243
(สองภาพ บน – ล่าง) หนิ “กอ้ นน้ำออ้ ย” ที่ถำ้ พระบนภวู ัว
บรรยายแผนที
่
๑ วัดเจตยิ าคีรีวิหาร (ภทู อก) พระอาจารย์จวน กุลเชฏโฺ ฐฺ เปน็ เจา้ อาวาส
๒ ถำ้ พระบนภูววั
๓ ภลู งั กา พระอาจารย์วัง ฐติฺ ิสาโร พำนักจำพรรษา เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๔๙๑
245
เพราะเปน็ ทางชา้ งผา่ นขนึ้ ลงอยเู่ ปน็ ประจำ กลางคนื
ชา้ งจะขนึ้ มาทงั้ โขลง สง่ เสยี งรบกวนสมาธอิ ยเู่ สมอ
โขลงหนึ่งนับร้อยๆ เชือก ช้างไม่อาจใช้ทางอื่น
ได้เพราะทางอื่นเป็นหน้าผาชันไปทั้งหมด ท้ัง
สามท่านจึงย้ายไปพักวิเวกท่ีถ้ำพระ โดยให้พวก
ญาตโิ ยมยกแครข่ ้ึนเปน็ ท่พี ัก
ถ้ำพระแหง่ นี้ อยู่ในบริเวณรมิ ห้วยบางบาด
มลี านหินกว้างใหญ่ และมที ส่ี ำหรับบำเพญ็ ภาวนา
อย่างเหมาะสม ร่มรนื่ และสงบดเี ป็นอันมาก แตถ่ งึ
อย่างไรก็ยังห่างไกลจากหมู่บ้าน ลงไปบิณฑบาต
ไม่ได้ ต้องให้ลูกศิษย์ทำอาหารถวายทุกวัน โดย
อาศัยญาติโยมบ้านนาตะไก้ บ้านโสกก่าม และ
บ้านดอนเสียด หมุนเวียนกันส่งเสบียงทุกวันพระ
ถ้าวนั ไหนพระอาจารย์ฝน้ั จะไมฉ่ ันจงั หนั ทา่ นกจ็ ะ
(ขวา) พระพุทธรปู ท่ีพระอาจารย์ฝน้ั ไดส้ ร้างข้นึ บนหน้าผาภวู วั
(ลา่ ง) ทพี่ ักพระอาจารย์ฝั้น เม่อื คราววิเวกทีภ่ วู ัว
246
บอกให้ทำฉันกันเอง ท่านจะอดอาหารไปกี่วัน พระอาจารย์ฝั้น ไมม่ เี หตผุ ลอะไรใน
ท่านก็จะบอกล่วงหน้าให้ทราบ เพ่ือความสะดวก สายตาของพระภกิ ษลุ กู ศษิ ย์ และในสายตา
ในการจดั ทำอยู่เสมอ
ของญาตโิ ยมทงั้ หลายทง้ั ปวง ในการทงิ้ งาน
จรงิ อยา่ งทพี่ ระอาจารยว์ งั พดู ไว้ บนภวู วั เตม็ สำคัญไปอย่างกะทันหัน
ไปด้วยสัตว์ป่านานาชนิด น้ำท่าก็อุดมสมบูรณ์ดี พระภกิ ษลุ กู ศษิ ยไ์ ปทราบเอาเมอ่ื ทา่ นกลบั ไป
ในห้วยบางบาดมีวังนำ้ อย่แู หง่ หน่งึ น้ำลกึ มากและ ถึงวัดป่าบ้านหนองผือแล้วว่า การท่ีท่านผลุนผลัน
มีจระเขต้ วั ใหญๆ่ อาศัยอยหู่ ลายตัว กลางวันแดด ลงมาจากภูวัวน้ัน เป็นเพราะท่านต้องการกลับไป
รอ้ นจดั มนั จะขนึ้ จากถำ้ มานอนอา้ ปากตากแดดอยู่ เยย่ี มอาการอาพาธของพระอาจารยม์ นั่ ซง่ึ ขณะนนั้
เปน็ ประจำ แมก้ ระทง่ั ทกุ วนั นกี้ ย็ งั มจี ระเขอ้ าศยั อยใู่ น กำลังปว่ ยหนกั ยง่ิ กวา่ ครง้ั ใดๆ
วงั นำ้ แหง่ นนั้ แตข่ ณะนมี้ หี มบู่ า้ นใหมต่ ง้ั ใกลเ้ ขา้ ไปอกี
หา่ งจากถำ้ พระประมาณ ๖–๗ กโิ ลเมตร พระและ พระอาจารยฝ์ น้ั ทราบไดอ้ ยา่ งไรวา่
เณรท่ีไปพกั วเิ วกจึงพอเดินไปบิณฑบาตกนั ไดแ้ ล้ว
พระอาจารย์ม่ันกำลังป่วยหนัก เรื่องน้ี
พระอาจารย์ฝั้นพักวิเวกอยู่ที่ถ้ำพระบนภู เป็นที่ประหลาดใจกันอยู่ในหมู่พระภิกษุ
วัวได้ประมาณ ๒ เดือนเศษ ท่านพระครูอุดม ผู้เป็นศิษย์ ยิ่งไปกว่านั้นยังปรากฏด้วย
ธรรมคุณ กอ็ อกความเหน็ ข้นึ ว่า ควรจะทำอะไรไว้ ว่า พระอาจารย์ม่ันกำลังต้องการพบ
เปน็ ท่รี ะลึกในสถานท่นี ้นั สักอย่าง บงั เอญิ บนที่พกั
สูงข้ึนไปเป็นหน้าผา เหมาะสำหรับจะสร้างพระ พระอาจารย์ฝั้นอยู่จริงๆ ถึงขนาดให้
ประธานไว้สักการะบูชาเป็นอย่างย่ิง พระอาจารย์ พระเณรออกตามหาพระอาจารย์ฝั้นอยู่
ฝั้นจึงได้ตกลงสร้างพระพุทธรูปบนหน้าผาขึ้นด้วย ดว้ ยซ้ำ
วัสดทุ ี่หาไดง้ ่ายๆ เชน่ มูลชา้ ง มลู ววั จงึ แจง้ ให้ เม่ือปฏิบัติพระอาจารย์มั่นอยู่ได้ประมาณ
บรรดาญาตโิ ยมบ้านดอนเสียด บ้านโสกกา่ ม และ ๒ สัปดาห์ พระอาจารย์ม่ันก็ค่อยทุเลาลง พระ
บ้านนาตะไก้ พร้อมด้วยบ้านอ่ืนๆ ใกล้เคียงช่วย อาจารย์ฝั้น จึงได้กลับไปจำพรรษาที่วัดป่าภูธร
หาให้ สำหรับช่างป้ันนั้น พระอาจารย์ฝั้นกับ พิทักษ์ เมื่อออกพรรษาปีนั้น (พ.ศ. ๒๔๙๑)
พระครูอุดมธรรมคุณ มีฝีมือเย่ียมอยู่แล้ว จึงไม่ พระอาจารยฝ์ นั้ ไดไ้ ปเยยี่ มอาการของพระอาจารยม์ นั่
ตอ้ งเสาะหา เมื่อได้ของพร้อมแล้วก็ลงมอื ทนั ที
อีกครั้งหนึ่งท่ีวัดป่าบ้านหนองผือ พักอยู่ที่นั่น
ปนี น้ั ฝนตกหนกั นำ้ กห็ ลากมาแรง การสรา้ ง หลายวนั จงึ ไดก้ ลบั ไปวดั ปา่ ภธู รพทิ กั ษอ์ กี เพราะ
พระพุทธรูปบนหน้าผาจึงประสบอุปสรรคไปบ้าง เหน็ ว่าอาการดีขนึ้ มากแล้ว
แต่ทั้งๆ ท่ียังสร้างไม่เสร็จ พระอาจารย์ฝ้ันก็ผลุน ต่อมาประมาณเดอื นมกราคม ๒๔๙๒ พระ
ผลันชวนท่านพระครูอุดมธรรมคุณลงจากภูวัวโดย อาจารย์ฝั้นก็ชวนท่านพระครูอุดมธรรมคุณไปวิเวก
ไม่มีใครคาดฝนั
ท่ีภวู วั อกี เพือ่ สร้างเสริมพระประธานบนหน้าผาให้
เสรจ็ เรยี บรอ้ ย การเสรมิ สรา้ งไดก้ ระทำอยา่ งเรง่ รบี ศาลาวดั ป่าบา้ นหนองผอื ตำบลนาใน อำเภอพรรณานคิ ม
พระอาจารย์มน่ั ได้จำพรรษาในครัง้ สุดทา้ ย
ปี พ.ศ. ๒๔๘๘ – ๒๔๙๒
เพราะท่านเป็นห่วงพระอาจารย์ม่ันเป็นอันมาก ในกลางพรรษาระหวา่ งกอ่ สรา้ งศาลาโรงธรรม
เม่ือทำเสร็จเรียบร้อยแล้ว บรรดาญาติโยมได้ข้ึน ดังกล่าว มีเหตุที่ควรบันทึกไว้ในที่น้ีอีกเร่ืองหนึ่ง
ไปร่วมอนุโมทนา บำเพ็ญกุศลด้วยเป็นจำนวน กลา่ วคอื ตอนเขา้ พรรษาปนี นั้ ไดม้ พี ระภกิ ษสุ ามเณร
มาก จากนั้นทา่ นจงึ ไดล้ าญาตโิ ยมลงจากภูววั กลบั มากเปน็ พเิ ศษ ยิง่ ไปกวา่ นัน้ แม้การก่อสร้างศาลา
ไปยงั วัดปา่ ภูธรพทิ กั ษ์ รวมเวลาทีพ่ กั อยใู่ นถำ้ พระ โรงธรรมจะกำลงั ดำเนนิ อยู่ แตต่ อนกลางคืนท่านก็
ที่ภวู วั ประมาณ ๒ เดอื นเศษ
ใหท้ ำความเพยี รอยา่ งไมล่ ดละ ทา่ นไดน้ ำพระภกิ ษุ
กลับไปท่ีวัดป่าภูธรพิทักษ์คราวน้ี เม่ือเห็น สามเณรทำความเพียรด้วยการเดินจงกรมและ
ว่าอาการอาพาธของพระอาจารย์มั่น ไม่มีอะไรน่า นั่งสมาธิกันเป็นประจำ อน่ึงกลางพรรษาปีนั้น
เปน็ หว่ งอกี แลว้ พระอาจารยฝ์ น้ั จงึ ไดเ้ รม่ิ งานสำคญั ฝนตกหนัก บางคร้ังตกท้ังกลางวันและกลางคืน
อีกช้ินหน่ึง กล่าวคือได้ชักชวนบรรดาสานุศิษย
์ อากาศก็เปล่ียนแปลงไม่เป็นปกติ เป็นเหตุให
้
ทั้งหลายสร้างศาลาโรงธรรมหลังใหม่ขึ้นท่ีวัดป่า พระภิกษุสามเณร เป็นไข้มาลาเรียกันหลายรูป
ภูธรพิทักษ์ (คอื ศาลาโรงธรรมในปัจจุบันนี้) โดย เณรรูปหนึ่งอาการหนักต้องนำส่งโรงพยาบาล
ทา่ นเองเปน็ ประธานสำหรบั การควบคมุ การกอ่ สรา้ ง นครพนม รักษาอยู่หลายสัปดาห์กว่าจะหาย
ในการนี้ บรรดาตำรวจกับชาวบ้านได้มีจิตศรัทธา เป็นปกติ พระภิกษุรูปหน่ึงเกิดวิปริตทางจิต จะ
ไปร่วมมือกับพระภิกษุสามเณรอยู่ตลอดเวลา
เป็นดว้ ยไขข้ ้นึ สมองหรอื อยา่ งไรไม่ทราบ เปน็ มาก
การก่อสร้างกระทำแบบค่อยทำค่อยไป กินเวลา ถึงขนาดพูดไม่ยอมหยุด คือพูดฝ่ายเดียวโดยไม่
๗ เดอื นเศษจึงได้เสรจ็
เปดิ โอกาสใหค้ ู่สนทนาไดพ้ ดู เลย
กุฏขิ องพระอาจารย์มัน่ วัดป่าบ้านหนองผอื
พระอาจารยฝ์ นั้ จงึ ไดเ้ รยี กพระภกิ ษุ พระภิกษุรูปนั้นหลับไปตั้งแต่ ๑๕.๐๐ น.
รปู นนั้ ขน้ึ ไปหาทา่ นบนกฏุ เิ พอื่ ถามอาการ จนถงึ เวลาราว ๑๘.๐๐ น. จงึ ไดล้ กุ ขนึ้ มาอยา่ งงงๆ
พระภกิ ษกุ บ็ อกทา่ นวา่ ไมไ่ ดเ้ ปน็ อะไรเลย แล้วถามขึ้นว่า ผมมานอนอยู่ท่ีนี่ต้ังแต่เมื่อไหร่
สบายดีทุกอย่าง แต่ก็พูดอยู่ตลอดเวลา ส่วนอาการอาพาธก็หายไปราวกับปลิดท้ิง เมื่อ
พระภิกษุอ่ืนๆ เล่าความให้ฟังแล้ว ท่านก็แสดง
ไม่ยอมหยุด ท่านจะตักเตือนอย่างไรก็ ความแปลกใจ บอกวา่ ไมร่ ้ตู ัวอะไรเลย แม้การพดู
ไมฟ่ งั เอาแต่พูดอยา่ งนำ้ ไหลไฟดับ
โดยไม่ยอมหยุด ก็กระทำไปโดยไม่รู้ตัว
พระอาจารย์ฝ้ันไม่ได้พูดอะไรถึงเรื่องนี้
พระอาจารยฝ์ นั้ จงึ ปลอ่ ยใหพ้ ดู ไปเรอื่ ยๆ สว่ น แต่บรรดาสานุศิษย์ต่างม่ันใจกันว่า นี่เป็นเร่ือง
ท่านน้ันก็น่ังกำหนดจิตของท่านด้วยความสงบนิ่ง นา่ อศั จรรยอ์ กี เรอ่ื งหนงึ่ และคงจะเปน็ อน่ื ไปไมไ่ ด้
ประมาณ ๕ นาทตี ่อมา ปรากฏว่าพระภิกษุรปู นั้น นอกจากเปน็ การใช้กระแสจิตเขา้ แกไ้ ข
หยุดพูดลงทันที แล้วอ้าปากหาวล้มลงนอนต่อ
ศาลาโรงธรรมดงั กลา่ ว พอออกพรรษากเ็ สรจ็
หน้าท่านไปเฉยๆ ท่านก็บอกให้พระภิกษุรูปหน่ึง
หาหมอนมารองศีรษะให้ แล้วสงั่ ว่าใหน้ อนหลับอยู่ เรยี บร้อย ทันพธิ ีรบั กฐนิ บนศาลาหลังใหม่พอด
ี
เช่นน้ีแหละ นอนอิ่มแล้วจะต่ืนขึ้นมาเอง ท่านพูด พอถงึ กลางพรรษา พระอาจารยม์ นั่ กอ็ าพาธ
แลว้ กล็ งทำกจิ วตั รดว้ ยการปดั กวาดลานวดั ตามปกติ อกี พระอาจารยฝ์ นั้ ไดร้ บี ไปเยย่ี มทนั ที โดยแวะรบั
จากนัน้ สรงน้ำแลว้ ก็เดนิ จงกรมตอ่
พระอาจารย์อ่อน จากวัดป่าบ้านม่วงไข่ไปด้วย
249
วัดป่าสทุ ธาวาส
อำเภอเมอื ง จังหวดั สกลนคร
บรรดาศิษยานศุ ิษย์ของพระอาจารย์ม่นั
ในวนั พิธีศพของพระอาจารย์ม่นั
วดั ปา่ สุทธาวาส จังหวดั สกลนคร
เมอื่ วันท่ี ๓๑ มกราคม ๒๔๙๓
๑. สมเดจ็ พระมหาวรี วงศ์
๑๔. พระราชสทุ ธาจารย์ (พรหมา โชตโิ ก)
๒๗. พระอาจารย์กงมา จริ ปญุ ฺโญ
ฺ
๑๕. พระอาจารย์ เทสก์ เทสรสํ ี
๒๘. พระอาจารย์อว้ น
(พิมพ์ ธมฺมธโร)
๒. พระพรหมมนุ ี (ผิน สุวโจ)
๑๖. –
๒๙. พระอาจารย์สาม อภญิ ฺจโน
๓. พระธรรมเจดยี ์ (จมู พนธฺ โุ ล)
๑๗. พระอาจารย์ฝ้นั อาจาโร
๓๐. พระรัตนากรวิสทุ ธิ์ (ดลู ย์ อตโุ ล)
๔. พระเทพวรคณุ (อำ่ )
๑๘. พระอาจารย์กว่า สุมโน
๓๑. –
๕. –
๑๙. พระอาจารยม์ หาบวั ญาฺ ณสมปฺ นโฺ น
๓๒. –
๖. พระเทพญาณวศิ ิษฐ์ (เตมิ )
๒๐. พลวงพ่อขุนศักด์ิ
๓๓. พระเกตุ วณณฺ โก
๗. พระอรยิ คณุ าธาร (เส็ง ปสุ ฺโส)
๒๑. หลวงพ่อทองสุข
๓๔. –
๘. พระธรรมบณั ฑิต
๒๒. –
๓๕. พระสธุ รรมคณาจารย์ (แดง)
๙. พระญาณวศิ ษิ ฐ์ (สิงห์ ขนตฺ ยคโม)
๒๓. –
๓๖. พระครูปญั ญาวราภรณ์
๑๐. พระราชพศิ าลสธุ ี (ทองอินทร)์
๒๔. พระครอู ุดมธรรมคณุ
๓๗. พระวนิ ัยสนุ ทรเมธี
๑๑. –
๓๘. พระอาจารย์กู่ ธมมฺ ทนิ ฺโน
๑๒. หลวงปู่ขาว อนาลโย
(ทองสขุ สจุ ิตฺโต)
๒๕. พระราชคุณาภรณ์
๓๙. พระครวู ุฒวิ ราคม (พฒุ )
๑๓. –
๒๖. พระอาจารย์บญุ มา ฐติฺ เปโม
๔๐. พระอาจารย์อ่อนสา สขุ กาโร
251
อาการอาพาธของพระอาจารย์มั่นคร้ังนี้ปรากฏว่า กุฏิมาบอกว่าพระอาจารย์ม่ันยังไม่ฟื้น ท่านเองจะ
น่าวิตกกว่าทุกคราว ทางจังหวัดสกลนครทราบ พักสักครู่หนึ่งก่อน หากถึงเวลา ๖ ทุ่มแล้ว ถ้า
ข่าวจึงให้คุณวัน คมนามูล นำรถยนต์ไปรับ
ท่านยังหลับอยู่ ก็ให้พระภิกษุผู้เป็นศิษย์ปลุกด้วย
พระอาจารย์ม่ัน ไปพักที่วัดป่าสุทธาวาส เพ่ือให้ เพราะจะตอ้ งขนึ้ ไปเปลย่ี นเวรเฝ้าพระอาจารยม์ ่ัน
ใกลห้ มอย่ิงขนึ้ พระอาจารย์ออ่ น พระอาจารย์ฝน้ั กว่าพระอาจารย์ฝั้นจะหลับก็ร่วมๆ ๕ ทุ่ม
พร้อมด้วยพระภิกษุสามเณรอีกมากมาย ได้ตาม เขา้ ไปแลว้ พอถึงเวลาประมาณ ๖ ทมุ่ เศษ ท่าน
ไปพักท่ีวัดน้ันด้วย เป็นเหตุให้กุฏิไม่พอพักอาศัย ก็ลงจากกุฏิแล้วเรียกน้ำไปบ้วนปาก พอพระภิกษุ
ตอ้ งพกั รวมกนั ทั้งพระอาจารย์ กบั พระลูกศิษย
์ ผูเ้ ป็นศษิ ยย์ กนำ้ เข้าไปท่านกเ็ รง่ วา่ เร็วๆ หนอ่ ย
แ พ ท ย์ ผู้ รั ก ษ าไ ด้ ใ ห้ ย า น อ น ห ลั บ แ ก
่ ท่านบ้วนปากอย่างลวกๆ แล้วรีบ
พระอาจารย์ม่ันในตอนกลางวันของวันท่ีไปถึงวัด ไปท่ีกฏุ พิ ระอาจารย์ม่ันทนั ที
พระภิกษุรูปหน่ึงผู้เป็นศิษย์พระอาจารย์ฝ้ัน ยังจำ
สกั ครจู่ ากนน้ั พระอาจารยฝ์ น้ั กส็ งั่ ใหพ้ ระภกิ ษุ
เหตุการณ์ในวันนั้นได้ดีว่า หลังจากพระอาจารย์
มั่นฉันยานอนหลับไปแล้ว พระอาจารย์ฝ้ันได้ลง รบี ไปนมิ นตค์ รบู าอาจารย์ทกุ ๆ องค์ไปพรอ้ มกนั ที่
จากกุฏิที่พระอาจารย์มั่นพักอยู่ แล้วบอกแก่
กฏุ ทิ ่ีพกั พระอาจารย์มนั่ โดยด่วน
เมอื่ ศษิ ยช์ นั้ ผใู้ หญข่ องพระอาจารยม์ น่ั ไปรวม
พระภิกษุสามเณรบางรูปว่า ถึงเวลา ๖ โมงเย็น
พระอาจารย์ม่ัน จึงจะตืน่ ให้รีบสรงนำ้ กันแต่วนั ๆ พรอ้ มกันทกุ รปู แลว้ ถงึ เวลาประมาณตี ๒ เศษ
หนอ่ ย สำหรบั พระอาจารย์ฝัน้ น้ัน เมื่อสรงนำ้ เสร็จ พระอาจารยม์ น่ั กถ็ งึ แกม่ รณภาพดว้ ยอาการสงบ
ก็กลับขึ้นไปเฝ้าดูอาการของพระอาจารย์ม่ันอีก ทา่ มกลางบรรดาสานศุ ษิ ยท์ รี่ ายลอ้ มเฝา้ ดอู าการอยู่
จนกระทั่งประมาณ ๓ ทุ่มเศษ ท่านจึงได้ลงจาก ณ ที่น้นั
อาคารพิพิธภัณฑ์บริขาร พระอาจารย์ม่ัน ภูริทัตตเถระ สรา้ งเสร็จเมื่อวันท่ี ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๑๘
บรรดาศิษย์ชั้นผใู้ หญ่ ของพระอาจารย์ม่ัน เหนือไปข้ึนบกท่ีท่าสีไค จากน้ันเดินทางไปพักที่
ได้ประชุมเพื่อจัดงานศพ และได้เตรียมงานกันถึง
บ้านโสกก่ามคืนหน่ึง เพ่ือให้ญาติโยมได้เตรียม
๓ เดอื นจงึ กำหนดประชมุ เพลงิ พระอาจารยฝ์ น้ั ไดอ้ ยู่ เสบียงอาหารสำหรบั ขน้ึ ภูวัว
ชว่ ยจดั การมาแตต่ น้ จนกระทงั่ ประชมุ เพลงิ แลว้ เสรจ็ การไปวิเวกที่ภูวัวคร้ังน้ีมีพระภิกษุร่วม
ต่อมาประมาณต้นเดือนมีนาคมของปี ๒๔๙๓ เดนิ ทางไปดว้ ย ๑ รปู และสามเณรอกี ๑ รปู
พระอาจารยฝ์ น้ั ไดน้ ำพระภกิ ษบุ างรปู ออกเดนิ ทาง
อนึ่ง ก่อนจะออกจากบ้านท่าสีไค ไปยัง
ธดุ งคไ์ ปทางจงั หวัดนครพนม เพือ่ หาสถานทีว่ ิเวก
ทำความเพียรต่อไป ในการน้ีได้ไปพักวิเวกที่วัด บ้านโสกก่าม พระอาจารย์ฝั้นได้พาภิกษุสามเณร
ป่าบ้านท่าควายอยู่ประมาณ ๗ วัน แล้วเลยไป ไปพักอยู่ในป่าดงดิบคืนหนึ่ง รุ่งเช้าท่านได้ถาม
พกั ท่ภี กู ระแตอีก ๑๐ วนั ณ ทีน่ ี้พระอาจารย์ฝ้ันก็ พระภกิ ษุที่ไปด้วย วา่ เป็นยังไง เมือ่ คืนภาวนาได้
ปรารภขึ้นว่า พักท่ีน่ีอันท่ีจริงก็ดีอยู่ แต่ผู้คนมา ดไี หม พระภกิ ษรุ ปู นน้ั กต็ อบไปตามตรง วา่ เมอื่ คนื
เยี่ยมเยียนเป็นการรบกวนมากเหลือเกิน ไม่มี รู้สึกนานเหลือเกินกว่าจะสว่าง ท่านก็หัวเราะแล้ว
โอกาสท่ีจะทำความเพียรได้โดยสะดวก แล้วท่าน พูดขึ้นว่า มัวแต่น่ังเหง่ือแตกกลัวเสือร้องอยู่น่ะซิ
ก็พาพระภิกษุเดินทางไปยังภูวัวอีกครั้งหนึ่ง โดย มัวแต่นั่งกลัว นอนกลัว จะไปสวรรค์ไปนิพพาน
กลับไปพักท่ีบ้านท่าควายอีกคร้ัง แล้วลงเรือข้ึน ไดอ้ ยา่ งไรกนั ล่ะ
ถำ้ พระ ภวู วั
256 การกลัวควรกลัวแต่ในทางที่ผิด คือกลัวความผิด
ไม่กระทำผิด กลัวว่าตนเองจะไม่พ้นจากวัฏทุกข์
ปรากฏว่าพระภิกษุรูปน้ันไม่เป็นอันภาวนา แล้วรบี เรง่ บำเพ็ญความเพยี รเขา้ จงึ จะถูก
ทงั้ คนื จรงิ ๆ เพราะตลอดคนื ไดย้ นิ แตเ่ สยี งเสอื รอบๆ
ทพี่ กั ถงึ ขนาดจะออกจากกลดมาเดนิ จงกรมกไ็ มก่ ลา้ การข้นึ ภวู ัวครั้งน้ี มีญาติโยมไปสง่ ๖ – ๗
ได้แต่นัง่ เหงอ่ื แตกอยขู่ า้ งใน
คนพรอ้ มเสบยี งอาหาร โดยออกเดนิ ทางลดั เลาะไป
พระอาจารยฝ์ นั้ ไดเ้ ทศนส์ งั่ สอนไวใ้ นตอนนน้ั สองฟากข้างทางเป็นป่าดงดิบท่ีแสนจะรกทึบ
ดว้ ยวา่ ไดเ้ คยบอกแลว้ หลายครงั้ วา่ “พระนพิ พาน ทางเดินก็เต็มไปด้วยรอยเท้าช้างกับรอยเท้าเสือ
อยู่ฟากตาย ความสุขก็อยู่ฟากทุกข์” เราทำความ ท้ังเก่าและใหม่ กว่าจะข้ึนถึงถ้ำพระบนภูวัวก็ตก
เพยี รภาวนาไป พอถึงทุกขก์ เ็ กดิ ความกลวั ทกุ ขเ์ สยี บ่ายประมาณ ๓ โมงกว่า
แลว้ แลว้ เมอ่ื ใดจะพน้ ทกุ ขไ์ ปไดเ้ ลา่ พาไปอยปู่ า่ ชา้
ก็กลัวผี พามาอยู่ในดงก็กลัวเสือ การกลัวผีก็ดี พวกญาตโิ ยมไดช้ ว่ ยกนั ซอ่ มแซมทพี่ กั อาศยั
การกลวั เสือก็ดี นั่นไมใ่ ช่กลวั ตายหรอกหรอื ลอง และนอนค้างอย่บู นนนั้ ดว้ ย คืนนั้นพระอาจารยฝ์ ั้น
นง่ั ภาวนาดซู วิ า่ เสอื มนั จะมาคาบคอไปกนิ จรงิ ๆ ไหม
วดั เจติยาครี ีวหิ าร
(ภูทอก)
อำเภอบึงกาฬ
จังหวดั หนองคาย
257
ไดเ้ ทศนาอบรมใหต้ ง้ั ใจปฏบิ ตั ธิ รรมและรกั ษาศลี ๕ ลดอาหารลง จนกระทั่งบางวันไม่ฉันอะไรเลย
ศีล ๘ จากน้ันได้นำญาติโยมน่ังสมาธิภาวนาอยู่ บางทกี ็อดไปเป็นเวลาหลายๆ วัน
จนใกล้จะตี ๒ จึงได้หยดุ พกั ผ่อน
พระอาจารย์ฝ้ันได้ปรารภกับภิกษุสามเณร
เช้าวันรุ่งข้ึน พวกญาติโยมได้จัดการทำ ว่า ปีนี้ท่านจะจำพรรษาอยู่บนภูวัว พอถึงเดือน
อาหารใส่บาตร แลว้ ไปหาไม้มาซ่อมที่พักตอ่ เสร็จ ๘ กอ่ นเขา้ พรรษา ทา่ นกบ็ อกใหพ้ ระภกิ ษสุ ามเณร
เรียบร้อยแล้วก็พากันลงจากภูวัว ไปในตอนบ่าย ลงจากภูวัวกลับไปวัด ตัวท่านเองจะจำพรรษาอยู่
๓ โมง บนถำ้ พระภูววั จงึ เหลอื แตพ่ ระอาจารยฝ์ น้ั
รูปเดียวตามที่ต้ังใจไว้แล้ว ท่านบอกว่าบนภูเขา
กบั พระภิกษุสามเณรอีก ๒ รปู
เชน่ นน้ั ผทู้ มี่ กี ำลงั ใจไมเ่ ขม้ แขง็ พออาจเกดิ อนั ตราย
ทง้ั ๓ รปู ไดท้ ำความเพยี รทงั้ กลางวนั และ ถึงชีวิตได้ ท้ังยังกล่าวด้วยว่า ก่อนหน้าน้ี ม
ี
กลางคืนเป็นเวลาหลายเดือน เรื่องอาหารการฉัน พระอาจารยม์ นั่ เปน็ ครบู าอาจารย์ และเปน็ ทพี่ งึ่ แก่
พระอาจารย์ฝั้นสั่งสอนให้ฉันแต่พอควร พอเป็น สานุศิษย์ทั้งหลายอยู่ บัดนี้ ท่านล่วงลับไปแล้ว
กำลังให้อย่เู พอื่ บำเพ็ญภาวนากพ็ อแล้ว ถา้ วันไหน เราจำเป็นต้องรีบเร่งทำความเพียร เพ่ือปฏิบัติ
คดิ จะไมฉ่ ันก็ไม่ตอ้ งประกอบอาหาร แต่ถงึ อย่างไร เอาตัวรอดก่อน
ทา่ นกก็ ำชบั วา่ อยา่ ถงึ กบั หกั โหมอดอาหารเสยี เลย
ให้ฉันแต่น้อยก่อน แล้วค่อยๆ ผ่อนลง ถ้าอด ปรากฏวา่ ระยะนน้ั ฝนกำลงั ตกหนกั ทง้ั กลางวนั
อาหารทันที โดยกำลังใจไม่เขม้ แข็งพอจะเกดิ โทษ และกลางคืน บางครง้ั ตกติดตอ่ กันหลายวนั ทำให้
นับแต่น้ันมา การฉันอาหารของภิกษุสามเณรก็ ญาติโยมไม่สามารถส่งเสบียงอาหารข้ึนมาได ้
น้อยลงตามลำดับ พระอาจารย์ฝ้ันเองก็พยายาม คร้ันต่อมาในวันพระใกล้จะเข้าพรรษา แม้ว่าฝน
จะกำลงั ตกหนกั แต่ความเปน็ ห่วงและด้วยศรทั ธา
อีกมมุ หนง่ึ บริเวณภูวัว
258
สถานท่ี ทพี่ ระอาจารย์ฝนั้ ได้ประสบอบุ ตั เิ หตุ บนภูวัว
อันแก่กล้า บรรดาญาติโยมก็ได้บุกฝ่าห่าฝนข้ึนมา วันรุ่งข้ึน ท่านก็ขอให้พวกญาติโยมพาไปชม
ด้วยความยากลำบากทุลักทุเล คืนนั้นหลังจาก ภมู ปิ ระเทศบนภูวัว และเพ่อื ท่จี ะแสวงหาสมุนไพร
พระอาจารย์ฝ้ันไดเ้ ทศนาอบรมญาติโยมแลว้ ท่าน บางอยา่ งดว้ ย เมอื่ ฉนั จงั หนั เสรจ็ กอ็ อกเดนิ ทางโดย
ไดพ้ จิ ารณาเหน็ วา่ ถา้ จะจำพรรษาอยทู่ น่ี ต่ี อ่ ไปแลว้ มโี ยม ๒ คนนำหนา้ พระอาจารยฝ์ นั้ และพระภกิ ษุ
จะเปน็ ภาระหนกั ตอ่ ญาตโิ ยมเป็นอยา่ งมาก
ตามหลงั สว่ นสามเณรอกี รปู หนงึ่ ทา่ นสงั่ ใหอ้ ยทู่ พ่ี กั
ดงั นนั้ ในวนั รงุ่ ขนึ้ ทา่ นกไ็ ดต้ ดั สนิ ใจลงจากภวู วั ทั้งหมดเดินขึ้นไปตามลำห้วยบางบาด
เสรจ็ แลว้ ทา่ นจงึ ไดพ้ าภกิ ษแุ ละสามเณรเดนิ ทางตอ่ ไป
พอถึงลานหนิ ท่ีลาดชันขึ้นไปขา้ งบน ยาวประมาณ
ในระหวา่ งทพี่ กั อยใู่ นถำ้ พระ บนภวู วั ครงั้ นนั้ ๑๐ กว่าวา บนลานมนี ำ้ ไหลรนิ ๆ และมตี ะไครห่ ิน
พระอาจารย์ฝ้ันได้ประสบอุบัติเหตุ ขึน้ อยตู่ ามทางลาดชันน้ันโดยตลอด
โยม ๒ คนเดินนำหน้าข้ึนไปก่อน ท่าน
ซึ่งน่าจะนับว่าร้ายแรงท่ีสุดในชีวิตของ เดินตามข้ึนไป และตามด้วยพระภิกษุซ่ึงร้ังท้าย
ท่าน
อกี รูปหนึ่ง โยมท้งั ๒ ไตผ่ า่ นลานหินอนั ชันลนื่
กลา่ วคอื วนั หนงึ่ พวกญาตโิ ยมบา้ นดอนเสยี ด ขึ้นไปได้ ส่วนพระอาจารย์ฝ้ันไต่จวนจะถึงอยู่
และบา้ นโสกกา่ มไดพ้ ากนั ขนึ้ ไปนมสั การ ตกกลางคนื แล้วเพียงอีกก้าวเดียวก็จะพ้นไปได้ พอก้าวเท้า
พระอาจารย์ฝ้ันได้เทศนาอบรมตามปกติ พอเช้า ข้ามร่องน้ำท่านก็ล่ืนล้มลงทั้งยืน ศีรษะฟาดกับ
259
ลานหินดังสน่ัน เหมือนมะพร้าวถูกทุบ จากนั้น
พรวดลงไป ย่อมมีทางเดียวคือมรณภาพอย่าง
กล็ ่นื ไถลลงมาตามลาดหิน โดยศีรษะลงมากอ่ น
แน่นอน
พระภิกษุซ่ึงร้ังท้ายตกใจตัวส่ันอยู่กับท่ ี
แต่ดว้ ยอำนาจบุญ ก่อนจะถึงชอ่ งหนิ ทา่ น
จะช่วยเหลืออะไรก็ไม่ได้ เพราะท่านเองประคอง ก็กลบั ตงั้ หลกั ลกุ ข้ึนได้ แลว้ เดินขึ้นไปตามทางเดิม
ตัวแทบไม่ได้อยู่แล้ว ได้แต่มองดูพระอาจารย์ไถล เหมือนไม่มีอะไรเกิดข้ึน พระภิกษุที่ไปด้วยได้ขอ
ผ่านหน้าไปดว้ ยความตกตะลงึ
ให้ท่านไปข้ึนทางอื่น แต่ท่านไม่ยอม บอกว่า
ไถลลงไปไดป้ ระมาณ ๖ วา กไ็ ปตกหลมุ หนิ “เมื่อมันตกลงมาตรงนี้ ก็ต้องข้ึนไปตรงนี้ให้ได้”
ซึ่งเป็นแอ่งแห่งหน่ึง แต่ด้วยความล่ืนของตะไคร่ แลว้ ทา่ นก็เดนิ ข้ึนไปใหม่จนถงึ ทีจ่ ริงๆ
ท่านไม่ได้หยุดอยู่ลงเพียงน้ัน กลับหมุนไปอยู่ใน นา่ อศั จรรยต์ รงทว่ี า่ พระอาจารย์
ลกั ษณะเอาศรี ษะข้ึน แลว้ ไถลลืน่ ต่อไปอกี
ฝน้ั ไมม่ บี าดแผลเลยแม้แต่นอ้ ย ถึง
จะมีถลอกเพียงเท่าหัวไม้ขีดไฟบน
ข้างหน้าของท่านมีช่องหินใหญ่คือกันกับ ขอ้ ศอก ก็ไม่นา่ จะเรยี กวา่ บาดแผล
ตัวคน น้ำท่ีไหลลงมาไปรวมหล่นอยู่ในช่องน้ัน
เป็นส่วนใหญ่ หากทา่ นไถลไปถึงช่องน้นั แลว้ ไหล
260
ตกเย็นกลับมาถงึ ทพ่ี กั หลังจากสรงนำ้ และ
ตม้ นำ้ รอ้ นเสรจ็ แลว้ ทา่ นกอ็ อกเดนิ จงกรมตามปกติ
พอตกคำ่ พระภกิ ษไุ ดเ้ ขา้ ไปปฏบิ ตั ิ แลว้ ถามอาการ
ของท่าน ว่าขณะที่ศีรษะกระแทกหินดังสน่ันนั้น
ทา่ นรสู้ กึ อยา่ งไรบา้ ง ทา่ นกต็ อบวา่ อาการกเ็ หมอื น
สำลตี กลงบนหนิ นน่ั แหละ
พระภิกษุรูปน้ันขณะนี้ยังมีชีวิตอยู่ มี
ความเห็นว่า ในขณะที่ท่านกำลังล่ืนล้มก่อน
ศรี ษะฟาดลานหินนั้น ท่านสามารถกำหนดจิต
ได้ในชั่วพริบตา ทำให้ตัวท่านเบาได้ดังสำลี
โดยฉบั พลนั เพราะทา่ นเคยเทศนส์ งั่ สอนเสมอ
วา่ จติ ของผทู้ ี่ฝึกใหด้ ีแล้ว ยอ่ มมีสตพิ ร้อมอยู่
ทกุ อิริยาบถ ไมว่ ่าจะยนื เดนิ น่งั หรอื นอน
ถึงแม้หลบั อยู่ ก็หลบั ดว้ ยการพกั ผ่อนในสมาธิ
การเดนิ ทางลงจากถ้ำพระภูวัว ในคราวน้นั
ประสบความยากลำบากย่ิงกว่าคราวก่อน เพราะ
ฝนตกหนักทำให้น้ำมาก การข้ามห้วยข้ามคลอง
ซง่ึ มอี ยหู่ ลายแหง่ จงึ ไมส่ ะดวกเทา่ ทค่ี วร ทน่ี า่ หนกั ใจ
อีกอยา่ งหน่ึงก็คอื ตวั ทาก ซ่งึ ชอบเกาะแขง้ เกาะขา ชาวบา้ น แลว้ เทศนาสง่ั สอนตอ่ ใหล้ ะจากมจิ ฉาทฏิ ฐิ
เพอ่ื กดั กินเลือด โดยเฉพาะในเขตที่เปน็ ดงดบิ จะ ใหเ้ คารพกราบไหวบ้ ชู าพระรตั นตรยั กบั ใหภ้ าวนา
มฝี งู ทากนบั ไมถ่ ว้ นสองขา้ งทางเลยทเี ดยี ว ดที โ่ี ยม “พุทโธ” โดยทั่วกนั ทง้ั เด็กและผ้ใู หญ่ ต่อจากนนั้ ก็
ตัดไม้ไผ่เอามาเหลาให้แบนคล้ายใบมีด แล้วถวาย ประพรมน้ำพุทธมนต์ใหโ้ ดยทว่ั ถึง
พระอาจารยฝ์ นั้ กบั พระภกิ ษสุ ามเณรทร่ี ว่ มทาง พอมนั ปรากฏวา่ ชาวบา้ นมกี ำลงั ใจดขี นึ้ หายเจบ็
กระโดดเกาะขากเ็ ข่ยี หลดุ ไปไดโ้ ดยมนั ไมท่ ันกัด
หายไขเ้ ปน็ ปกตทิ กุ คน แสงไฟแดงโรท่ พ่ี งุ่ ขา้ มหมบู่ า้ น
เมอื่ เดนิ ทางมาถงึ บา้ นดอนเสยี ด พระอาจารย์ ไปมาทกุ คนื กพ็ ลอยหายไปดว้ ย พระอาจารยฝ์ น้ั จงึ
ฝ้ันได้แวะพักเพ่ือช่วยเหลือชาวบ้านดังกล่าวรวม พาพระภิกษุสามเณรเดินทางต่อไปยังบ้านโสกก่าม
๓ คืน เพราะระยะน้ันชาวบ้านเจ็บป่วยกันมาก พอไปถงึ ชาวบา้ นไดน้ มิ นตใ์ หพ้ กั ทวี่ ดั รา้ งในดงขา้ ง
นอกจากน้ัน ทุกคืนยังมีแสงอะไรไม่ทราบ แดงโร่ หมู่บ้านอกี ๔ คืน เพราะอยากจะทำบญุ ฟังเทศน์
พงุ่ ขา้ มหมบู่ า้ นไปมา นายคำพอ หวั หนา้ หมบู่ า้ นได้ กันใหเ้ ต็มท่
ี
นมิ นตไ์ ปทบี่ า้ นและขอใหท้ า่ นไดเ้ จรญิ พระพทุ ธมนต์ พระอาจารย์ฝ้ัน พักอยู่บนศาลาหลังเล็กๆ
เพ่ือความเป็นสิริมงคล พอเสร็จแล้วท่านได้อบรม แตใ่ หพ้ ระภกิ ษสุ ามเณรพกั ลกึ เขา้ ไปในดง ใหแ้ ยกกนั
พักคนละด้าน โดยมีพวกโยมทำแคร่ยกพื้นให้แต่ 261
ไมม่ ฝี าก้นั
แวะพักท่ีวัดป่าในอำเภอบ้านแพงคืนหน่ึง เช้าวัน
เชา้ วนั รงุ่ ขน้ึ พระอาจารยฝ์ นั้ ไดถ้ ามพระภกิ ษุ รุ่งข้ึนลงเรือล่องไปขึ้นที่จังหวัดนครพนม พักท่ีวัด
รปู นน้ั วา่ เมอื่ คนื ไดย้ นิ เสยี งอะไรหรอื เปลา่ พระภกิ ษุ ป่าบ้านท่าควายอีกหน่ึงคืน แล้วข้ึนรถยนต์ต่อไป
ตอบวา่ ตอนสองยามเศษๆ ได้ยินเสียงสตั ว์อะไรก็ ยังวัดป่าภูธรพิทักษ์ จังหวัดสกลนคร เพ่ือเข้าจำ
ไมท่ ราบ รอ้ งเหมอื นอเี กง้ มารอ้ งวนเวยี นอยใู่ กลๆ้ พรรษาทวี่ ดั นัน้
ขณะจุดไฟเดินจงกรม พระอาจารย์ฝ้ัน ก็บอกให้
ทราบวา่ ไม่ใช่อีเก้ง แต่เป็นเสือใหญ่ พอมันออก ตอนกลางพรรษา พระอาจารยฝ์ นั้ ไดอ้ บรม
จากท่ีน่ันก็ไปกินวัวของชาวบา้ น
สง่ั สอนพระเณรสานศุ ษิ ย์ ใหต้ งั้ ใจบำเพญ็ ความเพยี ร
อย่างจริงจัง ถึงวันธรรมสวนะ ตามปักข์ ท่านจะ
ปรากฏว่าเป็นความจริง ขณะ พาสานุศิษย์น่ังบำเพ็ญร่วมกันบนศาลาโรงธรรม
ออกบิณฑบาต ชาวบ้านได้เล่าให้ฟัง ตลอดคนื สว่ นวันธรรมดาหลังจากเทศน์อบรมแล้ว
วา่ เมอื่ คืนน้ี เจา้ ลายใหญก่ ัดววั ไปถงึ กใ็ ห้แยกยา้ ยกันทำความเพยี รต่อไป
สองตัว ตัวหน่ึงเอาไปไม่ได้ มันกัด
เสียจนเอวหัก แตไ่ มต่ าย อีกตวั หน่งึ พระอาจารย์ฝั้น พยายามทำตนเป็น
มันคาบหายไปเลย
ตวั อยา่ งแกส่ านศุ ษิ ยต์ ลอดพรรษา ไมว่ า่ กลางวนั
หรอื กลางคนื แทบวา่ จะหาเวลาพกั ผอ่ นไดย้ ากยงิ่
ออกจากบา้ นโสกกา่ ม พระอาจารยฝ์ นั้ ไดพ้ า เช่น ตอนหัวค่ำท่านเทศน์อบรมพระเณรจน
พระภิกษุสามเณรเดินทางต่อไปยังอำเภอบ้านแพง ๓ ทมุ่ ครงึ่ จากนน้ั ทา่ นกล็ งเดนิ จงกรมไปจนถงึ
๕ ทมุ่ เศษ แลว้ ทา่ นกข็ น้ึ กฏุ ใิ หพ้ ระภกิ ษขุ น้ึ ไป
ปฏบิ ตั ทิ า่ นจนถงึ ๖ ทมุ่ เศษ เสรจ็ จากนน้ั ทา่ นก็
ลงมาเดินจงกรมอีก แล้วข้ึนกุฏิ พอประมาณ
กุฏทิ ี่วัดป่าคลองกงุ้
จงั หวัดจันทบรุ ี
พระอาจารย์ฝนั้
เคยมาพกั
กุฏทิ ว่ี ัดดำรงธรรม อำเภอขลุง ท่พี ระอาจารย์ฝั้นเคยมาพกั
ตี ๓ ทา่ นกอ็ อกมาลา้ งหนา้ บว้ นปาก ไหวพ้ ระ
อุโบสถวัดดำรงธรรม อำเภอขลุง
สวดมนต์ สวดมนตจ์ บแลว้ เดนิ จงกรมตอ่ จนสวา่ ง
พอถึงเวลาออกบิณฑบาต ท่านจึงได้ขึ้นศาลา
เตรยี มครองผ้าออกบณิ ฑบาตต่อไป
เมอ่ื ออกพรรษาปี พ.ศ. ๒๔๙๓ พระอาจารย
์
ฝ้ันพร้อมด้วยพระอาจารย์กงมา จิรปุญฺโญฺ ได้พา
พระภกิ ษสุ ามเณรบางรปู เดนิ ธดุ งคไ์ ปจงั หวดั จนั ทบรุ ี
โดยพระอาจารย์วิริยังค์ได้นิมนต์ไปในงานที่วัด
ดำรงธรรม ในเขตอำเภอขลุง การเดินทางครั้งนี้
ท่านกับคณะได้นั่งรถยนต์โดยสารจากสกลนครไป
ข้ึนรถไฟทีอ่ ุดรฯ เขา้ กรุงเทพฯ แล้วน่งั รถโดยสาร
จากกรงุ เทพฯ ไปจันทบรุ ีอกี ทอดหน่ึง
ระหวา่ งพกั ทว่ี ดั ดำรงธรรม อำเภอขลงุ ไดม้ ี
ประชาชนสนใจเข้าฟังธรรมและรับการอบรมเป็น
จำนวนมาก ตอ่ มา พระอาจารยว์ ริ ยิ งั คไ์ ดน้ มิ นตไ์ ป
พักที่สำนักสงฆ์บ้านกงษีไร่ ซ่ึงสร้างขึ้นใหม่ ลึก
เข้าไปในป่า ท่านได้พักอยู่ที่นั้นหลายวัน แล้วจึง
กลับไปพกั ท่วี ดั ดำรงธรรม
263
น่ังแถวหนา้ จากซ้าย
พระเทพสิทธาจารย์ (จันทร์ เขมิโย) พระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)
พระอริยคุณาธาร (เส็ง ปุสฺโส)
นั่งแถวท่สี อง จากซ้าย
หลวงปู่ขาว อนาลโย พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร พระอาจารย์กว่า สุมโน
พระครูอุดมธรรมคุณ (ทองสุข สุจิตฺโต) พระอาจารย์กงมา จิรปุญฺโญ
ฺ
ยนื แถวหลัง จากซา้ ย
พระญาณวิริยาจารย์ (วิริยังค์ สิรินฺธโร) หลวงพ่อบัว สิริปุณฺโณ
พระอาจารย์มหาบัว ญฺาณสมฺปนฺโน
264
• วดั สถาพรพฒั นาราม (เดมิ วดั เขาหนองชมิ่ )
อำเภอแหลมสิงห์ จงั หวดั จนั ทบรุ ี
(บน) พระอุโบสถ
(ซ้าย) กุฏทิ ่พี ระอาจารย์ฝ้นั ได้เคยมาพัก
พ.ศ. ๒๔๙๓
(ลา่ ง) บนั ไดทางขนึ้ วดั
265
(บน) วัดมณคี รี วี งค์ (วัดกงษไี ร)่ อำเภอขลุง จังหวดั จนั ทบรุ ี พระอาจารย์ฝ้นั ไดม้ าพกั เม่อื พ.ศ. ๒๔๙๓
(ล่าง) สำนกั สงฆ์ศรทั ธาวราวาส (ปา่ เงาะ) น้ำตกพลว้ิ จนั ทบุรี พระอาจารย์ฝนั้ ได้มาพกั เม่อื พ.ศ. ๒๔๙๓
266 พระอาจารย์สิม พุทฺธาจาโร
นามเดิม สมิ วงศ์เขม็ มา
ต่อมาอีกหลายวัน ก็มีโยมนิมนต์ท่านและ บดิ า สวน วงศเ์ ข็มมา
คณะไปพกั วเิ วกบนเขาหนองชมิ่ อำเภอแหลมสงิ ห์ มารดา สิงหค์ ำ วงศเ์ ข็มมา
พกั อยทู่ น่ี น่ั ไดป้ ระมาณครงึ่ เดอื นกม็ โี ยมนมิ นตท์ า่ น เกดิ วนั ที่ ๒๖ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๕๒ ตรงกบั วนั ศกุ ร์
กับคณะไปพักท่ีป่าเงาะข้างน้ำตกพร้ิวอีกหลายวัน
ซ่ึงที่นั่นมีญาติโยมเข้ารับการอบรมในข้อปฏิบัติกัน ขนึ้ ๑๔ คำ่ เดอื น ๑๒ ปรี ะกา เวลา ๒๑.๐๐ น. ทบี่ า้ นบวั
เป็นจำนวนมากตามเคย หลังจากน้นั จึงรับนิมนต์ ตำบลสวา่ ง อำเภอพรรณนานคิ ม จงั หวดั สกลนคร เปน็
ไปพกั ตามปา่ ตามสวนของญาติโยมอีกหลายแหง่
บตุ รคนท่ี ๕ ในจำนวนพี่นอ้ งชายหญงิ รวม ๑๒ คน
การเดินทางกลับ พระอาจารย์ฝ้ันและคณะ บรรพชาและอุปสมบท เม่ืออายุครบ ๑๗ ปี ใน
ได้แวะตามสถานท่ีต่างๆ อีกหลายแห่ง คร้ัง
สุดท้ายได้ไปพักที่วัดเขาน้อย ท่าแฉลบ เพื่อรอ พ.ศ. ๒๔๖๙ ได้บรรพชาเปน็ สามเณรที่อุทกุกเขปสมี า
เรือกลบั กรงุ เทพฯ พกั ทว่ี ดั นน้ั ประมาณ ๙ – ๑๐ หนองสามผง ตำบลสามผง อำเภอท่าอุเทน (ปัจจุบนั
วัน จงึ ไดล้ งเรอื มาถึงกรุงเทพฯ ในตอนเชา้ ของวัน เป็นอำเภอศรีสงคราม) จังหวัดนครพนม โดยม
ี
ใหม่ รวมเวลาที่พักอยู่ในจันทบุรีเกอื บ ๓ เดอื น
เจ้าพระคุณพระธรรมเจดีย์ วัดโพธิสมภรณ์ อุดรธานี
เมื่อครั้งเป็นพระครูชิโนวาทธำรงเป็นพระอุปัชฌาย์
ในกรุงเทพฯ พระอาจารย์ฝน้ั กบั คณะไดไ้ ป เมื่ออายุ ๒๐ ปี ได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุท่ีวัด
พักท่วี ัดนรนารถฯ ๓ คืน จากนน้ั ก็มีโยมรับไปพกั ศรีจันทราวาส ตำบลพระลับ อำเภอเมือง จังหวัด
ที่วดั อโศการาม จงั หวดั สมุทรปราการ แตข่ ณะไป ขอนแกน่ โดยมพี ระครพู ศิ าลอรญั เขต (จนั ทร์ เขมโิ ย)
ถึง พระอาจารย์ลี* ยังสร้างวัดไม่เสร็จเรียบร้อย เจ้าคณะธรรมยุต จังหวัดขอนแกน่ เปน็ พระอุปัชฌาย์
พระอาจารยส์ งิ ห์ ขนตฺ ยาคโม เปน็ พระกรรมวาจาจารย์
วดั เขาน้อย ท่าแฉลบ (วัดวเิ วการาม) จงั หวัดจันทบุร
ี เมอื่ วนั ท่ี ๑๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๗๒ เวลา ๑๑.๐๐ น.
เม่ือบวชแล้วได้ไปจำพรรษาอยู่ท่ีวัดเหล่างา (ขณะนี้
ได้เปลี่ยนช่ือเป็นวัดวิเวกธรรม อำเภอเมือง จังหวัด
ขอนแก่น) อยกู่ บั ท่านอาจารยส์ งิ ห์
ในระหว่าง พ.ศ. ๒๔๗๒ – ๒๔๗๕ ได
้
จำพรรษาอยู่ท่ีวัดเหล่างา ได้เล่าเรียนศึกษาวิปัสสนา
ธรุ ะกับทา่ นอาจารยส์ ิงห์
ตำแหนง่ และสมณศักดิ์
๒๐ มกราคม ๒๔๙๙ ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส
วัดสนั ติธรรมจังหวดั เชยี งใหม่
๕ ธนั วาคม ๒๕๐๒ ไดร้ บั สมณศกั ดเ์ิ ปน็ พระครสู นั ตวิ รญาณ
พ.ศ. ๒๕๐๔ – ๒๕๐๘ เป็นเจ้าอาวาสวัดอโศการาม
จังหวัดสมทุ รปราการ
พ.ศ. ๒๕๐๙ เจ้าอาวาสวัดป่าสุทธาวาส จังหวัดสกลนคร
และในปีน้ี ได้ขอลาออกจากตำแหน่งเจ้าอาวาส
ทกุ แหง่
*ดูประวัติย่อ หน้า ๒๖๘
เจดีย์ธดุ งควัตร ๑๓ ในวดั อโศการาม จงั หวดั สมุทรปราการ
พระอาจารยล์ จี งึ ไดพ้ าพระอาจารยฝ์ นั้ กบั คณะไปชม ถึงพระคุณของท่านที่มีต่อสานุศิษย์อย่างคงเส้น
วดั ตา่ งๆ ในจงั หวดั ลพบรุ ี และนมสั การพระพทุ ธบาท
คงวามาตลอด พระอาจารย์ฝ้ันได้ไปพักที่วัดป่า
ท่ีจงั หวดั สระบุรดี ้วย หลังจากน้นั อีก ๗ – ๘ วัน สุทธาวาสเพ่ือเตรียมงานก่อนเป็นเวลาหลายวัน
ทา่ นจงึ พาคณะกลบั ไปยงั วดั ปา่ ภธู รพทิ กั ษ์ จงั หวดั เพราะการก่อสร้างพระอุโบสถ เพ่ือเป็นอนุสรณ์
สกลนครและนับแต่น้ันมา พระอาจารย์ฝั้นได้ม
ี แห่งพระอาจารย์ม่ัน กำลังกระทำอยู่อย่างรีบเร่ง
กจิ นมิ นตต์ อ้ งเดนิ ทางไปจงั หวดั จนั ทบรุ ี เปน็ ประจำ โดยสรา้ งขึน้ บนพ้ืนท่ที ีใ่ ช้เผาศพพระอาจารยม์ ัน่
เกอื บทกุ ป
ี เสรจ็ งานประชมุ พระกมั มฏั ฐานคราวนนั้ แลว้
กลับวัดป่าภูธรพิทักษ์คราวน้ี พอถึงเดือน พระอาจารย์ฝั้น ได้กลับไปพักผ่อนยังวัดป่า
กุมภาพันธ์ พระอาจารย์ฝั้นได้จัดงานสำคัญขึ้น
ภูธรพิทักษ์ เพราะได้ตรากตรำในการงานมานาน
ช้ินหน่ึงท่ีวัดป่าสุทธาวาส และหลังจากนั้น งาน
สังขารเล่ากท็ รดุ โทรมและอ่อนแอลงไปมาก
ดังกล่าวได้ถือปฏิบัติตลอดมาจนกระท่ังถึงปัจจุบัน ประมาณเดือนเมษายน หรือพฤษภาคม
นนั่ คอื จดั วนั ประชมุ ใหญพ่ ระกมั มฏั ฐาน ในวนั คลา้ ย พ.ศ. ๒๔๙๔ ทา่ นเจา้ พระคณุ สมเดจ็ พระมหาวรี วงศ์
วันประชุมเพลิงศพของพระอาจารย์ม่ัน เพ่ือระลึก (อ้วน ติสฺโส) วัดบรมนิวาส ได้มีบัญชาให
้
268 พระอาจารย์ลี ธมฺมธโร
พระอาจารย์ฝ้นั ไปพบทีก่ รุงเทพฯ ดว่ น ทา่ นและ นามเดมิ ชาลี นารีวงศ
์
พระภิกษุอีกรูปหนึ่ง กับเด็กลูกศิษย์อีกคนหนึ่งได้ บดิ า ปาว นารีวงศ
์
เดนิ ทางเขา้ กรงุ เทพฯ ทนั ที ทา่ นเจา้ พระคณุ สมเดจ็ ฯ มารดา พว่ ย นารวี งศ
์
ให้พกั ท่วี ัดบรมนวิ าสไดส้ องคืน ก็เรยี กท่านเข้าพบ เกดิ วันพฤหัสบดีท่ี ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๔๙
อีกคร้ังแล้วให้ท่านเดินทางไปท่ีวัดแห่งหน่ึงใน
จังหวัดฉะเชิงเทราโดยด่วน เพราะที่วัดน้ันมีเร่ือง ตรงกับวันแรม ๓ ค่ำ เดือน ๓ ปีมะเมีย
ไมส่ งบเกดิ ข้นึ ภายใน พระภิกษุสามเณรแตกความ ทบี่ า้ นหนองสองหอ้ ง ตำบลยางโยภาพ อำเภอ
สามคั คกี นั พระอาจารยฝ์ น้ั จงึ พรอ้ มดว้ ยพระภกิ ษุ มว่ งสามสิบ จงั หวัดอบุ ลราชธานี
และสานุศิษย์ที่มาจากสกลนคร เดินทางไปวัดนั้น อุปสมบท เมอ่ื อายคุ รบ ๒๐ ปี กไ็ ดอ้ ปุ สมบท เมอ่ื วนั พธุ ที่
ทันที เมื่อไปถึงได้ไปสังเกตการณ์และสืบหา
๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๘ ตรงกับวันข้ึน
ข้อเท็จจริงจากข้าหลวงอยู่ที่วัดน้ัน ๔ – ๕ วัน ๑๕ ค่ำเดือน ๖ ปฉี ลู เปน็ พระภิกษฝุ า่ ยมหา
พอประมวลเหตุการณ์ได้แล้ว จึงเดินทางกลับวัด นิกาย
บรมนวิ าส และไดร้ ายงานใหท้ า่ นเจา้ พระคณุ สมเดจ็ ฯ การจารกิ เพอ่ื ศกึ ษาธรรมปฏบิ ตั ิ ในเดอื นธนั วาคม พ.ศ.
ทราบว่า ชาวบ้านและพระลูกวัดต้องการให้ส่ง
๒๔๖๙ ได้เดินทางไปพบพระอาจารย์มั่นที่
เจ้าอาวาสวดั นนั้ ที่สมเดจ็ ฯ เรียกมาสอบเร่ืองราว วดั บรู พา จังหวัดอบุ ลราชธานี เพ่ือศกึ ษาธรรม
แลว้ ยงั ไม่ได้สง่ กลบั ไป จงึ เกิดเรือ่ งขดั แย้งไม่เขา้ ใจ ปรากฏวา่ ขณะนน้ั ทา่ นอาจารยม์ น่ั กำลงั อาพาธอยู่
และแตกแยกกันขึ้น เมื่อเจ้าพระคุณสมเด็จฯ
แต่ก็ได้แนะนำให้ไปศึกษากับท่านอาจารย์สิงห์
ไดท้ ราบข้อเท็จจริงแล้ว จึงไดส้ ่งเจา้ อาวาสกลบั คนื ขนตฺ ยาคโม และพระอาจารยม์ หาปน่ิ ปญญฺ าฺ พโล
วัดนัน้ ไป เร่ืองตา่ งๆ จึงค่อยสงบลง
ทว่ี ัดบ้านท่าวังหิน
การญตั ตกิ รรม ใน พ.ศ. ๒๔๗๐ ไดต้ ดิ ตามพระอาจารยม์ น่ั
ระหวา่ งพกั อยทู่ ว่ี ดั บรมนวิ าส พระอาจารยฝ์ น้ั ท่องเท่ียวไปในท่ีวิเวกต่างๆ เพื่อบำเพ็ญเพียร
กับพระลูกศิษย์ต้องออกบิณฑบาตไปเร่ือยๆ ตาม ภาวนาเป็นเวลาถงึ ๔ เดือน จึงได้ตดั สินใจไป
ตรอกซอยตา่ งๆ พอเขา้ ไปในซอยแหง่ หนงึ่ ชาวบา้ น ญัตตเิ ปน็ พระภิกษธุ รรมยตุ กิ นิกาย ทว่ี ัดบูรพา
ดใี จกนั เปน็ อนั มาก เพราะไมเ่ คยมพี ระไปบณิ ฑบาต โดยมพี ระปญั ญาพศิ าลเถร (หนู) วัดสระปทุม
ในซอยนนั้ มากอ่ นเลย ตา่ งนมิ นตใ์ หร้ อกอ่ น บางบา้ น เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอาจารย์เพ็ง วัดใต้
กจ็ ดั หาเกา้ อีม้ าใหน้ ง่ั แล้วเตรียมข้าวปลาอาหารใส่ จังหวดั อุบลราชธานี เป็นพระกรรมวาจาจารย์
บาตรกนั อยา่ งฉกุ ละหกุ เมอ่ื ทราบวา่ พระอาจารยฝ์ นั้
สมณศกั ด ์ิ ไดร้ บั พระราชทานสมณศกั ด์ิ เปน็ พระราชาคณะ
มาจากต่างจังหวัด ก็นิมนต์ให้เข้าไปบิณฑบาต
ในนาม “พระสทุ ธธิ รรมรงั สี คมั ภรี เมธาจารย”์
ทุกวนั จนกว่าจะกลบั
เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๐
มรณภาพ ไดอ้ าพาธ และมรณภาพ เมอ่ื วนั ท่ี ๒๖ เมษายน
โดยเฉพาะในซอยหน่ึงแถวๆ หลังวัด พ.ศ. ๒๕๐๔ ทีว่ ดั อโศการาม สมุทรปราการ
พระยายัง พระอาจารย์ฝ้ัน สามารถทำให้ฝร่ัง
ครอบครวั หน่ึงเกดิ ศรัทธาออกมาใส่บาตร ท้ังๆ ที่
269
พระภกิ ษุสามเณร ได้สร้างกฏุ ิถาวรขึน้ ในวดั ปา่ อดุ มสมพร
ครอบครัวน้ีไม่เคยใส่บาตรมาก่อนเลย เม่ือจาก ปฏบิ ตั ติ อ่ พระอาจารยฝ์ น้ั สว่ นทยี่ งั ออ่ นตอ่ การศกึ ษา
ฝรง่ั ครอบครัวน้ันออกมาแล้ว พระอาจารยฝ์ ัน้ ได้ กม็ งุ่ หนา้ มาเลา่ เรยี นฝกึ หดั กฏุ ทิ มี่ อี ยจู่ งึ ไมเ่ พยี งพอ
ปรารภกบั พระลกู ศษิ ยว์ า่ ฝรง่ั แทๆ้ ยงั รจู้ กั ใสบ่ าตร
ใหพ้ ำนกั ในปี ๒๔๙๔ พระอาจารยฝ์ นั้ จงึ ไดจ้ ดั ใหม้ ี
อีกไม่ก่ีวันต่อมา พระอาจารย์ฝ้ันก็เดินทาง การก่อสรา้ งกุฏถิ าวรขนึ้ หลายหลัง เพอื่ ใหเ้ พยี งพอ
กลบั วดั ป่าภูธรพิทักษ์ท่จี งั หวดั สกลนคร ก่อนกลบั แก่การอยู่จำพรรษา น่าสังเกตว่า ท่านได้เตือน
ท่านเจ้าคุณสมเด็จฯ ได้ปรารภขึ้นว่า ต้ังใจจะให้ พระภกิ ษสุ ามเณรอยเู่ สมอวา่ การกอ่ สรา้ งใดๆ ไมใ่ ห้
ท่านไปเป็นเจ้าอาวาสวัดเทพนิมิตร ท่ีฉะเชิงเทรา มีการบอกบุญเรี่ยไรเปน็ อันขาด ให้ทำเทา่ ท่จี ำเป็น
แตท่ า่ นไปสงั เกตการณจ์ นไดค้ วามกระจา่ ง สามารถ จะสามารถทำได้ และให้ทำต่อเม่ือมีผ้ศู รัทธาจะทำ
คล่ีคลายสถานการณ์ไปได้เช่นน้ี ก็นับว่าท่านได้ มฉิ ะนน้ั จะเปน็ เรอื่ งเดอื ดรอ้ นถงึ ชาวบา้ น โดยเฉพาะ
ทำประโยชน์ใหม้ ากทเี ดยี ว
อย่างย่ิงท่ีจะให้ท่านคิดทำขึ้นเองนั้นน้อยเหลือเกิน
หลังจากพระอาจารย์ม่ัน ภูริทัตโต ถึงแก่ เพราะท่านไม่ต้องการให้เป็นปลิโพธกังวล* แก่
มรณภาพไปแล้ว ท่ีวัดป่าภูธรพิทักษ์ มีสามเณร บรรดาพระเณร จะได้มีเวลากระทำความเพียรได้
เพิ่มจำนวนขึ้นเรื่อยๆ เพราะหลายรูปหันเข้ามา โดยปราศจากอุปสรรคของข้อกงั วลนั้นๆ
*ปลิโพธ ๑๐ คือเครือ่ งกังวลใจตา่ งๆ อนั เป็นเหตใุ ห้ไมส่ ามารถต้ังอยู่ในอารมณ์กมั มัฏฐานได้ ๑๐ ประการ ไดแ้ ก่
๑ อาวาสปลิโพธ ห่วงที่อย่อู าศัย ๒ กลุ ปลิโพธ ห่วงบรวิ าร ผู้อปุ ถัมภ์ ผู้อุปัฏฐาก ๓ ลาภปลิโพธ หว่ งรายได้ ๔ คณปลิโพธ
หว่ งพวกพอ้ ง, ศษิ ย,์ มติ รสหาย ๕ กมั มปลโิ พธ หว่ งการงานทท่ี ำคา้ งอยู่ ๖ อทั ธานปลโิ พธ หว่ งการเดนิ ทางไกล ๗ ญาตปิ ลโิ พธ
หว่ งพ่อแม่ ลกู เมยี พ่นี อ้ งจะขาดผปู้ รนนบิ ัติ ๘ อาพาธปลิโพธ ห่วงว่าอาจเกดิ เจบ็ ป่วยขนึ้ ได้ ๙ คนั ถปลโิ พธ หว่ งการศึกษาเลา่
เรยี นกลัวจะไม่ทนั เพื่อน ๑๐ อิทธิปลโิ พธ หว่ งการแสดงฤทธิ์ตา่ งๆ เกรงวา่ จะเสือ่ มไป
270 อยใู่ นปา่ ขา้ งๆ นำ้ ตกพรว้ิ และไดม้ ญี าตโิ ยมนมิ นต์
ไปพักตามที่ต่างๆ อีกหลายแห่งตลอดระยะเวลา
เขา้ พรรษาปนี น้ั พระอาจารยฝ์ น้ั ไดจ้ ำพรรษา ร่วม ๒ เดอื น
อยู่ท่ีวัดป่าภูธรพิทักษ์ตามปกติ แนะนำพร่ำสอน
และทำเป็นตัวอย่างแก่สานุศิษย์อย่างเคร่งครัด ตอนเดนิ ทางกลบั พระอาจารยฝ์ นั้ ไดแ้ วะพกั
เหมือนปีก่อนๆ รวมท้ังเทศนาส่ังสอนประชาชน ทวี่ ดั ปา่ บา้ นฉางเปน็ เวลา ๔ – ๕ วนั ประจวบกบั
ตลอดพรรษา การประกอบความเพยี รกเ็ รง่ ทง้ั กลางวนั ชาวไรก่ ำลงั เดอื ดรอ้ นเรอ่ื งดว้ งมะพรา้ วกนั มาก บางไร่
และกลางคนื พระเณรรูปใดมอี ารมณฟ์ ุ้งซ่านไปใน กนิ จนมะพรา้ วตายแทบเกลย้ี ง บางแหง่ ตอ้ งตดั สนิ ใจ
ทางทผ่ี ดิ ทา่ นกเ็ ทศนส์ อนขนึ้ มาเองโดยไมม่ ใี ครบอก เผาทง้ิ หมดทง้ั ไร่ โยมผหู้ นง่ึ จงึ ขอใหท้ า่ นทำนำ้ มนตใ์ ห้
ราวกับว่าท่านหยั่งรู้ได้ด้วยตัวของท่านเองฉะนั้น เพอ่ื ขจดั ปดั เปา่ ความเดอื ดรอ้ นดงั กลา่ วใหห้ มดสน้ิ ไป
บรรดาพระเณรจึงต้งั ใจสำรวมกนั อย่างเต็มท
ี่ พระอาจารย์ฝ้ันก็ได้ทำน้ำมนต์ให้ แล้วหยิบไม้สี
ฟันของท่านใหไ้ ปด้วย ๔ – ๕ อนั กำชบั ให้ตง้ั ใจ
พอออกพรรษาแล้ว พระอาจารย์วิริยังค์ ภาวนาพุทโธให้ดี แล้วให้เอาไม้สีฟันไปเหน็บ
ได้นมิ นต์พระอาจารยฝ์ ั้น และพระอาจารย์กงมาไป ๔ มมุ ไร่ กับใหเ้ อาน้ำมนต์ไปพรมรอบๆ ไร่ด้วย
รว่ มงานทว่ี ดั ดำรงธรรม อำเภอขลงุ จงั หวดั จนั ทบรุ ี
อกี ครงั้ หนงึ่ เสรจ็ งานวดั นนั้ แลว้ ทา่ นไดไ้ ปพกั วเิ วก
อีก ๒ วันต่อมา โยมผู้น้ันกับภรรยาก็ 271
กลับมาหาพระอาจารยฝ์ ั้นอีก ยกมอื ไหว้ทว่ มหวั
พรอ้ มกบั เรยี นวา่ ความเดอื ดรอ้ นทงั้ ปวงเหอื ดหาย การประชมุ แลว้ จงึ ไดก้ ลบั ไปพกั ทวี่ ดั ปา่ ภธู รพทิ กั ษ์
ไปอย่างน่าอัศจรรย์ บัดนี้ ตัวด้วงทั้งหลายหาย ตามปกติ แต่เมื่อพักได้ในราว ๒ สัปดาห ์
ไปจากไร่ของตนจนหมดสิ้นแล้ว ไม่ต้องเผาไร่ พระอาจารย์ฝ้ันก็พาพระลูกศิษย์ออกธุดงค์อีก
เหมอื นเจ้าของไรค่ นอ่ืนๆ
คราวนไี้ ปพกั วเิ วกทถ่ี ำ้ เปด็ เขตอำเภอสวา่ งแดนดนิ
ใกล้ๆ กับวัดพระอาจารย์วัน อุตฺตโม ในปัจจุบัน
ออกจากวัดป่าบ้านฉาง พระอาจารย์ฝั้น ถ้ำเป็ดเป็นสถานท่ีวิเวกสงบดีมาก เหมาะแก่การ
ได้เดนิ ทางเข้ากรุงเทพฯ แวะพกั กบั พระอาจารยล์ ี บำเพญ็ ภาวนาเปน็ อยา่ งยง่ิ ตลอดเวลาหลายเดอื น
ท่ีวัดอโศการาม จนถึงเดือนกุมภาพันธ์ ๒๔๙๕ ทีท่ ่านไปพักวิเวกอยนู่ ้นั ทา่ นไดจ้ ัดการบรู ณะสร้าง
จงึ พาคณะกลับไปยังจงั หวัดสกลนคร
ถังน้ำ และได้สร้างกุฏิ ๒ – ๓ หลัง พร้อมท้ัง
ศาลาโรงฉันไว้ดว้ ย
ก ลั บ ไ ป ค ร า ว น้ี ท่ า น เ ล ย ไ ป พั ก ท่ี วั ด ป่ า
สทุ ธาวาส เพอ่ื เตรยี มการประชมุ ในวนั ทรี่ ะลกึ คลา้ ย ปัจจุบันถ้ำเป็ดอยู่ในกิ่งอำเภอส่องดาว
วนั ประชมุ เพลงิ ศพพระอาจารยม์ นั่ จนกระทง่ั เสรจ็ จงั หวดั สกลนคร ซง่ึ แยกออกมาจากอำเภอสวา่ ง
แดนดนิ มาตง้ั ขน้ึ เปน็ อกี อำเภอหนง่ึ การคมนาคม
ถำ้ เปด็ อยใู่ นกงิ่ อำเภอสอ่ งดาว จงั หวดั
สกลนคร พระอาจารย์ฝ้ันได้พักวิเวก
อยกู่ อ่ นเขา้ พรรษาปี พ.ศ. ๒๔๙๕
(ซา้ ยบน) ตน้ ตนี เปด็ อายหุ ลายรอ้ ยปี ซง่ึ เปน็ ทม่ี าของคำวา่ “ถำ้ เปด็ ”
(ซา้ ยลา่ ง) บรเิ วณหนา้ ถำ้ เปด็ ซงึ่ ฝา่ ยจดั ทำหนงั สอื เลม่ นไ้ี ดเ้ ขา้ ไปถา่ ยภาพ โดยมชี าวบา้ นเปน็ ผนู้ ำทาง
(บน) การไปถา่ ยภาพถำ้ เปด็ (ตรงลกู ศรช)ี้ ตอ้ งบกุ ปา่ ฝา่ ดงเขา้ ไปเปน็ ระยะทางไกล
ก็สะดวกขึ้นกว่าเดิม เพราะสมัยโน้นไม่มีถนน มบี างคนเทา่ นน้ั ทท่ี ำตาม และกไ็ ดผ้ ลดแี กเ่ ศรษฐกจิ
หนทางไปบ้านสอ่ งดาว การไปมาตอ้ งเดนิ เท้า ในครอบครัว ทำให้ชาวบ้านทั่วไปพากันเอาอย่าง
แต่ประการเดียว
ถึงขนาดบางรายมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการจำหน่าย
ทถี่ ำ้ เปด็ นอกจากพระอาจารยฝ์ น้ั จะพฒั นา ผลผลิตดว้ ย
ทางด้านสถานท่ี โดยชักชวนชาวบ้านให้ช่วยกัน ความสะอาดเปน็ อกี เรอ่ื งหนงึ่ ทพ่ี ระอาจารย์
สร้างถาวรวัตถุไว้เป็นสาธารณประโยชน์แล้ว ยัง ฝน้ั พยายามเทศนส์ งั่ สอน โดยแนะนำผใู้ หญบ่ า้ น
พัฒนาทางด้านจิตใจของชาวบ้านพร้อมกันไปด้วย ใหป้ ระชมุ ลกู บา้ น แลว้ แนะนำใหล้ กู บา้ นรกั ษาความ
อกี ทางหนึง่ โดยการเทศนส์ ั่งสอนใหร้ ู้จักทาน ศลี สะอาด และรกั ษาสุขภาพอนามยั ทกุ หลงั คาเรือน
และภาวนา ให้ขยันหม่ันเพียรในการทำมาหากิน เวลาออกบิณฑบาตเห็นตรงไหนสกปรกรกรุงรัง
ปกติเม่ือพ้นฤดูทำนาแล้ว ชาวบ้านแถบน้ันจะ ก็บอกให้ทำความสะอาดตรงน้ัน ไม่นานนัก
เท่ียวเล่นสนุกสนานไปโดยไร้ประโยชน์ แล้วก็พา หมบู่ า้ นนน้ั กส็ ะอาด มองไปทางไหนกด็ สู ดใสขน้ึ มาก
กันบ่นว่าอดอยาก อาหารการกินก็ไม่สมบูรณ์ ไม่ว่าจะเปน็ บ้านเรอื นหรือถนนหนทางโดยท่ัวไป
พระอาจารย์ฝ้ันได้แนะนำให้ทำสวนครัว ปลูกผัก อกี หมบู่ า้ นหนงึ่ ใกลๆ้ กบั ถำ้ เปด็ ถงึ ฤดแู ลง้
ตา่ งๆ ตลอดจนพรกิ มะเขือ ฯลฯ เป็นตน้ แรกๆ ชาวบ้านไม่ทำมาหากินอะไรเลย เฝ้าแต่ขุดหา
274
อึ่งอ่างมาประกอบอาหารอยู่ทุกวี่ทุกวัน บางวันไม่
ได้สักตัวเดียว บางวันได้แค่ตัวสองตัว เมื่อไม่พอ
กินก็บ่นว่าอดอยาก พระอาจารย์ฝั้นได้ใช้โอกาสที่
ชาวบา้ นมาฟงั ธรรม เทศนาสง่ั สอนวา่ เปน็ การขยนั
หมนั่ เพยี รในทางทผี่ ดิ ปราศจากประโยชนท์ ง้ั สว่ นตวั
และประโยชนส์ ว่ นรวม ขดุ อง่ึ อา่ งไดไ้ มค่ มุ้ คา่ กบั เวลา
ท่ีเสียไป ควรเอาเวลาว่างจากการทำนามาขุดดิน
ทำไรท่ ำสวนจะดกี วา่ ชาวบา้ นกป็ ระจกั ษใ์ นเหตผุ ล
และพากนั ทำตาม จนกระทงั่ เหน็ ผลขนึ้ มาตามลำดบั
บางคนถึงกับไปปรารภกับพระอาจารย์ฝ้ันว่า ถ้า
ทำอย่างที่ท่านแนะนำมาแต่ต้น ป่านฉะนี้คงต้ัง
หลักฐานได้กนั หมดแล้ว
(ซ้าย) ศาลาโรงธรรมทีถ่ ำ้ เป็ด ซง่ึ พระอาจารย์ฝั้นสร้างไว้เมอื่
พ.ศ. ๒๔๙๕
(ลา่ ง) กฏุ ิท่ีทา่ นสรา้ งข้นึ ในระหวา่ งการไปวิเวกทถ่ี ำ้ เป็ด
(ขวา) สว่ นหนึง่ ของบรรดาญาติโยมทช่ี ว่ ยเหลือท่านสรา้ งกฏุ ิ
และเป็นผอู้ ุปัฏฐากมาตลอดเวลาทีท่ ่านพำนกั อย
ู่
เมือ่ ข้นึ ไปพักที่ถ้ำเป็ดใหมๆ่ มีถำ้ เลก็ ๆ อยู่ ๖ ทุ่มเศษ กล็ งไปถำ้ เล็ก เข้าทำวัตรสวดมนตจ์ บ
ถ้ำหน่ึงถัดลงมาจากที่พักของพระอาจารย์ฝ้ัน
แล้วก็เอนกายลงนอนพัก ตั้งใจว่าสักครู่จะลุกข้ึน
พระภิกษุศิษย์รูปหนึ่งเห็นว่าสงบดี เหมาะแก่การ ภาวนาตามปกติ
พกั วเิ วก จงึ ใหพ้ วกโยมทข่ี นึ้ ไปสง่ จดั การยกแครส่ งู กำลงั เคลมิ้ ๆ พระภกิ ษรุ ปู นนั้ กส็ ะดงุ้ ตน่ื ขน้ึ มา
คบื เดยี วให้ เพอื่ ใชเ้ ปน็ ทพ่ี กั ตกเยน็ กอ่ นลงไปพกั ท่ี ดว้ ยความตกใจ เนอ่ื งจากมฝี งู กบและเขยี ดแตกตนื่
ถำ้ เลก็ นน้ั พระอาจารยฝ์ น้ั ไดเ้ ตอื นพระภกิ ษลุ กู ศษิ ย์ ออกมาจากถำ้ เปน็ ฝงู ๆ แครท่ ย่ี กไวเ้ ปน็ ทพี่ กั กอ็ ยตู่ รง
ว่า “ลงไปนอนที่ถ้ำนั้นภาวนาให้ดีล่ะ อย่าถึง
ปากถำ้ พอดี กบใหญ่ๆ ๓ – ๔ ตวั จึงโดดข้ึนมา
กับหอบบริขารบาตรจีวรหนี ต้ังใจภาวนาให้ดี เกาะอยูบ่ นหนา้ อกจนรู้สกึ เย็นยะเยือก พอท่านผุด
อย่าประมาท” ท่านหยุดหัวเราะแล้วกล่าวต่อไป ลกุ ขนึ้ มนั กโ็ ดดหนี จะลกุ หนอี อกมากบ็ งั เอญิ นกึ ถงึ
อกี ดว้ ยวา่ “ความกลวั ของคนเรานน้ั นะ่ ถา้ กลวั สดุ ขดี คำเตือนของพระอาจารย์ฝั้นข้ึนมาได้ จึงสงบใจให้
ถึงกับเป็นพระกัมมัฏฐานก็เป็นบ้าได้เหมือนกัน
เป็นปกติ แล้วน่ังสดับเหตุการณ์อยู่เงียบๆ ทันใด
ถ้าไม่กลัวตายเสียอย่างเดียวอยู่ไหนก็อยู่ได้”
ก็ไดย้ นิ เสยี งงเู ลื้อยดังแกรกกรากอยใู่ นถำ้ จะหนีก็
พระภกิ ษรุ ปู นนั้ เขา้ ใจวา่ ทา่ นตกั เตอื นเหมอื นทกุ ครงั้ เหมือนไม่เชื่อพระอาจารย์ จึงมุมานะนั่งภาวนา
ที่ผ่านมา เม่ือตกดึกทำกิจวัตรเสร็จประมาณ
ท่ามกลางเสยี งงูเลือ้ ย และท่ามกลางเสยี งกบเขยี ด
276
กระโดดเป็นฝูงๆ ตลอดคืน ในท่ีสุดเม่ือจิตสงบดี
กลบั มาจำพรรษาปี พ.ศ. ๒๔๙๕ มพี ระเณร
แลว้ ความกลวั ก็หายไปเป็นปลิดท้ิง
เพม่ิ ขน้ึ มาก ทา่ นจงึ รบั ภาระเพมิ่ มากขน้ึ ไปดว้ ย ทงั้
เช้าวันน้ัน เม่ือลงไปทำกิจวัตรท่ีกุฏิ
การสงั่ สอนศษิ ยภ์ ายใน คอื พระภกิ ษสุ ามเณร และ
พระอาจารย์ฝ้ันตามปกติ ท่านได้ทักทายขึ้นว่า ศษิ ยภ์ ายนอก คอื บรรดาญาติโยมทีไ่ ปศกึ ษาธรรม
“เปน็ ไงมง่ั ” “เกอื บจะหอบบรขิ ารวงิ่ หนคี วามตายแลว้ ตลอดจนคณะอบุ าสก อบุ าสกิ า ทไ่ี ปรกั ษาศลี อโุ บสถ
ไหมล่ะ จะหนีไปอยู่ที่ไหนจึงจะพ้นความตายเล่า เปน็ ประจำทกุ วนั พระ ทา่ นไดบ้ ำเพญ็ ตนเปน็ ตวั อยา่ ง
อยทู่ ่ีไหนมันกต็ ายเหมอื นกนั แหละ”
แกบ่ รรดาสานศุ ษิ ยอ์ ยา่ งเครง่ ครดั เสมอตน้ เสมอปลาย
พูดจบ ท่านก็ล้างหน้าบ้วนปากแล้วลงเดิน ตลอดทง้ั พรรษา โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในวนั พระอโุ บสถ
จงกรมตามปกติ พระภิกษุรูปน้ันได้แต่รับฟังด้วย ตอนกลางคืนท่านจะพาสานุศิษย์น่ังสมาธิภาวนา
ความอัศจรรย
์ ตลอดคนื เมอ่ื เหน็ วา่ มงี ว่ งเหงาหาวนอน กจ็ ะเทศน์
พระอาจารยฝ์ น้ั พำนกั อยทู่ ถ่ี ำ้ เปด็ จนเกอื บ อบรมสลบั ไปเปน็ ชว่ งๆ เปน็ ทนี่ า่ เลอื่ มใสและศรทั ธา
จะเขา้ พรรษา คณะตำรวจโรงเรยี นพลฯ เขต ๔ แก่ผู้พบเห็นเป็นอย่างย่ิง บางคนถึงกับออกปาก
จึงเอารถจ๊ีปกลางข้ึนไปรับ เพ่ือนิมนต์กลับไป
ปฏญิ าณตนเลกิ การประพฤตชิ ว่ั โดยเดด็ ขาด นบั วา่
จำพรรษาทว่ี ัดปา่ ภธู รพทิ กั ษต์ ามเดมิ
ทา่ นไดย้ งั ประโยชนแ์ กม่ วลชนอยา่ งไดผ้ ลเปน็ อนั มาก
277
278
บนลานหินบริเวณถำ้ ขาม ขณะพระอาจารย์ฝั้นขึน้ ไปวิเวกครัง้ แรก พ.ศ. ๒๔๙๖
หลงั ออกพรรษาปี พ.ศ. ๒๔๙๕ พระอาจารย์ ต้อนรับเสมอหน้ากันหมด บางคร้ังแขกมากมาย
ฝนั้ มกี จิ นมิ นตล์ งไปกรงุ เทพฯ พรอ้ มดว้ ยพระอาจารย์ ทั้งกลางวันและกลางคืน จนท่านจะหาเวลาลุกไป
กงมา จิรปุญฺโญฺ เสร็จกิจแล้วได้เลยไปจันทบุรี
สรงนำ้ กย็ ังยาก กว่าแขกจะกลับหมดก็ตก ๓ ทุม่
อีกครั้งหน่ึง กลับจากจันทบุรีได้แวะเข้าพักที่วัด เศษ จงึ ได้มโี อกาส เคยมพี ระภกิ ษลุ ูกศษิ ย์แนะนำ
อโศการาม
ให้รับแขกเป็นเวลา แต่ท่านไม่ยอม อ้างว่าจะ
หลังจากนั้นแล้วจึงเดินทางกลับไปจังหวัด ทำให้คนเหล่านั้นเสียเวลาทำมาหากิน ต้องมารอ
สกลนคร โดยมีคณะศิษย์ท้ังหลายจากกรุงเทพฯ กนั เสียเวลาเป็นชัว่ โมงๆ โดยเปลา่ ประโยชน์
บา้ ง จากจงั หวดั ใกลเ้ คยี งบา้ ง พากนั ตดิ ตามไปรบั การ ในพรรษาปี พ.ศ. ๒๔๙๖ พระอาจารยฝ์ ั้น
อบรมธรรมจากท่านหลายคน พรอ้ มท้งั คณะทายก คงจำพรรษาอยู่ที่วัดป่าภูธรพิทักษ์ตามเดิม
ทายิกาที่เป็นศิษย์ประจำอยู่ก่อนก็ยกขบวนเข้ารับ ระหว่างนั้น ทางด้านฆราวาสญาติโยมยิ่งเพ่ิม
การอบรมด้วยเป็นจำนวนมาก เป็นเหตุให้ท่าน จำนวนมากขึ้น ผู้ที่ไปนมัสการก็มีมากทั้งใกล้
ต้องมีภาระในการรับแขกมากย่งิ ขนึ้ แตท่ ่านก็มไิ ด้ และไกล แต่ท่านก็ยังเข้มแข็งในปฏิปทาตาม
ย่อท้อหรอื เบื่อหน่าย ใครจะไปนมสั การเมือ่ ใดท่าน ปกต
ิ
บนถ้ำขาม
ตอนกลางพรรษาปีน้ัน พระอาจารย์ฝ้ันได้ ทา่ นปรารภอยเู่ สมอดว้ ยวา่ ออกพรรษาแลว้ จะตอ้ งไป
ปรารภกบั ศษิ ยท์ งั้ ปวงอยเู่ สมอวา่ ทา่ นไดน้ มิ ติ เหน็ ดใู หไ้ ด้ พอออกพรรษา พระอาจารยฝ์ นั้ กต็ ดั สนิ ใจ
ถ้ำอยู่ถ้ำหนึ่ง อยู่ทางทิศตะวันตกของเทือกเขา
ออกเดินทางไปยังถ้ำตามที่นิมิตไว้ แต่มิได้ตรงไป
ภพู าน ในถำ้ นนั้ มแี สงสวา่ งเทา่ ๆ กบั ตะเกยี งเจา้ พายุ ยังถ้ำดังกล่าวเสียทีเดียว ท่านได้ออกเดินทางไป
๒ ดวง อากาศกด็ ี สงบและวเิ วก เมอ่ื ขน้ึ ไปอยใู่ นถำ้ กับพระภิกษุสามเณรอย่างละรูป ไปพักท่ีวัดป่า
นั้นแล้วก็เหมือนกับอยู่ในโลกอีกโลกหน่ึงทีเดียว อุดมสมพร เพื่อพาคณะญาติโยมบำเพ็ญกุศล
280
ขณะขน้ึ ไปพกั บนถำ้ ขามวันแรกๆ ท่านและญาติโยมได้ชว่ ยกันปลกู แคร่นอนไมไ้ ผเ่ ป็นที่พกั ชั่วคราวของท่าน
ลานลน่ั ทม บนถ้ำขาม
281
ศิษยานศุ ษิ ย์จากตัวเมืองสกลนคร มจี ติ ศรัทธาข้ึนไปเย่ยี มทา่ นบนถำ้ ขาม เม่ือวนั ที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๔๙๗
ทกั ษณิ านปุ ทานอทุ ศิ แกบ่ พุ การที ง้ั หลาย เสรจ็ แลว้ และสรงน้ำพระบนถำ้ นั้นเปน็ ประจำ แลว้ กพ็ าท่าน
ออกเดนิ ทางไปพกั ทว่ี ดั ปา่ บา้ นภู่ เพอื่ บำเพ็ญกุศล ไปดูในวันร่งุ ขนึ้ การเดนิ ทางเตม็ ไปดว้ ยความยาก
ครบรอบวันฌาปนกิจของพระอาจารย์กู่ จากนน้ั ได้ ลำบาก ต้องปีนต้องไต่ไปตามไหล่เขาอันเต็มไป
เดินทางไปพกั ท่ปี า่ ขา้ งๆ วดั บ้านไฮ่ ๒ คืน แลว้ ด้วยขวากหนาม
เดินทางต่อไปยังบ้านคำข่า พอไปถึงพวกโยมได้ เม่ือข้ึนไปถึงถ้ำขามแล้ว พระอาจารย์ฝ้ัน
พาไปพักในดงข้างหมู่บ้าน เป็นดงหนาทึบมาก เดนิ ดรู อบๆ บรเิ วณอยสู่ กั ครู่ กอ็ อกปากขน้ึ ทนั ทวี า่
ชาวบา้ นเรยี กกนั วา่ ดงวดั รา้ ง เมอ่ื ทำความคนุ้ เคย “เออ, ถำ้ นแ้ี หละทเี่ รานมิ ติ เหน็ ตอนกลางพรรษา”
กับญาติโยมในหมู่บ้านดีแล้ว ท่านก็ถามว่าภูเขา พดู แลว้ ทา่ นกใ็ หพ้ วกโยมจดั หาไมม้ าทำเปน็ แครน่ อน
แถบนมี้ ถี ำ้ บา้ งหรอื ไม่ พวกโยมตอบวา่ มหี ลายแหง่ ขน้ึ ในถำ้ รวม ๒ ท่ี ความจรงิ ทา่ นตงั้ ใจจะพกั คา้ งคนื
ทั้งถ้ำเล็กและถ้ำใหญ่ ท่านจึงให้พวกโยมพาข้ึน
ในคืนน้ันเลย แต่เน่ืองจากไม่ได้เตรียมบริขาร
ไปดใู นวนั ตอ่ มา วันนนั้ ทั้งวันไปดถู ้ำหลายถำ้ แต่ และเสบยี งอาหารไปด้วย จงึ จำต้องกลบั ลงมากอ่ น
ไมต่ รงกบั ถำ้ ทน่ี มิ ติ สักแหง่ จึงกลบั ไปยงั ท่ีพัก
ระหว่างทางที่ลงมาน้ัน ท่านได้ให้พวกโยมตัดทาง
ลงมาดว้ ย จะได้ขน้ึ โดยสะดวกในวันหลัง
ญาติโยมได้บอกท่านว่า ยังมีอีกถ้ำหนึ่งอยู่
บนยอดเขา เปน็ ถำ้ ใหญม่ าก ชาวบา้ นเรยี กวา่ ถำ้ ขาม เช้าวันรุ่งข้ึน หลังจากฉันจังหันเสร็จแล้ว
ทุกปีเมื่อถึงวันสงกรานต์ ชาวบ้านจะข้ึนไปทำบุญ ท่านก็เดินทางขึ้นไปยังถ้ำขามพร้อมด้วยญาติโยม
282
บนถ้ำขามเม่ือ พ.ศ. ๒๔๙๗ องค์ซา้ ยคอื พระภิกษสุ พุ ล น่าชม ผ้รู ว่ มเขยี นประวตั ิของพระอาจารย์ฝน้ั
และเสบยี งกรงั เพราะถำ้ นนั้ อยหู่ า่ งจากหมบู่ า้ นมาก ยังถ้ำขาม หากใช้ถังหรือปีบบรรจุจะหกเสีย
การสัญจรบิณฑบาตไม่สะดวก ต้องอาศัยลูกศิษย์ แทบหมด เพราะต้องหาบหามระหกระเหินเป็น
ทำอาหารเอง จึงตอ้ งเตรียมเสบยี งกรังขนึ้ ไปด้วย
ระยะทางไกลมาก
พระอาจารย์ฝ้ันได้ข้ึนไปพักอยู่บน ในชว่ งทข่ี นึ้ ไปใหมๆ่ การใชน้ ำ้ ตอ้ งกระทำ
ถ้ำขาม พร้อมดว้ ยพระภิกษสุ ามเณรผเู้ ปน็ อย่างประหยัด พระเณรตอ้ งเดินไปสรงน้ำไกล
ศษิ ยเ์ มอื่ ประมาณเดอื นมนี าคม พ.ศ. ๒๔๙๗
ถึง ๔ กิโลเมตรเศษ เสร็จแล้วจึงสะพาย
เม่ือข้ึนไปพักใหม่ๆ มีความขัดข้องในเร่ือง กระบอกน้ำกลับขึ้นมาบนถ้ำขามอีก กว่า
นำ้ กนิ นำ้ ใช้ พวกโยมกแ็ นะนำวา่ มนี ำ้ บอ่ ซมึ อยทู่ ภ่ี เู ขา จะถึงที่พักเหงื่อก็โทรมร่างราวกับว่ายังไม่ได้
อกี ลกู หนง่ึ ทางตะวนั ออก หา่ งจากถำ้ ขามไปประมาณ อาบน้ำมาเลย
๔ กโิ ลเมตร เมอ่ื ไมม่ แี หลง่ นำ้ ใดใกลก้ วา่ จงึ จำเปน็ อยู่ในสภาพเช่นน้ันมาประมาณครึ่งเดือน
ต้องใช้น้ำจากบอ่ ซึมดงั กล่าว โดยใชก้ ระบอกไม้ไผ่ พระอาจารยฝ์ น้ั กบ็ อกพระภกิ ษลุ กู ศษิ ยว์ า่ บนเขา
เปน็ ภาชนะบรรจนุ ำ้ สะพายใสบ่ า่ ทงั้ สองขา้ งกลบั ไป หลงั ถำ้ ขามนมี้ อี า่ งนำ้ อยเู่ หมอื นกนั แตด่ นิ ถมลงไป
283
พระอาจารย์ฝั้นบนถำ้ ขาม เมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๗
จนเตม็ หมด หากขดุ ดนิ ออกคงเกบ็ นำ้ ฝนไดม้ ากอยู่ มือข้ึนมาไม่ถึงปากหลุม เป็นอ่างเก็บน้ำฝนได้
ทา่ นบอกวา่ ไดน้ มิ ติ เหน็ อา่ งทวี่ า่ มา ๒ – ๓ วนั แลว้ อย่างดีจนกระทั่งทุกวันนี้ และต่อมาอีกปี ก็ได้
จากน้ันก็พากันเดินสำรวจ ในท่ีสุดก็ได้เห็นปาก ระเบิดหนิ ทำเปน็ สระนำ้ ขึ้นอีก ๓ สระ บนหลังเขา
อ่างซึ่งมหี ญ้าปกคลมุ อย่เู ตม็ พระอาจารย์ฝัน้ ได้ให้ จงึ มนี ำ้ ใช้มาตลอดจนถึงปจั จุบัน
ทางด้านหลังถ้ำ ซึ่งเต็มไปด้วยต้น
พระภิกษุลูกศิษย์โกยดินข้ึน พอโกยดินลึกลงไป
ประมาณเมตรเศษๆ ก็มีน้ำซึมออกมา จงึ ปลอ่ ยไว้ ลั่นทมขาว ดอกสะพรั่งส่งกล่ินหอมฟุ้งไป
ใหน้ ำ้ ซมึ ออกมาเปน็ นำ้ บอ่ อาศยั ตกั ใช้ไปไดห้ ลาย ทั่วบริเวณ พระอาจารยฝ์ ้นั ไดใ้ ห้พวกญาติโยม
วัน พอน้ำแห้งก็โกยดินกันใหม่ให้ลึกลงไปกว่าเก่า ปัดกวาดทำความสะอาดจนกระท่ังมีสภาพ
ก็มีน้ำซึมออกมาให้ใช้อีก เป็นอยู่เช่นนั้นประมาณ เรยี บรอ้ ยน่าดูข้นึ
เดอื นเศษ พอขดุ ลกึ ลงไปโพรงอนั กวา้ งใหญ่ ๒ – ๓ ถึงวันวิสาขบูชาเดือน ๖ พระอาจารย์ฝ้ัน
โพรงซ่ึงอยู่ใต้ดินก็ทะลุถึงกันเข้าเอง เป็นเหต
ุ ได้นำญาติโยมทำพิธีเวียนเทียน เสร็จแล้วเทศนา
ใหก้ ลายสภาพเป็นอา่ งใหญ่ ขนาดลงไปยืนแลว้ ย่ืน อบรมสงั่ สอนตลอดทง้ั คนื ทา่ นนง่ั เทศนใ์ ตต้ น้ ลน่ั ทม
284
อ่างเกบ็ นำ้ บนถำ้ ขาม
จนสว่างคาตา มีชาวบ้านขึ้นไปร่วมงานมากเป็น ท่านไปทำท่ีพักขวางทางเข้า มันจึงหลบหนี ไม่
พเิ ศษ ธปู เทยี นบชู าสวา่ งไสวไปหมดทงั้ ภเู ขา ตอ่ มา กลำ้ กรายเขา้ มาอีกเลย
พระอาจารย์ฝั้น ได้ให้ญาติโยมช่วยกันทำท่ีพักมี เป็นอันวา่ ในปี พ.ศ. ๒๔๙๗ พระอาจารย์
หลังคาและฝาก้ัน เพื่ออาศัยจำพรรษาท่ีถ้ำขามใน ฝั้นได้จำพรรษาอยู่บนถ้ำขาม โดยมีพระภิกษุอีก
ปีนั้น แต่การจำพรรษาจะให้พระภิกษุสามเณร
๓ รปู กบั สามเณรอกี ๓ รปู รว่ มจำพรรษาอยดู่ ว้ ย
อยู่กันน้อยรูปท่ีสุด เพราะลำบากเกี่ยวกับอาหาร แม้จะอดอยากอย่างไรก็มิได้ถือเป็นอุปสรรค
การฉัน หมู่บ้านก็อยู่ไกล บิณฑบาตไปไม่ถึง เพราะท่ีน่ันไกลจากหมู่บ้าน ต้องเดินเท้าเปล่า
ท่านปรารภด้วยวา่ ไดพ้ บสถานท่ีอนั เหมาะแกก่ าร จากถนนใหญ่ไปอีกเป็นระยะทางถึง ๒๐ กว่า
บำเพ็ญเพียรอย่างสมบูรณ์แล้ว ท่านเองไม่ลงไป กโิ ลเมตร การบิณฑบาตจงึ ไม่อาจกระทำได
้
จำพรรษาขา้ งลา่ งอยา่ งแนน่ อน แลว้ ทา่ นกเ็ ลอื กทพ่ี กั
สำหรบั จำพรรษา คอื กฏุ ขิ องทา่ นทอ่ี ย่บู นถ้ำขาม แตใ่ นพรรษานนั้ มชี าวไร่ ๓ ครอบครวั ขน้ึ ไป
ในปจั จบุ นั ชาวบา้ นเรยี กวา่ ถำ้ เสอื เมอ่ื ขน้ึ ไปพกั ใหมๆ่ ทำไรพ่ รกิ บนภเู ขาอกี ลกู หนง่ึ และมศี รทั ธานมิ นตพ์ ระ
เสือตัวนี้ยังข้ึนลงเข้าออกอยู่เป็นประจำ ต่อมาเม่ือ ไปบิณฑบาตเป็นประจำ จึงไม่ถึงกับอดอยากกัน
285
เท่าไรนัก ส่วนพระอาจารย์ฝ้นั น้นั ท่านได้ตกลงใจ ออกจากบา้ นไปใสบ่ าตร เมอื่ ใสบ่ าตรแลว้ กแ็ ยกยา้ ย
ไม่ฉันข้าว ฉันแต่หน่อไม้กับผลไม้เท่าท่ีมีเท่าน้ัน กนั กลบั
หน่อไม้ก็ฉันกับน้ำปลาตลอดท้ังพรรษา เมื่อออก ถงึ ฤดแู ลง้ ปี พ.ศ. ๒๔๙๘ พระอาจารยฝ์ น้ั
พรรษาแล้ว ท่านก็ยังฉันแต่หน่อไม้และผลไม้ต่อ ปรารภกับบรรดาญาติโยมท่ีไปปฏิบัติท่านว่า
มาอีกเป็นเวลาถึงเดือนเศษ รวมแล้วเป็นเวลาถึง ผู้คนท่ีข้ึนไปปฏิบัติท่านเพ่ิมจำนวนขึ้นทุกวัน
๔ เดอื นเศษทท่ี า่ นไมไ่ ดฉ้ นั ขา้ วเลยแมแ้ ตเ่ มลด็ เดยี ว
ศาลาโรงธรรมที่มีอยู่ไม่แข็งแรงและไม่เพียง
ก็น่าแปลก ปกติเมื่อหมดฤดูกาลแล้ว พอแก่การพักอาศัย สมควรที่จะสร้างศาลา
หนอ่ ไมจ้ ะไม่งอก แต่ปนี น้ั มีหนอ่ ไมใ้ ห้ทา่ นฉนั โรงธรรมอันเป็นท่ีพักให้ถาวรข้ึน ญาติโยม
ตลอดปี
ทั้งหลายก็เห็นพ้องด้วย จึงช่วยกันจัดหา
เมอื่ ออกพรรษาแลว้ ทา่ นไดพ้ าญาตโิ ยมซ่ึง อุปกรณก์ ารก่อสรา้ ง โดยตกลงใหพ้ ระอาจารย์
เสรจ็ จากการทำนาไปทำสระน้ำบนหลังถำ้ และตดั ฝั้นเปน็ ผอู้ ำนวยการสร้างด้วยตวั ของทา่ นเอง
เสน้ ทางลงมาบณิ ฑบาต โดยวธิ นี ดั พบกนั กลางทาง การลำเลียงอุปกรณ์ก่อสร้างข้ึนไปบนภูเขา
กลา่ วคอื ทางพระเดนิ จากถำ้ ลงมา ชาวบา้ นเดนิ ทาง
ครั้งนั้นเต็มไปด้วยความยากลำบากเป็นอย่างยิ่ง
บรรยากาศอันเตม็ ไปดว้ ยความชุ่มชืน้ บนถำ้ ขาม
286
ทั้งพระท้ังเณรพร้อมด้วยชาวบ้านต้องใช้กำลังกาย
แบกหามวสั ดตุ า่ งๆ ขนึ้ ไป เสาบางตน้ ยาวตง้ั ๑๑ –
๑๒ เมตร แตถ่ งึ กระนน้ั กไ็ มม่ ใี ครยอ่ ทอ้ ระหวา่ งนน้ั
ชาวบ้านได้ทราบข่าวว่า พระอาจารย์ฝั้นจะสร้าง
ศาลาโรงธรรม ก็พร้อมใจกนั ขนึ้ ไปชว่ ยอย่างคับคงั่
จนกระทั่งการขนอุปกรณ์การก่อสร้างสำเร็จลงโดย
ไม่มใี ครเห็นแกค่ วามเหน่ือยยาก
เมื่อถึงวันยกเสา ชาวบ้านท้ังใกล้ กอ้ นหนิ จงึ สนั้ บา้ งยาวบา้ ง เมอ่ื พระอาจารยฝ์ น้ั สงั่ ให้
และไกล ไดข้ นึ้ ไปชว่ ยอยา่ งพรอ้ มเพรยี ง ตัดและบากเสาให้เป็นปากสำหรับรับคานเรียบร้อย
และในท่ีสุด การยกเสาขึ้นตั้งโดยการ แล้วทุกต้น จึงใหย้ กขึ้นตง้ั หมดทุกเสา
ควบคมุ ของพระอาจารยฝ์ นั้ กส็ ำเรจ็ ไปได้ ปรากฏวา่ เสาทกุ เสาตงั้ ไดท้ ท่ี กุ ตน้
อยา่ งน่าอัศจรรย
์ โดยไม่ต้องแก้ไขหรือขยับเขย้ือนเลย
ที่ว่าน่าอัศจรรย์ก็เพราะว่า พ้ืนที่ท่ีจะปลูก มหิ นำซำ้ ทงั้ ๆ ทตี่ ้งั เสาขึ้นบนหนิ เสา
สรา้ งศาลาโรงธรรมนน้ั ไมเ่ สมอกนั สงู ๆ ตำ่ ๆ และ ทุกต้นก็แน่นปั๋ง ราวกับฝังลึกลงในดิน
ระเกะระกะไปด้วยก้อนหิน เสาทุกต้นท่ีขึ้นตั้งบน เปน็ เมตรๆ
ศาลาโรงธรรมหลงั เกา่ บนถำ้ ขาม ปจั จุบันไดเ้ ปล่ียนแปลงเป็นอาคารถาวรไปแล้ว
ชาวบ้านที่ขึ้นไปช่วยต่างกลัวกันว่าเสาจะ บางคนก็ลงจากเขากลับบ้าน แต่ส่วนใหญ่พักค้าง
ลม้ ทับ แต่พระอาจารย์ฝ้นั ปลอบวา่ ไม่เปน็ ไร ตัง้ ใจ กันอยูบ่ นเขา เพอ่ื ช่วยงานต่อไปในวันรงุ่ ข้นึ
ทำไปเถอะ และไมย่ อมใหช้ าวบา้ นตคี ำ้ ยนั เพอ่ื กนั ลม้ คืนน้ัน พระอาจารย์ฝั้นได้ลงไปทำวัตร
ท่านบอกชาวบ้านว่า ถ้าไม่เช่ือผลักดูก็ได้ว่ามนั จะ สวดมนต์แล้วเทศนาสั่งสอน และแนะนำให้พวก
ลม้ ไหม ชาวบา้ นบางคนไดเ้ ขา้ ไปผลกั ดเู ขยา่ ดู เมอื่ ชาวบ้านภาวนาพุทโธกันเข้าไว้ อย่าหลับนอนให้
เหน็ วา่ ตงั้ อยบู่ นหนิ ไดอ้ ยา่ งแนน่ หนาทกุ ตน้ กไ็ ดแ้ ต่ มากนัก เม่ือแนะนำเสร็จก็ให้ไปพักผ่อนกันได ้
ประหลาดใจ แตล่ ะคนไมก่ ลา้ พดู อะไรไดแ้ ตม่ องหนา้ พอตกดึกเงยี บสงดั บรรดาญาติโยม ๓ – ๔ คน
กนั ไปมา
ท่ีพักอยู่ในถ้ำต่างได้ยินเสียงผู้คนนับร้อยๆ คุยกัน
เม่ือต้ังเสาเสร็จก็ตกเย็น พวกญาติโยม
ก้องถ้ำไปหมด แต่ฟังไม่ได้ศัพท์ว่าพูดเรื่องอะไร
288
289
ชาวบ้านใกลเ้ คยี งถำ้ ขาม ขึ้นไปทอดกฐิน พระภกิ ษแุ ถวบนจากซา้ ย พระอาจารย์กวา่ สมุ โน, พระอาจารย์อ่อน ญาฺ ณสิร,ิ
พระอาจารย์ฝนั้ อาจาโร, และพระราชคณุ าภรณ์ เจ้าคณะธรรมยตุ จงั หวัดสกลนคร
ส่วนแถวล่างคอื บรรดาสามเณรทีร่ ว่ มรับกฐนิ ในปีนัน้
แรกๆ กค็ ดิ วา่ ชาวบา้ นบางคนลกุ ข้ึนมาคุยกัน แต่ ท่ีผ่านเหตุการณ์มาเม่ือคืน ได้แต่มองหน้ากันอย่าง
เมื่อมองไปรอบๆ ก็เห็นทุกคนนอนหลับ จึงรู้สึก ประหลาดใจ ทำไมพระอาจารย์ฝั้นจึงทราบได้ว่า
เอะใจและนกึ กลวั ขน้ึ มาทนั ที จะนอนกน็ อนไมห่ ลบั เมอื่ คืนกลัวกนั มากจนหลบั ไมล่ งกไ็ มท่ ราบ
ไดแ้ ตจ่ บั กลมุ่ สดบั เหตกุ ารณจ์ นกระทง่ั ตี ๔ เศษ จงึ ในท่ีสุด ศาลาโรงธรรมหลังถาวร ภายใต้
ไดล้ กุ ไปถามพระภกิ ษรุ ปู หนงึ่ ดวู า่ เปน็ เสยี งอะไรกนั แน่ การอำนวยการสร้างของพระอาจารย์ฝ้ันก็สำเร็จ
แตพ่ ระภกิ ษรุ ปู นนั้ ไมย่ อมตอบ เพยี งแตแ่ นะนำใหไ้ ป ลง ในการนี้ได้มีการสร้างกุฏิที่พักอาศัยของ
ถามพระอาจารยฝ์ นั้ เอาเอง แลว้ ทา่ นกช็ วนชาวบา้ น พระอาจารยฝ์ น้ั ขนึ้ ใหมด่ ว้ ย พรอ้ มทง้ั ทำสระนำ้ ใหญ่
๓ – ๔ คนน้นั ไปเดนิ จงกรมด้วยกนั บนหลังถำ้
บนหลังถ้ำเพ่ือเป็นที่เก็บน้ำฝนมาจนกระทั่ง
เช้าวันน้ัน พระอาจารย์ฝ้ันขึ้นไปบนศาลา ปัจจุบัน นับว่าได้อำนวยประโยชน์แก่บรรดา
ก็ทักทายกับพวกญาติโยมทันที ว่าเป็นยังไงบ้าง ศิษยานุศิษย์ และบรรดาญาติโยมท้ังหลายเป็น
เมื่อคืนน่ังกลัวจนนอนไม่หลับทีเดียวหรือ ได้ยิน อย่างยิ่ง
พวกเทพเขามาอนโุ มทนาสาธกุ ารกนั หรอื เปลา่ เขา
มี เ ร่ื อ ง น่ า บั น ทึ ก ไ ว้ ใ น ท่ี นี้ อี ก เ รื่ อ ง ห นึ่ ง
มาอนุโมทนากันตัง้ มากมาย พวกโยม ๓ – ๔ คน กลา่ วคอื ก่อนจะลงมอื สร้างศาลาโรงธรรมดงั กล่าว
290
(บน) พระประธาน (องค์กลาง) ในศาลาโรงธรรมบนถ้ำขาม
(ล่าง) ศาลาโรงธรรมหลงั นเ้ี ป็นท่ฉี นั จงั หนั รวมของพระภิกษสุ ามเณร
291
ได้เกิดปัญหาแก่บรรดาญาติโยมทั้งหลายข้ึนมาว่า
ชดุ แรกใหถ้ างทางขน้ึ ไปกอ่ น ชดุ หลงั หามพระประธาน
องคพ์ ระประธานซง่ึ เจา้ ภาพจดั สง่ ไวท้ บ่ี า้ นคำขา่ นน้ั ตามขน้ึ ไป เมอื่ ลงมอื กนั เขา้ จรงิ ๆ ปรากฏวา่ ชดุ ท่ี
ทำอยา่ งไรจงึ จะอญั เชญิ ขนึ้ ไปใหถ้ งึ ถำ้ ขามได้ เพราะ ถางทางข้นึ ไปกอ่ น ทำงานไม่ทัน เพราะเปน็ ป่ารก
ระยะนนั้ ถนนสำหรบั ขนึ้ ลงยงั ไมม่ ี ทางคนเดนิ แมจ้ ะ เต็มไปด้วยขวากหนาม ชุดที่หามพระประธานขึ้น
มีอยู่ แต่จะขึ้นลงแต่ละทีก็แสนลำบากมากอยู่แล้ว ไปไม่อาจหยุดรอได้ เพราะพระประธานหนักมาก
แต่พระอาจารย์ฝ้ันได้บอกบรรดาญาติโยมท้ังหลาย จะวางลงหรือยกข้ึนแต่ละคร้ังลำบากเป็นที่สุด
ว่าไม่ยาก ให้พากันหามขึ้นไปเลย โดยมีคนถาง เน่ืองจากสภาพพื้นที่สูงชันและเต็มไปด้วยก้อนหิน
ทางนำหน้าข้ึนไปก่อน ฝ่ายท่ีหามพระประธานก็ ระเกะระกะ จึงจำเป็นต้องแซงชุดท่ีถางทางข้ึน
ให้หามตามไปเร่ือยๆ หากจะตัดทางให้เสร็จก่อน ไปก่อน เมอ่ื แซงไปแลว้ ก็บกุ ต่อไปโดยไมห่ ยดุ ยง้ั
แลว้ หามพระประธานขน้ึ ไปกจ็ ะเสยี เวลาไปอยา่ งนอ้ ย เพราะทางชนั ขึ้นตลอดเวลา ชุดทถี่ างทางล่วงหน้า
ถงึ ๕ วัน จงึ จะตดั ทางไดส้ ำเรจ็ อีกประการหน่งึ จงึ พากันวางมดี ชว่ ยกนั ผลดั เปลี่ยนทำหนา้ ทห่ี าม
พระอาจารย์ฝั้นจะต้องจากถ้ำขามไปในงานประชุม รว่ มขบวนไปดว้ ย จนในทสี่ ดุ กอ็ ญั เชญิ พระประธาน
ประจำปีของคณะศิษย์พระอาจารย์มั่น ที่วัดป่า ขึ้นไปถึงถ้ำขามได้สำเร็จภายในระยะเวลาเพียง
สุทธาวาส ไม่มีเวลาพอจะรอได้ ชาวบ้านก็สนอง ไม่ก่ชี ว่ั โมง
เจตนาของทา่ น ดว้ ยการแบง่ กำลงั ออกเปน็ สองชดุ ในบางโอกาส บรรดาญาตโิ ยมกข็ นึ้ ไป
ทำบุญใส่บาตรในศาลาโรงธรรมหลงั นี้
292
น่าสังเกตว่า ในขณะที่ชาวบ้านช่วยกัน ขนึ้ ไปจนถงึ ทจ่ี า้ งเกวยี นนง่ั ไปจนถงึ เขาแลว้ เดนิ ขน้ึ
หามพระประธานขน้ึ ไปนน้ั ผคู้ นชลุ มนุ วนุ่ วายถงึ กม็ ี ทข่ี น้ึ ไปแลว้ ตอ้ งพกั เหนอ่ื ยคา้ งคนื กม็ มี าก ทาง
ขนาดลม้ ลกุ คลกุ คลานอยตู่ ลอดเวลา หลายตอ่ รถยนตท์ ส่ี รา้ งขนึ้ ไปจนถงึ ถำ้ ขามในทกุ วนั นน้ี น้ั เกดิ
หลายคนลม้ ลงไปในดงขวากหนาม นา่ จะไดร้ บั จากนายช่างวิศวกรท่านหน่ึง อุปสมบทแล้วข้ึนไป
บาดเจบ็ หรือมีบาดแผลกนั บ้าง แต่น่าอศั จรรย์ จำพรรษาอยบู่ นถำ้ ขามในปี พ.ศ. ๒๕๐๗ เมอ่ื จวนจะ
เป็นอย่างยิ่ง ทุกคนปลอดภัยไม่มีใครได้รับ ออกพรรษาได้เกิดศรัทธาจะทำทางรถยนต์ขึ้นลง
บาดเจบ็ เลยสักคน
ถำ้ ขามใหไ้ ด้ จงึ ออกสำรวจทางหลงั ถำ้ แลว้ ทำทาง
และในปนี น้ั เอง มขี อ้ นา่ สงั เกตอกี ประการหนง่ึ ลงมาจนสำเรจ็ ยงั ผลใหร้ ถยนตว์ ง่ิ ขน้ึ ลงไดจ้ นปจั จบุ นั
วา่ ไดม้ คี ณะศษิ ยท์ างกรงุ เทพฯ พากนั ขน้ึ ถำ้ ขามไป ในพรรษาปี พ.ศ. ๒๔๙๘ พระอาจารยฝ์ ้นั
นมสั การพระอาจารยฝ์ น้ั เปน็ จำนวนมาก แมก้ ารขน้ึ คงจำพรรษาอยบู่ นถำ้ ขามพรอ้ มดว้ ยพระภกิ ษุ ๔ รปู
ถำ้ ขาม จะเปน็ ไปดว้ ยความยากลำบากกย็ งั อตุ สา่ ห์ กบั สามเณรอกี ๓ รปู เทา่ กบั พรรษากอ่ น ในฤดแู ลง้