The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

อนาลโย ผู้ไม่มีความอาลัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-03-05 21:50:15

อนาลโย ผู้ไม่มีความอาลัย

อนาลโย ผู้ไม่มีความอาลัย

Keywords: อนาลโย ผู้ไม่มีความอาลัย,หลวงปู่ขาว อนาลโย

134

บญุ บันดาล

เยน็ วนั หนงึ่ ในเดอื นมนี าคม พ.ศ. ๒๕๑๐ ผเู้ ขยี นไดร้ บั
โทรศัพทจ์ ากคุณสิรี อึ๊งตระกูล ซึ่งเป็นศิษยใ์ กล้ชิด
ของท่านอาจารยข์ าว พูดมาจากอุดรธานีแจ้งวา่
ท่านอาจารยอ์ าพาธ

มีอาการหนักมาก เหตุเกิดโดย ทใ่ี นเมอื งออกไปรกั ษา กไ็ มม่ ใี ครยอม
ทา่ นเป็นไขห้ วดั ก่อน พระเณรพยาบาล ไป (ระยะน้ันพวกก่อการรา้ ยก�ำลัง
จนไขห้ ายแลว้ ก็จัดการสรงน้�ำถวาย เหมิ หาญมากถงึ เข้าปล้นสถานตี ำ� รวจฯ
ตามปกติ คืนน้ันเองไข้ก็กลับมาใหม่ ท่หี นองบัวลำ� ภู หา่ งวัดเพียง ๑๒ กม.)
อาการรุนแรงกว่าครั้งแรกมาก ถวาย ซักถามไดค้ วามวา่ อาการส�ำคัญคือ
ยาไทยยาฝรั่งเทา่ ไรๆ ไข้ก็ไม่ลด ไข้สูง ไม่มีไอ ไม่มีปวดเจบ็ ทใ่ี ด ผเู้ ขียน
คุณสิรีพยายามหาแพทยแ์ ผนปัจจุบัน คิดว่าคงไข้กลับเพราะไปอาบน�้ำถูก

135

ความเย็นเกินควร คงจะไมร่ า้ ยแรงนกั เพราะดูท่าไมม่ ีโรคแทรก จงึ แนะนำ� ใหไ้ ปหา
คณุ หมอประวตั ิ หงสป์ ระภาส หวั หน้าหน่วยพฒั นาการแพทยฯ์ ของคณะแพทยศ์ าสตร์
ศิริราชพยาบาล ซ่ึงต้ังส�ำนักงานชั่วคราวท่ีโรงพยาบาลอุดรธานี และมีหนว่ ยย่อย
อย่ทู ี่หนองบวั ลำ� ภู ใกล้วดั ให้คุณสิรขี อแพทยส์ กั คนหนึง่ ไปชว่ ยรกั ษา

ตอ่ มาผ้เู ขยี นไดโ้ ทรศพั ทไ์ ปถงึ หน่วยแพทยท์ โี่ รงพยาบาลอดุ รฯ หวั หน้าหนว่ ยไม่อยู่
จึงพูดขอความชว่ ยเหลือไวก้ ับผู้ช่วย (คุณหมอสายสงวน อุณหนันท)์ คุณหมอ
บอกว่าหวั หน้าไดต้ ดิ ตอ่ ไปทางหนองบัวลำ� ภูใหช้ ่วยเหลอื แล้ว ผู้เขยี นกเ็ บาใจ รุ่งขน้ึ
ตอนบ่าย (จำ� ได้วา่ เป็นวันพฤหัสฯ) ได้โทรศพั ทไ์ ปทีบ่ า้ นคณุ สิรี ได้รับแจง้ วา่ คุณสิรี
ไปคา้ งอยทู่ ว่ี ดั หลวงปคู่ ่อยยงั ชวั่ แลว้ เพราะหมอศริ ริ าชไปชว่ ยรกั ษา ผ้เู ขยี นกโ็ ล่งใจ
นึกว่าหมดเรื่องที่ควรเปน็ หว่ งแล้ว แต่ขณะรับอาหารเย็นวันน้ันเองเกิดสังหรณ์
ขึน้ มาวา่ หากไปดูท่านสักหนอ่ ยก็คงจะดี เลยตัดสินใจโดยกะทนั หนั จัดกระเปา๋ ขึ้น
รถไฟไปในคนื นนั้ เอง รงุ่ เช้าถงึ อดุ รฯ กต็ รงไปยงั โรงพยาบาลเพอื่ ขอยมื ยานพาหนะ
พบแพทยก์ ำ� ลงั รบั อาหารเช้าอยหู่ ลายคนกเ็ ข้าไปร่วมวงดว้ ย ประเดย๋ี วเดยี วมรี ถสองแถว
ขับเขา้ ไป มีคนลงมาถามหาหมออวย เม่ือผูเ้ ขียนแสดงตัว เขาก็เล่าว่า หลวงปู่
อาการหนักมาก ลูกศิษย์ท่ีจังหวัดหนองคายสง่ รถมารับจะเอาตัวไปรักษาที่โน่น
แตพ่ ระและคณะศิษยไ์ ม่เต็มใจ ขอใหผ้ เู้ ขยี นไปดูและตัดสินว่าควรใหไ้ ปหรือไม่

ผูเ้ ขยี นไปด้วยโดยทันที ไปถงึ กร็ บี ข้นึ ไปดูท่านอาจารย์ ทา่ นนอนอยกู่ ลางหอ้ ง
มีพระเณรล้อมรอบ หลังจากนมัสการแล้ว ผูเ้ ขียนจับชีพจรดูเห็นว่าเตน้ เร็วมาก
จงั หวะไม่ดี ความแรงไมส่ มำ่� เสมอ ตวั ร้อนจดั มาก แตค่ วามร้สู กึ ยงั ดี กราบเรยี นถาม
อะไรกต็ อบถกู ต้อง ถามวา่ “ท่านอาจารยเ์ ป็นอย่างไรบา้ ง” ทา่ นตอบว่า “สบายอย่”ู
เห็นว่าจิตของท่านยังเขม้ แข็ง แตห่ ัวใจคงมีภาระหนักมาก ถา้ เอาไปหนองคายจะ
ต้องเดนิ ทางรว่ มร้อยกิโลเมตรบนถนนลกู รงั ทค่ี ลา้ ยทางเกวยี น คงจะถกู เขย่าขยอก
ขยอ้ นแย่ หวั ใจอาจจะทนไมไ่ หว จงึ เรียนท่านอาจารย์ทงั้ หลายทีห่ อ้ มลอ้ มอยนู่ ้ันวา่
หัวใจไม่ปกติ ไม่ควรให้เดินทางไกลๆ เพราะอาจเกิดอันตรายได้ ท่านอาจารย์
ท้ังหลายวา่ หากอยูท่ ี่อุดรฯ ก็ไม่มีหมอรับผิดชอบโดยเฉพาะ ถ้าไปหนองคายได้
เขา้ อยู่ในโรงพยาบาลก็ไมข่ าดหมอ ผู้เขียนเห็นวา่ การรกั ษาคงจะไมย่ ากนัก เพราะ

136

เปน็ แตเ่ ร่ืองไข้ ยังไมม่ ีโรคแทรก ถึงอยา่ งไรก็ยังมีคณะแพทยจ์ ากศิริราชคอย
หนุนหลังอยู่ จึงตกปากว่าจะรับเปน็ คนรักษาเอง ท่านอาจารยท์ ั้งหลายก็ยินยอม
โดยดี คงจะเพราะเหน็ ว่าเคยรกั ษาพระอาจารย์ฝนั้ มาแล้ว เป็นอนั เลกิ เรอื่ งจะเอาไป
หนองคาย

ผู้เขียนได้ตรวจร่างกายทา่ นอาจารยโ์ ดยละเอียดจนแน่ใจวา่ ไมม่ ีโรคแทรก
มีความคิดขึ้นมาว่าท่านอาจารย์ไดเ้ ปน็ ไขต้ ิดต่อมาหลายวนั ร่างกายคงจะขาดสาร
สำ� คญั ต่างๆ และการขาดน้ีอาจขัดขวางการหายโรค ทำ� ให้ลา่ ช้าไป จงึ ตดั สินใจจะ
ถวายเลือด และเลอื ดน้นั จะเป็นเลอื ดของตวั เอง ไม่ตอ้ งไปหาจากท่ีไหน และเลอื ด
ของผเู้ ขยี นเป็นหมู่ “โอ” ถา่ ยให้ใครกไ็ ด้ พอดคี ณุ หมอประวตั ิ หงสป์ ระพาส ตามไปถงึ
จึงเลา่ เรื่องให้ฟงั และขอให้ช่วยถ่ายเลือด คุณหมอประวัติกลับไปเอาอุปกรณ์
และผู้ชว่ ย ระหว่างท่คี อย ผเู้ ขยี นไปที่พระปาลิไลยก์ ซึง่ สรา้ งไวไ้ มไ่ กลจากกฏุ ิของ
ทา่ นอาจารย์ สวดมนต์ทำ� วตั รเช้า สมาทานศลี แปด แลว้ นง่ั สมาธปิ ระมาณครง่ึ ชวั่ โมง
แลว้ ได้อธษิ ฐานว่า หากถวายเลอื ดพระอาจารยแ์ ล้ว ขอให้ผลบญุ จงชว่ ยใหท้ ่าน
มอี ายยุ นื ยาวอย่ตู อ่ ไปอกี อยา่ งน้อยห้าปี (ภายหลงั ไดอ้ ธษิ ฐานขอเพมิ่ ใหท้ ่านมี
อายยุ ืนถึงรอ้ ยปี)

พอคุณหมอประวัติกลับมาและเตรียมการพร้อม ก็ข้ึนไปนอนให้เจาะเลือดที่
เฉลียงหน้ากุฏิ ไดป้ ระมาณ ๓๕๐ ลบ.ซม. คุณหมอประวัติจัดการถ่ายถวาย
ท่านอาจารย์ไดส้ �ำเร็จเรียบร้อยโดยไมม่ ีปฏิกิริยาใดๆ ผูเ้ ขียนอยู่เฝ้าอาการตอ่ ไป
โดยอาศยั นอนทเี่ ฉลยี งซงึ่ เป็นทเี่ ดนิ จงกรมของท่านอาจารย์ จนตลอดสปั ดาห์ตอ่ ไป
ปรากฏว่าอาการคอ่ ยทุเลาข้ึน ผู้เขียนสั่งเสียการถวายยาไวก้ ับทา่ นอาจารย์
ผู้อุปฏั ฐาก (ที่จ�ำไดม้ ีท่านอาจารย์วัน ท่านอาจารย์จวน ท่านอาจารยส์ ิงหท์ อง
ท่านอาจารยเ์ พยี ร ทา่ นอาจารย์บญุ เพง็ ท่านอาจารยท์ ยุ ยงั มที จี่ ำ� ไม่ไดอ้ กี หลายองค)์
แลว้ กเ็ ดินทางกลบั ไปทำ� งานทศ่ี ริ ิราช

ระหว่างสัปดาห์ติดต่อถามอาการทางโทรศัพท์กับรา้ นชวลิตของคุณชวลิต
บุตรคุณสิรี พอค�่ำวันวันศุกร์ก็ขึ้นรถไฟไปอุดรฯ ไปอยู่ปรนนิบัติท่านอาจารยท์ ี่วัด

137

จนเยน็ วนั อาทติ ย์จงึ โดยสารรถไฟกลบั กรงุ เทพฯ ปฏบิ ตั เิ ชน่ นไี้ ดส้ ามสปั ดาห์ อาการ
ของทา่ นอาจารย์ดีขึน้ เป็นล�ำดับ แตเ่ กิดมอี าการเบ่อื อาหารอยา่ งมาก ใช้ยากระตุ้น
อะไรๆ ก็ไมไ่ ด้ผล ทา่ นอาจารยส์ ิงห์ทองตอ้ งเดินทางไปนิมนตท์ า่ นอาจารยฝ์ ั้น
มาจากวัดอดุ มสมพร เพื่อเกล้ียกลอ่ มใหฉ้ นั อาหาร ในระหวา่ งท่ีอาการไม่คอ่ ยดนี ั้น
ผเู้ ขยี นไปอยเู่ ฝ้าอาการดว้ ย

กลางวนั วนั หนง่ึ เดนิ ขนึ้ ไปบนลาดเขาใกล้กฏุ ิ พบก้อนหนิ ใหญ่ประมาณเท่าบา้ น
สองช้ันขนาดกลาง ตงั้ อยู่ในท่โี ล่ง ด้านหน้ามีชะเง้ือมชะโงกออกมาคล้ายท่ีเคยเหน็
สรา้ งเปน็ พระพุทธฉาย แต่มตี น้ ไมข้ น้ึ บงั อย่โู ดยรอบ มอบผาดๆ ไมเ่ ห็น จึงได้ตงั้ ใจ
อธษิ ฐานวา่ ขอใหส้ ามารถรกั ษาทา่ นอาจารยใ์ ห้หาย แล้วจะไปสลกั เป็นพระพทุ ธรปู
ไว้ที่กอ้ นหินนั้นดว้ ยมือตนเอง

หลังจากน้ันทา่ นอาจารย์ฝ้นั ก็ไปถึง ไดค้ ุยธรรมะกับทา่ นอาจารย์ขาวหลายข้อ
ตอนหนึ่งทา่ นเลา่ ว่า ก่อนหนา้ ท่ีท่านอาจารยส์ ิงห์ทองจะไปนิมนต์ ทา่ นไดน้ ิมิตวา่
เดนิ ไปกับทา่ นอาจารยข์ าว ท่านเดนิ หน้า ประเด๋ยี วหนั กลับมาเหน็ ทา่ นอาจารยข์ าว
หกลม้ นอนเอาหนา้ จุ่มอยู่ในล�ำธารขา้ งทางเดิน ไม่ยักลุกขึ้น ทา่ นตอ้ งกลับมา
พยงุ ขึน้ หลงั จากนนั้ ทา่ นอาจารย์ขาวกฉ็ นั อาหารเปน็ ปกติ อาการท่ัวไปดีขนึ้ เรอื่ ยๆ
รวมเวลาที่ผู้เขียนเดินทางไปๆ มาๆ อยู่ทั้งหมดหกสัปดาห์ หลังจากถวายเลือด
ทา่ นอาจารย์ก็กลับเป็นปกติ การอาพาธครั้งนั้นไดด้ ึงเอาผู้เขียนเขา้ ไปเป็น
“หมอประจำ� พระอาจารย์ขาว” โดยไมไ่ ด้คาดคิดมาก่อน

ในระหว่างท่ีไปเฝ้าไข้อยูน่ ้ันเอง ไดป้ ระสบเหตุการณ์บางอยา่ งซ่ึงท�ำใหเ้ ขา้ ใจ
และซาบซง้ึ ในคณุ ธรรมวเิ ศษของทา่ นอาจารยย์ ง่ิ ขนึ้ บา่ ยวนั หนงึ่ ขณะทคี่ นทง้ั หลาย
กำ� ลงั เรยี งรายห้อมล้อมท่านอาจารย์ ซงึ่ กำ� ลงั ซมเพราะไข้สงู ถงึ ๔๐ องศาเซลเซยี ส
มีเสยี งดงั ตมู มาจากข้างนอก พระองคห์ น่งึ รอ้ งถามไปวา่ “อะไรกัน” เสยี งร้องตอบ
ขนึ้ มาว่า “เณรตกบ่อ” เทา่ นนั้ แหละ ท่านอาจารยผ์ ้อู าพาธหนกั กป็ ล่อยหวั เราะเอก้ิ ๆ
ออกมาอยา่ งเตม็ ที่ คล้ายกับวา่ ท่านไม่ได้เปน็ อะไรเลย คนทงั้ หลายก็พลอยหวั เราะ
ไปด้วย ลมื ความเป็นห่วงเรอ่ื งโรคของท่านไปชว่ั ขณะ

138

นอกจากน้ีก็ยังมีเรื่องหอ้ งสว้ ม ทุกครั้งที่ทา่ นประสงค์จะเขา้ ท่านจะลุกข้ึน
เดินฉิวไปโดยล�ำพัง ไม่ตอ้ งรอให้ใครจูงหรือประคอง พระเณรที่ปรนนิบัติอยู่ตอ้ ง
ว่ิงตามไปทุกครั้ง เวลาใดที่ผูเ้ ขียนกราบเรียนถามว่า “ท่านอาจารย์เป็นอย่างไร
บา้ งครบั ” ท่านต้องตอบว่า “สบาย” ทกุ คร้ัง ตลอดเวลาทที่ า่ นมไี ขส้ ูง ตัวร้อนจดั
ท่านไมเ่ คยออกปากวา่ ไมส่ บายทีส่ ว่ นไหนเลย ถ้าไขส้ ูงมาก กน็ อนเฉยๆ ถา้ ไข้ลด
ก็มีอาการกระปร้ีกระเปรา่ ขึ้น บางทียิ้มหรือหัวเราะกับพระเณรท่ีอยู่ดว้ ยคล้าย
คนปกติ พอสบายขน้ึ หนอ่ ยกเ็ ลา่ “นทิ าน” ต่างๆ ใหผ้ ้ปู รนนบิ ตั ฟิ งั เป็นเรอ่ื งนมิ ติ บา้ ง
ประสบการณ์บ้าง บางทีกเ็ ป็นชาดก ผเู้ ขยี นคิดวา่ ปรากฏการณ์เหลา่ น้นั เปน็ เคร่อื ง
แสดงว่ารา่ งกายของท่านอาจารยก์ บั จติ ใจเปน็ คนละสว่ นกนั ถงึ กายของทา่ นเป็นไข้
จิตของท่านไม่ไดเ้ ปน็ ไปด้วย จิตของท่านเปน็ ปกติตลอดเวลา

หลังจากท่ีทา่ นอาจารยส์ บายดีแล้ว ผูเ้ ขียนก็ขออนุญาตสลักพระพุทธรูป
ที่ก้อนหินดังกลา่ วแลว้ ในตอนต้น ทา่ นอาจารยอ์ ุตส่าหเ์ ดินขึ้นไปดูหินใหเ้ ห็นด้วย
ตนเองเม่ือผู้เขียนกราบเรียนว่าจะอุทิศรูปนั้นแก่ทา่ น ไดล้ งมือในวันวิสาขบูชา
(๑๓ พฤษภาคม ๒๕๑๑) แลว้ เดินทางข้ึนไปอุดรฯ ทุกปลายสัปดาห์เชน่ เดียวกับ
ตอนท่ีไปดูแลท่านอาจารย์ ท�ำไดส้ �ำเร็จเรียบรอ้ ยในวันที่ ๓ กันยายน ๒๕๑๑
รวมเวลาที่ใชเ้ ฉพาะการสลัก ๑๒๕ ชวั่ โมง ได้ถวายพระนามวา่ “พระพทุ ธบัณฑร
นิมิต” (แปลว่า พระพุทธรปู พระอาจารย์ขาวสรา้ ง) อุทิศถวายพระอาจารยต์ ามที่
ตงั้ ปณิ ธานไว้ พระเณรในวดั เลา่ ว่าในระหวา่ งทกี่ ำ� ลงั สลกั พระพทุ ธรปู อยนู่ น้ั วนั ไหน
ผเู้ ขยี นไม่ไปทำ� งาน ท่านอาจารยจ์ ะไปนง่ั ทำ� สมาธอิ ย่บู นแทน่ หนิ ใกล้ๆ ก้อนหนิ ใหญน่ นั้
ผ้เู ขยี นเขา้ ใจวา่ ท่านคงใช้อำ� นาจจติ ของท่านเขา้ ช่วย งานจงึ ไดส้ ำ� เรจ็ ลงโดยเรยี บรอ้ ย
และได้ผลงดงามอยา่ งท่ผี เู้ ขียนเองไม่เคยนกึ ฝัน

139

140

ม้าแก่-เกวยี นผุ

ถึงแม้วา่ ท่านอาจารย์จะมีผู้รูจ้ ักเพียงเล็กน้อยใน
พ.ศ. ๒๕๐๕ ทค่ี ณะของผ้เู ขยี นได้ไปนมสั การเป็นครง้ั แรก
ช่อื เสียงและคุณธรรมอันสงู ส่งของท่านคอ่ ยๆ ขยาย
ออกไปเรอ่ื ยๆ โดยรวดเรว็

ใน พ.ศ. ๒๕๑๘ พระบาทสมเดจ็ ในจ�ำนวนน้ันมีแพทยจ์ ากท่ีต่างๆ
พระเจา้ อยูห่ ัวและสมเด็จพระบรม ไปดว้ ยเสมอ บางคนก็มีศรัทธาเอายา
ร า ชิ นี น า ถ ไ ด เ้ ส ด็ จ ไ ป น มั ส ก า ร ไปถวาย ถงึ แมท้ ่านอาจารย์จะไม่เตม็ ใจ
แ ล ะ พ ร ะ ร า ช ท า น พ ร ะ ร า ชู ป ถั ม ภ ์ ท่านกต็ อ้ งรบั ผ้เู ขยี นเกรงว่าการรับยา
ด้วยนานาประการ เป็นท่ีปลาบปลื้ม จากแพทย์ (และผูท้ ่ีไม่ใชแ่ พทย์)
ของคณะศษิ ย์อยา่ งยงิ่ ทา่ นอาจารย์เอง โดยไม่จำ� กดั อาจจจะทำ� ใหเ้ กดิ อนั ตราย
ก็เทิดทูนท้ังสองพระองค์ไวใ้ นท่ีสูงสุด รา้ ยแรงขึ้นได้ จงึ ไดเ้ ขยี นคำ� ชีแ้ จงเกี่ยว
และแผเ่ มตตาถวายพระพรเปน็ ประจำ� กับการดูแลสุขภาพของท่านอาจารย์
จ�ำนวนคนที่ไปนมัสการท่านอาจารย์ ตดิ เอาไว้ให้ผสู้ นใจอา่ นเพอื่ จะได้ทราบ
เพมิ่ ขน้ึ เรอื่ ยๆ จากทกุ ภาคของประเทศ สถานการณแ์ ละช่วยกันระวัง

141

หลักการรกั ษาหลวงปู่ขาว อนาลโย

๑. หลวงปูเ่ ปน็ คนแก่ อายุเกา้ สิบกวา่ แล้ว ร่างกายทรุดโทรมเกินกวา่ จะเข็น
ให้กลับกระชุม่ กระชวยหรือแข็งแรงเหมือนคนหนุม่ สาว ถ้าพยายามกระตุ้นหรือ
บำ� รงุ มากเกินควร อาจเกิดผลรา้ ยแทนทจี่ ะดี ดงั นน้ั นโยบายทใี่ ชอ้ ยู่ คอื รกั ษาสภาพ
ปัจจุบันใหค้ งอยู่โดยการประคับประคองด้วยยาและอาหาร และพยายามปอ้ งกัน
โรคแทรกซงึ่ จะมาท�ำใหส้ ภาพเลวลง

๒. หลวงปูเ่ ป็นพระกัมมัฏฐาน บวชมากว่า ๖๐ ปีแลว้ ฉันอาหารม้ือเดียว
อาหารใดชอบก็ฉนั มาก ไม่ชอบกฉ็ ันนอ้ ย ร่างกายเขา้ สภาพคงตวั การรกั ษามงุ่ ทจี่ ะ
รักษาสภาพคงตัวนไ้ี ว้ ไมพ่ ยายามรบกวนใหเ้ กิดความยุ่งเหยิงขึน้

๓. หลวงปู่เปน็ อริยบุคคล ทา่ นมีอ�ำนาจเหนือร่างกายของทา่ นในบางแง่
โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ในเวลารา่ งกายปกติ แตถ่ า้ รา่ งกายผดิ ปกตมิ าก ทา่ นกอ็ าจควบคมุ
ไม่ได้ การรักษามุ่งใหท้ า่ นแกไ้ ขสภาพไมป่ กติในร่างกายของท่านโดยตนเองด้วย
ไมเ่ พยี งแตอ่ าศัยยาเท่านน้ั เพราะฉะนน้ั การใชย้ าจึงมุง่ แตเ่ พียงที่จำ� เปน็ และใชใ้ น
ขนาดเบาเพอื่ ไม่ใหร้ บกวนรา่ งกายมากเกินไปจนทา่ นไมอ่ าจบงั คบั ได้ดว้ ยอำ� นาจจติ

ดว้ ยเหตผุ ลทง้ั สามประการนี้ การรกั ษาจึงมงุ่

๑. รกั ษาสภาพปกติ ไม่พยายามบ�ำรุงมากเกินไป
๒. รกั ษาดลุ ต่างๆ รวมทัง้ โรคหลายโรคท่ปี ระจำ� ตัวทา่ นมาหลายสิบปีแลว้
๓. ใช้ยาแตเ่ ท่าทจี่ ำ� เปน็ ในขนาดนอ้ ยตามสภาพของรา่ งกาย
๔. รักษาแบบประคบั ประคองและคาดคะเนผลมากกวา่ แบบจู่โจมหรอื เรง่ เรา้

142

ผู้ท่รี ่วมในแนวการรักษานี้ คอื

น.พ. อวย เกตุสิงห ์ กรงุ เทพฯ
น.พ. รชั นยั ยศสิงห ์ โรงพยาบาลอุดรธานี
น.พ. วทิ ยา ชวลิตสกลุ ชัย โรงพยาบาลหนองบวั ลำ� ภู

(น.พ.วิทยา ถึงแกก่ รรมใน พ.ศ. ๒๕๒๓ และ น.พ.สันติภาพ ชัยวงศ์เกียรติ
ได้เข้ามาแทน)

รายการ-การบำ� รงุ ประจำ� วนั (ใช้ตง้ั แต่ ๕ ม.ี ค. ๒๕๒๔)

๑. ต่ืนนอน - ถวายรังนก ๑ ถว้ ย

๒. ๑๕ นาที กอ่ นจงั หัน - บัยเออร์ โทนิค ๑ ช้อนใหญ่

- ชัยตาคอ็ น ๒ ชอ้ นชา

๓. ระหวา่ งฉัน - ยาย่อยอาหาร ๑ เมด็ (คอมบิซัยม์ แพนโตซัยม)์

- วติ ามิน บี ๑๑ เม็ด (๑๐๐ มก.)

๔. ฉันเสรจ็ - ยาบำ� รงุ เลือด ๑ เม็ด (ไอบอเรต็ ไอเบอรอล

หรือ เฟอร์รสั ซัลเฟต - สลับกนั )

- ยาเสริม โปรเทอีน ๒ เมด็ (แบรนเนอรไ์ ฮโปรตีน)

- วิตามนิ รวม ๑ เมด็ (ไวเตอร์รา่ เธอราปวิ ตคิ เจโรเบยี น)

- ยาเมด็ โปแตสเซียม คลอไรด์ ๑ เมด็ (ใช้เปน็ ระยะๆ)

- ยาเมด็ แคลเซีย่ ม (แซนดอส) ๑ เมด็ (ใชเ้ ป็นระยะๆ)

๕. เวลา ๑๑.๐๐ น. - ซัสตาเจ็น ๔ ช้อน ผสมกลูโคส ๔ ชอ้ น

๖. เวลา ๑๔.๐๐ น. - กลโู คส หรือน�้ำผึง้ หรอื โกโก้ไม่ใส่นม

๗. เวลา ๑๗.๐๐ น. - เหมอื นเวลา ๑๔.๐๐ น.

๘. เวลา ๒๐.๐๐ น. - เหมือนเวลา ๑๔.๐๐ น.

หมายเหตุ กลโู คสถวายได้เสมอหากรู้สึกหวิ หรือเพลีย ถ้าเกิดอาการไม่สบายข้ึน กเ็ พิ่ม
การรกั ษาไปตามเหตุโดยใชห้ ลักทีแ่ จง้ ไว้

143


Click to View FlipBook Version