The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

อนาลโย ผู้ไม่มีความอาลัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-03-05 21:50:15

อนาลโย ผู้ไม่มีความอาลัย

อนาลโย ผู้ไม่มีความอาลัย

Keywords: อนาลโย ผู้ไม่มีความอาลัย,หลวงปู่ขาว อนาลโย

144

เมตตาธรรม

ครงั้ หนงึ่ ผ้เู ขยี นไปเยยี่ มทา่ นอาจารย์ตามปกติ เขา้ ทาง
หลังกุฏิ เห็นถังน้�ำมันสองร้อยลิตรถังหนึ่งตั้งอยู่
ริมก�ำแพงในสภาพบบุ บิบ

มี ห นั ง สื อ เ ขี ย น ด ว้ ย สี ข า ว ว า่ คำ่� วนั หนง่ึ ทา่ นอาจารยไ์ ดป้ รารภ
“ถงั ชา้ งเหยยี บ” สอบถามดไู ดค้ วามว่า ดงั ๆว่าชา้ งของเราหายไปไหนนะไมเ่ หน็
กอ่ นหน้านั้นไม่เท่าไหร่ ทา่ นอาจารย์ มานานแล้ว จะถกู ใครเขาฆา่ ตายเสยี แลว้
ร ะ ลึ ก ถึ ง ช า้ ง พ ล า ย ใ ห ญ ต่ ั ว ห น่ึ ง กระมงั ตอนดกึ คนื นนั้ เอง ทา่ นอาจารย์
ดูเหมือนจะเปน็ หัวหน้าโขลงอยูใ่ นปา่ ก�ำลังจ�ำวัดอยูต่ อ้ งตกใจต่ืนขึ้น เพราะ
หลงั เขาเคยเข้ามาเทยี่ วในวดั เปน็ ประจำ� ร้สู กึ วา่ กฏุ คิ ลอนและมเี สยี งใครเอาอะไร
ทา่ นอาจารย์วา่ ทา่ นคุ้นเคยกับชา้ ง มาถูเสียดสีทีข่ ้างฝา ทา่ นรอ้ งถามออก
เชอื กนน้ั แต่ตอนหลงั นห้ี ่างไป ไม่ไดม้ า ไปวา่ ใคร กไ็ ม่มเี สยี งตอบ แล้วอะไรๆ
ให้เหน็ อีก ก็เงียบไป พอต่ืนเช้ามีผู้เห็นถังน้�ำมัน

145

ใบน้ันต้ังอยู่ใกล้กุฏิในสภาพบุบบิบ ก็รูก้ ันว่าในตอนดึก “ช้างของหลวงปู่” ไดม้ า
รายงานตวั ให้ทราบว่ายงั มชี วี ติ อยแู่ ละเอาสขี ้างสผี นงั กฏุ ใิ หร้ ้วู า่ มา พร้อมทง้ั เหยยี บ
ถงั นำ�้ มนั ท้งิ ไว้เป็นทร่ี ะลกึ ดว้ ย หลังจากน้นั แลว้ ช้างเชอื กน้ันกม็ ิได้มาแสดงรอ่ งรอย
อะไรใหเ้ หน็ อกี

ท่านอาจารย์มบี ารมพี เิ ศษอยเู่ กย่ี วกบั ช้าง ในชวี ประวตั ขิ องท่านมเี รอื่ งทเ่ี กิดขนึ้
ระหว่างท่ีท่านธุดงคไ์ ปกับท่านพระอาจารยม์ ั่นและสหธรรมิกบางรูปในดินแดน
ของจังหวัดเชียงใหม่ ไปถึงเลียบไหล่เขาแหง่ หนึ่ง พบช้างใหญ่ขวางทางอยู่
ท่านพระอาจารย์มนั่ คงจะมญี าณทราบคณุ ธรรมพเิ ศษของท่านอาจารยเ์ กยี่ วกบั ชา้ ง
จงึ ส่ง “ทา่ นขาว” ไปเจรจาขอทาง

ทา่ นอาจารยเ์ ดินไปใกล้ช้างแลว้ ก็พูดเรียบๆ วา่ “อา้ ย อา้ ยตัวใหญ่โต ข้อย
ตัวเล็กนอ้ ย พวกข้อยจะพากันไปปฏิบัติธรรม แต่ข้อยกลัว ขอใหอ้ า้ ยเปิดทางให้
ดว้ ยเถดิ ” (เขยี นตามทจี่ ำ� ได้ คำ� อาจจะผดิ บ้าง แต่ความคงคลา้ ยๆ เชน่ น)้ี ชา้ งเชอื กนนั้
ฟงั แล้วกห็ นั หน้าเข้าซกุ กบั ก้อนหนิ เปิดทางใหผ้ ่านแตโ่ ดยดี ผ้ทู ที่ ราบเรอื่ งเชอื่ กนั ว่า
ในชาติหนึ่งทา่ นอาจารยเ์ คยเป็นชา้ งช้ันใหญม่ า เพราะเณรแม่ชีท่ีวัดถ�้ำเช่ือว่า
ท่านอาจารย์สามารถจะเรียกช้างมาไดถ้ า้ ต้องการ

ผเู้ ขยี นมคี วามเหน็ ว่า ทที่ ่านอาจารย์สามารถ “เจรจา” ให้ช้างเปิดทางให้เดนิ
ผา่ นกด็ ี หรอื สามารถเรยี กชา้ งให้มาหาไดก้ ด็ ี คงจะมอี นสุ นธม์ิ าจากพลงั จติ ของท่าน
ซง่ึ เกิดจากการภาวนาและโดยเฉพาะอย่างยง่ิ เมตตาธรรม คณุ ธรรมขอ้ หลังน้ี
เหน็ ไดช้ ดั แจง้ จากปรากฏการณ์และพฤตกิ รรมของทา่ นอาจารยห์ ลายประการ

คร้ังหนึ่งมีคณะสุภาพสตรีจากกรุงเทพฯ ไปแวะนมัสการและน�ำร่ม ๖ คัน
ถวายทา่ นอาจารย์ ท่านรับประเคน แลว้ ก็พูดหัวเราะๆ วา่ “ของเหลือมาซินะ”
คณะทายิกาสะดุง้ ใจวา่ ท�ำไมท่านรูว้ ่าเปน็ ของเหลือ ความจริงคณะไดต้ ระเวนไป
ตามวดั กมั มฏั ฐานมาแลว้ หลายวดั และถวายร่มวดั ละ ๑๒ คนั มาถงึ วดั ถำ�้ กลองเพล
ยังเหลอื อยู่เพยี ง ๖ คนั เปน็ ของเหลอื จรงิ ๆ ครั้นคณะเดียวกันนนั้ ถวายยา ท่านก็
ถามล้อๆ ว่า “ยาแกอ้ มั พาตมไี หมละ่ ” มีผเู้ รียนท่านว่า ขอใหอ้ ยอู่ ีกนานๆ จะได้
คอยเทศนส์ ัง่ สอน ท่านตอบแต่เพยี งว่า “ข้คี รา้ น”

146

วนั หนงึ่ มชี ายแปลกหน้าผ้หู นง่ึ เป็นคนวยั ฉกรรจ์ปรากฏกายขนึ้ ทวี่ ดั และขอเขา้
นมสั การทา่ นอาจารย์ พอไดพ้ บกต็ รงเข้าไปกราบถงึ ทเี่ ท้า แลว้ เอ่ยปากขอบพระคณุ
ที่ท่านได้ชว่ ยเขาใหพ้ ้นจากโทษมหันต์ ทุกคนงงงันไปหมด เพราะไม่เคยเห็นผู้นั้น
มากอ่ น ท่านอาจารย์นั่งฟังโดยดุษณียภาพ ชายนั้นเลา่ วา่ เขาเปน็ ทหารไปรบ
ที่ประเทศลาวอยู่เปน็ เวลานาน พอกลับมาบา้ นก็ได้รู้เร่ืองว่าภรรยานอกใจ
เขาโกรธแคน้ มาก เตรยี มปนื จะไปยงิ ใหต้ ายทง้ั ชายชดู้ ว้ ย ได้ไปแวะร้านเหล้า ดมื่ จน
เมาหลับไป แลว้ ก็ฝนั วา่ มีพระแกอ่ งค์หน่ึงมาขอบิณฑบาตความอาฆาตโกรธแคน้
และเทศนให้ฟงั ถึงบาปกรรมของการฆ่า จนชายนน้ั ยอมยกความพยาบาทให้ และ
ถามพระนั้นวา่ ทา่ นชื่ออะไร มาจากไหน พระบอกว่า เราชอ่ื ขาว มาแตเ่ มืองอุดรฯ

พอต่ืน ชายนั้นก็ตัดสินใจออกเดินทางมาเสาะหาท่านอาจารยจ์ นได้พบที่วัด
ท่านอาจารยอ์ นุโมทนา แลว้ อบรมตอ่ ไปให้เขา้ ใจหลักกรรมตลอดจนผลของการ
งดเว้นการฆา่ ทำ� ใหช้ ายผ้นู น้ั ซาบซง้ึ ในรสพระธรรมจนตดั สนิ ใจทจี่ ะอปุ สมบทตอ่ ไป
เร่ืองน้ีเปน็ หลักฐานวา่ ความเมตตาของทา่ นอาจารย์เปน็ เร่ืองจริงจังเพียงใด และ
กินอาณาบรเิ วณไดก้ ว้างขวางเพยี งใด ถา้ ไมเ่ กิดเหตทุ เี่ ลา่ นี้ กค็ งไม่มใี ครรคู้ วามจรงิ

ทา่ นอาจารยเ์ ป็นคนทพุ พลภาพอยถู่ งึ เก้าปี ถ้าเป็นคนธรรมดา สขุ ภาพจติ คง
จะเสอ่ื ม แตเ่ รอ่ื งเช่นนไี้ ม่ปรากฏเลยในกรณขี องทา่ น อารมณข์ องทา่ นยงั ดเี หมอื น
แต่กอ่ น นิสัยรื่นเริงและชอบติดตลกยังเห็นอยู่ได้ท้ังในการกระท�ำและค�ำพูด
ดงั เรอ่ื งของเหลอื ทเ่ี ล่าแลว้ บางทพี ดู กนั เรอ่ื งสขุ ภาพของท่าน ท่านกล็ กุ นง่ั ตวั ตรง
ท�ำท่ากายบริหารและชกลมให้ดูแสดงวา่ ท่านยังแข็งแรง เมตตาธรรมยังเดน่
และสะดดุ ตาสะดดุ ใจทกุ คนทไี่ ดน้ มสั การท่าน หลายคนกล่าววา่ เพยี งแต่เหน็ ยม้ิ
ของทา่ นกเ็ ยน็ ใจแลว้ ใครขออะไร ทา่ นกใ็ ห้ และใหโ้ ดยไมไ่ ดน้ กึ ถงึ ตวั เอง มคี น
จ�ำนวนมากชอบขอชานหมากของทา่ นเอาไปเปน็ ของขลัง พอคนหนง่ึ ขอชานหมาก
คนอ่ืนก็ขอบา้ ง พระอปุ ัฏฐากตอ้ งเกบ็ รวบรวมไวส้ �ำหรับแจก

ครงั้ หนง่ึ มชี าวบ้านหม่ใู หญ่ไปนมสั การ ชานหมากทเ่ี ตรยี มไว้หมดไปแล้ว คนหนง่ึ
ออกปากขอคำ� ทท่ี ่านกำ� ลงั เคยี้ วอยู่ ทา่ นกค็ ายให้ พอเคยี้ วคำ� ใหม่ได้ไมก่ ค่ี รง้ั อกี คน

147

ก็ขอ ทา่ นก็ให้ พอเคี้ยวค�ำท่ีสามก็โดนขอ ลงทา้ ยให้ทา่ นเค้ียวพอเปน็ พิธีแลว้ ขอ
ชานหมาก ทำ� ซ�ำ้ ๆ เจ็ดแปดเกา้ จนถึงสบิ ครงั้ ท่านอาจารย์เลยยันหมากตอ้ งลงนอน
หลงั จากนนั้ ตอ้ งจำ� กดั การขอชานหมาก แต่ยงั มกี ารพรมนำ้� มนตอ์ กี พรมแล้วพรมเล่า
จนทา่ นอาจารย์ยกแขนไม่ขน้ึ เพราะคนมาทงั้ วนั ท่านอาจารยบ์ อกวา่ ทา่ นไม่อยากพรม
เกรงคนอ่ืนจะวา่ เปน็ พระพรมน�้ำมนต์ แตเ่ ห็นเขามากันแตไ่ กลๆ (บางคนไปจาก
กรุงเทพฯ เพียงเพ่ือขอไดร้ ับพรมน้�ำมนต์เทา่ น้ัน) ก็สงสารเขาจึงต้องพรมให้
ท่านอาจารย์เมอ่ื ยแขนบอ่ ยๆ กเ็ ลยปวดแขนเปน็ ประจำ� ต้องของด เปลย่ี นเปน็ เปา่ หวั

ตอนนท้ี งั้ พระเณรและแพทย์สงั เกตตอ้ งกนั ว่า ระหว่างทท่ี ่านอาจารย์สบายดนี น้ั
ถา้ หากวนั ไหนมคี นมานมสั การมาก วนั รงุ่ ขน้ึ ทา่ นจะตอ้ งเจบ็ ไขท้ กุ ครงั้ ลงความเหน็
วา่ พวกที่มานั้น พาเอาเช้ือโรคมาใหท้ า่ น รา่ งกายของทา่ นมีความตา้ นทานนอ้ ย
จึงอาพาธ เพราะเหตุนี้จะตอ้ งกันคนไม่ใหเ้ ข้าไปรุมลอ้ มท่าน แต่จะท�ำไดอ้ ยา่ งไร
ผูเ้ ขียนเห็นว่ามีทางเดียว คือเอาท่านอาจารย์ “ใสต่ ู”้ จึงไดเ้ สนอทา่ นเจา้ อาวาส
(พระอาจารยบ์ ญุ เพง็ ) ใหร้ อ้ื ฝาหอ้ งกฏุ ดิ า้ นหนา้ ออก เอากระจกใส่แทน ทำ� ใหเ้ หมอื น
ตู้โชว์เช่นน้ี หากเอาเตียงของท่านอาจารยม์ าต้ังไวห้ ลังกระจก พวกศรัทธาอาจจะ
เข้ามาถึงด้านนอกของกระจกก็ได้โดยไม่สง่ เชื้อโรคต่อใหท้ ่าน พอดีทางวัดมีแผน
จะยา้ ยห้องเก็บของหนา้ หอ้ งกุฏิอยูแ่ ลว้ ความเห็นของผู้เขียนจึงเป็นผลส�ำเร็จ
โดยราบรืน่ และทา่ นอาจารยก์ ็รอดพน้ จากการถกู คนหอ้ มล้อมถ่ายเทเชื้อโรคไปได้
ระหว่างท่ีท่านอาจารย์จ�ำวัดหรือกระท�ำกิจสว่ นตัว ก็รูดม่านปิดช่องกระจกไว้
ใครมาถึงระหว่างนั้นตอ้ งรอ พอไดจ้ ังหวะเปดิ ม่าน พวกศรัทธาก็เข้าไปรุมลอ้ ม
หนา้ กระจก กราบแลว้ น่ังดูจนพอใจก็กลับดว้ ยความปลาบปล้ืม เห็นได้ชัดถึง
ความศรัทธาและเคารพของชาวบ้าน แมไ้ ม่ได้ชานหมากไปบูชาเอาเพียงเป่าหัว
ไม่ได้เป่าหวั กเ็ อาเพยี งลบู หวั ไม่ได้ลบู หวั ไดเ้ พยี งเหน็ ไดก้ ราบกพ็ อใจแล้ว วนั หนง่ึ ๆ
มีคนไปกราบท่านไมน่ ้อยกวา่ สองสามร้อยคน ถ้าวันเสาร์อาทิตย์มีเจ็ดแปดร้อย
หรือเปน็ พนั รถโดยสารคนั ใหญๆ่ เตม็ ลานวดั ทจี่ ัดให้ การทำ� “ตู้กระจก” ชว่ ยผ่อน
ภาระและชว่ ยยดื อายขุ องทา่ นอาจารย์ไปได้ระยะหนงึ่ นา่ อนโุ มทนากบั ท่านผบู้ รจิ าค
คา่ สร้าง (คณุ ธเนศร์ เอยี สกลุ )

148

หลงั จากเป็นอัมพาต รา่ งกายของทา่ นอาจารย์เสือ่ มลงอยา่ งรวดเร็ว เนื่องจาก
ขาดการเคลอ่ื นไหว (เดนิ ) และเบอื่ อาหาร เนอ่ื งจากทา่ นฉนั เนอื้ สตั วน์ อ้ ย กลา้ มเนอ้ื
จึงลีบท�ำให้ออ่ นแรงยิ่งข้ึน แม้ผิวหนังก็เสื่อมสภาพกลายเป็นเย่ือบางใสคลา้ ย
กระดาษแก้ว มองลอดเห็นหลอดเลือดใหญ่นอ้ ยข้างใต้ได้ชัดเจน พยายามยุยง
ให้ท่านฉนั เนอื้ สัตวไ์ มค่ อ่ ยได้ผล ครง้ั หน่งึ ผู้เขยี นออกอบุ ายเอาเนยแขง็ อัดเป็นแท่ง
ปลอมเป็น “ยา” ถวายพรอ้ มกับยาหลังอาหาร ท่านยอมฉันใหส้ องสามเดือนโดย
ไม่วา่ กระไร แต่แล้ววันหน่ึงก็ประกาศเลิก ไมย่ อมฉัน “อ้ายหมากเนย” ตอ่ ไป
นแี่ สดงว่าท่านรอู้ ย่ตู ลอดเวลาว่าอะไรเปน็ อะไร แต่ยอมท�ำตามใจเราก็เพราะอยาก
ให้เราได้บญุ เทา่ นัน้

ในระยะสามปีสุดทา้ ยนัยน์ตาของทา่ นอาจารยไ์ ดม้ ืดสนิทเพราะต้อแก้วตา
(ต้อกระจก) หูก็ตึงมากเพราะหินปูนจับกระดูก ท่านอาจารยไ์ มไ่ ดแ้ สดงความ
เดือดร้อนอันใด เป็นแตพ่ ูดปลงเปน็ ธรรมสังเวชว่า “ตาก็บอด หูก็หนวก กระดูก
ก็หนัก” แตพ่ วกลูกศิษย์ท้ังพระและคฤหัสถ์พากันสงสาร เห็นวา่ ทา่ นจะสบายข้ึน
ถ้ามองเห็นว่าใครไปใครมา และฟังออกวา่ เขาพูดกับท่านวา่ กระไร

เรอื่ งไปถึงพระเนตรพระกรรณ กท็ รงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ใหค้ ุณหมออุทยั
รตั นนิ (ซงึ่ เคยรกั ษาตอ้ ของพระอาจารย์แหวน สจุ ณิ โณ ได้ผลด)ี ไปตรวจและหาทาง
ช่วยเหลอื คณุ หมออทุ ยั ไปตรวจหลายครง้ั และรอจงั หวะจนต้อสกุ ดแี ละสขุ ภาพของ
ทา่ นอาจารย์อยใู่ นเกณฑ์ปลอดภัยส�ำหรับการผา่ ตดั จึงตกปากว่า “ทำ� ได”้ พวกเรา
พากันดีใจ แมค้ ุณหมอจะบอกวา่ ต้องสรา้ งห้องผา่ ตดั เป็นพิเศษ กเ็ หน็ พรอ้ มกันว่า
“สูไ้ ด”้ ผูเ้ ขียนไดต้ ิดตอ่ ทา่ นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข (ศจ.นพ.เสม
พริ้งพวงแก้ว) ขอให้สั่งสถาปนิกของกระทรวงออกแบบหอ้ งผา่ ตัดตามที่ตอ้ งการ
แล้วกเ็ ดนิ ทางไปนมสั การท่านอาจารย์ พบพระอาจารยบ์ ญุ เพง็ ทา่ นบอกวา่ หลวงปู่
ไมย่ อมผา่ ผูเ้ ขียนเดาวา่ ทา่ นคงรู้ว่าจะต้องสรา้ งหอ้ งผ่าตัดราคาสองสามแสนบาท
ทา่ นเสยี ดายเงนิ จงึ เขา้ ไปกราบแลว้ พยายามชแี้ จงเหตผุ ลวา่ ทกุ ๆ คนอยากใหท้ ่าน
เห็นอะไรๆ ไดอ้ ีกครงั้ เงนิ ค่าก่อสรา้ งนน้ั ไมต่ ้องเสียดายเพราะห้องผ่าตดั จะเก็บเอา
ไว้เปน็ ห้องพยาบาลประจำ� วดั ตอ่ ไป พระเณรและชาวบา้ นทเี่ ป็นโรคปจั จบุ นั อะไรขนึ้

149

มาก็จะได้อาศัย “พ่อจา้ วแม่จ้าวก็อยากให้หลวงปูเ่ ห็นเวลาทา่ นเสด็จมานมัสการ”
จะพดู อะไรๆ ท่านอาจารย์ยนื คำ� วา่ “ไม่” ผ้เู ขยี นพยายามออ้ นวอนจะให้ท่านใจออ่ น
ให้ได้ ลงทา้ ยทา่ นพดู ออกมาอยา่ งเนน้ ถอ้ ยค�ำวา่ “ถา้ หากท�ำไปแลว้ แลว้ เราเป็น
อะไรไป เขาจะต้องพากนั เสียใจยงิ่ กวา่ อะไรๆ ท้งั หมด” ผเู้ ขยี นไดย้ ินประโยคนี้
ก็ชะงัก ไดส้ ติ ได้คิดวา่ ท่ีทา่ นปฏิเสธน้ันไม่ใช่เพราะกลัว ไม่ใชเ่ พราะเสียดายเงิน
แตเ่ พราะทา่ นเมตตาคนอนื่ โดยเฉพาะผ้ทู จ่ี ะจดั การให้ท่านได้รบั การผา่ ตดั มากกว่า
ตัวท่านเองตา่ งหาก

ท่านกลา่ วเพิ่มเติมต่อไปอีกว่า “เราอายุมากแลว้ จะอยู่ไปอีกกี่ปี มารักษา
นัยน์ตาเราเสียเงินมากกมาย เอาไว้ไปรักษาคนอื่นๆ ท่ีอายุยังนอ้ ยได้
หลายร้อยคนไม่ดกี ว่าหรอื เราตาบอดหหู นวกซดิ ี ไม่ต้องเหน็ อะไรทไ่ี ม่ควรเหน็
ไมต่ อ้ งฟงั อะไรทไี่ ม่ควรฟงั ”

ผ้เู ขยี นไดม้ โี อกาสใกลช้ ดิ กบั พระอาจารยท์ ม่ี คี ณุ ธรรมสงู ๆ หลายองค์ แตล่ ะองค์
มีเมตตาเปน็ คุณธรรมส�ำคัญ แม้กระน้ันอยู่ใกล้บางองค์ยังรูส้ ึกหวาดๆ ต้องคอย
ระวังตัว อยู่กับบางองคร์ ูส้ ึกครึกครื้นร่มร่ืนเหมือนอยู่ใต้ต้นไม้ใหญ่ แต่อยู่กับทา่ น
อาจารย์ขาวรูส้ ึกเย็น สบาย รา่ เรงิ สนกุ สนาน เหมอื นเดก็ อยกู่ บั คุณยา่ หรอื คณุ ยาย
ทใี่ จดี เมตตาธรรมของทา่ นมลี กั ษณะพเิ ศษเชน่ นน้ั จรงิ ๆ แม้ภายหลงั ทท่ี ่านสละโลกน้ี
ไปแลว้ ดูเหมือนความเมตตาของท่านอาจารย์ยังสามารถส่งผลให้แก่ผู้ที่มีศรัทธา
ในท่าน พอข่าวแพร่สะพัดว่าท่านสิ้น และมีอายุได้ ๙๖ ปี พวกนักเส่ียงโชค
จ�ำนวนมากก็พากันซื้อสลากกินแบง่ รัฐบาล (และหวยเถื่อน) เลขท้าย ๙๖ แลว้
สลากกินแบ่งงวดน้นั ก็ออกเลขท้าย ๙๖ จริงๆ

ส่ีหา้ ปกี ่อนทา่ นจะสิ้น มีพระในวัดถ้�ำกลองเพลรูปหนึ่ง (พระสุจิต) กราบลา
ไปหาที่วิเวกปฏิบัติธรรมทางภาคเหนือ ท่านอนุโมทนาและใหพ้ ร พรอ้ มด้วย
คำ� ลงทา้ ยว่า “เราจะตายอายเุ กา้ สิบหก ระวังกลับมาให้ทัน”

150

พระมหากรณุ าธคิ ณุ

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรม-
ราชินีนาถ ได้เสด็จไปนมัสการท่านอาจารย์ครั้งแรก
เม่ือ พ.ศ. ๒๕๑๘

หลังจากนั้นก็ได้เสด็จไปทรงเยี่ยม กรุณาโปรดเกลา้ ฯ จัดพนักงานชาวที่
และสนทนาธรรมตามโอกาส พร้อม ผู้หน่ึง (คณุ สุรศกั ดิ์ สุริสาร) ไปประจำ�
ทั้งพระราชทานพระมหากรุณาโดย อ ยู ่ที่ วั ด เ พ่ื อ ท� ำ อ า ห า ร พิ เ ศ ษ ถ ว า ย
ประการตา่ งๆ ดว้ ยพระราชศรัทธา โดยพระราชทานคา่ ใชจ้ ่ายทั้งหมด
อยา่ งเตม็ เปยี่ ม คุณสุรศักด์ิก็กลายเป็นศิษยว์ ัดและ
อุปฏั ฐากของท่านอาจารยจ์ นวาระ
เมื่อทรงทราบวา่ ทา่ นอาจารย์ สุดท้าย
ฉนั อาหารไมค่ ่อยได้ กไ็ ดท้ รงพระมหา-

151

ครั้งหน่ึงประทับอยูท่ ่ีภูพิงคราชนิเวศน์ ทรงทราบว่าท่านอาจารยอ์ าพาธ
มีอาการเกย่ี วกบั หัวใจ กไ็ ดท้ รงมีพระบรมราชโองการใหท้ า่ นนายกรฐั มนตรตี ิดต่อ
โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าฯ ส่งแพทย์ผู้เชี่ยวชาญไปช่วย พ.อ.เพ่ิมสวัสด์ิ ทินกร
ณ อยุธยา กับ พ.ท.ประวิชช์ ตันประเสริฐ ไดอ้ อกเดินทางจากโรงพยาบาลอยา่ ง
รบี ดว่ น ไปถงึ วดั ในตอนตสี องและได้ทำ� การตรวจสอบสภาพหวั ใจของท่านอาจารย์
ในคืนน้ันเอง ปรากฏว่าหัวใจแสดงอาการขาดเลือดหลอ่ เล้ียงปานกลาง อาจจะ
เนื่องจากหลอดเลือดแข็งซึ่งเป็นลักษณะธรรมดาของผูส้ ูงอายุ ผูเ้ ช่ียวชาญท้ังสอง
ได้ให้คำ� แนะนำ� ทเ่ี ปน็ ประโยชนม์ ากแก่คณะแพทยป์ ระจำ� และคา้ งดอู าการอย่สู องคนื
จนอาการคอ่ ยดขี ้ึนแล้วจงึ ไดเ้ ดินทางกลับ

อกี คราวหนง่ึ ทา่ นอาจารย์มอี าการหอบมาก คณะแพทยป์ ระจำ� พยายามแกไ้ ขกนั
โดยล�ำพังไมส่ �ำเร็จ จึงได้กราบบังคมทูล ก็ไดท้ รงพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ ให้
นายแพทย์สงคราม ทรัพยเ์ จริญ แห่งกรมชลประทาน ซ่ึงอยูใ่ นคณะผู้เชี่ยวชาญ
ที่ถวายการรักษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว เดินทางไปตรวจและให้ค�ำปรึกษา
แก่แพทย์ประจ�ำถึงท่ีวัด นายแพทยส์ งครามได้แนะน�ำเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติแก้อาการ
เสมหะเหนยี ว ซง่ึ เปน็ ปัญหาทส่ี ำ� คญั มาก ทง้ั นเี้ พราะทา่ นอาจารยไ์ ม่มแี รงขากเสมหะ
เสมหะคง่ั คา้ งอย่ใู นหลอดลมนานๆ กข็ ้น ยง่ิ ขากยาก และทำ� ให้หลอดลมแคบ หายใจ
ไดอ้ ากาศเข้าไปไมพ่ อจึงหอบ ถา้ แกไ้ ม่ตก หลอดลมตีบไปเร่ือยๆ ก็ไมม่ ีทางแก้
นายแพทยส์ งครามได้แนะให้เพิ่มความช้ืนในอากาศและเปลี่ยนยาใหม่ พอดี
ท่านอาจารย์ขากเสมหะออกมาเป็นกอ้ นแข็งกลม ขนาดเมล็ดพุทรา อาการดีขึ้น
คณุ หมอสงครามรอดอู าการต่อไปอกี หนง่ึ คนื แล้วจงึ เดนิ ทางกลบั หลงั จากนนั้ ทกุ ครงั้
ทที่ ่านอาจารย์มอี าการทางระบบหายใจ (ซงึ่ ปรากฏบ่อยขนึ้ และมากขน้ึ ) ผ้เู ขยี นกไ็ ด้
ขอค�ำแนะนำ� จากคุณหมอไปปฏิบัติ บางครั้งคุณหมอกเ็ ดินทางไปเยี่ยมด้วยตนเอง
ทำ� ให้คณะแพทยม์ คี วามโลง่ ใจขนึ้ เป็นอนั มาก

ประมาณ พ.ศ. ๒๕๒๑ หลังจากท่ีทา่ นอาจารยไ์ ด้อาพาธครั้งหนึ่งค่อนขา้ งจะ
หนักแล้วคอ่ ยทุเลาขึ้น ผู้เขียนเห็นวา่ ถึงจะมีผู้ร่วมคณะอยูไ่ กลจากวัดเพียงสิบกวา่

152

กโิ ลเมตร (คอื ทโี่ รงพยาบาลหนองบวั ลำ� ภ)ู ถา้ หากทา่ นอาจารยเ์ กดิ อาพาธฉกุ เฉนิ ขนึ้
ก็ยังต้องการเวลาไมต่ ่�ำกว่าคร่ึงชั่วโมงที่แพทย์จะไปถึงท่านได้ เวลาน้ันโทรศัพท์
ขยายไปถึงหนองบัวล�ำภูแล้ว ผู้เขียนจึงได้ขอให้ท่านราชเลขาธิการกราบบังคมทูล
ขอพระราชทานโทรศัพท์ไปติดที่วดั ภายในเจด็ วันกส็ ำ� เร็จความปรารถนา นบั เปน็
พระมหากรณุ ายง่ิ ลน้ การมโี ทรศพั ท์มไิ ด้เป็นประโยชนแ์ ต่สำ� หรบั ท่านอาจารย์ในการ
ตดิ ตอ่ กบั แพทย์เทา่ นน้ั แตม่ ปี ระโยชน์อย่างยง่ิ แก่แพทย์ซง่ึ สามารถปรกึ ษาหารอื กนั
ได้โดยสะดวกและแมน่ ยำ� แม้จะอย่หู ่างกนั หลายรอ้ ยกิโลเมตร โทรศพั ทไ์ ดช้ ่วยผอ่ น
คลายภาวะวิกฤติหลายครง้ั

ด้วยความทท่ี รงเคารพรกั และเป็นหว่ งใยในท่านอาจารย์ ล้นเกลา้ ฯ ทง้ั สอง
พระองคท์ รงพระกรุณาเสด็จไปทรงเย่ียมอาการอาพาธหลายคร้ัง ครั้งหน่ึง
พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั ได้ทรงพระอุตสาหะประกอบพธิ ี “ยืดอายุ” ของ
ทา่ นอาจารยโ์ ดยทรงถือขัน (อยา่ งขันน�้ำ) บรรจุดอกไม้ห้าสีเขา้ ไปประเคน
พอทา่ นอาจารย์รับแล้ว กท็ รงขอไมใ่ ห้ “ท้งิ ขนั ธ”์ (เล่นคำ� “ขนั ” กับ “ขนั ธ์”)
ให้อยูไ่ ปอีกนานๆ ท่านอาจารยห์ ัวเราะ แตไ่ มไ่ ดร้ ับสนองพระราชด�ำรัส
ทา่ นปรารภต่อมาวา่ “มนั หนกั กระดกู ” “ขันธ์มนั เปน็ ทุกข์หนกั ” “แบกขันธ์มัน
หนักกว่าแบกครก” หลังจากน้ันสมเด็จพระบรมราชินีนาถก็ไดท้ รงขอเชน่ กัน
และคร้ังที่สามเม่ือทรงทราบวา่ ทา่ นอาจารยอ์ าพาธหนักในเวลาเดียวกับ
ท่ีพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวทรงพระประชวร ก็ได้ทรงส่ง ดร.เชาวน์
ณ ศลี วนั ต์ องคมนตรี เปน็ ผ้แู ทนไปขอซำ้� อกี ท่านอาจารย์กต็ อบสนองดว้ ยการ
หัวเราะชอบใจเชน่ ครัง้ กอ่ นๆ

การที่ล้นเกลา้ ฯ ทั้งสองพระองค์ทรงเคารพนับถือและหว่ งใยโดยเต็มพระทัย
ได้รบั การตอบแทนจากท่านอาจารย์ด้วยความเมตตาและจงรกั ภกั ดอี ยา่ งเตม็ เปย่ี ม
ไม่วา่ จะทรงมพี ระราชประสงค์อยา่ งใด ถา้ พอสนองได้ ท่านอาจารยก์ ็ทำ� ดว้ ยความ
เต็มใจเสมอ ทา่ นเล่าบ่อยๆ วา่ ต้ังใจแผ่ส่วนกุศลและแผเ่ มตตาถวายอยู่ทุกเวลา
ทุกโอกาส ความสัมพันธ์ทางจิตระหว่างล้นเกลา้ ฯ ทั้งสองกับท่านอาจารย์เป็นส่ิง

153

สนทิ แน่น ไม่มีอะไรบกพรอ่ ง ทา่ นอาจารย์กลา่ วบ่อยๆ วา่ “จิตตอ่ ถงึ กนั อยตู่ ลอด
เวลา” ทกุ คร้งั ท่ไี ดร้ บั ขา่ ววา่ จะเสด็จพระราชดำ� เนนิ ไปทรงเยย่ี ม ท่านอาจารยจ์ ะมี
อาการกระปรกี้ ระเปรา่ ข้ึนอยา่ งเห็นได้ชัด

ในตอนกลางปี พ.ศ. ๒๕๒๕ ท่านอาจารย์เป็นไข้คอ่ นข้างสงู ตดิ ต่อกนั อย่หู ลายวนั
ฉนั ได้นอ้ ย คอ่ นขา้ งอ่อนเพลยี ผเู้ ขยี นไปเฝา้ อาการอยู่ด้วย ในตอนสายมีข่าวมาว่า
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะเสด็จไปทอดพระเนตรฝายกั้นน�้ำท่ีขา้ งวัด บางที
จะทรงแวะเยย่ี มทา่ นอาจารย์ ทางวดั กเ็ ตรยี มการรบั เสดจ็ อย่างเคย แต่ท่านอาจารย์
ยังมีอาการทรงอยู่ จนใกลเ้ วลาเสด็จ ไข้ก็ยังไมล่ ง ท่านเจ้าอาวาสตัดสินใจร้ัง
พระเก้าอแี้ ละเก้าอใี้ ห้ทา่ นอาจารยร์ บั เสดจ็ ภายในห้องกฏุ แิ ทนในหอ้ งโถง ใกล้เวลา
เสด็จ ท่านอาจารยย์ ังนอนเฉยๆ ไขย้ ังสูง พระและเณรช่วยกันพยุงทา่ นอาจารย์
ขนึ้ นง่ั เก้าอี้ พอเสดจ็ ถงึ อาการอาพาธของท่านอาจารย์ดเู หมอื นจะหายเป็นปลดิ ทง้ิ
นั่งตัวตรงถวายธรรมไดเ้ หมือนกับปกติ ประทับอยู่เกือบสองชั่วโมง พอเสด็จกลับ
อาการโรคของทา่ นอาจารยก์ เ็ หมือนกับไดห้ ายไปชั่วคราว

คราวหนึ่ง ผู้เขียนไดร้ บั โทรศัพทแ์ จง้ วา่ ทา่ นอาจารย์มีอาการไขแ้ ละซมึ ไม่คอ่ ย
พดู เช่นเคย จงึ รบี เดนิ ทางไปถงึ วดั ในวนั รงุ่ ขน้ึ เวลาประมาณ ๐๘.๐๐ น. เณรบอกว่า
หลวงป่ไู ม่สบายมาตง้ั แตว่ นั กอ่ น แต่เพงิ่ นอนหลบั ตานงิ่ ไมก่ ระดกุ กระดกิ มาตงั้ แตเ่ ชา้
รีบเข้าไปในห้อง เห็นท่านนอนหงายนิ่ง มือประสานอยูท่ ี่หนา้ อก หายใจแผ่วเบา
หนา้ ตาสงบ ไมม่ ีลักษณะของความเจบ็ ไข้ พอกราบเสร็จ ทา่ นอาจารย์ชนะทีก่ ำ� ลัง
นัง่ เฝ้าอยกู่ เ็ รียนข้ึนว่า “ปู่ คุณหมอมา” ทา่ นอาจารย์ลมื ตาขึ้นทนั ที แลว้ ถามด้วย
เสยี งคอ่ นขา้ งดังว่า “พ่อจา้ วเปน็ ยงั ไง” ผูเ้ ขียนกราบเรียนวา่ “ไดข้ ่าววา่ คอ่ ยยังชัว่
ขึ้นแล้ว” สีหน้าทา่ นแสดงความโลง่ ใจ แล้วทา่ นก็หลับตานิ่งต่อไป ตลอดวันนั้น
ท่านอาจารยแ์ สดงอาการสงบนงิ่ สลบั กบั ตน่ื ขนึ้ เปน็ พกั ๆ พอ “ตนื่ ” ขน้ึ ทกุ ครง้ั ชพี จร
เร็วกวา่ ปกติเล็กนอ้ ยและอุณหภูมิกายสูงขึ้นประมาณ ๑ องศา (เซลเซียส) แลว้
ท้ังสองอย่างกล็ ดลง เปน็ อยา่ งนี้เป็นระยะๆ

154

ทีแรกผู้เขียนก็เป็นห่วง ไม่ทราบวา่ ท่านอาจารย์เป็นไข้อะไร อุณหภูมิกายจึง
ขึ้นเร็วลงเร็ว ภายหลังเอาค�ำถามของทา่ นมาเทียบเขา้ จึงเดาว่าท่านคงทราบมา
โดยทางใดทางหนง่ึ วา่ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงพระประชวรมาก จงึ ภาวนา
จติ ส่งพลงั มาชว่ ย การสง่ พลังจิตคงจะตอ้ งใชก้ �ำลงั กายประกอบด้วย (เชน่ ในการ
“เพ่ง”) ระหว่างนน้ั (ระยะสงบหรอื นง่ิ ) ชพี จรจงึ เรว็ และอณุ หภมู กิ ายกข็ น้ึ พอหยดุ พกั
การเพ่งหรือส่งพลังจิตท้ังสองอย่างก็ลดลง ทา่ นอาจารย์คงต้ังใจตอบสนอง
พระมหากรุณาธิคุณอย่างเต็มท่ีด้วยความสามารถและพลังเฉพาะตัวของทา่ น
เหตุการณ์ที่เลา่ น้ีอาจจะเกี่ยวกับท่านอาจารย์เคยกล่าวว่า “จิตตอ่ กันอยูเ่ สมอ”
กบั ลน้ เกลา้ ฯ ท้งั สองพระองคก์ ็ได้

เมื่อทา่ นอาจารยส์ ้ิน ไดท้ รงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเทพรัตน-
ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จเป็นประธานแทนพระองคใ์ นพิธีอาบน้�ำศพ
พระราชทานโกศโถให้บรรจุศพเป็นเกียรติยศพิเศษ โปรดเกลา้ ฯ ให้บ�ำเพ็ญกุศล
ถวายเป็นงานหลวง ๗ วนั และทรงรบั งานศพทง้ั สนิ้ ไวใ้ นพระบรมราชปู ถมั ภ์ ทรงมอบ
ให้ฝ่ายบ้านเมอื งเป็นเจา้ หน้าทีจ่ ดั งานศพให้ด�ำเนนิ ไปโดยเรียบร้อยสมเกียรติ

สมเด็จพระนางเจา้ พระบรมราชินนี าถ ไดเ้ สด็จไปประทบั เปน็ ประธานในงาน
หา้ สบิ วนั และทรงทอดกฐินเป็นการบ�ำเพ็ญพระราชกศุ ลถวายท่านอาจารยด์ ้วย

ท้ังน้ีนับเปน็ พระมหากรุณาธิคุณอย่างย่ิงล้นแก่บรรดาญาติและศิษยานุศิษย์
ของท่านอาจารย์ ขอกุศลผลบุญที่ไดท้ รงประกอบกับผลแห่งเมตตาธรรมท่ีได้ทรง
แสดงแก่ทา่ นอาจารย์ จงดลบันดาลให้ทั้งสองพระองค์ทรงมีพระชนมายุยืนนาน
ทรงพระเกษมส�ำราญบริบูรณ์ดว้ ยพระอนามัย ทรงพระเดชแผไ่ ปในทิศานุทิศ
มวลอมิตรแพพ้ า่ ย ไมอ่ าจแขง่ พระบารมี ทรงสถิตเปน็ ท่ีพึ่งของพสกนิกรท้ังหลาย
ชว่ั กาลนานเทอญ

155

156

เขา้ ตาจน

ความตา้ นทานของทา่ นอาจารย์ลดลงไปเร่ือยๆ
อาพาธบอ่ ยข้ึน ส่วนมากเกี่ยวกับหลอดลมอักเสบ
แลว้ กม็ ีอาการทางหวั ใจแทรก

ผ้เู ขยี นกบั คณุ หมอรชั นยั คณุ หมอ คร้งั ไม่สำ� เร็จ เพราะกระดูกขากรรไกร
สันติภาพ พิจารณาเห็นพ้องกันวา่ ของทา่ นเห่ียวและกร่อนมาก) ใส่ฟัน
สาเหตุของหลอดลมอักเสบคือการ ได้เฉพาะเวลาฉันอาหารและรับแขก
หายใจทางปาก ท่านอาจารย์ต้อง เวลาพักและนอน ต้องเอาฟนั ออก
หายใจทางปากเพราะฟนั ปลอมของ ปากหบุ ไมส่ นทิ อากาศเขา้ ออกทางปาก
ทา่ นหลวม (ทนั ตแพทยแ์ ละช่างฟันของ ไมไ่ ด้ผา่ นเครื่องป้องกันฝุ่นละอองและ
โรงพยาบาลอดุ รฯ พยายามแกไ้ ขหลาย ให้ความชนื้ (โพรงจมกู ) จงึ ระคายเยอ่ื บุ

157

หลอดลมและมเี ชอ้ื มาก เชอื้ กม็ าจากผมู้ านมสั การนน่ั เอง หลงั จากสรา้ ง “ตกู้ ระจก”
ปอ้ งกนั แลว้ “หลวงปู”่ เป็นไขห้ า่ งลง แตอ่ าการอกั เสบเร้ือรังทางหลอดลมไม่หาย
มเี สมหะมากและเหนยี ว ท่านอาจารย์ไม่มแี รงจะขาก เสมหะจงึ ค่ังอยใู่ นหลอดลม
แลว้ แห้ง ยงิ่ แขง็ หนกั ขน้ึ ยง่ิ ขากออกยากขน้ึ ยงิ่ เกาะรวมกนั มากขนึ้ เชน่ นเ้ี รอ่ื ยๆ ไป
กลายเปน็ “วงรา้ ย” ท่เี ราไมส่ ามารถจะทำ� ลายได้

การทห่ี ลอดลมแคบตบี ลงไปเรอ่ื ยๆ เพราะเสมหะคงั่ ทำ� ใหเ้ ลอื ดได้รบั ออกซเิ จน
ไมเ่ ต็มท่ีเหมือนปกติ หัวใจก็ได้รับออกซิเจนน้อยไปด้วย หัวใจมีเลือดหลอ่ เลี้ยง
น้อยอย่แู ลว้ เพราะหลอดเลอื ดแขง็ มาถกู ซำ้� เตมิ อกี ดว้ ยการทเ่ี ลอื ดมอี อกซเิ จนน้อย
โรคของท่านอาจารยเ์ ข้าขนั้ ทถี่ า้ เป็นหมากรกุ กเ็ รยี กวา่ ถกู “รกุ ฆาต” และถงึ “ตาจน”
เสียแลว้

ความรู้สึกว่าเขา้ ตาจนเปน็ ความรู้สึกของผูเ้ ขียนและเพ่ือนแพทย์ ผู้มองเห็น
สภาพภายในปอดของท่านอาจารย์ และรู้ลว่ งหน้าวา่ ตอ่ ไปอะไรจะเกิดข้ึนเป็น
ขนั้ ๆ ไป ท่านอาจารย์เองนน้ั ท่านไมแ่ สดงอะไรใหเ้ หน็ ว่ากำ� ลงั ถกู รกุ ฆาต เวลาอาพาธ
ทา่ นซึมไปหนอ่ ย แต่พอหายหรือค่อยยังช่ัวท่านก็เปน็ ปกติ เว้นแตส่ ังเกตได้วา่
แรงของท่านค่อยๆ น้อยลงเปน็ ล�ำดับ

ถงึ แม้ว่าในตอนหลงั นยั นต์ าของทา่ นมดื แทบสนทิ ทงั้ สองขา้ ง แตท่ า่ นกย็ งั เรยี ก
หาแวน่ ตามาสวมไวเ้ สมอ วันหนง่ึ มีผู้เรยี นถามล้อๆ วา่ “หลวงปู่ว่าตาบอดหมด
สองข้างแล้ว ท�ำไมยงั ใส่แว่นตาล่ะ” ท่านตอบสน้ั วา่ “มันโกด้ ีว่ะ” แล้วกห็ วั เราะ

158

ใบไมร้ ่วง

ถงึ เดอื นเมษายน พ.ศ. ๒๕๒๖ อากาศทว่ี ดั ถำ�้ ฯ ร้อนจดั
และแหง้ กรา้ น เราจดั การปรบั อากาศในห้องท่านอาจารย์
ใหอ้ ยใู่ นระดบั เยน็ สบาย (๒๐ ํซ.)

แตค่ วามแหง้ แก้ลำ� บาก หลงั จาก การพ่นน�้ำให้เป็นไอฝอย เราพยายาม
ทท่ี ่านอาจารยม์ อี าการหลอดลมอกั เสบ ท�ำกันหลายวิธีแต่ท�ำให้ชื้นได้เพียง
ค่อนขา้ งจะแรง คุณหมอสงคราม ประมาณ ๖๐ เปอรเ์ ซ็นต์ เสมหะของ
ทรัพยเ์ จริญ ซ่ึงเราเชิญไปปรึกษา ทา่ นอาจารย์ยังคอ่ นข้างเหนยี ว แตพ่ อ
แนะน�ำใหเ้ พ่ิมความช้ืนในอากาศดว้ ย ขากออกได้บ้าง หรอื ใชเ้ คร่ืองดูด

159

ในระยะนนั้ สภาพร่างกายของทา่ นอาจารยเ์ ป็นทน่ี ่าเวทนาอย่างทสี่ ดุ ท่านผอม
มานานแล้ว แต่ตอนนี้มีเพียงหนงั หุ้มกระดกู จรงิ ๆ และหนงั ก็บางจนใสเหมือน
กระดาษแก้ว ท่านยังเดนิ ไดโ้ ดยมคี นพยุงคร้ังละ ๕ กา้ ว ๑๐ ก้าว แต่แล้วก็ตอ้ ง
นง่ั หอบอยนู่ าน ท่านไมเ่ คยบน่ ไม่อยากเดนิ เพราะท่านรวู้ า่ เดนิ ได้ผลดี แตถ่ า้ นง่ั นานๆ
ท่านขอลงนอน บอกว่าเจบ็ กระดกู ทกี่ น้ ตลอดเวลาการตรวจรา่ งกายยงั ให้ผลอย่ใู น
เกณฑป์ กติ แตผ่ ลทุกอย่างค่อยๆ แสดงความเสอ่ื มมากขน้ึ นานๆ กด็ ูเหมอื นจะมี
แนวโน้มทจ่ี ะกระเตอื้ งขนึ้ มาสกั หน่อย แล้วกค็ อ่ ยๆ ลดลงไปใหม่ ถ้าจะพดู อยา่ งปาก
ตลาดก็ตอ้ งวา่ “หลวงปู่หนังเหนียว” ไม่ยอมแพง้ ่ายๆ ผ้เู ขยี นคิดว่าทา่ นอาจารย์
ยงั หายใจอยไู่ ด้ หวั ใจของท่านยังเตน้ อยู่ได้ เลอื ดยังไหลอยไู่ ด้ เพราะกำ� ลงั จติ ของ
ท่านเท่านน้ั เอง ทา่ นยงั “ไม่ยอมไป” เพราะมีผู้ขอสัญญาทา่ นไว้ถงึ แม้ว่าร่างกาย
ของทา่ นถึงสภาพที่ควรจะ “ไป” เสยี นานแล้ว

ปลายเดือนเมษายน ผูเ้ ขียนได้รับแจ้งว่าท่านอาจารย์เป็นไขแ้ ละมีหอบ ไดร้ ีบ
ขนึ้ ไปโดยดว่ น อาการกเ็ หมอื นเคย เสมหะขดั ขวางหลอดลม ใชย้ าและเครอ่ื งดดู เอา
เสมหะออกเสียได้ อาการหอบกท็ ุเลา ไข้ก็ลง ผเู้ ขยี นกลบั บ้าน ต้นเดือนพฤษภาคม
เป็นอย่างเดิมอีก ผูเ้ ขียนข้ึนไปคา้ งอยู่ที่วัดสองคืนคอ่ ยทุเลา ผูเ้ ขียนกลับวันที่ ๑๐
พฤษภาคม โทรศัพทม์ าว่าท่านอาจารยห์ อบอีก มีไข้เล็กน้อย หมอสันติภาพดูอยู่
ไดป้ รกึ ษาทางโทรศพั ท์กบั คุณหมอสนั ติภาพและคณุ หมอสงคราม วนั ท่ี ๑๑ ไข้ลง
หอบน้อย ผ้เู ขยี นวางใจ วนั ท่ี ๑๒ โทรศพั ทม์ าวา่ ไขข้ นึ้ ไปอกี และหอบมากขนึ้ ผเู้ ขยี น
รบี เดนิ ทางไปถงึ เช้าวนั ท่ี ๑๓ อาการแบบเกา่ แต่หอบมากขน้ึ หายใจประมาณ ๓๒ ครง้ั
ต่อนาที ทา่ นอาจารย์เหน่ือยอยูต่ ลอดเวลา พักไม่คอ่ ยได้ รูส้ ึกทา่ นเพลียมากจน
นั่งไม่อยู่ ต้องเอนตัวพิงทา่ นอาจารยช์ นะหรืออาจารย์บรรเจิดหรือเณรอยู่แทบ
ตลอดเวลา เลกิ จากนง่ั กล็ งนอนหงายอา้ ปากหายใจ ไข้ไมเ่ ท่าไร แตเ่ พลยี และเหนอื่ ย
เป็นอาการสำ� คญั ชพี จรอยใู่ นเกณฑเ์ รว็ แต่ไมม่ าก ความดนั เลอื ดยงั ปกติ ทนี่ า่ เป็นห่วง
คืออาการกระสับกระส่าย แทบไมม่ ีเวลาพักสงบลงเลย อาการนี้ย่ิงท�ำให้เพลีย
มากข้นึ

160

ผูเ้ ขียนชว่ ยกันกับคุณหมอรัชนัยและคุณหมอสันติภาพ ปลุกปล�้ำจะให้เสมหะ
ไหลออกมาจากหลอดลมให้มากที่สุด ฉีดยาทุกสามส่ีช่ัวโมง น้�ำเกลือหยดเข้า
หลอดเลือดตลอดเวลา ผู้เขียนเฝ้าไขอ้ ยูส่ องคืนดว้ ยความเศร้าเพราะเห็นว่า
คงจะได้รบั ใช้ทา่ นอาจารย์อกี ไมน่ าน น่ังดูสภาพของทา่ นอาจารย์แล้วมคี วาม
สงสารเป็นทส่ี ดุ ร่างกายผา่ ยผอมเหมอื นมแี ต่กระดกู กำ� ลงั กห็ มดสน้ิ แมจ้ ะนงั่
กไ็ มอ่ ยู่ มหิ นำ� ซำ�้ หายใจหอบอย่เู รอ่ื ย ไม่มเี วลาจะได้พกั เหนอ่ื ย จะหาความสขุ
สกั ขณะจติ กไ็ มไ่ ด้ จะใหท้ า่ นอยไู่ ปอกี ทำ� ไม กิจของทา่ นนน้ั เสรจ็ สนิ้ ไปนานแลว้
ไมม่ ีเหตุผลใดๆ ท่ีจะมาทนแบกสังขารอันหนักไว้ ท่านอยูก่ ็เพราะเมตตาแก่
พวกศษิ ย์ทคี่ ดิ พงึ่ ท่าน โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ท่านคงเป็นหว่ งพอ่ จา้ วแม่จา้ วทง้ั สอง
พระองค์ทท่ี รงขอแล้วขอเลา่ ใหท้ า่ นอย่กู อ่ น จติ ของทา่ นอาจารยพ์ ร้อมทจ่ี ะรอ
และคงรอได้ แต่สังขารเปน็ ธาตุส่ียอ่ มเสื่อมทรามไปกับกาลเวลาและพยาธิ
เขารอไม่ได้ เขาพร้อมทจ่ี ะแตกสลายไปนานแลว้ หากอำ� นาจจติ ของท่านอาจารย์
ร้ังเขาไว้ ยังไม่ปลอ่ ยใหส้ ลาย แตจ่ ิตของทา่ นจะตอ้ งล�ำบากสักเพียงใด
ตลอดเวลาทต่ี ่อส้กู บั ความสลายอยู่น้ี

เมอื่ ไม่กว่ี นั กอ่ นหน้านนั้ สมเดจ็ พระบรมราชนิ นี าถ ได้เสดจ็ ไปเยย่ี มท่านอาจารย์
ด้วยความเปน็ ห่วง ทรงประทับพิจารณาสภาพของท่านอาจารย์อยู่พักใหญ่
พระชลนาชุ่มพระเนตรด้วยความสงสารและเศรา้ พระราชหฤทัย

วันท่ี ๑๕ พฤษภาคม อาการของท่านอาจารย์คอ่ ยดีขึ้นเล็กนอ้ ย การหายใจ
เหลือเพียงนาทลี ะ ๒๔ ถงึ ๒๖ ครงั้ พอดีมกี ิจธุระท่จี ะตอ้ งทำ� ทางกรงุ เทพฯ ผ้เู ขยี น
จึงตดั สนิ ใจกลบั บา้ นสองสามวนั โดยคิดว่าชวั่ เวลานนั้ ทา่ นคงจะยังไม่เปน็ อะไร

ตอนเย็น ๑๗.๐๐ น. ผู้เขียนเขา้ ไปกราบนมัสการลา ทา่ นอาจารย์นอนน่ิงอยู่
บนเตียง พระอาจารยช์ นะท�ำท่าจะบอกท่าน แต่ผู้เขียนหา้ มไว้ ผูเ้ ขียนลงกราบทพี่ ้ืน
แลว้ นกึ พูดกบั ทา่ นดว้ ยใจวา่ “หลวงปูค่ รบั ไปเสยี เถอะครบั อยา่ อยู่เลย หลวงปู่
ลำ� บากเหลอื หลาย ลกู หลานเหน็ แลว้ วา่ หลวงป่เู มตตาอตุ ส่าหแ์ บกสงั ขารอย่กู บั
พวกเรา ลกู หลานสงสารหลวงป่เู ป็นทส่ี ดุ แลว้ สำ� หรบั ตวั ผมขอเลกิ สญั ญาตงั้ แต่
บดั น้ี หลวงปูไ่ ม่ต้องคอยผมอีกแลว้ กลบั ไปถงึ กรุงเทพฯ ผมจะกราบบงั คมทูล

161

บนั ทึกของพระเณรอุปฏั ฐาก
162

พ่อจ้าวแม่จ้าวใหท้ รงถอนค�ำที่ขอหลวงปไู่ ว้ ให้หลวงป่ไู ปโดยไมม่ ีห่วง หลวงปู่
ไปเถดิ ครบั ” ผ้เู ขยี นจากท่านมาอย่างทพ่ี ดู กนั ว่า “นำ้� ตาตกใน” นอนในรถไฟหลบั ๆ
ตนื่ ๆ เป็นหว่ งท่านแต่ไมฝ่ นั ถึง

รงุ่ เช้า (วนั ที่ ๑๖ พฤษภาคม) ถงึ กรุงเทพฯ เกือบ ๐๗.๐๐ น. นั่งแทก็ ซกี่ ลบั บ้าน
พอรถเขา้ ประตู เดก็ กว็ ง่ิ ออกจากบ้านมาบอกวา่ “วดั ถำ้� กลองเพลโทรศพั ท์มาเมอื่ ก้ี
นี้เองว่าหลวงปูส่ ิ้นแล้วเมื่อตีหา้ สี่สิบหา้ นาที” ผู้เขียนรูส้ ึกเฉยๆ โล่งใจครึ่งๆ
รีบอาบนำ�้ รบั อาหาร แล้วก็แตง่ ตัวข้นึ รถส่วนตวั พรอ้ มกบั ภรรยาและหลาน ขับไป
ถงึ วดั ทนั เวลาสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสดจ็ ไปทรงปฏบิ ตั ิ
พระราชกิจแทนพระองค์ ยังไดร้ ับใชท้ ่านอาจารย์เปน็ คร้ังสุดท้ายในการจับมือท่ี
เยน็ แขง็ ของท่านหงายขน้ึ รบั พระราชทานนำ้� อาบศพส่วนพระองคข์ องสมเดจ็ ฯ และ
นำ�้ อาบของประชาชนอกี ร้อยกว่าคนทข่ี อรดต่อจากสมเดจ็ ฯ

ท่านอาจารยช์ นะเลา่ ว่า คนื นัน้ “หลวงปู่” จ�ำวัดเป็นปกติ ตอนเชา้ ท่านตนื่ เวลา
๐๕.๐๐ น. เศษเช่นเคย ล้างหน้าเรียบร้อยแล้ว สวา่ งแลว้ ฉันรังนกเชน่ เคยกับ
ข้าวโอ๊ตเลก็ นอ้ ย แล้วกล็ กุ ขนึ้ จากเตยี ง พระเณรพยงุ เดนิ ไปถงึ เตยี งนอนพกั กลางวนั
“หลวงป”ู่ ลงนัง่ แล้วก็นอนลง และหยุดหายใจ งา่ ย สบาย

“หลวงปู่” หยุดแล้ว หยุดแบกสังขารทรมานตัว หยุดเหนื่อยหอบหายใจ
ทางปาก หยดุ มอื ส่นั ด้วยความอ่อนเพลีย หยุดผดุ ลกุ ผดุ น่ังเพราะหาท่าสบาย
ไมไ่ ด้ หยดุ หมดทกุ อยา่ งทเ่ี ปน็ ทกุ ข์ “หลวงป”ู่ นอนนง่ิ อย่บู นเตยี งเป็นสขุ แสนสขุ
ยังไมห่ ยุดแตค่ �ำสอนของท่านท่ีคอยเตือนคนนับไมถ่ ้วน ต้ังแตส่ ูงสุดจนต�่ำสุด
ให้อบรมสติ รกั ษาสติ อาศยั สติ เดินทางไปสคู่ วามสขุ สงบเหมอื นอย่างท่าน

“หลวงป่”ู ล่วงไปอยา่ งใบไม้ร่วง ใบไมท้ เ่ี หลอื งเตม็ ทแ่ี ล้วและแหง้ จนกรอบแลว้
เหลือติดก้านด้วยเยอ่ื ใจนิดเดยี ว พอเย่อื ขาด ใบก็ร่วงโดยไมม่ ีอาการล่วงหน้าและ
ไมม่ เี สยี งเหมือนใบไมร้ ่วง

163

อนาลโยวาท
อบุ ายธรรม

เพ่อื ความเป็นผ้ไู มม่ อี าลยั

164

ฆราวาสธรรม

พระธรรมเทศนา

หลวงปขู่ าว อนาลโย

วดั ถ้ำ� กลองเพล จังหวัดหนองบวั ล�ำภู

165

- ฆราวาสธรรม - เราเกิดมาเป็นมนุษย์นับวา่ เปน็ อัตภาพอันสูงสุด
อันจะท�ำประโยชน์ให้แกโ่ ลก แกญ่ าติ และแก่ตน
เกดิ มา ธรรมทง้ั หลายไม่ไดอ้ ยทู่ อี่ น่ื อย่ทู ตี่ วั เรานท้ี มี่ ใี จเป็นใหญ่
เป็นหวั หน้า งานการทง้ั หลายจะดหี รอื จะชวั่ ลว้ นสำ� เรจ็
อย่าเปน็ คน อยู่ท่ีใจ จงึ ควรอบรมจิตใจให้มสี ตใิ หช้ ำ� นิชำ� นาญ ให้มี
หาประโยชน์มิได้ สัมปชัญญะประดับและประจ�ำใจใหร้ ู้เทา่ ตอ่ อารมณ์
ที่มันเกิดข้นึ ใหเ้ หน็ ความเกิดต้งั อยแู่ ละความเส่อื มไป
เปน็ ธรรมดา ก็จะเกิดความเบื่อหน่าย หายหลง ไมเ่ ข้า
ไปยึดถือเอาก้อนกายท้ังก้อนวา่ เป็นตัวเราของเรา
ตดิ สมมตุ ิวา่ เปน็ ผูห้ นุม่ ผู้เฒ่า ผู้แก่ ซง่ึ เป็นของสมมุติ
จติ ร้เู ท่าอารมณ์ ปล่อยวางในขนั ธ์ ไม่ยดึ อำ� นาจความโลภ
ความโกรธ ความหลง ปล่อยวางช�ำระล้างอย่าใหม้ ัน
เขา้ มาครอบง�ำ จะมีความสุขใจ เบิกบานใจ ใจหอม
ใจไมเ่ น่า ใจของผนู้ ้นั ละอารมณ์ท้งั หลาย จิตผอ่ งแผ้ว
ตงั้ มนั่ เป็นสมาธิ จติ สว่างไสวเป็นจติ สงู ให้พากนั ทำ� เอา
ใหไ้ ด้ให้ถึง อย่าใหเ้ กิดมาแล้วไมไ่ ดอ้ ะไรดีสักอย่าง
เกิดมามีแตแ่ กไ่ ป ตายไป ทับแผ่นดิน หาประโยชน์
อันใดมิได้

เราเกิดมาเปน็ มนุษย์ เป็นอัตภาพอันสูงสุดอัน
จะท�ำประโยชน์ให้แกโ่ ลก แกญ่ าติ และให้แกต่ น
พระพุทธเจ้าท่านตรัสไวว้ า่ “ชว่ ยให้ตนพ้นทุกขเ์ สีย
กอ่ นจึงคอ่ ยสอนผูอ้ นื่ ”

ธรรมทั้งหลายไม่ไดอ้ ยู่ที่อื่น อยูจ่ �ำเพาะที่เราใน
ร่างกายของเรานี้ ก่อนท่ีเราเขา้ ใจว่าเป็นของตน ทจี่ รงิ
เปน็ ของกลาง จะใชท้ างไหนก็ได้ ทำ� บญุ กไ็ ด้ ทำ� บาป
ก็ได้ ใครอยากไปนรกก็ท�ำบาปหนัก อยากไปสวรรค์

166

ก็ทำ� บญุ มอี ยูส่ องทาง ท�ำบุญกเ็ ป็นกศุ ลธรรม ท�ำบาปก็เป็นอกุศลธรรม กรรมเป็น
เหตุท�ำใหต้ กทุกขไ์ ด้ยาก กุศลกรรมท�ำให้อยูใ่ นสันดานของตนแล้วจะมีความสุข
“มโนปุพฺพํ คมา ธมฺมา มโนเสฎฺฐา มโนมายา” ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นใหญ่
มใี จเป็นหวั หน้า สำ� เร็จแลว้ ด้วยใจ ท�ำความดสี �ำเร็จแลว้ ด้วยใจ ท�ำความช่วั กส็ �ำเรจ็
แลว้ ด้วยใจ ท�ำความชั่วเป็นเหตใุ หผ้ ้ทู ำ� ได้รบั ความลำ� บาก มานะ คือ ใจอนั มี โลภะ
โทสะ โมหะ ครอบง�ำ เศร้าหมอง ข่นุ มวั จะมีแต่ความทุกข์คอยติดตามเหมอื นกบั
ล้อเกวยี นตามรอยตีนโคไปฉะน้นั

เพราะฉะน้นั พวกเราควรอบรมจิตใจให้มีสติให้ชำ� นชิ ำ� นาญให้แม่นยำ� ใหม้ ีสติ
ประดับประจ�ำใจ จิตจะโน้มเข้าโอปนยิโก โน้มเขา้ มาพิจารณาร่างกายให้เห็น
เป็นของกลาง คนฉลาดใช้จิตนอ้ มท�ำความดี บำ� เพญ็ สมาธภิ าวนา อาศยั กายเป็น
กมั มฏั ฐาน ทำ� จติ ให้คล่องแคลว่ ให้จติ เบกิ บาน จะทำ� การงานกด็ ี จะไปไหนกด็ ี มสี ติ
พิจารณาทุกอิริยาบถ ยืน เดิน น่ัง นอน ความสุขย่อมติดตามผู้น้ันไปเหมือนกัน
กับเงาติดตามตน การท�ำบุญท�ำความดีมีแต่ความสุข พระพุทธเจา้ ท่านสอนให้
ละความชว่ั ทำ� ความดี ใหเ้ ป็นผ้หู มนั่ ขยนั ไม่เกยี จคร้าน อบรมใจของตนให้ผอ่ งแผ้ว
ใหเ้ บิกบาน ถ้าใจเศรา้ หมอง มีความโลภ ความโกรธ ความหลง ครอบง�ำแล้ว
มแี ต่ความทุกข์ใจ เศร้าหมอง เรยี กว่า ใจเนา่ ใจบูด ใจดำ� ควรอบรมจิตให้เบิกบาน
ร่าเรงิ ใหส้ บาย ไมใ่ หใ้ จตกอย่ใู นอำ� นาจความโลภ ความโกรธ ความหลง ให้ปล่อยวาง
ช�ำระล้าง อยา่ ให้มันเข้ามาครอบง�ำ จะมีความสุข ใจเบิกบาน ใจหอม ใจไม่เน่า
ใจของผูน้ นั้ ละอารมณท์ งั้ หลาย จิตผอ่ งแผว้ ต้ังมั่นเปน็ สมาธิ จิตสว่างไสวเป็นจิตสูง
ให้พากนั ทำ� เอา

พวกเรามกั พากนั ถอื ทง้ั สองศาสนา ศาสนาหนงึ่ เป็นศาสนาของมาร สอนให้
ลักเอา ขโมยเอา ปล้นเอา โกงเอา กอบโกยมันเอาให้ได้มากๆ อกี ศาสนาหนึ่งเปน็
ศาสนาของพระพทุ ธเจ้า สอนว่าอย่าเปน็ ผโู้ ลภ ให้เปน็ ผ้สู นั โดษมกั นอ้ ย อย่าไปโลภ
อยากไดข้ องๆ คนอนื่ มาเป็นของตน ความหลงเข้าไปยึดถือเอากอ้ นกายท้ังก้อนว่า
เปน็ ตัวเราของเรา ติดสมมุติวา่ เปน็ ผู้หนมุ่ ผู้เฒ่า ผแู้ ก่ ซึง่ เป็นของสมมุติ ความโลภ
คือ ความยินดี รกั ใคร่ อยากไดใ้ นทรพั ย์ ทง้ั ทม่ี ีวญิ ญาณ สวิญญาณกทรัพย์ และ

167

ไมม่ ีวิญญาณ อวิญญาณกทรัพย์ สมุทัย คือ เหตุให้เกิดทุกข์ เกิดจากตัณหา
ความอยากได้ อยากเปน็ อยากมี อยากได้ เรียกวา่ กามตัณหา ภวตัณหา
ความอยากเป็น อยากมี วิภวตัณหา ความไม่อยากไดข้ องท่ีไมร่ ักไม่ชอบใจ เชน่
อารมณ์ที่ไมช่ อบใจ ความเจ็บ ความไข้ ตัณหาเป็นเหตุให้เกิดทุกข์ พระพุทธเจา้
ทา่ นให้พจิ ารณาให้เหน็ ทกุ ข์เสยี กอ่ น จติ สงบ แล้วพจิ ารณาให้เปน็ ทกุ ข์ ทกุ ข์เปน็ ผล
ผลมาจากเหตุ เหตุคือ สมุทัย กามทัง้ หลายเป็นเหตใุ ห้เกิดทกุ ข์ ความเกิดเป็นทุกข์
ความชรา ความเฒ่าแก่ พยาธิ ความเจบ็ ไข้ ก็เปน็ ทกุ ข์ มรณะ ความตายก็เปน็ ทุกข์
ความไม่สบายกาย ความทุกขโ์ ทมนัส ความเสียใจ ความคบั แค้นใจ เปน็ ความทุกข์
ความทุกข์เกิดในใจ เวทนาไมด่ เี กิดขึ้นในใจ ความเสียใจโทมนัส เพราะไม่รับสง่ิ ท่ี
ไม่รักไมช่ อบใจก็เป็นทุกข์ ความพลัดพรากจากอารมณ์ท่ีรักที่ชอบใจก็เป็นทุกข์
ทกุ ข์ธรรมดา คอื ความทุกข์กาย ความเจบ็ ความปวด เปน็ สภาวะทกุ ขอ์ ย่างหนง่ึ
เปน็ กฎของธรรมดา ปกิณกทุกข์ คือ ทุกขท์ ี่จรมาครอบง�ำจิตใจของผู้ท่ีไม่อบรม
จติ ใจ เป็นเหตุใหห้ วาดสะดุ้ง กระสบั กระสา่ ย ไมส่ บายใจ

เพราะเหตุฉะน้ัน พวกเราควรพากันอบรมจิตใจของตนให้มีสติสัมปชัญญะ
ใหร้ ้เู ทา่ ต่ออารมณท์ เี่ กิดขน้ึ ทกุ สงิ่ ในโลกนท้ี ม่ี นั เกิดขนึ้ มคี วามเกิด ความตงั้ อยู่ และ
ความเสื่อมไปเป็นธรรมดา ตกอยใู่ นไตรลักษณ์

ปญจฺ ุปาทานกขฺ นธฺ า อนิจจฺ า ขนั ธไ์ มเ่ ทีย่ ง

ปญจฺ ปุ าทานกขฺ นฺธา ทุกฺขา ขนั ธน์ ้ีเป็นทุกข์

ปญจฺ ปุ าทานกขฺ นฺธา อนตฺตา ขันธอ์ ันนไ้ี มใ่ ชต่ ัวใช่ตน ไม่ใชบ่ คุ คล เราเขา

พจิ ารณาใหเ้ หน็ ดงั น้ี จะมคี วามเบอ่ื หน่าย เกิดความเบอื่ หน่าย ไมม่ าหลงยดึ ถอื
วา่ เป็นของตน พจิ ารณาใหเ้ หน็ ทกุ ๆ ขณะจติ จติ จะมคี วามเบอ่ื หน่ายในกามทง้ั หลาย
เบอื่ หนา่ ยในภพ เบอื่ หน่ายในความโงค่ วามเขลาของตน ครน้ั มคี วามเบอ่ื หน่ายแล้ว
จติ กไ็ มเ่ ขา้ ไปยดึ มนั่ ถอื มนั่ ในขนั ธ์ จติ ปลอ่ ยวาง พจิ ารณาประการเดยี ว เราท่องเทย่ี ว
ไปในสังสารวัฏไม่มีท่ีสิ้นสุด นับภพนับชาติไมไ่ ด้ นับไมถ่ ้วน แล้วไม่ได้อะไรดี
สักอย่าง เกิดมามีแตแ่ ก่ไปๆ ทับแผน่ ดนิ หาประโยชน์อันใดมิได้



168

พระพุทธเจ้าทา่ นสอนให้เราถือศีลก่อน ศีลท�ำให้ - ฆราวาสธรรม -
กายวาจาสงบ แลว้ จึงท�ำสมถภาวนาใหจ้ ิตใจสงบ
ครน้ั ภาวนาจนจติ สงบสงดั ดแี ล้ว กใ็ ชป้ ญั ญาคดิ คน้ คว้า ธกรอ้ รนม
สกนธ์กายนี้ เรียกวา่ ท�ำกัมมัฏฐาน พระพุทธเจา้ ว่า
ธรรมะไม่อย่ทู อ่ี น่ื อยูท่ สี่ กนธ์กายของทุกคน คนหมด
ทุกคนก็แมน่ ธรรมหมดท้ังก้อน แมน่ กอ้ นธรรมหมด
ทุกคน พระพุทธเจา้ วา่ ธรรมไม่อยูท่ ี่อ่ืน ไม่ตอ้ งไปหา
ทีอ่ ่นื มนั อยู่ในสกนธ์กายของตนนี้ ดจู ิตใจของตนนีใ้ ห้
มนั เหน็ ความจรงิ ของมนั พระพทุ ธเจา้ ว่า ปญจฺ ปุ าทา-
นกฺขนฺธา ทุกฺขา สกนธก์ ายของเราน้ีมันเปน็ ทุกข์
ปญจฺ ปุ าทานกขฺ นธฺ า อนจิ จฺ า สกนธก์ ายอนั นไี้ มเ่ ทยี่ ง
ปญจฺ ปุ าทานกขฺ นธฺ าอนตฺ ตาก้อนอนั นไี้ มใ่ ชค่ นไม่ใช่สตั ว์
ธรรมทง้ั หลายไมใ่ ช่คน ไม่ใชส่ ัตว์ จึงว่าธรรมทง้ั หลาย
กแ็ มน่ ก้อนธรรมนี้ ไมใ่ ช่คน ไมใ่ ช่สตั ว์ มนั อยากจะเปน็
ไปอยา่ งใด กเ็ ปน็ ไปตามธรรมชาตขิ องมนั กริ ยิ าของมนั
มันไมฟ่ งั ค�ำเรา ไมฟ่ งั พวกเรา อยากแกม่ ันก็แก่ไป
อยากเจ็บมันก็เจ็บไป อยากตายมันก็ตายไป สพฺเพ
ธมมฺ า อนตตฺ า ธรรมเหล่านไี้ มใ่ ชข่ องใคร ใหพ้ จิ ารณาดู
ใหเ้ หน็ เปน็ ก้อนธรรม มนั ไม่อยใู่ นบงั คบั บญั ชาของใคร
ทั้งนั้น มันเป็นทุกข์ มันเปน็ อนิจจัง มันเป็นอนัตตา
ตกอยูใ่ นไตรลักษณ์ คนเราได้ก้อนธรรมอันน้ีแหละ
ไดเ้ ปน็ รปู เปน็ กาย เป็นผ้หู ญงิ เปน็ ผชู้ าย กส็ มมตุ ทิ ง้ั นน้ั
สมมตุ วิ า่ ผหู้ ญงิ ว่าผชู้ ายวา่ เดก็ ว่าเฒา่ มนั สมมตุ ซิ อ่ื ๆดอก
ทจ่ี รงิ มนั แมน่ กอ้ นธรรมทัง้ หมด

เราเกดิ มาได้อตั ภาพอนั ดสี มบรู ณบ์ รบิ รู ณ์ พวกเรา
ไดส้ มบตั ิมาดีแล้ว ควรใชม้ นั เสยี ใชไ้ ปในทางดี ทางดี

169

คือการท�ำบุญใหท้ าน รักษาศีลภาวนา ใช้มันเสียเม่ือมันยังสมบูรณบ์ ริบูรณอ์ ยู่
อยา่ ไปนอนใจเมอื่ วนั คนื ล่วงไปๆ พระพทุ ธเจ้าว่าวนั คนื ลว่ งไปๆ มใิ ช่จะลว่ งไปแต่วนั คนื
เดอื นปี ชวี ติ ความเปน็ อยขู่ องเรากล็ ว่ งไปๆ ทกุ ขณะลมหายใจเข้าออก ไมค่ วรนอนใจ
ได้มาดีแลว้ อัตภาพอันนี้ ไมเ่ ปน็ ผู้หนวกบอดใบ้บ้าเสียจริต สมบัติอันนี้คือมนุษย์
สมบตั ิ มนษุ ย์ เราเปน็ มนุษยห์ รอื เปน็ อะไร คนเรอะ พระพุทธเจา้ ว่าส่งิ อันประเสริฐ
ก็ได้แก่คน บาปและบุญก็เรียก เราตอ้ งเป็นผู้มีหิริโอตตัปปะ หิริ ความอายต่อ
ความชวั่ โอตตปั ปะ ความสะดงุ้ ตอ่ ผลของมนั ความชวั่ มนั จะใหผ้ ลเราในคราวหลงั

เม่อื เราเปน็ มนษุ ย์ เราไมค่ วรนอนใจ อย่าใหก้ าลกินเรา ให้เรากินกาล ให้เร่ง
ท�ำคุณงามความดี เวลาล่วงไป ชีวิตของเราก็ล่วงไป ลว่ งไปหาความตาย มนุษย์
เป็นสตั วอ์ นั สงู สดุ อนั นเี้ ปน็ เพราะเราไดส้ มบตั อิ นั ดมี า ปพุ เฺ พกตปญุ ญฺ ตา บญุ กศุ ล
คณุ งามความดเี ราได้สร้างมาหลายภพหลายชาตแิ ล้ว เราอย่าไปเข้าใจวา่ เราเกิดมา
ชาตเิ ดยี วนี้ ต้ังแตเ่ ราเทยี วตายเทยี วเกิดมานี่ นับกัปนบั กัลป์อนันตชาติไมไ่ ด้ แลว้
จะว่าเหมือนกันไดอ้ ยา่ งไรละ่ เม่ือเรามาเกิดก็มีแต่วิญญาณเทา่ นนั้ พอมาปฏสิ นธิ
กเ็ อาเลือดเอาเนอื้ พอ่ แมม่ าแบง่ ให้ ไดอ้ ตั ภาพออกมา แมก้ ระน้ันกไ็ มม่ ีสตั วม์ าเกิด
ต้องอาศัยจุติวญิ ญาณ เราตอ้ งสรา้ งเอาคุณงามความดี

พวกฆราวาสกค็ อื ตงั้ ใจรบั ศลี ห้า ศลี แปด ในวนั เจด็ คำ่� แปดคำ่� สบิ สค่ี ำ่� สบิ ห้าคำ่�
เดอื นหนง่ึ มสี ค่ี รงั้ อย่าใหข้ าด ทำ� สมาธภิ าวนา ให้มสี ติ ระวงั กายของตนใหเ้ ปน็ สจุ รติ
วาจาเป็นสจุ รติ ใจเปน็ สุจรติ เทา่ น้ีแหละ เอายอ่ ๆ มสี ตอิ นั เดยี ว ละบาปทั้งหลาย
ความช่ัวท้ังหลาย ละด้วยกาย วาจา ดว้ ยใจ ท�ำบุญกุศลให้ถึงพร้อมดว้ ยความ
ไม่ประมาท กระทำ� จติ ของตนใหบ้ ริสทุ ธ์ผิ อ่ งแผ้ว อันน้เี ปน็ ค�ำสอนของพระพทุ ธเจ้า
ใหม้ สี ตริ กั ษากาย วาจา ใจ ศลี หา้ ถา้ ใครละเมดิ กเ็ ป็นบาป ครน้ั ละเว้นโทษหา้ อยา่ งนี้
นนั่ แหละเป็นศลี ศลี คอื ใจ บาปกค็ อื ใจ ศลี อย่ใู นใจ บาปกอ็ ยทู่ ใี่ จเหมอื นกนั นนั่ แหละ
เรอ่ื งทำ� บญุ ทำ� กศุ ล ให้ทาน รกั ษาศลี ภาวนา อยแู่ ต่ใจทง้ั นนั้ อะไรๆ ทงั้ หมดอย่กู บั ใจ
สงสยั กพ็ จิ ารณาดวงใจ ทำ� บาปห้าอย่างนแี้ ล้วศลี ไม่มี เปน็ คนไม่มศี ลี คนมนั ชอบทำ�
แต่บาป ศลี ไมช่ อบทำ� อยากทำ� แต่บาป ทา่ นเปรยี บไว้ว่า คนไปสวรรคเ์ ท่ากบั เขาววั
คนไปนรกเทา่ ขนววั ววั มีสองเขา แตข่ นมันนบั ไม่ถว้ น



170

เรอ่ื งจติ นี่ พวกฝร่งั เขาทำ� กนั จรงิ ๆ จงั ๆ เขาสนใจ - ฆราวาสธรรม -
อยู่ปานนั้น มันจึงเปน็ เร่ืองใหญ่ มาเอาทางภาวนา
ยากจริง พวกน้ีเขาท�ำกันหลายคน สนใจแท้ๆ เรื่อง ศลี
ทำ� บญุ รกั ษาศลี ใหท้ าน กเ็ ข้าใจหมดแลว้ เรอื่ งภาวนา
มนั สำ� คญั อบรมบ่มอนิ ทรยี ์ อบรมกายนแี่ หละ อบรมใจ
ของตนน่ีแหละ มันยากอยู่ คร้ันอบรมได้แล้ว ไม่มี
ความเดอื ดร้อน ใจเยอื กเยน็ ใจสบาย ไม่มคี วามหวนั่ ไหว
อวชิ ชาคอื ใจ ใจดวงเดยี วนน่ั เรยี กวา่ อวชิ ชา คอื มนั ไมร่ ู้
ต่อสิ่งทั้งปวง ไม่รู้ในกองสังขาร แล้วหลงยดึ ชอบเขา้
ก็หลงยึด ไม่ชอบก็ยึดเข้ามาเผาตน มันไมร่ ู้มันจึง
หวนั่ ไหว

พวกเราพากนั ฝึกหดั ใจของตนใหด้ ี พระพทุ ธเจา้ ว่า
ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหนา้ มีใจถึงพรอ้ ม มีใจ
เปน็ ใหญ่ มใี จประเสริฐสดุ ครั้นทรมานใจดแี ลว้ ฝึกฝน
ดีแล้ว อบรมดีแล้ว มีใจประเสริฐสุด ถ้าไม่ทรมาน
ไม่ฝกึ ฝนอบรม อันน้ีมันก็ท�ำพิษเผาอยูท่ ั้งกลางวัน
กลางคืน มนั เป็นเพราะใจน่ีแหละ

ใจไมด่ ี ใจไม่รูเ้ ท่า ใจโง่ มนสา เจ ปทุฏฺเฐน
ใจอนั มโี ทษประทษุ ร้ายมันอย่แู ลว้ เพราะราคะ โทสะ
โมหะ ประทษุ ร้ายอยู่ ไปอย่ทู ไี่ หนกไ็ มม่ คี วามสขุ สบาย
มีแตค่ วามเดือดร้อนเผาผลาญ ทา่ นเปรียบไว้เหมือน
โคที่เข็นภาระอันหนักไปอยู่ ใจไม่ดีแล้ว ผู้ไมฝ่ ึกฝน
อบรมใจของตนแลว้ ท�ำไปตามความพอใจ ความ
ชอบใจ ใจเศร้าหมอง ไม่มคี วามสุข ยืน เดนิ น่ัง นอน
ก็ไมม่ คี วามสขุ

171

ใจทีอ่ บรมดีแลว้ ฝกึ ฝนทรมานดแี ล้ว ไปอยทู่ ไี่ หนกม็ ีความสขุ พูดอยู่กเ็ ปน็ สุข
ยืน เดนิ นัง่ นอน ท�ำอะไรอยู่กเ็ ป็นสุข ไม่มีความเดือดร้อน มนสา เจ ปสนเฺ นน
บุคคลผู้ฝกึ ฝนอบรมจิตใจของตนให้ดีแลว้ จิตผอ่ งใสแล้ว แมจ้ ะพูดอยูก่ ็ตาม
ทำ� อยกู่ ต็ าม ไปทไี่ หนกต็ าม ความสขุ ยอ่ มตดิ ตามไปอย่ทู กุ อริ ยิ าบถ ยนื เดนิ นงั่ นอน

พวกเราท�ำความฝกึ ฝนจิตใจของตน ใหเ้ อาสติประจำ� ใจ จะพูดกใ็ ห้มีสติ จะทำ�
กใ็ หม้ สี ติ จะคิดกใ็ หม้ ีสติควบคมุ ใจของตน อย่าไปปลอ่ ยสติ ครัน้ ไมป่ ล่อยสติแลว้
น่ันแหละได้ชือ่ วา่ เปน็ ผู้น่ังอยู่ใกล้ความสขุ ใกล้ทางทสี่ ุด ทางทเ่ี ราจะเดนิ ไปหน้าละ่
ใกลเ้ ขา้ ๆ พวกเราเหมือนกันกับเดินทางไกล ไม่รู้ว่าจะเดินมาจากไหน นับวัน
นับคนื นับปี นับเดือน ไมถ่ ้วน การเดนิ ทางเพอ่ื จะไปสู่จุดหมายปลายทางคือที่สุด
เหมือนว่าเราจะไปกรุงเทพฯ นน่ั แหละ เป็นท่ีสนุกสขุ สบาย เข้าใจวา่ กรุงเทพฯ เปน็
เมืองพระนคร เปน็ เมืองสวรรค์ อยากไป พวกเราอยากไปสูจ่ ุดหมายปลายทาง
คือพระนิพพานนน่ั แหละ ว่าเป็นจดุ อันเลิศ วา่ เปน็ ทสี่ น้ิ สดุ แหง่ ทกุ ข์ มีแต่ความสุข
ทพี่ ระพุทธเจ้าและสาวกทง้ั หลายทา่ นไปแล้ว จุดอันนัน้ แหละ

เราเกิดมานี่ เทยี วไปเทยี วมาอยนู่ ี่นะ่ ไม่ตอ้ งการอะไรทงั้ หมดทงั้ น้ันแหละ
ไมต่ อ้ งการความทุกข์ ไมต่ อ้ งการความตาย ตอ้ งการหาความสขุ แตห่ าไม่พบ
เพราะศรัทธาของเราไม่เพียงพอ เช่ือไปตามกามกิเลส ประพฤติไปทางอื่น
ไปทางโลกเสยี ทางธรรมของพระพทุ ธเจ้าไม่เอาใจใส่ ไม่มคี วามสนใจ ไม่พอใจ
ทจี่ รงิ ถงึ เราไม่อยากไปกต็ าม พระนพิ พานนะ่ แต่กค็ วรปฏบิ ตั ไิ ว้ ควรอบรมจติ ใจ
ของตนใหม้ นั เป็นอปุ นสิ ยั เปน็ ปจั จยั ตอ่ พระนพิ พาน อบรมไว้ บางทไี ปชาตหิ น้า
ชาติใหม่ เราเกิดความเบื่อหนา่ ยอย่างใดอย่างหนึ่ง เราจะกลับมาปฏิบัติ
มันจะได้บรรลุคณุ วิเศษโดยเรว็ ไม่เฉอื่ ยชา้ ไป

พวกเราได้คบหากบั นกั ปราชญ์อาจารยบ์ ่อยๆ สนใจบ่อยๆ ทำ� ไปๆ กจ็ ะเปน็ ไป
วันหน่ึงน่ันแหละ จะได้รับผลอยูน่ ั่นแหละ ท�ำแลว้ จะเปลา่ ประโยชน์ ไมเ่ ปล่าดอก
ทุกสิ่งทุกอยา่ ง เหมือนพวกคุณหมอท้ังหลาย ไดศ้ ึกษาวิชาศิลปศาสตร์มาแล้ว
ก็ได้มาแล้ว รู้อยา่ งน้นั อย่างน้ี ทำ� อยา่ งนัน้ อยา่ งน้ี แลว้ ก็ได้ผล เม่ือท�ำลงก็ไดร้ ับผล
มผี ลตอบแทนอย่อู ย่างนนั้ แหละ ผล คอื ลาภ ยศ เพราะเรามวี ชิ าศลิ ปศาสตร์ เพราะ

172

เราท�ำคุณความดี ทางที่ไปสู่ความสงบสุขน่ี พระพุทธเจ้าประกาศไว้แล้ว ถ้าเรา
มีความสนใจ พอใจ ต้ังใจท�ำ ก็คงไดร้ ับผลตอบแทนเหมือนกัน ไม่ตอบแทนกัน
ไม่มดี อก ทกุ สงิ่ ทกุ อย่างน่ะ ความดกี ด็ ี ความชว่ั กด็ ี ตอบแทนเหมอื นกนั ถ้าทำ� ชวั่ ลงไป
แลว้ ก็ไดร้ ับความเดอื ดรอ้ นขึน้ กับตัว กบั บ่อนนน่ั แหละ

คนทั้งหลายเขาสงสยั วา่ บาปไม่มี บญุ ไมม่ ี มนั ไมพ่ ิจารณาให้เห็นว่า ทำ� แล้ว
กไ็ ด้รบั เหมอื นกนั ในเรอื่ งนน้ั ๆ แหละ พอทำ� เข้าแลว้ กเ็ ดอื ดร้อนหละ วงิ่ เข้าปา่ เขา้ ดง
ไปอยู่ตามถำ้� ตามเหว ไมม่ ีที่ไหนมนั จะพ้นดอกความช่วั นี่ พวกเราเป็นผทู้ ำ� ความดี
ความชอบ อาชพี ของเราเปน็ ไปเพอื่ เปน็ ศลี เป็นธรรม ไม่เบยี ดเบยี นใคร แลว้ เรากไ็ ด้
รับความพอใจ ความชอบใจ ดีใจ เห็นกันอยู่อยา่ งนั้น แล้วที่จะว่าไม่เปน็ บุญเป็น
บาปยังไง มันเปน็ อยู่อย่างน้ันน่ี เปน็ กับท่ีนั้นแหละ ผู้ใหท้ านก็ไดร้ ับความดีใจกัน
ทนี่ นั่ แหละ ผมู้ ศี ลี กไ็ ด้ความดใี จ ศลี หา้ ศลี แปด ศลี สบิ ศลี พระปาฏโิ มกข์ของพวกพระ
ฆราวาส ศีลห้า ศีลแปด เราก็ศึกษาให้มันดี ศึกษาให้เขา้ ใจ เมื่อเข้าใจแล้ว
กไ็ ม่ยาก เรอื่ งงดเว้นทกุ สง่ิ ทกุ อย่างนะ่ พวกเรากร็ แู้ ลว้ เรอื่ งจะไม่ตอ้ งสมาทานเอากบั
พระภกิ ษสุ ามเณรก็ตาม รูแ้ ลว้ เจตนางดเว้นเอา เรียกว่า วิรตั ิ เจตนา งดเว้นเอา
เขา้ ใจแลว้ ไม่ตอ้ งสมาทานก็ได้ เอาเจตนาน่ีแหละ เราจะไมท่ �ำ สมมุติว่า ศีลห้า
บาปหา้ อย่าง กรรมห้าอย่างน้ี เราจะไม่ท�ำตอ่ ไปเด็ดขาด นก่ี ็เปน็ อุปนิสยั ปจั จยั อยู่

พวกเราสมบูรณบ์ ริบูรณ์แลว้ ควรรักษามันให้ดี เร่ืองกรรมหา้ อย่างนั้นแหละ
ครนั้ เวน้ วริ ตั ใิ ห้มนั ขาดลงไปแล้ว ไดช้ อื่ วา่ เป็นผ้หู มดกรรม หมดเวร หมดภยั ให้มนั ขาด
ห้าอยา่ งเบื้องต้นน่ีแหละ พระพุทธเจา้ วา่ มันไม่ใชศ่ ีลนะ บาปนะ เวรนะ คร้ันเวน้
ห้าอย่างนเี้ ป็นสุจรติ ธรรม ผ้หู ญิงผชู้ ายกต็ าม ผ้นู อ้ ยผู้หน่มุ กต็ าม ผ้แู กผ่ ้เู ฒ่ากต็ าม
เป็นสมบัติของมนุษย ์ ปาณาติปาตา ปฏิวิรโต โหติ ให้มีเจตนางดเว้น อทินฺนา
ทานา ปฏวิ ริ โต โหต ิ เจตนาวริ ตั งิ ดเวน้ มสี ตปิ ระจำ� ใจ กาเมสมุ จิ ฉฺ าจารา ปฏวิ ริ โต
โหติ ใหเ้ จตนางดเวน้  มุสาวาทา ปฏวิ ิรโต โหติ ความไมจ่ รงิ จะไมพ่ ูด พดู มีสจั จะ
มศี ลี คำ� ท่ไี มจ่ ริงจะไมพ่ ดู ต่อไป มีจึงพดู ไม่มีไม่พดู  สุราเมรยมชฌฺ ปมาทฏฺฐานา
ปฏวิ ริ โต โหต ิ นแ่ี หละห้าอย่างนแ่ี หละ งดเว้นห้าอย่างน่ี ได้ชอ่ื ว่าเปน็ ผหู้ มดกรรม
หมดเวร นเี่ ป็นเคา้ เป็นมูลของศลี ทั้งหลาย มนั จะตั้งอย่ไู ด้

173

ศีลแปดน้ัน ครั้นเรารักษาไมไ่ ด้ก็ไม่เป็นโทษเป็นภัยอะไรดอก เป็นแต่
เศร้าหมอง สามขอ้ เบ้ืองปลายน่ันแหละเป็นศีลสูงขึ้นไป รักษาไมไ่ ดม้ ันก็พา
เศร้าหมองเทา่ นนั้ ศลี ห้าข้อเบอื้ งต้นนนั่ แหละสำ� คญั เวน้ ใหม้ นั เดด็ ขาดเรอ่ื ยไป
ทา่ นจงึ เปรยี บไวเ้ หมอื นต้นไม้ ครนั้ ไปตดั กงิ่ ก้านสาขามนั ออกแลว้ ไมต่ าย มนั ต้อง
เปน็ ขึ้นอีก แตกกิ่งก้านสาขาขึ้นอีก แต่ถา้ ตัดรากแก้วมันหมดแล้ว มันตาย
ไม่มีอะไรจะงอกขึ้นอีกต่อไป เค้ามูลมันคือศีลหา้

อาตมาจะพดู ให้ฟัง พดู ตรงๆ นแ่ี หละ ศลี นม่ี ตี วั เดยี วเทา่ นนั้ แหละ มใี จดวงเดยี ว
เท่าน้ัน ไมม่ ีอ่ืนอีก หมู่นั้นมันเป็นอาการมัน ถ้าเราไมฆ่ ่า ไมล่ ัก ไม่มารยาสาไถย
กับใคร นอกจากเมียของตนซึ่งอยูใ่ นปกครองของตน พูดแตค่ วามจริง ไม่ด่ืมสุรา
ยาเมา นีแ่ หละ ๕ อย่างนม่ี แี ต่บาปทง้ั นัน้

พระพทุ ธเจ้าจงึ วา่ เรากลา่ วว่าเจตนาเปน็ ตวั กรรม เจตนาเปน็ ตวั ศลี เจตนากใ็ จ
เท่านัน้ แหละ เจตนางดเว้น ใจมีอันเดยี วเท่าน้นั แหละ และให้มีสตคิ วบคุม ระวังจติ
มนั คิดจะท�ำอะไรกด็ ี คดิ จะพดู อะไรไมเ่ ปน็ ศลี เปน็ ธรรม ก็มีสติยับย้ัง รสู้ ึกตน สติ
คือความระลกึ สัมปชญั ญะ ความระลึกวา่ ผดิ หรอื ถูก มันต้องตดั สิน สมั ปชัญญะ
เปน็ ผู้ตัดสิน พวกเราให้หัดท�ำสติใหแ้ มน่ ย�ำใหส้ �ำเหนียกแล้ว จะท�ำอะไรก็ถูกต้อง
พูดถกู ต้อง คิดถกู ต้อง มันก็เป็นศลี แลว้ เพยี งศลี หา้ มนั กด็ อี ยู่ ศลี แปดเป็นบางครั้ง
เป็นคราวก็ได้อยู่ ครั้นรักษาให้ดีเปน็ บริสุทธ์ิแล้ว ได้อยู่ ราชาก็ได้อยู่ จักรพรรด์ิ
กไ็ ด้อยู่ มหาเศรษฐกี ไ็ ด้อยู่ ไมต่ ้องสงสยั พระพทุ ธเจ้าพดู ความจรงิ ผมู้ ศี ลี ย่อมเป็น
ผู้องอาจกลา้ หาญต่อหนา้ ประชุมชน ผมู้ ีศลี ย่อมมคี วามสุข ท่านบอกไวน้ ะ

เมือ่ รับศลี ด้วยปากแล้ว ท่านวา่  สเี ลน สคุ ตึ ยนตฺ  ิ กลุ บตุ รผ้รู ักษาศลี ถึงพรอ้ ม
ด้วยศลี บรบิ รู ณแ์ ลว้ ยอ่ มมคี วามสขุ แม้จะเข้าไปคบหาสมาคมกบั บรษิ ทั ใดๆ กต็ าม
บริษัทกษตั ริยก์ ็ตาม บรษิ ทั คหบดกี ต็ าม บริษทั สมณพราหมณก์ ็ตาม เป็นผู้องอาจ
กล้าหาญ ไมม่ คี วามครนั่ คร้ามต่อผคู้ น เพราะคดิ ว่าเราบรสิ ทุ ธดิ์ แี ลว้ ถงึ ไม่มคี วามรู้
ก็ตาม ไมค่ ิดกลัววา่ คนอ่ืนเขาจะมาโทษเราวา่ เป็นผู้ไม่บริสุทธ์ิยังง้ันยังงี้ ไม่คิด
อยา่ งนัน้ ไมก่ ลวั แลว้ ก็เป็นท่รี ักของเพอ่ื นมนุษยด์ ว้ ยกนั เปน็ ท่รี กั แกส่ ัตว์ท้ังหลาย

174

ดว้ ยกัน คนผู้มีศีลแลว้ ยอ่ มใจเย็น จิตมันหย่ังเข้าไปถึงกัน สัตวเ์ ดรัจฉานก็ตาม
สตั ว์ใดๆ กต็ าม ได้เห็นแลว้ มันหยง่ั เขา้ ไปถงึ กนั เหมอื นกันกบั ไฟฟ้า ไปถงึ จิตถงึ ใจ
กันแล้ว แล้วจิตของเรามันเย็นแล้ว มันก็ไม่กลัว ถ้ามันเห็นพวกคฤหัสถ์พวกท่ีเขา
จะฆ่ามันแลว้ มันไม่รอ มันว่ิงเขา้ ปา่ เข้าดงไปเลย น่ีแหละไปอยู่ท่ีไหนก็มีความสุข
ศีลน�ำความสุขมาใหต้ ราบเทา่ ชรา ศีลน�ำความสุขมาใหต้ ลอดชีวิต ศีลน�ำ
ความสขุ ไปใหต้ ลอดและมสี ุคตเิ ป็นท่ีไป

สเี ลน โภคสมปฺ ทา ผ้จู ักม่ังคัง่ บริบูรณส์ มบรู ณ์ ไมอ่ ด ไมอ่ ยาก ไมย่ ากไมจ่ น
กเ็ พราะเปน็ ผรู้ กั ษาศลี ใหส้ มบรู ณบ์ รบิ รู ณน์ แี้ ล เป็นแท้ เปน็ กรรมดแี ท้ เป็นกรรมร้ายแท้
ให้คิดดู ถ้าบุญไม่มแี ลว้ บาปไม่มแี ล้ว มันเป็นเพราะกรรมดีกรรมช่ัว พระพุทธเจ้า
วา่ คนเกิดมาสัตวเ์ กิดมาในโลกนี้คงเพียงกัน ไม่มีสูงมีต�่ำ มีด�ำมีขาว ถ้าขาวก็ขาว
อยา่ งเดียวกัน จะม่งั ค่ังก็ม่ังคง่ั อย่างเดยี วกัน จะจนกจ็ นอยา่ งเดียวกัน โงก่ ็โง่อย่าง
เดยี วกนั แตค่ วามจรงิ นมี้ นั มสี งู มตี ำ่� กวา่ กนั มตี ำ�่ ลง มสี งู ทส่ี ดุ เหน็ เปน็ พยานอย่นู แี่ ล้ว
จะโง่ ผู้โง่ก็โงล่ ืมตาย ผู้ฉลาดเหมือนพวกคุณหมอนี่ก็ฉลาด จนก็จนลืมตาย
ท�ำไมเกิดมาเปน็ มนุษย์เหมือนกัน แต่ท�ำไมไมเ่ หมือนกันล่ะ ไม่เหมือนกันเพราะ
ความประพฤตนิ นั่ หรอก ถ้าประพฤตดิ ี มกี ารรกั ษาศลี ให้ทาน มกี ารสดบั ตรบั ฟังธรรม
เขาจะมปี ัญญากด็ ี เขาเปน็ ผเู้ ล่าเรยี น เพราะเหตนุ แี้ หละ เป็นเพราะกรรม กรรมเป็น
ผ้จู ำ� แนกแจกสตั ว์ให้ดใี ห้ชวั่ ตา่ งกนั มนั เป็นเพราะกรรม พระพทุ ธเจา้ ไมพ่ ยากรณ์
ดอกวา่ ตายแลว้ สญู หรอื ตายแลว้ เกิดอกี อย่างนพ้ี ระพทุ ธเจา้ ไมพ่ ยากรณไ์ มว่ ่า
เราไม่พยากรณส์ ตั ว์นมี้ นั จะเกดิ อกี หรอื ไม่เกดิ ถา้ มนั ยงั ทำ� กรรมอยู่ มนั ตอ้ งไดร้ บั
ผลของกรรม ทำ� กรรมดี ทำ� กรรมชวั่ มนั ตอ้ งได้รบั ผลตอบแทนอยู่ ทำ� แล้วจะไม่ได้
รบั ผลตอบแทนนน้ั ไมม่ ี คดิ ดู เหมอื นเขายมื ปัจจยั ของเราไป เรากใ็ ห้ เขาจะตอ้ ง
ตอบแทนใช้ใหเ้ รา ครน้ั ไมใ่ ชใ้ ห้ กต็ อ้ งเป็นถอ้ ยเปน็ ความกนั ละ ได้รบั ความเดอื ดรอ้ น
เขาก็ต้องตอบแทน คดิ ดู เหมือนพวกเราเห็นกนั ถามกัน ตอบแทนกัน ท�ำดกี ็
ตอบแทนกนั อยอู่ ยา่ งนน้ั ผลรา้ ยกต็ อบแทนกนั ให้ได้รบั ความลำ� บากอย่อู ย่างนน้ั

ถ้ารกั ษาศลี ดแี ลว้ เมอื่ อบรมสมาธเิ ข้า มนั จะมคี วามสงบ มนั ลงเรว็ ถา้ มนั ขดั ขอ้ ง
ก็หมายวา่ ศีลของเราขอ้ ใดขอ้ หนึ่งผิดพลาดไป มันจึงขัดขอ้ ง ไมล่ ง ถ้าศีลบริสุทธิ์

175

บริบูรณ์ดแี ล้ว เหมือนกบั เขาจะปลูกบ้านปลูกชอ่ ง เขาจะปราบพน้ื ทเี่ สยี กอ่ น ฉันใด
กด็ ี ศลี พวกเรารกั ษาดแี ล้ว กเ็ หมอื นปราบพน้ื ทจี่ นไม่มหี ลกั มตี ออะไรแล้ว ปลกู บา้ น
มนั ก็ได้ดี ไมม่ คี วามเดือดรอ้ น จิตมนั กไ็ มม่ คี วามเดอื ดร้อน มันก็สงบอยู่ จะลงอยู่
เพราะมนั เยน็ มันราบร่นื ไมม่ สี ิ่งลุม่ ดอน

พากันท�ำไป อุตส่าห์ท�ำไป อิริยาบถทั้งส่ี ยืน เดิน น่ัง นอน พระพุทธเจ้า
ไม่หา้ ม แล้วกไ็ ม่ใชเ่ ป็นของหนกั ของลำ� บาก นกึ เอาแต่ในใจ จะเอาอะไรกต็ ามแล้วแต่
ความถนดั แล้วแต่จริตของเรา มันถกู อันใด สะดวกใจ สบายใจ หายใจดี ไม่ขัดขอ้ ง
ไม่ฝืดเคอื ง อันนนั้ ควรเอามาเป็นอารมณข์ องเรา เอา พุทโธๆ หมายว่าใหใ้ จหยดุ
เอาพุทโธเป็นอารมณ์นั่นแหละ ต้องการไม่ให้จิตมันออกไปสูอ่ ารมณ์ภายนอก
อารมณ์ภายนอกมนั กไ็ ปจดจ่ออยกู่ ับ รปู เสียง กล่นิ รส สมั ผัส ความถกู ตอ้ งทุกสิ่ง
ทุกอยา่ งมันไปจดจ่ออยู่นัน่ จิตมนั จงึ ไมล่ ง พวกนี้เรียกวา่ นวิ รณ์ เรียกวา่ เปน็ มาร
จึงวา่ ให้มีสติ อย่าใหม้ ันไป กุมไวใ้ หม้ ันอยูก่ ับท่ีน้ี ใหเ้ อาพระพุทธเจ้าเป็นอารมณ์
พระธรรมเป็นอารมณ์ พระสงฆ์เปน็ อารมณ์ พทุ โธ ธัมโม สังโฆ กต็ าม หรอื จะเอา
อัฐิๆ กระดูกๆ ก็ตาม ใหน้ ึกอยูอ่ ย่างนั้น ยืนอยูก่ ็ตาม เดินอยูก่ ็ตาม น่ังอยูก่ ็ตาม
นอนอยู่ก็ตาม เอามันอยูย่ ังงั้นแหละ หลับไปแลว้ ก็แลว้ ไป อุตส่าห์ มันก็เปน็ ของ
ไมเ่ หนด็ ไม่เหน่อื ย

พระพทุ ธเจ้ากว็ ่าไว้อยู่ ผทู้ ภ่ี าวนาจิตสงบลงแม้ชัว่ เวลาช้างพับหู งแู ลบลิน้
อานสิ งส์อกั โขอกั ขงั ทำ� ไป มนั มสี ามสมาธิ ขณกิ สมาธิ อปุ จารสมาธิ อปั ปนาสมาธิ
ขณกิ สมาธิ นเ่ี ราบรกิ รรมไปๆ ว่าพทุ โธกต็ าม อะไรกต็ าม รสู้ กึ วา่ สบายๆ เข้าไป
สักหน่อย จิตสงบเขา้ ไปสักหนอ่ ย ถอนขึ้นมาก็กลับเป็นอารมณข์ องเก่ามัน
นข่ี ณกิ สมาธิ อปุ จารสมาธิ ลงไปนานๆ สกั หนอ่ ย ถอนขนึ้ มาอกี ไปสอู่ ารมณอ์ กี
ภาวนาไปๆ มาๆ อย่าหยุดอยา่ หย่อน แลว้ มันก็จะค่อยเปน็ ไปเอง ท�ำไปๆ
จะให้มันเสียผล มันไม่เสยี ต้องทำ� ไป เปน็ กไ็ ม่วา่ ไม่เปน็ กไ็ ม่ว่า แล้วแต่ อย่าไป
นกึ ว่าเม่อื ไรมันจะลงจติ น่ี อยา่ ไปนกึ ทกุ สิ่งทุกอยา่ งที่เราทำ� ความเพยี ร เราทำ� เพ่อื
จะเอาเน้ือและเลือด ชีวิตจิตใจ ถวายบูชาพระพุทธเจา้ ถวายบูชาพระธรรม บูชา
พระสงฆต์ ่างหาก

176

ความอยากนี่ให้เข้าใจว่านั่นแหละคือหน้าตาของตัณหา อยากให้มันเปน็
อยากใหม้ นั ลงเรว็ ๆ อนั นนั้ แหละมนั ตวั ร้ายละ หนา้ ดำ� ละ ความอยากของมนั มดื ละ
ให้ตง้ั ใจไว้ เจตนาไว้วา่ เปน็ กไ็ ม่ว่า ไม่เปน็ ก็ไมว่ า่ จะเอาเลอื ดเนื้อชวี ติ จิตใจ
ถวายบูชาพระพุทธเจ้า พระธรรมเจา้ พระสงฆเ์ จ้า ตลอดวันตาย อย่างน้ีได้
ชือ่ วา่ มัชฌมิ าปฏิปทา อยากมันกเ็ ป็นตัณหาเสยี ยนื ขวางหน้าเสีย ยิ่งไมล่ งละ

เอาละ ให้พากันท�ำไป



177

- ฆราวาสธรรม - การเจบ็ ปวดเมือ่ นั่งสมาธิ พระพุทธเจ้าวา่ ให้สูม้ ัน
มันจึงจะเห็นทุกขเวทนา นั่งสมาธิมันเจ็บ ใหด้ ูมัน
อรยิ ทรัพย์ มันเกิดมาจากไหน เวทนามันกเ็ วทนาตา่ งหาก ไม่มีตัว
เราก็พิจารณาให้รู้เทา่ นั้นแหละ ของไม่มีตนมีตัว
มนั เกดิ ขนึ้ กเ็ กดิ จากรา่ งกายเนอื้ อยา่ งหนงึ่ แลว้ กม็ นั ร้สู กึ
ถึงจิต รู้ถึงกนั จติ ก็ไปยึด ยึดก็เจ็บ หนกั เขา้ กไ็ มส่ ู้มนั
ต้องสู้มัน มันจะเหน็

พระพุทธเจ้าว่าก�ำหนดให้รูท้ ุกข์ ทุกขม์ าจากไหน
ทกุ ข์มาจากเหตุ คอื อยากเปน็ อยากมี ความอยากเปน็
อยากมี ความอยากมันเกิดมาแต่เหตุ เหตุมันเกิดมา
จากไหน เหตมุ าจากความไม่รู้ ไม่ร้เู ทา่ กาย จนกระทง่ั
ความคิดทั้งหลายเข้ามามันก็ไม่รูท้ ้ังนั้น คือมันโง่
เรยี กวา่ อวชิ ชา เปน็ เหตใุ ห้สตั ว์ผ้ไู ม่รเู้ ทา่ เกดิ ความยนิ ดี
ยินร้าย เกิดความพอใจ ไม่พอใจ เกิดความอยากเป็น
อยากมี เปน็ เหตุให้วนเวียนเรียกวา่ สังสารจักรวฏั กา
เวยี นอย่อู ยา่ งนนั้ เป็นเหตใุ หเ้ ราเวยี นเกิดเวยี นตายอยู่
ในภพน้อยภพใหญ่

กรรมดเี หมอื นพวกคณุ หมอกด็ ี ไม่เจอะทกุ ขป์ านใด
เกิดมาไม่เสียชาติเกิดเป็นมนุษย์ มิหน�ำได้เกิดมาพบ
โอวาทค�ำสอนของพระพุทธเจ้า เกิดมาในปฏิรูปเทศ
ประเทศอันสมควร คือประเทศมีพระพุทธศาสนา
ประเทศมีนักปราชญอ์ าจารยเ์ พ่ือแนะน�ำส่ังสอน
ประเทศอย่างน้ี พระพทุ ธเจา้ ท่านว่าเปน็ มงคล พวกท่าน
ท้ังหลาย ทา่ นเป็นผูไ้ มป่ ระมาท อตฺตสมฺมา ปณิธิ 
ผูต้ ้ังตนไว้ในท่ีชอบ อาชีพเล้ียงชีพภายนอกดีโดย
ชอบธรรม โอวาทคำ� สงั่ สอนกไ็ มป่ ระมาททกุ สงิ่ ทกุ อย่าง

178

มกี ารจำ� แนกแจกทาน มกี ารสดบั รบั ฟัง แลว้ กป็ ฏบิ ตั ติ ามดำ� เนนิ ตามโอวาทคำ� สง่ั สอน
ของพระพทุ ธเจา้

ธรรมทงั้ หลายมกี ายกบั ใจเทา่ นนั้ แหละ ธรรมทงั้ หลายมใี จเป็นหวั หน้า ใจทมี่ นั
รเู้ ทา่ แลว้ กม็ คี วามเหนอื่ ยหนา่ ยต่อสงิ่ ทงั้ ปวง ทางความชว่ั มนั กร็ ้เู ทา่ แลว้ มนั กเ็ อาอยู่
นนั่ แหละ ไปยึดภพนอ้ ยภพใหญ่อยู่นนั่ แหละ พวกเรายังนบั วา่ ไม่เสียที แม้ยังไม่มี
ความเบ่อื หนา่ ย กย็ งั เปน็ ผ้ฉู ลาด เป็นผเู้ อาทรพั ยส์ มบัติ คืออริยทรพั ยใ์ หไ้ ด้ใหเ้ กิด
ให้มีอยใู่ นหมขู่ องตน อยูใ่ นสนั ดานของตนสะสมไว้

อตั ภาพรา่ งกายเปน็ ของไมม่ สี าระแก่นสาร ทรพั ย์ภายนอกกไ็ ม่มสี าระแกน่ สาร
ชวี ติ ของพวกเราความเปน็ อยกู่ ไ็ ม่มแี ก่นสาร เรามาพจิ ารณารอู้ ย่างนแ้ี ล้ว เราเปน็ ผู้
ไม่ประมาท รบี เร่งทำ� คณุ งามความดปี ระกอบขน้ึ รบี เรง่ สะสมอรยิ ทรพั ย์ ศลี ของเรา
กบ็ รบิ รู ณ์ ไมม่ ดี า่ งพรอ้ ยตามภาวะของตน ศลี ๕ ศลี ๘ เดยี๋ วนพ้ี วกท่านกำ� ลงั อบรม
สมาธิ กำ� ลงั จะเอาทรพั ยอ์ นั นี้ เรยี กวา่ อรยิ ทรพั ย์ ศลี กเ็ ปน็ อรยิ ทรพั ยอ์ นั หนง่ึ สมาธิ
กเ็ ปน็ อรยิ ทรพั ย์ หมนั่ อบรมจติ ใจ ปญั ญากเ็ ปน็ อรยิ ทรพั ย์ หมน่ั อบรมจติ ใจ เวลาเรา
เขา้ สมาธิ จงใหม้ สี ตปิ ระจ�ำใจ กำ� หนดสติใหแ้ ม่นย�ำ รกั ษาจิตใจของเราให้อยู่กบั ท่ี
และใหจ้ ติ ใจปล่อยวางทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ ง กิจการงานของเราเคยท�ำมาอย่างไรกด็ ี เวลา
เขา้ ที่ให้ปลอ่ ยวางใหห้ มด ความรัก ความชงั อดตี อนาคต วาง ปลอ่ ยวาง ไมใ่ ห้
เอาใจใส่เร่ืองนั้นๆ ใหม้ สี ติประจ�ำ ไมใ่ ห้มันไปตามอารมณเ์ หลา่ นั้น

ครนั้ ควบคมุ สตไิ ดแ้ ล้ว จติ มนั อยคู่ งทแี่ ลว้ อยกู่ บั กายของตนแลว้ ใหม้ นั เหน็ กาย
ของตนน่ันแหละ สิ่งอื่นอย่าให้มันมาเปน็ อารมณ์ของใจ คร้ันจะเพง่ เอาอารมณ์
กต็ ้องเพ่งเอาอตั ภาพสกนธก์ ายของตนนใี้ หม้ นั เหน็ มนั กรรมฐาน ๕ ผม ขน เลบ็ ฟัน
หนงั พระพทุ ธเจา้ แจกไว้หมดแลว้ ไม่ใชต่ น ไม่ใชค่ น แต่ไปยึดถอื มัน ผมไมใ่ ชค่ น
ขนไม่ใชค่ น เล็บไม่ใช่คน เราจะมาถือว่าตัวว่าตนอยา่ งไรล่ะ ฟันก็ไมใ่ ช่คน ฟนั มัน
ตอ้ งเจบ็ ตอ้ งคลอน ตอ้ งโยก ตอ้ งหลดุ อนั นม้ี นั ไมใ่ ช่ของใคร สงิ่ เหล่านเ้ี ปน็ ของกลาง
ส�ำหรับใหเ้ ราใช้ เราต้องหมายเอาใจไว้เสียกอ่ น แท้ที่จริงใจก็ไม่ใชข่ องเราอีก
นน่ั แหละ ถ้าใจเปน็ ของเราแล้ว เราบอกเราบงั คบั คงจะได้ อนั นไี้ ม่อย่ใู นบงั คบั บญั ชา

179

ของใคร แลว้ แตม่ ันจะไป ถึงคราวมันจะเปน็ มันถือก�ำเนิดขึ้น มันยังไงมันก็ไม่ฟัง
จะตมี ันก็ไม่ฟงั อกี แหละ เพราะเหตนุ ัน้ มันจงึ ไมใ่ ชต่ ัวไมใ่ ชต่ น เราตอ้ งรเู้ ท่ามนั

เวลาเราภาวนา อย่าให้มอี ะไรเขา้ มาเป็นอารมณ์นอกจากสงั ขารตัวน้ี แลว้ ก็ให้
เหน็ เปน็ อนจิ จัง ใหเ้ หน็ ไตรลักษณ์ ผม ขน เล็บ หนงั ฟัน กระดกู เหน็ เป็นไตรลกั ษณ์
แล้วกใ็ หเ้ หน็ เปน็ ปฏกิ ลู สญั ญาของโสโครกนา่ เกลยี ด ให้เหน็ มนั เปน็ อนตั ตา ไมใ่ ช่เรา
แลว้ กไ็ ม่ใช่จรงิ ๆ ผม ขน เลบ็ หนงั ฟนั กระดกู ไต หวั ใจ ตบั ม้าม พงั ผดื อาหารใหม่
อาหารเก่า มนั ไม่ใช่เราทงั้ นน้ั ถา้ แจกออกไป ไม่ต้องไปยดึ ถอื นะ ไม่ใช่นะ พระพทุ ธเจา้
ว่าเรายงั ไมย่ ดึ ถอื วา่ ผมของเรา ขนของเรา เลบ็ ของเรา ฟันของเรา อนั นน้ั แหละหา้ ม

บางทีจิตของเราใจของเราถูกกับอันหน่ึงอันใด ก็เอาอันเดียวเทา่ น้ันแหละ
พระพุทธเจ้าแจกไว้ แตว่ า่ จริตของคนนิสัยของคนมันถูกอันไหนก็เอาอันน้ันแหละ
จิตมันหยุดจิตมันสงบกับพุทโธ จิตใสกับพุทโธ มันก็อยูก่ ับพุทโธ อาตมามันถูก
กับพุทโธ ต้ังใจเอาไว้ ปลอ่ ยทุกสิ่งทุกอย่าง ก�ำหนดเอาสติรักษาใจไว้ เอาพุทโธ
ไม่เผลอสติ ใหเ้ หน็ พทุ โธตั้งอย่กู ลางใจนี้ ไม่สบายเลยหาย อาตมานิสยั ถกู กบั พุทโธ
บริกรรมอัฐิ กระดกู บางคร้ังมันก็ถกู ถกู มันก็ปรากฏเห็นกระดูกหมดทั้งสกนธ์กาย
พระพุทธเจา้ ต้องการให้จติ มันเห็น จิตมันไม่เห็น ใหบ้ รกิ รรมให้เหน็ ตอ้ งการใหม้ ัน
เบื่อหน่าย ให้มันเห็นวา่ ไม่ใชต่ น

สง่ิ เหล่าน้ี ธาตุทัง้ ๑๘ กด็ ี ลว้ นตกอยู่ในไตรลกั ษณ์ทั้งนน้ั อายตนะกด็ ี ตกอยู่
ในไตรลักษณห์ มดทงั้ น้นั เรามาส�ำคญั ว่าหู วา่ จมกู วา่ ตา ว่าลน้ิ ว่ากาย ว่าใจ เป็น
ของเรา เป็นเหตใุ ห้ยดึ ม่นั ถือม่นั นง่ั ก็ให้มคี วามเจ็บ เจบ็ บัน้ เอว ปวดหลงั ปวดเอว
ปวดขา อะไรนั้น สมาธิก็ตอ้ งออก ท่านจึงใหส้ ูม้ ัน ไมต่ อ้ งหลบมัน เราจะสูข้ า้ ศึก
กต็ อ้ งอย่างนนั้ แหละ ต้องมขี นั ตคิ วามอดความทน ทนส้กู บั ความเจบ็ ปวดทกุ ขเวทนา
ดมู นั จติ มนั ถกู อนั ใดอนั หนงึ่ เมอื่ เราสกดั กน้ั ไม่ให้มนั แสส่ า่ ยไปตามอารมณ์ภายนอก
มรี ปู เสียง กล่ิน รส เคร่อื งสมั ผัส เปน็ ตน้ เรียกวา่ กามคุณ ๕ ไมใ่ ห้ไปจดจ่ออยกู่ ับ
ส่ิงเหล่านน้ั แล้ว มันจะอยูท่ ่ี มันก็วางอารมณ์ ไมม่ อี ารมณเ์ ข้ามาคลุกคลดี วงจติ แล้ว
จิตต้งั มั่น เรียกวา่ จติ ว่าง ไมม่ ีอะไรมาพลกุ พลา่ น เหมือนกนั กบั น้ำ� ในขนั หรือนำ้� อยู่

180

ท่ีไหนก็ตาม เมื่อมันไมก่ ระเพ่ือมแล้วมันนิ่ง ก็เห็นสิ่งท้ังปวงอยูใ่ นกน้ ขัน ต้องเห็น
เห็นอนั นี้ เหน็ แล้วเราต้องสละ ปล่อยวาง มันจะเห็นโลภะ โทสะ โมหะ ราคะ เรามี
เราจะไดพ้ ยายามละถอนสิ่งเหล่าน้ีออก ปลอ่ ยจิตวา่ งแลว้ จิตสบาย เพราะจิต
เปน็ หนง่ึ ไมข่ ่นุ มัว เพราะไม่มีอารมณ์มาฉาบทาดวงจติ แล้ว ดวงจิตใส ดวงจติ ขาว
จิตก็เยน็ มแี ต่ความสบาย มคี วามสุข ร้เู ท่าสงั ขาร รเู้ ท่าส่งิ ท้ังปวง รู้เท่าความเป็น
จริงแลว้ เกิดอันใดอนั หนงึ่ กด็ ี หรือไม่ก็ครบรอบก็ดี เมื่อพิจารณาอันใดอนั หนง่ึ แลว้
จิตของเราไม่มีความหวั่นไหวตอ่ สิ่งทั้งปวง ถึงมรณะจะมาถึงก็ตาม ทุกขเวทนา
เจบ็ ปวดจะมาถึงกต็ าม ไมม่ ีความหว่นั ไหวตอ่ สิง่ เหลา่ น้ัน

เมื่อรูเ้ ท่าตามความเป็นจริงแล้ว ความติฉินนินทาก็ตาม ไม่มีความหว่ันไหว
ตอ่ สิ่งเหลา่ นัน้ เส่อื มลาภก็ตาม เสื่อมยศก็ตาม เสื่อมความสรรเสรญิ รักชอบกต็ าม
ไมเ่ อาใจใส่เอามาเปน็ อารมณ์ มันก็มีความสุขเทา่ นั้น จะหาความสุขใส่ตนก็มีแต่
ฝึกฝนทรมานตนน่ันแหละ พระพุทธเจา้ ทา่ นว่า สจิตฺตปริโยทปนํ เอตํ พุทฺธาน
สาสนํ ใหท้ รมานจิตฟอกฝนจิตของเรา ฝนจิตให้มนั วา่ ง ใหม้ นั ร้เู ท่าความเปน็ จรงิ
ไม่ยดึ ม่ันถือม่นั จิตนนั่ แลจะท�ำประโยชน์มาใหใ้ นชาติน้ี คือนำ� ความสุขคือนิพพาน
มาให้ หรือจิตเรายังไม่พ้นก็จะน�ำสวรรคม์ าให้ น�ำเอาความสุขมาให้ตราบเทา่
ตลอดเวลา ตราบเท่าชวี ิต แลว้ มีสคุ ติโลกสวรรคเ์ ป็นทีไ่ ป



181

- ฆราวาสธรรม - …พากันมาฟังมาก ไมร่ ู้จะพดู อะไรให้ฟงั แลว้

สติ การฟงั ธรรมก็เปรียบได้แก่การเตรียมเคร่ือง
ทัพพะสัมภาระส�ำหรับท�ำการงาน ครั้นเตรียมมาแลว้
เครื่องกลเครื่องไกที่เตรียมมาแลว้ ไมท่ �ำก็ข้ึนขี้สนิม
เปลา่ ฉันใดก็ดี การสดับรับฟังโอวาทค�ำส่ังสอนของ
พระสัมมาสัมพุทธเจา้ ก็อยา่ งเดียวกัน พระพุทธเจ้า
เป็นผบู้ อกทางใหเ้ ท่านน้ั แหละ ครน้ั เราเชอื่ คำ� สอนของ
พระองคแ์ ลว้ เป็นผ้ดู ำ� เนนิ ตาม เปน็ ผ้ลู งมอื ดำ� เนนิ ตาม
เราเองกระทำ� ด้วยตนเอง เพราะเหตนุ น้ั จะวา่ โดยย่อๆ
เทา่ น้นั แหละ อาตมาไม่มีความพูดหลาย เพราะอย่ปู า่
อยู่ดง จะวา่ ใหฟ้ ังย่อๆ พอเปน็ หลกั ดำ� เนินปฏบิ ตั ิของ
พวกเราทง้ั หลาย

ศาสนา ค�ำสั่งสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอยู่
ตามตูต้ ามใบลาน อันน้ันเปน็ เครื่องชี้บอกทางผู้จะ
ด�ำเนินตามศาสนาของพระสัมมาสัมพุทธเจา้ คือ
ก้อนธรรม อย่จู ำ� เพาะใคร จำ� เพราะเรา แก่นของธรรม
แทอ้ ยูท่ ี่ สติ ใหพ้ ากันหัดท�ำสติให้ดี ใหส้ �ำเหนียก
ให้แก่กลา้ สตินะ่ ท�ำเท่าไรไมผ่ ิด สตินะ่ ให้มันมี
ก�ำลงั สตดิ ีแลว้ จติ มันจึงรวม เพราะสตคิ มุ้ ครองจิต
เพราะสตกิ แ็ มน่ จติ นนั่ แหละ หากลมุ่ ลกึ กวา่ ครน้ั ใจ
นึกขึ้นว่าสติ ก็ใจน่ันแหละเป็นผูน้ ึกข้ึน เรียกวา่  
“สติ” เพราะสติก็แม่นใจนั้นแหละ พวกเดียวกัน
เพราะเหตุน้ันพวกเราตอ้ งอบรมสติ ครั้นมีสติแก่กล้า
ทำ� ให้มันดีแล้ว ไมพ่ ลาด ท�ำก็ไมพ่ ลาด พูดกไ็ มพ่ ลาด
คดิ ก็ไมพ่ ลาด ย่อมถูก ไม่ผิด พากันท�ำเอา

182

ธรรม ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขนั ธ์ อยกู่ บั สตอิ นั เดยี ว พระพทุ ธเจ้าว่าแล้วในโอวาท
ปาฏโิ มกขไ์ มใ่ ชเ่ หรอ เสยยฺ ถาปิ ภกิ ขฺ เว ยานิ กานจิ ิ  ชงคฺ ลานํ  ปาณานํ  ปทชาตานิ
สพพฺ านิ ตานิ หตถฺ ปิ เท สโมธานํ คจฉฺ นตฺ ิ หตถฺ ปิ ทํ เตสํ อคคฺ มกขฺ ายติ ครน้ั เทยี บใน
บรรดาสัตว์ทัง้ หลายท่ที ่องเท่ียวอยใู่ นสงั สารจักร ท่องเทยี่ วอยูใ่ นพนื้ ปฐพี รอยสัตว์
ท้ังหลายไปรวมอยใู่ นรอยเทา้ ชา้ งอันเดยี ว มีรอยเทา้ ชา้ งเปน็ ใหญ่กว่าเขารวมหมด
ราชสหี ์อะไรลงไปรวมหมด ฉนั ใดกด็ ี ธรรมะคำ� สง่ั สอนของพระพทุ ธเจา้ มนั อยใู่ นสติ
เอวเมว โข ภกิ ฺขเว เย เกจิ กสุ ลา ธมมฺ า สพฺเพ เต อปปฺ มาทมูลกา อปปฺ มาท
สโมสรณา อปปฺ มาโท เตสํ ธมฺมานํ อคคฺ มกขฺ ายตีติ กศุ ลธรรมท้งั หลาย คุณงาม
ความดที งั้ หลาย จะเกิดขน้ึ เมอื่ บคุ คลอยกู่ บั สตแิ ล้ว บญุ กศุ ล เคา้ มลู กศุ ลทงั้ หลายมา
สโมสรรวมอย่ใู นสติ สตเิ ปน็ ใหญ่ เพราะเหตนุ น้ั ครน้ั ร้อู ยา่ งนแ้ี ลว้ วา่ สตเิ ป็นแกน่ ธรรม
แก่นธรรมกแ็ มน่ อนั นีอ้ ยู่ส�ำหรับทุกคนทีเดยี ว ทุกขณะมีอย่ทู กุ คน

พระพทุ ธเจา้ ตรสั ร้ขู องจรงิ ผ้จู ะร้เู ท่าตามจรงิ ทง้ั หลายทง้ั ปวงมอี ย่ทู กุ รปู ทกุ นาม
แตอ่ าศัยวา่ เราหลง จิตของเราเปรียบอุปมาเหมือนเด็กอ่อน ออ่ นแออยู่ เพราะเหตุ
นั้นแหละ สติเปรียบเหมอื นพเี่ ลย้ี ง ก็เจา้ ของนน่ั แหละจิต นัน่ แหละ พอมันระลึกข้นึ
กแ็ ม่นสติแล้ว สตนิ น่ั อบรมจิต ครนั้ อบรมจนมันรเู้ ทา่ ตามความเปน็ จรงิ แลว้ มันจึง
หายความหลงความสว่าง ความหลงความสว่างน่ันก็หลงเพราะไมม่ ีสติ ครั้นมีสติ
คุ้มครอง หดั ท�ำใหม้ ันแน่วแน่ ให้มันแม่นยำ� ใหม้ ันสำ� เหนียกแลว้ มนั จะรแู้ จง้ ทุกส่ิง
ทกุ อยา่ ง สตเิ ป็นเครอื่ งตี คอื ตสี นมิ ของมนั เปรยี บดวงจติ เรยี กวา่ ความหลง เรยี กว่า
อวิชชา จิตนั่นแหละตัวอวิชชา มันหลงเรียกอวิชชา จิตมันหลง ข้ีสนิมมันก็อยูก่ ับ
อวชิ ชา มันหลงนนั่ แหละ ข้สี นมิ โอบมัน ความหลงนน่ั แหละ

แต่ก่อนจิตผ่องใส พระพุทธเจ้าจึงว่า ปภสฺสรมิทํ ภิกฺขเว จิตฺตํ ตญฺจ โข
อาคนตฺ ุเกหิ อุปกกฺ ิเลเสหิ อปุ กกฺ ิลิฏฺฐํ จิตเดิมธรรมชาติเลอ่ื มประภสั สร แต่อาศยั
อาคันตุกะกิเลส คือ รูป เสียง กลิ่น รส เคร่ืองสัมผัสทั้งหลาย เขา้ มาสัมผัสแล้ว
มันหลงไปตาม จึงเป็นเหตุให้จติ น้นั เศรา้ หมองขุน่ มัว ไมร่ ู้เทา่ อวชิ ชา ปจั จยั ของมนั
ความโง่เรียกอวิชชา เหมือนกันกับเหลก็ เหลก็ นน้ั มันก็ดๆี อย่นู น่ั แหละ แต่สนิมมัน
เกิดขึ้นในเหล็กนั่นแหละ แต่เขาตีขัดเกลาจนเปน็ ดาบคมได้ ใชก้ ารได้ ถ้าไมต่ ีมัน

183

กอ็ ยยู่ งั งน้ั สนมิ กนิ เสยี จนใชก้ ารไม่ได้ จติ ของเรากด็ ี อาศยั สตเิ ป็นผ้ขู ดั เกลา อาศยั สติ
เป็นผู้คุม้ ครองเช่ือมั่น อันท่ีจริงอาคันตุกะกิเลสก็ไม่เปน็ ปญั หา คือรูป เสียง กล่ิน
รส สัมผัสภายนอก ไมเ่ ป็นปญั หา เค้ามูละมูเลของมันก็คือ กามาสวะ ภวาสวะ
อวชิ ชาสวะ สามอนั นเี้ ปน็ อนสุ ยั เปน็ สนมิ ของมนั เป็นสนมิ ห้มุ ห่อจติ ใหม้ ดื มนอนธการ

เพราะเหตุนี้แหละ เราหัดสติ ท�ำสติให้มีก�ำลัง เม่ือสติมีก�ำลังแลว้ จิตมัน
ก็จะรู้เทา่ ตามความเป็นจริง ครั้นในมีสติแล้ว ก็เกิดสัมปชัญญะ ความรูต้ ัวพร้อม
กห็ มายความว่า ดวงปญั ญานนั่ แหละ ญาณกว็ า่ ปญั ญากว็ า่ สตกิ บั ความร้ถู งึ พรอ้ ม
ธรรม ๒ อยา่ งน้ีเป็นของคู่กัน พอเราระลึกขึ้นแล้ว สัมปชัญญะรูว้ ่าถูกหรือผิด
รูพ้ รอ้ มๆ จิตรูพ้ รอ้ ม นี่แหละอบรมดีแลว้ มันจะมีก�ำลังความสามารถ สามารถ
ทุกสงิ่ ทกุ อยา่ ง สามารถจะแทงตลอดได้ทกุ สิง่ ทกุ อย่าง จะทำ� อะไรก็ดี จิตดีเทา่ นนั้
มันสามารถ อย่างไฟไหมบ้ ้าน มันมีก�ำลัง จิตของเราแม้นอบรมดีแล้วมันมีก�ำลัง
มีก�ำลังท่ีสุดทีเดียว สามารถจะหอบเอาของหนักนั่นออกจากไฟได้ ดับไฟได้แล้ว
ไฟดบั แลว้ จะหาม ๓-๔ คน ยงั หามไม่ไหวเลย กำ� ลงั จติ เท่านน้ั น่ะแหละ เพราะเหตนุ นั้
เราหัดดีแล้วก็เหาะได้ เหาะได้เหมือนพระโมคคัลลาเจา้ พวกเราสงสัย สงสัยว่า
เหาะข้ึนก็คือนั่งอยู่น่ีแหละ แต่จิตน้ันไปสวรรค์ ไปนรก ไปน่ันๆ ละ อันนั้นก็แม่น
แต่ว่าไปได้จริงๆ หอบเอากายไปไดจ้ ริงๆ คดิ ดเู ถอะ นนั่ แหละใหพ้ ากนั อบรมจิต

พวกเราอะไรๆ ก็ดีสมบูรณ์บริบูรณ์ทุกสิ่งทุกอยา่ งแลว้ พวกศรัทธาท้ังหลาย
กน็ บั วา่ เปน็ ผ้สู งู เปน็ ผ้สู งู อย่แู ลว้ ศรทั ธากม็ อี ย่แู ล้ว ให้สดบั รบั ฟงั แลว้ กม็ แี ต่จะทำ� เอา
เท่านน้ั แหละ ใหพ้ ากนั ทำ� เอา มนั จะไหน ธรรมทงั้ หลายมนั กอ็ ย่นู แ่ี หละ แก่นมนั แท้
คือสติ ให้ทำ� เอา ทำ� ใหม้ กี ำ� ลงั ครน้ั สติดีแลว้ มันรักษาจติ ของมันไมใ่ ห้สา่ ยออกไป
ตามอารมณ์ สตขิ นาบเข้ามาๆ สตแิ กก่ ล้า มนั เปน็ อย่างนัน้ แหละ ครน้ั สงบลงแล้ว
เดยี๋ วนม้ี นั ไม่มปี ญั ญา ไมม่ ปี ัญญามนั กส็ า่ ยไป พอมนั ไปหลายๆ ครงั้ มนั เปน็ อาการ
ของมัน มันไปตามแงข่ องมันคือเวทนา มันเป็นเพียงแสงของจิต สัญญามันก็เป็น
แสงของจติ สงั ขารความปรงุ มนั กเ็ ปน็ แสงของจติ วญิ ญาณทรี่ ้ทู วารทงั้ ๖ กเ็ ปน็ แสง
ของจติ ออกไปทงั้ นน้ั ผ้รู ้แู ทๆ้ ถ้าจะสมมตุ วิ า่ ตนกแ็ มน่ จติ เจ้าสตนิ นั่ แหละสมมตุ วิ ่าตน
นอกจากนั้นเปน็ อาการท้ังน้นั รูปอันนก้ี ็เป็นแตเ่ พยี งธาตุประชมุ กัน ธาตดุ นิ นำ้� ลม
ไฟ ประชุมกนั เทา่ น้นั

184

ดังน้ัน เม่ือจิตสงบลงไป เวทนาก็ดับแลว้ พอมันสงบลงไป คนไม่มี อะไรล่ะ
มันจะมาเจบ็ มาทุกข์ อะไรละ่ มนั จะมาจ�ำ คนไมม่ ี มนั สวา่ งๆ ขึ้น เม่อื จิตสงบลงล่ะ
มนั สว่างโร่ขน้ึ ว่างๆ ความจ�ำหมายกไ็ มม่ ี ความปรงุ กไ็ มม่ ี วญิ ญาณทร่ี ้ไู ปทางทวาร
ท้งั ๖ มันก็ไม่มี มันดับเอง เพราะวา่ ของไมม่ ี หมดแลว้ ของเหล่านเ้ี ป็นของหนกั
คร้ันใครยดึ ถือไว้เปน็ ของหนกั ไปถอื ขนั ธ์ รูปขันธ์ เวทนาขนั ธ์ สญั ญาขันธ์ สังขาร
ขันธ์ วิญญาณขันธ์ อันน้ีก็ไปยึดไว้ ไปยึดก็ได้ชื่อวา่ ถือหาบอันหนัก พระพุทธเจา้
ทา่ นว่า ภารา หเว ปญจฺ กฺขนฺธา ขนั ธ์ ๕ เป็นภาระอนั หนักเน้อ ขันธ์ ๕ ก็รวม รปู
เวทนา สัญญา สงั ขาร วิญญาณ ภารหาโร จ ปคุ คฺ โล ใครถือไปเปน็ ทกุ ข์ ภารา
ทานํ ทกุ ขฺ ํ โลเก ภารนิกเฺ ขปนํ สุขํ ผ้วู างภาระ คือ วาง ไม่ยดึ ถือวา่ ขนั ธ์ ๕ อนั นี้
เปน็ ตัวเป็นตนแล้ว ไม่ยดึ ไมถ่ ือแล้ว ไดช้ ่อื วา่ เป็นผู้วางภาระ ไม่ยึดไม่ถอื แลว้ ต้องมี
ความสุข จะน่ัง ยืน เดิน กม็ ีความสขุ นิกขฺ ปิ ติ ฺวา ครุ ภารํ เมอื่ ไมถ่ ือเอาขันธ์ ๕ น้ี
เป็นภาระแล้ว เพราะรู้เท่าตามความเปน็ จรงิ ของมนั แล้ว ไม่ยดึ ถอื เอา อญฺญํ ภารํ
อนาทิย สมูลํ ตณฺหํ อพฺพุยฺห คือไดช้ ่ือว่าเป็นผู้ตัดตัณหาขึ้นไดท้ ้ังราก นิจฺฉาโต
ปรินิพฺพุโตติ เปน็ ผู้เที่ยงแล้ว เท่ียงวา่ จะไดเ้ ข้าสูค่ วามสุขตามเสด็จพระสัมมา
สมั พทุ ธเจ้า เปน็ ผเู้ ทีย่ งแล้ว

เมอื่ จติ มนั รวมแลว้ มนั จะรตู้ ามความเป็นจรงิ มนั จะวา่ ง วางนนั่ แหละ พอจติ รวม
แลว้ มันก็ว่าง ค้นหาตัวไม่มี พอมันสงบแล้วปัญญามันเกิดข้ึนของมันเอง คร้ันมัน
สงบลงถึงฐานถงึ ท่ีมนั ถึงอปั ปนาแลว้ มันเกิดข้นึ เองนะ พอนึกเทา่ นั้น มันปรุงฟงุ้ ขึน้
มนั ปรงุ แล้ว มนั ไมไ่ ปยดึ แสงสว่าง สวา่ งหมดทง้ั โลกนก้ี ต็ าม มนั ไม่ไปยดึ มนั สาวเข้า
หาคน ไหนคน คนอยทู่ ่ีไหน มันมาอวดว่าตนวา่ ตัว ไลเ่ ขา้ ไป ถา้ มนั รวมลงอย่างนนั้
กอ็ าศยั สตคิ วบคุมใหม้ นั อยู่ อย่าให้มนั ไป จติ รวมลงอย่างน้ี แจม่ ใสทเี ดยี ว ไม่ใชม่ นั
งว่ งนอน นนั่ ไม่ใช่วสิ ยั ของสมาธิ อนั น้ันละมนั แจ่มใสอย่างน้ัน เรยี กวา่ สัมมาสมาธิ
เป็นสมาธอิ นั ถกู ตอ้ ง แลว้ กแ็ มน่ มนั นน่ั แหละ แมน่ จติ นนั่ แหละ เปน็ ตวั ศลี ละ่ จติ นน่ั แหละ
เปน็ ตวั สมาธิ จิตนัน่ แหละเปน็ ตัวปญั ญา อนั เดยี วนนั่ แหละ มันจะถึง อธิจิต อธิศีล
อธิปญั ญา ได้ก็อาศยั สติควบคมุ

185

พวกศรัทธาไดย้ ินไดฟ้ ังแล้วก็ให้พากันต้ังใจท�ำ มันไม่อยู่ที่อ่ืนหนา ไมไ่ ด้
ไปหาเอาท่ีอื่นหนา อยู่จ�ำเพาะใคร จ�ำเพาะเรานี่หนา ไม่ไดไ้ ปคว้าเอาท่ีไหนดอก
ธรรมนะ่ ยกขนึ้ กป็ ะไปโลด เหน็ ไปโลด นกึ ขน้ึ กเ็ หน็ ไปโลด แล้วกค็ มุ สตเิ อา มนั จะรเู้ อง
ปัจจัตตงั สันทิฏฐิโก จะเห็นเองน่นั อกาลิโก ไมอ่ ้างกาลอ้างเวลา จติ ของเราจะ
หายจากราคะแลว้ ก็รูจ้ �ำเพาะตน จิตเรายังมีราคะก็จะรู้ จิตมีโทสะก็จะรู้ หายจาก
โทสะก็จะรู้ จิตมีโมหะความหลงงมงายก็จะรู้ จิตหายโมหะก็จะรู้ จิตหดหูก่ ็จะรู้
จิตฟุ้งซ่านก็จะรู้ รูแ้ ล้วก็จะได้จัดการแกไ้ ข ร้กู ็ดี จะไดเ้ พ่ิมศรัทธา รบี เร่งความเพียร
เขา้ อีก เอาล่ะ พากันท�ำเอา ไมอ่ า้ งที่อา้ งฐานดอก อยูท่ ี่ไหนก็ได้ เวลามันสงบ
มนั กจ็ ะมีอยนู่ ่ันแหละ



186

ร่างกายของคนเราเป็นเหมือนเรือนของโรค - ฆราวาสธรรม -
หรอื เปน็ ประเทศของโรค รวมแลว้ ในตวั เรามอี าการ
๓๒ ประการ ๓๒ ประการจะเรยี กวา่ ๓๒ เมอื งกว็ ่าได้ วธิ ี
แตล่ ะเมอื งนไี้ มม่ เี มอื งใดเลยทเี่ จ้าโรคาพยาธจิ ะไม่
ไปอยูอ่ าศัย เช่น เมืองตา นายจักษุโรคา (โรคตา) แกโ้ รค
เมืองหู นายโสตะโรคา (โรคหู) ไปอยู่ เขาขยาย
อาณาเขตใหเ้ ต็มรอบข้ามขอบจักรวาล เขาเปน็ มา (เทศนเ์ มอ่ื วนั ท่ี ๓๑ มิถนุ ายน
อย่างนี้ เป็นอยู่อย่างนี้ ตกทอดมาจากปู่ ยา่ ตา ทวด พ.ศ. ๒๕๑๖)
จนถงึ ลูกหลาน

ปุถุชนคนหนามาส�ำคัญมั่นหมายวา่ ร่างกายนี้
เปน็ บ้านของเรา เป็นเมืองของเรา เปน็ ตวั ของเรา
ตลอดมา ส�ำคัญวา่ อาการ ๓๒ ซึ่งเปรียบเสมือน
๓๒ เมอื ง เปน็ ตวั ตนของเรา จงึ ได้ประกาศสงคราม
ว า ง ก ฎ อั ย ก า ร ศึ ก เ พื่ อ สู ้ร บ กั บ พ ว ก ขุ น พ ล โ ร ค
ทง้ั หลายเพอื่ ชงิ ชยั ชนะ บางทกี ว็ างทา่ ทสี งบศกึ เพอื่
สนั ตภิ าพ แต่แล้วเจา้ ขนุ พลโรคทง้ั หลายมนั กฝ็ า่ ฝืน
สญั ญาทมี่ นษุ ย์ทำ� ได้ แล้วกลบั โต้ตอบทำ� สงครามกนั
อีกไม่รู้ว่าจะไปยุติกันท่ีไหน เพราะต่างฝ่ายตา่ ง
อวดอา้ งวางยุทธวิธี ฝ่ายมนุษยก์ ็เอาชนะโรคให้
จนได้ จงึ วงิ่ ใตว้ งิ่ เหนอื เพอื่ หาหมอหาแพทยม์ าสนทนา
วางแผนปราบปราม แต่ศตั รคู อื เจา้ ขนุ พลโรคทงั้ หลาย
กย็ ง่ิ กำ� เรบิ เสบิ สานทงั้ แทง ทง้ั ยงิ ทงั้ ทง้ิ ระเบดิ ปรมาณู
เพอื่ สงั หารพวกมนุษย์ให้สิน้ ซาก

“อยํ อตฺต ภาโว” อันว่าอัตภาพร่างกายน้ีน่า
ร�ำคาญเสียจรงิ ๆ มนุษย์ทั้งหลายต่างก็พากันขวญั หนี
ดฝี อ่ ตระหนกตกใจ ไมเ่ ป็นอันอย่อู ันกินตอ่ ไป

187

ส่วนนกั ปราชญร์ าชเมธาผ้มู ปี ญั ญา ท้ังสองฝา่ ย สุดท้ายใช้ อุเบกขาญาณ
(ตาใส) เมื่อมาวิจัยใหเ้ ห็นแจ่มแจ้ง เปน็ ผูพ้ ิพากษา ลงโทษตัณหาสมุทัย
แทงตลอดในสังขาร นิพพิทาญาณ (สมทุ ยั -เหตใุ หเ้ กดิ ทกุ ข์ ไดแ้ ก่ ตณั หา ๓)
ก็บังเกิด (คือ เกิดความเบ่ือหนา่ ย ให้จำ� คกุ ตลอดชวี า (หมายถงึ กำ� จดั กเิ ลส
ในสังขารร่างกาย) จึงเอา ศีล สมาธิ ใหส้ ิ้นซาก ไม่มีวันท่ีจะก�ำเริบข้ึนมาอีก
ปญั ญา เปน็ อาวุธสุดวิเศษตัดกิเลสคือ ไดต้ ลอดชีวิต) น้ันแหละหนาสันติภาพ
ความชว่ั และความเศรา้ หมองออกจากใจ จงึ จะบังเกิดขึ้น
ยกวปิ ัสสนามยั เข้าตดั สนิ ระหวา่ งคคู่ วาม



188

การปฏิบัติอานาปานสติ ถ้าไมถ่ ูกกับจริต มคี วาม - ฆราวาสธรรม -
อดึ อดั ใจ หายใจไม่สะดวก ไมส่ บาย ถ้าถกู มนั จงึ สบาย
หายใจเบาลง แตค่ นกช็ อบแตค่ วามสบาย ถา้ ไม่สบาย นิโรธะ
ไม่คอ่ ยชอบ ถา้ มนั สบายมนั กห็ ลงไปเสยี กบั ความสบายละ่
ถ้าเปล่ียนบา้ งมันจึงจะดี เปลี่ยนคือความเจ็บป่วยน้ัน
มนั เปลย่ี นบา้ ง มนั จงึ รู้ มนั จงึ ตน่ื หมายความวา่ เปลยี่ น
มันไมเ่ พลิน เวทนามันทรมานให้เขาปราบเอาบา้ ง
มนั จงึ ดี เหมอื นกนั กบั เดก็ มนั ดอ้ื มนั คะนอง พ่อแม่ตอ้ ง
เฆย่ี นเอาบา้ ง มนั จงึ หายความคะนอง จติ ของเรามนั เปน็
อย่างนั้น ถ้าอยูด่ ีสบายแล้วมันลืม ให้นั่งภาวนา เปน็
สมาธิ ให้มนั เปน็ ปัญญา คอยเตอื นอย่าดอ้ื อยา่ คะนอง
ใหก้ ำ� หนดให้มนั รทู้ กุ ข์ พระพทุ ธเจา้ สอนว่าใหม้ าร้จู กั ทกุ ข์
ถา้ มนั สบายแล้วมนั ไมร่ จู้ กั ทกุ ข์ มนั มวั แตเ่ พลนิ ไปถา้ มนั
สบายแล้ว ให้มนั ไมส่ บายแลว้ มันจึงก�ำหนดร้จู กั ทกุ ข์

พระพุทธเจ้าทา่ นสอนไว้วา่ ให้มันรูจ้ ักทุกข์
ใหม้ ันรจู้ กั พจิ ารณาแตท่ กุ ข์ พิจารณาให้มนั เห็นชัด
มันอยู่ท่ีใจแล้ว มันจึงจะคน้ หาเหตุ ทุกขเ์ ปน็ ผล
แลว้ ความทะเยอทะยานน้ันเปน็ ต้นเหตุให้เกิดทุกข์
คน้ ไปใหเ้ ห็นเหตุเกิดทุกข์ จะปลอ่ ยวางความ
ทะเยอทะยาน ความหลง อันสมุทัยน่ันแหละเป็น
เหตใุ ห้เกิดทกุ ข์ สมทุ ยั สมมตุ ิ สมมตุ วิ า่ ผ้หู ญงิ ผชู้ าย
วา่ คน ว่าสตั ว์ นน่ั ไปหลงสมมตุ ิ พอใจเพราะความหลง
สมุทัยก็มาจากความหลง พอมันขี้หลงเขา้ หลง
อยากเป็นอยากมี หลงสงิ่ ทไี่ ม่ชอบ ร้เู หตอุ นั นเ้ี ป็นเหตุ
ให้เกิดทุกข์ เป็นเหตุให้ท่องเท่ียวในสังสารวัฏจักร
ไม่มที สี่ ิ้นสดุ ใหป้ ล่อยวางอันนี้

189

ปล่อยวาง คือไมย่ ึดไม่ถือ รู้เท่ามัน เมื่อปล่อยวางแล้วน่ันแหละ จิตมันจึง
จะสงบ จิตมันจึงจะมีความสุข ความสบาย จิตไม่ดิ้นรน จิตสงบน่ันแหละใหร้ ู้ว่า
จติ เราสงบ จติ เราไมเ่ พลิดเพลินกับอารมณ์ดีก็ตาม ไม่ดีก็ตาม ไมเ่ พลดิ เพลิน เฉย
เปน็ กลาง เรียกวา่ นิโรธะ ปลอ่ ยวางอันน้ี ความทะเยอทะยานหรือสมุทัย วาง
อนั นแี้ หละไดช้ อ่ื ว่าปล่อยเหตุ วางเหตแุ ลว้ จติ สงบ จติ เป็นกลาง การคน้ การพจิ ารณา
เรอ่ื งจติ นี้ เรียกวา่ มคฺคปฏปิ ทา เรยี กว่าขอ้ ปฏิบัติใหถ้ งึ ความดับทุกข์

เราภาวนาบริกรรมอันใด มันสบายใจ บริกรรมแลว้ ก็ต้องพิจารณา สมถะ
การบริกรรม วิปัสสนา เรียกวา่ ก�ำหนดพิจารณา เรื่องพิจารณาสังขารร่างกาย
อันนเ้ี รียกว่าวิปัสสนา ท�ำไปพร้อม เมื่อบริกรรมไปๆ พอจติ สงบสักหน่อย มันไมล่ ง
ถึงที่ มันก็ตอ้ งค้นควา้ ก็ค้นควา้ ร่างกายของเรา ตอ้ งพิจารณาสกนธ์กายของเรา
น่ีแหละ กรรมฐานทุกคนน่ันแหละ พวกพระ พวกเณร พวกญาติโยม น่ันก็เปน็
กรรมฐาน กรรมฐานหมด มอี ย่หู มดทกุ รูปทุกนาม พระพทุ ธเจา้ วา่ ผม ขน เลบ็
ฟนั หนัง เรยี กวา่ ปัญจกรรมฐาน กรรมฐานแท้ ให้พิจารณาอันนี้ ผมมนั ก็ตงั้ อยู่
บนศรี ษะ พระพทุ ธเจ้าทา่ นใหพ้ จิ ารณา ผมไมใ่ ช่คน เป็นแผนกหนึง่ ตา่ งหาก ขนก็
ไมใ่ ชค่ น เรามาสำ� คญั ว่าขนเรา เลบ็ เรา ผมเรา ฟันกไ็ ม่ใช่คน เป็นแผนกหนงึ่ ต่างหาก
หนงั กไ็ มใ่ ชค่ น หนงั สำ� หรบั หอ่ กระดกู ไวเ้ ท่านน้ั แหละ อาการ ๓๒ น่ี พระพทุ ธเจ้าทา่ น
ใหพ้ จิ ารณาแยกออกเป็นสดั เปน็ ส่วน อะไรเป็นคน เปน็ สตั ว์ ไม่สำ� คญั ว่าผ้หู ญงิ ผชู้ าย
วา่ เขาว่าเรา ส�ำคัญที่คนเห็นผดิ อาการ ๓๒ นมี้ ี ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนอื้ กระดกู
เยอ่ื ในกระดกู ม้าม หวั ใจ ตบั พงั ผดื ไต ปอด ไส้ใหญ่ ไสน้ ้อย อาหารใหม่ อาหารเกา่
เยื่อในสมองศีรษะ เปน็ ต้น หมู่นี้เปน็ คนละอย่างๆ มันไมใ่ ชค่ น พระพุทธเจา้ ว่า
มันไม่ใช่คนนะ

อกี อยา่ งพระพทุ ธเจา้ ว่าธาตุ๔ดนิ นำ�้ ลมไฟประชมุ รวมกนั เรยี กว่ารปู รปู ใหญ่
มหาภตู รปู สงิ่ ทอ่ี าศยั ธาตุ ๔ ดนิ นำ้� ลม ไฟ คอื เวทนา ความเสวยอารมณ์ สขุ ทกุ ข์
กด็ ีสญั ญาความจำ� หมายโนน่ หมายน่ีจำ� โน่นจำ� น่ีจติ เจตสกิ คอื ความคดิ ความอ่าน
ความปรุงข้ึนทีจ่ ติ คือ วิญญาณสงั ขาร  ความรทู้ างอายตนะท้ัง ๖ อนั นเ้ี ราว่า
รปู ขนั ธ์ เวทนาขนั ธ์ สญั ญาขนั ธ์ สงั ขารขนั ธ์ วญิ ญาณขนั ธ์ เรยี กว่าขนั ธ์ ไมม่ คี น

190

ไมม่ ีสัตว์ สิ่งเหลา่ น้ีไมใ่ ชต่ นไมใ่ ช่ตัว ไม่ใชค่ นไมใ่ ช่สัตว์ วิญญาณเปน็ ความรู้
เท่าน้ัน รู้กันอยู่นแ่ี หละ คน้ ไปคน้ มาอยู่น่นั มองดคู นอยไู่ หน

สมถะ คอื การบรกิ รรม วปิ ัสสนา การคน้ คว้า อาการ ๓๒ นแ่ี หละ ค้นไป ไม่ส่งจติ
ไปทอ่ี นื่ เวลาเราทำ� สมาธิ เราตอ้ งตงั้ ใจวา่ เวลานเี้ ราจะทำ� หนา้ ทขี่ องเรา หนา้ ทขี่ องเรา
คอื จะกำ� หนดใหม้ สี ตปิ ระจำ� ใจ ไม่ใหม้ นั ออกไปส่อู ารมณภ์ ายนอก ใหม้ สี ตปิ ระจำ� ใจอยู่
ไม่ใหไ้ ปภายนอก เด๋ียวนี้หนา้ ที่ของเราจะภาวนา จะท�ำหน้าที่ของเรา ไม่ต้องคิด
การงานขา้ งนอก เมอื่ ออกแล้วจะทำ� อะไรกท็ ำ� ไป เวลาเราจะทำ� สมาธิ ทำ� ความเพยี ร
ของเรา ต้องตงั้ สจั จะลง ตง้ั ใจกำ� หนดอยใู่ นสกนธก์ ายน้ี กำ� หนดสตใิ ห้รกู้ บั ใจ เอาใจ
ร้กู บั ใจ ใหจ้ ติ อย่กู บั จติ ก�ำหนดจติ ขน้ึ ใหท้ ำ� ใหม้ นั พออาศยั ศรทั ธา วริ ยิ ะ เหตทุ ำ� ให้
มากๆ อนั นี้แหละกอ้ นธรรม พระพุทธเจ้าวา่ ก้อนธรรมอันนแ้ี หละ ก้อนธรรมหมด
ท้ังก้อน ธรรมไม่มีท่ีอื่น ไมม่ ีท่ีอยูอ่ ่ืน จ�ำเพาะรูปใครรูปเราเทา่ น้ัน เป็นกอ้ นธรรม
หมดท้ังกอ้ น ก้อนธรรมอันนไี้ มใ่ ช่คน ไม่ใช่สตั ว์ ไม่ใช่ตวั ไม่ใช่ตน

พระพทุ ธเจา้ ว่า ปญฺจุปาทานกขฺ นธฺ า อนจิ ฺจา ขนั ธท์ ้ัง ๕ นไี้ มเ่ ท่ียง ไมแ่ นน่ อน
มคี วามเกดิ ขนึ้ ตงั้ ขน้ึ ในเบอ้ื งต้น มคี วามแปรปรวนไปในท่ามกลาง มคี วามแตกสลาย
ไปในเบือ้ งปลาย ปญจฺ ุปาทานกฺขนธฺ า ทุกฺขา ขนั ธอ์ นั นเ้ี ปน็ ทุกข์ มที ุกข์บีบคน้ั อยู่
มแี ตท่ กุ ขเวทนานนั่ แหละ ความสขุ มนี ดิ เดยี ว ผทู้ พ่ี จิ ารณาเหน็ ตามความเป็นจรงิ แล้ว
ไมม่ ีสักหนอ่ ยความสุขในโลกนี้ โลกคือสกนธ์โลกอันน้ี สกนธก์ ายน้ี ปญฺจุปาทา-
นกฺขนธฺ า อนตฺตา ธรรมทงั้ หลาย สกนธ์กายอนั น้ี ขันธ์ ๕ อันนี้ ไม่ใชส่ ตั ว์ ไมใ่ ช่คน
พระพุทธเจ้าว่า สพฺเพ ธมฺมา อนตฺตา ธรรมท้ังหลาย จะเปน็ สังขตธรรม หรือ
อสังขตธรรมก็ตาม ไมม่ ีความประเสริฐ ไม่มีความดี พิจารณาเห็นสกนธ์กายวา่
ไมใ่ ชต่ วั ไม่ใช่ตนแลว้ อนั นเ้ี รยี กว่าผ้ถู งึ วริ าคะ วริ าโค เสฏฺโฐ เป็นธรรมอนั ประเสรฐิ
วริ าคะ คอื ความคลายกำ� หนดั จากอารมณ์ทงั้ หลาย นเ่ี ปน็ ธรรมอนั ประเสรฐิ นนั่ แหละ
เม่อื ถึงวิราคะ เรยี กวา่ นโิ รโธ ทุกข์ดับ มคี วามเบือ่ หน่าย เหนอ่ื ยหน่าย ในความ
เปน็ อย่ขู องอตั ภาพ นแี่ หละเรยี กว่าปลอ่ ยวาง เหน็ ตามความเป็นจรงิ แลว้ ปล่อยวาง
ตณั หา ความทะเยอทะยานความอยาก ความใครใ่ นทางกิเลสกาม ความอยากเปน็
อยากมี ถงึ ข้ันนกี้ ็กิจสำ� เร็จแลว้



191

- ฆราวาสธรรม - อันน้ีเปน็ วาสนาของเราแทๆ้ จะได้บรรลุขั้นใด
ข้ันหนึ่งหรือขั้นท่ีสุดก็ไมร่ ู้ สมบัติของเราก็มีหมดแลว้
ปธาน ทุกส่ิงทุกอย่าง จะท�ำก็ได้อยู่ วาสนาบารมีเปน็ กรรม
เราได้สรา้ งมา คือมลู เกา่ อันน้ี มนั เป็นยังไง คอื อาศัย
มูลเก่าไดอ้ ัตภาพมาก็ไดบ้ ุญ ได้อวิชชา ไดศ้ ีลมาใน
บุญดว้ ย ทรัพยภ์ ายในบริบูรณห์ มด เร่ืองของเก่ามัน
เป็นอยา่ งนี้ บญุ ของเก่ามาถงึ เหมอื นกนั กบั พวกเศรษฐี
เขาแสวงหาเงนิ ทองของเขาว่าจะเพม่ิ ทยอยขน้ึ ล้านหนงึ่
สองล้าน สามสบิ ลา้ น ร้อยล้านข้ึนไป นี่มนั หาเอาใหม่
ไปทำ� เอาใหม่ แมน้ เป็นของเราคอื อตั ภาพของนี่ อาศยั
ทรพั ยข์ องเกา่ คอื อตั ภาพของเกา่ นบี้ รบิ รู ณ์แล้ว มนั จะ
ท�ำเอาใหม่ก็ไดอ้ ยู่ จะท�ำเอาใหมส่ ร้างเอาใหมก่ ็ได้
ให้มนั เตม็ รอบก็ได้

ทานบารมี ศีลบารมี เนกขัมมบารมี เราก็ออก
อยูเ่ ป็นบางครั้งบางคราว ถึงวันอุโบสถศีลเราก็ออก
เราก็เนกขัมมะออกจากเคร่ืองมืดมน ปญั ญาบารมี
เราก็สดับรับฟัง ตัวเราก็ใชโ้ ยนิโสคน้ ควา้ ในเหตุ
ในผลอยู่ วริ ยิ บารม ี เรากอ็ ตุ สา่ หท์ ำ� บญุ แจกทาน ขนั ติ
บารมี ความอดกลนั้ ต่อสง่ิ ทง้ั ปวงน่ี เรากท็ ำ� หมด บารมี
๑๐ เราจะท�ำหมดบารมี ๑๐ ประการ นี้ที่พระพุทธเจ้า
มาแจกจ่ายใหพ้ วกเรา เราไดเ้ ป็นผูร้ บั แจกแล้ว แตจ่ ะ
เอามาใชเ้ อามาทำ� ใหเ้ กดิ ใหม้ ี สจั จบารม ี ให้มนั มคี วาม
สตั ย์ความจรงิ เราจะทำ� กท็ ำ� จรงิ ๆ นนั่ แหละ ความสตั ย์
ความจริง อธิษฐานบารมี ความต้ังไวว้ ่าจะท�ำตอ้ ง
ทำ� จรงิ ๆ ไดม้ ากกไ็ มว่ ่า ไดน้ ้อยกไ็ มว่ ่า อย่าใหม้ นั ขาด
สจั จะ ความจรงิ ใจ อธษิ ฐานความตงั้ มนั่ ในใจ ๓๐ นาที

192

กต็ าม ๔๐ นาทกี ็ตาม ๕๐ ร้อยหนึ่ง ดี นั่นเปน็ บางครัง้ บางคราว เอาอยอู่ ยา่ งนน้ั
อยา่ ใหม้ ันขาดความต้ังมั่นในใจไว้ สัจจะความจรงิ ใจวา่ จะทำ� ก็ท�ำทันที พดู ๆ จรงิ
อธษิ ฐานความตง้ั ไว้ รู้หลักรู้ฐานไว้ เราก็ไม่เผลอ ต้องมสี ตริ ะลึกเอาไว้ เราอธษิ ฐาน
เอาไว้ ไม่ใหข้ าด ๒๐ นาทีก็เอา น่ังท�ำความเพยี รของเราไมใ่ ห้ขาด เมตตาบารมี
ใหเ้ ต็ม การสงเคราะห์คนท่ัวโลกมีอยู่แลว้ อุเบกขาบารมี การวางเฉยตอ่ อารมณ์
ชอบใจกต็ าม ไม่ชอบใจกต็ าม วางเฉยตอ่ อารมณ์ท้งั หลายทง้ั ปวง

การภาวนาของเราก็เพ่ือว่าจะอบรมจิตใจของเรานั่นแหละ ไมใ่ หม้ ันหลง
มนั ข้องไปนบั ภพนบั ชาติ หลงไปตามอารมณ์อย่ใู นภพชาตหิ รอื อดตี อนาคต แล้วน้อม
เอาเขา้ มาในจิต ทำ� ให้จิตเศรา้ หมอง ท�ำใหจ้ ติ เดือดรอ้ น การทเ่ี ราทำ� ความเพยี รน้ี
เราไม่ตอ้ งการอะไรแลว้ นอกจากขดั จติ ขดั ใจของเราใหข้ าวให้สะอาดเท่านน้ั แหละ
ใจมนั เศรา้ หมอง แต่อาศยั ขดั อย่บู ่อยๆ ขดั ไม่หยดุ ไม่หย่อน มนั กข็ าวกส็ ะอาดขนึ้
ผอ่ งใสขนึ้ เพราะกิเลสคอื โลภะ โทสะ โมหะ มนั หมกั หมมมาหลายภพหลายชาติ
ตอ้ งคอยขดั คอยเกลา เพราะกเิ ลสเหมอื นตะปู ตแี ฝก ตลี งแนน่ แต่กไ็ มเ่ หลอื วสิ ยั
ผู้สามารถทตี่ งั้ อกตง้ั ใจจะถอนตะปู ถอนไม่หยดุ ไมห่ ย่อน ถอนไปถอนมามันก็
ออกสน้ั เขา้ ๆ สน้ั เขา้ มนั กถ็ อนขึน้ ได้

พระพุทธเจ้าสอนว่าจิตไมใ่ ช่จิตวา่ งนะ อยา่ ไปถือว่ามันจะว่างให้ ให้เรามีสติ
มสี ัมปชัญญะ รตู้ วั เสมอ มนั ว็อกแวก็ ๆ อยอู่ ย่างนัน้ เหมอื นกนั กบั ฟองนำ�้ เดี๋ยวมัน
เกิดข้ึน เดี๋ยวมันดับ ดวงจิตมันไมร่ ูจ้ ักอะไรหมดท้ังนั้น มันอาศัยเราทรมาน คือ
เราได้ยินไดฟ้ ังแลว้ เราก็ใหม้ ีสติขัดเกลาส่ังสอนมันให้มันรู้ เพราะมันไมร่ ู้น่ีแหละ
จติ ดวงนแ้ี หละเรยี กวา่ อวชิ ชา คอื ความไม่รู้ จติ ดวงนน้ี ะ่ เรยี กวา่ อวชิ ชา ครน้ั แนะนำ�
สง่ั สอนมนั ให้มนั รตู้ ามความเปน็ จรงิ ของโลกนนั่ แหละ มนั จงึ ไดป้ ลอ่ ยวาง ไม่ยดึ มนั่
ถอื มน่ั โดยอปุ าทานวา่ เราว่าจติ ของเรามนั ปลอ่ ยมนั วาง ตวั อวชิ ชากแ็ ม่นดวงจติ
นัน่ แหละท่านสอนให้อบรมขดั เกลาจติ ทุกเวลา

เมื่อกิเลสมันเบาบาง มันหมดออกไปแลว้ มันขาวมันสะอาดแล้ว นั่นแหละ
จติ มนั แจ้ง มนั สอ่ งแสงขน้ึ ความสอ่ งแสงขนึ้ รเู้ ทา่ สงั ขารตามความเป็นจรงิ ของมนั ยงั ไง

193


Click to View FlipBook Version