นพระราชาคณะที่ พระศาสนดลิ ก

๑๐ พฤศจิกายน ๒๔๕๕ ไดเ้ ป็นพระราชาคณะท่ี พระราชมนุ

๒๔ กันยายน ๒๔๖๔ ไดเ้ ปน็ พระราชาคณะท่ี พระเทพเมธ

๙ พฤศจิกายน ๒๔๖๘ ได้เป็นพระราชาคณะที่ พระโพธิวงศาจารย์

๖ พฤศจกิ ายน ๒๔๗๒ ได้เปน็ พระราชาคณะ เจ้าคณะรองท่พี ระพรหมมนุ

๑ มีนาคม ๒๔๘๒ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหเ้ ป็นสมเดจ็ พระราชาคณะที่ สมเดจ็ พระมหาวีรวงศ์


หน้าที่การพระศาสนา เป็นผู้อำนวยการศึกษามณฑลอีสาน เป็นเจ้าคณะมณฑลอีสาน เจ้าคณะมณฑลอุบลราชธานี

เจ้าคณะมณฑลนครราชสีมา ร้ังตำแหน่งเจ้าคณะมณฑลร้อยเอ็ดครั้งหนึ่ง และรักษาการณ์ในตำแหน่งเจ้าคณะ
มณฑลอดุ รธานี ๒ คร้ัง เปน็ สงั ฆนายกรูปแรก


มรณภาพ ได้ถึงแก่มรณกรรมเมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๒๖ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๙ เวลา ๑๘.๔๕ ในหอธรรมวิจารณ

วัดบรมนวิ าส กรุงเทพฯ รวมอายุได้ ๘๙ ป


* เพยี เมืองกลาง เป็นตำแหนง่ ขา้ ราชการหวั เมอื งลาวกาว – ลาวพวน มหี นา้ ท่เี ปน็ ผดู้ แู ลพสั ดทุ ุกอย่าง และรักษาดแู ล
นกั โทษ

198

พระปัญญาพิศาลเถร

(หนู ฐิฺตปญฺโญฺ)


เกดิ เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๐๗ ที่อำเภอเมอื ง

จงั หวัดอุบลราชธาน


อุปสมบท ทว่ี ดั ศรที อง อำเภอเมอื ง จงั หวดั อบุ ลราชธานี

ญาทา่ นเทวธมมฺ ี (ม้าว) เปน็ พระอุปัชฌาย

(บน) วัดสระปทุม
มรณภาพ เมอ่ื วนั ท่ี ๒๓ ตุลาคม ๒๔๘๗

(ลา่ ง) กฏุ วิ ดั สระประทมุ ทพี่ ระอาจารยม์ น่ั จำพรรษา ปี พ.ศ. ๒๔๗๑

วดั ป่าศรัทธารวม ตำบลหวั ทะเล อำเภอเมอื ง จังหวัดนครราชสมี า


ท่ีเกิดขึ้นให้พระอาจารย์สิงห์ฟัง เพ่ือให้ช่วยแก้ไข พรรษานเี้ ปน็ พรรษาที่ ๘ ของทา่ น (พ.ศ.
พระอาจารยส์ งิ หไ์ ดแ้ นะใหท้ า่ นไปพกั ในพระอโุ บสถ ๒๔๗๕) และน่าสังเกตดว้ ยว่า นับแตป่ ี
พรอ้ มกับให้พจิ ารณาทำความเพียรให้หนักขึ้น
๒๔๗๕ เป็นต้นมา จนถึงปี ๒๔๘๖
พระอาจารย์ฝั้น ได้บำเพ็ญภาวนาอยู่ใน
พระอโุ บสถ เปน็ เวลาถงึ ๗ วนั กส็ ามารถรชู้ ดั ถงึ (พรรษาท่ี ๘ ถงึ พรรษาท่ี ๑๙) ทา่ นได้
บพุ เพสนั นวิ าสแตใ่ นปางกอ่ น วา่ ผหู้ ญงิ คนนกี้ บั ทา่ น จำพรรษาอยู่ท่ีวัดในจังหวัดนครราชสีมา

เคยเป็นสามีภรรยากันมา จึงทำให้เกิดความรู้สึก โดยตลอด

ดังกล่าวขึ้น เม่ือตระหนักในเหตุในผล ท่านก็
สามารถตดั ขาด ลมื ผหู้ ญงิ คนนนั้ ไปไดโ้ ดยสนิ้ เชงิ
วัดป่าศรัทธารวมที่ท่านจำพรรษาในพรรษา

หลงั จากพักอยู่ในวัดบรมนิวาส ได้ ท่ี ๘ นนั้ แตก่ อ่ นเคยเปน็ ปา่ ชา้ ท่ี ๒ สำหรบั เผาศพ
ผู้ที่ตายด้วยโรคติดต่อ เช่น อหิวาตกโรค และ
๓ เดอื น พระอาจารยฝ์ นั้ กเ็ ดนิ ทางกลบั ไป กาฬโรค เปน็ ตน้


ที่จังหวัดนครราชสีมา และได้จำพรรษา ในพรรษาน้ี มพี ระภกิ ษสุ ามเณรอยจู่ ำพรรษา

อยู่ท่ีวัดป่าศรัทธารวม ตำบลหัวทะเล ด้วยกันรวม ๑๔ รูป คือนอกจากท่านแล้ว ยังมี

200

(บน) พระอโุ บสถ วัดป่าสาลวัน อำเภอเมอื ง จงั หวดั นครราชสมี า

(ลา่ ง) ศาลาการเปรยี ญ วัดป่าสาลวนั

201

(บน) ภายในศาลาการเปรียญ วัดป่าสาลวัน

(ล่าง) ศาลาการเปรียญ วดั ป่าศรทั ธารวม

202

พระอาจารยม์ หาปนิ่ ปญญฺ าฺ พโล, พระอาจารยเ์ ทสก์
เทสรส,ี พระอาจารยภ์ มุ มี ฐติฺ ธมโฺ ม พระอาจารย

หลยุ จนทฺ สาโร, พระอาจารยก์ งมา จริ ปญุ โฺ ญฺ ฯลฯ
รวมพระภิกษุ ๑๐ รูป และสามเณรอีก ๔ รูป
ตลอดระยะเข้าพรรษา พระอาจารย์เทสก์กับ

พระอาจารย์ฝั้นได้ช่วยเหลือพระอาจารย์มหาป่ิน
ในภาระต่างๆ เป็นอันมาก เช่น แสดงพระธรรม
เทศนาอบรมญาติโยม และรับแขกท่ีมาเยีย่ มเยือน
เป็นต้น


ออกพรรษาปีนั้น คือ พ.ศ. ๒๔๗๕

พระอาจารย์ฝ้ันได้ชวนพระอาจารย์อ่อน ธุดงค์

ไปวิเวกภาวนาท่ีบ้านคลองไผ่ ตำบลลาดบัวขาว
อำเภอสีค้วิ จงั หวดั นครราชสมี า ตอนหนึง่ ขณะไป

(ซ้าย) พระพุทธรปู ใหญ่ ในวดั ปา่ ศรทั ธารวม

(ลา่ ง) บริเวณกฏุ สิ งฆ์ ภายในวดั ปา่ ศรทั ธารวม

วิเวกอยู่ท่ีบ้านหนองบัว พระอาจารย์ฝั้นได้เกิด 203
อาพาธเป็นไข้มาลาเรียขึ้นมาอีก ฉันยาควินินก็ พระอาจารย์กว่า สมุ โน

แลว้ ยาอนื่ ๆ ก็แลว้ กไ็ มห่ ายขาดลงไปได้ ทา่ น นามเดิม กว่า สวุ รรณรงค

จึงไดใ้ ช้วิธีน่ังภาวนากำหนดจิตด
ู บิดา หลวงพรหม (เมฆ)

มารดา นางหล้า สุวรรณรงค

พอจิตรวมได้ที่แล้วท่านก็พิจารณากาย เกิด เปน็ บตุ รคนท่ี ๕ ใน

เพื่อดูอาการไข้

จำนวน ๗ คน เกดิ ท
ี่
ทันใด ท่านก็นิมิตเห็นอะไรอย่าง บ้านม่วงไข่ ตำบล
หนงึ่ จะเรยี กวา่ อะไรกไ็ มท่ ราบ ไดก้ ระโดด พรรณา อำเภอพรรณานิคม จงั หวัดสกลนคร เมอื่
ออกจากร่างของท่านไปยืนอยู่ข้างหน้า วนั ที่ ๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๔๗

ท่านพิจารณากำหนดจิตเพ่งดูมันต่อไป บรรพชาและอุปสมบท อายุได้ ๑๕ ปี บรรพชาเป็น

สามเณร ทวี่ ดั บา้ นไฮ่ ตำบลไร่ อำเภอพรรณานคิ ม

บรรยายแผนที่
มีท่านอาญาครูธรรมเป็นพระอุปัชฌาย์ เมื่อ พ.ศ.

๒๔๖๘ ได้อุปสมบทเป็นภิกษุฝ่ายธรรมยุต

๑ บ้านมะรุม อำเภอโนนสูง จงั หวดั นครราชสีมา
ณ วัดโพธิสมภรณ์ จังหวัดอุดรธานี โดยมีเจ้าคุณ

พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล) เม่ือยังเป็นพระครู
พระอาจารย์ฝัน้ จำพรรษาปี พ.ศ. ๒๙๗๖ - พ.ศ. ๒๔๗๗
สงั ฆวฒุ กิ รเปน็ พระอปุ ชั ฌาย์ พระรถและพระบญุ เยน็
เปน็ พระกรรมวาจาจารย์

มรณภาพ ได้มรณภาพด้วยโรคหัวใจวาย ทว่ี ัดกลางโนนภู่
อำเภอพรรณานิคม เม่ือวันที่ ๑๔ มกราคม พ.ศ.
๒๕๑๙ รวมอายุได้ ๗๒ ปี ๕๑ พรรษา

204

เจ้าอะไรตนนั้นก็กลับกลายเป็นกวาง พอถึงบ้านมะรุม ได้จัดสร้างเสนาสนะป่า
แล้วกระโดดลงไปในห้วย จากน้ัน เป็นสำนักสงฆ์ข้ึนบนโคกป่าช้า ซ่ึงอยู่ระหว่าง
หมบู่ า้ นแฝกและหมบู่ า้ นหนองนา ตำบลพลสงคราม
กระโดดขึน้ จากห้วยว่ิงต่อไป ขณะวง่ิ มนั และได้จำพรรษาอยู่ใน พ.ศ. ๒๔๗๖-๒๔๗๗
ได้กลายเป็นช้างตัวใหญ่บุกป่า เสียงไม้ (พรรษาท่ี ๙-๑๐) ส่วนพระอาจารย์อ่อน ได้

หกั โครมครามลับไปจากสายตาของทา่ น
แยกไปจำพรรษาอยู่ท่วี ัดป่าบา้ นใหม่สำโรง


รุ่งเช้าอาการไข้ของท่านก็กลับ ออกพรรษาปี ๒๔๗๖ พระอาจารยฝ์ นั้ ได้
หายเป็นปกติ
กลับไปโคราช เพ่ือนมัสการพระอาจารย์สิงห์ ท
่ี

พอเขา้ เดอื น ๖ นายอำเภอขนุ เหมสมาหาร บรรยายแผนที่

ได้อาราธนาพระอาจารย์อ่อนกับพระอาจารย์ฝั้น
ไปจัดสร้างวัดขึ้นวัดหน่ึง ใกล้สถานรี ถไฟบ้านใหม่ ๑ บ้านสอยดาว อำเภอปากชอ่ ง

สำโรง ตำบลลาดบัวขาว อำเภอสีค้ิว เสร็จแล้ว ๒ บา้ นคลองไผ่ ตำบลลาดบวั ขาว อำเภอสคี ว้ิ

พระอาจารย์ฝ้ันได้ธุดงค์กลับไปโคราชเพ่ือต่อไปยัง ๓ บา้ นหนองบัว

อำเภอโนนสูง
๔ วัดบ้านใหม่สำโรง ท่ีพระอาจารย์อ่อน

จำพรรษา ปี พ.ศ. ๒๔๗๖

205

(บน) ลำตะคอง ขา้ งหนา้ เป็นดงพญาเย็น พระอาจารย์ฝนั้

ชอบธุดงค์ขณะที่ท่านอยู่จงั หวัดนครราชสมี า

206 ก็มอบหน้าที่ให้บรรดาญาติโยมสร้างกันเองต่อไป
สว่ นทา่ นเดนิ ทางกลบั วดั ปา่ สาลวนั เพอื่ กราบเรยี น
วดั ปา่ สาลวัน พอดีเกดิ “กบฏบวรเดช” จะเทย่ี ว ใหท้ า่ นอาจารยส์ งิ ห์ ทราบวา่ ไปสรา้ งวดั ปา่ ไว้ ขอให้
ธุดงค์ทางไกลก็ไม่ได้ จึงชวนพระอาจารย์อ่อน ทา่ นรบั รองการสรา้ งวัดนีไ้ วด้ ้วย

พร้อมด้วยพระภิกษุสามเณรอีกหลายรูป ไปเที่ยว
วิเวกภาวนาอยู่ในท้องท่ีอำเภอปักธงไชย ระหว่าง ในพรรษาที่ ๑๐ (พ.ศ. ๒๔๗๗)

ไปพักอยู่ท่ีถ้ำเขาตะกุรัง มีเสือมารบกวนท้ังคืน พระอาจารย์ฝ้ัน ได้กลับไปจำพรรษาอยู่ท่ีบ้าน
เลยี บๆ เคยี งๆ จะเขา้ มาทำรา้ ยใหไ้ ด้ ทา่ นนกึ รำคาญ มะรมุ อำเภอโนนสูง จงั หวัดนครราชสมี า

ข้ึนมา จึงคว้าก้อนหินโยนเข้าไปก้อนหนึ่ง มันก็
เลยโจนเข้าปา่ ไม่มารบกวนอีกตอ่ ไป
ต่อมาพอออกพรรษาปีน้ัน พระอาจารย์ฝั้น
ได้ตกลงใจจะออกเดินธุดงค์ ไปทางดงพญาเย็น
หลังจากตระเวนทำความเพียรในท่ีต่างๆ โดยมีพระภกิ ษุ ๓ รปู กับสามเณรอกี ๑ รปู รวม
จนตลอดฤดูแล้งแลว้ ถงึ เดอื น ๖ พระอาจารย์ฝน้ั คณะไปด้วย โยมผู้หน่ึงช่ือหลวงบำรุงฯ มีศรัทธา
ก็กลับมาที่อำเภอปักธงไชย พอดีพวกญาติโยมมี เอารถไปส่งให้จนถึงชายป่า เมื่อลงจากรถแล้วก็
ความศรัทธาอาราธนาให้ท่านสร้างวัดป่าขึ้นใกล้ๆ มุ่งหนา้ เขา้ ดงพญาเยน็ ทงั้ คณะ

อำเภอ ทา่ นจงึ พกั อยทู่ นี่ น่ั เพอื่ จดั การให้ พอกำหนด
เขตวดั วางแนวกฏุ ิศาลาไวใ้ ห้พอสมควรแล้ว ท่าน

บริเวณโคกปา่ ช้า บา้ นมะรมุ อำเภอโนนสูง จังหวดั นครราชสมี า พระอาจารย์ฝ้นั ได้จดั สร้างเสนาสนะป่าข้นึ จำพรรษา

ในปี พ.ศ. ๒๔๗๖-๒๔๗๗ (ในภาพ) พระอธกิ ารอา้ ย ชบ้ี รเิ วณทเ่ี ป็นเสนาสนะป่า

207

(ภาพบน) หลวงตาแจ่ม กบั พระอธิการอ้าย ชีบ้ รเิ วณบอ่ น้ำท่พี ระอาจารย์ฝัน้ ไดข้ ุดข้นึ ไว้ใชน้ ำ้ ในระหวา่ งจำพรรษา ท่บี า้ นมะรมุ

(ภาพล่าง) โรงเรยี นวดั บา้ นมะรมุ

208

ระหว่างเดินธุดงค์ พระเณรที่ร่วม ทีไ่ รข่ องหลวงบำรุงฯ ท่านอาจารยฝ์ น้ั ได้
คณะ เกดิ กระหายนำ้ ทา่ นกบ็ อกใหห้ ยดุ เผชญิ กบั ผกี องกอยเข้าครั้งหนึ่ง

ปกติชาวบ้านเข้าใจว่า ผีกองกอยคือนก

ฉันนำ้ กอ่ น ส่วนท่านเองเดินลว่ งหน้าไป ไม้หอม ถ้านกประเภทน้ีร้องท่ีไหนเช่ือกันว่ามี

สกั พกั หนงึ่ กร็ สู้ กึ สงั หรณใ์ จวา่ กำลงั มอี ะไร ไมห้ อมอยทู่ นี่ นั่ กอ่ นไปหาไมห้ อม เชน่ ไมจ้ นั ทรห์ อม

เกิดข้ึนแก่ท่านสักอย่าง เดินอยู่ดีๆ ก็ ชาวบ้านจะทำพิธีบวงสรวงกันเสียก่อนอธิษฐานให้

รสู้ กึ ใจเตน้ แรง แตม่ องไปรอบขา้ งไมเ่ หน็ นกไปร้องอยู่ท่ีบริเวณท่ีมีไม้หอม จะได้หาพบง่าย
ยิ่งขึ้น พอบวงสรวงเสร็จก็เข้าไปน่ังคอยนอนคอย
มีอะไรผิดปกติ ท่านจึงเดินไปเร่ือยๆ อยู่ในป่า ตกกลางคืนได้ยินเสียงนกประเภทน้ีร้อง
แม้กระนั้นก็ยังไม่หายใจเต้น ทันใดท่าน ทางไหนก็ตามเสยี งไปทางนัน้


ก็เห็นเสือนอนหันหลังให้อยู่ตัวหน่ึง
ท่านอาจารย์ฝั้น ได้ยินมันร้องทุกคืน พอ
ข้างหน้า จะหลบหลีกก็ไม่ได้เสียแล้ว ตะวนั ตกดนิ ไดย้ นิ เสยี งรอ้ งจากทางหนงึ่ ไปอกี ทาง
เพราะเป็นเร่ืองกะทันหันเกินไป ตอนนี้ หนงึ่ พอสวา่ งก็ไดย้ ินเสียงรอ้ งย้อนกลับไปทางเก่า

ระหว่างนั้นเด็กคนหนึ่งซ่ึงติดตามมาด้วยได้
หัวใจท่ีเต้นแรงแทบว่าจะพาลหยุดเต้น ละเมดิ คำสงั่ ของทา่ น ขณะเขา้ ปา่ ไมไ่ ดส้ ำรวมศลี มกั
เลยทีเดียว
ลกั ลอบไปจบั ไก่ กงิ้ กา่ หรอื บางทกี จ็ บั แยม้ าฆา่ กนิ

แต่ถึงอย่างไรท่านก็ยังสำรวมสติได้อย่าง ด้วยเหตุนี้พอตกกลางคืน แทนท่ีผีกองกอยจะไป
รวดเร็ว ท่านตดั สินใจอยา่ งไม่มใี ครเคยทำมากอ่ น ตามทางของมนั อย่างเคย กลับวกมายงั ท่ีพกั ธดุ งค์
เดินเขา้ ไปใกลๆ้ มนั แล้วรอ้ งตามไปว่า
แลว้ ไปยงั ทพี่ กั ของเดก็ ทา่ นใหน้ กึ เอะใจวา่ เดก็ คง
ศีลขาดเสียแล้ว จึงพร้อมทั้งพระภิกษุสามเณร

“เสอื หรอื น่ี” !

จดุ โคมเทยี นโดยมผี า้ คลมุ ตดิ ไว้ทกุ ทศิ แล้วนง่ั ล้อม

เจ้าเสือร้ายผงกหัวหันมาตามเสียง พอ เด็กไว้คอยพิจารณาดูตัวมัน แต่ได้ยินเพียงเสียง
เหน็ ท่านกเ็ ผน่ แผลว หายเขา้ ปา่ รกทึบไป
ของมนั เทา่ น้นั พระอาจารยฝ์ น้ั จงึ นงั่ สมาธพิ อจติ
รวมได้ที่ก็เห็นผีกองกอยตัวหนึ่งหน้าเท่าเล็บมือ

เมื่อพวกพระเณรตามมาทัน ทั้งหมดจึง ผมยาว คล้ายชะนี หล่นตุ้บลงมาจากต้นไม้แล้ว

ออกเดินทางต่อเพ่ือมุ่งหน้าไปยังบ้านสอยดาว หายสาบสญู ไปเลย


อำเภอปากชอ่ ง อยหู่ า่ งจากสถานจี นั ทกึ ไปประมาณ เมอ่ื ทราบความจริงว่า เด็กละเมิดคำสัง่ สอน

๓๐๐ เส้น แตก่ อ่ นจะถึงได้แวะไปท่ไี ร่หลวงบำรงุ ฯ จนศีลขาด ท่านจึงส่งเด็กกลับไปเสีย แล้วคณะ
แล้วพักอยู่ท่ีนั่นอีกหลายวัน คนของหลวงบำรุงฯ ของท่านก็เดินทางต่อไปจนถึงบ้านสอยดาว ทำ

ไดจ้ ดั ทำอาหารถวายพระ โดยมไิ ดข้ าดตกบกพรอ่ ง ความเพียรอยู่ที่นั่นอีกหลายเดือน จึงได้กลับไปยัง
แต่ประการใด
นครราชสีมา

209

ระหวา่ งอยนู่ ครราชสมี า ทา่ นไดบ้ ำเพญ็ ทกุ ข์ ในพรรษาที่ ๑๑ - ๑๙ (พ.ศ. ๒๔๗๘ -

กิริยาอยู่พักหน่ึง กล่าวคือท่านต้ังใจจะอดอาหาร ๒๔๘๖) ทา่ นไดก้ ลบั ไปจำพรรษาทวี่ ดั ปา่ ศรทั ธารวม
สกั ระยะเวลาหนงึ่ โดยจะไมฉ่ นั อะไรเลย นอกจากนำ้ ตำบลหวั ทะเล จังหวัดเดียวกนั อกี


เชา้ ขนึ้ มาทา่ นออกไปบณิ ฑบาตกจ็ รงิ แตไ่ ดม้ าแลว้ ก็ เม่ือเดอื น ๓ ขา้ งขึ้น ๑๔ ค่ำ ปี ๒๔๗๙
ถวายองค์อ่ืนจนหมดส้ิน จากน้ันก็น่ังเย็บปะ จีวร ทา่ นไดอ้ อกจากวดั ปา่ ศรทั ธารวม ไปตามพระอาจารย์
สบง ไปตามเรอ่ื ง พอลว่ งเขา้ วนั ที่ ๓ ขณะทกี่ ำลงั ม่ัน ที่เชียงใหม่ เพราะเวลาที่จากกัน ท่านคิดถึง
สนเขม็ อยู่ ทา่ นกร็ สู้ กึ วา่ มอื สนั่ จงึ พจิ ารณาทบทวน พระอาจารย์มั่นอยู่ตลอดเวลา ในการไปตามหา
ดูก็ประจักษ์ความจริงว่า ไฟถ้าขาดเช้ือเสียแล้ว พระอาจารยม์ นั่ ครง้ั นี้ พระอาจารยอ์ อ่ นไดเ้ ดนิ ทาง
ย่อมไม่อาจลุกโพลงขึ้นได้ฉันใด มนุษย์เราก็จะ รว่ มไปดว้ ย

ต้องมีอาหารสำหรับประทังชีวติ ฉันนั้น ท่านจึงเลกิ

อดอาหาร แต่ฉันให้น้อยลงกว่าเดิม แม้ลูกศิษย์ เม่ือลงรถไฟที่สถานีเชียงใหม่แล้ว ทั้งสอง

ของท่านบางคนมาขออนุญาตอดอาหารบ้าง ท่าน ทา่ นไดเ้ ดนิ ตอ่ ไปทว่ี ดั เจดยี ห์ ลวง นบั วา่ นา่ อศั จรรย์

ก็ไม่อนุญาตเพราะเห็นว่าไม่เกิดประโยชน์อันใด
เป็นอันมาก ไม่ทราบว่าท่านอาจารย์ม่ันหย่ังรู้ได้

ดงั กล่าวแลว้
อยา่ งไร จึงมาคอยท่านอยกู่ ่อนแลว้


วัดเจดีย์หลวง จงั หวัดเชยี งใหม่ พระอาจารย์มนั่ จำพรรษาในปี พ.ศ. ๒๔๗๒, ๒๔๗๕ และ ๒๔๘๑

210 คนื นนั้ พระอาจารยท์ งั้ สองนงั่ สมาธิ
ทำความเพียรจนสว่าง

พระอาจารย์มั่น ได้บอกกับท่านทั้งสองว่า
พระเณรมาหาเปน็ รอ้ ยๆ ยงั ไมด่ ใี จเทา่ ทท่ี า่ นมาเพยี ง เช้าวันรุ่งข้ึน พระอาจารย์อ่อนขอลา

สององค์ มีพระเณรมาหากันมากแต่ไม่พบ เพราะ พระอาจารย์ม่ันไปอำเภอพร้าว พระอาจารย์ฝั้น

ท่านเทยี วธุดงคป์ ฏบิ ัติกมั มัฏฐานไปเรอ่ื ยๆ
จะไปด้วย แต่พระอาจารย์มั่นไม่ยอมให้ไป ท่าน
ให้พักอยดู่ ว้ ยกันไปก่อน

เม่ือเข้าสู่ท่ีพักซึ่งพระอาจารย์มั่นกำหนดให้
แลว้ ทงั้ สองทา่ นไดถ้ วายการปฏบิ ตั ติ อ่ พระอาจารยม์ นั่ ตอ่ มาพระอาจารยอ์ อ่ นและพระอาจารยฝ์ นั้ ได้
สกั พกั ใหญ่ พระอาจารยม์ น่ั กล็ กุ ขน้ึ มาเทศนาใหฟ้ งั ขอลาไปวเิ วกทอี่ นื่ อกี หลายครง้ั แตพ่ ระอาจารยม์ น่ั
ตอนหน่ึงท่านบอกด้วยว่า พระอาจารย์อ่อนและ พูดตัดบทไว้ทุกที อา้ งว่าอยู่ทีน่ ี่ดีอยแู่ ล้ว

พระอาจารยฝ์ น้ั เปน็ พระเจา้ ชู้ พระอาจารยท์ งั้ สอง
ไดฟ้ งั กง็ นุ งงและบงั เกดิ ความตกใจ แตเ่ มอ่ื พจิ ารณา อยา่ งไรกด็ ี พระอาจารยม์ น่ั ไดอ้ นญุ าตใหท้ า่ น
ตวั เองดแู ลว้ กป็ ระจกั ษว์ า่ จรงิ อยา่ งทท่ี า่ นบอก เพราะ ท้ังสองไปพักอยู่ท่ีห้วยน้ำริน และต่อมาได้ไปยัง
ผ้าจีวร สบง เปล่ียนไปเป็นสีเหลือง ไม่ใช่สีกลัก บา้ นปง ทบ่ี า้ นปงนเี้ อง พระอาจารยอ์ อ่ นเกดิ อาพาธ
มิหนำซ้ำฝาบาตรท่ีท่านพระอาจารย์ฝั้นใช้อยู่ยัง ดว้ ยไขม้ าลาเรยี พระอาจารยฝ์ น้ั ไดช้ ว่ ยรกั ษาพยาบาล
ประดบั มกุ อกี ดว้ ย


วดั บา้ นปง

อำเภอแม่รมิ จงั หวัดเชยี งใหม

พระอาจารย์ม่นั ได้จำพรรษา


ในปี พ.ศ. ๒๔๗๔

211

จนกระทง่ั ทเุ ลาลง แลว้ พากนั กลบั ไปหาพระอาจารย์ สมเดจ็ พระมหาวรี วงศ์ (พมิ พ์ ธมมฺ ธโร)

ม่นั ยังวัดเจดียห์ ลวงอกี ครง้ั


กลับไปคราวน้ี พระอาจารย์มั่นได้ให้
นามเดมิ

พระอาจารย์ฝั้น มุ่งทำความเพียรทั้งกลางวัน พิมพ์ แสนทวสี ขุ

กลางคนื ปรากฏวา่ ทา่ นทงั้ สองตา่ งสามารถมองเหน็ บดิ า

กันทางสมาธิโดยตลอด ทั้งๆ ที่กุฏิห่างกันเป็น ทอง แสนทวสี ขุ

ระยะทางถงึ เกอื บ ๕๐๐ เมตร
มารดา

นวล แสนทวีสขุ

พอใกล้เข้าพรรษา สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ เกิด วนั ที่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๔๐ ตรงกับวนั เสาร์
(พมิ พ์ ธมฺมธโร) คร้งั เป็นพระญาณดิลก ได้ขึน้ ไป ขน้ึ ๑ คำ่ เดอื น ๖ ปรี ะกา ทบี่ า้ นสวา่ ง ตำบลสวา่ ง
เปน็ กรรมการสอบสวนชำระอธกิ รณท์ ว่ี ดั เจดยี ห์ ลวง อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธาน

ได้ให้พระอาจารย์อ่อนเดินทางไปให้นิสัยพระมอญ การบรรพชาและอุปสมบท เบื้องแรกได้บรรพชาเป็น
ซึ่งได้รับการญัตติกรรมเป็นพระธรรมยุตติกนิกาย สามเณร ที่วัดสุปัฏนาราม อำเภอเมือง จังหวัด

ทว่ี ดั บา้ นหนองดู่ จงั หวดั ลำพนู แตเ่ นอื่ งจากวดั นอ้ี ยู่ อบุ ลราชธานี เม่อื วนั ท่ี ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๗

รมิ แมน่ ำ้ ปงิ ขณะนนั้ นำ้ กำลงั ทว่ ม พระอาจารยอ์ อ่ น
จึงตัดสินใจไม่ไป พอดีกับพระอาจารย์ฝ้ันได้รับ ได้อุปสมบท ณ อุทกุกเขปสีมา (โบสถ์น้ำ)
จดหมายพรอ้ มกบั ธนาณตั จิ ากหลวงเกรยี งศกั ดพ์ิ ชิ ติ ในลำน้ำมูล ที่บ้านโพธิ์ตาก ตำบลพิบูล อำเภอ

เปน็ ปจั จยั มูลคา่ ๔๐ บาทถวายเปน็ ค่าพาหนะ ให้ พิบลู มังสาหาร จังหวดั อบุ ลราชธานี เมื่อวันท่ี ๑๙
ทา่ นเดนิ ทางกลับไปจำพรรษาทนี่ ครราชสีมา
เมษายน พ.ศ. ๒๔๖๐ โดยมี สมเดจ็ พระมหาวรี วงศ์
(อ้วน ติสฺโส) ครั้งดำรงสมณศักด์ิ พระราชมุนี

ท่านทั้งสองจึงตัดสินใจกลับจาก เป็นพระอุปัชฌาย์ พระศาสนดลิ ก (ชิต เสโนเสน)
เชยี งใหมใ่ นเดอื น ๘ ขน้ึ ๗ คำ่ ปี พ.ศ. เป็นพระกรรมวาจาจารย์

๒๔๘๐

สมณศักดิ์ ปี พ.ศ. ๒๔๗๕ ได้รบั พระราชทานสมณศกั ดิ์

ระหว่างออกพรรษาปี พ.ศ. ๒๔๘๖
เป็นพระราชาคณะที่พระญาณดิลก

พระอาจารย์ฝั้น ได้ออกเดินธุดงค์จากวัดป่า
ศรัทธารวม อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา
ปพี .ศ. ๒๔๙๐ ไดเ้ ปน็ พระราชาคณะท่ีพระราชกวี

อันเป็นวัดท่ีท่านพำนักจำพรรษาติดต่อกันนานถึง ปพี .ศ. ๒๔๙๒ ไดเ้ ปน็ พระราชาคณะทพ่ี ระเทพโมล

๑๒ ปี ไปพักวิเวกภาวนาตามป่าเขา ที่เห็นว่า ปพี .ศ. ๒๔๙๖ ไดเ้ ปน็ พระราชาคณะทพ่ี ระธรรมปฎิ ก

สงบเงยี บพอเจรญิ กมั มฏั ฐานได้ โดยเปลย่ี นสถานท่ี ปพี .ศ. ๒๕๐๔ ได้เป็นพระราชาเจ้าคณะรองท
่ี
ผ่านหมู่บ้านและอำเภอต่างๆ ไปเรื่อยๆ จนถึง
พระพรหมมนุ

ปีพ.ศ. ๒๕๐๘ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็น


สมเด็จพระราชาคณะท่ีสมเด็จ

พระมหาวรี วงศ

มรณภาพ ไดม้ รณภาพ เมอ่ื วนั ท่ี ๓๐ พฤศจกิ ายน พ.ศ.
๒๕๑๗ ณ โรงพยาบาลภูมพิ ลอดุลยเดช


เขาพนมรงุ้ อำเภอประโคนชยั จงั หวดั บรุ รี มั ย์ เมอื่

บำเพ็ญความเพียรอยู่ท่ีเขาพนมรุ้งเป็นเวลานาน

212

บรรยายแผนที่


๑ วัดป่าโยธาประสิทธ์ิ จังหวดั สุรินทร์


พระอาจารย์ฝน้ั ไดม้ าพักและบำเพ็ญภาวนา

ในระหว่างออกพรรษา ปี พ.ศ. ๒๔๘๖


พอสมควรแล้ว ท่านได้เดินทางต่อไปถึงจังหวัด ตา่ งเลอ่ื มใสในตวั ทา่ นเปน็ อนั มาก สงั เกต
สรุ นิ ทร์ และไดไ้ ปพกั อยใู่ นปา่ ไมก้ ระเบา รมิ หว้ ยเสนง ได้จากจำนวนผู้คนที่พากันไปฟังพระ
ซงึ่ รม่ รน่ื และเงยี บสงดั เหมาะแกก่ ารบำเพญ็ ภาวนา
เป็นอย่างยิ่ง การเดินธุดงค์คร้ังน้ี มีพระและเณร ธรรมเทศนาและรับการอบรมจากท่าน
ติดตามไปด้วยรวม ๓ รูป ทั้งยังมีเด็กลูกศิษย์
อย่างเนืองแน่นมิได้ขาด ผู้คนล้นหลาม

๓ คน ขอติดตามท่านมาจากอำเภอประโคนชัย ไปนมัสการท้ังกลางวันกลางคืน ราวกับ

จงั หวดั บรุ ีรมั ย์อีกดว้ ย
วา่ มงี านมหกรรมขึ้นทเี ดยี ว


ระหวา่ งทพี่ ระอาจารยฝ์ น้ั พำนกั อยู่ พระอาจารยฝ์ น้ั ไดใ้ หล้ กู ศษิ ยห์ าเครอื่ งยามา

ในป่าริมห้วยเสนง บรรดาพุทธบริษัท ประกอบเปน็ ยาดอง โดยมผี ลสมอเปน็ ตวั ยาสำคญั
ชาวจังหวัดสุรินทร์และจังหวัดใกล้เคียง กับเครอ่ื งเทศอีกบางอยา่ ง ปรากฏวา่ ยาดองทที่ า่ น

213

(บนสดุ ) วัดป่าโยธาประสิทธ์ิ จงั หวดั สรุ นิ ทร์

(บน) บริเวณป่าริมห้วยเสนง พระอาจารย์ฝน้ั ได้มาพักบำเพญ็ ภาวนาระหวา่ ง

ออกพรรษา ปี พ.ศ. ๒๔๘๖

(ขวา) เจ้าอาวาสวัดป่าโยธาประสทิ ธ์ิในปัจจบุ นั

214

ประกอบขนึ้ คราวนน้ั มีสรรพคณุ อย่างมหาศาล แก้ ล้นหลามทุกคร้ัง สถานที่แห่งที่สามที่ท่านไปพัก
โรคได้สารพัด แมค้ นท่เี ป็นโรคท้องมานมาหลายปี ต่อมาได้กลายเป็น วัดป่าโยธาประสิทธิ์ ซึ่งได้

รกั ษาทไ่ี หนกไ็ มห่ าย พอไปฟงั พระธรรมเทศนา รบั เจริญรุ่งเรอื งเรอ่ื ยมาจนกระทัง่ ทุกวนั นี


ไตรสรณคมน์ และรับยาดองจากท่านไปกินเพียง พอใกลจ้ ะเขา้ พรรษา พระอาจารยฝ์ น้ั จงึ ได้

๓ วนั โรคทอ้ งมานก็หายดังปลดิ ทง้ิ แมก้ ระทงั่ คน ลาญาติโยมเดินทางออกจากสุรินทร์ไปจำพรรษา


ที่เสียจริต เมื่อรับไตรสรณคมน์ และได้รับการ ท่ีวัดบูรพา จังหวัดอุบลราชธานี ตามบัญชาของ

ประพรมน้ำมนตแ์ ล้วก็หายเป็นปกติ ทันตาเห็นไป สมเด็จพระมหาวรี วงศ์ (อว้ น ตสิ ฺโส) สงั ฆนายก


หลายราย พุทธบริษัททง้ั หลายจงึ พากันแตกต่ืนใน สาเหตุท่ีสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ มีบัญชาให้

ความศักด์ิสิทธ์ิของท่านเป็นอย่างย่ิง ถึงขนาด พระอาจารย์ฝั้นไปจำพรรษาที่จังหวัดอุบลราชธานี

ขนานนามใหท้ า่ นเป็น “เจ้าผมู้ ีบญุ ” เลยทีเดียว
เปน็ เพราะในปนี นั้ สมเดจ็ ฯ อาพาธหนกั ถงึ ขนาด
ตั้งแต่นน้ั มา แม้พระอาจารย์ฝั้นจะจากไป ฉนั อาหารไมไ่ ด้ ตอ้ งถวายอาหารทางเสน้ โลหติ ทา่ น
ประจำอยูท่ ่จี งั หวดั สกลนครแล้ว พทุ ธบรษิ ทั ชาว จงึ เรยี กพระเถระฝา่ ยกมั มฏั ฐานเขา้ ไปปรกึ ษาหารอื
จังหวัดสุรินทร์ ก็ยังพยายามติดตามไปนมัสการ เพอ่ื หาทางบำบัดโรค ในทางธรรมปฏิบัติ สมเด็จฯ
ทำบญุ ภาวนา และรบั การอบรมจากทา่ นอยเู่ สมอ ได้นิมนต์พระอาจารย์สิงห์ ให้อธิบายธรรมเป็น
มไิ ด้ขาด

องค์แรก เม่ือพระอาจารย์สิงห์อธิบายจบลงแล้ว

ระหวา่ งพกั อยรู่ มิ หว้ ยเสนงนน้ั พระอาจารย์ สมเดจ็ ฯ จึงให้พระอาจารยท์ อง อโสโก เจา้ อาวาส

ฝ้ันได้ย้ายสถานท่ีไปพักโปรดญาติโยมตามที่ต่างๆ วัดบูรพา อธิบายอีก จากนั้นจึงหันมาทาง


ตามคำนิมนต์ของชาวบ้านผู้มีจิตเลื่อมใสบ้างเป็น พระอาจารย์ฝ้ัน ให้อธิบายธรรมให้ฟังอีกเป็น


บางครงั้ แตล่ ะแหง่ ทที่ า่ นไปพกั บรรดาพทุ ธบรษิ ทั องค์สุดท้าย พระอาจารย์ฝั้นจึงได้อธิบายธรรม

ต่างก็ติดตามไปรับการอบรมและปฏิบัติธรรมอย่าง ถวายโดยมีอรรถดังน้


ใหท้ า่ นทำจติ เปน็ สมาธยิ กไวยกรณธ์ รรม ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขนั ธ์ ยกอนั นไ้ี วเ้ สยี กอ่ น ทำจติ
ใหเ้ ปน็ สมาธเิ ราตอ้ งตงั้ สมาธใิ หไ้ ด้ ภาวนากำหนดจติ ใหเ้ ปน็ สมาธิ พอตงั้ เปน็ สมาธดิ แี ลว้ ใหเ้ ปน็ หลกั
เปรยี บเทยี บเหมอื นเราจะนบั ตง้ั รอ้ ยตงั้ พนั กต็ อ้ งตง้ั หนง่ึ เสยี กอ่ น ถา้ เราไมต่ ง้ั หนง่ึ เสยี กอ่ นกไ็ ปไมไ่ ด้
ฉันใด จิตของเราจะรู้ได้เราก็ต้งั จิตของเราเป็นสมาธิเสียก่อน เปรียบเหมือนนัยหนึง่ คือเสมือนเรา
จะปลกู ตน้ ไม้ พอปลกู ลงแลว้ กม็ คี นเขาวา่ ปลกู ตรงนนั้ มนั จะงามดกี ถ็ อนไปปลกู ตรงนนั้ และกม็ คี นเขา
มาบอกอกี วา่ ตรงโนน้ ดกี วา่ กถ็ อนไปปลกู ตรงโนน้ อกี ทำอยา่ งนี้ ผลทสี่ ดุ ตน้ ไมก้ ต็ าย ทงิ้ เสยี เปลา่ ๆ
ไมไ่ ดอ้ ะไรเสยี อยา่ ง ฉนั ใดเราทำอะไรจะปลกู อะไรกฝ็ งั ใหม้ นั แนน่ ไมต่ อ้ งถอนไปไหน มนั เกดิ ขนึ้ เอง
นแี่ หละสมาธิ ฉนั ใดกฉ็ นั นนั้ แหละ หรอื อกี นยั หนงึ่ เปรยี บเหมอื นเราจะขดุ นำ้ บอ่ ตอ้ งการนำ้ ในพน้ื ดนิ
เราขุดลงไปแหง่ เดยี วเท่านัน้ พอเราขดุ ไปไดห้ น่อยเดยี วได้น้ำสกั ๒ – ๓ บาตรแลว้ มีคนเขา
บอกวา่ ทนี่ น่ั มันตน้ื เราก็ย้ายไปขุดทอ่ี ่ืนอกี พอคนอนื่ เขาบอกว่าตรงนัน้ ไม่ดี ตรงน้ีไม่ดี ก็ย้ายไป
ยา้ ยมา ผลทสี่ ดุ กไ็ มไ่ ดก้ นิ นำ้ ใครจะวา่ กช็ า่ งเขา ขดุ มนั แหง่ เดยี วคงถงึ นำ้ ฉนั ใดเปรยี บเหมอื นสมาธิ

215

ของเราตอ้ งตั้งไวแ้ หง่ เดียวเท่าน้ัน เมอ่ื เราต้ังไว้แหง่ เดียว ไม่ต้องไปอื่นไกล ไมต่ อ้ งสง่ ไปข้างหน้า
ขา้ งหลัง ไม่ตอ้ งคดิ ถึงอดตี อนาคต กำหนดจิตให้สงบอนั เดียวเท่านั้น


ได้ให้ท่านทำสมาธิภาวนา ทำจิตให้สงบ ให้พิจารณาแยกธาตุ แยกขันธ์ และอายตนะ
ออกเปน็ ส่วนๆ ตามความเป็นจริง พจิ ารณาให้เห็นความเปน็ ไปของส่ิงเหลา่ นนั้ ตามหนา้ ท่ีของมัน
ใหแ้ ยกกายออกจากจติ แยกจติ ออกจากกาย ใหย้ ดึ เอาตวั จติ คอื ผรู้ ู้ เปน็ หลกั พรอ้ มดว้ ยสติ ธาตุ
ทั้ง ๔ คอื ดิน น้ำ ลม ไฟ ให้พิจารณาใหอ้ ยู่ในสภาพของมนั เองแต่ละอยา่ ง เมอื่ พจิ ารณาตาม
ความเป็นจริงแล้ว จะเหน็ ไดว้ ่า ธาตุทัง้ ๔ ตา่ งเจ็บไม่เปน็ ปว่ ยไม่เป็น แดดจะออกฝนจะตกกอ็ ยู่
ในสภาพของมนั เอง ในตวั คนเรากป็ ระกอบไปดว้ ยธาตทุ ง้ั ๔ นร้ี วมกนั การทม่ี คี วามเจบ็ ปวดปว่ ยไข้
อยู่น้ันเน่ืองมาจากตัวผู้รู้ คือจิต เข้ายึดถือด้วยอุปาทานว่าเป็นตัวเป็นตน เป็นของเขา ของเรา
เมอ่ื พจิ ารณาตามความเปน็ จรงิ แลว้ ตวั ผรู้ คู้ อื จติ เทา่ นน้ั ทไ่ี ปยดึ เอามาวา่ เจบ็ วา่ ปวด วา่ รอ้ น วา่ เยน็
หรอื หนาว ฯลฯ ตามสภาพความเปน็ จรงิ แลว้ สง่ิ ทงั้ ปวงเหลา่ นนั้ ไมไ่ ดเ้ ปน็ อะไรเลย ดนิ กค็ งเปน็ ดนิ
น้ำกค็ งเป็นน้ำ ไม่มสี ่วนรูเ้ หน็ ในความเจ็บปวดใดๆ ดว้ ย เมอ่ื ทำจิตใหส้ งบและพจิ ารณาเหน็ สภาพ
ความเป็นจริงแล้ว จิตยอ่ มเบอ่ื หน่ายและวางจากอปุ าทาน คือเวน้ การยดึ ถือมั่นในสงิ่ เหล่านนั้ เมื่อ
ละไดเ้ ชน่ นี้ ความเจบ็ ปวดตา่ งๆ ตลอดจนความตายยอ่ มไมม่ ตี วั ตน เพราะฉะนนั้ หากทำจติ ใหส้ งบ
เปน็ สมาธิแน่นแน่แลว้ โรคต่างๆ ก็จะทุเลาหายไปเอง


สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อว้ น ตสิ โฺ ส)
วดั สปุ ฏั นาราม จงั หวดั อบุ ลราชธานี

วดั บรู พา อำเภอเมอื ง จงั หวดั อุบลราชธานี พระอาจารย์ฝ้นั จำพรรษาในปี พ.ศ. ๒๔๘๗

โบสถ์เก่าวดั บรู พา


เมอื่ พระอาจารยฝ์ นั้ อธบิ ายธรรมถวายสมเดจ็ ไดเ้ ลอื กเอาดา้ นทเ่ี ปน็ ปา่ เปน็ ทพี่ กั ตลอดพรรษานนั้
พระมหาวรี วงศจ์ บแลว้ สมเดจ็ ฯ ไดพ้ ดู ขนึ้ วา่ เออ, และได้หมั่นไปอธิบายธรรมปฏิบัติถวายสมเด็จ

เขา้ ทดี ี แลว้ ถามพระอาจารยฝ์ น้ั วา่ ในพรรษาน้ี ฉนั พระมหาวีรวงศ์ท่ีวัดสุปัฏน์เกือบทุกวัน และด้วย

จะอยู่ได้รอดตลอดพรรษาหรือไม่ พระอาจารย์ฝั้น
อำนาจการปฏิบัติธรรมนั้น สมเด็จพระมหาวีรวงศ์
ก็เรยี นตอบไปว่า ถา้ พระเดชพระคุณทำจติ ให้สงบ ก็หายวันหายคืน ท้ังยังอยู่ได้ตลอดพรรษาและ

ไดด้ งั ทีอ่ ธบิ ายถวายมาแล้ว ก็รบั รองวา่ อยูไ่ ด้ตลอด ลว่ งเลยตอ่ มาอีกหลายป

พรรษาแน่นอน

สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ได้ออกปาก
สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ จึงมีบัญชาให

พระอาจารย์ฝ้ัน ไปจำพรรษาอยู่กับท่านท่ีจังหวัด ยอมรับในความจริง และชมว่าพระคณะ
อุบลราชธานี เพื่อจะได้ศึกษาธรรมให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น กัมมัฏฐานน้ีเป็นผู้ปฏิบัติดีจริง ทั้งยัง


ดังกล่าวแล้ว โดยพระอาจารย์ฝ้ันได้เลือกเอา
ทำได้ดังพูดจริงๆ อีกด้วย สมควรท
่ี
วดั บรู พาเปน็ ทจ่ี ำพรรษา เพราะวดั นอี้ ยฝู่ ง่ั เดยี วกนั กบั พระมหาเปรียญท้ังหลายจะถือเอาเป็น
วดั สปุ ฏั นท์ สี่ มเดจ็ ฯ พำนกั อยู่ การไปมาสะดวกกวา่ ตัวอย่างปฏิบัติต่อไป ท่านได้กล่าว

วดั ปา่ แสนสำราญ ซง่ึ อยทู่ างฝง่ั อำเภอวารนิ ชำราบ
ต่อหน้าพระอาจารย์ฝ้ันด้วยว่า ฉันเป็น
วัดบูรพาท่ีท่านเลือกพักมีเขตเป็นสองตอน
ตอนหนงึ่ เปน็ สำนกั เรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม อกี ตอนหนงึ่ พระอุปัชฌาย์ บวชพระบวชเณรมา

เปน็ ปา่ มกี ฏุ หิ ลงั เลก็ ๆ อยู่ ๕–๖ หลงั สำหรบั พระ จนนับไม่ถ้วน แต่ไม่เคยนึกสนใจใน


เณรอาศัยปฏิบัติธรรมโดยเฉพาะ พระอาจารย์ฝั้น ตจปัญจกกมั มฏั ฐาน* เหล่าน้เี ลย เพ่ิงจะ

* ตจปญั จกกมั มฏั ฐาน คือกรรมฐานอันบณั ฑิตกำหนดด้วยอาการมีหนงั เปน็ ท่ี ๕ เป็นอารมณ์ หมายถึงกรรมฐานท่ที า่ นสอนให้
พจิ ารณาสว่ นของรา่ งกาย (กายคตาสติ) ๕ อย่างได้แก่ เกสา (ผม) โลมา (ขน) นะขา (เลบ็ ) ทันตา (ฟนั ) ตะโจ (หนงั ) โดย
ความเป็นของปฏกิ ลู เปน็ กรรมฐานที่พระอปุ ัชฌาย์ใหแ้ ก่ผู้บวชใหม่

218

มารู้ซ้ึงในพรรษาน้ีเอง พูดแล้วท่านก็นับ ในพรรษา พ.ศ. ๒๔๘๗ นน้ั พระอาจารยฝ์ น้ั

เกศา โลมา นขา ทนตฺ า ตโจ แล้วถาม เกือบไม่มีเวลาเป็นของตัวท่านเองเลย ทั้งนี้เพราะ
ท่านได้ทำหนา้ ทอี่ ุปัฏฐากพรอ้ มกันถึง ๒ อาจารย์
พระอาจารย์ฝ้ันว่า น่ีเป็นธาตุดิน น่ีเป็น กล่าวคือ นอกจากกลางคืนจะต้องเข้าถวายธรรม
ธาตนุ ำ้ นเี่ ปน็ ธาตลุ ม นเี่ ปน็ ธาตไุ ฟใชไ่ หม? แก่สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ ที่วัดสุปัฏน์ จากหัวค่ำ

พระอาจารย์ฝ้ันก็รับว่าใช่ จากนั้นท่าน
ไปจนถงึ เวลาประมาณ ๔ ทมุ่ บางครง้ั กถ็ งึ ๖ ทมุ่
ก็ปรารภข้ึนว่า ตัวท่านเองเปรียบเหมือน
จึงได้กลับวัดบูรพา แล้วพอเช้าขึ้นท่านก็ออก
ผู้บวชใหม่ เพ่ิงจะมาเรียนรู้ เกศา โลมา บิณฑบาตไปเรื่อยๆ แล้วข้ามแม่น้ำมูลไปทางฝ่ัง
อำเภอวารินชำราบ ไปฉันเช้าที่วัดป่าแสนสำราญ
ฯลฯ ความรใู้ นดา้ นมหาเปรยี ญ ทเ่ี ลา่ เรยี น ฉันเสร็จก็ประกอบยารักษาโรคถวาย พระอาจารย์
มามากนน้ั ไมย่ งั ประโยชนแ์ ละความหมาย มหาป่ิน ซึ่งปีน้ันกำลังอาพาธด้วยโรคปอด อยู่ที่
ต่อชีวิตท่านเลย ยศฐาสมณศักด์ิ ก็แก้ วัดป่าแสนสำราญ พระอาจารย์ฝ้ันได้พยายาม


ทกุ ขท์ า่ นไมไ่ ด้ ชว่ ยทา่ นไมไ่ ด้ พระอาจารย์ หาสมุนไพรต่างๆ มาปรุง แล้วกลั่นเป็นยาถวาย

ฝ้ันให้ธรรมปฏิบัติในพรรษาน้ีได้ผลคุ้มค่า พระอาจารยม์ หาปนิ่ หยกู ยาทที่ นั สมยั กไ็ มม่ ี เพราะ
ขณะนน้ั กำลงั อยูใ่ นระหว่างสงครามโลกคร้งั ที่ ๒

ทำให้ทา่ นรจู้ กั กมั มัฏฐานดีขึน้


วดั ปา่ แสนสำราญ อำเภอวารนิ ชำราบ จงั หวดั อุบลราชธาน


219

วดั ศรที อง อำเภอเมอื ง จงั หวดั อุบลราชธานี

วัดสุทัศน์ อำเภอเมอื ง จงั หวดั อุบลราชธาน


220

เมอื่ พดู ถงึ สงครามโลกครงั้ ท่ี ๒ นา่ บนั ทกึ ไว้ หลงเหลอื อยกู่ เ็ ฉพาะผทู้ ม่ี คี วามจำเปน็ ไมอ่ าจโยกยา้ ย
เปน็ พเิ ศษในทนี่ ดี้ ว้ ยวา่ การหยงั่ รเู้ หตกุ ารณล์ ว่ งหนา้ หรืออพยพเท่านั้น ตกกลางคืนคนเหล่านี้จะนอน
ของพระอาจารยฝ์ น้ั ยงั เปน็ ทจี่ ดจำและประทบั ใจ ตาไม่หลับลงง่ายๆ ต้องคอยหลบภัยทางอากาศ
ในบรรดาลูกศิษย์ลูกหาและบรรดาพุทธบริษัท กันอยู่เสมอ ปกติเคร่ืองบินฝ่ายพันธมิตรจะมาท้ิง
จำนวนมากในจังหวัดอุบลราชธานีมาจนกระท่ัง ระเบดิ ในราวอาทติ ยล์ ะ ๒ หรอื ๓ ครงั้ ถา้ วนั ไหน
ทกุ วนั น้

เครอ่ื งบนิ จะลว่ งลำ้ เขา้ มาทง้ิ ระเบดิ พระอาจารยฝ์ นั้

ปีน้ันอยู่ในราวกลางพรรษา พ.ศ. ๒๔๘๗ จะบอกล่วงหน้าให้บรรดาศิษย์ทั้งหลายรู้ก่อน


จังหวัดอุบลราชธานี กลาดเกล่ือนไปด้วยทหาร อยา่ งนอ้ ย ๒ ชวั่ โมง เชน่ ในตอนเยน็ ขณะพระเณร

ญี่ปุ่นซ่ึงเข้าไปต้ังมั่นอยู่ จึงเป็นธรรมดาอยู่เองที่ ซง่ึ เปน็ ศษิ ย์ กำลงั จดั นำ้ ฉนั นำ้ ใชถ้ วายอยนู่ น้ั ทา่ น

ฝ่ายสัมพันธมิตรจะต้องจดจ้องทำลายล้าง โดยส่ง จะเตอื นขน้ึ วา่ ใหท้ กุ องคร์ บี ทำกจิ ใหเ้ สรจ็ ไปโดยเรว็

เครอื่ งบนิ เขา้ มาทง้ิ ระเบดิ ตามจดุ ยทุ ธศาสตรอ์ ยเู่ สมอ แล้วเตรียมหลบภัยกันให้ดี คืนนี้เครื่องบินจะมา


ชาวบ้านร้านถิ่นจึงพากันอพยพหลบภัยออกไปอยู่ ทิ้งระเบิดอีกแล้ว ภิกษุสามเณรท้ังหลายก็รีบ

ตามรอบนอก หรอื อำเภอชน้ั นอกทปี่ ลอดจากทหาร ทำตามท่ีท่านส่ัง พอตกกลางคืน ก็มีเคร่ืองบิน

ญี่ปุ่น ในตัวเมืองอุบลฯ จึงเงียบเหงาลงถนัด จะ ข้าศกึ เขา้ มาทง้ิ ระเบิดจริงๆ


จากซ้าย


n พระอาจารยฝ์ ้นั อาจาโร

n พระอาจารย์มหาปนิ่ ปญฺญฺาพโล

n พระอาจารย์สิงห์ ขนตฺ ยาคโม

พระธาตพุ นม จงั หวดั นครพนม


บางคร้ังในตอนกลางวันแท้ๆ ท่านบอก
ออกพรรษาปี พ.ศ. ๒๔๘๗ เสร็จฤดกู าล
ลูกศิษย์ลูกหาว่า เคร่ืองบินมาแล้ว รีบทำอะไร
กฐนิ แลว้ พระอาจารยฝ์ น้ั ไดเ้ ขา้ นมสั การลาสมเดจ็
ให้เสร็จๆ แล้วรีบไปหลบภัยกันเสีย ทุกองค์ต่าง พระมหาวีรวงศ์ท่ีวัดสุปัฏนาราม ขอเดินทางไป
มองตากันด้วยความงุนงง แต่อีกไม่นานนัก ก็มี สกลนครอันเป็นจังหวัดบ้านเกิดของท่าน เพ่ือ
เคร่ืองบินเข้ามาจริงๆ ชาวบ้านหอบลูกจูงหลาน บำเพ็ญกุศลทักษิณานุปทานอุทิศแด่บุพการี คือ
เข้าไปหลบภัยอยู่ในบริเวณวัดเต็มไปหมด พระ โยมบิดามารดา สมเด็จฯ ก็อนุญาต จากน้ัน
อาจารย์ฝน้ั ก็ลงจากกุฏิ ไปเตือนใหอ้ ยู่ในความสงบ ท่านได้ไปนมัสการลาพระอาจารย์สิงห์ กับ

และให้ภาวนา  “พุทโธ พุทโธ”  ไว้โดยทั่วกันท้ัง พระอาจารย์มหาป่ินที่วัดแสนสำราญ อำเภอ
วารินชำราบ แล้วไปลาญาติโยมพุทธบริษัท
เด็กและผู้ใหญ่

222

๓ ทุ่มเศษ แล้วไปขอพกั ค้างคนื ทว่ี ัดศรมี งคล เชา้
รุ่งข้ึนได้โดยสารรถคันเดิมไปพักค้างคืน ท่ีวัดป่า

เกาะแกว้ อำเภอธาตพุ นม ซงึ่ ทน่ี น่ั พระอาจารยฝ์ นั้
ได้พาคณะของท่านไปกราบนมัสการพระธาตุพนม
ดว้ ย แลว้ ไดก้ ลา่ วแกพ่ ระภกิ ษสุ ามเณร และลกู ศษิ ย์
ว่า ใครผู้ใดเดินทางผ่านมาถึงแล้วไม่แวะนมัสการ

องคพ์ ระธาตพุ นม คนๆ นนั้ นบั วา่ บาปหนา มกี รรม
ปกปดิ จนไมส่ ามารถจะมองเหน็ ปชู นยี สถานอนั สำคญั
ท่านเล่าด้วยว่า ก่อนโน้น บริเวณพระธาตุพนม

เต็มไปด้วยป่ารกรุงรัง องค์พระธาตุก็เต็มไปด้วย
เถาวลั ยป์ กคลมุ พระอาจารยเ์ สารก์ บั พระอาจารยม์ น่ั
สมัยยังหนุ่มแน่นเม่ือเที่ยวธุดงค์ ถึงที่น่ันก็มักจะ
นำญาตโิ ยมไปรอ้ื เถาวลั ยอ์ อก และถากถางปา่ รอบๆ

บริเวณจนสะอาด


หลงั จากพกั อย่ทู ่ีวดั ป่าเกาะแก้วได้ ๔ – ๕

วัน พระอาจารยฝ์ น้ั กพ็ าคณะออกเดนิ ทางต่อ โดย
สะพายบาตรแบกกลด หิ้วกานำ้ ออกเดนิ ทาง จาก
อำเภอธาตุพนมมุ่งไปยังอำเภอนาแก กว่าจะถึงก็

เกือบมืด จึงแวะพักที่วัดบ้านนาแกน้อยคืนหนึ่ง

พอเช้าวันรุ่งข้ึนก็ออกเดินทางต่อไปถึงวัดป่า

ส่วนยอดของพระธาตุพนม
บ้านนาโสก ที่วัดน้ีท่านได้พักบำเพ็ญภาวนาอยู่
หลายคนื และที่วดั น้ีเอง ทา่ นได้ดัดนสิ ัยกลวั ภตู ผี
เสร็จแล้วท่านพร้อมด้วยพระภิกษุรูปหนึ่ง ของพระภกิ ษลุ ูกศษิ ย์ทรี่ ่วมคณะไปดว้ ยจนไดผ้ ล

สามเณรรูปหน่ึง กับเด็กลูกศิษย์อีกคนหนึ่ง ได้
ออกเดนิ ทางจากอบุ ลราชธานี มงุ่ หนา้ ไปสกลนคร
เร่ืองมีอยู่ว่า ท่านจะพำนักอยู่วัดใดก็ตาม
ปกติท่านจะลงจากกุฏิไปอยู่ตามร่มไม้ ซึ่งเรียกว่า

ระหวา่ งสงครามโลกครง้ั ที่ ๒ นำ้ มนั เชอื้ เพลงิ อยู่รุกขมูลเสมอมา เมื่อมาพักที่วัดป่านาโสก


ขาดแคลนมาก รถยนต์โดยสารต้องใช้ถ่านแทน เจ้าอาวาสได้จัดกุฏิถวายให้ท่านพักก็จริง แต่ท่าน

และมีวิ่งน้อยคัน พระอาจารย์ฝ้ัน ได้พาพระภิกษุ พกั ไดค้ นื เดยี วกพ็ าพระภกิ ษทุ เ่ี ดนิ ทางไปดว้ ย ลงไป

สามเณรและลูกศิษย์ น่ังรถโดยสารซึ่งใช้ถ่าน
ทำท่ีพักใหม่ โดยยกแคร่ข้ึนใต้ร่มไม้ในบริเวณ

เป็นเชื้อเพลิง ออกจากอุบลราชธานีตั้งแต่เช้า
ป่าช้า ซ่ึงท่ีนั่นเป็นป่าโปร่งบ้าง ทึบบ้าง สัตว์ป่า

ไปถึงอำเภอมุกดาหารจังหวัดนครพนม เม่ือเวลา
ตา่ งๆ กช็ กุ ชมุ มาก เมอ่ื ทำทพี่ กั เฉพาะทา่ นเสรจ็ แลว้

223

กุฏพิ ระอาจารย์เสาร์ ที่วดั ป่าเกาะแกว้ อำเภอธาตุพนม


ท่านก็บอกพระภิกษุให้หาที่พักในบริเวณเดียวกัน แสดงวา่ มันไม่กลวั น่ะซี เพราะถา้ จิตมนั กลวั มันก็

ตามใจชอบ แลว้ ถามวา่ กลวั ผกี นั หรอื เปลา่ พระภกิ ษุ ตอ้ งสงบ และตอ้ งรวมเปน็ สมาธไิ ด้ ถา้ จติ มนั ยงั แส่

รูปนัน้ ก็ตอบตามตรงวา่ กลวั แตแ่ ทนทที่ ่านจะบอก หาหรือนึกว่ามีผีและยังกลัวอยู่ เรียกว่าจิตไม่สงบ

ใหท้ ำทพ่ี กั ใกลๆ้ ทา่ นกลบั พาไปหาทพี่ กั กลางปา่ ชา้ เม่ือจิตไม่รวม ไม่สงบ ก็แสดงว่าจิตมันไม่กลัว

ลกึ เขา้ ไปในดงดบิ รอบๆ ทพี่ กั เตม็ ไปดว้ ยหลมุ ศพ ตามธรรมดา เม่ือคนเราบังเกิดความกลัวขึ้นมา

ทั้งเก่าและใหม่ แต่เน่ืองจากเคารพและเชื่อฟัง
เป็นต้นวา่ กลัวชา้ ง กลวั เสือ หรือกลวั สตั วต์ ่างๆ

ในตัวท่าน พระภิกษุรูปน้ันจึงจัดทำที่พักโดยมิได้ ย่อมต้องหาที่หลบท่ีกำบัง หรือหาที่พงึ่ เช่นว่ิงเข้า

อิดเอื้อนแต่ประการใด ทั้งๆ ที่จิตใจเต็มไปด้วย หลบในบ้านเรือน เม่อื หลบกำบังแลว้ ความกลวั มนั

ความหวาดหวัน่
ก็หายไป ตรงกันข้ามถ้าวิ่งออกไปข้างนอกโดย

ระยะน้ัน อากาศกำลังหนาวจัด แต่คืนน้ัน ปราศจากทีส่ ำหรับกำบงั ความปลอดภัยจะเกดิ ข้ึน

พระภิกษุลูกศิษย์แม้ไม่ใช้ผ้าห่มเลย เหงื่อก็ยัง
ได้อย่างไร จิตของคนเราก็เช่นกัน เมื่อบังเกิด

ไหลโทรมร่าง เพราะจิตใจไม่เป็นปกติให้กลัวผีมา ความกลัว ก็หาความสงบน่ิงอยู่กับสมาธิภาวนา

หลอกหลอนอยู่เร่ือย คืนต่อมาพระอาจารย์ฝ้ันก
็ ไมใ่ ชว่ งิ่ ออกไปหาผตี ามปา่ ชา้ แลว้ กน็ งั่ กลวั ตวั สน่ั อย
ู่
สั่งสอนให้รู้จักแก้ความกลัวในสิ่งต่างๆ โดยท่าน คนเดียว แล้วทา่ นกส็ ั่งสอนอีกว่า ความกลัวผนี ั้น
ถามว่า เม่ือคืนนี้ เวลากลัวมากๆ อย่างน้ันน่ะ เปน็ เพยี งอปุ าทานของเราเอง เราหลอกตวั เราเอง
ภาวนาไปแลว้ จติ มนั สงบหรอื เปลา่ พระภกิ ษรุ ปู นน้ั เราเองนึกข้ึนว่าผี แล้วเราก็กลัวผี เม่ือบังเกิด

ตอบวา่ จติ ไมส่ งบเลย เพราะมแี ตค่ วามกลวั จนนอน ความกลวั ขึ้นมา ตอ้ งรบี สำรวมใจให้สงบ จิตจะได้

ไม่หลับ พระอาจารย์ฝั้นก็บอกว่า ถ้าจิตไม่สงบก็ มีกำลังต้านทานต่อสิ่งร้ายเหล่านั้นได้ จิตของเรา

224

จะได้มีกำลังพิจารณาหาเหตุผลต่างๆ เพ่ือจะได้ เช้าวันรุ่งข้ึน หลังจากบิณฑบาตและฉันเสร็จก


ตอ่ สกู้ บั ภยั ทงั้ ปวงทจี่ ะเกดิ ขนึ้ จติ ยง่ิ ฟงุ้ ซา่ นเทา่ ไหร่ เดนิ ทางตอ่ ไปยงั วดั ปา่ สทุ ธาวาส พกั อยทู่ วี่ ดั นนั้ อกี
แม้ใบไม้ร่วงก็เข้าใจว่าผีหลอก ดีไม่ดีออกว่ิงจีวร ๓ คืน จึงเดินทางตอ่ ไปยังอำเภอพรรณานิคมแลว้

ปลวิ ไปเปลา่ ๆ เมอ่ื สง่ั สอนถงึ ตอนนแี้ ลว้ ทา่ นกบ็ อก เดินทางตัดทุ่งนาไปยังบ้านบะทอง อันเป็นบ้าน

ต่อไปว่า ต่อไปน้ีถ้ากลัวผีมากกว่าครูบาอาจารย์ เกิดของท่านเอง พักที่บ้านบะทองเพียงคืนเดียว

ละก็ จงไปคุกเข่ากราบผีเสียดีกว่า ไม่ต้องมา
กย็ า้ ยเขา้ ไปพกั ในปา่ ขา้ งปา่ ชา้ ใกลๆ้ กบั หนองแวง
กราบไหวค้ รบู าอาจารยใ์ หเ้ สยี เวลา พระภกิ ษรุ ปู นนั้ ซ่ึงบรรดาญาติโยมได้พากันไปถากถางทำที่พัก

เลา่ ในภายหลงั วา่ ไดย้ นิ คำสอนของพระอาจารยฝ์ น้ั ชั่วคราวถวายให้


เช่นนั้นแล้ว ให้บังเกิดความมานะเป็นอันมาก ที่พักช่ัวคราวดังกล่าวได้กลาย
พยายามต่อสู้ความกลัวด้วยการรวบรวมสมาธิจน มาเป็นวัดป่าอุดมสมพรในปัจจุบัน
เป็นผลสำเร็จ และได้พบความจริงด้วยว่า เม่ือ
พิจารณากันด้วยเหตุผล กล้าต่อสู้กับความเป็น ส่วนหนองแวงได้กลายมาเป็นสระน้ำ
จริงอย่างพระอาจารย์ฝ้ันสั่งสอนแล้ว แม้ตกอยู่ ใหญท่ ี่มีโบสถ์นำ้ อยกู่ ลางสระ


กลางป่าชา้ ดงดิบอนั เต็มไปดว้ ยหลมุ ฝงั ศพ ก็ไม่ใช่

เรื่องที่น่ากลัวแต่ประการใด เพียงแต่ตัวเองคิดข้ึน

มาหลอกตัวเองเท่านน้ั


พกั อยทู่ วี่ ดั ปา่ บา้ นนาโสกประมาณ ๘–๙ วนั

พระอาจารย์ฝั้นก็พาภิกษุสามเณรเดินทางต่อไป

พกั ท่วี ดั ปา่ บา้ นนามน ตำบลตองโขบ อำเภอเมอื ง

จังหวัดสกลนคร อันเป็นวัดที่พระอาจารย์ม่ันพัก

จำพรรษาอยู่ก่อน แต่ขณะน้ันพระอาจารย์มั่นได้

ย้ายไปพักในท่ีวิเวกใกล้ๆ กับบ้านห้วยแคนแล้ว

เช้าวันรุ่งขึ้น พระอาจารย์ฝ้ันจึงเดินทางไปกราบ

นมสั การพระอาจารยม์ ่ัน ที่วัดปา่ ห้วยแคน และอีก

๓ วันต่อมา ได้เดินทางต่อไปยังวัดป่าบ้านโคก

ซ่ึงเป็นวัดท่ีพระอาจารย์ม่ัน เคยพักจำพรรษามา

ก่อนเชน่ กนั


พระอาจารย์ฝ้ันพักอยู่กับพระอาจารย์กงมา

จริ ปุญโฺ ญฺ ประมาณ ๔–๕ คนื ก็เดินทางตอ่ ไปยงั

วัดป่าสุทธาวาส แต่ไปได้แค่บ้านนายอ ก็ค่ำลง

เสยี กอ่ น ทา่ นจงึ แวะพกั คา้ งคนื ทโ่ี รงเรยี นประชาบาล

225

ณ ท่ีพกั ชั่วคราวนัน้ เอง พระอาจารย์ฝ้ันได้ เรียกกันว่า  “ท่านอาญาครูดี”  ข้ึนเทศน์เป็นองค์

เตรียมการทำบุญอุทิศส่วนกุศล แด่บุพการีของ ตอ่ ไป พระอาจารย์ดีเทศนจ์ นถงึ ๖ ทมุ่ กจ็ บลง

ท่าน โดยมีญาติโยมมาช่วยเตรียมการด้วยอย่าง ต่อไปพระอาจารย์อ่อน ญฺาณสิริ ได้ขึ้นเทศน์ต่อ

แข็งขัน เม่ือทุกอย่างพร้อมแล้ว ท่านจึงไดเ้ ร่ิมพิธี ตงั้ แต่ ๖ ทมุ่ ไปจนสวา่ ง เมอ่ื ไดเ้ วลาออกบณิ ฑบาต

งานทำบญุ ครง้ั นน้ั ปรากฏวา่ ไดก้ ระทำกนั อยา่ งใหญโ่ ต ท่านจึงได้ลงจากธรรมาสน์ บรรดาญาติโยมท่ีไป

ชาวบ้านหลายหมู่บ้านได้ไปร่วมงานอย่างคับค่ัง ร่วมงานบำเพ็ญกุศลกับพระอาจารย์ฝั้นครั้งน้ัน

ไม่มีมหรสพ ไม่มีเคร่ืองกระจายเสียง มีแต่ฟัง ตา่ งกป็ ลมื้ ปตี แิ ละซาบซง้ึ เปน็ อยา่ งยง่ิ เพราะนานๆ

เทศน์อบรมธรรมแต่ประการเดียวตลอดคืน โดยมี จะมีพระภิกษุไปชักจูงให้ประกอบการบุญการกุศล

พระเถระผใู้ หญ่ไปรว่ มในพธิ ีดว้ ยหลายรปู
สกั ครงั้ หนง่ึ


เมอื่ พระสงฆส์ วดพระพทุ ธมนตเ์ รยี บรอ้ ยแลว้ และตั้งแต่ปีนั้นเป็นต้นมา สถานที่แห่งน้ัน
ก็เป็นการแสดงธรรม พระภกิ ษุองค์แรกที่ขนึ้ แสดง กเ็ รม่ิ มพี ระภกิ ษสุ ามเณรอยจู่ ำพรรษามาตลอด จนได้
ธรรมคือพระอาจารย์ฝน้ั ในนามของเจา้ ภาพ ท่าน กลายเปน็ วดั ป่าอดุ มสมพรดังไดก้ ล่าวแลว้ ข้างต้น


ได้ตักเตือนให้บรรดาญาติโยมต้ังใจรับการอบรม

อย่างจริงจัง อย่ารบกวนสมาธิของผู้ฟังด้วยกัน

จากนั้นก็นิมนต์พระอาจารย์ดี หรือที่ชาวบ้าน

226

น่าสังเกตว่า คืนแรกท่ีพระอาจารย์ฝ้ันได้ อุบลราชธานีอีกคร้ังหนึ่ง เน่ืองจากได้รับนิมนต์ไป
พาพระภิกษุร่วมคณะเข้าไปพักในป่าแห่งน้ีนั้น ร่วมงานศพของคุณแม่ชีสาลิกา ซ่ึงทางเจ้าภาพ
ท่านได้ให้โยมถางป่าแล้วเอาฟางมาปู จากน้ันก็
และคณะสงฆ์จากจังหวัดอุบลฯ นิมนต์ไว้ล่วงหน้า
ปเู สอื่ ทบั ลงไปบนฟาง ตกกลางคนื ปลวกไดก้ ล่ิน แล้ว ก่อนจะเดินทางออกจากจังหวัดอุบลฯ มา
ฟางจึงออกมาอาละวาด ต้องยา้ ยกันตลอดคืนถงึ จังหวัดสกลนคร เมื่อจัดบริขารเสร็จเรียบร้อยแล้ว
๔–๕ คร้ังจนสว่าง ทุกรูปต่างไม่ได้หลับไม่ได้ พระอาจารย์ฝั้นก็พาศิษย์ออกเดินทางโดยเดินเท้า
นอนตลอดคืน เช้ารุ่งขึ้นต้องทำเป็นแคร่ยกข้ึน จากทพี่ กั ดงั กลา่ ว ยอ้ นกลบั ไปทางตวั เมอื งสกลนคร
พ้นจากพ้ืน จึงปลอดภัยจากกองทัพปลวกไปได้ แตเ่ ดนิ ทางไปทงั้ วนั ไปไดแ้ คบ่ า้ นพาน จงึ แวะเขา้ ไป
การที่สถานที่น้ันกลายมาเป็นวัดป่าอุดมสมพร
พักในป่าช้าหนึ่งคืน รุ่งเช้าจึงออกไปบิณฑบาตใน
ที่เจริญรุ่งเรืองอยู่ในปัจจุบัน ก็เป็นเพราะว่า
หมู่บ้าน วันน้ันพระอาจารย์ฝ้ันและพระลูกศิษย์
พระอาจารยฝ์ นั้ ไดบ้ กุ เบกิ มาดว้ ยความยากลำบาก บิณฑบาต ไดเ้ พียงขา้ วเหนยี วกบั นำ้ อ้อยเพยี ง ๔
นับตั้งแต่คนื แรกเลยทเี ดียว

ก้อนเทา่ นนั้


เสรจ็ จากการบำเพญ็ กศุ ลทกั ษณิ านปุ ทานแด่ เกย่ี วกบั บณิ ฑบาตน้ี พระอาจารยฝ์ น้ั
บพุ การขี องทา่ นแลว้ อกี ไมก่ ว่ี นั ตอ่ มา พระอาจารยฝ์ น้ั
ไดล้ าบรรดาญาตโิ ยมทง้ั หลายเดนิ ทางไปยงั จงั หวดั ได้เคยเล่าให้บรรดาพระภิกษุสามเณรที่

พระอาจารย์ออ่ น และพระอาจารย์ฝนั้ เป็นสหธรรมกิ ทีใ่ กลช้ ดิ

227

(บน) พระอาจารย์ฝน้ั เทศนาอบรมกัมมัฏฐานลกู ศิษย์

และญาตโิ ยม

(ขวา) บริเวณท่พี ระอาจารย์ฝั้นได้เข้ามาพกั ในครงั้ แรก

ที่วดั ป่าอดุ มสมพร ซ่งึ บดั นไี้ ดส้ ร้างเปน็ กุฏขิ น้ึ

(ลา่ ง) หนองแวง ไดก้ ลายเป็นสระน้ำใหญม่ ีโบสถ์น้ำต้ังอย่




229

เป็นศิษย์ใกล้ชิดฟังว่า สมัยก่อนท่าน
เท่ียวธุดงค์ไปตามท่ีต่างๆ บางหมู่บ้าน
ท่านบิณฑบาตไม่ได้อะไรเลยก็มี แม้
ข้าวเหนียวสักป้ันหนึ่งก็ไม่ได้ ต้อง

อดอาหารเดินทางต่อไปอีก แต่ถึงจะ
ลำบากยากเขญ็ สกั เพยี งใด ทา่ นกไ็ มเ่ คย
ย่อท้อ ยิ่งอดอยากมากเท่าไรก็ย่ิงทำ

ความเพียรได้มากข้ึนเท่าน้ัน สำหรับ
ทา่ นเองนน้ั เคยฝกึ หดั ทรมานตนดว้ ยการ
อดอาหารมาแลว้ เปน็ เวลาหลายๆ วนั กม็


เมื่อฉนั ข้าวเหนียวกับน้ำออ้ ยตอนเชา้ วนั น้นั
เสร็จแล้ว พระอาจารย์ฝ้ันกับพระภิกษุลูกศิษย์ก็
เดินทางต่อไปยังวัดป่าธาตุนาเวง ซึ่งพระอาจารย์
พรหม จิรปุญฺโญฺ* เคยเป็นเจ้าอาวาสอยู่มาก่อน
วัดนี้เป็นป่าดงดิบอยู่ใกล้กับโรงเรียนพลตำรวจ
เขต ๔ เม่ือสมัยโน้น แต่ปัจจุบันเปลี่ยนมาเป็น
วิทยาลยั ครูสกลนครไปแล้ว


ท่านตั้งใจจะพักที่วัดป่าธาตุนาเวงเพียง

คนื เดยี ว แต่เนอ่ื งจากมผี ้นู มิ นต์ใหท้ า่ นจำพรรษา
อยู่ที่สกลนคร เพ่ือแบ่งเบาภาระพระอาจารย์ม่ัน
อกี แรงหนง่ึ ประกอบกบั ธรุ กจิ การกศุ ลทท่ี า่ นตง้ั ใจไป
กระทำทอี่ บุ ลราชธานี ไดห้ มดความจำเปน็ ไปแลว้ วัดป่าธาตุนาเวง ปัจจุบันวัดป่าภูธรพิทักษ์ จังหวัดสกลนคร
เพราะศพคณุ แมช่ สี าลกิ าไดจ้ ดั การเผาไปเรยี บรอ้ ย พระอาจารย์ฝนั้ ไดจ้ ำพรรษาตัง้ แต่ปี พ.ศ. ๒๔๘๘ เปน็ ต้นมา


แลว้ ทงั้ นเี้ นอ่ื งจากหมายกำหนดการเดมิ ผดิ พลาด ซ่อมแซมกุฏิที่ผุพังให้มีสภาพดีขึ้นสำหรับอยู่อาศัย
ไป ทา่ นจงึ ตกลงใจรบั ปาก และพกั จำพรรษาอยทู่ ี่ ภายหลังวดั น้ีไดเ้ ปลย่ี นชอื่ เป็นวัดป่าภูธรพิทักษ

วดั ปา่ ธาตนุ าเวง ตงั้ แตป่ ี พ.ศ. ๒๔๘๘ เปน็ ตน้ มา

พอถึงวันอุโบสถ พระอาจารย์ฝ้ันจะอบรม
ขณะจำพรรษาอยู่ท่ีวัดป่าธาตุนาเวงนั้น สานุศิษย์เป็นประจำ อบรมแล้วก็นำให้นั่งสมาธิ
พระอาจารย์ฝ้ันได้เป็นผู้นำในการบูรณะวัด โดย ภาวนาและเดินจงกรมตลอดคืน


* ดูประวัติย่อ หน้า ๒๔๐

230

(บน) บรเิ วณวดั ปา่ ภธู รพทิ กั ษ์

(ลา่ ง) กุฏิพระอาจารย์ฝน้ั ในวดั ปา่ ภูธรพิทักษ์

231

ระหวา่ งพรรษานน้ั มเี รอ่ื งอศั จรรยซ์ งึ่ บรรดา เกย่ี วกบั เรอ่ื งนี้ ไมอ่ าจมใี ครทราบไดว้ า่ เกดิ
พระลกู ศษิ ยช์ ดุ ทจ่ี ำพรรษาอยดู่ ว้ ยยงั จำกนั ไดแ้ มน่ ยำ จากกระแสจติ อนั แรงกลา้ ของ พระอาจารยฝ์ น้ั หรอื
อย่างไร แต่พระภิกษุผู้เป็นศิษย์ของท่านรูปหน่ึง
อยเู่ ร่อื งหน่ึง

กล่าวคือ เวลาพระอาจารย์ฝ้ันมีกิจธุระต้อง ยังจำได้ถึงคำสั่งสอนของท่านเกี่ยวกับอำนาจจิต
เข้าไปในตวั เมอื งหรอื ไปทว่ี ดั ป่าสุทธาวาสนั้น หาก ได้ดี กล่าวคือ ท่านเคยเทศน์ถึงความแก่กล้า
คิดระยะทางดแู ลว้ จะเหน็ ได้ว่า จะต้องเดนิ เทา้ ออก ของจิตว่า ก่อนจะทำได้ต้องบำเพ็ญความเพียร
จากวดั ไปเป็นระยะทาง ๑ กิโลเมตรเศษ จงึ จะถงึ ชำระกเิ ลสออกจากจติ ใหห้ มดสนิ้ ไปเสยี กอ่ น เมอื่
สี่แยกถนนใหญ่ และจากสี่แยกไปจนถึงตัวเมือง ขัดเกลาจนหมดจดได้แล้ว อำนาจของจิตย่อม
สกลนคร จะเปน็ ระยะทางอกี ประมาณ ๖ กโิ ลเมตร เกิดข้ึนได้เอง เปรียบเช่นกับน้ำฝน เม่ือตกลงสู่
บางคร้ังท่านจะนำพระภิกษุสามเณรออกเดินทาง แผ่นดินอันเต็มไปด้วยฝุ่นละออง น้ำฝนท่ีใสก็
ด้วยเท้าไปจนถึงตัวเมืองทีเดียว แต่ท่ีน่าอัศจรรย์
กลายเป็นข้นขุ่น ย่ิงไปกวนเข้าก็ยิ่งขุ่นมากขึ้น
มีอยู่ว่า บางครั้งเมื่อเตรียมตัวจะออกจากวัดเพื่อ ใครฉลาดตกั ใสภ่ าชนะวางทง้ิ ไวน้ ง่ิ ๆ ความสกปรก
เดินทาง ก็ได้ยินเสียงรถยนต์วิ่งกระหึ่มอยู่บน
ก็จะตกตะกอนและนำ้ นนั้ ก็จะใสขน้ึ ใหม่ สามารถ
ถนนใหญ่ ซึ่งแน่ใจได้ว่าเป็นรถโดยสารที่วิ่งจาก ใช้ด่ืมกินได้ สภาพของจิตน้ันเดิมก็ใสสะอาด
อุดรฯ จะเขา้ สู่ตัวเมืองสกลนคร พอไดย้ ินเสียงรถ ปราศจากมลทินเป็นส่ิงทมี่ ีอำนาจอยูแ่ ล้ว แตเ่ มือ่
พระภกิ ษทุ จ่ี ะรว่ มเดนิ ทางดว้ ยกเ็ รยี นทา่ นวา่ จะขอ เข้ามายึดถือในอัตตภาพร่างกาย อันเต็มไปด้วย
ว่ิงออกไปก่อนเพื่อบอกใหร้ ถหยดุ รอตรงสแ่ี ยก แต่ กิเลสต่างๆ จิตก็จะเศร้าหมองขุ่นมัว หากชำระ
ท่านจะบอกวา่ ไม่ต้องหรอก วงิ่ ไปใหเ้ หนือ่ ยเปลา่ ๆ ให้หมดไปได้ จิตก็จะใสสะอาด มีพลังและมี
รถคันน้ันต้องหยุดรอเราแน่ๆ จากน้ันท่านก็นำ อำนาจสามารถทำอะไรๆ ได้ตามกำลังของจิต


คณะออกเดินเท้าไปตามสบาย พอถึงสี่แยกก็พบ กอ่ นเขา้ พรรษาปี พ.ศ. ๒๔๘๘ พระอาจารย์

รถโดยสารจอดรออย่แู ล้วจรงิ ๆ
ฝั้นได้พาพระภิกษุอีกบางรูป เท่ียวธุดงค์ต่อไป


ปรากฏว่าเครื่องยนต์ดับ คนขับ โดยออกจากวัดป่าบ้านหนองผือ เม่ือเดินทางไป
ถงึ วดั ป่าบ้านโคก พระภิกษรุ ูปหนงึ่ เกดิ อาพาธเปน็
สตารท์ เท่าไหรก่ ็ไม่ติด
ไข้มาลาเรียอย่างหนัก ระหว่างสงครามโลกคร้ังท่ี

พระอาจารย์ฝ้ัน ได้สอบถามดูแล้วท่านก็ ๒ หยูกยาหายากมาก ท่านได้รีบพากลับวัดป่า

บอกแก่คนขับรถโดยสารว่า เอาละเคร่ืองดีแล้วรีบ ธาตุนาเวง และให้การรักษาพยาบาลป้อนข้าว

ไปกันเถอะ อาตมาขอโดยสารไปในตัวเมืองด้วย ป้อนน้ำอย่างใกล้ชิด จนกระท่ังหายเป็นปกติ

กลา่ วจบทา่ นกพ็ าคณะกา้ วขน้ึ รถ คนขบั ลองสตารท์ เก่ียวกับเร่ืองไข้มาลาเรียนี้ ท่านได้เล่าให้บรรดา

ดูใหม่ ก็ปรากฏว่าเครื่องติดดังกระหึ่มขึ้นจริงๆ สานุศิษย์ฟังว่า ตัวท่านเองเคยประสบมาแล้ว


ผู้คนในรถจึงพากันเอ่ยปากว่าแปลกแท้ และต่าง เช่นเดียวกัน ออกเดินธุดงค์คราใดจะต้องมีรากยา

มองหนา้ กนั เองด้วยความไมเ่ ข้าใจ
ตดิ ยา่ มไปดว้ ยเสมอ บางครง้ั เดนิ อยดู่ ๆี เกดิ อาการ

232

ไข้ขึน้ มาอยา่ งกะทันหนั ต้องแวะนอนใต้รม่ ไม้ เอา เขตเทอื กเขาภพู าน ไปพกั วเิ วกตามสถานทอี่ นั สงบ

รากยาออกมาเค้ียวแล้วกลืนน้ำลายเข้าไปแทน ตามเชิงเขาบ้าง ในป่าทึบอันเต็มไปด้วยสัตว์ร้าย

เพราะนำ้ ทจี่ ะฝนรากยาหาไม่ได้ในละแวกนน้ั ตอ้ ง ต่างๆ บ้าง แล้วเลยขึ้นไปพักบนภูเขาใกล้ๆ กับ

ทนลำบากเพราะไข้มาลาเรียอยู่ถึงสิบกว่าปี จึงได้ บา้ นนาสนี วล (วัดดอยธรรมเจดีย์ในปจั จุบนั ) ซึง่

ชินกับไขป้ ระเภทน
้ี ขณะน้ันยังเป็นป่า เต็มไปด้วยเสือร้ายและสัตว์ป่า

ทา่ นไดเ้ ตอื นบรรดาพระลกู ศษิ ยท์ รี่ ว่ มธดุ งค์ นานาชนิด พักวิเวกอยู่ที่นั่นได้ประมาณเดือนเศษ
อยู่เสมอมาด้วยว่า เวลาเดินธุดงค์ไปในท่ีต่างๆ กล็ งมา แลว้ ไปพกั ทว่ี ดั ปา่ บา้ นโคก จากนน้ั กเ็ ดนิ ทาง
ให้ระวังเร่ืองน้ำ เหนื่อยๆ และหิวจัดอย่าด่ืมน้ำ ไปพกั ทวี่ ดั ปา่ รา้ งใกลก้ ับบ้านหนองมะเกลือ ตำบล
ในทันทีท่ีเห็นน้ำ ควรรอให้หายเหนื่อยเสียก่อน ดงขนอีกประมาณเดือนเศษ จึงย้ายไปพักท่ีป่าไผ่
จงึ ค่อยดมื่ เหง่ือกำลงั ออกโชกร่างก็เช่นเดยี วกัน บ้านธาตุดุม ห่างตัวเมืองสกลนครในราว ๔–๕
อย่าอาบน้ำทันที ควรรอให้เหงื่อแห้งเสียก่อนจึง กโิ ลเมตร โดยมพี ระอาจารย์กงมา จริ ปญุ โฺ ญฺ รว่ ม
ค่อยอาบน้ำ ถ้าด่ืมน้ำในเวลาท่ีหิวจัดหรืออาบน้ำ ขบวนไปด้วย

ทั้งเหงอื่ หรอื กำลังเหนือ่ ย บางคร้ังจะจบั ไข้ทนั ที

ครึ่งเดือนกว่าๆ ต่อมา เม่ือทราบข่าวว่า

เสร็จฤดูกาลรับกฐิน หลังออกพรรษาปี พระอาจารย์ม่ัน อาพาธอยู่ท่ีวัดป่าบ้านหนองผือ

๒๔๘๘ พระอาจารย์ฝั้น ได้ออกเที่ยวธุดงค์ไปใน พระอาจารยฝ์ น้ั กบั พระอาจารยก์ งมา จงึ รบี เดนิ ทาง

233

ไปเยี่ยม ปรนนิบัติท่านอยู่ในราว ๒ สัปดาห์
บรรยายแผนท่ี

พระอาจารย์ม่ันก็ทุเลาลง จึงเดินทางกลับไปพักที่
ป่าไผ่บ้านธาตุดุมอีก และต่อมาได้ย้ายไปพักท
่ี ๑ วัดดอยธรรมเจดีย์ (บ้านนาสีนวล)

วัดร้างแห่งหน่ึงในเขตเทศบาลเมืองสกลนคร คือ ๒ วัดปา่ บ้านนามน พระอาจารย์ม่นั

วัดสระแก้ว วัดน้ีร้างพระเณรอยู่หลายปีมาแล้ว
บริเวณวัดจึงเต็มไปด้วยป่ารกรุงรัง (ปัจจุบันปลูก ได้จำพรรษาในปี พ.ศ. ๒๔๘๖

สรา้ งเป็นโรงพยาบาลจงั หวัดสกลนคร)

๓ วดั ปา่ บา้ นโคก พระอาจารย์ม่นั

ระยะแรกทพี่ ระอาจารยฝ์ นั้ กบั พระอาจารยก์ ง
มา พรอ้ มดว้ ยพระภกิ ษสุ ามเณรอกี บางรปู ไดเ้ ขา้ ไป ไดจ้ ำพรรษาในปี พ.ศ. ๒๔๘๕

พกั ในวดั รา้ งแหง่ นี้ ภายในวดั มกี ฏุ ริ า้ งจะพงั มพิ งั แหล่ และปี พ.ศ. ๒๔๘๗

หันหน้าเข้าหากันอยู่ ๒ หลัง ระหว่างทางเป็น
ชานโลง่ ปพู น้ื ตดิ ตอ่ ถงึ กนั พระอาจารยท์ ง้ั สองทา่ น ๔ วัดป่าภูธรพทิ กั ษ์

ต่างก็พักอยู่รูปละหลัง พระภิกษุสามเณรไปพัก ๕ วัดป่าถ้ำขาม

รวมกันอยู่อีกหลังหน่ึง คนละด้านกับพระอาจารย์ ๖ วัดปา่ บ้านหนองผือ พระอาจารย์มั่น

สว่ นอกี หลงั หนง่ึ นน้ั จดั ไวส้ ำหรบั เปน็ ทฉี่ นั จงั หนั รวม
ไดจ้ ำพรรษาตง้ั แตป่ ี พ.ศ. ๒๔๘๘ ถงึ พ.ศ. ๒๔๙๒

234

(บน) วดั พระธาตุดุม จงั หวัดสกลนคร พระอาจารย์ฝั้น

ได้มาพกั หลังออกพรรษาในปี พ.ศ. ๒๔๘๘

(ล่าง) พระพุทธรปู ท่ีวัดพระธาตดุ มุ


สำหรับพระอาจารย์กงมาน้ัน พักอยู่ชั่วระยะเวลา
หนงึ่ ก็เดินทางกลับไปวัดปา่ บ้านโคก


ต่อมาวันหน่ึง พระอาจารย์ฝั้น ได้บอกกับ
พระภกิ ษสุ ามเณรวา่ พกั อยบู่ นกฏุ นิ ไ้ี มค่ อ่ ยสงบนกั
ลงไปอยู่ร่มไม้รุกขมูลกันดีกว่า แล้วท่านก็ลงจาก
กุฏิไปเลือกเอาที่พักใหม่ใต้ต้นสัก ซึ่งมีสระน้ำ

อยู่ใกล้ๆ โดยทำที่พักและทางจงกรมข้ึน แล้วยก
แคร่ไมไ้ ปต้ังเปน็ ท่นี อน


พระอาจารยฝ์ น้ั พกั อยตู่ รงนน้ั ได้ ๒ – ๓ คนื
เช้ารุ่งขึ้นก็บอกกับพระลูกศิษย์ว่า เม่ือคืนนี้เห็น
แกว้ อะไรใสๆ จมอยทู่ ก่ี น้ สระ แลว้ จงึ พาพระลกู ศษิ ย์
กับนายใช้ผู้ซ่ึงมีบ้านอยู่ติดกับร้ัววัดและได้ปฏิบัติ
อุปัฏฐากพระอาจารย์ฝั้นมาตลอดเวลาที่พักอยู่ใน
วดั นนั้ ไปเดนิ รอบๆ สระ ปรากฏวา่ สระนนั้ เตม็ ไป
ด้วยสาหร่ายมองไม่เห็นอะไรเลย พระอาจารย์ฝ้ัน

235

พระอาจารย์กงมา จิรปุญฺโญฺ


(บน) พระพุทธรูปที่วดั ดอยธรรมเจดีย์

(ล่าง) ถ้ำบนเขาภพู าน พระอาจารย์ฝ้นั ไดเ้ คยมาพักกอ่ นเป็น

วดั ดอยธรรมเจดยี ์

236

กฏุ ิวดั ปา่ บ้านนามน จงั หวัดสกลนคร


พระอาจารย์ฝ้นั ไดเ้ คยมาพัก ระหว่างเดินทางจากอุบลราชธานีมาสกลนคร หลงั ออกพรรษาปี พ.ศ. ๒๔๘๗


เดินสังเกตอยู่ครู่หน่ึงก็ช้ีลงไปท่ีสาหร่ายแห่งหนึ่ง พระอาจารยฝ์ น้ั พกั วเิ วกอยทู่ ว่ี ดั รา้ ง

แล้วบอกว่าอยู่ตรงนี้แหละ เม่ือนายใช้ลงไปงมดูก็ แห่งน้ันได้ประมาณเดือนเศษ ก็พา

พบขวดโหลแก้วขนาดกลางจมอยู่ในเลน ๒ ลูก
เม่ือล้างสะอาดพิจารณาดูแล้ว พระอาจารย์ฝ้ันก็ พระภิกษุสามเณรกลับไปวัดป่าธาตุ

เอ่ยข้ึนว่า คงเป็นโหลใส่อัฐิของท่านผู้ใดผู้หนึ่ง นาเวงอกี และไดน้ ำบรรดาทหาร ตำรวจ

อาจเป็นโหลใส่อัฐิของคุณพระพินิจฯ ก็ได้ เพราะ ในจังหวัด ให้ช่วยกันพัฒนาวัดป่าธาตุ
บริเวณน้ันมีเจดีย์เก็บอัฐิของคุณพระพินิจฯ อยู่ นาเวงให้สะอาดเรียบร้อยข้ึน จนเจริญ
ใกล้ๆ จึงพากันเดินไปดูที่เจดีย์ เมื่อให้นายใช้ปีน
ขึ้นไปดูข้างบน ก็พบว่าเจดีย์ถูกคนร้ายลอบขุด รุ่งเรืองสืบต่อมาเป็นวัดป่าภูธรพิทักษ์
โดยคนร้ายทุบคอเจดีย์แตกแล้วขนสมบัติมีค่า กระทงั่ ทุกวันน
้ี

ต่างๆ ที่บรรจุอยู่ข้างในไปหมด ส่วนอัฐิของคุณ มขี อ้ เทจ็ จรงิ ทป่ี ระจกั ษแ์ จง้ อยปู่ ระการหนง่ึ วา่

พระพินิจฯ และภรรยา ก็ถูกเทออกจากขวดโหล การพัฒนาบ้านเมืองซึ่งทางราชการกำลังเร่งรัด
กองไว้เป็น ๒ กอง เมื่อญาติๆ ของคุณพระพา เพ่ือความเจริญของท้องถิ่น ตลอดจนสนับสนุน

กันมาดู ก็ยืนยันว่าเป็นขวดโหลที่ใส่อัฐิดังกล่าว ให้ประชาชนร่วมกันพัฒนาอยู่ในปัจจุบันนี้น้ัน

จริง จงึ พร้อมใจกันทำบุญอุทศิ สว่ นกศุ ลและทำพธิ ี แท้ที่จริงพระอาจารย์ฝ้ัน ได้มีโครงการและลงมือ
บรรจอุ ฐั ิใหม่ แลว้ บรรจเุ ข้าไว้ยงั เจดียต์ ามเดมิ
ปฏิบัติเอง และได้เป็นผู้นำในการพัฒนามาก่อน

237

แลว้ กลา่ วคอื ไมว่ า่ ทา่ นจะไปพำนกั อยทู่ ใ่ี ด แมจ้ ะชว่ั ก็มี ตำรวจและครอบครวั เช่ือกนั วา่ เป็นเพราะผี
๓ วัน ๗ วนั กต็ าม ท่านจะแนะนำชาวบา้ นใหท้ ำ
เจ้าพ่อหนองหญ้าไซพิโรธ หาใช่โรคมาลาเรีย
ความสะอาดบ้านเรือนตลอดจนถนนหนทางให้ดู อะไรไม่ พระอาจารย์ฝ้ัน ได้พยายามอธิบายให้
สะอาดตาอยู่เสมอ แม้ขณะท่ีท่านไปพำนักอยู่ใน ตำรวจเหล่าน้ันเข้าใจในเหตุผล เลิกเชื่อถือผีสาง
ปา่ ช้าหรือหมบู่ ้านปา่ บรเิ วณเชิงเขาภพู าน หนทาง แตต่ ำรวจและครอบครัวเหล่าน้ันกย็ งั ไมย่ อมเช่ือ


ที่ทา่ นจะเดินไปบณิ ฑบาตในหมูบ่ ้าน จะมีชาวบ้าน ต่อมาเมื่อคณะตำรวจนิมนต์ท่านไปเทศน์ที่

ร่วมกันถากถาง ปัดกวาด และทำความสะอาด
กองรอ้ ย ทา่ นจงึ ปรารภกบั ผกู้ ำกบั การตำรวจวา่ ถา้
อยู่เสมอ ท่ีโรงเรียนพลตำรวจเขต ๔ ในสมัยนน้ั ก็ อยากให้เกิดความอยู่เย็นเป็นสุข ก็ควรจัดสถานท่ี
เช่นเดียวกนั

ใหส้ ะอาดขนึ้ ตดั ถนนหนทางเรยี บรอ้ ย ถางปา่ และ
ก่อนท่ีพระอาจารย์ฝ้ัน จะไปพักอยู่ที่
หญา้ ในบรเิ วณเสยี ใหเ้ ตยี น อากาศจะไดป้ ลอดโปรง่
วัดป่าธาตุนาเวง บริเวณน้ันรกรุงรังด้วยป่าหญ้า และถา่ ยเทไดด้ ีข้นึ สำหรับหนองหญ้าไซน้นั เล่า ก็
ไข้มาลาเรียก็ชุกชุม ตำรวจป่วยเป็นไข้มาลาเรีย ควรขุดลอกให้เป็นสระน้ำเสีย จะได้ดูสวยงามและ
ข้ึนสมอง ถึงขนาดโดดหน้าต่างกองร้อยตายไป
ได้ประโยชน์ในการใช้น้ำด้วย เมื่อผู้กำกับประชุม

กฏุ ิวัดป่าบ้านโคก จังหวัดสกลนคร


พระอาจารย์ฝนั้ ไดเ้ คยมาพัก ระหว่างเดนิ ทางจาก อบุ ลราชธานีมาสกลนคร หลังออกพรรษาปี พ.ศ. ๒๔๘๗

238

(บน) ศาลาวดั ป่าบ้านโคก

(ล่าง) หนองหญ้าไซ (ปจั จุบันอยูใ่ นวทิ ยาลัยครูสกลนคร)

239

ร.ร. ประชาบาล บา้ นนายอ จงั หวดั สกลนคร
ก่อนเข้าพรรษาปีนั้นคือปี พ.ศ. ๒๔๘๙
หลวงหาญสงคราม ผบู้ ญั ชาการทหารนครราชสมี า
ตำรวจแลว้ ทป่ี ระชมุ ตกลงทำทกุ อยา่ ง เวน้ แตก่ าร ซึ่งเป็นศิษย์ที่มีความเคารพพระอาจารย์ฝ้ันเป็น
ขุดลอกหนองหญ้าไซเท่าน้ัน เพราะกลัวผีเจ้าพ่อ อย่างมาก ได้เดินทางไปตรวจราชการท่ีจังหวัด
หนองหญ้าไซจะพิโรธ คร่าชีวิตตำรวจตลอดจน สกลนคร พอทราบว่าพระอาจารย์ฝั้นพำนักอยู่ท่ี
สมาชิกในครอบครัวมากขึ้น แล้วก็จัดการตัดถนน วัดป่าธาตุนาเวง ก็รีบรุดไปหา เพ่ือขอนิมนต์ไป
ทำสนามฟุตบอล สนามเด็กเล่น ถางป่าถางหญ้า โปรดทหาร และประชาชน ชาวจงั หวดั นครราชสมี า
จนสะอาดตา ทำให้อากาศถ่ายเทโดยสะดวกขึ้น อกี ครงั้ หลวงหาญสงครามน้ีเคยเป็นศิษย์ของท่าน
กว่าก่อน
สมัยท่ีท่านพำนักอยู่ที่นครราชสีมา โดยเฉพาะ

เม่ือคราวที่ท่านเป็นแม่ทัพนำกำลังเข้าล้อมเมือง
ต่อมาถึงวาระประชุมอบรมฟังเทศน์ท่ีกอง เชียงตุง ในสมัยสงครามโลกคร้ังท่ี ๒ ล้อมอยู่
ร้อยอีก คณะตำรวจและครอบครัวไปประชุมฟัง หลายวนั ไมอ่ าจหาทางเข้าตขี ้นั แตกหักได้ จงึ นงั่
เทศน์กันคับคั่ง พระอาจารย์ฝ้ัน จึงหยิบยกปัญหา สมาธิภาวนาระลึกถึงพระอาจารย์ฝ้ันในคืนวันหนึ่ง
การขุดลอกหนองหญ้าไซขึ้นมาปรารภอีกครั้งหน่ึง เช้ามืดวันร่งุ ขึน้ ได้ชวนทหาร ๒–๓ คน ออกเดิน
ทุกคนก็บอกว่าไม่กล้า กลัวเจ้าพ่อหักคอเอา แต่ สำรวจไปเร่ือยๆ ในท่ีสุดก็ไปพบมารดาเจ้าเมือง
หากท่านไปน่ังเป็นประธานดูพวกตนขุดแล้วจึงจะ เชียงตุงเข้าโดยบังเอิญ จึงได้รู้ถึงทางเข้าตีเมือง
ยอมทำ พระอาจารย์ฝัน้ กต็ อบตกลง
เชียงตุงจากมารดาเจ้าเมือง การยกกำลังเข้าตีก็
ประสบความสำเรจ็ หลวงหาญฯ จงึ รำลกึ ในพระคณุ
การขดุ ลอกหนองหญา้ ไซจงึ ไดเ้ รมิ่ ของพระอาจารยฝ์ น้ั ยงิ่ ขน้ึ ภายหลงั เทย่ี วไดต้ ามหา
ขนึ้ ในโอกาสตอ่ มา ตอ่ หนา้ พระอาจารย์ พระอาจารย์ฝ้ันแต่ไม่พบ จนกระท่ังไปราชการที่
ฝ้ัน จนกลายเปน็ สระนำ้ ขึน้ มา อากาศ
กด็ ขี ึ้น ไขม้ าลาเรียท่ีเคยชกุ ชุมกค็ ่อยๆ
ทเุ ลาลงจนเหอื ดหายไปในทสี่ ุด

240 สกลนครแล้วทราบที่พำนักของท่านเข้า จึงรีบรุด
ไปนมิ นตด์ ังกล่าวแลว้

พระอาจารย์พรหม จิรปุญฺโญฺ

แต่หลวงหาญสงคราม ไม่อาจนิมนต

นามเดิม
พระอาจารย์ฝ้ัน ไปโปรดที่นครราชสีมาได้
พรหม สุภาพงษ์
เพราะผู้กำกับการโรงเรียนพลตำรวจเขต ๔ ได้
บิดา
พยายามทดั ทานไวอ้ ยา่ งหนกั ตา่ งฝา่ ยตา่ งขอกนั
จันทร์ สุภาพงษ์
อยพู่ ักใหญ่ ในท่ีสดุ หลวงหาญฯ กใ็ จอ่อนเลิกลม้
มารดา
ความตง้ั ใจ กลา่ วคอื ไมน่ มิ นตท์ า่ นไปนครราชสมี า
วันดี สุภาพงษ์
แตท่ า่ นตงั้ ขอ้ แม้เอาไวว้ า่ ท่านผ้กู ำกบั การตำรวจ
เกดิ วัน เดือน ปี ท่ี จะต้องดูแล ปฏิบัติพระอาจารย์ฝั้นของท่านให้ดี
ผกู้ ำกบั การกร็ บั ปากจะปฏบิ ตั ติ ามนนั้ อยา่ งแขง็ ขนั

เกดิ ไมป่ รากฏ หา
หลักฐานไม่ได้ที่ ในปี พ.ศ. ๒๔๘๙ หลงั เขา้ พรรษามาจนถงึ
บ้านตาล ตำบล เดอื นเกา้ คอื เดอื นสงิ หาคมเขา้ ไปแลว้ ฝนฟา้ กย็ งั
โคกสี อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร เป็น ไม่ตกต้องตามฤดูกาล ชาวบ้านกลัวอดข้าวเพราะ
บุตรคนแรกในจำนวน ๔ คน
ทำนาไมไ่ ด้ จงึ ไปปรารภกบั พระอาจารยฝ์ นั้ ทา่ นจงึ
อปุ สมบท เบ้ืองแรกท่านได้รับราชการเป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ แนะนำให้รักษาศีลให้เคร่งครัดโดยพร้อมเพรียงกัน
ที่ ๑ บ้านดงเย็น มีความขยันหมั่นเพียรในหน้าท่ี ท่านกล่าวว่าหากยึดม่ันในพระรัตนตรัยแล้วจะไม่
ราชการ สร้างหลักฐานจนนับว่ามีฐานะพอกินพอใช้ อดตายอยา่ งแนน่ อน กศุ ลความดที ง้ั หลายจะรกั ษา
ตอ่ มาไดพ้ บกบั ทา่ นอาจารยส์ าร ซง่ึ มาพกั วเิ วกอยใู่ นปา่ ผู้ปฏิบัติชอบเสมอ บรรดาญาติโยมและอุบาสก
ใกลบ้ า้ นดงเยน็ นน้ั ไดร้ บั ฟงั โอวาทจากทา่ นอาจารยส์ าร อบุ าสกิ าทง้ั หลายตา่ งกพ็ ากนั เขา้ วดั ปฏบิ ตั ถิ อื ศลี ๕
เปน็ ทเี่ ขา้ ใจแจม่ แจม้ จนปลงใจทจ่ี ะสละครอบครวั และ ศลี ๘ กนั อยา่ งมน่ั คง ตอ่ มาวนั หนง่ึ พระอาจารยฝ์ นั้
ทรพั ยส์ มบตั อิ อกบวชในพระพทุ ธศาสนา ไดอ้ ปุ สมบท ให้ศิษย์เอาเส่ือไปปูท่ีกลางแดดบนลานวัด แล้ว
เมือ่ อายุ ๓๗ ปี ท่วี ัดโพธิสมภรณ์ จังหวดั อุดรธานี ทา่ นกบั พระภกิ ษุ ๒ รปู สามเณรอกี ๒ รปู กล็ งไป
โดยมีเจา้ พระคณุ พระธรรมเจดีย์ สมยั เป็นพระราชกวี นง่ั สวดคาถาทา่ มกลางแสงแดดจา้ (คาถาทสี่ วดนนั้
เปน็ พระอปุ ชั ฌาย์ ทา่ นพระครปู ระสาทคณานุกจิ เปน็ พระอาจารยฝ์ นั้ เปน็ ผจู้ ดลงในสมดุ ปกแขง็ สนี ำ้ เงนิ
พระกรรมวาจาจารย
์ มคี วามยาวประมาณ ๓ หนา้ กระดาษ) นง่ั สวดไป
การจารกิ เพอื่ ศกึ ษาธรรมปฏบิ ตั ิ หลงั จากไดอ้ ปุ สมบทแลว้ ไดป้ ระมาณครงึ่ ชว่ั โมงกเ็ กดิ สงิ่ มหศั จรรยข์ น้ึ ท้องฟ้า
ก็ได้เท่ียววิเวกไปกับท่านอาจารย์สารในเขตจังหวัด ทกี่ ำลงั มแี ดดจา้ พลนั มเี สยี งฟา้ คำราม แลว้ บงั เกดิ
อุบลราชธาน
ี กอ้ นเมฆกบั มฝี นเทลงมาอยา่ งหนกั พระอาจารยฝ์ นั้
ตอ่ มาท่านไดท้ ราบข่าววา่ ทา่ นอาจารย์มัน่ กำลงั จึงให้พระเณรท่ีร่วมสวดหลบฝนไปก่อน ส่วนตัว
เทยี่ ววิเวกอยใู่ นเขตนครเชียงใหม่ ท่านจึงไดเ้ ดินทาง ทา่ นเองก็ยังคงนง่ั อยทู่ ีเ่ ดมิ อีกนานจึงได้ลกุ ข้นึ

ไปคนเดียวจนถึงที่หมาย แล้วได้เข้าไปกราบขอรับ
โอวาทแนะแนวทางปฏิบัติจากท่านอาจารย์มั่น เมื่อ
ได้รบั คำแนะแนวปฏบิ ตั ิใหเ้ กิดความอุตสาหะ ในการ
ประกอบความเพียร เพ่ือละนิวรณท์ งั้ ๕ แลว้ ทา่ น
ก็ได้ปฏบิ ัติตามและปรากฏวา่ ได้ผลเป็นทพ่ี อใจ

คร้ังสุดท้ายท่านได้กลับจากการอยู่ใกล้ชิดท่าน
อาจารย์มั่นที่บา้ นหนองผือ ตำบลนาไน มาอยู่ทีบ่ ้าน
ดงเยน็ และไดห้ าญาตโิ ยมสรา้ งวดั ประสทิ ธธิ รรม ทา่ น
ก็ได้จำพรรษาอยู่ท่ีวัดประสิทธิธรรมน้ีจนสิ้นอายุขัย
ของท่าน

มรณภาพ ท่านได้มรณภาพด้วยอาการอันสงบ ณ วัด
ประสิทธธิ รรมบ้านดงเย็น เมือ่ วนั ท่ี ๑๓ พฤษภาคม
พ.ศ. ๒๕๑๒ เวลา ๑๗.๓๐ น. คำนวณอายไุ ด้ ๘๑ ปี
พรรษา ๔๔

241

(จากซ้าย) พระอาจารย์ฝ้ัน อาจาโร, พระอาจารย์สิงห์ ขนตฺ ยาคโม, พระอาจารย์กงมา จริ ปญุ ฺโญฺ


ฝนตกอยา่ งลมื หลู มื ตาไมข่ น้ึ เกอื บ ๓ ชวั่ โมง วิ เ ว ก ท่ี ภู วั ว ใ น ท้ อ ง ที่ อ ำ เ ภ อ บึ ง ก า ฬ
จึงได้หยุดตก และเม่ือหยุดตกแล้ว ท้องฟ้าก็ จงั หวัดหนองคาย

แจ่มใสดังเดิม ตั้งแต่น้ันมาฝนฟ้าก็ตกต้องตาม
ฤดูกาล ชาวบา้ นไดท้ ำนากนั ตามปกติโดยทั่วถงึ
เหตุที่จะไปพำนักเพื่อบำเพ็ญความเพียร
บนภูวัว เร่ิมจากท่านเจ้าคุณพระธรรมเจดีย

พระอาจารย์ฝ้ันได้พำนักและบูรณะวัด วัดโพธิสมภรณ์ ได้นิมนต์ท่านไปในงานศพของ
ปา่ ธาตนุ าเวงเปน็ เวลานานถงึ ๙ ปี ระหวา่ งนน้ั พระอาจารยอ์ นุ่ ทอ่ี ำเภอทา่ อเุ ทน จงั หวดั นครพนม
เมือ่ เสรจ็ ฤดกู าลกฐิน ทา่ นจะพาภิกษุสามเณร เสรจ็ งานศพแลว้ พระอาจารยฝ์ น้ั พระอาจารยอ์ อ่ น
เดนิ ธดุ งค์ไปวเิ วกตามสถานท่ตี ่างๆ อยู่เสมอ
และท่านพระครูอุดมธรรมคุณ (ทองสุข สุจิตฺโต
อดตี เจา้ อาวาส วดั ปา่ สทุ ธาวาส) ไดป้ รกึ ษาหารอื กนั
ในปพี .ศ. ๒๔๙๑ เมอื่ ออกพรรษา ว่า จะไปทางไหนกันดี หรอื จะแยกย้ายกันกลบั วดั
ท่านได้พาภิกษุสามเณร เดินธุดงค์ไป

242 พระอาจารย์วัง ฐฺิติสาโร


พระอาจารย์อ่อน ก็ออกความเห็นว่า ไปวิเวกต่อ นามเดิม วัง สลับส

แถวๆ ภลู งั กา หรอื ภวู วั กอ่ นดกี วา่ ตา่ งกเ็ หน็ ดดี ว้ ย
ท้ังสามท่านพร้อมด้วยภิกษุผู้เป็นศิษย์อีกบางรูป นามมารดา ไม่ปรากฏ

จงึ พรอ้ มกนั ออกเดนิ ทางจากอำเภอทา่ อเุ ทนไปทาง
อำเภอบ้านแพง จนกระทั่งถึงภูลังกา ซึ่งเป็นที่ นามบิดา ลา สลบั สี

พำนกั ของ พระอาจารยว์ งั ฐิตฺ ิสาโร

เกดิ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๕ บา้ นหนองค ู

เมื่อขึ้นไปพักอยู่กับพระอาจารย์วัง ได้ ตำบลกระจาย จังหวดั อบุ ลราชธาน

ประมาณ ๗–๘ วัน พระอาจารยฝ์ ้นั ไดพ้ ิจารณา
เหน็ ความยากลำบากในการขน้ึ ลง เพราะเขาสงู มาก อปุ สมบท เป็นพระภิกษุมหานิกาย ๒ ปี แล้ว

ลงมาบิณฑบาตไม่ได้ พวกญาติโยมต้องจดั เสบียง จึงได้มาพบพระอาจารย์เสาร์ และ

อาหารส่งขึ้นไปให้ลูกศิษย์ทำอาหารถวายพระเณร พระอาจารย์ม่ัน เกิดความเลื่อมใส

ย่ิงมากรูปก็ยิ่งลำบากแก่ญาติโยมมากข้ึน จึงได้ และศรทั ธา

สอบถามพระอาจารยว์ งั เกย่ี วกบั ภวู วั โดยปรารภ
วา่ อยากจะไปวเิ วกอยทู่ นี่ น่ั พระอาจารยว์ งั กบ็ อกวา่ ญตั ติ เปน็ พระธรรมยตุ โดยมี พระเทพสทิ ธาจารย ์

ภูวัวเป็นที่วิเวกดีมาก เป็นป่าดงดิบเต็มไปด้วย (จันทร์ เขมิโย) เป็นพระอุปัชฌาย์

สัตว์ร้ายนานาชนิด เช่น ช้าง เสือ ตลอดจน
พระราชสุทธาจารย์ (พรหม โชติโก)

วัวกระทงิ โดยเฉพาะอีเกง้ กบั กวาง ลงิ มีเปน็ ฝูงๆ เปน็ พระกรรมวาจาจารย

พระอาจารย์อ่อนกับพระอาจารย์ฝั้น และท่าน
พระครูอดุ มธรรมคณุ จึงได้ลงจากภูลังกา เดนิ ทาง
ตอ่ ไปยงั บา้ นโพธห์ิ มากแขง้ แลว้ ไปพกั อยใู่ นวดั รา้ ง มรณภาพ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๖ ทกี่ รงุ เทพฯ

บรเิ วณปา่ ใกลๆ้ บา้ นโสกกา่ ม เมอื่ ถามญาตโิ ยมถงึ
สถานท่ีอันเหมาะแก่การบำเพ็ญกัมมัฏฐานบนภูวัว
พวกญาตโิ ยมกบ็ อกวา่ มอี ยหู่ ลายแหง่ พระอาจารยฝ์ นั้
จึงให้นำขึ้นไป


วนั แรกทข่ี นึ้ ภวู วั ไดไ้ ปพกั ที่ “กอ้ นนำ้ ออ้ ย” 
ที่เรียกว่าก้อนน้ำอ้อยเพราะเป็นหินก้อนใหญ่

รปู รา่ งคลา้ ยงบน้ำอ้อย ต้งั อยูบ่ นหนิ ใหญอ่ ีกกอ้ น
หนึ่ง ใต้หินก้อนน้ำอ้อยเป็นที่หลบแดดหลบฝน
ได้สบายมาก เพราะด้านใต้ของหินเป็นเพิงออก
มาโดยรอบคลา้ ยๆ ถำ้ พระอาจารยท์ งั้ สามพำนกั
อยู่ท่ีน่ันหลายวัน ก็เห็นว่าเป็นสถานที่ไม่สงบนัก


Click to View FlipBook Version