The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

อนาลโย ผู้ไม่มีความอาลัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-03-05 21:50:15

อนาลโย ผู้ไม่มีความอาลัย

อนาลโย ผู้ไม่มีความอาลัย

Keywords: อนาลโย ผู้ไม่มีความอาลัย,หลวงปู่ขาว อนาลโย

รยู้ ังง้ัน แล้วไม่ยึดไม่ถอื เลกิ เกิดมาชาตใิ ดกด็ ี เราไม่ใชจ่ ะเกิดมาชาติเดยี วน้ี ตัง้ แต่
แผน่ ดินเป็นแผ่นดินก็เกิดมา ฐติ า วะ สา ธาตุ ธมฺมฏฺฐติ ตา ธมมฺ นยิ ามตา สพเฺ พ
สงขฺ ารา อนิจจฺ า ฐติ ธิ รรม ตง้ั อยูใ่ นโลกไม่ขาดโลก คอื ดวงจติ ฐิตธิ รรม ตง้ั อยู่จะ
เอาภพเอาชาติ ตายกันนะ ตายทกุ วที่ ุกวนั นเี่ รียกว่าตายเลน่ ไม่ใช่ตายแท้ ตายแท้
เหมือนดังพระพุทธเจ้าและพระสาวกทง้ั หลาย ดบั หมด ไมม่ ีกลบั มาเกิดอีก กิเลส
ไม่มอี ะไรจะก่อภพก่อชาตอิ กี ความตายอย่างนนั่ คอื กเิ ลสนน่ั แหละมนั ตาย เข้าไปอยู่
ในบ้านมนั แหละ หมดเรือ่ งกนั หมดภพหมดชาติ หมดเร่ืองกนั  นิพพฺ านํ ปรมํ สขุ ํ
ความสุขไมเ่ จือดว้ ยอามิส นริ ามสิ สขุ นั่นแหละ

พวกเราสละ ใหส้ ละความสขุ ทางโลก ความสขุ ในโลกมปี ระมาณอนั นอ้ ย ผ้มู ี
ปญั ญา ผ้ไู มป่ ระมาท พงึ สละความสขุ เพอื่ แลกเอาความสขุ อนั ไพบลู ย์ คอื ความ
สขุ ทไี่ มม่ เี กิด ไม่มแี ก่ ไม่มเี จบ็ ไม่มตี าย ความสขุ อนั นนั้ เป็นความสขุ อนั ไพบลู ย์
ความสขุ ในโลกมตี ายๆ เกิดๆ นน่ั มปี ระมาณนอ้ ยนดิ เดยี ว นกั ปราชญท์ า่ นจะว่า
ไมม่ ีเสียก็ได้ ความสุขอย่างน้ีเหมือนเหยื่อมันเก่ียวอยูท่ ี่เบ็ด ปลาไมร่ ู้วา่ เบ็ด
มนั เกาะอยู่ มนั เกยี่ วอย่นู น่ั กไ็ ปคาบเอาเลยตดิ ปากตดิ คออยอู่ ย่างนนั้ นกั ปราชญ์
คอื พระพทุ ธเจ้าเหน็ โทษของโลกจงึ มคี วามเบอ่ื หน่าย พระพทุ ธเจา้ วา่ ใหป้ ล่อย
มนั เสยี อย่าถือมนั อกี มันไมใ่ ช่เรา ไมใ่ ช่ตน ไมใ่ ชต่ วั มนั มแี ตค่ ดิ แตอ่ า่ นหาแต่
โทษมาเผาเจา้ ของ วางมันเสีย อย่าไปไว้ทา่ มัน มันจะไปยังไงก็ไป ให้ท�ำจิต
ทำ� ใจทำ� ความรไู้ วใ้ ห้เหมอื นกบั มหาปฐพี มหาปฐพนี น้ั สตั วท์ ง้ั หลายจะมาทำ� ดี
กต็ ามมาทำ� ร้ายกต็ าม มนษุ ย์จะมาทำ� ดกี ต็ ามทำ� รา้ ยกต็ าม มหาปฐพไี ม่มคี วาม
หวน่ั ไหว จะทำ� อยา่ งไรก็ตามท�ำใจให้เป็นอย่างนั้น นน่ั แหละพระนิพพาน

พระพุทธเจ้าวา่ ใครท�ำใจไดอ้ ยา่ งน้ันแลว้ ไดอ้ ยู่เปน็ สุขถึงพระนิพพาน ท�ำใจ
อยา่ งนั้นแลว้ จะมีทุกข์อะไรเลา่ มาเผามาผลาญดวงจิตของเรา เราไม่ถือไว้
จิตพระพุทธเจา้ และสาวกทั้งหลายพอรูเ้ ทา่ แล้ว จิตเปน็ กลาง จิตอุเบกขา
จิตเป็นกลาง เราจงึ ตัง้ ตรงก็สบายเทา่ นน้ั นโยบายเพื่อจะสละคนื เทา่ นน้ั เพื่อไม่ให้
ยึดเทา่ น้ัน ไม่ใหย้ ึดอะไรหมดท้ังน้ัน การบริจาคทานทุกส่ิงทุกอยา่ ง สละคืนหมด
การรักษาศีลก็สละคืนหมด ถา้ ไม่รูเ้ ท่าแลว้ ก็ท�ำท้ังทางกาย ทางวาจา และทางใจ

194

ความชั่วร้ายนี่น่ะเรียกวา่ ไมม่ ีศีล เราก็สละคืน สละความช่ัวน่ีแหละ น่ันเรียกว่า
สมฺมปฺปธาน มีความส�ำรวมระวังบาปไมใ่ ห้เกิดขึ้นทั้งทางกาย ทางวาจา และใจ
ปหานปธาน ไมใ่ ห้บาปเกิดขน้ึ ละถอน ปลอ่ ยวาง อะไรมนั ดีก็ตาม จะไม่ดีกต็ าม
มีแต่เรื่องเป็นไฟเผาหมดทง้ั นั้น ภาวนาปธาน เรียกว่า ท�ำใหเ้ กิด ทำ� ให้มี สิ่งทยี่ งั
ไมเ่ กดิ กท็ ำ� ให้เกดิ สง่ิ ทเ่ี กดิ แล้วกร็ กั ษาไวไ้ มใ่ ห้เสอื่ มเสยี ไป เรยี กว่า อนรุ กขฺ นาปธาน

อิทธบิ าท ๔ ความพอใจ จะละความชวั่ พากเพียรประกอบความดใี ห้มขี ้นึ
จติ ตะ มจี ติ มสี ตริ กั ษาจติ ใจของตนไม่ให้มนั สา่ ยไปตามอารมณ์ภายนอก ใหม้ นั ร้สู กึ อยู่
ไปกใ็ ห้มนั ไป มนั อยากไป แตใ่ ห้สตขิ องเรารอู้ ยู่ ไมไ่ ปตามมนั เอาเกบ็ เข้ามาหมกั หมม
ไวใ้ นจิต ไม่รองรับมัน ตอ้ งปลอ่ ยต้องวางมัน มีจิตฝกั ใฝ่อยูใ่ นคุณงามความดี 
จติ มงุ่ ศกึ ษาหาเหตหุ าผล เหตดุ ใี ห้ผลดี เหตชุ ว่ั ใหผ้ ลชวั่ ธรรมทงั้ หลายไหลมาแต่เหตุ
อะไรเปน็ ตวั เหตุ ตวั เหตคุ ืออวิชชา ความโงน่ ่ันแหละ มนั ไหลมา อะไรเป็นอวิชชา
จิตโงน่ ่ันแหละเป็นอวิชชา อะไรเป็นสนิมของอวิชชา มันน่ันแหละมันเป็นสนิมของ
มันเอง เหมือนกันกับเหล็ก เหมือนกันกับดาบและมีด ครั้นไม่ลับมัน อยู่นานๆ
ใครเอามาใส่ล่ะ สนมิ นะ่ มนั ก็เกิดข้ึนของมันเอง มันขนเอามาเอง หมกั หมมทำ� ให้
เกิดสนมิ จนวา่ จิตด�ำ จิตมืดนะ่ มนั เองแหละเป็นสนิมของมนั

เมื่อท�ำสนิมใหม้ ันออกจากดวงจิตนี่แล้ว จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ ใหเ้ ป็นผูห้ ม่ัน
พยายามหัดทรมานส่ังสอนมัน อยา่ ไปปลอ่ ยตามใจมัน มีความรูเ้ ทา่ มัน อย่าไป
ตามใจมัน หัดให้มันอยูใ่ นอ�ำนาจของสติ สติควบคุม ขัดไปขัดมามันก็ขาวหรอก
จติ ขาว จิตสะอาด จติ ผ่องแผ้ว นัน่ แหละ มนสา เจ ปสนฺเนน ภาสติ วา กโรติ วา
จิตเจา้ ของควบคุมขัดเกลาใหด้ ีแลว้ จิตผ่องแผว้ ดีแลว้ จะพูดอยูก่ ็ตามมีความสุข
เท่านนั้ จะทำ� งานทำ� การอยกู่ ต็ ามมคี วามสขุ ทง้ั นน้ั  ตโต นํ สขุ มเนวฺ ติ มแี ตค่ วามสขุ
เทา่ นั้นแหละติดตามผู้น้ัน มีแตค่ วามสุขท้ังหมด ทุกอิริยาบถ ยืน เดิน นั่ง นอน 
ฉายาว อนปุ ายนิ  ี เหมือนกนั กับเงาเทียมตนคนไป ไมล่ ะไมเ่ วน้ ความสุขนัน้

บาปก็อย่างเดียวกัน เพราะความไม่ร้เู ทา่ นำ� ไป มนสา เจ ปทุฏฺเฐน จติ มโี ลภะ
โทสะ โมหะ เผาผลาญอย่แู ลว้ กไ็ มม่ สี ติ จะพดู อย่กู ต็ ามมแี ต่ความทกุ ขต์ ดิ ตามเขาไป

195

ทำ� การงานอยู่ก็มีแต่ทกุ ข์เท่านั้น ตโต นํ อยา่ งนั้นจนแตก แตกแล้วมีทุคติวิบัติ
ทกุ ขฺ มเนวฺ ติ จกกฺ ํ ว วหโต ปทํ ความทกุ ข์ เปน็ ทไ่ี ป
ยอ่ มน�ำเขาไปเหมือนกันกับล้อหรือ
ก ง ล ้อ ก ง จั ก ร อั น โ ค เ ที ย ม แ อ ก ไ ป อ ยู ่ พวกเรามีการสดับรับฟงั แลว้ ให้
แอกนั้นหนักทับคอมันไปอยูท่ ั้งหลัง พากนั ทำ� เอา อยา่ มคี วามประมาทผอู้ น่ื
ทั้งตีนมัน กงลอ้ ก็ยันตีนมันไปอยูจ่ น ไม่ไดท้ �ำจิตของเราเศร้าหมองดอก
เลบ็ หลดุ ไป ทางคอมนั ก็แอกถคู อมนั ไป ผูอ้ ่ืนไม่ได้ท�ำใหจ้ ิตของเราผ่องแผ้ว
อย่จู นคอเปกิ จติ ไมด่ เี ป็นอย่างนนั้  มนสา เราเองเป็นผู้ท�ำให้ผอ่ งแผว้ เราเอง
เจ ปทุฏฺเฐน จิตอันเสพประทุษรา้ ยอยู่ เป็นผู้ท�ำให้จิตของตนเศรา้ หมอง
มแี ตค่ วามทกุ ข์เทา่ นนั้ ความทกุ ขป์ ระจำ� ผอู้ นื่ ช่วยไม่ได้ แมพ้ ระพทุ ธเจ้าก็ช่วย
มันไป เหมือนกับกงจักรกงล้อเหยียบ ไม่ได้ ท่านทรงเป็นผูบ้ อกทางให้
รอยเทา้ โคไปอยูอ่ ย่างนั้น แลน่ ไปอยู่ เทา่ นนั้



196

ผูเ้ หน็ เวทนา ผเู้ หน็ สญั ญา ผเู้ ห็นสังขาร วญิ ญาณ - ฆราวาสธรรม -
เปน็ ผู้เห็นนามรูป นามรูปเปน็ ปัจจัยใหเ้ กิดอายตนะ
ตา หู จมกู ลนิ้ กาย อายตนะเป็นปจั จยั ใหเ้ กดิ ผสั สะ เหน็ อยู่ทใี่ จ
รปู มากระทบตา เกิดวญิ ญาณขน้ึ ทน่ี ่ี เสยี งมากระทบหู
เกิดวิญญาณท่ีน่ีข้ึนอีก รูปดีก็เกิดความยินดี ชอบใจ
เปน็ เวทนา อยากได้ รูปไม่ดี เกลียดชงั เกิดทุกขเวทนา
ไม่อยากได้กเ็ ปน็ ทกุ ขเวทนาขนึ้ ตณั หาเกิดขนึ้ มนั กเ็ ปน็
ปจั จัยให้ตอ่ กัน ตัณหาเปน็ ปจั จัยให้เกิดอุปาทาน
ยึดมั่นถอื มนั่ วา่ ขนั ธ์ของตน วา่ ตวั ของกู กไู ปอยทู่ ่ีโน่น
กไู ปอยทู่ น่ี ี่กเู ป็นพระกเู ปน็ เณรอปุ าทาน  เมอ่ื มอี ปุ าทาน
ความยึดมั่นถือม่ันก็เป็นเหตุใหอ้ ยากเทา่ น้ันแหละ
เป็นเหตุให้เกิดภพ คือ กามภพ รูปภพ อรูปภพ
เกิดภพแลว้ เป็นเหตุให้เกิดชาติ เกิดชาติก็เป็นเหตุ
ใหเ้ กิด ชรา มรณะ เกิด โศกะ ปรเิ ทวะ ทุกขโทมนัส
อปุ ายาส ความคบั แคน้ อดั อนั้ ตนั ใจอย่ใู นสงั สารจกั ร นแี่ ล
ดบั ความโง่อนั เดยี วเท่าน้ันแหละ ผลไมม่ ี ดับเหตแุ ล้ว
ผลกด็ บั ไปตามกนั ผลคอื ได้รบั ความทกุ ข์ ความสขุ ไม่มี
คอื ดบั อวชิ ชา ความโง่ นนั่ แหละตวั เหตตุ วั ปัจจยั มนั เอง
มันเปน็ ตน้ เหตุเป็นปัจจัย

จิตเดิม ธรรมชาติ เปน็ เล่ือมประภัสสร เหมือน
กันกับเพชรพลอย หรือเหมือนกันกับแร่ทองค�ำ
ธรรมชาติมันก็เล่ือมสดใสอยู่ยังง้ัน แม้นว่ามันยัง
ปนอยู่ ปนอยูก่ ับดินนั่นแหละ แล้วอาศัยคนไปขุดมา
รู้จักวา่ เป็นบ่อเพชร บ่อทอง บ่อแร่ นั่นแหละ เขาไป
ขุดเอาขึ้นมา มันติดอยูก่ ับดินอันหยาบน่ัน ขุดมา
แลว้ มาถลุงออก แลว้ เอามาเจียระไนอีก มันจึงส�ำเร็จ
มีแสงวาบๆ เป็นทองค�ำก็เอาท�ำสายสรอ้ ย ตุม้ หู

197

จติ ของเราทง้ั หลายกด็ ี มนั เกลอื กกลว้ั อย่กู บั อารมณ์ทง้ั หลายทงั้ ปวง มนั เอาอารมณ์
เขา้ มาห้อมลอ้ มมนั จติ มนั จงึ เศร้าหมอง แตแ่ สงมนั กม็ อี ย่นู น่ั แหละ อาศยั มาชำ� ระมนั
เราฝกึ มาช�ำระจิตนั่นแหละทุกวันใหม้ ันผ่องใส จิตเราตอ้ งช�ำระใหม้ ันบริสุทธ์ิ ไม่มี
อะไรมาปะปนมนั แลว้ อนั น้ันละจติ บริสทุ ธ์ิ จิตผดุ ผ่อง ผ่องใส จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ
ครัน้ ผ้อู บรมฟอกจิตของตน สงั่ สอนจิตของตน มีสติสมั ปชญั ญะ ระวังจติ อยทู่ ุกเมื่อ
ประคองจิตใหอ้ ยู่ในความดี หม่ันขยันท�ำความเพียร ช�ำระจิต ยกบาปท้ังหลาย
เหล่าน้ีออกจากดวงจิตอยู่ทุกวัน คร้ันละออกแล้วก็เหมือนฝนทั่งให้เป็นเข็มเทา่ น้ัน
ฝนไปฝนไป อาศัยวิริยะความพากเพียร อาศัยฉันทะ ความพอใจ จะเพียรฝึกฝน
จิตของเราให้เล่ือมประภัสสร ฝนไปฝนไป ผลท่ีสุดก็เปน็ จิตบริสุทธ์ิ หมดมลทิน
มีแต่ธาตรุ อู้ นั บริสทุ ธ์ิ เป็นธาตุอนั บริสทุ ธผ์ิ ุดผอ่ ง

จติ บรสิ ทุ ธแิ์ ลว้ จะไปทางไหนกไ็ ด้ ไม่มคี วามเดอื ดรอ้ น เพราะเปน็ แก้วอนั บรสิ ทุ ธแ์ิ ล้ว
บม่ อี นั หยงั มาเกดิ แลว้ จติ แหละเป็นตวั นำ� ทกุ ข์มาให้ ครน้ั ฝกึ ฝนดแี ล้วนำ� ความสขุ มาให้
อยูใ่ นโลกนี้ก็มีสุข ความทุกขไ์ ม่มี อันนี้มันเป็นธรรมดาของอัตภาพของสภาวะ
มันเปน็ เองของมัน ถึงมันจะทุกขป์ านใด มันก็ไม่มีความเดือดรอ้ นหวาดเสียวต่อ
ความทุกข์ มันจะตายก็ไม่มีความอัศจรรย์มัน นี่จึงวา่ รูเ้ ท่าสังขาร รู้เทา่ สังขาร
จติ กไ็ ม่หวั่นไหว จิตไม่มีโศก ไม่มเี ศร้าอาลยั จิตมกี ิเลสเครอ่ื งมลทนิ ก็ปัดออกแล้ว
จิตอันน้ีเป็นจิตบริสทุ ธ์ิ จิตสงู เพราะมันขาดจากการยึดการถอื

เรามาหาความสขุ ใสต่ นไม่ใช่หรอื ตอ้ งการความสขุ เท่านนั้ แล้ว จงึ พ้นจากความ
สะดงุ้ หวาดเสยี ว จติ ของพระอรยิ เจา้ จติ ของพระพทุ ธเจา้ ไม่หวนั่ ไหวต่อโลกธรรม
มลี าภกไ็ มม่ คี วามยนิ ดี เสอื่ มลาภกไ็ ม่มคี วามยนิ รา้ ย ความสรรเสรญิ พระพทุ ธเจ้า
กบ็ ่ต่ืน นินทา พระพุทธเจ้าก็บ่โศกเศร้าเสียใจ ไม่ดใี จ ไมเ่ สยี ใจ จงึ ว่า มีลาภ
เสื่อมลาภ มยี ศ เสอื่ มยศ มสี รรเสรญิ มนี ินทา มีสุข มที กุ ข์ เหลา่ นี้ แปดอย่างนี้
พระพุทธเจ้าและสาวกไมม่ ีความยินดีและโศกเศรา้ ไม่มีความหวั่นไหว ไมม่ ี
ความยนิ ดยี นิ ร้ายกับอารมณแ์ ปดอย่างนี่ล่ะ จึงวา่ จติ ประเสรฐิ จิตเกษม

พวกเราเกิดมากพ็ ากนั เกลยี ดทุกข์อยู่นี่แหละ จงึ ได้พากันแสวงหาที่พง่ึ ของตน
แสวงหาแลว้ กต็ อ้ งต้งั ใจ มคี วามฝกั ใฝใ่ นขอ้ วตั รปฏิบตั ิของตน ไม่ละไมถ่ อนฉนั ทะ

198

ความพอใจ จะบ�ำเพ็ญคุณงามความดีให้มีขึ้น วิริยะ เพียรละชั่ว เพียรบ�ำเพ็ญ
บุญกุศลใหเ้ กิดข้ึน จิตฝักใฝ่อยูใ่ นคุณงามความดี ฝกั ใฝ่อยู่ในสติ ให้จิตอยูก่ ับจิต
ใหใ้ จรู้จกั ใจ ให้จิตอยู่ทีจ่ ิต ใหใ้ จอย่ทู ใี่ จ มีสติประจำ� ไวท้ ่ีน่ัน แกนอยนู่ ่นั ครัน้ ผู้ตงั้ ใจ
บำ� เพญ็ หดั ทำ� สตขิ องตนใหส้ ำ� เหนยี กแม่นยำ� แลว้ จติ เป็นผทู้ ำ� สตใิ หส้ ำ� เหนยี กแม่นยำ�
ครั้นมีสติแลว้ ก็เป็นผูส้ มาทานเอาอยูใ่ นสิกขาบทของตนนั่นแล ใหม้ ันเปน็ อธิศีล
อธิศีล คอื ศีลบ่มหี ว่ันไหว ศลี บม่ ีขาดวนิ่ ไมม่ ีขาดตกบกพร่อง ศีล เรยี กว่าปกติศีล
อธิสีลสิกฺขา สมาทาเน อธิจิตฺตสิกขา สมาทาเน อธิปญฺญาสิกฺขา สมาทาเน
อปฺปมาเทน สมฺปาเทถ ดว้ ยความไมป่ ระมาท เป็นนิจศีลอยู่ทุกเมื่อ ผูม้ ีสติ
สัมปชญั ญะทำ� ให้แมน่ ย�ำให้ช�ำนาญแลว้ ผนู้ ัน้ ได้ช่ือวา่ เป็นผูใ้ กลพ้ ระนิพพาน ชื่อว่า
เป็นผู้ไม่ประมาท ใกล้ตกปากทางพระนิพพานแลว้

ตนอยู่ไหน ตนมีความทุกขก์ ็เพราะตนทำ� ให้ตน เม่ือทำ� ความดีใส่ตนแล้ว
ชอ่ื ว่าเป็นผ้รู ้ตู น เปน็ ผยู้ กตน เป็นผ้รู กั ษาตน ตนนนั่ แหละเป็นทพี่ งึ่ แก่ตน อตตฺ า
หิ อตตฺ โน นาโถ เป็นทพ่ี งึ่ ของตนไดก้ เ็ พราะตนนนั่ แหละทำ� ความดี เป็นทพี่ งึ่ ของตน
ไมไ่ ด้กเ็ พราะตนเปน็ ผเู้ กยี จครา้ น ไมม่ ศี รทั ธาเขา้ วดั ฟงั ธรรมรกั ษาศลี มนั มวั แต่
เหน็ แกป่ ากแกท่ ้อง มวั หามาใสป่ ากใสท่ อ้ ง คอยเวลาทมี่ ันตายนน่ั แหละ

ในเบอ้ื งตน้ ใหต้ รวจดู ทานบารมกี ด็ ี ศลี บารมกี ด็ ี เนกขมั มบารมกี ด็ ี ตรวจดมู นั อยู่
อยา่ งไร อย่ทู เ่ี ราจะก้าวขน้ึ ก้าวขนึ้ ชน้ั สงู ใหท้ านสงู นน่ั แหละเรยี กว่า ปรมตั ถบารมี
เลือดเน้ือชวี ิตจติ ใจ น่ีแหละ ถวายบชู าพระพทุ ธเจา้ ถวายบูชาพระธรรม ถวายบชู า
พระสงฆ์ ไดช้ ่อื วา่ ให้ทานสูง อนั นไี้ ด้ชือ่ วา่ เป็น ปรมัตถทาน ปรมัตถบารมี ใหท้ าน
เลอื ดเนอื้ ไม่เหน็ แก่ชวี ติ จติ ใจ มงุ่ หน้าทำ� ความเพยี รจนตลอดวนั ตาย เปน็ ทานบารมี
ไม่ต้องหวงแหนมนั ไว้ ตอ้ งให้มันท�ำความเพียร อย่าปล่อยใหม้ นั ชำ� รดุ ทรุดโทรมไป
มนั มแี ต่จะครนั้ ชำ� รดุ ทรดุ โทรมไป เหมอื นเรอื ครำ่� คร่านน่ั แหละ มนั มแี ตส่ ลกั หกั พงั ไป
คร้ันมันเฒา่ มาแลว้ มันบ�ำเพ็ญเพียรอีหยังบ่ไดห้ รอก ยังหนุ่มยังแน่นตั้งใจท�ำ
ความเพยี รไป คร้นั เฒา่ อย่างอาตมานี่มันผ่านมาแล้ว แมจ้ ะแบกแต่กระดกู ของตน
กจ็ ะตายแล้ว ปานนน้ั มนั กบ็ ่ยอมให้เขา หอบมนั อยนู่ แ่ี หละกระดกู จะตายใหม้ นั ตาย
อยู่นั่น ไมย่ อมหรอกเรือ่ งทำ� ความเพียร เอามนั จนตาย

199

พระพุทธเจา้ ก็ดี พระสาวกก็ดี เม่ือส�ำเร็จกิจแล้ว เป็นพระพุทธเจ้าแล้ว
ก็ยังขยันกวา่ เราเสียอีกน่ีแหละ ทา่ นหมดเช้ือแลว้ หมดเชื้อแล้วอยูเ่ ย็นมีความสุข
หมดความขลี้ ักข้ขี โมย หมดขโ้ี กรธ ขโี้ ลภ ข้หี ลง นีห้ มดแลว้ พระพทุ ธเจ้าและสาวก
กห็ มดแล้ว ขเี้ กยี จขค้ี ร้าน ความขเ้ี หงา ขเ้ี ซา ขห้ี ลบั ขน้ี อน พวกนหี้ มดแล้ว พระอรยิ เจ้า
ทา่ นทำ� ความเพียร ขุดข้ึนมา ขุดตัณหาข้ึนมา รากน้อยรากใหญข่ ุดขน้ึ มา เอาข้ึนมา
แลว้ กก็ วาด กวาดขนึ้ มาแลว้ เอาใส่ไฟ เผาไฟ กวาดแล้วกวาดเลา่ เผาแลว้ เผาเลา่
เผาแลว้ โกยลงน�้ำที่เช่ียว โกยแล้วโกยเลา่ จนหมด ครั้นหมดเชอ้ื ตา่ งๆ แล้วไมม่ ดี อก
ความเกียจคร้าน เราอย่าหมั่นขยนั แต่ทำ� บาป ให้ขยันแตท่ ำ� ดี ทำ� ความบริสุทธิ์
ทำ� บญุ ทำ� กศุ ลน่ี ใหห้ มน่ั ทางน้ี บาปด่ากนั บาปมนั ขน้ึ มา หนา้ แดง เรานเี้ ฮด็ บาปคอื
ขยนั แท้ ไปขยนั ใสบ่ าป ครนั้ ร้จู กั วา่ บาปกบ็ ่ขยนั แลว้ จงึ ว่าให้กลวั บาป คำ� เถยี งกนั
ดา่ กัน ทะเลาะวิวาทเบยี ดเบยี นกันเปน็ บาป อยากไปขันใส่มัน ใหห้ ลกี ไปไกล
ให้เอาใจเว้น อย่าเอาใจใส่ ครน้ั เว้นแลว้ มนั กบ็ ม่ คี วามเดอื ดรอ้ น ใครจะวา่ อย่างใด
กต็ าม เราไมว่ ่าใสเ่ ขาดอก เขาตฉิ นิ นนิ ทา เขากว็ ่าใส่เขาเอง ปากเขามนั กอ็ ยทู่ เี่ ขา
หูเขามันก็อยู่ที่เขา เราจะเอามันเข้ามารวมไว้ใหม้ ันเผาตนหยัง เราก็เปน็
คนอยู่ไมใ่ ชค่ วาย มันเปน็ อย่างใด เราจึงตั้งสติฟาดมัน มันเปน็ หยังใหด้ ูมัน
เรารจู้ กั มนั แลว้ เราร้จู กั กิเลสแล้ว ดูมนั เฉพาะตาย ถา้ มึงไมต่ าย กูตาย เอาให้
ตนเสยี ความดีนนั่ บาปกอ็ ย่ทู ี่ใจ ใจนี่เป็นผวู้ ่า จงึ ว่าให้อบรมใจ มีสตสิ ง่ั สอนใจ
อบรมนแ่ี หละ จะเอาภพเอาชาตกิ แ็ มน่ ใจน่ีแหละ จะเป็นวัวเป็นควายกแ็ ม่นใจ
น่ีแหละ ครน้ั ดบั ใจน้ไี ด้ มันกม็ ีแตเ่ ยน็ มีแตค่ วามสุขเทา่ นน้ั

มันจะไปเกิดบ่อนใด ก็แม่นจิตนี่แหละไปยึดไปถือ มันเจ็บมันปวดก็เพราะใจ
ไปยึดไปถือ ครนั้ ใจไม่ยดึ ไม่ถือแลว้ มนั จะรจู้ กั การตาย รู้จกั มันดี ถา้ ใจไม่ยดึ มนั จะ
มีทุกขเวทนามาจากไหน ไม่มี ดับเวทนาดับสัญญาได้อยู่ ดับสังขารความปรุง
ได้อยู่ ดับวิญญาณความรูท้ างทวารทั้ง ๖ ได้อยู่ ของใครของมัน จะมีตนมีตัว
มันไมม่ ีตนมีตัว แต่ว่ามันจ�ำมันหมายวา่ เจ็บนั่นเจ็บน่ี เวทนาก็พร้อมกันเกิดขึ้น
มนั กไ็ มม่ ตี วั มตี น มนั กด็ บั ไปอกี ดบั กจ็ ติ มนั สงบนนั่ แหละ ครน้ั จติ มนั สงบแท้ๆ ไมม่ คี น
มีหยังจะมาเจ็บอยู่น่ี จึงวา่ ให้อบรมจิตนั่นแหละ จิตสงบแล้วไม่มีผู้ใดเจ็บ คนบม่ ี

200

บอ่ นตัวไมม่ ีแล้วก็ไมม่ ีอะไรเจ็บแลว้ ใหต้ น ตบแตง่ เอาเอง รกั ษากาย วาจา ใจ
ครน้ั ไมม่ คี นแล้ว เป็นหยงั จะมาจ�ำหมาย ของตนให้บริสุทธิ์ ไมแ่ ตะไมต่ ้องส่ิงอัน
นน่ั อยู่ บัญญตั ิอยู่กร็ ้วู ่าไม่มีคน บัญญตั ิ หยาบชา้ เลวทราม ศีลห้าก็เป็นมนุษย์
ทางตา หู จมูก ล้ิน กบ็ ม่ ี บม่ ีคน มนั วา่ ง สมบัติ เป็นสวรรคส์ มบัติ ศีลแปดก็ดี
หมดละ ไม่มีอุปาทานแลว้ วางเสียก็มี เป็นมนษุ ยแ์ ละสวรรคส์ มบตั ดิ ว้ ย กใ็ ครเลา่
ความสขุ นั่นแหละ จิตสงบ ใหฝ้ ึกหดั จิต แตง่ เอาให้ ก็เราน่ันแหละแตง่ เอาเอง
ใครจะทำ� ให้เราได้ พระพุทธเจา้ เปน็ แต่
ตัวรักษาดีแล้ว ไดช้ ่ือว่าเปน็ ผูแ้ ต่ง ผ้สู อน มนั กแ็ ม่นเรานนั่ แหละ ครนั้ ทำ� บด่ ี
ความสุขให้ตน น่ันแหละเรียกว่าตนมี กแ็ ม่นเรา เพราะเหตนุ น้ั ใหร้ กั ษาใหม้ นั ดี
ที่พึ่ง ปจั จุบันก็ไม่มีความเดือดรอ้ น ที่ไมด่ ีอย่าไปท�ำ พวกเราน่ีมันสับสน
แต่งทรพั ยส์ มบตั ิให้ตน สมบตั ิภายนอก ปนกันนี่ท้ังดีท้ังชั่ว มันจึงสุขก็ได้ ทุกข์
มากมาย ไม่มีความยากจน ตบแตง่ ก็ได้ เอาอยู่อยา่ งนั้นแหละ ไดร้ บั ทงั้ สขุ
มนษุ ย์สมบตั ใิ หต้ น ตบแต่งสวรรคส์ มบตั ิ ไดร้ บั ท้งั โทษ เพราะสบั สนปนกัน



201

- ฆราวาสธรรม - พระพุทธเจ้าวา่ เราเป็นผู้แนะน�ำสั่งสอนทาง
ทางออกจากโลกก็ดี ทางไปสวรรค์กด็ ี ทางไปนพิ พาน
ควบคุมใจ ก็ดี เราตถาคตเป็นผู้แนะน�ำสั่งสอนใหเ้ ทา่ น้ันแหละ
ตนนั่นแหละ พวกอุบาสก-อุบาสิกาท้ังหลายต้องท�ำ
เอาเอง แม้พระพุทธเจ้าท้ังหลาย พระสาวกท้ังหลาย
กท็ ำ� เอาเองทง้ั นนั้ ตนแหละทำ� ใหต้ น ตนจะออกจากโลก
กแ็ ม่นตนตงั้ อกตง้ั ใจทำ� ใส่ตน ตนจะตดิ อย่ใู นโลกกแ็ ม่น
ใจของตนไมอ่ ยากไป เพราะหลงตนหลงตัว

ทางปฏบิ ตั นิ ่ะเรากไ็ ดย้ นิ ไดฟ้ ังมาแลว้ แลว้ กต็ ง้ั อก
ตง้ั ใจปฏบิ ตั เิ อา พระพทุ ธเจ้าแนะสง่ั สอน หรอื ครบู า
อาจารยแ์ นะน�ำสั่งสอน ก็ไม่หนีจากกายคตา คือ
ปัญจกกรรมฐาน นแี่ หละตอ้ งพจิ ารณา เราจะพจิ ารณา
นอกมันไปกเ็ ปน็ นอกไปเสีย ไกลไปเสีย เพื่อใหจ้ ิต
ให้ใจนน่ั แหละร้จู ักสกนธก์ ายอนั น้ี ร้จู ักก้อนอนั นี้ว่า
มันเปน็ อยา่ งหนึ่ง มันเปน็ ของกลาง ไม่ใชข่ องใคร
สักคน เรานไ้ี ด้สมบตั ิอย่างดคี อื สกนธก์ ายน้ี มตี า หู
จมูก ลน้ิ กาย ดี มใี จดี ไดส้ มบัติอันดมี าใช้ เราจะ
ใชส้ อยมัน เราจะเดนิ ทางไปสวรรค์ก็ดี จะเดินทาง
ไปพระนิพพานก็ดี ต้องอาศัยอันน้ี จะมีแตด่ วงจิต
อยา่ งเดยี วก็ไมส่ �ำเรจ็ อะไรหมดทง้ั สนิ้

พระพทุ ธเจา้ ได้เทศนไ์ วว้ ่า มโนปพุ พฺ งคฺ มา ธมมฺ า
มโนเสฏฺฐา มโนมยา ธรรมทัง้ หลาย จะทำ� ดีทำ� กศุ ลดี
ก็ใจน่ีแหละเป็นผู้ถึงกอ่ น เป็นผู้ถึงพร้อม จะท�ำบาป
อกศุ ล ก็ใจนแ่ี หละ จะผ่องแผว้ แจ่มใส เบกิ บาน ก็ใจ
นแี่ หละ จะเศร้าหมอง ข่นุ มวั กใ็ จนแี่ หละ ใจเศร้าหมอง
ขุน่ มัวแล้วก็ไม่มีความสุขอยู่ในโลก จะอยู่ท่ีไหนก็ไมม่ ี

202

ความสุข คร้ันใจผอ่ งแผว้ ล่ะก็ พระพุทธเจ้าทา่ นว่า มนสา เจ ปสนฺเนน บุคคล
ผ้มู ใี จผอ่ งแผ้วดแี ล้ว แม้นจะพูดอยกู่ ม็ ีความสุข แมน้ จะทำ� อยู่ก็มีความสขุ ตโต นํ
สขุ มเนวฺ ติ อยทู่ ีไ่ หนๆ กม็ คี วามสุข มีความสขุ เหมอื นกบั เงาเทยี มตนไป ฉายา ว
อนปุ ายนิ ี เหมอื นเงาเทยี มตนไป ไปสวรรคก์ ด็ ี มามนษุ ยก์ ็ดี เพราะเหตุน้นั แหละ

ใหเ้ ราพากันต้ังใจอบรม ตั้งสติไว้ท่ีใจ ควบคุมใจให้มีสติมีสัมปชัญญะ มีสติ
รู้ตัวอยู่เสมอ การท�ำการพูดการคิดก็อยา่ ใหม้ ันผิดมันพลาดไป ควบคุมใหม้ ันถูก
ครัน้ มันผิดมันพลาด เราก็มสี ติยัง้ ไว้ ละ ปลอ่ ยวาง ไมเ่ อามันทางมันผิดนะ่

พระพุทธเจา้ แสดงไว้ ทางไปนรก ทางไปสวรรค์ ทางไปพรหมโลก ทางไป
พระนพิ พาน พระองค์ก็บอกไวแ้ ล้ว ให้วางกายใหเ้ ปน็ สุจริต วาจาให้บรสิ ทุ ธ์ิ ใจให้
บรสิ ทุ ธ์ิ นท้ี างไปสวรรค์ ทางมามนษุ ย์ ทางไปพระนพิ พานให้บรสิ ทุ ธอ์ิ ย่างน้ี ทางไป
นรก นั่นเรียกวา่ ทุจริตทางกาย ทางวาจา ทางใจ อันน้ีไปทางนรก เราจะเว้นเสีย
ไมไ่ ปละ รู้จักแล้ว เราจะไปแตท่ างทร่ี าบรืน่ ทางสบาย การเดินกท็ างกาย วาจา ใจ
เท่านนั้ แหละ ผทู้ จ่ี ะเทยี่ วเอาภพเอาชาตนิ บั กปั นบั กลั ปไ์ มไ่ ดต้ ง้ั แตโ่ ลกเป็นโลกมา
คือดวงจิตของเราน่ีเอง ดวงจิตของเราน่ีเองเป็นผู้กอ่ กรรมกอ่ เวรแล้วกอ่ เลา่
ไม่เบื่อสักที ก็แมน่ ดวงจติ ของเรานี่แหละ เพราะเหตุนั้นเราจึงต้องอบรมจิตใจ
ของเราใหด้ ี ให้ใจรเู้ สยี ใจนแ่ี หละมนั เป็นผหู้ ลงจนนบั ภพนบั ชาตไิ ม่ได้ ภพนอ้ ย
ภพใหญ่ เที่ยวอยู่ในสังสารจักรน่ี จึงให้เข้าใจเสียวา่ เจ้ากรรมนายเวรคือใจ
ตัวกรรมแม่นใจ ดวงใจอันเดียว วิญญาณอันเดียว เปน็ ตัวกรรมแตง่ กรรม
เสยี แล้วใหเ้ วยี นตายเวยี นเกิดทน่ี ่ี ไมเ่ ลกิ เราร้จู กั แลว้ เราตอ้ งควบคมุ ใจ แนะนำ�
สั่งสอนใจ ท�ำใจของเราใหผ้ ่องแผว้ วา่ เอาย่อๆ นี่แหละ กวา้ งขวางก็ไดย้ ินมา
พอแฮงแล้ว เอายอ่ ๆ ควบคมุ ใจเทา่ น้ันแหละ เดีย๋ วน้ี ใจน้ี เจา้ ของนรก ก็แมน่ ใจ
นี่แหละ มา้ ง (เลิก, ท้งิ ) นรกก็แมน่ ใจนแ่ี หละ คร้นั มันไม่ดีละ่ กร็ ้อนเปน็ ทุกขเ์ หมือน
ใจจะขาด ครั้นใจไม่ดีละ่ มันกลุ้มใจเปน็ ทกุ ขจ์ นฆา่ ตวั ตายนแ่ี หละ ถือวา่ เราเปน็ เรา
นี่กเ็ พราะใจนี่แหละ ไมใ่ ช่อ่นื ดอก เพราะมันไม่รู้ ท่านเรยี กว่า อวิชชา ตัวใจน่ีแหละ
อวิชชา

203

เราจึงควรสดับตรับฟงั แลว้ ก็คน้ คว้าพิจารณาใคร่ครวญหาเหตุผล ทุกข์มัน
มาจากไหน ใหพ้ จิ ารณาทุกขก์ อ่ น ทุกขเ์ ป็นของจรงิ อันประเสรฐิ มันมาจากไหน
ค้นข้ึนไปซิ เหน็ แตม่ าจากโงน่ ่ันแหละ ดวงจิตเปน็ ผโู้ ง่ มนั ต้องเปน็ มนั ตอ้ งเดอื ดร้อน
มันถึงใคร่ มันถึงปรารถนา มันถึงอยากเป็นนั่นเปน็ น่ี มันไมอ่ ยากเป็นนั่นเปน็ น่ี
เพราะเกลียดเพราะชงั มันชังมนั ก็ไม่อยากเปน็ แล้วก็หาของมาแกไ้ ข หาคดิ อีหยัง
มาทา หนงั เหย่ี วกเ็ อามาทาลอกหนงั ออก มนั ได้กว่ี นั มนั กเ็ หย่ี วอย่างเกา่ นหี่ าทางแกด้ ู
ท่านวา่ วภิ วตณั หา มนั เปน็ กบั ดวงใจ เราสดบั รบั ฟงั อย่อู บรมอย่ทู กุ วนั นี้ ทำ� ความเพยี ร
อย่ทู กุ วนั น้ี กเ็ พราะอยากร้จู กั ใจของเรา ครน้ั รแู้ ล้วกค็ มุ เอาแตใ่ จนี่ ขดั เกลาเอาแต่น่ี
สงั่ สอนเอาแตน่ ี่ ใหม้ นั ร้เู ทา่ สงั ขารนแ่ี หละ มนั ไม่ร้เู พราะมนั โง่ วา่ แมน่ หมดทง้ั กอ้ นนี้
เป็นตัวเรา เปน็ ผู้หญิง ผู้ชาย ยึดถือไป ยึดถือออกไปรอบๆ แผ่นดิน ยึดในตัว
ยงั ไมพ่ อ ยดึ แผ่นดนิ ออกไปอกี นแ่ี หละเพราะความหลงกย็ ดึ ทง้ั การทำ� การงานทกุ สง่ิ
ทกุ อย่าง เรยี นวชิ าศลิ ปะทกุ สงิ่ ทกุ อย่างกเ็ พอ่ื จะบำ� รงุ บำ� เรอครอบครวั ของตน บำ� รงุ
บ�ำเรอตนใหเ้ ป็นสุข บ�ำรุงพระศาสนาค้�ำจุนพระศาสนาก็เป็นการดี ขอใหร้ ูเ้ ท่า
แลว้ อย่าไปยดึ มันเทา่ นน้ั แหละ

ในปฏิจจสมุปบาท ทา่ นว่า อวิชชาใหเ้ กิดสังขาร สังขารเป็นปจั จัยให้เกิด
วิญญาณ วิญญาณเป็นปัจจัยให้เกิดนามรูป ทา่ นว่าใหด้ ับความโงอ่ ันเดียวเท่านั้น
ผลดับหมด เพราะธรรมท้ังหลายไหลมาแต่เหตุ ธรรมทั้งหลาย คือ ดีก็ดี ช่ัวก็ดี
ไหลมาแต่เหตุ คอื ความโง่ ความไมเ่ ข้าใจ คดิ วา่ เป็นตวั ตน กไ็ ด้รบั ผลเปน็ สขุ เป็นทกุ ข์
สบื ไป ท่านเรยี กวา่ วฏั ฏะ การวน วนไมม่ ที ี่ส้ินสุด เราท่องเท่ยี วอยู่น่ีตัง้ แตแ่ ผน่ ดิน
เป็นแผ่นดินมาแลว้ ทกุ คนนี่แหละ คณุ หมอกด็ ี คุณหญงิ ก็ดี เกิดมาชาตินน้ี ับวา่ บุญ
บารมอี ันพวกทา่ นท้งั หลายไดอ้ บรมศลี ห้า ศลี แปด รกั ษาอโุ บสถ รกั ษากรรมบถสิบ
จึงเปน็ ผูส้ มบูรณ์บริบูรณ์ เกิดมาก็ไมเ่ ป็นผู้เกียจครา้ น ไมเ่ ปน็ ผู้มักหน่าย มีความ
พอใจแสวงหาวิชาศิลปะจนได้เป็นใหญ่เป็นโตสูง น่ีก็เพราะบุญกุศลของเราได้
สรา้ งสมอบรมมา จงึ ว่า ปพุ เฺ พ จ กตปญุ ญฺ ตา คอื บญุ ไดส้ รา้ งสมไวแ้ ล้วแตก่ าลกอ่ น
แล้วก็ได้เกิดในประเทศอันสมควร ประเทศอันสมควร ก็หมายเอาสกนธ์กาย
อันน้ี หรือจะหมายเอาแผ่นดิน ฟา้ อากาศ ก็ได้ หรือจะหมายเอาประเทศท่ีมี

204

พระพุทธศาสนาต้ังม่ันถาวร และมีอาจารย์ นักปราชญ์ แนะน�ำสั่งสอนได้ อันน้ี
ก็วา่ ประเทศอันสมควร ปุพฺเพ จ กตปุญฺญตา พวกเราได้เคยอบรมสรา้ งสมบุญ
กุศลมาหลายภพหลายชาติแลว้ จึงเปน็ ผู้บริบูรณส์ มบูรณ์ แล้วก็ได้เกิดในประเทศ
อันสมควร ประเทศเราได้นับถือพระพุทธศาสนาตั้งแตบ่ รรพบุรุษจนตราบเทา่
ทุกวันนี้ เราก็ได้นับถือพระพุทธศาสนา แลว้ ก็ได้ตั้งตนไว้ในท่ีชอบ คือต้ังตนไวใ้ น
การสดับตรับฟงั ทราบทุกส่ิงทุกอย่างในทางโลกก็ดี เกื้อกูลอุดหนุนโลกใหเ้ จริญ
ได้ชอ่ื ว่าเป็นผทู้ ำ� อตั ตประโยชน์ ประโยชนข์ องตนกไ็ ดแ้ ล้ว ประโยชน์ของผอู้ นื่ ของโลก
ก็ไดอ้ ยู่ นีแ่ หละช่อื ว่าตั้งตนไว้ในทช่ี อบ แล้วกต็ ้งั ตนอยูใ่ นศลี ในการภาวนา ตั้งตน
อย่ใู นการสดบั รบั ฟงั นเี่ รียกว่า อตตฺ สมฺมาปณธิ ิ ต้ังตนในท่ีชอบ ทา่ นกล่าวว่าเปน็
มงคลอนั ประเสรฐิ สดุ ให้มสี ตคิ วบคมุ ใจของตน อนั นกี้ ช็ อื่ ว่าตง้ั ตนไว้ในทชี่ อบอย่าง
สงู สุด นแ่ี หละให้ควบคมุ ดวงจิตของเราใหร้ ู้จักเสีย

เจา้ กรรมนายเวร กค็ อื ดวงจติ ของเรานแี่ หละ ผนี รกกเ็ ป็นดวงจติ อนั น้ี สวรรค์
กเ็ ป็นดวงจติ อนั น้ี พรหมโลกกด็ วงจติ อนั นี้ ครน้ั ร้จู กั แล้ว กท็ ำ� ความเพยี รต่อไปจน
เกดิ นพิ พทิ า ความเบอ่ื หนา่ ยในอตั ภาพของตนทเี่ ปน็ มาหลายภพหลายชาติ การเกดิ
เวียนไปเวยี นมาก็ไมไ่ ด้อะไร มแี ต่การสดับรับฟัง มแี ตก่ ารบริจาคให้ทาน มีแต่ศีล
ของตนเทา่ นเ้ี ป็นอรยิ ทรพั ย์ ทรพั ยภ์ ายในตดิ ตามไปกบั ดวงจติ ของเราทกุ ภพทกุ ชาติ
จิตเมื่อมันท�ำความช่ัวไว้แล้วก็ไมล่ ืม ใครไม่ตอ้ งการสักคนหมดท้ังนั้นความชั่ว
บาปกรรม ให้คิดดูแตน่ ักโทษเขาลักเขาปล้นสะดมแลว้ เขาก็หลบหนีไปซ่อนอยู่
ตามปา่ ตามเขาตามถ้�ำตามดง เพราะเขาไมป่ รารถนาจะให้พวกต�ำรวจไปจับเขา
อนั นนั้ มนั กไ็ มพ่ น้ ดอกบาปนะ่ ฉนั ใดกด็ ี ครน้ั ทำ� ลงแลว้ ทำ� บาป อกศุ ลจติ กเ็ ป็นผจู้ ำ� เอา
ไปตกนรกกแ็ ม่นดวงจิตนัน่ แหละเป็นผไู้ ปตก

อตั ภาพ คอื ร่างกายของเราน้มี ันกน็ อนทับดิน ส่วนดนิ มนั ก็เปน็ ดิน ส่วนน้�ำ
มนั กเ็ ปน็ นำ�้ ส่วนลม ส่วนไฟ มนั กเ็ ปน็ ลมเปน็ ไฟของเกา่ มนั ครนั้ พ้นแล้วกก็ ลบั มาถอื
เอาดนิ เอานำ้� ของเกา่ อกี เท่านน้ั แหละ แลว้ กม็ าใชด้ นิ นำ้� ลม ไฟ นแี่ หละครบบรบิ รู ณ์
เอามาใชใ้ นทางดีทางชอบก็เปน็ เหตุให้ไดส้ �ำเร็จมรรคผลพระนิพพาน พระพทุ ธเจ้า
สร้างบารมกี ็อาศัยดินอันน้แี หละ ประเทศอนั สมควรอนั นแ้ี หละ สาวกจะไปนิพพาน

205

ตามพระพุทธองคก์ อ็ าศัยอัตภาพอันนี้ คร้ันไม่อาศัยอัตภาพอันนี้ มีแต่ดวงจิตหรอื
มแี ตร่ า่ งเฉยๆ กไ็ ม่สำ� เรจ็ อะไรหมดทงั้ นน้ั เหมอื นกนั ทง้ั นนั้ พวกเทพยดาได้ชมวมิ าน
ชมความสขุ อย่ตู ลอดชวี ติ ชมบญุ ชมกศุ ล กท็ ำ� เอามาแต่เมอื งมนษุ ย์ ครนั้ จตุ แิ ล้วกไ็ ด้
ไปเสวยผลบญุ กศุ ลของตน ครนั้ หมดบญุ แล้วกล็ งมาเมอื งมนษุ ย์มาสร้างอกี แล้วแต่
จะสร้างเอา อันชอบบญุ ก็ต้งั หน้าตั้งตาท�ำเอาบุญ อนั ชอบบาป กต็ ้งั หนา้ ต้ังตาท�ำ
เอาบาป เหมอื นพระเทวทัตน่ัน ต่างคนตา่ งไปอยา่ งนนั้

อาตมาบอกไว้เท่านั้นวา่ ใหม้ ีสติคุมดวงจิต สัตวน์ รกก็แม่นจิต สัตว์อเวจี
ก็แมน่ จิต พระอินทร์ พระพรหม ก็แม่นจิต ที่เขา้ พระนิพพานก็แม่นจิต ไมใ่ ช่ใคร
จติ ไม่มตี นมตี ัว จติ เหมือนวอก (ลิง) น่ีแหละ แล้วแต่มนั จะไป บงั คับบญั ชามนั ไมไ่ ด้
แล้วแตม่ ันจะปรุงจะแต่ง บอกไม่ไดว้ า่ ไม่ฟงั เพราะฉะน้ัน พระพุทธเจ้าให้วาง
มันเสีย อย่าไปยึดถือมัน ก็จิตนั่นแหละมันถือวา่ “ตัวกู” อยูเ่ ดี๋ยวน้ีก็ดี เราถือวา่
เราเป็นผูช้ าย เราเป็นผูห้ ญิง ก็แมน่ จิตนั่นแหละเป็นผู้ว่า มันไมม่ ีตนไม่มีตัวดอก
แลว้ พระพทุ ธเจ้าว่าให้วางเสยี ให้ดบั วญิ ญาณเสยี ครน้ั ดบั วญิ ญาณแลว้ ไมไ่ ปก่อภพ
กอ่ ชาติอีก ก็นั่นแหละพระนิพพานแหละ แน่ะ พระพทุ ธเจา้ บอกอยา่ งนั้น มันไม่อยู่
ทอ่ี ืน่ นรกมนั กอ็ ยู่น่ี พระนิพพานกอ็ ยนู่ ่ี อยา่ ไปคน้ ทีอ่ ื่น อยา่ ไปพิจารณาทีอ่ ืน่ ใหค้ น้
ท่ีสกนธ์กายของตนให้มันเห็นเป็น อสุภะอสุภัง ให้เห็นเปน็ ของปฏิกูล ใหเ้ กิด
นิพพิทาความเบื่อหน่ายมันนั่นแหละ แต่มันเห็นว่าเป็นของสวยของงามของดี
ดวงจิตน่ันเมื่อมีสติควบคุม มีสัมปชัญญะคน้ หาเหตุผลใคร่ครวญอยู่ มันเลยรู้เห็น
ว่าอัตภาพรา่ งกายน้ีเป็นของปฏิกูล ของเน่าเปือ่ ยผุพัง แลว้ มันจะเกิดนิพพิทา
ความเบ่ือหนา่ ย จิตน่ันแหละเบ่ือหน่าย จิตเบ่ือหน่าย จิตไมย่ ึดมั่นแลว้ เรียกว่า
จติ หลดุ พน้ ถงึ วมิ ตุ ติ วมิ ตุ ติ คอื ความหลดุ พน้ จากความยดึ ถอื หลดุ พ้นจากอปุ าทาน
ความยึดม่นั ถือมนั่ พ้นจากภพจากชาติ ตั้งใจทำ� เอา



206

สมณธรรม

พระธรรมเทศนา

หลวงปขู่ าว อนาลโย

วดั ถำ้� กลองเพล จงั หวัดหนองบัวล�ำภู

207

-สมณธรรม -

หลัก

๔ ประการ
ของคนดี

(โอวาทสอนพระภิกษุใหม่ คนท่ีปรารถนาจะเป็นคนดี ควรตั้งอยู่ในหลัก ๔
วนั ท่ี ๑๙ ก.พ. พ.ศ. ๒๕๒๓) ประการ คอื

๑. อนิฏฺฐริ คือ การไมโ่ กรธตอบต่อบุคคลโกรธ
ให้เรา

๒. อนานคุ ทิ โฺ ธ คอื ความไมย่ นิ ดใี นเครอื่ งสกั การะ
ผอู้ ื่นทีท่ ำ� แลว้ แกเ่ รา

๓. อเนโช คอื การหาความโลภไมไ่ ด้

๔. สพฺพธิสโม คือ ความรูส้ ึกท่ีไม่รักใครชังใคร
มีจิตใจเสมอเหมือนกันหมด โดยเฉพาะผู้ที่เปน็
พระภกิ ษใุ หม่



208

การบวชเม่อื สรปุ แลว้ มีอยู่ ๒ ประการคอื ม- - สมณธรร

๑. การบวชเล่น หรือการบวชประเพณี อานิสงส์
มอี านสิ งสน์ ้อย
ของ
๒. การบวชจริง เชน่ การบวชด้วยความศรทั ธา
การบวชหนีวัฏสงสาร มีอานิสงส์มาก จนสามารถ การบวช
ถอนภพชาติไม่มเี หลอื
(เทศน์อบรมพระเณร
การบวช คือ การชุบชีวิตเก่าใหเ้ ป็นชีวิตใหม่ ทีบ่ วชใหม่ เม่ือวันที่
การบวช คอื การชำ� ระลา้ งความชว่ั ให้เปน็ คนดี การบวช ๑๐ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๑๖)
คือ การเปลี่ยนสังคมมนุษยใ์ หเ้ จริญและกา้ วหน้า
มีความสงบสุข การบวช คือ การทดแทนหน้ีเก่า
อันมหาศาลอันบุคคลท้ังหลายไม่สามารถที่จะชดใช้
ให้หมดได้

“ตสฺมา ปพฺพชฺชํ วิโสธเย” เพราะเหตุนั้น
พระสัมมาสัมพุทธเจา้ จึงทรงสรรเสริญวา่ “การบวช
เปน็ ยอดพระบารมธี รรมทง้ั หลายอนั วเิ ศษ สามารถ
ดบั เพลงิ ทกุ ข์และเพลงิ กิเลสใหห้ มดไป การบวชคอื
การชว่ ยเหลือมนุษย์ที่หลงตกหลุมถ่ายเพลิงและ
กองทุกข์อันแสนท่ีจะเร่าร้อนเจ็บปวดแสนสาหัส
ใหข้ น้ึ มาไดโ้ ดยความปลอดภัย”

ดงั นน้ั พวกเธอทง้ั หลายจงยนิ ดใี นการเสยี สละชวี ติ
ฆราวาสมาบวชบรรพชาอุปสมบทในพระพุทธศาสนา
อย่าให้เสียผลที่มุง่ มา อยา่ บวชเล่นบวชหัว บวชลัก
บวชลี้ บวชข้ีใสถ่ าน (สว้ ม) บวชผลาญข้าวสุก บวช
สนกุ ตามเพ่ือน ขาดทนุ นะ ไม่ดี เป็นบาป “กุโส ยถา

209

ทุคฺคหิโต” หญา้ คายอ่ ม ตกนรกได้ ความชว่ั เปรยี บ ผูส้ งบคือผู้ชนะ ผู้ใดละ
บ า ด มื อ ค น ก� ำ ไ ม แ่ น ่น เหมือนอจุ จาระ ภาชนะที่ ผู้น้นั รำ�่ รวย รวยอะไรเล่า
ฉนั ใด บรรพชติ คอื นกั บวช รองรับถึงจะเปน็ เนื้อทอง ก็ ร ว ย อ ริ ย ท รั พ ย น์ ้ั น ซิ
มาเหยียบย่�ำคัมภีร์วินัย ก็ไม่พน้ ความหม่นหมอง อริยทรัพย์ คือ ทรัพย์
ไมเ่ อาใจใสศ่ ึกษาและ ฉะนัน้ ภายใน ไดแ้ ก่ บุญกุศล
ต้ั ง ใ จ ป ฏิ บั ติ ต า ม ธ ร ร ม ผู้บริบูรณ์ดว้ ยอริยทรัพย์
ค� ำ สั่ ง ส อ น ข อ ง ศ า ส น า การบวชต้องอาศัย แลว้ โบราณวา่ “กนิ ไม่บก
เ ข า เ ห ล ่า นั้ น ย อ่ ม ไ ป ส่ิงส�ำคัญ ๒ อย่าง คือ จกไมล่ ง” คอื กินเท่าไหร่
ตกนรก ผ้ากาสาวพัสตร์ บวชกาย ๑ บวชใจ ๑ คือ ก็ไมห่ มด ไม่มีบกพร่อง
เ ห ลื อ ง อ ร า่ ม ง า ม ต า ก็ บวชทงั้ กายทง้ั ใจไดช้ อื่ ว่า ไม่มีขาดมีเขิน เจริญอยู่
ไมก่ ล้าสามารถรับรอง พระ คือ ประเสริฐ หรือ ทุกเมือ่
พวกทา่ นทั้งหลายมิให้ สมณะ แปลวา่ ผูส้ งบ



210

...ธรรมะของพระพุทธเจ้าเป็นแสงสวา่ งสอ่ งให้ ม- - สมณธรร
เราเดินถูกทาง อันน้ีน่ายินดี เปน็ บุญลาภของเรา
ท่ีไดม้ ีศรัทธา ความเชื่อ ความเลื่อมใสในศาสนาของ เกลด็ เพชร
พระพุทธเจา้ ใหพ้ ากันตั้งอกต้ังใจท�ำความดีที่ไดม้ า
บวชอยนู่ ั่นใหเ้ ตม็ พรรษา อยใู่ นบ้านภาระเคร่ืองกงั วล ๑
มนั มมี าก จงึ ต้องอาศยั ผ้ากาสาวพสั ตร์ของพระพทุ ธเจ้า
คลุมไว้ ผมเปน็ ของสกปรกโกนทิ้งเสีย เล็บสกปรก (เทศน์โปรดพระเณร
ตัดทง้ิ เสยี ใหพ้ ากนั ตั้งใจรกั ษาพระธรรมวินัย และญาตโิ ยมบา้ นบ่อชะเนง)

พระพุทธเจา้ ว่าให้ภาวนา ภาวนาช่ัวชา้ งพับหู
ชว่ั งแู ลบลน้ิ กม็ อี านสิ งสอ์ กั โขอกั ขงั ให้เราตงั้ ใจภาวนา
พุทโธๆ พระพทุ ธเจ้าวา่ ผ้บู วชเขา้ มาในศาสนาของเรา
ตถาคต ได้ศกึ ษาเล่าเรยี นแปดหมน่ื สพี่ นั พระธรรมขนั ธ์
จบหมด ได้สวดมนต์ กลางวนั ยงั มภี าระอยู่ วนั ละร้อยหน
ท้ังกลางวนั กลางคืน ยังบ่ได้กินกอ่ น คร้ันบวชเข้ามา
ต้ังใจภาวนาพทุ โธๆ ช่ัวช้างพบั หู ชวั่ งแู ลบลน้ิ ผ้นู ี้
ไดก้ ินกอ่ น ผูศ้ ึกษาเลา่ เรียนจบพระไตรปิฎก ผูน้ ้ัน
ไดช้ ือ่ วา่ เปน็ ผู้รักษากิ่งกา้ นสาขา เป็นผรู้ กั ษาใบมนั
รักษากระพี้มนั รกั ษาอิหยงั มันทั้งนัน้ ผทู้ ่ีภาวนาได้
ชือ่ ว่าเปน็ ผู้ทำ� เอาแก่นมัน เอาแก่นมันก็เฮ็ดการได้
ธรรมะมี แต่มันอยมู่ ันกินมันสวดมนตอ์ ยูท่ กุ วันเท่านน้ั
ธรรมะเป็นอยา่ งนแ้ี หละ

พอเห็นอย่างน้ีแล้ว คิดวา่ เรารูอ้ ยา่ งนี้แลว้ จะ
ไปสอบ ทำ� ไมมันจะยาก มันไปติแลว้ น่ังทำ� สมาธิอยู่
บนกุฏิ ทำ� สมาธอิ ยมู่ ันเปน็ หยงั ล่ะ มึนหมด ฮอ้ นหมด
ขานี่กม็ ึน กุฏอิ ย่ตู ิดกันกับเจา้ อาวาส ชาวบ้านมันนอน
รวมกัน มาอยู่กุฏิก็อยู่รวมกันพระเณร พระนอนอยู่

211

ขา้ งบนเณรนอนอยใู่ ต้ถนุ อยกู่ นั กฏุ เิ ดยี วมนั ยากมนั หลายคนธรุ ะใครธรุ ะมนั นงั่ ภาวนา
มันก็ไมส่ งบสงัดให้ เลยเข้าไปอยูใ่ นโบสถ์ นั่งท�ำสมาธิ พระกรรมฐานทา่ นเฮ็ด
ยงั ไงหนอ อาจารยม์ น่ั อาจารย์สงิ ห์ กไ็ ปอย่อู ดุ ร ออกเดนิ จงกรม เดนิ จงกรมหลายๆ
น่ีเฮ็ดยังไง เดินจงกรมก็คิดเอา เดินปดิ ตาไป เดินไปๆ มันจะลม้ แลว้ มันก็ลม้ ลง
หมาเหา่ ว้อ หมามันตนื่

ออกจากทน่ี น่ั ไปอยอู่ กี ตำ� บลหนงึ่ เขามานมิ นต์ไปเป็นอาจารย์ ไดถ้ ามพระองค์หนง่ึ
เปน็ ครูสอนหนังสืออยู่โรงเรียนวัดนั่นแหละวา่ ทา่ นรู้ไหม เราภาวนาท�ำกรรมฐาน
กับเราศึกษาเล่าเรียน อันไหนมันจะมีอานิสงสม์ าก ไดบ้ ุญมากกว่ากัน ทา่ นว่า
ผมไมเ่ หน็ หนังสือเรื่องนั้น

มีพี่ชายกับน้องชายสองคน คนน้องศึกษาเลา่ เรียน พ่ีชายบวชแลว้ ก็เข้าป่า
เขา้ ดงไปเป็นพระกรรมฐาน ธดุ งค์ไปอย่ตู ามป่าตามดง พชี่ ายได้สำ� เรจ็ พระอรหนั ตแ์ ลว้
กลับมาหานอ้ งชาย น้องชายก็อวดวา่ เราเรียนจบพระไตรปิฎกแลว้ ใครจะไดบ้ ุญ
มากกวา่ กัน พ่ีชายบอกว่าพ่ีชายได้บุญมากกวา่ น้องชายก็บอกวา่ ตัวเองได้บุญ
มากกว่า เถียงกันอยูอ่ ยา่ งนั้น ในท่ีสุดก็พากันไปหาพระพุทธเจ้าที่พระเชตวัน
พระพุทธเจ้าเล็งเห็นดว้ ยญาณแล้ววา่ พี่ชายท่ีทำ� กรรมฐานได้บญุ มากกวา่ แต่เพื่อ
ให้คนท้ังสองได้เข้าใจด้วยตัวเอง จึงทรงทำ� อิทธิปาฏิหาริยใ์ ห้มีน้�ำท่วมเต็มไปหมด
พระพทุ ธเจา้ ถามวา่ มาตามทางเหน็ อะไร ตอบวา่ เหน็ แต่น้�ำ นอ้ งชายนำ�้ ท่วมแคเ่ อว
แต่พช่ี ายทว่ มแคห่ ลงั ตนี บางแหง่ พชี่ ายท่วมแคแ่ ขง้ แตน่ ้องชายนำ�้ ทว่ มมดิ หวั เลย นกี่ ็
เหน็ แล้ววา่ ใครมบี ญุ กว่ากนั ใครได้รบั อานสิ งสม์ ากกวา่ กนั พวกเราเลา่ เรยี นกด็ ี จะได้
บำ� รงุ ศาสนาของพระพทุ ธเจ้าไวบ้ ่ให้เสอ่ื มสญู แต่ให้ภาวนากนั เน้อ ใหพ้ ากนั นงั่
ไมน่ ง่ั ก็นอนเอา หลบั ไปกใ็ หม้ นั หลบั ไป ภาวนาเสยี พุทโธ ธมั โม สังโฆ ภาวนา
อยา่ ใหม้ นั เสยี เวลา การภาวนามันไดอ้ านสิ งสม์ าก

พอเหน็ อนั นล้ี ะ่ เลยออกเดนิ ทาง เดนิ ธดุ งค์ไปธาตพุ นม ไปอธษิ ฐานทพี่ ระธาตพุ นม
นอนกลางคนื อย่สู องคนื ก่อนนอนสวดปาฏโิ มกข์ถวายบชู าพระธาตุ ตนื่ ขนึ้ เชา้ กส็ วด
ปาฏโิ มกข์ถวายพระธาตุอีกแล้วอธิษฐาน ข้าพเจ้าจะทำ� ความเพยี ร ท�ำกรรมฐาน

212

ถา้ ยงั ไม่พน้ ทกุ ข์ใหข้ า้ พเจ้าได้เกดิ อกี อายสุ บิ ปีใหไ้ ด้บวชตลอดจนตายคาผา้ เหลอื ง
สองชาติ สามชาติ สบิ ชาติ ยสี่ บิ ชาติ ร้อยชาติ ถา้ ยงั ไมพ่ น้ ทกุ ข์ ให้ข้าพเจ้ากลบั
มาบวชอีกตลอดวันตาย จะเปน็ หม่ืนชาติ แสนชาติ ลา้ นชาติ ถ้ายังไมพ่ ้นทกุ ข์
กใ็ ห้กลับมาเกิดอีกบวชอีกตลอดวนั ตายทุกชาติๆ

จากน้ันมาอยู่อุดรฯ ไปพระเจ้าองค์ตื้อ พระเจา้ องคต์ ื้อนี่ส�ำคัญ มีเจก๊ ฮอ่ อยู่
เวียงจันทน์มันเอาดาบไปฟันแขนขาด เลือดพุ่งออกมาจริงๆ ไปเรียกผูห้ นึ่งให้เอา
ทองมาหล่อติดให้ ไปเรียกเอาเอง คิดสลดใจรอ้ งไห้น�้ำตาไหล มาอธิษฐานที่นี่อีก
อย่างเกา่ ขอใหไ้ ดบ้ วชแล้วตาย ตายแลว้ เกิด เกิดแล้วได้บวชอีกจนตายไปทุกชาติ
จนกวา่ จะพ้นทกุ ข์ อยา่ ให้ข้าพเจา้ ไดส้ กึ อยา่ ใหม้ คี วามกำ� หนดั ยนิ ดใี นกามทง้ั หลาย
น่ันแหละเกิดมาบท่ ุกข์ไมม่ ี เราบวชอยูใ่ นธรรมวินัยของพระพุทธเจา้ ไมค่ วร
หวัน่ ไหว ใหต้ งั้ ใจภาวนาช่วั ชีวิตของเรา มอี านสิ งส์มาก เป็นทรัพยภ์ ายในท่ีจะ
ติดตามเราไปทกุ ภพทุกชาติ เรยี กวา่ อรยิ ทรัพย์ ใหพ้ ากันทำ� เอา

จากนั้นก็ออกไปป่าท�ำกรรมฐาน ไม่ย่านผูใ้ ด ไมก่ ลัวตาย ตายช่างหัวมัน
กลางคืนชา้ งมา มนั ร้องโอ่ๆ เราอยู่ในกระตอ๊ บ มนั ใกล้เขา้ มา นงั่ ภาวนาพทุ โธๆๆ
มนั ยงั อยู่ ไมย่ อมไป นึกได้วา่ บอกใหแ้ ม่ออกเอามะขามมาใหข้ ัดฝาบาตร เอาใสถ่ งุ
แขวนไวท้ ี่ข้างกระตอ๊ บ ช้างมันมากินมะขาม มันท�ำปากเสียงจู๊ดๆ มันเปรี้ยวมัน
มันอยูต่ ้ังสามช่ัวโมง ส่ีชั่วโมง กินแล้วมันเอางวงลว้ งเข้ามา เอ อันใดมันฮ้อนๆ
มันลมหายใจนี่ กูจะตายอยู่แล้วนี้ เราจะท�ำอย่างใดหนอ เราตอ้ งออกไปสู้มัน
มนั เหน็ เราออกไป มนั ย่านขนึ้ มา มนั ยนื เฉย เราตอ้ งพดู กบั มนั เราจะบอกตามภาษา
ของเราน่ีแหละ

"พี่ ตวั เองเปน็ ผ้ใู หญ่ เราเปน็ ผูน้ อ้ ย อยา่ มากวนเรา อย่ามาจี้เรา เราไม่ได้มา
เบยี ดเบยี นใคร เรามาเมตตาภาวนาให้สตั วพ์ น้ ทกุ ข์เท่านน้ั ขออย่ามาเบยี ดเบยี นเรา
ใหฟ้ ังตามเรา เราจะวา่ ให้ฟงั

หนงึ่ อยา่ ไปฆา่ สัตวต์ วั น้อยตวั ใหญ่เนอ้

213

สอง อยา่ ไปกินไปฉนั กลว้ ยออ้ ยของเขา
สาม อย่าไปเล่นชูล้ ูกเมยี ท่านเน้อ
ส่ี อยา่ ไปอคู้ �ำไม่จริง
ห้า ตน้ อันไหนมันเปน็ เครื่องดองของเมาอย่าไปกิน
บาปหา้ อย่างนอ่ี ย่าไปทำ� หนา ครนั้ เวน้ กรรมห้าอย่างนี้ ได้ชอ่ื ว่าเปน็ ผ้หู มดกรรม
หมดเวร ไมม่ ีกรรมมีเวรแลว้ เป็นผูบ้ ริสุทธิ์แล้ว ครั้นตายจากชาติน้ีแลว้ ก็ไปเกิด
ในสวรรค์ ชมนางฟา้ นางสวรรคอ์ ยู่แปดหมน่ื สี่พันนาง ครั้นตายจากสวรรคม์ าเกิด
เปน็ มนษุ ย์ จะเกิดเปน็ ผ้มู ง่ั คงั่ สมบรู ณด์ ว้ ยทรพั ย์สมบตั ิ ไม่อดไมอ่ ยาก ไมย่ ากไม่จน
แล้วจะไดส้ ร้างบารมีให้มันเต็มรอบจะไดเ้ ข้าไปสู่พระนิพพานตามพระพุทธเจา้
อนั นกี้ เ็ พราะบาป ตวั ไม่มศี ลี มธี รรม โดนเขาใชข้ อสบั เอาเอกิ้ ๆ อย่างนแ้ี หละ กเ็ พราะ
บาปของตนนี่แหละ ท่เี ราบอกนี่ให้จำ� เอาไว้ ให้ละเวน้ บาปห้าอยา่ งนี้ อย่าท�ำ ให้ไป
พระนิพพานตามพระพุทธเจา้ เอาหละ ไปเต๊อะๆ พอแล้ว"
ครงั้ หนงึ่ อย่ลู ำ� ปาง อยแู่ มป่ าง อย่ใู นดง ชา้ งมามเี สยี งดงั ควากๆ เวลามนั เดนิ มา
มนั ชา้ งใหญ่ ใกลเ้ ขา้ มาทางเดนิ จงกรม ทหารเขาเอาเทยี นมาให้หลาย เราเอามาจดุ
ติดตามต้นไม้ไวส้ ว่างตลอดทางจงกรม เราก็เดินจงกรมกลับไปกลับมาสงบจิตอยู่
มันเดินเขา้ มาใกลท้ างแลว้ หยุดเฉย เราเห็นเราก็เดินจงกรมเฉย มันยืนอยูน่ ่ันจน
สามทุ่มสี่ท่มุ กว่ามนั จงึ ไป



214

รจู้ กั อยนู่ แี่ หละ เดย๋ี วนแ้ี หละ เราจะไปนรกกร็ ้จู กั ตวั - สมณธรรม-
อย่นู เี่ พราะจติ เศร้าหมอง ตนจะไปสวรรคไ์ ปพรหมโลก
ก็เพราะจติ เบิกบาน มอี ารมณ์อันเดยี ว จติ ไมเ่ กยี่ วขอ้ ง เกล็ดเพชร
กบั อารมณภ์ ายนอก มีแต่พุทโธๆ เหน็ พทุ โธอยู่ พทุ โธ
คือผู้รู้ รูว้ ่าใจของตนบริสุทธ์ิผุดผ่อง ใจบริสุทธิ์ก็ศีล ๒
บริสุทธ์ิ ตัวเป็นด�ำเนิน ศีลเป็นประธาน ผู้ใดท�ำบาป
ท�ำกรรม ท�ำใหใ้ จของตนเศรา้ หมอง หาโทษใส่ตน
นกั ปราชญว์ ่าคนโง่-คนยาก มนั เกิดจากตน ตนบรสิ ทุ ธิ์
ตนดีอยู่ ไปเอาความเศร้าหมองเอาความรา้ ยเข้ามา
ใส่ตน เขา้ มาเผาตน ตนเผาตน กแ็ ม่นใจเผาใจ แลว้ ก็
แล้วกันไป อดตี ล่วงไปแล้ว มนั ลว่ งมาแลว้ อย่าเอามา
เปน็ อารมณใ์ หใ้ จเศร้าหมองทำ� ไม อนาคตยังมาไมถ่ งึ
อย่าไปคิดมัน ให้มันมาเจอก่อนจึงคิด ให้พิจารณา
ปจั จบุ ัน พจิ ารณารา่ งกายน้ี ของแตกของเนา่ นี่ มันจะ
ตายวันไหน มันจะเป็นอยา่ งไร พจิ ารณาให้เห็นวา่ มนั
ไมพ่ ้นความตายแล้ว ตายนอนทับกันอยู่ รบี ทำ� ความดี
รีบท�ำความเพียร รีบท�ำบ�ำเพ็ญภาวนา ใหศ้ ีล..ให้
สมาธ.ิ .ใหป้ ัญญาเกิดข้ึน

ความชั่วที่เก็บมาใหม้ ันเผาจิต ตอ้ งเปดิ ออก
ปดั ออก เอาแต่ความดีเขา้ มาสู่ดวงจิตดวงใจของตน
ใหใ้ จเบิกบาน ใจรา่ เริง ใหใ้ จกวา้ ง อย่าให้ใจคบั แคบ
จติ มนั รก มนั รกคอื ปา่ ดง เราออกมาจากทร่ี กชฏั แล้ว
เราออกมาสู่แดนท่ีวา่ ง คืออกมาจากความกังวล
ออกมาจากฆราวาส ฆราวาสเปน็ ของรกชฏั มนั รก
เพราะความกงั วล เพราะความมคี วามจน มลี กู มเี ต้า
หลายคน มันไม่เปน็ ปัญหายงั ไงไหว น่ีแหละมันรก

215

น่ีเราออกมาอย่างนม้ี นั ไมเ่ จอกบั ใคร ผา้ จวี รเขากใ็ ห้ บไ่ ดห้ า เสนาเสนาะเขาก็
ทำ� ให้ เภสัชคือยาบ�ำบัดโรคเขากเ็ อามาใหบ้ อ่ ดบอ่ ยาก เรามีงงมงี านอันหยงั เรามี
แตต่ ้ังหนา้ ท�ำความเพียร เราอยากเปน็ ผู้ดีมีศีล เขาก็มีความยินดีกับเราเขาจึง
กราบไหว้ เม่ือเราเปน็ ฆราวาส เขาจะกราบเราเฮ็ดหยังบักอันนี้เฒ่าอันน้ี แตน่ ี่
เขาเรียกว่าหลวงพอ่ เราเป็นผูม้ ีศีลเปน็ ผูม้ ีธรรม เปน็ ผูไ้ ม่เบียดเบียนใคร เราเป็น
ลูกพระพุทธเจ้า เราไม่ควรท�ำความเกียจคร้าน ไมค่ วรท�ำลายศีล ไม่ควรท�ำลาย
สัตว์โลกใหว้ ุ่นวายในหวั ใจ

พระพทุ ธเจ้าเราสบาย บา้ นเมอื งประเทศของเราสบาย เราไมต่ ้องรบรากบั เขา
เราไม่มคี วามเดอื ดร้อน เราเปน็ ลกู พระเจา้ เราต้องการทำ� ความสงบความสบาย
เราจึงต้องหลีกออกมาอยูป่ ่าอยูด่ ง ไมเ่ กี่ยวข้องกับใคร ไม่กังวลกับใคร
ความตายๆ ไปแล้ว เราอยู่กต็ าย มันจะกลวั ตายไปทำ� ไม ความตายมาถึงละ่
หวนั่ ไหว พระพทุ ธเจ้าบอกไมใ่ ห้หวนั่ ไหว ได้ความสรรเสรญิ กด็ ใี จแต่มนั ไมเ่ ทย่ี ง
ความนนิ ทาตเิ ตยี นกม็ ใี นโลกนแ้ี ตม่ นั ไมเ่ ทยี่ ง ลาภเกิดขน้ึ กม็ อี ยใู่ นโลกแต่มนั ก็
เสื่อมไป ความสรรเสริญเกิดขึน้ แล้วกเ็ สอ่ื มไป ความสุขเกิดข้ึนแลว้ ก็เส่ือมไป
ความนนิ ทาเกิดขนึ้ กเ็ สอ่ื มไป สงิ่ ไหนล่ะจะเอามาเปน็ สาระแกน่ สาร เราจะไปยดึ
ไปถือท�ำไม ปลอ่ ยวางให้หมด ท�ำจิตให้เปน็ อารมณอ์ ันเดียว ใหเ้ ปน็ พุทโธๆ
พุทโธคอื ผูร้ ู้ ให้ใจเราเบิกบาน อยา่ ใหใ้ จเราเศรา้ หมอง ครน้ั ใจเราเศรา้ หมอง
ต้องชำ� ระสะสางใหใ้ จของเราเบกิ บาน อยา่ ใหข้ ่นุ มวั ให้ดใู จของตนนี่ เราจะได้
บุญที่สุดก็เพราะจิตสงบวิเวก อยา่ ให้ศีลขาด ศีลดา่ งพร้อย เราจึงจะแน่ใจ
ศลี เปน็ ที่ต้ังของสมาธิ จติ มันจะสงบลงเป็นสมาธิ สมาธิมันเป็นเคา้ เปน็ มลู ของ
ปญั ญา ต่อกนั ไปน่ันแหละ



216

เราเป็นผูม้ ีความยินดีต่อความวิเวก ใหต้ ้ังใจ - สมณธรรม-
ท�ำความเพียรตลอดไตรมาสสามเดือน ต้นพรรษานี้
ให้มนั สำ� เรจ็ มรรคผลนพิ พาน ครน้ั ไมส่ ำ� เรจ็ ในเดอื นแรก เกลด็ เพชร
นี่ก็ตั้งอธิษฐานอีก เดือนท่ีสองใหส้ �ำเร็จ เดือนที่สอง
ไมส่ �ำเร็จก็เดือนที่สาม เอาวันปวารณาใหส้ �ำเร็จ ๓
มรรคผลนิพพาน

พากันตัง้ ใจ พากนั สำ� รวมอินทรีย์ ตา หู จมูก ลน้ิ
กาย ใจ ไม่ใหม้ ีความยินดียินรา้ ยตอ่ รูป เสียง กลิ่น
รส สัมผัส และธรรมารมณ์ ให้พากันต้ังใจส�ำรวม
ระวงั ตั้งใจทำ� ไป ละบาปอกศุ ล สพฺพปาปสฺส อกรณํ
เพียรละบาปท้ังหลายท้ังปวงในสันดาน กุสลสฺสู
ปสมฺปทา ตัง้ ใจทำ� ความดีตลอดไตรมาสสามเดอื นให้
บรบิ รู ณ์ ไม่ใหข้ าดตกบกพรอ่ ง อนั นแ้ี หละพระพทุ ธเจ้า
วา่ ท�ำกุศลใหถ้ ึงพรอ้ มด้วยความไมป่ ระมาท สจิตฺต-
ปริโยทปนํ เป็นผู้มีสติสัมปชัญญะฝึกฝนใจของตน
สั่งสอนใจของตน อยา่ ไปดูแคลนคนอื่น ใหด้ ูแลจิตใจ
ของตน อย่าไปเพง่ โทษคนอืน่ ใหเ้ พ่งดตู น คนอ่นื เขาดี
กด็ ีเขา เขาช่วั ก็ช่วั เขา จติ ใจของเราเป็นอยา่ งไร มัวแต่
เพง่ โทษคนอน่ื อยู่ มวั ดคู นอนื่ อยู่ มนั เป็นบาปเปน็ กรรม
ชอื่ ว่าเป็นผกู้ ่อเวรกอ่ กรรมใสต่ น ช�ำระจติ ใจของตนให้
บรสิ ทุ ธผิ์ ดุ ผ่อง ไม่ใหเ้ กาะเกย่ี วอารมณ์ ไมใ่ ห้ท่องเทย่ี ว
ไปตามอารมณ์ ไมเ่ พง่ โทษผู้ใด ช�ำระจิตใจของตน



217

-สมณธรรม - การท�ำสมาธิภาวนานั้น บางทีท�ำยังไงใจมัน
ก็แข็งๆ อยู่อยา่ งน้ัน ท�ำสมาธิไม่ลง ท�ำยังไงก็ไม่ลง
เดินจงกรม ทำ� ไปๆ มนั ไมส่ งบ บอกมนั วา่  เจ้าเป็นผนี รกวง่ิ ขนึ้ จาก
อเวจี จงึ แขง็ กระดา้ งเพราะไฟเผา ไล่ใหม้ นั ลงไปจม
อเวจอี กี อย่าให้มนั ขึน้ มาอีก ให้อเวจเี ผาต้มมนั อกี
ดา่ อกี แล้วกล็ งนอน พอเช้ามากไ็ ปถ่ายโถนล้างกระโถน
ปฏบิ ัติทา่ นอาจารยม์ ่นั ทา่ นอาจารย์ลุกขน้ึ มาว่า

“ทา่ นขาว คนเป็นผู้ประเสริฐอยู่ มาด่าตน
เฮ็ดหยังให้ลงนรกอเวจียังไงน่ี ประจานตนน่ี
ทา่ นประกอบกิจอยู่อย่างนี้แลว้ หนักเขา้ ละ่ ฆ่าตัว
ตายหนา ครั้นฆ่าตนตายแล้วนับชาติไมไ่ ด้หนา
ท่ีฆ่ากนั อยนู่ ี้ ไม่มีพ้นทุกขแ์ ลว้ ความท่โี กรธน่ี หนัก
เขา้ ๆ กเ็ ลยฆ่าตวั ตาย ฆา่ ตวั ตายแล้วก็ห้ารอ้ ยชาติ
ไปเทยี่ วเอาภพเอาชาติ ทำ� เวรผกู เวรกนั ฆ่าตวั ตาย
อยา่ งน้ันแหละ อยา่ ไปท�ำอีกเทียว ตนบริสุทธ์ิ
อย่าไปท้าตนอย่างน้ันอยา่ งนี”้

ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ นนั้ ใครนกึ อย่างใด ทำ� อยา่ งใด
ทา่ นรู้หมด ท่านกอ็ ยูก่ ุฏิโน่นแนะ่

แตม่ ันก็ยังโกรธอยู่นั่นแหละ ขึ้นอยูบ่ นดอยของ
พวกมเู ซอ มนั กม็ แี ตเ่ สอื ใหญๆ่ ลายพาดกลอน เดนิ อยู่
กลางคืน ให้เสือมันมากินมึงเสีย มึงเป็นหยัง
มึงหยาบแท้ มึงแข็งแท้ เดินจงกรมแล้วก็น่ังสมาธิ
นั่งจิตมันก็ไม่ลง ก็เลยนอนหลับไป ปรากฏวา่ มารดา
มาน่ังอยู่ น่ังขา้ งๆ มูเซอมันมาจากไรม่ ัน มีผักหลาย
มันจะเอาผักไปบา้ นมัน มารดาก็ถามมันว่า “ขาวน่ี
ทำ� ยงั ไงถงึ จะเป็นหนอ” มนั ตอบวา่ “ไม่ยาก ไมย่ ากดอก

218

เอาของออ่ นให้กินเนอ้ อย่าไปใหก้ ินของแขง็ ถา้ กินของแขง็ แลว้ ไมเ่ ป็น ครน้ั กิน
ของอ่อนละเปน็ ” แมก่ เ็ ลยวา่ ไม่เขา้ ใจของออ่ นของแขง็  แม่กเ็ อน้ิ ถามอกี ว่า “ของออ่ น
นมี้ นั อะไรหนอ” มันวา่  “เอาสาหร่ายซิมาให้กิน”

ก็ลุกข้ึนมาน่ังสมาธิ เริ่มต้นพิจารณา พิจารณาของแข็งกอ่ น อะไรหนอมันวา่
ของแขง็ มเู ซอมนั ว่าอะไรเป็นของแขง็ พจิ ารณาไปๆ มาๆ “ความขโี้ กรธ” อนั นน้ั แหละ
ของแขง็ ออ่ นล่ะ มนั วา่ ให้เอาของอ่อนมากนิ อ่อนอะไร พจิ ารณาไปๆ มาๆ “เมตตา” 
ได้ความแล้ว เมตตา

ต้ังแต่น้ันมาก็แผเ่ มตตาไปท่ัวทิศานุทิศ แผ่ไปหมดสัตวท์ ้ังหลาย แผ่เมตตาไป
ความโกรธนั้นอ่อนลงๆ ความโกรธไม่ค่อยท�ำ จิตไม่แขง็ แลว้ จติ อ่อนแลว้ จิตออ่ น
มันควรแกก่ ารงานท้ังนั้นแหละ จะท�ำอะไรมันก็ควรแกก่ ารงาน จะพิจารณาอะไร
มนั กเ็ หมาะ จติ ออ่ น หมายความวา่ จติ เบา จติ วา่ ง เราภาวนา นกี่ อ็ บรมจติ นแี่ หละ
ตอ้ งการใหจ้ ติ อยู่ คร้ันจิตอยแู่ ล้วมนั จงึ จะเกิดแสงสว่างข้นึ จติ เดิมมนั เป็นของสวา่ ง
เป็นของเลอื่ มประภสั สร แตอ่ าศยั อาคนั ตกุ ะกเิ ลส มนั จรเขา้ มาปกคลมุ รดั รงึ ใหข้ นุ่ มวั
เร่ารอ้ น อาคนั ตกุ ะกเิ ลสกไ็ ม่อน่ื ไม่ไกลดอก มนั ไม่พ้นนวิ รณธ์ รรมทง้ั หา้  กามฉนั ทะ
พยาบาท ถนี มิทธะ อุททจั จะกกุ ุจจะ วิจกิ ิจฉา น่หี ละ เม่ืออารมณเ์ หล่าน้ไี ม่เขา้
ครอบงำ� แลว้ จติ นม้ี นั กอ็ ่อน จติ สวา่ งไสว ควรแก่การงาน การงานทพ่ี จิ ารณามนั เปน็
แสงสวา่ งขน้ึ นวิ รณน์ ม้ี นั มาปกคลมุ ห้มุ หอ่ ให้จติ เศร้าหมอง ข่นุ มวั มดื ดำ� ให้จติ ร้อน
เปน็ ไฟขึน้

(มผี ู้ถามถึงการแก้ความงว่ ง)

เมือ่ ถีนมิทธะ ความง่วงเข้าครอบงำ� ให้มองดดู วงดาว มองข้ึนไปดูอากาศ หรือ
ถ้าไมย่ งั งัน้ กใ็ หน้ กึ ถงึ พระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคณุ หรอื คุณความดีของ
เราอยา่ งหนึง่ ทเ่ี ราได้บ�ำเพ็ญมา เม่ือระลึกแล้วมันมีความดใี จทไ่ี ดท้ ำ� มา มนั ก็หาย
งว่ งเหงาหาวนอน ใหแ้ ผ่เมตตาเร่อื ยๆ มนั เปน็ ทีจ่ ิตเราน่นั แหละ เป็นเพราะอารมณ์
รูป เสยี ง กลนิ่ รส สัมผสั มายุยงใหจ้ ิตผกู จิต เพราะเหตนุ ัน้ พระพุทธเจ้าจึงให้ช�ำระ
อนิ ทรยี ์ทั้งหลาย ไม่ใหย้ ินดียินรา้ ยในสมั ผัสทั้งหลาย ทำ� จติ ใหเ้ ปน็ กลางต่ออารมณ์

219

เรื่องเหล่าน้ีมันเปน็ เพราะจริตของแต่ละบุคคล นิสัยมันต่างกัน พระพุทธเจ้า
กบ็ อกไวห้ มดละ จรติ ของคนทม่ี รี าคะมาก ให้อาศยั พจิ ารณาอสภุ ะอสภุ งั ใหเ้ หน็
ความเปอื่ ยเนา่ จะอดิ หนาระอาใจ เบอื่ หนา่ ย ถอนจากความกำ� หนัดได้ แกโ้ ทสะ
ให้มเี มตตา แผเ่ มตตาบอ่ ยๆ มากๆ ยืน เดนิ น่งั นอน มันกอ็ ่อนลงเอง แก้โมหะ
ความหลง ใหใ้ ชป้ ญั ญาพจิ ารณาไตร่ตรองชำ� ระจติ

(มีผู้ถามวา่ ทา่ นเดนิ อยา่ งไร ปฏบิ ัตอิ ยา่ งไร)

ฉันแลว้ ก็ไปเดิน มีนั่งบ้าง หกช่ัวโมง ตอนบา่ ยไปเดินอีก จนสี่ช่ัวโมงจึงมา
ปัดกวาด ตกั นำ้� ท�ำข้อวตั ร แลว้ ก็กลับมาเดินอีกสามสีช่ ่วั โมง แล้วจงึ ขึ้นมานั่ง

อานิสงส์ของการเดนิ จงกรมมี

(๑) เดินทางบ่มเี จบ็ แขง้ เจ็บขา
(๒) ทำ� ให้อาหารย่อย
(๓) ทำ� ให้เลอื ดลมเดินสะดวก
(๔) เวลาเดินจงกรมไปๆ มาๆ จิตจะลงเป็นสมาธไิ ด้ สมาธขิ องผู้นน้ั ไมเ่ สื่อม
(๕) เทพยดาถอื พานดอกไมม้ าสาธุๆ มาอนโุ มทนา

น่ีเป็นอานิสงสข์ องการเดินจงกรม บางวันเมื่อครั้งอยู่กุฏิเก่าตรงข้างเจดีย์
อาตมาเดนิ จงกรม มนั หอมๆ หมด ทวั่ หมด หอมอหิ ยงั น่ี มนั ไม่เหมอื นดอกไมบ้ า้ นเรา
มันแมน่ เทพยดามาอนุโมทนา ถือพานดอกไม้มาอนโุ มทนา

เรื่องเดินนี่มันเปน็ เรื่องหัดสติ จะใชน้ ึกพุทโธไปพรอ้ มกันกับเท้าท่ีกา้ วไปก็ได้
ยงั ไงก็ได้ อย่าใหจ้ ิตมนั ออกไปเก่ยี วขอ้ งกับอารมณ์ทง้ั อดีตและอนาคต ใหอ้ ยทู่ ่จี ติ
เทา่ นั้น อาตมาก�ำหนดพุทโธๆ อยู่ทจี่ ิต เทา้ กเ็ ดินไป ก�ำหนดอยู่ทจ่ี ิต ไมใ่ หเ้ กีย่ วขอ้ ง
กบั อารมณใ์ ดๆ สว่ นทางเดนิ จงกรม ก็ไม่เลือกทิศทาง ไดห้ มด แลว้ แต่มันจ�ำเป็นใน
ท่ีเหมาะสม เดนิ ไปเพื่อแกท้ กุ ขเวทนา

ท่านอาจารย์ม่ันท่านว่า ให้เดินตัดกระแสของโลก จากทิศตะวันออกไป
ตะวนั ตก ทา่ นว่าตดั กระแสของสมทุ ยั ใหต้ ดั กระแส แต่ถ้ามนั จำ� เป็น มนั ยงั ไมม่ ี
บอ่ นทีเ่ หมาะสมกไ็ มเ่ ปน็ ไร เดนิ มนั ไปอยา่ งนน้ั เพอ่ื แก้ทกุ ขเวทนาดอก



220

ถ้าเราเป็นผูต้ ้ังใจท�ำ ละบาป อกุศล เม่ือเกิด ม- - สมณธรร
ข้ึนในสันดาน ทา่ นก็ว่า สพฺพปาปสฺส อกรณํ
เพียรละบาปท้ังหลายท้ังปวงไมใ่ หเ้ กิดขึ้นในสันดาน การละบาป
กุสลสฺสูปสมฺปทา เม่ือตั้งใจอธิษฐานก็ให้ท�ำความดี
ตลอดไตรมาส ๓ เดือน ใหม้ ันบริบรู ณ์ อยา่ ให้ขาดตก (แสดงแกพ่ ระภิกษุท่ีบวชใหม)่
บกพรอ่ ง องคส์ มเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจ้าทรงตรสั วา่
สมาทานเอาบุญเอากุศล ใหเ้ อาศีลทานเบื้องต้น
อย่าประมาท สจติ ตฺ ปรโิ ยทปนํ เปน็ ผ้มู สี ตสิ มั ปชญั ญะ
ฝกึ ฝนจิตใจของตน ส่ังสอนจิตใจของตน อยา่ ไป
ดูแคลนคนอ่ืน อยา่ ไปโทษคนอื่น ใหโ้ ทษตนน้ีใหด้ ี
จิตใจของตนนี้ให้มันละพยศอันรา้ ย อยา่ เพิ่งไปโทษ
คนอนื่ คนอนื่ เขาดกี ด็ เี ขา คนอนื่ เขาชวั่ กช็ วั่ เขา จติ ใจของ
เรามันเป็นยังไง ไปโทษคนอืน่ น้ีมันเปน็ บาปเปน็ กรรม
ได้ช่อื ว่าเป็นผกู้ ่อเวรก่อกรรมใสต่ น ชำ� ระจติ ใจของตน
ใหบ้ ริสุทธ์ิผุดผอ่ ง ไม่ให้ไปเกาะเก่ียวกับอารมณ์
ไปผูกกรรมผูกเวรผู้ใด อยา่ เพ่ิงให้โทษผู้ใด ชำ� ระจิตใจ
ของตนให้สะอาด

ปุพฺพณฺเห กาเยน สุจริตํ จรติ, วาจาย
สจุ รติ ํ จรต,ิ มนสา สจุ รติ ํ จรต,ิ ปพุ พฺ ณเฺ ห ตอนเชา้
ต่ืนขึ้นมามีสติประจ�ำอยู่ในกายในจิตของตน ให้คาด
ความผดิ ของตน มสี ตริ ะวังกายให้บริสุทธ์ิ ระวังวาจา
ให้บริสุทธิ์ ระวังใจใหบ้ ริสุทธิ์ อยา่ เพิ่งใหโ้ ทษผู้อื่น
อยา่ ใหม้ ันคิดไปในทางบาป มชฺฌนฺติโก กลางวันมา
ก็มีสติประจ�ำใจ กาเยน สุจริตํ จรติ วาจาย สุจริตํ
จรติ มนสา สุจริตํ จรติฯ กลางวนั มาก็ดกู ายของตน
ดูวาจาของตน ดูจิตของตน ไม่ให้มีโทษ สายณฺเห

221

การทำ� มาระวงั มสี ตปิ ระจำ� ใจระวงั กายระวงั วาจาระวงั ใจของตนใหบ้ รสิ ทุ ธ์ิอนั นแ้ี หละ
ได้ชื่อวา่ เป็นผูท้ �ำความบริสุทธ์ิหมดจดแกต่ นแล้ว ไม่มีความเศร้าหมองแลว้ จิตใจ
ก็ผุดผอ่ งเบิกบาน ไม่โศกเศรา้ จิตใจมันสบาย ดูโทษของตนไม่มี จิตใจมันก็ดีใจ
มีความเบิกบาน รา่ เริง มันก็มีแต่ความสวา่ งไสว ความสวา่ งไสวนี้ไปท�ำให้จิตวา่ ง
จติ วาง ไม่ยดึ ว่าตวั ของกู กูเป็นผหู้ ญิง กเู ปน็ ผชู้ าย กูเป็นภิกษุ กูเป็นสามเณร ไมม่ ี
ใครวา่ มันวา่ ง มันวาง นั่นแหละ ความวาง ความวา่ ง นั้นท�ำใหม้ ีเกิด มีเกิดขึ้น
เป็นว่า พระนิพพาน มีแต่ความสุข มแี ต่ความรอู้ ยา่ งเดียว รู้มีตนมีตวั รสู้ ว่างไสว

หัดสติให้ชำ� นิช�ำนาญ ต้องหัดสตใิ ห้รา่ เรงิ ตลอดถึงการยนื เดนิ น่ัง นอน ก็เปน็
ภาวนา พากันท�ำสมาธจิ ิตเป็นสมาธิ ให้มีสติใหร้ สู้ ึก พระพุทธเจ้าจึงตรสั ว่า เย เกจิ
กสุ ลา ธมมฺ า สพเฺ พ เต อุปฺปมาทมลู กา อปฺปมาทสโมสรณา อปปฺ มาโท เตสํ
ธมมฺ านํ อคคฺ มกขฺ ายตตี ฯิ กศุ ลมลู ทงั้ หลายทตี่ ง้ั อย่ไู ด้ เกิดขนึ้ ได้ กเ็ พราะเปน็ ผมู้ สี ติ
กำ� กบั อยู่ กศุ ลมลู มนั จะบรบิ รู ณ์ขนึ้ ได้จะต้องเปน็ ผ้มู สี ตกิ ำ� กบั อยู่ เมอ่ื มสี ตแิ ล้ว จติ พน้
จากไตรวฏั นน่ั แหละ แล้วกใ็ ห้สมาทานเอา ศลี สมาธิ เปน็ ผ้มู สี ตอิ ยู่ รกั ษากาย วาจา ใจ
ของตนอยู่ อธิสีลสิกขา สมาทาเน ใหส้ มาทานเอา ใหเ้ ป็นอธิจิต ซึ่งเป็นหน่ึง
อธิจิตตสิกขา สมาทาเน ใหม้ ีสติรักษาจิตของตนใหเ้ ปน็ อธิจิต ความเปน็ ใหญ่
อธิปัญญาสิกขา สมาทาเน ใหต้ ั้งใจสมาทานปัญญาให้มันรู้เท่าสังขาร ใหร้ ูเ้ ท่า
ความเกิดขึ้น ความดับไป ความตั้งอยู่ดับไป เวทนาเกิดข้ึนแลว้ ก็ดับไป เปน็ ของ
ไมแ่ นน่ อน ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่ตัวตนของเรา ไม่ใช่สัตว์ เปน็ เครื่องอาศัยใหเ้ ป็น
ร่างกาย เป็นของใช้ จิตเปน็ ผูใ้ ช้ จิตเป็นนายผู้ใช้กายให้มันท�ำบาป ใชก้ ายให้มัน
ท�ำบุญ ใชก้ ายให้มนั น่ังสมาธิ ใหม้ นั เห็นว่ากายนเ้ี ปน็ ของกลาง ไม่ใช่ตวั เรา ตวั เรา
ไมเ่ ห็นจิตผรู้ ู้ ผูร้ ะลึก ผู้ปรงุ แตง่ น้นั ว่า เรานน่ั แหละ จิตไม่มตี วั จิตเป็นตัวหนึง่ น้ัน
ก้อนดิน นำ�้ ไฟ ลม อันส�ำคัญ กินแล้วหายใจ ไมไ่ ด้ตายจากแผน่ ดิน ใหเ้ ราพจิ ารณา
มนั ไม่อยูน่ าน เรยี กว่า ตายแล้ว ตายวันนี้ เดีย๋ วนี้ ให้มนั เกิดความสังเวช สลดใจ
มนั ตาย

222

ให้พากนั ตงั้ ใจทำ� ความเพยี ร สน้ิ ไตรมาส ๓ เดอื น ให้มนั ไดบ้ ญุ กศุ ล ให้สมบรู ณ์
บริบรู ณ์ อย่าใหม้ ันเสยี ไป อย่าให้กาลกินเรา อย่าให้เวลากินเรา วนั คนื ปี เดือน
ลว่ งไปๆ อยา่ ให้มนั ลว่ งไปแต่ วนั คืน ปี เดอื น ชีวติ ความเป็น ไม่ใชม่ ันจะล่วงไป
แต่ วนั เดอื น ปี ชวี ติ ความเป็นอยขู่ องเราทล่ี ว่ งไป ลว่ งไปทกุ ขณะลมหายใจเข้าออก
ให้รีบท�ำความดีเสีย เม่ือความตายมาถึงแล้ว มันจะไมม่ ีความหวาดหว่ันไหว
ไมเ่ สียอกเสียใจ เมื่อท�ำความดีแล้ว ตายก็ตายเถิด ไม่ต้องร้อน เมื่อตายไมไ่ ดท้ �ำ
คุณความดีแล้วมันกินแหนง เม่ือภายหลังใหจ้ ิตเศรา้ หมอง กินแหนงแลว้ จิต
ก็เศร้าหมอง จิตเศร้าหมองแลว้ ก็ทุคติวิบากเป็นทางไป มีนรก เปรต อสุรกาย
สตั ว์เดรจั ฉาน แล้วแต่กรรม



223

-สมณธรรม - มีผูถ้ ามท่านว่า การปฏิบัติน้ีถ้าบริกรรมไมส่ งบ
จะพิจารณาอยา่ งเดียวไดไ้ หม หรือตอ้ งให้จิตสงบ
สีลานสุ สติ กอ่ นจึงพิจารณา ท่านกส็ อนดังต่อไปน้ี

อนั หนงึ่ สมถะ อนั หนงึ่ วปิ สั สนา มนั ถกู กบั จรติ อนั ใด
การภาวนามันสบาย กใ็ ห้เอาอันน้นั ถ้ามนั ถูกกบั จริต
ก็สงบสบาย ไมฟ่ ุง้ ซา่ นไปที่อ่ืน จิตรวมอยู่ นั่นแหละ
มันถูกนิสยั ครน้ั มนั ไม่ถกู นิสยั แล้ว นึกพุทโธหรอื อนั ใด
มันกฟ็ ุ้งซ่าน หายใจยาก หายใจฝืดเคอื ง หมายความ
วา่ มนั ไม่ถูกจริตของตน อันใดมนั ถูกจริตมนั ก็สบายใจ
ใจสว่าง จติ ไมฟ่ งุ้ ซ่าน

เบอ้ื งต้น ใครเอาอนั ใดกต็ อ้ งเอาอนั นนั้ เสยี ก่อน
พจิ ารณาอาการสามสบิ สอง นเ่ี รยี กวา่ วปิ ัสสนา เรยี ก
วา่ ค้นควา้ เม่ือเราบริกรรมพุทโธหรืออะไรก็ตาม
บริกรรมแลว้ มันไม่สงบ เราก็ตอ้ งคน้ ควา้ หาอุบาย
มนั เปน็ การอบรมกนั มนั เปน็ เรอื่ งปัญญา จติ ไมส่ งบ
เรากต็ อ้ งพจิ ารณาให้มนั สงบ มนั ไม่สงบแล้วมนั กไ็ ป
ทอี่ น่ื ไปส่อู ารมณภ์ ายนอกทอี่ น่ื เรากต็ ้องเอามนั มา
ปลอบโยนมนั ค้นคว้าใหม้ นั พจิ ารณา ผม ขน เลบ็ ฟัน
หนงั ไปสดุ ตลอด ใหม้ นั ครบถงึ อาการ ๓๒ ใช้สญั ญา
ค้นไป ค้นไป ไมใ่ หม้ ันไปท่ีอ่ืน คน้ ไปบางทีมันลง
ความเหน็ ตามเรอ่ื งปญั ญา เราค้นไปว่าไป มนั มคี วาม
เห็นตามแลว้ มันก็สังเวชสลดใจ จิตมันจะสงบลง
ตอ้ งเอาอย่างนั้นเสียก่อน แล้วจึงพัก เอาอยา่ งน้ี
ต่างฝา่ ยตา่ งอบรมกนั สมาธอิ บรมปญั ญาใหเ้ กดิ ปัญญา
อบรมสมาธิให้เกิด ปัญญาลอ้ มรอบมันแล้วมันไป
ไม่ได้ มนั ไปไม่ไดม้ นั กล็ ง เรยี กวา่ ปญั ญาอบรมมนั

224

สลี านสุ สต ิ บรกิ รรมสลี านสุ สติ โดยระลกึ ในอนสุ สติ ๑๐ นอ่ี นั หนง่ึ พระพทุ ธเจา้
ว่ากรรมฐานมี ๔๐ อยา่ ง เลือกเอาอันหน่ึงอันใดท่ีถูกกับจริตของเรา ถา้ มันถูก
ใจเรากส็ งบ ถา้ ไม่ถูก มันก็ไม่สงบ ก็เลอื กเอาใหม่ เราบริกรรมแล้วใจสงบ สบาย
ไมฟ่ ุง้ ซา่ น รำ� คาญ นี่หมายความวา่ มันถูกจริตของเรา อนุสสติ ๑๐ มี พทุ ธานสุ สติ
ธมั มานสุ สติ สงั ฆานสุ สติ สลี านสุ สติ จาคานสุ สติ เทวตานสุ สติ มรณสั สติ กายคตาสติ
อานาปานสติ อปุ สมานุสสติระลึกถงึ คุณพระนิพพาน

สีลานสุ สติ มาระลึกถงึ ศีลของตน ถา้ เราปฏิบัติ เรากต็ ้องรกั ษากาย วาจา ใจ
ของเราดี เชา้ มาเราก็มสี ติรักษากายของเรา รกั ษาวาจาใจของเราดอี ยู่ กลางวนั มา
เราก็มีสติดี รักษากายวาจาใจของตนอยู่ พอค�่ำมาเราก็มีสติรักษาอยู่ ไม่มีทุจริต
มแี ตค่ วามบริสุทธ์ิ ระลึกไปอยา่ งน้ี บางทีใจมันจะดตี งั้ แตเ่ รารกั ษาศีล ๕ ของเรามา
ศีลของเราไม่มีดา่ งพร้อย ศีลของเราบริสุทธิ์ดี นั่นแหละ ยกมัน มันจะดีใจ
ความน่ายนิ ดที วี่ ่ารักษาดีปานนน้ั ความดี ยกยอ่ งมัน บางทมี นั ดใี จ หมายความว่า
จิตท่ีควรยกยอ่ งก็ยกย่องมัน จติ ท่ีควรข่มกข็ ม่ มัน มนั ดอ้ื หลายก็ขม่ มนั จติ ท่คี วรข่ม
คอื มาใชป้ ญั ญาพจิ ารณา เกศา ผม โลมา ขน ใหม้ ันเห็นเปน็ ของปฏกิ ลู ของโสโครก
นี่หมายความว่าขม่ มนั ข่มไปน่ันแหละ เมอื่ ทำ� ยงั งน้ั มนั ยงั ว่าไมฟ่ ังแล้ว เรากน็ ึกถึง
ศีลของเรา บางทีมันถูกมันอาจจะสงบ มันมักยอมันชอบยอ ใครจะไมม่ ักยอไม่มี
ยกย่องเขา้ มันก็ดีใจ เป็นบุญลาภของเรา เราเกิดมาไม่เสียภพเสียชาติ เราต้ังใจ
นบั แต่รเู้ ดยี งสาขนึ้ มา เรารกั ษาความสจุ รติ ของเรา ศลี ของเราไม่เศร้าหมอง ศลี ของ
เราบริสทุ ธด์ิ ี พจิ ารณาศลี ของตน

ปพุ พฺ ณหฺ สมยํ กาเยน สุจริตํ จรต,ิ วาจาย สจุ รติ ํ จรติ, มนสา สจุ รติ ํ จรติ,
ใหม้ สี ตริ ะลึกรักษากายของตนให้สะอาด รักษาวาจา รกั ษาใจ ของตนใหส้ ะอาด

มชฺฌนฺติโก กาเยน สจุ รติ ํ จรติ, วาจาย สุจริตํ จรต,ิ มนสา สุจริตํ จรต,ิ
ตรวจดกู ายใจของตนใหบ้ ริสุทธ์ิ

ปจฺฉิมฺนํ สายณฺหสมยํ กาเยน สุจริตํ จรติ, วาจาย สุจริตํ จรติ, มนสา
สุจริตํ จรติ,ให้มันมีสุจริตธรรม เชา้ ก็ใหม้ ีสติรักษาอยู่ รักษากายวาจาใจของตน

225

ใหส้ จุ รติ บางทเี ราพจิ ารณาไป เช้าเรากร็ กั ษาดอี ยู่ กลางวนั เรากร็ กั ษาดอี ยู่ คำ่� มาเรา
ก็รกั ษาดอี ยู่ อันนกี้ เ็ ปน็ ลาภของเรา เราไม่ปลอ่ ยสติ เราไม่เผลอ รกั ษากายวาจาใจ
ของเราอยูท่ ุกขณะ ศีลของเราบริสุทธิ์ ไม่เศร้าหมอง มันพลาดเปน็ อะไรมันตาย
เรากไ็ มเ่ สียที เรามีสุคติเป็นแน่ไม่ต้องสงสัย

พจิ ารณาไป เมื่อถกู มัน มนั ถกู ใจมัน ยกย่องมนั มนั ก็สามารถจะมีความสงบ
ลงได้ อันนี้เรียกว่า สีลานุสสติ ระลึกถึงศีลของตน บริกรรมวา่ สีลานุสสติ
แลว้ พจิ ารณาศีลของตน เมอื่ ต้ังใจไวอ้ ย่างน้ี ตงั้ ความสตั ยไ์ วอ้ ยา่ งน้ี ถ้ามันผิดละก็
มันกโ็ กรธละ่

เมอื่ อยแู่ มป่ ๋ัง อำ� เภอพร้าว ตน่ื ขน้ึ มาตอนเช้าตงั้ ความสตั ย์ไวว้ า่ เรารกั ษากาย
วาจา ใจ ของเราไมใ่ หผ้ ดิ ไม่ให้จติ ไปส่อู ารมณ์ภายนอก ใหร้ กั ษาจติ อยนู่ ี่ ให้มนั รู้
กนั อย่นู ่ี กลางวนั เรากร็ กั ษากาย วาจา ใจ ของเรา คำ่� มาเรากจ็ ะรกั ษากาย วาจา ใจ
ของเรา ต้ังความสตั ยไ์ ว้แล้ว เราจะรกั ษาอยา่ งนีไ้ วจ้ นตลอดวนั ตายตลอดชวี ติ
เอาไปเอามา กลางวันเดินไปเดนิ มา มันกล็ มื ความสัตยแ์ ล้ว มนั ไปทีไ่ หน สติ
ไม่ทนั มนั มนั เลยออกไปแล้ว ไปสู่อารมณภ์ ายนอก มันคิดไปล่ะ สตไิ มท่ ันมัน

ทีนี้จ�ำเอาไว้ เร่ืองขอ้ วัตรให้เรียบร้อย ไมใ่ ห้มีความสงสัยเร่ืองขอ้ วัตร
เทกระโถน ปดั ตาดเสรจ็ ทำ� อะไรบรสิ ทุ ธห์ิ มด ทนี ม้ี นั โกรธแล้ว ท�ำอย่างไรมนั ก็
โกรธ มีแต่แขง็ อยู่อยา่ งนนั้ ใจน่ะ เอ ทำ� ยงั ไง เดนิ จงกรม เดนิ วิบ มันกแ็ ข็งอยู่
อยา่ งนั้น มีแตโ่ กรธมีแตแ่ คน้ เลยกลับขึ้นกุฏิ รีบกลับข้ึนไปไหว้พระท�ำวัตร
ทำ� วตั รแล้วกน็ งั่ บรกิ รรมกำ� หนด มแี ตโ่ กรธแตเ่ คยี ด เอ มนั เป็นอะไรนห่ี อื มนั จงึ
มาแขง็ อยอู่ ยา่ งน้ี วา่ ทีไ่ หนมันมแี ตแ่ ขง็ แต่โกรธ มนั ผดิ อะไรน่ี หือ

ตรวจดู เชา้ มาเราตนื่ ขนึ้ เราไดต้ งั้ ใจไว้แล้วว่าจะรกั ษากาย วาจา ใจ ของเราน่ี
ให้บรสิ ทุ ธ์ิ กลางวนั กด็ ี พลบคำ่� มากด็ ี เราตง้ั ใจจะรกั ษาตรวจดใู จของเรา ผดิ อะไร
ตรวจดไู มม่ ี วาจาของเราได้พดู กบั ใครผดิ อะไร ไมม่ ี ใจมาฆ่าหมอนเี่ สยี แลว้ หอื
คิดอะไร อ้อ มนั ให้คิดไปตามอารมณ์ อันนั้นปรุงอนั นไ้ี ปแลว้ แน่ มันเปน็ แตใ่ จ

226

น่แี หละ มันเปน็ ทใ่ี จนีแ่ หละ เลยมา้ งสมาธอิ อก มา้ งแล้วก็กราบลง ท�ำวตั รอกี
แล้วกราบลงวา่

กาเยน วาจาย ว เจตสา วา, พุทฺเธ กุกมฺมํ ปกตํ มยา ย.ํ บาปช่วั ร้ายอนั ใด
ทข่ี ้าพเจา้ ได้ลว่ งในพระพทุ ธเจา้ ดว้ ยกาย วาจา ใจ บาปอนั นา่ เกลยี ดอนั พระพทุ ธเจ้า
ตเิ ตียน ขา้ พเจ้าล่วงแล้ว พุทโธ ปฏิคฺคณฺหตุ ขอพระพุทธเจ้าจงอดโทษให้ขา้ พเจา้
ดว้ ยเถิด อจจฺ ยนตฺ ํ กาลญตฺ เร สํวริตุํ ว พุทเฺ ธ. ตง้ั แตบ่ ดั น้เี ป็นตน้ ไป ข้าพเจา้ จะ
สำ� รวมต่อไปจนวนั ตาย

มา วรรคธรรม ก็วา่ อยา่ งเดียวกัน ขา้ พเจ้าได้ผิดในพระธรรม ขอพระธรรม
จงอดโทษให้ ขา้ พเจ้าจะสำ� รวมในพระธรรมตลอดวันตาย

วรรคสงฆ์ ก็เหมือนกัน ข้าพเจ้าจะส�ำรวมตอ่ ไปจนวันตายตั้งแตบ่ ัดน้ีไป
ขอพระพทุ ธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ จงอดโทษใหข้ ้าพเจ้าดว้ ยเถดิ

สบายใจ ใจไมแ่ ขง็ สบายใจ ดใี จ พอบา่ ย ๓ คนื กลบั ......(เทปเสยี )

มนั จงึ สมกบั ทม่ี าวา่  ภกิ ขฺ โุ น สตตฺ นนฺ ํ โพชฌฺ งคฺ านํ  สตคิ อื อะไร เอ อย่างนซี้ ิ ภกิ ษุ
ไดพ้ ดู ความสัตย์ความจริงไว้แล้ว ต้องมสี ต ิ สัตตะ ก็คอื มสี ติ อย่างนไี้ ดช้ ่อื วา่ ผทู้ �ำ
สติสัมโพชฌงค์ ๗ ให้เกิดข้ึน ต้ังแต่น้ันมาก็ส�ำรวมระวังไม่ให้มันคิดไปภายนอก
เวลาน่ังสมาธิมันก็ไป ไปภายนอกน่ันแหละ มันฉีกไปไมร่ ูแ้ ลว้ มันก็ตั้งส�ำรวมดี
เวลาทำ� เรากต็ ง้ั ไว้ยงั งนั้ เราจะไม่คดิ เดยี๋ วนหี้ นา้ ทเี่ รานง่ั ภาวนา งานของเราจำ� เพาะเรา
ไม่ใชง่ านคนอ่นื งานของคนอื่นเราท�ำแลว้ กลางวนั เราทำ� แล้ว บดั นเ้ี รานัง่ จ�ำเพาะ
ของเรา งานของเรา เราต้องไมค่ ิดไปเรอ่ื งอน่ื ของคนอน่ื ถ้าเราคิด ก็คิดอยู่ท่กี ายนี่
ใหม้ ีสติประจ�ำใจอยูน่ ี่ แล้วเรากเ็ อาปญั ญาน่ันแหละ ถา้ เรานง่ั มนั ไมล่ งไม่รวม เราก็
เอาปญั ญาน่ันแหละล้อมมนั เข้า ไมใ่ หม้ นั ไป

หรอื จะเอาอยา่ งนกี้ ไ็ ด้ ใหพ้ จิ ารณา มนั กบ็ รกิ รรมเหมอื นกนั นน่ั แหละ เกสา ผม,
โลมา ขน, นขา เลบ็ , ทนตฺ า ฟัน, ตโจ หนงั , มํสํ เนอ้ื , นหารู เอน็ , อฏฺฐิ กระดูก, 

227

อฏฺฐิมิญฺชัง เยื่อในกระดูก, วกฺกํ มา้ ม, หทยํ หัวใจ, ยกนํ ตับ, กิโลมกํ พังผืด,
ปิหกํ ไต, ปปผฺ าสํ ปอด, อนฺตํ ไสใ้ หญ,่ อนฺตคุณํ ไส้น้อย, อุทรยิ ํ อาหารใหม,่
กรีสํ อาหารเกา่ , มตฺถเก มตถฺ ลงุ คฺ ํ เย่อื ในสมอง, ปติ ตฺ ํ นำ�้ ดี, เสมหฺ ํ นำ�้ เสลด,
ปุพโฺ พ นำ้� เหลือง, โลหิตํ นำ้� เลือด, เสโท น้�ำเหงือ่ , เมโท นำ้� มนั ขน้ , อสฺสุ นำ�้ ตา,
วสา นำ้� มันเหลว, เขโฬ น�้ำลาย, สงิ ฺฆาณิกา นำ�้ มูก, ลสิกา นำ้� ไขข้อ, มตุ ฺตํ น้ำ� มตู ร
อาการสามสิบสอง เอามันอยูน่ ั่นแหละ เดินจงกรมก็ตาม นั่งอยู่ก็ตาม เอามันอยู่
นน่ั แหละ ให้มนั ไปไมไ่ ด้ ใหม้ สี ตปิ ระจำ� ไปไมไ่ ด้ นแ่ี หละอาตมาทำ� อย่างน้ี เอาอาการ
๓๒ บรกิ รรมอยู่อย่างนี้ เอาจนมันขาดจากอารมณ์ ไม่เกีย่ วกับอารมณ์ เอาใหม้ นั
อยู่กับอารมณ์ เอาใหม้ ันอยกู่ บั ผม ขน เล็บ ฟนั หนัง ใหม้ ันขาดจากอารมณ์ วนั ใด
เดอื นใด กเ็ อามนั พจิ ารณา เอาปัญญาพจิ ารณา กป็ ัญญาโลกยี น์ นั่ แหละ สญั ญาเรา
จำ� ได้ จำ� แบบจำ� แผน ไดย้ นิ ได้ฟงั มา เอามนั นแ่ี หละค้นคว้าพจิ ารณารอบๆ ไปเรอ่ื ยๆ
จนไปไมไ่ ด ้ ถกู ท่ีมนั ตีมัน มนั ก็กลัวแลว้ กลัวแลว้ มนั จะสดชื่นข้ึน ที่ไหนมันจะเจ็บ
ตอ้ งตีมัน จิตมันก็เหมือนกันกับวอก ใหม้ ีสติบังคับจิต เราภาวนาเราก็ต้องมีสติ
นนั่ แหละ ตอ้ งคมุ จิตไมใ่ ห้มนั ไป ใหม้ ันอยู่กับท่ี

จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ ผูท้ ี่ควบคุมจิตของตนทรมานดีแล้ว จิตน�ำสุขมาให้
ผูท้ ี่ควบคุมจิตของตนทรมานจิตใหด้ ีแลว้ จิตเบิกบาน มันสงบแลว้ มีความสุข
จติ สวา่ งไสว จติ สวา่ งไสวมนั จะมปี ญั ญา ปัญญากม็ นั นน่ั แหละ อย่ทู ด่ี วงจติ นน่ั แหละ
จิตเมอื่ มันคลุกคลกี ับอารมณ์ เอาอารมณ์เขา้ มาครอบงำ� ดวงจติ แล้ว จนมันเงยคอ
ข้ึนไม่ได้ มนั กไ็ ม่เหน็ แลว้ มดื ตอ่ เมื่อเราชำ� ระสง่ิ เหล่านีไ้ ด้ จิตมันสงบแล้ว จิตมนั ตงั้
ไมไ่ ด้ อารมณท์ บั มนั มนั ไม่สงบ ตง้ั ไมไ่ ด้ ต่อมามนั มปี ญั ญาลอ้ มรอบ  เอาสงิ่ เหลา่ นน้ั
ธรรมเหลา่ นน้ั รูป รส กล่ิน เสยี ง เคร่อื งสัมผัส ธรรมารมณ์ มันไมเ่ อาเข้ามาปรุงใจ
ไม่เขา้ มาปรงุ ใจแล้วหมายความว่าใจบรสิ ทุ ธิ์ ใจบรสิ ทุ ธแ์ิ ล้วกส็ งบตงั้ มน่ั หมายความ
วา่ ลืมตาข้นึ ได้ มนั กเ็ ห็นเทา่ นัน้ แหละ มนั นั่นแหละเปน็ ปญั ญาเพราะมันเหน็ จติ ตง้ั
ไมไ่ ด้ ไมส่ งบ เพราะไมม่ กี ำ� ลงั จติ สงบตง้ั ได้แล้ว ไมง่ ่อนแง่นคลอนแคลนแล้ว กระแส
มนั จงึ พงุ่ ขนึ้ มา เรียกว่าปัญญาเห็นหมด แลว้ ก็ค้นควา้ เขา้ ไปอกี

228

โอวาทของพระพุทธเจ้าว่า สพฺพปาปสฺส อกรณํ  กุสลสฺสูปสมฺปทา สจิตฺต
ปรโิ ยทปนํ เอตํ พุทธฺ านสาสนํฯ บาปท้งั หลาย อารมณท์ ง้ั หลาย ไมใ่ ห้มนั เข้ามา
สพพฺ ปาปสสฺ อกรณํ เปน็ เครอ่ื งงดเว้นจากความชวั่ ทกุ สง่ิ ทกุ อย่าง ทง้ั กาย วาจา ใจ
กสุ ลสสฺ ปู สมปฺ ทา สงิ่ เปน็ ประโยชน์ สงิ่ ทที่ ำ� จติ ให้บรสิ ทุ ธผิ์ ดุ ผอ่ ง อะไรกต็ าม คณุ งาม
ความดที ป่ี ระกอบขน้ึ ทานกต็ าม ศลี กต็ าม ศลี ๕ ศลี ๘ กต็ าม การไดฟ้ งั เทศนฟ์ ังธรรม
การนั่งสมาธิก็ตาม ไดช้ ่ือว่าเปน็ ผูข้ วนขวายท�ำให้กุศลเกิดขึ้น กุศลที่ยังไมเ่ กิดให้
เกดิ ขนึ้ ทเี่ กดิ ขนึ้ แล้วรกั ษาใหม้ นั เจรญิ เตม็ เปย่ี ม บาปทเี่ กดิ ขนึ้ แลว้ เพยี รประหารเสยี
บาปทยี่ งั ไมท่ นั เกดิ มสี ตริ ะวงั ไม่ให้มนั เกดิ ขนึ้ จติ มคี วามเศรา้ หมอง กเ็ ป็นการอบรมจติ
อยู่ในเน้ือ ฝกึ ฝนทรมานจิต ใหม้ ีสติท�ำความดี อนูปวาโท ไม่ไปว่ารา้ ยคนอ่ืน
สัตว์อ่ืน อนูปฆาโต ไม่ฆา่ คนอื่นและสัตว์อื่น ปาติโมกฺเข จ สํวโร เปน็ ผูส้ �ำรวม
อนิ ทรยี ์ คอื ตา หู จมกู ลนิ้ กาย ใจ ไมม่ คี วามยนิ ดยี นิ รา้ ยต่ออารมณ์ทงั้ หลายทง้ั ปวง
มตตฺ ญฺญุตา จ ภตตฺ สมฺ ึ เป็นผูร้ ู้จกั ประมาณในภตั เรยี กว่า ภัตตาหาร ความเสวย
สิ่งที่ควรรับประทานจึงรับประทาน สิ่งที่เปน็ ประโยชนต์ ่อร่างกาย สิ่งท่ีจะไม่ท�ำ
ให้เสอ่ื ม บรโิ ภคเข้าไปแล้วมนั ทำ� ใหเ้ กดิ ความเจรญิ เกดิ ความสขุ อยา่ งนแี้ หละจงึ ควร
บริโภคเข้าไป สิ่งท่ีไม่เปน็ ประโยชนแ์ ก่ร่างกาย ถ้าบริโภคเข้าไปแล้วท�ำให้ร่างกาย
ชำ� รดุ ทรดุ โทรม หรอื ทำ� ให้รา่ งกายลำ� บาก อนั นไี้ มค่ วรบรโิ ภค เรยี กวา่ มตตฺ ญญฺ ตุ า
จ ภตตฺ สมฺ  ึ อาหาร หมายเอาอารมณ์ ไม่เอาอาหารทเ่ี ราบรโิ ภคเขา้ ไปกถ็ กู พจิ ารณา
อนั ไหนมนั จะถกู จะพอยงั ร่างกายให้เป็นไป ไม่ทำ� ใหเ้ กดิ โรค อนั นกี้ ส็ ำ� คญั เหมอื นกบั
อาหารที่เราบริโภคเขา้ ไป อาหารอารมณ์นั่นไมค่ วรบริโภคสักอย่าง ควรบริโภค
เข้าไปแตธ่ รรมารมณ์ คอื ธรรม คือใจ ควรบริโภคเข้าไป นอกจากนัน้ รูป เสียง กล่ิน
รส เครอื่ งสัมผัส ไมค่ วรบริโภค สิ่งทค่ี วรบริโภคคือการรกั ษาให้มสี ติ รกั ษาประจำ�
บริโภคบ่อยๆ

กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ พิจารณาภายในกายคือตนน่ีแหละ พิจารณาให้
มันเห็นเป็นของปฏกิ ูล ของโสโครก มีสติพิจารณาภายนอกคือกายผู้อืน่ อย่างนน้ั ก็
ทงั้ กายในกายนอกอย่างเดยี วกนั ไมผ่ ดิ กนั พระพทุ ธเจา้ จงึ ว่า อชฌฺ ตตฺ ํ วา ภายในกด็ ี
กล็ ้วนเปน็ ของปฏกิ ลู ของโสโครกหมดทงั้ นน้ั  พหทิ ธฺ า วา ภายนอกเปน็ กายผ้อู น่ื กเ็ ป็น

229

ของปฏิกูลโสโครกเหมือนกนั  โอฬารกิ ํ วา ส่วนหยาบก็ตาม สขุ ุมํ วา ส่วนละเอียด
ก็ตาม ล้วนแต่ไมใ่ ชค่ นไมใ่ ชส่ ัตวห์ มดทั้งน้ัน ไมใ่ ช่ตัวไม่ใช่ตนหมดท้ังน้ัน ประณีต
ก็ตาม เลวทรามกต็ าม ไมใ่ ชค่ นไม่ใช่สัตว์ ให้พจิ ารณาเห็นอยา่ งนน้ั สง่ิ ไหนท่ไี กล
ก็ตามทอี่ ยู่ใกลก้ ต็ าม ก็ลว้ นแต่ไมใ่ ชค่ นไม่ใชส่ ัตว์ พระพุทธเจ้าใหพ้ จิ ารณาอย่างนี้
อนั นเ้ี รยี กวา่ พิจารณา กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ อาตาปี สมฺปชาโน อาตาปี คอื
ความเพียร มีสตสิ ัมปชญั ญะรูร้ อบ เพยี รเผากิเลสใหเ้ ร่ารอ้ น พึงทำ� ใหอ้ วชิ ชาและ
โทมนสั ในโลกนีพ้ ินาศเสยี

พระพุทธเจา้ จึงให้พจิ ารณา สติปัฏฐาน ๔ คอื กายหนึ่ง ให้กายเปน็ อารมณ์
ของสติ ใหส้ ติพิจารณากาย จบั อยภู่ ายใน ไมใ่ หม้ นั หนจี ากกาย พิจารณาเหมือนว่า
ของปฏิกูลโสโครก ภายในก็ตาม ภายนอกก็ตาม ไม่ใชส่ ัตวไ์ ม่ใชค่ น พิจารณาไป
อย่างนนั้ หรือไม่อยา่ งนน้ั ใหพ้ ิจารณาเอาเวทนาเปน็ อารมณ์ของสติ เวทนาเป็นสุข
เกิดขึ้นแล้วก็ดับไป เวทนาเปน็ ทุกข์ เกิดขึ้นแล้วก็ดับไป เวทนาเฉยๆ เกิดขึ้นแล้ว
กด็ ับไป ไม่ใช่คน ไมใ่ ช่สัตว์ เวทนาเปน็ ตัวทุกข์ เราไมไ่ ด้ทกุ ข์ เราไปยึดเอาเวทนา
ทั้งหลายมันก็ทุกข์ ดวงจิตไมไ่ ด้ทุกข์กับเวทนา เมื่ออยา่ งนั้นก็เอาจิต เอาใจ
นี่แหละเปน็ อารมณ์ของสติ เอาสติไปจับอยู่กับจิตนั่นน่ีให้เอาอยา่ งใดอย่างหนึ่ง
ถา้ ไมพ่ ิจารณากาย เอาสติไปไว้กาย จับเอากาย ก็ต้องเอาเวทนาความเป็นทุกข์
มแี ตท่ กุ ขน์ แ่ี หละแสนทกุ ข์ ใหพ้ จิ ารณาทกุ ข์จนใจเหน็ ชดั จรงิ ลงไป ท่านหมายความว่า
ถ้าเห็นทกุ ข์ กไ็ ด้ชอ่ื วา่ เหน็ ทกุ ขสัจ มันเปน็ ทกุ ขสจั

นน่ั แหละเรอ่ื งภาวนา เราต้องทำ� การพิจารณาทุกครง้ั เราบรกิ รรมแล้วมนั
ไม่สงบ เราจะพกั เสยี นอนเสยี นนั้ ไม่ควร มนั ต้องทำ� ไปพรอ้ ม ต้องพจิ ารณา เรยี กว่า
วปิ สั สนาพร้อมกนั ทำ� ไปอย่อู ยา่ งนน้ั ทกุ ครงั้ ไมท่ ำ� อนั เดยี ว มนั เป็นคกู่ นั ใหเ้ ปน็
คู่กันไป นั่งบริกรรมจะเอาอันไหนก็ตาม อันไหนมันถูกกับนิสัยของตนก็เอา
ถ้ามนั ไม่สงบแล้วกพ็ จิ ารณาค้นคว้า พจิ ารณากายนแ่ี หละ ไม่ตอ้ งพจิ ารณาทอ่ี นื่
แม่นหมดทง้ั ก้อนทเ่ี ราอาศัยอยนู่ ี่ แม่นกอ้ นธรรมหมดทัง้ น้ัน มนั ไม่อยู่ทอี่ ่ืน



230

รา่ งกายท่ีอาศัยอยูน่ ่ีก็ดี มันเป็นของส�ำหรับโลก - สมณธรรม-
เหมอื นกนั ทกุ คนนะ่ แหละ สพเฺ พ ธมมฺ า อนตตฺ า ธรรม
ทง้ั หลายไมใ่ ชข่ องใคร กแ็ มน่ ร่างกายนแี่ หละ หมดก้อน ทุกขสัจจ์
เทา่ นี้เปน็ ตวั สมทุ ยั เปน็ เหตใุ ห้ยดึ ถอื นน่ั แหละอสั สมิ านะ
คนถือเราว่าตัวตน นั่นแหละ อันน้ีแหละ ความมานะ
น่ีแหละคือความวา่ เขาวา่ เรา พระพุทธเจา้ วา่ อัตภาพ
สงั ขาร มนั หลงสมมตุ ิ ท่านใหพ้ จิ ารณาใหร้ ู้ ให้รทู้ กุ ขสจั จ์

ทุกฺขํ อริยสจฺจํ ปริญฺเญยฺยนฺติ เม ภิกฺขเว
ทุกขสัจจ์ควรกำ� หนดใหม้ นั รู้

ทกุ ขฺ ํอรยิ สจจฺ ํปรญิ ญฺ าตนตฺ ิเมภกิ ขฺ เว  อนั นแ้ี หละ
ให้ศกึ ษาหาเหตมุ นั เส้นผมกท็ กุ ขสจั ความเกดิ เป็นหญงิ
เปน็ ชาย ว่าเขาวา่ เรา อา้ ยก้อนน้ีมันเกิดมาจากไหน
ต้องสาวหาเหตมุ นั มนั เกิดมาจากตณั หานแ่ี หละ จงึ ให้
ถอนตัณหา ใหล้ ะตัณหา ให้ละทิ้ง ใหส้ ละ คร้ันมัน
รู้จักแลว้ มันก็จะละ

เรอ่ื งทุกขสัจจน์ ีใ้ ห้มนั รู้ พิจารณามันทัง้ นอกทั้งใน
หรอื จะออกพจิ ารณา ผม ขน เลบ็ ฟัน หนงั อาการสาม
สิบสองนะ่ กระจายออกทกุ ๆ ส่วน แล้วมันเหลือเปน็
คนไหม บม่ คี นแล้ว กำ� หนดออกไปๆ จนเหลอื อายตนะ
ของมัน บญั ญัติ ความสมมุติ สมมตุ คิ ือขันธ์ รูปขันธ์
เวทนาขนั ธ์ สัญญาขันธ์ สงั ขารขันธ์ วญิ ญาณขนั ธ์

รปู ขนั ธ ์ คือ ธาตุสี่ประชมุ กันเปน็ รปู ขันธ์ ถ้ามีรูป
ก็มีเวทนาเกิดข้ึน ต่อไปผัสสะมันตอ่ กันเกิดขึ้น
พระพุทธเจา้ ไม่บอกใหพ้ ิจารณาไปอื่น ให้พิจารณา
ที่นี่ หมดก้อนของเขาของเราน่ีแหละ แมน่ กอ้ นธรรม

231

อยา่ ไปหาท่ีอื่น อยา่ ไปพิจารณาท่ีอื่น มันไปยึดไปสร้างไปเสีย มันจะเปน็ เหตุให้
เจา้ ของตดิ อยู่ ใหพ้ ิจารณาอันนี้ ทางจะไปพระนิพพานมีเทา่ นีห้ ละ

ท่านแสดงไว้ สัมมาทิฐิ ความเห็นชอบ ก็เห็นกายนี่แหละ ให้พิจารณากาย
นี่เปน็ ทางไปสูท่ างพน้ ทุกข์ ไปสู่ที่อันบรมสุข สุขอันเนรมิตใสต่ น อย่าไปหาที่อื่น
พระพทุ ธเจา้ วา่ แมน่ อนั นห้ี ละ ใหม้ นั เหน็ นอนกอดอยแู่ ท้ๆ หมดทง้ั วนั ถ้ามนั ไปยดึ ตวั
ยดึ ตนอยู่ มนั ไม่ได้ไปพระนพิ พานดอกละ่  ว่าเขาวา่ เราว่ากวู า่ มงึ เสยี พระพทุ ธเจ้าว่า
อันน้ีมาสมมุติว่าเปน็ ตัวตนเราหมดท้ังก้อน ใหพ้ ิจารณาใหเ้ ห็นเป็นไตรลักษณ์
ให้เหน็ เป็นอนจิ จงั ทกุ ขงั อนตั ตา พจิ ารณาให้เหน็ เปน็ อสภุ ะอสภุ งั ไม่ใหเ้ หน็ เปน็ สภุ ะ
ความงาม ความดี ความมน่ั คง มนั เห็นนีแ่ หละมันจงึ เกิดนิพพิทา ความเบ่ือหนา่ ย
ต่อรา่ งกาย เบ่ือต่อความเปน็ ไปของมัน มันเกิดมาแล้ว มันก็มีความแกค่ ร่�ำคร่า
มพี ยาธเิ บยี ดเบยี น มมี รณะความตาย พลดั พรากจากกนั โสกะความโศกาพไิ รรำ� พนั
มโี ทมนสั ความเสยี ใจ ความคบั แคน้ ใจ ความขดั ขอ้ ง เมอื่ เกิดมากเ็ ป็นทกุ ข์ พจิ ารณา
ทุกขสัจจน์ ี่ให้มันเห็นความจริง ความพลัดพราก ความประสบสิ่งท่ีไมเ่ ปน็ ท่ีรัก
ทช่ี อบใจก็เปน็ ทกุ ข์น่ี 

เนอ่ื งจากทกุ ข์ทง้ั หลายมนั มารวมอยูท่ ขี่ นั ธ์ท้ังห้า ปญจฺ ุปาทานกฺขนฺธา ทกุ ฺขา
ขนั ธท์ ง้ั ห้าเปน็ ทปี่ ระชมุ รบั ภาระของธรุ ะของหนกั ทา่ นว่าขนั ธท์ ง้ั ห้าเป็นภาระอนั หนกั
เมื่อวางภาระแล้วก็เป็นสุขเทา่ นั้น คือวางรา่ งกายของตน ก็ให้พิจารณาเห็นทุกข์
น่ีเสียก่อน พอเห็นทุกข์แล้วก็ให้สาวไป อันไหนเปน็ เหตุให้เกิดทุกข์ มีกามตัณหา
ความใครใ่ นกิเลสกาม วัตถุกาม ความใครก่ ็คือความอยากเป็นอยากมีน่ันแลว้
อยากเป็นผู้ดีมีลาภมียศนนั่ แหละ เรียกว่า ภวะ ความอยากเปน็ อยากมีนน่ั  วิภวะ 
ความไม่ชอบ อารมณท์ ไ่ี ม่ชอบ เรยี กว่าอนฏิ ฐารมณ์ อารมณท์ ไี่ ม่ชอบใจ เกลยี ดชงั
ผมหงอก ฟนั หัก เกลียดชังหนังหดเห่ียวเป็นเกลียว ความเสื่อมของอายุของตน
ความเสื่อมลาภ ยศ สรรเสริญ ทรัพย์ คร้ันเห็นอันนี้ก็เพียรละเพียรถอนมัน
มันเป็นเพราะอันนี้ มันเปน็ เพราะอยากน่ีแล้ว ความอยากมันมาจากความโง่
ความไมเ่ ข้าใจ ความเปน็ ตนเปน็ ตัว น่ีเรยี กว่า อวิชชา เราคืออวิชชา

232

พระพทุ ธเจา้ เปรยี บเหมอื นวชิ ชา เปรยี บเหมอื นผ้กู อ่ กำ� หนดของทารก ทารกนนั่
เปน็ ทรี่ กั ของบดิ ามารดา มารดาเป็นผทู้ ำ� นบุ ำ� รงุ ทารกกเ็ ปน็ สขุ คอื ตณั หา ความรกั ใคร่
ความชอบใจ เปน็ ผู้รักษาสนองความสุข ทารกก็เจริญข้ึน เจริญข้ึนไป ครั้นเห็น
สง่ิ เหล่าน้ี สงิ่ เหล่านเ้ี ปน็ เหตใุ หเ้ กิดตณั หา กามตณั หา ภวตณั หา วภิ วตณั หา เหลา่ นี้
เกิดข้ึนแล้วมันก็เป็นทุกข์ ตัณหาน่ีมันเกิดอยูท่ ่ีไหน มันต้ังอยูท่ ่ีไหน ต้องค้นหามัน
นนั่ แหละบ่อนมนั เกดิ บ่อนมนั ตงั้ อยู่ บคุ คลจะดบั ตณั หาจะดบั ทไ่ี หน บคุ คลจะละตณั หา
ละท่ีไหน จะดับตัณหา ดับที่ไหน ตัณหาเกิดขึ้นที่ไหนใหด้ ับที่นั่น โบราณเพ่ินวา่
ไฟเกิดที่ไหน เอานำ้� มาราดท่นี ่นั ดบั ทน่ี นั่ ไฟตณั หามันเกิดข้ึนที่ตน ดบั น่ี ปล่อยนี่
วางน่ี เกิดขน้ึ ท่ไี หนละ่ ตณั หาทเี่ กิด เกิดขึ้นจากจักขุนน่ั แหละ เกิดขึน้ ท่โี สตะ เกิดขึ้น
ที่ฆานะ เกิดข้ึนที่ชิวหา เกิดขึ้นที่กาย เกิดขึ้นท่ีใจ มันเกิดขึ้นท่ีน่ีก็ต้องดับที่น่ี
ตอ้ งใหเ้ หน็ ทน่ี ่ี เกิดขน้ึ ท่ีไหนอีก เกิดขนึ้ ทรี่ ปู เกิดข้นึ ท่ีเสยี ง เกิดข้ึนทก่ี ลิน่ เกิดท่รี ส
เกดิ ทโ่ี ผฏฐพั พะ เกดิ ทธี่ รรมารมณ์ เกดิ ทไี่ หนอกี เกดิ ทจี่ กั ขวุ ญิ ญาณ วญิ ญาณความรู้
โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชวิ หาวญิ ญาณ กายวิญญาณ มโนวิญญาณ เกิดขนึ้ ท่ีน่ี

มนั เกิดขึ้นน่ี มนั มาจากสาเหตุไหน มันเกิดมาจากความกระทบ กระทบทางตา
ทางหู ทางจมูก ทางล้นิ ทางกาย ทางใจ เวทนาเกิดขนึ้ จากรูป จากจักขุสัมผัส ชวิ หา
กระทบกบั รส ชวิ หาสมั ผสั เกิดเวทนา กายเวทนา เกิดข้ึนจากสมั ผัสทางกาย เวทนา
เกิดขน้ึ ทางมโน จากสัมผสั ทางใจ ความนอ้ มนึกไปตามอารมณ์ ฮอื มันเกิดข้นึ ท่ีนี่
อยูท่ ่ีนี่แหละ มันอยตู่ อนอายตนะ มนั จะเกิดข้ึนต่อๆ ขึ้นไป รปู สญั ญา โสตสญั ญา
คันธสัญญา ชิวหาสัญญา โผฏฐัพพสัญญา มโนสัญญา รูปสัญเจตนาเปน็ ทุกข์
ของโลก โสตสัญเจตนา คนั ธสญั เจตนา ชิวหสัญเจตนา กายสัญเจตนา โผฏฐพั พ-
สญั เจตนา ทมี่ นั เกิดขนึ้ เพราะความสขุ ของรปู ของเสยี ง ของกลน่ิ ของรส รปู ตณั หา
เหน็ รูปเกิดตณั หาขึ้น เป็นทกุ ข์ โสตตณั หา ฆานตัณหา ชวิ หตณั หา โผฏฐพั พตณั หา
มโนตัณหา ความกระทบของรูป ของเสียง ของกลิ่น ของรส ของโผฏฐัพพะ
ของธรรมารมณ์ ยึดเอาละ่ นแ่ี หละตณั หามนั เกิดขนึ้

เรารูจ้ กั บ่อนมนั เกิด เราจะละอย่างไรล่ะ ถอนอยา่ งไรล่ะ ร้จู ักบ่อนมนั เกิดแลว้
เม่ือมันเกิดขึ้นท่ีหู บุคคลจะดับตัณหา ดับท่ไี หน ดับทีห่ ู ทตี่ า ทจ่ี มกู ที่ลิ้น ทีก่ าย

233

ทใี่ จ ดบั รปู ดบั ตา ดบั หู ดบั จมกู ดบั ลนิ้ ดบั สมั ผสั ดบั ธรรมารมณ์ ตอ้ งดบั อนั นี้ ไมใ่ ช่
ดบั อนั อนื่ เกิดข้ึนท่ีไหนดบั ที่นัน่ เกิดข้ึนท่ีน่ี เกิดขึ้นจากอายตนะภายใน เกิดขึ้นจาก
อายตนะภายนอก เกิดขน้ึ จากจกั ขสุ มั ผสั โสตสมั ผสั จากจกั ขวุ ญิ ญาณ โสตวญิ ญาณ
ฆานวญิ ญาณ ชวิ หาวญิ ญาณ โผฏฐพั พะวญิ ญาณ มโนวญิ ญาณ ดบั ทนี่ น่ั เว้าซอื่ ๆ วา่
เกิดที่ ตา หู จมกู ล้นิ กาย ใจ ดับสนทิ แลว้ ไม่มคี วามยนิ ดียนิ ร้ายตอ่ สิ่งทั้งปวง
วางใจเปน็ กลาง คร้ันท�ำใจเป็นกลาง ไมม่ ีความยินดียินรา้ ยในส่ิงทั้งปวงแล้ว
ใจไดล้ ะวางแลว้ ตัดไดห้ มดแล้ว แจ้งประจักษ์ ดับสนิทแลว้ เราไดท้ ำ� ให้เกิด
ใหม้ แี ลว้ ซึง่ มคั คสมงั คี ท�ำใหม้ ันแจง้ มรรคมอี งคแ์ ปด ทำ� ใหแ้ จ้งบริบรู ณ์

จิตของเราเม่ืออบรมไปแล้วมนั ลง มันสงบ มนั หมดเรื่องความเว้า อนั นนั้ แหละ
มนั จงึ รวู้ า่ เราจะเอาสญั ญาน่ี เราเอาสญั ญานแี่ หละพจิ ารณาร่างกายของเรา พจิ ารณา
ไปๆ มนั จงึ จะเกิดญาณทศั นะ ความร้คู วามเหน็ ตามความเป็นจรงิ มนั แจ้งประจกั ษ์
เบอื้ งตน้ เรากพ็ จิ ารณาใช้สญั ญานน่ั แหละ ท่านเจ้าคณุ อบุ าลที ่านว่า มนั จะต้องเอา
โลกยี น์ น่ั มาใชเ้ สยี กอ่ น พระพทุ ธเจ้ากเ็ อาโลกยี ์นแี่ หละใชเ้ สยี ก่อน มนั จงึ ได้สำ� เรจ็
ถงึ โลกตุ ระพอดี โลกยี ะเป็นเหตุ โลกยี ะเปน็ รากเปน็ เค้า ค้นคว้าสงั ขารรา่ งกาย ผม
ขน เลบ็ ฟัน หนัง คน้ ควา้ พจิ ารณาไม่ใหข้ าด ใหม้ ีสตสิ ัมปชัญญะประจำ� ใหม้ นั รู้จิต
มีราคะก็ใหม้ ันรู้ หายราคะก็ให้มันรู้ เอาประจ�ำอยู่น่ันแหละ จิตมีโทสะก็ให้มันรู้
จิตหายโทสะก็ใหม้ ันรู้ หายโมหะก็ให้มันรู้ จิตหดหูก่ ็ใหม้ ันรู้ จิตผุดผ่องก็ให้มันรู้
มันเกิดข้ึนเพราะเหตุใด จิตเราเป็นสมาธิ ไดฌ้ าน ฌานอุปจาระ ฌานขณิ กสมาธิ
อุปจารสมาธิ จิตเป็นรูปาวจรกใ็ หร้ ู้ จิตไมเ่ ปน็ กใ็ ห้รู้ ให้มีฌาน จติ เปน็ อิสระไมเ่ ป็น
อสิ ระกใ็ หร้ ู้ จติ มฌี าน ปฐมฌาน ทตุ ิยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน ก็ใหม้ ันรู้ จิตเปน็
สมาธิก็ให้มันรู้ จิตไม่เปน็ สมาธิก็ใหร้ ู้ จิตอยู่ในภพในชาติ ยังไม่หลุดพ้นก็ใหม้ ันรู้
จิตหลุดพน้ ก็ใหม้ ันรู้ ให้ก�ำหนดจิต พิจารณาจิต เอาประจ�ำอยูอ่ ยา่ งนี้ มันก็บ่พ้น
ไปได้ดอก

ครนั้ เราตง้ั ใจอย่แู ลว้ ได้หนึ่งเดือน สองเดือน บพ่ อ ใหม้ ันตายเสีย ปฐมฌาน
ทุตยิ ฌาน ตติยฌาน ใหร้ ู้จกั ทำ� ความเพียรเอามนั อย่นู นั่ แหละ บทมันรู้มนั จะรู้ป๊นู
จตตุ ถฌานไปซอื่ ๆ น่นู จะรเู้ มอ่ื มนั สงบ มนั บม่ ตี น้ ไม้ ภเู ขา เถาวลั ย์ ธรรมชาติ ภเู ขา

234

ท่ีไหนไม่มี มีแต่แผน่ ดินกับครอบฟ้าจางปางอยู่ฮ่ัน อันน้ันแหละจิตมันรวม
บริสุทธ์ิแลว้ ครั้นมันเห็นอย่างน้ันแล้ว มันบ่มีคน บม่ ีหยัง หมดสัญญาแลว้
อากาสานัญจายตนะ นเ้ี ลยขึ้นไปบ่มี มนั จะกลบั มันจะเอากนั อีก

อยู่บา้ นผือไปมันทุกมื้อ ไปพรหมโลกนั่นแหละ ไปสวรรค์ก็ไปม้ือน้ันแหละ
ไปมันทุกวัน อยากวันไหนก็ไปวันนั้นแหละ อันน้ีมันสุดแตค่ นแลว้ เห็นแจง้ ชัด
มันจะขน้ึ ไป ความทุกขม์ นั จะเห็นไมม่ ี เหมือนกนั กับจุดตะเกยี งเจา้ พายุ แดงโรอ่ ยู่
ยงั งั้นแหละ มันสงบลงไปแล้ว ไมม่ ีหยงั แล้ว แต่เราไปเกิดแต่วิญญาณ มนั กบ็ ่ดแี ลว้
แล้วบเ่ ป็นหยงั บ่มีหยัง วา่ ยังง้นั มนั ก็บด่ แี ลว้ มนั ตอ้ งคน้ ควา้ จติ เราสงบ มนั สงบ
ดีแลว้ บม่ หี ยงั ๆ วา่ ยังง้นั มันกไ็ ม่ถกู มันตอ้ งคน้ ควา้ มันสวา่ งเต็มโลกแน่ะ มนั สวา่ ง
กเ็ ห็นก็คน้ ควา้ หาส่ิงของได้ ไม่จุดไฟมันมืด ไม่มดี วงไฟมันก็มืด บเ่ ห็นหยงั จะเก็บ
ขา้ วเกบ็ ของเราตอ้ งจดุ ไฟเจ้าพายุขึ้นเราจึงหาเจอ บ่จุดมนั ก็ตะเกยี งซื่อๆ นีก่ ็เขา้ ใจ
วา่ ดวงไฟมันมดื คอื ข้ีเขม่า มดื ก็ตอ้ งขัดเอาเขม่าออก บข่ ัดออก จุดไปนานๆ มนั ก็
มวั หมอง ไม่สว่างแลว้ จิตของเราคร้ันไม่สงบแลว้ กม็ ืด ถา้ ไมม่ สี ง่ิ ที่หมักหมมใหม้ ัน
เศรา้ หมองขนุ่ มัว มันก็สวา่ ง สวา่ งแลว้ เราก็คน้ คว้า

ท่านจึงวา่ จิตเดิมธรรมชาติเลื่อมประภัสสร แตอ่ าศัยอาคันตุกะกิเลสเข้ามา
หมกั หมม จิตมนั จึงขุน่ มัวไป จะเปรยี บเหมือนกับแก้ว หรอื เพชรนิลจินดาทเ่ี กลือก
กลวั้ อยกู่ บั ฝ่นุ ธลุ ีกบั พื้นแผ่นดิน บคุ คลผู้ฉลาดมาตรวจว่ามเี พชรพลอยมบี อ่ ทองคำ�
ที่นี่ เขาจะมาขุดข้ึนเอามาเจียระไน จึงเปน็ ทองค�ำธรรมชาติ เป็นเพชรเป็นพลอย
อันใส เราต้องตั้งตน้ ตรงนี้เสียกอ่ น ธุลีมันก็มีอยู่ จิตเดิมมันมีอยู่ ตั้งใจอยู่ แตว่ ่า
มนั เอาสมมตุ เิ ข้าไปใส่ มนั หยบิ หนงั สอื ขนึ้ มาแล้วแตม่ นั มดื มนั ดบั มแี ต่ฝนุ่ ธลุ ี มโี คลน
มีตมมาเกลือกกลั้วอยู่ ใช้การบไ่ ด้ ก็เห็นตัวอยู่ชัดๆ จิตของเราก็อย่างนั้นแหละ
เมื่อจติ ของเราขดั เกลาดแี ลว้ เพ่อื ไมใ่ ห้มันหลง ขัดอยทู่ ุกว่ที กุ วนั ไมใ่ หท้ ุกข์เขา้ มา
ขนุ่ มวั หัวใจ รักษาใจให้มันสวา่ งอยู ่ จติ ฺตํ ทนตฺ ํ สขุ าวหํ จติ ขดั ดีแลว้ อบรมดีแลว้
มีแตค่ วามสุข มันสุขก็แม่นจิตเท่านั้นแหละ มันจะรู้สึกได้ กายมันเปน็ ไปตามเร่ือง
ของมนั นนั่ แหละ มนั กอ้ นพยาธหิ มดทงั้ ก้อน ไมม่ ดี สี กั กอ้ น ใจมนั ไปหมกั หมมกบั อะไร
ตอ่ อะไร เอามาเปน็ อารมณ์ อย่แู ต่มนั อนั เดยี วเท่านน้ั บย่ ดึ อนั ใดถ้ามนั เหน็ โทษแลว้

235

เวลาไมม่ อี ะไรมาเกลอื กกลว้ั ปะปนแลว้ มนั กใ็ สอย่นู น่ั กเ็ ปน็ พระนพิ พานเทา่ นน้ั แลว้
ใจอยตู่ ามธรรมชาติก็เปน็ อยา่ งน้ัน กใ็ สอย่างนน้ั

เวทนา ร่างกายมันเป็นธรรมดา มันเปน็ รังของโรค เป็นก้อนโรคตั้งแต่ไหน
แตไ่ รมา มันเปน็ อยา่ งใดกไ็ มม่ ีความหวน่ั ไหว พระพทุ ธเจา้ และพระสาวกทงั้ หลาย
กไ็ ม่มคี วามหวน่ั ไหวเวลามนั จะเปน็ ไปรา่ งกาย แล้วแตม่ นั จะเปน็ ไปตามเรอื่ งของมนั
หน้าท่ขี องเขา ทกุ ขังอยนู่ ั่น เวทนาอย่นู ่ัน เกิดเวทนาก็ใหฝ้ กึ หัดพิจารณาโลกธรรม
รปู อันน้ีเราได้มาดีแลว้ เมอื่ มันช�ำรุดทรุดโทรมไป พระพทุ ธเจา้ กไ็ ม่มีความหวัน่ ไหว
ต่อมัน มันจะเส่ือมลาภ ใหม้ ันเส่ือมไปตามวิสัย ใจเราไมเ่ สื่อม ความนินทาก็มัน
ลมปาก ครั้นรู้เทา่ แลว้ จิตไมก่ ระวนกระวาย จิตไมม่ าเก่ียวข้องกับร่างกายแลว้
มนั กส็ ขุ เทา่ นน้ั แหละ ความทกุ ขก์ ายเกิดขน้ึ ถ้าร้เู ทา่ แลว้ จติ กไ็ ม่หวนั่ ไหว อโสกํ วริ ชํ
ไม่มีกิเลสเคร่ืองมลทินจะตามได้ ไม่มีความโศกเศร้าต่อความเสื่อมของร่างกาย
ความเสือ่ มลาภ เสือ่ มยศ ความนินทา ความสรรเสรญิ มีความรูส้ ึกเปน็ ปกติ นี้ชอ่ื
ว่าเป็นผู้รูเ้ ท่าโลก รู้เทา่ แลว้ ไมม่ ีความทุกขใ์ จ คร้ันไมร่ ูเ้ ท่าความเปลี่ยนแปลงของ
ร่างกายแลว้ กม็ คี วามหวาดเสยี ว มคี วามสะดงุ้ อยู่ กลวั อยู่ บร่ เู้ ท่า ยา่ นมนั กบ็ ห่ ายดอก
ไมร่ ูเ้ ท่าแลว้ มันก็มาเกิดอกี

ถ้ามนั มาเกิดเป็นมนษุ ย์ มนั ไดส้ รา้ งบารมี ถา้ มนั ไปเกิดเปน็ อน่ื ละ โอ เปน็ อสภุ ะ
อสุภังกลับชาติเป็นมนุษย์ พระพุทธเจ้าสร้างบารมี ท่านข้ึนไปอยูพ่ รหมโลกปูน๊
ไปอธิษฐานให้มันดับเสีย ครั้นอธิษฐานใหม้ ันดับแล้ว มันนอนอยู่ช่ัวกัปชั่วกัลป์
มันนอน ไมไ่ ด้มาสรา้ งบารมี ครั้นอธิษฐานว่าดับเสีย มันไมไ่ ดเ้ กิดมาสรา้ งบารมี
มแี ตม่ นษุ ยเ์ ทา่ นน้ั แหละ มนสุ สฺ ปฏลิ าโภ เกดิ เป็นมนษุ ย์นเ่ี ปน็ ลาภอนั ประเสรฐิ เพราะ
ได้สร้างบารมี เกดิ เปน็ มนษุ ย์แลว้ มาสรา้ งบาปเฉยๆ มนั กบ็ ่มลี าภแล้ว อย่าสรา้ งบาป
ใส่ตน เกิดมาเปน็ ลาภแล้ว รีบสร้างบารมเี สีย

ไปอย่ทู ใ่ี ด ย่านมนั จะตายเสยี เราตง้ั ใจแลว้ เราตง้ั สตั ยอ์ ธษิ ฐานแล้ว ยงั ไงมนั กจ็ ะ
ใหเ้ ปน็ ชาตสิ ดุ ทา้ ยในชาตนิ ี้ การเกิดของเราน่ี เป็นหรอื ไมเ่ ป็นกต็ าม เราจะทำ� ความ
เพยี รอยู่น่นั แหละ แมม้ ันจะตาย กเ็ ทยี วไปเทยี วมาอย่นู ่ี ทำ� มนั อยนู่ น่ั แหละจนตาย

236

ถา้ ยงั ไม่พ้นทกุ ข์ ก้อนนีก้ อ้ นตาย เกิดมาก็มาพากันตายเสีย แบกทกุ ขอ์ ยอู่ ยา่ งเราน่ี
เขา้ ปา่ เขา้ ดงไปซอ่ื ๆ เกดิ มามแี ตต่ ายเทา่ นน้ั แหละ เราไม่ประมาท ได้ตง้ั ใจทำ� คณุ งาม
ความดีแล้ว ตายมนั จะไปทุกข์รึ อย่าท�ำบาปทำ� ชว่ั อยา่ เหน็ แกป่ ากแก่ทอ้ ง อยา่ เห็น
แก่หลบั แกน่ อน เราสร้างความดีใสต่ นไว้ ความทกุ ขย์ ากล�ำบาก บ่มคี วามสบายใจ
ก็แม่นเราสร้างใหต้ น ผูอ้ ่ืนบ่ได้สรา้ งให้ จะดีก็แม่นตนสร้างใสต่ นเอง จะช่ัวก็สร้าง
ใสต่ นเองดอก พระพทุ ธเจา้ สอนใหท้ �ำดี ใหก้ ายดี วาจาดี ใจดี อย่าเปน็ กายสกปรก
ใจสกปรก ให้ใจสะอาด กายสะอาด นั่นแหละใหร้ ักษาศีล ให้นึกวา่ เราเปน็ อะไร
เราเปน็ พระเนอ้ เราเปน็ เณรเนอ้ ไดม้ าเจอศาสนาธรรมวินัยของพระพุทธเจา้
เป็นของเย็น อยูเ่ ยน็ เปน็ สขุ นะ

ไปอยู่บา้ นผือนั่นแหละ เราจะตายอยู่นั่น ตากแดด ตากฝุ่น ตากลม อยูน่ ั่น
ให้มันตายอยู่น่ัน ท่ีอ�ำเภอนั่น เราพูดว่าเปน็ แตพ่ ระ ให้พากันตายอยูน่ อกสมมุติ
อย่าให้มันตายในสมมุติ นอกสมมุติ หมายถึง พระธรรมวินัยของพระพุทธเจา้ น่ัน
ผู้ปฏิบตั ิตามก็มคี วามเยอื กเยน็ ไมม่ ีความเดือดรอ้ น ตายอยูป่ ่าชาด ป่ากุง ปา่ แก
มันร้อน ตามตัวก็มแี ต่หนอนตายอยูป่ ่าชาด ปา่ กงุ มแี ตท่ ิง้ เสียน่ันแหละ

อย่าลืมตน ใหส้ �ำนกึ ตน ให้ดตู น อยา่ ไปดูผู้อน่ื อย่าเพ่งโทษผอู้ ืน่ ใครท�ำไม่ดี
กเ็ ป็นโทษของเขาโทษของผอู้ น่ื จะได้รบั ความทกุ ขก์ แ็ มน่ ตน ไดร้ บั ความสขุ กแ็ ม่นตน
เขาท�ำดีเขาก็ได้รับความสุขของเขาเอง ให้ดูตน ดูทุกอิริยาบถ ยืน เดิน น่ัง นอน
ให้ฝกึ ตน ให้มีสติกับตน ใหเ้ รง่ ท�ำเม่ือรา่ งกายใหโ้ อกาส เม่ือร่างกายยังดีอยู่
ยงั แข็งแรงอยู่ ทำ� ความเพยี รก็ไดอ้ ยู่ ครั้นแกม่ ากคือเรานี่ก็บท่ นั แล้ว ได้รับทกุ ข์ยาก
ทงั้ หลายกไ็ มไ่ ด้ เครอื่ งมนั เก่าแล้วจะทงิ้ คอื มนั ไปกบั เจ้าของซอื่ ๆ กท็ ำ� ท่าจะล้มแล้ว
แตน่ ้อยแต่หนมุ่ กก็ ำ� หนด เดย๋ี วนเ้ี ราเป็นพระ เดยี๋ วนเี้ ราเปน็ เณรแล้ว ตา่ งจากฆราวาส
ธรรมดาแล้วเพราะมีผ้าเหลืองนั่น เราต้องมีความส�ำรวม มีความระวัง อย่าให้
ใจคะนองสนุกสนานไปในอารมณ์ มีกามารมณ์ ตอ้ งหักหา้ ม มีสติ อยา่ ไปปล่อย
ตามอารมณ์ ให้ขะมักเขม้นท�ำความเพียรภาวนาพุทโธ แลว้ ใหม้ ีสติส�ำรวมใจอยู่
เอาอิทธบิ าทส่ี

237

ตอนเช้าใหม้ ีความส�ำรวม กายสุจริตตัง กลางวันใหม้ ีสติระวัง กายให้เป็น
สุจริต ให้วาจาเปน็ สุจริต ให้ใจเป็นสุจริตอยู่ ค่�ำมาก็ให้กายวาจาใจเปน็ สุจริตอยู่
ให้เดินจงกรม น่ังสมาธิ ใหช้ �ำระนิวรณธรรม คืออารมณ์ กามฉันทะ พยาบาท
ถีนมิทธะ วจิ กิ ิจฉา อทุ จั จะกกุ จุ จะ ให้ช�ำระอันนน้ั เสีย ใหใ้ จบริสุทธ์ิ ชำ� ระจิตของเรา
ใหม้ ันออกจากนิวรณ์อันน้ี อยา่ ไปเกี่ยวข้องกับอันน้ี ใหใ้ จบริสุทธ์ิ ยามใดก็ช�ำระ
อันเดยี วนแี่ หละ ครั้นช�ำระอนั นี้ จติ ไมเ่ ก่ยี วขอ้ งกับอารมณ์ ไมม่ ีราคะ โทสะ โมหะ
มาเกลอื กกลวั้ จติ ไมเ่ ศรา้ หมองแล้ว จติ บริสทุ ธิ์ผดุ ผ่อง จติ บริสทุ ธ์แิ ลว้ อยู่ที่ใดกม็ ี
ความสุข ท�ำการงานอยูก่ ็มีความสุข ความสุขติดตามผู้น้ันไป เหมือนกันกับเงา
ตามตนไปอยูท่ ุกอิริยาบถ ยืน เดิน นั่ง นอน เพราะช�ำระจิตใจของตนให้บริสุทธิ์
ใจเศร้าหมองไมด่ ีละ่ ก็เปน็ ทุกข์อย่นู นั่ ความทกุ ข์ติดตามผ้นู ้นั ไป ทำ� การงานกไ็ ม่มี
ความสขุ พดู อย่กู ไ็ มม่ คี วามสขุ ความทกุ ข์ย่อมตดิ ตามเขาไปเหมอื นกบั กงล้อตดิ ตาม
รอยเท้าโคไป แอกก็ทบั คอมันไป มนสา เจ ปทฏุ ฺเฐน มนะ คอื ใจ ครนั้ ราคะ โทสะ
โมหะ โลภะ ประทุษร้ายแลว้ ผู้นนั้ จะพูดอยกู่ ด็ ี จะทำ� การงานอยู่ก็ดี ความทกุ ข์ย่อม
ติดตามเขาไป เหมือนกงลอ้ ติดตามรอยเท้าโคไปอยู่ มนสา เจ ปสนฺเนน จิตใจ
ของผู้ใด อันโทษไมไ่ ด้ประทษุ ร้ายแลว้ จิตใจผอ่ งใสแลว้ ความสุขยอ่ มติดตามเขา
ไปอยเู่ หมือนเงาเทียมตน

ถา้ หากเราไม่มธี รุ ะ ไมม่ กี ารงานอนั หยงั ช�ำระจติ ใจของตนอย่นู น่ั แหละ อยา่ ให้
มนั ไปจองเวรกบั เขา ไดช้ อื่ วา่ ผชู้ นะใจ อย่าใหม้ ันมคี วามก�ำหนดั กบั กายตวั นี้แหละ
ครนั้ มคี วามกำ� หนดั กบั กายแลว้ ได้ชอื่ ว่าจติ ไม่บรสิ ทุ ธ์ิ จติ เบยี ดเบยี น เบยี ดเบยี นตน
ใหเ้ ดือดรอ้ น แลว้ กเ็ บียดเบยี นผอู้ ื่น



238

ชาติ-ความเกิด ชรา-ความแก่ พยาธิ-ความเจ็บ - สมณธรรม-
มรณะ-ความตาย น่ีทุกขสัจจ์
อริยสัจ
ทุกข์มันเกิดมาจากไหน ทุกขเ์ ปน็ ตัวผล สมุทัย
เปน็ ตวั เหตุ สมทุ ยั คอื กามตณั หา ภวตณั หา วภิ วตณั หา
ความใครใ่ นรปู ทสี่ วยทง่ี ามในวตั ถกุ ามตา่ งๆ มเี งนิ ทอง
ขา้ วของ เปน็ ต้น เรียกวา่ กามตัณหา ความอยากมี
อยากเปน็ อยากเปน็ โน่นเปน็ นี่ อยากเปน็ เศรษฐคี หบดี
เป็นต้น เรียกว่า ภวตัณหา ความไมพ่ อใจ ของไดม้ า
แล้วหายไปก็เกิดความไมพ่ อใจ ร่างกายของตนก็ดี
ของคนอ่ืนก็ดี เม่ือแกล่ งมามีความช�ำรุดทรุดโทรม
ผมหงอก ฟนั หกั แก้มตอบ เป็นต้น เลยไมพ่ อใจ หรือ
เสียงเขาดา่ เขานินทา ไดย้ ินเขา้ ก็เกิดความไมพ่ อใจ
น้ีเรียกว่า วิภวตณั หา ตณั หาทัง้ ๓ ประการนี้ เปน็ เหตุ
ให้สัตวท์ อ่ งเท่ียวอยู่ในวัฏสงสารในภพน้อยภพใหญ่
นบั กัปนับกัลปไ์ ม่ได้

ตัณหามันเกิดขึ้นจากไหน ตอ้ งคน้ หาเหตุมัน
เ ห ตุ มั น เ กิ ด จ า ก อ า ย ต น ะ ภ า ย ใ น แ ล ะ อ า ย ต น ะ
ภายนอกมาสมั ผสั กนั ตาเห็นรูป หูไดย้ ินเสียง จมูก
ดมกลิน่ ลิ้นลม้ิ รส กายถกู ตอ้ งสัมผัสใจ รธู้ รรมารมณ์
พระพุทธเจา้ จึงทรงสอนให้สำ� รวจอนิ ทรียท์ ง้ั ๖ คือ
สำ� รวจตา หู จมกู ลนิ้ กาย ใจ ให้เพยี รสำ� รวจ เพยี รละ
ไมใ่ ห้เกิดความยินดียินร้าย ท�ำจิตให้เปน็ กลาง
วางเฉยตอ่ อารมณ์ นเี่ รียกวา่ การดบั ตัณหา

การทำ� ความเพยี ร การสำ� รวจ และการทำ� ความดี
ทุกอย่างเพ่ือละตัณหานี้แหละ เป็นทางมรรค

239

เม่ือปัญญาเห็นความเกิดข้ึนความดับไปของสังขารท้ังหลายท้ังปวง เห็นแนว่ า่
ไม่ใชส่ ตั ว์ ไม่ใชบ่ คุ คล ไมใ่ ชต่ วั ตน เปน็ เพยี งธาตุ ๔ มาประชมุ กนั เข้า แล้วกแ็ ตกสลาย
ไปอย่างนแ้ี ตไ่ หนแต่ไรมา ฐติ ธิ รรม มกี ารตงั้ ขึน้ มอี ยู่ แลว้ ดับไป พิจารณารเู้ ทา่ ทัน
ในส่ิงเหลา่ น้ี ไม่หวนั่ ไหว เรยี กวา่ นโิ รธ คือ ผู้วางเฉยต่ออารมณ์ ดงั นี้แล



240

บัดนี้จะไดแ้ สดงสัญญา ๓ ประการ เพ่ืออบรม ม- - สมณธรร
กรรมฐานใหน้ ักปฏิบัติภาวนาทั้งหลายเกิดความสลด
สังเวชในสังขาร ควรเจริญสัญญา ๓ ประการ คอื ไตรลักษณ์

อนิจจสัญญา ปัญญาก�ำหนดรู้สังขารแปรปรวน (เทศนอ์ บรมเมื่อวันที่
อยู่ ประการ ๑ ๑๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๙)

ทุกขสัญญา ปัญญาก�ำหนดรู้สังขารอันเป็นทุกข์
ประจ�ำ ประการ ๑

อนตั ตสญั ญา ปัญญากำ� หนดรธู้ รรมทง้ั ปวงอนั เป็น
อนตั ตา ไมเ่ ป็นไปตามอ�ำนาจปรารถนา ประการ ๑

ควรเจริญสัญญาก�ำหนดรู้สังขารโดยลักษณะ
เครื่องหมาย ๓ ประการ น้ีควรท่ีสาธุชนพุทธบริษัท
จะต้องบำ� เพญ็ ให้เกดิ มใี นตนไดช้ อื่ ว่า ไดเ้ จรญิ วปิ ัสสนา
ปัญญามยั กศุ ล และควรคำ� นงึ ถงึ ตนอนั ตกอย่ใู นอำ� นาจ
ชรา พยาธิ มรณะ ให้เปน็ อารมณ์บ่มจติ ใจใหก้ อ่ เกิด
ความสลดสงั เวช สลดจิต พยายามละทุจริต บำ� เพญ็
สว่ นกศุ ล รบี แสวงหาผลประโยชน์อนั จะเป็นทพ่ี งึ่ ของตน
โดยเร็วก่อนชรา พยาธิ มรณะ ยังไม่มาครอบงำ� ย�่ำยี
เพราะเหตุวา่ วันคืนท้ังหลายลว่ งไปแต่วันคืนเท่านั้น
อายุของสัตวท์ ้ังหลายทุกจ�ำพวกก็ค่อยๆ หมดส้ินไป
จวนใกลต้ ายเข้ามาทุกวันเวลา ทุกนาฬิกา ทุกนาที
อายุของสัตวท์ ั้งสิ้นท่ีต้ังอยู่ในวิสัยของมรณะนี้มีแต่
จะหมดไปเปลืองไปถ่ายเดียว ไมก่ ลับมาตั้งอยูใ่ น
ปฐมวัยเปน็ ทารกทาริกาไดอ้ ีกเลย เหมือนห้วยหนอง
คลองบงึ ซงึ่ มนี ำ�้ แต่น้อย เมอื่ ถงึ ฤดแู ลง้ ต้องแสงอาทติ ย์
ก็มีแตจ่ ะเหือดแห้งไปถา่ ยเดียวฉะนนั้

241

อายขุ องมนษุ ยน์ น้ี ้อยนกั หนา ไมพ่ อเพยี งแก่ความตอ้ งการ คดิ ประกอบการงาน
ไมท่ ันจะส�ำเร็จไดท้ ุกอยา่ งก็จะถึงมรณะละวางอารมณ์เหล่าน้ันไป ผูม้ ีปัญญาควร
จะต้องตดั ความนิยมในชวี ิตนนั้ เสยี อย่าสำ� คญั วา่ มากแลว้ มัวเมา เลนิ เล่อ ล่มุ หลง
ระเริงใจ ควรแตจ่ ะรบี เรง่ ขวนขวายบ�ำเพญ็ สิ่งทเ่ี ป็นบญุ กุศลสจุ รติ ครบไตรทวารไว้
เทา่ นนั้ ใหเ้ รว็ ทำ� ใหร้ สู้ กึ ประหนง่ึ ว่าบคุ คลถกู เพลงิ ไหม้ศรี ษะ รบี ร้อนดบั เพลงิ ใหส้ งบ
ฉะน้ัน เพราะมรณะ คือความแตกแยกแหง่ ชีวิตอินทรียท์ ี่จะไม่ครอบง�ำย�่ำยีผูห้ นึ่ง
ผ้ใู ดนน้ั ไมม่ เี หมอื นภาชนะเครอื่ งใช้ตา่ งๆ มภี าชนะดนิ เป็นตน้ ซงึ่ นายชา่ งประดษิ ฐ์
สรา้ งทำ� ขน้ึ ไว้แล้ว จะเลก็ ใหญ่ ดชี ว่ั หนาบาง ประการใด ไมเ่ ลอื กว่าชนดิ ใด ขนาดใด
ตามปกตติ ้องแตกสลายไปฉนั ใด ถงึ ชวี ติ ร่างกายของมนษุ ย์ทง้ั หลายนี้ กม็ คี วามแตก
ทำ� ลายตามไปเป็นทีส่ ดุ ฉนั น้นั

เมอื่ ใดนกั ปฏบิ ตั ธิ รรมทง้ั หลายมาใช้ปญั ญาใหร้ ้วู ่าร่างกายของมนษุ ย์ทงั้ หลาย
มเี ราเปน็ ต้น ล้วนตอ้ งถงึ ความพนิ าศแตกดบั เปน็ ธรรมดาอยอู่ ย่างนี้ ควรทำ� ความเพยี ร
ปราบปรามก�ำจัดกิเลสใหเ้ หือดหาย ให้บุญกุศลเจริญขึ้นในตนภายในวันนี้แหละ
ใหจ้ งได้ เพราะใครๆ คนไหนเลา่ จะอาจรวู้ ่าความตายจะมาถงึ ในวนั พร่งุ นี้ เดอื นหน้า
ปหี นา้ เพราะมฤตยู คือความตายที่มเี สนาใหญ่ คอื ขุนชรา ขุนพยาธิ พญามรณะ
และปกณิ กทกุ ข์ทง้ั หลาย ภยั อนั เป็นทขี่ ยาดหวาดกลวั ของหมมู่ นษุ ย์น้ี เหลอื วสิ ยั และ
ความสามารถทใ่ี ครๆ แมม้ อี ำ� นาจยง่ิ ใหญ่จะต้านทานสรู้ บผลกั ไสด้วยอบุ ายอนั หนง่ึ
อนั ใดไดเ้ ลย ทา่ นเปรยี บไวว้ ่าเหมอื นภเู ขาใหญส่ งู จรดขอบฟ้ากลง้ิ มาจากทศิ ทงั้ สแี่ ลว้
บดขย้สี ัตว์ทั้งหลายใหเ้ ป็นจุลวิจุลมิว่างเว้นพวกไหนไว้ให้เหลอื หลอเลย เม่อื มรณะ
ซ่ึงเปน็ มหาทุกข์อันใหญม่ าถึงแล้ว ไมม่ ีผูใ้ ดผูห้ น่ึงแม้เคยเป็นที่รักที่พ่ึงจะสามารถ
สกัดกั้นแกไ้ ขหรือช่วยบ�ำบัดปดั เป่าให้มรณะทุกขถ์ อยลดน้อยเบาบางลงไปได้เลย
ยกเว้นแตบ่ ุญกุศลท่ีตนได้อบรมส่ังสมไว้ดว้ ย กาย วาจา ใจ จนคุ้นแกจ่ ิต
เทา่ น้ันแหละ จะท�ำความสุขความสงบระงับใหใ้ นเวลาจวนสิ้นชีวิตท�ำลายขันธ์
ดังภาษิตประพันธ์ว่า

“ปุญฺญํ สุขํ ชีวิสงฺขยมฺหิ” บุญกุศลท่ีสาธุชนพุทธบริษัททั้งหลายไดส้ รา้ งสม
ให้บริบูรณแ์ ลว้ ย่อมนำ� ความสขุ มาให้เมอื่ สิน้ ชวี ิต ดังนี้

242

ด้วยเหตุนี้เมื่อสาธุชนนักปฏิบัติธรรมกรรมฐานทั้งหลายมาพิจารณา
ในไตรลักษณจ์ นแจ้งประจักษแ์ ลว้ ควรที่จะเกิดความสังเวชสลดจิต คิดเห็นวา่
ชรา พยาธิ มรณะ ครอบงำ� เข้ามาอยฉู่ ะนแี้ ล้ว กิจอนื่ ๆ นอกจากการประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ
ธรรมอย่าไดท้ ำ� เลย ควรที่แต่จะกระทำ� การบ�ำเพญ็ ศลี สมาธิ ปญั ญา ใหเ้ ตม็ รอบ
ก็จะอดุ มสมบูรณ์ดว้ ยความสุข ความเจริญ

(หลวงปูข่ าวชอบแสดงโอวาทธรรมบทนี้เสมอๆ สมัยทา่ นยังแสดงธรรมได้
ท่านวา่ ทำ� ให้เกิดปญั ญา หตู าสว่างดี)



243


Click to View FlipBook Version