79
จากการท่ีวัดน้ีเคยเป็นท่ีปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐานของพ่อแม่ครูบาอาจารย์ เมื่อท่านละ
สงั ขาร พระลกู ศษิ ย์จึงอัญเชญิ อัฐธิ าตุ เกศาธาตแุ ละอ่นื ๆ มาประดษิ ฐานไวท้ ว่ี ัดเปน็ จำ� นวนมาก
ประกอบกับเมื่อเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๑ ทางวัดได้รับความเมตตาอย่างสูงย่ิงจากสมเด็จพระ–
ญาณสงั วร สมเดจ็ พระสังฆราชสกลมหาสังฆปรณิ ายก ทรงประทานพระบรมสารรี ิกธาตุ แหง่
องค์สมเด็จพระสมั มาสมั พุทธเจ้า เพอื่ ประดิษฐานเปน็ ที่สกั การบูชาของพทุ ธศาสนกิ ชนสืบไป ทาง
วัดได้ปรึกษาหารือกัน เห็นควรจัดสร้างสถานท่ีเพ่ือประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุและอัฐิธาตุ
พ่อแมค่ รบู าอาจารย์ โดยไดร้ บั การอนุญาตให้จัดสร้างจาก พระราชญาณวสิ ุทธโิ สภณ (หลวงปู่
ท่อน าณธโร) วัดศรอี ภยั วัน จงั หวดั เลย โดยใหช้ อ่ื ว่า “เจดีย์บรู พาจารย์”
๓ พรรษาแรก ท่านธุดงค์ไปทางจังหวัดอุบลราชธานี
ในชว่ ง ๓ พรรษาแรก คอื ช่วง พ.ศ. ๒๔๗๑ – ๒๔๗๓ หลวงป่พู รหม จริ ปุญโฺ ทา่ นได้
ติดตามท่านพระอาจารยส์ ารณ์ สจุ ติ โฺ ต ออกเดนิ เทีย่ วธดุ งค์ไปจงั หวัดอบุ ลราชธานี อนั เป็นบา้ น
เกิดของทา่ นพระอาจารยส์ ารณ์ ซงึ่ ถือเป็นอาจารยส์ อนกรรมฐานองค์แรกของทา่ น ระยะทางจาก
บ้านดงเยน็ จงั หวดั อดุ รธานี ไปจงั หวดั อบุ ลราชธานี ประมาณ ๓๐๐ กวา่ กโิ ลเมตร สมยั กอ่ นนั้น
ถอื วา่ ค่อนขา้ งไกลมาก ไมม่ สี งิ่ อำ� นวยความสะดวกเหมอื นอย่างทกุ วันนี้ รถยนตโ์ ดยสารกย็ ังไมม่ ี
และเสน้ ทางต้องผ่านเทือกเขาภพู าน จงั หวดั สกลนคร ท่านทงั้ สองต้องเดนิ ดว้ ยเท้าเปล่าบุกป่าฝ่าดง
ข้ึนเขาลงเขา ซึ่งสมัยก่อนภาคอีสานมีสภาพเป็นธรรมชาติของผืนป่าอันอุดมสมบูรณ์ด้วยต้นไม้
นอ้ ยใหญ่ สัตวป์ ่าก็ยังชุกชมุ บา้ นเรอื นผู้คนก็ยงั ไมม่ ากเทา่ ทกุ วันนี้
การเดนิ ธดุ งคท์ ่านทัง้ สองต้องแวะพักระหวา่ งทาง เม่ือใกลเ้ วลาค�่ำเจอสถานที่ไหนเหมาะสม
กก็ างกลดพักภาวนา เชา้ ขน้ึ มากย็ งั ชพี ดว้ ยปลีแข้ง ออกโคจรบณิ ฑบาตตามหมบู่ ้าน ฉันอาหารเพื่อ
ประทงั ชีวติ ฉันเสรจ็ แล้วก็พากนั เกบ็ อฐั บรขิ าร แบกกลด สะพายบาตร ย่าม เพอ่ื ออกเดนิ เทา้ ธุดงค์
ต่อไป ในท่ีสุดท่านท้งั สองกเ็ ดินทางถึงจังหวดั อบุ ลราชธานี ท่านจำ� พรรษาในทีต่ า่ งๆ ๓ พรรษาแล้ว
ไดก้ ราบลาท่านพระอาจารยส์ ารณก์ ลบั ภูมิลำ� เนาเดิม
อน่ึง ในการเดินธุดงค์ ท่านท้ังสองก็เดินจงกรมภาวนาไปด้วย โดยการบริกรรมพุทโธไป
ตลอดทาง อนั เป็นแนวปฏิปทาพระธุดงคกรรมฐานสายท่านพระอาจารยเ์ สาร์ ท่านพระอาจารย์
ม่นั ทีถ่ ือปฏบิ ัตถิ า่ ยทอดสืบต่อกันมา โดยองค์หลวงตาพระมหาบวั าณสมฺปนโฺ น ได้เมตตาเทศน์
เรือ่ งนโ้ี ดยเปรียบเทียบการเดนิ ธดุ งค์สมัยกอ่ นกับสมยั ปจั จุบัน ไว้ดงั นี้
“เดี๋ยวนี้มันเป็นกรรมฐานรถยนต์ไปแล้วล่ะ แต่ก่อนเรื่องรถไม่มี แล้วท่านก็ไม่สนใจด้วย
แม้จะสนใจกไ็ ม่มีรถ ไปกบ็ ุกปา่ ไปเลย ไมไ่ ดข้ ้นึ รถขึน้ รา เราไมเ่ คยคิดสนใจกบั รถ เพราะไม่เคยมี
80
อยแู่ ลว้ มันกม็ ามเี อาหลงั ๆ นลี่ ่ะ คอื ท่านเดนิ กรรมฐาน ครง้ั พุทธกาลกอ็ ย่างนนั้ แต่กอ่ นไมม่ ีรถมรี า
ตามต�ำราท่านบอกไว้ เดนิ บุกปา่ ฝา่ ดงไป เขา้ ปา่ เขา้ เขา สถานทีใ่ ดเป็นท่ีเหมาะสมกับการภาวนา
ท่านก็ต้ังกลดลงท่ีนั่น แล้วท่านก็ภาวนา ทุกวันน้ีมันสะดวกทุกอย่าง เป็นเรื่องของโลกท้ังหมด
ธรรมเลยเงยหัวไม่ข้ึน เพราะมนั มีแตร่ ถแตร่ า อะไรตอ่ อะไร ถนนหนทางก็เต็มไป
เราก็เคยได้พูด เวลาเรานั่งรถไปเห็นพระกรรมฐานท่านสะพายบาตร แบกกลดกับย่าม
อนั หน่งึ เดินไปข้างถนน เรากน็ งั่ รถไป ดู มันอดคดิ ไม่ไดน้ ะ เป็นทางท่ีเราเคยเดนิ แตก่ ่อนไมม่ รี ถ
เพราะทีเ่ ราเดินสองฟากทางใหร้ ถเขา้ ไปไม่มี ทางรถกไ็ ม่มี เข้าปา่ ไปเลย แตน่ ท่ี ่านมีรถ มันมรี ถแลว้
ท่านเดนิ ไปสองฟากทาง ท่านกเ็ ดนิ ของทา่ นไปอย่างน้ัน เราก็เคยดำ� เนนิ มาแล้ว คอื ทา่ นมาอย่างนี้
ความรสู้ กึ ของท่านภายในใจจะคิดอยา่ งไรบา้ งน้า มนั อดคดิ ไม่ไดน้ ะ แต่กอ่ นมันไม่มีรถ เดนิ ไปไหน
เป็นเดินจงกรมไปตลอด จากบ้านนไ้ี ปบ้านนัน้ จากเขาลูกนีไ้ ปเขาลกู นน้ั มแี ต่เดนิ จงกรมไปท้งั วนั
เลยไมไ่ ดส้ นใจกับอะไร ไปถึงทีก่ ็เป็นท�ำความเพียรไปตลอดอย่างน้นั
อยใู่ นป่าในเขาลำ� บากนะ เวลาพยายามหาอรรถหาธรรมลำ� บากล�ำบนมากอยู่ ผูห้ าธรรม
จรงิ ๆ เป็นอยา่ งนัน้ ล�ำบากมาก อยา่ ไปสนใจกบั เรอ่ื งอาหารการอย่กู ารกนิ สนใจกบั ธรรมเทา่ น้นั
จติ อย่กู ับธรรมตลอด เดนิ จากนไ้ี ปถึงน้ันเปน็ การเดนิ จงกรมไปเรอื่ ยๆ เดินจงกรมพิจารณาเรอ่ื ยเลย
ไม่ใหม้ ีคำ� ว่าเสียเวลาไปเรอื่ ยเลย นนั่ ล่ะทา่ นภาวนา เราจึงอดคดิ ไม่ได้ เวลาเรานง่ั รถไปเหน็ พระทา่ น
เดนิ ภาวนา เดินธุดงค์ นีท่ า่ นจะพิจารณาอยา่ งไรนา้ เราอดคิดไม่ได้”
แม้ท่านพระอาจารย์สารณ์ และ หลวงปู่พรหม จะประสบอุปสรรคต่างๆ นานัปการ ทั้ง
ล�ำบากจากการเดินทางไกล จากพิษไข้ป่า และจากสัตว์ร้ายก็ตาม ส�ำหรับหลวงปู่พรหมแม้ท่าน
เพิ่งจะบวชใหม่ท่านก็มีความอดทน มีความสมบุกสมบันเหมือนกับท่านพระอาจารย์สารณ์ ท่าน
ไม่ได้มีปัญหากังวลใจใดๆ ท่ีจะท�ำให้ท่านย่อท้ออ่อนแอแต่ประการใด เพราะท่านมีประสบการณ์
เดินทางไกลตั้งแต่สมัยที่ท่านยังเป็นฆราวาส สมัยเป็นนายฮ้อยค้าวัวค้าควายน่ันเอง และประการ
ส�ำคัญท่ีสุดท่านมีเป้าหมายอันสูงสุด คือ ท่านมีความปรารถนาตั้งใจให้ได้รับความสุขอันไพบูลย์
แทจ้ ริง คอื ความพน้ จากทกุ ขน์ ั่นเอง
ในสมัยหลวงปู่พรหมเท่ียวธุดงค์ จังหวัดอุบลราชธานีในอดีตเป็นเมืองใหญ่ เดิมเรียกว่า
เมอื งอบุ ล หรอื เมืองดอกบวั มีพื้นท่ีกวา้ งใหญ่ที่สดุ เป็นอันดบั ๑ ของประเทศไทย ตอ่ มาจึงไดแ้ ยก
ออกไปอีก ๒ จังหวัด คือ จังหวัดยโสธร และ จงั หวดั อ�ำนาจเจริญ ตามลำ� ดบั
จงั หวัดอบุ ลราชธานใี นอดีต มสี ภาพธรรมชาตเิ ป็นผนื ป่าดงพงไพรที่เขียวขจี อดุ มสมบูรณ์
ไปดว้ ยป่าไมท้ ้งั ตน้ ไม้น้อยใหญ่ และมีสตั วป์ ่าท้ังสัตวน์ อ้ ยใหญ่มากมาย ทัง้ มีแหล่งน�ำ้ ธรรมชาติ คอื
มแี ม่น�ำ้ สายส�ำคญั ไหลผ่าน เช่น แมน่ ้�ำมูล แมน่ ้�ำชี แม่น�ำ้ โขง และมลี �ำน�ำ้ ใหญ่ๆ อกี หลายสาย
81
ไดแ้ ก ่ ล�ำเซบก ล�ำโดมใหญ่ ล�ำโดมน้อย สภาพภูมิประเทศ มีภูเขาสลบั ซบั ซอ้ นหลายแหง่ ทางบริเวณ
ชายแดนตอนใต้ ทวิ เขาที่สำ� คญั คือ ทวิ เขาบรรทดั และทิวเขาพนมดงรัก ซึง่ กัน้ อาณาเขตระหว่าง
จังหวดั อุบลราชธานีกบั ประเทศลาวและประเทศกัมพชู า ถ้�ำ เง้ือมผา พลาญหนิ ธรรมชาติจึงเกดิ ข้ึน
มากมาย ดงั นนั้ สถานทส่ี งบสงัดเหมาะกบั การบ�ำเพ็ญภาวนาจงึ มหี ลายแหง่
และที่สำ� คญั คือ จังหวดั อุบลราชธานไี ด้รับการขนานนามวา่ เปน็ ดนิ แดนแห่งนกั ปราชญ์
เพราะเปน็ ถน่ิ กำ� เนดิ ของพอ่ แม่ครูอาจารย์องค์สำ� คญั ๆ เชน่ ท่านเจา้ คณุ พระอบุ าลีคุณปู มาจารย์
(จันทร์ สริ ิจนโฺ ท) หลวงป่เู สาร์ กนฺตสีโล ทา่ นเจ้าคณุ พระปัญญาพิศาลเถร (หนู ติ ปญโฺ )
หลวงป่มู ั่น ภูริทตโฺ ต หลวงปู่ขาว อนาลโย ทา่ นพอ่ ลี ธมฺมธโร ทา่ นพระอาจารย์ชา สุภทโฺ ท
ท่านพระอาจารยจ์ วน กุลเชฏฺโ ฯลฯ
จังหวัดอุบลราชธานีในอดีตเปรียบเสมือนแดนตักศิลา จึงมีครูบาอาจารย์จากภาคอีสาน
ต่างนิยมเดินทางมาศึกษาหาความรู้ทั้งภาคปริยัติและภาคปฏิบัติกันมากมาย เช่น หลวงปู่สิงห์
ขนฺตยาคโม หลวงปู่มหาปิน่ ปญฺาพโล หลวงปู่แหวน สจุ ณิ ฺโณ ฯลฯ รวมท้งั หลวงปู่พรหม
จริ ปุญโฺ
ตามประวตั หิ ลวงปูม่ ัน่ ภรู ทิ ตโฺ ต ในปี พ.ศ. ๒๔๗๐ ทา่ นไปสง่ โยมมารดาท่บี า้ นเกิดจงั หวดั
อบุ ลราชธานี และอยูจ่ �ำพรรษาที่ เสนาสนะบ้านหนองขอน อ�ำเภอหวั ตะพาน จังหวัดอบุ ลราชธานี
(ปจั จบุ นั จังหวัดอำ� นาจเจริญ) จากนนั้ ปี พ.ศ. ๒๔๗๑ ท่านก็เดนิ ธดุ งค์เขา้ กรุงเทพฯ และจ�ำพรรษาท่ี
วัดสระปทุม (วัดปทุมวนาราม) ชว่ งนี้เปน็ ไปได้มากทท่ี ่านพระอาจารยส์ ารณ์ สุจิตฺโต และ หลวงปู่
พรหม จิรปุญฺโ ได้ร่วมกันออกเดินธุดงค์เพื่อติดตามหาหลวงปู่ม่ันด้วยกัน แต่ก็คลาดกัน และ
ต่อมาไม่นานท่านเจ้าคณุ อบุ าลคี ุณูปมาจารย์ (จนั ทร์ สิรจิ นฺโท) กน็ มิ นต์หลวงปมู่ ั่นขึน้ ภาคเหนือ
ซงึ่ หลวงปู่มั่นท่านตอ้ งการอยู่เพยี งตามลำ� พงั เพื่อบำ� เพ็ญธรรมขั้นแตกหกั อยู่แล้ว ท่านจึงตอบตกลง
ตอ่ มาเม่ือทา่ นพระอาจารย์สารณไ์ ด้ข่าวว่าหลวงป่มู ั่นจำ� พรรษาอยูเ่ ชยี งใหม่ ท่านจึงธุดงค์
ออกติดตาม ท่านพระอาจารย์สารณ์จึงเป็นพระศิษย์อาวุโสองค์แรกๆ ของหลวงปู่ม่ันที่ธุดงค์ข้ึน
เชยี งใหม่และทา่ นไดอ้ ยูจ่ ำ� พรรษากบั หลวงปู่มน่ั
ในส่วนกองทัพธรรมพระธุดงคกรรมฐาน หลวงปู่ม่ันก่อนที่ท่านจะข้ึนภาคเหนือ ท่านได้
มอบหมายใหห้ ลวงปูส่ ิงห์ ขนฺตยาคโม และ หลวงปูม่ หาปน่ิ ปญฺาพโล เปน็ หวั หนา้ โดยปลายปี
พ.ศ. ๒๔๗๑ กองทัพธรรมได้เดินธุดงค์จากจังหวัดอุบลราชธานีมาปักหลักเผยแผ่ธรรมท่ีจังหวัด
ขอนแก่นอยู่ ๓ ปี จากนั้นจึงลงมาวัดป่าสาลวัน จังหวัดนครราชสีมา ซ่ึงในขณะน้ันท่านพระ–
อาจารยส์ ารณ์ สจุ ติ ฺโต กับ หลวงปู่พรหม จิรปญุ ฺโ ยังไม่ไดเ้ ข้ารว่ มกับกองทพั ธรรม
82
สำ� หรบั การบวชใน ๓ พรรษาแรกของหลวงปพู่ รหม จิรปญุ ฺโ นัน้ ซึง่ ถอื วา่ เปน็ พระภกิ ษุ
ผู้บวชใหม่ ท�ำให้เห็นคุณค่าของการมีครูบาอาจารย์ที่ดี เพราะท่านได้ศึกษาเรียนรู้ข้อวัตรปฏิบัติ
เรียนรูธ้ ุดงควัตร ตลอดการเรยี นรปู้ ฏิบตั สิ มาธิภาวนา และทา่ นกไ็ ดป้ ระสบการณ์จากการออกเดนิ
ธุดงค์ร่วมกบั ทา่ นพระอาจารยส์ ารณ์ ผูเ้ ปน็ ครบู าอาจารย์องคแ์ รก ท่านไดร้ ับประโยชน์อย่างมาก
ท่ีได้อยู่ร่วมปฏิบัติธรรมใกล้ชิด และย่ิงท่านได้เห็นความมุ่งมั่น เห็นความขยันหมั่นเพียรในการ
บ�ำเพ็ญภาวนา เพ่ือความพ้นทุกข์ของท่านพระอาจารย์สารณ์ อันถือเป็นคติแบบอย่างท่ีเลิศเลอ
ดงี ามแล้ว ทา่ นกย็ ่งิ ใหค้ วามเคารพเทดิ ทูนเชื่อฟังในครบู าอาจารยข์ องท่านมากยิ่งขึ้น
หลังจากหลวงป่พู รหม จริ ปุญฺโ ทา่ นไดร้ ับธรรมะจากทา่ นพระอาจารย์สารณ์ ซงึ่ เป็น
ครบู าอาจารย์องคแ์ รกของทา่ น พอท่จี ะน�ำข้อวัตรนนั้ ไปปฏิบัติแกต่ นเองบ้างแล้ว ทา่ นจึงได้กราบ
นมสั การลาแล้วออกเดนิ ธุดงค์เพียงองคเ์ ดียวเพือ่ แสวงหาโมกขธรรมต่อไป
การเดินธุดงค์เพียงองค์เดียวของหลวงปู่พรหม เป็นการฝึกฝนอบรมตนเองได้เป็นอย่างดี
และเป็นการเตรียมตัวก่อนที่จะได้เข้ากราบถวายตัวเป็นศิษย์ของหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต โดยองค์
หลวงตาพระมหาบัว าณสมฺปนโฺ น ไดเ้ ทศนก์ ารธุดงค์องคเ์ ดยี วไว้ดงั น้ี
“ไปเทย่ี วกรรมฐาน ไมไ่ ดไ้ ปกบั ใครนะ ไปแตอ่ งคเ์ ดยี วเทา่ นนั้ ละ่ ไปเทยี่ วกรรมฐาน มพี อ่ แม่
ครูจารย์มั่นล่ะ ถ้าอยู่กับท่านแล้ว ท่านเสริมเลย พอว่าไปองค์เดียว ท่าน “เอ้อ !” ขึน้ ทันทเี ลย
“ทา่ นมหาไปองค์เดียวนะ ใครอย่าไปย่งุ ทา่ นนะ” ใครจะไปยุ่งร่มโพธริ์ ่มไทรอยู่นั้น เรากส็ นกุ ไป
ของเรา เป็นอยา่ งนั้น ไปกรรมฐานมแี ตไ่ ปองค์เดียวล่ะ เราไมไ่ ปกบั ใคร คอื ไปองคเ์ ดยี วมนั ปลดหมด
ทุกอยา่ งนะ มแี ตเ่ ราคนเดียว ปา่ ชา้ อยกู่ บั เราเท่านัน้ พอ อยากท�ำอะไร ไม่ฉันกวี่ ันกแ็ ลว้ แต่ ไมเ่ ป็น
อารมณก์ ับใคร ถา้ มีหมู่มีเพอื่ นมนั ตอ้ งไดเ้ ป็นนำ้� ไหลบา่ คดิ คนนนั้ คดิ คนน้ไี มส่ ะดวก ถ้าไปคนเดยี ว
สะดวกตลอดเลย ความเพียรรสู้ ึกวา่ เต็มเมด็ เต็มหนว่ ย ไปคนเดยี วความเพยี รเตม็ เมด็ เต็มหน่วย
เพราะฉะนัน้ จึงไปแตค่ นเดียว กรรมฐานเราไปคนเดยี วทงั้ นัน้ ล่ะ”
ภิกษุผู้บวชใหม่จ�ำเป็นต้องมีครูบาอาจารย์ท่ีดี
การออกบวชเป็นพระภิกษุผู้บวชใหม่ จ�ำเป็นต้องมีครูบาอาจารย์ท่ีดีเพ่ือคอยดูแลเอาใจใส่
อยา่ งใกล้ชิด เพราะมคี วามสำ� คญั และมีประโยชนอ์ ยา่ งมาก เนือ่ งจากพระภกิ ษผุ ู้บวชใหมย่ ่อมมเี หตุ
ใหล้ าสกิ ขาลาเพศมากมาย ดงั อนั ตรายของภิกษุสามเณรผูบ้ วชใหม่ตามบาลีว่า ภัยสำ� หรบั กุลบตุ ร
ผู้บวชในธรรมวินัยนี้ อันเป็นเหตุให้ประพฤติพรหมจรรย์อยู่ได้ไม่ยั่งยืน ต้องลาสิกขาไป หรือ
อันตรายของภกิ ษสุ ามเณรผู้บวชใหมม่ ี ๔ ประการ ดงั น้ี
83
๑. อมู ภิ ัย (ภยั คลนื่ คอื อดทนต่อค�ำสัง่ สอนไมไ่ ด้ เกิดความขง้ึ เคยี ดคบั ใจ เบอ่ื หนา่ ย
คำ� ตักเตือนพร�ำ่ สอน)
๒. กุมภลี ภัย (ภยั จระเข้ คือ เหน็ แก่ปากแก่ทอ้ ง ถกู จ�ำกัดด้วยระเบยี บวนิ ยั เกีย่ วกับการ
บรโิ ภค ทนไมไ่ ด้)
๓. อาวฏภยั (ภัยนำ�้ วน คือ หว่ งพะวงใฝ่ทะยานในกามสขุ ตัดใจจากกามคุณไมไ่ ด้)
๔. สุสกุ าภัย (ภัยปลาร้าย หรือภยั ฉลาม คือ เกิดความปรารถนาทางเพศ รกั ผ้หู ญิง)
หลวงปูพ่ รหม จิรปญุ โฺ เม่อื ทา่ นเป็นพระภกิ ษุผ้บู วชใหม่ ท่านกค็ ดิ อยากสึกกลบั ไปใช้ชีวติ
ฆราวาส เชน่ เดยี วกับครูบาอาจารย์หลายๆ องค์ หากท่านไม่มวี าสนาบารมแี ละไม่มีครูบาอาจารย์
ทดี่ แี ลว้ ทา่ นก็อาจจะสึก จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งมคี รบู าอาจารยท์ ด่ี ี ดงั น้ี
พระภิกษุบวชใหม่และครูบาอาจารย์ท่ีดี ท่ีต่างมีความปรารถนาพ้นทุกข์ถึงซึ่งพระนิพพาน
รว่ มกนั นบั เปน็ คู่ร่วมสายบุญสายกรรม เพราะเคยรว่ มทกุ ขร์ ว่ มสขุ เคยร่วมสร้างบญุ ญาบารมเี พอื่
ความพ้นทกุ ขร์ ่วมกันมาต้งั แต่อดีตชาติ ครูบาอาจารยท์ ่ดี ีจะคอยเมตตาอบรมสง่ั สอน ทงั้ จากการ
ประพฤติตัวเป็นแบบอย่าง โดยเฉพาะการบ�ำเพ็ญเพียรภาวนาอย่างอุกฤษฏ์ และจากการเทศนา
ว่าการ คอยส่งเสริมให้ก�ำลังใจ และคอยให้ค�ำแนะน�ำแก้ไขที่มีประโยชน์แก่ศิษย์ เพ่ือให้ศิษย์ถึง
ความพน้ ทุกข์ร่วมกัน ซึง่ กรณนี ี้มมี าแตส่ มัยครัง้ พทุ ธกาล เช่น คขู่ องพระจฬู ปนั ถก กบั องคส์ มเด็จ–
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า จวบจนสมยั ครั้งกึง่ พุทธกาล วงพระธุดงคกรรมฐานสายท่านพระอาจารย์
เสาร์ ท่านพระอาจารยม์ น่ั ก็มีด้วยกนั หลายคู่ นับแตก่ รณีคูป่ ฐมฤกษ์ทบ่ี กุ เบิกฟืน้ ฟธู ดุ งควตั ร
รว่ มกนั คือ คู่ของปรมาจารยใ์ หญ่ หลวงปูม่ นั่ ภูริทตโฺ ต กับ หลวงปู่เสาร์ กนฺตสโี ล เรือ่ ยมาคขู่ อง
พระศิษย์ ไดแ้ ก่ คขู่ องหลวงปู่ฝัน้ อาจาโร กบั หลวงปู่สิงห์ ขนตฺ ยาคโม คู่ของหลวงปพู่ รหม
จริ ปญุ ฺโ กบั ทา่ นพระอาจารยส์ ารณ์ สจุ ติ โฺ ต คขู่ องทา่ นพระอาจารย์จวน กลุ เชฏโฺ กบั
ท่านพระอาจารยเ์ กง่ิ อธมิ ุตตฺ โก และคูข่ องท่านพระอาจารยส์ ิงหท์ อง ธมฺมวโร กบั ทา่ นพระ–
อาจารยบ์ ุญสงิ ห์ สหี นาโท (ศิษยห์ ลวงปู่สงิ ห์ ขนตฺ ยาคโม) ฯลฯ
ท่านเร่งความเพียรจนชนะกิเลสจึงไม่สึก
หลวงปู่พรหม จริ ปุญฺโ ท่านคิดอยากสึก เหตุการณ์ตอนน้ีเกดิ ขนึ้ ระหวา่ งปี พ.ศ. ๒๔๗๔
สุดท้ายทา่ นเร่งความเพยี รตามทีท่ า่ นได้รบั การฝึกฝนอบรมมาอย่างเต็มท่ี จนไม่สึก
เรอื่ งการคดิ อยากสึก หรอื การลาสิกขา เป็นเรือ่ งปรกติของพระสงฆ์ทั้งหลายในสังฆมณฑล
พระสงฆ์องค์ไหนท่ีไม่มีวาสนาบารมีทางธรรม หรือหมดบุญ ท่านก็สึกของท่านไป แต่พระสงฆ์
องคไ์ หนทสี่ รา้ งวาสนาบารมีมามาก ย่ิงองค์ไหนที่ท่านใกล้จะพ้นทุกข์ดว้ ยแล้ว แมท้ ่านคิดอยากสึก
84
เพยี งไรกต็ าม ก็มีเหตุให้ไมไ่ ดส้ กึ และท่านกไ็ ดอ้ ยคู่ รองสมณเพศบ�ำเพ็ญสมณธรรมไปตลอดอายขุ ยั
ดงั เชน่ ครบู าอาจารยใ์ นวงกรรมฐานองค์ส�ำคัญหลายๆ องคก์ ็คดิ อยากสกึ แตด่ ้วยอ�ำนาจวาสนา
บารมีที่บ�ำเพ็ญมาเพ่ือความพ้นทุกข์ ก็มีเหตุเป็นธรรมบันดาลให้ไม่ได้สึก และท่านก็ได้บ�ำเพ็ญ
จนบรรลุอริยธรรมข้นั สงู สดุ ในท่สี ดุ เชน่ ท่านเจ้าคุณพระอุบาลีคณุ ปู มาจารย์ (จนั ทร์ สริ ิจนฺโท)
หลวงปเู่ สาร์ กนฺตสโี ล หลวงป่มู ่นั ภรู ทิ ตฺโต หลวงปู่ตอ้ื อจลธมโฺ ม ฯลฯ รวมทง้ั หลวงปู่พรหม
จิรปญุ ฺโ
กรณีของหลวงปู่พรหม จิรปญุ ฺโ คิดอยากสกึ เหมอื นมีพระธรรมคอยย�้ำเตือนใจ ตนเคย
สรา้ งบาปสรา้ งกรรมคราวเป็นนายฮ้อยมาแล้ว จะสึกออกไปทำ� ไม ท่านได้เมตตาเลา่ ใหพ้ ระศิษย์ฟงั
ดงั น้ี
“... บวชแลว้ ก็ไปกับครอู าจารย์สารณ์ (หลวงปู่สารณ์ สุจติ โฺ ต) เดนิ ธดุ งคถ์ ึงเมอื งอบุ ลฯ
อยูอ่ บุ ลฯ ๓ ปี ทนี ีใ้ จคดิ อยากสกึ คิดถงึ บ้าน คิดถึงเมยี แต่บุญยังรกั ษา ตอนกลางคนื เดินจงกรม
จะน่ัง จะยืน จะนอน สองใบหูนีเ้ ต็มไปด้วยเสียงกะโหล่ง (อปุ กรณ์ทท่ี ำ� ให้เกดิ เสยี ง ใช้ส�ำหรับผกู คอ
สัตวเ์ ล้ยี ง) ผกู คอววั คอควายกระทบกนั เสยี งดงั ก้องไปหมด จนนอนไม่หลับ จงึ มาพิจารณาดูตนเอง
วา่ จะเอาอยา่ งใด ทรัพย์สมบัตกิ ็ไมม่ แี ล้ว เมยี กอ็ อกบวชเป็นชีแล้ว ลกู กไ็ มม่ ี จะสึกออกไปเอาอะไร
ทุกขม์ ิใชห่ รอื ต้องการความสขุ ทแี่ ท้จริงมใิ ช่หรือ จงึ หนีออกมาบวช”
ในตอนน้ี ทา่ นไดต้ ่อสูม้ ารกิเลสฝ่ายต่ำ� จนเตม็ สตกิ �ำลงั ดว้ ยการใชค้ วามเพียรพยายามอดทน
เต็มท่ี มกี ารท�ำสมาธภิ าวนาและเดินจงกรม เป็นต้น จนในที่สดุ ทา่ นกลบั เปน็ ฝา่ ยชนะ
ศิษย์พระอาจารย์ม่ันเกือบทุกองค์ ท่านเอาธรรมะเข้าต่อสู้จนออกจากภัยอันร้ายแรงได้
เร่ืองกเิ ลสมารทบั จิตใจนี้ หลวงป่พู รหม จิรปุญโฺ ทา่ นก็เคยถกู กระแสกเิ ลสนี้พัดกระหน่�ำอย่าง
รนุ แรงเช่นเดียวกนั เรอ่ื งนีท้ ่านเคยเล่าให้ลูกศษิ ย์ลกู หาฟัง อนั เป็นอบุ ายธรรมปฏิบตั ิวา่ ภายหลัง
จากทท่ี ่านได้บวชเป็นพระแล้ว ๓ พรรษา ก็เกิดมคี วามรู้สึก (กิเลสภายใน) อยา่ งรนุ แรง คดิ อยากจะ
สึกออกมาเป็นฆราวาสวิสัยอีก ท�ำอย่างไรๆ ก็ไม่หายท่ีจะนึกคิด ต้องเร่งพยายามต่อสู้ความคิด
ภายในนนั้ มนั เปน็ กิเลสมารตัวร้าย สกู้ นั อยา่ งหนกั
อาวุธที่เข้าตอ่ สู้นน้ั ท่านได้ทำ� สมาธิ เดนิ จงกรมและดว้ ยวิธตี า่ งๆ นานา นำ� มาใช้เปน็ อุบาย
ขจัดขบั ไลอ่ อกไป และด้วยความตงั้ ใจจรงิ ของท่านนเ้ี อง ในที่สดุ ทา่ นสามารถเอาชนะอารมณจ์ ิตท่ี
คิดจะสึกน้ันได้ เพราะว่าท่านคิดอยู่เสมอว่า “ในชีวิตของท่านไม่เคยแพ้ใคร ท่านไม่เคยท�ำส่ิงใด
ล้มเหลว แล้วท่านจะมาแพ้ใจตนเองได้อย่างไร ท่านก็ได้ตัดสินใจมุ่งหน้ามาถึงขนาดน้ีแล้ว
ทา่ นจะตอ้ งเดินตอ่ ไปจนถงึ ทสี่ ดุ แมจ้ ะตอ้ งฟันฝา่ กบั ภยั อนั ตรายใดๆ ทย่ี ่งิ ใหญใ่ นโลกน้กี ็ตาม”
85
ในท่ีสุดท่านหลวงปู่พรหม จิรปุญฺโ ก็สามารถด�ำเนินเดินตามรอยพระบาทของพระผู้มี
พระภาคเจ้าอนั เปน็ จดุ หมายปลายทางของทา่ นไดส้ ำ� เรจ็ คว้าชยั ชนะจากคู่ตอ่ สู้ คือ กเิ ลสมารได้
ไม่มีอะไรจะหนักยิ่งกว่าการฆ่ากิเลส
หลวงปู่พรหม จิรปญุ ฺโ ก่อนออกบวชทา่ นผ่านชีวิตฆราวาสมาแลว้ อย่างโชกโชน ทา่ นเคย
ทกุ ข์ยากลำ� บากตรากตร�ำทำ� งานหนัก ท้ังเคยเป็นชาวนา ทั้งเคยเปน็ นายฮอ้ ยคา้ วัวค้าควาย ซงึ่ ใน
สายตาของคนโดยท่ัวไปในทางโลกแล้ว ย่อมถือว่าอาชีพของหลวงปู่พรหมในสมัยเป็นฆราวาสนั้น
เป็นงานหนักหนาแสนสาหัส แต่เมื่อหลวงปู่พรหมท่านบวชเป็นพระธุดงคกรรมฐานและท่านได้
ลงมอื ปฏิบตั ิธรรมอย่างเอาจริงเอาจงั ท่านไดป้ ระจกั ษ์ชัดดว้ ยตัวของทา่ นเองวา่ งานทางธรรม หรือ
งานฆา่ กเิ ลสนน้ั ทกุ ขย์ ากล�ำบากหนกั ย่งิ กวา่ งานทางโลกอย่างชนดิ ไม่อาจน�ำมาเปรยี บเทยี บกนั ได้
ซง่ึ งานฆ่ากเิ ลสเปน็ งานท่หี นักมาก และกเิ ลสทำ� ใหท้ า่ นเกือบจะตอ้ งสึก ในกาลตอ่ มาเม่ือทา่ นกราบ
ถวายตัวเป็นศิษย์ท่านพระอาจารย์ม่ัน ภูริทตฺโต ที่จังหวัดเชียงใหม่ ท่านจะฆ่ากิเลสถึงกับต้ังใจ
ไม่ยอมหลับนอน โดยองค์หลวงตาพระมหาบวั าณสมฺปนโฺ น ไดเ้ มตตาเทศน์งานฆา่ กิเลสเปน็
งานหนกั มากไว้ดงั นี้
“งานท้งั หลาย ไม่มีงานใดทจ่ี ะหนักมากยงิ่ กวา่ งานรอื้ ถอนกเิ ลสออกจากใจ งานนง้ี าน
หนักมาก เพราะเป็นงานของวฏั วน งานของกเิ ลสสร้างวัฏจิต วัฏวน วัฏทุกข์เข้าส่หู ัวใจสตั ว์
โลก หมุนอยู่ภายในจติ ใจตลอดมา เวลาจะถอนมนั ออกน้ี จงึ ถอนยากลำ� บากมาก และยากที่สดุ
ก็คอื การถอดถอนกิเลสวัฏจิตออกจากหวั ใจนีย้ ากทส่ี ุด พอถอนนไ้ี ดแ้ ล้ว ก็หมดเลยที่น่ี ในโลก
สามโลกธาตุนบั แตธ่ าตขุ นั ธ์ของเราลงไปเรือ่ ยๆ เรยี กวา่ เปน็ สมมตุ ิท้งั หมด หมด ไม่มีอะไรเขา้ ไป
แทรกจติ ใจให้ได้รบั ความทุกขไ์ ด้เลย มกี ิเลสเท่านั้น นนั่ ทำ� ไปทำ� มาก็ไม่พ้นกิเลส มกี ิเลสเท่านนั้
เป็นหอกเป็นหลาวเป็นอะไรทิ่มแทงหัวใจตลอดเวลา พอเอาอันน้ีออกหมดแล้ว หมดโดยส้ินเชิง
ทุกข์ไม่มีในพระอรหันต์ ในพระพุทธเจ้า
ทุกข์เกิดจากกิเลส เร่ืองธาตเุ รอ่ื งขันธ์เปน็ ธรรมดาไมใ่ ช่เรอื่ งของกเิ ลส เจ็บไข้ไดป้ ่วย ปวดหัว
ตวั รอ้ น ไม่ใช่กิเลส เป็นเร่อื งของธาตขุ ันธแ์ ปรสภาพของมนั ไป แตท่ กุ ขภ์ ายในจติ ใจนเี้ ป็นเพราะ
กเิ ลสล้วนๆ ทีนี้พอแก้อันน้ีออกหมดโดยส้ินเชงิ แล้ว เรียกวา่ ฟา้ ดินถลม่ เลย วัฏจกั รหมนุ ถล่มลงเลย
ไม่มีเหลือ ทา่ นแสดงไวใ้ นธรรมสรปุ ว่า งานน้สี �ำเร็จลงเรียบร้อยแลว้ วา่ วุสติ ํ พรฺ หฺมจริยํ กตํ กรณียํ
นาปรํ อิตฺถตฺตายาติ ปชานาติ พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว พรหมจรรย์คือการฟาดฟันกับกิเลส
ได้เสรจ็ สนิ้ ลงไปเรยี บร้อยแลว้ งานท่ีควรทำ� คืองานแกก้ เิ ลสกไ็ ด้ทำ� เรยี บรอ้ ยแลว้ งานอน่ื ทจี่ ะทำ� ให้
ยิง่ กวา่ นีไ้ มม่ ี ฟงั ซิ งานแก้กิเลสเปน็ งานทีห่ นักมากที่สดุ ไม่มีงานใดเสมอเลย จึงวา่ นาปรํ อติ ถฺ ตฺ
ตายาติ ปชานาต ิ ...”
86
“...ชวี ิตของเราที่ได้เป็นนักบวชมาทุกข์ในตอนฆ่ากิเลสทุกข์มากทส่ี ุดเลย ทกุ อย่างทีเ่ รา
ไม่เคยทำ� ใครไม่เคยท�ำกต็ าม แต่เราพอใจทจี่ ะทำ� ท�ำเตม็ เหนย่ี วๆ ความเปน็ อยูป่ ูวายท้ังหลาย
ยง่ิ กว่านักโทษในเรือนจำ� นกั โทษในเรอื นจำ� กนิ วันละสองมอื้ สามม้ือ จกั ตอกวนั หนึง่ ไดส้ ่ีเส้นห้าเสน้
จักตอกเหลาตอกฆ่าเวล�่ำเวลาพอให้พ้นโทษไป ก�ำหนดวันเท่านั้นๆ สิ้น แล้วก็จักตอกเหลาตอก
สี่เส้นห้าเส้นฆ่าเวลาไป ข้าวกินวันละสองมื้อสามมื้อเป็นทุกข์อะไร มีแต่โลกสังคมเขาไม่ยอมรับ
สงั คมเขารังเกียจเท่านนั้ เอง
ถ้าหากสมมุติว่า ถ้าไปอยู่ในเรือนจ�ำได้รับมรรคผลอย่างที่เราปฏิบัติในตัวของเรานี้ เราจะ
สมัครเข้าในเรือนจ�ำ เพราะเบากว่างานของเรามาก งานของเราน้ีจะเป็นจะตาย เฉียดสลบ แต่
ไม่เคยสลบ เฉยี ดๆ ตลอด เพราะจติ ใจมันมุ่งตอ่ แดนนพิ พานๆ ไม่เป็นอย่างอน่ื ไม่มแี ยกมแี ยะ
ไปไหนเลย ทุกข์ขนาดไหนมันพุ่งๆ ต่อแดนนิพพาน หลังจากได้ฟังธรรมะพ่อแม่ครูจารย์มั่น
เรียบรอ้ ยแล้วถงึ ใจ การปฏบิ ัตคิ วามพากเพยี รถึงใจตั้งแตบ่ ัดน้ันมา เป็นกเ็ ป็นตายกต็ าย น่ลี ะ่ ทุกข์
มากทส่ี ุดเลย”
พ.ศ. ๒๔๗๔ จ�ำพรรษาวัดผดุงธรรม สร้างหอไตร
ปี พ.ศ. ๒๔๗๔ หลวงปูพ่ รหม จิรปญุ ฺโ เม่ือทา่ นกราบลาทา่ นพระอาจารย์สารณ์ สจุ ิตฺโต
ผเู้ ป็นครบู าอาจารยอ์ งคแ์ รกแล้ว จากนนั้ ทา่ นก็เดินธดุ งค์เพยี งลำ� พังองค์เดียวกลับภมู ลิ ำ� เนาเดมิ คือ
บา้ นดงเย็น โดยท่านกลับมาพกั ปักกลดบริเวณผืนป่าชายหมู่บ้าน
สมัยท่ีหลวงปู่พรหมมาปักกลดน้ัน แถบบริเวณน้ีเป็นป่าช้าห่างไกลหมู่บ้าน กล่าวกันว่า
สภาพยังเปน็ ป่าเปน็ ดงท่สี มบูรณม์ าก มีต้นไม้ขนาดใหญข่ ้นึ ปกคลมุ หนาแนน่ มาก สัตวป์ ่าสตั วร์ า้ ยก็
ยงั ชุกชุม เช่น ช้าง เสือ หมี งู เป็นตน้ สำ� หรบั บา้ นเรอื นผคู้ นก็ไมม่ ากเช่นทุกวนั นี้ ทางเดินสัญจรก็
เป็นทางปา่ ร่มเยน็ มาก สถานทแี่ ห่งนีจ้ ึงเปน็ สถานทีส่ ปั ปายะเงยี บสงัดเหมาะกบั การบ�ำเพญ็ ภาวนา
ส�ำหรบั ท่ีตงั้ บา้ นดงเยน็ ในสมยั ก่อนจะต้งั อยู่ตามรมิ ห้วยสงครามแถบข้างใน โดยมวี ัดกะเฉดเปน็ วดั
มหานิกายคู่บ้านมาต้ังอยู่ที่หนองสิม ริมห้วย ต่อมาหลวงปู่พรหมได้ย้ายวัดกะเฉดมาตรงโรงเรียน
บ้านดงเย็นพรหมประชาสรรค์ (ปัจจุบันพื้นที่โรงเรียนเป็นสนามฟุตบอล) และต้ังชื่อวัดใหม่ว่า
วดั โพธิศ์ รี ซ่งึ ยังเปน็ วดั มหานกิ ายอยู่
ในปี พ.ศ. ๒๔๗๔ เมอ่ื ใกลเ้ ข้าพรรษาหลวงปพู่ รหมท่านได้อยู่จำ� พรรษา ณ บริเวณผนื ป่า
แห่งนี้ และต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๗๕ ทา่ นได้สรา้ งเป็นวดั ปา่ กรรมฐานสายท่านพระอาจารยม์ นั่ โดย
ต้งั ช่อื ว่า วดั ผดุงธรรม หรือท่ีชาวบา้ นเรียกวา่ วดั ใน นบั เปน็ วัดธรรมยตุ แหง่ แรกของบา้ นดงเย็น
ซ่งึ เสนาสนะในยุคน้นั เป็นเสนาสนะป่า กฏุ กิ รรมฐาน ศาลา ฯลฯ ถูกสร้างข้นึ อย่างช่ัวคราว เพียงเพื่อ
87
อยู่อาศัยปฏิบัติธรรมตามแนวทางของพระธุดงคกรรมฐานสายท่านพระอาจารย์มั่น โดยพ้ืนและ
ฝาผนังใชไ้ ม้ไผส่ านขัดแตะ หลังคามุงด้วยหญา้ คาหญา้ แฝก นอกจากน้ีท่านไดเ้ ป็นผนู้ ำ� ในการสร้าง
หอไตรขึ้น ๑ หลงั โดยสรา้ งจากไม้ทั้งหลัง เพื่อเป็นทีเ่ ก็บรกั ษาบรรดาหนังสือพระคัมภีร์ต่างๆ ไวใ้ ห้
เป็นที่ปลอดภัย โดยมีชาวบ้านดงเย็นได้มาช่วยกันสร้าง ปัจจุบันหอไตรได้ช�ำรุดทรุดโทรมตาม
กาลเวลา ทางวดั ไดร้ ้ือถอนหมดแล้ว
ตอ่ มาในปี พ.ศ. ๒๔๘๓ ไดย้ า้ ยวดั โพธศ์ิ รีมารวมกับวัดผดงุ ธรรม ในขณะนน้ั วดั โพธิศ์ รไี ม่มี
พระอยู่จ�ำพรรษาแล้ว โดยพื้นท่ีของวัดโพธิ์ศรีได้สร้างเป็นโรงเรียนประชาบาลหลังแรกขึ้นในบ้าน
ดงเย็น ศาลาวดั ใช้เป็นห้องเรียน สำ� หรับเสนาสนะ ขา้ วของเครือ่ งใชอ้ นื่ ๆ ไดข้ นย้ายไปวดั ผดงุ ธรรม
ท่านหลงเข้าใจว่านิพพานอยู่บนฟ้า
การปฏบิ ตั ิภาวนาน้ันจ�ำเป็นต้องมีครบู าอาจารย์ผรู้ ้จู รงิ เหน็ จรงิ คอยเมตตาช้แี นะแกไ้ ข กรณี
ของหลวงป่พู รหม จริ ปญุ โฺ สมยั ทีท่ า่ นเริม่ หัดปฏบิ ตั ิภาวนาใหมๆ่ ท่านกเ็ กดิ ความรูค้ วามเห็นผดิ
เช่นเดียวกับนักปฏิบัติท้ังหลาย ซ่ึงเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นในขณะท่ีท่านพักอยู่ท่ีวัดผดุงธรรม โดย
หลวงปูล่ ี อโสโก ได้เมตตาเล่าเรือ่ งน้ีไว้ดงั นี้
“หลวงป่พู รหมได้ท�ำความเพียรจนช่วงหน่ึงเขา้ ใจวา่ นพิ พานอยู่บนฟา้ ทา่ นกพ็ ยายามเหาะ
หรือกระโดดอยู่ จะไปนิพพาน ก็กระโดด กระโดดข้นึ จนครูบาอาจารย์ ญาติโยมลกู ศษิ ย์ สงสาร
ในการกระโดดจะไปนิพพานของท่าน ทง้ั เหน็ดเหนื่อยอะไรของทา่ น แต่ท่านกไ็ ม่ร้เู หนื่อยของทา่ น
มีหลวงปลู่ ี อโสโก ท่อี ยู่ดว้ ยกัน ไปด้วยกนั คอยจับทา่ นไม่ให้กระโดด เวลาทา่ นตกลงมามือกระแทก
กับพน้ื ข้อมือไดห้ ักไป
จนกระทง่ั ได้ไปตามหลวงปูส่ ารณ์ท่ีหลวงปู่พรหมนับถือเป็นครบู าอาจารย์ โดยทา่ นไดไ้ ป
จ�ำพรรษาที่ภเู ก้า จงั หวัดอดุ รธานี (ปัจจบุ ัน คอื วัดตาดโตน อ�ำเภอโนนสงั จงั หวดั หนองบัวล�ำภ)ู
จงึ ไปตามท่านหลวงปสู่ ารณก์ ลบั มาเพอ่ื แก้ปญั หาความเหน็ ของหลวงปพู่ รหม พอมาเหน็ ท่านจงึ ให้
คำ� ตักเตือน ทา่ นเรยี กหลวงปพู่ รหมวา่ “ทา่ นพรหม สิง่ ทที่ ่านรู้ ท่านเหน็ น้นั นะ่ มันจริงหรอื ไม่จริง
มนั เทย่ี งรึไม่เทีย่ ง อนั นี้มันเปน็ สญั ญา ยังไมเ่ กดิ ปญั ญา ท่ีว่านิพพานอยูโ่ น่นอยู่น่ี สงิ่ ท่ีทา่ นรูเ้ ห็นนนั้
บางทีมนั ก็เกิดขึ้น บางทมี นั ก็ดับไป มันไม่เป็นไปตามใจชอบใจหวงั ดังทที่ ่านตง้ั ใจไวม้ ิใชห่ รอื ”
“ท่านฟงั ไดน้ ะ” หลวงป่พู รหมยอมฟงั ไมก่ ระโดดแลว้ ดว้ ยความเคารพครูบาอาจารย์
ของท่าน ทา่ นฟงั … “อนั น้นั มันเป็นสญั ญา มันยังไมเ่ กดิ ปญั ญา มนั ยังไม่รูไ้ ตรลักษณ์ คำ� วา่ อนจิ จัง
ทุกขัง อนัตตา มนั เป็นยงั ไง” พอท่านฟงั ไปๆ ก็สงบไป ยอมรับธรรมของผู้วา่ กลา่ วตกั เตือน หาย...
เหมอื นไมม่ ีอะไรเกิดขึ้น ทัง้ ๆ ทเี่ ปน็ อยตู่ ้ังหลายวนั อาการนี้ที่ลูกศิษยญ์ าตโิ ยมเปน็ ทกุ ขก์ นั นีค่ อื
88
สัญญาอารมณ์ทีป่ รุงแตง่ ขึ้นมา สำ� คญั ว่าอย่างนัน้ อย่างน้ี มันเปน็ ไปตามความปรงุ แตง่ ขึ้น มันมีแล้ว
ก็เกิดดบั ไปตามหน้าท่ี เหตนุ ท้ี า่ นจงึ กลับเขา้ สู่ตนเองพิจารณาใหม่ ใจของทา่ นจึงปรกตเิ หมือนไมม่ ี
อะไรเกดิ ข้นึ ทา่ นจงึ เกดิ ความเขา้ ใจ อาการน้นั จงึ หายไปต้งั แต่วนั นั้น
ที่ท่านกล่าวไว้ว่าให้หาครูบาอาจารย์ที่ถูกจริตนิสัยที่เราพอจะเช่ือฟังท่านได้ จึงขอนิสสัย
จากท่านผู้นน้ั ท่นี เ่ี ราปัจจบุ ันเอาตามประเพณี แตเ่ ราไมล่ งนะรับไมไ่ ด้ ครูอาจารย์บางรปู ข้อวตั ร
การกระทำ� การพดู ความคิด มีความบกพรอ่ ง แตน่ ี่ทา่ นไม่บกพรอ่ งยอมรับกนั ไดท้ ุกอยา่ ง เลยเปน็
ครูบาอาจารย์ที่ให้นิสสัยได้ ว่ากล่าวตักเตือนได้ ไม่ถือโทษโกรธซึ่งกันและกัน ครูบาอาจารย์ที่
ยอมรับกนั ได้ จงึ ท�ำใหพ้ ้นจากนิสัยมตุ ตกะเป็นผอู้ ่อนนอ้ มถ่อมตน รับฟังครูบาอาจารย์ไดก้ ็เปน็ ยงั งั้น
โรคทางกายกห็ ายได้ โรคทางใจก็หายได้ ความเหน็ ผดิ กเ็ ปน็ โรคชนิดหน่งึ ที่ท�ำใหไ้ ม่สบายกายและ
ใจได้ ในวงการพระผู้ประพฤติปฏบิ ัติยอมรบั หลวงปพู่ รหมองค์น้วี ่า เปน็ ผ้พู ดู จริง ทำ� จรงิ เปน็ พระที่
ครูบาอาจารยย์ อมรับท่านได้องค์หนง่ึ ในบรรดาลูกศษิ ย์ของหลวงปู่มนั่ ภูริทตฺโต”
ประวัติย่อ หลวงปู่ลี อโสโก
หลวงป่ลู ี อโสโก ทา่ นเปน็ พระธดุ งคกรรมฐานสายท่านพระอาจารย์ม่ัน ภรู ทิ ตฺโต ท่านเปน็
พระศษิ ยอ์ าวโุ สรปู หนึง่ ของท่านพระอาจารยม์ ่นั ท่านเป็นพระปฏิบตั ิดี ปฏิบตั ชิ อบ ถอื พระธรรม–
วินยั ถือธดุ งควัตร และรักษาขอ้ วัตรปฏบิ ัตดิ ้วยความเคร่งครดั ทา่ นเปน็ คนบา้ นตาล ต�ำบลโคกสี
อำ� เภอสว่างแดนดิน จงั หวัดสกลนคร บ้านเกดิ เดียวกับหลวงป่พู รหม จริ ปญุ ฺโ และท่านออกบวช
หลงั จากมคี รอบครัวแลว้ เหมือนกัน ท่านมอี ายพุ รรษาแก่กว่าหลวงปพู่ รหม เม่อื บวชแล้วท่านขยัน
ภาวนา มีความเพียรเป็นเลิศและชอบเดนิ จงกรมเหมือนกัน
เสนาสนะปา่ ยาง อนั เปน็ ทพี่ �ำนกั ของหลวงปู่ลี อโสโก ตั้งอยู่บ้านตาล ตำ� บลโคกสี อำ� เภอ
สวา่ งแดนดิน จังหวัดสกลนคร เดมิ เป็นวดั เกา่ แก่ มปี า่ ทีร่ กทึบไปด้วยตน้ ไมน้ านาพันธุ์ มสี ตั วป์ า่
หลายชนดิ มีห้วยใหญ่ ทา่ นไดพ้ ฒั นาเปน็ วัดปา่ กรรมฐาน มเี สนาสนะป่าเทา่ ท่ีจ�ำเปน็ เชน่ ศาลา
หอฉัน กฏุ ิกรรมฐาน ห้องน้�ำ ฯลฯ และมีกฏุ เิ ลก็ ๆ สร้างตัง้ อยู่บนกอ้ นหนิ ลานวดั ก็ปดั กวาดสะอาด
จนเตยี นโล่ง พระทา่ นกอ็ ยู่กันอย่างสมถะสันโดษ เหน็ แลว้ นา่ ศรทั ธาเลื่อมใสเป็นอย่างยิง่
หลวงปู่ลี อโสโก ท่านสอนให้ภาวนาพุทโธ ตามแนวทางปฏปิ ทาของท่านพระอาจารย์ม่นั
ภรู ทิ ตโฺ ต ทา่ นมีความอดทน มีความพากเพยี รพยายามเปน็ เลศิ แม้แกเ่ ฒ่าชราแล้ว ทา่ นกย็ งั ปฏบิ ัติ
สมาธิภาวนาอย่างเอาจริงเอาจังเหมือนพระหนุ่มๆ จนเป็นที่ศรัทธาเคารพเล่ือมใสของสาธุชนแถบ
บริเวณนั้นเป็นอยา่ งยิง่ ท่านไมใ่ ช่พระท่ีชอบแนะนำ� พร�่ำสอนใครต่อใคร มีนสิ ยั เปน็ ปัจเจกะ ทา่ นจะ
ประพฤติปฏบิ ตั ใิ หด้ เู ป็นแบบอยา่ ง
89
สมัยนนั้ มตี วั เหลอื บชกุ ชุม เหลอื บเกาะตามแข้งตามขา กระทบื เทา้ ทหี ลดุ เปน็ กอง มนั มากัด
ท่านเลอื ดไหลออกตามขา ทา่ นกป็ ลอ่ ยใหเ้ หลือบมันกดั กนิ เลือดเน้ือของท่านอยู่อยา่ งนนั้ พระเณร
เหน็ ดังนน้ั กลวั ทา่ นจะตาย จงึ ไปชว่ ยไลอ่ อกใหท้ ่าน ทา่ นก็ไม่สนใจ ไมเ่ พยี งแตต่ ัวเหลอื บกัดทา่ น
เท่าน้ัน แมง้ กู ดั ท่านก็ไม่ได้บอกใคร เหน็ ท่านเงียบไป ตัวซดี ไป จึงเขา้ ไปกราบเรียนถาม ถึงไดร้ ้วู ่า
ท่านถกู งกู ดั ทา่ นจะเจบ็ ปวดทรมานสักปานใด ก็ไมเ่ คยเห็นทา่ นพดู ท่านบน่ เหน็ แตท่ า่ นนั่งสมาธิ
ภาวนาตลอดวันตลอดคืน ไม่เหน็ ท่านต่นื ตกใจกับความเจบ็ ความตาย จึงเหน็ ไดว้ า่ ท่านเป็นผอู้ ดทน
จรงิ ๆ และเปน็ ครูบาอาจารยท์ ่ีหาได้ยากท่ีสดุ รปู หนึ่ง
หลวงปู่ลี อโสโก ทา่ นไม่พดู มาก ท่านน�ำโดยการประพฤติปฏบิ ัตใิ หม้ ากๆ เชน่ การเดนิ
จงกรม น่งั สมาธิ บณิ ฑบาต ปดั กวาดวัด ไมม่ ีขาด แม้จะอายมุ ากแก่แลว้ พรรษามากแลว้ ท่านกเ็ ปน็
ผูน้ ำ� รักษาข้อวัตรปฏบิ ัติ ควรเอาเป็นแบบอยา่ งได้ พระเณรเหน็ ท่านเดินจงกรม ต่างองค์ตา่ งกอ็ ยูน่ ่งิ
เฉยไม่ได้ ตอ้ งออกมาเดนิ จงกรมตาม พระหนมุ่ บางองค์เหน็ ทา่ นเดิน เลยตง้ั จติ อธิษฐานสู้กับท่านวา่
“ถา้ องคท์ า่ นไม่หยุดเดนิ จงกรม กจ็ ะเดนิ แข่งกบั ท่าน จนกวา่ ทา่ นจะหยุด” ปรากฏว่า พระหนุ่ม
องค์น้ันเกือบตาย เพราะท่านเดินจงกรมทั้งวันทั้งคืน ท่านประพฤติปฏิบัติแบบสู้ตาย เพื่อธรรม
ค�ำสัง่ สอนขององคส์ มเด็จพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้าโดยแท้จริง
จ�ำใจจากบ้านเกิดออกธุดงค์
ในสมัยครั้งพทุ ธกาล คราวเจา้ ชายสิทธัตถะราชกุมารเสด็จออกมหาภิเนษกรมณ์ ออกธดุ งค์
บ�ำเพ็ญจิตตภาวนาตามป่าตามเขา เพื่อการตรัสรู้เป็นองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์
ท่านต้องท�ำพระทัยจากพระราชวัง จากพระราชบิดา พระมเหสี พระราชโอรส ตลอดจนพระ–
ประยรู ญาตทิ ั้งหลาย โดยเฉพาะอย่างยิง่ ต้องจ�ำพระทยั จากพระราชโอรส ทั้งๆ ทเี่ พง่ิ ประสูติใหมๆ่
ในคืนวันนั้นพระองค์ต้องท�ำพระทัยขนาดไหน ในการตัดพระทัยจากส่ิงอันเป็นท่ีรักยิ่งดั่งแก้วตา
ดวงหทยั แต่พระองค์ก็ทรงตัดพระทัยไดอ้ ยา่ งเดด็ ขาดแน่วแน่ จนเปน็ พระพทุ ธคตทิ ี่เป็นแบบอย่าง
อันงดงามเลศิ เลอตราบจนถึงทกุ วนั น้ี
พระอรยิ สงฆ์สาวกในคร้งั พทุ ธกาลตา่ งก็ไดด้ ำ� เนินตามรอยพระองค์ท่าน จนเป็นอรยิ ปฏบิ ัติ
สบื ทอดกนั เรอ่ื ยมาตราบจนสมยั ปจั จุบัน ดงั ครูบาอาจารยส์ ายท่านพระอาจารยเ์ สาร์ ท่านพระ–
อาจารยม์ นั่ ประเภทเพชรน้�ำหนง่ึ กล่าวได้ว่าทกุ องค์ นบั แต่พระปรมาจารย์ใหญท่ ้งั สอง จนถึง
พระศษิ ยร์ นุ่ ต่อๆ มา เชน่ หลวงปู่ชอบ านสโม หลวงปู่ขาว อนาลโย หลวงป่ฝู น้ั อาจาโร
หลวงปู่แหวน สจุ ิณฺโณ หลวงป่ตู อ้ื อจลธมฺโม หลวงปู่พรหม จริ ปญุ ฺโ หลวงปสู่ มิ พทุ ธฺ าจาโร
หลวงตาพระมหาบัว าณสมฺปนฺโน ท่านพระอาจารยจ์ วน กุลเชฏฺโ ฯลฯ เม่ือครูบาอาจารย์
90
ท่านออกบวชประพฤติปฏิบัติธรรมใหม่ๆ เพ่ือปรารถนาความหลุดพ้นแล้ว ท่านก็ต้องจ�ำใจจาก
บ้านเกดิ อนั อบอุน่ ด้วยกนั ทุกองค์
ครูบาอาจารยท์ า่ นจะออกเท่ียวธดุ งคกรรมฐานไปตามปา่ ตามเขา เพอื่ แสวงหาโมกขธรรม
ทัง้ นเี้ พ่ือตดั ใจจากสงิ่ หว่ งหาอาวรณต์ ่างๆ โดยเฉพาะความหว่ งกังวลในบิดา มารดา ภรรยา บตุ ร
และญาตพิ ี่นอ้ ง เพื่อละท้ิงความสะดวกสบายต่างๆ ในฆราวาสวสิ ัย เพอื่ ห่างจากสญั ญาอารมณ์
ต่างๆ ในอดตี ทงั้ ความสขุ ความสนกุ สนาน ความใกลช้ ิดค้นุ เคยกบั ครอบครวั ตลอดจนญาติสนิท
มติ รสหาย ทั้งความเป็นห่วงเปน็ ใยของครอบครวั เกรงว่าชวี ติ การออกบวชจะประสบกับความทุกข์
ยากล�ำบาก จงึ มาคอยรบเรา้ วิงวอนชวนใหส้ ึก เหลา่ นลี้ ว้ นเป็นอปุ สรรคในการบำ� เพญ็ จิตตภาวนา
และอาจเปน็ ปจั จัยสำ� คญั หน่ึงทำ� ใหท้ า่ นคดิ อยากสึก และกส็ ึกในทีส่ ุด
ฉะน้ัน การจากบ้านเกิดเพ่ือออกธุดงคกรรมฐานของครูบาอาจารย์นั้น จึงจ�ำเป็นอย่างย่ิง
และมปี ระโยชน์มากมายหลายประการ เพราะย่อมท�ำใหจ้ ิตใจของทา่ นเป็นอสิ ระจากเครอื่ งร้อยรดั
ผูกพันประการต่างๆ ดังกล่าวมา ย่อมทำ� ให้ท่านมโี อกาสและเวลาในการบำ� เพญ็ จิตตภาวนาไดอ้ ยา่ ง
สะดวกเต็มท่ี และอย่างไม่เป็นนิวรณ์กังวลใจ และย่อมเป็นปัจจัยส�ำคัญ ท�ำให้ท่านบรรลุถึงซ่ึง
เปา้ หมายอันสงู สดุ คอื บรมสุขพระนิพพาน
หลวงปพู่ รหม ตอนทที่ ่านอยากสึก แมท้ ่านจะเรง่ ความเพียรจนชนะแล้วก็ตาม ท่านกย็ ัง
เกรงความคิดอยากสึกน้ันจะหวนกลับคืนมาอีก และถ้าอยู่ที่วัดผดุงธรรมแล้วสึก ก็จะอับอาย
ชาวบ้าน เพราะว่าขณะนั้นท่านมีชื่อเสียงโด่งดังมาก ตอนท่ีท่านตัดสินใจออกบวช ท่านได้สละ
ทรพั ยส์ มบัติจำ� นวนมหาศาลแจกทานไปหมดก็เป็นข่าวใหญ่และดงั มาก ท่านจึงออกเท่ยี วธุดงคจ์ าก
บ้านเกดิ ไปตามป่าตามเขา ไปทางฝัง่ ลาวเมืองหลวงพระบาง โดยหลวงปู่พรหมท่านได้เมตตาเลา่ ให้
พระเณรฟงั เปน็ คติ ดงั นี้
“บวชอยู่ละแวกแถวนี้ มนั คิดอยากสึก ตัดสินใจไปเลย ธดุ งค์ไปตามปา่ ตามเขาหลายแห่ง
หลายที่ ไปหมด ตรงไหนๆ ไปหมด ตงั้ ใจไปกราบถวายตวั เปน็ ศษิ ยห์ ลวงปมู่ น่ั ทางภาคเหนอื ไปกไ็ ป
เจอหลวงปู่มั่น และเจอหลวงปู่แหวน หลวงปู่ขาว หลวงปเู่ ทสก์ ตอนไปปฏบิ ัติ หลวงปมู่ ั่นท่าน
ก็ใหแ้ ยกยา้ ยกนั ไป ตามแต่ท่านจะเมตตาสั่ง องคน์ นั้ ใหไ้ ปจำ� พรรษาทนี่ นั้ องค์น้ใี หไ้ ปจำ� พรรษาท่ี
นี้ ทา่ นก็สงั่ ใหไ้ ป กไ็ ปตามท่ที ่านสงั่ จะไปตายขา้ งหนา้ ไปตดั กิเลส เพราะมนั อยากสึก ไปมันจนสดุ
ไปไมก่ ลบั บ้าน บวชใหมๆ่ ไปทแี รก คดิ อยากสึก คิดตลอดเวลา ไปมันก่อน ตายขา้ งหน้า แล้วแต่มนั
จะตายท่ไี หน ลาว พมา่ ไปเรียบหมด ไปบางครั้งครึง่ เดือนกไ็ ม่ไดฉ้ ันขา้ ว ท่านต้งั ใจว่า เมอื่ บรรลธุ รรม
ขนั้ สงู สุดเปน็ พระอรหันตแ์ ลว้ จึงจะกลับบา้ นเกดิ ”
91
ออกธุดงค์ไปเมืองหลวงพระบาง
ในการออกเดนิ ธดุ งค์ไปฝง่ั ลาวเมืองหลวงพระบาง ซง่ึ ระยะทางไกลมาก หลายร้อยกโิ ลเมตร
หลวงปูพ่ รหม จิรปุญฺโ ท่านได้น�ำหลานชายคนหนง่ึ ช่อื “บุญธาต”ุ ซ่ึงเปน็ เดก็ ตวั น้อยอายุ
๗ ขวบ และยังไม่ได้เข้าโรงเรียนไปด้วย การเดินธุดงค์ทางไกลตามป่าตามเขาโดยการแบกกลด
สะพายบาตรเพยี งล�ำพังองคเ์ ดียว ท้งั ต้องเสยี่ งภยั อนั ตรายต่างๆ ทั้งความอดอยากและความหนาว
ก็นับว่าหนักหนาสาหัสอยู่แล้ว ย่ิงมีหลานชายไปด้วยก็ย่ิงมีภาระเพิ่มมากขึ้น เพราะบางคร้ังท่าน
ต้องอมุ้ หลานชายกระเตงไปดว้ ยกนั
การที่ทา่ นน�ำหลานชายไปด้วยนัน้ ไมท่ ราบสาเหตุและเหตผุ ล แตพ่ อสนั นษิ ฐานไดว้ ่ากเ็ พยี ง
เพ่ือช่วยหยิบ ช่วยประเคนของ รวมท้ังได้ฝึกหลานชายในเร่ืองความอดทนและความแข็งแกร่ง
รวมทัง้ การเอาตวั รอดในป่าดง สว่ นเหตุผลและความจ�ำเปน็ อนื่ น้นั ไมส่ ามารถทราบได้ แต่เช่อื แนว่ ่า
ทา่ นต้องมีเหตุผลและมคี วามจำ� เป็น เพราะตอนท่านเป็นฆราวาส ทา่ นไดร้ บั การยอมรับและยกย่อง
เป็นนายฮ้อยจากคนในหมู่บ้าน และเมื่อท่านบวชเป็นพระธุดงคกรรมฐานด้วยแล้ว ด้วยกิริยา
ทา่ ทางอนั สงบเสงี่ยม ด้วยนสิ ัยอันเคร่งขรึมพูดนอ้ ยของท่าน แลดูแล้วสง่างาม นา่ เกรงขาม และ
น่าเล่ือมใส ก็ยิ่งท�ำให้ท่านได้รับความเคารพนับถือและย่ิงได้รับความไว้วางใจจากพ่อแม่เด็ก ซึ่ง
หลานชายของทา่ นกต็ อ้ งได้รบั การยนิ ยอมจากพ่อแม่เด็ก
หลวงปู่และหลานน้อยบุญธาตุ ออกเดินด้วยเท้าจากบ้านดงเย็น ในเขตอ�ำเภอบ้านดุง
จังหวัดอดุ รธานี ไปทางอ�ำเภอโพนพสิ ยั จังหวัดหนองคาย อาศัยเรอื ขา้ มแม่นำ้� โขง ไปทางฝั่งลาว
แล้วเดินเลียบฝ่ังแมน่ ำ้� โขงขึ้นไปทางเหนือ เปา้ หมายอยู่ที่เมอื งหลวงพระบาง ดงั กลา่ ว
การเดนิ ทางไปเมอื งหลวงพระบางในสมัยนัน้ (๘๐ กวา่ ปีทแี่ ล้ว) แสนทรุ กนั ดารยากลำ� บาก
แม้ทางเดนิ เทา้ ก็แทบไมม่ ีเลย ตอ้ งบุกปา่ ฝ่าดงเสยี่ งภัยอนั ตรายไปเร่ือย เม่ือพบท�ำเลที่เหมาะแกก่ าร
บ�ำเพ็ญเพียร ก็หยดุ แขวนกลดพักในเวลากลางคนื เม่อื จดั ทใ่ี หห้ ลานชายนอนจนหลบั ไปแลว้ ทา่ นก็
น่งั บ�ำเพ็ญเพียรภาวนา เดินจงกรมรกั ษาจิต ขจดั กเิ ลสภายในออกจากจิตใจ ด้วยจิตใจท่เี ด็ดเดยี่ ว
ม่ันคงต่อธรรมค�ำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าและครูบาอาจารย์ ท่านได้สละทุ่มเทลงไปเพื่อได้มาซ่ึง
ธรรมตามความเปน็ จรงิ ให้จงได้
พอถงึ เชา้ วนั ใหมไ่ ดอ้ รณุ ทา่ นกเ็ ตรยี มออกโคจรบณิ ฑบาต อนั เปน็ กจิ วตั รทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ทรง
กำ� หนดไว้ใหเ้ ปน็ หนา้ ทข่ี องพระภกิ ษสุ ามเณรมาตั้งแตส่ มัยพุทธกาล โดยพระพุทธองคท์ รงสรรเสริญ
การบณิ ฑบาตว่าเป็นกจิ อนั ประเสรฐิ หรือท่ีเรยี กกนั ว่า การโปรดสตั ว์ เพราะการออกบิณฑบาตนน้ั
นับว่าเป็นการเผยแผพ่ ระศาสนาทางหน่ึงดว้ ย พอทา่ นมองเห็นใบไม้อ่อนแก่ มองเห็นลายมือของ
ตัวเองได้ชดั เจน อนั เป็นตามหลกั พระธรรมวินยั ของการบณิ ฑบาต ท่านนุ่งห่มครองจีวรและสะพาย
92
บาตรแล้วก็ออกเดินโคจรบิณฑบาตเข้าหมู่บ้านซ่ึงมีอยู่เพียงไม่กี่หลังคาเรือน พร้อมด้วยหลานชาย
ท่านได้อาศัยบิณฑบาตกับชาวป่าชาวดงท่ีอยู่ใกล้เคียงนั้น พอได้อาหารมาฉัน และแบ่งอาหารให้
หลานชายกิน พอประทังชีวิตไปวันหนึ่งๆ ฉันเสร็จแลว้ กเ็ กบ็ เครือ่ งบรขิ าร แล้วกอ็ อกเดินธดุ งคก์ นั
ต่อไป โดยหลานชายตัวนอ้ ย บุญธาตุ เดนิ ตามหลังทา่ นไปตดิ ๆ บกุ ปา่ ฝา่ ดง ปีนภเู ขาลกู แล้วลูกเล่า
โดยไม่มีท่ีหมายชัดเจนว่า แต่ละคืนจะไปหยุดพักที่ใด แล้วแต่จะเจอสถานที่ที่เหมาะสม ซึ่งอยู่
ไม่หา่ งไกลจากหมูบ่ า้ นนัก กจ็ ะแขวนกลดหยดุ พกั เป็นท่ีๆ ไป บางคราวกเ็ ดนิ เลยี บไปตามชายฝั่ง
ของแม่น้�ำโขง เพราะหนทางล�ำบากเป็นไปดว้ ยความยากล�ำบากแล้ว ยงั มีความอดอยากแร้นแค้น
อยา่ งสาหสั ดว้ ย
บางวันก็พบหย่อมหมู่บ้านพอได้อาศัยโคจรบิณฑบาต แต่บางวันเดินทั้งวันก็ไม่พบหมู่บ้าน
และใครๆ เลย แม้แต่ผู้คนเดินทางก็ไม่เจอใครเลย อาหารการขบฉัน และแม้แต่ของที่จะให้
หลานชายกินพอประทังความหิวก็ไม่มี ได้อาศัยเพียงน้�ำตามแหล่งน้�ำล�ำธาร กรองด่ืมลูบท้อง เพ่ือ
ประทงั ความหิวโหยไปเป็นครงั้ คราวเท่านนั้ เน่อื งจากหลานชายยังเล็ก ทงั้ เหน่ือย ทงั้ หวิ บางครั้งก็
ร้องไห้เพราะทนความหวิ ไมไ่ หว และไมย่ อมเดนิ หลวงปู่ต้องปลอบโยน รวมทั้งตอ้ งอมุ้ หลานไวก้ ับ
ตวั ก็มี ทำ� ความล�ำบากทลุ ักทุเลท้ังทา่ นและหลาน
ขณะน้ันหลวงปู่พรหม จิรปุญโฺ ทา่ นยงั ไม่พบกบั หลวงปมู่ ่นั ภรู ิทตโฺ ต พระบรู พาจารย์
ใหญ่แหง่ ยุค ท่านได้เล่าประสบการณต์ อนเดนิ ธดุ งคกรรมฐานสมัยแรกๆ ในประเทศลาวไวด้ ังนวี้ ่า
“ปฏบิ ัตธิ รรมเพอ่ื เอาความดนี ัน้ จะตอ้ งอดทน มีความพยายามอยา่ งสูงสดุ จึงจะได้มาซง่ึ
คณุ งามความดี การเดินป่าหาธรรมะ ตอ้ งตอ่ สูท้ ุกสงิ่ ทุกอยา่ งทีม่ ักเกดิ ขึน้ มา บางวนั กต็ ้องหอบหวิ้
สมั ภาระทั้งหมดน้ี เช่น บาตร กลด กาน้ำ� และยังตอ้ งอุ้มหลานชายไปด้วย ทง้ั นีเ้ พอื่ จะเดนิ ทาง
ไดเ้ รว็ ทำ� อย่อู ย่างน้ีตลอดวัน”
แม้ว่าการเดินธุดงค์จะเต็มไปด้วยความทุกข์ยากตลอดทาง แต่จิตใจนั้นไม่เคยยอมพ่ายแพ้
แก่อุปสรรค เพราะในชวี ิตท่านมเิ คยท้อถอยให้กับความยากลำ� บากและความลำ� เค็ญเข็ญใจ อนั เปน็
อาการภายนอก เป็นความทกุ ขท์ างกาย ท่านสามารถฝ่าฟนั ออกไปไดด้ ้วยความอดทนอดกล้นั เอา
สว่ นภายในจิตใจนั้น ทา่ นบอกวา่ มแี ตค่ วามอม่ิ เอบิ เบิกบานใจ เพราะทา่ นมงุ่ ตอ่ มรรคผลนิพพาน
โดยถ่ายเดยี วนัน่ เอง
การเดนิ ธุดงค์ของหลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ ไดม้ าสิน้ สดุ ลงเมือ่ มาถงึ จุดหมายปลายทาง คอื
เมอื งหลวงพระบาง ทางตอนเหนือของประเทศลาว ตามทที่ า่ นตั้งใจไว้ จากน้ันท่านไดอ้ ย่พู กั เหนื่อย
เปน็ เวลาหลายวัน
93
พ.ศ. ๒๔๗๕ ท่านจ�ำพรรษาที่เมืองหลวงพระบาง
ตามค�ำบอกเล่าของครบู าอาจารย์ที่ได้ยินได้ฟังจาก หลวงปู่พรหม จิรปญุ โฺ เม่ือท่านเดนิ
ธุดงคถ์ ึงเมอื งหลวงพระบางแล้ว ท่านได้อย่จู �ำพรรษาทนี่ ่ัน ๑ พรรษา
ในสมัยก่อนการเดินทางข้ามพรมแดนเข้าประเทศลาว เข้าสู่เมืองหลวงพระบางไม่ได้ยาก
แบบสมยั ปัจจุบนั น้ี ชาวไทยและชาวลาว เป็นเสมอื นบ้านพี่เมอื งนอ้ ง การไปมาหาสู่กนั จงึ เป็นไปได้
โดยงา่ ย ความสำ� คัญของเมอื งหลวงพระบาง ซึง่ ท�ำใหค้ รบู าอาจารยน์ ิยมเดนิ ธดุ งค์ไปปฏบิ ตั ิธรรมกนั
มีดังนี้
“เมืองหลวงพระบาง เป็นเมืองส�ำคัญอีกเมืองหน่ึงของประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย–
ประชาชนลาว เปน็ เมอื งทมี่ สี ภาพภมู ปิ ระเทศโอบลอ้ มดว้ ยหบุ เขารอบดา้ น มภี เู ขาสลบั ซบั ซอ้ นและ
ตอ่ เนือ่ งกนั ทำ� ให้มีที่ราบเพยี งส่วนน้อย สภาพพนื้ ท่ใี นอดีตเป็นดงหนาป่าทึบ อุดมสมบรู ณ์ไปด้วย
ตน้ ไม้น้อยใหญ่ สัตวป์ ่ามากมาย และมแี ม่น�ำ้ ส�ำคัญไหลผา่ นหลายสาย เช่น แมน่ ้�ำโขง แม่น้ำ� คาน
และแมน่ ำ้� อู ชาวเมอื งสว่ นใหญน่ บั ถอื พระพุทธศาสนา มีจติ ใจโอบอ้อมอารี ใจบุญสุนทาน ด้วย
สาเหตุปัจจัยดังกล่าว เมืองหลวงพระบางจึงเป็นเมืองสัปปายะอีกเมืองหนึ่งซึ่งพ่อแม่ครูอาจารย์
วงกรรมฐานองค์สำ� คัญๆ ต่างนิยมเดินธดุ งค์ไปปฏิบัตธิ รรมกนั เชน่ หลวงปู่เสาร์ กนฺตสโี ล หลวงปู่
มน่ั ภูรทิ ตโฺ ต หลวงป่แู หวน สุจณิ โฺ ณ หลวงปูต่ อ้ื อจลธมฺโม ฯลฯ รวมทัง้ หลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ
ทา่ นก็ไดเ้ ดนิ ธุดงคไ์ ปปฏิบตั ิธรรมและได้อยจู่ ำ� พรรษา
ปจั จุบัน เมอื งหลวงพระบาง ถอื ไดว้ ่าเปน็ ศูนยร์ วมของความเจรญิ ในภาคเหนือของประเทศ
สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาวในทุกๆ ดา้ น เชน่ ดา้ นการศึกษา ด้านการท่องเทย่ี ว และ
ด้านการคมนาคมขนส่ง ฯลฯ โดยได้รับการยกย่องเปน็ เมอื งมรดกโลกจากยเู นสโก ดว้ ยเหตุผล คอื
มีวดั วาอารามเกา่ แก่มากมาย มบี ้านเรือนอนั เป็นเอกลักษณ์ ตัวเมอื งตั้งอยู่ริมแมน่ �้ำโขงและแมน่ ำ�้
คาน ซง่ึ ไหลบรรจบกนั ท่ามกลางธรรมชาตอิ นั งดงาม และชาวเมอื งหลวงพระบางมีบคุ ลกิ ทย่ี มิ้ แย้ม
แจม่ ใสเป็นมิตรและมีขนบธรรมเนยี มประเพณที ี่งดงาม”
ท่านรักษาอาพาธด้วยธรรมโอสถ
หลวงปู่พรหม จิรปุญฺโ ท่านเป็นครูบาอาจารย์อีกองค์หน่ึงท่ีมีความมุ่งม่ันเด็ดเดี่ยวต่อ
มรรคผลนิพพาน ดังนนั้ นบั แต่ทา่ นออกบวช ทา่ นกเ็ ริ่มออกเดนิ ธุดงคต์ ามป่าตามเขา เพ่ือฝึกฝน
อบรมทรมานจติ ใจตามแนวทางของพระปรมาจารย์ใหญฝ่ า่ ยกรรมฐาน คอื ทา่ นพระอาจารย์เสาร์
กนฺตสีโล ท่านพระอาจารยม์ ั่น ภรู ทิ ตฺโต ดว้ ยการอดนอน ผอ่ นอาหาร และอดอาหาร โดยใน
พรรษาที่ ๕ ของทา่ น ระหวา่ งอยู่ทเ่ี มืองหลวงพระบาง ท่านก็เกิดอาการอาพาธหนักด้วยโรคท้อง
94
คอื ท่านเปน็ โรคกระเพาะอาหารเป็นพษิ ซึ่งโรคนี้บรรดาครูบาอาจารยเ์ พชรน�้ำหนง่ึ ในวงกรรมฐาน
เปน็ กันหลายๆ องค์ นบั แต่ท่านพระอาจารยม์ นั่ ผเู้ ป็นปรมาจารย์ ศษิ ยร์ ุ่นใหญ่ เชน่ หลวงปู่พรหม
ฯลฯ และศิษยร์ ุน่ ตอ่ มา เชน่ องคห์ ลวงตาพระมหาบัว าณสมปฺ นฺโน และทุกองค์ต่างกร็ กั ษาด้วย
ธรรมโอสถ
การรักษาอาพาธด้วยธรรมโอสถ มีมาแต่สมัยครงั้ พทุ ธกาล องคส์ มเดจ็ พระสัมมาสัมพุทธเจา้
และพระอรหนั ตสาวก เมอ่ื คราวอาพาธกใ็ ช้ธรรมโอสถในการรักษาระงบั โรคภัย และทรงประกาศ
ธรรมโอสถบทนี้มานานและทา้ ทายผู้ปฏิบัติธรรมเร่ือยมา ดงั บทสวด สกฺกตวฺ า พุทธฺ รตนํ ธมฺมรตนํ
สงฺฆรตนํ โอสถํ อุตฺตมํ วร ํ พระพทุ ธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ เปน็ โอสถอยา่ งย่ิง และธรรมโอสถน้ี
นอกจากเป็นยาระงับดับโรคภัยได้เป็นอย่างดีแล้วยังดับกิเลสได้อีก โดยองค์หลวงตาพระมหาบัว
าณสมปฺ นฺโน ไดเ้ มตตาเทศน์ไว้ดังน้ี
“สกฺกตฺวา พุทฺธรตนํ โอสถํ อุตฺตมํ วร,ํ
สกกฺ ตวฺ า ธมฺมรตนํ โอสถํ อุตฺตมํ วรํ,
สกฺกตฺวา สงฆฺ รตนํ โอสถํ อุตตฺ มํ วรํ,
พระพทุ ธเจา้ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นโอสถอันใหญ่ เปน็ โอสถอะไร กแ็ กก้ เิ ลสตณั หาอาสวะ
ภายในใจของเรานี้เอง น่นั !
“พทุ ธะ” แปลว่า ผูร้ ู้ เอาผรู้ ผู้ ้ฉู ลาดนล้ี ะ่ มาแก้
“ธรรมะ” ท่ีปรากฏขึ้นภายในจิตใจเพราะความเพียร ย่อมระงับดับโรคความวุ่นวายไปได้
หมด
“สังฆะ” ผ้ทู รงไวซ้ งึ่ ธรรมอศั จรรย์ ตามเสดจ็ พระพุทธเจา้ ทนั
นเ่ี ป็นโอสถแตล่ ะอยา่ ง ละอยา่ ง หรือแตล่ ะธรรมชาติ จึงเป็นเครือ่ งพยงุ จิตใจไดอ้ ย่างดเี ลศิ
อย่ทู ไ่ี หนอย่าลมื “พทุ ธะ ธรรมะ สังฆะ” ซึง่ มีความประเสรฐิ แท้อยูภ่ ายในใจน้ี จติ ของเรานแ้ี ล
จะเป็นภาชนะส�ำคัญ ส�ำหรับรับ “พุทธะ” อันแท้จริงจากพระพุทธเจ้ามาเป็น “พุทธะ” ของเรา
“ธรรมะ” อันแท้จริงจากธรรมของพระพุทธเจา้ เป็นธรรมะของเรา ด้วยการชำ� ระได้ จากสงั ฆะของ
พระสงฆ์สาวกท่าน มาเป็น “สังฆะ” ของเราผู้ทรงไว้ซ่ึงธรรมทั้งหลายท่ีมีอยู่ภายในใจ ด้วยการ
ปฏิบัตธิ รรมของตน”
มาถึงสมัยคร้งั กึง่ พุทธกาล นับแตท่ ่านพระอาจารย์เสาร์ กนฺตสีโล ท่านพระอาจารย์มนั่
ภรู ิทตโฺ ต พระปรมาจารยส์ ายพระธดุ งคกรรมฐาน จวบจนพระศษิ ย์ประเภทเพชรน�้ำหน่ึงทง้ั หลาย
95
เช่น หลวงปู่ชอบ านสโม หลวงปฝู่ นั้ อาจาโร หลวงตาพระมหาบวั าณสมฺปนโฺ น ทา่ นพระ–
อาจารย์จวน กลุ เชฏฺโ ท่านพระอาจารยส์ ิงหท์ อง ธมมฺ วโร เปน็ ต้น เมอื่ คราวออกธุดงคบ์ ำ� เพ็ญ
ภาวนาตามปา่ ตามเขาเกิดอาพาธลม้ ปว่ ยลง ทา่ นก็ใชธ้ รรมโอสถในการรกั ษาระงบั โรคภัย
กรณีของหลวงปู่พรหม จิรปุญฺโ ขณะที่ท่านพักอยู่ท่ีเมืองหลวงพระบางน้ัน ท่านเกิด
อาพาธหนักเปน็ โรคทอ้ ง ท่านกใ็ ชธ้ รรมโอสถรักษา คลา้ ยๆ กับกรณีการอาพาธโรคทอ้ งของท่าน
พระอาจารยม์ ่นั ดงั น้ี
“ในขณะทอี่ ยพู่ ักยังเมอื งหลวงพระบางนนั้ ทา่ นเกิดล้มป่วย วบิ ากขนั ธข์ องทา่ นสรา้ งความ
เจบ็ ปวดทรมานจิตใจอย่างรนุ แรง ดังท่ีท่านไดเ้ ล่าดงั ต่อไปนี้
เมื่อไปถึงที่กเ็ กดิ เจบ็ ป่วยดว้ ยโรคท้อง (กระเพาะอาหารเป็นพิษ) จนตอ้ งเขา้ รับการรักษาท่ี
โรงพยาบาล รกั ษาไปนานวันก็ไม่หายจงึ ต้องออกจากโรงพยาบาลเสยี ต่อมากไ็ ด้เขา้ ไปใหพ้ ระภกิ ษุ
รปู หนึ่งช่อื อาจารยก์ ้ง เป็นหมอพระอยลู่ ะแวกน้ันรักษา แตอ่ าการเจบ็ ป่วยก็ไมท่ เุ ลาลงเลย ท่านจงึ
ตดั สินใจอย่างเด็ดเดี่ยววา่
“ต่อไปนี้เราจะไม่รักษาดว้ ยยาอีก จะไมฉ่ นั ยาขนานใดๆ อีกต่อไป ถ้าจะเกิดล้มตายลงไป
ก็ถอื เปน็ กรรมเกา่ ของเรา แตถ่ า้ หากเรายังพอจะมบี ญุ อยูบ่ า้ ง ก็คงจะหายไปเป็นปรกติได้”
ภายหลงั จากท่านตัดสินใจแลว้ ทา่ นกไ็ ด้ยุติการใช้ยาหรือฉนั ยารกั ษาโรคทนั ที หันมาใชว้ ธิ ี
“รักษาด้วยธรรมโอสถ” ท่านเจริญสมาธิ ฝึกจิตใจให้เข้มแข็ง พิจารณาธาตุขันธ์ แล้วเพ่งเพียร
รักษาด้วยอารมณ์จิตใจที่เป็นสมาธิ ทรงคุณธรรมไว้เฉพาะหน้า บุญญาบารมีเป็นเครื่องน�ำหนุน
มีวาสนาเป็นยารกั ษาโรคใหห้ ายจากอาการเจบ็ ปวดทรมาน ซ่ึงต่อมาทา่ นกค็ อ่ ยๆ หายจากอาการ
อาพาธ และไดเ้ ดินธดุ งคก์ ลับมาประเทศไทย น�ำหลานชายมาคนื ให้พอ่ แมเ่ ขาต่อไป”
สำ� หรบั เดก็ ชายบญุ ธาตุ มีเรอื่ งเล่าสบื ตอ่ กนั มาวา่ หลวงปู่พรหมทา่ นรักหลานชายคนน้มี าก
ท่านจึงหัดใหภ้ าวนา และหลานชายคนน้ภี าวนาเกง่ ด้วย ท่านจึงน�ำไปธดุ งคฝ์ ง่ั ลาวดว้ ยกัน ขณะอยู่
ในป่าเด็กชายบุญธาตุไปเจอเปรตก็ตกใจกลัวเลยไม่สบายและอาจเป็นไข้ป่าด้วย ต่อมาไม่นานเม่ือ
กลับถึงบา้ นดงเย็น ก็ล้มป่วยหนกั และได้เสยี ชีวติ ลงต้งั แตย่ ังเปน็ เดก็
เรื่องเปรตเฒ่าจันทร์
ครบู าอาจารย์องคท์ ่ที ่านเคยอยูจ่ �ำพรรษากับหลวงปพู่ รหม จิรปญุ ฺโ ท่านเมตตาเล่าวา่
ท่ีวัดประสิทธิธรรม มภี มู เิ จา้ ที่มันเข็ด (แรง) อยูใ่ นน้ัน หลวงพอ่ จันทรไ์ ปอยู่วดั ในเมืองหลวงพระบาง
ตายแลว้ ไปเปน็ เปรตมาสงิ เณรวัดใน (วัดผดงุ ธรรม) พอพระผมู้ ศี ีลมีธรรมทอี่ ยกู่ บั หลวงปู่พรหมเข้า
96
ไปดู เปรตมนั ไมใ่ หพ้ ระเข้าใกล้ มันคงจะร้อน ปานนัน้ นะ หลวงพ่อจนั ทรแ์ กเป็นเปรต เพราะขาย
ของสงฆ์ ชาวบ้านทำ� บญุ กฐนิ ท่วี ัด แกเอาบาตรกฐินไปขาย ขายไมแ่ พง แตก่ ่อน ๑๐ สตางค์ ไปซ้ือ
กางเกงใหเ้ ด็กชายบุญธาตุ ลูกของแกเอง และเป็นหลานของหลวงปู่พรหม ของสงฆ์รักษาไม่เปน็
เอาไปท�ำอยา่ งอ่ืน พอตายแลว้ เลยไปเกิดเป็นเปรต กไ็ ปสิงเณรสาย ฉนั จังหนั เชา้ แลว้ สิงเณรจน
ตวั แข็งตาคา้ ง
อยู๋ ! ขณะพูดเด๋ยี วน้ยี งั นา่ กลวั อยนู่ ะ เปรตมาสงิ นี่ ไม่ใช่สงิ วนั เดียวนะ สิงอยตู่ ง้ั ๖ – ๗ วนั
ตอนเปรตเขา้ สิง มากนิ ข้าวแล้วกท็ ำ� ตาจ้องเขมง็ ต�ำหมากเคี้ยวจ้วบๆ คนไหนเปน็ อะไรๆ รจู้ กั หมด
บา่ งในวดั มันเยอะ พระวัดในพากันไปไลบ่ า่ ง ไปเลือ่ ยเอาไมล้ ง รูจ้ กั หมด ใครไปทำ� อะไร รูจ้ ักหมด
หลวงปู่พรหมท่านเลยเมตตาโปรดสงเคราะห์เปรตเฒ่าจันทร์ โดยแนะน�ำให้ญาติพี่น้องของเขา
เอาเงินไปช�ำระหนี้สงฆ์ เหตกุ ารณจ์ งึ สงบลง เรอื่ งแบบนเ้ี ปน็ กรรมอย่างนน้ั ๆ พระนไ่ี ปตกนรกก็เยอะ
โอ้ย ! บางทที า่ นกท็ กุ ข์ล�ำบากกับไอ้ตวั เล็กไปจนถงึ พอ่ มันด้วยน่นั ละ่ “เอาไว้ยังไงหลาน จะไปหา
ครอู าจารยม์ นั่ เชยี งใหม”่ ทา่ นกไ็ ปน้นู จรงิ ๆ
97
ภาค ๖ เดินธุดงค์ภาคเหนือติดตามหาท่านพระอาจารย์ม่ัน
ครูบาอาจารย์จ�ำเป็นและส�ำคัญมาก
หลวงปู่พรหม จิรปญุ โฺ ขณะเปน็ ฆราวาสกอ่ นออกบวช หากท่านไมไ่ ดร้ ับค�ำตอบท่ีท�ำให้
ท่านหายสงสัยและหากไม่ได้ฟังธรรมจากท่านพระอาจารย์สารณ์ สุจติ โฺ ต ครบู าอาจารย์องค์แรก
ของทา่ นแล้ว ท่านก็คงยังไมพ่ บหนทางแห่งความสุขที่แท้จริง ท่านจึงตระหนักถึงความจำ� เปน็ และ
ความส�ำคัญของการมีครูบาอาจารย์ ย่ิงเมื่อท่านออกบวชปฏิบัติธรรมเพ่ือแสวงหาโมกขธรรมน้ัน
เร่ืองของครบู าอาจารยย์ ง่ิ มีความจำ� เปน็ และมีความส�ำคัญมาก ดังน้ี
ในสมยั ครง้ั พุทธกาล องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ก่อนพระองคจ์ ะตรสั รู้ ได้เสด็จออก
ธุดงคกรรมฐานเป็นพระป่าองค์แรกของโลก ก็ทรงแสวงหาครูบาอาจารย์ คร้ังสมัยก่ึงพุทธกาล
ท่านพระอาจารยเ์ สาร์ และ ท่านพระอาจารยม์ ่นั สองพระปรมาจารย์ผบู้ กุ เบิกฟ้ืนฟูธุดงควตั ร
ก่อนจะบรรลุธรรม ก็ออกธดุ งคกรรมฐานแสวงหาครูบาอาจารย์เชน่ เดยี วกัน ฉะนนั้ ครูบาอาจารย์
ผ้สู ่งั สอนอบรมภาคปฏิบัติ จึงจ�ำเป็นและสำ� คัญมาก โดยองค์หลวงตาพระมหาบัว าณสมปฺ นฺโน
ได้เมตตาเทศนไ์ วด้ งั นี้
“ในบรรดาโอวาทที่พระองค์ทรงสั่งสอนไว้นั้น เราท้ังหลายก็เรียน แต่ความจ�ำได้โดยไม่มี
ผู้พาด�ำเนิน กับ ความมีครูมีอาจารย์ผู้พาด�ำเนินนั้น เป็นส่ิงที่ผิดแปลกกันอยู่มาก เพราะฉะน้ัน
ทา่ นจงึ มีไวท้ ้ังปรยิ ัติ คือ การศกึ ษาเลา่ เรยี นวิธีการด�ำเนนิ และการดำ� เนนิ คือ ภาคปฏิบตั ิ ตาม
ศาสนธรรมท่ีเราได้ศึกษาเล่าเรียนมา ผลก็แสดงออกเป็นปฏิเวธธรรม คือ รู้ไปโดยล�ำดับล�ำดา
จากภาคปฏิบัติของตน จนถงึ ขนั้ ร้แู จ้งแทงตลอด น่ที า่ นแสดงไวโ้ ดยสมบูรณ์
แม้เช่นนน้ั กย็ งั ต้องอาศยั ผู้พาดำ� เนิน เพราะเพยี งจำ� ได้วธิ กี ารต่างๆ ทท่ี า่ นประกาศสอนไว้
หรอื มีในคมั ภีรใ์ บลานตามหนงั สอื ตา่ งๆ ถ้าไมม่ ผี ู้พาดำ� เนนิ กไ็ มท่ ราบจะหยิบยกเอาอนั ใดมาก้าว
มาเดนิ มาด�ำเนิน มาปฏิบตั ิ น่สี ง่ิ ท่ขี ดั ขอ้ งแก่ผดู้ ำ� เนนิ ขัดขอ้ งอยา่ งนี้ เพราะหลกั ของธรรมแท้ท่ี
พระพุทธเจา้ ได้น�ำมาประกาศสอนโลกทง้ั หลายนี้ ไมว่ ่าธรรมขั้นใด ตงั้ แต่ธรรมพ้นื ๆ จนกระทัง่
ถึงธรรมอันสุดยอด เป็นธรรมท่ีเกิดจากภาคปฏิบัติของพระพุทธเจ้าล้วนๆ ไม่ได้ทรงศึกษา
สำ� เหนยี กจากผูห้ นึ่งผู้ใด หรืออาจารย์ใดๆ เลย
เพราะฉะน้ัน การที่ผู้ปฏิบัติตามท่ีจะให้เป็นไปตามความมุ่งหมายของตนโดยถ่ายเดียวน้ัน
จึงเป็นการล�ำบากเม่ือปราศจากครูอาจารย์ผู้พาด�ำเนิน ในคร้ังพุทธกาล พระพุทธเจ้า ก็คือ
พระองคเ์ องเป็นผู้ประกาศธรรมสอนสาวก ตง้ั แตป่ ฐมสาวก มเี บญจวคั คยี ท์ ั้ง ๕ เปน็ ต้น จนกระท่ัง
ถงึ วาระสดุ ท้าย ถงึ ปัจฉมิ สาวก มีสภุ ทั ทะเปน็ ที่สุด ในคนื พระองคจ์ ะปรนิ พิ พานไดบ้ รรลุธรรมเป็น
98
ปัจฉิมสาวกอรหันตข์ นึ้ มา ล้วนแลว้ แต่แสดงภาคปฏิบตั ิ วธิ ปี ฏบิ ัติ และพาด�ำเนินด้วยพระองคเ์ อง
อีกด้วย
อนั ดับต่อมา ก็คือ พระสาวกท่ีได้สดับจากพระพุทธเจา้ และด�ำเนนิ ตามพระองค์ จนไดผ้ ล
เป็นท่ีพอใจแลว้ กเ็ ปน็ ครเู ป็นอาจารย์ เป็นคตติ วั อยา่ งพาดำ� เนนิ ทัง้ การแสดงวธิ กี าร ท้ังการพา
ดำ� เนิน เช่น พาเดนิ จงกรม พานง่ั สมาธภิ าวนาใหเ้ ห็น และแสดงธรรมวธิ ีการปฏิบัตจิ ิตตภาวนาเป็น
อย่างไร จนกระท่งั ถึงธดุ งค์ ๑๓ ข้อ นั่นลว้ นแลว้ แต่เป็นภาคปฏิบัติ และมีผู้พาดำ� เนนิ มาดว้ ยแลว้
ทั้งนน้ั เบื้องต้นกพ็ ระพุทธเจ้าทรงพาด�ำเนนิ ถัดมาก็คือ พระสาวกทง้ั หลาย
อย่างครูบาอาจารยส์ มยั ปัจจบุ นั นี้ พอ่ แมค่ รูอาจารย์ม่ันกล็ ว่ งลบั ไปแล้ว ผูไ้ ด้ศึกษาอบรม
กับทา่ นก็ไดย้ ึดมาเปน็ หลักเป็นเกณฑ์ ทงั้ ภายนอก คอื ขอ้ วัตรปฏิบัติ หลักธรรมหลักวินยั ทง้ั ภายใน
คือ การประกอบความพากเพยี ร เพ่ือศีล เพ่อื สมาธิ เพือ่ ปญั ญา เพือ่ วิมตุ ตหิ ลดุ พน้ ทา่ นก็พาดำ� เนิน
และได้ชีแ้ จงแสดงใหพ้ วกเราทง้ั หลายได้ยนิ ได้ฟัง จนเป็นทีพ่ อใจเปน็ ทจ่ี ุใจ แลว้ น�ำมาแจกจ่ายซง่ึ กนั
และกันจนกระทั่งปัจจุบันน้ี จึงเปน็ ทแ่ี น่ใจในปฏิปทาของท่านที่พาด�ำเนินมา...
เรอ่ื งกรรมฐานนี่ส�ำคญั อยู่ที่ครอู าจารยเ์ ปน็ ผู้น�ำ นสี่ �ำคัญมาก นำ� ผิดๆ ถกู ๆ ไปมากต่อมาก
นะ ไม่ค่อยจะน�ำไปตามแถวทางที่พระพุทธเจ้าสอน น�ำเคลือบๆ แฝงๆ ออกไปนอกลู่นอกทาง
สุดทา้ ยกก็ ิเลสลากไป เลยกลายเปน็ กิเลสน�ำไปเสยี ไม่รู้ ครูอาจารย์สำ� คญั มาก ทค่ี อยให้ค�ำแนะน�ำ
ตักเตือนสั่งสอนทางด้านจิตตภาวนา ส่วนคัมภีร์วินัยเราก็เห็นทุกคน ปฏิบัติตามนั้นแล้วก็ไม่มี
ข้อสงสยั แต่เร่ืองของใจนีล้ ะเอียดลออมาก จงึ ต้องอาศัยครูอาจารยแ์ นะ ครอู าจารยถ์ ้าไมช่ ำ� นิ–
ชำ� นาญ ไม่เชีย่ วชาญทางดา้ นจติ ใจมาแล้วกส็ อนผดิ ๆ พลาดๆ ไปอกี จึงวา่ สำ� คัญส�ำหรบั ครูอาจารย์
ที่จะแนะจะบอก
เพราะจติ นี่พิสดารมากนะ เวลาเราภาวนาเขา้ ไป แตไ่ มพ่ ิสดารกว้างขวางไปเสียทุกองค์นะ
หากกวา้ งขวางถ้าพดู ถงึ เรอื่ งกว้างขวาง แตอ่ งคท์ เี่ ลศิ เลอเข้าไปอีกยงั มี ผเู้ ดน่ กว่ากนั ยังมี จึงบอกวา่
มันเปน็ ไปตามรายๆ ผู้กว้างขวางลกึ ซง้ึ มากก็มี ผหู้ ย่อนลงมากว่านน้ั กม็ ี แต่ยงั ไงก็ต้องแสดงความ
กวา้ งขวางของตนจนไดแ้ หละ อำ� นาจของจิต เวลาภาวนาเข้าไป ส่ิงไมร่ ูม้ นั รู้ มนั เห็นน่ี แลว้ เห็นสิ่งนี้
จะปฏิบตั ิยงั ไง ถา้ มีครมู อี าจารย์ท่านแนะ เปน็ อย่างนัน้ แนะใหป้ ฏิบัตอิ ยา่ งน้ัน นน่ั ผา่ นไปได้ๆ”
ครูบาอาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบัติ สอนสมถะ – วิปัสสนากรรมฐานองค์ส�ำคัญในภาคอีสาน
ที่มีชอื่ เสยี งกิตติศพั ท์กิตตคิ ุณอันกระฉอ่ นโด่งดงั ในด้านสมั มาปฏิบัตอิ นั สมบกุ สมบนั เดด็ เดีย่ ว และ
ในดา้ นภมู จิ ิตภูมิธรรมข้ันสูง จนเปน็ ทย่ี อมรบั กันอยา่ งกว้างขวาง ในสมยั ทหี่ ลวงปูพ่ รหม จริ ปญุ โฺ
ไดเ้ รม่ิ ออกเท่ยี วธดุ งคกรรมฐานนนั้ คอื ทา่ นพระอาจารย์มัน่ ภูริทตฺตมหาเถร พระปรมาจารยใ์ หญ่
99
กองทัพธรรมพระธุดงคกรรมฐาน ท่านเป็นพระผู้บุกเบิกฟื้นฟูธุดงควัตรและออกปฏิบัติกรรมฐาน
ร่วมกับทา่ นพระอาจารยเ์ สาร์ กนฺตสีลมหาเถร
ท่านปรารถนาเป็นศิษย์หลวงปู่ม่ัน
ขณะท่ีหลวงปพู่ รหม จิรปญุ ฺโ ท่านได้อย่ปู ฏบิ ตั ิธรรมกบั ท่านพระอาจารย์สารณ์ สุจติ โฺ ต
ซ่ึงท่านเป็นอาจารย์สอนกรรมฐานองค์แรกของหลวงปู่พรหม และท่านเป็นศิษย์อาวุโสองค์ส�ำคัญ
องค์หน่ึงของหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต บ่อยครั้งที่ท่านพระอาจารย์สารณ์ ได้กล่าวยกย่องสรรเสริญ
พรรณนาคุณของหลวงปู่มั่นให้หลวงปู่พรหมได้ยิน เพียงท่านได้ยินเท่าน้ัน ท่านถึงกับเกิดความ
ปลม้ื ปตี ิยินดเี ปน็ ลน้ พ้น จนท่านเกิดความคดิ ความม่งุ มั่นตอ่ หลวงปู่มน่ั อยา่ งแรงกลา้ อยา่ งชนิดจะ
เป็นศษิ ย์ทย่ี อมสละเป็นสละตายอุทศิ ชีวติ เพอ่ื ปฏบิ ตั ิบชู าคุณ บชู าธรรมหลวงป่มู ่นั เพ่ือโมกขธรรม
อนั เลิศเลอสูงสดุ ขององคพ์ ระบรมศาสดาตอ่ ไป
เรื่องราวเหตุการณ์ของหลวงปู่พรหมเช่นนี้ ก็เป็นเช่นเดียวกับเหล่าบรรดาพระศิษย์ของ
หลวงปู่มั่นทั้งหลายท่ีมุง่ แสวงหาโมกขธรรม เพราะเมอ่ื ตา่ งได้ยนิ กิตติศัพทก์ ิตตคิ ณุ อนั เลอื่ งลือของ
หลวงปู่มน่ั แลว้ ต่างก็เกิดความปรารถนาอยา่ งแรงกล้าอยากจะไดเ้ ห็น ไดพ้ บ ไดถ้ วายตวั เปน็ ศิษย์
เพื่อจะได้ฟังธรรม ได้รับอุบายธรรม และได้มีโอกาสอยู่ร่วมส�ำนักเพื่ออยู่อุปัฏฐากรับใช้และเพ่ือ
ปฏิบตั ิธรรมกับหลวงปมู่ ่นั ดงั กรณขี ององค์หลวงตาพระมหาบัว าณสมฺปนฺโน เมื่อท่านอยู่ในกุฏิ
เฝ้าดูหลวงป่มู น่ั ขณะเดินบิณฑบาต ท่านเห็นหลวงป่มู นั่ ครั้งแรกเกิดความปีตเิ อิบอ่มิ ใจ ดังน้ี
“เราก็ดู ดูทกุ อยา่ งเลยเตม็ ก�ำลงั ความสามารถ ดดู ว้ ยความปลมื้ ปตี ิ ด้วยความอม่ิ เอบิ ภายใน
จิตใจ ยิ้มแย้มแจม่ ใสภายในใจ พอทา่ นใกลเ้ ข้ามาๆ เราก็ปุ๊บปั๊บเข้าหอ้ ง แลว้ กไ็ ปดู ประตอู ย่ขู า้ งใน
นะ เข้าไปอยใู่ นนัน้ แลว้ ดูชอ่ งฝา
ทา่ นเดินมาน้นั ดู โอ้โหย ! ไมไ่ ดว้ า่ อืน่ นะ เพราะมนั เช่อื ฝังลึกแลว้ เน่อื งจากไดย้ ินกิตตศิ พั ท์
กิตติคุณของท่านมาเป็นเวลานาน ว่าองค์ใดออกมาก็ตาม ออกมาจากหลวงปู่ม่ัน พูดเป็นเสียง
เดียวกันหมด ว่าท่านอาจารย์มั่นไม่ใช่พระธรรมดา เป็นพระอะไรไม่ใช่พระธรรมดา พระอริยะ
อรยิ ะก็มีหลายขน้ั โสดา สกทิ าคา อนาคา อรหนั ต์ อริยะทัง้ นั้น ทา่ นอยู่ขั้นใด ท่านบอกเปน็ เสียง
เดยี วกนั ขนั้ สดุ ยอด บอกอยา่ งนนั้ เลย นนั่ ละ่ ฝงั ลกึ ทนี เี้ วลาทา่ นมาแลว้ เรากด็ กู ริ ยิ าทา่ ทางของทา่ น
ทุกอย่างเลย ท่านจะดูไม่ดูเราก็ตาม เราอยู่ในกุฏิส่องออกมา วันน้ันปีติทั้งวันเลยนะ มันเอิบอ่ิม
นน่ั เป็นยงั ไง เห็นพระดีเปน็ อย่างนัน้ ...
100
ใครก็อยากพบ ใครกอ็ ยากเหน็ พระดี มันร่นื เรงิ ภายในจิตใจ เย็น เวลาน้นั ทุกขห์ ายไปหมด
เวลาได้เห็นพระเห็นครูบาอาจารย์ที่เรามีความเคารพเลื่อมใสแล้วมันปล้ืมอกปล้ืมใจ ทุกข์ท้ังหลาย
กระจายหายไปเวลานนั้ นะ นี่อ�ำนาจแห่งธรรมเย็นฉ�ำ่ ”
กรณีของหลวงปู่พรหมท่านก็เป็นเช่นนั้น เพราะในชีวิตแห่งเพศสมณะของท่าน ท่านมุ่ง
แสวงหาโมกขธรรม ทา่ นก็หวังฝากเปน็ ฝากตายกับหลวงปู่มนั่ แตก่ ่อนทที่ ่านจะไดพ้ บกบั หลวงปมู่ ัน่
ทา่ นรำ� พงึ กบั ตนเองเสมอว่า
“ก่อนที่เราจะเข้าน้อมกราบนมัสการถวายตัวเป็นศิษย์ของท่านพระอาจารย์มั่น ซ่ึงท่าน
เป็นครูบาอาจารย์ผู้ทรงอรรถทรงธรรม ทรงคุณงามความดี ทรงสติปัญญาอันล�้ำเลิศ และมีความ
เฉลียวฉลาดสามารถในการอบรมสั่งสอนศิษย์ ตามท่ีท่านพระอาจารย์สารณ์ยกย่องสรรเสริญนั้น
จ�ำเป็นที่เราจะต้องออกเดินธุดงค์เพื่อหมั่นฝึกฝนอบรมและทรมานจิตใจของตนเองให้มีความพร้อม
ให้มคี วามเข้มแขง็ มั่นคงและเด็ดเดี่ยวแน่วแน่เสยี ก่อน เพือ่ ใหค้ ่คู วรกับการจะไดเ้ ปน็ ศษิ ยข์ องครูบา–
อาจารย์องค์ส�ำคัญแห่งยุค เพราะเมื่อได้พบ ได้รับการอบรม และได้รับอุบายธรรมใดๆ จากท่าน
แล้ว ก็จะได้ทุม่ เททัง้ รา่ งกายและจิตใจ ตลอดสรรพก�ำลังทงั้ ปวง เพื่อประพฤตปิ ฏบิ ตั ธิ รรมอยา่ งเตม็
กำ� ลงั สตปิ ญั ญาสดุ ความสามารถ โดยจะขอให้ถงึ ซง่ึ พระนพิ พานบรมสุข หรอื สุขอันแทจ้ รงิ ในชาติน้ี
เท่าน้ัน หากเรามีวาสนาบารมีแก่กล้าแล้ว ก็คงจะสมหวังได้พบท่านพระอาจารย์ม่ัน สมดังความ
ต้ังใจไวอ้ ย่างแน่นอน”
ในระหว่างน้ีหลวงปู่พรหม ท่านตั้งใจมุ่งมั่นปฏิบัติธรรมอย่างขยันขันแข็ง เอาจริงเอาจัง
ชนิดหามรุ่งหามค�่ำอันเป็นไปตามพื้นเพนิสัยด้ังเดิมของท่าน โดยท่านปฏิบัติธรรมตามท่ีท่านได้รับ
การอบรมสงั่ สอนจากท่านพระอาจารย์สารณ์ คือ ดว้ ยการเดินจงกรม นั่งสมาธภิ าวนา ตามแนว
ทางปฏปิ ทาพระธุดงคกรรมฐานสายทา่ นพระอาจารยม์ นั่
อน่ึง ครูบาอาจารย์ในวงกรรมฐานสายทา่ นพระอาจารย์มั่น มักกลา่ วชืน่ ชมการปฏิบัติธรรม
ของหลวงปู่พรหมกนั วา่ หลวงปู่พรหมท่านเป็นครบู าอาจารยอ์ ีกองค์หนึ่งทีเ่ ดินจงกรมเก่งมากและ
มคี วามเพยี รเปน็ เลิศ ด้วยความท่ีท่านเดินจงกรมเก่งมาก โดยเดินครง้ั ละนานๆ หลายๆ ชัว่ โมง
จงึ มอี านสิ งส์ทำ� ใหท้ า่ นเดินเท้าธุดงค์ทางไกลไดอ้ ย่างทรหดอดทนมาก เพราะการเดนิ ธุดงคต์ ามปา่
ตามเขาของท่านนนั้ ซ่งึ ในสมัยก่อนผืนป่าอดุ มสมบูรณ์มาก สตั วป์ า่ ก็ชุกชุมมาก ท่านต้องเดนิ บุกปา่
ฝ่าดงและต้องขึ้นเขาลงห้วยด้วยก�ำลังปลีแข้งทั้งสองข้าง พร้อมกับไหล่ท้ังสองข้างท่ีต้องแบกกลด
สะพายบาตร และยา่ ม ซึ่งคอ่ นขา้ งหนักและทลุ ักทุเล
นอกจากหลวงปู่พรหมจะเป็นผู้มีความอาจหาญม่ันคงแล้ว ท่านยังเป็นพระผู้ปฏิบัติธรรม
ที่มีสติปัญญาหยั่งรู้ในเหตุการณ์ที่มาเกี่ยวข้อง จนสามารถเอาตัวรอดปลอดภัยได้ ความจริงแล้ว
101
หลวงปู่พรหม ท่านมีใจกับธรรมะ เป็นเครื่องหล่อเลี้ยงให้เกิดความอบอุ่นและเยือกเย็นตลอดมา
ทา่ นไดส้ ละละวางทางโลกแลว้ จนหมดสิ้น ท่านยอมอดทนและยอมเผชิญตอ่ ความทุกข์ยากลำ� บาก
ความอดอยากหิวโหยประการต่างๆ และในทุกเหตุการณ์ท่ีจะเกิดขึ้น แม้เหตุการณ์น้ันจะเข้าขั้น
วิกฤติคับขนั ถึงชวี ิตก็ตาม ทา่ นก็ยอมสละตายไดอ้ ยา่ งไมเ่ กรงกลวั เพราะทา่ นมจี ิตใจทแ่ี นว่ แน่มุ่งม่ัน
ตอ่ โมกขธรรมนั่นเอง
เรื่องของการเดินจงกรม
การเดนิ จงกรม เป็นการทำ� ความเพยี รภาวนาท่พี ระธดุ งคกรรมฐานนิยมปฏิบัติกันมาแต่ครั้ง
พุทธกาล มาสมยั กึ่งพุทธกาล หลวงปเู่ สาร์ กนฺตสโี ล หลวงปูม่ น่ั ภูรทิ ตโฺ ต ท่านกเ็ ดนิ จงกรมเปน็
กิจวัตรประจำ� วัน ในบรรดาครูบาอาจารย์พระธดุ งคกรรมฐานสายทา่ นพระอาจารยม์ น่ั มหี ลาย
องค์ท่านถนัดเดินจงกรม เช่น หลวงปู่ชอบ านสโม หลวงปขู่ าว อนาลโย หลวงปู่ลี อโสโก
หลวงปพู่ รหม จิรปญุ ฺโ ทา่ นพระอาจารย์สิงห์ทอง ธมฺมวโร ฯลฯ
การเดนิ จงกรมมปี ระโยชน์มาก เปน็ ทนี่ ่าสังเกตว่าครบู าอาจารยท์ ่ชี อบเดินจงกรม แมท้ ่าน
อยู่ในวัยชราภาพจะต้องเกาะราวเดินและจะต้องมีพระศิษย์ช่วยพยุงก็ตาม ท่านก็ยังเดินจงกรม
ทา่ นจึงมอี ายยุ นื ส�ำหรับองคท์ ่ีไมช่ อบเดินจงกรม ท่านจะอายสุ ้ัน ดงั เร่ืองของทา่ นพระอาจารยบ์ ญุ
ปญฺ าวุฒฺโฑ ทา่ นเปน็ พระกรรมวาจาจารยข์ องหลวงปหู่ ลุย จนทฺ สาโร กับ หลวงปูข่ าว อนาลโย
คราวญตั ตเิ ป็นธรรมยุตพร้อมกนั หลวงปมู่ นั่ เคยทำ� นายไวว้ า่ หลวงปูบ่ ญุ จะอายุไม่ยืน เพราะทา่ น
ไมช่ อบเดนิ จงกรม ซ่ึงก็เป็นจรงิ หลวงปู่บญุ ท่านมรณภาพเม่อื อายุเพียง ๔๔ ปี ทัง้ ทที่ า่ นนัง่ สมาธิ
ดีมากและจติ ใสมาก
การเดินจงกรม องคห์ ลวงตาพระมหาบัว าณสมปฺ นโฺ น ไดเ้ มตตาเทศน์จังหวะการเดิน
จงกรม ไวด้ งั น้ี
“การเดินจงกรมนี้แล้วแต่เรา จะเดินช้า เดินเร็ว ต้องเป็นจังหวะระหว่างจิตกับความ
เคลือ่ นไหวของกายท่เี หมาะ ที่ควรจะเรว็ มนั กเ็ ร็วของมนั เอง ทีค่ วรจะช้ากช็ ้าเอง ควรจะหยดุ มนั ก็
หยดุ ถ้าก�ำลงั ร�ำพึงธรรมขอ้ ไหนยังไมช่ ดั เจนนี้หยดุ เสียกอ่ น พิจารณาจนละเอียดลออเรียบร้อยแลว้
ถงึ จะเคล่ือนย้ายเดินต่อไป นี่เป็นนสิ ัยของพระกรรมฐาน
บางทที า่ นเดินชา้ บ้าง บางทที า่ นเดนิ เรว็ บา้ ง บางคนอาจไมร่ ู้เรอื่ งของทา่ นภายใน มันเปน็
จังหวะที่พอเหมาะพอดี ระหว่างจิตพิจารณากับธรรมทั้งหลายน่ีนะ ถ้าควรจะเร็ว ท่านก็เป็น
ของทา่ นเอง โดยท่านไม่เจตนานะ หากเปน็ ของท่านเอง ถา้ ควรจะชา้ – ชา้ ถ้าควรจะหยุด ทา่ นก็
หยุดเสยี กอ่ น”
102
สำ� หรบั อานสิ งส์การเดนิ จงกรม หลวงปจู่ นั ทา ถาวโร วดั ปา่ เขานอ้ ย อ�ำเภอวังทรายพูน
จงั หวดั พจิ ิตร ทา่ นไดเ้ มตตาเทศนไ์ ว้ดังนี้
“จากนน้ั สมัยหน่งึ ขึน้ ไปภาวนาท่ถี ้�ำผาบิ้ง ซงึ่ อยใู่ นบรเิ วณวัดถำ�้ กลองเพลนัน่ แหละ ภาวนา
อยู่ ๗ วัน ๗ คืน โดยไมน่ อน ขา้ วก็ไม่กนิ กินแตน่ ำ้� เดนิ จงกรมอยา่ งหนัก อานิสงส์ของการเดิน
จงกรม มี ๕ อย่างนะ
๑. เดินจงกรม เพ่ือปลุกไฟธาตุใหล้ กุ ขน้ึ เผาผลาญอาหารให้ย่อยยบั ชว่ ยให้การยอ่ ยอาหาร
ดีข้นึ
๒. เดนิ จงกรม เพอ่ื ปลกุ ไฟธาตใุ หล้ กุ ขนึ้ เผาเสน้ เลอื ดลมใหเ้ ดนิ สะดวก ทำ� ใหร้ า่ งกายอบอนุ่ ดี
๓. เดินจงกรมมากๆ ท�ำให้อดทนต่อการเดนิ ทางไกล โดยไมป่ วดแขง้ ปวดขา
๔. ผู้เดนิ จงกรมนน้ั จิตจะสงบลงสู่สมาธิได้ และสมาธขิ องบคุ คลผูน้ ้ันจะไมเ่ ส่ือม มแี ตจ่ ะ
เจรญิ ขนึ้
๕. ผเู้ ดนิ จงกรมเมื่อจติ สงบแล้ว จะไดเ้ หน็ เทพยดาถือธูปเทยี นมาบชู า
ในวันนัน้ เมือ่ เดนิ จงกรมจนจิตสงบแล้ว กไ็ ด้เห็นจรงิ ๆ นะ เปน็ ฝูงเทพยดามาน่ังถือธปู เทยี น
บูชาอยูเ่ ป็นกลุม่ ๆ กล่มุ ละ ๒ – ๓ คน จงึ ก�ำหนดถามไปว่า
“มาทำ� อะไร ?”
เขากต็ อบวา่ “มาบชู า อนุโมทนาส่วนบุญกบั ท่าน”
“เออ ! เอา อยากไดก้ ็ตั้งใจเอา”
น่นั แหละ ปตี ิเกดิ ข้นึ ร่าเริงบันเทิงใจดีในวนั น้นั เสรจ็ แลว้ ๔ – ๕ ทุ่ม กเ็ ข้าที่ไหวพ้ ระ
สวดมนตอ์ ุทศิ สว่ นบุญ เสรจ็ แลว้ กเ็ ข้าทนี่ ั่งภาวนา ก�ำหนดจิตวางพทุ โธพับ จติ ก็รวมพับลงสภู่ วงั คภพ
อปุ จาระ อนั แนน่ แฟน้ นั่นแหละ ในขณะนัน้ กร็ ่าเรงิ บนั เทงิ ด”ี
พ.ศ. ๒๔๗๖ ท่านธุดงค์ภาคเหนือติดตามหาหลวงปู่ม่ัน
ประมาณปี พ.ศ. ๒๔๗๑ – ๒๔๘๒ หลวงปู่มัน่ ภูริทตโฺ ต ท่านจ�ำพรรษาทางภาคเหนอื
๑๑ พรรษา โดยในปี พ.ศ. ๒๔๗๒ หลวงป่มู ัน่ บำ� เพ็ญธรรมข้นั แตกหกั เพยี งลำ� พงั จนบรรลธุ รรม
ข้ันสงู สดุ เปน็ พระอรหนั ต์ ตอ่ มาจงึ มพี ระศิษย์ได้ธุดงค์ข้ึนภาคเหนือเพอ่ื ติดตามทา่ น ในยคุ แรกๆ
น้นั มี หลวงปูส่ ารณ์ สุจติ โฺ ต หลวงปเู่ ทสก์ เทสฺรสํ ี หลวงปอู่ อ่ นสี สเุ มโธ หลวงปขู่ าว อนาลโย
ท่านพ่อลี ธมฺมธโร หลวงปแู่ หวน สจุ ณิ โฺ ณ หลวงปตู่ อ้ื อจลธมฺโม และระยะตอ่ มาก็มี หลวงปู่
103
อ่อน าณสริ ิ หลวงปชู่ อบ านสโม หลวงป่พู ร สมุ โน หลวงปู่ฝน้ั อาจาโร หลวงปมู่ หาทองสุก
สุจิตโฺ ต ทา่ นพระอาจารย์น้อย สุภโร หลวงปู่พรหม จิรปญุ โฺ หลวงปเู่ จย๊ี ะ จุนโฺ ท ท่านพอ่ เฟ่ือง
โชตโิ ก ฯลฯ
ดว้ ยการคมนาคม ถนนหนทางและยานพาหนะเดินทาง ตลอดจนการสื่อสารในสมยั กอ่ นน้ัน
ยงั ไม่สะดวกสบายเหมือนเช่นสมยั ปจั จบุ ันน้ี และหลวงปู่ม่ัน องคท์ า่ นเองกช็ อบหลกี เรน้ ซ่อนองค์
ในที่สงัดวิเวกเปล่าเปลี่ยว ท่านมีความยินดีอยู่ตามป่าตามเขาในถ่ินทุรกันดารห่างไกลความเจริญ
ชนิดท่ีการคมนาคมเข้าไปไมถ่ งึ สภาพอากาศกค็ อ่ นข้างหนาวเยน็ จนหนาวจดั ปจั จยั ๔ ก็คอ่ นข้าง
อัตคดั ขาดแคลน สถานทที่ ่านอยู่ โลกล้วนไม่ต้องการ แตธ่ รรมกลบั ตอ้ งการ เพราะเปน็ สถานท่ี
สัปปายะมาก เหมาะกับการเจริญร่ืนเริงในวิหารธรรมของท่าน และเหมาะกับการเจริญเมตตา
ภาวนาของพระศิษย์ ส่วนท่ีแปลกพิเศษก็คือ ไม่ว่าท่านจะอยู่กับคนหมู่ใด คนหมู่น้ันอ่อนน้อม
ถ่อมตน มสี มั มาคารวะ การทำ� บญุ ใหท้ านกส็ ุดกำ� ลงั ของเขาและชอบพอกบั ปฏปิ ทาของพระธุดงค์
ท่านอดทนตอ่ สกู้ ับความทุกข์ยากลำ� บากจริงๆ
ฉะนัน้ การติดตามหาหลวงปมู่ ่ัน จึงไมใ่ ช่เป็นเรอื่ งงา่ ย อีกท้งั เปน็ เรอื่ งทา้ ทายและเปน็ การ
พิสูจนใ์ นเบ้อื งตน้ ถงึ ความสมบุกสมบันและความทรหดอดทนของพระศิษยเ์ ป็นอยา่ งดี อนั เป็นการ
คดั กรองเลือกพระศษิ ยไ์ ปในตัว
แมว้ า่ การเดินธดุ งค์ตดิ ตามหลวงปูม่ นั่ จะทกุ ขย์ ากแสนลำ� บากเพียงใดกต็ าม และกไ็ ม่ทราบ
วา่ หลวงปมู่ น่ั ทา่ นพกั อยู่ ณ แหง่ หนต�ำบลใดก็ตาม ทงั้ สถานที่ออกตดิ ตามซง่ึ เปน็ ปา่ ดงพงไพรก็ตอ้ ง
เสย่ี งต่ออนั ตรายท้งั จากสัตวป์ ่า เชน่ เสือ ช้าง หมี และงูพิษ ฯลฯ ทงั้ จากไข้ป่า ซงึ่ อาจจะรนุ แรง
ถึงขัน้ เสยี ชีวิตกต็ าม แต่อปุ สรรคเหลา่ นกี้ ลบั ไมอ่ าจบ่นั ทอน และไมอ่ าจท�ำใหบ้ รรดาครบู าอาจารย์
ผ้มู ่งุ ม่นั ต่อความพ้นทกุ ข์ท้ังหลายเกดิ ความท้อถอยหรือหมดกำ� ลังใจ เพราะครบู าอาจารย์ทกุ ๆ องค์
ต่างกพ็ ยายามดั้นดน้ เดินทางไปเสาะแสวงหาหลวงปูม่ ่นั ให้จงได้ ท้งั นก้ี ็เพอื่ หวงั ใหท้ า่ นโปรดเมตตา
อนุเคราะห์ ใหท้ ่านอบรมสั่งสอนชีแ้ นะและใหอ้ บุ ายธรรมะภาคปฏิบตั ิ เพ่อื จะไดน้ �ำมาปฏิบตั แิ ล้ว
จะไดม้ ีความก้าวหนา้ ในทางธรรมมากยงิ่ ๆ ข้ึนนัน่ เอง
ทางด้านของหลวงปู่พรหม จิรปุญฺโ ก็ทราบเรื่องกิตติศัพท์กิตติคุณของหลวงปู่ม่ันเป็น
อย่างดี และท่านกท็ ราบอย่ใู นใจว่า แม้การติดตามหาหลวงป่มู น่ั ในครั้งนี้ถึงจะทกุ ข์ยากแสนลำ� บาก
แตก่ ็จะพยายามดั้นดน้ ไปพบและเข้าไปถวายตวั เปน็ ศษิ ย์กรรมฐานต่อหลวงปู่มน่ั ใหจ้ งได้ ประกอบ
กบั ทา่ นพระอาจารย์สารณ์ สจุ ติ โฺ ต ครบู าอาจารย์องคแ์ รกของทา่ นกเ็ ดินทางไปภาคเหนือ ไปอยู่
กับหลวงปู่ม่ันก่อนหน้าแล้ว จึงย่ิงเป็นเครื่องกระตุ้นปลุกเร้าใจให้ท่านย่ิงกระหายที่จะเดินธุดงค์ไป
ภาคเหนือใหม้ ากยงิ่ ขึ้น
104
ตามปฏปิ ทาของหลวงปู่พรหม จริ ปญุ โฺ ทา่ นเป็นพระภกิ ษสุ งฆท์ ี่ไม่ชอบอยกู่ ับที่ ทา่ นมี
ความมุ่งหมายทจี่ ะเดนิ ธดุ งค์ใชช้ ีวิตอย่ทู า่ มกลางป่าดงพงไพรเสียเป็นสว่ นใหญ่ ดังนัน้ เมือ่ ท่านกลบั
จากเมืองหลวงพระบาง มาถึงประเทศไทยแลว้ ทา่ นกไ็ ด้ออกเดนิ ธดุ งคกรรมฐานไปทางภาคเหนอื
โดยในปี พ.ศ. ๒๔๗๖ เมื่อหลวงปู่พรหมท่านส่งหลานชายแล้ว ท่านได้ออกเดินธุดงค์
ขนึ้ ภาคเหนือเพื่อติดตามหาหลวงปมู่ ่ันเพยี งตามลำ� พัง โดยไปทางจังหวัดอุดรธานี เพชรบูรณ์ โดย
ในปนี ท้ี า่ นได้เที่ยววเิ วกที่จงั หวัดเพชรบรู ณ์ และเขา้ พกั ปฏิบัติธรรมท่ถี ำ้� นำ�้ บงั ซง่ึ ในสมัยก่อนนนั้
เป็นถ้ำ� ทสี่ ปั ปายะมาก อดุ มสมบรู ณไ์ ปดว้ ยป่าไม้และสตั วป์ ่า ไมม่ คี นมาเทย่ี วพลุกพล่าน เปน็ ถำ�้ ท่ี
วิเวกเงียบสงดั เหมาะกบั การภาวนา ซง่ึ ท่ถี ้ำ� นม้ี เี ทพยดาได้มาแสดงอนโุ มทนาบญุ กบั ทา่ น
ในพรรษาน้ีสันนิษฐานว่า หลวงปู่พรหม ท่านจำ� พรรษาอยู่ตามป่าเขาถ�ำ้ เงอื้ มผาในจังหวดั
เพชรบูรณ์ ซึ่งมีสถานท่ีสัปปายะมากมาย เพราะในสมัยนั้นเพชรบูรณ์เหมือนถูกตัดขาดจากโลก
ภายนอก สภาพภูมปิ ระเทศกเ็ ตม็ ไปดว้ ยป่าเขาและดงทบึ สัตว์ปา่ ก็ชุกชมุ และการคมนาคมกเ็ ป็น
ไปดว้ ยความยากลำ� บาก
ถ้�ำน�้ำบัง
ถำ�้ นำ้� บงั ตงั้ อยหู่ มู่ ๘ ต�ำบลนายม อำ� เภอเมอื ง จงั หวัดเพชรบูรณ์ เปน็ ถำ้� ที่ตงั้ อยู่ในภูเขา
หินปนู สูง ๒๐๐ เมตร ภายหลงั ไดร้ ับการจดั ตง้ั เป็นวัดถำ�้ นำ้� บงั เป็นวดั ทม่ี ีประวัตคิ วามเป็นมา
หลากหลายเก่ียวกับที่มาของวัด จนสดุ ทา้ ยกไ็ ม่สามารถจบั ใจความไดว้ า่ เร่อื งราวความเปน็ จริงนั้น
เปน็ อย่างไร ภายในวดั แหง่ น้ีเปน็ ท่ตี ั้งของถ�ำ้ น�้ำบงั ซึ่งปจั จุบนั เป็นสถานทที่ อ่ งเทีย่ วทมี่ ีนกั ท่องเท่ียว
แวะเวียนผา่ นมาเทยี่ วชม
ต�ำนานถ้�ำน�้ำบัง เดิมถ้�ำน�้ำบังมีสัตว์ป่าชุกชุม พรานป่ามักจะมาคล้องช้างที่บริเวณนี้เสมอ
มีเร่ืองเล่าว่า ถ้�ำน�้ำบังมีอาถรรพ์มาก ทางออกของถ้�ำด้านหลังเป็นบึงใหญ่ มีน้�ำเต็มจึงได้ชื่อว่า
ถ�้ำนำ�้ บงั ภายในถ�้ำจะมถี �้ำเลก็ ๆ อยหู่ ลายถ้�ำคอื ถ้�ำจระเข้ ถำ�้ งู ถ�ำ้ ปลา ถ�ำ้ ระฆัง ถำ�้ พระ ถ้�ำค้างคาว
ในแต่ละถ�้ำจะมีส่ิงต่างๆ ตามชื่อถ้�ำ และจะปรากฏให้เห็นเฉพาะผู้ท่ีปรารถนาจะเห็น ต่อมามี
พระธดุ งคร์ ปู หน่ึงมาปกั กลดบ�ำเพ็ญวปิ ัสสนากรรมฐานทหี่ นา้ ถำ�้ อยูม่ าไม่นานชาวจงั หวัดพิจิตรได้
อพยพครอบครัวมาหาแหล่งทำ� มาหากิน เมือ่ มาพบพระธุดงค์ปักกลดอยู่ เกดิ ความเลือ่ มใสศรทั ธา
จึงพากนั มาตง้ั ถ่นิ ฐานรอบๆ ถ�้ำแห่งนนั้ และพระธดุ งคก์ ็ไดช้ กั ชวนให้ชาวบ้านดดั แปลงถ้ำ� ใหเ้ ปน็
ศนู ยก์ ลางของวัด
เนือ่ งด้วยลกั ษณะทีต่ ้ังของถ้�ำนัน้ อยบู่ นเขา จึงต้องมีการเดนิ เหนิ ขึน้ บนั ไดสูงหลายขัน้ เพือ่ ที่
จะไปถึงตัวทางเข้าถ�้ำ ภายในถ�้ำน�้ำบังมีส่ิงที่น่าสนใจ คือ ห้องคูหาที่ไม่ซับซ้อนเหมือนเขาวงกต
105
แตก่ ม็ ีห้องต่างๆ มากมาย เชน่ ห้องถำ�้ โบสถ์ เป็นห้องแรกที่ตงั้ อยบู่ รเิ วณปากถำ้� ลกั ษณะพิเศษของ
หอ้ งถำ�้ โบสถ์ คอื ตามผนังถ�้ำจะเปน็ ทีป่ ระดษิ ฐานของพระพุทธรูปตา่ งๆ มากมายหลายองค์ เพดาน
ห้องสงู โปรง่ ระบายอากาศดี ไมอ่ ึดอดั หายใจสะดวก ห้องถดั มา คอื ห้องถ้ำ� โปรง่ ฟ้า จากห้องนี้
สามารถเดินทางต่อไปยงั หอ้ งนั่งวปิ ัสสนากรรมฐานได้ เน่ืองจากเพดานห้องนเี้ ปน็ ชอ่ งวา่ งต่อไปยงั
ภายนอก การไหลเวียนอากาศจึงเปน็ ไปอยา่ งสะดวก จากห้องวปิ ัสสนากรรมฐาน ถัดมาจะไดพ้ บ
กบั เหด็ หนิ ลักษณะเปน็ หินงอกคลา้ ยกลุ่มเห็ดอยู่บนชะงอ่ นผาดา้ นบน ถัดมาเปน็ ห้องถ�้ำโถง ซ่ึงมี
การกอ่ สรา้ งที่นัง่ วปิ ัสสนากรรมฐานเปน็ ห้องๆ จากห้องนสี้ ามารถเลอื กเดินทางได้ ๒ ทาง คือ
เส้นทางแรก ออกไปด้านข้างจะพบกับต้นไม้ปริศนาธรรม (เป็นลักษณะต้นไม้สองต้นที่
สามารถยืนต้นได้โดยไม่ล้ม จากการที่ทั้งสองต้นเก่ียวพิงกัน โดยต้นเล็กจะค้�ำยันต้นใหญ่ไว้
เปรียบเสมือนบุตรท่ีต้องคอยช่วยเหลือดูแลบิดามารดาเพ่ือตอบแทนคุณท่าน) และมีบันไดเหล็ก
ซ่ึงสามารถไปยังส่วนยอดถ้�ำได้ แต่ปัจจุบันบันไดทรุดโทรมและไม่ได้รับการบูรณะ จึงไม่สามารถ
เดินข้นึ ไปชมทวิ ทศั นบ์ นยอดถ�ำ้ ได้
เส้นทางท่สี อง เดินลงสู่เส้นทางแคบและเล็กลงสู่หอ้ งถ�้ำระฆงั ท่ดี ้านขวาของหอ้ งน้มี หี ินงอก
หินย้อยรูประฆัง เม่ือตีจะมีเสียงดังกังวาน เน่ืองจากปัจจุบันรูปร่างแทบจะสังเกตไม่เห็นว่าเป็น
รูประฆัง หอ้ งนี้เปน็ ทอี่ ยอู่ าศยั ของค้างคาวจำ� นวนมาก จึงมีมูลค้างคาวสง่ กล่ินเหม็นอับไปทง้ั ถำ�้
ท่านพบสหธรรมิกองค์ส�ำคัญ
ขณะหลวงปู่พรหม จิรปุญฺโ ธุดงค์ปฏิบัติธรรมตามป่าเขาในจังหวัดเพชรบูรณ์ เพ่ือจะ
ออกเดินไปทางภาคเหนอื เพอ่ื แสวงโมกขธรรมในคราวน้ี ท่านมสี หธรรมิกรว่ มทางไปดว้ ยองคห์ น่ึง
คอื หลวงป่ชู อบ านสโม ซ่ึงทา่ นท้งั สองต่างมีความมุ่งหมายทีจ่ ะติดตามหาหลวงปู่ม่นั ภรู ิทตโฺ ต
เพ่อื กราบถวายตวั เป็นศิษย์
หลวงปพู่ รหม จิรปญุ โฺ และ หลวงปชู่ อบ านสโม ท่านพระอาจารย์ทงั้ สององคน์ ี้ ต่างก็
เป็นเพชรน้�ำเอก เป็นหัวแหวนอันล้�ำค่าด้วยกัน เมื่อได้โคจรไปในที่อันวิเวกด้วยกัน ย่อมเป็นที่
น่าสนใจแกป่ ระชาชนในยคุ นัน้ เปน็ อนั มาก
ท่านได้ออกเดินธุดงค์ผ่านป่าเขาล�ำเนาไพรไปตลอดสายภาคเหนือแล้วเข้าเขตประเทศพม่า
ดว้ ยนสิ ัยเด็ดเดี่ยวอาจหาญ
การเดินธุดงคกรรมฐานของท่านนี้ ท่านไม่พะวงเรื่องที่อยู่อาศัย ค�่ำไหนก็พักบ�ำเพ็ญ
สมณธรรมที่น่ัน สว่างแล้วออกธดุ งคต์ ่อไป จติ ใจของทา่ นนนั้ มแี ตธ่ รรมะ อาหารการขบฉนั ก็เป็นไป
106
ในลักษณะมกี ก็ ิน ไม่มกี อ็ ด ยอมทนเอา ไมม่ ีการเรยี กร้อง ไมม่ ีการสงสารตนเองทเ่ี กดิ ทุกขเวทนา
เพราะการเดนิ ธดุ งค์กเ็ พอื่ ขจัดกิเลสภายในให้หมดไปสิน้ ไป
หลวงปู่พรหมและหลวงปู่ชอบ ท่านมีความต้ังใจในข้อวัตรปฏิบัติธรรมมาก ท่านมีความ
แกล้วกล้าชนิดถงึ ไหนถึงกนั ทา่ นไดผ้ า่ นเมืองต่างๆ ในประเทศพมา่ จนสามารถพูดภาษาพมา่ ได้
คลอ่ งแคล่ว โดยเฉพาะหลวงปชู่ อบ ท่านพูดภาษาพม่าได้คล่องเหมอื นเปน็ ภาษาของท่านเอง
กรณหี ลวงปชู่ อบ านสโม กบั หลวงปูพ่ รหม จิรปญุ ฺโ ท่านทงั้ สองธดุ งค์ถึงเชียงใหม่ในปี
พ.ศ. ๒๔๗๗ จากประวัติหลวงปู่ชอบ านสโม ไดบ้ นั ทกึ เหตกุ ารณ์ชว่ งนไี้ ว้ดงั นี้
“หลังออกพรรษาปพี ุทธศกั ราช ๒๔๗๖ หลวงปู่ชอบ านสโม ท่านกราบลา องค์หลวงปู่
มหาปิ่น ปญฺ าพโล และ องค์ทา่ นหลวงปูส่ ิงห์ ขนฺตยาคโม ผู้เปน็ ครบู าอาจารยอ์ อกเท่ยี ววิเวก
แสวงหาสถานทจี่ ำ� พรรษาแห่งอ่นื หลวงป่ชู อบแจง้ เจตนาของทา่ นกบั ครบู าอาจารยท์ ้ังสองว่า
“กระผมอยากจะเท่ยี ววิเวกข้ึนเหนอื เพอื่ ตามหาพ่อแม่ครบู าอาจารยม์ น่ั ”
หลวงปสู่ ิงห์ถาม “ท่านชอบจะไปเทีย่ ววเิ วกเมืองเหนือกบั หม่คู ณะทา่ นใด”
ท่านตอบหลวงป่สู งิ หว์ า่ “กระผมจะเดินทางขน้ึ เหนือลำ� พงั องคเ์ ดียว ถา้ ไปกับหม่คู ณะแลว้
กระผมจะไม่สะดวกในการปฏบิ ตั ิ เพราะจะพะวงกับหมเู่ พ่อื น”
องค์ท่านหลวงปู่สิงห์จึงอนุญาตให้หลวงปู่ชอบท่านเท่ียววิเวกขึ้นเหนือตามหาองค์หลวงปู่
มน่ั ภูรทิ ตฺโต โดยลำ� พังผ้เู ดียว
หลวงปู่ชอบท่านเดินทางออกจากเขตจังหวัดนครราชสีมา เที่ยววิเวกมาทางเขตจังหวัด
ชยั ภมู ิ ท่านเท่ียววเิ วกเขตจังหวัดชัยภมู ิ เชน่ ท่ถี �ำ้ ววั แดง อำ� เภอภักดชี มุ พล ถำ้� พญาช้างเผือก อ�ำเภอ
คอนสาร จากน้ันท่านเดินทางมาเท่ียววิเวกทางเขตจังหวัดเพชรบูรณ์ท่ีอ�ำเภอน�้ำหนาว อ�ำเภอ
หล่มสัก อำ� เภอหลม่ เก่า ทเ่ี ขตอ�ำเภอหลม่ สกั ทา่ นมาแวะพักภาวนาที่วัดร้าง บา้ นหนองบัว ต�ำบล
สักหลง อ�ำเภอหลม่ สกั จังหวดั เพชรบรู ณ์ (ต่อมาวดั ร้างแห่งนไี้ ดร้ ับการบรู ณะข้ึนมาใหม่ โดยใช้ชื่อ
ว่า วดั สนั ติวัฒนา ปจั จุบนั มีหลวงปูเ่ ปรื่อง านงกฺ โร ลูกศษิ ยอ์ งคท์ ่านหลวงปชู่ อบ เปน็ เจ้าอาวาส
รูปปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๓๕)
ท่านถามชาวบ้านหนองบัวว่า “วัดแห่งน้ีถูกท้ิงร้างมานานหรือยัง” ชาวบ้านบอกท่านว่า
“วัดแห่งนี้ถูกทิ้งร้างมานานแล้ว และไม่มีใครทราบว่าวัดแห่งน้ีสร้างขึ้นมาต้ังแต่เม่ือไหร่ ได้แต่
สนั นษิ ฐานกันวา่ น่าจะสร้างขนึ้ มาสมัยกรงุ ศรอี ยุธยา” ชาวบา้ นบอกท่ีวัดแหง่ นผี้ ีดุ เคยมีคนมาขดุ
หาของเก่าแลว้ ถกู อำ� นาจลึกลับทอ่ี ยู่ท่นี ่ที ำ� ร้ายจนตาย หรอื เป็นบ้าเสียสตไิ ปกม็ ี ชาวบา้ นท่ีนี่จึงไม่มี
ใครกลา้ เข้ามายุ่งกบั วัดรา้ งแห่งนี้เพราะกลวั ภยั อ�ำนาจลกึ ลับ
107
หลวงปู่ชอบบอกท่วี ัดรา้ งบ้านหนองบัว (วดั สันตวิ ัฒนา) สมัยนัน้ มงี ูมาก มที ้ังงขู นาดตวั เทา่
นว้ิ กอ้ ย จนถึงใหญ่เทา่ แขน เทา่ ขาของท่าน พวกงจู ะพากนั อาศยั อยตู่ ามซอกอิฐ ซอกหนิ ของโบสถ์
เกา่ พอกลางคืนอากาศเยน็ สบาย งพู วกนกี้ ็จะพากนั ออกมายวั้ เย้ียรอบบรเิ วณวดั ท่านว่างบู างตัว
มันยงั เลื้อยขน้ึ มานอนเลน่ บนตกั ทา่ นขณะนงั่ ภาวนา ถา้ เป็นคนทัว่ ไปอยา่ งเราๆ มีงเู ลอื้ ยข้นึ มานอน
บนตัก คงตกใจสะเดิด (สะดุ้ง) ลนลานกันไปแล้ว หลวงปู่ชอบท่านเป็นคนไม่กลัวงู เพราะท่าน
คุ้ยเคยกับนิสัยอสรพิษพวกนี้ดี ท่านบอกอันดับต้นๆ ท่ีงูมันกัดคนเพราะมันตกใจ จึงฉกกัดเพื่อ
ปอ้ งกันตัวเอง ทา่ นว่าถ้าเจองพู ิษอยูใ่ กลต้ ัว ให้ตัง้ สตใิ หม้ ัน่ คง ท�ำตวั นิง่ ๆ อย่าลนลาน งูมนั จะหนี
ไปเอง เพราะมันก็กลวั คนจะท�ำร้ายมนั เหมือนกัน
หลวงปู่ชอบท่านพกั ภาวนาท่วี ัดร้างบา้ นหนองบัว อำ� เภอหล่มสัก ประมาณ ๒ – ๓ คนื
จากนั้นท่านเที่ยววิเวกไปทางเขตอ�ำเภอเมืองเพชรบูรณ์ เดิมทีท่านตั้งใจจะเดินทางไปเมืองเก่า
อ�ำเภอศรเี ทพ ท่านเปลีย่ นใจไม่ไปเมืองเก่าศรีเทพ เพราะพบกับหลวงป่พู รหม จิรปญุ โฺ หลวงปู่
พรหมท่านก�ำลังจะเดินทางขึ้นไปเมืองเหนือ เพื่อตามหาองค์ท่านหลวงปู่มั่น หลวงปู่พรหมท่าน
ชวนหลวงป่ชู อบให้เดนิ ทางไปเชยี งใหม่ ตามหาพอ่ แมค่ รบู าอาจารยม์ ัน่ ดว้ ยกนั หลวงปู่ชอบอยาก
จะเที่ยววิเวกในเขตจังหวัดเพชรบูรณ์ ท่านจึงบอกให้หลวงปู่พรหมข้ึนไปก่อน ท่านจะตามไปใน
ภายหลงั
ทา่ นถามหลวงปพู่ รหมวา่ มถี �้ำภูดอยท่ไี หนบ้างเหมาะแกก่ ารภาวนา หลวงปูพ่ รหมแนะน�ำ
ใหห้ ลวงปูช่ อบไปภาวนาท่ถี �ำ้ น้�ำบงั ต�ำบลนายม อำ� เภอเมือง จงั หวัดเพชรบูรณ์ หลวงปพู่ รหม
ทา่ นวา่ “เจา้ ทที่ น่ี ่ีมนั ดุดี พระ เณร เถร ชี ผูท้ ศุ ลี จะอยถู่ ้ำ� นล้ี �ำบาก พวกเทพภมู ทิ นี่ ี่เขาชอบ
พระเณรปฏบิ ัตติ นในทำ� นองคลองธรรม” หลวงป่ชู อบสนใจอยากจะไปภาวนา ท่านจงึ ถามทางไป
ถ้ำ� นำ้� บงั จากหลวงปพู่ รหม
ทา่ นวา่ ถ�ำ้ นำ�้ บงั สมัยนน้ั ลึกลบั อาถรรพ์มาก เวลาเดินจงกรมภาวนาสวดมนตส์ าธยายธรรม
มกั มีเสยี งมโหรปี ีพ่ าทย์ หรอื เสียงไชโยโห่ร้องอึกทกึ ทัว่ ถำ�้ ผา เรือ่ งลึกลับแบบน้ีทา่ นวา่ เปน็ เรือ่ งปกติ
ส�ำหรับผู้ปฏิบัติธรรมมักจะพบเจอ ท่านบอกเมื่อได้ยินเสียงแบบน้ีในท่ีวังเวงอย่าไปกลัว นี่คือ
การแสดงอนโุ มทนาของพวกเทพเทวดาท่ีเขาอาศัยอย่ใู นสถานทแี่ ห่งนนั้ เมือ่ ได้ยนิ เสยี งแบบนแี้ ล้ว
ให้เราแผ่เมตตาให้ผู้ก�ำเนิดเสียงน้ัน เสียงเหล่าน้ีก็จะหายไปเอง เสียงมโหรีปี่แคนดังขึ้นในสถานที่
ลกึ ลับ คือการแสดงออกของพวกกายทพิ ย์ทเ่ี ขาส่ือใหเ้ รารู้ บางทเี ขาแสดงความยินดกี ระทบกาย
ทำ� ใหเ้ ราขนลกุ ขนพองกม็ ี
หลวงปู่ชอบพักภาวนาอยู่ที่ถ�้ำน้�ำบังประมาณครึ่งเดือน พอคุ้นเคยกับสถานท่ีแล้วท่านก็
ออกจากถ้�ำน้�ำบัง แสวงหาท่ีภาวนาแหง่ ใหม่ ท่านถามชาวบา้ นบ้านน้ำ� บงั ว่า มที ไี่ หนบา้ งเหมาะทีจ่ ะ
108
พกั จำ� พรรษา ชาวบา้ นน�ำ้ บังบอกไม่ไกลจากทน่ี ่ีมากเท่าไรมถี ำ้� อยูถ่ ้�ำหน่งึ ชอื่ ถ้�ำนายม ทถ่ี ำ้� นายม
ตอนนี้มตี าผ้าขาวคนหนึง่ ช่ือ พอ่ สง่า พักจ�ำศลี อยู่ทีน่ ่นั หลวงปู่ชอบสนใจในสถานทจ่ี ึงเดนิ ทางไป
ถำ�้ นายม ตามท่ชี าวบา้ นน้ำ� บงั บอก
จากน้ันหลวงปชู่ อบ ออกเดนิ ธุดงคจ์ ากอ�ำเภอดา่ นซา้ ย จังหวดั เลย มาทางจงั หวัดพิษณโุ ลก
การเดินทางเปน็ ไปอย่างเรง่ รีบทสี่ ดุ เพราะท่านไม่รู้วา่ เชยี งใหมน่ ั้นอยู่ไกลแค่ไหน เน่ืองจากตอนน้ัน
ท่านยังไมเ่ คยข้ึนมาภาคเหนือ ทา่ นจงึ ตอ้ งรบี เดนิ ทางมาให้ถงึ เชียงใหมก่ อ่ นฤดหู น้าฝน ท่านเดินทาง
จากอำ� เภอด่านซา้ ยมาถงึ จงั หวดั ลำ� พูน โดยใชเ้ วลา ๑๓ วัน ทา่ นมาพบกับหลวงป่พู รหม จิรปุญโฺ
ท่ีอ�ำเภอแม่ทา จังหวัดล�ำพูน ท่านจึงถามหลวงปู่พรหมว่า “ได้พบกับอาจารย์ใหญ่มั่นหรือยัง”
หลวงปู่พรหมตอบวา่ “ยังไม่ได้พบกบั องค์หลวงปูม่ ่นั เนอื่ งจากท่านแวะจำ� พรรษาท่ีอน่ื ”
หลวงปู่ชอบทา่ นจึงไดช้ วนหลวงปู่พรหมเดนิ ธุดงคข์ ้ึนเชียงใหม่ เพ่ือตามหาองค์หลวงปู่มน่ั
ดว้ ยกนั ท่านเล่าแบบข�ำๆ ท่านกบั หลวงปู่พรหมต่างไมเ่ คยมาเชยี งใหมเ่ หมือนกัน กลัวจะหลงทาง
เพราะความไม่คนุ้ เคยกับสถานที่ ทา่ นทง้ั สองไดพ้ ากันเดินเลาะเลยี บนบั ไมห้ มอนทางรถไฟ โดยใช้
เวลา ๒ วัน จงึ มาถึงเชยี งใหม่ และแวะเขา้ ไปพักท่วี ัดเจดีย์หลวง
วดั เจดยี ห์ ลวงสมยั นนั้ เปน็ ศนู ยก์ ลางการปกครองธรรมยตุ ภาคเหนอื ตอนบน พระกรรมฐาน
สมัยน้ันเดินทางมาเท่ียววิเวกเชียงใหม่ จะเข้าไปพักที่วัดเจดีย์หลวงก่อนเป็นแห่งแรก เพราะ
วัดเจดีย์หลวงเป็นทั้งท่ีพักและแหล่งข่าวของพระกรรมฐานสมัยนั้น ท่านท้ังสองมาพักที่นี่เพื่อจะ
สอบถามข่าวคราวของหลวงป่มู น่ั ว่า ขณะน้ีองคท์ ่านพกั อยู่ท่ไี หน”
พระธุดงค์ลองภูมิกันและกัน
หลวงปขู่ าว อนาลโย กับ หลวงปู่พรหม จิรปญุ ฺโ ต่างเปน็ พระศษิ ย์อาวุโสของหลวงปูม่ ่ัน
และตา่ งมีพระอุปัชฌาย์องค์เดยี วกนั คอื ท่านเจ้าคณุ พระธรรมเจดีย์ (จูม พนธฺ ุโล) โดยหลวงป่ขู าว
มีพรรษามากกว่าหลวงปู่พรหม ๓ พรรษา และอายุก็มากกว่าปีเศษ ทั้งสองเป็นสหธรรมิกกัน
เหตุการณ์ท่ีท้ังสองลองภูมิกันและกันเป็นช่วงปลายปี พ.ศ. ๒๔๗๖ โดยหลวงปู่ขาวธุดงค์ไปถึง
ภาคเหนือเพอ่ื ตดิ ตามหลวงปมู่ ัน่ ในปี พ.ศ. ๒๔๗๖ เมอื่ ทา่ นอายไุ ด้ ๔๕ ปี จากประวตั ิของหลวงปู่
ขาว อนาลโย ได้บันทึกเรอ่ื งนี้ไว้ดังน้ี
“จวบจนถึงวสันตฤดูเข้าพรรษา พรรษาแรกที่ไปถึง หลวงปู่ขาวก็ได้พักจ�ำพรรษาที่
วัดพระเจา้ ทองทิพย์ (ตั้งอยู่ต�ำบลศรีถอ้ ย อ�ำเภอแม่สรวย จงั หวัดเชยี งราย) ทว่ี ดั แหง่ น้มี ีพระพุทธรปู
องค์หน่ึงสวยงามมาก พระเศียรและองค์พระยังครบสมบูรณ์ดี ยกเว้นพระหัตถ์ท้ังสองข้างถูกโจร
ใจบาปลักตัดเอาไป กล่าวกนั วา่ โจรเอาไปหล่อโปงลาง
109
หลวงปู่ขาว ร้สู กึ ประทบั ใจกบั พระพทุ ธรปู องคน์ ั้นเปน็ พิเศษ แม้ทา่ นไดพ้ บเห็นพระพุทธรูป
ในที่ตา่ งๆ มามาก แต่ไมร่ สู้ กึ ประทับใจเหมือนพระองคน์ ี้ ใจท่านคดิ ถึงพระพุทธรูปองค์นต้ี ลอดเวลา
และต้องการจะตอ่ พระหตั ถ์ท้งั สองขา้ งให้ท่าน
หลวงปู่ขาว จึงเดินทางไปหาหลวงปูพ่ รหม จิรปุญโฺ ซึง่ พักวเิ วกอยูท่ ่ถี �ำ้ ปมุ้ เป้ ไดเ้ ล่าเรอื่ ง
พระพทุ ธรูปองคน์ ้นั ให้หลวงปูพ่ รหมฟงั พรอ้ มท้งั ขอให้ท่านมาชว่ ยซอ่ มแซมพระพทุ ธรูปใหส้ มบูรณ์
ดังเดิม หลวงปพู่ รหมกต็ กลงและเดนิ ทางมาซอ่ มพระพทุ ธรูปให้ดงั ประสงค์ เมอื่ เสร็จเรียบร้อยแล้ว
หลวงปู่ขาว ได้เอ่ยถามหลวงป่พู รหมว่า “เป็นเพราะเหตุใด จิตผมจึงปฏพิ ัทธ์ผกู พันในพระพทุ ธรปู
องค์นเ้ี ปน็ นกั หนา ทั้งๆ ทีผ่ มก็เคยไปเหน็ พระพุทธรูปมามากต่อมาก แตไ่ มเ่ หน็ จะติดอกตดิ ใจอะไร
เหมอื นพระพุทธรปู องคน์ ีเ้ ลย”
หลวงปพู่ รหมท่านย้มิ แลว้ พูดว่า “ตัวทา่ นเอง (หลวงปขู่ าว) เคยสรา้ งพระองค์น้มี า”
หลวงป่ขู าวยิ่งสนใจเรอื่ งน้มี ากขึ้นไปอีก จึงนิมนตห์ ลวงปู่พรหมชว่ ยพิจารณาดใู หท้ ี
พอรงุ่ เชา้ ของวนั ใหม่ หลวงปพู่ รหมจงึ พดู กบั หลวงปขู่ าววา่ “เมอ่ื ชาตกิ อ่ น ครบู าเคยมาเกดิ
ในท่แี ห่งน้ี ได้เปน็ สลา่ กับเขา”
(สลา่ หมายถงึ ชา่ งฝมี อื หลวงปขู่ าวในอดตี ชาติ เคยรว่ มในกลมุ่ ช่างหลอ่ พระพุทธรูป โดย
เป็นผูส้ บู ลมเพือ่ เปา่ ให้ไฟร้อนในการหลอมโลหะ)
เม่ือหลวงปู่ขาวได้ลองภูมิปัญญาของหลวงปู่พรหมแล้ว และก็ทราบว่าเป็นความจริง จึง
แสดงสมั โมทนียกถาตอ่ กนั และกนั
ความจรงิ หลวงปขู่ าว ท่านทราบเรือ่ งในอดีตชาตนิ ีด้ แี ล้ว ทา่ นถามเพอื่ ลองปัญญาหลวงปู่
พรหมเท่านัน้ เอง เร่ืองน้แี สดงให้เหน็ วา่ หลวงปูข่ าว และ หลวงปพู่ รหม ท่านท้งั สองมีอตตี ังสญาณ
คือ ญาณหย่งั รเู้ หตกุ ารณใ์ นอดีตเป็นอันดี
และในวันหนึ่งหลวงปู่พรหมก็อยากจะลองภูมิปัญญาของหลวงปู่ขาวบ้าง จึงถือโอกาส
ถามหลวงปขู่ าวบา้ งว่า “ครบู า เมอ่ื ครบู าตายแลว้ จะไปไหน”
หลวงปู่ขาวก็ตอบไปอย่างทันควันเลยว่า “ผมตายแล้วก็ไม่ไป – ไม่มา ไม่ขึ้น – ไม่ลง
ไมเ่ กิด – ไมด่ บั ”
หลวงปู่พรหมก็ได้แต่พยักหน้าหงึกๆ แล้วพูดว่า “จะเอาอย่างไรกันอีกเล่า ไหนครูบา
บอกวา่ ภาวนาไม่เป็นยังไง”
110
หลวงปู่ขาวก็ตอบต่อไปอีกว่า “ก็ผมมันโกรธกิเลสเหลือเกิน มันเคยเป็นนายผมมาหลาย
ภพหลายชาตแิ ลว้ มันบงั คบั ใหผ้ มท�ำความชว่ั มาจนเงยหนา้ ไมข่ ึ้น บดั นีผ้ มจะโต้ตอบมันบ้าง ผมจงึ
กระหน่�ำแล้วกระหน�่ำอีก ตีแล้วตอี กี เหยยี บแล้วเหยียบอกี ใหม้ นั สมใจแค้น ผมจะไม่ยอมให้กิเลส
มนั โผลห่ วั โงคอขึน้ มาไดอ้ กี ผมจะท�ำความเพียรจนวันตายมาถึง”
หลวงปพู่ รหมพอไดย้ ินหลวงปขู่ าวพูดออกมาอย่างจริงจังอยา่ งนั้น กอ็ นโุ มทนาสาธุ แลว้ ก็
บอกว่า “ผมกจ็ ะทำ� เหมอื นครูบานนั่ แหละ”
ต่อจากน้ันท่านหลวงปู่ท้ังสองก็ได้อ�ำลาจากกัน เพื่อออกไปบ�ำเพ็ญความเพียรหวังฆ่าตัว
อาสวกเิ ลส บำ� เพญ็ ภาวนาตามผู้เหน็ ภยั ในวัฏทกุ ข์”
หลวงปพู่ รหมเม่อื ท่านขนึ้ ภาคเหนอื ตดิ ตามหลวงปมู่ ั่น ทา่ นมุ่งมั่นต้งั ใจปฏบิ ัติภาวนาเพอื่
ความพน้ ทกุ ข์เพยี งประการเดียว ท่านไมเ่ คยทราบมาก่อนว่า ท่านมฝี ีมือทางหล่อ ป้นั และแกะสลกั
พระพุทธรูป ต้นเหตุที่ท่านทราบก็เพราะว่าหลวงปู่ขาวได้นิมนต์ท่านมาซ่อมแซมพระพุทธรูป
และท่านเองกพ็ จิ ารณาแล้วจึงทราบว่าเปน็ คุณสมบตั ิเก่าในอดตี ชาติของท่าน จดุ นีไ้ ด้เป็นจดุ เร่มิ ตน้
ในการสร้างพระพทุ ธรูปในกาลตอ่ มา จากนน้ั เมอื่ ทา่ นเดนิ ทางกลบั ภาคอีสานแล้ว ท่านจะเป็นผนู้ �ำ
พระเณรชาวบ้านสร้างพระพทุ ธรปู เพอื่ เปน็ พระประธานของทุกๆ วดั ที่ท่านสรา้ งหรอื พฒั นาบูรณะ
ขึ้นมาใหม่ พระพุทธรปู ท่ีทา่ นสร้างจะมพี ทุ ธลกั ษณะเดียวกนั และได้กลายเป็นสญั ลกั ษณ์ผลงาน
ศาสนวัตถุประจำ� องคท์ ่าน
111
ภาค ๗ ถวายตัวเป็นศิษย์ท่านพระอาจารย์มั่น
ประวตั ขิ องหลวงปพู่ รหม จริ ปญุ ฺโ ในชว่ งนส้ี �ำคญั มาก เพราะการปฏิบตั ิธรรมเพ่ือความ
พ้นทกุ ข์ เปน็ เร่ืองของจิต และการแก้จิตเปน็ เรือ่ งยาก จึงจำ� เปน็ ต้องมคี รบู าอาจารยผ์ ู้ร้จู รงิ เหน็ จริง
คอยเมตตาช่วยเหลอื จงึ มีความเกย่ี วข้องกบั ประวัติของหลวงปมู่ น่ั ภรู ทิ ตโฺ ต อย่างหลกี เล่ยี งไมไ่ ด้
เพราะหลวงปู่มั่นด�ำเนินตามรอยปฏิปทาขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เมื่อคร้ังพระองค์
ตรสั รู้ธรรมแล้วก็เสด็จออกจาริกธดุ งคด์ ้วยพระบาทเปล่าๆ เพ่ือประกาศพระพุทธศาสนาไปทวั่ ท้ัง
ชมพทู วีป หลวงปูม่ ั่นกเ็ ชน่ เดียวกันเมื่อทา่ นบรรลุธรรม ท่านกอ็ อกเดนิ เท้าธดุ งค์บกุ เบกิ ตามสถานท่ี
ต่างๆ ทางภาคเหนือ ซ่ึงกอ่ นหน้าท่านกเ็ ท่ยี วไปท่วั ทงั้ ภาคอสี าน ภาคกลาง และประเทศใกล้เคียง
เช่น พมา่ ลาว เขมร ฯลฯ ทั้งนก้ี ็เพ่ือสงเคราะห์บรรดาพระศษิ ยท์ ้ังหลายทอ่ี อกติดตาม จะได้มี
สถานทสี่ ัปปายะส�ำหรบั การบำ� เพ็ญภาวนา โดยครูบาอาจารยไ์ ด้เมตตาเทศน์เร่ืองนไ้ี ว้ดงั นี้
“อ้าว ! เวลาปฏิบตั ิไป นีล่ ูกศิษยห์ ลวงปูม่ น่ั ใครจะเก่งกวา่ หลวงปูม่ ่ัน เอง็ ท�ำอะไรมาเถอะ
หลวงปู่มั่นท�ำมาหมดแล้ว จะไปเท่ียวป่าไหนก็ไปเถอะ เราเคยไปมาแล้ว ป่าไหน ท่านส่ังให้ไป
เพราะหลวงปมู่ ั่นทา่ นเทีย่ วรอบประเทศไทย ท่านเขา้ ไปในพม่า ท่านเข้าไปในลาว เข้าไปในเขมร
ท่านไปหมดเลย ทา่ นย่ำ� มาหมด ในปา่ เขาบริเวณนี้ ท่านยำ่� มาหมดแลว้ ”
หลวงปู่มั่นบรรลุธรรม
หลวงปมู่ ่นั ภรู ทิ ตฺโต สมัยทา่ นอยู่ภาคอสี าน ทา่ นทราบดีวา่ ท่านยังไมบ่ รรลธุ รรมขัน้ สงู สุด
เปน็ พระอรหนั ต์ โดยทา่ นปรารภไวว้ ่า “กำ� ลงั เราไม่พอ” ท่านต้องการอยเู่ พยี งตามลำ� พงั เพื่อบำ� เพ็ญ
ธรรมข้ันแตกหัก ท่านจึงเดินทางข้ึนภาคเหนือ ในเวลาไม่นานนักท่านก็ได้บรรลุธรรมท่ีจังหวัด
เชียงใหม่ นับว่าเป็นพระอรหันตสาวกองค์แรกในสมัยครั้งก่ึงพุทธกาล ซ่ึงต่อมาก็มีครูบาอาจารย์
ประเภทเพชรน้ำ� หนง่ึ หลายองค์ออกเดนิ ธดุ งค์ตามปา่ ตามเขา เพือ่ ตดิ ตามหาทา่ น รวมทง้ั หลวงปู่
พรหม จิรปญุ โฺ และท่านไดอ้ ยู่ทางภาคเหนือต่ออกี ๑๑ ปี เพือ่ อบรมส่ังสอนพระศิษย์ อบุ าสก
อบุ าสิกา ตลอดสงเคราะห์เทวบตุ รเทวดา
ส�ำหรับการบรรลุธรรมของหลวงปู่ม่ัน จากหนังสือประวัติท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทัตต–
เถระ โดยหลวงตามหาบัว าณสมฺปนโฺ น ไดบ้ นั ทกึ การบรรลุธรรมจากคำ� บอกเล่าของหลวงป่มู ่ัน
ไว้ดงั นี้
“ทา่ น (หลวงปมู่ ัน่ ภูริทตโฺ ต) พกั อยูว่ ดั เจดยี ์หลวง จงั หวัดเชียงใหม่ พอสมควรแลว้ กก็ ราบ
ลาท่านเจ้าคณุ อบุ าลฯี เพือ่ ไปเที่ยวแสวงหาท่วี ิเวกตามอ�ำเภอต่างๆ ทม่ี ีปา่ มีเขามาก ท่านเจา้ คุณ
อุบาลฯี ก็อนุญาตตามอัธยาศยั ทา่ นเร่ิมออกเท่ียวครั้งแรกทจ่ี ังหวดั เชยี งใหม่ ทราบว่าท่านไปเท่ยี ว
112
องคเ์ ดยี ว จึงเปน็ โอกาสอันเหมาะอย่างย่งิ ท่ชี ว่ ยใหท้ า่ นมตี นเป็นผเู้ ดยี วในการบำ� เพ็ญเพยี รอยา่ ง
สมใจท่ีหิวกระหายมานาน นับแต่สมัยที่อยู่เกล่ือนกล่นกับหมู่คณะมาหลายปี เพ่ิงได้มีเวลาเป็น
ของตนในคราวนัน้ ทราบวา่ ทา่ นเทยี่ ววเิ วกไปทางอ�ำเภอแมร่ ิม เชียงดาว เปน็ ตน้ เข้าไปพักในปา่
ในเขาตามนิสัยทัง้ หน้าแล้งหน้าฝน ....
ท่านพระอาจารย์ม่ันเล่าว่า ปฏิบัติมาถึงข้ันน้ี มีความเพลิดเพลินจนลืมเวล่�ำเวลา ลืมวัน
ลมื คนื ลืมพกั ผ่อนหลบั นอน ลมื ความเหน็ดเหน่อื ยเม่อื ยลา้ จติ ตง้ั ทา่ แต่จะสกู้ เิ ลสทกุ ประเภทด้วย
ความเพียร เพ่ือถอดถอนมันพรอ้ มทั้งราก โดยไม่มีความสะทกสะท้านหวั่นเกรงอะไรเลย นบั แต่
ออกจากวัดเจดียห์ ลวงไปบำ� เพญ็ โดยล�ำพงั องค์เดียวดว้ ยเวลาเป็นของตนทุกๆ ระยะ ไมป่ ล่อย
ใหว้ นั คืนผ่านไปเปลา่ ไมน่ านนกั เลยก็ไปถึงบึงใหญช่ ่อื “หนองออ้ ” และ “อ้อนี่เอง” …
ในเวลาไมน่ านนกั นบั แต่ทา่ นออกรบี เร่งตักตวงความเพยี รด้วยมหาสติมหาปญั ญา ซึง่ เปน็
สติปัญญาธรรมจักรหมุนรอบตัวและรอบส่ิงเกี่ยวข้องไม่มีประมาณตลอดเวลา ในคืนวันหน่ึงเวลา
ดกึ สงดั ท่านน่ังสมาธภิ าวนาอยชู่ ายภูเขาท่ีมหี ินพลาญกว้างขวางและเตียนโลง่ อากาศก็ปลอดโปร่ง
ดี ท่านวา่ ทา่ นนั่งอยใู่ ต้ร่มไม้ซึง่ ตัง้ อยู่โดดเดยี่ วเพียงตน้ เดียว มีใบดกหนารม่ เย็นดี ซง่ึ ในตอน
กลางวันท่านก็เคยอาศัยนั่งภาวนาท่ีนั้นบ้างในบางวัน แต่ผู้เขียน (องค์หลวงตาพระมหาบัว)
จ�ำชอื่ ต้นไม้และท่อี ยู่ไม่ได้ว่า เป็นตำ� บล อ�ำเภอและชายเขาอะไร
เพราะขณะฟังท่านเล่าก็มแี ต่ความเพลดิ เพลินในธรรมทา่ น จนลมื คดิ เร่อื งอื่นๆ ไปเสียหมด
หลังจากฟังท่านผ่านไปแล้ว ก็น�ำธรรมที่ท่านเล่าให้ฟังไปบริกรรมครุ่นคิดแต่ความอัศจรรย์แห่ง
ธรรมน้ันถ่ายเดียวว่า ตัวเราน้ีจะเกิดมาเสียชาติ และจะน�ำวาสนาแห่งความเป็นมนุษย์นี้ไปท้ิงลง
ในตมในโคลนท่ีไหนหนอ จะมีวาสนาบารมีพอมีวันโผล่หน้าขึ้นมาเห็นธรรมดวงเลิศดังท่านบ้าง
หรอื เปลา่ ก็ทราบไม่ได้ ดังน้ี จงึ ลมื ไปเสียสิน้ มิได้สนใจว่าจะมีสว่ นเก่ยี วขอ้ งเรือ่ งราวกบั ท่านในวาระ
ตอ่ ไป ดังไดน้ ำ� ประวตั ิท่านมาลงอยขู่ ณะน้ี”
จากข้อความขา้ งต้นสรุปไดว้ า่ หลวงปมู่ นั่ ภูริทตฺโต บรรลุธรรมประมาณปี พ.ศ. ๒๔๗๒
ขณะมีอายปุ ระมาณ ๖๐ ปี ๓๖ พรรษา จากนัน้ ทา่ นได้แกค้ วามปรารถนาพทุ ธภมู ิของท่านเจ้าคุณ–
อบุ าลีคณุ ปู มาจารย์ (จันทร์ สริ ิจนโฺ ท) ท่ีวดั เจดยี ห์ ลวง จนทา่ นเจ้าคณุ อบุ าลีฯ ท่านลาพทุ ธภมู ิ
และได้บำ� เพญ็ สมถะพิจารณาวปิ สั สนา และไดบ้ รรลธุ รรม โดยทา่ นเจ้าคณุ อุบาลฯี ได้มรณภาพใน
อริ ิยาบถน่งั สมาธิทว่ี ดั บรมนวิ าส กรงุ เทพฯ เม่ือวันที่ ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๗๕ ซึง่ หลวงป่ตู ือ้
อจลธมฺโม พระศิษย์องค์หน่ึงของทา่ นเจ้าคณุ อุบาลีฯ ทา่ นได้เทศนย์ นื ยนั การบรรลุธรรมของท่าน
เจา้ คณุ อบุ าลีฯ ไวว้ ่า “ท่านเจา้ คณุ อุบาลีฯ นิพพานที่วัดบรมนวิ าส”
113
หลวงปู่ม่ันออกธุดงค์เพ่ือสงเคราะห์พระศิษย์
หลวงปู่มั่น ภูริทตฺตมหาเถร ท่านมีพระคุณและมีความกรุณาต่อบรรดาพระศิษย์อย่าง
ใหญห่ ลวง คือ ทา่ นปรารถนาใหพ้ ระศิษยไ์ ด้พ้นทุกข์ เพอ่ื จะไดเ้ ปน็ ศาสนทายาทสืบทอดพระธรรม
วินัย ธดุ งควัตร ตลอดขอ้ วัตรปฏบิ ัติ จนกลา่ วไดว้ ่าในสมยั ครัง้ ก่งึ พทุ ธกาล พระพุทธศาสนาได้
กลับมาเจรญิ รุ่งเรอื งสงู สุดอีกครั้ง เพราะมรรคผลนพิ พานยังไมห่ มดเขตหมดสมยั ยังมีพระอรหนั ต์
เกิดขน้ึ มากมายดังท่ชี าวพทุ ธทราบกนั ดี ซง่ึ ส่วนใหญเ่ ป็นเพราะผลงานของหลวงปู่มั่น เชน่ หลวงปู่
ชอบ านสโม หลวงปขู่ าว อนาลโย หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ หลวงปู่ตือ้ อจลธมฺโม หลวงปูพ่ รหม
จิรปุญฺโ หลวงป่สู ิม พุทฺธาจาโร หลวงตาพระมหาบวั าณสมฺปนโฺ น ฯลฯ นบั วา่ หลวงป่มู ่ันได้
ทำ� ประโยชน์อย่างใหญห่ ลวงอเนกอนันต์ อยา่ งไม่มอี งคใ์ ดจะท�ำไดเ้ สมอเหมือนท่าน จนวงกรรมฐาน
ต่างให้ความเคารพยกย่องและขนานนามท่านด้วยความเทิดทูนบูชาว่า “พระปรมาจารย์ใหญ่
ฝ่ายพระธุดงคกรรมฐาน” รวมท้ังองค์หลวงตาพระมหาบัวก็ขนานนามท่านด้วยว่า “พ่อแม่ครู–
อาจารย”์ ซึ่งเป็นคำ� เรยี กท่านอยา่ งเคารพบชู าสงู สุด อยา่ งมคี วามหมายลึกซ้งึ กนิ ใจ
พระคุณอนั ย่งิ ใหญไ่ มม่ ีประมาณของหลวงป่มู ั่นทมี่ ตี อ่ บรรดาพระศิษย์ กลา่ วคอื เมือ่ ท่าน
บรรลุธรรมแล้ว นอกจากทา่ นจะเมตตาสงเคราะห์พระศิษย์ดว้ ยการเทศนาธรรม ด้วยการแก้ไขวิถี
ของจิต ตลอดจนการให้อุบายธรรมช้ีแนะแลว้ แม้ท่านอยู่ในวัยชราภาพมอี ายุ ๖๐ – ๗๐ ปแี ลว้
ก็ตาม แต่ท่านก็ยังเมตตาอุตส่าห์เสียสละออกเดินธุดงค์บุกเบิกข้ึนลงตามป่าตามเขาในแถบทาง
ภาคเหนือ ก็เพียงเพ่ือเสาะแสวงหาและเตรียมสถานท่ีสัปปายะ หรือสถานที่เหมาะสมส�ำหรับ
การภาวนาแกบ่ รรดาพระศษิ ยท์ ี่ออกเดนิ ธดุ งคต์ ดิ ตามท่าน โดยตลอดระยะเวลา ๑๑ ปที ี่ท่านอยู่
ภาคเหนือ ท่านเดนิ ธดุ งค์ด้วยเหตุผลดงั กล่าวมาอย่างสมบุกสมบัน อยา่ งไม่เห็นแกค่ วามทุกข์ยาก
ล�ำบาก อยา่ งไม่เหน็ แกเ่ หนด็ แกเ่ หนอื่ ย เพือ่ พระศษิ ยจ์ ะไดม้ สี ถานที่เหมาะสม ทีส่ ะดวกสบายต่อ
การบำ� เพ็ญภาวนา
หลวงปมู่ นั่ ภรู ทิ ตตฺ มหาเถร ทา่ นเปน็ พอ่ แมค่ รอู าจารยส์ ปั ปายะอยา่ งแทจ้ รงิ เพราะใจทา่ น
เป็นใจสัปปายะนั่นเอง เม่ือท่านบรรลุธรรมแล้ว ท่านก็เร่ิมธุดงค์บุกเบิกส�ำรวจสถานที่ในแถบ
ภาคเหนือในจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ซึ่งมีสภาพภูมิประเทศเป็นเทือกเขาสลับซับซ้อน และมี
สภาพผนื ปา่ ธรรมชาตทิ อี่ ุดมสมบรู ณม์ าก ทัง้ เป็นสถานทแ่ี สนทุรกันดารชนดิ การคมนาคมเขา้ ไม่ถึง
เพื่อจะรองรับพระศิษย์ท่ีออกเดินธุดงค์ติดตามหาท่าน โดยเร่ิมจากการหาสถานท่ีสัปปายะให้
พระศษิ ย์ ทำ� ใหพ้ ระศษิ ยม์ ีสถานทีฝ่ ึกฝนปฏิบัตธิ รรมทางภาคเหนอื มากมาย เริ่มตง้ั แต่ธดุ งค์ส�ำรวจ
ถ�ำ้ เงอื้ มผา ปา่ เขา อันเงยี บสงดั วเิ วก หา่ งไกลและไม่มผี ู้คนพลุกพล่านหรอื มารบกวน ซง่ึ เหมาะกับ
114
การบ�ำเพญ็ ภาวนา และเหมาะกับการนงั่ ภาวนาฟงั ธรรมภาคปฏบิ ตั ิ ซง่ึ ถือเปน็ อนั ดับหนง่ึ ของการ
ปฏบิ ตั ธิ รรม จดั เป็นอาวาสสัปปายะ
สถานที่ตามปา่ ตามเขาล้วนแวดล้อมไปด้วยตน้ ไม้ใหญ่นอ้ ยแลดเู ขยี วขจี และสภาพอากาศก็
บรสิ ุทธ์ิสดชนื่ หนาวเยน็ สบาย สำ� หรับหน้าหนาวจะหนาวจัด จัดเป็นอุตสุ ัปปายะ สถานทพี่ ักซึ่งเปน็
เสนาสนะป่าก็ต้ังอยู่ไม่ห่างไกลจากหมู่บ้านมากนัก ซึ่งมีเพียงไม่กี่หลัง สะดวกต่อการบิณฑบาต
จดั เปน็ โคจรสปั ปายะ พรอ้ มทงั้ ออกเดนิ บณิ ฑบาตภิกขาจารจากชาวบา้ นทอ่ี าศัยอยู่ตามป่าตามเขา
จนเขารู้จักใส่บาตรพระธุดงคกรรมฐาน อาหารก็พอได้มาฉันยังชีพเท่าน้ัน อย่างดีสุดก็ได้ข้าวกับ
กบั ข้าวเลก็ น้อย จดั เป็นโภชนสปั ปายะ ยามบา่ ยก็ฉนั น�ำ้ ยาตม้ รากไม้ ท่านอยอู่ ยา่ งมักนอ้ ยสนั โดษ
ไมค่ ลกุ คลีกับผ้ใู ด เรื่องปากท้อง ปจั จยั ๔ การบริโภคใช้สอย ทา่ นก็ไม่กังวลสนใจ ท่านอยไู่ ปเพอื่
ปฏิบตั ธิ รรม จนได้ธรรมมาครองใจ สมเป็นสมณะผเู้ ห็นภยั ในวัฏสงสารอยา่ งแท้จริง
และท่านสอนให้ชาวบา้ นป่านบั ถือพระรัตนตรยั เลกิ นบั ถือผี ท้ังสอนใหร้ ูจ้ ักภาวนา ฯลฯ
ซ่ึงการออกธุดงคย์ ุคแรกๆ ของพอ่ แม่ครูอาจารย์ การพักแรมตามป่าตามเขาในอดตี ทางภาคเหนือ
นอกจากการแขวนมงุ้ กลดตามถ้�ำและรม่ ไมใ้ หญใ่ นช่วงหน้าแลง้ และหนา้ หนาวแล้ว สำ� หรบั ในชว่ ง
หน้าฝนท่านไดอ้ าศยั เสนาสนะปา่ เพ่อื หลบฝน โดยชาวบ้านปา่ เมื่อศรทั ธากจ็ ะช่วยกันท�ำถวายพระ
ที่ธดุ งคม์ า เชน่ ศาลาท่ฉี ันหลงั เลก็ ๆ ท�ำกฏุ ิกระตอ๊ บชัว่ คราวหลงั นอ้ ยๆ โดยใชว้ สั ดตุ ามธรรมชาติ
พน้ื กป็ ดู ว้ ยฟากไม้ไผ่ ฝากก็ ้ันด้วยไมไ้ ผ่ขดั แตะหรือใบตองตงึ หลงั คาก็มงุ ด้วยใบตองตึง ซงึ่ วัสดุ
เหลา่ นลี้ ้วนมอี ย่ใู นป่า ซง่ึ ไมม่ ีอะไรหรูหราฟุ่มเฟอื ย ท�ำเพ่ือพอกบั การอยู่อาศัยตามหลักพระวนิ ัย
เท่านน้ั พรอ้ มท้ังท�ำทางเดนิ จงกรม เสนาสนะปา่ ทญี่ าติโยมทำ� นง่ั ร้านท่ีพักเปน็ เพิงก็มี ยกเป็นช้นั
พอโยกตวั ข้ึนนงั่ ได้ก็มี อย่างสงู ก็มบี นั ไดสามขน้ั ขนึ้ ลงสะดวก หรือบางท่เี สอื ชุกชมุ เขาก็จะท�ำใหส้ งู
ให้พน้ จากช้างจากเสือจะมาทำ� อนั ตรายได้ เหล่านล้ี ้วนจดั เป็นเสนาสนะสปั ปายะ
การสร้างเสนาสนะปา่ ของชาวบ้านปา่ จากวสั ดุธรรมชาติ นอ้ มถวายแดพ่ อ่ แมค่ รูอาจารยท์ ี่
เดนิ ธดุ งค์ปฏิบัตธิ รรมอยู่ตามป่าตามเขา ใหข้ ้อคิดได้ว่า การสรา้ งบญุ กุศลไม่จ�ำเป็นตอ้ งใช้เงนิ ทอง
จ�ำนวนมากเสมอไป เพราะชาวบา้ นป่ากส็ รา้ งวหิ ารทานที่พกั อาศยั ถวายพระผ้ปู ฏบิ ตั ดิ ี ปฏบิ ัตชิ อบ
ด้วยเพียงวัสดุที่มี เช่น ใบไม้ ไม้ไผ่ และแรงกายแรงใจท่ีมี โดยไม่ได้ใช้วัสดุหรูหราและไม่ได้ใช้
เงินทองเลย แตเ่ สนาสนะปา่ นัน้ กลับงดงามและกลมกลืนเข้ากับธรรมชาตไิ ด้เป็นอย่างดี และยังเป็น
การแสดงออกถึงน�ำ้ ใจอนั งดงามของชาวบา้ นปา่
115
ปฏิปทาและการสอนศิษย์ของหลวงปู่มั่นขณะอยู่ทางภาคเหนือ
สถานทีธ่ ุดงค์และการอบรมสงั่ สอนศษิ ยข์ องหลวงปู่ม่ัน ภูริทตฺโต ระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๗๑ –
๒๔๘๒ จากหนงั สือประวตั ทิ ่านพระอาจารย์มน่ั ภูรทิ ัตตเถระ โดย หลวงตามหาบัว าณสมปฺ นโฺ น
บนั ทกึ ไว้ดังน้ี
“ทา่ น (หลวงปูม่ ่ัน) พักอยูใ่ นท่นี ั้นๆ ไม่ว่าจำ� พรรษาหรือเที่ยววิเวกธรรมดา เว้นวดั เจดยี –์
หลวง นอกนน้ั ทราบวา่ เปน็ ปา่ เปน็ เขาซ่งึ เป็นที่เปลยี่ วๆ แทบทัง้ น้นั และเปน็ การเสยี่ งต่อภยันตราย
หลายอยา่ งมาตลอดระยะทท่ี า่ นเท่ียวบ�ำเพ็ญ ฉะนน้ั ประวัตทิ ่านจึงเป็นประวตั ิท่สี �ำคัญมาก ทั้งการ
เทย่ี วธุดงคกรรมฐาน และการรูเ้ หน็ ธรรมประเภทต่างๆ เป็นเร่ืองแปลกและพสิ ดารผดิ กับประวัติ
ของอาจารย์ทง้ั หลายที่เป็นนกั ท่องเทีย่ วบ�ำเพ็ญเหมือนกนั อย่มู าก
เร่ิมแรกที่ท่านออกปฏิบัติในเขตจังหวัดเชียงใหม่ ท่านไปเท่ียวและพักอยู่เพียงองค์เดียว
ถ้าเป็นแบบโลกก็นับว่าเปล่าเปลี่ยวท่ีสุด ความหวาดหว่ันพร่ันพรึงคงแทบไม่หายใจ เพราะความ
กลวั บงั คับอยูท่ ้งั วนั ทั้งคืน ไม่เปน็ อนั กินอยหู่ ลบั นอนได้ แต่ส�ำหรบั ทา่ นแล้วในอริ ิยาบถทง้ั ส่ซี ง่ึ เป็น
เร่ืองของบุคคลผู้เดียว ท่านถือว่ามีความสุขทางจิตใจและสะดวกทางความเพียรมาก เพราะการ
ถอดถอนกิเลส ท่านก็ถอดถอนได้ด้วยอ�ำนาจความเพียรของบุคคลผู้เดียวดังท่ีกล่าวผ่านมาแล้ว
ตอ่ มาค่อยมพี ระทยอยไปหาท่าน มีท่านเจ้าคณุ เทสก์ อ�ำเภอท่าบอ่ จงั หวัดหนองคาย ท่านอาจารย์
สาร (ท่านอาจารยส์ ารณ์ สจุ ิตฺโต) ทา่ นอาจารย์ขาว วดั ถำ้� กลองเพล เปน็ ต้น แตอ่ ยกู่ บั ท่าน
ชั่วระยะกาลเท่านน้ั ท่านกส็ ่งั ให้ออกหาที่วเิ วกตามที่ตา่ งๆ แถบหมบู่ า้ นชาวเขาท่ตี ั้งอยหู่ ่างๆ กนั
ท่ีชายเขาบา้ ง บนหลงั เขาบ้าง หม่บู า้ นละ ๔ – ๕ หลงั คาเรอื นบา้ ง ๙ – ๑๐ หลังคาเรอื นบา้ ง พอได้
อาศยั เขาไปเป็นวันๆ ทา่ นเองก็ชอบอยลู่ �ำพงั องคเ์ ดยี วตามนิสยั
พระกรรมฐานสมัยท่านเป็นผู้น�ำพาด�ำเนินคร้ังนั้น ปรากฏว่าเด็ดเดี่ยวอาจหาญมาก
เท่ียวแสวงหาธรรมกันแบบเอาชวี ิตเขา้ ประกนั จรงิ ๆ ไม่อาลัยชวี ิตยง่ิ กวา่ ธรรม ท่ใี ดมสี ตั วเ์ สือชมุ
ทา่ นชอบสง่ั ใหพ้ ระไปอยู่ท่นี ้ัน เพราะเป็นทชี่ ว่ ยกระตนุ้ เตอื นสติปัญญามใิ ห้นง่ิ นอนใจ ความเพียรก็
จ�ำต้องติดต่อกันไปเอง และเป็นเคร่ืองหนุนจิตใจให้มีก�ำลังข้ึนอย่างรวดเร็วกว่าปกติท่ีควรจะเป็น
ท่านเองก็พักบ�ำเพ็ญเป็นสุขวิหารธรรมอยู่สบาย ในป่าในเขาที่สงัดปราศจากผู้คนท้ังกลางวัน
กลางคืน การตดิ ต่อกับพวกกายทพิ ย์ เช่น เทวบตุ ร เทวดา อินทร์ พรหม พญานาค ภูตผีทมี่ าจาก
ท่ตี า่ งๆ ทา่ นถือเปน็ ธรรมดา เช่นเดียวกบั มนษุ ย์ติดตอ่ กบั พวกมนุษย์ชาตติ ่างๆ ที่ร้ภู าษากนั เพราะ
ท่านชำ� นชิ �ำนาญในทางนีม้ าชา้ นานแล้ว
ทา่ นพกั อยูท่ ป่ี า่ ที่เขา โดยมากก็ท�ำประโยชน์แก่พวกกายทิพยน์ ี้ และพวกชาวเขาซ่ึงเปน็ คน
ซอ่ื สตั ย์สุจรติ ไม่ค่อยมแี ง่งอนตา่ งๆ เวลาเขารูน้ สิ ยั และซาบซง้ึ ในธรรมท่านแลว้ เขาเคารพเล่ือมใส
116
ทา่ นมากแบบเอาชีวติ เขา้ ประกนั ไดเ้ ลย คำ� ว่าชาวป่าชาวเขา เช่น พวกอีก้อ ขมุ มเู ซอ แม้ว ยาง
เหลา่ น้ี ตามความคาดหมายของคนท่วั ไป เขา้ ใจวา่ เขาเป็นคนป่าคนเขา รูปร่างท้งั หญงิ ทงั้ ชายตอ้ ง
ขี้ร้ิวขเ้ี ลอะตัวด�ำก�ำโคลนราวกับตอตะโกแน่ๆ แต่ท่านวา่ คนพวกนรี้ ปู รา่ งหนา้ ตาสวยงาม และขาว
สะอาดสะอ้าน กริ ยิ าเรียบรอ้ ย มรี ะเบียบขนบธรรมเนยี มดี เคารพนบั ถือผ้ใู หญแ่ ละผู้เปน็ หวั หน้า
ในหมู่บ้านดีมาก สามัคคีกันดี ไม่ค่อยมีประเภทแหวกแนวแฝงอยู่ในหมู่บ้านเหล่านั้นในสมัยนั้น
มีความเชื่อถือผู้ใหญ่และหัวหน้าบ้านมาก หัวหน้าพูดอะไรชอบเช่ือฟังและท�ำตาม ไม่ด้ือดึงฝ่าฝืน
ส่ังสอนก็ง่ายไม่ค่อยมีทิฐิมานะ ค�ำว่าป่าแทนที่จะเป็นป่าเถื่อนแบบสัตว์ แต่กลับเป็นป่าแห่งคนดี
มีสัตยม์ ีศีล ไม่มีการฉกลักขโมยปล้นจี้กนั เหมือนปา่ มนษุ ย์ล้วนๆ
ปา่ ไม้ ป่าสัตว์ เป็นป่าทไ่ี ม่ค่อยได้ระเวียงระวังมากเหมือนป่ามนษุ ยล์ ้วนๆ ที่เตม็ ไปด้วยภัย
นานาชนิด กิเลส ความโลโภ โทโส โมโห เป็นป่าลกึ ลบั ชนิดท่โี ดนเอาๆ ไม่เวน้ แต่ละเวลา เม่อื โดน
เข้าแล้วต้องเป็นแผลลึกอยู่ภายใน และคอยท�ำลายสุขภาพทางร่างกายและจิตใจให้เกิดทุกข์
เสียหายไปนานๆ ไม่ค่อยมีวันหายได้เหมือนแผลชนิดอื่นๆ และไม่ค่อยสนใจหายามาระงับหรือ
กำ� จดั กันด้วยแผลลกึ ท่ีกิเลสเหลา่ นี้ต�ำ จึงมกั จะเป็นแผลเร้ือรงั ผู้ถูกต�ำก็มักปลอ่ ยทงิ้ ไว้ให้หายไปเอง
ป่าประเภทน้ีมีอยู่ในใจของมนุษย์หญิงชายพระเณรทุกคนไม่เลือกหน้า ถ้าเผลอก็เสียท่า
ให้มันจนได้ ท่านว่าเท่าที่ท่านพยายามอยู่ในป่าก็เพ่ือจะก�ำจัดตัดป่าเสือร้ายภายในตัวคึกคะนอง
และโหดร้ายทารุณไม่มีวนั สงบซบเซาลงบ้างเลยนี้ ใหส้ งบหรือตายไปจากใจ พอได้อย่สู บายหายวุ่น
บ้าง สมกบั มนษุ ย์เป็นสตั วฉ์ ลาดแสวงหาความสุขใส่ตนในเวลาท่ีได้เกดิ มาเปน็ คนทง้ั ชาติ ไม่ขาดทุน
สญู อำ� นาจวาสนาแหง่ ความเปน็ มนษุ ย์ไปเปลา่ ๆ
ทา่ นอยู่ป่าอยู่เขาเช่นนน้ั เวลามหี มคู่ ณะไปอาศัยท่าน การอบรมสัง่ สอนก็เดด็ เดยี่ วไปตาม
สถานที่และผ้ไู ปเกีย่ วข้อง เพราะผทู้ ่ไี ปหาทา่ นโดยมากมักมีแตผ่ ู้กล้าตายแบบเสยี สละทกุ อยา่ งแลว้
ทั้งนั้น การสั่งสอนจึงท�ำให้สมภูมิทั้งสองฝ่าย จะตายก็ยอมให้ตายไปด้วยความเพียร เม่ือชีวิตยัง
เป็นไปอยู่ก็ขอให้รู้ให้เห็นธรรมและหลุดพ้นจากทุกข์ภายในใจ ไม่ต้องกลับมาเกิดตายและทนทุกข์
ซำ้� ซากอยู่ในโลกไม่มีขอบเขตแห่งความสิ้นสุดนี้
การอบรมส่ังสอนพระในคราวอยู่เชียงใหม่ผิดกับแต่ก่อนอยู่ ไม่มีการอนุโลมผ่อนผันใดๆ
เลย แมพ้ ระท่ไี ปอบรมกบั ทา่ นโดยมากกเ็ ปน็ พระประเภทปฏิโลม ฟังกนั แบบปฏิโลม คือคอยจอ้ ง
มองดูกิเลสของตัวจะแสดงขึ้นมาอย่างไรบ้าง เพ่ือปราบปรามให้หายพยศลดก�ำลังโดยถ่ายเดียว
มไิ ด้ไปสนใจคิดวา่ ท่านเทศน์หนกั ไป เผ็ดรอ้ นไป ยิง่ ท่านเทศน์เผ็ดร้อนเท่าไร ธรรมก็ยงิ่ สงู ขึน้ เป็น
ล�ำดับ ใจก็ย่ิงสงบแนบแน่นดีส�ำหรับผู้ที่อยู่ในข้ันสงบ ผู้อยู่ในขั้นปัญญาจิตก็พยายามคิดค้นตาม
คำ� เทศน์ทา่ นไปเร่อื ยไม่ลดละ
117
ท่านอยู่เชียงใหม่เทศน์ธรรมสูงมาก เพราะความรู้ท่านก็เต็มภูมิ ผู้ไปศึกษาอบรมก็มี
ภูมิจิตสูง และเป็นไปด้วยความหมายมั่นปั้นมือท่ีจะให้รู้ให้เห็นขั้นสูงขึ้นไปเป็นล�ำดับจนสุดภูมิ
นอกจากเทศนธ์ รรมดาแลว้ ย่ิงมีธรรมแปลกๆ คอยดักใจผคู้ ิดออกนอกลนู่ อกทางอกี ด้วย ประเภท
หลังน้ีมีอ�ำนาจมากในการดักจับและปราบโจรภายในของพระท่ีชอบขโมยสิ่งของเก่ง แบบไม่เลือก
กาล สถานที่ คือ ขโมยคดิ เรอ่ื งรอ้ ยแปดตามนสิ ัยของคนมีกเิ ลส มิใช่แบบเขาขโมยกันทั่วๆ ไป”
หลวงปู่มั่นเร่ิมเปิดเผยธรรมธาตุต่อพระศิษย์
ใจท่คี รองธรรมธาตุอนั เลศิ เลอพน้ จากทกุ ข์ทัง้ ปวง ยอ่ มเปน็ ความปรารถนาสงู สดุ ของบรรดา
นักปฏิบัติธรรมทั้งหลาย กลา่ วคือ หลังจากทหี่ ลวงปู่มัน่ ภรู ทิ ตโฺ ต บรรลธุ รรมเปน็ พระอรหันต์ในปี
พ.ศ. ๒๔๗๒ แลว้ ท่านก็เรม่ิ เปิดเผยใจท่ีครองธรรมธาตุอันเลิศเลอของท่านต่อบรรดาพระศษิ ย์ เปน็
เพราะสายบญุ สายกรรมทเ่ี กยี่ วโยงกันมาแตอ่ ดตี ชาติอนั ยาวนาน ซง่ึ ทา่ นและพระศษิ ยเ์ คยร่วมทุกข์
รว่ มสุข ร่วมสรา้ งบุญบารมเี พือ่ ความพ้นทกุ ข์มาดว้ ยกัน ทา่ นจงึ ตั้งใจเมตตาเทศนาอบรมส่งั สอน
พระศิษยเ์ ปน็ พเิ ศษ โดยทา่ นได้ธดุ งคบ์ กุ เบิกเตรยี มสถานทีส่ ปั ปายะตา่ งๆ ทางภาคเหนอื ไวร้ องรบั
พระศิษย์
ส�ำหรับพระศษิ ย์เองตา่ งก็ปรารถนาความพน้ ทกุ ข์อยแู่ ล้ว ก็มีหลายองค์ท้งั ทเี่ คยอย่อู บรมกบั
ท่านทางภาคอสี านมาแลว้ เช่น หลวงปูส่ ารณ์ สุจติ โฺ ต หลวงปูเ่ ทสก์ เทสฺรสํ ี หลวงปขู่ าว อนาลโย
หลวงปแู่ หวน สุจิณโฺ ณ หลวงปตู่ ้ือ อจลธมโฺ ม ฯลฯ และทไ่ี มเ่ คยอยู่อบรมมาก่อน เช่น หลวงปู่
พรหม จริ ปุญโฺ หลวงปู่เจ๊ียะ จุนโฺ ท ท่านพอ่ เฟือ่ ง โชติโก ฯลฯ ตา่ งก็ต้งั ใจเดนิ ธุดงคม์ าทาง
ภาคเหนือ เพ่ือสืบเสาะหาและขอรับการอบรมสั่งสอนด้านธรรมปฏิบัติจากท่าน ความต้ังใจของ
หลวงปู่ม่ันกับบรรดาพระศิษย์ตรงกันประจวบเหมาะได้อย่างน่าอัศจรรย์ย่ิง ซ่ึงการอบรมส่ังสอน
พระศิษย์ในคร้ังนี้ ท่านไม่เคยกล่าวอีกเลยว่า “ก�ำลังเราไม่พอ” และพระศิษย์ก็ไม่เคยสงสัยใน
ธรรมธาตุทท่ี ่านครองเลย
หลวงป่มู ่ัน ภูริทตโฺ ต เคยเปิดเผยใจทีค่ รองธรรมธาตุของทา่ นใหล้ ูกศิษยล์ กู หา เท่าที่ทราบ
มี ๒ ครงั้ ดังนี้
ครัง้ แรก เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๔๗๖ หลังออกจากถ้ำ� ดอกค�ำ ต�ำบลนำ้� แพร่ อ�ำเภอพร้าว จังหวดั
เชียงใหม่ แลว้ ทา่ นไปพักวิเวกทด่ี อยนะโม ตำ� บลแมป่ ๋ัง อำ� เภอพรา้ ว (แตเ่ ดิมเรียก ดอยนำ้� มวั
เพราะน้ำ� มีลักษณะข่นุ มวั ไมใ่ สแจว๋ ) อยตู่ ิดกบั ดอยแมป่ ั๋งไปทางตะวันออก พระศษิ ยท์ ตี่ ดิ ตามท่าน
ขณะนั้น มีหลวงปูแ่ หวน สจุ ณิ โฺ ณ กับ หลวงปขู่ าว อนาลโย องคห์ ลวงปู่มั่นทา่ นบอกกบั พระศษิ ย์
118
วา่ “ผมหมดงานที่จะท�ำแล้ว ก็อยูส่ านกระบงุ สานตะกรา้ พอช่วยเหลอื พวกทา่ นและลกู ศษิ ย์
ลกู หาได้บา้ งเทา่ นน้ั ” เรอ่ื งน้หี ลวงปแู่ หวนท่านไดเ้ มตตาเล่า
ครง้ั ทส่ี อง เมอื่ ปี พ.ศ. ๒๔๘๑ ท่ีสำ� นักสงฆบ์ ้านแม่กอย (ปัจจุบนั คอื วดั ป่าอาจารยม์ ่นั
บา้ นแมก่ อย ตำ� บลเวยี ง อำ� เภอพร้าว จังหวัดเชยี งใหม)่ ลกู ศิษย์อาวุโสที่อย่ดู ้วย ณ ทน่ี ัน้ มี หลวงปู่
เทสก์ เทสรฺ สํ ี หลวงปขู่ าว อนาลโย หลวงปูแ่ หวน สุจณิ ฺโณ หลวงปู่ตอ้ื อจลธมฺโม หลวงปู่พรหม
จริ ปุญโฺ หลวงปู่สิม พทุ ธฺ าจาโร และหลวงป่คู ำ� อา้ ย (พระชาวเชียงใหม่) เปน็ ตน้
หลวงปู่ค�ำอา้ ย เล่าให้พระศษิ ยฟ์ งั วา่ หลังจากการเทศนอ์ บรมศษิ ยแ์ ล้ว หลวงปมู่ ่นั ท่าน
ปรารภวา่ “ผมคงไมม่ งี านที่จะทำ� อย่กู ับพวกทา่ นหรอก ผมคงจะอยกู่ บั พวกทา่ นไป ไม่มีงานท�ำ
แต่ก็จะอยู่กับพวกท่านไป พวกท่านก็ให้พากันตั้งใจปฏิบัติ แต่พวกท่านอย่าไปบอกพวก
ญาติโยมนะ อย่าไปบอกใคร”
สัปปายะส่งเสริมวิเวก ๓
การธดุ งคบ์ กุ เบกิ หาสถานท่สี ปั ปายะของหลวงปมู่ ่นั ภรู ิทตฺโต ดงั กล่าวมา เปน็ ประโยชน์
อย่างมากต่อบรรดาพระศิษย์ เพราะสัปปายะทั้งหลายย่อมส่งผลสนับสนุนการปฏิบัติธรรมของ
พระศิษย์ได้เป็นอย่างดี ท�ำให้ผลการภาวนาก้าวหน้าได้อย่างรวดเร็ว ท่ีส�ำคัญเป็นการส่งเสริม
สนับสนุนภาคปฏิบัติ และเป็นการด�ำเนินตามปฏิปทาขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตาม
พระโอวาทข้อท่วี ่า รุกฺขมลู เสนาสนฯํ หรือการอยูป่ า่ อย่เู ขา และเรอ่ื งวิเวก ๓ อันได้แก่ กายวิเวก
จิตวิเวก อุปธิวิเวก โดยองค์หลวงตาพระมหาบัว าณสมฺปนโฺ น ไดเ้ มตตาเทศนเ์ รอ่ื งนไี้ ว้ดังน้ี
“ดงั ท่ที า่ นสอนวา่ กายวเิ วก ความสงดั ทางกาย ปราศจากทางรูป ทางเสียง ทางกล่นิ
ทางรส ท่จี ะเข้ามาสัมผัสสัมพันธ์คละเคล้ากับอายตนะภายใน คือ ตา หู จมูก ล้ิน กาย ใจ ทา่ นจงึ
สอนใหอ้ ยใู่ นทเี่ หมาะสมอย่างยงิ่ ในปา่ ในเขา รุกขมลู ร่มไม้ซงึ่ เปน็ ทีส่ งัดกาย ไมไ่ ด้กระทบกระเทอื น
กับส่ิงท่ีจะส่งเสริมหรือปลุกให้กิเลสที่สงบตัวอยู่ภายในน้ันฟุ้งตัวขึ้นมา เพราะกิเลสอยู่ภายในใจที่
ไม่มีอะไรเข้าไปส่งเสริมน้ัน ก็เช่นเดียวกับไฟท่ีอยู่กับถ่านไฟ ไม่มีเชื้อไฟเข้าไปเป็นเคร่ืองส่งเสริม
ไฟก็ไมแ่ สดงเปลวออกมา สงบตัวอยู่ภายในเตานนั้ แตเ่ มอื่ มีเช้อื ไฟ เป็นต้น แฝงเขา้ ไป ไฟทอ่ี ยู่ในเตา
น้นั จะเร่ิมแสดงเปลวขึ้นมามากน้อย ตามกำ� ลังแหง่ สิ่งท่ีสง่ เสรมิ ใหไ้ ฟนน้ั ลกุ ลามมากน้อยเพียงใด
ใจของเราก็เหมือนกนั ถา่ นไฟกเ็ หมือนกบั ใจ กเิ ลสน้นั เหมอื นกบั ไฟที่อยู่กับถา่ นน้ัน แดงโร่
อยอู่ ยา่ งน้ัน แตไ่ ม่แสดงเปลวมากก็ไม่รมุ่ ร้อนมาก เม่อื ไม่มีอะไรมาสง่ เสรมิ คอื กดี กันภายนอก ไดแ้ ก่
เชอื้ ไฟ มี รูป เสยี ง กลนิ่ รส สแี สงตา่ งๆ ทจ่ี ะเปน็ เครื่องสง่ เสรมิ ให้กิเลสภายในฟ้งุ ตวั ข้นึ มา ใจก็สงบ
นอกจากความสงบสงดั ภายในกายนั้นแลว้ ยังสอนจิตวเิ วก ใหส้ งัดทางจติ คอื จติ ก็ไม่ใหฟ้ งุ้ ซา่ น
119
วนุ่ วายส่ายแส่หาอารมณต์ ่างๆ ทเ่ี ปน็ ฟนื เปน็ ไฟเขา้ มาเผาตัวเอง เพื่ออุปธิวิเวก คอื ความสงัดจาก
กเิ ลสโดยประการทัง้ ปวง
ธรรม ๓ ประเภทน้มี คี วามเกย่ี วเนอ่ื งกนั การอย่ใู นปา่ ก็เพื่อกายได้รับความสงดั ไมก่ ระทบ
กระเทอื นส่งิ ตา่ งๆ ทเ่ี ขา้ ไปสัมผสั สมั พนั ธ์เพอื่ ล่วงไหลเข้าไปสูใ่ จให้ไดร้ บั การก�ำเริบ จิตก็ท�ำหน้าท่ี
จิตตภาวนา ระมดั ระวังอารมณ์ทีเ่ คยเป็นภยั ไมใ่ หเ้ ขา้ มายงุ่ ไม่ใหจ้ ติ ไปท�ำงานในประเภทนนั้ แตม่ ี
งานทางด้านธรรมะ งานเพ่อื ใจสงบ งานเพอื่ ถอดถอนกเิ ลสดว้ ยธรรมแง่ใดบทใด ก็นำ� ธรรมแงน่ ้ัน
บทนั้นมาบำ� เพ็ญ นเี่ รยี กว่า บำ� เพ็ญธรรม…
กายวิเวกจงึ เป็นของสำ� คญั เราเองก็เถอะ ถา้ ลงได้เขา้ ไปส่กู ายวิเวกในสถานท่เี หมาะสมดงั ท่ี
ว่าน้ีแล้ว จะระลึกถึงองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าและพระสาวกท่านทันทีทันใดเลย เพราะ
เป็นเคร่อื งปลุกประสาทจิตใจของเราท่ีเคยหมอบเคยนอนจมอยูใ่ นกเิ ลสความนอนใจนั้น ใหต้ ่นื เนื้อ
ต่ืนตัวขึ้นมา รู้สึกความคิดอ่านไตร่ตรองหรือสติสตังก็มีขึ้นมาในเวลานั้น ในอิริยาบถน้ันๆ เพราะ
สถานทเ่ี ปล่ียวๆ เป็นส�ำคญั นผี่ ู้ปฏิบตั ไิ ด้ปฏิบตั ิดังที่กลา่ วมาน้จี ะพดู ได้เต็มปากทีเดียวไมก่ ระดาก
อายเลย เพราะเหน็ ผลอย่างยง่ิ ประจักษ์ใจของผู้ปฏิบตั ิเม่อื อยใู่ นสถานที่เช่นน้ันมาแล้วดว้ ยกนั แม้
พระองค์เองก็ทรงบ�ำเพ็ญและรู้เห็นในธรรมทั้งหลายด้วยสถานที่เช่นนั้นมาแล้ว จึงได้มาประกาศ
ธรรมสอนโลก เพื่อเป็นทางเดินของผู้ปฏิบัติทั้งหลายให้ได้ก้าวไปด้วยความราบรื่นดีงาม เพราะ
สถานทีเ่ ชน่ นัน้ เป็นทีอ่ �ำนวย”
ตามปรกติ หลวงปู่ม่ัน ภูริทตฺโต ท่านชอบอยอู่ งคเ์ ดยี วตามลำ� พัง ท่านไม่ค่อยให้ใครอยดู่ ้วย
เมอื่ ทา่ นอบรมสงั่ สอนพระศษิ ย์แลว้ ทา่ นใหพ้ ระศษิ ย์แต่ละรปู แยกกันไปหาทภี่ าวนากันเอง ใหอ้ ยู่
องคเ์ ดยี ว โดยทา่ นจะแนะน�ำสั่งใหพ้ ระศิษย์ไปฝึกฝนอบรมทรมานจติ อยู่ตามถำ้� เง้ือมผา ป่า เขา
ในที่เงยี บสงดั วิเวกแสนจะเปลา่ เปลย่ี วนา่ กลัว ซ่ึงลว้ นเปน็ ทส่ี ัปปายะเหมาะกับการภาวนา เพ่ือทจี่ ะ
ปราบจิตดวงพยศ เชน่ ใครกลัวเสอื ท่านกใ็ หไ้ ปอยปู่ า่ ทมี่ เี สือชุกชมุ ใครกลัวผี ท่านกใ็ ห้ไปอยปู่ ่าช้า
เป็นต้น พระศิษย์ต่างก็ยินดีปฏิบัติตาม ท�ำให้การปฏิบัติธรรมได้ผลดี เม่ือถึงวันอุโบสถต่างก็มา
รวมกันลงอุโบสถและฟังธรรมจากทา่ น จากนนั้ กแ็ ยกย้ายสู่ท่บี ำ� เพญ็ ของตน ในเวลาจ�ำเปน็ เมื่อมี
ปัญหาข้อสงสัยก็เข้าไปกราบเรียนถาม และเมื่อหมดข้อข้องใจแล้วก็กราบลาท่านไปบ�ำเพ็ญตาม
ล�ำพงั มีการเขา้ ๆ ออกๆ อยูเ่ สมอ
ครูบาอาจารย์ท่านเมตตาเทศน์เรื่องนี้ไว้ดังน้ี
“พูดถึงเวลาเราไปเหน็ หลวงป่พู รหมทา่ นไปอยู่กับหลวงปูม่ ั่น หลวงป่มู ่นั เคี่ยวๆ หลวงป่ฝู ัน้
กเ็ ค่ียว ท่านใส่เต็มท่เี ลย แล้วไมใ่ ห้อยดู่ ว้ ย ไล่ออกไป ไล่ใหอ้ ย่รู อบนอกเพราะตอ้ งเตม็ ที่ แลว้ มันเป็น
120
ปา่ สมยั โบราณ สมัยโบราณป่าคือปา่ มปี า่ ชัฏๆ แล้วป่าอย่างนน้ั ถ้าศีลมันไมบ่ รสิ ทุ ธิข์ ึน้ มา เร่ือง
จิตวิญญาณมันมาก สัตว์ป่ากม็ าก ทุกอย่างก็มาก แลว้ เราจะต้องเขม้ แข็งของเรา
นี่ครูบาอาจารย์ท่านจะสร้างบุคลากร เพราะตอนน้ันยังไม่มีบุคลากรที่เข้มแข็ง ค�ำว่า
เขม้ แขง็ คอื รจู้ ริง ถ้าไม่รู้จริงจะไปแกอ้ ะไรใคร รจู้ ริงเท่าน้นั ถงึ จะแก้ใครได้ น่ีพดู ถงึ ครอบครัว
กรรมฐาน นไี่ งเวลาเราพูดถงึ หลวงป่มู ่ัน พดู ถงึ ครบู าอาจารย์ โยมนะ ในครอบครัวของโยมเปน็
สามภี รรยากนั มีลกู มเี ตา้ ก็อยากให้ลูกเตา้ ดี อยากใหท้ ุกคนเปน็ คนดี แต่ก็ดใี นครอบครัวของโยม
นะ แตห่ ลวงปูม่ ่นั ท่านเอาคนดี เอาพระดี เพ่อื ศาสนา เพือ่ ประเทศชาติ เพื่อสงั คม เพ่ือโลกนะ
ไม่ใชเ่ พ่อื เรื่องส่วนตวั ”
อน่ึง ปฏิปทาในการอบรมส่ังสอนพระศิษย์ด้วยวิธีการเหล่านี้ของหลวงปู่มั่น ท่านด�ำเนิน
ตามหลักรุกฺขมูลเสนาสนํฯ หรือมหาวิทยาลัยป่าอย่างแท้จริง ท่านด�ำเนินเช่นเดียวกับสมัยครั้ง
พทุ ธกาลทอี่ งคส์ มเด็จพระสมั มาสมั พุทธเจ้าทรงพาด�ำเนนิ นนั่ เอง ทำ� ใหพ้ ระศิษยต์ ่างกพ็ ึงพอใจเป็น
อันมาก เพราะมีพระศิษยห์ ลายตอ่ หลายองค์ต่างก็ทรงภมู จิ ิต ภูมธิ รรม และก็มพี ระศิษยห์ ลายองค์
ทีถ่ ึงท่สี ดุ แห่งธรรมเป็นพระอรหันต์ท่จี งั หวัดเชียงใหม่ ดังนี้ หลวงปู่ขาว อนาลโย หลวงปูแ่ หวน
สจุ ิณฺโณ หลวงป่ตู อื้ อจลธมโฺ ม หลวงปู่พรหม จิรปุญโฺ และ หลวงปู่สมิ พุทฺธาจาโร
พ.ศ. ๒๔๗๗ หลวงปู่พรหมเข้ากราบหลวงปู่ม่ันคร้ังแรก
หลวงปู่พรหม จิรปุญฺโ ท่านออกบวชทีแรกก็เป็นปุถุชนคนหนา การปฏิบัติธรรมย่อม
ลม้ ลุกคลุกคลาน ทา่ นไปได้กำ� ลังใจจากหลวงปู่มนั่ ภูรทิ ตโฺ ต โดยครูบาอาจารย์ได้เมตตาเทศน์
เร่อื งนไี้ วด้ งั น้ี
“ดสู ิ หลวงปูพ่ รหมท่านเปน็ เศรษฐี ทำ� ไมท่านมาคิดว่า ทา่ นไม่มีลกู ท่านจะออกประพฤติ
ปฏิบัติ ท�ำไมท่านเสียสละสมบัติท้ังหมดเลย แจกอยู่ ๗ วันถึงจะหมด สมบัติที่เขาแสวงหามา
แสวงหามาเป็นของตนเอง ท่านเสียสละหมดเลย เสียสละหมดไปเลย แล้วท่านจะเป็นโสดาบัน
เป็นสกิทาคา เป็นอนาคา เปน็ อรหันตก์ ไ็ มใ่ ช่ ทา่ นเสยี สละหมดไปเลย แลว้ ท่านเข้าไปบวช
ไปบวชกป็ ถุ ุชนนีแ้ หละ ไปบวชกค็ นหนา แล้วเวลาไปภาวนานะ เวลามันทกุ ขม์ นั ยาก สมบตั ิ
เรานี่ อู้ฮู้ ! มหาศาลเลย เราเสยี สละหมดเลย แลว้ ตอนนมี่ าพทุ โธ พทุ โธ แลว้ มาขอชาวบา้ นเขากนิ
เวลากิเลสมันเป่าหูนะ มันภาวนาน่มี ันจะคิดถึงตอนทเ่ี รามี เศรษฐี เสียสละหมดเลย แล้วมาบวชแลว้
มาเปน็ ทุคตเข็ญใจ แลว้ กไ็ ปบณิ ฑบาตกบั เขา คนทุกขค์ นจน กเิ ลสมันเปา่ หนู ่ลี ม้ ลุกคลกุ คลานเลย
ทา่ นก็ฝืน ท่านกท็ น ท่านพยายามสร้างเนือ้ สรา้ งตวั ข้ึนมา นีไ่ ปเจอหลวงป่มู ัน่ หลวงป่มู ่ันใหก้ �ำลังใจ
ใหอ้ ุบาย แล้วท่านประพฤตปิ ฏิบัติของท่านมา”
121
โดยในปี พ.ศ. ๒๔๗๗ หลวงปู่พรหม จิรปญุ ฺโ ขณะมีอายุ ๔๔ ปี พรรษา ๗ ท่านไดเ้ ข้า
กราบนมัสการหลวงปมู่ ั่น ภรู ทิ ตโฺ ต ครง้ั แรก และไดน้ ้อมถวายตัวเป็นพระศิษย์ติดตามปฏิบัตธิ รรม
ที่บ้านป่าเม่ียงแม่สาย ต�ำบลโหล่งขอด อ�ำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ในสถานที่เดียวกันและ
ระยะเวลาไลเ่ ลยี่ กนั กบั หลวงปู่ขาว อนาลโย และหลวงปู่แหวน สุจณิ ฺโณ
ตำ� บลโหลง่ ขอด เป็นทรี่ าบลุม่ น้�ำแมง่ ัด แมข่ อด ไหลมาทว่ มรวมกัน แต่หายเร็วลงไปหา
ล�ำห้วย หลวงปู่มนั่ หลวงปู่เทสก์ หลวงปชู่ อบ หลวงป่ขู าว หลวงปูแ่ หวน หลวงปู่ต้ือ หลวงปู่
พรหม หลวงปูห่ ลายๆ องคแ์ หละเคยไปอยู่ เปน็ ศนู ยก์ ลางท่ีครูบาอาจารย์อย่ปู ฏบิ ัติ แถวโหล่งขอด
น่ีมนั เกดิ ความสงบ จติ ใจมีปตี ิศรัทธาแรงกลา้ ทีน่ ี่หลวงป่พู รหมท่านกลา่ ววา่ จะไมน่ อนสามเดอื น
หลวงปู่มนั่ ห้ามไม่ใหท้ �ำ เพราะธาตขุ ันธต์ ้องพกั ผ่อน หลวงปขู่ าววา่ เดินจงกรมทน่ี ี่เบาเหมือนเดินบน
อากาศ ไม่ง่วงเหงาหาวนอน
ทีน่ ี่มวี ัดเกา่ เยอะ เช่น วดั ดงมะไฟ เป็นจดุ พกั ของครูบาอาจารย์ จะไปอำ� เภอพร้าว จะไป
บา้ นปง ก็ต้องผา่ นทางน้แี ทบทุกองค์ หลวงปคู่ รูบาอาจารย์ท่ีขนึ้ เชียงใหม่ต้องผ่านตรงน้ีแทบ
ทกุ องคแ์ หละ จะไปปา่ เมีย่ งแม่สายกข็ ึ้นไปจากน้ี องค์สำ� คญั ๆ หลายองคท์ เี ดยี วกไ็ ด้อาศยั ยายสม
นแ่ี หละ ยายสมนอ้ี ายุแกมากอุปัฏฐากสมัยหลวงปู่พรหม หลวงปขู่ าว
จากหนังสอื ประวตั หิ ลวงปูช่ อบ านสโม ได้บนั ทกึ เหตกุ ารณต์ อนนไี้ ว้ดังน้ี
“เม่ือทราบว่าองคห์ ลวงปมู่ ั่นพกั อยูท่ ี่บา้ นปา่ เมย่ี งแม่สาย อำ� เภอพรา้ ว จงึ พากนั เดินทางมา
กราบองค์ท่านท่ีน่ี หลวงปู่ม่ันให้หลวงปู่ชอบกับหลวงปู่พรหมพักอยู่ท่ีน่ีก่อน เนื่องจากตอนน้ันมี
พระเณรเข้ามาปฏิบัติธรรมกับองค์ท่านจ�ำนวนมาก หลวงปู่ม่ันให้ช่วยดูแลความประพฤติของพระ
เณร เพื่อแบง่ เบาภาระขององคท์ ่าน ตอ่ มาหลวงปเู่ ทสก์ทา่ นเข้ามาบ้านปา่ เมี่ยงแม่สาย หลวงป่มู ั่น
จงึ มอบหมายให้หลวงปเู่ ทสก์ดแู ลหมู่คณะพระเณรแทนองค์ทา่ น หลวงปูม่ นั่ ทา่ นจะออกไปภาวนาที่
ถ้ำ� ดอกค�ำ
องค์ทา่ นหลวงปู่มน่ั ภูรทิ ตโฺ ต เดินทางจากบ้านป่าเม่ยี งแม่สาย ไปพักภาวนาท่ีถ�้ำดอกค�ำ
มพี ระ เณรและตาผา้ ขาวติดตามท่านไป ๖ องค์ พระเณรทีต่ ดิ ตามองคท์ า่ นหลวงป่มู นั่ ไปถ้�ำดอกคำ�
ในคร้ังนน้ั มี หลวงปู่ชอบ านสโม หลวงป่ตู อ้ื อจลธมฺโม พระเข่อื ง (ชาวนครพนม) พระอนิ ตา
(ชาวเชียงใหม่) ส่วนสามเณรนน้ั หลวงป่ชู อบบอกเราจ�ำไมไ่ ดว้ ่าชอื่ อะไร ตาผา้ ขาวท่ตี ามไปดว้ ยชื่อ
วงษ์ เป็นคนอำ� เภอสันก�ำแพง จงั หวัดเชียงใหม่ ตอ่ มาตาผ้าขาววงษ์ ทา่ นนี้ไดบ้ วชเป็นพระภิกษทุ ่ี
วดั โรงธรรมสามัคคี”
122
ส�ำหรับหลวงปู่พรหม จิรปุญฺโ เมื่อท่านอยู่ท่ีป่าเม่ียงแม่สาย ซึ่งเป็นสถานที่สัปปายะ
ถกู จรติ นิสยั และเป็นท่ชี ่นื ชอบของทา่ น การภาวนาจงึ ได้ผลกา้ วหนา้ เป็นอย่างดี โดยองค์หลวงปมู่ น่ั
ก่อนไปถ้�ำดอกค�ำได้ถามพระศิษย์แต่ละองค์ว่า “ท่านองค์ไหนภาวนาดี ?” มีหลวงปู่พรหมเพียง
องค์เดียวตอบว่าภาวนาดี หลวงปู่มั่นก็เลยให้หลวงปู่พรหมอยู่จ�ำพรรษาท่ีป่าเม่ียงแม่สายต่อไป
หลวงป่พู รหมจึงเป็นเจ้าอาวาสองคต์ ่อมา
เปน็ ท่ีทราบกนั ดีวา่ ท่านพระอาจารยม์ ั่น ภูรทิ ตตฺ มหาเถร ท่านเป็นพระมหาเถระทว่ี งการ
พระธุดงคกรรมฐานด้วยกันให้การยอมรับว่า ท่านทรงภูมิจิตภูมิธรรมข้ันสูงสุดเป็นพระอรหันต์
ประเภทปฏสิ ัมภทิ าญาณ และทรงอภญิ ญา ๖ มีปรจิตตวชิ าเป็นเลิศ รู้วาระจิตรวดเรว็ มาก สามารถ
ทราบวาระจิต ความนึกคิดของผู้อื่นได้อย่างน่าอัศจรรย์ แม้เร่ืองแสดงฤทธิ์ต่างๆ ท่านก็สามารถ
ทำ� ได้ แต่ท่านกไ็ มไ่ ดน้ �ำไปแสดงเพ่อื โออ้ วดใคร หรอื เพอ่ื หวังอามสิ ใดๆ ท่านมไี วเ้ พอื่ เป็นเครอื่ งมอื
ปราบลูกศษิ ยห์ ัวด้อื และผู้ท่คี ิดไปลองดีท่านเท่าน้นั ขอยกตวั อย่างเรอื่ งปรจติ ตวิชาของทา่ น ดังนี้
เหตุการณ์นี้เกิดกับท่านพระอาจารย์มหาปิ่น ปญฺาพโล แห่งวัดป่าแสนส�ำราญ อ�ำเภอ
วารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ท่านพระอาจารย์มหาปิ่น ท่านเป็นพระน้องชายแท้ๆ ของท่าน
พระอาจารย์สิงห์ ขนฺตยาคโม วันหน่ึงท่านพระมหาปิ่นเกิดความรู้สึกดูหมิ่นดูแคลนหลวงปู่ม่ัน
ถึงกับปรามาสหลวงปู่มนั่ ภรู ทิ ตฺโต ว่า
“ท่านพระอาจารยม์ นั่ มไิ ด้ร�ำ่ เรยี นปรยิ ัตธิ รรมมามากเหมอื นเรา ทา่ นจะมีความรู้กวา้ งขวาง
ได้อย่างไร เราได้ร�่ำเรียนมาถึงเปรียญธรรม ๕ ประโยค จะต้องมีความรู้กว้างขวางมากกว่าท่าน
และที่ท่านสอนเราอยู่เดีย๋ วนี้ จะถูกหรือมถิ ูกประการใดหนอ”
ขณะนั้นหลวงปู่ม่ันอยู่ท่กี ุฏิของท่าน คนละมมุ วัด ไดท้ ราบวาระจิตของทา่ นพระมหาป่นิ วา่
กำ� ลงั คดิ ดูถูกท่าน อันเป็นภัยแกก่ ารบำ� เพ็ญธรรมอยา่ งยิง่ ทา่ นจงึ ลงจากกฏุ ิ เดินไปเอาไมเ้ ทา้ เคาะ
ฝากฏุ ิของทา่ นพระมหาปิน่ แลว้ พดู เตอื นสตวิ ่า
“ท่านมหาปิ่น เธอจะมานั่งดูถูกเราด้วยเหตุอันใด การคิดเช่นน้ีเป็นภัยต่อการบ�ำเพ็ญ
สมณธรรมจรงิ หนา... ท่านมหา”
ท่านพระมหาปิ่นตกใจ เพราะคาดไม่ถึง จึงรีบลงจากกุฏิมากราบขอขมาหลวงปู่มั่นว่า
“กระผมก�ำลังนึกถึงท่านอาจารย์ในด้านอกุศลจิต กระผมขอกราบเท้า โปรดอโหสิให้กระผมเถิด
ตั้งแตน่ ต้ี ่อไป กระผมจะบงั คบั จติ มิใหน้ กึ ถงึ ส่ิงที่เป็นอกุศลจิตอยา่ งนต้ี ่อไป”
การเข้านมัสการหลวงปู่ม่ันในคร้ังแรกของหลวงปู่พรหมก็เป็นเช่นเดียวกัน ศิษย์ผู้เคยอยู่
ปฏบิ ตั ธิ รรมกบั ทา่ นไดเ้ ลา่ ความในใจทสี่ บื ทอดตอ่ ๆ กนั มา พอเปน็ อบุ ายใหม้ กี ารสำ� รวมใจขณะเขา้ พบ
123
ครูอาจารย์ว่า ขณะที่หลวงปู่พรหมมองเห็นหลวงปู่ม่ันเป็นคร้ังแรก ท่านก็นึกประมาทอยู่ในใจว่า
“พระองคเ์ ลก็ ๆ อย่างนีน้ ะหรือ ท่ีผูค้ นเขาร่ำ� ลือว่าเก่งนัก ดูแลว้ ไมน่ ่าจะเกง่ กาจอะไรเลย”
เรอ่ื งท่ีหลวงปพู่ รหมนึกประมาทน้ี หลวงปู่เจ๊ียะ จนุ โฺ ท ไดเ้ มตตาเลา่ รูปร่างของหลวงปู่มั่น
ไว้ดงั น้ี “หลวงปมู่ ัน่ ตวั เล็กๆ บางๆ ตวั เล็กบาง ตัวเลก็ ตวั เลก็ แตเ่ ดินเรว็ เดินนี่ โอ๊ย ! ป้ึบๆๆๆ”
หลวงปู่พรหมท่านเพียงแต่นึกอยู่ในใจของท่านเท่าน้ัน ครั้นพอสบโอกาส ท่านก็เข้ากราบ
นมัสการหลวงปู่ม่ัน ประโยคแรกท่ีหลวงปู่ม่ันท่านกล่าวขึ้น หลวงปู่พรหมถึงกับสะดุ้ง เพราะว่า
หลวงปมู่ ั่นทา่ นได้กลา่ วท�ำนองวา่
“การด่วนวินจิ ฉยั ความสามารถของคน โดยมองดแู ตเ่ พียงร่างกายภายนอกเทา่ นัน้ ไม่ได้
จะเป็นการต้งั สติอยู่ในความประมาท”
คำ� พูดของหลวงปมู่ ่ันน้ีเอง ท�ำความอศั จรรยใ์ ห้เกิดขนึ้ บงั เกิดศรัทธาอยา่ งแรงกล้าทจี่ ะตอ้ ง
ให้ความเคารพนับถือ นี้เพียงแต่นึกคิดในใจอยู่เท่าน้ัน หลวงปู่ม่ันก็สามารถทายใจได้ถูกเสียแล้ว
หลวงปู่พรหมทา่ นจงึ ไดถ้ วายตัวเปน็ ศษิ ยต์ ัง้ แต่บดั น้ันเป็นตน้ มา
ช่วงแรกๆ ท่ี หลวงปู่พรหม จิรปุญฺโ ได้มาพบและปฏิบัติธรรมใกล้ชิดหลวงปู่ม่ันนั้น
หลวงปพู่ รหมตงั้ ใจทุ่มเทเรง่ ความเพยี รโดยถือเพยี งอิรยิ าบถ ๓ คือ ยนื เดนิ และนงั่ เว้นการนอน
ไม่ยอมให้หลังแตะพื้นตลอดช่วงเข้าพรรษา โดยถือคติว่า “ธรรมอยู่ฟากตาย ถ้าไม่รอดตายก็
ไม่เห็นธรรม” เพราะการเสี่ยงต่อชีวิตจิตใจอันเก่ียวกับความเป็นความตายน้ัน ผู้มีจิตใจมุ่งม่ันต่อ
อรรถธรรมแดนหลดุ พน้ เปน็ หลกั ยึดของพระผูป้ ฏบิ ัตพิ ระกรรมฐานจรงิ ๆ แม้แต่พ้นื กฏุ ิ หลวงปู่
พรหมกต็ อ้ งการใหร้ ือ้ ออกเพ่ือจะได้ไม่ตอ้ งนอน ท่านว่าถา้ อยากจะนอนก็ไม่จำ� เปน็ ต้องดน้ั ดน้ มาถึง
เชยี งใหมใ่ หล้ ำ� บาก จะหลับจะนอนท่ไี หนก็ได้
หลวงปู่ม่นั จงึ กลา่ วให้สติท่านวา่ “ทา่ นพรหม อยา่ ไปทำ� อย่างน้นั เลย จะท�ำให้เปน็ ทกุ ข์
เดอื ดร้อนแก่หมูค่ ณะ เพราะสังขารจะตอ้ งพักผอ่ นนอนหลบั ถา้ เจบ็ ไขไ้ ดป้ ว่ ยจะท�ำให้ลำ� บากแก่
หมคู่ ณะ… ในการปฏบิ ัตธิ รรมเพ่อื หลดุ พน้ นนั้ อปุ สรรคต่างๆ ยอ่ มไดพ้ บอยเู่ สมอ ดงั ครบู าอาจารย์
หลายๆ องค์ ถ้าแม้จิตใจไม่แน่วแน่มั่นคงจริงๆ ก็จะท�ำไม่ได้ บางคราวผู้อดหลับอดนอนมากๆ
สูญประสาทเสียจริตไปก็มี บ้างก็เดินชนต้นไม้ใบหญ้าให้วุ่นวาย หรือไม่เวลาออกบิณฑบาต
เท่ียวตะครุบผู้คนก็มี เพราะเดินหลับใน เกิดอาการตงึ เครยี ด ไมส่ ามารถทรงสติตนเองได้ อย่างไร
กต็ าม ครูบาอาจารยท์ า่ นแนะนำ� ใหป้ ฏิบัตเิ พม่ิ สตกิ ำ� ลังให้แก่กลา้ จรงิ ๆ จึงจะทำ� ได้ เมื่อถึงคราวเรง่
ความเพียรก็ยอ่ มจะไดพ้ บความส�ำเร็จโดยไมย่ าก”
124
หลวงปู่ม่ันแนะน�ำหลวงปู่พรหม ให้เดินจงกรมและน่ังสมาธิให้มาก เพื่อฝึกจิตเสียก่อน
เม่ือก�ำลังจิตแก่กล้าแล้วจึงค่อยเร่งความเพียรอย่างหนักหน่วงตามความต้ังใจของท่าน ผลย่อม
บงั เกดิ ขน้ึ อยา่ งแนน่ อน หลวงปพู่ รหมทา่ นเชอ่ื ฟงั คำ� แนะนำ� ของหลวงปมู่ น่ั และไดน้ อ้ มไปปฏบิ ตั ติ าม
ดว้ ยความเคารพ
ส�ำนักสงฆ์ป่าเม่ียงแม่สาย
ส�ำนักสงฆ์ปา่ เม่ียงแมส่ าย ตั้งอยบู่ นดอยกลางหุบเขา บา้ นแม่สาย ตำ� บลโหลง่ ขอด อ�ำเภอ
พรา้ ว จงั หวัดเชยี งใหม่ สมยั กอ่ นเคยเปน็ ทเี่ ล่นการพนนั เพราะวา่ มนั กนั ดารห่างไกลมาก ต�ำรวจเขา้
ไมถ่ ึง ชาวบา้ นเสร็จจากเกบ็ เมีย่ ง (ใบชา) ขาย กม็ เี วลาว่าง เพราะเม่ียงกวา่ จะออกใชเ้ วลา ๒ เดอื น
จงึ เลน่ การพนนั กนั สมยั กอ่ นมีแตเ่ มี่ยงอยา่ งเดยี ว สว่ นกาแฟ สับปะรด ยังไม่มี เพ่ิงจะมีระยะหลัง
เนื่องจากโครงการหลวงฯ มาส่งเสรมิ
สำ� นักสงฆ์แหง่ น้ี หลวงปู่มน่ั ภูริทตโฺ ต ได้เดินทางธุดงค์มาปฏิบตั ธิ รรมในปี พ.ศ. ๒๔๗๖
ซึ่งในสมยั นัน้ มสี ภาพเปน็ ปา่ เป็นดง อุดมสมบูรณ์ไปด้วยป่าไมม้ ีต้นไมใ้ หญข่ นาดหลายคนโอบ และมี
สตั ว์ป่าหนาแนน่ ชกุ ชมุ เชน่ เสอื ชา้ ง งู ฯลฯ เก้ง ไก่ป่ากม็ าอาศัยอยู่ในบรเิ วณนนั้ พวกชะนีก็มรี อ้ ง
สน่ันหวน่ั ไหว พวกหมกี ็ยังมมี าก เพราะไม่ถูกท�ำลาย โดยเฉพาะเสือชุมมาก เวลาบา่ ย ๓ – ๔ โมง
ชาวบา้ นตอ้ งรบี ปิดประตูบา้ น กินข้าวเย็นกเ็ รว็ กวา่ ปรกติ กลางคืนก็ตอ้ งนอนเร็วขึน้ การเดินธุดงค์
ของหลวงปมู่ ่ัน ทา่ นตอ้ งเดินบกุ ป่าฝา่ ดงอันเป็นทางป่า ไม่มถี นนหนทาง กวา่ จะถึงส�ำนกั สงฆต์ ้อง
ผ่านภเู ขาที่สลบั ซับซอ้ นด้วยกนั หลายลกู ท่านตอ้ งเดินข้ึนเขาลงเขา และตอ้ งเดนิ ลุยลำ� ธารนบั สิบ
กวา่ แหง่
หลวงปูแ่ หวน สุจิณโฺ ณ เล่าว่า “การไปป่าเมีย่ งแมส่ ายนนั้ ตอ้ งเดนิ ทางขึน้ เขาลงหว้ ยไป
หลายแห่งกวา่ จะถึง ใชเ้ วลาเดนิ ทางขาข้นึ ๖ ชวั่ โมง และขาลงอกี ๔ ชว่ั โมง ถ้าเดินไม่แขง็ ต้องใช้
เวลานานกวา่ น้”ี (หมายความวา่ ตอ้ งเดนิ ทางหนงึ่ วนั เต็มๆ กนั เลย)
หลวงป่พู รหมเดินธุดงค์เพอ่ื ตดิ ตามหลวงป่มู ัน่ และได้กราบนมสั การหลวงปมู่ ่นั ครงั้ แรกที่
ส�ำนักสงฆ์แหง่ น้ี การเดินเทา้ จากปา่ เม่ยี งแม่สายจะทะลบุ า้ นแม่สูน แลว้ ทะลุบา้ นท่งุ บวกขา้ ว ตรง
ดอยนะโม แลว้ ก็ทะลุวัดดอยแมป่ ง๋ั สมยั ก่อนครูบาอาจารย์เดนิ ตามป่าข้ามเขาทะลุถงึ กนั หมด
การเดนิ ทางมาในขณะนั้นมโี ยมสม ขตั ิแกว้ ผูม้ จี ิตศรัทธาถวายทด่ี ินสวนเม่ยี งแก่หลวงปมู่ ั่น
ต่อมาได้มหี ลวงปเู่ ทสก์ เทสฺรํสี หลวงปู่ขาว อนาลโย หลวงปูแ่ หวน สจุ ิณโฺ ณ และหลวงปพู่ รหม
จิรปุญฺโ เป็นคณะสงฆ์รับการถวายที่ดินดังกล่าว สถานที่แห่งน้ีนับเป็นท่ีสัปปายะอย่างแท้จริง
ดงั เปน็ ทป่ี ระจกั ษช์ ัดถงึ การเดินทางมาปฏบิ ัติธรรมของพระอริยสงฆ์สายธรรมยุตจ�ำนวนหลายๆ รูป
125
เม่ือครูบาอาจารย์ออกจากท่ีน้ันแล้ว ต่อมาก็ได้กลายเป็นวัดร้าง ไม่มีพระ จนกระท่ังมี
ท่านพระอาจารย์มหาสทุ ธ์มิ าอยู่ และจนปี พ.ศ. ๒๕๐๓ จึงมพี ระศษิ ยส์ ายท่านพระอาจารย์ม่ัน
ได้เดินธุดงคม์ าอยู่ดว้ ยกนั
ส�ำนักสงฆป์ ่าเมยี่ งแมส่ ายเดิมมีทั้งกุฏขิ องหลวงปูม่ นั่ ภรู ทิ ตโฺ ต หลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ
หลวงปพู่ รหม จริ ปญุ โฺ ฯลฯ แต่ไดผ้ พุ งั ไปกบั กาลเวลา คงเหลอื แต่ศาลาอเนกประสงคห์ ลงั เลก็ ๆ
ทีไ่ ด้รับการบูรณะดแู ลเปน็ อย่างดี โดยใช้เปน็ ทที่ ำ� วัตร สวดมนต์ ฉนั จงั หนั เชา้ และประกอบงาน
บุญต่างๆ และกฏุ ิหลวงป่อู ดุ ม าณรโต ทไ่ี ด้รบั การบรู ณะซ่อมแซมให้มีสภาพดขี ้ึนมาในปัจจุบนั
สำ� หรบั กฏุ หิ ลวงป่มู ัน่ ที่แท้จริง อยู่เนินเขาด้านบนเลยจากกฏุ หิ ลวงปอู่ ุดมข้นึ ไปทางดา้ นขวา สภาพ
กุฏิหลวงปู่ม่ันเป็นลักษณะเสนาสนะป่าในอดีตของทางภาคเหนือ ซ่ึงท�ำจากใบตองตึงและไม้ไผ่
ปัจจุบนั จึงไม่เหลือร่องรอยแล้ว
สำ� นกั สงฆป์ า่ เมย่ี งแมส่ ายนบั เปน็ ทส่ี ปั ปายะมาก เพราะเปน็ สถานทเี่ งยี บสงดั อาหารการขบ
การฉนั เปน็ ไปอยา่ งอัตคดั เป็นอาหารปา่ อากาศหนาวเย็นตลอดปี โดยเฉพาะฤดหู นาวจะหนาว
มาก เสนาสนะก็เป็นกระตอ๊ บหลังเลก็ ๆ อย่บู นเนนิ เขา ชาวบ้านจะใส่บาตรแตไ่ ม่ตามมาวัด เวน้ แต่
วันพระ วันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา จึงมาถวายอาหารท่ีวัด เสร็จแล้วก็แยกย้ายกลับบ้าน
ชาวบา้ นท�ำกนั จนเปน็ ประเพณจี วบจนถึงปัจจบุ นั พระสงฆท์ ่อี ยู่ปฏบิ ัติธรรมทสี่ ำ� นกั สงฆแ์ ห่งนจี้ ึงทำ�
ความเพยี รกันไดอ้ ย่างเต็มที่
การเดินธุดงคม์ าปฏบิ ตั ิธรรมของพระอริยสงฆ์ ณ สำ� นกั สงฆ์ปา่ เมี่ยงแมส่ าย บ้านแม่สาย
ตำ� บลโหล่งขอด อ�ำเภอพรา้ ว จงั หวัดเชียงใหม่ แหง่ น้ี นอกจากหลวงปู่มั่น ภูรทิ ตฺโต ซ่งึ ไดเ้ ดินทาง
มาในปี พ.ศ. ๒๔๗๖ แล้ว ในกาลต่อมายงั มีอกี หลายรูปทีไ่ ด้เดินทางมาปฏบิ ตั ิธรรม ขอ้ มลู จากการ
สมั ภาษณพ์ อ่ หนานเจริญ ตาค�ำ (ผเู้ ปน็ หลานยายสม ขตั แิ ก้ว ผูบ้ รจิ าคท่ดี นิ จำ� นวน ๖ ไร่ ไวเ้ ปน็
สำ� นักสงฆ์ปา่ เมี่ยงแมส่ าย) และจากการคน้ คว้าจากหนงั สอื มดี งั นี้ หลวงปบู่ ญุ มา ติ เปโม หลวงปู่
เทสก์ เทสรฺ สํ ี หลวงปอู่ ่อนสี สเุ มโธ หลวงปชู่ อบ านสโม หลวงป่ขู าว อนาลโย หลวงปู่แหวน
สจุ ณิ ฺโณ หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม หลวงปู่พรหม จิรปุญฺโ หลวงปูส่ มิ พทุ ฺธาจาโร หลวงปเู่ หรียญ
วรลาโภ หลวงปูอ่ ุดม าณรโต ทา่ นพระอาจารย์ประสิทธิ์ ฉนทฺ าคโม ฯลฯ
ตอ่ มาคณะปฏบิ ตั กิ ารวทิ ยาการ อพ.สธ. ได้เดนิ ทางไปสำ� รวจพันธ์ุพชื บรเิ วณหมบู่ ้านปา่ เม่ียง
แม่สาย ได้มีจิตศรัทธาร่วมกันในอันที่จะเผยแพร่ปฏิปทาคุณความดีของพระอริยสงฆ์ ตลอดจน
ประวัติคณุ ความดีของท่านได้เปน็ ท่รี ้จู กั แพร่หลายสืบไป จงึ มคี วามเห็นร่วมกันทีจ่ ะสร้างรูปเหมอื น
เท่าองค์จริงของหลวงปู่ม่ัน ภูริทตฺโต พร้อมเครื่องอัฐบริขาร เพ่ือประดิษฐานไว้บนกุฏิ ปัจจุบัน
รปู เหมือนหลวงปมู่ ่ันประดษิ ฐานบนกุฏหิ ลวงป่อู ดุ ม าณรโต ที่บูรณะข้ึนใหม่
126
ปจั จุบนั ส�ำนักสงฆ์ป่าเมย่ี งแม่สาย ตั้งอยใู่ นเขตอุทยานแห่งชาตศิ รลี านนา ระยะทางจาก
ปากทางเขา้ บริเวณบ้านหลวง ตำ� บลโหลง่ ขอด อ�ำเภอพรา้ ว ถึงสำ� นกั สงฆ์ป่าเม่ียงแมส่ าย ประมาณ
๒๐ กโิ ลเมตร
กองทัพธรรมพระธุดงคกรรมฐานสอนให้ชาวบ้านเลิกนับถือผี
หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต และพระศิษย์กองทัพธรรมพระธุดงคกรรมฐาน เมื่อท่านออกธุดงค์
ตามป่าตามเขา นอกจากท่านได้บ�ำเพ็ญประโยชน์ตนด้วยการบ�ำเพ็ญภาวนาแล้ว ท่านยังช่วยเหลือ
สงเคราะห์ชาวบ้านท่ีเป็นมิจฉาทิฐินับถือผี โดยการเทศนาส่ังสอนชาวบ้านให้เลิกนับถือผีและหันมา
นับถือพระรัตนตรัย ป่าเม่ียงแม่สายเป็นอีกหมู่บ้านหน่ึงทางภาคเหนือท่ีหลวงปู่ม่ันและพระศิษย์
เช่น หลวงปู่เทสก์ หลวงปู่ขาว หลวงปู่แหวน หลวงปู่พรหม ฯลฯ ไปเมตตาโปรด ดังเรื่องของ
แม่สม ขตั ิแก้ว ผู้ถวายทดี่ ินสร้างสำ� นักสงฆป์ า่ เมยี่ งแม่สาย และเป็นอดีตหมอผีประจำ� หมบู่ า้ น ดังนี้
“ป่าเมี่ยงแมส่ าย เปน็ หม่บู ้านตง้ั อยูก่ ลางหบุ เขา มลี �ำธารนำ้� ไหลผ่านตลอดปี ชาวบ้านมี
อาชพี ทำ� สวนเมย่ี งเป็นอาชพี หลกั (ต้นเม่ยี งเปน็ ชาชนิดหนึง่ ชาวบา้ นเก็บเอาใบมาหมัก เป็นเมยี่ ง
ของชาวเหนอื ) เดิมชาวบ้านนบั ถอื ผี ถึงปีต้องทำ� พิธเี ลี้ยงผี ไมเ่ ชน่ นนั้ จะมีการเจ็บป่วยลม้ ตายกัน
หวั หนา้ หมบู่ ้าน คอื แม่สม ท่นี ำ� คณะไปนิมนต์หลวงปูแ่ หวน สจุ ิณฺโณ นัน่ เอง นอกจากเป็นหวั หน้า
หมู่บ้านแล้ว แม่สมแกเป็นหมอผีประจ�ำหมู่บ้านด้วย เคยมีพระธุดงคกรรมฐานไปพักอาศัยใกล้
หม่บู า้ นได้เทศน์ส่ังสอนให้ชาวบ้านเลกิ การนับถอื ผี ใหน้ บั ถือพระรตั นตรัยแทน ซึ่งก็มพี วกเลกิ ถอื ผี
ตามพระไมก่ คี่ น แมส่ มเป็นคนหนงึ่ ท่เี ชื่อพระ ตัวแกเองได้ปฏิญาณกบั พระ เลกิ ถือผีโดยเดด็ ขาด
พอถึงเวลาเล้ยี งผคี รบรอบปี ในหมู่บา้ นไม่ไดท้ �ำพธิ ีเซ่นสรวงผเี หมอื นอยา่ งเคย ผกี ็แสดงเดช
ออกมาทันที โดยเข้าสงิ ผ้คู นในหมู่บ้านวุ่นวายไปหมด ทสี่ �ำคัญมาเข้าสิงลูกของแม่สมเอง พรอ้ มขู่ว่า
ถา้ แม่สมไมอ่ อกจากพระรตั นตรยั แลว้ กลบั มาเซน่ สรวงผอี ย่างเดิม จะหกั คอลกู ของแกให้ตายเสีย
เมื่อหัวหน้าหมู่บ้านและอดีตหมอผีเจอดีเช่นน้ี ก็ท�ำให้ครอบครัวของแกเดือดร้อนวุ่นวายไปหมด
บางวันตวั แม่สมเองยังถูกผเี ขา้ สิงลงดิ้นพราดๆ ไปเหมอื นกัน แมส่ มแกเปน็ คนถือสัจจะ จึงไมย่ อม
เลกิ นบั ถอื พระรัตนตรัย
ในทส่ี ุดลกู คนหนง่ึ ของแกกต็ ายลง คนทสี่ องกเ็ รม่ิ ป่วย ผมี าเขา้ สงิ อกี พรอ้ มทงั้ ขู่ว่า จะเอา
ให้ตายหมดทง้ั หมู่บา้ น รวมท้ังตวั แมส่ มเองด้วย ทำ� ให้พวกชาวบ้านเดอื ดรอ้ น และหวาดกลวั มาก
ได้พากันขอรอ้ งให้แมส่ มเลกิ นบั ถือพระรตั นตรัย แต่แม่สมใจเดด็ ยืนยนั ขอยอมตาย พวกลกู หลาน
และชาวบ้านมาขอร้องอ้อนวอนทุกวัน แกทนการรบเร้าไม่ได้จึงไปปรึกษาพระธุดงคกรรมฐาน
พระไดแ้ นะน�ำให้เรยี กชาวบา้ นมาพรอ้ มกนั ใหท้ กุ คนรบั พระไตรสรณาคมน์และรับศีล แลว้ พระก็
127
สอนให้เข้าใจเรื่องพระรัตนตรัยพร้อมทั้งอานิสงส์ของศีล นอกจากนี้ให้ชาวบ้านสวดมนต์และฝึก
ภาวนาทกุ เย็น
ในที่สุดการเจ็บป่วยในหมู่บ้านเนื่องจากการกระท�ำของผีก็หมดไป ไม่เคยปรากฏอีกเลย
โดยเฉพาะตวั ของแมส่ มเองนั้น ถา้ เกิดว่าผเี ข้าใคร เพยี งแตม่ คี นพูดว่า “แมส่ มมา” ผีจะรีบลนลาน
ออกทันที ผเี คยเขา้ สงิ ชาวบา้ นและบอกว่า ทบี่ า้ นแม่สมนัน้ เขา้ ไปใกล้ไม่ได้ มีแสงแพรวพราวอยู่
ตลอดเวลา แม้ชอ่ื ของแมส่ ม ถา้ ไดย้ นิ แลว้ ไมร่ ีบออก หวั ก็จะแตก นบั แตน่ ้ันมาชาวป่าเมย่ี งแม่สาย
กเ็ ลิกนับถอื ผี หนั เขา้ หาพระ ตัวแมส่ มเองก็ชักชวนชาวบา้ นสรา้ งวัดประจ�ำหมบู่ า้ นขึ้น เปน็ วัดฝ่าย
กรรมฐาน แกเปน็ ผบู้ �ำรงุ วดั อยา่ งเขม้ แขง็ วัดน้ันกเ็ ปน็ วดั กรรมฐาน คอื สำ� นกั สงฆ์ป่าเมย่ี งแม่สาย
มาจนทุกวันนี”้
ค�ำสอนของหลวงปู่มั่น
พระลูกศษิ ยท์ ่ีไดเ้ ขา้ กราบหลวงปู่มัน่ ภูริทตโฺ ต ในช่วงเวลาไลเ่ ลีย่ กนั น้นั มีจ�ำนวนหลายองค์
ไดแ้ ก่ หลวงปู่เทสก์ เทสรฺ สํ ี หลวงปู่ออ่ นสี สเุ มโธ หลวงปู่ขาว อนาลโย หลวงปู่แหวน สุจิณโฺ ณ
หลวงปู่พระมหาทองสุก สุจิตโฺ ต หลวงปู่พรหม จิรปญุ ฺโ เป็นต้น โดยแตล่ ะองคจ์ ะไดร้ บั โอวาท
ค�ำสอนจากหลวงปู่มั่น จากน้ันตา่ งองคต์ า่ งกแ็ ยกย้ายกันไปหาทีป่ ฏิบัติภาวนาในทข่ี องตน สำ� หรบั
ลูกศิษย์องคไ์ หนท่ีมปี ัญหาตดิ ขดั หรอื จำ� เปน็ ตอ้ งไดร้ บั การแนะนำ� แก้ไขเป็นพิเศษ หลวงปมู่ ั่นจึงจะ
ใช้พระหรือโยมให้ไปตามลูกศิษย์องค์น้ันๆ มารับค�ำแนะน�ำเป็นพิเศษเฉพาะราย หรือย่ิงกว่านั้น
หลวงปู่มนั่ จะใชว้ ิธีสง่ ใจไปสอนไปตักเตอื นดว้ ยอ�ำนาจทพิ ยข์ องท่าน ดงั จะพบเหน็ บ่อยๆ ในประวตั ิ
ของพ่อแมค่ รูอาจารย์แต่ละองค์
สำ� หรบั คำ� สอนหรอื โอวาทธรรมของหลวงป่มู ัน่ ทีส่ อนหลวงปพู่ รหมโดยตรงนัน้ ไม่สามารถ
ค้นพบได้ แต่ถา้ ศึกษาจากประวัตขิ องครูบาอาจารย์องคอ์ ืน่ ๆ ก็พอจะทราบแนวทางค�ำสอนได้ และ
น่าจะเปน็ แนวเดียวกัน
คำ� สอนของหลวงปูม่ นั่ ภรู ทิ ตโฺ ต ที่ปรากฏในประวัติหลวงปู่ขาว อนาลโย เมอ่ื คร้งั ได้เขา้
กราบนมัสการคร้ังแรกท่ีบ้านป่าเม่ียงแม่สาย ต�ำบลโหล่งขอด อ�ำเภอพร้าว ซึ่งหลวงปู่พรหม
จริ ปญุ โฺ กน็ า่ จะรว่ มอยใู่ นเหตกุ ารณ์และไดร้ บั ฟงั ด้วย มดี ังนี้
“... ย่ิงปฏิบัติมานานเพียงไร ก็ยิ่งเช่ืออย่างฝังใจถอนไม่ข้ึนเพียงเท่านั้น และยิ่งได้ฟังค�ำ
ท่านพระอาจารย์ม่ันส่ังสอนอย่างถึงใจสมัยท่ีอยู่กับท่านด้วยแล้ว ความเชื่อม่ันก็ย่ิงฝังใจลงลึกจน
กลายเปน็ อันหน่งึ อนั เดียวกันกบั ใจ
128
ท่านพระอาจารย์ม่นั สอนวา่ ...การดแู ลกเิ ลสและแสวงธรรม ท่านทัง้ หลายอย่ามองขา้ มทีใ่ จ
ซึ่งเปน็ ทีอ่ ยู่ของกิเลส และเป็นทส่ี ถิตอย่แู หง่ ธรรมทัง้ หลาย กิเลสก็ดี ธรรมก็ดี มิได้อยู่กับกาลสถานท่ี
ใดๆ ทั้งส้นิ แตอ่ ยทู่ ่ใี จ คอื เกิดข้นึ ที่ใจ เจริญขน้ึ ทใ่ี จ และดบั ลงทีใ่ จดวงรู้ๆ นเ้ี ทา่ นั้น
การแก้กเิ ลสที่อ่ืน และแสวงธรรมท่อี ื่น แม้จนวนั ตายก็ไมพ่ บส่งิ ดงั กลา่ ว ตายแล้วเกิดเล่าก็
จะพบแต่กเิ ลสท่ีเกิดจากใจ ซงึ่ ก�ำลังเสวยทุกขเ์ พราะมันท้ังน้นั แม้ธรรมกแ็ สวงหาทใี่ จ ก็จะมวี ันพบ
โดยลำ� ดับของความพยายาม สถานท่ี กาลเวลาน้ัน เป็นเพยี งเครอื่ งส่งเสรมิ และเครือ่ งกดถ่วงกิเลส
และธรรม ใหเ้ จรญิ ขึ้นและเสื่อมไปเท่านน้ั เช่น รปู เสยี ง เป็นตน้ เป็นเคร่ืองสง่ เสรมิ กเิ ลสท่ีมีอยใู่ นใจ
ให้เจรญิ ยง่ิ ขึ้น และการเขา้ บำ� เพ็ญในป่าในเขา ก็เพอื่ ส่งเสริมธรรมที่มอี ยูใ่ นใจให้เจรญิ ยง่ิ ขึน้ เท่าน้นั
กเิ ลสแท้ ธรรมแทอ้ ยทู่ ีใ่ จ ส่วนเครื่องสง่ เสริมและกดถ่วงกิเลสและธรรมนนั้ มีอยทู่ ่วั ไป ทงั้ ภายใน
ภายนอก
ฉะน้ัน ทา่ นจงึ สอนใหห้ ลบหลีกปลีกตวั จากสิง่ ย่ัวยวนกวนใจ อันจะทำ� ใหก้ เิ ลสท่ีมีอยูภ่ ายใน
ก�ำเรบิ ลำ� พอง มรี ูป เสียง เป็นต้น และสอนใหเ้ ทย่ี วอยู่ในทีว่ ิเวกสงดั เพือ่ กำ� จัดกิเลสชนิดตา่ งๆ
ด้วยความเพียรได้ง่ายขึ้น อันเป็นการย่นวัฏฏะภายในใจให้ส้ันเข้า ด้วยเหตุนี้ การแสวงหาท่ีอยู่
อันเหมาะสม เพื่อความเพียรส�ำหรับนักบวชผู้หวังความพ้นทุกข์ภายในใจ จึงเป็นความชอบยิ่ง
ตามหลกั ธรรมทีพ่ ระพทุ ธเจา้ ผู้ทรงเหน็ ภัยประจกั ษพ์ ระทัย ประทานไวเ้ พื่อหมู่ชน
เพราะการอย่ใู นทธ่ี รรมดา กับการอยู่ในทีแ่ ปลกๆ เปล่ยี วๆ ความรสู้ กึ ในใจดวงเดียวกันนนั้
มีการเปล่ียนแปลงไปตามสถานทีอ่ ยู่เสมอ ไม่แน่นอน ย่ิงพอทราบว่า จิตมีอาการชินชาตอ่ สถานท่ี
เท่าน้ัน ผู้เป็นนักสังเกตตัวเองจะทราบได้ทันที และรีบเปลี่ยนแปลงโยกย้ายสถานที่เพ่ือความ
เหมาะสม ไมน่ งิ่ นอนใจ อนั เปน็ การเปิดโอกาสให้กิเลสสัง่ สมกำ� ลังเพ่ือทำ� ลายตนเองโดยไมร่ สู้ กึ
การแก้เหตุการณ์ด้วยความไม่ประมาทได้ทันท่วงที กิเลสย่อมไม่มีโอกาสก่อตัวและสั่งสม
ก�ำลังข้ึนท�ำลายจิตและธรรมซึง่ มอี ย่ภู ายในใจดวงเดียวกันได้ และมที างก้าวหนา้ ไม่เสอ่ื มคลาย
ผู้ปฏิบัติเพื่อความเห็นภัย ต้องเป็นผู้มีสติระลึกรู้อยู่กับใจตลอดเวลา ไม่พล้ังเผลอได้เป็น
การดี ความไม่พลงั้ เผลอนนั่ แล คือ ทำ� นบเครอื่ งปอ้ งกันกเิ ลสตา่ งๆ ทย่ี ังไม่เกิด ไมใ่ ห้มีโอกาสเกดิ ข้นึ
ได้ ท่ีมีอยู่ซึ่งยังแก้ไม่หมดก็ไม่ก�ำเริบล�ำพอง และท�ำความพยายามก�ำจัดปัดเป่าด้วยสติปัญญา
ศรัทธา ความเพยี รไม่ลดละ ท้อถอย
สถานท่ีใดจิตกลัวและมีสติระวังตัวดี สถานท่ีนั้น คือ ป่าช้าเผาผลาญกิเลสท้ังมวลด้วย
ตปธรรม คือ ความเพียร มีสตปิ ัญญาเป็นเครอ่ื งมอื เผาผลาญท�ำลาย