The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

อนาลโย ผู้ไม่มีความอาลัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-03-05 21:50:15

อนาลโย ผู้ไม่มีความอาลัย

อนาลโย ผู้ไม่มีความอาลัย

Keywords: อนาลโย ผู้ไม่มีความอาลัย,หลวงปู่ขาว อนาลโย

แทบโยก ปกตผิ ้าขาวเจ้าของกระต๊อบนนั้ เป็นคนหหู นกั
อาจจะไมไ่ ด้ยินเสียงผิดปกติระหวา่ งชา้ งมันยื่นงวง
เขา้ มาหยิบรองเทา้ โยกบันได แตเ่ ม่ือถึงคราวฝา
กระตอ๊ บของแกโยก ผา้ ขาวกอ็ ดทจี่ ะร้สู กึ ไม่ได้ พอเหน็
ว่าเป็นชา้ งป่า แกก็กระโจนหนีไปหาหลวงปูท่ ่ีกุฏิทันที
ตัวส่ันงันงก พูดไมอ่ อกไปพักใหญ่ เสียเวลาซักไซ้
ไล่เลยี งกันนานกวา่ จะรู้เรือ่ งและตง้ั สติได้

การท่ีมีสัตวป์ ่าเขา้ มาเยี่ยมกรายเราบ่อยๆ นี้
ท�ำใหบ้ รรดาพระเณรพากันระมัดระวังตัว ตั้งอก
ตั้งใจบ�ำเพ็ญความเพียรอยา่ งขะมักเขมน้ มิได้
ประมาทเลย

ทุกขภ์ ัยยอ่ มไม่มแี กผ่ ู้สงบ

ออกพรรษา ขา้ พเจ้าได้ลาหลวงปขู่ าวออกเดนิ วเิ วก
มาทางภวู ัว พอกลับจากภูวัวมาถึงดงหม้อทองก็ไมไ่ ด้
พบท่าน เพราะหลวงปูข่ าวทา่ นไดก้ ลับไปวัดป่าแก้ว
บ้านชุมพล แลว้

พอออกพรรษาท่ี ๑๓ ข้าพเจา้ ไดเ้ ดินทางไป
ทางภูวัวอีก ในระยะนห้ี ลวงปขู่ าวท่านไดจ้ ำ� พรรษาอยู่
ที่บา้ นเล่ือมทางทิศตะวันตกของจังหวัดอุดรฯ เพราะ
ท่านเจา้ คณุ ธรรมเจดีย์ (จมู พันธโุ ล) ได้อาราธนาทา่ น
ให้ไปฉลองศรัทธาชาวบ้านเลื่อม ทา่ นจึงไปจ�ำพรรษา
ท่ีน่ัน เมื่อออกพรรษาแลว้ ท่านทราบว่าขา้ พเจ้าธุดงค์
ไปที่ภูวัว ท่านก็แต่งญาติโยมใหม้ าหาขา้ พเจ้าท่ีภูวัว
ใหข้ า้ พเจ้าไปรบั ท่านเพอ่ื จะไปจำ� พรรษาทภ่ี วู วั ด้วยกนั

344

ขา้ พเจา้ จงึ ไปรบั ท่านจากทอ่ี ดุ รฯ มาเพอ่ื ลำ� หว้ ยซงึ่ มนี ำ�้ ตลอดปี เฉพาะบนหลงั ถำ�้
ไปจ�ำพรรษาที่ภูววั มีแอ่งน้�ำซับเล็กๆ ซึ่งแม้จะเล็กขนาด
เส้นผ ่าศูนย ์ก ลางเพีย งเมตรเดีย ว
ภูวัว เป็นเทือกเขาสลับซับซอ้ นแผ่ แต่ก็มีน�้ำซับไหลรินมาตลอด ไม่เคยอด
ยาวในทิศที่ขนานไปกับแมน่ �้ำโขงยาว ไม่เคยหมด พระเณรอย่จู ำ� พรรษารวมกนั
นับเป็นสิบๆ กิโลเมตร ติดต่อกันเปน็ ถึง ๑๔ องค์ แตก่ ็สามารถอาศัยใช้น้�ำ
อาณาบริเวณอันกว้างใหญห่ ลายสิบ จากแอ่งน้�ำซับเล็กนั้นได้ตลอดเวลา
ตารางกิโลเมตร บนหลังเขาหลายตอน สมัยน้ันภูวัวยังบริบูรณด์ ้วยสัตวป์ ่า
เปน็ พนื้ ทรี่ าบ มบี รเิ วณกว้าง มโี ขดเขาและ นานาชนิด ดังนั้นจ�ำพวกชา้ ง หมี เสือ
พลาญหนิ กวา้ งใหญไ่ พศาล มนี ำ�้ ตกและ จึงเดินกรายเขา้ มาในเขตวัดบ่อยๆ
แอ่งนำ้� อย่างงดงาม ตอนทเี่ ปน็ ป่าดงดบิ พวกงูจงอางและงูอนื่ ๆ กม็ ีมากเชน่ กนั
กเ็ ตม็ ไปด้วยสงิ สาราสตั ว์ เช่น เสอื ชา้ ง
กวาง เกง้ วัวกระทิง ลิง หมี เป็นท่ีซึ่ง วั น ห นึ่ ง ห ล ว ง ปู ่ข า ว ไ ป ภ า ว น า ท่ี
พ่อแมค่ รูบาอาจารย์แตก่ ่อนเคยไปวิเวก ถ้�ำยาวบนหลังถ�้ำฝุ่น ลืมตาเห็นงูใหญ่
บ�ำเพ็ญความเพียรกันมามากแล้ว เชน่ ตัวหน่ึงเล้ือยออกมาชูคอแผพ่ ังพาน
พระอาจารย์เสาร์ กนั ตสโี ล พระอาจารย์ ตั้งท่าจะฉกจะกัดท่าน หลวงปู่ก็ภาวนา
อ่อน ญาณสริ ิ พระอาจารยฝ์ ั้น อาจาโร เฉยอยูแ่ ละแผ่เมตตาให้มัน ทา่ นเลา่ วา่
พระอาจารย์วัง ฐิติสาโร ท่านพระครู งูนั้นแลบลิ้นแผลบ่ ๆ ตั้งทา่ ฉกซ้�ำๆ อยู่
อดุ มธรรมคณุ (ทองสขุ สจุ ติ โต) เป็นอาทิ สุดทา้ ยก็กลับนิ่งเหมือนตกอยู่ในภวังค์
ตา่ งล้วนแต่เคยขึ้นไปธุดงค์บ�ำเพ็ญ อาการท่ีชูคอแผ่พังพานของมันก็ค่อย
ภาวนาบนภูวัวกันมาแล้วทั้งสิ้น ลดต�่ำลงและสุดทา้ ยมันก็ลดหัวต่�ำลง
จนจรดพื้นนิ่งเหมือนยอมคารวะอยู่
ในพรรษาที่ ๑๔ นี้ ข้าพเจ้าได้จัด พักหน่ึง แลว้ จึงเลื้อยหนีเขา้ โพรงถ้�ำ
สรา้ งเสนาสนะถวายหลวงปูข่ าวที่บน หายไป หลวงปู่เล่าวา่ งูตัวน้ีเป็นนาค
หลงั ถำ้� แกว้ ตาดปอ เขตบา้ นทงุ่ ทรายจก ไมถ่ ูกจริตนิสัยกับทา่ น จึงมาหลอกลอ้
ด้วยเห็นเป็นท่ีสงบสงัดและมีพลาญหิน ต้ังท่าจะกัด แตท่ า้ ยท่ีสุดก็ยอมอ่อนให้
อันกวา้ งใหญ่ ด้านใตข้ องถ�้ำแก้วมี กับอ�ำนาจการแผ่เมตตาของท่าน

345

บนตาดปอ นอกจากจะอุดมดว้ ยสัตว์ปา่ แลว้
ยงั มพี วกภตู ผปี ีศาจมารบกวนพระเณรดว้ ย พระเณร
จะนอน ก็มาปลุกบา้ ง ดึงแขนดึงขาบา้ ง ให้ต่ืน
ทำ� ความเพยี ร มพี ระเณรเจบ็ ป่วยกนั มากซง่ึ อาจจะ
เป็นเพราะผิดอากาศก็เปน็ ได้ ทางชา้ ง เสอื สตั ว์ปา่
ก็มาก เม่ือเป็นเช่นน้ีหลวงปู่ขาวจึงใหข้ ้าพเจ้าน�ำ
เรอื่ งนไ้ี ปพจิ ารณาดู ข้าพเจา้ พจิ ารณาแลว้ ได้ความ
ว่า “เยสนฺตา” แปลวา่ ผูส้ งบ ไม่เดือดรอ้ น ไมม่ ี
ความทกุ ข์ใดๆ ภยั อันตรายไมม่ แี ก่ผมู้ ีความสงบ

วนั ตอ่ มาเมอื่ ขา้ พเจ้าเข้าไปกราบนมสั การหลวงปู่
ทา่ นจึงถามวา่ “ได้ความไหม” จึงกราบเรียนทา่ นว่า
“ไดค้ วาม” ท่านวา่ “ได้ความอย่างไร” กเ็ รยี นท่านว่า
“เยสนฺตา” แปลว่า “ความเปน็ ผูส้ งบจะไมม่ ีความ
เดือดร้อน ความทุกขใ์ ดๆ ความเดือดรอ้ น ความ
ทกุ ข์ภยั ใดๆ จะไมม่ แี กผ่ ้สู งบ” ทา่ นจงึ ว่า “จรงิ ๆ ถกู
ทเี ดยี ว” และท่านได้กลา่ วบาลตี ่อไปอกี ว่า “นตถฺ ิ สนตฺ ิ
ปรํ สุขํ” ความสุขใดย่ิงกว่าความสงบไม่มี ผู้มี
ความสงบแล้วไมม่ ีความทกุ ขค์ วามเดอื ดรอ้ นอะไร
ความทกุ ขค์ วามเดอื ดร้อนไม่มแี กผ่ สู้ งบ จงึ ว่า สขุ อน่ื
ยงิ่ กว่าสงบไม่มี จรงิ ทเี ดยี ว”

ในพรรษาท่ี ๑๔ นี้ มีแม่ชีซ่ึงเปน็ ลูกหลาน
หลวงปูข่ าวมาจ�ำพรรษาอยูด่ ว้ ย ได้เปน็ ก�ำลังช่วยใน
การประกอบอาหารถวายพระเณรมาก เพราะตาดปอ
อยู่ไกลหมูบ่ ้านมาก อาหารที่บิณฑบาตได้ไมค่ ่อย
พอขบฉัน ต้องอาศัยศรัทธาญาติโยมมาสง่ เสบียงให้

346

แมช่ ีชว่ ยท�ำอาหารถวายจังหันเพิ่มเติม ตอ่ ที่ภูววั พักอยจู่ นใกล้จะเข้าพรรษาจงึ
พรรษานมี้ แี ม่ชคี นหนงึ่ ชอ่ื ชหี ลอด ไดม้ า กลบั ไปจำ� พรรษาทด่ี งหม้อทองเหมอื นเดมิ
ตายท่ีภวู ัว
เมอ่ื ออกพรรษาที่ ๑๕ แลว้ ข้าพเจา้
ขณะจ�ำพรรษา กลางคืนกพ็ ากนั ไป ก็กลับไปนมัสการหลวงปู่ขาว ฟังเทศน์
กางกลดหาทวี่ เิ วกภาวนาตามพลาญหนิ รับการอบรมจากทา่ นตอ่ ไปตามเคย
ที่หลังตาดปอน้ันเป็นท่ีเว้งว้าง อากาศ เม่ือใกลเ้ ขา้ พรรษาที่ ๑๖ ขา้ พเจ้าก็ชวน
สงดั สงบดมี าก มีท่ีวิเวกดีมาก กลางคนื ทา่ นพระอาจารยบ์ ุญเพ็ง เขมาภิรโต
เดือนหงายก็แยกยา้ ยกันไปหาที่วิเวก เจา้ อาวาสวัดถ้�ำกลองเพลปจั จุบัน
ตามชายป่าบา้ ง ตามหนา้ ผาบ้าง หลัง กลับมาจ�ำพรรษาท่ีดงหมอ้ ทองอีก
พลาญหนิ บา้ ง ต่อรงุ่ สวา่ งจงึ พากนั กลับ คร้ันออกพรรษา ขา้ พเจา้ และท่านพระ
มาวดั แลว้ ไปบณิ ฑบาต หลวงปทู่ า่ นเปน็ อาจารย์บุญเพ็ง กลับไปหาหลวงปูข่ าว
ผู้น�ำหมู่คณะลูกศิษยไ์ ปบิณฑบาตเป็น มาฟังเทศนฟ์ งั โอวาทจากทา่ นระยะหนง่ึ
ประจ�ำมไิ ดข้ าด ขา้ พเจา้ ก็กราบนมัสการลาทา่ นออกไป
วเิ วกต่อเพียงผเู้ ดียว
เมอื่ ปวราณาออกพรรษาแลว้ ตา่ งก็
เตรียมแยกยา้ ยจากกัน พวกญาติโยม จนกระท่ังพรรษาที่ ๒๖ นี้ (พ.ศ.
ลูกหลานไดน้ ิมนต์หลวงปู่ขาวให้กลับ ๒๕๑๑) ข้าพเจ้าไดก้ ลบั มาอยจู่ ำ� พรรษา
ส�ำนักเดิม คือวัดปา่ แกว้ บ้านชุมพล รว่ มกับหลวงปูข่ าวอีกวาระหน่ึง ตอนนี้
สว่ นข้าพเจ้าไดร้ บั นมิ นต์จากญาตโิ ยมทาง ท่านได้จากวดั ป่าแกว้ บ้านชมุ พล มาอยู่
นครเวยี งจนั ทร์ ประเทศลาว ให้ไปชว่ ยงาน ทวี่ ัดถำ�้ กลองเพลแล้ว ได้อย่ปู ฏิบัติทา่ น
ฌาปนกิจศพทา่ นพระอาจารย์ออ่ นศรี ฟงั ธรรมเทศนารับการอบรมจากทา่ น
เมอ่ื เสรจ็ งานศพท่านพระอาจารย์อ่อนศรี โดยใกลช้ ิด ในระหวา่ งกลางพรรษาได้
แ ล ้ว ก็ พ า กั น เ ดิ น วิ เ ว ก ข้ึ น ไ ป บ น ย อ ด มกี ารท�ำบญุ ฉลองอายขุ องหลวงปู่
ภูเขาควาย ของประเทศลาว พักอยู่
พ อ ป ร ะ ม า ณ ห น่ึ ง ก็ เ ดิ น ท า ง ก ลั บ ม า ออกพรรษา เสร็จกิจการงานทาง
ประเทศไทยมาพักวิเวกบ�ำเพ็ญภาวนา ถำ้� กลองเพลแล้ว ข้าพเจ้ากน็ มสั การลา
หลวงปอู่ อกเท่ยี ววิเวกตอ่ ไป

347

พระครูวรี ธรรมานุยุต ท�ำบุญกับพระอรหันต์
(หลวงปูพ่ วง สวุ โี ร) ชว่ ยโยมแมไ่ ด้พน้ ทุกข์

วดั ปา่ ปลู สู ันติวัฒนา หลงั จากท่ีหลวงปู่พวงไดบ้ วชแล้ว (พ.ศ. ๒๔๙๓)
อำ� เภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี ทา่ นไดก้ ราบลาหลวงปสู่ ลี า อสิ สโร ไปอย่กู บั หลวงป่ขู าว
อนาลโย ท่ีหวายสะนอย
(ข้อมลู จากหนังสือสุวโี รเถรานุสรณ)์
วนั หนงึ่ เมอื่ ภาวนาแล้วจติ สงบ ปรากฏเหน็ โยมแม่
หลวงปพู่ วง สวุ โี ร มรณภาพดว้ ย ท่ีเสียชีวิตไปแล้วอยูใ่ นสภาพทุกขย์ ากล�ำบาก พักอยู่
โรคหวั ใจ ณ โรงพยาบาลต�ำรวจ ในเพงิ หมาแหงน เสอื้ ผา้ ขาดกระรงุ่ กระรงิ่ ตะกรา้ หมาก
กรุงเทพฯ วันท่ี ๒๒ มกราคม วา่ งเปลา่ หลวงปจู่ งึ เกิดความสงสยั เพราะลกู กเ็ คยบวช
พ.ศ. ๒๕๔๖ หลายคน แล้วยังเคยท�ำบุญให้ทานถวายจังหันถวาย
กฐินอยูเ่ ปน็ ประจ�ำอีกด้วย เม่ือพิจารณาหาสาเหตุ
จงึ รวู้ า่ เพราะพระทโ่ี ยมแมท่ ำ� บญุ ดว้ ยเป็นผไู้ มร่ กั ษาศลี
ให้บรสิ ุทธ์ิ ทานท่ีโยมแม่ท�ำจงึ ไดบ้ ญุ น้อย เมื่อจิตถอน
ออกมาจึงไหวพ้ ระแลว้ อธิษฐานวา่ เมื่อไปบิณฑบาต
ขอใหค้ นใส่หมาก จะไดน้ ำ� ไปทำ� บญุ อทุ ศิ ใหโ้ ยมแม่

พอตอนเชา้ ไปบณิ ฑบาต หลวงปเู่ ดนิ เปน็ รปู ทส่ี าม
มีโยมเอาหมากมาใสบ่ าตรให้เฉพาะแตห่ ลวงปู่ ไม่ใส่
ให้รปู ทีห่ นึ่งและสอง เมื่อกลับถงึ ทพ่ี ัก ยงั ไม่ทนั ไดจ้ ดั
อาหารฉัน หลวงปู่รีบน�ำห่อหมากไปนอ้ มถวายหลวง
ป่ขู าว พรอ้ มกราบเรยี นวา่ “ขอโอกาสพ่อแมค่ รจู ารย์
เค้ยี วหมากให้แน อุทิศใหแ้ ม่” หลวงปู่ขาวทา่ นกร็ บั
ว่า “อ้ือ” แล้วทา่ นกน็ ำ� มาเคยี้ ว

ครน้ั ตกกลางคนื หลวงป่ภู าวนาจติ สงบ เหน็ โยมแม่
กินหมากปากแดง หมากพลลู ้อมตัวเตม็ ไปหมด ทัง้ ยัง

348

ห้อยย้อยอยบู่ นอากาศดว้ ย ทา่ นกม็ าพจิ ารณาอกี วา่ ทำ� อยา่ งไรโยมแม่ถงึ จะมผี า้ นงุ่
ผ้าห่ม เม่อื จติ ถอนออกมาแลว้ ก็ไหว้พระแล้วอธิษฐานจติ วา่ ขอใหไ้ ดผ้ า้ วันต่อมา
ก็มีคนเอาผ้าขาวมาถวายในเวลาท่ีไปบิณฑบาต เปน็ ผา้ ฝา้ ยดิบทอเอง เมื่อท่าน
ฉนั ภตั ตาหารเสรจ็ แล้ว กน็ ำ� ผา้ นนั้ ไปซกั แล้วยอ้ มด้วยหนิ สแี ดงแล้วนำ� ไปตาก พอแห้ง
แลว้ ก็น�ำกลับมาย้อมอีกหลายครั้ง เสร็จแลว้ พับผา้ น�ำไปวางตรงหนา้ หลวงปู่ขาว
พรอ้ มกราบเรยี นวา่ “ขอโอกาสพอ่ แมค่ รจู ารย์ บงั สกุ ลุ แน อทุ ศิ ใหแ้ ม”่ หลวงปขู่ าว

349

ท่านก็ชักบังสุกุลให้ พอเวลากลางคืนหลวงปู่ก็ภาวนา
เหน็ โยมแม่นงุ่ ผา้ ใหม่และยงั มผี ้าอกี มากมายห้อยยอ้ ย
เตม็ ไปหมด แลว้ ท่านกพ็ จิ ารณาอกี วา่ ทำ� อยา่ งไรโยมแม่
จะมที อี่ ยู่ ทา่ นจงึ อธษิ ฐานจติ ขอใหช้ าวบา้ นมานมิ นต์
หลวงปู่ไปสวดมนต์ทำ� บญุ

ตอ่ มาไมน่ านก็มีชาวบา้ นมานิมนตห์ ลวงปูข่ าว
พรอ้ มทง้ั หลวงปพู่ วงไปสวดมนต์ เสรจ็ พธิ กี ไ็ ด้รบั ถวาย
ปัจจยั มา พอตกเยน็ หลวงป่ขู าวกบ็ อกกบั พระทกุ รปู วา่
“ปัจจัยที่ได้รับมาอย่าเอาไปซื้ออยา่ งอื่นเพราะ
ไม่จำ� เปน็ พวกเราที่อยนู่ ่ี บริขารเครื่องใชก้ ม็ พี อใช้
กนั อยทู่ กุ รปู ให้ทำ� ตามคำ� ทที่ า่ นพวงอธษิ ฐาน ให้ไป
จา้ งเขาเลอ่ื ยไมท้ �ำกฏุ แิ ละถาน (ส้วม) ให้แมท่ า่ น”
หลวงป่จู งึ ไปจา้ งคนญวนทอ่ี ำ� เภอสว่างแดนดนิ มาเลอื่ ย
ไมส้ รา้ งกฏุ แิ ละถาน เสรจ็ แลว้ นมิ นตห์ ลวงป่ขู าวรบั เพอ่ื
อทุ ศิ ให้โยมแม่

คราวนไ้ี ปภาวนาตอนกลางคนื กลบั ไมเ่ หน็ โยมแม่
บรเิ วณทโี่ ยมแม่เคยอย่กู ว็ ่างเปลา่ ท่านจงึ ตามหาโยมแม่
อยูท่ ้ังคืนจนกระทั่งสว่าง จิตก็ยังไม่ถอน จนไดเ้ วลา
บิณฑบาตแลว้ เพือ่ นพระมาเคาะกุฏิเรยี ก จติ จงึ ถอน
ท่านจงึ รบี ไปบณิ ฑบาต กลบั มาฉนั เสรจ็ แลว้ กน็ ง่ั สมาธิ
เดนิ จงกรม ตามหาโยมแมท่ ง้ั วนั ทงั้ คนื จนผา่ นไป ๔ วนั
ท่านอดไม่ไดจ้ ึงไปหาหลวงปู่ขาวท่ีกุฏิ ไปเคาะประตู
ก๊อกๆๆ หลวงปูข่ าวถามว่า “มาหยัง” (มาท�ำไม)
หลวงปูพ่ วงกราบเรียนว่า “ขอโอกาสพอ่ แม่ครจู ารย์
หาแม่บ่เหน็ ” หลวงปขู่ าวทา่ นบอกว่า “ข้นึ สูงๆ”

350

หลวงป่พู วงจงึ กราบลาแล้วไปภาวนาหาต่อ กำ� หนดจติ หาบนยอดไม้สงู ๆ กไ็ มพ่ บ
หาบนยอดเขาสงู ๆ ก็ไม่เหน็ หาอยูอ่ กี หลายวันจึงมาคิดทบทวนทีห่ ลวงปู่ขาวบอก
ใหข้ ้ึนสูงๆ มันคือท่ีไหนกันแน่ หรือจะเปน็ สวรรค์ ท่านจึงรวบรวมพลังจิตทั้งหมด
ทม่ี อี ย่ตู ามหาอกี ครง้ั จติ กว็ บู ลง ปรากฏเหน็ วมิ านของโยมแม่บนสวรรค์ เหน็ รา่ งกาย
ทีเ่ ป็นทิพย์ของโยมแม่ จึงได้สบายใจว่าโยมแมไ่ ดข้ น้ึ สวรรคพ์ ้นจากทกุ ข์แลว้

ครั้นตกเย็นไปกราบหลวงปูข่ าวที่กุฏิ หลวงปูข่ าวก็พูดข้ึนทันทีวา่ “บอกให้
ข้ึนสูงๆ นานแลว้ เพิ่งข้ึนเมื่อคืนนี้เหรอ” หลวงปูพ่ วงกราบเรียนตอบท่านว่า
“ขอโอกาสพ่อแมค่ รจู ารย์ ขน้ึ เมอื่ คนื น”ี้ หลวงป่ขู าวกพ็ ดู เชงิ บ่นว่า “เฮอ้ โง่ตาย”

ในพรรษา ๑-๓ หลวงปพู่ วงไมไ่ ดอ้ ย่จู ำ� พรรษาร่วมกบั หลวงป่ขู าว แตท่ ่านยงั คง
หาโอกาสไปกราบนมัสการและศึกษาธรรมะกับหลวงปูข่ าว อนาลโย อยู่เสมอๆ
เพราะสถานท่ที ที่ ่านจ�ำพรรษาอยู่ไม่ไกลกันนัก พอเดนิ ถึงกนั ไดใ้ นวนั เดยี ว ท่านได้
มีโอกาสอยู่รว่ มจำ� พรรษากบั หลวงปขู่ าว อนาลโย ที่ดงหมอ้ ทอง จงั หวัดสกลนคร
ซึ่งตรงกับพรรษาที่ ๕ ของทา่ น

351

หลวงปู่จันทา ถาวโร อานสิ งสผ์ ลบุญของการ
อุปฏั ฐากพระอรหนั ต์
วดั ปา่ เขาน้อย
อำ� เภอวงั ทรายพูน จังหวัดพจิ ิตร หลวงปู่จนั ทา ถาวโร ก่อนทจี่ ะมาอยู่จ�ำพรรษากับ
หลวงปขู่ าว อนาลโย ณ วดั ถำ้� กลองเพล ท่านเคยพบและ
(ข้อมูลจากหนงั สอื ๘๖ ปี และ อยู่รว่ มกับหลวงปขู่ าว และพระอาจารยจ์ วน กลุ เชฏโฐ
หนังสอื อบุ ายภาวนา และพระอ่ืนๆ อีก ๗-๘ รูปดว้ ยกันที่ดงหม้อทอง
หลวงปู่จันทา ถาวโร) อ.วานรนวิ าส(ปจั จบุ นั คอื อ.บ้านม่วง)จ.สกลนครในฤดแู ล้ง
ก่อนเขา้ พรรษาปี พ.ศ. ๒๔๙๗ ดงั ค�ำทา่ นเล่าวา่
หลวงปู่จนั ทา ถาวโร มรณภาพ
ด้วยโรคชรา ณ วัดป่าเขาน้อย “สมัยนั้นอายุสังขารของผมสามสิบกวา่ เทา่ นั้น
อ.วังทรายพนู จ.พิจิตร วนั ที่ ๒๑ แข็งแรง ไมอ่ ้วนเหมือนทุกวันน้ี ไปปฏิบัติหลวงปูข่ าว
กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๕๕ ตั้งแตเ่ ดือน ๓ เพ็ญ ตลอดล่วงไปถึงเดือน ๘ เพ็ญ
คนเดยี วนะ เอาป๊บี ลงไปตกั นำ�้ ในเหวโน่นขนึ้ มา มอื สอง
ขา้ งๆ ละใบนะป๊ีบ ขึ้นมาแลว้ วิ่งไปใสก่ ฏุ ิโนน้ ว่งิ ไปใส่
กฏุ นิ ี้ แล้วกต็ ม้ นำ�้ ร้อนสรงหลวงป่ขู าว ต้มนำ�้ รอ้ นถวาย
ครูบาอาจารย์ ปฏิบัติพระแก่ไม่ใหเ้ ดือดร้อน เรื่องนำ�้
ทกุ อย่างทำ� อยูเ่ ป็นนิจ ปฏิบัติอยู่ ๕ เดือน ทำ� ดว้ ยใจ
เลอื่ มใสศรทั ธา ทำ� ด้วยความอยาก “ได้บญุ ” นน่ั แหละ
พอเดอื น ๘ เพ็ญ จะไดไ้ ปจำ� พรรษาอยูท่ ีอ่ ื่น

วนั จะออกเดนิ ทางกน็ กึ ในใจ “สาธุ ดว้ ยบญุ กรรม
ทขี่ า้ พเจ้าปฏบิ ตั สิ มณชพี ราหมณ์ผ้ดู งี ามนนี้ นั้ ขอจง
เปน็ เสบียงเปน็ ปจั จัยให้พ้นทุกขเ์ ถดิ ”

พอไปถึงวัดโชติการามที่จ�ำพรรษาแล้ว น่ังสมาธิ
ตง้ั แต่ ๖ โมงเยน็ จติ รวมลงไปสวา่ งกระจา่ งแจง้ เหมอื น
กลางวนั เหน็ บญุ ตง้ั อยขู่ า้ งหนา้ โน้น บญุ ข้างหนง่ึ เหลอื ง

352

353

ขา้ งหนึ่งขาวมน (กลม) งาม เห็นบาปตั้งอยูข่ า้ งโนน้
บาปน้ันขา้ งหนึ่งแดง ข้างหน่ึงด�ำ น่ันแหละ พอเห็น
อย่างน้นั พระธรรมกพ็ ูดข้นึ ในหัวใจวา่ “นั่น บญุ -บาป
บุญให้ผลเป็นสุข บาปใหผ้ ลเป็นทุกข์ ท่านจง
พิจารณาดู ไมน่ านบุญก็เขา้ มาเลย สวมกายพ้ึบ
เย็นกาย เย็นจิต สบาย นี่แหละผลรายได้ท่ีทา่ น
ไดส้ ะสมมา ๕ เดือน ปฏิบัติหลวงปูข่ าวและสงฆ์
ท้ังหลายน้ัน”

จากนั้นก็ให้ผลเปน็ สุขมาอีกตลอด ๓ ปีนะ
ฉันเช้าแล้ว ฉันน้�ำเสร็จ คว่�ำกาเลย ไม่เอามาข้ึนกุฏิ
เดินจงกรมวันยังค�่ำ ท�ำความเพียรอย่างนั้น ไม่ร้อน
ไม่หวิ ไมก่ ระหาย สบาย ถงึ วันใหม่ ฉันเช้าจงึ ได้ฉนั นำ�้
นน่ั แหละ ความสบายของการใหท้ าน เกิดเป็นบญุ ๓ ปี
น่ีแหละ เห็นผลเป็นอยา่ งนนั้ เหน็ ผลมาเปน็ ระยะ”

ลูกศิษยใ์ กล้ชิดหลวงปขู่ าว

จากนั้น หลวงปู่จันทา ไดม้ ีโอกาสเข้ามาอยูร่ ว่ ม
จ�ำพรรษาและไดถ้ วายตัวเป็นลูกศิษย์ในองคห์ ลวงปู่
ขาว อนาลโย ณ วัดถ้�ำกลองเพล ตงั้ แตป่ ี พ.ศ. ๒๕๐๑
เป็นต้นมา

“ปี พ.ศ. ๒๕๐๑ ขนึ้ มาถำ�้ กลองเพล มหี ลวงป่หู ลยุ
จันทสาโร และหลวงปู่ขาว อนาลโย เป็นประธานมา
ริเรม่ิ สร้างถำ�้ กลองเพลครัง้ แรก

ถ�้ำกลองเพลเปน็ วัดเก่าแก่ตั้งแต่สมัยใดไม่ทราบ
ท่ีนั่นภาวนาดี จะไปน่ังที่ไหนไปอยูท่ ี่ไหนก็สบายดี

354

อากาศสดชน่ื สมยั นนั้ เสอื มนั ยงั หลายอยู่ ค�ำสอนของหลวงปู่ขาว
ช้างมันก็ยังหลายอยู่ ค�่ำมาเสือรอ้ ง เร่อื งความเพยี รในการ
ชา้ งมันก็ร้องมาเปน็ ฝูงเดินตามป่าเขา ปฏิบัติ
ลำ� เนาไพรมาน้นั เหมอื นป่ามนั จะพงั นะ

เ ม่ื อ ขึ้ น ม า อ ยู ถ่ ้� ำ ก ล อ ง เ พ ล กั บ “การท�ำความเพียรที่จะน�ำจิต
ทา่ นแลว้ ก็เลยถวายตัวเป็นลูกศิษย์ เขา้ สูค่ วามสงบเปน็ ศีล เปน็ สมาธิ
ใกล้ชิดให้หลวงปู่ขาวไว้ใจ ไม่มีความ เป็นปัญญา เปน็ บุญกุศล เกิดขึ้นน้ัน
เกอ้ เขินในการที่จะแนะน�ำพร่�ำสอนใน ทำ� อยา่ งไร หนกั เบาอยา่ งไร ขอหลวงปู่
ขอ้ วตั รปฏิบัติ จงเมตตาเกล้ากระผมพอใจยอมตัว
เปน็ ศิษยานุศิษยป์ ระพฤติปฏิบัติตาม
แลว้ โดยไมห่ วั่นไหว”

355

หลวงปูข่ าวก็ว่า “วิธีการกระท�ำน้ัน เจริญสมถ
กรรมฐาน เดนิ ยนื นงั่ วปิ ัสสนากรรมฐาน พจิ ารณา
ค้นคว้าในรา่ งกายน้ีน้อมลงสูไ่ ตรลักษณ์เห็นแจง้
ประจกั ษท์ กุ เมอื่ ” ทา่ นกเ็ น้นอกี วา่ “การทจี่ ะทำ� จติ ให้เกดิ
สมาธิ ผลเกดิ ขนึ้ อนั แนน่ อนมน่ั คงนนั้ ศลี ต้องบรสิ ทุ ธ์ิ
ท�ำความเพียร อดนอน ผ่อนอาหาร อันนจ้ี ะนำ� จติ
เข้าสคู่ วามสงบไดเ้ รว็ อย่างชา้ เดอื นหนงึ่ อยา่ งกลาง
๑๕ วัน อย่างเรว็ ๗ วนั เห็นผลน่นั แหละ ถ้าใคร
ท�ำความเพยี รอดนอนผ่อนอาหารได้ก็จะเป็นไป”

หลวงปู่ขาวทา่ นว่าไปอยูเ่ ชียงใหม่ ๑๔ ปีกับ
หลวงป่มู นั่ คล้ายๆ กบั ไม่ได้นอนหรอก ๑๔ ปนี น่ั เพราะ
หลวงป่มู น่ั ท่านสอนว่า “ทา่ นขาว...จติ มนั หยาบ อวชิ ชา
ตัณหา มันเหนียวแน่นปกคลุมหุม้ หอ่ มาหลายภพ
หลายชาตแิ ล้วจติ น้ี ทนี ต้ี ้องทำ� ความเพยี รอย่างอกุ ฤษฏ์
ท้ังกลางวนั และกลางคนื ไม่ขาดวรรค ไม่ขาดตอน
เหมอื นลกู โซ่ไมข่ าดสาย ด้วยการอดนอน ผอ่ นอาหาร
หนักเขา้ จิตกับสติปัญญากับกายน้ีมันจะเขา้ มรรค
สามคั คกี นั แน่นแฟ้นแล้วตอ่ ไปจติ มนั กจ็ ะเขา้ สคู่ วาม
สงบได้ แลว้ จงึ จะไดแ้ สงสวา่ งและความรแู้ ละก�ำลงั
ของจิต และจะรูฉ้ ลาดตอ่ ธรรมทั้งปวงได้ ถา้ ท�ำ
ความเพยี รออ่ นกย็ ากทจี่ ะเปน็ ไปนะนกั บวช” ท่านว่า

วันหน่ึงหลวงปูข่ าวน่ังภาวนาอยู่หงายหลังล้มต้ึง
ลงไปใสฟ่ ากเลยนะ พ้ืนศาลาปูด้วยฟาก พอลุกข้นึ มา
กไ็ ปเลย ท่านอาจารย์นู คนรอ้ ยเอด็ กว็ ่า “ครูบาขาว
ท�ำความเพียร อัตตกิลมถานโุ ยค ไมไ่ ดอ้ ะไรดอก”
หลวงปขู่ าวกว็ ่า “โอ๋...โยคหรอื ไม่โยค กต็ ามเถอะ ไอเ้ จ้า
ผ้ไู ม่โยค จงตดิ สขุ อยนู่ นั่ เถอะ”

356

นี่ ผูม้ ีความเพียร ไม่หลงไปตาม ถีนมิทธะ ความงว่ งเหงาหาวนอน
ค�ำพูดของใครท้ังนั้น ๑๔ ปี ทา่ นได้ มัวมืดงว่ งซึม เปรียบเหมือนน้�ำอยูใ่ ต้
บรรลุอรหันต์พน้ ทุกข์เพราะการท�ำ จอกและแหน ถา้ เราไปกวาดจอกและ
ความเพยี รไมล่ ดละทง้ั วนั คนื นน่ั แหละ แหนออกจงึ รวู้ ่านำ�้ ใสหรอื ขนุ่ อนั นฉ้ี นั ใด
ทีนี้อาจารย์นูไมไ่ ดอ้ ะไร เพราะท�ำ ถนี มทิ ธะ จะเอาตงั้ แตค่ ณุ งามความดมี า
ความเพยี รตดิ สุขน่นั แหละ ปราบก็ไม่ไหว จะนึกถึงคุณงามความดี
ของพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์
หลวงปูจ่ ันทาไดถ้ ามหลวงปูข่ าววา่ กไ็ มไ่ หว เพราะการนอนเปน็ อาหารของ
“วิธีการที่จะอดนอน ผอ่ นอาหาร ธาตุขนั ธ์ จะออกไปท่แี จ้งๆ ลมื ตาดโู ลก
นนั้ ท�ำอย่างไร” ฟา้ อากาศสวา่ งไสวก็ไม่ไหว จะเอาผ้า
ชบุ นำ้� มาปกศรี ษะลบู ทาทว่ั กายกไ็ ม่ไหว
หลวงปู่ก็บอกว่า “ตอ้ งต้ังสัตยไ์ ว้ เพราะเหตุใด เพราะอาหารของกายนี้
ตั้งสัจจะความจริงใจมั่นลงไปเสมอ ทสี่ ำ� คญั กค็ อื นอน ทสี่ องกค็ อื กิน สง่ิ ท่ี
ไม่หว่ันไหวในชีวิตสังขาร จะเปน็ จะปราบได้มีแต่อดนอน ถ้าอดนอนก็
จะตายก็ไมว่ ่า ตั้งสัตยไ์ ว้ไตรมาส ๓ ต้องผอ่ นอาหาร
เดอื นนจี้ ะไมน่ อน เอา ๓ อิรยิ าบถ คือ
เดิน ยนื น่ัง เทา่ นั้น” ก็เลยต้ังสัตยาธิษฐานใจม่ันตอ่ หนา้
ครบู าอาจารยท์ ง้ั หลาย ไตรมาส ๓ เดอื น
ทีนี้ก็ถามหลวงปู่ขาวต่อไปอีกวา่ นจ้ี ะอดนอน ผ่อนอาหาร ทดลองรา่ งกาย
“การเดิน ยืน น่ัง อดนอน ผอ่ นอาหาร และจิตใจดูว่าจะเปน็ ไปไดไ้ หม แตถ่ ้า
ท�ำอย่างไร อะไรจะเปน็ เครื่องแก้ เจ็บไขไ้ ด้ป่วยหนักๆ ก็จะลดหย่อน
เครอ่ื งปราบเจ้าถนี มทิ ธะ จงึ จะไมเ่ ผา ผอ่ นผันให้ตามธาตุขันธ์ ทีนี้เมื่อต้ัง
ใหเ้ ร่าร้อนสัปหงกเกิดขน้ึ ” สัตยาธิษฐานแล้วก็ต้ังใจท�ำความเพียร
เดิน ยืน นั่ง ตลอดไตรมาส ๓ เดอื น
หลวงปู่ก็วา่ “อดขา้ ว ๒-๓ วัน
ฉนั ครงั้ หนง่ึ ฉนั กป็ ้ันไวเ้ ปน็ คำ� ๆ ๑, ๒, เดนิ จงกรมกา้ วขวาวา่ พทุ โธก้าวซา้ ย
๓ หยุด ถา้ มนั เพลียมากก็ใหถ้ ึง ๕ ค�ำ ว่า ธมั โม ก้าวขวาว่า สังโฆ ทางเดนิ นั้น
ก็หยุด ถา้ อดนอนตอ้ งผ่อนอาหาร ถ้าไดย้ าวเป็นเสน้ ๆ ดีมาก แตถ่ ้า
มันจึงจะเป็นเคร่อื งปราบถีนมทิ ธะ

357

ไม่ได้ก็แล้วแตส่ ถานที่น้ัน แตห่ ลวงปู่ขาวบอกวา่ ให้
ไปท�ำทางเดินจงกรมไวห้ ลายแหง่ เดินท่ีนี่จิตไม่สงบ
ฟ้งุ ซา่ น เพราะสถานทน่ี นั้ เปน็ อปั มงคลไมด่ ี ไปเดนิ ทอ่ี น่ื
นั้นจิตก็สงบเยือกเย็นดี ดึงดูด พอใจประพฤติปฏิบัติ
เพราะสถานทน่ี ั้นภมู ทิ ี่อยทู่ น่ี ัน่ เป็นสัมมาทิฏฐิ...

เดือนแรก จะเดนิ ๑ ช่ัวโมง ยืน ๑๐ นาที น่ังกต็ อ้ ง
๑ ชัว่ โมง อนั นเ้ี ป็นเกณฑ์ ตงั้ สัตยไ์ ว้ ฝึกใหไ้ ดเ้ สียกอ่ น
เดือนแรก เม่ือเขา้ สู่ทางเดินจงกรมแล้ว ยกมือขึ้น
ไหวค้ รู “พทุ โธ ธัมโม สังโฆ สรณงั คจั ฉามิ ขา้ พเจา้
จะฝึกจติ บชู าพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ ทางกาย
ทางวาจา ทางใจ ขอจงให้เป็นไปให้รธู้ รรมเหน็ ธรรม
เกิดขน้ึ ” จากนน้ั กว็ างมอื ซา้ ยไว้ใต้พกผา้ เอามอื ขวาทบั
นกี่ ็หลวงปู่ท่านสอน

ก้าวขวานึก พุทโธ กา้ วซ้ายนกึ ธัมโม กา้ วขวานึก
สังโฆ ไมใ่ ห้เดนิ เรว็ ไม่ให้เดินชา้ เดินพอหมดบาทก้าว
ขาของตัวเอง ไปถึงสุดทางเดินจงกรมทางโน้นแลว้ ก็
เลี้ยวกลบั ทางขวา ทำ� อย่างน้ัน ๓ รอบ รอบที่ ๔ หยุด
เอาอารมณ์เดียว คือก้าวขวาวา่ พุท ก้าวซ้ายว่า โธ
เท่าน้นั เมื่อครบช่ัวโมงแล้วก็ยืน ยนื ภาวนา ๑๐ นาที
ยนื หนั หน้าสทู่ ิศตะวันออก หายใจเข้า พทุ ออกว่า โธ
ผอ่ นลมใหล้ ะเอียดเข้านะ เป็นที่สบายของผู้ภาวนา
ให้มีสติอยูก่ ับกายสังขาร คือลมหายใจเขา้ ออกนั้น
ถ้าหายใจเข้าแรงออกแรง เข้ายาวออกยาว กก็ ระทบจติ
จติ กเ็ ลยไม่สงบ จะเกดิ ความฟงุ้ ซา่ น เมอ่ื ยนื ครบ ๑๐ นาที
แล้วกน็ ่ัง

358

ถา้ เดนิ ๑ ชว่ั โมง นงั่ กต็ ้อง ๑ ชวั่ โมง บังคับจิตให้จิตรวมลงสูส่ งบ ความรอ้ น
ใหส้ มดุลกัน กอ่ นน่ังภาวนาก็ตอ้ ง เกิดขึ้นเผากายและจิต ตงั้ แต่ ๓ โมงเชา้
ไหว้พระย่อๆ ว่า “อรหังฯ สวากขาโตฯ ล่วงไปถึงบา่ ย ๓ ผา้ เปียกหมดเพราะ
สุปฏิปนั โนฯ” แลว้ ก็วา่ “พุทธัง ธัมมัง เหงอ่ื มนั ไหล เพราะความอยากมนั เผาให้
สังฆัง สรณัง คัจฉามิ” ถึงทุติฯ ตติฯ เร่ารอ้ น จติ ไมส่ งบจนถงึ บ่าย ๓ กอ็ อกจาก
๓ จบ แล้วก็พอ ท่ีมาหาหลวงปู่ขาว ต�ำหมากถวายท่าน

นี่เปน็ วิธีการที่หลวงปูข่ าวสอน หลวงปูข่ าวท่านก็รู้ เพราะท่าน
ครั้งแรก ไม่ใช่เดาเอานะ การกระท�ำมา สำ� เรจ็ อรหนั ตแ์ ลว้ นะ ไปถงึ ทา่ นกพ็ ดู ขน้ึ
นั้นต้องอาศยั ครสู อน กอ่ นเลยว่า“ทา(ครบั )ธรรมดาว่าเรานง่ั
สมาธอิ ยากใหจ้ ติ เปน็ ไป ให้จติ สงบนนั้
หลวงปูข่ าวสอนเรือ่ ง ไม่สงบดอกถา้ เอาความอยากบงั คบั ”
โทษของความอยาก ท่านว่าอยา่ งนั้นเพราะท่านรู้ เหมอื นกับ
ผลกั สนุ ขั ลงนำ�้ มนั ไม่ยอมลงเป็นเดด็ ขาด
ทีน้ีจะเขา้ นั่งสมาธิ ตอ้ งช�ำระ อันนี้ฉันใด จงปล่อยวางความอยาก
ปลอ่ ยวางความอยาก หลวงป่ขู าวยำ�้ แลว้ อย่าใหม้ ี และปลอ่ ยวางความหึงหวง
ย�้ำเลา่ เรื่องความอยากน้ัน อยากให้ หว่ งอาลัยในรา่ งกาย กลัวว่าจะเกิด
จิตเป็นสมาธิ อยากรูธ้ รรมเห็นธรรม โรคอย่างโน้นอยา่ งนี้ ถึงเราไมท่ �ำ
ไม่เปน็ ไป อันนี้ผมไดป้ ระสบพบเหตุ ความเพียร มันก็เกิดอยู่เสมอธาตุ
เภทร้ายมาแลว้ ถงึ ๒ ครั้ง ในเรื่องโทษ ขนั ธน์ น้ั เพราะเป็นเรอื นรงั ทอี่ ยขู่ องโรค
ของความอยาก ไมช่ ้าก็เร็ว ไม่น้อยก็มาก”

ครง้ั ท่ี ๑ อย่ทู ่ีถำ�้ กลองเพล เดือน ๓ น่ันแหละ ทา่ นให้ปลอ่ ยวางเสมอ
หนาวๆ นะ ฉันข้าวแลว้ หลวงปู่ขาว ทำ� ใจใหเ้ หมอื นผา้ เช็ดเทา้ และนำ้� หรือ
พอไปภาวนาท่ีผาบ้ิง (บริเวณท่ีสร้าง ดิน ธัมมัญญุตา ประกอบเหตุดีแลว้
พระพุทธรูปปางปา่ เลไลยก์ในปจั จุบัน) อัตถัญญุตา ผลดีจะเกิดข้ึนสนองใหไ้ ด้
ไ ป นั่ ง อ ยู ค่ น ล ะ ฟ า ก ก อ้ น หิ น ใ ห ญ ่ รบั ผลข้างหน้า นีข่ อ้ ส�ำคญั
๓ โมงเช้า เข้าท่ี ก�ำหนดเอาความอยาก

359

ครั้งที่ ๒ น่ังต้ังแต่ ๖ โมงเย็น ไปถึง ๖ ทุม่
หกชว่ั โมงนะ ในฤดหู นาวเดอื น ๑๒ อย่บู นกอ้ นหนิ ใหญ่
เอาความอยากบงั คับจิตใหจ้ ิตสงบ กไ็ ม่สงบ มแี ต่รอ้ น
กบั ร้อน ผา้ เปียกหมดเหงอ่ื มนั ไหล เพราะความอยากนนั้
มนั เผากายใหเ้ รา่ รอ้ น นบั ตง้ั แต่ ๖ โมงเยน็ ไปถงึ ๖ ทมุ่
หกชั่วโมง ความเจ็บปวดอะไรไมม่ ีท้ังนั้น เพราะเอา
ความอยากบังคับจนมันลืมปวดเพราะมันอยากได้
ความอยากไดเ้ ปน็ เหตุทำ� ให้ลมื ปวดลืมเหนือ่ ยลา้

นั่นแหละไปถึง ๖ ทุม่ ไมไ่ ด้ ก็เลยวางความอยาก
นัง่ เอามอื ค�้ำแกม้ สบายเพราะมันหมดแรงแลว้ พอวาง
ความอยาก ท�ำใจให้สบายๆ จิตก็รวมพ้ึบเลย ไมไ่ ด้
น่ังสมาธิอะไรนะ ออกจากท่ีภาวนาแลว้ น่ังชันหัวเข่า
ข้างเดยี วขน้ึ เอาศอกคำ้� หวั เข่า มอื คำ�้ แก้ม นนั่ แหละจติ
กร็ วมพบึ้ แจ้งซะ (สว่างจา้ ) กพ็ ดู ขน้ึ มาวา่ การทำ� ความ
เพียรน้ัน เอาความอยากมาเป็นเคร่ืองกีดขวางอยู่
ข้างหน้าไมเ่ ปน็ ไป ตายทงิ้ เสยี เปล่า การทำ� ความเพยี ร
ทุกประโยคต้องปล่อยวางความอยากเสมอ มันจึง
จะเป็นไป เมอ่ื ประกอบเหตพุ ร้อมแล้ว ผลจะเกิดขนึ้
สนองอย่างไม่ตอ้ งสงสัย น่ันแหละได้เห็นโทษของ
ความอยากมาแลว้ สองครัง้

หลวงป่ขู าวสอนใหน้ งั่ ทับทุกข์

ทีน้ีเม่ือนั่งไปนานเขา้ เวทนาขันธ์เกิดขึ้น มึนชา
ปวดรอ้ น แลว้ แต่มนั จะเกิดขนึ้ ต่างๆ นานา ท่ีขาทบั ขา
หรือท่ีก้น หรือเหมือนมีแมลงมาไตต่ ามหน้าตามตา
คนั ยบุ ๆ ยบิ ๆ หลวงป่ขู าวกบ็ อกวา่ อย่าเพง่ิ ไปลบู คลำ�
อย่าเพงิ่ เกา อยา่ เพงิ่ พลกิ ให้นงั่ ทบั ทกุ ข์ เอามันจน

360

ชนะทกุ ข์ การทำ� ความเพยี รมที กุ ขเ์ กดิ ผลจากการปฏบิ ัติ
ขึ้นเผากาย มันก็เผาจิตดว้ ย หลวงปู่ หลังไดร้ บั อุบายจาก
ว่าอย่างนนั้ หลวงปู่ขาว

ขอ้ หา้ มสำ� หรบั นกั ภาวนา เดือนที่ ๒ ก็เรง่ ความเพียรให้
กา้ วหนา้ ขนึ้ อกี เดนิ ๒ ชว่ั โมง ยนื ๑๕ นาที
หลวงป่ขู าวบอกวา่ การทำ� ความเพยี ร นั่ง ๒ ชั่วโมง เดิน ยืน นั่ง ท้ังวันคืน
อดนอน ผอ่ นอาหารนั้น ต้องกินนอ้ ย อดนอน ผอ่ นอาหาร ทำ� กันอยอู่ ย่างน้นั
นอนนอ้ ย พดู นอ้ ย จติ กบั กายกบั สตกิ บั ปญั ญากร็ วมกนั เข้า
มาเปน็ มรรคสามัคคี แล้วไม่นานจิตก็
แลว้ ส่ิงทั้งปวงท่ีมันผิดในระยะท่ี สงบเฉียดๆ มันสุขกายเย็นจิต แสนสุข
ท�ำความเพียรน้ันมีอะไรบา้ ง หลวงปู่ก็ แสนสบายในขณะน้ัน แตก่ ็ไม่รู้วา่ เป็น
บอกว่า “อย่าเพิ่งเอาหนังสือมาอ่าน อะไรนะ รแู้ ตว่ า่ มนั สงบ ชอ่ื เสยี งเรยี งนาม
อยา่ เพ่ิงท�ำงาน การงานอะไรนอ้ ยนดิ อะไรไมท่ ราบ เมื่อมันถอนข้ึนมาแลว้
ไมใ่ หท้ ั้งนั้น เว้นไว้แต่ขอ้ วัตร หาฟนื ก็ไปศึกษาหลวงปูข่ าว ท่านก็บอกว่า
ต้มนำ�้ รอ้ น เขน็ นำ้� ใสต่ มุ่ อนั นน้ั ไมเ่ ป็นไร “จิตสงบเฉียดๆ ขนั้ ขณิกสมาธิ บางที
เป็นกจิ วตั ร แต่จะไปก่อสรา้ งอย่างโน้น กเ็ กิดขึ้นนาน บางทีกไ็ ม่นาน”
อย่างน้ีไมไ่ ด้ ไม่เปน็ ไปเร่ืองภาวนา
จะเอาหนงั สอื มาอ่านกผ็ ดิ แปลว่าเรา นนั่ แหละ ก็ได้ดมื่ รสของความสงบ
ส่งจิตออกไปภายนอก อันน้ันผิด ยังมี สบาย โอ๋ ผลเปน็ อยา่ งน้ี ทนี ศ้ี รทั ธาเกดิ ขน้ึ
ความสงสัยอยู่ เกิดวิจิกิจฉา หรือ อินทรีย์ ๕ ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ
สีลัพพตปรามาส ลูบๆ คล�ำๆ ของ ปญั ญา มนั เกดิ ขน้ึ เป็นระยะๆ ในขณะนน้ั
ภายนอกอยู่ ถา้ ท�ำอย่างนั้นจิตก็เลย แหม รูส้ ึกว่าจิตมันเปลี่ยนสภาพจะเอา
ออกนอกไปเสีย ความเพียรน้ันไม่ดี แพเ้ อาชนะกับกิเลสและธาตุขันธ์ต่อ
ไมป่ ลอดภัย เศรา้ หมอง การทำ� ความ ไปใหไ้ ด้ จากน้ันก็ ปตี ิ ๕ เกิดข้ึนอีก
เพียรน้ันตอ้ งเอาอารมณเ์ ดียว คือ ขทุ ทกาปตี ิ เกดิ ขนึ้ ขนพองสยองเกลา้ จน
พทุ โธ ธมั โม สงั โฆ เดนิ ยนื นงั่ เท่านนั้ น�้ำตาไหล โอ๊ รา่ เริง่ บนั เทงิ ดี ขณกิ าปีติ
ไมห่ ว่ันไหว มนั จึงจะเปน็ ไป”

361

เกิดข้ึนเปน็ ระยะเหมือนแสงฟ้าแลบ โอกกันติกาปีติ
เกิดข้ึนเหมือนคล่ืนน�้ำกระทบฝงั่ อุพเพงคาปตี ิ
เกิดขึ้นคลา้ ยๆ กับจะหอบกายเหาะฟ้าได้ แหม
มันสบาย ผรณาปตี ิ เกิดขึ้นซึมซาบทั่วกายและจิต
รา่ เริง บันเทิงดี แสงสว่างเกิดข้ึนออกหน้าออกตา
สว่างจ้าทเี ดยี วนะแต่ไมม่ ากเทา่ ใด

เมื่อเกิดข้ึนอยา่ งนี้ก็ไปศึกษาหลวงปู่ขาวอีก ท่าน
ก็ว่า “ปตี เิ กิดขึน้ แสงสวา่ งน้นั ก็เปน็ แสงบารมธี รรม
ให้น้อมเอาปตี แิ ละแสงสวา่ งนน้ั มาเปน็ กำ� ลงั ของจติ ”
ก็ท�ำอยูอ่ ย่างน้ันเปน็ เดือน ก็ไดร้ ับผลเพียงแค่นั้น คือ
ขณิ กสมาธิ

เดือนที่ ๓ ก็เร่งความเพียรก้าวหน้าอีก เดิน ๓
ชว่ั โมง ยืน ๒๐ นาที นั่ง ๓ ชว่ั โมง เรง่ กันอยู่อย่างน้นั
ทงั้ วนั ทงั้ คนื จติ กส็ งบบ่อยๆ แต่กไ็ ดแ้ คข่ ณิ กสมาธเิ ทา่ นน้ั
ไมก่ า้ วหน้าไปไหน จวนจะออกพรรษาแลว้ ยงั อีกราว
๑๐ วนั กเ็ ลยไปศกึ ษาหลวงป่ขู าว ทา่ นกว็ า่ “อนิ ทรยี ์อ่อน
บารมีธรรมก็อ่อน มันก็ไมก่ า้ วหน้า เอ้า ทีนี้ตอ้ ง
ฝึกอยา่ งอกุ ฤษฏ์ เป็นปรมัตถบารมี คือนง่ั คืนยันรุ่ง
อย่ากระดุกกระดิก อยา่ พลิกไหว เอาใหช้ นะทุกข์
เปน็ การสร้างอินทรยี ์ธรรมบารมธี รรมให้แกข่ ึ้น”

เอ้า ตง้ั สตั ยพ์ บึ้ เลย เขา้ ทน่ี ง่ั ทนี มี้ นั กป็ วดเกิดขนึ้ ท่ี
ขาทบั ขา ปวดทกี่ น้ ความปวดมนั เผาขน้ึ ทวั่ กายเหมอื น
มนั จะพงั ทง้ิ นน่ั แหละ กท็ นทกุ ข์อย่อู ย่างนน้ั ไม่หวน่ั ไหว
ความสงบกไ็ มเ่ กิดขน้ึ ทำ� ความเพยี รควั่ แหง้ เอาเลยนะ
เอาตายวา่ ชนะกันไดค้ ืนยันรุ่ง พอแจ้งเป็นวันใหม่

362

มนั กไ็ ม่มอี ะไร จากนนั้ กล็ กุ ขน้ึ ยนื แลว้ กเ็ ดนิ ก็เลยเรง่ พิจารณาเกิดทุกข์ แก่ทุกข์
เดินแล้วก็ยืน ยืนแลว้ ก็น่ังอีก เข้าที่พับ เจ็บทุกข์ ตายทุกข์ อนุโลม ปฏิโลม
จิตสงบพับ ขั้นขณิ กสมาธิ สงบเฉียดๆ เดินหนา้ ถอยหลัง อยู่อยา่ งน้ันจนถึง
เย็นกาย เย็นจิต ไมน่ านก็ดับปั๊บ สภาพตาย เรามาอยูก่ ับของตาย ตาย
ดับไปเลย พอจิตดับป๊ับ สมาธิดับ ทีนี้ แล้วก็เป่อื ยเน่าไม่มีอะไร เหลือแต่ร่าง
จิตกับกายรวมมรรคสามัคคีกันแล้ว กระดูก ก�ำหนดเอาไฟเผา พ้ึบ ไม่ได้
จิตกว็ างพุทโธ จติ ก็วางกาย วางเวทนา เพราะอินทรีย์ออ่ น บารมีธรรมอ่อน
วางขนั ธ์ รวมสภู่ วงั คภพอนั แนน่ แฟน้ คอื กเ็ พง่ ตอ่ ไป เพ่งนานเข้าๆ กเ็ ลยสาบสญู
อปุ จารสมาธิ ลงไปนนั้ เรว็ หรอื ชา้ สตกิ บั เปน็ ระยะ รา่ งกระดกู นั้นหมดเขา้ ๆ ผล
จิตน้ันติดตามกันทันอยู่ ลงไปถึงฐาน สดุ ทา้ ยกห็ มดสาบสญู ว่างพบึ้ ไมม่ อี ะไร
ขน้ั นน้ั แล้ว ทนี กี้ พ็ ดู ขนึ้ มาวา่ “นตั ถิ สนั ติ
ปะรัง สุขัง” ความสุขอ่ืนเสมอดว้ ยจิต ทีนี้จิตก็เห็นวา่ เรามาอยูก่ ับของ
สงบไมม่ ี น่ีเปน็ ผลรายได้จากการเจริญ ไมเ่ ท่ียง เปน็ ทุกข์ เป็นอนัตตา ของแก่
สมถกรรมฐาน เดนิ ยนื นง่ั แต่แลว้ กพ็ ดู เจบ็ ตาย สาบสญู เปื่อยเน่า ไมม่ อี ะไร
ข้ึนมาอีกวา่ “อยา่ ติดสุข ความสุขนั้น หมดเพียงแคน่ ั้น จิตก็เลยยึดดาบเพชร
เปน็ เครอื่ งปดิ ทกุ ข์ ไมเ่ หน็ ทกุ ข์ ไมเ่ หน็ คือ สตปิ ัญญา ถอนอาสวะ คอื สงั โยชน์
ธรรม ไม่เหน็ ตน” ๓ สังโยชน์ ๕ สังโยชน์ ๑๐ ก็แล้วแต่
จะถอนได้ทำ� ลายไดต้ ามบญุ พาวาสนาสง่
เม่ือมาถึงขั้นน้ี หลวงปู่ขาวก็วา่ เมอื่ ถอนขาดจากใจแลว้ จติ นน้ั เปลยี่ น
“ใหพ้ จิ ารณาสจั จะของจรงิ ทงั้ ๔คอื ชาติ จากสภาพเดมิ สภาพทม่ี ดื มนอนธการ
ความเกดิ เป็นทกุ ข์ ชราความแก่เปน็ ทกุ ข์ ไม่รู้เทา่ สังขาร ใหเ้ กิดรูปนามตาม
พยาธิ ความปวดไขเ้ ปน็ ทุกข์ มรณะ ยถากรรมท�ำไว้ใหผ้ ลมาเป็นจิตท่ีมี
ความตายเป็นทกุ ข์ ทกุ ขจ์ นตายนแี่ หละ สภาพมนั่ คง ถาวร เบกิ บานสำ� ราญใจ
เปน็ เครือ่ งแก้ตดิ สุขในสมาธ”ิ น่ันแหละจิตก็เลยต้ังม่ันเช่ือม่ันใน
คณุ แก้วทัง้ ๓ ประการ คือ พระพทุ ธ
จติ กเ็ ลยขงึ ขงั ตงึ ตงั ขนึ้ โอ้ แม่นจรงิ ๆ พระธรรม พระสงฆ์ และเช่ือมั่นใน
เราจะมานั่งซบเซาเหงาอยูต่ ิดสุขใน กรรมดี กรรมชั่ว ไมห่ วั่นไหว
สมาธิก็ไม่มีความส�ำคัญม่ันหมายอะไร

363

พอออกพรรษาแลว้ รูส้ ึกวา่ ใจนั้นมันเปล่ียนจาก
สภาพเดิมมาเปน็ สภาพที่มั่นคงถาวรในการเจริญ
สมถ-วิปสั สนาธรรมตามค�ำสอนของพระพุทธเจ้า
ไม่ละลด ก็ได้รบั ผล คือความสงบสขุ เยือกเย็น สบาย
เป็นอาหารของใจ เป็นของดเี ลศิ ประเสรฐิ แท้ เปน็ นสิ ยั
เปน็ ปจั จัย มั่นคงแลว้ ไม่หว่ันไหว ทุกวันคืน ยืน เดิน
น่ัง ท�ำอย่อู ย่างน้นั ตลอดไตรมาส ๓ เดอื น ถึง ๕ ปีนะ
ไม่ใชท่ �ำครงั้ เดียว ทำ� ถงึ ๕ ปี ปที ี่ ๕ ทำ� ถึง ๗ เดือน
จึงพัก ท�ำไมไมต่ าย ไมต่ ายดอก ผ้ทู �ำความเพยี รเป็น
คนไม่ตาย ผไู้ มท่ ำ� ความเพยี รเปน็ คนตาย ตายจากมรรค
จากผลอันวิเศษ เกิดมีแล้วก็ไมท่ �ำความเพียร ก็ไมไ่ ด้
รับผลน้นั แล

เจา้ คุณมหาไขสำ� เรจ็ พระอรหันต์
ด้วยโอวาทจากหลวงปูข่ าว

เจ้าคุณมหาไข ติสฺสทตฺโต เป็นมหาเปรียญ ๖
ประโยค อยู่วดั มหาชยั อ�ำเภอหนองบวั ลำ� ภู (ปจั จบุ นั
เป็นจังหวัด) แกก่ ว่าหลวงปู่หลุย หลวงปูข่ าว เรียน
จบแลว้ ไดเ้ ป็นเจ้าคุณก็ไม่ได้ปฏิบัติอะไรและส�ำคัญว่า
จบเพยี งแคน่ ั้นในการเจริญธรรม

กาลต่อมา สมัยน้ันมีผีใหญต่ ัวหนึ่งอยูว่ ัดมหาชัย
มันก็ไปก�ำคอก�ำเอวจะฆา่ ทิ้ง ผีมันก�ำคอแน่นเข้าๆ
จนจะตาย ถ้าไม่ไปภาวนามันจะเอาใหต้ าย จงึ ยอมไป
ไปไหนเลา่ คิดดูก่อน ตกลงใจว่าไปถ�ำ้ กลองเพล

364

พอตื่นเชา้ เตรียมของออกเดินทาง ไม่หว่ันไหวแล้ว ข้าพเจ้าเปน็ คน
ไปเลย ไม่บอกใคร ไปแลว้ ก็ไปมอบตวั ไมต่ ายแล้ว” ทา่ นว่าอย่างนนั้
ให้หลวงป่หู ลยุ หลวงปู่ขาว สอนในดา้ น
สมถวปิ สั สนา เพราะรแู้ ตต่ ำ� รา แตก่ าร ต่อมาในฤดูแล้งปนี ั้น ท่านก็ปว่ ย
ปฏิบัตินั้นท�ำอย่างไรไม่รู้ หลวงปูข่ าว หนักข้ึน เป็นโรคตับ ไต เป็นมะเร็ง
ก็เลยใช้ให้พาไปภาวนาทผี่ าบิง้ ไม่มกี ุฏิ ไปหาหมอ เขาบอกไม่ไหวแลว้ จะสนิ้ ลม
มีก็หลังน้อยๆ คา้ งอยูบ่ นกอ้ นหิน ไมม่ ี โดยเร็ว ใหก้ ลับบา้ น ส่ังใหห้ ลวงปู่ขาว
ใครไปอยู่ ทา่ นวา่ คืนน้ีจะไม่นอน ทา่ นก็ ลงไปเตรียมทางบอกทางให้
เจริญในคืนนั้น ทา่ นเร่งรัดพัฒนาจน
จิตรวมใหญ่ ลงถึงฐานอุปจารสมาธิ หลวงปู่ขาวก็ไปว่า “ต้ังใจดีๆ นะ
อนั แน่นแฟน้ เสรจ็ แลว้ ทา่ นกเ็ ดนิ วปิ ัสสนา อารมณ์อดตี อนาคต ปล่อยวางให้หมด
คน้ คว้าในกายน้ี จนกระท่ังได้บรรลุ เอาปจั จบุ นั ธรรม พจิ ารณาทกุ ขท์ กุ ลม
เอกพีชีภิกขุในคนื นั้น หายใจเข้าออก เกดิ กท็ กุ ข์ ตง้ั อย่ดู บั ไป
กท็ กุ ข์ มแี ตท่ กุ ขเ์ ทา่ นนั้ ในโลกทง้ั สาม
ทา่ นบอกวา่ “ผมเพิ่งไดบ้ วชวันน้ี นอกจากทุกข์ไปแลว้ ไมม่ ี น่ันแหละ
คืนนี้ในศาสนาพุทธ บวชเป็นพระถึง มสี ตปิ ัญญากำ� กบั จติ ให้รทู้ กุ ข์อย่างนนั้
พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ ในคนื นี้ มันจะได้เกิดความเบ่ือหน่ายภพชาติ
เพราะจติ ไดบ้ รรลธุ รรมตดั สงั โยชน์ ๓ สงั ขารเมอื่ จะสนิ้ ลมนน้ั จติ มนั จะรอ้ื ถอน
ขาดจากใจ แตก่ ่อนโน้นบวชกเ็ ป็นโมฆะ เครอื่ งรอ้ ยรดั อวชิ ชา ตณั หา สงั โยชน์
ถงึ ได้เปรยี ญ ๖ กเ็ ป็นโมฆะ ๔๗ พรรษา ปจั จัย ให้หมดเสียส้ินในขณะน้ัน
ก็เป็นโมฆะ อะไรก็เปน็ โมฆะทั้งนั้น พระอรยิ เจ้าทงั้ หลายในครั้งพทุ ธกาล
ไมไ่ ด้อะไร เมอ่ื มาภาวนาปฏบิ ตั คิ นื เดยี ว โน้น ท่านก็ไดส้ �ำเร็จอรหันตใ์ นขณะที่
เท่านัน้ ตัดสงั โยชน์ ๓ ขาดจากใจได้ เจบ็ ไขไ้ ด้ป่วยก็มาก ได้ส�ำเรจ็ อรหันต์
บรรลุพระโสดาปัตติผล เอกพีชีภิกขุ ในระยะทจี่ ะสน้ิ ลมหายใจกน็ บั ไมถ่ ว้ น”
ท่านบอกวา่ รู้ดว้ ยตนเอง ปัจจัตตัง หลวงปู่ขาวใหโ้ อวาทบอกแนวทางแล้ว
เห็นแจ้ง ท า่ น ก็ เ ล ย ป ฏิ ญ า ณ ต น ท่านกก็ ลบั วดั คนื นน้ั หลวงป่ขู าวไม่นอนนะ
ถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ภาวนาเพง่ ดู ช่วยอยู่

365

ท่านกต็ ง้ั ใจภาวนา เมอื่ จะสน้ิ ลม ปัญญาเกดิ ขนึ้ เหน็
พร้อมว่า “เรามาอยูก่ ับกองทุกข์ ดับขันธ์ไปก็ทุกข์
ไปโลกหน้าก็ทุกข์ มาแตก่ ่อนก็ทุกข์” ท่านก็เลย
ปลอ่ ยวางสงั โยชน์ปัจจัย ๑๐ หมดสิน้ กิเลสในระยะน้ัน
พอสิ้นกิเลสพ้ึบ ก็รู้แจง้ วา่ สิ้น พอดีก็สิ้นลม น่ันแหละ
ได้สำ� เร็จอรหันต์ในคนื นัน้

หลวงปขู่ าววา่ “พวกปรยิ ตั ิ โดยมากทำ� ให้อนิ ทรยี ์
ออ่ น บารมีธรรมอ่อน ศึกษาเล่าเรียนได้ส�ำเร็จ
เปรียญ ๙ ก็ดี แล้วกไ็ มป่ ฏิบตั ิ บุญพาวาสนาส่งให้
แลว้ ก็ไมเ่ อา ลาภกับยศ เจา้ ฟ้าเจา้ คุณ และก็วิชา
ความรู้น้ันก็เปรียบเหมือนศิลาทับหญา้ หญา้ นั้นก็
งอกเงยไม่ได้ มีแต่เหี่ยวแห้งเฉาตายเท่าน้ัน อันนี้
ฉนั ใด พวกเรยี นปรยิ ตั แิ ตไ่ ม่ปฏบิ ตั กิ ฉ็ นั นน้ั ” ทา่ นวา่
เปน็ อยา่ งน้นั หมด

เจ้ายอดอกตัญญู

ผม (หลวงป่จู นั ทา) อยกู่ บั หลวงป่ขู าวนะ ไปปฏบิ ตั ิ
ทา่ นตอนเชา้ ท่านบอกว่า “อันน้ีแหละ เจ้ายอด
อกตญั ญ”ู ทา่ นวา่ อยา่ งนน้ั ผมกย็ งั ไม่รู้ พดู แล้วพดู เลา่

ผมก็เลยถามว่า “ใคร หลวงปู่ ท่ีเป็นเจา้ ยอด
อกตญั ญู ผมหรอื เปลา่ ”

หลวงป่ขู าวกว็ า่ “อยากรู้ ไปภาวนาดู คนอนื่ หรอื
เรากภ็ าวนาไป”

366

ผมก็ตั้งใจภาวนา อดนอน ผ่อน ปรศิ นาธรรม
อาหาร ตลอดไตรมาส ๓ เดอื น ปที ่จี ะรู้ ของหลวงปู่ขาว
นน้ั เปน็ ที่ ๕ นะ ทำ� อยู่ ๕ เดอื น เดอื นแรก
กย็ ังไม่รู้ เดือน ๒ เดือน ๓ จึงรู้ ผรู้ ูพ้ ูด ผม (หลวงปู่จันทา) อยูก่ ับครูบา
ขึ้นมาเองนะ “โอ๋ เจา้ ยอดอกตัญญู อาจารย์ คอื หลวงปขู่ าว ท่านสอนอยา่ งไร
ท่ีหลวงปูข่ าวพูดวันน้ันก็ได้แก่ กาย กป็ ระพฤตอิ ยา่ งนน้ั ท่านว่าบาปกบ็ าปจรงิ
นแ่ี หละ เจา้ กายนเี่ ป็นเจ้ายอดอกตญั ญู จงละ ท่านวา่ บุญก็บุญจริง ก็ประพฤติ
ไม่รูบ้ ุญคุณของใครทั้งนั้น จะเป็นผู้ดี ปฏิบัติ ทา่ นสอนไมใ่ ห้ห่วงใยอาลัย
มีหน้า ทุกขจ์ นคน่ แค้นแสนกันดาร ใ นชีวิตสังขา ร อ ย ่า พึงยึดถือ มา ก
ทว่ั หนา้ จะถนอมกลอ่ มเกล้ียงเล้ียงดู เกินไปนะ จะเป็นเครื่องผูกมัดให้หลง
ปูเสื่อใหอ้ ยู่เย็นเปน็ สุขท้ังวันคืนแล้ว ในภพชาติสงั ขาร ยึดถือเพยี งแต่ว่าเปน็
กเ็ ปน็ คนอกตญั ญอู ย่างนน้ั ไมม่ เี วทติ า ปจั จัยเครื่องอาศัยชั่วคราว ร่างกายน้ี
ธรรมตอบแทนแมแ้ ต่นดิ หนึ่ง มแี ตน่ �ำ เป็นโรงงานใหญ่ เราคือใจเปน็ เจ้าของ
ของที่ชั่วช้าลามก เนื้อเห่ียวหนังเปน็ ส�ำหรับท่ีจะท�ำงานหาผลรายได้ คือ
เกลยี วมาให้ ผมหงอก แกม้ ตอบ ฟันหกั บญุ กศุ ล มรรคผล ธรรมอนั วเิ ศษเกิดขนึ้
มาให้ ทกุ อย่างนำ� แตข่ องทไี่ มด่ มี าให้ จากโรงงานใหญน่ ้ที ง้ั นัน้
มากระแทกแดกดนั ให้เจบ็ ปวดรา้ วไป
ทว่ั กาย เจบ็ แขง้ เจ็บขา เจบ็ ตา เจบ็ หู ๑. ใฝร่ อ้ นจะนอนเย็น ใฝ่เย็นจะ
นำ� แตข่ องไมด่ มี าให้ทำ� ลายอย่เู ปน็ นจิ เขญ็ รอ้ น ภายหลงั จะดน้ิ ตาย ท่านสอน
ถึงเราจะให้สุขอยูท่ ั้งวันคืน แต่แล้ว บ่อยนะ ก็พิจารณาปญั หานว้ี ่า
เขากไ็ มด่ ที ง้ั นั้น ไมม่ คี วามปราณีหาย
โกรธยกโทษใครแม้แตน่ ดิ หนงึ่ ทงั้ นนั้ ” ใฝ่ร้อนจะนอนเยน็ ใหร้ บี ประพฤติ
ปฏิบัติท�ำคุณงามความดี อดนอน
น่ีแหละ จงรู้มายาสาไถยข์ องเจา้ ผ่อนอาหาร เผากเิ ลสใหเ้ ร่ารอ้ นทง้ั วนั คนื
ยอดอกตัญญู นักปราชญ์ท่านผู้รู้ คือ ไม่หวน่ั ไหวตอ่ ร้อนหนาวและหวิ กระหาย
หลวงปู่ขาว ท่านรู้แล้ว ท่านไดแ้ ล้ว
ท่านจงึ มาพดู เป็นปญั หาสอนเราคอื คนโง่ ทีน้ีเมอื่ จิตสงบลงไปได้ ขณิ กะ กด็ ี
อปุ จาระ กด็ ีนะ หรอื เจ็บไขไ้ ด้ป่วยอะไร

367

ก็ดี ก็นอนเย็นสบาย หิวโหยกระหายก็ไม่มีก็นอนเย็น
สบายดี เมอื่ ความตายมาถึงก็นอนเยน็ เย็นใจ แมก้ าย
มันจะรอ้ นก็เร่ืองของกาย แต่ใจน้ันมันเย็น ใจเย็นอยู่
กบั พทุ โธ ธมั โม สงั โฆ อยูก่ ับคณุ งามความดีที่ได้ท�ำไว้
น่ันแหละ จึงเรียกว่า จิตฺเต อสงฺกิลิฏฺเฐ สุคติ
ปาฏิกงฺขา เม่ือจิตฝึกฝนอบรมได้ดแี ลว้ สคุ ติเปน็ ที่ไป
เบอ้ื งหนา้ โดยไมต่ อ้ งสงสัย

ใฝเ่ ย็นจะเข็ญรอ้ น ภายหลังจะดิ้นตาย เปน็ ผู้
ประมาทอยูน่ ะ ประมาทไม่เรง่ ท�ำความเพียร ผัดวัน
ปันเวลาอยู่เสมอ ฉะน้ัน เมื่อไฟรอ้ นมาถึงภายหลัง
จะดิ้นตาย คือว่าความเจ็บไขไ้ ด้ปว่ ยมาถึงจะด้ินตาย
หรือเหตุเภทร้ายเกิดขึ้นเผชิญหนา้ มีเร่ืองราวต่างๆ
เกิดขน้ึ กจ็ ะดิ้นตาย ไม่มสี ติปัญญาแก้ตนออกจากของ
ชัว่ ชา้ ลามกได้ นัน่ แหละจะดิ้นตาย

ฟงั ธรรมะบทบาทนแ้ี ลว้ กพ็ อใจ ตงั้ ใจทำ� ความเพยี ร
อยเู่ ป็นนจิ นเ่ี ปน็ ธรรมะทห่ี ลวงปขู่ าวท่านสอนอย่เู ป็นนจิ

๒. รีบพายเรือ ตะวันจะสาย ตลาดจะวาย
สายบัวจะเนา่

รบี พายเรอื แม่ รบี พายเรอื พอ่ ตะวนั จะสาย ตลาด
จะวาย สายบวั จะเนา่ รีบพายเรือ ทา่ นพดู เพยี งแค่นน้ั
ทา่ นกไ็ ม่แปลใหฟ้ งั ทีนก้ี ม็ าทำ� ความเพียร เมอ่ื จิตรวม
ลงไปนั้นถึงอุปจารธรรมแลว้ ต้ังม่ัน ก็ก�ำหนดถามผู้รู้
คอื ใจนน่ั แหละ

368

รบี พายเรอื ไดแ้ ก่อะไร ตะวนั จะสาย ๓. บ้านใกล้คร่งั ยอ้ มคร่งั ไม่แดง
ได้แก่อะไร ตลาดจะวาย สายบัวจะเนา่ นอนตะแคงผิงแดดไม่อุน่ สวดจุ้มกุ้ม
ไดแ้ ก่อะไร พระธรรมพูดข้ึนที่หัวใจว่า มืองุ่มไมถ่ ึง นี่ท่านก็พูดบ่อย
รบี พายเรอื คอื รบี เดนิ จงกรม เดนิ ภาวนา
ยืนภาวนา นั่งภาวนา อดนอนผอ่ น “แปลวา่ อะไรหลวงปู”่
อาหาร พิจารณาธาตุขันธ์นอ้ มลงสู่
ไตรลักษณเ์ ห็นแจง้ ประจักษ์ทุกเมื่อ “ไปภาวนาแปลเอา แปลให้รูแ้ ล้ว
จิตจะรวมลงสูภ่ วังคภพอันแน่นแฟ้น มั น ข้ี เ กี ย จ ข้ี ค ร า้ น ท� ำ ค ว า ม เ พี ย ร
แล้วเหน็ ของจรงิ อะไรบา้ งอยใู่ นตลาดนี้ มนั ไม่สน้ิ สงสัย”
รา่ งกายนเี้ ปรยี บเหมอื นตลาด มที กุ อยา่ ง
ทกุ ประการ รบี ขายของ รีบรือ้ ถอนของ ผมกเ็ รง่ ความเพยี รอยา่ งนนั้ อดนอน
ออกจากใจ คอื กิเลส เมอ่ื เกบ็ เอาไดแ้ ลว้ ผ่อนอาหาร จิตรวมลงสูข่ ณิ กสมาธิได้
เป็นผู้ขายของขาด ถึงไม่หมดก็แปลวา่ เยน็ กาย เยน็ จติ จิตลหุตา จติ เบา กาย
ขาด นั่นแหละรบี พายเรือ ลหุตา กายเบา อันนี้เปน็ ผลรายได้จาก
การเจรญิ ความเพยี ร โอ๋ การเจรญิ ธรรม
ตะวันจะสาย คือมันจะแก่ รีบท�ำ ผปู้ ระกอบใหท้ กุ ขเ์ กิดขนึ้ นจ่ี ะเป็นผเู้ หน็
คณุ งามความดี ร่างกายนมี้ นั จะแก่ ตลาด ธรรมได้ ผูใ้ ดท�ำความเพียรติดสุข
จะวาย สายบวั จะเนา่ กค็ อื ตาย ร่างกาย ไมเ่ ห็นธรรมนะ ผูใ้ ดท�ำความเพียรเอา
เปรียบเสมือนสายบัว วาย คือตาย ทุกขเ์ ป็นอารมณ์ของสติ เปน็ อารมณ์
สายบัวมันก็เน่า เปอ่ื ยเน่าเท่านั้น ของใจ เผากิเลสให้ใจเรา่ ร้อนอย่างนั้น
เม่ือถึงสภาพเป่อื ยเนา่ แลว้ ก็ไมม่ ีอะไร จะเหน็ ความเปน็ ไปในธรรมทง้ั หลายนน้ั
เป็นของๆ เราแท้ กเ็ ลยกำ� หนดถามผู้รู้คือใจ

นี่แหละปญั หาธรรมะของจริงที่ บา้ นใกล้ครงั่ ย้อมครงั่ ไม่แดงไดแ้ ก่
นกั ปราชญท์ า่ นสอนคอื หลวงปขู่ าวผมจำ� อะไร ได้แก่ เราเป็นชาวพุทธถอื ศาสนา
ไดแ้ ล้วก็เรง่ ท�ำความดีอยา่ งนั้นไม่ลดละ พุทธ แต่ไมป่ ระพฤติปฏิบัติตามพุทธ
ก็สบายนน่ั แหละ ถอื เฉยๆ แต่ไม่ยอมประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ าม
กเ็ ลยไมร่ ธู้ รรมเหน็ ธรรม ไม่เป็นไป จติ ก็

369

ไมไ่ ด้บรรลธุ รรม ไม่ไดด้ มื่ รสของความสงบ พระโสดาปตั ตผิ ล
พระสกิทาคามผี ล พระอนาคามีผล พระอรหันต์ ไมม่ ไี ม่
เกิดขน้ึ มแี ต่กิเลสเผาใจใหเ้ ร่าร้อน อนั นเี้ รยี กว่า ยอ้ มครงั่
ไมแ่ ดง

นอนตะแคงผิงแดดไม่อุ่น น่ีไดแ้ ก่ ผู้ขี้เกียจข้ีครา้ น
สะสมคณุ งามความดใี สต่ นไว้ ไม่เจรญิ ธรรม เมอื่ ความเจบ็ ไข้
ได้ป่วยมาถึง ความตายมาถึงแล้ว หาความสุขอะไรไมม่ ี
มแี ตค่ วามเรา่ ร้อนเกดิ ขน้ึ เผากายเผาจติ ใหเ้ รา่ รอ้ นทง้ั วนั คนื
ได้ชอื่ วา่ นอนตะแคงผงิ แดดไม่อนุ่ จะนอนผงิ แดดมนั กไ็ มอ่ นุ่
มีข้าวของเงินทองมากมายกา่ ยกองจุเมฆ มันก็ไม่มา
ช่วยเหลือใหอ้ บอุ่นได้ มีแตเ่ รา่ ร้อน กระวนกระวาย
หิวกระหายอยา่ งนัน้

สวดจุม้ กมุ้ มอื งุ่มไมถ่ ึง ไดแ้ ก่ ลาภ ยศ สรรเสริญ สขุ
ทางฝ่ายโลก เขาไดเ้ ป็นนายรอ้ ย นายพนั นายพล ขา้ หลวง
นายอ�ำเภอ ตลอดจนนายกรฐั มนตรี ผนู้ �ำของชาติ ประมุข
ของชาติ เขาไดก้ ัน เรากไ็ ม่ได้ เพราะบุญน้อยวาสนาน้อย
พลอยร�ำคาญ เล่าเรียนแล้วก็ไมไ่ ด้ ทางฝา่ ยธรรม เขาได้
เป็นเจ้าฟ้าเจ้าคุณ ตลอดจนสังฆราช ประมุขของศาสนา
อยากไดแ้ ลว้ กไ็ มไ่ ด้ ทนี ที้ างฝ่ายธรรมเข้าไปอกี พระโสดา-
ปัตตผิ ล พระสกทิ าคามผี ล พระอนาคามผี ล พระอรหตั ตผล
ก็ไมไ่ ดไ้ มถ่ ึง นน่ั เพราะเหตุใด เพราะความข้เี กยี จขี้ครา้ น
ไมส่ ะสมบุญกุศลใสต่ นไว้ ไมร่ ีบเร่งบ�ำเพ็ญอินทรียธ์ รรม
ใหแ้ ก่ ไมบ่ ำ� เพญ็ บารมธี รรมให้เกิดมขี น้ึ ในตน เป็นผ้ตู ดิ สขุ
ลืมตน ประมาท ทอ่ งเท่ียวเกิดดับภพน้อยภพใหญ่ โอย๊
เขาผหู้ มนั่ ขยนั นนั้ เขาได้กนั สนน่ั หวนั่ ไหว เรากไ็ ม่ได้ เพราะ
เราเปน็ คนข้ีเกียจขี้คร้าน ขี้เซาเหงานอน ครูบาอาจารย์

370

ท่านแนะนำ� พรำ่� สอนอยา่ งไรกไ็ มย่ อมทำ� การไหว้พระสวดมนต์
ท�ำได้แตค่ วามชั่ว นั่นแหละ ความชั่ว
ท�ำได้แตค่ วามดีท�ำไม่ได้ ผลสุดทา้ ย ทีนี้ไหว้พระสวดมนต์ ท�ำวัตรเย็น
ก็อับอายขายหน้า เอาแต่ความช่ัวอวด ท้ังพระใหม่และเกา่ ก็ดี ให้เลิกเสีย
เขาทง้ั นนั้ ไมด่ ี ไม่ให้ท�ำอีกตอ่ ไป มันจะไปกีดขวางกัน
น่ั น แ ห ล ะ เ ว ล า เ ย็ น ค น ห นึ่ ง อ ย า ก
ปฏปิ ทาทไ่ี ดจ้ ากหลวงปขู่ าว เดินจงกรม อีกคนหน่ึงก็มาชัดชวนไป
ไหวพ้ ระท�ำวัตร มันก็ไมเ่ รียบรอ้ ย
การขอขมาวันเขา้ พรรษา มันขัดข้อง

วันเขา้ พรรษาอยา่ งวันน้ีแหละ ฉะน้ัน ผมเองอยู่กับหลวงปู่ขาวนะ
ให้พากนั ขอขมาโทษซง่ึ กนั และกนั แลว้ ก็ เรมิ่ แรกไมม่ ไี หว้พระสวดมนต์ ผมกถ็ าม
ต่างองคก์ ็ตา่ งอโหสิให้ซึ่งกันและกัน คนื ไปวา่ “หลวงป่มู น่ั ทำ� อยา่ งไร” ทา่ นก็
ไม่ใหโ้ ทษไม่ใหเ้ ป็นบาปเปน็ กรรมเพ่ือ บอกวา่ “ทำ� วตั รเชา้ ทำ� วตั รเยน็ ทำ� เอา
ว่าการเจริญสมณธรรมน้ันจะน�ำมาซ่ึง ใครเอามนั ตา่ งคนกต็ า่ งตง้ั ใจมาบวช
ความเจริญ ไมข่ ดั ข้อง อันนขี้ อ้ ส�ำคัญ แล้วมาสะสมบญุ นนั่ แหละ ทำ� เอาเลย
เชา้ เย็น อยากได้มากกท็ ำ� มาก อยาก
ฉะน้ัน ผมเองอยู่กับหลวงปู่ขาว ไดน้ ้อยก็ท�ำนอ้ ย” นี่หลวงปู่ม่ันสอน
หลายปี ทนี ห้ี ลวงปขู่ าวพาให้ทำ� วตั รหมด หลวงปูข่ าว ผมอยูก่ ับหลวงปู่ขาวก็
น่ันแหละ ท�ำไปตลอดจนสุดปลายแถว ไมม่ ีการท�ำวัตรเชา้ วัตรเย็น น่ันแหละ
เม่ือมาอยู่ท่ีนี่ (วัดปา่ เขานอ้ ย) ผมกับ ทำ� เอาใครเอามนั น่ีขอ้ สำ� คัญ
หลวงป่อู ่�ำปรกึ ษากนั พระเณรมนั หลาย
จะท�ำอย่างไร ก็เห็นพรอ้ มกันแล้ววา่ รกั ษาสมบตั ขิ องพระพทุ ธเจา้
ท�ำวัตรตั้งแต่พระเถระผูใ้ หญ่แล้วก็พอ และครูบาอาจารย์
พระผูน้ ้อยก็ให้นึกในใจเอาก็ดี นึกวา่
อโหสซิ ง่ึ กนั และกนั ไม่จองเวรจองกรรม เม่ือฉันเชา้ เสร็จแลว้ ผมปฏิบัติ
ซึ่งกันและกนั กไ็ ด้ หลวงปขู่ าวนะ ผมฉนั เรว็ นะ ฉนั ไม่มาก
พอเสร็จแลว้ รีบล้างบาตรของตัวเอง
เสร็จแลว้ เช็ดใหเ้ รียบรอ้ ย เก็บไว้ที่

371

เหมาะสม แลว้ กร็ บี ไปรอปฏบิ ตั หิ ลวงป่ขู าว ต�ำหมาก หรอื
ลา้ งบาตรล้างกระโถนใหท้ ุกอย่าง ตั้งใจประพฤติปฏิบัติ
ทำ� อยูอ่ ยา่ งนนั้ นะทั้งวันคนื น่ีแหละการทำ� ความเพียร

ทนี หี้ ลวงป่ขู าวอยถู่ ำ�้ กลองเพล ฉนั เชา้ แล้วฝึกสอนผมนะ
พาไปทำ� ความเพยี ร ไปทผ่ี าบงิ้ ทแ่ี จง้ ๆ นะ ไปแล้ว ทา่ นเอา
ผ้าอาบนำ้� คลมุ หวั เท่านั้นแหละ พาเดนิ จงกรมแข่งแดดนะ
ผมเหน็ ทา่ นท�ำ ผมกท็ �ำด้วย น่ีแปลว่าทา่ นสอน ผมว่า

“ขอโอกาสหลวงปู่ เดนิ จงกรมแขง่ แดดมนั ไม่ร้อนหรอื ”

“โอ๊ย มนั จะร้อนอย่างไร ถอื รอ้ นถอื หนาวมนั ไดห้ รอื
อพั โภกาสกิ ังคะ เดนิ จงกรมอยู่ที่แจง้ ๆ หรอื อย่ทู ีแ่ จง้ ๆ
นั่นแหละ เรากเ็ จรญิ รกั ษาสมบตั ขิ องพระพุทธเจา้ และ
ครูบาอาจารย์ทา่ นผดู้ ที ้งั หลายไว้ ทา่ นทำ� อยา่ งนี้”

หลวงปู่ม่ันไปอยู่บางแห่งไม่มีร่มไม้ ท่านก็เอา
ผ้าอาบนำ้� คลมุ หัวเดินทแ่ี จง้ ๆ น่นั แหละ ทา่ นกท็ ำ� ท่านจึง
ได้เป็นพระดี นข่ี อ้ สำ� คญั ผมเองกท็ ำ� กนั อยอู่ ยา่ งนนั้ ไมย่ ดึ
สถานที่ เมอ่ื เราตงั้ ใจทำ� คณุ งามความดี อยู่สถานท่ใี ดก็ดี
ท้งั น้ัน

ตง้ั ใจในไตรมาส ๓ เดอื น เอาใหไ้ ด้นะ มรรคผล ๔ ข้ัน
ไมไ่ ด้ข้ันใหญ่ก็ได้ข้ันตน้ ดีมาก สัตตักขัตตุปะระมะ
(พระโสดาปัตติผลข้ันต้น) ก็ดีมากถ้าจิตไดบ้ รรลุขั้นน้ี
ต้องไดน้ ะ ถา้ บุญพาวาสนาสง่ ถ้าไม่ไดเ้ พราะอินทรยี อ์ อ่ น
บารมีธรรมอ่อน ก็เรง่ ความเพียรตอ่ ไปอีก ปีน้ี ปีหน้า
วนั น้ี วนั หน้า เดือนน้ี เดือนหน้า ต่อไปเปน็ นิจ

372

373

ทีนี้เม่ืออินทรียแ์ กข่ ึ้น บารมีธรรมก็แกข่ ึ้น จะได้
ในขณะท�ำความเพียรอยูน่ ะ พิจารณาเห็นทุกข์เทา่ นั้น
ทุกลมหายใจเข้าออก จิตสงบลงไปพักเดียวเห็นแจ้งชัด
จติ จะได้บรรลนุ ยิ โตธรรม ขนั้ ต้นขน้ั แรก ถา้ ไม่ไดใ้ นขณะนนั้
แสดงว่าอนิ ทรยี ์อ่อน บารมธี รรมอ่อน กจ็ ะไปได้เมอื่ เจบ็ ไข้
ไดป้ ่วย พจิ ารณาเหน็ ทกุ ข์ จติ กเ็ บอื่ หน่าย วางความกำ� หนดั
วางอุปาทาน ได้บรรลุในขณะน้ัน ถา้ ไมไ่ ด้ นั่นแสดงวา่
อนิ ทรยี อ์ ่อน บารมธี รรมกอ็ ่อนอยู่ กท็ ำ� ต่อไปอกี เมอื่ มนั จะ
ตายนะ โอ๊ ตายจรงิ ๆ หนอ พจิ ารณาคนื หลงั กม็ าเพยี งแค่น้ี
ไปหน้ามันก็ตาย สังขารท่ีเปน็ ที่พึ่งอาศัยมันก็ตายหนอ
เราหมดทพี่ งึ่ แล้วจะไปไหนเล่า โอ๊ ไมร่ ทู้ ง้ั นนั้ นเี่ หน็ ทกุ ขใ์ น
ธาตุขันธเ์ ท่าน้ัน จติ สงบพบั ปล่อยวางอปุ าทานเลย จติ จะ
ไดบ้ รรลนุ ิยโตธรรมข้ันต้น นั่นแหละใน ๓ กาล นขี่ อ้ สำ� คัญ
หลวงปู่ขาวทา่ นสอน

ถ้าไมไ่ ด้ในขณะนนั้ เพราะอนิ ทรยี อ์ อ่ น บารมธี รรมกอ็ อ่ น
กจ็ ะเป็นนสิ ยั เปน็ ปัจจยั ตอ่ ไปวนั หนา้ ชาตหิ น้า ภพหน้าอกี
เม่ือเราสะสมอินทรีย์ธรรมบารมีธรรมน้ีไว้แล้ว ภพหนา้
ชาติหนา้ จะได้เรว็ เหมือนแสงฟ้าแลบ

พระพุทธเจา้ และพระอริยเจ้าท้ังหลายในครั้ง
พุทธกาล หญิงชายนั้น ท่านได้บรรลุโดยเร็วพลัน
ดาษดน่ื เตม็ ศาสนาเพราะท่านสะสมคณุ งามความดนี น้ั
มาหลายภพหลายชาติ ท่านจึงไดบ้ รรลุมรรคผลธรรม
วิเศษอันเลิศ ต้ังแต่พระโสดาบันข้ันตน้ ขึ้นไปเปน็ ข้ันๆ
นขี่ ้อส�ำคัญ

374

ครูนำ� ใจ วัตรนอกสูว่ ัตรใน

ผมเองไมไ่ ดศ้ ึกษาเลา่ เรียนศิลปะ ก่อนทเี่ ราจะไปบณิ ฑบาต เราจะต้อง
วิชาความรู้ เขยี นอ่านไมเ่ ปน็ ปรยิ ตั ิของ นงุ่ หม่ ผา้ ใหเ้ ป็นปรมิ ณฑลนะ ถ้าน่งุ เฟือย
ผมไมม่ ี มีแตป่ ฏิบัติเทา่ น้ันแหละ ผมก็ หน้าเฟือยหลงั ปรบั อาบตั ทิ กุ กฎนะ ระวงั
ต้ังใจปฏิบัติลว้ นๆ มาเสมอ ไมเ่ ลิกละ ให้ดี นุ่งผ้าใหน้ ุ่งห่างจากหัวเข่าลงไป
ลงมือท�ำมาต้ังแตป่ ี ๒๔๙๓ ปฏิบัติมา คืบหนึ่งพอดีนะ ถา้ นงุ่ เขินขนึ้ มากวา่ นั้น
บางปีก็ไดอ้ าจารย์ดีบา้ ง บางปกี ็ไมด่ ี ปรับอาบัติทุกกฏนะ เห็นชาวบ้านเขา
จนน�้ำตาไหลนะ ธรรมยุตนี่ บางปีก็พอ นุ่งกระโปรงเขินๆ ก็อยา่ ท�ำ อยา่ งนั้น
ปานกลาง ตอ่ มาสุดทา้ ยจึงได้พบพระ มนั ผิด พระพทุ ธเจ้าไมอ่ นุญาตใหน้ ะ
ท่ีดีคือ หลวงปูข่ าว อนาลโย และ
หลวงปู่บวั สิรปิ ณุ โณ จังหวัดอดุ รธานี ทีน้ีการนุ่งห่มจะออกไปบิณฑบาต
พอได้พบก็ตง้ั สัตย์อยกู่ บั ทา่ นเลย ถา้ ฝนไม่ตกและทางนนั้ กแ็ หง้ ไม่เปียกแฉะ
กต็ ้องซ้อนสงั ฆาฏดิ ้วย ทำ� ให้ถกู ตอ้ งตาม
ดี อ ย ่า ง ไ ร แ ห ม ผ ม นึ ก ใ น ใ จ ระเบียบ แตถ่ ้าฝนตกแล้วไม่ต้องซ้อน
ทา่ นก็รู้ ผิดถูกทา่ นก็รู้ จริงหรือเท็จ เพราะทางเปรอะเป้อื นไปดว้ ยโคลนตม
ทา่ นกร็ ู้ ทา่ นเคร่งครดั ธดุ งควตั ร ศลี วตั ร ท้ังหลาย ต่อแต่นั้นลูกดุมต้องใส่นะ
น่าอศั จรรยใ์ จฉะนนั้ ผมกป็ ฏบิ ตั อิ ยกู่ บั ทา่ น ลกู ดมุ ขา้ งล่างกต็ อ้ งใส่ ถา้ ไมใ่ สป่ รบั อาบตั ิ
ไมป่ ระมาท เจริญความเพียรอยู่เปน็ นิจ ทกุ กฎ ในพระวินยั ปฎิ กว่าอย่างนั้น
กินน้อย นอนน้อย พูดนอ้ ย น่ขี ้อสำ� คญั
ไม่ห่วงใยกับใครทง้ั นน้ั เสรจ็ กิจแลว้ เขา้ ทนี ผี้ มเองกอ็ ยกู่ บั หลวงป่ขู าว อนาลโย
ท่ีเลย ไม่ไปคยุ กับใครท้ังน้ัน ๒๐ กวา่ ปี ได้ศึกษาแลว้ หลวงปู่ม่ัน
ภูริทัตตเถระ ท�ำอย่างนั้น ถา้ ใครไปอยู่
ถ้าครูบาอาจารยไ์ ม่รู้ธรรมเห็น รว่ มดว้ ยไม่ใสล่ ูกดุมคอนะ ปรับอาบัติ
ธรรม ไมค่ วรทจ่ี ะศกึ ษา ผมกไ็ มไ่ ปศกึ ษา ทุกกฏ หลวงปมู่ นั่ ดดุ ่าเลย ถา้ ไมเ่ ชือ่ ฟัง
เสียเวลานะ ไปศึกษากับพระผู้ดีเลย ก็ไล่หนเี ลย นัน่ แหละทำ� ให้มันถูก ถา้ ท�ำ
มนั จึงได้ปัญญาความรู้ น่ีขอ้ ส�ำคญั ถกู แล้ว การเจรญิ สมณธรรมกเ็ ปน็ ไปได้
ไม่เศร้าหมอง

375

เมอ่ื ออกจากวดั ไปส่ทู างบณิ ฑบาตแลว้ อย่าเพง่ิ คยุ กนั นะ
เดินไปด้วยความสงบเสง่ียม ส�ำรวมระวังเพศสมณะไว้
ให้ดี เดนิ ไปกไ็ ม่ชา้ ไมเ่ รว็ เอาพอดๆี ผเู้ ดนิ ก่อนมองผเู้ ดนิ หลงั
อยา่ ห่างไกลกนั มาก ไมง่ าม ไม่สมกับสมณสารปู ผิดวสิ ัย
เดนิ ไปก็ไมใ่ ห้คยุ กนั นะ ถา้ คยุ กันหรือสบู บหุ ร่ี ปรับอาบตั ิ
ทุกกฎนะ ไม่งาม มันเสยี ผลรายได้ ไม่ใชจ่ ะไปบิณฑบาต
ขอข้าวเขามากนิ เลยี้ งกเิ ลสให้มนั ใหญน่ ะ คยุ กนั ไป สบู บหุ รไ่ี ป
ไปบณิ ฑบาตเยยี่ งอยา่ งชาวบ้านผไู้ มม่ คี วามสำ� รวมในเพศ
ศลี ของตนนัน้ ปรบั อาบัติทุกกฎนะ

การไปบณิ ฑบาต เรากต็ อ้ งภาวนาไปดว้ ย ก้าวขวา
พทุ โธ กา้ วซ้าย ธัมโม ก้าวขวา สงั โฆ อยา่ ให้เสียเวลา
ขาดผลรายได้ อันนี้แหละการฝึกจิต เราตอ้ งฝึกอยู่
ทุกเวลานะ ไปบิณฑบาตก็ต้องฝึก อยูก่ ับวัดก็ต้องฝึก
จะฝกึ เฉพาะตอนเดนิ จงกรมใช้ไมไ่ ดน้ ะ มนั ไมท่ นั กบั กเิ ลส
เปน็ นกั บวชมนั ต้องฝึกอยา่ งนน้ั อบรมอยอู่ ย่างนนั้ อย่าให้
กเิ ลสมนั ชกั จงู จมกู ไปในทางทผ่ี ดิ ใช้ไมไ่ ด้ อนั นขี้ ้อสำ� คญั นะ

ผมเองได้ท�ำมาแล้ว กับหลวงปู่ขาว อนาลโย
หลวงป่บู วั สริ ปิ ณุ โณ หลวงป่ฝู น้ั อาจาโร ได้ทำ� กนั มาแลว้
และร้สู กึ ว่าเยอื กเยน็ ดี ทำ� ถกู ต้องตามระเบยี บแบบแผน
ของธุดงควัตรเรียบร้อย ตอ่ แตน่ ้ันจะเข้าสมาธิธรรม
จติ ก็สงบ หรือว่าขณะไปบณิ ฑบาตนนั้ ภาวนาไปๆ จติ ก็
สงบเฉยี ดๆ นะ เพราะอำ� นาจความทเี่ คารพ ไม่ประมาท
ลว่ งเกินนน้ั น�ำมาซ่ึงความสงบได้และเปน็ บุญเปน็ กุศล
บญุ กศุ ลเมอ่ื เราสะสมใหพ้ อแลว้ นน้ั สามารถบนั ดาลให้
จติ ใจเข้าสคู่ วามสงบได้ เปน็ สริ เิ ป็นมง่ิ ขวญั ของผเู้ จรญิ
ใหม้ แี ล้ว และบนั ดาลให้บรรลมุ รรคผลธรรมวเิ ศษนนั้ ได้
น่นั แหละขอ้ ส�ำคัญ

376

มหี นักมเี บาในธรรม “โยมมาแต่ไกลดแี ลว้ ตนื่ ดกึ ลกุ เชา้
ไหว้พระเจ้า ภาวนานะ นงึ่ ข้าวเป่าไฟ รบี
เมื่อเราจัดอาหารใสบ่ าตรและ ทำ� รบี เฮด็ ใหม้ นั เสรจ็ แต่เช้า แลว้ กม็ าแต่
ให้พรเสร็จแล้วลงมือฉัน สมาทานเอา เชา้ นะ บุญกรรมที่เรามุ่งน้ันก็ได้มาก
มั่นคงแล้ว อาหารมาภายหลังน้ันห้าม ไดม้ ากตามชอบพอใจนะ” น่ันแหละ
เอาเป็นเด็ดขาดนะ แต่แล้วใหม้ ีปญั ญา เขาก็พอใจ ใหม้ ันรกู้ าลสมัย รูจ้ ักบคุ คล
หลวงปู่ขาวสอนผมนะให้มีปญั ญา ทเี่ ราพงึ จะประสบพบปะ เขา้ ไปแล้วการ
อยา่ งไรเช่นทายกทายกิ าบา้ นเขาอย่ไู กล พูดการกระท�ำของเราน้ันเปน็ อย่างไร
มาถงึ สายแล้ว นขี่ อ้ สำ� คญั นะ แตถ่ า้ เราพดู วา่

“โอ๊ ครบู าอาจารยน์ มิ นตร์ อก่อนนะ “โอย๊ อาตมาไม่เอาหรอก อาตมา
บา้ นอยูไ่ กล มาไมท่ นั ” ถือธุดงค์ขอ้ นี้แลว้ สมาทานขาดแล้ว
อาหารมาภายหลังลงมอื ฉันแลว้ ไม่เอา”
“เออ มา เอามา อาหารมาแต่ไกล น่ันแหละ ได้ช่ือว่าเราฆ่าตัวเองใหต้ าย
อรอ่ ยดนี ะ” นน่ั แหละใหม้ นั ร้จู กั อย่าเพงิ่ ขาดจากลาภนะ ลาภเกิดข้ึนแลว้ ควร
เดินสายเดียวไปตลอด ใช้ไม่ได้ เราก็ จะรักษาใหเ้ จริญขึ้นก็ไมไ่ ด้ เรียกว่าพูด
บอกให้ทายก ทายกิ า อุบาสก อุบาสกิ า อย่างฆา่ ตัวเองนะ ฉะน้ัน อยา่ เพิ่งท�ำ
เอาถ้วยชามมาให้ ตักใส่ถว้ ยชามนั้น อย่างนั้น ให้มีปญั ญารอบรู้ รูร้ อบนะ
ท�ำท่าเหมือนจะกินนั่นแหละ แสดง อันน้ีผมก็ผ่านมาหลายแลว้ เรื่องนี้
ความดใี ห้เขาดอี กดใี จ เขากเ็ หน็ วา่ ครบู า พระบางองค์พูดวา่ “โอย๊ อาตมา
อาจารย์น่ี ถึงมาแต่ไกล ไมท่ ัน มาทัน สมาทานธุดงคแ์ ล้ว ไมเ่ อาอาหารมา
ระหวา่ งกลางทาง ทา่ นก็เมตตาอยู่นะ ภายหลัง” ถ้าอย่างนั้นท่านไม่ต้องการ
รบั อาหารเอาใหเ้ ขาก็ดีใจ ความดีใจนนั้ ไม่ต้องเอามาแล้ว โยมก็เลยไมม่ าอีก
เปน็ บุญ อันนี้ไดช้ ่ือวา่ เราเปน็ ปราชญ์ เสียดว้ ย พระผู้ท�ำอยา่ งน้ันก็เห็นว่า
ฉลาด ยึดมั่นรักษาศรัทธาไทยเอาไว้ ขาดปญั ญา โงเ่ ขลา ทวุ ชิ าโน ปราภโว
ไมใ่ หข้ าดกัน ภายหลังเขาก็พลอยท่ีจะ ปัญญาทราม ขาดการสังคมกับพระผู้รู้
พยายามน�ำมาให้อีก น่ันแหละเราก็พูด ทั้งหลายมากอ่ นก็เปน็ เหตุใหล้ าภตกไป
ปลอบโยนเขา

377

ใช้ไมไ่ ด้ เราจงเป็นผู้มีปัญญาดี สุวิชาโน ภวัง โหติ
ใคร่ครวญหาเหตผุ ลแล้วจงึ พดู พดู ให้ถกู ตามผ้ตู ้องการนนั้
อยา่ ไปพดู ตดั รอน ไม่ดี อนั น้ีแหละ รักษาลาภและศรทั ธา
ในพุทธศาสนาไวก้ จ็ ะเปน็ ผู้เจริญ

ทำ� จรงิ มีแตไ่ ดก้ ับได้

สมยั ผมอยูก่ ับหลวงป่ขู าว ไตรมาสสามเดอื น ๕ ปนี ะ
ผมตง้ั ใจขอศึกษากบั หลวงป่ขู าว “หลวงปู่ท�ำความเพียร
อย่างไรมันจึงจะนำ� จิตเขา้ สู่ความสงบได้เรว็ ”

หลวงปขู่ าวกว็ า่ ไปอยู่เชียงใหม่ ๑๔ ปีนะ ไมน่ อน
ทา่ นวา่ อย่างนนั้ การทจ่ี ะทำ� จติ ให้เขา้ สคู่ วามสงบได้ คอื
อดนอน ผ่อนอาหาร ไตรมาสสามเดอื นกด็ ี นอกพรรษา
ก็ท�ำอยู่อยา่ งนั้น หลวงปู่ขาวว่านะ น่ันแหละจะน�ำจิต
เขา้ สู่ความสงบได้ ใครท�ำได้ดีมาก เมื่อเปน็ เชน่ นั้น
ผมกช็ อบใจ

สมัยน้ันรา่ งกายผมผอมนะ แข็งแรงดี โรคภัยไมม่ ี
ผมก็ตั้งสัจจาธิษฐานใจมั่นต่อหน้าสงฆเ์ ลยทีเดียว
มีหลวงปู่ขาวเป็นประธาน แต่พรรษาแรก (ปี ๒๕๐๑)
หลวงป่หู ลุยเป็นประธาน หลวงปู่ขาวรองลงมา นั่นแหละ
กเ็ ลยตงั้ ใจเอาธดุ งควตั รขอ้ เนสชั ชกิ งั คะ ไตรมาส ๓ เดอื น
ไม่นอน วันคืนเดิน ยนื น่งั ๓ อิริยาบถ เท่าน้นั แหละ

แตก่ ารท่ีจะอยู่เนสัชชิก น้ันต้องกินอาหารน้อยนะ
กินมากไม่ไดเ้ พราะอาหารมันทับธาตุ เมื่ออาหารทับธาตุ
ก็เลยเปน็ เหตุใหถ้ ีนมทิ ธะ ความงว่ งเหงาหาวนอนเกิดข้ึน
เผากาย มันก็เผาจิตอีกด้วย มัวมืดงว่ งซึมเหมือนกับหมู
น่นั แหละ มันกินรำ� อิม่ แลว้ กน็ อนเท่านั้นแล

378

พอออกพรรษาแลว้ เดือนพฤศจิกายน ธนั วาคม มกราคม ภาคอีสานมันหมด
ฝนแลว้ อากาศสบายดี ผมก็เอาท้ังแลง้ ทั้งฝนนะเรื่องธุดงคข์ อ้ เนสัชชิก ผมท�ำอยู่
อยา่ งนัน้ ถึงห้าปี จำ� ได้ ทำ� ไปแล้วรู้สึกว่า ๗ วนั ๘ วนั เทา่ นนั้ แหละจติ สงบได้ เมอ่ื จติ
สงบลงไปนน้ั ความหวิ โหยอาหารหรอื หวิ นอนของร่างกายนั้นก็ดีก็หายไปหมดส้ิน
เหลือแตผ่ ู้รู้กับสติ ทีน้ีเมอ่ื จติ สงบนนั้ ขณิกะ ก็ดี อุปจาระ ก็ดี ร้สู ึกว่ามคี วามร่าเรงิ
บนั เทงิ เปน็ อาหารอนั เยย่ี ม โอ๋ แสนสขุ แสนสบาย ศรทั ธา วริ ยิ ะ สติ สมาธิ ปญั ญา
อนิ ทรยี ์ ๕ เกิดข้นึ พร้อมโดยเรว็ พลนั ทกุ อย่างพรอ้ มกันหมด เปน็ กำ� ลงั ใจ กเ็ ลยมี
ปัญญาเหน็ ชอบวา่ การท�ำความเพยี ร อดนอน ผอ่ นอาหาร นดี่ มี าก ถูกทางท่ี
จะเป็นเครื่องกล่ันกรองกิเลสเป็นเครื่องยา่ งกิเลสไดแ้ ทส้ �ำหรับผู้ท�ำได้ เม่ือจิต
สงบแลว้ โอ๋ เกิดความรูห้ ลายอย่างหลายประเภท เกิดข้ึนนานาชนิด ก็สามารถ
บนั ดาลจติ ใจให้ฉลาดรทู้ กุ สิ่งทกุ อย่าง

ผมท�ำอยูอ่ ย่างนั้นถึง ๕ ปนี ะ ปที ่ี ๕ นับตั้งแต่เดือนกรกฎาคม ๑๕ ค�่ำ
ไปถงึ เดอื นมกราคม แรม ๘ คำ�่ จงึ พกั เพราะมเี หตเุ กดิ ขน้ึ กเ็ ลยหยดุ พกั นน่ั แหละ
ทำ� มาแล้วอยา่ งนน้ั กไ็ ม่เหน็ ตายนะ มแี ตไ่ ด้กบั ได้ ไดอ้ ะไร ได้บญุ ไดก้ ศุ ล ไดต้ น
ไดค้ ุณงามความดี ได้วิชาปัญญาความรูค้ วามฉลาดทุกสิ่งทุกอย่าง น่ันแหละ
มีแตเ่ สียกบั เสยี เสยี อะไร เสยี บาป เสยี กิเลส เสยี ของไม่ดี เสยี ความโงเ่ ขลา
เบาปัญญาทกุ อย่าง

มีโอกาสแล้วรีบบำ� เพ็ญ

หลวงปขู่ าวนะ ฉนั เช้าแล้วเอาผ้าอาบน้�ำโพกหวั เดินจงกรมตากแดดนะเจา้ โอ๊
เดินจงกรมแข่งแดดนะ

“หลวงปูไ่ มร่ ้อนหรือ”

“อา้ ว มนั เปน็ บ้าหรอื พระน่ี ไม่ร้หู รอื พระพทุ ธเจา้ วา่ อพั โภกาสกิ งั คะ นพ่ี ระพทุ ธเจ้า
ทำ� มาแลว้ จงึ ได้ตรสั รทู้ ุกอย่าง ทีนเี้ ราก็ตอ้ งท�ำตามพระองค์เจา้ จะเลอื กคดั จดั สรร
สถานทไ่ี มไ่ ด้นะ หน้าทขี่ องเราจะตอ้ งทำ� ความเพยี ร ไม่ว่ารอ้ น หนาว หวิ กระหาย
พระองค์เจา้ ไม่ยึด ไมเ่ ลอื กกาลสมัย และสถานที่ท้ังน้ัน ได้โอกาสแลว้ ทำ� เลย”

379

นน่ั แหละ หลวงปขู่ าวพาผมทำ� นะ เดนิ จงกรมแข่งแดด
ก็เอาผ้าอาบน�้ำโพกหัวเสีย หรือเรามีร่มอยู่ ฉันเช้า
เอาบาตรข้ึนกุฏิแล้วกางร่มเดินจงกรมก็ได้เหมือนกันนะ
ไม่ผิดหรอก ท�ำไดด้ ีท้ังน้ัน ดีกวา่ เราไมท่ �ำ กางรม่
เดนิ จงกรม มอื ขวาจบั ร่ม มอื ซ้ายกเ็ อาไวใ้ ต้พกผา้ ภาวนา
พุทโธ ธัมโม สงั โฆ ไปอย่างนน้ั อนั น้ีขอ้ สำ� คัญ

เดินจงกรมน่ีเป็นบุญมากนะ เดินจงกรม ยืนภาวนา
ไหวพ้ ระสวดมนต์ นงั่ สมาธิ อดนอน ผอ่ นอาหาร พจิ ารณา
ธาตุขันธน์ อ้ มลงสูไ่ ตรลักษณเ์ สมอ นี่แหละเรียกวา่ สมถ
กรรมฐาน วปิ สั สนากรรมฐาน แปลวา่ ฐานะอนั เอก ฐานะ
อันเลิศนะ วิปสั สธาตุจะแจง้ ซึ่งภพชาติสังขาร เป็นทาง
ด�ำเนิน เป็นอาวุธอันทันสมัย จะน�ำจิตเข้าสูค่ วามสงบได้
ขณิ กสมาธิ อุปจารสมาธิ อัปปนาสมาธิ อันนั้นเปน็ ผล
เกิดขน้ึ จากการทเ่ี ราเจรญิ ธรรม ไมผ่ ดั วนั ปันเวลานะ จะได้
ผลสมดงั่ ใจหมาย อันน้ขี อ้ ส�ำคัญ

ฉะนั้น ทุกทา่ นเมื่อได้ยินได้ฟงั แล้ว ตั้งแตว่ ันนี้ไปนะ
จงตง้ั ใจนะ จะเอาอยา่ งไรธดุ งค์ ๑๓ ขอ้ นี้ พระองคเ์ จา้ ทรง
บญั ญตั ิไว้ ธตุ งั คะ เปน็ เครือ่ งกลน่ั กรองกิเลส เป็นเคร่ือง
ย่างกิเลส เราจะเอาธดุ งค์ขอ้ ใดในไตรมาส ๓ เดือนน้ีก็จง
ต้ังใจเอาใหไ้ ด้นะ ต้ังใจประพฤติปฏิบัติตอ่ ไป เวน้ ไว้แต่
เจ็บไข้ไดป้ ว่ ย อันนั้นก็ยกไว้ก่อน ถา้ สังขารรา่ งกาย
อ�ำนวยผลให้อยูก่ ็ท�ำไปอยา่ งน้ัน ไมห่ ว่ งใยอาลัยสังขาร
ตายเป็นตาย ต้องเอาอยา่ งน้ันนะ

หลวงป่ขู าวว่า ถา้ ทำ� ความเพยี รไม่ได้กอ็ ย่าหวงั ว่า
จะเปน็ ไป นน่ั แหละ มกั งา่ ยไมพ่ องาย ท่านวา่ ขใ้ี กลท้ าง
มนั เหมน็ มกั งา่ ยไมพ่ องาย คอื ขเี้ กยี จขคี้ รา้ น นนั่ แหละ

380

381

หายสงสัยในวาสนา

หลวงปู่บุญมา คัมภรี ธมั โม เมอื่ หลวงป่บู ญุ มาอปุ สมบทแลว้ ได้มาอย่ศู กึ ษาขอ้
ปฏบิ ตั ดิ า้ นจติ ภาวนากบั ทา่ นพระอาจารย์สงิ ห์ สหธมโฺ ม
วดั ป่าสีห์พนมฯ ที่วัดธาตุฝุน่ จังหวัดสกลนคร โดยฝกึ ปฏิบัติอย่าง
อำ� เภอสว่างแดนดิน จังหวดั สกลนคร เข้มขน้ และชว่ งเข้าพรรษาในตอนกลางคืนจะถือ ๓
อริ ยิ าบถ เท่าน้นั คือ ยืน เดนิ และนงั่ จะไม่มกี ารนอน
(ข้อมูลจากบทสัมภาษณ์) ซงึ่ หลวงปู่บุญมาท่านเพยี รปฏบิ ตั ิไดด้ ้วยดตี ลอดมา

แตห่ ลงั จากออกพรรษาทส่ี องแล้ว หลวงปบู่ ญุ มา
เกิดจติ ฟ้งุ ซ่านอยากจะสกึ ทา่ นพระอาจารย์สงิ ห์ จงึ ให้
ทา่ นไปหาหลวงปูข่ าว อนาลโย ซึ่งขณะน้ันท่านพัก
ภาวนาอยู่ท่ีถ้�ำคอ้ เพ่ือจะไดช้ ว่ ยแก้จิตท่มี ีปัญหานีไ้ ด้

“พอรุ่งเช้าขึ้นมา โยมพอ่ เข่งก็มาจังหันเช้า พอฉัน
บิณฑบาตเสร็จ ลา้ งบาตรเสร็จแลว้ เราก�ำลังนั่ง
เช็ดบาตรอยูต่ ่อหน้าหน้าท่านพระอาจารย์สิงหซ์ ึ่งท่าน
กำ� ลงั ลา้ งมือหลงั จากเพ่ิงฉนั เสรจ็ โยมพอ่ ก็เขา้ มาถาม
ขนึ้ ใสห่ น้าท่านพระอาจารยเ์ ลยวา่ “ไดย้ นิ ขา่ ววา่ อยาก
จะลาสกิ ขาใช่ไหม” พอดที ่านพระอาจารย์ได้ยนิ กร็ ้อง
ขน้ึ ก่อนเลยว่า “จะสกึ กส็ กึ ตอนเข้ามาบวชเรากไ็ มไ่ ด้
ขอนมิ นต์ใหใ้ ครเข้ามาบวช” แล้วทา่ นกพ็ ดู ตอ่ อกี วา่
“มิน่าละ วนั หนงึ่ เหน็ มนั มาเล่นตะเกียงเจา้ พายุอยู่
ในหอ้ ง กไ็ ม่ได้นกึ อะไร กเ็ หน็ มนั เร่งทำ� ความเพยี รดๆี
อย่ใู นป่าชา้ นะ” ท่านพดู นะ ทา่ นคงจะไดอ้ บุ ายเกยี่ วกบั
เราแลว้ ก่อนหน้าน้ี แลว้ โยมพ่อก็พดู ขน้ึ อกี วา่ “ขอกอ่ น
ขอให้ไปเทยี่ ววเิ วกกอ่ น ถ้ามนั อยไู่ มไ่ ดจ้ รงิ ๆ พอถงึ
ฤดทู เี่ ขาทำ� นา จงึ คอ่ ยสกึ ออกมากไ็ ด้” ท่านพระอาจารย์

382

383

ก็พูดส่งต่อเลยวา่ “เออดี ถ้าอยา่ งนั้นก็ใหไ้ ปพร้อม
กับพอ่ ออกดี แกจะเอาเสบียงไปส่งใหห้ ลวงปู่ขาว
อนาลโย ที่ถ�้ำค้อวันพรุ่งนี้” มันเลยพอดีเข้ากันกับ
อุบายท่ีเราไดว้ างเอาไว้

หลังจากฉันจังหันและเสร็จภารกิจทุกอยา่ ง
เรียบร้อยแลว้ เราก็เข้าไปกราบลาท่านพระอาจารย์
ถ�้ำคอ้ สงิ ห์ จากนน้ั กเ็ ดนิ ทางไปเจอพอ่ ออกดที คี่ ำ� ววั เดนิ ทาง
สองวนั กว่าจะไปถงึ ภคู อ้ จากนนั้ กเ็ ขา้ ไปกราบนมสั การ
หลวงปขู่ าว ไปขอนสิ ยั นำ� เพนิ่ พอท่านใหน้ สิ ยั เสรจ็ แลว้
กน็ งั่ รบั ฟงั โอวาทจากท่าน เรากย็ งั ไมไ่ ด้เลา่ อะไรให้ทา่ น
ฟังเพราะเพ่งิ เดนิ ทางมาถงึ แตห่ ลวงป่ขู าวคงจะรแู้ ลว้
เพน่ิ กถ็ ามวา่ “มนั เป็นจง่ั ได๋ จงั่ อยากสกึ ” เวา่ ใหเ้ พนิ่ ฟงั
ว่า “มันสงสัยวาสนา” พอเพิ่นเทศน์ เพ่ินบ่ได้เทศน์
ธรรมดาเด๊ ข้ามภูข้ามเขาไปอยู่กลางโคกภูโคก
เพ่ินฮ้องใส่ (พดู ใส่อย่างดัง)

“ออก มันกะออกมาจากหมอ่ งหั่น มันกะสิไป
เขา้ หม่องหนั่ มันอกี บอ้ ”

นี่พอเรามานึกถึงตรงน้ีขึ้นมาเม่ือใด มันก็เกิด
สลดสังเวชใจขนึ้ มาทุกที ธรรมป่าครบู าอาจารย์มันมา
กระต้นุ หวั ใจอยา่ งแรง ทำ� ให้มกี ำ� ลงั ใจขน้ึ มาทนั ที นลี่ ะ่
ธรรมของครูบาอาจารย์เปรียบเสมือนเป็นยาวิเศษ
รักษาคนไข้ที่ปว่ ยเป็นโรคใจให้หายได้ทันทีทันใจ
จากน้ันทา่ นก็เทศนาให้โอวาท พอสมควรก็กราบลา
ท่านมาหาทพ่ี ัก

384

“มนั บม่ กี ฏุ เิ ด๊ หลวงปเู่ พน่ิ กอ็ ยใู่ นถำ�้ ดั ง นั้ น ส มั ย ก อ่ น พ ร ะ เ ณ ร ต อ้ ง
ผูไ้ ปอยู่ก่อนก็ไปอยูน่ �ำแงบนอ้ ยๆ ก็มี ระมดั ระวงั จะไปทำ� ผดิ ขอ้ วตั รไม่ได้ สงิ่ ท่ี
ถำ�้ น้อยๆ แล้วกห็ ลงั ดานโลด ช่วงนน้ั เป็น มองไม่เห็นตัวน้ันมันเล่นงานเอาจริงๆ
ฤดูหนาว ฝนไมต่ ก ให้เณรเอาใบเปา้ มา ข้อวัตรก็คือศีลสังวรนั่นละ ถ้ามีศีลแลว้
ปูรองพ้ืน แลว้ กเ็ อาผ้าอาบน้�ำปูทับอกี ที อนุ่ ใจ อย่ทู ไ่ี หนกอ็ นุ่ ใจ ไมก่ ลวั อะไรทงั้ นน้ั
ทำ� เปน็ ทนี่ อน เพราะอย่บู นภมู นั ไมม่ เี สอ่ื ถึงกลัวก็อยูไ่ ดเ้ พราะนึกถึงศีล แตว่ ่า
สว่ นกลดแขวนกับเชือกที่ขึงไวก้ ับต้นไม้ คนกลวั มนั ดกี ว่าคนไม่กลวั ทำ� ไมจงึ เปน็
เปน็ คร้ังแรกที่เราออกธุดงค์ ไม่เคยอยู่ อยา่ งนนั้ กเ็ พราะวา่ คนทกี่ ลวั มนั จะไดห้ า
บนภูเขาป่าแบบนี้ และยิ่งหลวงปูค่ �ำมี ทพ่ี ง่ึ ทางใจ กลวั มากๆ กบ็ รกิ รรมพทุ โธๆ
(พระลูกชายหลวงปู่ขาว บวชปีเดียว อัดเข้าไป พอจิตสงบลง ความกลัว
กับหลวงปูบ่ ุญมาแต่ท่านอายุมากกว่า) มนั กห็ ายไปเอง มนั กด็ อี ยา่ งน้ี ถา้ คนกลวั
ท่านพูดขูว่ า่ “ระวังใหด้ ีเด้อ เสือก็มี มนั กไ็ ม่ขเี้ กยี จไหวพ้ ระสวดมนต์ นอนอยู่
ผีก่องก่อยก็มี ให้ระวังข้อวัตรปฏิบัติ กลางปา่ กลางเขา บทสวดมนต์ทเี่ ราทอ่ งจำ�
ให้ดีเด๊” มาได้มีก่ีสูตรๆ ก็เก็บมาสวดจนหมด
มันก็ดีอยา่ งนี้ น่ีละการท่ีเราไดไ้ ปเท่ียว
พอตกกลางคืน เสียงสัตว์ตา่ งๆ วิเวกตามสถานท่ีตา่ งๆ ไดค้ วามวิเวก
พวกนก ชะมด หมู สารพดั อย่างวงิ่ หากนิ สงดั กม็ สี ว่ นช่วยในการเจรญิ สมณธรรม
มันว่ิงเหยียบใบไมเ้ สียงควกๆ คากๆ ได้เปน็ อยา่ งดี ท่ีครบู าอาจารยท์ า่ นออก
ตอนน้ันบทสวดมนตม์ ีเทา่ ไร เอาเก็บ ไปหาเที่ยวธุดงคกรรมฐาน ทา่ นก็ไป
มาสวดหมด กลวั ตาย คนข้ีย่าน กอ่ นจะ เท่ยี วหาสถานท่มี ันน่ากลัวๆ อย่างน้ลี ะ่
นอนก็เตรียมพร้อมอยูน่ ะ แตพ่ อไดย้ ิน
เสียงกอ็ กๆ แก็กๆ ตอ้ งได้ลกุ ขึน้ ปบุ๊ ปบ๊ั เราไปชว่ งนั้นมีพระและเณรอยู่กับ
ลุกข้ึนมานั่งภาวนาแตว่ า่ เขา้ ไปใน ท่านประมาณ ๗ รปู สมัยกอ่ นแถวภคู ้อ
มุ้งกลด มุง้ ผ้าหนาคือจีวร เราอยูข่ า้ งใน ไมม่ หี มบู่ ้านเลย ไม่มวี ัวไม่มีควาย คนก็
แต่เห็นขา้ งนอกอยู่ แต่ผู้อยูข่ า้ งนอก ไม่มีเงยี บไมม่ สี ถานทอี่ อกไปรบั บณิ ฑบาต
เหลยี วเข้าไปบ่เห็นดอก” ท่านจงึ ตอ้ งอาศยั อาหารจากแม่ชซี ง่ึ เป็น
หลานของท่านเป็นผทู้ ำ� ถวายเทา่ น้ัน

385

ระหว่างที่พักอยู่ได้ชว่ ยกันกับหมู่เพ่ือนหามน้�ำขึ้นไป
ใสต่ มุ่ ทอ่ี ยกู่ ลางลานหินดานไว้ให้หลวงปไู่ ด้สรง เราไดพ้ กั
ศกึ ษาขอ้ วตั รปฏบิ ตั อิ ย่กู บั หลวงป่ขู าวเจด็ วนั ใจเราอยากจะ
อย่นู านๆ กว่านี้ แต่กไ็ ม่ไดเ้ พราะอาหารบณิ ฑบาตไม่พอฉนั
ครบู าโทน พระทเ่ี ข้ามาอยกู่ ่อนจงึ ไดช้ วนหมเู่ พอ่ื นไปภาวนา
ที่อน่ื โดยใหเ้ หตุผลวา่ ถา้ พวกเรายังอยกู่ บั ครูบาอาจารย์
มันก็เหมือนกับเรามาขูดเนื้อเถือหนังท่าน เกรงว่ามันจะ
หนักครูบาอาจารย์ พอฟังเหตผุ ลอย่างนแี้ ล้ว จงึ ตกลงกนั
เขา้ ไปกราบลาหลวงปู่ขาวเพอ่ื จะออกไปหาทีว่ เิ วกตอ่ ไป

หลังจากน้ันมา หลวงปูบ่ ุญมาไดม้ ีโอกาสอยู่ศึกษา
ข้อปฏิบัติกับหลวงปู่ขาว อนาลโย ท่ีดงหมอ้ ทอง และท่ี
วัดถำ�้ กลองเพลในกาลต่อมา

386

387

ได้พบครูบาอาจารย์อนั เปน็ ที่พ่งึ

หลวงปู่ขาน อุปสมบทเปน็ พระภิกษุในปี พ.ศ.
๒๕๐๐ เมอื่ ออกพรรษาในปแี รกแล้ว ท่านไดก้ ราบเรยี น
ปรึกษากับหลวงพ่อชม เจา้ อาวาสวัดปา่ โคกส�ำโรง
ท่ี ท่าน จ� ำพรรษ าอ ยูด่ ว้ ย ใ นเร่ือ งก ารอ อ ก วิเว ก
ซง่ึ หลวงพอ่ ชมท่านกไ็ ม่ขัดข้อง

หลวงปูข่ าน ฐานวโร การไปธุดงค์ของหลวงปูน่ ั้น ท่านไปเพ่ือแสวงหา
ความวิเวก แสวงหาการหลุดพน้ ท่านจึงไมย่ ่อทอ้ ต่อ
วดั ป่าบ้านเหลา่ ส่ิงใด บางครั้งทา่ นก็พักวิเวกอยูต่ ามถ�้ำตามผาตาม
กิ่งอ�ำเภอเวียงเชียงรุ้ง จังหวัดเชยี งราย สถานทตี่ า่ งๆ ทป่ี ราศจากสงิ่ รบกวน การบณิ ฑบาตกแ็ สน
จะอตั คดั อดบา้ ง อม่ิ บา้ ง แต่การประกอบความเพยี รนนั้
(ข้อมลู จากหนงั สอื ชวี ประวัติและปฏิปทา หลวงปทู่ า่ นกบ็ ำ� เพญ็ อย่างไม่ลดละ ไม่กงั วลกบั สง่ิ ใดๆ
ของหลวงปู่ขาน ฐานวโร) จะมีก็แต่การภาวนา บางครั้งเกิดติดขัดในสิ่งตา่ งๆ
อันจะเป็นไป ทา่ นก็ยังไมม่ ีครูบาอาจารยท์ ่ีพอจะช้ีน�ำ
หลวงปขู่ าน ฐานวโร มรณภาพ แนวทางนน้ั ไดเ้ ลย ท่านจงึ ปรารถนาทจี่ ะแสวงหาครบู า
ด้วยโรคไตวายเรื้อรัง เม่ือวันที่ อาจารยม์ าเป็นทพี่ ง่ึ
๓๑ กรกฏาคม พ.ศ. ๒๕๔๙

พอใกลจ้ ะเขา้ พรรษาท่ีสอง หลวงปูจ่ ึงตัดสินใจ
เดินทางมุ่งหน้าไปยังวัดถ้�ำกลองเพล อันเป็นส�ำนัก
ปฏบิ ตั ธิ รรมของหลวงปขู่ าว อนาลโย ดว้ ยความตอ้ งการ
ทจี่ ะรับฟังโอวาทธรรมจากทา่ น

ภายในวดั ถ�้ำกลองเพลแห่งนเ้ี ป็นสถานทีส่ งบสงัด
มเี นอื้ ทก่ี วา้ งใหญ่ เหมาะแกก่ ารบำ� เพญ็ ภาวนาอยา่ งยงิ่
ในสมยั นนั้ ทแี่ ห่งนย้ี งั มสี ตั ว์ปา่ นานาพนั ธ์ชุ กุ ชมุ มากมาย
เมอื่ หลวงป่ขู านเดนิ ทางมาถงึ ทา่ นจงึ เข้าไปกราบคารวะ
ฝากตัวอยูศ่ ึกษาและจ�ำพรรษารว่ มกับหลวงปู่ขาวท่ี
ถำ้� กลองเพล

388

หลวงปขู่ าวไดเ้ มตตาใหอ้ บุ ายธรรม มสี ตอิ ยู่ด้วยอิรยิ าบถท้งั ๔ คอื ยืน เดิน
แกห่ ลวงปู่ขานมากมายจนท่านมีความ นง่ั และนอน ติดขัดสง่ิ ใดก็เข้าไปขอรบั
ปลาบปล้ืมใจอยา่ งย่ิงอันเป็นก�ำลังใจ อบุ ายธรรมตา่ งๆ จากหลวงปขู่ าว นบั ว่า
ในการปฏิบัติ การบ�ำเพ็ญภาวนาของ ไดร้ บั ความอิ่มเอมใจอย่างมาก
หลวงปูท่ ่ีถ้�ำกลองเพลน้ี ท่านเร่งความ
เพียรอยา่ งหนัก ทั้งอดอาหารและ วั น ห นึ่ ง ห ล ว ง ปู ่ข า ว ไ ด ้ก ล ่า ว แ ก ่
อดนอน ท�ำความเพียรภาวนาอยา่ ง หลวงป่ขู านวา่ “วนั นเี้ ปน็ วนั พระ ไมต่ ้อง
สม่�ำเสมอ ไมล่ ดละท้งั กลางวันกลางคนื จ�ำวัดหลับนอน” เมื่อหลวงปูไ่ ด้ฟัง

389

ดงั นนั้ แลว้ ท่านกป็ ฏบิ ตั ติ ามทหี่ ลวงป่ขู าวบอกทกุ ประการ
วันนั้นหลังจากการท�ำวัตรสวดมนตเ์ สร็จ หลวงปู่ขาวได้
เทศนอ์ บรมพระภิกษุสามเณรภายในถ้�ำกลองเพลนานถึง
๒ ชั่วโมง เม่ือท่านเทศน์จบลง พระภิกษุสามเณรตา่ งก็
แยกย้ายกนั ไปยงั ทพี่ กั ของตน ส่วนหลวงปขู่ านยงั คงปฏบิ ตั ิ
ตามที่หลวงปูบ่ อกคือไม่ให้นอน ใหท้ �ำความเพียรด้วย
เนสัชชกิ คอื ถอื กิรยิ า ๓ คอื ยืน เดิน และนง่ั ไมย่ อมให้
หลงั แตะพน้ื เป็นอนั ขาด ในคนื ดงั กลา่ วหลวงปขู่ านนง่ั สมาธิ
ตลอดทงั้ คืนจนถงึ ๖ โมงเชา้ ในระหวา่ งทที่ ่านนงั่ ภาวนา
ไม่ว่าอากาศจะร้อน ยุงจะเยอะแคไ่ หน ท่านก็ใชข้ ันติ
คือความอดทนต่อสูจ้ นผ่านพ้นไปไดโ้ ดยไม่ยอมใหห้ ลัง
แตะพน้ื เลย เหตกุ ารณค์ รงั้ นน้ั ถอื เป็นการทดสอบความอดทน
ความเพียร อีกนัยก็คือขอ้ สอบโจทย์ส�ำคัญที่หลวงปู่ขาว
นำ� มาทดสอบท่านได้เปน็ อย่างดี

ในดา้ นขอ้ วัตร หลวงปู่ขานปฏิบัติอยา่ งสม่�ำเสมอ
มิได้ขาดในกิจวัตรใดๆ เลย ไมว่ า่ จะเปน็ การปดั กวาด
ท�ำความสะอาดลานวัด ศาลา กุฏิ และห้องน�้ำ สมัยนั้น
ท่ีถ้�ำกลองเพลยังไม่สะดวกสบายอยา่ งเชน่ ปจั จุบัน ไม่มี
ไฟฟ้า ไมม่ ีเคร่ืองปมั๊ น้�ำ ดังน้ันเวลาจะใช้น้�ำในการท�ำ
กิจวตั รต่างๆ จึงต้องไปตักนำ�้ จากลำ� ธารมาใส่ตุ่ม ใส่อ่าง
ลา้ งบาตร ใสห่ อ้ งน�้ำ และตามกุฏิของครูบาอาจารย์
หลวงปปู่ ฏิบัติเชน่ น้มี ไิ ด้เวน้

ในระหว่างพรรษาที่ ๓ นี้ หลวงปูข่ านได้พากเพียร
พยายามท่องพระปาฏิโมกข์ หรือการสวดแจงพระธรรม
วินัยทั้ง ๒๒๗ ขอ้ เป็นภาษาบาลี ซง่ึ เป็นสงิ่ สำ� คญั อันเป็น
เครอ่ื งอย่ขู องภกิ ษสุ งฆ์ทงั้ หลาย แตก่ ารจะสวดพระปาฏโิ มกข์

390

ใหส้ �ำเร็จใหจ้ �ำขึ้นใจนั้นยากแสนยาก ในครงั้ แรกหลวงปขู่ านไดจ้ ำ� พรรษา
พระบางรูปบางทา่ นท่ีมีบุญดีความจ�ำดี อยูร่ ว่ มกับหลวงปูข่ าวที่ถ�้ำกลองเพลน้ี
ใชเ้ วลาเพียง ๓ เดอื น กจ็ �ำขน้ึ ใจ บางรปู สองพรรษา ในคร้ังที่สองไดม้ ีโอกาส
ก็ ๓ ปี หน�ำซ้�ำบางรูปปาเข้าไป ๘ ปี กลับมาจ�ำพรรษาที่ถ�้ำกลองเพลกับ
ก็ยังสวดไมส่ �ำเร็จ สว่ นหลวงปู่ขานน้ัน หลวงปขู่ าวอกี ครงั้ ในพรรษาที่ ๘ และ ๙
ทา่ นใช้เวลาทอ่ งจ�ำพระปาฏิโมกข์ดว้ ย (พ.ศ. ๒๕๐๗-๒๕๐๘) การกลับมาอยู่
ความเพียรเพียง ๕๓ วัน ก็ส�ำเร็จ ท่ีถ้�ำกลองเพลในคร้ังน้ี ทา่ นไดต้ ้ังใจ
จำ� ขน้ึ ใจ ทา่ นไดก้ ล่าวว่าเหตทุ ที่ ่านม่งุ มน่ั ปฏิบัติอาจริยวัตรถวายพอ่ แมค่ รูบา
จะทอ่ งจ�ำพระปาฏิโมกขใ์ หส้ �ำเร็จให้ อาจารยอ์ ย่างเตม็ กำ� ลงั แมท้ า่ นจะมธี รรม
จงไดน้ ้นั เพราะมีอยู่วนั หน่งึ หลวงปขู่ าว อันประเสริฐประดิษฐานอยู่ในใจแล้ว
ไ ด ก้ ล า่ ว ถ า ม แ ก ภ่ ิ ก ษุ ทั้ ง ห ล า ย ใ น กต็ าม ทา่ นกม็ ไิ ดล้ ะทง้ิ การปฏบิ ตั บิ ำ� เพญ็
ถำ�้ กลองเพลว่า “มผี ้ใู ดสวดพระปาฏโิ มกข์ ภาวนาตลอดทงั้ ในและนอกพรรษา ยงั คง
ได้บ้าง” แต่มิไดม้ ีพระรูปใดเลยท่ีจะ ปฏบิ ตั เิ ฉกเช่นทที่ า่ นเคยปฏบิ ตั มิ า สถานที่
ตอบทา่ นว่าตนสวดได้ แต่นนั้ หลวงป่ขู าว หลวงปู่เลือกใชเ้ ป็นท่ีภาวนาภายใน
จึงตำ� หนิวา่ ไม่มคี วามสามารถ อ า ณ า เ ข ต วั ด ถ�้ ำ ก ล อ ง เ พ ล นั้ น ก็ คื อ
ถ�้ำผาบ้ิง ท่านพ�ำนักอยู่ในถ�้ำน้ันเพียง
ต ล อ ด ร ะ ย ะ เ ว ล า ท่ี ห ล ว ง ปู อ่ ยู ่ ล�ำพงั
จ� ำ พ ร ร ษ า กั บ ห ล ว ง ปู ่ข า ว ที่ ถ้� ำ
กลองเพลน้ัน ทา่ นได้ปฏิบัติภาวนา
อย่างเขม้ ข้นและอุกฤษฏย์ ่ิงนัก ท้ังอด
นอนผ่อนอาหาร บางคร้ังก็ถือเนสัชชิก
ทา่ นมุ่งมั่นท�ำความเพียร ไม่ยอมให้วัน
เวลาผา่ นไปโดยเปล่าประโยชน์ ท่าน
ปฏบิ ตั อิ ย่างสนั โดษ ไมล่ ะคนดว้ ยหม่คู ณะ
หลบหลีกปลีกเร้นหาสถานที่ภาวนา
ตามถำ้� ตามผาตามโขดหนิ ผลาญหนิ บา้ ง
โคนไมบ้ า้ ง

391

พระครญู าณวราจาร ความเมตตาของครบู าอาจารย์
(หลวงปวู่ ิไลย์ เขมิโย)
อาตมาออกบวชเปน็ พระได้อยใู่ ต้ร่มกาสาวพสั ตร์
วัดถำ�้ พญาช้างเผอื ก เอาคุณพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ ไว้บนเกศเกศา
อ�ำเภอคอนสาร จังหวัดชยั ภมู ิ มาตง้ั แตพ่ ทุ ธศักราช ๒๕๐๑ ซ่ึงพ้นจากการเป็นทหาร
เกณฑ์มาแลว้ ๒ ปี เมอ่ื อายุ ๒๕ ปีเต็ม เขาว่าอะไรนะ
(ขอ้ มลู จาก facebook อายุย่างเข้าเบญจเพส วา่ ตามเขา พอบวชมาปีที่ ๑
กฎแหง่ กรรม ธรรมจัดสรร) ก็จำ� พรรษาอย่ทู บ่ี ้าน

พอออกพรรษาคิดอยากจะออกแสวงหาครูบา
อาจารย์ ก็คิดด�ำริในใจว่าครูบาอาจารยท์ ี่ปฏิบัติดี
ปฏบิ ตั ชิ อบกว่าครบู าอาจารย์ทอี่ ยปู่ ัจจบุ นั จะมไี หมหนอ
ในคนื หนง่ึ กเ็ ลยฝัน ฝันวา่ เราเป็นพระไดไ้ ปเทย่ี วๆ ไปๆ
เดินทางไปทางทิศเหนือ เขาเรียกทิศอุดร เดินไปๆ
ไปเจอวัดๆ หน่ึง ในบริเวณวดั มองเข้าไปเห็นเป็นธาตุ
ที่เขาใสก่ ระดูกอยูต่ ามก�ำแพงวัด เราเดินเขา้ ประตู
ทางทศิ เหนือ ไปเจอกฏุ ิหลังหน่ึงดูเปน็ เชงิ กุฏิคอนกรตี
ไม่ยกพื้น พอเขา้ ไปในกุฏิ มองเห็นตาผา้ ขาวนั่งอยู่
หนั หน้าไปทางทศิ ตะวนั ออก เหน็ แสงสว่างพ่งุ ขน้ึ ข้างบน
เหมือนเราส่องไฟฉายขึ้นขา้ งบนสวา่ งเปน็ ชอ่ ข้ึน
ตาผ้าขาว เราเรยี กวา่ พ่อขาว พอ่ ขาวกบ็ อกว่าเสย่ี งทาย
ดวู าสนา แตเ่ ราไมร่ ้วู ่าวาสนาของใคร ทเี่ รามองเหน็ นนั้
สว่างไสวดี พอเสรจ็ แล้วพอ่ ขาวกบ็ อกว่าจะเสยี่ งดวู าสนา
ใหเ้ รา แต่ปรากฏวา่ แสงสว่างเหมือนกันแต่ไม่มาก
เหมือนอนั ก่อน แลว้ ก็รสู้ ึกตวั ตน่ื นอนขน้ึ

พออยูต่ ่อมาก็เดินทางข้ึนไปทางจังหวัดอุดรธานี
น้ันแหละ เดินทางไปเร่ือยๆ ออกจากบ้านบัวใหญ่
ไปพักเมืองพล บา้ นแฮด บา้ นไผ่ ถงึ อุดรธานีประมาณ

392

393


Click to View FlipBook Version