The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประวัติ หลวงปู่พรหม จิรปุญโญ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-05-06 22:46:03

ประวัติ หลวงปู่พรหม จิรปุญโญ

ประวัติ หลวงปู่พรหม จิรปุญโญ

Keywords: ประวัติ หลวงปู่พรหม จิรปุญโญ

179

ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๓ หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต ท่านได้เดินทางกลับภาคอีสาน
โดยท่านเจ้าคุณพระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล) เจ้าอาวาสวัดโพธิสมภรณ์ จังหวัดอุดรธานี ได้มา
กราบอาราธนานิมนต์ด้วยตนเอง เพื่อขอให้ท่านเมตตากลับไปเผยแผ่อบรมกรรมฐานแก่สานุศิษย์
และประชาชนชาวอสี านท่รี อคอยทา่ นพระอาจารย์ใหญ่มาเปน็ เวลานาน

ส�ำหรับสาเหตทุ ่หี ลวงปู่ม่นั เดนิ ทางกลบั ภาคอีสาน มผี กู้ ราบเรยี นถามหลวงปู่เจีย๊ ะ จนุ ฺโท
ว่า เพราะทา่ นเจา้ คุณพระธรรมเจดยี ์ (จมู พนธฺ โุ ล) เป็นคนนมิ นตท์ า่ นลงมาวัดโนนนเิ วศนใ์ ชไ่ หม
ครับ ทา่ นไดเ้ มตตาตอบเรอื่ งนไ้ี วด้ งั นี้

หลวงปู่เจ๊ียะ จุนฺโท “เฮ้อ ! ไม่อย่างงั้นหรอก ท่านมาเอง ท่านบอกว่ามาเอาหมู่ อยู่ทางน้ี
(ภาคอีสาน) มันได้หมเู่ ยอะมากกวา่ อยู่เชยี งใหม่ ไปอยู่ตงั้ เป็นสิบๆ ปีแลว้ ไมเ่ ห็นจะไดห้ ม่หู รอกนะ
ผา่ นมาต้งั หลายปีกวา่ ท่านดำ� ริเอง”

เมอ่ื หลวงปูม่ ัน่ ภรู ิทตฺโต กลบั ไปภาคอสี านแลว้ ในกาลต่อมาลกู ศษิ ยล์ ูกหาของท่านพระ–
อาจารยใ์ หญ่ สว่ นมากก็กลับภาคอสี าน

ศิษย์อาวุโสท่ีบรรลุอริยธรรมข้ันสูงสุดส�ำเร็จเป็นพระอรหันต์ ท่านยังคงพ�ำนักปฏิบัติธรรม
ทางภาคเหนือเพื่อโปรดชาวป่าชาวเขาท่ีมีบุญคุณต่อท่านอีกระยะหนึ่ง ที่ได้ให้น้�ำ ให้ข้าว ตลอด
ปัจจยั ๔ ถวายแด่ท่าน และเพอื่ โปรดบรรดาทวยเทพ จากนน้ั ทา่ นกเ็ ดินทางกลบั ภาคอีสาน ได้แก่
หลวงปชู่ อบ านสโม หลวงปขู่ าว อนาลโย และ หลวงปพู่ รหม จิรปุญโฺ 

สำ� หรับเหตผุ ลทีห่ ลวงป่พู รหม จริ ปญุ โฺ  เดินทางกลบั ภาคอีสาน

ประการแรก คอื เพอื่ มุ่งตดิ ตามหาหลวงปู่มน่ั ภรู ิทตฺโต ผเู้ ป็นพอ่ แม่ครอู าจารย์ ซึ่งระยะนั้น
ยา่ งเขา้ สู่ปจั ฉมิ วยั เพือ่ แสดงความกตัญญกู ตเวทตี อบแทนพระคุณหลวงปมู่ นั่ ทีเ่ มตตาสงเคราะห์
และชุบเล้ียงท่านมาทางธรรมจนถึงท่ีสุดแห่งธรรม โดยท่านต้ังใจไปปรนนิบัติรับใช้หลวงปู่มั่นและ
คอยแบ่งเบาภาระในการดแู ลอบรมพระเณรทจี่ ะเข้ากราบฟังธรรมหลวงปู่มน่ั

ประการทีส่ อง คือ ทา่ นมีความผูกพนั ใกล้ชดิ กบั ชาวบา้ นตาล อนั เปน็ บา้ นเกิด และชาวบา้ น
ดงเยน็ อนั เป็นบา้ นหลงั ที่สองทีท่ า่ นครองเรือนมคี รอบครัว ทัง้ ได้รบั การแต่งตัง้ เปน็ ผูใ้ หญบ่ ้านและ
ไดร้ บั การยกยอ่ งเปน็ นายฮอ้ ย ทา่ นจงึ ตงั้ ใจกลบั ไปเมตตาสงเคราะหญ์ าตพิ น่ี อ้ งเพอ่ื นสนทิ มติ รสหาย
ตลอดบรษิ ัทบรวิ ารของท่าน อันเปน็ อริยประเพณขี องพระพทุ ธเจ้าทงั้ หลายท่ีตรัสร้ธู รรมแล้วเสดจ็
กลบั ไปโปรดสงเคราะห์พระราชบดิ า พระราชมารดา พระมเหสี พระราชโอรส พระประยูรญาติ
ตลอดไพร่ฟ้าประชาชน

180

ส่วนศิษยท์ บ่ี รรลุธรรมถงึ ขน้ั สงู สุด ที่ยังคงปกั หลกั อยูใ่ นจงั หวดั เชยี งใหม่ในรุ่นนน้ั มีอยเู่ พียง
๓ องค์ คือ หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ (วัดดอยแม่ปั๋ง อ�ำเภอพร้าว) หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม
(วัดป่าอาจารย์ตื้อ อ�ำเภอแม่แตง) กับ หลวงปู่สิม พุทฺธาจาโร (ส�ำนักสงฆ์ถ้�ำผาปล่อง อ�ำเภอ
เชียงดาว) เฉพาะหลวงปู่ต้อื ในบัน้ ปลายท่ีท่านกลบั บา้ นเกิดที่จงั หวัดนครพนม

เหตุผลที่ หลวงปแู่ หวน หลวงป่ตู ื้อ และหลวงป่สู มิ ยงั พักจ�ำพรรษาทางภาคเหนอื ตอ่ ไปนน้ั

ประการแรก ท้ังนี้เพราะ ท่านทั้งสามองค์ชอบภูมิอากาศทางภาคเหนือ ท่านว่าอากาศ
เย็นสบายดี ถกู อธั ยาศยั และธาตขุ นั ธข์ องทา่ น อีกท้ังภมู ปิ ระเทศก็เปน็ ปา่ เขา สงบสงดั เหมาะท่ีจะ
บำ� เพ็ญเพียรแสวงหาความสงบทางใจ

ประการท่สี อง เพื่อรักษารอยมอื รอยเทา้ ของหลวงปู่มน่ั

ประการที่สาม เพ่ือโปรดบรรดาทวยเทพทางภาคเหนือต่อจากหลวงปมู่ นั่

และประการส�ำคัญ คอื ทา่ นท้ังสามองค์ตา่ งเป็น “เพชรนำ�้ หน่งึ ” ทม่ี ชี อื่ เสียง มศี ักยภาพ
และมีบารมีธรรมสูงมาก ท่านท้ังสามองค์จะเป็นก�ำลังส�ำคัญของกองทัพธรรมพระธุดงคกรรมฐาน
สายท่านพระอาจารย์มั่น ที่จะได้ช่วยกันเผยแผ่และจรรโลงพระพุทธศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองและ
หย่ังลึกทางภาคเหนือต่อไป ท้ังจะเป็นเสาหลักและเป็นร่มโพธิ์ร่มไทรของพระธุดงคกรรมฐานสาย
ทา่ นพระอาจารย์มนั่ ในรนุ่ ลกู รุน่ หลานถัดไป จะได้เขา้ มาอาศยั พึง่ พาต่อไป

พ.ศ. ๒๔๘๓ จ�ำพรรษาส�ำนักสงฆ์บ้านแม่กอย

ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๓ หลังจากทห่ี ลวงปมู่ น่ั ไดจ้ ากภาคเหนอื กลับไปภาคอสี าน
แล้ว หลวงปูพ่ รหม จิรปญุ ฺโ ท่านก็ยังอยจู่ �ำพรรษาและเปน็ หวั หน้าส�ำนักสงฆบ์ ้านแมก่ อย อย่ตู ่อ
อกี ระยะหนึ่ง จนกระทั่ง หลวงปู่ขาว อนาลโย เดนิ ธุดงคม์ าท่ีแหง่ น้ี หลวงป่พู รหมจงึ ฝากภาระ
หัวหนา้ สำ� นกั ให้กับหลวงปู่ขาว แล้วทา่ นก็ออกธดุ งคแ์ สวงวิเวกต่อไป

สาเหตุประการหนึ่งซง่ึ หลวงป่พู รหมอย่จู �ำพรรษาตอ่ ทส่ี ำ� นกั สงฆบ์ ้านแมก่ อย คอื เพ่อื รักษา
รอยมือรอยเท้าของพอ่ แมค่ รอู าจารยม์ น่ั

วงพระธุดงคกรรมฐานสายท่านพระอาจารย์ม่ัน ท่านมีความเคารพเทิดทูนบูชาคุณของ
พอ่ แม่ครูอาจารย์ เม่อื หลวงปู่ม่ันเคยพกั เคยจำ� พรรษาบ�ำเพญ็ สมณธรรม ณ สถานทใ่ี ด ท่านได้
ฝากรอยมอื รอยเทา้ ไว้ ณ สถานทนี่ น้ั และสถานทน่ี น้ั กาลภายหนา้ จะเป็นสถานที่สริ มิ งคล เปน็ ที่
กราบไหว้สักการบูชาของชาวพุทธ พระศิษย์จะรักษารอยมือรอยเท้าของพ่อแม่ครูอาจารย์ไว้เป็น
อนุสรณ์ หากสถานทนี่ ้นั พัฒนาเป็นวดั ได้ ท่านกจ็ ะสรา้ งให้เปน็ วดั ที่ถกู ตอ้ งขึ้นมา เช่น สำ� นกั สงฆ์

181

หว้ ยน้ำ� รนิ อ�ำเภอแม่ริม ส�ำนกั สงฆ์บา้ นปง อำ� เภอแม่แตง ถ�ำ้ ปากเปยี ง อ�ำเภอเชยี งดาว ส�ำนักสงฆ์
ปา่ เมย่ี งแม่สาย และส�ำนักสงฆ์บ้านแมก่ อย อำ� เภอพรา้ ว เป็นต้น แมห้ ลวงปพู่ รหมเอง ท่านไม่ได้
สรา้ งวัดทางภาคเหนอื แตก่ ่อนเดินธุดงค์กลับภาคอสี าน ท่านได้ไปพักจำ� พรรษาทป่ี ่าเปอะ อ�ำเภอ
สารภี จงั หวัดเชยี งใหม่ เป็นสถานที่สุดทา้ ย

ตามบันทึกของพ่อครูหนานปวงค�ำ ตุ้ยเขียว ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาและวัฒนธรรมล้านนา
ไดเ้ ขยี นถึงลำ� ดับหวั หนา้ ส�ำนักสงฆ์บ้านแมก่ อย (ไมไ่ ด้ระบุเวลา) มีดังน้ี

๑. หลวงปมู่ ่นั ภูรทิ ตโฺ ต พระอาจารย์ใหญ่
๒. หลวงปูเ่ ทสก์ เทสรฺ สํ ี
๓. หลวงปู่สมิ พุทฺธาจาโร
๔. พระอาจารย์สารภี (สันนษิ ฐานว่าเปน็ ทา่ นพระอาจารย์สารณ์ สุจติ ฺโต ครูบาอาจารย์
องค์แรกของหลวงปพู่ รหม)
๕. พระอาจารยถ์ า ถาวโร
๖. หลวงปู่ฝ้นั อาจาโร
๗. หลวงปอู่ ่อน าณสิริ
๘. หลวงป่พู รหม จิรปญุ โฺ 
๙. หลวงปขู่ าว อนาลโย
๑๐. หลวงปแู่ หวน สุจณิ โฺ ณ

คณะพระธุดงคศ์ ิษยห์ ลวงป่มู ่นั เวียนมาพักทสี่ ำ� นักแหง่ นจี้ นถงึ ปี พ.ศ. ๒๔๘๕ ต่อจากนั้นก็
ไม่มพี ระธดุ งคม์ าพักอีก ปลอ่ ยให้สถานทีแ่ ห่งน้ถี ูกทิง้ รา้ งไปอีกระยะหนึง่ มาในระยะหลัง สถานท่ีท่ี
เคยเปน็ สำ� นักสงฆ์บา้ นแมก่ อย หรือวดั ร้างป่าแดงแหง่ นี้ ได้กลายเป็นวัดขึน้ มาแทนที่ ๒ วัด ได้แก่

๑. วัดแมก่ อย สงั กัดสงฆค์ ณะมหานกิ าย กอ่ ตง้ั มาตัง้ แต่ปี พ.ศ. ๒๔๗๕ ต่อมาสถานทเ่ี ดิมถกู
น�ำ้ ทว่ ม จงึ ไดย้ า้ ยมาแทนทส่ี �ำนักสงฆ์บา้ นแม่กอยเดิม โดยอยู่เฉพาะทางฝง่ั เหนอื ของล�ำน้�ำแม่กอย
ตรงบริเวณท่เี คยเปน็ ที่ต้ังกุฏขิ องหลวงป่พู รหม รวมท้ังกฏุ ทิ ีพ่ ักของพระเณรองค์อนื่ ๆ และกุฏิสงฆ์
สว่ นใหญ่ ทางวัดมกี ารพัฒนามาโดยล�ำดบั

๒. วัดป่าอาจารย์มั่น (ภูริทตฺโต) สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ต้ังอยู่ทางฝั่งด้านใต้ของ
ล�ำน�้ำแม่กอย ตรงบริเวณท่ีเคยเป็นกุฏิและทางเดินจงกรมของหลวงปู่มั่น ได้มีการรื้อฟื้นต้ังเป็น
วดั ข้นึ ใหม่เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๑๖ ดว้ ยความอุปถมั ภ์ของหลวงปู่สิม พุทธฺ าจาโร สำ� นกั สงฆ์ถำ�้ ผาปล่อง
อำ� เภอเชยี งดาว จังหวดั เชียงใหม่ และทา่ นพระอาจารย์ทองสกุ อุตฺตรปญฺโ (พระจากสำ� นักสงฆ์

182

ถำ�้ ผาปลอ่ ง ลกู ศิษยห์ ลวงปสู่ ิม) เป็นเจ้าอาวาสองค์แรก และมเี จา้ อาวาสสืบทอดเร่อื ยมาจนถึง
ปัจจุบัน โดยมีการสร้างพระมหาธาตมุ ณฑปอนุสรณ์บรู พาจารย์พระกรรมฐานสายพระอาจารยม์ นั่
ภูรทิ ตฺโต และมีการสร้างรปู เหมอื นครูบาอาจารย์ท่เี คยอยู่สำ� นกั สงฆแ์ ห่งน้ี

สำ� หรับทต่ี ้ังของศาลาใหญ่ และเขตสงั ฆาวาสของวัดปา่ อาจารย์มัน่ ในปจั จบุ นั เปน็ ทดี่ ินท่ี
หลวงปสู่ มิ พทุ ธฺ าจาโร ไดน้ �ำศรัทธาญาตโิ ยมท�ำการซอื้ สวนลำ� ไยเดิม แล้วจัดต้งั เปน็ วดั ข้ึนใหม่ โดย
องค์หลวงปูส่ ิม เปน็ ผใู้ หช้ ่ือวดั ทต่ี งั้ ใหมน่ ้วี า่ วดั ป่าอาจารยม์ ั่น (ภรู ทิ ตโฺ ต)

รูปหล่อเหมือนของหลวงป่พู รหม จิรปญุ ฺโ ประดิษฐานทีศ่ าลาใหญ่ ดว้ ยเหตุนี้ จงึ ถอื วา่
หลวงปู่พรหม จริ ปุญโฺ  เป็นบูรพาจารย์องค์สำ� คญั ของวัดป่าอาจารยม์ ั่น (ภูรทิ ตฺโต) องคห์ นึ่งดว้ ย

พ.ศ. ๒๔๘๔ จ�ำพรรษาที่ถ�้ำในจังหวัดกาญจนบุรี

ตามปฏปิ ทาหลวงปู่พรหม จริ ปญุ ฺโ ทา่ นจะไม่พกั จ�ำพรรษาทใี่ ดเกิน ๓ พรรษา ดังนนั้
ในปี พ.ศ. ๒๔๘๔ หลวงปู่พรหม ทา่ นจากส�ำนักสงฆ์บา้ นแมก่ อย ทา่ นได้เดนิ ธุดงค์เขา้ ไปพม่า
อกี ครัง้ ซึง่ ตรงกบั ช่วงสงครามโลกครง้ั ท่ี ๒ องั กฤษเขา้ ยดึ ครองพมา่ ชาวบ้านต่างหว่ งใยและกังวล
ในความปลอดภยั ของครูบาอาจารยท์ ่ีไปเที่ยวธดุ งคใ์ นพม่า ต่างองค์ต้องรีบพากนั เดนิ ธุดงคก์ ลบั ทาง
ฝั่งไทย รวมทัง้ หลวงปูพ่ รหม ขณะทที่ ่านเดินทางกลบั จากพมา่ นนั้ ท่านไดม้ าจ�ำพรรษาที่ถ�ำ้ แหง่ หนง่ึ
ในจงั หวดั กาญจนบุรี หลวงปู่ผาง ปริปณุ โฺ ณ และพระศษิ ยไ์ ด้เมตตาเลา่ ถ่ายทอดตามทีไ่ ดฟ้ ังมาจาก
หลวงป่พู รหม ดงั น้ี

“ช่วงใกลเ้ ขา้ พรรษาในปี พ.ศ. ๒๔๘๔ หลวงปพู่ รหม หลวงปขู่ าว และพระอีก ๑ องค์
จ�ำชื่อไม่ได้ ทั้งสามองค์รีบเดินธุดงค์มาจากพม่าจะกลับทางภาคเหนือ เพ่ือให้ทันเข้าพรรษา แต่
ระยะทางอีกไกลมาก จะเดินกลับไปไม่ทันเข้าพรรษา ท้ังสามองค์จึงตัดสินใจจ�ำพรรษาท่ีถ�้ำใหญ่
แห่งหนึง่ ในจังหวัดกาญจนบุรี ทา่ นได้เมตตาเลา่ เส้นทางไปถำ้� และลกั ษณะถำ�้ ดงั กลา่ ว ซึ่งจากการ
ส�ำรวจของพระศิษย์ถ้�ำน้ันตรงกับถ�้ำธารลอดใหญ่ จึงสันนิษฐานว่าเป็นถ�้ำท่ีหลวงปู่เคยมาปักกลด
จำ� พรรษา เพราะตรงตามทท่ี ่านเลา่ ทุกประการ

ปัจจบุ ัน ถ�้ำแหง่ น้ีอยใู่ นเขตของอุทยานแห่งชาติเฉลมิ รตั นโกสินทร์ ต�ำบลเขาโจด อ�ำเภอ
ศรสี วัสดิ์ จงั หวัดกาญจนบรุ ี และบรเิ วณใกลถ้ ้ำ� ธารลอดใหญ่ มกี ารสร้างวัดเปน็ วัดธรรมยุต มีพระ
เณร แมช่ จี ากทางอสี านมาอยูจ่ �ำพรรษา

การเดินธุดงค์ไปถ�้ำธารลอดใหญ่ในสมัยก่อนค่อนข้างล�ำบากมาก เพราะไม่มีถนนหนทาง
ตอ้ งเดนิ ด้วยเท้าอยา่ งเดยี ว หลวงปูพ่ รหมท่านตอ้ งเดนิ มุดถ�้ำไปเรอ่ื ยๆ จากถ�้ำธารลอดน้อยท่ีทึบมืด
อากาศเย็น จึงพ้นจากถำ้� ธารลอดนอ้ ย จากนั้นกต็ อ้ งไปตามทางเดนิ ปา่ อกี ๑.๕ กโิ ลเมตร จะถึง

183

น้�ำตกทีส่ วยและสูงชันมาก (ปจั จบุ ัน คือ น้�ำตกไตรตรึงษ)์ และตอ้ งเดนิ ไตเ่ ขาซ่งึ ทั้งสงู และทั้งไกล
อกี ๑ กโิ ลเมตร จึงถึงถำ�้ ธารลอดใหญ่ ซึง่ ต้ังอยบู่ นเขาอีกลกู หนึง่ เป็นเขาสงู มลี กั ษณะเหมอื นสมุ่ ไก่
รวมระยะทางประมาณ ๒.๕ กิโลเมตร ธรรมชาติตลอดสองข้างทางไปถ�้ำธารลอดใหญ่ ร่มร่ืน
สวยงามมาก มตี น้ ไม้นอ้ ยใหญ่ขน้ึ ปกคลุมเรยี งรายหนาแนน่ อดุ มสมบูรณม์ าก มีหนิ งอกและหนิ ย้อย
สวยงามมาก มนี ้�ำตกหน้าผา สะพานหินธรรมชาติ และมีธารน้ำ� ไหลลอดลงไปตามเขา

เม่ือถงึ บริเวณถ�ำ้ ธารลอดใหญ่ ภายในถ�้ำกวา้ งขวางใหญ่โตมาก เพดานถ�ำ้ ก็สูงมากถงึ กับตอ้ ง
แหงนคอมอง สภาพถ�้ำเหมือนห้องโถงขนาดใหญ่ บรรยากาศโดยรอบถ้�ำเงียบสงัด และมีปล่อง
ขนาดใหญ่อยู่บนยอดเขา สามารถเดินข้ึนถึง เมื่ออยู่บนยอดเขาจะแลเห็นทิวทัศน์ธรรมชาติของ
ปา่ เขาอันเขยี วขจีสวยงามมาก

ตลอดการอยู่จ�ำพรรษาท่ีถ้�ำธารลอดใหญ่ ซ่ึงเป็นสถานที่สัปปายะมาก ท่านท้ังสามองค์ก็
แยกย้ายกันปักกลดภาวนาอย่างผาสุกเย็นใจ ต่างร่ืนเริงในการภาวนาและเพลิดเพลินในเสียง
ธรรมชาติของตน้ ไม้ ใบไมไ้ หว และของนก แมลง สตั วป์ ่าประเภทต่างๆ ทส่ี ่งเสียงร้องกัน เพราะ
สมัยก่อนบริเวณน้สี ตั วป์ ่าชกุ ชุมมาก หลวงปพู่ รหมท่านเลา่ ว่า ในคืนวนั หนง่ึ ท่านได้ยนิ เสือวิ่งไล่
ตะปบกวางอยูบ่ นยอดเขาเหนอื บรเิ วณถ้�ำทที่ า่ นพกั ภาวนา กวางตัวน้นั ว่ิงหนอี ย่างสดุ ชวี ิตเพ่ือหวงั
จะเอาชีวิตรอด พร้อมทั้งส่งเสียงหวีดร้องดังล่ันแสดงอาการตกใจกลัวอย่างสุดขีดและก็หล่นจาก
ปากปลอ่ งดงั ต๊บุ ตกลงมาตาย สว่ นการบิณฑบาตค่อนขา้ งลำ� บากมาก เพราะต้องเดินขึ้นเขาลงเขา
มาบณิ ฑบาตท่ีหมบู่ า้ นเขาเหล็ก ซ่งึ เป็นชุมชนคนกะเหร่ียงทท่ี ำ� มาหากินอยู่บริเวณนัน้ ระยะทางก็
ไกลมากไป – กลบั ประมาณ ๗ – ๘ กโิ ลเมตร อาหารทไี่ ดก้ เ็ ปน็ อาหารปา่ พอยงั อัตภาพไปวนั หนึ่ง
คืนหนงึ่ ส�ำหรับแหล่งนำ�้ ทีน่ ่อี ุดมสมบรู ณ์มาก ทา่ นได้ปบี๊ มาใบหนึ่งส�ำหรบั ห้วิ น�ำ้ ข้ึนมาใชร้ ่วมกัน
ทงั้ สามองค์ เม่ือออกพรรษาแล้ว ต่างก็แยกยา้ ยกนั เดินธดุ งค์กลับภาคเหนือตามทีต่ งั้ ใจ”

ทีม่ าของเรอ่ื งหลวงปู่พรหมจ�ำพรรษาทีถ่ ้ำ� เมืองกาญจน์ มีดงั น้ี

“หลวงปพู่ รหม ทา่ นเมตตาเลา่ เรอื่ งไปธดุ งคพ์ มา่ และกลบั มาจำ� พรรษาทถี่ ำ�้ เมอื งกาญจนใ์ ห้
พระศิษยฟ์ ังนี้ ทา่ นเลา่ ไว้เมอื่ ปี พ.ศ. ๒๕๑๒ สาเหตุท่ีท่านเลา่ มคี วามเป็นมา คอื บริเวณหนา้ กฏุ ิ
ของทา่ นท่ีวัดประสิทธิธรรม จะมีโอง่ หินสำ� หรบั ใส่น้ำ� ลา้ งเทา้ อยู่ตรงใกลๆ้ บนั ไดทางขน้ึ กฏุ ิ บังเอิญ
วา่ ครบู าไพ หลานชายแทๆ้ ของหลวงปพู่ รหม ไปท�ำโอ่งหนิ แตก โอ่งกไ็ มใ่ หญ่นัก แลว้ พระศิษย์
กจ็ ะเอาไปท้ิง ทา่ นก็บอก “เอาไปทงิ้ ท�ำไม เอาไปทิง้ ท�ำไม เอามาน”่ี หลวงปกู่ ใ็ ห้เกบ็ ใส่เขง่ เอาไว้
๓ – ๔ วนั ต่อมา ท่านก็เอาปนู ซีเมนต์มาซอ่ ม ท่านเอาปูนพอก มันกเ็ ป็นรปู โอ่งผิวไมเ่ รยี บเหมอื น
เดมิ แต่ว่าขา้ งในใส่น�้ำได้ หลวงปู่พรหมท่านรักษาของเก่าของใช้ โอง่ มนั แตกแล้ว ทา่ นกไ็ ม่ยอมทิง้
ท่านรักษาของสงฆ์ เอามาซอ่ มจนใชง้ านได้ เรือ่ งนี้หลวงปเู่ ก่งมาก

184

ท่านเลยว่า “ไอพ้ วกทำ� แตกมันมือเหลก็ มอื ขาง (มอื หนัก) สมัยก่อนนขี่ อ้ ย (หลวงปพู่ รหม)
มาจากเมืองพมา่ มากนั ๓ องค์ มาจำ� พรรษาอยูถ่ ำ�้ ๆ หนึ่งที่เมืองกาญจน์ ถำ�้ นน้ั มองขึ้นไปบนฟา้
ก็คือสุ่ม (เหมือนสุ่ม) ปี๊บใบเดียวทั้งซักผ้า ต้มกิน ต้มอาบยังอยู่ได้ พวกเจ้านี่มือเหล็กมือขาง
มาจับอะไรท�ำแตกหมด” ขณะท่ีท่านเล่าบางทีมีค�ำหมากอยู่ในปากของท่าน เสียงมันก็ไม่ค่อยชัด
ความหมายของท่าน คอื ทา่ น ๓ องค์ ใช้ปบ๊ี ใบเดียวรว่ มกนั ทุกอยา่ ง ไปคอนน�้ำจากนำ้� ตกขึ้นมาใช้
หลายเท่ียว ยงั ไมแ่ ตก ยงั รกั ษาปบ๊ี ใบนั้นได้ตลอดพรรษา”

พ.ศ. ๒๔๘๕ จ�ำพรรษาท่ีวัดเจดีย์หลวง

หลวงป่พู รหม จริ ปุญโฺ  เมอ่ื ทา่ นเดินธุดงคก์ ลบั ภาคเหนือแลว้ ในปี พ.ศ. ๒๔๘๕ ทา่ นได้
อยจู่ �ำพรรษาท่วี ดั เจดยี ห์ ลวง อำ� เภอเมือง จงั หวัดเชยี งใหม่ และหลวงปู่พว่ั นิติโก ชาวพิษณุโลก
ได้มอบตนถวายตวั เป็นศิษยใ์ นปนี ้ี จากหนงั สอื ประวัตหิ ลวงป่พู ั่ว นติ โิ ก ได้บนั ทึกเหตกุ ารณต์ อนนี้
ไวด้ งั นี้

“พระภิกษุพั่ว นิตโิ ก เมอ่ื มาพำ� นกั ในร่มบุญแห่งอาวาสวัดเจดียห์ ลวง เมืองเชียงใหม่แล้ว
ในพรรษากาลนั้นได้ศึกษาต่อในหลักสูตรนักธรรมช้ันเอก ท้ังได้พบหลวงปู่พรหม จิรปุญฺโ ท่ี
หลวงปมู่ ัน่ พระอาจารยใ์ หญ่ไดม้ อบหมายใหเ้ ปน็ ประธานฝ่ายสงฆ์ด้านกรรมฐาน ณ เมืองเชยี งใหม่
แทนองคท์ ่าน

พระภกิ ษพุ ัว่ นิตโิ ก จึงได้มอบตนเป็นศิษย์ตอ่ หลวงปพู่ รหม ศกึ ษาดา้ นพระกรรมฐาน แต่
เม่ือปี พ.ศ. ๒๔๘๕ น้ันเอง ท้งั การศึกษาดา้ นคนั ถธรุ ะและวปิ ัสสนาธุระที่ควบคกู่ นั ไป ออกพรรษา
จึงเข้าสอบในสนามหลวง ปรากฏว่าผลสอบได้นักธรรมช้ันเอก จบหลักสูตรนักธรรมแต่เพียงนั้น
ดา้ นภาษาบาลีก็เล่าเรียนเพียงพอรอู้ ักขรวิธี สวดให้ถูกตอ้ งตามอกั ขรฐานกรณ์ ไดอ้ ย่างไมผ่ ดิ เพย้ี น
พระภกิ ษุพ่วั จงึ ได้มารำ� พึงกับตนเองว่า “ดา้ นการเรียนปริยตั ธิ รรมคงต้องพกั เพยี งน้ี ม่งุ หนา้
หามรรคหาผล ตามที่ตนตงั้ ใจมาแต่เดมิ นัน้ ดีกวา่ ” จงึ เข้าไปกราบนมัสการลาทา่ นเจา้ คุณพระ–
พุทธิโศภณ องค์เจ้าอาวาสวัดเจดีย์หลวง กับหลวงปู่พรหม จิรปุญฺโ ซ่ึงขณะน้ันพ�ำนักอยู่ ณ
สำ� นกั สงฆ์อรญั ญวเิ วก (บา้ นปง) ด้วยความมุ่งม่ันทจ่ี ะไปกราบพ่อแมค่ รบู าอาจารยม์ ัน่ ภูรทิ ตฺโต
ทที่ างภูมิภาคอีสาน จงึ เดินทางสู่ภาคอีสาน”

พ.ศ. ๒๔๘๖ จ�ำพรรษาที่เสนาสนะป่าบ้านป่าเปอะ

ในปี พ.ศ. ๒๔๘๖ หลวงปู่พรหม จริ ปญุ โฺ  เมือ่ ใกล้เข้าพรรษา ทา่ นไดอ้ ยู่จำ� พรรษาท่ี
เสนาสนะป่าบ้านปา่ เปอะ ตำ� บลทา่ วังตาล อำ� เภอสารภี จงั หวดั เชียงใหม่ เสนาสนะปา่ บ้านป่าเปอะ
เปน็ สถานทส่ี ัปปายะแห่งหน่ึง บริเวณโดยรอบเป็นปา่ ละเมาะ หลวงปู่ม่ันเคยมาอยพู่ ักรกั ษาอาการ

185

อาพาธก่อนเดินทางกลับภาคอีสาน และนับเป็นการจ�ำพรรษาที่ภาคเหนือปีสุดท้ายของหลวงปู่
พรหมก่อนทีท่ า่ นจะเดินทางกลบั ภาคอีสาน ซง่ึ ในคร้ังนัน้ มีทา่ นพ่อเฟอื่ ง โชตโิ ก อยู่รว่ มจำ� พรรษา

เสนาสนะปา่ บา้ นปา่ เปอะ สมยั หลวงปมู่ น่ั มาพกั รกั ษาอาพาธ เดมิ เปน็ วดั รา้ ง ในกาลตอ่ มามี
ครบู าอาจารยพ์ ระศิษยห์ ลวงปูม่ ั่นเคยแวะมาพักและมาจ�ำพรรษากันหลายองค์ เช่น หลวงปู่พรหม
จริ ปุญฺโ หลวงปู่สมิ พุทฺธาจาโร หลวงปู่เหรียญ วรลาโภ ท่านพอ่ เฟื่อง โชติโก ฯลฯ

ตามหลกั ฐานของทางวัดปา่ เปอะบนั ทกึ ไวด้ งั นี้

“วัดป่าเปอะ ตง้ั อยหู่ มู่ ๒ ต�ำบลทา่ วงั ตาล อ�ำเภอสารภี จงั หวดั เชียงใหม่ สงั กัดคณะสงฆฝ์ า่ ย
มหานิกาย สรา้ งเม่ือ พ.ศ. ๒๒๐๔ มปี ระวตั ิเล่าวา่ เจ้าต๊หุ ลานชายของหมืน่ สารได้บวชแล้วจ�ำพรรษา
ที่วัดนันทาราม โดยมีนายพรหมซ่ึงเป็นคนรับใช้บวชเป็นพระคอยรับใช้ติดตามเป็นผู้สร้างวัดขึ้น
เมอ่ื ฉลองวัดแลว้ พระเจ้าตุก๊ ็ใหพ้ ระพรหมจ�ำพรรษาทว่ี ัดป่าเปอะจนส้นิ อายขุ ยั ส่วนชอื่ วัดไดจ้ าก
พระพรหมและผู้คนท่ีเดนิ ทางมาฉลองวัด ต้องอาบน�้ำลา้ งโคลน (ขี้เปอะ) เน่ืองจากฝนตกชกุ ท�ำให้
การเดนิ ทางแฉะลน่ื มีแต่โคลน (ข้เี ปอะ) พระพรหมจึงเสนอให้ตั้งช่อื ว่าวดั ป่าเปอะ

การบรหิ ารและการปกครอง มอี ดตี เจา้ อาวาสเทา่ ทที่ ราบนาม คอื รปู ที่ ๑. พระครบู าหมนั้
นนโฺ ท ไมท่ ราบปที ี่มาเปน็ เจ้าอาวาส สำ� หรบั รปู ท่ี ๒. พระจ�ำรัส าณโก พ.ศ. ๒๔๙๒ – ๒๔๙๓
และมีเจ้าอาวาสเรือ่ ยมาจนปัจจุบัน”

ป่าเปอะ จากค�ำบอกเล่าของท่านเจ้าคุณพระพุทธพจนวราภรณ์ (จันทร์ กุสโล) อดีต
เจ้าอาวาสวัดเจดีย์หลวง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ท่านบอกถึงสถานที่ท่ีหลวงปู่ม่ันท่านเคย
มาบ�ำเพ็ญภาวนาโดยใช้ธรรมโอสถบ�ำบัดโรคมาลาเรียข้ึนสมอง ซ่ึงปรากฏในประวัติหลวงปู่มั่น
ท่านเจ้าคณุ พระพุทธพจนวราภรณบ์ อกวา่ “ปา่ เปอะทแ่ี ท้จรงิ ไมไ่ ดอ้ ยใู่ นบริเวณวัดปา่ เปอะ แต่เปน็
ป่าละเมาะอยู่ตรงขา้ มกบั วัดปา่ เปอะ”

ปัจจุบันพน้ื ทท่ี ีอ่ ยู่ตรงขา้ มวดั ป่าเปอะ คือ ศนู ยบ์ ำ� บดั พกั ฟื้นผูป้ ว่ ยโรคมะเรง็ สภาพปัจจบุ นั
ในศนู ย์ก็ยังมสี ภาพเป็นปา่ ละเมาะหลงเหลอื อยู่ ส่วนวัดปา่ เปอะ เปน็ วัดในฝา่ ยมหานกิ าย

สถานที่หลวงปู่พรหมอยู่จ�ำพรรษาทางภาคเหนือ

หลวงปูพ่ รหม จิรปญุ ฺโ เดนิ ทางไปภาคเหนอื ในปี พ.ศ. ๒๔๗๗ และเดินทางกลบั ภาค
อสี านในปี พ.ศ. ๒๔๘๖ รวมเวลาทพี่ กั จำ� พรรษาอยใู่ นภาคเหนอื ๑๐ ปี โดยปี พ.ศ. ๒๔๗๗ – ๒๔๗๙
จ�ำพรรษาท่ีสำ� นักสงฆ์ปา่ เมี่ยงแมส่ าย อ�ำเภอพรา้ ว จงั หวดั เชยี งใหม่ รวม ๓ พรรษา จำ� พรรษา
ร่วมกับหลวงปมู่ ่ัน ภรู ทิ ตโฺ ต ๒ พรรษาตดิ ต่อกนั คือ ในปี พ.ศ. ๒๔๘๐ ที่วัดพระธาตุจอมแจ้ง
อ�ำเภอแมส่ รวย จงั หวัดเชียงราย และปี พ.ศ. ๒๔๘๑ ท่สี ำ� นักสงฆบ์ ้านแมก่ อย อ�ำเภอพรา้ ว จงั หวัด

186

เชียงใหม่ ในปี พ.ศ. ๒๔๘๒ จ�ำพรรษาที่มัณฑะเลย์ ประเทศพม่า ๑ พรรษา ในปี พ.ศ. ๒๔๘๓
จ�ำพรรษาทีส่ �ำนักสงฆ์บ้านแมก่ อย ในปี พ.ศ. ๒๔๘๔ จำ� พรรษาที่จงั หวัดกาญจนบุรี ปี พ.ศ. ๒๔๘๕
จ�ำพรรษาท่ีวัดเจดีย์หลวง และปี พ.ศ. ๒๔๘๖ จ�ำพรรษาท่ีเสนาสนะป่าบ้านป่าเปอะ ต�ำบล
ท่าวงั ตาล อ�ำเภอสารภี จงั หวดั เชียงใหม่

ส่วนสถานที่ซ่ึงหลวงปู่พรหมท่านไปพ�ำนักบ�ำเพ็ญภาวนาช่ัวคราวโดยไม่ได้อยู่จ�ำพรรษานั้น
มดี ้วยกนั หลายแหง่ เม่อื ออกพรรษาในหน้าแลง้ แตล่ ะปี ทา่ นกอ็ อกเดินธดุ งค์ตามปา่ ตามเขา ในเขต
อำ� เภอแมแ่ ตง เชยี งดาว พร้าว สารภี จังหวัดเชยี งใหม่ และอ�ำเภอแม่สาย แมส่ รวย เวยี งปา่ เป้า
จังหวัดเชียงราย เป็นต้น รวมท้ังในเขตประเทศพม่าและประเทศจีน ซึ่งแต่ละแห่งล้วนเป็นท่ี
ทรุ กนั ดาร เป็นสถานทสี่ ปั ปายะวเิ วกเงยี บสงัด อากาศคอ่ นขา้ งหนาวเยน็ อาหารกอ็ าศยั โคจร
บิณฑบาตกับชาวป่าชาวเขา เพอ่ื ยงั ชีพไปวนั หนึง่ คืนหนึง่

ตลอดระยะเวลา ๑๐ ปีทีห่ ลวงปู่พรหม จริ ปุญฺโ ออกเทีย่ วธุดงคอ์ ยู่ทางภาคเหนือ จะเห็น
ได้ชดั ว่า ท่านมงุ่ เนน้ ฝกึ ฝนอบรมทรมานทางด้านจติ ใจโดยการบ�ำเพญ็ จิตตภาวนาเป็นสำ� คญั การ
ปฏิบัตธิ รรมของท่านกเ็ ป็นไปอยา่ งอุกฤษฏ์ เพ่อื มุ่งตอ่ ความหลดุ พน้ เพยี งประการเดียว ในช่วงนั้น
ท่านจงึ ไม่ได้สนใจทางดา้ นวตั ถุ หรือการก่อสรา้ งใดๆ ทั้งส้ิน ดงั นน้ั หลวงปู่พรหมท่านจึงไม่ไดฝ้ าก
ผลงานทางด้านวัตถุ เช่น การสรา้ งวัดป่า การสร้างพระพุทธรูป หรือถาวรวตั ถใุ ดๆ ไว้ทางภาคเหนอื
แมท้ ่านจะมคี วามชืน่ ชอบและมีความถนดั ทางดา้ นนี้ก็ตาม

เพชรน�้ำหน่ึงผุดข้ึนตามป่าเขาในเขตจังหวัดเชียงใหม่

พ่อแมค่ รูอาจารย์ ประเภท เพชรน�้ำหนง่ึ ซึ่งบรรลุธรรมขน้ั สูงสดุ เป็นพระอรหันตต์ ามปา่
ตามเขาในเขตจงั หวัดเชียงใหม่ องคห์ ลวงตาพระมหาบวั าณสมปฺ นโฺ น ได้เมตตาเทศนาธรรม
เม่อื วันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๔๙ กลา่ วถึงทง้ั หมด ๖ องค์ ดงั นี้

“เพชรน้�ำหน่ึงไปผุดขึ้นท่ีเชียงใหม่หลายองค์นะ เป็นเพชรน้�ำหน่ึงๆ ไปผุดขึ้นที่เชียงใหม่
หลวงปูม่ นั่ หลวงปู่พรหม หลวงป่ขู าว หลวงปูต่ อ้ื หลวงปแู่ หวน นี่ประเภทเพชรน้ำ� หน่งึ ท้งั นนั้
ไปผุดขน้ึ ท่เี ชียงใหม่หลายองค์

นบั แต่หลวงปมู่ ัน่ หลวงปู่ขาว หลวงปพู่ รหม หลวงปู่แหวน หลวงปูต่ อ้ื ๕ องค์ ทีเ่ ชียงใหม่
นี่ละ่ ทา่ นมกั จะโผล่ขึ้นทใ่ี นปา่ ๆ ทว่ี า่ เหลา่ น้ีอยู่ในป่าทัง้ นัน้

หลวงปูพ่ รหม นอี้ �ำเภอไหนนา ทางดอยแม่ปั๋ง ท่านเคยเลา่ ให้ฟัง เพชรนำ้� หน่งึ ไปผดุ ขนึ้ ท่ี
เชียงใหมห่ ลายองค์ คือทา่ นผู้สนิ้ กเิ ลสแล้ว เวลาท่านมรณภาพแล้วอฐั ขิ องท่านกลายเปน็ พระธาตุ
ชัดเจน

187

หลวงปู่ขาว ท่านเคยเล่าให้ฟังว่า อยู่ท่ีโหล่งขอด ไปทางอ�ำเภอแม่แตงหรือไง มีแต่
เพชรน้�ำหน่ึงทง้ั นน้ั ท่เี อามาพดู ท่านมักจะผดุ ขึน้ ในปา่ ในเขาๆ เป็นท่สี ะดวกในการบำ� เพ็ญ

เพราะฉะนนั้ เวลาพระบวชแลว้ จึงต้องได้รบั พระโอวาทสดๆ รอ้ นๆ มาจนกระท่งั ทกุ วันนี้
แต่มันจืดส�ำหรับพระเสียเองเท่าน้ัน พระโอวาทเป็นพระโอวาทสดๆ ร้อนๆ เวลาบวชอุปัชฌาย์
ไม่สอนอันน้ีไม่ได้เด็ดขาด รุกฺขมูลเสนาสนํ นิสฺสาย ปพฺพชฺชา ตตฺถ เต ยาวชีวํ อุสฺสาโห
กรณโี ย บรรพชาอุปสมบทแลว้ ให้ท่านทง้ั หลายไปอยใู่ นป่าในเขา รกุ ขมลู รม่ ไม้ ท่ีแจ้งอพั โภกาส
ท่ีอากาศดๆี อันเป็นสถานที่ปราศจากสงิ่ รบกวน และบ�ำเพ็ญไดส้ ะดวกสบาย จงอุตสา่ หพ์ ยายามอยู่
และบ�ำเพ็ญในสถานท่ีนนั้ ตลอดชีวติ เถิด ไม่ใชธ่ รรมดา ตลอดชีวติ

ท่ีเชียงใหม่จงึ มเี พชรนำ้� หนงึ่ ผดุ ขน้ึ หลายองค์ เชียงใหม่รู้สึกวา่ เด่นมาก นับแตห่ ลวงปู่มั่น
หลวงปขู่ าว หลวงปพู่ รหม หลวงปู่แหวน หลวงป่ตู ือ้ เท่าทเี่ รานับได้ ๕ องค์ เอ ! หลวงปูส่ มิ
ก็ดวู า่ จะอยูท่ ี่นนั่ ล่ะมงั หลวงปสู่ ิมน้อี งค์หนึ่ง รวม ๖ องค์เท่าทจ่ี ำ� ได้นะ มีแตเ่ พชรน�้ำหนงึ่ ผดุ ข้ึนท่ี
เชียงใหม่ สถานท่ีเชน่ น้นั ละ่ เปน็ สถานทเ่ี พาะท่านผู้เลศิ เลอ ในปา่ ในเขาๆ

ท่านอยู่ในป่าในเขาท้ังนั้นแหละ ก็ตรงกับพระโอวาทที่ทรงสอนสดๆ ร้อนๆ จนกระท่ัง
ทกุ วันน้ี ถือเปน็ สำ� คญั มากทเี ดยี ว รุกขฺ มูลเสนาสนฯํ พอบวชเสรจ็ แลว้ อุปชั ฌายต์ ้องสอน ไม่สอน
ไม่ได้ คือเด็ดขาด ให้อยู่ตามรุกขมูลร่มไม้ในป่าในเขา ตามถ้�ำ เงื้อมผา ป่าช้าป่ารกชัฏ ที่แจ้ง
ลอมฟาง อันเป็นสถานที่เหมาะสมกับการบำ� เพ็ญธรรม ปราศจากสง่ิ รบกวน จงอุตส่าห์พยายามอยู่
และบ�ำเพญ็ ในสถานทเี่ ช่นนน้ั ตลอดชวี ิตเถิด น่นั ฟงั ซิ ของเล่นเมอ่ื ไร ตลอดชวี ิต

ครูบาอาจารย์องค์ไหนที่ปรากฏชื่อลือนาม มักจะออกมาจากป่าจากเขา อยากจะว่า
ทงั้ นนั้ นะ อย่างทีว่ ่าเชียงใหม่กใ็ นป่าในเขาทั้งน้ันท่านส�ำเร็จออกมา คืออยู่ในปา่ ในเขาทศั นียภาพ
ตา่ งๆ เป็นคณุ หมดเลย ตน้ ไมใ้ บหญ้ามองไปทีไ่ หนเป็นธรรมสอนตนตลอดเวลา”

โปรดหลวงปู่สิมและคณะก่อนลงไปอีสาน

ปลายปี พ.ศ. ๒๔๘๖ หลงั ออกพรรษา ชว่ งหน้าแล้ง เดอื นอ้าย (ธันวาคม) หลวงปูพ่ รหม
จิรปุญโฺ  ทา่ นออกเดนิ ทางจาก เสนาสนะป่าบา้ นปา่ เปอะ อ�ำเภอสารภี จงั หวดั เชียงใหม่ เพอื่ ธุดงค์
กลับภาคอีสานไปแล้ว ท่านไปแวะพักค้างคืนในเขตจังหวดั ล�ำพูน ๑ คนื ในขณะทีท่ �ำสมาธิภาวนา
ทา่ นรู้เห็นเหตุการณท์ จ่ี ะเกดิ ขึ้นลว่ งหนา้ ดว้ ยอนาคตังสญาณอนั แจม่ แจ้งชดั เจนของท่าน ท่านเหน็
พระหน่มุ ภูไท ๒ องค์ คือ ทา่ นพระอาจารย์สมิ พุทฺธาจาโร และพระหนุ่มภไู ทอีกองค์หนง่ึ ไดอ้ อก
เท่ียวเดินธุดงค์จะมาพบท่านที่เสนาสนะป่าบ้านป่าเปอะ เพื่อต้องการมากราบและศึกษาฟังธรรม
กับท่าน เพราะกอ่ นหลวงปมู่ ั่นจะเดนิ ทางกลับภาคอสี าน ทา่ นได้เอย่ ถึงคณุ ธรรมของหลวงป่พู รหม

188

กับ หลวงปู่ขาว ให้บรรดาพระศิษย์ทอ่ี ยูท่ างภาคเหนือฟัง ทา่ นพระอาจารยส์ มิ ซ่ึงขณะนน้ั ยงั เทีย่ ว
ธุดงคท์ างภาคเหนือ ท่านจงึ ได้พาพระหน่มุ ภูไทมากราบหลวงปพู่ รหมดว้ ย

ดว้ ยความเมตตาของหลวงปูพ่ รหม และดว้ ยความทที่ า่ นเองเคยเสาะแสวงหาครบู าอาจารย์
มาก่อน ท่านจึงเข้าใจถึงความรู้สกึ และความตั้งใจจรงิ ของพระหน่มุ ภูไททง้ั สองเปน็ อย่างดี ท่านจึง
ตดั สนิ ใจเดนิ ทางยอ้ นกลบั ขน้ึ ไปทเ่ี สนาสนะป่าบา้ นป่าเปอะอกี ครั้งหนึง่ โดยในเชา้ ของวนั รุ่งขนึ้ เมอ่ื
ท่านฉันจงั หนั เสรจ็ แล้ว ทา่ นเดินทางกลบั เพอื่ มารอโปรดพระหนุ่มภูไทท้งั สอง

พอตกกลางคนื หลวงป่พู รหมทา่ นก็จดุ เทยี นน่ังฉนั น้ำ� ต้มรากไมร้ ออยู่ ท่านพระอาจารย์สมิ
และพระหนุม่ ภไู ท กบั ท่านพระอาจารยเ์ ฟือ่ ง โชตโิ ก (ท่านพอ่ เฟือ่ ง วดั ธรรมสถติ จังหวัดระยอง)
กบั เณรนอ้ ยองคห์ น่งึ ที่มาอยกู่ อ่ นแล้ว กเ็ ข้ากราบหลวงปพู่ รหม พอไปเหน็ หนา้ พระหนมุ่ ภูไท
ท้ังสองเทา่ นัน้ หลวงป่พู รหมก็ร้องทกั เลยวา่ “โหะ๊ ! มาถงึ แลว้ น้ี ไปอยา่ งใด มาอย่างใด ? น่ีไปถงึ
ลำ� พูนแลว้ กลบั คืนขึน้ มารออยู่น่ี เหน็ พระหนมุ่ ใหญ่ ๒ องค์ แลว้ อดสงสารมไิ ด้ จงึ กลบั คืนมา”

หลวงปูพ่ รหม ถ้าหากนับตามพรรษา ท่านมีพรรษามากกวา่ ทา่ นพระอาจารย์สิม ๑ พรรษา
และมากกว่าท่านพ่อเฟ่ือง ๙ พรรษา หากนบั ตามอายุหลวงปู่พรหม ท่านอายมุ ากกวา่ ๒๐ – ๓๐ ปี

หลวงปูพ่ รหม ทา่ นถามวา่ “ไปอยา่ งใด มาอยา่ งใด ?” ก็เลา่ ให้ทา่ นฟงั ตัง้ แตบ่ วชเปน็ เณร
จนไดเ้ ป็นพระ การไปการมา ทา่ นกไ็ ดแ้ ต่ “อื้อ... ออ้ื ...” แล้วทา่ นก็ว่า “ผมลงไปถึงล�ำพนู แลว้
เมอ่ื คนื น้ีภาวนาอยู่ เหน็ พระหน่มุ ภูไท ๒ องค์ เดนิ ทางลงมาหา ก็เลยกลับขึน้ ไปพบกันตรงน้ี ปีน้ีผม
จะกลับไปอยู่อีสานแล้ว ครูอาจารย์ใหญ่ (หลวงปมู่ ่นั ) ทา่ นก็ลงไปแล้ว ไม่ใช่ผมจะกลบั มาอวดอ้าง
ธรรมนะ ข้ึนมาตามเมตตาพวกทา่ นท่ีพากนั ลงมาหาผมนะ ผมก็เหมอื นกนั แตก่ ่อนออกตามหา
ครูอาจารยใ์ หญ่ เสาะหาจนพบจนปะทา่ นแลว้ จงึ พอเอาตวั รอดมาได้ แตม่ ิใช่ของงา่ ยๆ นะ ตาย
ท้ังเปน็ จงึ ได้ (ธรรม) มา”

เมื่อสนทนากนั นานพอสมควรแลว้ จากนัน้ ทา่ นก็ใหเ้ ณรพาไปจดั ทพ่ี ักหลบั นอน

หลวงปู่พรหม ท่านเมตตาอยโู่ ปรดท่านพระอาจารย์สมิ พระหนมุ่ ภไู ท และพระอาจารย์
เฟ่อื ง นานถงึ ๗ วนั จึงได้อ�ำลาภาคเหนอื แลว้ เดนิ ธุดงค์กลบั ภาคอีสานตามท่ีต้งั ใจ โดยในระหว่างน้ี
ทา่ นได้แนะนำ� สถานทีท่ ี่เหมาะสำ� หรับหลีกเรน้ เพ่อื เจริญภาวนา ว่ามีหลายแหง่ ในภาคเหนือ

“ท่ีหลบเจรญิ ภาวนาที่ครอู าจารยใ์ หญ่ (หลวงป่มู ่ัน) พาหลบล้อี ยู่ มมี ากจะบอก แตป่ า่ เปอะ
ขึ้นไปสนั กำ� แพง สันทราย ดอยสะเกด็ แมร่ มิ แมแ่ ตง เชยี งดาว ฮอ่ งธาร แม่สูน ฝาง แลว้ ลดลงมา
แม่สรวย ขน้ึ ไปสดุ ก็ใหถ้ ึงเชยี งแสน แลว้ ลงมาเวียงป่าเปา้ เข้าพร้าวตอนเหนอื ตอนใต้ เสาะหาที่
ภาวนาไปเถอะ ต้องได้ทีข่ องตนแนน่ อน เชยี งดาว แม่แตง แถบนีล้ ่ะจะพออยู่ได.้ ..”

189

ตอ่ จากนัน้ หลวงปู่พรหม กไ็ ดแ้ นะน�ำเรือ่ งอุบายภาวนา

“... อุบายการภาวนา ครอู าจารย์ใหญ่ (หลวงปู่มนั่ ) สอนผมไว้แลว้ ว่า “ผ้อู บรม ผูฝ้ กึ ฝน
ฟอกจิตใจให้สะอาดนั้น ต้องมีสติสัมปชัญญะ ระมัดระวังภายในของตนอยู่เสมอแล้ว ให้เป็น
ผู้หม่ันขยันต่อสู้ตนกับความเพียร” เรื่องการเร่งรัดท�ำความเพียรอย่างไม่ยอมหลับยอมนอนน้ัน
ผมเองเคยถูกครูอาจารย์ใหญ่ทา่ นเขน่ ขนาบอยหู่ ลายครั้งหลายหน จึงรู้ว่าเรามนั อยากเกินขีดความ
สามารถของตน จงึ ดำ� เนินตามทีท่ ่านเมตตาแนะนำ� สั่งสอน”

หลวงปพู่ รหม ท่านอธิบายในอุบายธรรมนนั้ แลว้ ก็เล่าเรือ่ งอืน่ หลายเร่ืองใหฟ้ งั สดุ ท้ายบอก
ว่า “อาจารยข์ าว (หลวงปู่ขาว อนาลโย) ยงั อยูเ่ หนอื อย่ทู างสันทราย ยังไม่ลงมา จากน้ีไปแลว้ ให้
ไปเสาะหาเถิด ทา่ นรอท่าอยู่นะ”

การไปอยู่เสนาสนะปา่ บา้ นปา่ เปอะกับหลวงปู่พรหมคราวนัน้ พระหนุ่มภไู ททั้งสองชน่ื ชม
ว่าสถานทแ่ี หง่ นนั้ ภาวนาดมี าก นบั เป็นสถานท่ีสปั ปายะมากแห่งหนึ่งทางภาคเหนอื และญาติโยม
ทางน้ันก็รู้จักระเบียบและวิธีปฏิบัติต่อพระธุดงค์มาก่อนแล้ว ต้ังแต่เม่ือครั้งหลวงปู่ม่ันไปอยู่ที่น่ัน
หลายปกี อ่ น

หลวงปู่พรหมก่อนเดินทางกลับภาคอีสาน ท่านได้บอกให้พระหนุ่มภูไทไปขออุบายธรรม
จากหลวงปขู่ าว อนาลโย ซึ่งรออยู่ท่อี ำ� เภอสันทราย หลวงป่พู รหมบอกว่า “ไดบ้ อกท่านขาวแล้วว่า
พระหนมุ่ ภไู ทจะไปหา ใหท้ ่านขาวเมตตาดว้ ย” เม่อื พระหนุ่มภูไทไปถึง หลวงปขู่ าวท่านวา่ “ดแี ล้ว
ทค่ี ณุ ยงั มาทนั ถา้ หากทา่ นพรหมไม่แจง้ ข่าวมา ผมลงไปแลว้ อันน้ที า่ นพรหมแจ้งข่าวมา บอกว่ามี
พระหนุ่มภูไทเคยเปน็ เณรของครอู าจารยใ์ หญ่ กำ� ลงั มาหา ผมเลยยงั้ รออย่”ู เหตกุ ารณ์น้นี ำ� ความ
แปลกใจให้กับพระหนุ่มภูไทเป็นอย่างมาก ด้วยเหตุว่าหลวงปู่ขาวกับหลวงปู่พรหม ท่านทั้งสอง
พกั อยหู่ ่างไกลกันคนละอำ� เภอ แตท่ ่านสามารถส่อื สารกนั ได้

190

ภาค ๑๒ เดินทางกลับภาคอีสาน

ท่านแสดงความเคารพและความกตัญญูต่อหลวงปู่มั่น

การแสดงความเคารพเช่ือฟังเป็นอริยประเพณีของชาวพุทธมีมาแต่คร้ังพุทธกาล สมเด็จ-
พระผูม้ ีพระภาคเจา้ ตรัสไว้ในอปริหานยิ ธรรมสตู ร มีใจความว่า “ภิกษทุ ง้ั หลายยงั สักการะนบั ถอื
บชู าภกิ ษผุ ้เู ป็นเถระ บวชมานาน เปน็ บดิ าสงฆ์ เปน็ ผูน้ �ำของหมู่ จักเช่ือฟังถ้อยค�ำของทา่ นอยู่
เพียงไรกพ็ งึ หวงั ความเจรญิ ได้ ไม่มีเสื่อม”

ส�ำหรบั ความกตัญญูกตเวทีในครูบาอาจารยผ์ ู้สงั่ สอนแนะนำ� กเ็ ป็นมหากตญั ญู มหากตเวที
โดยองคห์ ลวงตาพระมหาบวั าณสมปฺ นโฺ น ได้เมตตาเทศนไ์ ว้ดังน้ี

“อยู่กบั ใครมนั ไม่สนทิ ใจล่ะ ให้อยกู่ ับหวั ใจเรานส่ี นทิ ใจมากทเี ดียว ตายใจเลย เอ้า ! หมด..
เท่านั้นพอ ครูบาอาจารย์ก็สาธุยกไว้ ให้ยึดให้เกาะท่านเหมือนอย่างแต่ก่อน ไม่เกาะ แต่เรื่อง
ความเห็นบุญเห็นคุณนั้นเป็นมหากตัญญูกตเวทีแหละไม่ต้องบอก เพราะอันน้ีเป็นหลักธรรมชาติ
เมื่อจิตได้ถึงข้ันแห่งความบริสุทธิ์แล้ว ต้องเป็นมหากตัญญูมหากตเวทีทันทีเลย ไอ้ส่วนท่ีจะ
ไปเกาะไปเก่ียว ไปหน่วงไปเหน่ยี วท่านเหมือนอย่างแตก่ อ่ น เหมือนเด็กที่กำ� ลงั ดมื่ นมแม่นน้ั ไม่เป็น
เรื่องเหน็ คณุ ของพระพทุ ธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ คุณของครูบาอาจารย์น้ียกไว้ ไมม่ อี ะไรเทียบ
แหง่ ใจของพระอรหนั ตท์ เ่ี หน็ คณุ เพราะใจของพระอรหนั ตท์ เี่ หน็ คณุ นน้ั เปน็ ใจลว้ นๆ ไมม่ กี เิ ลสเขา้ ไป
เคลือบไปแฝง ไปคัดค้านต้านทานบ้างเลย เอาให้มันเห็นซิหัวใจของเรา ท่านสอน สอนลงในจุดนี้
ท้ังน้นั ๆ”

หลวงปู่พรหม จิรปุญฺโ ท่านมีปรกติเป็นผู้มีความเคารพเชื่อฟังและมีความกตัญญูต่อ
ครูบาอาจารย์ ย่ิงเมื่อท่านบรรลธุ รรมเป็นพระอรหันต์แล้ว ทา่ นก็ยิง่ ระลกึ ถึงพระคณุ ครูบาอาจารย์
ของทา่ น คอื หลวงปู่มั่น ภูริทตโฺ ต และ ทา่ นพระอาจารยส์ ารณ์ สุจิตฺโต จติ ของท่านจงึ ย่อมมีความ
เคารพเช่ือฟังครูบาอาจารย์ของท่าน เป็นจิตชนิดยอมสละชีวิตตายแทนครูบาอาจารย์ของท่านได้
สว่ นความกตัญญูของทา่ นผูบ้ รสิ ทุ ธิ์หลุดพ้นแล้ว จิตของทา่ นยอ่ มเป็นจิตชนิดท่มี คี วามกตัญญู เป็น
มหากตัญญู มหากตเวที

ฉะนนั้ เมือ่ หลวงปพู่ รหมท่านเดินทางกลบั ภาคอสี าน ท่านจึงเดนิ ทางไปกราบทำ� วัตรคารวะ
หลวงปมู่ ั่นเปน็ ประจำ� ในทกุ แห่งทุกสถานทีท่ ห่ี ลวงปูม่ ัน่ ท่านไปอยู่จำ� พรรษา ไมว่ า่ สถานทน่ี นั้ จะ
ห่างไกลหรือล�ำบากเพียงใดก็ตาม เพราะท่านมีจิตใจที่จะสนองพระคุณและมุ่งแบ่งเบางานของ
หลวงปู่ม่ันอย่างเต็มก�ำลังสุดความสามารถ ในการอบรมส่ังสอนพระเณรท่ีจะเข้ากราบและรับการ
ฝึกฝนอบรมจากหลวงปมู่ ่ันนน่ั เอง

191

ปลายปี พ.ศ. ๒๔๘๖ กลับอีสาน ท่านได้รับค�ำชมจากหลวงปู่ม่ัน

ปี พ.ศ. ๒๔๘๖ เป็นปสี ุดท้ายท่ีหลวงปู่พรหม จิรปญุ ฺโ อำ� ลาภาคเหนอื ท่านได้เดนิ ธดุ งค์
มาทางภาคอีสาน ในเดือนอ้าย คอื ธนั วาคม ในปีน้นั รวมเวลาที่ทา่ นพักจำ� พรรษาในภาคเหนอื
๑๐ ปีพอดี เม่อื มาถงึ ภาคอสี านแลว้ ทา่ นได้เขา้ พักท่ีวดั ปา่ สุทธาวาส อำ� เภอเมือง จงั หวัดสกลนคร
จากนั้นท่านก็ไปกราบหลวงปู่ม่ัน ภูริทตฺโต ที่วัดป่าบ้านนามน อ�ำเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวัด
สกลนคร (ปจั จุบนั คอื วดั ปา่ นาคนิมติ ต)์ ท่านได้รจู้ กั องคห์ ลวงตาพระมหาบัว าณสมปฺ นโฺ น
เป็นคร้ังแรกทีว่ ัดแหง่ น้ี ซ่งึ ขณะนนั้ องคห์ ลวงตาฯ ได้ทำ� หน้าท่ีอุปัฏฐากหลวงปู่มัน่ อยา่ งใกลช้ ิด

ในระยะหนงึ่ บรรดาพระเถระท้ังหลายพากันไปกราบนมสั การท่านอาจารย์ใหญ่ม่นั ซึง่ มี
หลวงป่พู รหมรวมอย่ดู ว้ ย เม่อื ไดฟ้ งั โอวาทของทา่ นอาจารยใ์ หญ่ม่ันแลว้ เฉพาะต่อหนา้ พระเถระ
ท้งั หลายท่รี ่วมฟังโอวาทด้วยกัน หลวงปมู่ ่ันได้ถามพรอ้ มทั้งกลา่ วยกย่องหลวงปู่พรหม ท่ามกลางท่ี
ประชมุ สงฆ์นน้ั

หลวงปู่มน่ั ถามหลวงปู่พรหมขึ้นวา่ “ทา่ นพรหมมาแต่ไกล เป็นอยา่ งไรบ้าง การพิจารณา
กาย การภาวนากด็ ี เป็นอย่างไร ?”

หลวงปู่พรหมกราบเรียนวา่ “เกล้าฯ ไมม่ ีอกถังกถแี ล้ว” (สนิ้ สงสัยหมดแล้ว)

หลวงปมู่ น่ั ได้ยกย่องชมเชยหลวงปูพ่ รหมตอ่ หนา้ พระเณรทั้งหลายวา่ “ท่านพรหมเปน็ ผู้มี
สติ ทกุ คนควรเอาอย่าง”

ในปี พ.ศ. ๒๔๘๗ ขณะท่หี ลวงปูพ่ รหมกราบหลวงป่มู ัน่ ท่ีเสนาสนะปา่ บ้านนามน เปน็ ช่วง
จวนจะเขา้ พรรษา ท่านตั้งใจจะอยู่จำ� พรรษารว่ มกบั พระอาจารย์ใหญ่ ณ ส�ำนกั สงฆแ์ หง่ นัน้ แต่
ทางด้านวัดป่าสุทธาวาส ซ่ึงเป็นวัดหลักทางฝ่ายกรรมฐานมาด้ังเดิม ในขณะน้ันไม่มีเจ้าอาวาส
หลวงปู่มนั่ จึงเผดียงให้หลวงปพู่ รหมทราบ โดยองค์หลวงตาพระมหาบัว าณสมฺปนฺโน ไดเ้ มตตา
เทศนไ์ ว้ดังนี้

“... เรา (องค์หลวงตาฯ) อยู่บ้านนามนกับหลวงปู่ม่ัน ทีน้ีท่าน (หลวงปู่พรหม) อยู่
วดั สทุ ธาวาส หลวงปมู่ ัน่ เรานที่ า่ นพูดเป็นลกั ษณะเผดยี งๆ จะส่ังจริงๆ กไ็ ม่ใชน่ ะ ท่านก็ร้อู ธั ยาศัย
เหมือนกนั คือพระไมม่ ี เขาก็มาขอจากทา่ น

บริษัทโยมนุม่ มาขอ เพราะวดั น้เี ป็นวดั บริษัทโยมนุ่มสร้างข้นึ มา มหี ลวงปมู่ น่ั หลวงปเู่ สาร์
เป็นประธานการสร้างวัดสทุ ธาวาสน่นี ะ เขากเ็ ลยถือเปน็ วัดของเขาไปเลย ทนี ้ีพระไมม่ ี เขากไ็ ป
ติดต่อบ้านนามน “โอ๋ย ! จะให้ท่านไปอยยู่ งั ไง” ท่านก็ว่าอย่างนนั้ คือมาขอพระไป “พระในเมอื ง
สกลฯ อดอยากทไ่ี หน” ทา่ นพดู เลน่ กบั เขา หากเฉยนะ พูดลักษณะเลน่ อยภู่ ายใน “ทำ� ไมมาหาไกล

192

นักหนา เมืองสกลฯ มมี ากขนาดไหน” ถ้าเปน็ หลวงตาบัวจะมีอีกแงห่ นึ่งนะจะออก เอาไปฆ่าท้ังวนั
ก็ไม่หมดพระอุดรฯ เราจะว่าอย่างน้ี “จะมาขอหาอะไร ไม่ได้แหละ” ท่านว่า เขาก็เลยกลับไป
ทา่ นบอกไม่ได้ “พระน่ที า่ นมาหาภาวนา ก็ต้องมาตามอธั ยาศยั ของท่านซี”

ไม่นานสักสี่ห้าวันหรือไง พอดีท่านอาจารย์พรหมมาวัดสุทธาวาส ท่านมาจากเชียงใหม่
แล้วพุ่งใส่พ่อแม่ครูจารย์ม่ันเราเลย นั่นล่ะท่านถึงพูดเป็นเชิงเล่าเร่ืองน้ีล่ะ เขามาขอพระอะไรๆ
“ถา้ ทา่ นพรหมพอจะอยพู่ กั อบรมส่ังสอนใหเ้ ขารม่ เยน็ บ้างกจ็ ะดนี ะ” ท่านพดู กลางๆ “ออกพรรษา
อยากมาคอ่ ยมา” ทา่ นกร็ ู้อธั ยาศยั เหมือนกนั นะ ทา่ น (หลวงปพู่ รหม) ก็กลบั ไปจ�ำพรรษาที่น่นั ทีน้ี
พอออกพรรษาปบั๊ ทา่ นกม็ าเลย น้นั แหละไดค้ ยุ กนั ตลอด สนิทสนมกันมา”

ดว้ ยวัดปา่ สทุ ธาวาส เปน็ วดั ท่ีหลวงปูเ่ สาร์ กนฺตสีโล และ หลวงปูม่ น่ั ภูริทตฺโต ไดส้ รา้ งไว้
สถานท่ีตั้งวัดอยู่ชานเมือง เป็นสถานท่ีวิเวกเงียบสงัดเหมาะกับการภาวนา ในสมัยนั้นถือเป็นวัด
ศนู ย์กลางฝา่ ยกรรมฐานทางภาคอีสาน เม่ือออกพรรษาแล้ว หลวงปู่พรหมทา่ นออกธดุ งค์ไปกราบ
หลวงปู่มั่นที่เสนาสนะป่าบ้านโคก ต�ำแหน่งเจ้าอาวาสจึงว่างลง ด้วยเป็นวัดส�ำคัญจ�ำเป็นต้องมี
เจ้าอาวาสคอยปกครองดูแลวดั และพระภกิ ษุ สามเณร ตลอดเป็นทพี่ ึง่ ของอบุ าสก อุบาสิกา ดังนน้ั
หลวงปู่มนั่ จึงได้ส่ังให้พระครูอุดมธรรมคุณ (หลวงปู่พระมหาทองสกุ สุจติ โฺ ต) ซง่ึ ขณะน้ันอยบู่ ้าน
ห้วยหีบ ตำ� บลหนองเหียน อ�ำเภอเมอื ง จังหวัดสกลนคร หา่ งจากเสนาสนะป่าบา้ นโคก ทหี่ ลวงปมู่ ่นั
พักไม่ไกลนกั สามารถเดนิ ทางไปรบั การอบรมธรรม และลงอโุ บสถร่วมกับหลวงปู่ม่ันได้ ตามเวลา
อันสมควร

หลวงปู่พระมหาทองสุก สจุ ิตฺโต ทา่ นเป็นชาวจังหวัดสระบรุ ี ออกติดตามปฏิบตั ิธรรมกับ
หลวงปูม่ ่ันทางภาคเหนือหลายปี ท่านเป็นศิษยค์ ูท่ กุ ขค์ ยู่ ากของหลวงปูม่ ัน่ ทา่ นไดม้ าเป็นเจ้าอาวาส
วดั ปา่ สทุ ธาวาส ตงั้ แต่ปี พ.ศ. ๒๔๘๙ จนถึงมรณภาพในปี พ.ศ. ๒๕๐๗ เป็นเวลา ๑๘ ปี ไดส้ ร้าง
ความเจรญิ และความเปน็ ปกึ แผน่ มน่ั คงให้แกว่ ดั มาตราบจนทุกวนั น้ี

ประวัติวัดป่าบ้านนามน

วัดปา่ บ้านนามน เป็นวดั สำ� คัญวัดหนงึ่ ท่หี ลวงปมู่ นั่ ภรู ทิ ตฺโต มาพักจำ� พรรษา ก่อนทจ่ี ะย้าย
ไปอย่ทู ี่วัดปา่ บ้านหนองผอื ซง่ึ เปน็ วัดสุดทา้ ยในชวี ติ ของท่าน วดั ปา่ บา้ นนามน มีช่ือเป็นทางการว่า
วัดป่านาคนมิ ติ ต์ อยทู่ บี่ ้านนามน ตำ� บลตองโขบ อ�ำเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวดั สกลนคร มีพระป่า
ศิษยส์ ายหลวงปูม่ ั่นเปน็ เจ้าอาวาสเร่อื ยมาจวบจนปจั จุบนั

ครบู าอาจารยไ์ ด้เมตตาเล่าความเป็นมาของวัดปา่ บา้ นนามน หรอื วดั ป่านาคนมิ ิตต์ ดงั นี้

193

“วัดป่านาคนมิ ิตต์ แห่งนี้ ท่านพระอาจารยม์ น่ั ภรู ิทตตฺ มหาเถร มาสรา้ งคร้งั แรก อาตมา
เองยงั ไม่ไดเ้ กดิ นะ เดิมวัดแหง่ นม้ี ที ่านพระอาจารยเ์ สาร์ กนตฺ สีลมหาเถร เดินธดุ งค์มากอ่ น ท่าน
พระอาจารยเ์ สาร์ มาพกั รุกขมูล คร้นั ต่อมาทา่ นก็เดินธุดงคต์ อ่ ไป แลว้ ทา่ นพระอาจารย์มัน่ ท่านก็
เดินธดุ งค์ตามรอยทา่ นพระอาจารย์เสาร์มา ทา่ นพระอาจารย์เสาร์พักท่ีไหน ทา่ นพระอาจารยม์ ัน่
กพ็ ักทน่ี นั่ ทา่ นพระอาจารย์มนั่ มาเห็นพืน้ ท่สี ัปปายะ ทา่ นก็เลยปรารภกับโยมวา่ คิดจะสร้างเป็น
วดั โยมเขาก็เลยเอาเจา้ หน้าที่มารังวดั จับจอง แล้วยกถวายทา่ น ท่านกไ็ ดส้ รา้ งพอไดอ้ ยู่อาศัย แลว้
ทา่ นกเ็ ดนิ ธดุ งคไ์ ปทางเชียงใหมห่ ลายปี ตอ่ จากนั้นทา่ นกย็ ้อนคนื กลบั มาอกี เป็นครัง้ ท่ี ๒ ประมาณ
สงครามญปี่ ุ่น (สงครามโลกครั้งท่ี ๒)

ตอนท่ีทา่ นพระอาจารยม์ ัน่ มาพกั อยู่ที่วดั ปา่ บา้ นนามนนน้ั มพี ระผใู้ หญ่เข้ามาพักอาศัยอยู่
รวมกันหลายองคด์ ้วยกัน เช่น หลวงปู่เทสก์ เทสรฺ สํ ี หลวงป่อู อ่ น าณสริ ิ หลวงปหู่ ลุย จนฺทสาโร
หลวงปฝู่ ้ัน อาจาโร หลวงปพู่ รหม จิรปญุ โฺ  และหลวงตามหาบัว าณสมฺปนฺโน ฯลฯ

ครบู าอาจารย์แทบทกุ องคม์ าอยู่กบั ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ และมีที่พักกระจายกนั อยู่ เช่น
หลวงปู่กงมา จิรปุญฺโ กอ็ ยบู่ า้ นโคก พระครูอุดมธรรมคณุ (หลวงปูม่ หาทองสกุ สจุ ิตโฺ ต) และ
หลวงปูห่ ลยุ จนทฺ สาโร อยู่บ้านห้วยหีบ แตก่ ็ไปๆ มาๆ ถ้าถึงวนั พระใหญก่ ็มารวมกันท�ำอโุ บสถ
รบั โอวาทจากท่าน (หลวงปมู่ น่ั ) แลว้ กเ็ ดนิ กลับวดั เดี๋ยวพระเข้า เดยี๋ วพระออก ตอ้ งนับทุกวนั

ความเปน็ มาของชอ่ื วดั ป่านาคนมิ ติ ต์

โยมชาวบ้านนามนเขาจะปลกู สรา้ งกุฏหิ ลงั น้แี หละ (กฏุ หิ ลวงปมู่ ัน่ ) เขาเตรยี มไมไ้ ว้ว่าจะยก
วนั พรุ่งน้ี ในตอนกลางคืน พญานาคมาทำ� รอยเอาไวใ้ ห้ ตอนเช้า โยมเขามาว่าจะยกกฏุ ิ ท่านพระ–
อาจารย์มนั่ ก็ช้บี อกโยมว่า นัน่ แหละ พญานาคทำ� รอยไวใ้ หแ้ ล้ว โยมเขาไปดู เขาว่าเปน็ รอยกลมๆ
วงกลมจึงก่นหลุม (ขดุ หลุม) ตามรอยนัน่ แหละ แลว้ ทา่ นพระอาจารย์ม่นั ก็พูดบอกโยมเขาวา่ วัดนี้
ใหช้ ือ่ วา่ วัดปา่ นาคนิมิตต์ แตช่ าวบ้านทว่ั ไป วดั อยู่บา้ นไหน เขาก็เรียกวดั ป่าบ้านนั้นแหละ เช่น
วัดปา่ บ้านนามน วดั ป่าบ้านโคก วดั ป่าบา้ นหว้ ยแคน เปน็ ตน้ เอาบ้านเป็นช่อื วัด อยู่บ้านไหนกเ็ อา
ชอื่ บ้านนั้นแหละเป็นชอื่ วัด สมยั กอ่ นเราขอกบั ทางการ จงึ เอาชอ่ื ว่า วดั ป่านาคนิมิตต์

ชว่ งที่พญานาคมาท�ำรอยไว้ คอื ชว่ งท่ีทา่ นพระอาจารย์ม่ันพกั จำ� พรรษาอยูว่ ัดนี้ เขาท�ำรอย
ไวท้ ่นี ัน่ (กฏุ ิหลวงปูม่ ่ัน) แลว้ เขาก็เลอ้ื ยมาทีน่ ี่ (ท่ีศาลา) เม่อื ก่อนทน่ี เ่ี ปน็ ปา่ เขาลอยมา (เลอ้ื ยมา)
โยมเขาเอาเทา้ ไปขวางดู (วดั ดู) สุดรอยเทา้ เขาพอดนี ะผอด (รอย) น้นั

ท่านพระอาจารย์ม่ัน ท่านไม่จ�ำพรรษาซ้�ำท่ีเก่านะ ท่านจ�ำพรรษาซ�้ำท่ีเก่าเฉพาะบ้าน
หนองผือแห่งเดียว อย่างท่านมาอยู่ท่นี ี่คอื บ้านนามน ทา่ นกจ็ �ำพรรษา บา้ นโคก ท่านก็จ�ำพรรษา

194

บ้านหว้ ยแคน บ้านหว้ ยหีบ ทา่ นกไ็ ปมาอยบู่ ้าง ทา่ นมาครั้งทีส่ องกว็ นเวียนประมาณ ๒ – ๓ ปี
ออกจากน่ีแลว้ จึงไปอยู่บ้านหนองผอื

แต่เดิม วดั ปา่ บา้ นนามน เรยี กได้ว่าเป็นศนู ย์กลาง กอ่ นย้ายไปบ้านหนองผอื พระทบ่ี ้าน
ห้วยหีบ บ้านห้วยแคน บา้ นโคก นน้ั ก็ตอ้ งมาร่วมลงอุโบสถท่นี ่ี (บ้านนามน)

บา้ นโคก (บา้ นเกดิ ของหลวงปูก่ งมา จิรปุญฺโ) หลวงพอ่ ค�ำพอง ติสฺโส จ�ำพรรษาอยู่
บา้ นโคก อยูก่ ับหลวงปอู่ นุ่ กลยฺ าณธมโฺ ม (หลวงปู่อนุ่ เปน็ สามเณรองค์สุดท้ายทหี่ ลวงปูม่ นั่ บวชให้
มีเจดีย์ของหลวงปูอ่ ุ่นอยทู่ ีว่ ดั ป่าบา้ นโคกนี้)

วดั ปา่ บา้ นนามนนั้น พอทา่ นพระอาจารย์มนั่ จากไปแลว้ หลวงปกู่ งมานั่นแหละเป็นผดู้ แู ล
แถวน้ี เพราะบา้ นโคกเปน็ บ้านของหลวงปูก่ งมา จงึ อย่ใู นความดูแลของท่าน

ครัน้ ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั เดินธุดงค์ออกจากวดั ปา่ นาคนิมิตต์ไปแลว้ วดั นกี้ ร็ กรา้ ง

เมือ่ ก่อนอาณาเขตมนั ก็กว้างไกล พอท่านพระอาจารยม์ ั่นไปอยบู่ า้ นหนองผือแลว้ ชาวบา้ น
รกุ ล�ำ้ มาเอาเกอื บหมดนะ ครง้ั แรกเขาเหลอื ไวเ้ พยี ง ๕ ไร่ หลวงปู่กงมาท่านพดู กับเขาไมไ่ ด้ ท่านก็
เลยทิ้ง แล้วท่านข้ึนไปอย่วู ัดดอยธรรมเจดีย์ หลวงปู่กงมาบอกวา่ “เขาอยากได้ให้เขาซะ เรามาเอา
ภเู ขาน้ี (วดั ดอยธรรมเจดยี ์) ไม่มใี ครอยากได”้

ต่อมาพระครอู ุดมธรรมคณุ (หลวงปมู่ หาทองสุก สจุ ติ ฺโต) เจา้ อาวาสวัดปา่ สทุ ธาวาส
ในเมอื งสกลนคร ทราบว่าวดั ป่านาคนิมติ ต์หมดไปแลว้ ท่านเลยออกมาดู ก็พบวา่ เปน็ จริง เวลา
จะไปส้วมนั้นกต็ ้องข้ามรวั้ เขาเข้าไป เมอื่ เป็นเชน่ นั้นจรงิ ท่านเลยพดู กบั ชาวบา้ นว่า “พน้ื ทว่ี ัดน้ี
ไดจ้ ากน่ีไปแคน่ ้ีก็เอาหรอกโยม เพราะเปน็ วัดคกู่ นั กับวัดปา่ สทุ ธาวาส เป็นวัดพระอาจารยม์ ัน่ ”

ท่านให้ความเมตตาสนิทสนมองค์หลวงตาฯ มาก

หลวงปู่พรหม จริ ปญุ ฺโ ท่านได้รู้จักองคห์ ลวงตาพระมหาบัว าณสมฺปนฺโน ครั้งแรก
ทวี่ ดั ปา่ บ้านนามน ท่านอยู่ท่ีวดั แห่งนี้ระยะหนง่ึ กอ่ นจะไปจำ� พรรษาทว่ี ัดปา่ สุทธาวาส ในระยะนี้
องคห์ ลวงตาฯ จะมาพูดคยุ สนทนาธรรมกบั ทา่ นเป็นประจ�ำ และท่านก็ใหค้ วามเมตตาสนทิ สนมกบั
องค์หลวงตาฯ มาก

หลวงปู่พรหมท่านมีอายมุ ากกว่าองค์หลวงตาพระมหาบวั ถงึ ๒๓ ปี และพรรษากม็ ากกว่า
๖ ปี ถึงแมท้ า่ นทง้ั สองจะมีวัยตา่ งกนั มาก และก็เพ่ิงรู้จกั กนั ไม่นาน แตก่ ลบั สนทิ สนมคุน้ เคยกันเปน็
อย่างดี เพราะตา่ งฝ่ายตา่ งมคี ณุ ธรรมนัน่ เอง เม่ือทา่ นพบกนั ครัง้ แรก หลวงป่พู รหมทา่ นบรรลธุ รรม
เปน็ พระอรหันตแ์ ล้ว ส่วนองคห์ ลวงตาฯ ขณะนน้ั ทา่ นก็บรรลุธรรมข้ันโสดาบัน เมอื่ ท่านท้ังสองได้

195

พักร่วมสำ� นกั ทวี่ ดั ปา่ บ้านนามน ทา่ นจึงได้พูดคยุ สนทนาธรรมกันอยา่ งถูกอัธยาศัย หลวงป่พู รหม
ท่านได้เล่าชวี ติ การเทย่ี วธุดงค์และได้เปิดเผยธรรมธาตุของท่านให้องคห์ ลวงตาฯ ฟงั และในชวี ิต
บัน้ ปลายของหลวงปพู่ รหม ขณะท่ที า่ นพ�ำนกั ท่ีวดั ประสทิ ธิธรรม บ้านดงเยน็ องค์หลวงตาฯ ทา่ น
กไ็ ดไ้ ปกราบเย่ียมเยียนพดู คยุ สนทนาธรรมกบั หลวงปพู่ รหม และไดไ้ ปพกั คา้ งท่ีวดั ประสิทธธิ รรม

ในพระธรรมเทศนาของ องค์หลวงตาพระมหาบวั าณสมปฺ นฺโน ได้กล่าวถงึ ความใกล้ชดิ
สนิทสนมกบั หลวงป่พู รหม จิรปุญฺโ ดงั ต่อไปน้ี

“ท่าน (หลวงป่พู รหม) กไ็ ปจ�ำพรรษาที่ วดั ป่าสุทธาวาส พอออกพรรษาแลว้ ทา่ นก็กลับมา
นี่ไดค้ ยุ กันตอนน้ลี ่ะ คุยเรือ่ งราวต่างๆ กบั เรา ทา่ นเมตตาเราอยูน่ ะ พอกลางคนื จะไปหาท่าน ทา่ นก็
มรี ้านเล็กๆ อยู่ เรากม็ รี ้านเล็กอยู่ในป่า พอน้ันแอบมาหาทา่ น คยุ กนั ท่านเล่าให้ฟงั ว่า ทา่ นผา่ นมา
ตั้งแต่อยู่เชียงใหม่ เล่าใหฟ้ ังอย่างละเอยี ดลออ มาอยูน่ ้นั นานกบั เรา พอตกกลางคนื เราจะแอบไปหา
ท่านทกุ คนื เลย ถ้าวันไหนไมไ่ ด้ขน้ึ ไปหาท่านตอ้ งเข้าไปน้ันละ่ คยุ ธรรมะกัน ถึงได้ร้เู รือ่ งราวภายใน
ของท่าน

หลวงตาน้หี นกั มากนะ วนั พรุง่ นก้ี ็จะไปดงเย็น ในงานเผาศพ (ประชมุ เพลงิ ศพหลวงปู่ผาง
ปรปิ ณุ โฺ ณ วัดประสิทธธิ รรม) นเี่ ขาก็มายุ่งจนได้ แลว้ เปน็ วดั หลวงป่พู รหมทเี่ ราสนิทสนมกนั มาเปน็
เวลานาน โอย๊ ! สนิทกันมากต้งั แตอ่ ยู่บา้ นนามน”

พ.ศ. ๒๔๘๗ จ�ำพรรษาวัดป่าสุทธาวาส

ในปี พ.ศ. ๒๔๘๗ หลวงปพู่ รหม จิรปุญฺโ ขณะมอี ายุ ๕๔ ปี พรรษา ๑๖ ทา่ นจงึ ได้
จำ� พรรษาและเป็นเจ้าอาวาสวัดปา่ สุทธาวาส อยู่ ๑ พรรษา ขณะที่หลวงปูพ่ รหม จิรปุญโฺ  อยู่
จำ� พรรษาทว่ี ัดปา่ สทุ ธาวาส ท่านดำ� เนนิ ตามปฏปิ ทาพระธุดงคกรรมฐานได้อยา่ งชดั เจน กลา่ วคอื

ทา่ นพระอาจารย์เสาร์ ท่านพระอาจารย์มัน่ ทา่ นจะเน้นภาคปฏิบตั ิเป็นสำ� คญั สว่ นการ
เรียนปริยตั ธิ รรมนน้ั ตามปฏิปทาในเร่อื งนที้ ่านสนบั สนนุ การเรยี นปริยัตธิ รรม แตไ่ มส่ นบั สนนุ การ
ต้งั ส�ำนกั เรียนในส�ำนักปฏบิ ัติ ดังสมยั ทา่ นพระอาจารยเ์ สาร์ กนตฺ สีโล ขณะท่ที ่านจ�ำพรรษาอยูท่ ่ี
วัดปา่ สุทธาวาส ท่านก็เคยอนญุ าตใหท้ ดลองสอนปรยิ ตั ใิ นวดั ปรากฏว่าเมอื่ พระเณรพากนั เรียน
ปริยตั ิ ท�ำใหล้ ะเลยภาคปฏิบัติ ท่านพระอาจารย์เสาร์ จงึ สงั่ ห้ามการเรยี นการสอนด้านปรยิ ตั ิใน
วัดปา่ สุทธาวาสโดยเดด็ ขาด ใหพ้ ระหนั มาเอาดดี า้ นการปฏิบตั ิภาวนาอย่างแท้จรงิ

ส�ำหรับพระเณรทีใ่ ฝ่ใจศกึ ษาเลา่ เรียนทางด้านพระปรยิ ัติธรรม ท่านพระอาจารย์เสารท์ า่ น
จะสนับสนนุ โดยสง่ ให้ไปเรียนตามส�ำนักต่างๆ เช่น ส�ำนกั ปริยัตธิ รรมใหญ่ๆ ในกรงุ เทพฯ ซึง่ ลูกศิษย์

196

ของทา่ นต่างก็เจริญกา้ วหน้าเปน็ พระมหาเปรยี ญ และมีสมณศักดิใ์ นระดบั ตา่ งๆ จ�ำนวนมากมาย
ครบู าอาจารยใ์ นสายนีท้ ย่ี ึดมนั่ ในแนวปฏิบัติท�ำนองน้จี ะถอื ปฏบิ ตั ิสบื เน่ืองตอ่ กนั มา

ครูบาอาจารยเ์ พชรน้ำ� หนง่ึ ทเ่ี ปน็ พระศษิ ยข์ องทา่ นพระอาจารยเ์ สาร์ ทา่ นพระอาจารยม์ น่ั
หลายตอ่ หลายองค์ ท่านไม่ไดศ้ ึกษาภาคปริยตั จิ ากสำ� นกั เรียน แตเ่ มอ่ื ทา่ นออกบวชแลว้ ทา่ นกอ็ ยู่
ศกึ ษาอบรมขอ้ วัตรปฏิบัติ ธรรมวนิ ัย ธุดงควัตร การเดนิ จงกรม นง่ั สมาธิ ฯลฯ จากครบู าอาจารย์
จากน้ันท่านก็ออกธุดงค์ปฏิบัติธรรมตามป่าตามเขาเพื่อมรรคผลนิพพาน แต่เมื่อมีปัญหาข้อสงสัย
ทา่ นกก็ ลบั มาปรึกษากราบเรยี นครบู าอาจารย์ เช่น หลวงปชู่ อบ านสโม วัดป่าสัมมานสุ รณ์
จงั หวดั เลย หลวงป่ขู าว อนาลโย วดั ถ�้ำกลองเพล จังหวดั หนองบวั ลำ� ภู หลวงป่หู ลา้ ขนตฺ ิโก วัดปา่
ขันติยานสุ รณ์ จงั หวัดอดุ รธานี หลวงป่จู ันทา ถาวโร วดั ป่าเขานอ้ ย จงั หวัดพิจติ ร ฯลฯ โดยเฉพาะ
กรณีหลวงปู่หล้า ขนฺติโก ท่านเป็นคนลาวและไม่เคยเรียนหนังสือไทย แต่เวลาภาวนาจิตสงบเกิด
ตวั หนังสอื ไทยขึน้ มา โดยทา่ นพระอาจารยจ์ วน กุลเชฏโฺ  ได้เมตตาเทศน์เรอื่ งนไ้ี ว้ดงั นี้

“เมื่อข้าพเจ้าไปอาศัยอยู่น้ันประมาณ ๑ เดือน ศึกษาธรรมะของท่าน ฟังเทศน์ของท่าน
และทา่ นเลา่ ให้ฟังวา่ “ผมไมเ่ คยไดเ้ รยี นหนงั สือไทยเลย เกดิ มาไม่เคยเรียนหนงั สอื ไทย เพราะผม
อยู่ประเทศลาว”

ข้าพเจา้ กเ็ ลยถามวา่ “ทา่ นอาจารยไ์ ม่ไดเ้ รียนหนังสือไทย ท�ำไมอ่านได้ เขียนได้นี่ ?”

ท่านก็เลยบอกว่า “ท่ีผมอ่านหนังสือไทยได้ เขียนหนังสือไทยได้นั้น เวลาผมน่ังภาวนาไป
จติ มันสงบ ปรากฏภาพนิมติ หนังสือไทยเขยี นอยูใ่ นกระดานด�ำทกุ ครัง้ ๆ ผมก็เลยเรยี นหนงั สอื ไทย
ในภาวนานนั่ เอง ในกระดานดำ� ท่ขี ณะนง่ั ภาวนานนั่ เอง ทกุ วนั ๆ กเ็ ลยอ่านได้ เขียนได้ จนบดั น้ีผมก็
อา่ นหนงั สอื ไทยคล่อง เขยี นได้ อ่านได้สบาย ไมม่ ตี ดิ ขัดเลย”

หลวงปพู่ รหม จิรปญุ ฺโ กเ็ ช่นเดียวกัน ทา่ นไม่ไดศ้ ึกษาภาคปรยิ ตั จิ ากส�ำนักเรยี น เพราะ
ท่านออกบวชเพื่อแสวงหาความสุขท่ีแท้จริงตามปฏิปทาพระธุดงคกรรมฐานสายท่านพระอาจารย์
ม่ัน ท่านจงึ ออกธุดงค์ปฏิบตั ิธรรมตง้ั แตพ่ รรษาแรก เมือ่ หลวงปู่พรหมท่านบรรลุธรรมแล้ว ต่อมา
ท่านเดนิ ทางกลบั ภาคอสี าน และได้อยู่จ�ำพรรษาที่วัดปา่ สุทธาวาส ท่านกม็ ่งุ เน้นให้พระเครง่ ครัด
ในพระธรรมวนิ ยั และถือธุดงควตั ร รักษาขอ้ วัตรปฏบิ ตั ิ ไหวพ้ ระสวดมนต์ และปฏิบัตภิ าวนาดว้ ย
การเดนิ จงกรม นัง่ สมาธภิ าวนา เพราะทา่ นเห็นความส�ำคัญของภาคปฏิบัติ และท่านกป็ ฏบิ ัติธรรม
จนได้ผลมาแล้วนั่นเอง โดยทุกขั้นของธรรม ตั้งแต่ธรรมข้ันต้นจนถึงข้ันสูงสุด ได้แก่ สมาธิธรรม
ปัญญาธรรม วิมุตติธรรม ล้วนเกิดจากภาคปฏิบัติ หลวงปู่พรหมท่านจะประพฤติปฏิบัติเป็น
แบบอยา่ งให้พระศิษยไ์ ดด้ ำ� เนนิ ตาม สว่ นภาคปริยัติ คอื การศึกษาเล่าเรียน หลวงป่พู รหมท่านก็
สนบั สนุน

197

อน่ึง ส�ำนักเรียนพระปริยัติวัดป่าสุทธาวาส ได้เปิดท�ำการเรียนการสอนภายหลังจากที่
ทา่ นพระอาจารย์เสาร์ทา่ นไปจำ� พรรษาทีว่ ัดดอนธาตุ และก่อนหนา้ หลวงปู่พรหมมาอย่จู �ำพรรษา
โดยปี พ.ศ. ๒๔๘๔ เจ้าประคุณสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ (ม.ร.ว.ชื่น
นภวงศ์ สุจติ โฺ ต) สมเด็จพระสังฆราชเจา้ วดั บวรนิเวศวิหาร กรุงเทพฯ ทรงมบี ัญชาใหพ้ ระมหา
จันทร์ศรี จนฺททีโป (สมณศักดิ์สุดท้ายคือ พระอุดมญาณโมลี วัดโพธิสมภรณ์ จังหวัดอุดรธานี)
ไปเปน็ ครสู อนพระปรยิ ัติธรรม แผนกธรรมและบาลี ณ สำ� นักเรียนวดั ป่าสทุ ธาวาส

ท่านถามท่านพระอาจารย์วันจะเรียนไปถึงไหน ?

เรือ่ งนเี้ ปน็ เหตกุ ารณ์ในระหวา่ งที่ หลวงปพู่ รหม จิรปุญฺโ อย่จู ำ� พรรษาท่วี ัดป่าสทุ ธาวาส
ซ่ึงในปนี ้นั พระอุดมสงั วรวสิ ุทธเิ ถร หรอื ทา่ นพระอาจารย์วัน อุตฺตโม ท่านไดม้ าอย่รู ว่ มจ�ำพรรษา
โดยหนังสือประวตั ิท่านพระอาจารยว์ นั อตุ ฺตโม ไดบ้ นั ทึกเรื่องน้ไี ว้ดงั นี้

“พ.ศ. ๒๔๘๗ ทา่ นพระอาจารย์วนั อตุ ตฺ โม พกั จำ� พรรษาอยูท่ ว่ี ดั ปา่ สทุ ธาวาส อำ� เภอเมือง
จงั หวดั สกลนคร ในปีน้นั ทา่ นพระอาจารยพ์ รหม จริ ปญุ ฺโ มาพักจ�ำพรรษา ปกครองพระเณร
ท่านพระอาจารยว์ นั อุตตฺ โม ได้พักอยู่กฏุ ิใกลท้ ่าน จงึ ได้มโี อกาสอปุ ัฏฐากและรบั โอวาทจากท่าน

วันหนงึ่ ท่านพระอาจารย์พรหมถามท่านวา่  “จะเรียนไปถึงไหน ?”
ท่านพระอาจารย์วันก็กราบเรียนท่านว่า “ส�ำหรับฝ่ายปริยัติธรรมจะเรียนให้จบนักธรรม
ชั้นเอก ฝ่ายบาลี ถา้ สอบไดป้ ระโยค ป.ธ. ๓ แลว้ จะเรียนตอ่ ให้ได้ถงึ ประโยค ป.ธ. ๙ เพราะการ
เลา่ เรียนของฝ่ายพระจัดหลกั สูตรไว้ ๒ แผนก นอกจากนเ้ี ป็นการศกึ ษาเพิ่มเติมพเิ ศษ”
ท่านพระอาจารยพ์ รหมจงึ ถามวา่  “ถ้าเรียนไม่ได้ตามความตง้ั ใจจะทำ� อยา่ งไร ?”
ท่านพระอาจารย์วันก็ยังยืนยันกับท่านพระอาจารย์พรหมว่า “จะเรียนให้สอบได้ปีละ
ช้นั ” เพราะยงั เช่อื ม่นั ในมนั สมองของท่านเอง
ทา่ นพระอาจารย์พรหมถามต่อไปอีกวา่  “เมอ่ื หยดุ การเรยี นแลว้ จะทำ� อะไรตอ่ ไป ?”
ทา่ นพระอาจารยว์ นั กก็ ราบเรียนต่อทา่ นวา่ “จะตงั้ ใจปฏบิ ัตเิ หมือนอย่างท่านอาจารย์
ทุกประการ”
ท่านพระอาจารยพ์ รหมก็หัวเราะ”
ภาคปฏบิ ัติเปน็ ภาคส�ำคญั ของพระพทุ ธศาสนา องค์หลวงตาพระมหาบวั าณสมปฺ นโฺ น
ไดเ้ มตตาเทศนเ์ รอ่ื งปริยตั ิ ปฏิบตั ิ ปฏเิ วธ ไวด้ งั น้ี

198

“พระพุทธเจา้ ไม่ไดส้ อนให้เรยี นจำ� มาเท่านั้น สอนทัง้ ปรยิ ัติ ปฏบิ ตั ิ ปฏิเวธ สามพระองค์
น้รี วมกนั แล้วเปน็ ศาสนาทสี่ มบูรณ์แบบ

คือออกมาปฏิบัติเหมือนเอาแปลนบ้านออกมากางปลูกบ้านปลูกเรือน เราเรียนเร่ืองศีล
เร่ืองสมาธิ เรื่องปัญญา เรื่องอรรถเร่ืองธรรมข้อใด เราน�ำอันน้ันมาปฏิบัติให้เป็นอรรถเป็นธรรม
ให้เป็นศีล เป็นสมาธิ ปัญญาขน้ึ มา เป็นวชิ ชาวิมุตติขึน้ มา มนั ก็เทา่ กับเขาปลกู บา้ นปลกู เรอื นได้
เตม็ สัดเตม็ ส่วนนั่นเอง อนั น้เี รยี นเฉยๆ ไม่ปฏบิ ตั ิ แปลนเตม็ ห้องไมป่ ลกู บ้านปลูกเรอื น กไ็ มเ่ กิด
ประโยชนอ์ ะไร หนงั สอื พระไตรปิฎกก็ออกจากองค์ศาสดาแท้ มันทำ� ไมหาพวกถานขี้ มันเป็นข้ี
ไปดว้ ยกันหมด เรยี นก็มีแต่จำ� ได้แตป่ าก ไม่ไดส้ นใจปฏบิ ัติ

เลวร้ายท่สี ุดคือพวกเรียนมากๆ นน่ั แหละ ทิฐิมานะของกเิ ลสมันเข้าไปเหยยี บธรรมอยูใ่ นนน้ั
เลยสำ� คญั ตนว่าเรียนไดช้ ้นั น้ันชน้ั น้ี เอานน้ั มาเป็นมรรคเป็นผล ไมไ่ ด้เอาความประพฤตปิ ฏิบตั ิดงี าม
ตามหลักธรรมหลักวนิ ยั มาปฏบิ ตั ิ ซง่ึ เปน็ ภาคปฏิบตั ิ จากนั้นก็เป็นปฏเิ วธข้นึ มาคือความรูแ้ จง้ ในผล
ของตนที่ปฏิบัติมามากน้อยเป็นลำ� ดับ ตง้ั แตศ่ ลี กร็ ู้แจง้ วา่ เราศลี บริสุทธิ์ สมาธจิ ิตใจเราสงบ นรี่ ู้แจ้ง
ไปโดยลำ� ดับ สงบข้ันใดรู้ประจกั ษ์ น่ีเปน็ ปฏเิ วธ ปฏเิ วธไปโดยล�ำดับ จนกระท่งั ถึงวิมตุ ติพระนิพพาน
ปฏิเวธโดยสมบรู ณ์ น่ลี ่ะแปลนของพระพุทธเจา้ สอนไวเ้ พอ่ื ธรรมเหลา่ นีโ้ ดยสมบรู ณ์”

ออกพรรษา พ.ศ. ๒๔๘๗ ท่านไปวัดป่าบ้านโคก

ในปี พ.ศ. ๒๔๘๗ หลวงป่มู ่ัน ภูริทตโฺ ต ทา่ นไดม้ าจำ� พรรษาท่วี ัดป่าบ้านโคก ต�ำบลตองโขบ
อ�ำเภอโคกศรีสุพรรณ จังหวดั สกลนคร (ปจั จุบัน คือ วัดปา่ วสิ ุทธธิ รรม) ตามท่ที า่ นพระอาจารย์
กงมา จริ ปญุ โฺ  ได้กราบอาราธนานิมนต์ สว่ นหลวงปู่พรหม จริ ปญุ ฺโ ทา่ นได้ไปจำ� พรรษาท่ี
วัดป่าสุทธาวาสตามท่ีหลวงปู่มั่นได้เผดียงบอกไว้

เมือ่ ปลายปี พ.ศ. ๒๔๘๕ ท่านพระอาจารย์กงมา จริ ปุญฺโ ได้สรา้ งศาลาโรงธรรมและกฏุ ิ
ถวายหลวงปู่ม่ัน ภรู ทิ ตฺโต เพือ่ เป็นอนุสรณ์ทีห่ ลวงปู่มนั่ ได้มาจ�ำพรรษา ณ วัดป่าบา้ นโคก อนั เปน็
บ้านเกิดของท่านพระอาจารย์กงมา ในปี พ.ศ. ๒๔๘๖ หลวงปู่ม่ัน ภูริทตฺโต ได้ไปจ�ำพรรษาที่
เสนาสนะป่าบ้านนามน ซง่ึ อยูห่ า่ งออกไปประมาณ ๒ กโิ ลเมตร และตอ่ มาในปี พ.ศ. ๒๔๘๗
ทา่ นจึงได้มาจำ� พรรษาท่วี ัดปา่ บา้ นโคกอกี ครั้ง

เมื่อออกพรรษาปี พ.ศ. ๒๔๘๗ หลวงปูพ่ รหม จิรปญุ โฺ  ท่านไดอ้ อกเดินธดุ งคต์ ิดตาม
หลวงปู่มน่ั ภูริทตฺโต ไปพกั ที่วดั ปา่ บ้านโคก ตามท่หี ลวงปมู่ ั่นได้อนุญาตไว้ ซึ่งในช่วงน้ีมเี หตุการณ์
ส�ำคัญ ดงั นี้

199

ศาลาโรงธรรมที่ท่านพระอาจารย์กงมาได้สรา้ งข้นึ เพ่อื เปน็ สถานท่ีท่ีหลวงปู่มัน่ ภรู ิทตโฺ ต
ใช้เป็นที่แสดงธรรมเทศนาพระสงฆ์และพุทธบริษัท รวมท้ังเป็นท่ีประชุมสงฆ์ เพ่ือวางระเบียบ
แบบแผนของการปฏบิ ตั ิวิปสั สนากรรมฐานให้ถกู ตอ้ ง บริเวณดา้ นขวาของศาลา มตี น้ คอ้ ตน้ ใหญ่
ยืนต้นอยู่ ต้นค้อน้ีเป็นท่ีที่หลวงปู่ม่ันยืนถ่ายรูป ดังปรากฏเป็นภาพประวัติศาสตร์ให้ชาวพุทธได้
กราบไหว้บชู าเปน็ ขวญั ตาขวญั ใจจนถึงปจั จบุ ันน้ี

พ.ศ. ๒๔๘๘ ท่านเป็นเจ้าอาวาสวัดป่าธาตุนาเวง

ในปี พ.ศ. ๒๔๘๘ กอ่ นเข้าพรรษา เมือ่ หลวงปมู่ ่นั ท่านรบั อาราธนานมิ นต์ชาวบา้ นหนองผอื
จะไปจ�ำพรรษาที่วัดป่าบ้านหนองผือ ต�ำบลนาใน อ�ำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร เมื่อใกล้
เขา้ พรรษา หลวงปู่ม่นั พรอ้ มด้วยพระศิษยแ์ ละชาวบา้ นหนองผอื ท่ีไปรบั ทา่ น ไดอ้ อกเดนิ เทา้ ไปบ้าน
หนองผือ ซ่ึงขณะนัน้ หลวงปพู่ รหมและองคห์ ลวงตาพระมหาบัวออกไปธดุ งค์แล้ว จงึ ไมไ่ ด้ร่วมไป
กับคณะ ส่วนหลวงปู่หลยุ จนทฺ สาโร ซงึ่ เปน็ ผแู้ นะน�ำชาวบา้ นหนองผือไปกราบอาราธนานิมนต์
หลวงปมู่ น่ั ทา่ นไปรอรบั หลวงปมู่ น่ั ระหวา่ งทาง ซ่งึ สมัยนั้นทางทุรกันดารมาก โดยองค์หลวงตา
พระมหาบัว าณสมปฺ นโฺ น ได้เมตตาเทศน์เรอื่ งนี้ไวด้ ังนี้

“เดนิ ดว้ ยเท้านะ เดนิ ทางสองสามคนื มาถึงหนองผือ เมอ่ื ท่านตกลงแลว้ เขากไ็ ปรับท่านมา
มันไม่มีล่ะไอเ้ รอื่ งถนนหนทาง อย่าไปถาม มแี ตท่ างด้นดั้นไปตามปา่ ตามเขาไปอย่างนัน้ ซอกแซกไป
ทางคนพอไปไดเ้ ทา่ น้ัน บา้ นนามนกต็ ัดมาทางนเี้ ขา้ มาหนองผือ มาตามป่าตามเขาไมไ่ ด้มาทางเมือง
นะ ตดั มา มานนั้ ทา่ นมาจำ� พรรษาทีน่ น่ั พระเณรนี้มากมาย ตอนที่ทา่ นเขา้ หนองผอื ท่านเขา้ ก่อน
เรา เรายงั เท่ียวอยู่ในป่านะ แตก่ ท็ ราบญาติโยมทางหนองผอื ไปรับทา่ นมา เราก็รอเวลาอนั สมควร
แลว้ เราถึงจะเขา้ ไปหนองผอื เลยทเี ดยี ว”

ส�ำหรับหลวงปูพ่ รหม จริ ปุญฺโ ในขณะที่หลวงปมู่ น่ั ทา่ นไปวัดป่าบา้ นหนองผอื ท่านได้
ธดุ งคต์ ามป่าตามเขาและมาพกั ทว่ี ัดปา่ ธาตุนาเวง ต�ำบลธาตนุ าเวง อำ� เภอเมอื ง จงั หวัดสกลนคร
ซ่ึงตอ่ มาเปลย่ี นช่ือเป็น วดั ปา่ ภธู รพทิ กั ษ์ หลวงป่พู รหมท่านรับเป็นเจา้ อาวาสอยู่ระยะเวลาหนึง่
จากน้นั ทา่ นจงึ ธดุ งคต์ ิดตามไปพกั กบั หลวงปู่มนั่ ที่วัดป่าบ้านหนองผือ โดยไม่ไดอ้ ยู่รว่ มจ�ำพรรษา

แม้สมยั กอ่ นบ้านหนองผอื ยังเป็นบา้ นท่ที ุรกนั ดารมาก มีสภาพเปน็ ป่าเป็นดง มตี ้นไมใ้ หญ่
ปกคลมุ หนาแน่น สตั ว์ป่ากเ็ ต็มไปหมด ทางสัญจรไปมากค็ ่อนข้างล�ำบาก ระยะทางกไ็ กล เพราะ
เป็นหมู่บ้านท่ตี ั้งอยแู่ อ่งเขา จะเขา้ จะออกตอ้ งเดินด้วยกำ� ลงั ฝเี ทา้ ขา้ มภูเขา มฉิ ะนน้ั ก็ตอ้ งน่งั เกวียน
อ้อมภเู ขาเขา้ ไป ถึงอย่างนั้นการเข้าไปกราบนมัสการฟังธรรมคารวะหลวงปูม่ ั่น ภูรทิ ตฺโต ก็ไมเ่ ปน็
อุปสรรคต่อครูบาอาจารย์พระศิษย์รุ่นแรกๆ ประเภทเพชรน้�ำหนึ่งทั้งหลาย แม้ท่านจะเข้าสู่วัย

200

ชราภาพแล้วก็ตาม เชน่ หลวงปอู่ ่อน าณสิริ หลวงปูช่ อบ านสโม หลวงปู่ขาว อนาลโย
หลวงปฝู่ นั้ อาจาโร ท่านพ่อลี ธมมฺ ธโร หลวงปตู่ อ้ื อจลธมโฺ ม หลวงป่พู รหม จริ ปญุ ฺโ ฯลฯ และ
ไมเ่ ปน็ อปุ สรรคตอ่ บรรดาพระธดุ งคกรรมฐานร่นุ หลงั ๆ ทมี่ งุ่ ตอ่ มรรคผลนพิ พาน เช่น ทา่ นพระ–
อาจารย์จวน กลุ เชฏฺโ ท่านพระอาจารย์สงิ หท์ อง ธมมฺ วโร หลวงปู่หล้า เขมปตฺโต หลวงปูผ่ ่าน
ปญฺาปทีโป หลวงปสู่ ุภาพ ธมมฺ ปญโฺ  หลวงป่ผู าง ปริปุณโฺ ณ ฯลฯ ต่างก็เดินเทา้ ธุดงคเ์ ขา้ ไป
กราบนมัสการถวายตัวเป็นศิษย์ เพอ่ื ขอเขา้ รบั การอบรมธรรมปฏบิ ตั ิจากหลวงปู่มน่ั กนั ไมข่ าดสาย

ส่วนฆราวาสญาตโิ ยมทเี่ คารพศรทั ธาท้งั จากทางใกล้และไกล ตา่ งก็อุตส่าห์พยายามดั้นด้น
เดินทางเข้าไปกราบนมัสการ ทำ� บญุ ฟงั ธรรมท่านกนั ไม่ขาดสายเชน่ กนั โดยไมม่ ใี ครเกรงกลัวภัย
อันตรายใดๆ ไม่วา่ จะเป็นสัตวร์ า้ ย เชน่ พวกเสือ พวกหมี พวกงกู ต็ าม ไม่ว่าจะเส่ยี งต่อไขม้ าลาเรีย
กต็ าม ไมว่ า่ จะลำ� บากลำ� บนเพยี งใดกต็ าม ตา่ งก็ไมไ่ ดค้ �ำนึงถงึ เพราะกติ ติศพั ท์กติ ตคิ ุณ ชอ่ื เสียง
อนั เลอื่ งลอื โด่งดัง และที่สำ� คัญคณุ ธรรมของหลวงปมู่ ่นั น่ันเอง

ประวัติวัดป่าภูธรพิทักษ์

วัดป่าภูธรพิทักษ์ เดิมช่ือ วัดป่าธาตุนาเวง ตั้งอยู่บริเวณป่าดงดิบ อยู่ใกล้กับโรงเรียน
พลตำ� รวจเขต ๔ และในปัจจบุ นั คอื มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสกลนคร (เดิมเปน็ โรงเรียน มาเป็นวิทยาลยั
และมาเป็นสถาบันราชภัฏสกลนคร จนได้รับการสถาปนายกฐานะขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏ
สกลนคร เม่ือวันที่ ๑๕ มถิ ุนายน ๒๕๔๗) ไดม้ าแทนโรงเรียนพลต�ำรวจเขต ๔ ทย่ี กเลิกไป

ซงึ่ วัดแหง่ น้ี หลวงป่พู รหม จริ ปญุ โฺ  เคยเปน็ เจ้าอาวาสมาก่อน ตอ่ มาหลวงปู่ฝัน้ อาจาโร
รบั นมิ นต์จ�ำพรรษาอยู่ท่วี ัดปา่ ภูธรพทิ ักษต์ ้งั แต่ปี พ.ศ. ๒๔๘๘ เปน็ ต้นมา ระหวา่ งทท่ี ่านจำ� พรรษา
อยทู่ ่ีวดั แห่งนี้ ไดบ้ รู ณะวัด ซอ่ มแซมกุฎีทีพ่ งั ใหม้ สี ภาพดี ส�ำหรบั เป็นท่พี กั อาศัย

หลวงปู่ฝ้นั กอ่ นทจี่ ะมาพักจ�ำพรรษาอยู่ทว่ี ดั ปา่ ภูธรพิทกั ษ์ บรเิ วณแถบนร้ี กไปดว้ ยปา่ หญา้
ไขม้ าลาเรยี ชุกชมุ ต�ำรวจปว่ ยเปน็ ไข้มาลาเรยี ข้ึนสมอง กระโดดหนา้ ต่างกองรอ้ ยตาย ครอบครวั
ต�ำรวจเชื่อว่าเป็นเพราะผีเจ้าพ่อหนองหญ้าไซโกรธ พระอาจารย์ฝั้นจึงพยายามอธิบายให้ต�ำรวจ
เหล่านนั้ ได้เขา้ ใจในเหตุผลและใหเ้ ลิกเช่อื ถือผีสาง แต่ตำ� รวจและครอบครวั เหลา่ นัน้ ก็ยงั ไมย่ อมเช่อื
การพัฒนาเร่ิมจากท�ำความสะอาดสถานท่ี ถางป่าและหญ้าจนเตียนโล่ง พร้อมทั้งสร้างถนน
สนามฟุตบอล สนามเด็กเล่น ยกเว้นการขุดลอกหนองหญ้าไซ เพราะต�ำรวจต่างกลัวผีเจ้าพ่อ
หนองหญ้าไซ ในท่ีสุดพระอาจารย์ฝั้นมานั่งเป็นประธานจึงเร่ิมท�ำการขุดลอก จนหนองหญ้าไซ
กลายเป็นสระน้�ำขน้ึ มา อากาศดขี ้นึ ไขม้ าลาเรียทเ่ี คยชุกชุมคอ่ ยๆ เบาบางลง จนโรคไข้มาลาเรีย
ไดห้ ายไปในที่สุด

201

หลวงปฝู่ ัน้ มาเป็นเจา้ อาวาสและจ�ำพรรษาทีว่ ดั ปา่ ธาตนุ าเวง ตงั้ แตป่ ี พ.ศ. ๒๔๘๘ จนถงึ
พ.ศ. ๒๔๙๖ รวม ๙ พรรษา และได้เปล่ียนชื่อวัดเป็นวัดป่าภูธรพิทักษ์ ต้ังช่ือตามหน่วยงาน
ที่อยู่ใกล้และให้ความอปุ ถมั ภว์ ดั ได้แก่ โรงเรยี นพลตำ� รวจ เขต ๔ น่ันเอง ท่านไดพ้ ัฒนาวัด และ
รวมถึงบริเวณใกล้เคียงกับวัดให้เกิดสุขลักษณะที่ดี โดยเฉพาะบริเวณโรงเรียนพลต�ำรวจ เขต ๔
เปน็ ตัวอยา่ ง เมอ่ื ออกพรรษาเสร็จงานกฐนิ หลวงปฝู่ ัน้ ทา่ นจะพาภกิ ษุ สามเณร เดินธดุ งค์ไปวเิ วก
ตามสถานทตี่ ่างๆ ในปี พ.ศ. ๒๔๙๑ เมือ่ ออกพรรษา ทา่ นไดพ้ าภกิ ษุสามเณร เดนิ ธดุ งคไ์ ปวเิ วกท่ี
ภวู ัวในท้องทอี่ �ำเภอบงึ กาฬ จังหวัดหนองคาย

พ.ศ. ๒๔๘๘ ติดตามหลวงปู่มั่นไปวัดป่าบ้านหนองผือ

ในปี พ.ศ. ๒๔๘๘ เมอ่ื จวนจะใกลเ้ ข้าพรรษา หลวงป่มู ่ัน ภรู ทิ ตโฺ ต และคณะศษิ ย์ได้เดินเทา้
ธุดงค์เพ่ือจะไปพักจ�ำพรรษาที่วัดป่าบ้านหนองผือ (วัดป่าภูริทัตตถิราวาส) ต�ำบลนาใน อ�ำเภอ
พรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ท่านได้พักจ�ำพรรษาอยู่ท่ีวัดแห่งน้ีเป็นเวลา ๕ พรรษาติดต่อกัน
จวบจนปลายปี พ.ศ. ๒๔๙๒ ช่วงทา่ นอาพาธหนกั ใกล้จะมรณภาพ จงึ ออกไปพกั ทว่ี ดั ปา่ สทุ ธาวาส

ขณะที่หลวงป่มู ั่นและพระศษิ ยไ์ ปพกั ที่วดั ป่าบา้ นหนองผือไดไ้ มน่ าน ในช่วงก่อนเข้าพรรษา
หลวงปพู่ รหม จิรปญุ โฺ  ทา่ นไดเ้ ดินธุดงคต์ ิดตามไปพักดว้ ย แต่ไมไ่ ด้อยรู่ ่วมจำ� พรรษา เนอ่ื งจาก
มพี ระศษิ ยร์ ุน่ หลังๆ จำ� นวนมากมาขอเข้ารบั การศึกษาอบรมกบั หลวงปู่มั่น กฏุ กิ ม็ จี ำ� กดั และเป็น
การเพิ่มภาระของชาวบ้านในการเล้ียงดู ท่านจึงไปพักจ�ำพรรษาในสถานท่ีใกล้เคียง ส�ำหรับองค์
หลวงตาพระมหาบัว าณสมปฺ นฺโน ได้ติดตามมาภายหลัง และไดอ้ ยอู่ ุปัฏฐากรับใชห้ ลวงปมู่ ัน่
อย่างใกล้ชิดตราบจนหลวงปู่มั่นมรณภาพ โดยตลอดเวลาท่ีหลวงปู่มั่นและพระศิษย์พักและ
จ�ำพรรษาท่ีวัดป่าบ้านหนองผือ ชาวบ้านหนองผือต่างดูแลเอาใจใส่ปรนนิบัติรับใช้ครูบาอาจารย์
เป็นอย่างดี โดยเฉพาะปีแรกเป็นปีท่ีหนักมากที่สุด โดยองค์หลวงตาพระมหาบัว าณสมฺปนฺโน
ได้เมตตาเทศน์เร่อื งน้ีไวด้ งั น้ี

“ทนี เี้ วลากา้ วเข้ามาหนองผือน้ี พระเณรรุมล่ะซิ น่ตี อนสดุ ท้ายท่าน เรากเ็ คยเหน็ อย่กู บั
ทา่ นกเ็ คยอยู่ เคยเหน็ ทา่ นแลว้ ท่านอยู่ยังไง แลว้ ทราบประวัติของทา่ นก็ทราบมาตลอด ทา่ นอยู่
โดดเด่ียวๆ อยา่ งน้ัน ทนี เ้ี วลาเขา้ ไปหนองผอื นพี้ ระเณรยั้วเยีย้ ๆ ประชาชนญาตโิ ยมทง้ั ผูห้ ญงิ ผชู้ าย
ปีแรกดูจะไม่ได้ท�ำงานทางบ้านเจ้าของแหละ พ่ีน้องชาวหนองผือนะ จะวิ่งเต้นตั้งแต่เร่ืองของวัด
ของวา ผชู้ ายวิง่ จัดทพ่ี ักท่ีอยู่ กระตอ๊ บกระแตบ๊ ร้านนัน้ รา้ นน้ี ทางจงกรมจงเกม็ ให้พระ พระก็รมุ
เข้าไป ฝา่ ยผ้หู ญงิ กต็ อ้ งวิง่ เต้นขวนขวายหาอาหารการบริโภค สำ� หรับใส่บาตรวันพรงุ่ น้ีเช้าๆ เปน็
ประจ�ำ พวกน้กี ็ไมไ่ ดอ้ ยู่ พวกผชู้ ายกว็ ง่ิ ไปในวดั เหมือนหน่ึงวา่ ปที ่เี ราไปอยู่ปแี รกน้ันเป็นปีที่พนี่ ้อง
ชาวหนองผอื นห้ี นักมากทีส่ ุด เราฝังลกึ นะฝงั ใจ…

202

ตั้งแต่เช้าผู้ชายไปวดั แลว้ ไม่ได้กลับมาละ่ นะ ท�ำท่ีน่ันที่น่รี า้ นเลก็ ๆ น่ันแหละ เปน็ แคร่เล็กๆ
เพราะพระไปมาก ๓๐ – ๔๐ องค์ ซ่งึ แต่ก่อนไมเ่ คยมพี ระ นั่นซี มันกห็ นกั มากล่ะซิ ทง้ั จะท�ำทาง
จงกรม ทงั้ จะท�ำทีพ่ กั ให้พระองค์นัน้ แลว้ องค์นี้ ประชาชนฝ่ายผชู้ ายน้ีไมไ่ ดก้ ลับบ้านละ่ ค่ำ� ถงึ กลับ
ทางฝา่ ยผหู้ ญงิ ก็วงิ่ เต้นทางบา้ นทางโนน้ เพ่อื หาอาหารบณิ ฑบาตใส่บาตรถวายพระตอนเชา้ เพราะ
พระมีจ�ำนวนมาก น่ีจึงว่าในปีแรกที่ไปอยู่นั้นเป็นปีท่ีหนักมากส�ำหรับพี่น้องชาวหนองผือเรานะ
ประหนงึ่ วา่ ไมไ่ ดท้ �ำงานส่วนตวั เลย ว่ิงเตน้ กับวัดกบั วา

น่ีละ่ บา้ นหนองผอื แล้วคิดดซู ติ ลาดลาดเลไม่มี พระตง้ั เทา่ ไร ๓๐ – ๔๐ บางทนี ะ บางที
มากกว่านั้นกม็ ี ทา่ นเหลา่ น้ีหามาเลีย้ งดไู ดห้ มดเลย ไม่มตี ลาดร้านคา้ ท่ีไหน อุตสา่ หพ์ ยายามหามา
ฝ่ายผ้หู ญิงวิ่งทางหนึ่ง ฝ่ายผูช้ ายวง่ิ ทางหน่งึ ทัง้ ปีแหละปนี ัน้ หนักมากทีเดียว เราไม่ลืมนะ คณุ อนั น้ี
ของพนี่ ้องชาวหนองผือที่ไดฝ้ ังใจเราอยา่ งลึก ไม่มวี ันถอนเลย ฝงั ลกึ มากทเี ดยี ว”

พ.ศ. ๒๔๘๘ จ�ำพรรษาถ้�ำพระ บ้านนาใน

ในปี พ.ศ. ๒๔๘๘ ก่อนเข้าพรรษา หลวงปพู่ รหม จิรปญุ ฺโ เมอ่ื ท่านตดั สนิ ใจไมจ่ �ำพรรษา
ร่วมกับหลวงปู่มั่นที่วัดป่าบ้านหนองผือแล้ว ท่านก็กราบลาหลวงปู่ม่ันและออกเดินธุดงค์มา
ถ�้ำพระ ซงึ่ ตั้งอยู่บ้านนาใน ตำ� บลนาใน อำ� เภอพรรณานคิ ม จงั หวดั สกลนคร และตง้ั อยูไ่ มห่ ่างไกล
จากวัดป่าบ้านหนองผือมากนัก โดยห่างกันประมาณ ๔ – ๕ กิโลเมตร หลวงปู่พรหมท่านจึงได้
มาพกั จำ� พรรษาท่ถี �้ำพระแหง่ นี้

ถำ้� พระมีพระพทุ ธรปู โบราณประดิษฐานอยูห่ ลายองค์ อนั เปน็ ทม่ี าของช่อื ถ�ำ้ และเคยเปน็
ถ้�ำที่อยู่อาศัยของเสือ ถ้�ำพระนับเป็นสถานที่มงคลสัปปายะอีกแห่งหนึ่งของต�ำบลนาใน อ�ำเภอ
พรรณานคิ ม มีสภาพภมู ปิ ระเทศเป็นป่าเขามถี �ำ้ เงอื้ มผา บรเิ วณใกลๆ้ ถำ�้ พระมนี �ำ้ ตกเล็กๆ ไหลตก
ในช่วงฤดูฝน สภาพแวดล้อมอุดมสมบูรณ์ไปด้วยธรรมชาติของป่าไม้และสัตว์ป่า บรรยากาศจึง
วิเวกเงียบสงัด อากาศเย็นสบาย ครูบาอาจารย์พระธุดงคกรรมฐานสายท่านพระอาจารย์มั่นจึง
นยิ มธดุ งค์มาปฏิบัติธรรมกันหลายองค์ เช่น หลวงปกู่ ู่ ธมมฺ ทินโฺ น หลวงปหู่ ลุย จนทฺ สาโร หลวงปู่
พรหม จิรปุญฺโ หลวงตาพระมหาบวั าณสมปฺ นโฺ น หลวงปผู่ ่าน ปญฺ าปทโี ป ฯลฯ ถ�้ำพระ
ปัจจุบันได้พฒั นาเปน็ วดั ป่ากรรมฐาน ช่อื วัดถำ้� พระนาใน

ขณะทีห่ ลวงปูพ่ รหม จิรปญุ ฺโ ทา่ นเดินธุดงค์มาจำ� พรรษาอยถู่ ้�ำพระนาใน ในวันพระใหญ่
ท่านจะเดินมาลงอโุ บสถ ฟงั ปาฏโิ มกข์ และฟังโอวาทธรรมจากหลวงปู่ม่ัน ทวี่ ดั ปา่ บา้ นหนองผอื
เป็นประจำ� โดยองคห์ ลวงตาพระมหาบวั าณสมฺปนโฺ น ได้เมตตาเทศน์เหตุการณ์ตอนน้ีไวด้ ังน้ี

203

“พระปฏบิ ัติท้งั หลายชอบได้ยินได้ฟงั เสมอ จากครูจากอาจารย์ อาจารย์องคใ์ ดเป็นท่เี คารพ
นบั ถอื เลอ่ื มใสในดา้ นปฏบิ ัติ ทัง้ ในดา้ นจติ ใจ อาจารย์องคน์ ้ันไปอยใู่ นสถานทใ่ี ด ลูกศิษย์ลูกหา
จะทยอยไปหาเร่ือยๆ จนแทบไม่มที ีพ่ กั อาศัยเพียงพอกนั ยกตัวอย่างเช่น ทา่ นอาจารยม์ นั่ เปน็ ต้น
ท่านไปอยูใ่ นสถานท่ีใด ลูกศษิ ย์ลกู หาอยูใ่ กลอ้ ยู่ไกล ทยอยไปหาท่านเสมอมิได้ขาด แม้จะอย่กู บั
ท่านโดยเฉพาะในทแ่ี หง่ เดยี วกนั ไมไ่ ด้ เพราะสถานท่ีไม่เพียงพอกบั การอยกู่ ต็ าม ก็จะต้องไปหาพัก
อยใู่ นบริเวณใกลเ้ คียง ๒ – ๓ – ๔ กโิ ล หรือ ๗ – ๘ กโิ ล ท่านก็ยอมไปอยู่ ทง้ั น้เี พ่ือมาฟงั โอวาทท่าน
ไดส้ ะดวก ในวันทำ� อุโบสถ และวันประชุมธรรม

ในวนั อุโบสถ ฟงั ปาฏิโมกข์ และฟังโอวาททา่ นหลังปาฏิโมกขแ์ ล้ว เวลาสงสัยอรรถธรรมก็มา
เล่าถวายให้ทา่ นแก้ปญั หาให้ พระ เณร จงึ มีมากจนเต็มไปหมดในต�ำบลนน้ั ๆ ในขณะที่ทา่ นพักอยู่
มีแต่พระกรรมฐาน ถึงวันอุโบสถฉันจังหันแล้วต่างองค์ต่างมา พอบ่ายโมงท่านก็เริ่มลงอุโบสถ
พออุโบสถแล้ว ท่านจะให้โอวาท ส่วนมากท่านให้โอวาทหลังจากอุโบสถแล้ว นี่เป็นภาคปฏิบัติ
อนั ส�ำคญั กบั ผทู้ ีอ่ ยู่กับทา่ น...”

อน่งึ หลวงปูพ่ รหม แมท้ า่ นบรรลธุ รรมเปน็ พระอรหนั ต์แลว้ ก็ตาม ท่านไม่อิ่มธรรม ทา่ นก็
มาฟงั ธรรมหลวงปู่ม่ันผ้เู ปน็ พ่อแมค่ รอู าจารย์ของท่าน เรอื่ งพระอรหนั ตฟ์ งั ธรรมพระอรหนั ต์ เปน็
ความรน่ื เรงิ ในธรรม มีคติตวั อย่างมาแตค่ รง้ั พทุ ธกาล โดยองค์หลวงตาพระมหาบวั าณสมปฺ นโฺ น
ได้เมตตาเทศน์เรอื่ งน้ีไวด้ ังน้ี

“ท่านทั้งหลายมาเย่ียมน้ีก็ต้อนรับ วันน้ีเป็นวันมาฆบูชา พระอรหันต์ ๑,๒๕๐ องค์
ท่านมาเองมาเฝา้ พระพทุ ธเจา้ ท่านจึงแสดงเรอ่ื งโอวาทปาฏโิ มกข์ให้พระสงฆฟ์ ัง โอวาทปาฏโิ มกข์
เราไม่น�ำมาแสดงล่ะ โอวาทท่านสอนผู้บริสุทธ์ิ ต่างกันกับสอนคนผู้มีกิเลส ท่านสอนด้วยความ
บริสทุ ธ์ิล้วนๆ เปน็ ธรรมรื่นเรงิ ซง่ึ กันและกันท้งั นั้น ท่สี าวกทงั้ หลาย ๑,๒๕๐ องคม์ าเฝา้ พระพทุ ธเจ้า
เปน็ ผูส้ นิ้ กิเลสเรยี บรอ้ ยแลว้ ฟังธรรมจากพระพทุ ธเจ้า เป็นธรรมรนื่ เรงิ ทง้ั น้นั ไมใ่ ชธ่ รรมแก้กิเลส
ทา่ นแกห้ มดแล้ว

วันมาฆบูชา เป็นวันท่านร่ืนเริงในธรรมทั้งหลายของพระพุทธเจ้า เดือน ๓ เพ็ญ ของ
พระอรหันต์ ๑,๒๕๐ องค์ เปน็ คตติ วั อย่างอนั ดี ให้เราระลึกถึงท่านนะ พระอรหันต์ ๑,๒๕๐ องค์น้ี
เปน็ ของเล็กน้อยเมื่อไร เกดิ ได้งา่ ยๆ หรอื พระอรหันตเ์ กดิ ...

... ปโทเส ภิกขฺ โุ อวาทํ พอมดื ก็ประทานพระโอวาทแก่พระสงฆ์ ซ่งึ มหี ลายขั้นหลายภูมิ
แห่งธรรม พระสงฆ์ย่ิงเป็นอรหัตบุคคลด้วยแล้วไม่มีค�ำว่าอิ่มธรรม เพราะฉะนั้นจึงประทาน
พระโอวาทท่ัวถึงกันหมด นับแต่พระอรหนั ตล์ งมา พระอรหันต์ไมอ่ ิม่ ธรรม ทา่ นรื่นเรงิ ในธรรม ได้ยิน

204

ได้ฟงั อรรถธรรมเทา่ ไร ย่ิงเป็นเครอื่ งรืน่ เริงระหว่างขันธ์กบั จติ ประสานกนั ได้อย่างสนทิ เลย นั่นล่ะ
ท่านผ้มู ีธรรมในใจจงึ ไม่เคยอม่ิ ธรรม เป็นเคร่อื งรนื่ เรงิ ระหว่างขนั ธ์กับจติ ท่ีครองตัวอยู่นี้ กไ็ ด้อาศยั
อนั นี้”

ออกพรรษาปี พ.ศ. ๒๔๘๘ ท่านไปพักกับหลวงปู่ลี อโสโก

ในปลายปี พ.ศ. ๒๔๘๘ เมอ่ื ออกพรรษา หลวงป่พู รหม จิรปุญฺโ ทา่ นออกเดนิ ธดุ งค์
กลับไปบ้านเกิดของทา่ น โดยแวะพักกบั หลวงปลู่ ี อโสโก ที่เสนาสนะปา่ ยาง บ้านตาล ตำ� บลโคกสี
อำ� เภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร

เสนาสนะป่าแห่งน้ีมีสภาพเป็นป่าเป็นดง เป็นสถานท่ีสัปปายะวิเวกเงียบสงัดอีกแห่งหน่ึง
เหมาะกับการเจริญเมตตาภาวนา ขณะทีห่ ลวงป่พู รหมพกั ที่เสนาสนะป่าแห่งน้ี มีพระมาอยศู่ ึกษา
ปฏบิ ัตธิ รรมกับหลวงป่ลู ีหลายรปู โดยหลวงปู่ลี ทา่ นมีอาวุโสสูงสดุ และเปน็ เจา้ อาวาส สำ� หรับ
หลวงปู่พรหม ท่านอาวโุ สเป็นองค์ท่ีสอง พระทีอ่ ยใู่ นส�ำนกั ปฏิบตั ิแห่งน้ี ทา่ นอย่กู นั อย่างมกั น้อย
สนั โดษ และมีความต้งั ใจขยนั ทำ� ความเพียร

ในขณะท่ีหลวงปู่พรหม จิรปุญฺโ พักอยู่กับ หลวงปู่ลี อโสโก ท่านได้เมตตาโปรด
สงเคราะห์ญาติโยม โดยติดตามหลวงป่ลู รี ับกิจนมิ นตต์ า่ งๆ ตามบ้านญาตโิ ยมในละแวกนั้น เช่น
สวดเจรญิ พระพุทธมนตแ์ ละฉนั จังหันเชา้ เพ่อื ท�ำบุญอทุ ศิ ใหก้ ับผทู้ ลี่ ว่ งลับไปแลว้ นอกจากนท้ี ่าน
ยังได้เมตตาแนะน�ำส่ังสอนให้ชาวบา้ นร้จู ักการบ�ำเพ็ญทาน รกั ษาศีล เจริญเมตตาภาวนา และได้
ชักชวนลูกหลานในหมู่บ้านให้ออกบวชเป็นพระธุดงคกรรมฐาน พร้อมท้งั สอนการเดินจงกรมและ
นงั่ สมาธิ โดยท่านท�ำใหด้ เู ปน็ ตวั อย่าง

หลวงปพู่ รหม ทา่ นพักอยทู่ ีเ่ สนาสนะปา่ แหง่ น้ไี มน่ านนัก ทา่ นก็กราบลาหลวงป่ลู ี เพื่อออก
เดินธุดงค์ไปกราบคารวะเยยี่ มเยียนหลวงปู่ม่ัน ท่ีวดั ป่าบ้านหนองผอื

พ.ศ. ๒๔๘๙ จ�ำพรรษาถ�้ำพระ บ้านนาใน

หลวงปูบ่ ุญหนา ธมฺมทินโฺ น วดั ป่าบ้านหนองโดก (วดั ปา่ โสตถิผล) อ�ำเภอพรรณานคิ ม
จังหวดั สกลนคร ไดเ้ มตตาเล่าเรือ่ งเก่ียวกับหลวงปู่พรหม จริ ปญุ ฺโ เมื่อครงั้ ท่านเปน็ สามเณร
ตดิ ตามหลวงปอู่ ่อน าณสิริ ไปกราบหลวงปูม่ ่ัน ท่วี ัดป่าบ้านหนองผือ ตำ� บลนาใน อำ� เภอ
พรรณานคิ ม ดงั น้ี

“เมอื่ ประมาณปี พ.ศ. ๒๔๘๙ – ๒๔๙๐ ทา่ น (หลวงป่บู ญุ หนา) ยงั เปน็ สามเณรอายุ ๑๕ –
๑๖ ปี เปน็ ศิษยห์ ลวงปูอ่ อ่ น และตดิ ตามหลวงปู่อ่อนไปกราบหลวงปู่มัน่ ทว่ี ดั ป่าบา้ นหนองผอื

205

โดยออกเดินทางตั้งแต่ฉันอาหารเช้าเสร็จประมาณ ๐๙.๐๐ น. ไปถงึ วดั ปา่ บา้ นหนองผือประมาณ
๑๕.๐๐ น. ใช้เวลาเดนิ ทาง ๖ ชวั่ โมง

ในชว่ งน้ันพระสายปฏิบตั กิ รรมฐานจะมุ่งหน้าเข้าสวู่ ัดปา่ บ้านหนองผอื เช่นเดียวกัน

หลวงปู่พรหมทา่ นพักอยใู่ ตต้ ้นไม้ ปกั กลด มีแครไ่ ม้ไผ่เล็กๆ เป็นพ้นื นอน พอหลายๆ วันเข้า
หลวงป่พู รหมทา่ นอยากจะขอสร้างกฏุ ิ ประกอบกบั ท่านเคยเป็นช่าง เคยมีครอบครวั เปน็ นายฮอ้ ย
หัวหน้าขายวัว ควาย กอ่ นทจ่ี ะบวชทา่ นไดแ้ จกข้าวของ เงินทอง ไรน่ า ให้กับชาวบา้ น ยกเวน้
เครื่องมือจับสัตว์ ลา่ สตั ว์ ท่านจะนำ� ไปฝังดิน หรอื เผาทิ้งหมด (หลวงป่อู ่อนท่านเลา่ ให้ฟัง)

คร้งั แรกหลวงปูพ่ รหมขอหลวงปู่มน่ั สร้างกุฏิเป็นกระตอ๊ บเลก็ ๆ พอให้เปน็ ทีพ่ ักไดเ้ นื่องจาก
ใกล้จะฤดฝู น หรอื ฤดหู นาวนี้แหละ จ�ำไม่ได้ หลวงปู่มนั่ ไม่พดู นง่ั เฉย จะอนญุ าตก็ไมพ่ ดู จะไม่
อนญุ าตก็ไมบ่ อก มีแตบ่ อกใหไ้ ปภาวนา วันต่อมากข็ ออกี ท่านกไ็ มพ่ ดู อกี บอกใหไ้ ปภาวนาอกี
วนั ท่ีสามขออกี คร้ัง หลวงป่มู นั่ บอกวา่ “อยากจะทำ� ก็ทำ� ซะ แต่ท�ำให้เสรจ็ ในวันน”้ี

จากนั้นก็บอกพระ เณร ชาวบ้านรว่ มมอื ช่วยกนั ทำ� หาวัสดอุ ปุ กรณ์ บ้างก็ไปตดั ไมไ้ ผม่ าท�ำ
พ้ืน ท�ำผนังใบตอง มงุ หลงั คาดว้ ยหญา้ คา บนั ไดทำ� จากไมไ้ ผ่ พอถึงเยน็ ก็เสรจ็ กราบเรยี นหลวงปู่
มั่น ท่านกบ็ อกว่า “อยากไดก้ ฏุ ิ สรา้ งเสรจ็ แล้วจะทำ� อะไรอีก ไปภาวนานะทีน้.ี ..”

ในปีน้ันหลังจากหลวงป่พู รหม จิรปญุ โฺ  ได้รับอนญุ าตใหส้ รา้ งกฏุ ิทพ่ี ักส�ำหรับองคท์ า่ นเอง
ซ่ึงหลวงปมู่ น่ั บอกให้สร้างเสร็จในวนั เดียวดงั กลา่ ว แต่สุดท้ายหลวงปู่พรหมได้พจิ ารณาแล้วเห็นวา่
ท่านเองไม่ควรจำ� พรรษากับหลวงปูม่ ่นั เพราะขณะน้ันทา่ นกบ็ รรลธุ รรมแล้ว กุฏิกม็ จี �ำกัด เพอื่ เปดิ
โอกาสใหพ้ ระธุดงคกรรมฐานร่นุ ใหม่เข้าไปศึกษาอบรม ดงั นั้น ทา่ นจงึ แยกย้ายไปหาท่จี ำ� พรรษา
ในสถานท่ีท่ไี ม่ห่างไกลนกั เพือ่ เปน็ การช่วยแบง่ เบาภาระพระอาจารย์ ดว้ ยการชว่ ยอบรมพระ เณร
ทส่ี นใจดา้ นปฏบิ ัติภาวนา เปน็ การช่วยกล่ันกรองและเตรียมตัวพระ เณร ก่อนทจ่ี ะไปขอเขา้ รับการ
ฝึกอบรมธรรมปฏิบัตจิ ากองค์หลวงปมู่ ่ันตอ่ ไป

การอยู่ที่วัดป่าบ้านหนองผือ พระป่าท่ีอาวุโสแล้ว หรือมีพรรษามากๆ ปรกติจะไม่ได้
อยปู่ ระจ�ำกบั หลวงปู่ม่ัน จะให้แตพ่ ระหนุ่มพรรษาน้อยๆ อยู่ดว้ ย เช่น หลวงตาพระมหาบวั
าณสมฺปนโฺ น พระอาจารย์วนั อุตตฺ โม หลวงปหู่ ล้า เขมปตฺโต หลวงปู่ศรี มหาวีโร หลวงปู่
ค�ำพอง ตสิ โฺ ส เปน็ พระหน่มุ กว่าเพือ่ นในตอนน้นั เป็นต้น ถา้ พระเณรอยกู่ ันจ�ำนวนมากๆ ชาวบา้ น
ก็เล้ยี งดูไม่ไหว เพราะเป็นหม่บู ้านเล็กๆ มไี ม่กห่ี ลังคาเรอื น

พระส่วนใหญจ่ ะเข้ามากราบและฟังคำ� สอนจากหลวงปูม่ ัน่ แล้วกอ็ อกไป จะอยปู่ ระจำ� กไ็ ม่มี
กุฏิพอจะให้อยู่ พระที่อาวุโสพรรษามากๆ ก็แยกออกไปสร้างวัดอยู่ใกล้ๆ พอไปมาหาสู่ มารับ

206

ค�ำสอนและอุปัฏฐากพระอาจารย์ใหญ่เป็นคร้ังเป็นคราว รวมทั้งคอยช่วยอบรมขัดเกลาพระเป็น
ช้ันต้นกอ่ นท่จี ะเข้าหาหลวงปู่มั่น คอื ท�ำหน้าทเี่ ปน็ ดา่ นหน้า ชว่ ยแบ่งเบาภาระหลวงปูม่ นั่ ในการ
อบรมส่งั สอนแก่พระ เณร ท่มี าใหม่ เช่น หลวงป่อู ่อนก็ไปสรา้ งวดั ป่าหนองโดก (วดั ปา่ โสตถผิ ล)
อำ� เภอพรรณานคิ ม หลวงตาพระมหาบัวไปสร้างวดั บ้านกุดไห (วดั ปา่ ญาณสัมปนั โน) เพ่อื สำ� หรับ
ปลีกออกมาบำ� เพญ็ ภาวนาระหวา่ งอยดู่ แู ลหลวงปมู่ ั่น พระอาจารยก์ ู่ ธมฺมทินฺโนกไ็ ปสรา้ งวัดปา่
บ้านโคกมะนาว อยใู่ กล้บ้านกดุ ไห หลวงปู่ฝ้นั อาจาโรไปสรา้ งวัดป่าภธู รพทิ ักษ์ บ้านธาตนุ าเวง
อ�ำเภอเมอื ง จังหวัดสกลนคร หลวงป่พู รหม จริ ปุญโฺ  ในระยะต่อมาก็ไปอยทู่ ถ่ี ้�ำพระ บ้านนาใน
อยู่กับหลวงปผู่ าง ปรปิ ุณโฺ ณ หลวงปู่นิน และหลวงปูผ่ ่าน ปญฺ าปทโี ป ไปสร้างวัดปา่ ปทีป–
ปุญญาราม บ้านเซือม อ�ำเภออากาศอ�ำนวย จังหวัดสกลนคร เป็นต้น

หลวงปู่บุญหนาเล่าต่อไปว่า ในช่วงน้ันหลวงปู่ผ่านได้กราบลาหลวงปู่มั่นไปอยู่ท่ีถ�้ำพระ
บา้ นนาใน และได้มโี อกาสกราบและฟงั ธรรมะหลวงปู่พรหมด้วย

หลวงปู่บุญหนาเล่าอีกว่า ในตอนน้ันท่านได้พบพระเถระลูกศิษย์หลวงปู่มั่นหลายรูป
เปน็ ต้นว่า หลวงปู่ขาว อนาลโย หลวงปชู่ อบ านสโม หลวงปู่บัว สิรปิ ุณฺโณ หลวงป่อู ่อนสา
สขุ กาโม พระอาจารย์กว่า สมุ โน เปน็ ตน้ ไม่เจอแตห่ ลวงป่แู หวน สุจิณโฺ ณ (เพราะทา่ นพกั
จำ� พรรษาที่เชียงใหม่จนตลอดชีวติ ไม่ไดก้ ลับมาภาคอีสานอีก)”

ในระยะนีก้ ็มีครูบาอาจารย์หลายองค์เดินเทา้ ธดุ งค์มากราบหลวงปูม่ ่ันที่วดั ปา่ บ้านหนองผือ
อยา่ งไมข่ าดสาย และบางองคก์ ไ็ ด้เดินธดุ งคม์ าฟังธรรมปฏบิ ตั ิธรรมและจ�ำพรรษากบั หลวงป่พู รหม
ตอ่ มาในปี พ.ศ. ๒๔๘๙ เมอ่ื ออกพรรษาแล้ว ทา่ นก็จากถ�้ำพระ มงุ่ ไปวัดป่าบา้ นหนองผอื เพอื่ กราบ
นมสั การลาหลวงปมู่ ั่น กลบั ไปอย่จู ำ� พรรษาท่ีบา้ นดงเย็น อันเปน็ ภูมิล�ำเนาเดิมของท่าน ท่านไดเ้ ดนิ
เท้าธดุ งค์ไปตามปา่ ตามเขา พักตามวัดปา่ กรรมฐานของพระศษิ ยห์ ลวงปมู่ ่นั บ้าง ปักกลดพักค้าง
ระหวา่ งทาง พักตามป่าช้าและวดั ร้างบา้ ง ในทส่ี ดุ ทา่ นกเ็ ดินเทา้ ธุดงคถ์ งึ บา้ นดงเย็น และเข้าพักท่ี
วัดผดุงธรรม หรอื วัดใน

207

ภาค ๑๓ ท่านสร้างศาสนทายาท

ท่านมุ่งมั่นฝึกฝนอบรมส่ังสอนตนเองก่อน

พระธุดงคกรรมฐานศิษยส์ ายทา่ นพระอาจารยเ์ สาร์ ท่านพระอาจารยม์ ่นั ในสมัยยคุ ตน้ ๆ
หรือกองทัพธรรม จะดำ� เนินตามแนวปฏิปทาของทา่ นพระอาจารย์ใหญ่ทงั้ สองทีว่ างไวอ้ ยา่ งเคารพ
บชู าและจะปฏบิ ัตติ ามอยา่ งเคร่งครัด คือ ท่านจะมุ่งม่ันฝึกฝนอบรมส่ังสอนตนเองก่อน จงึ จะ
อบรมสัง่ สอนผู้อืน่ กล่าวคือ หากท่านประพฤตปิ ฏิบัติธรรมไปแล้ว ยังไม่บรรลุอรยิ ธรรมข้ันสูงสดุ
เปน็ พระอรหนั ต์ ท่านก็ไม่ยอมคลกุ คลีเกยี่ วขอ้ งกบั ผอู้ ่นื ทา่ นกย็ ังเร่งรบี บำ� เพญ็ ความเพียรอย่าง
อกุ ฤษฏ์ยิง่ ยวดตอ่ ไป

เม่ือท่านประสบผลส�ำเร็จสมตามความปรารถนาเป็นศาสนทายาทสืบทอดพระพุทธศาสนา
แล้ว ท่านกย็ ังคงบำ� เพ็ญเพยี รภาวนาเปน็ วิหารธรรมของท่านอย่างไม่ลดละไปตลอดชวี ิต จวบจน
ท่านละจากโลกน้ไี ป เพอื่ รกั ษาธาตขุ นั ธ์ เพอ่ื บำ� เพ็ญประโยชนแ์ ก่โลก โดยทา่ นจะรบั ภาระหนา้ ท่ี
อบรมสง่ั สอนหมู่คณะในวงกรรมฐาน เพื่อทดแทนบญุ คณุ ของท่านพระอาจารย์ใหญท่ ้ังสอง ทงั้ น้ี
เพื่อสรา้ งศาสนทายาทใหส้ บื ทอดพระพุทธศาสนาต่อไป ทงั้ ทา่ นเมตตาสงเคราะห์สงั่ สอนสัตวโ์ ลก
โดยเทศนาธรรมโปรดมนุษย์ เทพยดา อินทร์ พรหม และเป็นเนื้อนาบุญของพุทธบริษัทจะได้
บ�ำเพ็ญบุญกับท่าน ตลอดจนท่านได้แผ่เมตตาอุทิศส่วนบุญส่วนกุศลให้บรรดาสรรพสัตว์ทั่วท้ัง
สามแดนโลกธาตุ เป็นปรกตปิ ระจำ� วัน

การฝึกฝนอบรมสั่งสอนตนเองก่อน และการบ�ำเพ็ญประโยชน์แก่โลกมากน้อยของท่าน
แตล่ ะองคน์ นั้ เปน็ ไปตามนสิ ยั วาสนาบารมที ท่ี า่ นไดบ้ ำ� เพญ็ มาในอดตี ชาติ ถอื เปน็ การดำ� เนนิ ตามแนว
อริยประเพณีของบรรดาพระพุทธเจ้าท้ังหลาย ซึ่งเมื่อพระองค์ตรัสรู้ธรรมแล้วก็ออกจาริกเผยแผ่
พระพุทธศาสนาและส่ังสอนพระสงฆ์สาวกให้ด�ำเนินตาม มาในสมัยคร้ังก่ึงพุทธกาลท่านพระ–
อาจารย์เสาร์ ทา่ นพระอาจารย์ม่นั ก็น�ำแนวทางนม้ี าปฏิบัติสบื ทอดได้อยา่ งงดงาม

หลวงปูพ่ รหม จิรปญุ โฺ  เม่ือท่านออกบวชเปน็ พระธดุ งคกรรมฐานแลว้ ทา่ นกจ็ ากบา้ น
ดงเยน็ ออกแสวงหาครบู าอาจารย์ แสวงหาโมกขธรรมไปเปน็ เวลานานนบั สบิ กว่าปี เม่ือทา่ นบ�ำเพญ็
ประโยชน์ตนจนสมบรู ณ์ครบถ้วนตามหลกั ปฏิปทาพระธุดงคกรรมฐานสายท่านพระอาจารยเ์ สาร์–
ท่านพระอาจารย์มั่น ท่านได้ติดตามรับใช้หลวงปู่มั่นซึ่งเป็นพ่อแม่ครูอาจารย์ของท่านระยะหนึ่ง
จากน้ันเมอ่ื ออกพรรษาปี พ.ศ. ๒๔๘๙ เป็นตน้ มา ท่านได้กลับมาอยจู่ ำ� พรรษาท่ีบ้านดงเย็นอนั เป็น
บ้านเกดิ พรอ้ มทัง้ ไดพ้ ัฒนาและสรา้ งวัดปา่ กรรมฐานขน้ึ สองวัด คือ วดั ผดุงธรรม และ วัดประสิทธิ–
ธรรม ทั้งได้บูรณะพัฒนาวัดร้างและสร้างวัดในละแวกใกล้เคียง ตลอดระยะเวลาช่วงนี้ท่านได้

208

ทำ� หนา้ ทศี่ าสนทายาทสบื ทอดพระพทุ ธศาสนา และท่านเปน็ หน่งึ ในกำ� ลังส�ำคัญของกองทัพธรรม
ทไ่ี ด้สืบทอดและเผยแผ่แนวทางปฏปิ ทาพระธุดงคกรรมฐานสายท่านพระอาจารย์เสาร์ ทา่ นพระ–
อาจารย์ม่ัน ได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ จนมีชาวบ้านดงเย็น บ้านถ่อน บ้านตาล และหมู่บ้าน
ใกลเ้ คยี ง ตลอดกลุ บตุ ร กลุ ธดิ า ลกู หลาน ใหค้ วามเลอื่ มใสศรทั ธาออกบวชเพอื่ ประพฤตปิ ฏบิ ตั ธิ รรม
กันมากมาย โดยท่านได้สร้างศาสนทายาทองค์ส�ำคัญไว้สืบทอดหลายองค์ นอกจากน้ีท่านได้
สงเคราะห์โลกทั้งทางโลก โดยท่านได้ท�ำสาธารณประโยชน์ต่างๆ ไว้มากมาย เช่น สะพาน
ถนนหนทาง ฝายก้ันน้�ำ มอบที่ดินสร้างโรงเรียน ฯลฯ และสงเคราะห์ทางธรรม โดยท่านได้รับ
กจิ นมิ นตต์ ามงานสำ� คญั ๆ ของครบู าอาจารยต์ า่ งๆ ตลอดงานพทุ ธบรษิ ทั ตามภาคอสี าน และทา่ นได้
บณิ ฑบาตโปรดสัตว์ เทศนอ์ บรมสงั่ สอนพทุ ธบริษทั เปน็ ประจ�ำทกุ เช้าตราบจนวนั มรณภาพ

ท่านได้ศิษย์เอกเพชรน�้ำหน่ึง

ประมาณต้นปี พ.ศ. ๒๔๙๐ หลวงปูพ่ รหม จิรปุญโฺ  ท่านได้เดินทางกลับมาบา้ นดงเย็น
มาพักท่ีวัดผดุงธรรมอีกคร้ัง ท่านได้มาพัฒนาสร้างวัดผดุงธรรม เมื่อชาวบ้านทราบข่าวน้ีต่างก็มี
ความร้สู ึกยินดเี ปน็ อันมาก ซ่ึงขา่ วของท่านในคร้ังนก้ี เ็ ป็นขา่ วใหญใ่ นหม่บู า้ นเชน่ เดียวกบั ครัง้ ทที่ ่าน
แจกทานก่อนออกบวช ชาวบ้านท่ีเคยเคารพนับถือท่านอยู่แล้ว ต่างก็เข้ามากราบนมัสการและ
มาใสบ่ าตรท�ำบุญฟงั ธรรมกันไมข่ าด

ด้วยกริ ิยาท่าทางอนั สงบเสงี่ยมตามแบบฉบับของพระป่าท่ีมคี ณุ ธรรม ด้วยการพดู คยุ ของ
หลวงปพู่ รหมแตกต่างจากสมยั ฆราวาส ซึง่ ปรกติทา่ นพดู น้อย แตก่ ระท�ำใหด้ ูเปน็ แบบอย่าง นับแต่
การเดินยา่ งกา้ วออกจากวดั ออกเดินโคจรบิณฑบาตโปรดคนในหมู่บา้ นดว้ ยอาการสงบส�ำรวมระวัง
การเทศนาอบรมประจ�ำทุกเช้า ความขยันหมั่นเพียรในการท�ำข้อวัตรปฏิบัติ ความเคร่งครัดใน
พระธรรมวินัย ตลอดการบ�ำเพ็ญเพียรภาวนา ก็ย่ิงท�ำให้ชาวบ้านที่ได้พบเห็น ให้ความศรัทธา
เลอ่ื มใส และใหค้ วามเคารพนับถอื ในองค์ท่านมากย่ิงข้ึน ท้ังเกิดความภาคภูมิใจท่จี ะไดม้ พี ่อแม่ครู–
อาจารยแ์ ละมีวดั ต้ังอยู่ในหมูบ่ า้ นของตนเอง

หลวงปพู่ รหม ท่านเมตตาอบรมสงั่ สอนชาวบ้าน ทำ� ให้ชาวบ้านสนใจการท�ำบุญให้ทาน
มากย่ิงขนึ้ การรกั ษาศลี และเจริญเมตตาภาวนาก็มากยง่ิ ข้นึ จากหมูบ่ ้านท่ีเคยลกั วัวลักควาย จาก
กติ ติศัพท์เป็นดงนกั เลง กค็ อ่ ยเปลย่ี นแปลงในทางท่ีดขี นึ้ พากันรกั ษาศีล ฝา่ ยชายท่มี ีความศรทั ธา
อย่างแรงกล้าจนขอออกบวชเป็นพระธุดงคกรรมฐานก็มีหลายองค์ หน่ึงในจ�ำนวนนั้นก็มีหลวงปู่
ผาง ปรปิ ุณโฺ ณ ซึง่ หลวงปผู่ างขณะใช้ชวี ติ ฆราวาส ทา่ นกเ็ กิดความเบ่อื หนา่ ยในชวี ติ ความเป็นอยู่
ในวิถีชีวิตของชาวนา เมือ่ ทา่ นไดก้ ราบฟงั ธรรมหลวงปู่พรหม กเ็ กดิ ความเลื่อมใสศรทั ธาอยากจะ

209

ออกบวชเปน็ พระธดุ งคกรรมฐานอย่ปู ฏิบตั กิ บั หลวงป่พู รหม โดยหลวงปู่ผาง ปรปิ ุณฺโณ ได้เมตตา
เล่ามลู เหตุของการออกบวชไวด้ ังน้ี

“สภาพชีวิตในสังคมชนบทของไทยเม่ือสมัยก่อน ประชาชนส่วนใหญ่จะมีฐานะยากจน
อาชีพหลัก คอื การทำ� ไร่ ท�ำนา และเลย้ี งววั เลีย้ งควาย ไว้ใช้แรงงานในการประกอบอาชีพ
ซ่งึ สภาพท้องถน่ิ ทรุ กันดารมาก ห่างไกลความเจรญิ เตม็ ไปดว้ ยโรคภยั ไข้เจบ็ เกดิ เปน็ ลูกชาวไร่
ชาวนาล�ำบากมาก ตนื่ ขนึ้ มาชีวติ ก็วนเวียนอยกู่ บั การท�ำไรท่ �ำนาอย่อู ย่างนี้ ไมม่ เี วลาทจี่ ะไปเท่ยี ว
สนุกสนานเหมอื นสังคมในปจั จุบันนี้

สมัยก่อนพอเสร็จจากการท�ำนา ก็จะมีงานบุญประจ�ำปี แต่การท�ำบุญสมัยก่อนมีแต่การ
ท�ำบุญจรงิ ๆ ไมม่ มี หรสพครบครันอยา่ งทุกวนั นี้ โดยเฉพาะชาวบา้ นดงเยน็ แลว้ จะมคี วามเล่อื มใส
ศรทั ธาในพระพทุ ธศาสนามาก ซง่ึ มคี รูบาอาจารยส์ ายปฏิบตั ิ คือ องค์ท่านหลวงปู่พรหม จริ ปญุ ฺโ
ท่านไดเ้ ป็นผู้นำ� ชาวบา้ นดงเยน็ และหมู่บา้ นใกล้เคยี ง ใหต้ ั้งม่ันอย่ใู นศีลในธรรมขององคส์ มเดจ็ พระ–
สัมมาสัมพุทธเจ้า และสร้างแต่ประโยชน์ต่อส่วนรวม ด้วยเหตุแห่งปัจจัยดังกล่าว ประกอบกับ
ประเพณีนิยมของสังคมชนบทของไทยในสมัยก่อน ลูกชายเม่ือเติบโตมาแล้วจะต้องบวชเพื่อ
ทดแทนพระคุณบิดา มารดา ท่ไี ด้เลยี้ งมา

หลวงปเู่ มอ่ื อายุครบ ๒๑ ปี ก็ไดเ้ กณฑท์ หารท่อี �ำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี แลว้ ท่าน
ก็เกิดความคิดอยากจะบวชตามวิถีของสงั คมชนบทในสมยั ก่อน จงึ ขออนญุ าตจากโยมบดิ า มารดา
เม่ือไดร้ ับอนุญาตแล้ว ท่านก็เขา้ กราบนมสั การองค์หลวงป่พู รหม จิรปุญฺโ โดยถือครองนาคทันที
รักษาศีล ๘ ศึกษาข้อวัตรปฏิบัติของพระภิกษุ จนเข้าใจเป็นอย่างดี โดยใช้เวลานานหลายเดือน
ทา่ นจึงไดอ้ ปุ สมบทเป็นพระภิกษ”ุ

ซึ่งกาลต่อมาหลวงปผู่ างท่านได้ด�ำเนินตามรอยหลวงปพู่ รหม จนทา่ นได้รบั การยกย่องเป็น
ศษิ ย์เอกองคส์ ำ� คญั องค์หน่งึ และทา่ นไดร้ บั การยกยอ่ งเป็นเพชรน�้ำหน่ึงจากองคห์ ลวงตาพระมหา
บัว าณสมฺปนฺโน ด้วยหลวงปพู่ รหมและหลวงปู่ผางตา่ งเป็นพระศษิ ยข์ องหลวงปู่มั่น ประเภท
เพชรนำ้� หน่ึง จงึ เป็นทกี่ ล่าวขานยกย่องกนั ของวงพระธดุ งคกรรมฐานวา่ เป็น “คู่พระอรหันตแ์ ห่ง
บา้ นดงเย็น”

ประวัติย่อ หลวงปู่ผาง ปริปุณฺโณ

หลวงปผู่ าง ปริปุณโฺ ณ ทา่ นเป็นพระธุดงคกรรมฐานสายทา่ นพระอาจารยม์ ่นั และเปน็
ศิษย์อาวุโสองคแ์ รกๆ และเปน็ ทายาทธรรมของหลวงปพู่ รหม จริ ปุญฺโ

210

ทา่ นเกิดเมอื่ วันที่ ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๔๖๙ ตรงกับวันแรม ๖ ค่ำ� เดอื น ๔ ปขี าล ท่ี
บ้านดงเยน็ ต�ำบลดงเย็น อ�ำเภอบ้านดงุ จังหวดั อดุ รธานี โยมบดิ า นายสอน โยมมารดา นางเหมน็
นามสกุล แมดสถาน มีอาชีพทำ� นา มพี น่ี อ้ ง ๘ คน ทา่ นเปน็ บตุ รคนท่ี ๔

หลวงปู่ผาง ปรปิ ณุ ฺโณ อปุ สมบทเมอ่ื อายไุ ด้ ๒๑ ปี ตรงกับวนั ท่ี ๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๐
ที่วดั ชัยมงคล ตำ� บลโพนสูง อำ� เภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร โดยมพี ระมหาเถื่อน อุชกุ โร
เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอธิการพร สุมโน เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอธิการพุธ ยโส เป็น
พระอนุสาวนาจารย์ ไดร้ ับฉายาว่า ปรปิ ุณฺโณ 

พรรษาแรกปี พ.ศ. ๒๔๙๐ หลวงปผู่ าง ปรปิ ณุ ฺโณ ทา่ นไดจ้ �ำพรรษาทวี่ ัดประสทิ ธิธรรม กบั
หลวงปู่พรหม จริ ปญุ โฺ  ผูเ้ ป็นพระอาจารย์องคแ์ รกของทา่ น พอออกพรรษาแล้วท่านได้ติดตาม
หลวงปู่พรหมธดุ งคไ์ ปกราบฟงั ธรรมหลวงป่มู ่ัน ภรู ิทตโฺ ต ที่วัดป่าบา้ นหนองผือ

จากน้นั หลวงปผู่ าง ท่านไดก้ ราบลาหลวงปู่มนั่ และ หลวงปพู่ รหม เพือ่ ออกเดินธดุ งค์
ปฏบิ ัตธิ รรมตามปา่ ตามเขา และได้ติดตามพระศษิ ย์หลวงปูม่ นั่ ซ่ึงล้วนเปน็ พระอรหนั ต์องค์สำ� คญั ๆ
ดงั น้ี หลวงปูช่ อบ านสโม หลวงปู่ขาว อนาลโย หลวงปแู่ หวน สจุ ณิ โฺ ณ หลวงป่ฝู ้ัน อาจาโร
หลวงป่ตู อื้ อจลธมโฺ ม หลวงป่คู �ำดี ปภาโส หลวงปู่สิม พุทธฺ าจาโร องคห์ ลวงตาพระมหาบวั
าณสมฺปนโฺ น ท่านพระอาจารยจ์ วน กุลเชฏฺโ ทา่ นพระอาจารย์สิงหท์ อง ธมฺมวโร ฯลฯ โดย
บางปีท่านก็กลับมาจำ� พรรษากบั หลวงปู่พรหม

หลวงปู่ผาง ปริปุณฺโณ ท่านเป็นพระอริยเจ้าผู้ปรารภความพากเพียรสม่�ำเสมอตั้งแต่
วยั หนุ่มจนถงึ วัยชรา เปน็ ศษิ ย์กรรมฐานสายทา่ นพระอาจารย์มั่น ภูริทตโฺ ต อกี องค์หนึ่งท่ีอฐั ไิ ด้
กลายเปน็ พระธาตุ โดยองค์หลวงตาพระมหาบวั ยกย่องให้ทา่ นเปน็ พระประเภท “เพชรน้�ำหน่งึ ”
ท่านช่ืนชอบเที่ยวธุดงค์ไปตามป่าตามเขาท่ัวประเทศไทย เป็นผู้นอบน้อมถ่อมตนมักเข้าหาส�ำนัก
ครบู าอาจารย์เสมอๆ ท่านเป็นผู้มีความเปน็ อย่อู ยา่ งสมถะ มคี วามมักนอ้ ย สันโดษ เรียบงา่ ย และ
ชอบเก็บตัวอย่อู งคเ์ ดียวตามล�ำพังอยา่ งเงยี บๆ จรติ นิสัยทา่ นชอบภาวนา พูดน้อย และไมช่ อบงาน
กอ่ สรา้ ง

หลงั จากท่เี ที่ยวธดุ งค์จากบ้านเกดิ ไปนาน ในปี พ.ศ. ๒๕๑๒ ท่านได้กลับมาพักจ�ำพรรษา
อย่ทู ่วี ัดประสิทธธิ รรม ซึ่งเปน็ ช่วงที่หลวงปู่พรหมมรณภาพแล้ว ทา่ นได้ร่วมกบั ครูบาอาจารยศ์ ษิ ย์
ผู้ใหญข่ องหลวงป่พู รหม น�ำคณะศรทั ธาญาตโิ ยมก่อสรา้ งเจดีย์ เพื่อบรรจอุ ฐั ิธาตุและอฐั บรขิ ารของ
หลวงปู่พรหม และอยู่ช่วยงานประชุมเพลิงศพหลวงปู่พรหม ท่ีจัดขึ้นเม่ือวันที่ ๖ มีนาคม พ.ศ.
๒๕๑๔ จนงานแล้วเสรจ็ ท่านจ�ำพรรษาอกี ระยะหน่งึ จากนัน้ ทา่ นก็ออกเที่ยวธุดงคไ์ ปทางภาคใต้
อยหู่ ลายปี

211

ในบ้นั ปลายชีวติ ของหลวงป่ผู าง ปริปุณโฺ ณ นบั แต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ เปน็ ต้นมา ทา่ นได้กลบั มา
บา้ นดงเยน็ อันเป็นบา้ นเกิด และทา่ นได้พักจ�ำพรรษาที่วัดประสิทธิธรรม ตราบจนวันมรณภาพ
ทา่ นละสงั ขารเขา้ สู่อนปุ าทเิ สสนิพพานดว้ ยโรคมะเรง็ ในตับ เมือ่ วนั ที่ ๑๕ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๔๕
ตรงกับวันศกุ ร์ ขน้ึ ๔ ค่ำ� เดือน ๔ เวลา ๒๓.๓๕ น. สริ อิ ายุ ๗๖ ปี ๕๔ พรรษา

งานประชมุ เพลิงสรรี สังขารหลวงปผู่ าง ปริปุณฺโณ ซ่งึ จัดเม่อื วนั ท่ี ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๕
เป็นงานใหญ่มาก มีครูบาอาจารย์และพุทธศาสนิกชนมาร่วมงานกันอย่างเนืองแน่นคับค่ัง โดยมี
องค์หลวงตาพระมหาบวั าณสมปฺ นฺโน ท่านไดเ้ มตตามาเป็นองคป์ ระธาน พร้อมแสดงธรรมและ
รบั ผ้าปา่ ช่วยชาติ ตอ่ มาอัฐหิ ลวงปูผ่ างไดแ้ ปรสภาพเป็นพระธาตุ เปน็ เคร่อื งยนื ยันทา่ นบรรลธุ รรม
เปน็ พระอรหนั ตสาวกอีกองค์หนง่ึ ในพระพุทธศาสนา

เร่ืองเล่าหลวงปู่พรหมเดินเท้าไปกราบหลวงปู่ม่ัน

คุณลุงบุญล�่ำ ปาชิวาส ท่านเคยบวชเป็นสามเณรอยู่กับหลวงปู่พรหม และเป็นมัคนายก
วัดประสิทธิธรรม ท่านเล่าเหตุการณ์ในปี พ.ศ. ๒๔๙๐ ได้ติดตามหลวงปู่พรหมเดินธุดงค์จาก
วัดประสิทธธิ รรม ไปกราบหลวงปมู่ น่ั ที่วดั ป่าบ้านหนองผือ ดังน้ี

“บวชเป็นสามเณรในเดือนสี่ ท่ีวัดกุดเรือค�ำ บวชแล้วกลับมาอยู่วัดผดุงธรรม ทีน้ีพอดี
หลวงปพู่ รหมทา่ นกลบั มาจากบา้ นถอ่ น ก็เลยไปอยู่กับทา่ น ทีนอ้ี ยู่ทีว่ ดั ยังไมถ่ ึงครง่ึ เดือน ทา่ นก็
พาไปวัดป่าบา้ นหนองผือ กราบคารวะหลวงปมู่ น่ั สมยั นน้ั ไมม่ ีรถ ตอ้ งเดนิ เท้าอยา่ งเดยี ว ช่วงนั้น
เป็นชว่ งหนา้ แลง้ ใกล้หน้ารอ้ น

วนั เดนิ ทางวันแรก พอบิณฑบาตฉนั เชา้ เสร็จท่วี ัดประสทิ ธธิ รรม ประมาณ ๙ โมงเชา้ ก็ออก
เดนิ ทาง ตอนนั้นเป็นสามเณรใหญแ่ ลว้ ไปสององคก์ ับหลวงปู่ ก็สะพายบาตร ๒ ลูก พร้อมกลด
๒ หลงั ส่วนหลวงปทู่ า่ นห่มจีวรเรยี บรอ้ ยแล้วก็สะพายยา่ มเดินไปเลย กเ็ ดนิ ตามหลงั ทา่ นไป แตต่ าม
ท่านไม่ค่อยทนั ทางนม้ี นั หนัก คอ่ ยๆ เดนิ ตามทา่ นไป พอตกเย็นก็กางกลดนอน เดินไปถงึ บ้านถ่อน
กน็ อนบา้ นถ่อน ซึง่ ตามหมูบ่ ้านในสมยั ก่อนนนั้ บ้านเรอื นผู้คนก็ยังไม่มาก ป่าไมก้ ็อดุ มสมบรู ณ์มาก
การปกั กลดพกั แรมตามป่าชายหมู่บา้ นกส็ ะดวก เชา้ ก็ออกบณิ ฑบาตในหมู่บา้ น ฉันเช้าเสรจ็ ก็ออก
เดินทางตอ่ พอเย็นถึงบา้ นม่วงไข่ก็นอนบา้ นมว่ งไข่ เช้าก็ออกบณิ ฑบาต ฉนั เช้าเสร็จก็ออกเดนิ ทาง
ต่ออกี เดินข้นึ ภพู านกว่าไปถึงวดั ป่าบ้านหนองผอื ก็ตอนค่ำ� แล้ว

212

ขณะหลวงปพู่ รหมพาไปกราบคารวะหลวงปูม่ ัน่ ตอนนน้ั หลวงปู่มั่นท่านยงั ไมป่ ว่ ย พระที่
ไปน้นั เป็นพระผใู้ หญๆ่ ทา่ นรอขึ้นไปกราบคารวะ พอพร้อมกนั แลว้ ก็ขน้ึ ไปบนกฏุ ิหลวงปู่ม่ัน ส่วน
สามเณรใหร้ อท่ีข้างลา่ งไมไ่ ด้ขึน้ ไป ทา่ นพูดคยุ อะไรกนั กไ็ มท่ ราบ เปน็ เณรไม่ไดเ้ ขา้ ไปใกล้ ไม่ได้ยิน
แตอ่ ยบู่ นกฏุ ิหลวงป่มู ่ันไมน่ าน พระผใู้ หญท่ งั้ หมดทา่ นก็ลงมาหมด

หลวงปพู่ รหมพอลงมา ท่านบอกใหข้ ึ้นไปกราบหลวงปมู่ ัน่ ทา่ นบอกเท่านี้ เณรองค์ท่อี ยู่
ทวี่ ดั ก็พาขน้ึ ไป พอขึ้นไปกไ็ ปกราบเท้าหลวงปู่มน่ั และไดไ้ ปนวดก�ำขาหลวงปู่ม่นั นวดกันคนละข้าง
นวดกำ� ไปล่ะ หลวงปู่มัน่ ท่านก็ไม่พดู อะไรเลย กลวั ท่านมาก ไมก่ ลา้ พูดคยุ ถามอะไรทา่ น เสร็จแลว้
เณรองค์นั้นก็พาลงมา ทีน้ีท่านก็เข้าห้อง ไปนอนที่วัดหลวงปู่ม่ันคืนเดียว เช้าก็ออกบิณฑบาต
ในบา้ นหนองผือ ฉันเช้าเสรจ็ แล้วกก็ ราบลาหลวงป่มู นั่ แล้วกเ็ ดินทางกลับก็พกั ตามวดั ระหว่างทาง
รวมไปกลับประมาณ ๑ สปั ดาห์ กลบั มาเดอื นสี่ ไม่นานกม็ ีพิธมี ีงานสรา้ งโบสถ์วัดผดุงธรรม”

พ.ศ. ๒๔๙๐ จ�ำพรรษาวัดประสิทธิธรรม

ในปี พ.ศ. ๒๔๙๐ หลวงป่พู รหม จิรปุญโฺ  เมื่อท่านมาพกั ทว่ี ัดผดุงธรรม หรอื วดั ใน ต่อมา
ท่านเป็นผู้น�ำชาวบ้านดงเย็นสร้างพระอุโบสถไม้หลังแรกที่วัดผดุงธรรม ซ่ึงถือเป็นผลงานทางด้าน
ศาสนวัตถุถาวรชิ้นแรกของท่าน และเม่ือจวนใกล้วันเข้าพรรษา ท่านได้มาพักปฏิบัติธรรมที่ดงป่า
นอกวัดผดุงธรรม ซ่ึงอยไู่ มไ่ กลกนั นกั เป็นเขตตอ่ เนือ่ งกันกบั วัดผดงุ ธรรม ดงปา่ แห่งนเ้ี ต็มไปดว้ ย
สตั ว์ปา่ และมเี สือชุกชุม เป็นสถานท่สี ปั ปายะเงียบสงดั หา่ งไกลผู้คนเหมาะกับการภาวนา เปน็ ทถี่ ูก
จรติ นสิ ยั ของทา่ น และกาลต่อมาทา่ นเปน็ ผนู้ �ำญาติโยมสร้างเปน็ วดั ใหม่ ตง้ั ชื่อวา่ วัดประสทิ ธิธรรม
โดยในระยะแรกชาวบา้ นดงเยน็ ไดพ้ ร้อมใจกันสรา้ งเสนาสนะป่าขึ้นอยา่ งช่ัวคราว เชน่ กฏุ ิกระตอ๊ บ
แคร่ไม้ และทางเดินจงกรม ฯลฯ เพือ่ ส�ำหรบั ใชเ้ ปน็ สถานท่ีพกั จำ� พรรษา เปน็ ทฉี่ นั จงั หัน และเปน็
ท่ปี ฏิบัตธิ รรม

ในปีน้ีเอง หลวงปู่พรหมท่านได้อยู่จ�ำพรรษาท่ีวัดประสิทธิธรรมเป็นคร้ังแรก เหตุการณ์
ส�ำคัญในพรรษานี้ นอกจากท่านสร้างเสนาสนะป่าท่ีจ�ำเป็นแล้ว ท่านยังได้เมตตาอบรมสั่งสอน
พระศษิ ย์เพือ่ เป็นศาสนทายาท โดยประวัติหลวงปู่ผาง ปรปิ ุณโฺ ณ ไดบ้ นั ทกึ ไวด้ ังน้ี

“พรรษาท่ี ๑ พ.ศ. ๒๔๙๐ หลงั จากอุปสมบทแล้ว หลวงปผู่ าง ปรปิ ณุ ฺโณ กไ็ ดม้ าจ�ำพรรษา
ทว่ี ดั ปา่ ประสิทธิธรรม บา้ นดงเยน็ กับหลวงปู่พรหม จิรปญุ ฺโ พอออกพรรษาแล้วหลวงปพู่ รหม
ก็ไดพ้ าหลวงปู่ผางเที่ยวธุดงคร์ อนแรมไปตามปา่ เขาลำ� เนาไพร เพ่อื มุ่งหน้าไปกราบนมสั การหลวงปู่
มัน่ ภูรทิ ตฺโต ที่เสนาสนะปา่ สำ� นกั วัดปา่ บ้านหนองผือ ตำ� บลนาใน อำ� เภอพรรณานคิ ม จังหวดั
สกลนคร เมอ่ื มาถึงวดั ปา่ บา้ นหนองผือ หลวงปู่พรหมกพ็ าท่านเขา้ กราบหลวงปู่ม่นั เม่ือมโี อกาส

213

หลวงปู่ผางก็ได้กราบเรียนถึงการไปการมาให้ท่านได้รับทราบ และขอกราบถวายตัวเป็นศิษย์ท่าน
เพื่อขอรับฟังโอวาทธรรมกรรมฐาน ข้อวัตรปฏิบัติน้อยใหญ่ในการภาวนา ได้พักปฏิบัติธรรมกับ
หลวงปมู่ ่ันอยู่เปน็ ระยะเวลาพอสมควร”

หลวงปู่พรหม เม่ือท่านพาหลวงปู่ผางไปฝากถวายตัวเป็นศิษย์หลวงปู่ม่ันแล้ว ต่อมา
ท่านทัง้ สองก็กราบลาหลวงปมู่ นั่ และได้เดนิ ธดุ งคไ์ ปพักทถี่ ำ้� พระ บา้ นนาใน ซึ่งอย่ไู มไ่ กลจากวัดปา่
บ้านหนองผือ จากน้นั ต่างก็แยกย้ายกันธุดงค์ โดยหลวงปูพ่ รหมทา่ นกลบั วัดประสทิ ธธิ รรม

ท่านไปกราบคารวะเย่ียมเยียนหลวงปู่ม่ันเป็นปรกติประจ�ำ

การกราบคารวะเย่ียมเยียนพ่อแม่ครูอาจารย์ของพระธุดงคกรรมฐานสายท่านพระ
อาจารย์มน่ั ภูรทิ ตฺโต เป็นธรรมเนียมปฏบิ ัตทิ ่งี ดงามมาก และไดถ้ ือปฏิบตั ิสืบทอดกันมาตัง้ แต่สมยั
คร้งั พทุ ธกาล เป็นกจิ ทีพ่ ระผ้นู อ้ ย ผู้เปน็ ศษิ ย์ ควรกระทำ� ตอ่ พระผใู้ หญ่ ผูเ้ ป็นครูอาจารย์ แม้ไม่ได้
กระทำ� การล่วงเกนิ กันมาก่อนกต็ าม ก็สมควรกระท�ำอย่างยงิ่ เพราะเป็นการแสดงออกของธรรม
แสดงถึงความเคารพนบั ถอื ความกตัญญูกตเวที และความออ่ นน้อมถ่อมตน ดังกรณี หลวงปมู่ ัน่
กราบคารวะเย่ียมเยียนหลวงปู่เสาร์ และกรณีหลวงปู่ม่ันขณะพักที่วัดป่าบ้านหนองผือก็มีบรรดา
พระศษิ ยเ์ ข้ากราบคารวะเยี่ยมเยียนเสมอๆ เชน่ หลวงปูอ่ อ่ น หลวงปู่ชอบ หลวงปู่ขาว หลวงปู่
ฝ้นั หลวงปูต่ ้ือ ท่านพอ่ ลี หลวงปูพ่ รหม ฯลฯ ซง่ึ ธรรมเนยี มการกราบคารวะเยยี่ มเยยี นนบั เป็น
อรยิ ประเพณที ค่ี วรถือเป็นอรยิ ปฏบิ ัตสิ บื ทอดกนั ต่อไป

ในปลายปี พ.ศ. ๒๔๙๐ เม่ือออกพรรษา หลวงปูพ่ รหม จริ ปุญโฺ  ท่านเดินธุดงค์มากราบ
คารวะเยี่ยมเยียนหลวงปมู่ น่ั ภรู ทิ ตฺโต ทว่ี ัดป่าบ้านหนองผอื ครูบาอาจารยข์ องท่านเป็นปรกติ
ประจ�ำ และทา่ นไดเ้ ขา้ พกั ท่ีถำ�้ พระ ต�ำบลนาใน อ�ำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร โดยประวตั ิ
หลวงปู่ผา่ น ปญฺาปทโี ป ได้บนั ทกึ ไวด้ ังน้ี

“เมื่อออกพรรษา ปลายปี พ.ศ. ๒๔๙๐ หลวงปผู่ ่าน ปญฺ าปทีโป ได้พาสามเณรรปู หนง่ึ
ไปกราบท่านพระอาจารย์ม่ัน ภูริทตฺโต พอไปถึงก็ได้ไปนมัสการท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต
เวลาเยน็ ก็พากนั ไปสรงน้�ำทา่ นพระอาจารยม์ นั่ หลวงปู่ผา่ นเป็นพระผนู้ อ้ ยเพยี ง ๑ พรรษา จึงได้
ถูหลังเท้า รูปอ่นื กไ็ ด้ถูแขง้ ถูขา ถูแขน หลวงป่บู อกวา่ “เท้าของหลวงป่มู นั่ นม่ิ มากๆ ถงึ แมว้ ่าจะ
เดินธดุ งคม์ าตลอด แต่เทา้ กลบั นม่ิ ” ซึง่ ตรงกับที่ หลวงป่หู ลยุ จนฺทสาโร เคยบอกไวว้ า่ “เท้าท่าน
พระอาจารย์มนั่ น่ิม ท่านเปน็ ผู้มีบุญมาก เราคนเท้าแขง็ เป็นคนบาป”

ที่วัดป่าบ้านหนองผือ หลวงปู่ผ่านได้อยู่อบรมเดินจงกรมภาวนาอยู่กับท่านพระอาจารย์
มั่นนานพอสมควร แลว้ ไดก้ ราบลามาพักที่ถ้ำ� พระ บ้านนาใน โดยมหี ลวงป่นู ิลซึง่ มาจากขอนแกน่

214

พระอาจารย์สม หลวงปูจ่ ้อยมาดว้ ย วันนนั้ ท่านพระอาจารย์พรหม จิรปญุ ฺโ (ซงึ่ เปน็ ศิษยผ์ ู้ใหญ่
รูปหน่งึ ของพระอาจารย์มั่น) ทา่ นไดพ้ กั อย่ทู ่ีนน้ั ”

พ.ศ. ๒๔๙๑ จ�ำพรรษาวัดประสิทธิธรรม

ในปี พ.ศ. ๒๔๙๑ หลวงปู่พรหม จริ ปญุ ฺโ ท่านได้สรา้ งพระอโุ บสถทีว่ ดั ผดุงธรรม ซงึ่
ทา่ นสรา้ งคา้ งไว้ และทา่ นได้จำ� พรรษาทดี่ งปา่ นอกวดั ผดงุ ธรรม หรอื ตอ่ มาคือ วัดประสิทธธิ รรม
นบั เปน็ การจ�ำพรรษาติดต่อกนั เป็นพรรษาท่ี ๒ นับแตท่ ่านกลับมาพักจ�ำพรรษาทีบ่ า้ นเกิด ขา่ วนีไ้ ด้
แพรส่ ะพดั ไปทัว่ แถบบริเวณนนั้ อย่างรวดเร็ว จนชาวบ้านในละแวกใกล้เคียงบา้ นดงเยน็ ได้มากราบ
ทำ� บุญ ฟังธรรม ถอื อโุ บสถศลี ในวนั พระ และไดม้ ีลูกหลานบรเิ วณนั้นเกดิ ความศรัทธาออกบวชเปน็
พระธดุ งคกรรมฐานด�ำเนนิ ตามรอยท่าน และได้มาถวายตัวเป็นพระศษิ ยอ์ ยูห่ ลายองค์

เม่ือออกพรรษาในปีน้ีมีพระศิษย์องค์ส�ำคัญมากราบฟังธรรมและมาพักปฏิบัติธรรมกับท่าน
จากประวัติหลวงป่ผู าง ปรปิ ณุ ฺโณ ได้บันทกึ เหตุการณ์ในพรรษาที่ ๒ พ.ศ. ๒๔๙๑ ไว้ดงั น้ี

“พรรษาท่ี ๒ พ.ศ. ๒๔๙๑ ในพรรษาน้ี หลวงป่ผู างท่านมคี วามตัง้ ใจจะพกั จ�ำพรรษากบั
หลวงปู่มน่ั อีก ทว่ี ัดป่าหนองผอื นาใน แตห่ ลวงป่ผู างเดนิ ทางไปถงึ ก็พบว่ามพี ระอยจู่ ำ� พรรษากบั
องค์หลวงปมู่ นั่ เป็นจำ� นวนมาก กุฏทิ ี่จะให้พระจำ� พรรษากบั หลวงปู่ม่นั มีจ�ำนวนไมเ่ พียงพอ หลวงปู่
มั่นจึงเมตตาให้หลวงปู่ผางไปจำ� พรรษาท่วี ดั ป่ามว่ งไข่ – ผา้ ขาว ในเขตอ�ำเภอพรรณานิคม จงั หวดั
สกลนคร ใกลส้ ำ� นักใหญว่ ัดปา่ หนองผือนาในน่ันเอง โดยมีพระสงฆ์จ�ำพรรษาดว้ ยกันท้งั หมด ๔ รปู
หลังจากออกพรรษาแล้ว ได้ไปกราบนมสั การลาองคห์ ลวงปูม่ น่ั ท่วี ัดปา่ หนองผอื นาใน เพ่ือกลบั มา
พกั วิเวกอยกู่ บั หลวงป่พู รหม ทวี่ ัดประสทิ ธธิ รรม จากนัน้ ก็ได้กราบลาหลวงปพู่ รหม เพอื่ ออกวเิ วก
ไปยงั พระพุทธบาทบัวบก อ�ำเภอบ้านผือ จงั หวดั อดุ รธานี และที่อำ� เภอท่าบอ่ จงั หวดั หนองคาย
จนถงึ เวลาจวนใกล้เขา้ พรรษาจึงเดนิ วเิ วกกลบั มายงั จงั หวดั อดุ รธานี”

พื้นเพของวัดท่ีหลวงปู่ม่ันพาด�ำเนิน

ในช่วงปัจฉิมวัยของหลวงปมู่ ัน่ ภูรทิ ตฺโต ท่านพกั จำ� พรรษาท่วี ัดป่าบ้านหนองผอื ตดิ ต่อกนั
๕ พรรษา ช่วงนี้บรรดาพระศษิ ย์ตงั้ แต่รุ่นแรกๆ จนถงึ รุ่นหลงั ๆ จะเดินธุดงค์บกุ ป่าฝา่ ดงไปกราบ
คารวะและกราบถวายตัวเป็นศิษยเ์ พือ่ ขอเขา้ รับการอบรมธรรมปฏบิ ัติ หลวงปมู่ น่ั ทา่ นจะเนน้ หนกั
ให้พระเณรภาวนา โดยองคห์ ลวงตาพระมหาบัว าณสมฺปนโฺ น ได้เมตตาเทศนเ์ ล่าพน้ื เพของ
วัดป่าบา้ นหนองผอื ทีห่ ลวงปู่ม่นั ทา่ นพาด�ำเนินไวด้ งั น้ี

215

“หลวงปูท่ ่านทำ� เปน็ แบบฉบบั เป็นเนอ้ื เป็นหนังของศาสนาของพระของเณรจริงๆ คอื พอ
ฉนั จังหนั เสรจ็ แลว้ นี้ พระเณรจะรบี ลา้ งบาตรอะไรๆ เสรจ็ เรียบรอ้ ยแลว้ ขนบริขารไปทพ่ี ักของตนๆ
แล้วหายเงยี บหมด วัดนีเ้ หมอื นไมม่ ีพระ คือไปอยู่ในปา่ กนั ทัง้ นนั้ ส�ำหรับทา่ นเอง ทา่ นก็ชอบสงัด
ทา่ นไม่ชอบให้ใครยงุ่ ทา่ น จะไปหาท่านได้ตามเวลาเทา่ นั้น นอกนน้ั ไปไมไ่ ด้ เชน่ ตอนบ่ายสองโมง
ท่านออกมา ก็มีพระเณรทยอยไปหาท่านบา้ งเล็กน้อย สององคส์ ามองค์ แล้วก็ตอนหลงั ปัดกวาด
สรงน�้ำเรียบร้อยแล้วก็ขึ้นหาท่านได้อีกระยะหนึ่ง พอค่�ำจากน้ันแล้วท่านก็ลงเดินจงกรมของท่าน
พระเณรก็ท�ำหนา้ ที่ของตวั ดว้ ยการเดินจงกรมนงั่ สมาธิภาวนาเปน็ ประจ�ำ

น่ีพื้นฐานของวัดน้ีท่ีท่านครองวัดอยู่ เป็นอย่างน้ันตลอดมา การเดินจงกรมนั่งสมาธิ
ภาวนาน้ีถือเป็นกิจเป็นการเป็นงานของพระ เป็นเน้ือเป็นหนังชีวิตจิตใจของพระอย่างแท้จริง
ไม่มงี านอ่นื ใดเข้ามายงุ่ ได้เลย

แต่กอ่ นแขกคนญาติโยมไมม่ ี เพราะทางจากนีไ้ ปพรรณาฯ (อ�ำเภอพรรณานคิ ม) ไมม่ ีรถมรี า
ตอ้ งบกุ ปา่ ฝ่าดงไป ถา้ ไปทางตดั ทางลัดนกี้ ข็ ้นึ ภเู ขาลงทางนั้น ถา้ ไปทางออ้ มกไ็ ปทางล้อทางเกวยี น
๖๐๐ เส้น ถ้าไปทางลดั กข็ นึ้ เขาแลว้ ลงทางโน้น อนั นป้ี ระมาณ ๕๐๐ เส้น การไปมาหาสู่สำ� หรับ
วัดน้ีจึงไม่ค่อยมี ไม่มีใครกล้ามาแหละ นอกจากพระท่านมาโดยเฉพาะๆ การภาวนาของพระ
จงึ สะดวกตลอดทัง้ วนั ทัง้ คืนเลย

ท่านเองกร็ ับพระเปน็ ระยะเท่าน้นั เอง ไมม่ ากกว่านั้น มีเท่านนั้ ถา้ วนั ไหนประชมุ กร็ วมกนั
ไปประชุมท่กี ฏุ ทิ ่าน แน่นไปหมดล่ะเวลาประชมุ ทา่ นไม่ได้ลงมาประชุมท่ีศาลา นอกจากวันอุโบสถ
ทพ่ี ระท้ังหลายมาจากท่ีตา่ งๆ มารวมกนั ทำ� อุโบสถ ประมาณ ๕๐ – ๖๐ องคล์ งอโุ บสถ ทา่ นกใ็ ห้
โอวาทตอนนนั้ มีจำ� นวนมากพอสมควร แต่ปกติวดั น้ีจะมีประมาณ ๓๕ – ๓๖ องค์ ไม่ให้มากกว่าน้ัน
หากจะมจี รมากม็ ชี ั่วระยะ ๒ – ๓ วันเท่าน้ัน ปกติทพ่ี ระเณรอย่เู ปน็ พืน้ ในวัดนกี้ ป็ ระมาณ ๓๕ – ๓๖
องค์ นี่ก็ถือว่ามากที่สุดแล้วส�ำหรับวัดน้ีและส�ำหรับหลวงปู่ม่ัน ซึ่งท่านไม่ชอบพระเณรมาก น่ัน
นับวา่ ทา่ นรบั มากที่สุด

การท�ำความเพียรน้ีตลอดเวลา ไม่มงี านอ่นื ใดเขา้ มาแทรกเลย ทำ� เลป่านเ้ี ปน็ ทท่ี ำ� งานของ
พระทเี่ ดินจงกรมนั่งสมาธิภาวนาหมด ในป่านีม้ ีแต่ทางจงกรม เพราะป่ากวา้ ง ใครจะไปท�ำที่ไหน
ทำ� ไดท้ ั้งนนั้ ลึกๆ เป็นดงไปหมด ส่วนทนี่ เ่ี ปน็ ทร่ี วม บริเวณวัดก็ไม่กวา้ งนกั ท่ีกวาดโลง่ เอาไว้
ไม่กวา้ งนัก แต่ทที่ ำ� เลของพระภาวนาน้นั มที ั่วไปในป่าในดง สะดวกสบายทกุ อย่างเลย นพี่ ืน้ เพท่ี
ท่านพาท�ำมา ท่านท�ำอย่างนนั้

เวลามาพบมาคุยกันน้ีไม่มีเร่ืองการบ้านการเมือง การซ้ือการขาย เร่ืองหญิงเร่ืองชาย
ค�ำว่าเร่ืองโลกนั้นไม่มีเลย ฟังแต่ว่าไม่มีเลย จะมีแต่เรื่องอรรถเรื่องธรรมล้วนๆ ร้อยเปอร์เซ็นต์ๆ

216

ตลอดเวลาคุยกันมีแตเ่ รือ่ งอรรถเรื่องธรรมล้วนๆ แม้พระทา่ นคยุ กนั สนทนากันตามทีต่ า่ งๆ ในวัดนี้
กเ็ ป็นแบบเดียวกันหมด ไม่มีเรือ่ งโลกเร่อื งสงสารเข้ามาเจือปนเลย สงัดทง้ั กลางวันกลางคืนวัดน้ี
ตลอด

เวลามาเล่าภาวนาให้ท่านฟัง องค์น้ีรู้อย่างนี้ องค์นั้นเห็นอย่างนั้น จากจิตตภาวนาของ
ทา่ น มันกเ็ ปน็ เครอ่ื งปลุกใจกนั เปน็ ล�ำดับลำ� ดา เพราะผลงานจากการภาวนามีความรู้ความเห็น
แปลกตา่ งกนั ใครมาเลา่ ถวายทา่ นแลว้ ทา่ นกช็ แ้ี จงใหท้ ราบ และผมู้ าคอยฟงั กไ็ ดร้ บั ประโยชนท์ วั่ ถงึ กนั
อย่างน้ีตลอดมา นี่เรียกว่า ศาสนาแท้ ผู้บ�ำเพ็ญธรรมเพ่ือมรรคเพื่อผลโดยแท้ ท่านบ�ำเพ็ญ
ท่านสนทนากันอย่างน้ัน พูดกันค�ำไหนมีแต่เรื่องอรรถเรื่องธรรม เรื่องมรรคเร่ืองผล เรื่องสมาธิ
เร่ืองปัญญา ไม่มเี ร่ืองอ่ืนเขา้ มาแฝงเลย เพราะเหตไุ ร ก็เพราะศาสนาน้เี ป็นแหลง่ แหง่ มหาสมบัติ
อันใหญ่โตและเลิศเลอยงิ่ กว่าสมบัติใดในโลก ในโลกเขามีสมบัติต่างๆ ที่ตา่ งคนตา่ งวงิ่ เต้นขวนขวาย
คุ้ยเข่ียขุดคน้ หามาในสมบตั ิประเภทใด ก็ไดม้ าตามสมบตั ิที่มีอยูน่ น้ั ๆ ทีนธี้ รรมสมบัติก็เหมอื นกัน
ใครคุ้ยเขี่ยขุดค้นหาธรรมสมบัตไิ ดป้ ระเภทใดมาๆ กส็ ามารถท่ีจะน�ำมาพูดมาสนทนาซ่ึงกนั และกัน
ไดเ้ ช่นเดียวกบั ทางโลกเขา

เพราะฉะน้ันเวลาทา่ นคุยกันจึงมแี ตเ่ รอื่ งธรรมลว้ นๆ เปน็ เคร่ืองปลุกใจกันได้ดี น่ีล่ะคร้ัง
พทุ ธกาลทา่ นดำ� เนนิ มาอยา่ งนั้น พระพทุ ธเจ้าทรงพาดำ� เนนิ บรรดาพระสงฆ์สาวกท้งั หลายกด็ ำ� เนนิ
มาอย่างนน้ั ท่ีมาเปน็ สรณะของพวกเรานี้ ล้วนแล้วต้ังแต่ท่านด�ำเนนิ มาอยา่ งนน้ั ได้มรรคไดผ้ ล
เป็นที่พอพระทัยและพอใจแล้วน�ำธรรมอันล�้ำเลิศนั้นมาสั่งสอนสัตวโลกเร่ือยมาจนกระทั่งปัจจุบันนี้
น่ันพ้นื เพท่านดำ� เนนิ มาอย่างนน้ั ”

เรื่องท่านสร้างโบสถ์หลังแรกที่วัดผดุงธรรม

วัดผดุงธรรม เป็นวัดปา่ กรรมฐานแหง่ แรกของบา้ นดงเยน็ ในสมยั ก่อนนนั้ ยังไม่มพี ระอุโบสถ
ประมาณปี พ.ศ. ๒๔๙๐ หลวงปพู่ รหม จิรปญุ ฺโ ทา่ นได้เปน็ ผู้นำ� พาญาติโยมสรา้ งพระอุโบสถ
หลังแรกข้ึนที่วัดผดุงธรรม เป็นพระอุโบสถไม้ท้ังหลังขนาดไม่ใหญ่มากนัก โดยท่านเป็นประธาน
วางศิลาฤกษ์ เมอ่ื สรา้ งเสร็จในปี พ.ศ. ๒๔๙๒ หลวงปพู่ รหมไดก้ ราบอาราธนานิมนตพ์ ระอปุ ัชฌาย์
ของท่าน คือ ท่านเจ้าคณุ ธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธโุ ล) มาเปน็ องคป์ ระธานสงฆ์ ในพิธผี กู พัทธสีมา
ฝงั ลกู นมิ ติ หลวงปู่พรหมท่านน�ำหนิ ศิลาแลงกอ้ นใหญ่ จ�ำนวน ๘ ก้อน ฝงั โดยรอบพระอุโบสถแทน
ใบเสมา

ตอ่ มาพระอุโบสถไดช้ �ำรุดทรุดโทรมลง ในปี พ.ศ. ๒๕๔๐ หลวงปูผ่ าง ปรปิ ณุ โฺ ณ ได้มา
บูรณปฏิสังขรณ์ให้เป็นพระอุโบสถที่มั่นคงถาวร โดยการผูกเหล็กก่ออิฐถือปูนใหม่ท้ังหลัง เมื่อ

217

หลวงปู่ผางถึงแก่มรณภาพในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ และทางวัดได้ด�ำเนินการต่อจนแล้วเสร็จเม่ือปี
พ.ศ. ๒๕๔๘ โดยใช้งบประมาณทง้ั ส้นิ ๓,๔๘๖,๙๙๙ บาท

หลวงปู่พรหมนอกจากสร้างพระอุโบสถหลังน้ีแล้ว ท่านยังได้ปั้นพระพุทธรูปขนาดใหญ่
เพ่ือประดิษฐานเป็นพระประธานในพระอุโบสถ ซ่ึงพระพุทธรูปที่หลวงปู่พรหมปั้นด้วยมือทุกองค์
จะมพี ทุ ธลักษณะคลา้ ยคลึงกัน คือ เป็นพระพทุ ธรูปปางมารวชิ ยั หรือปางสะดุง้ มาร สมัยเชียงแสน
มกี ารลงรกั ปิดทอง และมีลักษณะเดน่ ทคี่ ลา้ ยๆ กนั คือ พระพกั ตร์ (หนา้ ) พระกรรณ (หู) ยาวโค้ง
ลงมาเกือบจรดพระอังสา (ไหล่) อันเป็นเอกลกั ษณ์ประจำ� องคข์ องหลวงปู่

ในระหว่างท่ีหลวงปู่พรหมก�ำลังสร้างพระอุโบสถที่วัดผดุงธรรม เม่ือหลวงปู่มั่นท่านทราบ
ท่านจึงดุและขับไล่หลวงปู่พรหมออกจากวัดป่าบ้านหนองผือ เพราะตามปฏิปทาของหลวงปู่มั่น
ทา่ นไม่กอ่ สรา้ ง โดยองค์หลวงตาพระมหาบวั าณสมปฺ นโฺ น ไดเ้ มตตาเทศน์เรื่องนีไ้ ว้ดังน้ี

“พอ่ แมค่ รูจารยเ์ ปน็ อนั ดบั หนง่ึ ในสมัยปัจจบุ นั การก่อการสรา้ งไมม่ เี ลยฟงั ซนิ ่ะ เหน็ ไหม
เลิศไหมพอ่ แมค่ รจู ารย์มัน่ ไปอยู่ท่ไี หน กระต๊อบเทา่ กำ� ปั้นๆ ทา่ นยุง่ อะไรกับส่ิงเหลา่ น้ี ไมย่ ุ่งนะ
พระเณรเขา้ ไปปบ๊ั น้ี เปน็ ไงภาวนา ย่ิงมผี มู้ าจากทต่ี ่างๆ พระเณรท่เี ขา้ มาหาท่าน เปน็ ไงภาวนา
น่นั เห็นไหมล่ะ ข้ึนภาวนาเปน็ ยงั ไง นน่ั ต่างกนั นะ…”

ส�ำหรับปฏิปทาของหลวงปู่มั่นท่านไม่สร้างพระอุโบสถในส�ำนักปฏิบัติธรรม เพราะท่าน
ต้องการสงวนความสงบวิเวกไว้เป็นสถานท่ีภาวนา ซึ่งปฏิปทาข้อนี้ครูบาอาจารย์พระศิษย์หลวงปู่
ม่นั หลายองค์นับแตร่ นุ่ แรกๆ จนถงึ รนุ่ ปจั จบุ ัน ทา่ นได้ดำ� เนินตามอยา่ งเคร่งครัด โดยองค์หลวงตา
พระมหาบวั าณสมฺปนฺโน ได้เมตตาเทศน์เหตผุ ลเรอื่ งนไ้ี วด้ งั นี้

“เรื่องการสรา้ งโบสถ์สำ� หรบั วดั นี้ (วัดป่าบา้ นตาด) ยงั ไม่มคี วามจ�ำเปน็ ส่ิงใดทจี่ ำ� เปน็ กท็ ำ�
สิ่งนัน้ เช่น จติ ตภาวนาเปน็ งานจ�ำเป็นอย่างยิง่ น่ตี ้องทำ� การทำ� อุโบสถสงั ฆกรรม ท�ำทไ่ี หนก็ได้
ตามรม่ ไม้ชายเขาที่ไหนกไ็ ดไ้ ม่ขัดข้องอะไร ตามหลกั พระวินัยจรงิ ๆ แล้ว ไม่มีอะไรขัดข้อง

การสร้างโบสถ์ สร้างวิหาร ควรใหเ้ ป็นท่ีเปน็ ฐานทเ่ี หมาะทค่ี วร ไม่ใชจ่ ะสร้างดะไปหมด

การสรา้ งโบสถ์หลังหนึง่ เป็นยงั ไง นับตัง้ แต่เร่มิ แรกตกลงกับช่างในการสรา้ งโบสถเ์ ป็นยังไง
ถนนหนทางเข้าไปในวัดจนถึงบริเวณที่จะสร้างโบสถ์ จะต้องเปิดโล่งตั้งแต่บัดน้ันจนกระทั่งถึงวัน
สรา้ งโบสถ์ส�ำเรจ็ ตอ้ งบุกเบกิ ไปหมดย่งิ กว่าโรงงาน คนงานกต็ ้องมที ง้ั หญิงทง้ั ชายจ�ำนวนมากมาย
ที่จะเข้ามานอนกองกันอยู่น้ี ทั้งช่าง ทั้งคนงานไม่ทราบมาจากแห่งหนต�ำบลใด บางรายหรือ
ส่วนมากก็ไม่เคยรู้เลยว่าศาสนาเป็นยังไง พระเณรในวัดท่านปฏิบัติยังไง แล้วเขาจะมีความเป็น

218

ระเบยี บเรยี บร้อย พอเปน็ ความสงบงามตาแก่พระเณรในวัดไดย้ งั ไง มนั ต้องเหมอื นกบั เอายกั ษ์
เอาเปรต เอาผเี ขา้ มาทำ� ลายวดั นน่ั เอง

ในขณะท่เี ปิดโอกาสตกลงกันเรียบรอ้ ยแล้วนัน้ น่ะ ไม่ว่าผูค้ นหญงิ ชาย รถราต่างๆ ต้องเขา้
ต้องออกกันตลอดเวลา ประตูวัดปดิ ไมไ่ ด้เลย และสถานที่ท่จี ะสร้างโบสถ์ขึ้นมาให้เป็นของสงา่ งาม
แก่วดั แกพ่ ระสงฆใ์ นวดั แตพ่ ระกลับตายกันหมดจากจติ ตภาวนา จากมรรคจากผลนพิ พานที่ควร
จะได้จะถึงจากสมณธรรม คือ จิตตภาวนา แลว้ จะเอาอะไรมาเปน็ ความสงา่ งามอรา่ มตา ลอง
พิจารณาดูซิ น่เี ราคดิ อยา่ งนัน้ และพูดอยา่ งนีน้ ะ จะเป็นความคดิ ผิด พดู ผดิ หรือถูกประการใดบา้ ง

ธรรมเป็นส่งิ ส�ำคัญมากมาตลอดอนันตกาล พระพุทธเจ้ากด็ ี สาวกกด็ ี ไม่ใช่นกั สร้างโบสถ์
สรา้ งวิหาร สร้างสง่ิ รโหฐานส�ำราญตาอะไรเลย แต่เวลาท่านรู้อรรถรู้ธรรมภายในใจของทา่ นแล้ว
เป็นยงั ไงบ้างการประกาศธรรมสอนโลกของทา่ นน่ะ ยกตวั อยา่ งสมัยปัจจุบัน ท่านอาจารย์มน่ั
ท่านสร้างอะไร นอกจากท่านสร้างจิตสร้างใจท่านอย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วย เต็มสติก�ำลัง
ความสามารถดว้ ยจิตตภาวนา จนเป็นผฉู้ ลาดแหลมคมเต็มภูมิแลว้ ยอ้ นมาสั่งสอนโลกอยา่ งเตม็ ภมู ิ
เป็นยังไงเราดเู อา คนนับถอื ท่านอาจารย์มน่ั ทว่ั ประเทศไทยเราจนตลอดถึงเมอื งนอก น่นั ผลแหง่
การปฏบิ ตั ิธรรม รธู้ รรม เหน็ ธรรม มีใจเป็นหลกั เป็นเกณฑด์ ว้ ยอรรถด้วยธรรมแลว้ สัง่ สอนโลกได้
ลกึ ซงึ้ กวา้ งขวางขนาดไหน พิจารณาดซู ิ นล่ี ะ่ ธรรมภายในใจ สมบัตภิ ายในใจแทเ้ ป็นอยา่ งนี้ ผดิ กับ
สมบตั กิ าฝากเป็นไหนๆ

ใจเป็นส่ิงส�ำคัญ มีอ�ำนาจมาก สามารถท�ำประโยชน์ได้มากมายเม่ือมีคุณสมบัติอยู่
ภายในใจแล้ว แล้วโบสถ์หลังไหนที่มีอ�ำนาจวาสนามากไปเที่ยวประกาศศาสนาสอนโลกสงสาร
ใหค้ นเขา้ ถึงธรรม ธรรมถึงใจซาบซง้ึ เป็นคนดีข้นึ มาได้ เราเคยเห็นโบสถ์หลงั ไหนบ้าง ทัง้ น้ีเราไม่ได้
ประมาท แตแ่ ยกมาเทยี บเคียงตามหลกั เหตุผล เราไม่ได้ประมาทและไม่ไดห้ า้ มวา่ ไมใ่ ห้สร้างโบสถ์
สถานทีค่ วรสรา้ งเราไม่วา่ แตส่ ถานทท่ี ไ่ี มค่ วรสร้างกไ็ ม่ควรมาทำ� ลาย สถานที่นเ่ี ปน็ สถานทีส่ ร้าง
จิตใจ ดว้ ยจิตตภาวนาใหม้ ีหลักฐานมน่ั คง พระองคห์ น่งึ ๆ ได้ประโยชนท์ างดา้ นจติ ใจแลว้ จะท�ำ
ประโยชน์ให้โลกได้รบั กวา้ งขวางมากมายเพยี งไร เราคดิ หมดแลว้ เร่ืองเหลา่ นี”้

หลวงปู่ม่ันดุหลวงปู่พรหมสร้างโบสถ์

เร่ืองหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต ท่านดุหลวงปู่พรหม จิรปุญฺโ มีเหตุการณ์ส�ำคัญตอนหนึ่ง
ท่ีครบู าอาจารยก์ ล่าวขานกันต่อๆ มา คอื หลวงปู่พรหมท่านกลบั ไปบ้านดงเยน็ ท่านได้ไปสรา้ ง
พระอุโบสถหลังแรกที่วัดผดุงธรรมแล้วถูกหลวงปู่ม่ันดุ ซ่ึงหลวงปู่พรหมท่านก็ทราบอยู่แล้วว่า
หลวงป่มู ั่นจะต้องดุท่าน ท่านกส็ รา้ งใหเ้ สรจ็ ก่อนค่อยไปหาหลวงปู่มั่น แม้ในขณะนั้นหลวงปู่พรหม

219

ท่านบรรลุธรรมแล้วก็ตาม และพระอุโบสถที่ท่านสร้างก็ไม่ได้ใหญ่โตหรูหราสวยงามก็ตาม เป็น
โบสถ์ไม้ท�ำง่ายๆ นิสัยของหลวงปู่ท่านท�ำอะไรไม่เอาความสวยงาม ใช้ประโยชน์ได้กพ็ อ ทา่ นมคี ตวิ า่
“ปลวกไมก่ ิน ฝนไมร่ ่วั ใชไ้ ด้ก็พอ” แค่นั้นเอง

สาเหตุประการส�ำคัญ คือ ปฏิปทาของหลวงปู่มั่น ท่านไม่ส่งเสริมงานก่อสร้างอันเป็น
งานภายนอก ทา่ นมงุ่ แต่งานภาวนาฆา่ กิเลสอนั เป็นงานภายใน และสาเหตอุ กี ประการหนึง่ คอื
ในชว่ งนัน้ สงครามโลกครงั้ ที่ ๒ เพ่งิ จะสงบ ท�ำใหเ้ กิดความอดอยากขาดแคลน แมแ้ ตผ่ า้ ก็หาได้ยาก

หลวงปู่อ่อนเคยเลา่ ว่า “หลวงป่พู รหม จิรปุญโฺ  ทา่ นออกบวช ท่านกส็ ละสมบตั ิออกบวช
ทา่ นไมม่ ีลูก บวชแลว้ ทา่ นมาสร้างโบสถ์ (วดั ผดงุ ธรรม อ�ำเภอบา้ นดงุ จงั หวดั อุดรธาน)ี แลว้
ไปกราบทา่ นพระอาจารย์มนั่ ทีว่ ัดปา่ บ้านหนองผือ (วัดปา่ ภรู ิทตั ตถิราวาส) พอเขา้ ถงึ ประตูวดั ปา่ –
บา้ นหนองผือ ทา่ นพระอาจารย์มัน่ คอย (แล) เหน็ “นั่นใคร ท่านพรหมหรือ ? ออกไปเดยี๋ วน้ีๆ” 

ทา่ นเห็น หลวงปพู่ รหม จริ ปุญฺโ ตั้งแตเ่ ขา้ ประตวู ัด หลวงปพู่ รหมก็มาถึงศาลา หมู่เพือ่ น
ภิกษุก็หาน้�ำหาท่ามาถวายท่าน ท่านก็บ่นอยู่กุฏิของท่านนั่นแหละ “ออกไปเด๋ียวนี้ๆ” ไม่รู้ว่า
ผิดอะไร หลวงปู่พรหมถ้าไม่ออกไปก็กลัวท่านจะเหน่ือย กลัวจะเป็นบาป ท่านก็เลยออกไปพัก
บ้านหนองสะไน ตามที่หลวงปูอ่ ่อนท่านเล่า ไม่รวู้ ่าผดิ อะไร นแี่ หละที่ท่านพระอาจารยม์ นั่ ทา่ นพดู
อยา่ งน้นั ได้ยนิ ได้ฟังกว็ ินจิ ฉัยดู “มใิ ช่ผดิ ทางท่านสอนรึ ?” ทีท่ า่ นดนุ ่นั เรยี กว่าผิดทางท่ที ่านสอน
“การสรา้ งนั่นมิใช่ทางพ้นทุกข์ ทางพน้ ทกุ ขไ์ มส่ ร้างอยา่ งนัน้ ” 

ตอนอาตมา (หลวงปู่อวา้ น) ไปคารวะหลวงปหู่ ล้า เขมปตฺโต ทีว่ ดั ภูจอ้ กอ้ (วดั บรรพตครี ี)
อำ� เภอคำ� ชะอี จังหวดั มกุ ดาหาร ท่านก�ำลังสรา้ งศาลาใหญ่ ทา่ นบอกอาตมาวา่  “ถ้าอาจารย์ม่นั
ยงั อยู่ ท�ำอย่างน้ไี ม่ไดน้ ะ” ทา่ นวา่ “ทำ� อยา่ งน้ีโดนท่านดุเอา” แต่มาสมัยนี้โยมเขาว่า “ถ้าไมท่ �ำ
จะไปอย่ไู หนหลวงปู่ ไม้มนั กจ็ ะหมด หาหญ้าหาอะไรมันก็ไมม่ ”ี  จริงของเขา ทา่ นวา่ หลวงป่หู ล้า
กเ็ ลยท�ำ

“ท่หี ลวงป่หู ลา้ ท่านทำ� มันพรอ้ มหมดทุกอยา่ งแลว้ แตส่ มัยกอ่ นไม่พรอ้ ม มนั เป็นทุกข์
การสร้างกเ็ ป็นทุกข์ สรา้ งแล้วความปรารถนาอยากเป็นนน่ั เปน็ น่ีนน่ั กเ็ ปน็ ทกุ ข์อีก ไมพ่ น้ ทุกข์
ทางทา่ นพระอาจารย์ม่ันสอน ท่านสอนพน้ ทกุ ข์ ถา้ ผดิ ทางของทา่ น ทา่ นจะดเุ อาอยา่ งน้ันแหละ
ถา้ ไมผ่ ิดทางท่าน ทา่ นกจ็ ะไมด่ ”ุ

เรื่องเตือนกันของพระอรหันต์มีมาแต่ครั้งพุทธกาล กรณีองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธ–
เจ้าทรงเตือนพระมหากัปปินะ ซง่ึ ทา่ นเป็นพระอรหนั ตสาวกทค่ี ิดจะไม่ลงอุโบสถด้วยพระองค์เอง
ในสมยั กึ่งพุทธกาล ครูบาอาจารย์ที่ทา่ นเป็นพระอรหันตด์ ้วยกัน ท่านกม็ กี ารเทศน์ดเุ ตือนกัน เช่น

220

กรณีหลวงปู่ม่ันเอ่ยปากไล่หลวงปู่พรหมท่ีท่านไปสร้างโบสถ์ หรือกรณีองค์หลวงตาพระมหาบัว
เทศน์เตือนท่านพระอาจารย์จวนเร่ืองสร้างบันไดภูทอกนั้น แล้วท่านพระอาจารย์จวนยอมรับ
“คราวแรกก็ยอมรับด้วยความเคารพ คราวหลังยอมรับด้วยความเห็นโทษ” หรือกรณีองค์–
หลวงตาดุหลวงปลู่ ี กุสลธโร แล้วหลวงป่ลู กี ย็ อมรบั วา่ “เหตุผลของท่านเหนือเรา ท่านกย็ งั ดุเรา
ไดอ้ ย”ู่ เป็นต้น

หลวงปู่อ่อนศรีเล่าปฏิปทาของหลวงปู่พรหม

หลวงปอู่ ่อนศรี านวโร เปน็ ศษิ ยอ์ าวุโสองคห์ น่งึ ของหลวงปู่พรหม จิรปุญฺโ ทา่ นได้เลา่
ถงึ ปฏปิ ทาของหลวงป่พู รหมใหล้ กู ศิษย์ฟังเพ่อื เป็นคติสอนใจ ดงั นี้

“ในพรรษาท่ี ๒ – ๓ ปี พ.ศ. ๒๔๙๐ – ๒๔๙๑ ในขณะที่เราจำ� พรรษาท่วี ดั ธรรมกิ าราม
บ้านบึงโน น้นั ไดเ้ ดนิ ทางไปอยู่รบั ใชอ้ ุปัฏฐาก และศึกษาธรรมปฏบิ ตั ิกบั หลวงปูพ่ รหม จิรปุญโฺ 
วัดทบี่ า้ นดงเยน็ บา้ ง วดั ศรโี พนสงู บา้ ง วัดตาลนิมติ รบา้ ง ไปอยู่เฉพาะหนา้ แล้ง ไมไ่ ดไ้ ปอยู่จ�ำพรรษา
เม่อื วา่ งจากภาระ อาตมากไ็ ปพักภาวนากบั หลวงปู่พรหมเปน็ ประจ�ำ ทา่ นเป็นพระปฏิบัติดี

...หลวงปู่พรหม ท่านไปอยู่ที่ไหน มกั จะท�ำทางจงกรมไว้ แล้วกส็ รา้ งหอ้ งส้วมไว้ด้านข้าง
ท่านเป็นพระรปู ร่างขนาดกลาง ไมส่ งู ใหญ่ แตเ่ ป็นพระทใ่ี จเด็ดมาก อาตมาได้ชว่ ยงานก่อสรา้ ง
หลวงปู่พรหม จนถงึ ๔ โมงเยน็ จึงเลกิ งาน ท�ำงานเหน่อื ยแลว้ กน็ อนพกั ผอ่ น บางทนี อนไปถงึ
เทีย่ งคนื ตืน่ มาก็ยงั เหน็ ไฟท่านเปดิ อย่”ู

ประวัติย่อ หลวงปู่อ่อนศรี านวโร

หลวงปอู่ ่อนศรี านวโร วัดถ้�ำประทนุ ต�ำบลเขาไม้แกว้ อำ� เภอบางละมงุ จงั หวดั ชลบรุ ี
เปน็ พระเถราจารยช์ อ่ื ดงั แหง่ เมืองชลบรุ ี มเี มตตาธรรมสงู มักน้อยสนั โดษ ทา่ นเกิดในสกุลธรรมจติ ร
เมอ่ื วันที่ ๑๖ กนั ยายน พ.ศ. ๒๔๖๘ ตรงกับวันพธุ แรม ๑๔ ค่�ำ เดอื น ๑๐ ปีฉลู ที่บา้ นบึงโน ต�ำบล
โคกสี อ�ำเภอสว่างแดนดนิ จังหวัดสกลนคร

โยมบดิ ามารดาชอ่ื นายมี – นางและ ธรรมจติ ร ครอบครัวประกอบอาชพี ชาวนา

ในชว่ งวยั เยาวไ์ ดเ้ รียนหนงั สือใกล้บา้ นทโ่ี รงเรียนวัดศรีชมพู จนจบชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๔

ในช่วงวยั หนมุ่ ได้อยู่ช่วยครอบครวั ทำ� นาซ่งึ เป็นอาชีพหลกั ของครอบครวั จนอายไุ ด้ ๒๐ ปี
นายออ่ นศรีไดเ้ ข้าบรรพชาอปุ สมบท เม่ือวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๘ ณ วดั ศรสี วา่ ง โดยมี
พระอาจารยฮ์ วด สุมโน เป็นพระอปุ ัชฌาย์ พระพฒุ ยโส เปน็ พระกรรมวาจาจารย์ และพระมหา
สริ ิ สริ ปิ ญุ โฺ  เป็นพระอนสุ าวนาจารย์

221

ตอ่ มาในปี พ.ศ. ๒๔๙๐ ทา่ นไดญ้ ัตติเปน็ พระสายธรรมยุต โดยมีท่านเจา้ คณุ พระธรรม–
เจดยี ์ (จูม พนธฺ โุ ล) เปน็ พระอุปชั ฌาย์ พระครูอดลุ ยส์ ังฆกิจ (พระมหาเถอื่ น อุชุกโร) เจา้ คณะ
อำ� เภอวานรนิวาส เปน็ พระกรรมวาจาจารย์ และพระครมู ุกดาหารสาธกุ ิจ (พระมหาผา) เจ้าคณะ
อำ� เภอมกุ ดาหาร เปน็ พระอนุสาวนาจารย์

หลังอุปสมบท พระภิกษุอ่อนศรี ไดอ้ ยูจ่ �ำพรรษาที่วดั ธรรมกิ าราม ตำ� บลโคกสี อำ� เภอ
สว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร ศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัยอันเป็นพ้ืนฐาน สามารถสอบได้
นักธรรมชน้ั โท จากนั้นหลวงปไู่ ด้ย้ายไปจ�ำพรรษาเพอื่ ฝกึ ฝนด้านวิปสั สนากรรมฐานไปทัว่ ประเทศ
ทัง้ ภาคเหนือ ใต้ ตะวนั ออก ตะวนั ตก กับพอ่ แมค่ รอู าจารย์ เช่น หลวงป่บู วั พา ปญฺ าภาโส
หลวงปู่แหวน สจุ ณิ โฺ ณ หลวงปพู่ รหม จิรปญุ โฺ  หลวงปู่สมิ พุทธฺ าจาโร หลวงปู่คำ� ดี ปภาโส
หลวงปู่หลอด ปโมทโิ ต หลวงปู่หลวง กตปญุ ฺโ หลวงปู่ลี ติ ธมโฺ ม จนกระทั่งปี พ.ศ. ๒๕๓๓
ท่านไดม้ าอยจู่ �ำพรรษาทีว่ ดั ถ้ำ� ประทนุ อำ� เภอบางละมงุ จังหวดั ชลบุรี

นับแตเ่ ข้าสรู่ ่มกาสาวพัสตร์ หลวงปอู่ ่อนศรีไดม้ อบกายถวายชวี ติ ในการปฏิบตั ิธรรมเพ่ือ
ความหลดุ พ้น และไดน้ �ำธรรมะมาเทศนาอบรมส่ังสอนพระภกิ ษุ สามเณร แม่ชี และคณะศรทั ธา
ญาตโิ ยมท้งั หลายตามสมควรแก่โอกาส ในการเทศนาส่งั สอนนี้หลวงปูม่ ักจะกล่าวถอ่ มตนอยเู่ สมอ
ทา่ นเทศน์ไมเ่ กง่ ไมม่ ปี ฏิภาณในดา้ นนี้ แต่ผ้ใู ดมโี อกาสไดป้ รนนบิ ัตริ ับใช้ใกลช้ ดิ หรือได้มากราบ
หลวงปแู่ มแ้ ตเ่ พียงครงั้ เดยี ว กจ็ ะรูส้ ึกซาบซ้งึ ว่า หลวงปู่มคี วามน่าเคารพศรัทธาและเลอื่ มใสมาก
เพยี งใด แมไ้ ม่ตอ้ งสอนด้วยคำ� พดู แต่สอนดว้ ยการทำ� ให้ดู อยใู่ หเ้ หน็ ผ้รู ู้จกั สังเกตเรียนรู้ยอ่ มได้
ปัญญาจากหลวงป่ไู มน่ ้อย

หลวงปู่ออ่ นศรีเปน็ พระเถระผ้ใู หญ่ท่มี ปี ฏปิ ทานา่ เคารพเล่ือมใส เคร่งครดั ในพระธรรมวินยั
ตามแนวทางของบรู พาจารย์ พูดนอ้ ย สนั โดษ มีระเบียบแบบแผน มีจิตใจโอบออ้ มอารตี อ่ ลูกศิษย์
ไม่เลือกช้นั วรรณะ นับเปน็ เวลายาวนานท่ที ่านได้มอบกายถวายชีวิตปฏบิ ัติธรรมเพื่อความหลดุ พน้
และได้เป็นผูน้ ำ� อบรมสัง่ สอนลกู ศษิ ย์อยูเ่ สมอมา

ในปี พ.ศ. ๒๕๕๐ หลวงปูอ่ ่อนศรี มีดำ� ริคดิ จะสร้างพระเจดีย์บรรจพุ ระบรมสารรี ิกธาตทุ ่ี
วัดถ�ำ้ ประทนุ ซงึ่ ไดร้ บั พระราชทานจากสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสงั ฆราช สกลมหา–
สงั ฆปริณายก (เจริญ สวุ ฑฒฺ โน)

ในระยะหลัง สขุ ภาพของหลวงป่อู อ่ นศรีทรุดลงไปเน่อื งจากความชรา และยังต้องผจญกบั
โรคประจ�ำตวั มากขน้ึ ท่านได้ป่วยหนักและได้เข้ารบั การรักษาท่โี รงพยาบาล เม่ือตน้ เดือนมิถุนายน
พ.ศ. ๒๕๕๑ และได้ละสังขารลงอย่างสงบ ด้วยโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว เมื่อเช้าวันเสาร์ท่ี ๗

222

มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๕๑ รวมสิรอิ ายุ ๘๒ ปี ๘ เดอื น ๒๒ วนั พรรษา ๖๒ พระราชทานเพลิงศพ
เมือ่ วนั เสารท์ ่ี ๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๒ เวลา ๑๖.๐๐ น. ณ เมรชุ ว่ั คราว วัดถ�ำ้ ประทุน

ท่านเน้นสอนภาวนาพุทโธ

การภาวนาด้วยบท “พุทโธ” มีความหมายและส�ำคัญมาก องค์หลวงตาพระมหาบัว
าณสมปฺ นโฺ น ไดเ้ มตตาเทศนไ์ วด้ ังน้ี

“ระลึกถงึ พระพทุ ธเจ้า ใหร้ ะลกึ ถึงพทุ โธ จะกระเทือนถงึ พระพทุ ธเจา้ ทุกๆ พระองค์
นน่ั แหละ เพราะพุทโธคำ� เดยี วน้กี ระเทือนถึงพระพทุ ธเจ้าหมดทุกๆ พระองค์เลย”

หลวงปมู่ ั่น ภรู ิทตโฺ ต ท่านภาวนาดว้ ยบทพุทโธประจำ� ใจนับแตว่ นั ออกปฏบิ ตั ิ และทา่ นก็
สอนพระศิษย์ให้ภาวนาพุทโธ ตามประวัตขิ องท่านพ่อลี ธมมฺ ธโร ไดบ้ ันทกึ ไว้ดังน้ี

“ครัง้ แรกทที่ า่ นพอ่ ลี ธมมฺ ธโร ได้เขา้ ไปฝากตัวเป็นศษิ ยข์ องทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ภรู ทิ ตฺโต
ในปี พ.ศ. ๒๔๖๙ ท่านพระอาจารยม์ นั่ ได้สอนบทภาวนาส้นั ๆ วา่ “พทุ โธ” คำ� เดยี ว และสั่งให้ไป
อยู่ป่ากับท่านพระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม และ ท่านพระอาจารย์มหาปิ่น ปญฺาพโล ที่
เสนาสนะปา่ บ้านท่าวังหนิ อ�ำเภอเมอื ง จงั หวดั อบุ ลราชธาน”ี

หลวงปู่พรหม จิรปุญโฺ  ท่านภาวนาด้วยบทพุทโธ และท่านก็สอนศษิ ย์ให้ภาวนาพุทโธ
ตามแนวทางของหลวงปู่มั่น โดยปี พ.ศ. ๒๔๙๑ หลวงปู่สภุ าพ ธมมฺ ปญโฺ  (ท่านเป็นสหธรรมกิ
ทีเ่ คยออกธดุ งคก์ ับทา่ นพระอาจารยจ์ วน กลุ เชฏโฺ  ทา่ นพระอาจารยส์ ิงหท์ อง ธมฺมวโร) ได้กราบ
ถวายตวั เปน็ ศิษย์ของหลวงปพู่ รหม จากประวัติหลวงปสู่ ภุ าพ ธมฺมปญฺโ ไดบ้ ันทึกไว้ดังน้ี

“เม่อื พบกนั หลวงปพู่ รหม กถ็ ามข้นึ กอ่ นว่า “เอาจรงิ หรือ ?” หลวงปู่สภุ าพจงึ ตอบไปว่า
“กระผมตงั้ ใจจะมาขอรบั การปฏิบตั ิจากท่านอาจารย์ ขอเมตตาส่ังสอนผู้นอ้ ยด้วยเถิดครับ” ได้ฟัง
คำ� ยืนยันดงั นั้น หลวงปู่พรหมจงึ เมตตาให้อบุ ายธรรมในการปฏิบัติ ท่านวา่ “ทำ� ภาวนานน้ั พทุ โธ
เรื่อยๆ ไป ท�ำความเพียรมากๆ ท�ำติดต่อกันไป หน่ึงปีไม่ได้อะไร ก็สองปีสามปี ต้องดี
สักวันหน่ึง สิ่งอื่นไม่ต้องระวังจนเกินไป จงท�ำภาวนาพุทโธอย่างเดียว สิ่งท่ีไม่รู้ก็จะรู้ สิ่งที่
ไม่เขา้ ใจก็จะเขา้ ใจ สิง่ ทไ่ี มเ่ คยเห็นก็จะเห็น ไม่ตอ้ งถามใคร มันรู้ มนั กจ็ ะหายสงสยั เอง ขอให้
ใจสงบอยา่ งเดียวเทา่ นน้ั มันจะไมม่ ีคำ� ถาม นอกจากคำ� ตอบอยา่ งเดียว”

พุทโธมคี วามสำ� คญั มาก ครบู าอาจารยเ์ ทศน์เร่ืองน้ไี วด้ ังนี้
“พุทโธไว้ พุทโธน่ีพุทธานุสติ มีองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอยู่กับเรา หลวงปู่ม่ัน
หลวงตาทา่ นเน้นประจ�ำ “อย่าท้งิ ผ้รู ู้ อย่าทิง้ พทุ โธ” เหน็ ไหม เวลาหลวงปูม่ ัน่ ท่านเสยี หลวงตา

223

ไปนัง่ อยปู่ ลายเทา้ จิตดวงนม้ี นั ดอ้ื นกั มนั ไมเ่ คยฟงั ใคร คนที่มนั ฟงั กน็ ิพพานไปแล้ว เสยี อกเสยี ใจ
นัง่ รอ้ งไหค้ รำ�่ ครวญหลายชวั่ โมง สดุ ทา้ ยเวลามนั คิดได้ นใ่ี นเม่อื บดั น้คี นสอนเรากไ็ มม่ ีแลว้ แต่
คำ� สอนเป็นหลักของท่าน ทา่ นสอนบอก

“ถา้ มีสง่ิ ใดท่มี นั เปน็ ความสงสยั ใหเ้ ขา้ สู่ภายใน อยา่ ส่งออก ถา้ มสี ่งิ ใดท่ีปฏบิ ตั แิ ล้วมนั สงสัย
มนั อันตราย อยา่ ตามไป อย่าส่งออก ใหเ้ ข้าข้างใน ใหอ้ ยู่กับผ้รู ู้ ใหอ้ ยกู่ บั พทุ โธ”

ท่านเน้นอย่างนี้ แล้วกก็ ราบ กราบศพหลวงปมู่ ่นั เอานี้เป็นเปา้ หมาย เป็นคติ เปน็ ตัวอยา่ ง
แลว้ ปฏบิ ตั ติ ่อไป นกี่ เ็ หมอื นกัน เพราะค�ำน้อี ันตรายมาก แลว้ ต่อมาไม่ตอ้ งใชอ้ ะไรเลย น่ีไม่ตอ้ ง
ใชอ้ ะไรเลย ไม่ต้องใช้อะไรเลย กรรมการไม่มแี ล้ว ถ้ากรรมการไม่มี ไมม่ ใี ครควบคุมนะ ปฏิบตั ไิ ป
มนั ไปตามจินตนาการเลย อยกู่ ับผรู้ ู้ อยกู่ บั พทุ โธ แล้วสิ่งใดถา้ เกิดข้นึ เอาผูร้ ูถ้ อดเสย้ี นถอดหนาม
แลว้ ใช้ปญั ญาของเราไป

อันน้สี ำ� คัญมาก ส�ำคญั ที่ว่าทำ� ไมตอ้ งพทุ โธ ทำ� ไมต้องพุทโธ พทุ โธ คือ พทุ ธานสุ ติ พทุ โธ คือ
องค์สมเด็จพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้า พทุ ธะ ผู้รู้ ผูต้ ่ืน ผเู้ บกิ บาน ถ้ามนั จะเฉไฉไปไหน กใ็ หม้ ันอย่กู ับ
ผรู้ ู้ ผูต้ ืน่ ผ้เู บิกบาน ใหม้ นั อยกู่ ับพทุ โธของเรา ถ้าไม่เกิดปญั ญาก็ยงั ไม่เสียหาย เรายงั ไดอ้ ยู่กับ
พระพทุ ธเจ้าอยู่ แต่ถ้ามนั เกิดปัญญาโดยกิเลส กิเลสมันพาแฉลบออกไปหมดเลย ย่งุ ตายเลย แลว้
ยุ่งตาย ใครได้ประโยชน์ ใครได้โทษ ก็ใจเราเอง ใจคนทปี่ ฏิบัติเอง ใจของเราน่แี หละมนั ร้าย มนั รู้
ธรรมะ มนั รหู้ มด มนั รขู้ องพระพุทธเจ้าหมด แลว้ มันสร้างภาพหมด แล้วมนั ไปเลย”

ประวัติย่อ หลวงปู่สุภาพ ธมฺมปญฺโ

หลวงปสู่ ุภาพ ธมฺมปญโฺ  วัดทุ่งสวา่ ง ตำ� บลโคกสี อำ� เภอสว่างแดนดนิ จังหวัดสกลนคร
มีนามเดิมว่า สุภาพ จรรยา เกิดเมือ่ วนั ที่ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๖๕ ทบ่ี ้านโคกคอน ต�ำบลโคกสี
อ�ำเภอสว่างแดนดนิ จงั หวดั สกลนคร เป็นบุตรชายคนโตของครอบครวั ชาวนา

ชีวิตวัยเยาวข์ อง ด.ช.สุภาพ ตอ้ งชว่ ยครอบครัวทำ� นาหาเล้ยี งชพี มาตั้งแตเ่ ลก็ ดว้ ยนสิ ัยท่ี
ชอบเรอ่ื งบุญเร่อื งกุศล จึงได้ขอบดิ ามารดาบรรพชาเปน็ สามเณรเม่ืออายุครบ ๑๗ ปี โดยได้เขา้
บรรพชาทวี่ ัดธาตมุ ีชยั ต�ำบลโคกสี อ�ำเภอสวา่ งแดนดนิ จังหวดั สกลนคร อนั เปน็ วัดประจำ� หมบู่ า้ น
บวชอยไู่ ด้ ๒ ปี จงึ สกึ ออกมาชว่ ยครอบครวั แตใ่ จกย็ งั คงคดิ ถงึ การบวชเปน็ พระอยเู่ สมอ และคดิ ไวว้ า่
หากท�ำงานหาเงินให้ครอบครัวพอหมุนเวยี นไดเ้ มอ่ื ไหร่ กจ็ ะไปบวชเปน็ พระอกี คร้งั หลงั กม้ หน้า
ทำ� งานอยา่ งหนกั เพอ่ื หาเลยี้ งครอบครวั อยูห่ ลายปี จนบดิ ามารดาและนอ้ งๆ ไมไ่ ด้รบั ความล�ำบาก
อีกแล้ว หลวงปู่สุภาพจึงสละทางโลกหันหน้าเขา้ สู่ทางธรรม โดยอปุ สมบทเปน็ พระภิกษใุ นฝา่ ย
มหานกิ าย ท่วี ัดธาตมุ ชี ัย ซ่ึงเปน็ วดั เดยี วกับทีท่ า่ นเคยบวชเณรน่นั เอง

224

คร้นั บวชแลว้ แตก่ ย็ ังไม่มีโอกาสไดศ้ ึกษาการปฏิบตั ภิ าวนาเสยี ที ทา่ นจงึ เร่มิ มองหาครบู า-
อาจารย์ท่ีปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ เพื่อท่ีจะไปขอโอกาสอยู่ฝึกปฏิบัติด้วย ๕ ปี ต่อมาหลวงปู่สุภาพ
จึงญัตติใหม่ในฝ่ายธรรมยุตเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๑ ที่วัดประสิทธิธรรม บ้านดงเย็น อ�ำเภอบ้านดุง
จงั หวดั อุดรธานี ญตั ตเิ รยี บรอ้ ยแลว้ ท่านก็มาจำ� พรรษาท่ีวดั ทงุ่ สว่าง อ�ำเภอสว่างแดนดนิ จงั หวดั
สกลนคร จากนน้ั จึงม่งุ ไปพบและได้อย่ปู ฏิบัติธรรมกับหลวงปู่พรหม จิรปญุ ฺโ

ล่วงเข้าพรรษาท่ี ๒ หลวงปู่สุภาพจงึ มีโอกาสไปกราบถวายตวั เปน็ ศิษย์ท่านพระอาจารย์
มั่น ภูริทตฺโต หลวงปูส่ ภุ าพเมตตาเลา่ เรื่องราวในชว่ งนีไ้ วว้ า่ “เราคิดว่ายังอ่อนแออยู่ ไมอ่ ยากให้
ครูบาอาจารย์ท่านต้องพะวงกับเรา เวลานั้นกิตติศัพท์ของท่านหอมฟุ้งไปหมด จิตใจฝักใฝ่อยาก
ไปพบ อยากไปกราบท่าน แต่ยังไม่ตัดสินใจจะเขา้ ไปบา้ นหนองผือ เพราะคดิ ว่ายงั ภาวนาไม่เป็น
ก็ไม่อยากเป็นภาระกับครูบาอาจารย์ จนก่อนเข้าพรรษาจึงตัดสินใจไปกราบท่าน แรกๆ คิดว่า
เข้าพบทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ยากและทา่ นคงดุ แต่เมือ่ พบจรงิ ๆ หลวงปู่เสยี ดายเวลากบั ความลังเลใจ
มานานแสนนาน เพราะคิดวา่ เรายงั ไม่พรอ้ ม เวลาน้ันท่านชรามาก อาการอาพาธของท่านมบี ้างแลว้
แตจ่ ติ ใจของท่านกล้าหาญไม่เคยเสียทีแก่กิเลส ไม่ว่นุ วายเหมือนคนแกใ่ จฝ่อทง้ั หลาย

ท่านพระอาจารย์มั่นเมตตาแนะน�ำธรรมะ ท�ำให้เกิดก�ำลังใจมาก ท่านได้พบหมู่คณะ
พระปา่ ด้วยกันอย่างเตม็ ที่ ได้กราบครูบาอาจารยจ์ �ำนวนมากทีม่ าชุมนมุ กัน หลวงปสู่ ุภาพอยู่กับ
ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ จนกระท่ังออกพรรษา ทา่ นก็ละสังขารไป หลวงปูส่ ุภาพจึงกลับมาจำ� พรรษาที่
วัดทุ่งสว่าง กระท่ังพรรษาที่ ๓ จึงตัดสินใจออกเดินธุดงค์เข้าป่าเพื่อฝึกปฏิบัติภาวนา โดยเดิน
ธุดงค์ไปในหลายจังหวดั ทางภาคอีสาน ภาคเหนอื รวมทงั้ เคยไปจ�ำพรรษาที่เขาพระวิหาร ประเทศ
กมั พูชา ระหว่างการเดินธดุ งค์นน้ั ท่านรว่ มปฏิบตั ิธรรมกับพอ่ แมค่ รอู าจารยส์ ายพระอาจารย์ม่นั
หลายองค์ อาทิ หลวงป่ขู าว อนาลโย ทา่ นพ่อลี ธมมฺ ธโร หลวงปู่แหวน สุจิณโฺ ณ หลวงปูพ่ รหม
จิรปุญโฺ  พระอาจารย์จวน กลุ เชฏโฺ  ฯลฯ

ระหว่างธุดงค์หลายคร้ังหลายคราท่ีสังขารถูกรุมเร้าด้วยเวทนาอย่างหนัก จนเกือบจะเอา
ชีวิตไมร่ อด แตห่ ลวงปสู่ ภุ าพกย็ ึดเอาธรรมเปน็ ท่ตี ั้งจนผ่านมาได้ทกุ ครั้ง ทา่ นเมตตาเล่าความตอน
น้ีเอาไว้ว่า เม่ือคราวท่ีธุดงค์ไปจ�ำพรรษาท่ีเขาพระวิหารน้ัน ได้อาพาธเป็นโรคมาลาเรียอย่างหนัก
เมื่อยาท่จี ะรักษาก็ไมม่ ี หลวงปสู่ ภุ าพจงึ ใชธ้ รรมโอสถ เอาชนะโรคภัยที่รมุ เร้า ในทสี่ ุดธรรมโอสถก็
สามารถระงับดบั โรครา้ ยนี้ได้จริงๆ

หลวงปสู่ ุภาพเป็นศษิ ย์สายท่านพระอาจารยม์ ่ัน ภรู ิทตฺโต และเปน็ หนึ่งในยอดคนเร้นกาย
ดว้ ยอุปนิสยั ที่ชอบเกบ็ ตวั เงยี บ พูดน้อย มกั นอ้ ยสันโดษ และปฏเิ สธทจ่ี ะรับตำ� แหนง่ สมณศักดติ์ า่ งๆ
จึงมิค่อยมีประวัติบันทึกเอาไว้มากนัก เมื่อมีผู้กราบเรียนถามเร่ืองนี้กับท่าน จึงได้รับค�ำตอบว่า

225

“หลวงปชู่ อบสงบ ไม่ประสงคอ์ น่ื เสยี เวลามามากแล้ว เวลานีอ้ ายกุ ม็ าก จะมัวรีรออย่างอืน่
ไมไ่ ด้หรอก”

หลวงปูส่ ุภาพ ท่านดำ� รงขันธเ์ ปน็ รม่ โพธริ์ ม่ ไทรให้แกศ่ ิษยานุศษิ ยม์ าจนกระทั่งชว่ งปี พ.ศ.
๒๕๓๓ ในคืนวันหนึ่งท่านได้มอบหมายงานต่างๆ ให้รองเจ้าอาวาสเป็นท่ีเรียบร้อย แล้วท่านก็
เข้ากุฏิจ�ำวัดในท่าน่ัง รุ่งเช้าศิษย์ท่ีคอยอุปัฏฐากจึงพบว่าท่านละสังขารไปในท่าน่ังในคืนท่ีผ่านมา
นนั่ เอง

ท่านช่วยสร้างวัดศิริราษฎร์วัฒนา

กติ ตศิ ัพท์ช่ือเสียงของหลวงปู่พรหม จริ ปุญฺโ ในการเป็นผนู้ ำ� ชาวบ้านในการบรู ณะและ
สรา้ งวดั เปน็ ทเ่ี ลอ่ื งลอื ในสมัยนั้น หากหลวงปู่ทา่ นจะทำ� อะไรแล้วต้องส�ำเรจ็ จงึ มีผมู้ ากราบนมิ นต์
ขอให้หลวงปู่เมตตาไปช่วยสร้างวัด

วดั ศริ ิราษฎรว์ ฒั นา อ�ำเภอเจรญิ ศิลป์ จังหวดั สกลนคร เปน็ อกี วดั หนงึ่ ที่ หลวงปู่พรหม
จริ ปุญโฺ  ทา่ นไปช่วยสรา้ ง กล่าวคือ ประมาณปลายปี พ.ศ. ๒๔๙๑ หลวงปู่มี อภชิ าโต สมยั นั้น
ทา่ นเป็นฆราวาส ท่านเคยเป็นภารโรงท่โี รงเรียนเจรญิ ศลิ ป์ ท่านเดนิ ทางมากับคนเฒา่ คนแกบ่ า้ น
เจรญิ ศิลป์ เพอ่ื มากราบอาราธนานมิ นตห์ ลวงปพู่ รหมทีว่ ดั ผดงุ ธรรม จะนิมนต์หลวงปู่ไปช่วยสร้าง
วัดให้ แต่หลวงปู่ทา่ นไม่ไดไ้ ปสร้างเอง ท่านไปบรู ณะและพัฒนาวดั ร้างทบี่ ้านถ่อน (วดั ศรโี พนสูง)
สำ� หรับการสร้างวดั ศริ ริ าษฎรว์ ฒั นา หลวงปูพ่ รหมมอบหมายใหท้ ่านอาจารย์ชาย ซงึ่ เปน็ พระศิษย์
ไปแทน

หลวงปูม่ ี ทา่ นเล่าใหฟ้ งั วา่ หลวงปู่พรหมทา่ นเคยไปพ�ำนกั ท่ีวัดศริ ริ าษฎร์วฒั นา ญาติโยม
ทน่ี ัน่ กเ็ ลา่ ว่า หลวงปพู่ รหมทา่ นเคยเมตตาไปพัก เพอ่ื โปรดพระ เณร ญาติโยมทีว่ ดั แหง่ น้ปี ระมาณ
ครึ่งเดือน ซึง่ ทา่ นเจา้ อาวาสวดั ศิรริ าษฎรว์ ัฒนา ทา่ นทราบเร่ืองนี้ เพราะวา่ สมัยนน้ั ทางวัดได้สร้าง
กฏุ ถิ วายหลวงปพู่ รหม โดยการออกแบบกุฏิให้มีทางเดนิ จงกรมอยขู่ ้างบน คลา้ ยๆ กับกฏุ ิหลวงปทู่ ี่
วัดประสทิ ธิธรรม

ในกาลต่อมาพระครศู รภี ูมานุรกั ษ์ หรอื หลวงปูค่ ำ� มี สุวณฺณสริ ิ พระศิษยอ์ ีกองคห์ นึ่งของ
หลวงปพู่ รหมทา่ นไดม้ าจ�ำพรรษาทีว่ ัดศริ ิราษฎรว์ ฒั นา ทา่ นไดข้ ยายทวี่ ดั จนกว้างขวาง และทา่ นได้
พัฒนาสิ่งกอ่ สรา้ งต่างๆ ภายในวดั จนเจริญรงุ่ เรือง หลวงป่คู ำ� มีท่านจงึ ไดร้ ับการเคารพยกย่องเปน็
บรู พาจารย์องคแ์ รกของวดั แห่งน้ี

226

ประวัติย่อ พระครูศรีภูมานุรักษ์ (หลวงปู่ค�ำมี สุวณฺณสิริ)

หลวงป่คู ำ� มี สวุ ณณฺ สิริ วัดปา่ สามัคคีธรรม บา้ นนาเหมือง ต�ำบลพงั โคน อ�ำเภอพังโคน
จังหวัดสกลนคร ทา่ นเปน็ พระธดุ งคกรรมฐานสายทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ภูรทิ ตฺโต อีกรปู หนึ่งทม่ี ี
วัตรปฏิบตั ิดี ปฏบิ ตั ิชอบ มเี มตตาธรรมสงู ในวัยหนมุ่ ท่านทำ� งานด้านคันถธุระอยา่ งหนกั ตอ่ มาเมอ่ื
ท่านได้เขา้ กราบฟงั เทศน์หลวงปฝู่ นั้ อาจาโร และหลวงปู่พรหม จริ ปุญฺโ ฯลฯ ทา่ นได้หนั มา
เจรญิ ดา้ นวิปัสสนากมั มัฏฐาน โดยออกเที่ยวธุดงค์ตามปา่ ตามเขาอย่างจริงจงั

หลวงปคู่ ำ� มี เกิดในสกุล สวุ รรณศรี เม่อื วันที่ ๓๑ มนี าคม ๒๔๖๓ ณ บา้ นบก หมู่ท่ี ๓
ตำ� บลหนองไขน่ ก อำ� เภอม่วงสามสบิ จงั หวัดอุบลราชธานี โยมบิดามารดาชือ่ นายนาเคน และนาง
ดี สุวรรณศรี ชีวติ ในวัยเด็กช่วยครอบครวั เลี้ยงววั เลย้ี งควาย ช่วยทำ� นา การศกึ ษาจบชน้ั ป.๔

บรรพชา เป็นสามเณรครั้งแรก เมอ่ื วนั ท่ี ๒๙ มีนาคม ๒๔๗๘ ณ อโุ บสถวดั ศรีบญุ เรือง ต�ำบล
หนองไขน่ ก อ�ำเภอมว่ งสามสบิ จงั หวัดอบุ ลราชธานี ครง้ั ทสี่ อง เม่ือวนั ที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๔๘๑
ณ วดั สุปฏั นาราม อำ� เภอเมือง จังหวดั อุบลราชธานี

อปุ สมบท เปน็ พระภกิ ษฝุ ่ายมหานกิ าย ณ อโุ บสถวดั บ้านก่อ ตำ� บลหนองไข่นก อ�ำเภอ
ม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี กระทั่งได้ญัตติเป็นพระฝ่ายธรรมยุต ณ วัดศรีเมือง จังหวัด
หนองคาย เมื่อวันท่ี ๓ มกราคม ๒๔๘๓ โดยมีพระธรรมไตรโลกาจารย์ เป็นพระอุปัชฌาย์
พระใบฎีกานาค เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระมหาอินทร์ เปน็ พระอนุสาวนาจารย์

หลวงปคู่ ำ� มี ท่านเป็นพระนักปฏิบตั ิทซี่ ่อื ตรง ตอนหนงึ่ ในบนั ทกึ ชีวประวัติ ท่านบันทึกไว้วา่

“การปฏบิ ตั ทิ างวปิ สั สนาในตอนบ้ันปลายชวี ิต นบั จากปี พ.ศ. ๒๕๑๘ เป็นต้นมา ได้ย้าย
ออกจากวัดไปพักผ่อนบ�ำเพ็ญตบะธรรมภายใน ให้ควบคู่กับฝ่ายคันถธุระท่ีท�ำหนักมาแล้วตั้งแต่ปี
พ.ศ. ๒๔๙๗ เป็นตน้ มาโดยล�ำดบั นับว่าเอาชีวติ จติ ใจมงุ่ มัน่ ไปในดา้ นวตั ถแุ ละทางปรยิ ัติการศกึ ษา
ของกลุ บตุ รผูท้ ่จี ะสืบอายขุ องพระพทุ ธศาสนาตอ่ ไป

ในด้านวัตถุ คอื ตอ้ งการใหเ้ ปน็ หลักฐานมนั่ คงของเสนาสนะ เช่น กุฏิ ศาลาการเปรียญ
อโุ บสถ พระพุทธรูปและเจดีย์ จนเวลาล่วงเลยไปถงึ ๒๑ – ๒๒ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๑๘ อายุได้ ๔๕ ปี
พรรษา ๓๔ จงึ รู้สึกตวั ว่าสภาพสงั ขารรา่ งกายย่างเข้าสู่วยั ชราแล้วจึงถอนตัวออกจากหล่ม คอื ความ
คลุกคลีด้วยการงานและหมู่คณะทางฝ่ายการปกครองไปบ้าง แต่มิได้วางเสียจริงๆ ได้หาลูกศิษย์
ลูกหาชว่ ยงานแทนมือไปเปน็ คร้งั คราว ก็เรียกว่าผ่อนเบาไปบา้ ง พอไดอ้ บรมตวั เอง ในความคลกุ คลี
การงานทั้งหมคู่ ณะด้านคนั ถธรุ ะจนเกนิ ไป ท่านพระอาจารย์ฝัน้ อาจาโร วดั ป่าอดุ มสมพร ทา่ น
เคยเทศนเ์ ตอื นใหฟ้ ังบ่อยๆ ความวา่ “มันจะตายทงิ้ เปลา่ ๆ นะพระครูศรี !”

227

ทา่ นพระอาจารยฝ์ นั้ ทา่ นบอกอย่างนี้ อัตตโนจึงนึกแปลความหมายอยู่ถงึ ๓ ปี จงึ ไปได้
ความกระจา่ งในคราวที่ไปวิเวกอยู่ทางจนั ทบรุ วี า่ การตายย่อมเปน็ ไปได้ ๓ นัย ๓ อย่าง คือ

ตายอย่างท่ี ๑ ตายจากเพศบรรพชิต

ตายอยา่ งท่ี ๒ ตายจากคุณธรรมที่ควรจะได้ แต่กไ็ มไ่ ด้ เพราะความประมาท

ตายอยา่ งที่ ๓ ตายหมดลมหายใจ

เม่ือนึกขน้ึ ไดเ้ ช่นน้ันกส็ ลดสงั เวชในความตายอยา่ งน้ยี ่อมมีทุกๆ คน ทัง้ หญิง ชาย นกั บวช
ฆราวาส ท้ังคนมีคนจน ไม่เลอื กชนชน้ั วรรณะ ดังพระบาลวี า่ “อชเฺ ชว กิจจฺ มาตปฺปํ โก ชญฺา”
แปลว่า ไม่มผี ้หู น่ึงผใู้ ดท่จี ะหนีพน้ ไปจากความตายนี้ได้”

หลวงปคู่ ำ� มี ท่านไดก้ ราบคารวะหลวงปพู่ รหม จริ ปุญฺโ เป็นประจำ� จนทา่ นไดร้ ับความ
เมตตาไว้วางใจจากหลวงปพู่ รหม ในการสรา้ งเหรียญหลวงปูพ่ รหมรุ่นแรก การบันทึกภาพถ่ายของ
หลวงปพู่ รหม จนเปน็ ภาพประวตั ศิ าสตรท์ ช่ี าวพทุ ธไดก้ ราบไหวบ้ ชู ามาจนกระท่งั ทกุ วันนี้ และเมื่อ
หลวงปู่พรหมมรณภาพ ทา่ นได้มาช่วยงานอย่างเตม็ กำ� ลังความสามารถ โดยเฉพาะทา่ นได้ออกแบบ
เมรุประชุมเพลงิ ศพหลวงป่พู รหม

หลวงปู่คำ� มี ไดถ้ ึงแกม่ รณภาพ เมือ่ วันท่ี ๒๑ มิถนุ ายน ๒๕๓๐ สิริอายุ ๖๖ ปี ๔๖ พรรษา
ณ โรงพยาบาลประจ�ำจังหวัดอุดรธานี นายแพทยแ์ จ้งวา่ สมองของท่านไม่ทำ� งานอีกต่อไป สาเหตุ
เกิดจากท่านได้ตรากตร�ำท�ำงานฝ่ายคันถธุระเผยแผพ่ ระศาสนาอย่างหนกั จนเกินก�ำลงั ของสังขาร
ร่างกายสดุ ทจี่ ะทนไดไ้ หว สมจริงดังพระบาลีว่า สพเฺ พ เภทปรยิ นฺตํ เอวํ มจฺจาน ชวี ติ ํ ชวี ติ ของ
หมสู่ ตั ว์เหมอื นภาชนะดิน ลว้ นมีความแตกสลายเปน็ ทส่ี ุด

228

ภาค ๑๔ บูรณะวัดร้างและพัฒนาวัดผดุงธรรม วัดประสิทธิธรรม

กราบเยี่ยมหลวงปู่ม่ันและพักวัดร้างพบพระพุทธรูปเศียรหัก

ประมาณต้นปี พ.ศ. ๒๔๙๒ ในช่วงหนา้ แลง้ หลวงปูพ่ รหม จิรปญุ ฺโ ท่านเดนิ ธดุ งคไ์ ป
กราบคารวะเย่ียมเยยี นหลวงป่มู ่ันทวี่ ัดป่าบา้ นหนองผอื เป็นปรกติ ซึง่ ปีน้ีเปน็ ปที ีห่ ลวงป่มู นั่ ทา่ นได้
พยากรณอ์ ายุของทา่ นไว้ว่าไมเ่ กิน ๘๐ ปี โดยองคห์ ลวงตาพระมหาบัว าณสมฺปนฺโน ได้เมตตา
เทศนเ์ ร่ืองนไ้ี วด้ ังนี้

“น่เี ร่ิมปว่ ยแลว้ นะ เริ่มป่วยเมื่อวานซืน วานซืนก็คือวันขนึ้ ๑๔ ค่�ำ ๑๕ คำ�่ ก็เมอ่ื วาน วันแรม
คำ่� หนงึ่ กว็ นั ท่ีเราไปถงึ นีเ่ ร่ิมปว่ ยแล้วนะ จากนั้นกข็ ึน้ ปว่ ยครง้ั นีเ้ ป็นครัง้ สุดทา้ ย เห็นไหมละ่ ฟังซนิ ่ะ
กล้าหาญไหมละ่ ป่วยนเ้ี ปน็ ครั้งสดุ ท้ายไม่มีหาย เอายาเทวดามาใส่ก็ไมห่ าย มีแตจ่ ะตายท่าเดยี ว
แตม่ ันไม่ตายง่ายนะ โรคนี้เปน็ โรคทรมาน เขาเรยี กว่า โรคคนแก่ โอ๊ย ! ไมล่ ืมนะ เขาเรียกว่า
โรคคนแก่ ต้องทรมานอยู่นานกว่าจะตาย คือคร้ังนี้เป็นคร้ังสุดท้าย การเจ็บไข้ได้ป่วยไม่มีหาย
ทา่ นบอก ต้องตายถ่ายเดยี ว เอายาเทวดามาใสก่ ็ไม่หาย มันกเ็ หมือนกบั เอานำ้� มารดต้นไมท้ มี่ นั ตาย
ยืนตน้ ให้มันผลดิ อกออกใบมนั จะเปน็ ไปไดย้ ังไง ความหมาย นีก่ ย็ ังไม่ลม้ เทา่ นั้นเอง ทา่ นวา่ เราก็
ไม่ลืม ตั้งแต่น้ีต่อไปโรคน้ีจะไม่มีหายจะถึงวาระสุดท้ายเลย แต่เป็นโรคทรมานไม่ตายง่ายแหละ
เขาเรียกวา่ โรคคนแก่ ๗ เดือนใช่ไหมล่ะ เรากน็ ับปบ๊ั จนกระทั่งถงึ วนั ท่านมรณภาพ ๗ เดอื น

อยา่ งน้ีแหละผดิ ไหมล่ะ ๘๐ ปี แต่ก่อนประกาศกป็ ระกาศไม่เลย ๘๐ นะ ชนี้ ้วิ เลยเทียวนะ
ใครจะเรง่ ใหเ้ ร่งนะ ไม่เลย ๘๐ เวลานก้ี ็ได้เท่าน้นั ปี แลว้ กน็ ับน้ิวให้เห็นด้วย พอถึง ๘๐ ปบั๊ นี่มนั
นานไหม นานอะไรละ่ ดูซิ มันจบั ไดท้ ุกกิทกุ กีนะเรา ท่านกเ็ ฉยนะท่นี ่ี เจบ็ ไข้ไดป้ ว่ ยเหมือนไมใ่ ช่
คนเจบ็ คนไข้นะ เฉยธรรมดาๆ ธรรมดาทา่ นเหมอื นไม่มโี รคมีภัย เป็นปรกติ แตใ่ ครกร็ ู้ว่าท่าน
ไม่สบาย เอายาน้ันมา เอายานีม้ าใหอ้ ะไร ทา่ นกเ็ ฉย ท่านไม่สนใจ ยาแยอะไร ท่านวา่ ยาแยอะไร
หายงุ่ นน่ั ฟังซทิ ่านบอก หามาย่งุ อยู่นีส่ บายแล้ว เรื่องธรรมถา้ ลงได้เข้าถึงใจแลว้ ไม่ตอ้ งหาอะไรมา
เปน็ พยาน จา้ ข้ึนเท่านนั้ พอแลว้ ...”

ในปีนห้ี ลวงปูพ่ รหม เมอื่ ท่านกลบั จากการเยี่ยมอาการอาพาธของหลวงปูม่ ัน่ ท่านได้เดิน
ธดุ งคว์ ิเวกมาแต่บ้านเปือยหนองทุม่ ตรงทางขนึ้ ถ้ำ� พวง เข้าอ�ำเภอสวา่ งแดนดนิ วิเวกมาเรอ่ื ยๆ
จนถึงวัดศรีโพนสูง ซงึ่ สมัยนน้ั เป็นวัดรา้ ง ข้นึ อยู่ในเขตบา้ นถอ่ น ตำ� บลโพนสงู อำ� เภอสวา่ งแดนดนิ
จังหวัดสกลนคร ท่านได้ปักกลดพักภาวนาที่วัดศรีโพนสูง ขณะที่หลวงปู่พรหมมาพัก ท่านได้พบ
ซากกอ้ นอิฐใหญๆ่ และพบพระพทุ ธรปู เกา่ แกเ่ ศยี รหกั ทา่ นตัง้ ใจจะบูรณะ ในเวลาตอ่ มาทา่ นก็ได้
บูรณะพระพุทธรูปองคน์ ้แี ละไดพ้ ัฒนาวัดร้างแหง่ น้ี จนเจริญรุ่งเรืองเปน็ วัดป่ากรรมฐานข้นึ มา


Click to View FlipBook Version