พรรษาท่ี ๑๑ 269
ภกิ ษแุ ละสามเณรช่วยกนั พยาบาลไข้
สมัยต่อมา ภิกษุรูปหน่ึง สามเณรรูปหน่ึง ช่วยกันพยาบาลภิกษุอาพาธ
เธออนั ภกิ ษแุ ละสามเณรนนั้ พยาบาลอยู่ ไดถ้ งึ มรณภาพ ภิกษผุ ้พู ยาบาลไข้นน้ั จงึ ได้
มคี วามปรวิ ติ กวา่ เราพงึ ใหส้ ว่ นจวี รแกส่ ามเณรผพู้ ยาบาลไขอ้ ยา่ งไรหนอ ภกิ ษทุ งั้ หลาย
กราบทลู เรื่องนน้ั แกพ่ ระผมู้ ีพระภาคเจ้า พระองค์ตรัสอนุญาตว่า เราอนุญาตใหม้ อบ
สว่ นแก่สามเณรผู้พยาบาลไขเ้ ทา่ ๆ กัน
สมัยต่อมา ภิกษุรูปหนึ่งมีของใช้มาก มีบริขารมาก ได้ถึงมรณภาพ ภิกษุ
ทงั้ หลายกราบทลู เรอื่ งนน้ั แกพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองคต์ รสั วา่ เมอ่ื ภกิ ษถุ งึ มรณภาพ
สงฆเ์ ปน็ เจา้ ของบาตรจวี ร แตภ่ กิ ษผุ พู้ ยาบาลไขม้ อี ปุ การะมาก เราอนญุ าตใหส้ งฆม์ อบ
ไตรจีวรและบาตรให้แก่ภิกษุผู้พยาบาลไข้ บรรดาส่ิงของเหล่านั้น สิ่งใดเป็นลหุภัณฑ์
ลหบุ รขิ าร สงิ่ นนั้ เราอนญุ าตใหส้ งฆพ์ รอ้ มเพรยี งกนั แบง่ บรรดาสงิ่ ของเหลา่ นนั้ สง่ิ ใด
เป็นครุภัณฑ์ครุบริขาร สิ่งน้ันเป็นของสงฆ์ผู้อยู่ในจตุรทิศ ท้ังท่ีมาแล้วและยังไม่มา
ไมค่ วรแบ่ง ไม่ควรแจก
เรือ่ งสมาทานตติ ถยิ วัตรมีเปลอื ยกายเปน็ ตน้ ๑๒
ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหน่ึงเปลือยกายเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว
ได้กราบทูลค�ำน้ีแก่พระผู้มีพระภาคเจ้าว่า พระพุทธเจ้าข้า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรง
พรรณนาคณุ แหง่ ความมักน้อย ความสนั โดษ ความขัดเกลา ความกำ� จัด อาการที่น่า
เลอ่ื มใส การไมส่ ะสม การปรารภความเพยี ร โดยอเนกปรยิ าย การเปลอื ยกายนย้ี อ่ ม
เปน็ ไปเพอื่ ความมกั นอ้ ย ความสนั โดษ ความขดั เกลา ความกำ� จดั อาการทน่ี า่ เลอ่ื มใส
การไม่สะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย ข้าพระพุทธเจ้าขอประทาน
พระวโรกาส ขอพระผู้มีพระภาคเจา้ จงทรงพระกรุณาโปรดอนุญาตการเปลอื ยกายแก่
ภกิ ษุท้ังหลายด้วยเถดิ พระพทุ ธเจา้ ขา้
๑๒ ว.ิ มหา. ๕/๑๖๘/๒๓๒.
270 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
พระผมู้ พี ระภาคพทุ ธเจา้ ทรงตเิ ตยี นวา่ ดกู อ่ นโมฆบรุ ษุ คอื บรุ ษุ เปลา่ การกระทำ�
ของเธอนั้นไม่สมควร ไฉนเธอจึงได้สมาทานการเปลอื ยกาย ทพ่ี วกเดยี รถยี ์สมาทาน
เล่า การกระท�ำของเธอน้ันไม่เป็นไปเพ่ือความเล่ือมใสของชุมชน ท่ียังไม่เล่ือมใส
ครน้ั แลว้ ทรงทำ� ธรรมกี ถา รบั สง่ั กะภกิ ษทุ งั้ หลายวา่ ภกิ ษไุ มพ่ งึ สมาทานการเปลอื ยกาย
ท่พี วกเดียรถยี ส์ มาทาน รูปใดสมาทาน ตอ้ งอาบตั ถิ ลุ ลจั จยั
สมัยต่อมา ภิกษุรูปหนึ่งนุ่งผ้าคากรอง ภิกษุรูปหน่ึงนุ่งผ้าเปลือกไม้กรอง
ภิกษุรูปหน่ึงนุ่งผ้าผลไม้กรอง ภิกษุรูปหน่ึงนุ่งผ้ากัมพลท�ำด้วยผมคน ภิกษุรูปหนึ่ง
นุ่งผ้ากัมพลท�ำด้วยขนสัตว์ ภิกษุรูปหนึ่งนุ่งผ้าท�ำด้วยปีกนกเค้า ภิกษุรูปหนึ่งนุ่งผ้า
หนังเสือ เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วได้กราบทูลแก่พระผู้มีพระภาคเจ้าว่า
พระผูม้ ีพระภาคเจา้ ทรงพรรณนาคุณแหง่ ความมักนอ้ ย ความสนั โดษ ความขัดเกลา
ความกำ� จดั อาการทนี่ า่ เลอ่ื มใส การไมส่ ะสม การปรารภความเพยี ร โดยอเนกปรยิ าย
หนังเสือนี้ย่อมเป็นไปเพื่อความมักน้อย ความสันโดษ ความขัดเกลา ความก�ำจัด
อาการทน่ี า่ เลอื่ มใส การไมส่ ะสม การปรารภความเพยี ร โดยอเนกปรยิ าย ขอพระผมู้ ี-
พระภาคเจ้าทรงพระกรณุ าโปรดอนุญาตหนงั เสือเปน็ ต้นแก่ภกิ ษุทั้งหลายดว้ ยเถิด
พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงตเิ ตยี นวา่ ดกู อ่ นโมฆบรุ ษุ การกระทำ� ของเธอนนั้ ไมส่ มควร
ไฉนเธอจึงได้ทรงผ้าคากรองเป็นต้นตลอดจนถึงผ้าหนังเสืออันเป็นธงชัยของเดียรถีย์
เลา่ การกระทำ� ของเธอนนั้ ไมเ่ ปน็ ไปเพอื่ ความเลอื่ มใสของชมุ ชนทย่ี งั ไมเ่ ลอื่ มใส เปน็ ตน้
ครน้ั แลว้ ทรงทำ� ธรรมกี ถา รบั สง่ั กะภกิ ษทุ งั้ หลายวา่ ภกิ ษไุ มพ่ งึ ทรงผา้ คากรองเปน็ ตน้
ตลอดจนถึงหนังเสืออันเปน็ ธงชัยของเดยี รถีย์ รปู ใดทรงตอ้ งอาบัติถลุ ลจั จัย
สมยั ตอ่ มา ภกิ ษรุ ปู หนง่ึ นงุ่ ผา้ ทำ� ดว้ ยกา้ นดอกรกั รปู หนงึ่ นงุ่ ผา้ ทำ� ดว้ ยเปลอื กปอ
เขา้ ไปเฝา้ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ แลว้ ไดก้ ราบทลู คำ� นแ้ี กพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ วา่ พระผมู้ -ี
พระภาคเจา้ ทรงพรรณนาคณุ แหง่ ความมกั นอ้ ย ความสนั โดษ ความขดั เกลา ความกำ� จดั
อาการท่ีนา่ เล่อื มใส การไมส่ ะสม การปรารภความเพียร โดยอเนกปริยาย ผา้ ทำ� ดว้ ย
ก้านดอกรัก ผ้าท�ำด้วยเปลือกปอน้ี ย่อมเป็นไปเพื่อความมักน้อย ความสันโดษ
ความขดั เกลา ความก�ำจัด อาการทน่ี ่าเลอ่ื มใส การไมส่ ะสม การปรารภความเพยี ร
โดยอเนกปริยาย ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าจงทรงพระกรุณาโปรดอนุญาตผ้าท�ำด้วย
ก้านดอกรกั ผา้ ท�ำด้วยเปลอื กปอ แก่ภิกษุท้ังหลายด้วยเถิด
พรรษาที่ ๑๑ 271
พระผู้มีพระภาคเจา้ ทรงติเตียนวา่ การกระท�ำของเธอน้นั ไม่สมควร ไฉนเธอ
จึงได้นุ่งผ้าท�ำด้วยก้านดอกรัก นุ่งผ้าท�ำด้วยเปลือกปอเล่า การกระท�ำของเธอนั้น
ไม่เป็นไปเพื่อความเลอื่ มใสของชุมชนทีย่ งั ไมเ่ ลือ่ มใส ครั้นแลว้ ทรงท�ำธรรมีกถารบั สง่ั
กะภกิ ษทุ ง้ั หลายว่า ภกิ ษไุ ม่พึงน่งุ ผา้ ทำ� ดว้ ยก้านดอกรัก ไม่พงึ นงุ่ ผ้าทำ� ดว้ ยเปลือกปอ
รปู ใดนุ่ง ตอ้ งอาบัตทิ ุกกฏ
พระฉัพพัคคยี ์ทรงจวี รสีครามล้วนเป็นต้น
ก็โดยสมัยนั้นแล พระฉัพพัคคีย์ทรงจีวรสีครามล้วน ทรงจีวรสีเหลืองล้วน
ทรงจีวรสแี ดงล้วน ทรงจีวรสีบานเยน็ ล้วน ทรงจวี รสดี �ำลว้ น ทรงจวี รสแี สดลว้ น ทรง
จวี รสีชมพลู ้วน ทรงจวี รทไี่ ม่ตัดชาย ทรงจีวรมีชายยาว ทรงจีวรมีชายเปน็ ลายดอกไม้
ทรงจีวรมีชายเป็นแผ่น สวมเส้ือ สวมหมวก ทรงผ้าโพก ประชาชนพากันเพ่งโทษ
ติเตียน โพนทะนาว่า เหมือนพวกคฤหัสถ์ผู้บริโภคกาม ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่อง
นัน้ แกพ่ ระผู้มพี ระภาคเจา้
พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ตรสั หา้ มวา่ ภกิ ษไุ มพ่ งึ ทรงจวี รสคี รามลว้ น ไมพ่ งึ ทรงจวี ร
สเี หลอื งลว้ น ไมพ่ งึ ทรงจวี รสแี ดงลว้ น ไมพ่ งึ ทรงจวี รสบี านเยน็ ลว้ น ไมพ่ งึ ทรงจวี รสดี ำ� ลว้ น
ไมพ่ งึ ทรงจวี รสแี สดลว้ น ไมพ่ งึ ทรงจวี รสชี มพลู ว้ น ไมพ่ งึ ทรงจวี รทไี่ มต่ ดั ชาย ไมพ่ งึ ทรง
จวี รมชี ายยาว ไมพ่ งึ ทรงจวี รมชี ายเปน็ ลายดอกไม้ ไมพ่ งึ ทรงจวี รมชี ายเปน็ แผน่ ไมพ่ งึ
สวมเสือ้ ไมพ่ ึงสวมหมวก ไม่พึงทรงผ้าโพก รปู ใดทรง ต้องอาบตั ิทกุ กฏ
เรื่องจวี รยังไมเ่ กดิ แก่ผ้จู �ำพรรษา
กโ็ ดยสมยั นน้ั แล ภกิ ษทุ ง้ั หลายทจี่ ำ� พรรษาแลว้ เมอื่ จวี รยงั ไมเ่ กดิ ขน้ึ หลกี ไป
เสยี บา้ ง สกึ เสียบา้ ง ถงึ มรณภาพบา้ ง ปฏิญญาเปน็ สามเณรบ้าง ปฏิญญาเป็นผู้บอก
ลาสิกขาบ้าง ปฏิญญาเป็นผตู้ อ้ งอนั ตมิ วัตถุบา้ ง ปฏญิ ญาเป็นผู้วิกลจรติ บา้ ง ปฏญิ ญา
เปน็ ผมู้ จี ติ ฟงุ้ ซา่ นบา้ ง ปฏญิ ญาเปน็ ผกู้ ระสบั กระสา่ ยเพราะเวทนาบา้ ง ปฏญิ ญาเปน็ ผถู้ กู
สงฆย์ กเสยี ฐานไมเ่ หน็ อาบตั บิ า้ ง ปฏญิ ญาเปน็ ผถู้ กู สงฆย์ กเสยี ฐานไมท่ ำ� คนื อาบตั บิ า้ ง
272 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
ปฏญิ ญาเปน็ ผถู้ กู สงฆย์ กเสยี ฐานไมส่ ละคนื ทฏิ ฐอิ นั ลามกบา้ ง ปฏญิ ญาเปน็ บณั เฑาะกบ์ า้ ง
ปฏญิ ญาเปน็ คนลกั เพศบา้ ง ปฏญิ ญาเปน็ ผเู้ ขา้ รตี เดยี รถยี บ์ า้ ง ปฏญิ ญาเปน็ สตั วด์ ริ จั ฉานบา้ ง
ปฏญิ ญาเปน็ ผฆู้ า่ มารดาบา้ ง ปฏญิ ญาเปน็ ผฆู้ า่ บดิ าบา้ ง ปฏญิ ญาเปน็ ผฆู้ า่ พระอรหนั ตบ์ า้ ง
ปฏิญญาเป็นผู้ประทุษร้ายภิกษุณีบ้าง ปฏิญญาเป็นผู้ท�ำลายสงฆ์บ้าง ปฏิญญาเป็น
ผู้ท�ำร้ายพระศาสดาจนถึงห้อพระโลหิตบ้าง ปฏิญญาเป็นอุภโตพยัญชนกบ้าง ภิกษุ
ท้งั หลาย กราบทูลเรอื่ งนน้ั แกพ่ ระผู้มพี ระภาคเจ้า
พระผมู้ ีพระภาคเจา้ ตรสั แนะนำ� ดงั ตอ่ ไปนว้ี า่ ก็ในขอ้ นี้ ภกิ ษทุ จี่ �ำพรรษาแลว้
เม่ือจวี รยังไม่เกดิ ข้นึ หลกี ไปเสีย เม่อื ผู้รับแทนที่สมควรมอี ยู่ สงฆพ์ งึ ให้
อนง่ึ ในขอ้ นี้ ภกิ ษทุ จี่ ำ� พรรษาแลว้ เมอื่ จวี รยงั ไมเ่ กดิ ขน้ึ สกึ เสยี ถงึ มรณภาพ
ปฏิญญาเป็นสามเณร ปฏิญญาเป็นผู้บอกลาสิกขา ปฏิญญาเป็นผู้ต้องอันติมวัตถุ
สงฆ์เปน็ เจา้ ของ
อนงึ่ ในขอ้ น้ี ภกิ ษทุ จ่ี ำ� พรรษาแลว้ เมอื่ จวี รยงั ไมเ่ กดิ ขน้ึ ปฏญิ ญาเปน็ ผวู้ กิ ลจรติ
ปฏิญญาเป็นผูม้ จี ิตฟุ้งซา่ น ปฏิญญาเป็นผ้กู ระสับกระสา่ ยเพราะเวทนา ปฏญิ ญาเปน็
ผู้ถูกสงฆ์ยกเสียฐานไม่เห็นอาบัติ ปฏิญญาเป็นผู้ถูกสงฆ์ยกเสียฐานไม่ท�ำคืนอาบัติ
ปฏญิ ญาเปน็ ผถู้ กู สงฆย์ กเสยี ฐานไมส่ ละคนื ทฏิ ฐอิ นั ลามก เมอ่ื ผรู้ บั แทนทส่ี มควรมอี ยู่
สงฆพ์ งึ ให้
อน่ึง ในข้อนี้ ภิกษุท่ีจ�ำพรรษาแล้ว เม่ือจีวรยังไม่เกิดขึ้น ปฏิญญาเป็น
บัณเฑาะก์เป็นตน้ จนถงึ ปฏญิ ญาเป็นอภุ โตพยญั ชนก สงฆเ์ ปน็ เจา้ ของ
อนงึ่ ในขอ้ นี้ ภกิ ษทุ จี่ ำ� พรรษาแลว้ เมอื่ จวี รเกดิ ขน้ึ แลว้ แตย่ งั ไมท่ นั ไดแ้ บง่ กนั
หลีกไปเสีย เมอ่ื ผู้รบั แทนท่สี มควรมอี ยู่ สงฆ์พงึ ให้
อนง่ึ ในขอ้ นี้ ภกิ ษทุ จี่ ำ� พรรษาแลว้ เมอ่ื จวี รเกดิ ขน้ึ แลว้ แตย่ งั ไมท่ นั ไดแ้ บง่ กนั
สกึ เสยี ถงึ มรณภาพ ปฏญิ ญาเปน็ สามเณร ปฏญิ ญาเปน็ ผบู้ อกลาสกิ ขา ปฏญิ ญาเปน็
ผู้ตอ้ งอนั ติมวัตถุ สงฆ์เปน็ เจา้ ของ
อนงึ่ ในขอ้ นี้ ภกิ ษทุ จ่ี ำ� พรรษาแลว้ เมอ่ื จวี รเกดิ ขนึ้ แลว้ แตย่ งั ไมท่ นั ไดแ้ บง่ กนั
ปฏญิ ญาเปน็ ผวู้ กิ ลจรติ ปฏญิ ญาเปน็ ผมู้ จี ติ ฟงุ้ ซา่ น ปฏญิ ญาเปน็ ผกู้ ระสบั กระสา่ ยเพราะ
พรรษาท่ี ๑๑ 273
เวทนา ปฏิญญาเป็นผู้ถูกสงฆ์ยกเสียฐานไม่เห็นอาบัติ ปฏิญญาเป็นผู้ถูกสงฆ์ยกเสีย
ฐานไมท่ ำ� คนื อาบตั ิ ปฏญิ ญาเปน็ ผถู้ กู สงฆย์ กเสยี ฐานไมส่ ละคนื ทฏิ ฐอิ นั ลามก เมอื่ ผรู้ บั
แทนทส่ี มควรมีอยู่ สงฆ์พึงให้
อนง่ึ ในขอ้ นี้ ภกิ ษทุ จ่ี ำ� พรรษาแลว้ เมอ่ื จวี รเกดิ ขน้ึ แลว้ แตย่ งั ไมท่ นั ไดแ้ บง่ กนั
ปฏิญญาเป็นบณั เฑาะก์เปน็ ต้น จนถงึ ปฏญิ ญาเป็นอภุ โตพยัญชนก สงฆ์เปน็ เจา้ ของ
อนง่ึ ในขอ้ นี้ เมอ่ื จวี รยงั ไมเ่ กดิ ขนึ้ แกภ่ กิ ษทุ ง้ั หลายทจ่ี ำ� พรรษาแลว้ สงฆแ์ ตกกนั
คนทง้ั หลายในถน่ิ นั้น ถวายนำ้� ในฝ่ายหน่งึ ถวายจวี รในอกี ฝา่ ยหนง่ึ ดว้ ยเปล่งวาจาวา่
ขา้ พเจา้ ถวายแกส่ งฆ์ น่ันเปน็ ของสงฆ์เทา่ น้ัน
อนง่ึ ในขอ้ น้ี เมอ่ื จวี รยงั ไมเ่ กดิ ขนึ้ แกภ่ กิ ษทุ งั้ หลายทจี่ ำ� พรรษาแลว้ สงฆแ์ ตกกนั
คนท้งั หลายในถิน่ นน้ั ถวายนำ้� ในฝ่ายหนึ่ง ถวายจวี รในฝ่ายนน้ั เหมอื นกัน ดว้ ยเปล่ง
วาจาวา่ ขา้ พเจา้ ถวายแกส่ งฆ์ นั่นเปน็ ของสงฆเ์ ท่านั้น
อนง่ึ ในขอ้ น้ี เมอ่ื จวี รยงั ไมเ่ กดิ ขนึ้ แกภ่ กิ ษทุ ง้ั หลายทจ่ี ำ� พรรษาแลว้ สงฆแ์ ตกกนั
คนทง้ั หลายในถน่ิ นั้น ถวายน้ำ� ในฝ่ายหนง่ึ ถวายจีวรในอกี ฝ่ายหนึง่ ด้วยเปลง่ วาจาว่า
ขา้ พเจา้ ถวายฝา่ ยหน่งึ นัน้ เป็นของเฉพาะฝ่ายหน่ึง
อนงึ่ ในขอ้ น้ี เมอ่ื จวี รยงั ไมเ่ กดิ ขน้ึ แกภ่ กิ ษทุ ง้ั หลายทจ่ี ำ� พรรษาแลว้ สงฆแ์ ตกกนั
คนทั้งหลายในถนิ่ นั้น ถวายน้�ำในฝา่ ยหน่ึง ถวายจวี รในฝา่ ยนนั้ เหมือนกัน ดว้ ยเปลง่
วาจาวา่ ขา้ พเจา้ ถวายแกฝ่ ่ายหนง่ึ นนั่ เป็นของเฉพาะฝา่ ยหน่ึง
อนงึ่ ในขอ้ น้ี เมอ่ื จวี รเกดิ ขนึ้ แลว้ แกภ่ กิ ษทุ ง้ั หลายทจ่ี ำ� พรรษา แตย่ งั มทิ นั ไดแ้ บง่
สงฆแ์ ตกกัน พงึ แบง่ สว่ นให้ภกิ ษุทุกรูปเท่า ๆ กนั
เรอ่ื งพระเรวตเถระฝากจวี ร
ก็โดยสมัยน้ันแล ท่านพระเรวตะฝากจีวรแก่ภิกษุรูปหน่ึงไปถวายท่าน
พระสารีบุตร ด้วยส่ังว่า จงถวายจีวรผืนน้ีแก่พระเถระ ในระหว่างทางภิกษุรูปน้ันได้
ถือเอาจีวรน้ันเสยี เพราะวิสาสะตอ่ ทา่ นพระเรวตะ
274 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
กาลตอ่ มา ทา่ นพระเรวตะมาพบทา่ นพระสารบี ตุ ร จงึ เรียนถามวา่ ผมฝาก
จวี รมาถวายพระเถระ ทา่ นได้รับจวี รนน้ั แลว้ หรือ ทา่ นพระสารบี ตุ รตอบว่า ผมยังไม่
เหน็ จวี รนน้ั เลย ทา่ นพระเรวตะจงึ ไดถ้ ามภกิ ษรุ ปู นนั้ วา่ ผมฝากจวี รมาแกท่ า่ นใหถ้ วาย
พระเถระ ไหนจวี รนั้น ภิกษนุ ัน้ ตอบวา่ ผมได้ถือเอาจีวรนั้นเสีย เพราะวิสาสะตอ่ ท่าน
ภกิ ษทุ ง้ั หลายกราบทลู เรอื่ งนนั้ แกพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ตรสั แนะนำ�
ดงั ตอ่ ไปนี้
อนงึ่ ในขอ้ นี้ ภกิ ษฝุ ากจีวรแก่ภิกษไุ ปดว้ ยส่งั ว่า จงให้จีวรผืนนีแ้ ก่ภกิ ษุมีชื่อน้ี
ภิกษุผู้รับฝากถือเอาเสียในระหว่างทางเพราะวิสาสะต่อผู้ฝาก ช่ือว่าถือเอาถูกต้อง
ถอื เอาเสยี เพราะวิสาสะตอ่ ผ้รู ับ ชื่อว่าถือเอาไม่ถกู ต้อง
อนึง่ ในข้อน้ี ภกิ ษุฝากจีวรแกภ่ กิ ษไุ ปดว้ ยสงั่ วา่ จงใหจ้ ีวรผนื นี้แกภ่ กิ ษมุ ชี ือ่ น้ี
ภิกษุผู้รับฝากถือเอาเสียในระหว่างทางเพราะวิสาสะต่อผู้รับ ช่ือว่าถือเอาไม่ถูกต้อง
ถือเอาเสียเพราะวิสาสะตอ่ ผฝู้ าก ช่ือว่าถือเอาถูกต้อง
อนงึ่ ในขอ้ นี้ ภกิ ษฝุ ากจวี รแกภ่ กิ ษไุ ปดว้ ยสง่ั วา่ จงใหจ้ วี รผนื นแี้ กภ่ กิ ษุ มชี อ่ื น้ี
ภกิ ษผุ ู้รับฝากทราบขา่ วในระหวา่ งทางว่า ผู้ฝากถึงมรณภาพเสียแลว้ จึงอธิษฐานเปน็
จีวรมรดกของผู้ฝาก ช่ือว่าอธิษฐานถูกต้องแล้ว ถือเอาเสียเพราะวิสาสะต่อผู้รับ
ชื่อวา่ ถอื เอาไมถ่ กู ต้อง
อนง่ึ ในขอ้ น้ี ภกิ ษฝุ ากจวี รแกภ่ กิ ษไุ ปดว้ ยสงั่ วา่ จงใหจ้ วี รผนื นแ้ี กภ่ กิ ษุ มชี อ่ื นี้
ภิกษุผู้รับฝากทราบข่าวในระหว่างทางว่า ผู้รับถึงมรณภาพเสียแล้ว จึงอธิษฐานเป็น
จวี รมรดกของผูร้ ับ ชือ่ วา่ อธษิ ฐานไมถ่ กู ตอ้ ง ถอื เอาเสยี เพราะวิสาสะต่อผู้ฝาก ช่อื วา่
ถือเอาถกู ตอ้ ง
อนงึ่ ในขอ้ น้ี ภกิ ษฝุ ากจวี รแกภ่ กิ ษไุ ปดว้ ยสง่ั วา่ จงใหจ้ วี รผนื นแี้ กภ่ กิ ษุ มชี อื่ นี้
ภกิ ษุผู้รบั ฝากทราบข่าวในระหวา่ งทางวา่ ทัง้ ๒ รูปถงึ มรณภาพเสียแลว้ จึงอธษิ ฐาน
เปน็ มรดกของผฝู้ าก ชื่อว่าอธิษฐานถกู ต้อง อธิษฐานเป็นจวี รของผรู้ ับ ชอื่ วา่ อธิษฐาน
ไม่ถกู ต้อง
อนง่ึ ในขอ้ น้ี ภกิ ษฝุ ากจวี รแกภ่ กิ ษไุ ปดว้ ยสง่ั วา่ ฉนั ใหจ้ วี รผนื นแี้ กภ่ กิ ษุ มชี อ่ื น้ี
ภิกษุผู้รับฝากถือเอาเสียในระหว่างทางเพราะวิสาสะต่อผู้ฝาก ชื่อว่าถือเอาไม่ถูกต้อง
ถือเอาเสยี เพราะวสิ าสะตอ่ ผูร้ บั ชอื่ วา่ ถือเอาถูกตอ้ ง
พรรษาที่ ๑๑ 275
อนงึ่ ในขอ้ น้ี ภกิ ษฝุ ากจวี รแกภ่ กิ ษไุ ปดว้ ยสงั่ วา่ ฉนั ใหจ้ วี รผนื นแ้ี กภ่ กิ ษุ มชี อื่ นี้
ภิกษุผู้รับฝากถือเอาเสียในระหว่างทางเพราะวิสาสะต่อผู้รับ ช่ือว่าถือเอาถูกต้อง
ถือเอาเสยี เพราะวิสาสะต่อผฝู้ าก ชื่อว่าถอื เอาไม่ถูกต้อง
อนงึ่ ในขอ้ นี้ ภกิ ษฝุ ากจวี รแกภ่ กิ ษไุ ปดว้ ยสง่ั วา่ ฉนั ใหจ้ วี รผนื นแี้ กภ่ กิ ษุ มชี อื่ น้ี
ภิกษผุ รู้ บั ฝากทราบขา่ วในระหว่างทางวา่ ผูฝ้ ากถงึ มรณภาพเสยี แลว้ จึงอธิษฐานเป็น
จวี รมรดกของผฝู้ าก ชอื่ วา่ อธษิ ฐานไมถ่ กู ตอ้ ง ถอื เอาเสยี เพราะ วสิ าสะตอ่ ผรู้ บั ชอ่ื วา่
ถอื เอาถูกต้อง
อนง่ึ ในขอ้ น้ี ภกิ ษฝุ ากจวี รแกภ่ กิ ษไุ ปดว้ ยสง่ั วา่ ฉนั ใหจ้ วี รผนื นแ้ี กภ่ กิ ษุ มชี อ่ื น้ี
ภิกษุผู้รับฝากทราบข่าวในระหว่างทางว่า ผู้รับถึงมรณภาพเสียแล้ว จึงอธิษฐานเป็น
จวี รมรดกของผ้รู ับ ชอื่ ว่าอธษิ ฐานถูกตอ้ ง ถือเอาเสยี เพราะวิสาสะตอ่ ผฝู้ าก ช่อื วา่ ถือ
เอาไมถ่ ูกตอ้ ง
อนง่ึ ในขอ้ น้ี ภกิ ษฝุ ากจวี รแกภ่ กิ ษไุ ปดว้ ยสง่ั วา่ ฉนั ใหจ้ วี รผนื นแี้ กภ่ กิ ษุ มชี อื่ น้ี
ภกิ ษผุ ู้รับฝากทราบขา่ วในระหวา่ งทางว่า ทงั้ ๒ รปู ถงึ มรณภาพเสยี แลว้ จึงอธษิ ฐาน
เป็นจีวรมรดกของผู้ฝาก ช่ือว่าอธิษฐานไม่ถูกต้อง อธิษฐานเป็นจีวรมรดกของผู้รับ
ช่ือวา่ อธิษฐานถกู ต้อง
จวี รทเ่ี กดิ ข้ึนมี ๘ มาตกิ า๑๓
๑. ถวายแกส่ มี า
๒. ถวายตามกตกิ า
๓. ถวายในสถานทจี่ ดั ภิกษา
๔. ถวายแก่สงฆ์
๑๓ วิ. มหา. ๕/๑๗๒/๒๓๙.
276 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
๕. ถวายแก่อภุ โตสงฆ์ คอื สงฆ์ ๒ ฝา่ ย
๖. ถวายแกส่ งฆผ์ ้จู �ำพรรษาแลว้
๗. ถวายเจาะจง
๘. ถวายแก่บคุ คล
ทีช่ อ่ื ว่าถวายแก่สมี า คือภิกษุมจี �ำนวนเท่าใดอยภู่ ายในสมี า ภิกษุเหล่านัน้ พงึ
แบง่ กัน
ที่ชื่อว่าถวายตามกติกา คือวดั มหี ลายแห่ง ยอมใหม้ ลี าภเสมอกนั เมื่อทายก
ถวายในวดั หน่ึง ชอ่ื วา่ เป็นอนั ถวายทกุ วดั
ที่ช่ือว่าถวายในสถานที่จัดภิกษา คือถวายในสถานที่ ๆ ทายกท�ำสักการะ
ประจ�ำแก่สงฆ์
ท่ชี ่ือวา่ ถวายแก่สงฆ์ คอื สงฆ์อยพู่ ร้อมหนา้ กนั แบ่ง
ทชี่ อ่ื วา่ ถวายแกอ่ ภุ โตสงฆค์ อื สงฆ์ ๒ ฝา่ ย คอื แมม้ ภี กิ ษมุ าก มภี กิ ษณุ รี ปู เดยี ว
ก็พึงใหฝ้ ่ายละคร่ึง แม้มภี ิกษณุ มี าก มภี กิ ษุรปู เดยี ว ก็พงึ ให้ฝา่ ยละครึ่ง
ที่ชื่อว่าถวายแก่สงฆ์ผู้จ�ำพรรษาแล้ว คือภิกษุมีจ�ำนวนเท่าใดจ�ำพรรษาอยู่ใน
อาวาสนน้ั ภกิ ษุเหล่าน้ันพงึ แบ่งกนั
ที่ช่ือว่าถวายเจาะจง คือถวายเฉพาะยาคู ภัตตาหาร ของควรเค้ียว จีวร
เสนาสนะ หรือเภสัช
ที่ชื่อว่าถวายแก่บุคคล คือถวายด้วยวาจาว่า ข้าพเจ้าถวายจีวรผืนนี้แก่ภิกษุ
มีชื่อน้ี
ต่อไปน้ีจะได้แสดงอธิบายในจีวรขันธกะ เฉพาะบางเร่ืองที่มีในอรรถกถา
อยใู่ นถ้อยคำ� อธบิ ายความของจวี รขันธกะ ทพ่ี ระอรรถกถาจารย์ได้เรียบเรียงไว้
พรรษาที่ ๑๑ 277
อดตี ของหมอชวี กโกมารภัจจ์
นับแต่กัลป์น้ีไปแสนกัลป์ ชีวกได้เห็นแพทย์ผู้เป็นอุปัฏฐากของพระผู้มี-
พระภาคเจ้าทรงพระนามว่าปทุมุตตระ ซ่ึงมีคุณแผ่ไปในภายในบริษัททั้ง ๔ ว่า
หมอนี้เป็นพุทธอุปัฏฐาก จึงคิดว่าท�ำอย่างไรหนอเราจะพึงถึงฐานันดรเช่นนี้บ้าง
แล้วถวายทานแก่ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุขตลอด ๗ วัน ถวายบังคม
พระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว ได้กระท�ำความปรารถนาว่า ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า
ในอนาคตกาล ข้าพระองค์พึงเป็นพุทธอุปัฏฐากบ้าง เหมือนอย่างหมอคนโน้น
เป็นอุปัฏฐากของพระองค์เถิด ชีวกน้ันผู้แม้อันความปรารถนาเดิมนั้นเตือนใจอยู่
จึงหมายเอาเฉพาะศลิ ปะทางแพทย์คดิ วา่ เราพงึ เรยี นศิลปะเถิด
ก็ในสมัยน้ัน พวกพ่อค้าชาวเมืองตักกสิลา ได้ไปเพ่ือเฝ้าอภัยราชกุมาร
ชีวกจึงถามพวกพ่อค้าเหล่านั้นว่า พวกท่านมาจากไหน เขาได้ตอบว่า มาจากเมือง
ตักกสิลา จึงถามว่า ในเมืองนั้นมีอาจารย์ผู้สอนศิลปะทางแพทย์ไหม ได้ฟังว่า
แพทย์ผู้เป็นทิศาปาโมกข์มีอาศัยอยู่ในเมืองตักกสิลา จึงสั่งว่า เวลาที่ท่านจะไป
ขอให้บอกเราดว้ ย
พ่อค้าเหล่าน้ันได้กระท�ำตามสั่ง เขาไม่ทูลลาพระบิดา ได้ไปเมืองตักกสิลา
กับพ่อค้าเหล่านั้น ด้วยเหตุน้ัน พระธรรมสังคาหกาจารย์คือพระอาจารย์ผู้ร้อยกรอง
พระไตรปิฎกจึงกลา่ ววา่ ไมท่ ลู ลาอภยั ราชกุมาร ครัน้ ไปถึงเมืองตักกสิลา จึงเขา้ ไปหา
อาจารย์แพทยเ์ มืองตักกสลิ าผ้มู ชี อื่ เสยี ง
อาจารยไ์ ดถ้ ามวา่ พอ่ เปน็ ใครกัน
กต็ อบวา่ เปน็ นดั ดาของพระเจา้ พมิ พสิ ารมหาราช เปน็ บตุ รของอภยั ราชกมุ าร
แพทยถ์ ามวา่ กเ็ หตุไรเล่าจึงมาทนี่ ี่
เขาตอบว่า เพื่อศึกษาศิลปะในส�ำนักของท่าน แล้วกล่าวว่า ท่านอาจารย์
ผมอยากศึกษาศิลปะในส�ำนกั อาจารย์น้นั
278 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
ศิษย์เหล่าอ่ืนมีขัตติยราชกุมารเป็นต้น ได้ให้ทรัพย์แก่อาจารย์แล้วไม่กระท�ำ
การงานอะไร ศึกษาแต่ศิลปะเท่านั้นฉันใด ชีวกหาได้กระท�ำฉันนั้นไม่ เขาไม่ได้ให้
ทรพั ยอ์ ะไร ๆ เปน็ อยา่ งธมั มนั เตวาสกิ กระทำ� การงานของอปุ ชั ฌายใ์ นเวลาหนงึ่ ศกึ ษา
ในเวลาหนง่ึ เทา่ นน้ั แมเ้ มอื่ เปน็ อยา่ งนน้ั กลุ บตุ รผสู้ มบรู ณด์ ว้ ยอภนิ หิ าร เพราะตนเปน็
ผู้มีปัญญา ย่อมเรียนได้มาก เรียนได้เร็ว ย่อมจ�ำทรงไว้ดี ท้ังศิลปะที่เขาเรียนแล้ว
ยอ่ มไมห่ ลงลมื ไดย้ นิ วา่ เพยี ง ๗ ปี ชวี กนเ้ี รยี นแพทยศ์ ลิ ปะจบเทา่ ทอี่ าจารยร์ ทู้ งั้ หมด
ซ่ึงศิษย์เหล่าอ่ืนเรียนถงึ ๑๖ ปี
ฝ่ายพระสักกเทวราชได้มีพระร�ำพึงอย่างนี้ว่า ชีวกนี้จักเป็นอุปัฏฐากผู้มี
ความคุ้นเคยอย่างยอดของพระพุทธเจ้า เอาเถิด เราจะให้เขาศึกษาการประกอบยา
จงึ เขา้ สงิ ในสรีระของอาจารยใ์ หช้ ีวกน้ันศกึ ษาการประกอบยา โดยวิธที แี่ พทยส์ ามารถ
รักษาโรคไม่มสี ว่ นเหลือ ยกเวน้ วิบากของกรรมเสีย ใหห้ ายด้วยการประกอบยาขนาน
เดยี วเทา่ น้นั
สว่ นเขาสำ� คญั วา่ เราเรยี นในสำ� นกั อาจารย์ เพราะฉะนน้ั พอทา้ วสกั กะปลอ่ ย
ดว้ ยทรงดำ� ริว่า บดั นี้ชีวกสามารถเพื่อเยียวยาได้ เขาจึงคิดอย่างน้ัน แล้วถามอาจารย์
สว่ นอาจารยท์ ราบดวี า่ ชวี กนไี้ มไ่ ดเ้ รยี นศลิ ปะดว้ ยอานภุ าพของเรา เรยี นดว้ ย
อานุภาพของเทวดา จึงได้กล่าวว่า ให้เที่ยวไปในท่ี ๑ โยชน์โดยรอบแล้วก็หาดูว่า
ยงั มตี น้ ไมส้ กั ตน้ หนง่ึ ทไี่ มใ่ ชย่ าอยหู่ รอื ไม่ ถา้ มใี หน้ ำ� มา ดง่ั น้ี และเวลาทจ่ี ะกลบั กไ็ ดใ้ ห้
เสบียงไปมีประมาณนอ้ ย เพราะเหตุว่าแพทยาจารย์นนั้ ได้มีความวติ กอยา่ งนว้ี า่ ชีวก
นี้เป็นบุตรของมหาสกุล พอไปถึงเท่านั้นจักได้สักการะใหญ่จากส�ำนักบิดาและปู่
เหตนุ น้ั เขาจกั ไมร่ คู้ ณุ ของเราหรอื ของศลิ ปะ แตเ่ ขาสน้ิ เสบยี งในกลางทางแลว้ จกั ตอ้ ง
ใชศ้ ลิ ปะ จกั รคู้ ณุ ของเราและของศลิ ปะเปน็ แนแ่ ท้ เพราะเหตนุ น้ั จงึ ใหเ้ สบยี งแตเ่ พยี ง
เลก็ น้อยเท่านั้น
อนึ่ง ยังมีข้อเบ็ดเตล็ดท่ีอื่นที่ควรทราบในค�ำอธิบายของพระอรรถกถาจารย์
นัน้ เร่อื งผา้ สิไวยกะ ได้ยนิ วา่ ผา้ สิไวยกะท่ีชวี กโกมารภัจจ์ถวายพระพุทธเจา้ นน้ั คือ
ผ้าอวมงคลท่ีเขาทิ้งที่ป่าช้าในอุตตรกุรุทวีป มนุษย์ในทวีปน้ันเอาผ้านั้น ห่อหุ้มศพ
พรรษาท่ี ๑๑ 279
คนตายแลว้ ทง้ิ เสยี นกหสั ดลี งิ คก์ ำ� หนดหอ่ นนั้ วา่ เปน็ ชนิ้ เนอื้ เฉยี่ วเอาไปวางทยี่ อดเขา
หมิ พานต์ เปลอ้ื งผา้ ออกแลว้ กนิ พวกพรานไพรพบผา้ เขา้ นำ� มาถวายพระเจา้ จณั ฑปชั โชต
พระเจ้าจัณฑปัชโชตพระราชทานหมอชีวก อาจารย์บางพวกกล่าวว่า หญิงผู้ฉลาด
ในแคว้ นสวิ ี ฟน่ั ด้ายดว้ ยขนสตั ว์ ๓ เส้น ผา้ สไิ วยกะนั้นทอด้วยดา้ ยน้นั
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงท�ำภัตกิจแล้ว หมอชีวกนั้นซึ่งได้รับพระราชทาน
ผ้าสิไวยกะจากพระเจ้าจัณฑปัชโชต ได้ถือคู่ผ้าสิไวยกะนั้นเข้าเฝ้าถวายพระพุทธเจ้า
ขอประทานพรถวายคหบดจี วี รแกส่ งฆ์ ในระหวา่ งนค้ี อื ตง้ั แตพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ ตรสั รู้
จนถึงเรอ่ื งถวายคหบดจี ีวรทีเ่ กดิ ขนึ้ เป็นเวลา ๒๐ ปี ซง่ึ หมายความว่า ในช่วงเวลา
๒๐ ปีตั้งแต่ตรัสรู้ พระพุทธเจ้าและพระภิกษุสงฆ์ทรงผ้าบังสุกุลจีวรกันอย่างเดียว
แต่มาเริ่มทรงผ้าคหบดีจีวรตั้งแต่เม่ือชีวกโกมารภัจจ์ได้ขอประทานพรถวายผ้าคหบดี
จีวรแก่สงฆ์ พระพทุ ธเจ้าทรงอนุญาต และชีวกโกมารภัจจเ์ อง ก็ไดถ้ วายคู่ผา้ สไิ วยกะ
นั้นแก่พระพุทธเจ้าเปน็ ประเดิม
ทเ่ี รยี กวา่ กาสี ๑ นนั้ เป็นมาตราเงิน คอื ๑,๐๐๐ เรยี กว่า กาสี ๑
ผา้ โกเชาว์ หรอื ผ้าโกชวะ เปน็ ผา้ ทำ� ด้วยขนสตั ว์ คลา้ ยกบั ผ้าปาวาร
ธนัญชานิสูตร๑๔
สมัยหนึง่ พระผู้มพี ระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระวหิ ารเวฬวุ ัน สวนทีใ่ ช้เลย้ี ง
กระแต เขตพระนครราชคฤห์ สมยั นัน้ แล ทา่ นพระสารบี ุตรเท่ยี วจาริกไปในทกั ขณิ า-
คิริชนบทพร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ คร้ังนั้น ภิกษุรูปหนึ่งจ�ำพรรษาอยู่ในพระนคร
ราชคฤห์ ได้เข้าไปหาท่านพระสารีบุตรถึงทักขิณาคิริชนบท ได้ปราศรัยกับท่าน
พระสารบี ตุ ร ครน้ั ผา่ นการปราศรยั พอใหร้ ะลกึ ถงึ กนั ไปแลว้ นง่ั ณ ทคี่ วรสว่ นขา้ งหนงึ่
๑๔ ม. ม. ๑๓/๖๗๒-๗๐๓/๖๒๓-๖๔๐.
280 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
ท่านพระสารีบุตรได้ถามภิกษุนั้นว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าไม่ทรงพระประชวร
และยังทรงพระก�ำลังอยู่หรือ ภิกษุนั้นกราบเรียนว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าไม่ทรง
พระประชวร ยังทรงพระก�ำลังอยู่ ท่านพระสารีบุตรกล่าวว่า ก็ภิกษุสงฆ์ไม่ป่วยไข้
และยงั มกี �ำลงั อยหู่ รือ ภกิ ษนุ ั้นกลา่ วตอบวา่ แมภ้ กิ ษสุ งฆก์ ไ็ ม่ปว่ ยไขแ้ ละยงั มีกำ� ลงั อยู่
ทา่ นพระสารีบุตรถามว่า ธนญั ชานพิ ราหมณอ์ ย่ทู ใี่ กลป้ ระตตู ัณฑุลปาละ ในพระนคร
ราชคฤหน์ ้ัน เขาไมป่ ่วยไข้และยังมกี ำ� ลังอยหู่ รอื ภกิ ษุน้ันกลา่ วตอบวา่ แมธ้ นัญชาน-ิ
พราหมณ์ก็ไม่ป่วยไข้และยังมีก�ำลังอยู่ ท่านพระสารีบุตรถามว่า ธนัญชานิพราหมณ์
น้ันยังเป็นผู้ไม่ประมาทหรือ ภิกษุน้ันได้กราบเรียนท่านว่า ที่ไหนธนัญชานิพราหมณ์
ของเราจะไมป่ ระมาท เขาอาศยั พระราชา เทย่ี วปลน้ พวกพราหมณแ์ ละคฤหบดี อาศยั
พวกพราหมณแ์ ละคฤหบดปี ล้นพระราชา ภรรยาของเขาผูม้ ศี รทั ธา ซ่งึ น�ำมาจากสกลุ
ทมี่ ศี รทั ธา ทำ� กาละเสยี แลว้ เขาไดห้ ญงิ อน่ื มาเปน็ ภรยิ าผหู้ าศรทั ธามไิ ด้ เขานำ� มาจาก
สกุลที่ไม่มีศรัทธา ท่านพระสารีบุตรกล่าวว่า เราได้ฟังว่า ธนัญชานิพราหมณ์เป็นผู้
ประมาท เป็นอนั ได้ฟงั ช่ัวหนอ ทำ� ไฉน เราจะพึงได้พบกับธนญั ชานพิ ราหมณบ์ างครั้ง
บางคราว ท�ำไฉน จะพงึ ไดเ้ จรจาปราศรยั กันสกั เล็กนอ้ ย
ครง้ั นน้ั ทา่ นพระสารบี ตุ รอยใู่ นทกั ขณิ าคริ ชิ นบทพอสมควรแลว้ จงึ หลกี จารกิ
ไปทางพระนครราชคฤห์ เทยี่ วจารกิ ไปโดยลำ� ดบั ได้ถึงพระนครราชคฤหแ์ ล้ว ได้ยนิ
วา่ สมยั นน้ั ทา่ นพระสารบี ตุ รอยู่ ณ พระวหิ ารเวฬวุ นั สวนทใี่ ชเ้ ลยี้ งกระแต ใกลพ้ ระนคร
ราชคฤห์ ครง้ั นนั้ เวลาเชา้ ทา่ นพระสารบี ตุ รนงุ่ แลว้ ถอื บาตรและจวี รเขา้ ไปยงั พระนคร
ราชคฤห์ สมยั นั้น ธนญั ชานิพราหมณ์ใชค้ นใหร้ ดี นมโคอยทู่ ี่คอกโคภายนอกพระนคร
ทา่ นพระสารบี ตุ รเทยี่ วบณิ ฑบาตในพระนครราชคฤห์ ภายหลงั ภตั กลบั จากบณิ ฑบาต
แลว้ เขา้ ไปหาธนญั ชานพิ ราหมณถ์ งึ ทอี่ ยู่ ธนญั ชานพิ ราหมณไ์ ดเ้ หน็ ทา่ นพระสารบี ตุ ร
กำ� ลงั มาแตไ่ กล จึงเข้าไปหาทา่ นพระสารีบตุ รแลว้ ได้กล่าวว่า นมิ นตด์ ่มื น�้ำนมสดทาง
นเ้ี ถิด ท่านพระสารีบุตร ทา่ นยงั มีเวลาฉันอาหาร ทา่ นพระสารบี ตุ รกล่าวว่า อย่าเลย
พราหมณ์ วนั นฉี้ นั ทำ� ภตั กจิ เสรจ็ แลว้ ฉนั จกั พกั กลางวนั ทโี่ คนตน้ ไมโ้ นน้ ทา่ นพงึ มาใน
ท่ีนั้น ธนัญชานิพราหมณ์รับค�ำท่านพระสารีบุตรแล้ว ครั้งน้ัน ธนัญชานิพราหมณ์
บริโภคอาหารเวลาเช้าเสร็จแล้ว ได้เข้าไปหาท่านพระสารีบุตร ได้ปราศรัยกับท่าน
พระสารบี ตุ ร ครนั้ ผา่ นการปราศรยั พอใหร้ ะลกึ ถงึ กนั ไปแลว้ จงึ นง่ั ณ ทค่ี วรสว่ นขา้ งหนงึ่
พรรษาที่ ๑๑ 281
ทา่ นพระสารบี ตุ รไดถ้ ามวา่ ธนญั ชานิ ทา่ นเปน็ ผไู้ มป่ ระมาทหรอื ธนญั ชาน-ิ
พราหมณไ์ ด้ตอบวา่ ทไ่ี หนขา้ พเจา้ จะไม่ประมาท เพราะข้าพเจ้าตอ้ งเลีย้ งมารดาบิดา
ต้องเล้ียงบุตรภริยา ต้องเลี้ยงพวกทาสกรรมกรและคนรับใช้ ต้องท�ำกิจส�ำหรับมิตร
และอำ� มาตย์ แก่มติ รและอำ� มาตย์ ต้องท�ำกิจสำ� หรบั ญาตสิ าโลหิต ตอ้ งทำ� กิจสำ� หรบั
แขกแก่แขก ต้องท�ำบุญที่ควรท�ำแก่ปุพพเปตชน ส่งไปให้ปุพพเปตชน ต้องท�ำการ
บวงสรวงแก่พวกเทวดา ตอ้ งทำ� ราชการใหแ้ กห่ ลวง แมก้ ายน้ีก็ต้องให้อิม่ หน�ำ ตอ้ งให้
เจรญิ ทา่ นพระสารบี ตุ รไดก้ ลา่ ววา่ ทา่ นจะเขา้ ใจความขอ้ นนั้ เปน็ ไฉน บคุ คลบางคนใน
โลกนี้ เป็นผู้ประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤติผิดธรรม เพราะเหตุแห่งบิดามารดา
นายนริ ยบาลจะพงึ ฉดุ ครา่ เขาผนู้ นั้ ไปยงั นรก เพราะเหตแุ หง่ การประพฤตไิ มช่ อบธรรม
และประพฤติผิดธรรม เขาจะพึงได้ตามความปรารถนาหรือว่า เราเป็นผู้ประพฤติ
ไมช่ อบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม เพราะเหตุแหง่ บิดามารดา ขอนายนริ ยบาลอยา่ พึง
ฉดุ ครา่ เราไปนรกเลย หรอื มารดาบดิ าของผนู้ น้ั จะพงึ ไดต้ ามความปรารถนาวา่ ผนู้ เ้ี ปน็
ผปู้ ระพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม เพราะเหตแุ หง่ เราทง้ั หลาย ขอนายนริ ยบาล
อยา่ พงึ ฉุดครา่ เขาไปนรกเลย
ธนญั ชานิพราหมณไ์ ด้กลา่ วตอบทา่ นวา่ ไม่ใชเ่ ช่นนนั้ ทา่ นสารีบุตร ที่แทถ้ ึง
ผนู้ ั้นจะคร่�ำครวญมากมาย นายนริ ยบาลกพ็ ึงโยนลงในนรกจนได้
ทา่ นพระสารบี ตุ รกลา่ ววา่ ทา่ นจะเขา้ ใจความขอ้ นนั้ เปน็ ไฉน บคุ คลบางคนใน
โลกน้ี เป็นผู้ประพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤติผดิ ธรรม เพราะเหตุแห่งบตุ รและภริยา
นายนิรยบาลจะพึงฉุดคร่าผู้น้ันไปนรก เพราะเหตุแห่งการประพฤติไม่ชอบธรรม
ประพฤติผิดธรรม เขาจะพึงได้ตามความปรารถนาหรือหนอว่า เราประพฤติไม่ชอบ
ธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม เพราะเหตแุ หง่ บตุ รและภรยิ า ขอนายนริ ยบาลอยา่ พงึ ฉดุ ครา่
เราไปนรกเลย หรอื วา่ บตุ รภรยิ าของผนู้ น้ั จะพงึ ไดต้ ามความปรารถนาวา่ ผนู้ ปี้ ระพฤติ
ไมช่ อบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม เพราะเหตุแหง่ เราท้งั หลาย ขอนายนริ ยบาลอย่าพึง
ฉุดครา่ เขาไปนรกเลย
ธนญั ชานิพราหมณก์ ล่าวตอบวา่ ไม่ใชเ่ ช่นนนั้ ทแี่ ทถ้ ึงทา่ นผูน้ น้ั จะคร�่ำครวญ
มากมาย นายนริ ยบาลกจ็ ะพงึ โยนเขาลงในนรกจนได้
282 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
ทา่ นพระสารบี ตุ รกลา่ ววา่ ทา่ นจะเขา้ ใจความขอ้ นนั้ เปน็ ไฉน บคุ คลบางคนใน
โลกนี้ประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤตผิ ิดธรรม เพราะเหตแุ หง่ ทาสกรรมกร และคน
รบั ใช้ นายนิรยบาลจะพึงฉุดคร่าเขาผู้น้นั ไปนรก เพราะเหตแุ ห่งการประพฤตไิ มช่ อบ
ธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม เขาจะพงึ ไดต้ ามความปรารถนาหรอื หนอวา่ เราเปน็ ผปู้ ระพฤติ
ไมช่ อบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม เพราะเหตแุ หง่ ทาสกรรมกรและคนรบั ใช้ ขอนายนริ ยบาล
อยา่ พงึ ฉดุ ครา่ เราไปนรกเลย หรอื วา่ พวกทาสกรรมกรและคนรบั ใชข้ องเขาจะพงึ ไดต้ าม
ความปรารถนาวา่ ผนู้ ปี้ ระพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม เพราะเหตแุ หง่ เราทง้ั หลาย
ขอนายนิรยบาลอย่าพึงฉุดคร่าเขาไปนรกเลย
ธนัญชานพิ ราหมณ์ตอบวา่ ไม่ใช่เช่นน้นั ที่แท้ถงึ ผนู้ ั้นจะคร่ำ� ครวญมากมาย
นายนริ ยบาลกพ็ ึงโยนเขาลงในนรกจนได้
ทา่ นพระสารบี ตุ รกลา่ ววา่ ทา่ นจะเขา้ ใจความขอ้ นน้ั เปน็ ไฉน บคุ คลบางคนใน
โลกน้ีประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤติผิดธรรม เพราะเหตุแห่งมิตรและอ�ำมาตย์
นายนริ ยบาลจะพงึ ฉดุ ครา่ เขาผนู้ นั้ ไปยงั นรก เพราะเหตแุ หง่ การประพฤตไิ มช่ อบธรรม
ประพฤติผิดธรรม เขาจะพึงได้ตามความปรารถนาหรือหนอว่า เราเป็นผู้ประพฤติ
ไมช่ อบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม เพราะเหตแุ หง่ มติ รและอำ� มาตย์ ขอนายนริ ยบาลอยา่
พงึ ฉดุ ครา่ เราไปนรกเลย หรอื วา่ มติ รและอำ� มาตยข์ องเขาพงึ ไดต้ ามความปรารถนาวา่
ผนู้ ปี้ ระพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม เพราะเหตแุ หง่ เราทงั้ หลาย ขอนายนริ ยบาล
อยา่ พงึ ฉดุ ครา่ เขาไปนรกเลย
ธนญั ชานพิ ราหมณก์ ลา่ วตอบวา่ ไมใ่ ชเ่ ชน่ นน้ั ทา่ นพระสารบี ตุ ร ทแ่ี ทถ้ งึ ผนู้ น้ั
จะคร�ำ่ ครวญมากมาย นายนิรยบาลกพ็ ึงโยนเขาลงในนรกจนได้
ท่านพระสารีบุตรกล่าวว่า ท่านจะเข้าใจความข้อน้ันเป็นไฉน บุคคลบางคน
ในโลกน้ี ประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤติผิดธรรม เพราะเหตุแห่งญาติสาโลหิต
นายนริ ยบาลจะพงึ ฉดุ ครา่ เขาผนู้ น้ั ไปยงั นรก เพราะเหตแุ หง่ การประพฤตไิ มช่ อบธรรม
ประพฤตผิ ดิ ธรรม เขาจะไดต้ ามความปรารถนาหรอื หนอวา่ เราประพฤตไิ มช่ อบธรรม
ประพฤตผิ ดิ ธรรม เพราะเหตแุ หง่ ญาตสิ าโลหิต ขอนายนริ ยบาลอย่าพึงฉุดครา่ เราไป
นรกเลย หรือวา่ ญาติสาโลหติ ของเขาจะพงึ ได้ตามความปรารถนาว่า ผู้น้ปี ระพฤตไิ ม่
พรรษาท่ี ๑๑ 283
ชอบธรรม ประพฤติผิดธรรม เพราะเหตุแห่งเราทั้งหลาย ขอนายนิรยบาลอย่าพึง
ฉุดครา่ เขาไปนรกเลย
ธนญั ชานพิ ราหมณก์ ลา่ วตอบวา่ ไมใ่ ชเ่ ชน่ นน้ั ทา่ นพระสารบี ตุ ร ทแี่ ทถ้ งึ ผนู้ นั้
จะครำ�่ ครวญมากมาย นายนริ ยบาลกพ็ งึ โยนเขาลงในนรกจนได้
ทา่ นพระสารบี ตุ รกลา่ ววา่ ทา่ นจะเขา้ ใจความขอ้ นนั้ เปน็ ไฉน บคุ คลบางคนใน
โลกนี้ ประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤติผิดธรรม เพราะเหตุแหง่ แขก นายนริ ยบาลจะ
พึงฉุดคร่าเขาผู้น้ันไปยังนรก เพราะเหตุแห่งการประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤติผิด
ธรรม เขาจะพงึ ไดต้ ามความปรารถนาหรอื หนอวา่ เราประพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤติ
ผิดธรรม เพราะเหตุแห่งแขก ขอนายนิรยบาลอย่าพึงฉุดคร่าเราไปนรกเลย หรือว่า
แขกของเราจะพงึ ไดต้ ามความปรารถนาวา่ ผนู้ ปี้ ระพฤตไิ มช่ อบธรรมประพฤตผิ ดิ ธรรม
เพราะเหตุแหง่ เราทง้ั หลาย ขอนายนิรยบาลอย่าพงึ ฉุดคร่าเขาไปนรกเลย
ธนัญชานิพราหมณ์ตอบว่า ไม่ใช่เช่นนั้น ท่านพระสารีบุตร ที่แท้ถึงผู้น้ัน
จะครำ่� ครวญมากมาย นายนริ ยบาลกพ็ ึงโยนเขาลงในนรกจนได้
ทา่ นพระสารบี ตุ รกลา่ ววา่ ทา่ นจะเขา้ ใจความขอ้ นนั้ เปน็ ไฉน บคุ คลบางคนใน
โลกน้ี ประพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม เพราะเหตแุ หง่ ปพุ พเปตชน นายนริ ยบาล
จะพงึ ฉดุ ครา่ เขาผนู้ นั้ ไปยงั นรก เพราะเหตแุ หง่ การประพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤตผิ ดิ
ธรรม เขาจะพงึ ไดต้ ามความปรารถนาหรอื หนอวา่ เราประพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤติ
ผิดธรรม เพราะเหตุแห่งปุพพเปตชน ขอนายนิรยบาลอย่าพึงฉุดคร่าเราไปนรกเลย
หรือว่าปุพพเปตชนของเขาจะพึงได้ตามความปรารถนาว่า ผู้นี้ประพฤติไม่ชอบธรรม
ประพฤติผิดธรรม เพราะเหตุแห่งเราท้ังหลาย ขอนายนิรยบาลอย่าพึงฉุดคร่าเขาไป
นรกเลย
ธนัญชานิพราหมณ์กล่าวตอบว่า ไม่ใช่เช่นนั้น ท่ีแท้ถึงผู้น้ันจะคร�่ำครวญ
มากมาย นายนิรยบาลกพ็ งึ โยนเขาลงในนรกจนได้
ทา่ นพระสารบี ตุ รกลา่ ววา่ ทา่ นจะเขา้ ใจความขอ้ นนั้ เปน็ ไฉน บคุ คลบางคนใน
โลกนี้ ประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม เพราะเหตแุ ห่งเทวดา นายนิรยบาล
284 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
จะพงึ ฉดุ ครา่ เขาผนู้ นั้ ไปยงั นรก เพราะเหตแุ หง่ การประพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤตผิ ดิ
ธรรม เขาจะพงึ ไดต้ ามความปรารถนาหรอื หนอวา่ เราประพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤติ
ผิดธรรม เพราะเหตุแหง่ เทวดา ขอนายนริ ยบาล อย่าพงึ ฉุดคร่าเราไปนรกเลย หรือ
ว่าเทวดาของเขาจะพึงได้ตามความปรารถนาว่า ผู้นี้ประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤติ
ผิดธรรม เพราะเหตุแห่งเราทง้ั หลาย ขอนายนิรยบาลอย่าพึงฉุดครา่ เขาไปนรกเลย
ธนัญชานิพราหมณ์กล่าวตอบว่า ไม่ใช่เช่นนั้น ท่ีแท้ถึงผู้น้ันจะคร�่ำครวญ
มากมาย นายนริ ยบาลก็พึงโยนเขาลงในนรกจนได้
ทา่ นพระสารบี ตุ รกลา่ ววา่ ทา่ นจะเขา้ ใจความขอ้ นน้ั เปน็ ไฉน บคุ คลบางคนใน
โลกน้ี ประพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม เพราะเหตแุ หง่ พระราชา นายนริ ยบาล
จะพงึ ฉดุ ครา่ เขาผนู้ น้ั ไปยงั นรก เพราะเหตแุ หง่ การประพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤตผิ ดิ
ธรรม เขาจะพงึ ไดต้ ามความปรารถนาหรอื หนอวา่ เราประพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤติ
ผดิ ธรรม เพราะเหตแุ หง่ พระราชา ขอนายนริ ยบาลอยา่ พงึ ฉดุ ครา่ เราไปนรกเลย หรอื
ว่าพระราชาของเขาผู้น้ันจะพึงได้ตามความปรารถนาว่า ผู้น้ีประพฤติไม่ชอบธรรม
ประพฤติผิดธรรม เพราะเหตุแห่งเราท้ังหลาย ขอนายนิรยบาลอย่าพึงฉุดคร่าเขาไป
นรกเลย
ธนัญชานิพราหมณ์กล่าวตอบว่า ไม่ใช่เช่นนั้น ที่แท้ถึงผู้นั้นจะคร่�ำครวญ
มากมาย นายนริ ยบาลก็พงึ โยนเขาลงในนรกจนได้
ทา่ นพระสารบี ตุ รกลา่ ววา่ ทา่ นจะเขา้ ใจความขอ้ นนั้ เปน็ ไฉน บคุ คลบางคนใน
โลกนี้ ประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤติผิดธรรม เพราะเหตุแห่งการเลี้ยงกาย
เพราะเหตแุ หง่ การทำ� นบุ ำ� รงุ กาย นายนริ ยบาลจะพงึ ฉดุ ครา่ เขาผนู้ นั้ ไปยงั นรก เพราะ
เหตแุ หง่ การประพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม เขาจะพงึ ไดต้ ามความปรารถนา
หรอื หนอวา่ เราประพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม เพราะเหตแุ หง่ การเลย้ี งกาย
เพราะเหตแุ หง่ การทำ� นบุ ำ� รงุ กาย ขอนายนริ ยบาล อยา่ พงึ ฉดุ ครา่ เราไปนรกเลย หรอื
วา่ ชนเหลา่ อน่ื ของเขาจะพงึ ไดต้ ามความปรารถนาวา่ ผนู้ ปี้ ระพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤติ
ผดิ ธรรม เพราะเหตแุ หง่ การเลย้ี งกาย เพราะเหตแุ หง่ การทำ� นบุ ำ� รงุ กาย ขอนายนริ ยบาล
อยา่ พึงฉุดคร่าเขาไปนรกเลย
พรรษาท่ี ๑๑ 285
ธนัญชานิพราหมณ์กล่าวตอบว่า ไม่ใช่เช่นน้ัน ท่ีแท้ถึงผู้นั้นจะคร่�ำครวญ
มากมาย นายนริ ยบาลกพ็ งึ โยนเขาลงในนรกจนได้
ทา่ นพระสารบี ตุ รกลา่ ววา่ ทา่ นจะเขา้ ใจความขอ้ นนั้ เปน็ ไฉน บคุ คลผปู้ ระพฤติ
ไม่ชอบธรรม ประพฤติผิดธรรม เพราะเหตุแห่งมารดาบิดา กับบุคคลผู้ประพฤติ
ชอบธรรม ประพฤติถกู ธรรม เพราะเหตุแห่งมารดาบิดา ไหนจะประเสริฐกวา่ กนั
ธนญั ชานพิ ราหมณก์ ลา่ วตอบวา่ ผทู้ ปี่ ระพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม
เพราะเหตุแหง่ มารดาบิดา ไม่ประเสริฐ สว่ นผูป้ ระพฤติชอบธรรม ประพฤตถิ ูกธรรม
เพราะเหตแุ หง่ มารดาบดิ า ประเสรฐิ ดว้ ยวา่ การประพฤตชิ อบธรรม และการประพฤติ
ถูกธรรม ประเสรฐิ กว่าการประพฤตไิ มช่ อบธรรมและประพฤติผดิ ธรรม
ท่านพระสารีบุตรกล่าวว่า การงานอย่างอ่ืนที่มีเหตุ ประกอบด้วยธรรม
เป็นเคร่ืองให้บุคคลอาจเล้ียงมารดาบิดาได้ ไม่ต้องท�ำกรรมอันลามก และให้ปฏิบัติ
ปฏปิ ทาอนั เปน็ บญุ ได้ มอี ยู่
ท่านจะเข้าใจความข้อน้ันเป็นไฉน บุคคลผู้ประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤติ
ผดิ ธรรม เพราะเหตแุ หง่ บตุ รและภรยิ า กบั บคุ คลผปู้ ระพฤตชิ อบธรรม ประพฤตถิ กู ธรรม
เพราะเหตแุ หง่ บุตรและภรยิ า ไหนจะประเสริฐกวา่ กนั
ธนญั ชานพิ ราหมณก์ ลา่ วตอบวา่ บคุ คลผปู้ ระพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม
เพราะเหตแุ หง่ บตุ รและภรยิ า ไมป่ ระเสรฐิ สว่ นบคุ คลผปู้ ระพฤตชิ อบธรรม ประพฤติ
ถูกธรรม เพราะเหตุแห่งบตุ รและภริยา ประเสริฐ ดว้ ยว่าการประพฤตชิ อบธรรมและ
การประพฤตถิ กู ธรรม ประเสรฐิ กวา่ การประพฤตไิ มช่ อบธรรมและการประพฤตผิ ดิ ธรรม
ท่านพระสารีบุตรกล่าวว่า การงานอย่างอื่นที่มีเหตุ ประกอบด้วยธรรม
เปน็ เครอื่ งใหบ้ คุ คลอาจเลย้ี งบตุ รและภรยิ าได้ ไมต่ อ้ งทำ� กรรมอนั ลามก และใหป้ ฏบิ ตั ิ
ปฏปิ ทาอนั เปน็ บุญได้ มีอยู่
ทา่ นจะเขา้ ใจความขอ้ นนั้ เปน็ ไฉน บคุ คลผปู้ ระพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม
เพราะเหตแุ หง่ พวกทาสกรรมกรและคนรบั ใช้ กบั บคุ คลผปู้ ระพฤตชิ อบธรรม ประพฤติ
ถกู ธรรม เพราะเหตแุ หง่ พวกทาสกรรมกรและคนรบั ใช้ ไหนจะประเสรฐิ กวา่ กนั
286 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
ธนญั ชานพิ ราหมณ์กลา่ วตอบว่า บุคคลผปู้ ระพฤตไิ ม่ชอบธรรม ประพฤติผดิ
ธรรม เพราะเหตแุ หง่ พวกทาสกรรมกรและคนรบั ใช้ ไมป่ ระเสรฐิ สว่ นบคุ คลผปู้ ระพฤติ
ชอบธรรม ประพฤตถิ กู ธรรม เพราะเหตแุ หง่ พวกทาสกรรมกรและคนรบั ใช้ ประเสรฐิ
ด้วยว่าการประพฤติชอบธรรมและการประพฤติถูกธรรม ประเสริฐกว่าการประพฤติ
ไม่ชอบธรรมและการประพฤตผิ ิดธรรม
ท่านพระสารีบุตรกล่าวว่า การงานอย่างอื่นที่มีเหตุ ประกอบด้วยธรรม
เป็นเคร่ืองให้บุคคลอาจเลี้ยงพวกทาสกรรมกรและคนรับใช้ได้ ไม่ต้องกระท�ำกรรม
อันลามก และใหป้ ฏบิ ัติปฏปิ ทาอันเปน็ บญุ ได้ มอี ยู่
ท่านจะเข้าใจความข้อน้ันเป็นไฉน บุคคลผู้ประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤติ
ผดิ ธรรม เพราะเหตแุ ห่งมิตรและอ�ำมาตย์ กบั บุคคลผู้ประพฤติชอบธรรม ประพฤติ
ถกู ธรรม เพราะเหตุแห่งมิตรและอ�ำมาตย์ ไหนจะประเสรฐิ กวา่ กนั
ธนัญชานิพราหมณ์กลา่ วตอบวา่ บุคคลผปู้ ระพฤตไิ ม่ชอบธรรม ประพฤติผิด
ธรรม เพราะเหตุแหง่ มิตรและอ�ำมาตย์ ไมป่ ระเสริฐ สว่ นบุคคลผู้ประพฤตชิ อบธรรม
ประพฤติถูกธรรม เพราะเหตุแห่งมิตรและอ�ำมาตย์ ประเสริฐ ด้วยว่าการประพฤติ
ชอบธรรมและการประพฤติถูกธรรม ประเสริฐกว่าการประพฤติไม่ชอบธรรมและ
การประพฤตผิ ดิ ธรรม
ท่านพระสารีบุตรกล่าวว่า การงานอย่างอื่นที่มีเหตุ ประกอบด้วยธรรม
เป็นเครื่องให้บุคคลอาจท�ำกรณียกิจแก่มิตรและอ�ำมาตย์ได้ ไม่ต้องท�ำกรรมอันลามก
และให้ปฏิบัตปิ ฏิปทาอันเปน็ บญุ ได้ มอี ยู่
ท่านจะเข้าใจความข้อนั้นเป็นไฉน บุคคลผู้ประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤติ
ผิดธรรม เพราะเหตุแห่งญาติสาโลหิต กับบุคคลผู้ประพฤติชอบธรรม ประพฤติ
ถกู ธรรม เพราะเหตุแหง่ ญาตสิ าโลหติ ไหนจะประเสรฐิ กว่ากนั
ธนญั ชานพิ ราหมณก์ ลา่ วตอบวา่ บคุ คลผปู้ ระพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม
เพราะเหตุแหง่ ญาติสาโลหติ ไมป่ ระเสริฐ ส่วนบคุ คลผู้ประพฤตชิ อบธรรม ประพฤติ
ถกู ธรรม เพราะเหตแุ ห่งญาติสาโลหิต ประเสรฐิ ดว้ ยว่าการประพฤตชิ อบธรรมและ
การประพฤตถิ กู ธรรม ประเสรฐิ กวา่ การประพฤตไิ มช่ อบธรรมและการประพฤตผิ ดิ ธรรม
พรรษาท่ี ๑๑ 287
ท่านพระสารีบุตรกล่าวว่า การงานอย่างอื่นท่ีมีเหตุ ประกอบด้วยธรรม
เป็นเคร่ืองให้บุคคลอาจท�ำกรณียกิจแก่ญาติสาโลหิตได้ ไม่ต้องท�ำกรรมอันลามก
และใหป้ ฏบิ ัติปฏปิ ทาอันเป็นบญุ ได้ มีอยู่
ทา่ นจะเขา้ ใจความขอ้ นน้ั เปน็ ไฉน บคุ คลผปู้ ระพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม
เพราะเหตแุ หง่ แขก กบั บคุ คลผปู้ ระพฤตชิ อบธรรม ประพฤตถิ กู ธรรม เพราะเหตแุ หง่
แขก ไหนจะประเสรฐิ กว่ากัน
ธนญั ชานพิ ราหมณต์ อบวา่ บคุ คลผปู้ ระพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม
เพราะเหตแุ ห่งแขก ไม่ประเสรฐิ สว่ นบุคคลผ้ปู ระพฤติชอบธรรม ประพฤติถูกธรรม
ประเสรฐิ ดว้ ยวา่ การประพฤตชิ อบธรรมและการประพฤตถิ กู ธรรม ประเสรฐิ กวา่ การ
ประพฤติไมช่ อบธรรมและการประพฤติผดิ ธรรม
ท่านพระสารีบุตรกล่าวว่า การงานอย่างอ่ืนท่ีมีเหตุ ประกอบด้วยธรรม
เปน็ เครอ่ื งใหบ้ คุ คลอาจทำ� กรณยี กจิ แกแ่ ขกได้ ไมต่ อ้ งทำ� กรรมอนั ลามก และใหป้ ฏบิ ตั ิ
ปฏิปทาอนั เป็นบญุ ได้ มอี ยู่
ท่านจะเข้าใจความข้อน้ันเป็นไฉน บุคคลผู้ประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤติ
ผดิ ธรรม เพราะเหตแุ หง่ ปพุ พเปตชน กบั บคุ คลผปู้ ระพฤตชิ อบธรรม ประพฤตถิ กู ธรรม
เพราะเหตแุ หง่ ปุพพเปตชน ไหนจะประเสรฐิ กวา่ กนั
ธนญั ชานพิ ราหมณต์ อบวา่ บคุ คลผปู้ ระพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม
เพราะเหตุแห่งปุพพเปตชน ไม่ประเสริฐ ส่วนบุคคลผู้ประพฤติชอบธรรม ประพฤติ
ถูกธรรม เพราะเหตุแหง่ ปพุ พเปตชน ประเสริฐ ดว้ ยวา่ การประพฤตชิ อบธรรม และ
การประพฤตถิ กู ธรรม ประเสรฐิ กวา่ การประพฤตไิ มช่ อบธรรมและการประพฤตผิ ดิ ธรรม
ท่านพระสารีบุตรกล่าวว่า การงานอย่างอื่นท่ีมีเหตุ ประกอบด้วยธรรม
เปน็ เคร่อื งให้บุคคลอาจทำ� กรณยี กจิ แกป่ พุ พเปตชนได้ ไมต่ ้องทำ� กรรมอนั ลามก และ
ให้ปฏิบตั ิปฏิปทาอนั เป็นบุญได้ มีอยู่
ท่านจะเข้าใจความข้อน้ันเป็นไฉน บุคคลผู้ประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤติ
ผิดธรรม เพราะเหตุแห่งเทวดา กับบุคคลผู้ประพฤติชอบธรรม ประพฤติถูกธรรม
เพราะเหตแุ ห่งเทวดา ไหนจะประเสริฐกวา่ กัน
288 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
ธนญั ชานพิ ราหมณก์ ลา่ วตอบวา่ บคุ คลผปู้ ระพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม
เพราะเหตแุ หง่ เทวดา ไมป่ ระเสรฐิ สว่ นบคุ คลผปู้ ระพฤตชิ อบธรรม ประพฤตถิ กู ธรรม
เพราะเหตแุ หง่ เทวดา ประเสรฐิ ดว้ ยวา่ การประพฤตชิ อบธรรม และการประพฤตถิ กู ธรรม
ประเสรฐิ กวา่ การประพฤติไม่ชอบธรรมและการประพฤตผิ ิดธรรม
ท่านพระสารบี ุตรกลา่ ววา่ การงานอย่างอ่ืนทม่ี เี หตุ ประกอบดว้ ยธรรม เปน็
เคร่ืองให้บุคคลอาจท�ำกรณียกิจแก่เทวดาได้ ไม่ต้องท�ำกรรมอันลามก และให้ปฏิบัติ
ปฏิปทาอนั เป็นบญุ ได้ มอี ยู่
ทา่ นจะเขา้ ใจความขอ้ นน้ั เปน็ ไฉน บคุ คลผปู้ ระพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม
เพราะเหตแุ หง่ พระราชา กบั บคุ คลผปู้ ระพฤตชิ อบธรรม ประพฤตถิ กู ธรรม เพราะเหตุ
แห่งพระราชา ไหนจะประเสรฐิ กว่ากนั
ธนญั ชานพิ ราหมณก์ ลา่ วตอบวา่ บคุ คลผปู้ ระพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม
เพราะเหตแุ หง่ พระราชา ไมป่ ระเสรฐิ สว่ นบคุ คลผปู้ ระพฤตชิ อบธรรม ประพฤตถิ กู ธรรม
เพราะเหตุแห่งพระราชา ประเสริฐ ด้วยว่าการประพฤติชอบธรรมและการประพฤติ
ถกู ธรรม ประเสริฐกวา่ การประพฤตไิ มช่ อบธรรมและการประพฤตผิ ิดธรรม
ท่านพระสารีบุตรกล่าวว่า การงานอย่างอ่ืนที่มีเหตุ ประกอบด้วยธรรม
เป็นเครอื่ งให้บุคคลอาจทำ� กรณยี กจิ แกพ่ ระราชาได้ ไมต่ ้องท�ำกรรมอนั ลามก และให้
ปฏบิ ตั ปิ ฏิปทาอนั เปน็ บญุ ได้ มีอยู่
ท่านจะเข้าใจความข้อนั้นเป็นไฉน บุคคลผู้ประพฤติไม่ชอบธรรม ประพฤติ
ผิดธรรม เพราะเหตุแห่งการเล้ียงกาย เพราะเหตุแห่งการท�ำนุบ�ำรุงกาย กับบุคคล
ผ้ปู ระพฤติชอบธรรม ประพฤตถิ กู ธรรม เพราะเหตุแห่งการเล้ียงกาย เพราะเหตแุ ห่ง
การท�ำนุบำ� รุงกาย ไหนจะประเสริฐกว่ากนั
ธนญั ชานพิ ราหมณต์ อบวา่ บคุ คลผปู้ ระพฤตไิ มช่ อบธรรม ประพฤตผิ ดิ ธรรม
เพราะเหตแุ หง่ การเลยี้ งกาย เพราะเหตแุ หง่ การทำ� นบุ ำ� รงุ กาย ไมป่ ระเสรฐิ สว่ นบคุ คล
ผู้ประพฤตชิ อบธรรม ประพฤติถกู ธรรม เพราะเหตุแห่งการเลี้ยงกาย เพราะเหตแุ หง่
การทำ� นบุ ำ� รงุ กาย ประเสรฐิ ดว้ ยวา่ การประพฤตชิ อบธรรมและการประพฤตถิ กู ธรรม
ประเสริฐกวา่ การประพฤติไม่ชอบธรรมและการประพฤตผิ ดิ ธรรม
พรรษาที่ ๑๑ 289
ท่านพระสารีบุตรกล่าวว่า การงานอย่างอื่นท่ีมีเหตุ ประกอบด้วยธรรม
เป็นเคร่อื งให้บคุ คลอาจเลี้ยงกาย ท�ำนุบำ� รุงกายได้ ไมต่ ้องทำ� กรรมอนั ลามก และให้
ปฏิบัติปฏิปทาอันเป็นบุญได้ มีอยู่
ครั้งน้ันแล ธนัญชานิพราหมณ์ชื่นชมอนุโมทนาภาษิตของท่านพระสารีบุตร
ลุกจากอาสนะหลกี ไปแล้ว
ครั้นสมัยต่อมา ธนัญชานิพราหมณ์เป็นผู้อาพาธ ได้รับทุกข์ เป็นไข้หนัก
จงึ เรยี กบรุ ษุ คนหนงึ่ มาวา่ บรุ ษุ ผเู้ จรญิ มานเ่ี ถดิ ทา่ น ทา่ นจงไปเฝา้ พระผมู้ พี ระภาคเจา้
ถึงที่ประทับ จงถวายบังคมพระบาทของพระผู้มีพระภาคเจ้า ด้วยเศียรเกล้าตามค�ำ
ของเราว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ธนัญชานิพราหมณ์อาพาธได้รับทุกข์ เป็นไข้หนัก
เขาขอถวายบังคมพระบาทของพระผู้มีพระภาคเจ้าด้วยเศียรเกล้า และจงไปหาท่าน
พระสารีบุตรถึงที่อยู่ แล้วจงไหว้เท้าท่านพระสารีบุตรตามค�ำของเราว่า ข้าแต่ท่าน
ผเู้ จรญิ ธนญั ชานพิ ราหมณอ์ าพาธ ไดร้ บั ทกุ ข์ เปน็ ไขห้ นกั เขาไหวเ้ ทา้ ทา่ นพระสารบี ตุ ร
ด้วยเศียรเกล้า แล้วจงเรียนท่านอย่างน้ีว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอโอกาส
ขอทา่ นพระสารบี ตุ รจงอาศยั ความอนเุ คราะหเ์ ขา้ ไปยงั นเิ วศนข์ องธนญั ชานพิ ราหมณเ์ ถดิ
บุรุษนั้นรับค�ำธนัญชานิพราหมณ์แล้ว เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าถึงที่
ประทบั ถวายบงั คมพระผมู้ พี ระภาคเจา้ แลว้ นง่ั ณ ทค่ี วรสว่ นขา้ งหนง่ึ แลว้ ไดก้ ราบทลู
วา่ ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ ธนญั ชานพิ ราหมณอ์ าพาธ ไดร้ บั ทกุ ข์ เปน็ ไขห้ นกั เขาถวาย
บงั คมพระบาทของพระผมู้ พี ระภาคเจา้ ดว้ ยเศยี รเกลา้ แลว้ ไดเ้ ขา้ ไปหาทา่ นพระสารบี ตุ ร
ถึงที่อยู่ ไหว้ท่านพระสารีบุตรแล้ว น่ัง ณ ที่ควรส่วนข้างหน่ึง แล้วได้เรียนท่าน
พระสารบี ตุ รว่า ขา้ แตท่ า่ นผู้เจรญิ ธนัญชานพิ ราหมณอ์ าพาธ ได้รบั ทุกข์ เปน็ ไขห้ นัก
เขาไหวเ้ ทา้ ของทา่ นพระสารบี ตุ รดว้ ยเศยี รเกลา้ และสง่ั มาอยา่ งนว้ี า่ ขา้ แตท่ า่ นผเู้ จรญิ
ขา้ พเจา้ ขอโอกาส ขอท่านพระสารบี ุตร จงอาศยั ความอนเุ คราะหเ์ ขา้ ไปยงั นิเวศน์ของ
ธนญั ชานพิ ราหมณเ์ ถิด ท่านพระสารีบุตรรับนมิ นต์ดว้ ยอาการดุษณภี าพ
ล�ำดับนั้น ท่านพระสารีบุตรนุ่งแล้ว ถือบาตรและจีวร เข้าไปยังนิเวศน์
ของธนญั ชานิพราหมณ์ แลว้ น่ังบนอาสนะทเี่ ขาจดั ถวาย ไดถ้ ามธนญั ชานพิ ราหมณว์ า่
ดกู ่อนธนญั ชานิ ทา่ นยังพอทนได้หรือ พอจะยังชวี ติ ใหเ้ ป็นไปได้หรอื ทุกขเวทนาค่อย
ถอยลงไมเ่ จรญิ ขึน้ หรือ อาการปรากฏค่อยคลายไมท่ วีข้ึนหรือ
290 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
ธนัญชานพิ ราหมณก์ ราบเรียนว่า ข้าแต่ทา่ นพระสารีบุตร ข้าพเจ้าทนไมไ่ หว
จะยงั ชวี ติ ใหเ้ ปน็ ไปไมไ่ ด้ ทกุ ขเวทนาของขา้ พเจา้ กลา้ นกั เจรญิ ขนึ้ ไมถ่ อยเลย ปรากฏ
อาการทวีย่ิงขน้ึ ไมล่ ดถอย ข้าแต่ท่านพระสารบี ตุ รผู้เจริญ เปรยี บเหมือนบุรษุ มกี ำ� ลงั
เอาเหล็กแหลมคมกดศีรษะฉันใด ข้าพเจ้าก็ฉันนั้นแล ลมเสียดแทงศีรษะกล้านัก
ขา้ แต่ท่านพระสารีบตุ ร ข้าพเจา้ ทนไม่ไหว จะยงั ชีวติ ให้เปน็ ไปไม่ได้ ทุกขเวทนาของ
ขา้ พเจา้ กลา้ นกั เจรญิ ขน้ึ ไมถ่ อยเลย ปรากฏอาการทวยี ง่ิ ขน้ึ ไมล่ ดถอย เปรยี บเหมอื น
บรุ ษุ มกี ำ� ลงั เอาเส้นเชือกทีเ่ ขม็งมดั รัดศรี ษะฉนั ใด เวทนาในศรี ษะของขา้ พเจา้ กเ็ หลอื
ทนฉนั นนั้ ขา้ พเจา้ ทนไมไ่ หว จะยงั ชวี ติ ใหเ้ ปน็ ไปไมไ่ ด้ ทกุ ขเวทนาของขา้ พเจา้ กลา้ นกั
เจริญขึ้น ไม่ถอยเลย ปรากฏอาการทวีย่ิงข้ึน ไม่ลดถอย ข้าแต่ท่านพระสารีบุตร
เปรียบเหมือนนายโคฆาตคือคนฆ่าโคหรือลูกมือนายโคฆาตผู้ช�ำนาญ เอามีดส�ำหรับ
เชอื ดเนือ้ โคอนั คมมาเชอื ดทอ้ งฉนั ใด ขา้ พเจา้ ก็ฉนั นั้น ลมเสยี ดทอ้ งกล้านัก ขา้ พเจา้
ทนไมไ่ หว จะยงั ชวี ติ ใหเ้ ปน็ ไปไมไ่ ด้ ทกุ ขเวทนาของขา้ พเจา้ กลา้ นกั เจรญิ ขน้ึ ไมถ่ อยเลย
ปรากฏอาการทวยี งิ่ ขนึ้ ไมล่ ดถอย ขา้ แตท่ า่ นพระสารบี ตุ ร เปรยี บเหมอื นบรุ ษุ มกี ำ� ลงั
๒ คน ช่วยกันจับบุรุษมีก�ำลังน้อยกว่าคนละแขน รมย่างไว้ที่หลุมถ่านเพลิงฉันใด
ในกายของขา้ พเจา้ กร็ ้อนเหลือทนฉนั นนั้ ขา้ พเจ้าทนไมไ่ หว จะยงั ชีวิตให้เป็นไปไม่ได้
ทกุ ขเวทนาของขา้ พเจา้ กลา้ นกั เจรญิ ขนึ้ ไมถ่ อยเลยปรากฏอาการทวยี งิ่ ขนึ้ ไมล่ ดถอย
ท่านพระสารีบุตรกล่าวว่า ธนัญชานิ ท่านจะเขา้ ใจความขอ้ นน้ั เปน็ ไฉน นรก
กับกำ� เนิดสัตว์ดิรจั ฉาน ไหนจะดกี วา่ กัน
ธนัญชานพิ ราหมณต์ อบว่า ก�ำเนดิ สัตวด์ ริ จั ฉานดกี ว่านรก
ท่านพระสารีบุตรกล่าวว่า ท่านจะเข้าใจความข้อนั้นเป็นไฉน ก�ำเนิดสัตว์
ดริ ัจฉานกับปิตติวสิ ัย ไหนจะดีกว่ากัน
ธนญั ชานพิ ราหมณ์ตอบว่า ปติ ติวสิ ยั ดีกวา่ ก�ำเนดิ สตั วด์ ิรัจฉาน
ท่านพระสารีบุตรกล่าวว่า ท่านจะเข้าใจความข้อนั้นเป็นไฉน ปิตติวิสัย กับ
มนษุ ย์ ไหนจะดีกว่ากนั
ธนัญชานิพราหมณต์ อบว่า มนษุ ยด์ กี ว่าปติ ติวสิ ยั
พรรษาท่ี ๑๑ 291
ทา่ นพระสารบี ตุ รกลา่ ววา่ ทา่ นจะเขา้ ใจความขอ้ นนั้ เปน็ ไฉน มนษุ ยก์ บั เทวดา
ชน้ั จาตุมมหาราช ไหนจะดกี ว่ากัน
ธนัญชานพิ ราหมณ์ตอบว่า เทวดาช้นั จาตุมมหาราชดีกว่ามนษุ ย์
ท่านพระสารีบุตรกล่าวว่า ท่านจะเข้าใจความข้อน้ันเป็นไฉน เทวดาชั้น
จาตุมมหาราชกบั เทวดาชัน้ ดาวดึงส์ ไหนจะดกี วา่ กนั
ธนัญชานพิ ราหมณต์ อบวา่ เทวดาช้ันดาวดงึ สด์ ีกว่าเทวดาชนั้ จาตุมมหาราช
ทา่ นพระสารบี ตุ รกลา่ ววา่ ทา่ นจะเขา้ ใจความขอ้ นนั้ เปน็ ไฉน เทวดาชนั้ ดาวดงึ ส์
กับเทวดาชั้นยามา ไหนจะดีกวา่ กนั
ธนัญชานิพราหมณ์ตอบว่า เทวดาชน้ั ยามาดีกวา่ เทวดาชัน้ ดาวดึงส์
ทา่ นพระสารีบุตรกลา่ ววา่ ท่านจะเข้าใจความข้อนน้ั เปน็ ไฉน เทวดาชนั้ ยามา
กับเทวดาช้ันดุสิต ไหนจะดีกว่ากนั
ธนญั ชานพิ ราหมณต์ อบว่า เทวดาชัน้ ดสุ ิตดีกว่าเทวดาชน้ั ยามา
ทา่ นพระสารบี ุตรกล่าววา่ ทา่ นจะเข้าใจความขอ้ นัน้ เป็นไฉน เทวดาชน้ั ดสุ ิต
กบั เทวดาช้ันนิมมานรดี ไหนจะดีกว่ากัน
ธนญั ชานิพราหมณ์ตอบว่า เทวดาชัน้ นิมมานรดีดีกว่าเทวดาชั้นดสุ ติ
ทา่ นพระสารบี ตุ รกลา่ ววา่ ทา่ นจะเขา้ ใจความขอ้ นน้ั เปน็ ไฉน เทวดาชนั้ นมิ มานรดี
กับเทวดาชน้ั ปรนมิ มิตวสวตั ดี ไหนจะดีกว่ากัน
ธนญั ชานพิ ราหมณต์ อบวา่ เทวดาชนั้ ปรนมิ มติ วสวตั ดดี กี วา่ เทวดาชนั้ นมิ มานรดี
ท่านพระสารีบุตรกล่าวว่า ท่านจะเข้าใจความข้อน้ันเป็นไฉน เทวดาชั้น
ปรนิมมติ วสวตั ดีกบั พรหมโลก ไหนจะดีกวา่ กัน
ธนัญชานิพราหมณ์ถามว่า ท่านพระสารีบุตรกล่าวว่า พรหมโลกหรือ ท่าน
พระสารบี ุตรกลา่ ววา่ พรหมโลกหรือ
292 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
ครงั้ นน้ั ทา่ นพระสารบี ตุ รมคี วามดำ� รวิ า่ พราหมณเ์ หลา่ นนี้ อ้ มใจไปในพรหมโลก
ถา้ กระไร เราพงึ แสดงทางเพอ่ื ความเปน็ สหายกบั พรหมแกธ่ นญั ชานพิ ราหมณเ์ ถดิ ดงั น้ี
แล้วจึงกล่าวว่า ธนัญชานิ เราจักแสดงทางเพื่อความเป็นสหายกับพรหม ท่านจงฟัง
จงต้ังใจให้ดี เราจักกล่าว ธนญั ชานิพราหมณ์รบั ค�ำทา่ นพระสารบี ุตรแลว้
ท่านพระสารีบุตรได้กล่าวว่า ก็ทางเพื่อความเป็นสหายกับพรหมเป็นไฉน
ดูก่อนธนัญชานิ ภิกษุในธรรมวินัยน้ี มีใจประกอบด้วยเมตตา แผ่ไปสู่ทิศหนึ่งอยู่
ทศิ ท่ี ๒ ทศิ ท่ี ๓ ทศิ ที่ ๔ กเ็ หมอื นกนั ตามนยั น้ี ทงั้ เบอื้ งบน เบอ้ื งลา่ ง เบอื้ งขวาง
แผ่ไปตลอดโลก ทัว่ สตั วท์ ุกเหล่า เพอ่ื ประโยชน์แกส่ ตั ว์ท่วั หน้า ในที่ทกุ สถาน ดว้ ยใจ
อันประกอบด้วยเมตตาอันไพบูลย์เป็นมหัคคตะ หาประมาณมิได้ ไม่มีเวร ไม่มี
ความเบียดเบยี นอยู่ แมข้ ้อนกี้ เ็ ป็นทางเพอื่ ความเปน็ สหายกับพรหม อกี ประการหนึ่ง
ภิกษุมีใจประกอบด้วยกรุณา มีใจประกอบด้วยมุทิตา มีใจประกอบด้วยอุเบกขา
แผ่ไปสู่ทิศหนึ่งอยู่ ทิศท่ี ๒ ทิศที่ ๓ ทิศที่ ๔ ก็เหมือนกันตามนัยนี้ ท้ังเบื้องบน
เบอ้ื งลา่ ง เบอื้ งขวาง แผ่ไปตลอดโลก ท่ัวสตั วท์ กุ เหลา่ เพอื่ ประโยชนแ์ กส่ ัตวท์ ่วั หนา้
ในที่ทุกสถาน ดว้ ยใจอนั ประกอบดว้ ยกรณุ า มทุ ติ า อเุ บกขาอนั ไพบลู ย์ เปน็ มหคั คตะ
หาประมาณมไิ ด้ ไม่มีเวร ไม่มีความเบยี ดเบยี นอยู่ นแี้ ลเปน็ ทางเพื่อความเปน็ สหาย
กับพรหม
ธนัญชานิพราหมณ์กล่าวว่า ถ้าเช่นนั้น ขอท่านจงถวายบังคมพระบาทของ
พระผู้มีพระภาคเจ้าด้วยเศียรเกล้า ตามค�ำของข้าพเจ้าว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
ธนญั ชานพิ ราหมณป์ ่วย ได้รบั ทกุ ข์ เป็นไขห้ นัก เขาถวายบงั คมพระบาทของพระผู้ม-ี
พระภาคเจา้ ด้วยเศียรเกลา้
ครงั้ นนั้ แล ทา่ นพระสารบี ตุ รไดป้ ระดษิ ฐานธนญั ชานพิ ราหมณไ์ วใ้ นพรหมโลก
ชั้นต�่ำ ในเมื่อยังมีกิจที่จะพึงท�ำให้ย่ิงขึ้นได้ แล้วลุกจากอาสนะหลีกไป เมื่อท่าน
พระสารีบุตรหลีกไปไม่นาน ธนญั ชานพิ ราหมณท์ �ำกาละแลว้ ไปบงั เกิดยังพรหมโลก
ครั้งน้ัน พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายมาว่า ภิกษุท้ังหลาย
สารีบุตรนี้ได้ประดิษฐานธนัญชานิพราหมณ์ไว้ในพรหมโลกช้ันต่�ำ ในเมื่อยังมีกิจ
ท่จี ะพงึ ทำ� ให้ยิ่งข้นึ ได้ แล้วลุกจากอาสนะหลีกไป
พรรษาท่ี ๑๑ 293
คร้ังนั้น ท่านพระสารีบุตรเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าถึงท่ีประทับ ถวาย
บงั คมพระผู้มีพระภาคเจา้ แล้ว นง่ั ณ ท่คี วรส่วนขา้ งหนง่ึ แลว้ ได้กราบทลู ว่า ข้าแต่
พระองค์ผู้เจริญ ธนัญชานิพราหมณ์ป่วย ได้รับทุกข์ เป็นไข้หนัก เขาถวายบังคม
พระบาทของพระผู้มพี ระภาคเจ้าด้วยเศยี รเกลา้
พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ตรสั วา่ สารบี ตุ ร ทำ� ไมเธอจงึ ประดษิ ฐานธนญั ชานพิ ราหมณ์
ไวใ้ นพรหมโลกชนั้ ตำ่� ในเมอ่ื ยงั มกี จิ อนั พงึ ทำ� ใหย้ ง่ิ ขนึ้ ไปได้ แลว้ ลกุ จากอาสนะหลกี ไปเลา่
ทา่ นพระสารบี ตุ รกราบทลู วา่ ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ ขา้ พระองคม์ คี วามคดิ เหน็
อย่างน้ีว่า พราหมณ์เหล่านี้น้อมใจไปพรหมโลก ถ้ากระไร เราพึงแสดงทางเพื่อ
ความเปน็ สหายกับพรหมแกธ่ นัญชานพิ ราหมณ์เถิด ดง่ั น้ี พระเจา้ ขา้
พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ตรสั วา่ สารบี ตุ ร ธนญั ชานพิ ราหมณท์ ำ� กาละไปบงั เกดิ ใน
พรหมโลกแล้ว
ในพระสูตรน้ี ได้แสดงถึงเร่ืองท่านพระสารีบุตรเที่ยวจาริกไปในทักขิณาคิริ-
ชนบท พรอ้ มดว้ ยภกิ ษุสงฆห์ มู่ใหญ่ ท่านพระอรรถกถาจารยไ์ ดอ้ ธบิ ายวา่ ภเู ขาช่อื คริ ิ
คำ� นเี้ ปน็ ชอื่ ของชนบทในดา้ นทศิ ทกั ษณิ แหง่ ภเู ขาทตี่ งั้ ลอ้ มกรงุ ราชคฤห์ และในพระสตู ร
ที่กล่าวว่า ธนัญชานิพราหมณ์อยู่ที่ใกล้ประตูตัณฑุลปาละ ในพระนครราชคฤห์น้ัน
ท่านอธบิ ายวา่ กรงุ ราชคฤหม์ ีประตใู หญ่ ๓๒ ประตู ประตเู ลก็ ๖๔ ประตู บรรดา
ประตเู หลา่ นนั้ ประตหู นง่ึ ชอ่ื วา่ ประตตู ณั ฑลุ ปาละ ทา่ นพระธรรมสงั คาหกาจารยก์ ลา่ ว
หมายเอาประตูตัณฑุลปาละน้ัน และข้อท่ีภิกษุทั้งหลายได้กราบเรียนแจ้งแก่ท่าน
พระสารีบุตร คือท่านพระสารีบุตรได้ถามภิกษุทั้งหลายว่า ธนัญชานิพราหมณ์น้ันยัง
เป็นผไู้ ม่ประมาทหรือ ภกิ ษทุ ั้งหลายไดก้ ราบทูลว่า ทีไ่ หนได้ ธนญั ชานพิ ราหมณ์ของ
เราจะไมป่ ระมาท เขาอาศยั พระราชาเทยี่ วปลน้ พวกพราหมณแ์ ละคฤหบดี อาศยั พวก
พราหมณ์และคฤหบดีปล้นพระราชา ท่านอธิบายวา่ ธนญั ชานพิ ราหมณ์อนั พระราชา
ทรงสง่ ไปวา่ จงไปเกบ็ สว่ นแบง่ ขา้ วกลา้ โดยไมเ่ บยี ดเบยี นประชาชน เขาไปเกบ็ ขา้ วกลา้
มาหมดเลย และเปน็ ผู้อนั ประชาชนพูดวา่ อยา่ ท�ำพวกข้าพเจ้าใหฉ้ บิ หาย กลบั กลา่ ว
ว่า ข้าวกล้าท่ีหว่านไว้ในราชสกุลมีน้อย พระราชาทรงส่ังเราอย่างน้ีในเวลาที่จะมา
ทีเดียว พวกท่านอย่าได้คร�่ำครวญไปเลย ธนัญชานิพราหมณ์อาศัยพระราชาอย่างน้ี
294 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
ชื่อว่าย่อมปล้นพราหมณ์และคฤหบดีทั้งหลาย ข้าวเข้าบ้านตนโดยส่วนมาก ส่งเข้า
ราชสกุลมปี ระมาณนอ้ ยแล และถกู พระราชาตรสั ถามวา่ ทา่ นไมไ่ ด้ ท�ำการบบี บงั คบั
พราหมณแ์ ละคฤหบดที งั้ หลายหรอื กก็ ราบทลู วา่ พระเจา้ ขา้ ในวาระนนี้ ามขี า้ วกลา้ นอ้ ย
เพราะฉะนนั้ เมอื่ ขา้ พระพทุ ธเจา้ ไมไ่ ดบ้ บี บงั คบั เกบ็ เอา จงึ ไมม่ ากแล ธนญั ชานพิ ราหมณ์
อาศยั พราหมณ์และคฤหบดที ง้ั หลายอย่างน้ี ปล้นพระราชา
มาตาสตู ร๑๕
สมัยหน่ึง ท่านพระสารีบุตรและท่านพระมหาโมคคัลลานะ จาริกไปใน
ทักขิณาคิริชนบทพร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ ก็สมัยน้ัน นันทมารดาอุบาสิกา
ชาวเมืองเวฬุกัณฏกะ ลุกข้ึนในเวลาใกล้รุ่ง สวดปารายนสูตรท�ำนองสรภัญญะ
สมัยน้นั ท้าวเวสสวณั มหาราชมกี รณียกิจบางอย่าง เสด็จจากทศิ อดุ รไปยังทิศทักษณิ
ได้ทรงสดับนันทมารดาอุบาสิกาสวดปารายนสูตรท�ำนองสรภัญญะ ประทับรอฟัง
จนจบ ขณะน้นั นันทมารดาอบุ าสกิ าสวดปารายนสูตรท�ำนองสรภัญญะ จบแล้วนงิ่ อยู่
ทา้ วเวสสวณั มหาราชทรงทราบวา่ กถาของนนั ทมารดาอบุ าสกิ าจบแลว้ จงึ ทรงอนโุ มทนา
วา่ สาธุ พหี่ ญงิ สาธุ พห่ี ญงิ นนั ทมารดาอบุ าสกิ าถามวา่ ดกู อ่ นทา่ นผมู้ พี กั ตรอ์ นั เจรญิ
ท่านนีค้ ือใครเลา่
ท้าวเวสสวณั มหาราชตอบวา่ เราคอื ท้าวเวสสวณั มหาราช พชี่ ายของเธอ
นันทมารดาอุบาสิกากล่าวว่า ดีละ ถ้าเช่นนั้น ขอธรรมบรรยายท่ีดิฉันสวด
แล้วน้ี จงเปน็ เครื่องต้อนรับแด่ทา่ น
ท้าวเวสสวัณมหาราชกล่าวว่า ดีแล้ว นั่นจงเป็นเครื่องต้อนรับแก่ฉัน พรุ่งน้ี
ภกิ ษสุ งฆม์ ที า่ นพระสารบี ตุ รและทา่ นพระมหาโมคคลั ลานะเปน็ ประมขุ ยงั ไมไ่ ดฉ้ นั เชา้
จักมาถึงเวฬุกัณฏกนคร เธอพึงอังคาสภิกษุสงฆ์หมู่นั้น แล้วพึงอุทิศทักษิณาทานให้
ฉันดว้ ย ก็การท�ำอย่างน้จี กั เป็นเครอ่ื งต้อนรับฉนั
๑๕ อง.ฺ สตฺตก. ๒๓/๕๐/๖๔.
พรรษาท่ี ๑๑ 295
ล�ำดับนน้ั คร้ันลว่ งราตรนี นั้ ไป นันทมารดาอุบาสิกาส่ังบุรุษผหู้ นึ่ง ให้จัดแจง
ขาทนยี โภชนยี าหารอนั ประณตี ไวใ้ นนเิ วศนข์ องตน ครงั้ นน้ั ภกิ ษสุ งฆม์ ที า่ นพระสารบี ตุ ร
และทา่ นพระมหาโมคคลั ลานะเปน็ ประมขุ ยงั ไมไ่ ดฉ้ นั เชา้ เดนิ ทางมาถงึ เวฬกุ ณั ฏกนคร
นันทมารดาอุบาสิกาจึงเรียกบุรุษผู้หน่ึงมาสั่งว่า มาเถิด ท่านจงไปยังอารามบอก
ภัตตกาลแด่ภิกษุสงฆ์ว่า ขา้ แตท่ า่ นผเู้ จริญ กาลนเี้ ปน็ ภัตตกาล ภตั ตาหารในนเิ วศน์
ของแมเ่ จา้ นนั ทมารดาสำ� เรจ็ แลว้ บรุ ษุ นน้ั รบั คำ� นนั ทมารดาอบุ าสกิ าแลว้ ไปยงั อาราม
บอกภัตตกาลแด่ภิกษุสงฆ์อย่างนั้น ครั้งนั้น เวลาเช้า ภิกษุสงฆ์มีท่านพระสารีบุตร
และท่านพระโมคคัลลานะเป็นประมุข นุ่งแล้ว ถือบาตรและจีวรเข้าไปยังนิเวศน์ของ
นนั ทมารดาอบุ าสกิ า นง่ั เหนอื อาสนะทเี่ ขาจดั ไว้ ลำ� ดบั นนั้ นนั ทมารดาอบุ าสกิ าองั คาส
ภกิ ษุสงฆ์มีท่านพระสารบี ตุ ร และทา่ นพระโมคคัลลานะเปน็ ประมุขให้อิ่มหน�ำส�ำราญ
ดว้ ยขาทนยี โภชนียาหาร อันประณีต ด้วยมือของตน ครัน้ ทราบวา่ ทา่ นพระสารบี ุตร
ฉนั เสรจ็ ลดมอื ลงจากบาตรแลว้ จงึ นง่ั ณ ทค่ี วรสว่ นขา้ งหนง่ึ ครงั้ นนั้ ทา่ นพระสารบี ตุ ร
ไดถ้ ามวา่ ใครบอกการมาถงึ ของภกิ ษสุ งฆแ์ กท่ า่ นเลา่ นนั ทมารดาอบุ าสกิ ากราบเรยี นวา่
ดิฉันลุกขึ้นในเวลาใกล้รุ่ง สวดปารายนสูตรท�ำนองสรภัญญะจบแล้วน่ังอยู่ ล�ำดับน้ัน
ท้าวเวสสวัณมหาราชทรงทราบถึงการจบคาถาของดิฉันแล้ว ทรงอนุโมทนาว่า สาธุ
พ่ีหญิง สาธุ พ่ีหญิง ดิฉันถามว่า ท่านนี้คือใครเล่า ท้าวเวสสวัณตอบว่า เราคือ
ทา้ วเวสสวณั มหาราช พชี่ ายของเธอ ดฉิ นั กลา่ วว่า ดีละ ถ้าเชน่ นน้ั ขอธรรมบรรยาย
ทดี่ ฉิ นั สวดแลว้ นี้ จงเปน็ เครอื่ งตอ้ นรบั แดท่ า่ น ทา้ วเวสสวณั กลา่ ววา่ ดแี ลว้ นน่ั จงเปน็
เครือ่ งต้อนรบั ฉันด้วย พรุ่งนี้ ภิกษสุ งฆม์ ที ่านพระสารบี ุตรและทา่ นพระโมคคลั ลานะ
เป็นประมุข ยังไม่ได้ฉันเช้า จักมาถึงเวฬุกัณฏกนคร เธอพึงอังคาสภิกษุสงฆ์หมู่น้ัน
แล้วพึงอุทิศทักษิณาทานให้ฉันด้วย ก็การท�ำอย่างนี้จงเป็นไปเพ่ีอความสุขแด่ท่าน
ทา้ วเวสสวัณมหาราชเถดิ
ท่านพระสารีบุตรกล่าวว่า น่าอัศจรรย์ ไม่เคยมีมาแล้ว ท่ีท่านเจรจากัน
ต่อหนา้ ไดก้ ับท้าวเวสสวณั มหาราช ซ่ึงเป็นเทพบตุ รผูม้ ฤี ทธมิ์ ีศกั ดิ์มากอย่างนี้
นันทมารดาอุบาสิกากล่าวว่า ธรรมของดิฉันน่าอัศจรรย์ ไม่เคยมีมาแล้ว
มใิ ช่เพยี งเทา่ นี้ ธรรมของดฉิ ันน่าอัศจรรย์ ไมเ่ คยมีมาแล้ว แมข้ อ้ อ่นื ยังมีอกี ดิฉันมี
บุตรน้อยอยู่คนหนึ่งช่ือนันทะ เป็นท่ีรักเป็นที่ชอบใจ พระราชาได้ข่มข่ีปลงเธอเสีย
296 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
จากชวี ิตในเพราะเหตเุ พยี งนิดเดียว เมื่อบตุ รของดิฉันน้นั ถกู จับแล้วกด็ ี ก�ำลงั ถูกจับ
ก็ดี ถูกฆ่าแล้วก็ดี ก�ำลังจะถูกฆ่าก็ดี ถูกประหารแล้วก็ดี ก�ำลังจะถูกประหารก็ดี
ดฉิ ันไม่รสู้ กึ ความเปลีย่ นแปลงแหง่ จติ เลย
ทา่ นพระสารบี ตุ รกล่าววา่ นา่ อัศจรรย์ ไมเ่ คยมมี าแล้ว ทีท่ ่านชำ� ระแมเ้ พียง
จิตตุปบาทใหบ้ ริสุทธ์ิ
นันทมารดาอุบาสิกากล่าวว่า ธรรมของดิฉันน่าอัศจรรย์ ไม่เคยมีมาแล้ว
แม้ข้ออ่ืนยังมีอีก สามีของดิฉันกระท�ำกาละแล้วเกิดเป็นยักษ์ตนหน่ึง ซึ่งอรรถกถา
แสดงว่าเป็นภุมมเทวดา มาแสดงตนแก่ดิฉันด้วยรูปร่างอย่างคร้ังก่อนทีเดียว ดิฉัน
ไมร่ ู้สกึ ความเปลี่ยนแปลงแหง่ จิตเพราะข้อน้ันเปน็ เหตเุ ลย
ทา่ นพระสารบี ุตรกล่าวว่า น่าอัศจรรย์ ไม่เคยมมี าแล้ว ทท่ี า่ นชำ� ระแมเ้ พยี ง
จติ ตุปบาทให้บริสทุ ธ์ิ
นันทมารดาอุบาสิกากล่าวว่า ธรรมของดิฉันน่าอัศจรรย์ ไม่เคยมีมาแล้ว
มิใช่เพียงเทา่ น้ี ธรรมของดิฉันน่าอัศจรรย์ ไม่เคยมมี าแล้ว แมข้ ้ออืน่ ยังมอี กี ดฉิ ันยงั
สาวถูกส่งตัวให้แก่สามีหนุ่ม ไม่เคยคิดท่ีจะนอกใจเลย ไฉนจะประพฤตินอกใจด้วย
กายเล่า
ทา่ นพระสารีบตุ รกลา่ ววา่ น่าอัศจรรย์ ไมเ่ คยมมี าแลว้ ทท่ี ่านชำ� ระแม้เพยี ง
จติ ตปุ บาทให้บริสทุ ธ์ิ
นันทมารดาอุบาสิกากล่าวว่า ธรรมของดิฉันน่าอัศจรรย์ ไม่เคยมีมาแล้ว
มใิ ชเ่ พยี งเทา่ น้ี ธรรมของดฉิ นั นา่ อศั จรรย์ ไมเ่ คยมมี าแลว้ แมข้ อ้ อนื่ ยงั มอี กี เมอ่ื ดฉิ นั
แสดงตนเป็นอุบาสกิ าแล้ว ไม่ร้สู ึกว่าได้จงใจล่วงสิกขาบทอะไร ๆ เลย
ทา่ นพระสารีบตุ รกลา่ วว่า น่าอศั จรรย์ ไม่เคยมมี าแล้ว ทท่ี า่ นชำ� ระแมเ้ พยี ง
จิตตปุ บาทใหบ้ ริสทุ ธิ์
นนั ทมารดาอบุ าสกิ ากลา่ ววา่ ธรรมของดฉิ นั นา่ อศั จรรย์ ไมเ่ คยมมี าแลว้ มใิ ช่
เพียงเท่าน้ี ธรรมของดฉิ นั น่าอัศจรรย์ ไม่เคยมีมาแลว้ แม้ข้ออื่นยังมอี ีก ดิฉันหวงั อยู่
พรรษาท่ี ๑๑ 297
เพียงใด ดฉิ ันสงัดจากกามสงดั จากอกศุ ลธรรม เข้าปฐมฌาน มีวิตก วจิ าร มปี ตี ิและ
สขุ เกดิ แต่วเิ วกอยู่ เขา้ ทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจติ ในภายในเป็นธรรมเอกผดุ ขน้ึ
ไมม่ วี ติ ก ไมม่ วี จิ าร เพราะวติ กวจิ ารสงบไป มปี ตี แิ ละสขุ เกดิ จากสมาธอิ ยู่ มอี เุ บกขา
มีสตสิ มั ปชัญญะ เสวยสุขดว้ ยนามกาย เพราะปีติสน้ิ ไป เขา้ ตตยิ ฌานทพ่ี ระอรยิ เจา้
ท้ังหลายสรรเสริญว่า ผู้ได้ฌานน้ี เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติอยู่เป็นสุข เข้าจตุตถฌาน
ไมม่ ที กุ ข์ไมม่ ีสุข เพราะละสขุ ละทกุ ข์ และดับโสมนัสโทมนสั กอ่ น ๆ ได้ มีอุเบกขา
เป็นเหตุให้สติบริสุทธิอ์ ยู่ เพยี งนน้ั
ท่านพระสารบี ุตรกล่าววา่ น่าอัศจรรย์ ดกู ่อนนันทมารดา ไม่เคยมีมาแลว้
นันทมารดาอุบาสิกากล่าวว่า ธรรมของดิฉันน่าอัศจรรย์ ไม่เคยมีมาแล้ว
มใิ ชเ่ พียงเทา่ นี้ ธรรมของดิฉันน่าอศั จรรย์ ไม่เคยมีมาแล้ว แม้ขอ้ อืน่ ยังมีอกี ดิฉนั ไม่
พิจารณาเห็นโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ อันพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงแล้ว ข้อใด
ข้อหนง่ึ ทีย่ ังละไมไ่ ด้ในตน
ทา่ นพระสารบี ุตรกลา่ วว่า นา่ อัศจรรย์ ดูกอ่ นนนั ทมารดา ไม่เคยมมี าแลว้
ลำ� ดบั นน้ั แล ทา่ นพระสารบี ตุ รไดช้ แ้ี จงใหน้ นั ทมารดาอบุ าสกิ าเหน็ แจง้ สมาทาน
อาจหาญ รา่ เริงดว้ ยธรรมีกถา แลว้ ลุกจากอาสนะหลกี ไป
ในอรรถกถาของมาตาสตู รนี้ ไดแ้ สดงไวว้ า่ ไดย้ นิ วา่ พระศาสดาทรงจำ� พรรษา
ปวารณาแลว้ ทรงละพระอัครสาวกทง้ั ๒ ไว้ เสดจ็ ออกไปด้วยหมายจะเสด็จจารกิ ใน
ทกั ขณิ าคริ ชิ นบท พระเจา้ ปเสนทโิ กศล ทา่ นอนาถปณิ ฑกิ คฤหบดี วสิ าขามหาอบุ าสกิ า
และชนอ่ืนเป็นอันมาก ไม่สามารถจะให้พระศาสดาเสด็จกลับได้ ท่านอนาถปิณฑิก-
คฤหบดีน่ังครุ่นคิดในที่ลับว่า เราไม่สามารถจะให้พระศาสดาเสด็จกลับได้ ลำ� ดับน้ัน
นางทาสีชื่อปุณณาเห็นเข้าแล้วจึงถามว่า นายท่านมีอินทรีย์ไม่ผ่องใสเหมือนแต่ก่อน
เปน็ เพราะเหตไุ ร ทา่ นคฤหบดตี อบวา่ พระศาสดาเสดจ็ ออกไปสทู่ จ่ี ารกิ แลว้ ขา้ ไมอ่ าจ
ทำ� ใหพ้ ระองค์เสด็จกลับได้ ทงั้ ไมท่ ราบว่า พระองคจ์ ะเสด็จกลบั มาเร็วหรอื ไม่ เพราะ
เหตุนั้น ข้าจึงนั่งครุ่นคิดอยู่ นางทาสีถามว่า ถ้าดิฉันให้พระทศพลเสด็จกลับได้เล่า
ทา่ นเศรษฐจี ะทำ� อยา่ งไรแกด่ ฉิ นั ทา่ นคฤหบดตี อบวา่ ขา้ จะทำ� ใหเ้ จา้ เปน็ ไทสิ นางทาสี
ไปถวายบังคมพระศาสดา กราบทูลว่า ขอพระองค์ได้โปรดเสด็จกลับเถิดพระเจ้าข้า
298 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
พระศาสดาตรัสว่า เพราะเหตุที่เรากลับ เจ้าจักกระท�ำอะไรเล่า นางทาสีทูลว่า
ขอพระองคไ์ ดโ้ ปรดทรงทราบวา่ หมอ่ มฉันเปน็ คนอาศัยผูอ้ ่นื เขา หม่อมฉนั ไม่อาจท�ำ
อะไรอนื่ ได้ แตห่ มอ่ มฉนั จกั ตงั้ อยใู่ นสรณะ รกั ษาศลี ๕ พระศาสดาตรสั วา่ ดลี ะ ดลี ะ
ปณุ ณา แลว้ เสดจ็ กลบั ในเพราะคำ� ๆ เดยี วเทา่ นนั้ เพราะความเคารพในธรรม สมจรงิ
ดังพระด�ำรัสท่ีตรัสไว้ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ตถาคตเคารพในธรรม มีธรรมเป็นท่ี
เคารพ ดงั่ นพ้ี ระศาสดาเสดจ็ กลบั เขา้ ไปยงั พระเชตวนั มหาวหิ าร มหาชนไดใ้ หส้ าธกุ าร
พันหน่ึงแก่นางปุณณา พระศาสดาทรงแสดงธรรมในสมาคมนั้น สัตว์ ๘๔,๐๐๐
ด่มื น้�ำอมฤตแลว้ ฝา่ ยนางปณุ ณาอนั เศรษฐอี นุญาตแลว้ ไดไ้ ปสสู่ ำ� นกั ของภกิ ษุณีแล้ว
บรรพชา พระสมั มาสัมพุทธเจา้ ไดต้ รสั เรยี กพระสารีบุตร และพระมหาโมคคลั ลานะ
มาแลว้ ตรสั ว่า เราออกจาริกไป ณ ทศิ ใด เราจะไมไ่ ปในทิศนนั้ พวกเธอพรอ้ มบริษทั
ของเธอจงจารกิ ไป ณ ทศิ นน้ั ดง่ั นี้ แลว้ จึงสง่ ไป
ค�ำว่า เวฬุกัณฏกี น้ัน ได้แก่ ผู้อาศัยอยู่ในเมืองเวฬุกัณฏกะ ได้ยินว่า
ชาวเมอื งน้นั พากนั ปลกู ต้นไผ่รอบก�ำแพง เพือ่ จะรักษากำ� แพงเมืองนน้ั เพราะเหตุนั้น
เมืองน้นั จึงมีช่อื ว่า เวฬุกัณฏกะน่นั แล
คำ� วา่ ปารายนํ ความวา่ ธรรมอนั ไดโ้ วหารวา่ ปารายนะ เพราะเปน็ ทดี่ ำ� เนนิ
ไปถงึ ฝง่ั คอื พระนิพพาน
นนั ทมารดาอรยิ สาวกิ า นงั่ ในทมี่ อี ารกั ขาอนั เขาจดั แจงไวด้ แี ลว้ บนพนื้ ชนั้ บน
แหง่ ปราสาท ๗ ชน้ั ใหค้ รงึ่ ราตรผี า่ นลว่ งไปดว้ ยกำ� ลงั แหง่ สมาบตั ิ ครนั้ ออกจากสมาบตั ิ
แลว้ คิดวา่ เราจักให้ราตรีที่เหลอื เพยี งเท่าน้ี ผา่ นล่วงไปดว้ ยความยินดอี ยา่ งไหน แล้ว
กระท�ำความตกลงวา่ จะให้ผ่านล่วงไปดว้ ยความยินดใี นธรรม ดัง่ นี้แล้ว นงั่ บรรลผุ ล
๓ แล้วจงึ กล่าวปารายนสูตรประมาณ ๒๕๐ คาถา โดยท�ำนองสรภญั ญะอันไพเราะ
ท้าวเวสสวัณมหาราชทรงตรวจดูวิมานอันต้ังอยู่ในอากาศแล้ว ข้ึนสู่ยาน
นาริวาหนะ เสด็จออกไปโดยทางอันผ่านส่วนเบ้ืองบนปราสาทนั้น ได้ยินเสียง
ปารายนสูตร ครัน้ แลว้ ตรสั ถามวา่ พนาย นน่ั เสียงอะไร เมอื่ ยกั ขบริษทั ทูลว่า นน่ั คือ
เสยี งสวดโดยทำ� นองสรภญั ญะของนนั ทมารดาอุบาสิกา ดั่งน้แี ล้ว เสด็จลงรอคอยการ
จบเทศนานี้
พรรษาที่ ๑๑ 299
บทที่ว่า สาธุ พี่หญิง สาธุ พ่ีหญิง ก็คือท้าวเวสสวัณมหาราชตรัสว่า
ธรรมเทศนาท่านรับมาดีแล้ว กล่าวดีแล้ว เราไม่เห็นอะไรที่จะต่างกัน ระหว่างวันที่
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าประทับที่ปาสาณกเจดีย์ ตรัสแก่ปารายนิกพราหมณ์ ๑๖ คน
และที่น่ีท่านกล่าวในวันน้ี ค�ำท่ีนี่ท่านกล่าวแล้วเป็นเสมือนกับพระด�ำรัสท่ีพระศาสดา
ตรสั แลว้ นนั่ แล เหมอื นกบั ทองคำ� ที่ขาดตรงกลาง เมือ่ จะให้สาธุการจึงตรัสอย่างนนั้
เพราะเสียงท่ีดังถึงเพียงนี้ ก้องไปในท่ีท่ีมีอารักขาไว้ดังน้ี นันทมารดา
อริยสาวิกาผู้บรรลุผล ๓ แล้ว ปราศจากความเกรงกลัว กล่าวว่า ท่านนี้เป็นใคร
เปน็ นาค เปน็ ครฑุ เปน็ เทวดา เปน็ มาร หรอื เปน็ พรหม ดงั่ นแ้ี ลว้ เมอ่ื จะกลา่ วกบั ทา้ ว
เวสสวณั จึงกล่าวอย่างน้ี
ท้าวเวสสวัณทรงส�ำคัญพระอริยสาวิกาผู้เป็นพระอนาคามีว่าเป็นพี่ เพราะ
พระองค์เองเป็นพระโสดาบัน จึงตรัสว่า พ่ีหญิง แล้วจึงส�ำคัญพระอริยสาวิกาผู้เป็น
พระอนาคามนี นั้ วา่ เปน็ นอ้ งของพระองคอ์ กี เพราะนางยงั อยใู่ นปฐมวยั แตพ่ ระองคแ์ ก่
กวา่ เพราะพระองคม์ พี ระชนมายถุ งึ ๙ ลา้ นปแี ลว้ จงึ ตรสั เรยี กพระองคเ์ องวา่ พช่ี าย
อปุ กาชวี กพบพระพุทธเจา้
จะแสดงเรอื่ ง อาชวี กชอื่ อุปกะท่ีไดพ้ บพระพุทธเจา้ ในสมัยตน้ พทุ ธกาล ขณะ
เมอื่ พระองคไ์ ดต้ รสั รแู้ ลว้ ทพ่ี ทุ ธคยา และไดเ้ สดจ็ นง่ั เสวยวมิ ตุ ตสิ ขุ แลว้ ไดท้ รงพจิ ารณา
ผ้ทู สี่ มควรจะไดร้ ับปฐมเทศนาของพระองค์
ทีแรก ได้ทรงระลึกถึงท่านอาจารย์ทั้ง ๒ ก่อน คือท่านอาฬารดาบสและ
อุททกดาบส ได้ทรงทราบว่าท่านทง้ั ๒ น้ันไดม้ รณภาพเสยี แล้ว จึงทรงระลึกถึงฤษี
ทั้ง ๕ ท่ีเรียกชื่อว่า ปัญจวัคคีย์ ทรงเห็นว่าสมควรจะรับปฐมเทศนาได้ จึงเสด็จ
พระพุทธดำ� เนินจากพทุ ธคยาเพ่อื ไปสู่ปา่ อิสปิ ตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี อันเป็น
ที่ ๆ ท่านทง้ั ๕ นัน้ ไดอ้ าศยั อยู่ ในขณะที่ทรงด�ำเนนิ ถงึ ท่รี ะหว่างต�ำบลคยา และต้น
มหาโพธ์ิ ไดท้ รงพบอาชวี กชอื่ อปุ กะ กไ็ ดต้ รสั เลา่ ไว้ ตามพระบาลใี น ปาสราสสิ ตู ร๑๖ วา่
๑๖ ม. มู. ๑๒/๓๑๒-๓๒๘/๓๑๒-๓๓๕.
300 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
ดกู ่อนภิกษุท้งั หลาย อาชีวกชอ่ื อุปกะ ไดพ้ บเราผกู้ �ำลงั เดินทางไกลทร่ี ะหวา่ ง
ตำ� บลคยาและตน้ มหาโพธิ์ จงึ ถามเราวา่ ผมู้ อี ายุ อนิ ทรยี ข์ องทา่ นผอ่ งใสนกั ฉววี รรณ
ของทา่ นบรสิ ทุ ธผิ์ ดุ ผอ่ ง ทา่ นบวชเฉพาะใคร ใครเปน็ ศาสดาของทา่ น หรอื ทา่ นชอบใจ
ธรรมของใคร เมอ่ื อปุ กาชวี กถามอยา่ งนี้ เราจงึ ไดก้ ลา่ วตอบวา่ เราเปน็ ผคู้ รอบงำ� ธรรม
ทง้ั ปวง รธู้ รรมทงั้ ปวง ไมต่ ดิ ขอ้ งในธรรมทงั้ ปวง ละเวน้ ธรรมทงั้ ปวง ไปในธรรมเปน็ ที่
สิ้นตัณหา เพราะรู้ยิ่งด้วยตนเอง เราจะพึงแสดงใครเล่าว่าเป็นอาจารย์ อาจารย์ของ
เราไมม่ ี ผทู้ เ่ี หมอื นเราไมม่ ี ผทู้ เ่ี ทยี บเสมอเราไมม่ ี ในโลกทง้ั เทวโลก ความจรงิ เราเปน็
พระอรหนั ต์ เปน็ ศาสดาผยู้ อดเยยี่ มเปน็ เอก เปน็ สมั มาสมั พทุ ธเจา้ เปน็ ผเู้ ยน็ ดบั กเิ ลส
แล้ว เราจะไปราชธานีของชาวกาสีเพ่ือประกาศธรรมจักร โดยหมายจะย่�ำอมฤตเภรี
กลองธรรม ในโลกทมี่ ดื มน อปุ กาชวี กถามเราวา่ เหตใุ ดทา่ นจงึ ปฏญิ ญาวา่ เปน็ อรหนั ต
อนนั ตชนิ ะ เราจงึ กลา่ วตอบวา่ ผทู้ ถี่ งึ อาสวกั ขยั คอื สน้ิ อาสวะเชน่ เรา ยอ่ มเปน็ ผมู้ นี ามวา่
ชินะ เพราะเราชนะบาปธรรมทั้งหลายแลว้ ฉะนน้ั เราจึงมีนามว่า ชินะ
เมอื่ เรากลา่ วตอบอยา่ งน้ี อปุ กาชวี กนนั้ ไดก้ ลา่ ววา่ เปน็ เชน่ นน้ั หรอื ทา่ น แลว้
ส่ันศรี ษะแยกทางไป
อาชวี กชอื่ อุปกะนี้ ได้มีเล่าไว้ในอรรถกถา ปาสราสิสูตรวา่ เขาแยกทางไปสู่
วงั กหารชนบท ในชนบทนนั้ อปุ กาชวี กคอื อาชวี กชอื่ อปุ กะ อาศยั หมบู่ า้ นพรานลา่ เนอ้ื
อยู่ หัวหนา้ พรานบ�ำรุงเขาไว้ ในชนบทนั้น มีชาวประมงดรุ า้ ยให้เขาอยูด่ ว้ ยภาชนะใบ
เดยี ว (ฉบับพม่าวา่ : มีแมลงดดู เลือด ชาวบ้านจงึ ให้เขาอยใู่ นโอง่ นำ้� ใบหนง่ึ ) พราน
ล่าเนื้อจะไปล่าเนื้อในที่ไกล จึงสั่งธิดาช่ือนาวา (หรือ ฉาวา) ว่า อย่าประมาทใน
พระอรหนั ตข์ องเรา แลว้ ไปกบั เหลา่ บตุ รผเู้ ปน็ พี่ ๆ กธ็ ดิ าของพรานนน้ั มรี ปู โฉมนา่ ชม
สมบรู ณด์ ว้ ยสว่ นสดั วนั รงุ่ ขน้ึ อปุ กะอาชวี กมาเรอื น พบหญงิ รนุ่ นนั้ เขา้ มาเลยี้ งดทู ำ� การ
ปรนนิบัติทุกอย่าง เกิดรักอย่างแรง ไม่อาจแม้แต่จะกิน ถือภาชนะอาหารไปที่อยู่
วางอาหารไว้ขา้ งหนงึ่ คดิ ว่า ถ้าเราไดแ้ ม่นาวาจึงจะมชี วี ิต ถ้าไม่ไดก้ ็จะตายเสีย แล้ว
นอนอดอาหาร วนั ที่ ๗ นายพรานกลบั มา ถามเรอ่ื งอปุ กะอาชวี กกบั ธดิ า ธดิ าบอกวา่
เขามาวันเดียวเท่านัน้ แล้วไม่เคยมาอีก โดยชดุ ท่มี าจากปา่ นัน่ แหละ นายพรานบอก
ธิดาว่า พ่อจะเข้าไปถามเขาเอง แล้วไปทันที จับเท้าถามว่า ไม่สบายเป็นอะไรไป
อุปกะอาชีวกถอนใจ กลิ้งเกลือกไปมา นายพรานกล่าวว่า บอกสิ ข้าอาจท�ำได้ก็จัก
พรรษาท่ี ๑๑ 301
ทำ� ทกุ อยา่ ง อปุ กะอาชวี กจงึ บอกวา่ ถา้ เราไดแ้ มน่ าวา กจ็ ะมชี วี ติ อยู่ ถา้ ไมไ่ ดก้ จ็ ะตาย
ในทนี่ แ่ี หละประเสรฐิ กวา่ นายพรานถามวา่ ทา่ นรศู้ ลิ ปะอะไรบา้ ง อปุ กะอาชวี กตอบวา่
เราไม่รู้เลย นายพรานกล่าวว่า เมื่อไม่รู้ศิลปะอะไร ๆ จะอยู่ครองเรือนได้หรือ
อปุ กะอาชวี กนน้ั จงึ กลา่ ววา่ ถงึ เราไมร่ ศู้ ลิ ปะ แตเ่ ราจกั เปน็ คนแบกเนอ้ื ของทา่ นมาขาย
ไดน้ ะ นายพรานคดิ วา่ เขาชอบกิจการนีข่ องเรา จึงใหผ้ ้านุ่งผนื หนงึ่ น�ำไปเรอื นมอบ
ธดิ าให้ อาศยั การสมสูข่ องคนทั้ง ๒ นั้น ก็เกดิ บุตรขน้ึ มาคนหนึง่ ทัง้ ๒ สามภี รรยา
จึงต้ังช่ือบตุ รว่า สุภทั ทะ เวลาบุตรรอ้ งนางจะพดู วา่ เจ้าลกู คนแบกเน้ือ เจ้าลูกพราน
เน้ือ อย่าร้อง ดังนเ้ี ปน็ ต้น เยย้ หยนั อปุ กะดว้ ยเพลงกลอ่ มลกู อปุ กะกลา่ วว่า แมน่ าง
เจ้าเข้าใจว่าข้าไม่มีที่พึ่งหรือ ข้ามีสหายคนหน่ึงช่ืออนันตชินะ ข้าจะไปยังส�ำนักเขา
นางนาวารู้ว่าสามีอึดอัดใจด้วยอาการอย่างนี้ จึงกล่าวบ่อย ๆ วันหน่ึง อุปกะนั้นไม่
บอกกลา่ ว กม็ งุ่ หนา้ ไปยงั มัชฌมิ ประเทศ
กส็ มยั นน้ั พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ประทบั อยู่ ณ พระเชตวนั มหาวหิ าร กรงุ สาวตั ถี
ทรงส่ังภิกษุท้ังหลายไว้ว่า ผู้ใดมาถามหาอนันตชินะ พวกท่านจงแสดงเราแก่เขา
แม้อุปกาชีวกก็ถามเรื่อย ๆ ไปว่า อนันตชินะอยู่ไหน มาถึงกรุงสาวัตถีตามล�ำดับ
ยนื อยกู่ ลางพระวหิ ารถามวา่ อนนั ตชนิ ะอยไู่ หน ภกิ ษทุ งั้ หลายกพ็ าเขาไปยงั สำ� นกั ของ
พระผมู้ พี ระภาคเจา้ อปุ กะนนั้ เหน็ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทลู ถามวา่ พระผมู้ พี ระภาคเจา้
จ�ำข้าได้ไหม ตรัสว่า เออ จ�ำได้สิ ก็ท่านอยู่ไหนล่ะ ทูลว่า วังกหารชนบท ตรัสว่า
อปุ กะทา่ นแกแ่ ลว้ นะ บวชไดห้ รอื ทลู วา่ พอจะบวชได้ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ใหก้ ารบวช
ประทานกรรมฐานแก่เขา อุปกะน้ัน กระท�ำกิจในกรรมฐาน ตั้งอยู่ในอนาคามิผล
กระท�ำกาละแล้ว ปังเกิดในสุทธาวาสชั้นอวิหา แล้วบรรลุพระอรหัตในขณะที่เกิด
นน่ั เอง จรงิ อยู่ ชน ๗ คน พอเกดิ ในสทุ ธาวาสชนั้ อวหิ า กบ็ รรลพุ ระอรหตั ในจำ� นวน
๗ คนนัน้ อุปกะก็เปน็ คนหนง่ึ สมจริงดังคำ� ทกี่ ลา่ วไว้ดังนี้วา่
ภิกษุ ๗ รูปพ้นแล้ว ส้ินราคะโทสะแล้ว ข้ามกิเลสที่ซ่านไปในโลก เข้าถึง
สุทธาวาสพรหมชนั้ อวิหา คือ ๓ คน ไดแ้ กอ่ ปุ กะ ปลคณั ฑะ ปุกกสุ าติ ๔ คน คอื
ภัททยิ ะ ขณั ฑเทวะ พาหทุ ัตติ และปิงคิยะ ทั้ง ๗ คนนัน้ ละกายมนุษย์แล้ว เขา้ ถงึ
กายทพิ ย์
302 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
นางจาปาเถรี ในจาปาเถรีคาถา
พระจาปาเถรี คือพระเถรีภิกษุณีช่ือว่า จาปา ก็คือนางนาวาน้ันเอง ในท่ีน้ี
เรียกช่ือท่านว่าจาปา ก็คงจะเป็นอีกช่ือหน่ึงของท่าน ซ่ึงเมื่ออุปกะอาชีวกออกบวช
ไปแลว้ นางนาวาหรือจาปาผ้ภู รรยากอ็ อกบวชตาม จนบรรลธุ รรมในพระพุทธศาสนา
แลว้ ไดก้ ลา่ วคาถาเรยี กวา่ “จาปาเถรคี าถา″ แสดงถงึ ถอ้ ยคำ� ทโี่ ตต้ อบ ระหวา่ งอปุ กาชวี ก
และพระจาปาเถรีเองเม่ือครั้งยังไม่ได้บวช ตอนท่ีอุปกะจะออกบวช พระเถรีแม้รูปนี้
บ�ำเพ็ญบารมีมาในพระพุทธเจ้าพระองค์ก่อน ๆ สร้างสมกุศลอันเป็นอุปนิสัยแห่ง
พระนิพพานมาในภพน้ัน ๆ สะสมกุศลมูลมาโดยล�ำดับ สร้างสมสัมภารธรรม
เครอ่ื งปรบั ปรงุ วโิ มกขค์ อื ความหลดุ พน้ มาในพทุ ธปุ บาทกาล คอื กาลเปน็ ทบ่ี งั เกดิ ขน้ึ
ของพระพุทธเจ้านี้ ก็บังเกิดเป็นลูกสาวของหัวหน้าพรานล่าเนื้อ ในหมู่พรานล่าเนื้อ
ตำ� บลหนงึ่ ในวงั กหารชนบท นางมชี อ่ื วา่ จาปา ซ่ึงท่เี ล่ามาก็คอื นางนาวาน้นั เอง
นกั บวชอาชวี กชอ่ื อปุ กะ พบพระพทุ ธศาสดาซงึ่ เสดจ็ ออกจากโพธมิ ณฑลสถาน
เจาะจงไปกรงุ พาราณสีเพื่อประกาศพระธรรมจกั ร จึงถามพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้า
ก็ตรัสตอบ ดังท่ีได้เล่ามาแล้ว เขามีจิตเลื่อมใสเกิดข้ึน กล่าวว่า เออ เออ ผู้มีอายุ
ท่านเป็นพระอรหันต์อนันตชินะหรือ ด่ังน้ี แล้วหลีกทางแยกไปยังวังกหารชนบท
เขา้ อาศยั อยหู่ มบู่ า้ นพรานลา่ เนอื้ ตำ� บลหนง่ึ ในชนบทนนั้ หวั หนา้ พรานลา่ เนอ้ื ในหมบู่ า้ น
นนั้ อปุ ฏั ฐากบำ� รงุ เขา วนั หนงึ่ หวั หนา้ พรานลา่ เนอ้ื จะไปลา่ เนอ้ื ไกล จงึ สง่ั จาปาลกู สาว
ของตนวา่ อยา่ ลมื พระอรหนั ตข์ องพอ่ นะ แลว้ ไปพรอ้ มกบั ลกู ชายคนพห่ี ลายคน ลกู สาว
ของพรานน้ันมรี ปู งามนา่ ชม เร่อื งตอ่ ไปกด็ ังทีไ่ ดเ้ ลา่ มาแลว้
คร้ันเม่ืออุปกะอาชีวกเดินทางจากไปแล้ว นางจาปาก็มีใจเบื่อหน่าย จึงมอบ
ลกู ใหน้ ายพรานผเู้ ปน็ ตาไว้ เดนิ ไปตามทางอปุ กะไปกอ่ นแลว้ ถงึ กรงุ สาวตั ถแี ลว้ กบ็ วช
ในสำ� นกั ภกิ ษุณที ั้งหลาย กระทำ� กจิ กรรมในวปิ สั สนา กต็ ้ังอย่ใู นพระอรหตั ตามล�ำดบั
มรรค ครั้นพิจารณาทบทวนถึงความเป็นมาของตน ก็กระท�ำคาถาที่อุปกะกับตนพูด
กนั ไวแ้ ตก่ อ่ น รวมเปน็ อทุ านคาถาทเี่ รยี กวา่ "จาปาเถรคี าถา" คอื ไดก้ ลา่ วคาถาเหลา่ นว้ี า่
ทา่ นอุปกะกล่าววา่ แต่กอ่ น เราบวชถอื ไม้เท้า บดั น้ี เรานนั้ กลายเปน็ พราน
ลา่ เนอื้ ไปเสยี แลว้ ไมอ่ าจขา้ มจากตมคอื ตณั หาอนั รา้ ยกาจ ไปสฝู่ ง่ั โนน้ คอื พระนพิ พานได้
พรรษาท่ี ๑๑ 303
ดูก่อน จาปา เจ้าส�ำคัญเราว่าเป็นคนมัวเมา จึงกล่อมลูกเย้ยหยันเสียดสี เราจัก
ตดั พันธะของจาปาไปบวชอีก
ขา้ พเจา้ คอื พระจาปาเถรเี มอื่ ครงั้ ยงั เปน็ นางจาปา กลา่ ววา่ ขา้ แตท่ า่ นมหาวรี ะ
โปรดอย่าโกรธจาปาเลย ข้าแต่ท่านมหามุนี โปรดอย่าโกรธจาปาเลย เพราะว่าผู้ถูก
ความโกรธครอบง�ำแลว้ ไมม่ ีความบริสุทธด์ิ อก แลว้ ตบะจะมมี าแตไ่ หนเลา่
ทา่ นอุปกะกล่าวว่า เราจกั หลกี ออกไปจากบา้ นนาลา ใครจักอยใู่ นบา้ นนาลา
นี้ได้ เจ้าผูกเหล่าสมณะผู้เล้ียงชีพโดยธรรมด้วยมายาสตรี
ขา้ พเจา้ กลา่ ววา่ ขา้ แตท่ า่ นกาฬะ (ทแี่ ปลวา่ ทา่ นดำ� เพราะทา่ นอปุ กะ มผี วิ ดำ�
จึงเป็นอีกชื่อหนึ่งของท่านอุปกะ) มาสิ กลับมาเถิด จงบริโภคกามเหมือนแต่ก่อน
จาปาและเหล่าญาตขิ องจาปา ยอมอย่ใู ตอ้ ำ� นาจของท่าน
ทา่ นอปุ กะกลา่ ววา่ ดกู อ่ นจาปา เจา้ จกั กลา่ วคำ� รกั เชน่ ไรเปน็ ๔ เทา่ ของคำ� นี้
แกเ่ รา คำ� รกั เชน่ นน้ั จะพงึ โอฬาร คอื ใหญโ่ ต สำ� หรบั บรุ ษุ ผรู้ า่ นรกั ในเจา้ เทา่ นนั้ ดอกนะ
ข้าพเจ้ากล่าววา่ ข้าแต่ท่านกาฬะ เพราะเหตไุ รทา่ นถงึ ละทง้ิ จาปาซ่ึง สะสวย
มเี รอื นรา่ งงาม ดงั่ ตน้ คนทาซงึ่ ออกดอกบานสะพรั่งบนยอดเขา ดงั่ เครอื ทบั ทมิ ที่ดอก
บานแลว้ ดง่ั ตน้ แคฝอยบนเกาะ ผมู้ รี า่ งไลด้ ว้ ยจนั ทนแ์ ดง นงุ่ หม่ ผา้ ชนั้ เยย่ี มของแควน้
กาสไี ปเสียเลา่
ท่านอุปกะกล่าวว่า เจ้าจักตามเบียดเบียนเราด้วยรูปท่ีตกแต่ง เหมือนอย่าง
พรานนกประสงค์จะตามเบยี ดเบยี นนก ไมไ่ ด้ดอกนะ
ข้าพเจ้ากล่าวว่า ข้าแต่ท่านกาฬะ ผลคือลูกของเรานี้ท่านก็ท�ำให้เกิดมาแล้ว
เพราะเหตไุ รท่านจงึ จะละทงิ้ จาปาซง่ึ มลี ูกไปเสยี เลา่
ทา่ นอปุ กะกลา่ ววา่ เหลา่ ทา่ นผมู้ ปี ญั ญา มคี วามเพยี รมาก ยอ่ มละพวกลกู ๆ
ตอ่ นน้ั กพ็ วกญาติ ตอ่ นนั้ กท็ รพั ย์ พากนั ออกบวช เหมอื นพญาชา้ งตดั เชอื กทผี่ กู ฉะนน้ั
ข้าพเจ้ากล่าวว่า บัดนี้ ข้าจะเอาไม้หรือมีดฟาดลูกคนน้ีของท่านให้ล้มลง
เหนือพ้นื ดิน เพราะความเศร้าโศกถงึ ลกู ทา่ นจะไปไมไ่ ด้แน่
304 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
ทา่ นอปุ กะกลา่ วว่า ดกู อ่ นหญงิ เลว ถึงเจ้าจักโยนลูกใหฝ้ ูงสนุ ขั จ้ิงจอก เจา้ ก็
จกั ทำ� ให้เราหวนกลับมา เพราะลูกเป็นตน้ เหตไุ มไ่ ด้ดอก
ขา้ พเจา้ กลา่ ววา่ ขา้ แตท่ า่ นกาฬะ เอาเถดิ เดย๋ี วนี้ ทา่ นจะไปทไ่ี หน คาม นคิ ม
นครราชธานไี หน
ทา่ นอุปกะกลา่ ววา่ แตก่ อ่ นไดม้ ีพวกคณาจารยไ์ มเ่ ป็นสมณะ ก็ถอื ตัววา่ เปน็
สมณะ จาริกกันไปตามคาม นิคม ชนบท ราชธานี ความจริงท่านผู้หน่ึงนั้น คือ
พระผูม้ พี ระภาคเจา้ ผู้ตรัสรู้ ณ รมิ ฝั่งแม่น้�ำเนรญั ชรา ทรงแสดงธรรมโปรดหมสู่ ตั ว์
เพ่ือละทุกขท์ ั้งปวง เราจะไปเฝ้าพระองค์ พระองค์จะเปน็ ศาสดาของเรา
ข้าพเจ้ากล่าวว่า บัดน้ี ขอท่านจงกราบทูลพระโลกนาถผู้ยอดเยี่ยม ถึงการ
ถวายบงั คมของจาปา และพงึ ทำ� ประทกั ษณิ เวยี นขวา แลว้ อทุ ศิ กศุ ลทกั ษณิ าแกจ่ าปาดว้ ย
ท่านอุปกะกล่าวว่า ข้อท่ีเจ้าพูดแก่เรา เราท�ำได้ บัดนี้ เราจักกราบทูล
พระโลกนาถผยู้ อดเยย่ี ม ถงึ การถวายบงั คมของเจา้ แลว้ เราจกั ทำ� ประทกั ษณิ เวยี นขวา
แลว้ อทุ ศิ กศุ ลทกั ษิณาแก่เจ้าแน่
ตอ่ แตน่ ัน้ ท่านกาฬะก็เดนิ ทางไปใกล้ฝ่ังแมน่ ำ้� เนรัญชรา ได้พบพระพุทธเจา้
ได้พบพระสัมพุทธเจ้าก�ำลังแสดงอมตบท คือทุกข์ เหตุเกิดทุกข์ ความล่วงทุกข์
และอริยมรรคมีองค์ ๘ ที่เข้าไประงับทุกข์ ท่านกาฬะถวายบังคมพระยุคลบาท
ของพระพทุ ธเจา้ พระองคน์ นั้ แลว้ กระทำ� ประทกั ษณิ พระองคแ์ ลว้ อทุ ศิ สว่ นกศุ ลแกจ่ าปา
บวชเปน็ อนาคารกิ ะ ไมม่ เี รอื น วชิ ชา ๓ ขา้ พเจา้ กบ็ รรลแุ ลว้ คำ� สอนของพระพทุ ธเจา้
ก็กระท�ำเสร็จแล้ว
ในคาถาตอนท้ายนี้ก็ประกาศว่า พระจาปาเถรีเองเม่ืออกบวชเป็นภิกษุณี
ปฏิบตั ธิ รรมกไ็ ดบ้ รรลวุ ิชชา ๓ และไดก้ ระทำ� เสร็จกิจคำ� สั่งสอนของพระพทุ ธเจา้ แลว้
สำ� เรจ็ เป็นพระอรหนั ต์
กบั จะแสดงอกี พระสตู รหนง่ึ ทเ่ี กยี่ วเนอ่ื งกนั เรยี กวา่ ฆฏกิ ารสตู ร วา่ ดว้ ยภกิ ษุ
๗ รปู ตัดเคร่อื งผกู
พรรษาที่ ๑๑ 305
ฆฏกิ ารสูตร๑๗
ฆฏิการพรหมกราบทูลว่า ภกิ ษุ ๗ รปู ผู้เขา้ ถึงพรหมโลกชอ่ื ว่า อวหิ า เป็นผู้
หลดุ พ้นแล้ว มีราคะโทสะสนิ้ แล้ว ขา้ มเครื่องเกาะเกี่ยวในโลกได้แลว้
พระผ้มู พี ระภาคเจ้าตรสั ถามวา่ กภ็ ิกษุเหล่านนั้ คอื ผใู้ ดบ้าง ผขู้ า้ มเคร่อื งข้อง
คอื บว่ งของมาร ทขี่ า้ มไดแ้ สนยาก ละกายของมนุษย์แลว้ ก้าวล่วงซง่ึ ทพิ ยโยคะ คือ
เครอื่ งประกอบอนั เป็นทพิ ย์
ฆฏกิ ารพรหมกราบทลู วา่ คอื ทา่ นอปุ กะ ๑ ทา่ นปลคณั ฑะ ๑ ทา่ นปกุ กสุ าติ ๑
รวมเปน็ ๓ ทา่ น ทา่ นภทั ทยิ ะ ๑ ทา่ นขณั ฑเทวะ ๑ ทา่ นพาหทุ ตั ติ ๑ ทา่ นปงิ คยิ ะ ๑
ท่านเหล่านน้ั ลว้ นแตล่ ะกายของมนษุ ย์ ก้าวล่วงทิพยโยคะแลว้
พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ตรสั ถามวา่ ทา่ นเปน็ ผมู้ คี วามฉลาด กลา่ วสรรเสรญิ ภกิ ษุ
เหล่าน้ันผู้ละบ่วงมารได้แล้ว ภิกษุเหล่านั้นเธอรู้ธรรมของใครเล่า จึงตัดเคร่ืองผูกคือ
ภพเสยี ได้
ฆฏิการพรหมกราบทูลว่า ท่านเหล่านั้นตรัสรู้ธรรมของผู้ใด จึงตัดเครื่องผูก
คือภพเสียได้ ผู้น้ันไม่มีอื่นไปจากพระผู้มีพระภาคเจ้า และธรรมนั้นไม่มีอ่ืนไปจาก
คำ� สัง่ สอนของพระองค์ นามและรูปดบั ไมเ่ หลอื ในธรรมใด ท่านเหล่าน้นั ได้รธู้ รรมนนั้
ในพระศาสนาน้ี จึงตัดเครอ่ื งผกู คือภพเสยี ได้
พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ตรสั ถามวา่ ทา่ นกลา่ ววาจาลกึ รไู้ ดย้ าก เขา้ ใจใหด้ ไี ดย้ าก
ท่านรธู้ รรมของใคร จึงกล่าววาจาเชน่ นไ้ี ด้
ฆฏิการพรหมกราบทูลว่า เมื่อก่อนข้าพระองค์เป็นช่างหม้อ ท�ำหม้ออยู่ใน
เวภฬงิ คชนบท ผเู้ ลยี้ งมารดาและบดิ า ไดเ้ ปน็ อบุ าสกของพระกสั สปพทุ ธเจา้ เปน็ ผเู้ วน้
จากเมถุนธรรม เป็นผู้ประพฤติพรหมจรรย์ ไม่เก่ียวด้วยอามิส ด้วยเคยเป็นคนร่วม
บา้ นกบั พระองค์ ทงั้ ไดเ้ คยเปน็ สหายของพระองคใ์ นกาลปางกอ่ น ขา้ พระองคร์ จู้ กั ภกิ ษุ
๗ รปู เหลา่ น้ี ผู้หลุดพ้นแล้ว มีราคะและโทสะสน้ิ แล้ว ผูข้ ้ามเคร่อื งข้องในโลกได้แล้ว
๑๗ สํ. ส. ๑๕/๒๘๗-๒๙๒/๘๕-๘๖.
306 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า แน่ะ นายช่างหม้อ ท่านกล่าวเรื่องอย่างใด
เร่ืองน้ันได้เป็นจริงแล้วเช่นน้ันในกาลนั้น เม่ือก่อนท่านเคยเป็นช่างหม้อ ท�ำหม้ออยู่
ในเวภฬงิ คชนบท เปน็ ผเู้ ลย้ี งมารดาบดิ า เปน็ อบุ าสกของพระกสั สปพทุ ธเจา้ เปน็ ผเู้ วน้
จากเมถนุ ธรรม เปน็ ผปู้ ระพฤตพิ รหมจรรย์ ไมเ่ กยี่ วดว้ ยอามสิ ไดเ้ ปน็ คนเคยรว่ มบา้ น
กันกบั เรา ท้งั ได้เคยเป็นสหายของเราในปางกอ่ น
พระสังคีติกาจารย์กล่าวว่า สหายเก่าท้ัง ๒ ผู้มีตนอันอบรมแล้ว ทรงไว้
ซงึ่ สรีระมใี นท่สี ุด ไดม้ าพบกนั ด้วยอาการอย่างน้ี
จีวรสตู ร๑๘
ในสังยุตตนิกาย นิทานวรรค ว่าด้วยภิกษุสัทธิวิหาริกของพระอานนท์
๓๐ รูปลาสิกขา
สมัยนั้น ท่านพระมหากัสสปะอยู่ ณ พระเวฬุวันกลันทกนิวาปสถาน
กรงุ ราชคฤห์ กส็ มยั นนั้ ทา่ นพระอานนทเ์ ทย่ี วจารกิ ไปในทกั ขณิ าคริ ชิ นบท พรอ้ มดว้ ย
ภกิ ษสุ งฆห์ มใู่ หญ่ กโ็ ดยสมยั นน้ั แล ภกิ ษผุ เู้ ปน็ สทั ธวิ หิ ารกิ ของทา่ นประมาณ ๓๐ รปู
โดยมากยังเป็นเด็กหนมุ่ พากันลาสิกขา เวียนมาเพอ่ื ความเปน็ คฤหัสถ์
ครั้งนั้น ท่านพระอานนท์เที่ยวจาริกไปตามชอบใจในทักขิณาคิริชนบท แล้ว
กลับสู่พระเวฬุวัน กลันทกนิวาปสถาน กรุงราชคฤห์ เข้าไปหาท่านพระมหากัสสปะ
หรอื ทา่ นพระมหากสั สปถงึ ทอี่ ยู่ ครน้ั เขา้ ไปหาแลว้ ไหวพ้ ระมหากสั สปะ นง่ั ณ ทค่ี วร
ส่วนข้างหนึ่ง เมื่อท่านพระอานนท์นั่งเรียบร้อยแล้ว ท่านพระมหากัสสปะได้กล่าว
ปราศรยั กบั ทา่ นพระอานนทว์ า่ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงอาศยั อำ� นาจประโยชนเ์ ทา่ ไรหนอ
จึงทรงบัญญัตติ กิ โภชนะคือการขบฉันหมวด ๓ ในตระกลู เข้าไว้
๑๘ สํ. นิ. ๑๖/๕๑๘-๕๒๗/๒๕๗-๒๖๑.
พรรษาที่ ๑๑ 307
ทา่ นพระอานนทก์ ลา่ ววา่ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงอาศยั อำ� นาจประโยชน์ ๓ ขอ้
จงึ ได้ทรงบัญญัติการขบฉันหมวด ๓ ในตระกลู เข้าไว้ คอื เพื่อข่มคนหน้าด้าน เพ่อื ให้
ภิกษุผู้มีศีลเป็นที่รักอยู่เป็นสุข และเพ่ืออนุเคราะห์ตระกูล โดยเหตุที่พวกมีความ
ปรารถนาลามก อาศัยสมัครพรรคพวกแล้วจะพึงท�ำสงฆ์ให้แตกกันไม่ได้ พระผู้มี-
พระภาคเจ้าทรงอาศัยอ�ำนาจประโยชน์ ๓ ข้อนี้แล จึงทรงบัญญัติติกโภชนะคือ
การขบฉนั หมวด ๓ ในตระกูลเข้าไว้
ท่านพระมหากัสสปะกล่าวว่า เม่ือเป็นเช่นน้ี เธอเที่ยวไปกับภิกษุเหล่านี้
ผไู้ มค่ มุ้ ครองทวารในอนิ ทรยี ท์ ง้ั หลาย ไมร่ จู้ กั ประมาณในโภชนะ ไมป่ ระกอบความเพยี ร
เพอ่ื ประโยชนอ์ ะไรเลา่ เธอมวั แตจ่ ารกิ ไปเหยยี บยำ่� ขา้ วกลา้ มวั แตจ่ ารกิ ไปเบยี ดเบยี น
ตระกูล บริษัทของเธอย่อมลุ่ยหลุดไป สัทธิวิหาริกของเธอซ่ึงโดยมากเป็นผู้ใหม่
ยอ่ มแตกกระจายไป เธอน้ียงั เปน็ เด็ก ไมร่ ้จู กั ประมาณ
ทา่ นพระอานนทก์ ลา่ ววา่ บนศรี ษะของกระผม ผมหงอกแลว้ มใิ ชห่ รอื ถงึ อยา่ ง
นนั้ พวกกระผมกย็ งั ไม่พ้นจากทา่ นพระมหากสั สปะวา่ เปน็ เดก็
ทา่ นพระมหากสั สปะกลา่ ววา่ กเ็ ปน็ จรงิ อยา่ งนน้ั เธอยงั เทยี่ วไปกบั ภกิ ษใุ หม่ ๆ
เหล่าน้ี ผูไ้ มค่ ุ้มครองทวารในอนิ ทรีย์ทง้ั หลาย ไม่รจู้ กั ประมาณในโภชนะ ไมป่ ระกอบ
ความเพียร เธอมัวแต่จาริกไปเหยียบย�่ำข้าวกล้า มัวแต่จาริกไปเบียดเบียนตระกูล
บริษัทของเธอย่อมลุ่ยหลุดไป สัทธิวิหาริกของเธอซึ่งโดยมากเป็นผู้ใหม่ ย่อมแตก
กระจายไป เธอน้ียงั เป็นเดก็ ไม่รจู้ กั ประมาณ
ภิกษุณีถุลลนันทาได้ยินแล้วคิดว่า ทราบว่าพระผู้เป็นเจ้าอานนท์ผู้เป็นมุนี
เปร่ืองปราชญ์ถูกพระผู้เป็นเจ้ามหากัสสปะรุกรานด้วยวาทะว่าเป็นเด็ก ไม่พอใจ
จึงเปล่งวาจาแสดงความไม่พอใจว่า อะไรเล่าพระผู้เป็นเจ้ามหากัสสปะ ผู้เคยเป็น
อญั ญเดยี รถยี ์ จงึ สำ� คญั พระคณุ เจา้ อานนทผ์ เู้ ปน็ มนุ เี ปรอื่ งปราชญว์ า่ ตนควรรกุ รานดว้ ย
วาทะวา่ เปน็ เดก็ ทา่ นพระมหากสั สปะไดย้ นิ ภิกษุณีถลุ ลนันทากล่าววาจานแ้ี ล้ว
คร้ังนั้นแล ท่านพระมหากัสสปะจึงกล่าวกับท่านพระอานนท์ว่า ภิกษุณี
ถลุ ลนนั ทายงั ไมท่ นั พจิ ารณากก็ ลา่ ววาจาพลอ่ ย ๆ เพราะเราเองปลงผมและหนวดนงุ่ หม่
ผา้ กาสาวพสั ตร์ ออกจากเรอื นบวชเปน็ บรรพชติ ไมน่ กึ เลยวา่ เราบวชอทุ ศิ ศาสดาอนื่
308 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
นอกจากพระผมู้ พี ระภาคเจา้ ผเู้ ปน็ พระอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจา้ พระองคน์ น้ั ครง้ั กอ่ น
เมื่อเรายังเป็นคฤหัสถ์เคยคิดว่า ฆราวาสช่างคับแคบ เป็นทางมาแห่งธุลี บรรพชา
ปลอดโปรง่ ผ้อู ยู่ครองเรือนจะประพฤติพรหมจรรย์ ให้บรสิ ุทธบ์ิ รบิ ูรณ์โดยส่วนเดียว
ประดจุ สงั ขข์ ดั ไมใ่ ชท่ ำ� ไดง้ า่ ยนกั ทางทดี่ เี ราควรปลงผมและหนวด นงุ่ หม่ ผา้ กาสาวพสั ตร์
ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต สมัยต่อมา เราท�ำผ้าสังฆาฏิแห่งผ้าที่เก่า ปลงผม
และหนวด นงุ่ ห่มผ้ากาสาวพสั ตร์ ออกจากเรือนบวชเปน็ บรรพชิต อทุ ิศเฉพาะท่านผู้
เปน็ พระอรหนั ตใ์ นโลก เมอ่ื บวชแลว้ ยงั เดนิ ไปสน้ิ ระยะทางไกล ไดพ้ บพระผมู้ พี ระภาคเจา้
ระหวา่ งเมืองราชคฤหก์ ับบา้ นนาลนั ทคาม ก�ำลังประทับอยู่ ณ พหปุ ตุ ตเจดีย์ พอเรา
พบเข้าก็ร�ำพงึ อยวู่ ่า เราพบพระศาสดา กเ็ ปน็ อันพบพระผู้มีพระภาคเจ้าดว้ ย เราพบ
พระสคุ ต กเ็ ปน็ อนั พบพระผมู้ พี ระภาคเจา้ ดว้ ย เราพบพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ กเ็ ปน็ อนั
พบพระผู้มีพระภาคเจ้าด้วย เราน้ันจึงซบเศียรเกล้าลงแทบพระบาทของพระผู้มี-
พระภาคเจา้ ณ ทน่ี นั้ เอง ไดก้ ราบทลู กบั พระผมู้ พี ระภาคเจา้ วา่ ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ
พระผมู้ พี ระภาคเจา้ เปน็ พระศาสดาของขา้ พระองค์ ขา้ พระองคเ์ ปน็ สาวกขา้ แตพ่ ระองค์
ผู้เจริญ พระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นพระศาสดาของข้าพระองค์ ข้าพระองค์เป็นสาวก
ดั่งน้ี
เมอ่ื เรากราบทลู อยา่ งนแ้ี ลว้ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ไดต้ รสั กบั เราวา่ ดกู อ่ นกสั สปะ
ผใู้ ดเลา่ ยงั ไมร่ ถู้ งึ สาวกผปู้ ระมวลมาดว้ ยจติ ทง้ั หมดอยา่ งนแ้ี ลว้ จะพงึ พดู วา่ รู้ ยงั ไมเ่ หน็ เลย
จะพึงพูดว่าเห็น ศีรษะของบุคคลน้ันพึงแตก ดูก่อนกัสสปะ แต่เรารู้อยู่ จึงพูดว่ารู้
เหน็ อยู่ จงึ พดู วา่ เหน็ เพราะเหตนุ น้ั แหละ กสั สปะ เธอพงึ ศกึ ษาอยา่ งนว้ี า่ เราจกั เขา้ ไป
ตงั้ หริ ิ ความละอายใจ โอตตปั ปะ ความเกรงกลวั อยา่ งแรงกลา้ ในภกิ ษทุ งั้ หลายผเู้ ปน็
เถระ ผู้นวกะ ผู้มัชฌิมะ เราจักฟังธรรม อย่างใดอย่างหน่ึงซึ่งประกอบด้วยกุศล
จกั กระท�ำธรรมนั้นท้งั หมดให้เกดิ ประโยชน์ ใส่ใจถึงธรรมนั้นท้ังหมด จักประมวลดว้ ย
จติ ทง้ั หมด เงยี่ โสตสดบั พระธรรม เราจกั ไมล่ ะกายคตาสติ สตไิ ปในกาย ทสี่ หรคตดว้ ย
ความสุขส�ำราญ ดูก่อนกัสสปะ เธอพึงศึกษาอย่างนี้แหละ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรง
โอวาทเราด้วยพระโอวาทนี้ เสดจ็ ลุกจากอาสนะแล้ว ทรงหลกี ไป เราเป็นหน้บี รโิ ภค
กอ้ นขา้ วของราษฎรถงึ ๑ สปั ดาห์ วันท่ี ๘ อรหัตตผลจึงปรากฏขึน้ คราวน้นั พระผูม้ ี
พระภาคเจ้าเสด็จหลีกจากหนทาง ตรงไปยังโคนไม้แห่งหน่ึง เราจึงเอาผ้าสังฆาฏิ
พรรษาท่ี ๑๑ 309
แหง่ ผา้ ทเี่ กา่ ปเู ปน็ ๔ ชน้ั ถวาย แลว้ กราบทลู พระผมู้ พี ระภาคเจา้ วา่ ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ
ขอพระผมู้ พี ระภาคเจา้ ประทบั นง่ั บนผา้ ผนื นี้ เพอ่ื ประโยชนแ์ ละความสขุ แกข่ า้ พระองค์
ตลอดกาลนาน พระผมู้ พี ระภาคเจา้ กป็ ระทบั นงั่ บนอาสนะทจ่ี ดั ถวาย ครนั้ ประทบั นง่ั แลว้
พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ไดต้ รสั กบั เราวา่ กสั สปะ ผา้ สงั ฆาฏแิ หง่ ผา้ ทเ่ี กา่ ของเธอผนื นอี้ อ่ นนมุ่
เราก็กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอพระผู้มีพระภาคเจ้า ได้โปรดอนุเคราะห์
ทรงรับผ้าสังฆาฏิแห่งผ้าที่เก่าของข้าพระองค์เถิด พระองค์ตรัสว่า ดูก่อนกัสสปะ
เธอจกั ครองผา้ บังสกุ ลุ ทีท่ ำ� ดว้ ยผา้ ป่านซึ่งยังใหม่หรือ เรากก็ ราบทลู ว่า ขา้ แต่พระองค์
ผูเ้ จรญิ ขา้ พระองคจ์ กั ครองผา้ บงั สกุ ลุ ทที่ ำ� ดว้ ยผา้ ปา่ นซงึ่ ยงั ใหมข่ องพระผมู้ พี ระภาคเจา้
ด่งั นี้
เราได้มอบถวายผ้าสังฆาฏิแห่งผ้าที่เก่าแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า และได้รับผ้า
บังสุกุลท่ีท�ำด้วยผ้าป่านซึ่งยังใหม่ของพระผู้มีพระภาคเจ้า ดูก่อนอาวุโส ก็เม่ือบุคคล
จะพดู ใหถ้ กู พงึ พดู ถงึ ผใู้ ดวา่ บตุ รผเู้ กดิ แตอ่ ก เกดิ แตพ่ ระโอษฐ์ ของพระผมู้ พี ระภาคเจา้
เกดิ แต่พระธรรม อนั ธรรมนริ มิตแล้ว เปน็ ธรรมทายาท จงึ รบั ผา้ บงั สุกลุ ซ่ึงท�ำด้วยผา้
ป่านซึ่งยังใหม่ เมื่อเขาจะพูดให้ถูก พึงพูดถึงผู้นั้นคือเราว่าบุตรผู้เกิดแต่อก เกิดแต่
พระโอษฐ์ ของพระผู้มีพระภาคเจา้ เกดิ แตพ่ ระธรรม อนั ธรรมนิรมิตแลว้ เป็นธรรม
ทายาท รบั ผ้าบงั สุกุลซงึ่ ท�ำด้วยผา้ ปา่ นซึง่ ยงั ใหม่
เราหวงั สงดั จากกาม สงดั จากอกศุ ลธรรม แลว้ เขา้ ถงึ ปฐมฌาน มวี ติ ก มวี จิ าร
มีปติ ิและสขุ อนั เกดิ แต่วิเวกอยู่ ตราบเทา่ ทเ่ี ราหวงั ฯลฯ
ท่านพระมหากสั สปะได้กลา่ วต่อไปจนจบ อนุปพุ พวิหาร ๙ และอภญิ ญา ๕
เราทำ� ใหแ้ จง้ ซ่งึ เจโตวิมตุ ติ ปัญญาวิมตุ ตอิ นั หาอาสวะมไิ ด้ เพราะอาสวะส้ิน
ไป ด้วยปัญญาอันรู้ยิ่งเองในทิฏฐธรรม เข้าถึงอยู่ ผู้ใดส�ำคัญเราว่า ควรปกปิดด้วย
อภญิ ญา ๖ ผนู้ นั้ กค็ วรสำ� คญั ชา้ ง ๘ ศอกหรอื ๗ ศอกครง่ึ วา่ จะพงึ ปกปดิ ดว้ ยใบตาลได้
กแ็ ลภิกษุณีถุลลนนั ทาเคลอ่ื นจากพรหมจรรย์เสยี แลว้
อรรถกถาแหง่ จวี รสตู รนี้ ไดแ้ สดงอธิบายว่า
310 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
บทว่า ในทักขิณาคิริ ความว่า ชนบทภาคทักษิณของภูเขาเป็นเทือกล้อม
กรุงราชคฤหช์ อ่ื ว่า ทกั ขิณาคริ ิ อธบิ ายว่า เทย่ี วจาริกไปในทักขณิ าคิรชิ นบทนนั้ ช่อื วา่
จารกิ มี ๒ อยา่ ง คอื รบี ไป ๑ ไมร่ บี ไป ๑ ในจารกิ เหลา่ นน้ั ภกิ ษบุ างรปู นงุ่ ผา้ กาสายะ
ผนื หนง่ึ หม่ ผนื หนง่ึ ตลอดเวลา คลอ้ งบาตรและจวี รทบ่ี า่ ถอื รม่ วนั หนง่ึ เดนิ ไปได้ ๗-๘
โยชน์ มีเหงื่อไหลทว่ มตวั กห็ รอื วา่ พระพุทธเจ้าทรงเห็นสตั วพ์ ึงตรัสรไู้ ร ๆ ขณะเดียว
เสดจ็ ไปไดร้ ้อยโยชนบ์ ้าง พันโยชน์บา้ งอย่างนี้ช่อื วา่ รีบไป กท็ ุกวนั ทพ่ี ระพุทธเจา้ รับ
นมิ นตเ์ พอื่ ฉนั ในวนั นี้ เสดจ็ ไปทำ� การสงเคราะหค์ นมปี ระมาณเทา่ นใี้ นระยะทางคาวตุ หนงึ่
กง่ึ โยชน์ สามคาวุต หนึง่ โยชน์ น้ชี อื่ ว่า ไม่รีบไป ในทนี่ ี้ประสงคจ์ าริกนี้
พระเถระคอื ทา่ นพระอานนทเถระ ไดอ้ ยเู่ บอื้ งพระปฤษฎางคพ์ ระทศพล ตลอด
๒๕ ปีดุจเงามิใช่หรือ ท่านไม่ให้โอกาสแก่พระด�ำรัสเพ่ือตรัสถามว่า อานนท์ไปไหน
ทา่ นไดโ้ อกาสเทย่ี วจารกิ ไปกบั ภกิ ษสุ งฆใ์ นกาลไหน ในปพี ระศาสดาปรนิ พิ พาน ไดย้ นิ วา่
เม่ือพระศาสดาปรินิพพานแล้ว พระมหากัสสปเถระน่ังในท่ามกลางพระภิกษุสงฆ์
ประชมุ พรอ้ มกนั ในการปรนิ พิ พานของพระศาสดา เลอื กภกิ ษุ ๕๐๐ รปู เพอ่ื ทำ� สงั คายนา
พระธรรมวินัย กล่าวว่า ก็ท่านผู้มีอายุท้ังหลาย เราทั้งหลายจักอยู่จ�ำพรรษาใน
กรุงราชคฤห์ สังคายนาพระธรรมวินัย ท่านท้ังหลายก่อนเข้าพรรษา จงตัดปลิโพธ
สว่ นตวั เสยี แลว้ ประชมุ พรอ้ มกนั ในกรุงราชคฤหเ์ ถิด ก็ไปยังกรงุ ราชคฤหด์ ้วยตนเอง
พระอานนทเถระถือบาตรและจีวรของพระผู้มีพระภาคเจ้าปลอบมหาชน
ไปยงั กรงุ สาวตั ถี ออกจากกรงุ สาวตั ถนี นั้ ไปยงั กรงุ ราชคฤห์ เทย่ี วจารกิ ไปในทกั ขณิ า-
คริ ิชนบท น้ีท่านกล่าวหมายถึงข้อน้ัน
บททีว่ ่า เป็นเด็กโดยมาก ความว่า ภกิ ษเุ หลา่ นนั้ ใด ชื่อวา่ เวยี นมาเพอื่ ความ
เป็นคฤหัสถ์ ภิกษุเหล่านั้นโดยมากเป็นเด็กหนุ่มยังอ่อน คือเป็นภิกษุพรรษาเดียว
สองพรรษา และเปน็ สามเณร ถามว่า ก็เพราะเหตไุ ร เด็กเหล่าน้นั จึงบวช เพราะเหตุ
อะไรจึงเวียนมาเพือ่ ความเป็นคฤหัสถ์ ตอบว่า ไดย้ ินว่า มารดาบดิ าของเด็กน้ันคดิ วา่
พระอานนทเถระเป็นผู้คุ้นเคยกับพระศาสดา ทูลขอพร ๘ ประการแล้วจึงอุปัฏฐาก
ท้ังสามารถเพ่ือจะพาเอาพระศาสดาไปยังสถานท่ีที่ตนปรารถนาและตนปรารถนาได้
เราทงั้ หลายจึงให้พวกเด็กของพวกเราบวชในส�ำนกั ของพระอานนท์น้ัน พระอานนท์
พรรษาท่ี ๑๑ 311
กจ็ กั พาพระศาสดามา เมอ่ื พระศาสดามาแลว้ เราทงั้ หลายจกั ไดท้ ำ� สกั การะเปน็ อนั มาก
ดง่ั นี้ พวกญาตขิ องเดก็ เหลา่ นน้ั จงึ ใหเ้ ดก็ เหลา่ นนั้ บวชดว้ ยเหตนุ กี้ อ่ น แตเ่ มอื่ พระศาสดา
ปรนิ ิพพาน ความปรารถนาของคนเหล่าน้นั ก็หมดไป เม่ือเป็นด่ังน้ี จงึ ให้เดก็ เหลา่ นั้น
สกึ แลว้ ในวันเดียวเท่านั้น
บทว่า ตามความชอบใจ ก็ไดแ้ ก่ ตามชอบใจคือตามอัธยาศยั
บทว่า บญั ญัติโภชนะหมวด ๓ ท่านกลา่ วถงึ บทนว้ี ่า เป็นปาจิตตียใ์ นเพราะ
คณโภชน์ เว้นไวแ้ ต่สมยั ดง่ั น้ี ก็ภิกษุ ๓ รูปพอใจแมร้ บั นมิ นตเ์ ปน็ อกัปปยิ ะร่วมกัน
เปน็ อนาบัติในคณโภชน์นั้น เพราะฉะน้ัน ท่านจงึ กล่าววา่ โภชนะหมวด ๓
ขอ้ ว่า เพื่อขม่ คนหนา้ ด้าน ไดแ้ ก่ เพ่ือขม่ คนทศุ ลี
บทว่า เพื่อให้ภิกษุผู้มีศีลเป็นท่ีรักอยู่เป็นสุข ความว่า อุโบสถและปวารณา
ยอ่ มเปน็ ไปเพอื่ ภกิ ษผุ มู้ ศี ลี เปน็ ทร่ี กั ดว้ ยการขม่ คนหนา้ ดา้ นนนั้ เอง การอยพู่ รอ้ มเพรยี ง
กนั ยอ่ มมี นเี้ ปน็ ผาสวุ หิ ารคอื อยเู่ ปน็ สขุ ของเปสลภกิ ษคุ อื ภกิ ษผุ มู้ ศี ลี เปน็ ทร่ี กั เหลา่ นน้ั
เพอ่ื ประโยชน์แก่การอยู่เป็นสุขนี้
เทวทตั ออกปากขอในตระกลู ดว้ ยตนเอง บรโิ ภคอยู่ อาศยั พวกภกิ ษผุ ปู้ รารถนา
ลามก ท�ำลายสงฆ์ฉันใด ภิกษุผู้ปรารถนาลามกเหล่าอ่ืน ออกปากขอในตระกูลโดย
เป็นคณะบรโิ ภคอยคู่ ือบริโภคเปน็ หมู่ ทำ� คณะให้ใหญ่ขึน้ แลว้ อาศยั พรรคพวกนั้นพึง
ท�ำลายสงฆไ์ ด้ ฉันนัน้ ดังนี้ จึงทรงบัญญัตไิ ว้ดว้ ยเหตนุ ีแ้ ล
เมอ่ื ภกิ ษสุ งฆท์ ำ� อโุ บสถและปวารณาแลว้ อยพู่ รอ้ มเพรยี งกนั พวกมนษุ ยถ์ วาย
สลากภัตเปน็ ต้น ย่อมเป็นผมู้ สี วรรคเ์ ปน็ เบอื้ งหน้า อธบิ ายวา่ และทรงบญั ญัติไว้เพ่ือ
อนุเคราะหต์ ระกลู ด้วยประการฉะน้ี
เธอเที่ยวไปเหมือนเหยียบย่�ำข้าวกล้า เธอเที่ยวไปเหมือนท�ำลายเบียดเบียน
ตระกลู เปน็ อธิบายของค�ำที่ว่า เทยี่ วเหยยี บย�ำ่ ขา้ วกล้า เท่ยี วเบยี ดเบยี นตระกลู
ภกิ ษเุ หลา่ นนั้ โดยมากคอื สว่ นมากของทา่ นเปน็ ผใู้ หม่ เปน็ หนมุ่ มพี รรษาเดยี ว
หรือ ๒ พรรษา และเป็นสามเณรดังกลา่ ว หลุดหายคอื กระจายไป
312 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
พระเถระเมอื่ กลา่ วขพู่ ระเถระ คอื พระมหากสั สปะเมอ่ื กลา่ วขพู่ ระอานนทเถระ
วา่ เดก็ นไ้ี มร่ จู้ กั ประมาณตน ทา่ นพระอานนทจ์ งึ กลา่ ววา่ พวกเรายงั ไมพ่ น้ วาทะวา่ เปน็ เดก็
ท่านพระมหากัสสปะกล่าวเพ่ือแสดงเหตุ เพราะท่านพระอานนทเถระนี้พึงถูกกล่าว
อย่างนี้ ในข้อน้ีมีความประสงค์ดังนี้ว่า เพราะท่านเที่ยวไปกับภิกษุใหม่เหล่าน้ี
ผ้ไู ม่ส�ำรวมอินทรยี ์ ฉะนน้ั ทา่ นเทีย่ วไปกับพวกเด็ก จึงควรถูกเขากลา่ ววา่ เปน็ เดก็
ขอ้ ทว่ี า่ นางภกิ ษณุ รี ปู นน้ั ไดก้ ลา่ วกบั ทา่ นพระมหากสั สปะวา่ เคยเปน็ เดยี รถยี ์
ฝ่ายอื่นมาก่อน ก็เพราะอาจารย์อุปัชฌาย์ของพระเถระไม่ปรากฏในศาสนาน้ีเลย
ตนถอื เอาผา้ กาสายะแลว้ ออกบวช ฉะนนั้ ภกิ ษณุ ถี ลุ ลนนั ทากลา่ วบอกถงึ พระมหากสั สปะ
เคยเป็นอัญญเดียรถีย์คือเดียรถีย์ในศาสนาอื่นจากพุทธศาสนามาก่อน เพราะความ
ไมพ่ อใจ
ทกี่ ลา่ ววา่ กลา่ วโดยไมค่ ดิ กค็ อื แมผ้ ปู้ ระพฤตดิ ว้ ยราคะและโมหะคอื ไมท่ นั
ตรกึ แตบ่ ทนท้ี า่ นกลา่ วดว้ ยอำ� นาจความประพฤตดิ ว้ ยโทสะ คอื ทนี่ างกลุ ลนนั ทาภกิ ษณุ ี
น้นั กล่าวดว้ ยอำ� นาจของโทสะ คอื ยังไมท่ นั พิจารณา
บัดน้ี พระมหากัสสปเถระ เมื่อยังบรรพชาของตนให้บริสุทธิ์ จึงกล่าวค�ำ
เปน็ ตน้ ว่า จำ� เดิมแต่บวชแลว้ ในบทเหลา่ น้ัน บทวา่ เพื่ออทุ ิศศาสดาอ่นื หมายความ
วา่ เราไม่นกึ เพ่อื อทุ ิศอยา่ งนีว้ า่ เว้นพระผ้มู ีพระภาคเจ้า คนอน่ื จะเป็นครขู องเรา
ในบทเปน็ ต้นวา่ ฆราวาสเปน็ ท่คี ับแคบ ความว่า แมห้ ากวา่ สามีและภรรยา
ทงั้ ๒ ยอ่ มอยใู่ นเรอื นกวา้ ง ๖๐ ศอก หรอื แมใ้ นระหวา่ งรอ้ ยโยชน์ การอยคู่ รองเรอื น
ของสามภี รรยาเหลา่ น้ัน ก็ช่อื ว่าคับแคบอยูน่ ัน่ เอง เพราะอรรถวา่ มกี เิ ลสเคร่อื งกังวล
คือหว่ งใย
ประวัตทิ า่ นพระมหากสั สปะ
ในอรรถกถาจวี รสตู ร กัสสปสังยตุ สงั ยุตตนิกาย นิทานวรรค ไดเ้ ล่าประวัติ
ของท่านพระมหากัสสปเถระต้ังแต่ต้น เมื่อท่านเป็นมาณพชื่อว่า ปิปผลิมาณพ
ตามอรรถกถานไ้ี ดเ้ ลา่ ไวว้ า่ ปปิ ผลมิ าณพนเ้ี กดิ ในทอ้ งของอคั รมเหสขี องกบลิ พราหมณ์
พรรษาที่ ๑๑ 313
ในบ้านพราหมณ์มหาดิตถ์ แคว้นมคธ ส่วนภรรยาคือนางภัททกาปิลานี เกิดในท้อง
ของอคั รมเหสขี องพราหมณโ์ กสยิ โคตร ในสาคลนคร แควน้ มคธ เมอื่ เขาเจรญิ วยั โดย
ลำ� ดบั ปปิ ผลมิ าณพอายุ ๒๐ นางภทั ทาอายุ ๑๖ มารดาบดิ าแลดบู ตุ ร คาดคน้ั เหลอื -
เกินวา่ ลกู เอ๋ย ลกู เติบโตแล้ว ควรด�ำรงวงศต์ ระกูล มาณพกล่าววา่ คุณพ่อคุณแม่
อย่าพูดถ้อยค�ำเช่นนี้ให้เข้าหูลูกเลย ลูกจะปรนนิบัติตราบเท่าที่คุณพ่อคุณแม่ด�ำรงอยู่
ลกู จกั ออกบวชภายหลงั คณุ พอ่ คณุ แมส่ น้ิ แลว้ ลว่ งไปอกี เลก็ นอ้ ย มารดาบดิ า กพ็ ดู อกี
แมม้ าณพกป็ ฏิเสธเหมือนอย่างเดิม ตัง้ แต่น้นั มามารดาก็ยังพดู อยู่ไม่ขาดเลย มาณพ
คิดว่า เราจักให้มารดายินยอมเรา จึงให้ทองสีแดงพันลิ่ม ให้ช่างทองหล่อรูปหญิง
คนหนง่ึ เมอ่ื สำ� เรจ็ การขดั สรี ปู หญงิ นน้ั จงึ ใหน้ งุ่ ผา้ แดง ใหป้ ระดบั ดว้ ยดอกไม้ สมบรู ณ์
ด้วยสี และด้วยเคร่ืองประดับต่าง ๆ แล้วเรียกมารดามาบอกว่า แม่จ๋า ลูกเม่ือได้
อารมณ์เห็นปานน้ี จักด�ำรงอยู่ในเรือน เม่ือไม่ได้จักไม่ด�ำรงอยู่ พราหมณีเป็นหญิง
ฉลาดคดิ วา่ ลกู ของเรามบี ญุ ให้ทาน สร้างสมความดี เมอ่ื ทำ� บญุ มไิ ด้ทำ� เพยี งผเู้ ดยี ว
เท่าน้ัน จักมีหญิงที่ท�ำบุญไว้มาก มีรูปเปรียบรูปทองเช่นรูปหญิงนี้แน่นอน จึงเรียก
พราหมณ์ ๘ คนมา ให้อม่ิ หน�ำส�ำราญด้วยความใคร่ทกุ ชนิด ให้ยกรูปทองขึน้ ใส่รถ
แล้วสั่งว่าไปเถิด พวกท่านจงค้นหาทาริกาเห็นปานน้ีในตระกูลที่เสมอด้วยชาติโคตร
และโภคะของเรา พวกท่านจงให้รูปทองนเ้ี ปน็ ของหมั้นหมาย พราหมณเ์ หล่านนั้ ออก
ไปด้วยคิดว่า น้ีเป็นงานของพวกเรา แล้วคิดต่อไปว่า เราจักไปท่ีไหน รู้ว่าแหล่งเกิด
ของหญิงงามมีอยู่ในมัททรัฐ เราจักไปมัททรัฐ จึงพากันไปสาคลนครในมัททรัฐ
พวกพราหมณ์ตัง้ รปู ทองนั้นไวท้ ท่ี า่ นำ�้ แลว้ พากนั ไปนงั่ ณ ท่คี วรสว่ นขา้ งหนึง่
ครัง้ นัน้ พีเ่ ล้ยี งของนางภัททา ให้นางภัททาอาบนำ้� แตง่ ตัวแลว้ ให้น่งั ในหอ้ ง
อนั เปน็ สริ ิ แลว้ มาอาบนำ�้ ครน้ั เหน็ รปู นน้ั จงึ คกุ คามดว้ ยสำ� คญั วา่ ลกู สาวนายของเรา
มาอยใู่ นทนี่ ้ี กลา่ ววา่ คนหวั ดอื้ เจา้ มาทน่ี ท้ี ำ� ไม เงอ้ื หอกคอื ฝา่ มอื ตบนางภทั ทาทส่ี ขี า้ ง
กล่าวว่า จงรีบไปเสีย มือสะท้านเหมือนกระทบท่ีหิน พ่ีเล้ียงหลีกไปแล้วกล่าวว่า
รูปนี้กระด้างอย่างน้ี เราเห็นแล้วนึกว่า ลูกสาวนายของเรา ท่ีแท้รูปน้ีแม้จะเป็นผู้ถือ
ผา้ นุ่งใหล้ ูกสาวนายของเรากย็ ังไม่คู่ควร
ลำ� ดบั นนั้ พวกคนลอ้ มพเี่ ลยี้ งนน้ั แลว้ พากนั ถามวา่ ลกู สาวนายของทา่ น มรี ปู
อยา่ งนหี้ รอื นางกลา่ ววา่ อะไรกนั แมห่ ญงิ ของเรามรี ปู งามกวา่ หญงิ นตี้ ง้ั รอ้ ยเทา่ พนั เทา่
314 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
เม่ือนางนั่งอยู่ในห้องประมาณ ๑๒ ศอก ไม่ต้องตามประทีป เพียงความสว่าง
ของร่างกายเท่าน้ันก็ก�ำจัดความมืดได้ พวกมนุษย์กล่าวว่า ถ้าเช่นน้ันท่านจงมา
พาหญิงค่อมนั้นไป ให้ยกรูปทองไว้ในรถ ตั้งไว้ท่ีประตูเรือนของพราหมณ์โกสิยโคตร
ประกาศให้รู้ว่ามา พราหมณ์ทำ� ปฏสิ นั ถารแลว้ ถามวา่ พวกท่านมาแต่ไหน พวกมนษุ ย์
กล่าวว่า พวกเรามาแต่เรือนของกบิลพราหมณ์ ณ บ้านมหาดิตถ์ ในแคว้นมคธ
ด้วยเหตุชื่อนี้ พราหมณ์กล่าวว่า ดีแล้วพ่อคุณพราหมณ์ของพวกเรามีชาติโคตรและ
สมบตั เิ สมอกนั เราจักให้นางทาริกา แล้วรับบรรณาการไว้ พราหมณ์เหลา่ น้ันสง่ ข่าว
ใหก้ บิลพราหมณ์ทราบว่า ได้นางทารกิ าแลว้ โปรดทำ� สงิ่ ที่ควรท�ำเถดิ มารดาบดิ าฟงั
ขา่ วนนั้ แลว้ จงึ บอกแกป่ ปิ ผลมิ าณพวา่ ขา่ ววา่ ไดน้ างทารกิ าแลว้ มาณพคดิ วา่ เราคดิ วา่
เราจกั ไมไ่ ด้ กม็ ารดาบดิ ากลา่ ววา่ ไดแ้ ลว้ เราไมต่ อ้ งการ จกั สง่ หนงั สอื ไป จงึ ไปในทลี่ บั
เขียนหนังสือว่าแม่ภัททา จงครองเรือนตามสมควรแก่ชาติโคตรและโภคะของตนเถิด
เราจกั ออกบวช ทา่ นอยา่ ไดม้ คี วามรอ้ นใจในภายหลงั เลย แมน้ างภทั ทากส็ ดบั วา่ มารดา
บดิ าประสงคจ์ ะยกเราใหแ้ กผ่ โู้ นน้ จงึ ไปในทลี่ บั เขยี นหนงั สอื วา่ บตุ รผเู้ จรญิ จงครอง
เรอื นตามสมควรแกช่ าตโิ คตรและโภคะของตนเถิด เราจักบวช ท่านอย่าไดเ้ ดือดรอ้ น
ในภายหลงั เลย หนงั สอื แมท้ งั้ ๒ ไดม้ าถงึ พรอ้ มกนั ในระหวา่ งทาง ชนทงั้ หลายถามวา่
น้ีหนังสือของใคร ตอบว่า ปิปผลิมาณพส่งให้นางภัททา ถามว่า น้ีหนังสือของใคร
ตอบว่า นางภัททาส่งให้ปิปผลิมาณพ ทั้ง ๒ ฝ่ายก็ได้พูดข้ึนว่า พวกท่านจงดูการ
กระทำ� ของพวกทารกเถดิ จงึ เปดิ ดแู ลว้ ทงิ้ เสยี ในปา่ เขยี นหนงั สอื มคี วามเหมอื นกนั สง่ ไป
ทงั้ ขา้ งนแ้ี ละขา้ งโนน้ เมอื่ คนทงั้ ๒ ไมป่ รารถนาเหมอื นกนั นนั่ แหละ กไ็ ดม้ กี ารอยรู่ ว่ มกนั
กใ็ นวนั นนั้ เอง มาณพกใ็ หร้ อ้ ยพวงดอกไมพ้ วงหนงึ่ แมน้ างภทั ทากใ็ หร้ อ้ ยพวงหนง่ึ
แม้คนทง้ั ๒ บริโภคอาหารในเวลาเยน็ แล้ว จึงวางพวงดอกไม้เหล่านนั้ ไวก้ ลางท่นี อน
คดิ วา่ เราทงั้ ๒ จกั เขา้ นอน มาณพนอนขา้ งขวา นางภทั ทานอนขา้ งซา้ ย คนทง้ั ๒ นน้ั
เพราะกลัวการถูกต้องร่างกายกันและกัน จึงนอนไม่หลับจนล่วงไปตลอด ๓ ยาม
แม้เพียงหวั เราะกนั ในเวลากลางวันก็ไมม่ ี คนท้งั ๒ มิได้ร่วมกันดว้ ยโลกามสิ เขาทง้ั
๒ มไิ ดส้ นใจสมบตั ติ ลอดเวลาทมี่ ารดาบดิ ายงั มชี วี ติ อยู่ เมอ่ื มารดาบดิ าถงึ แกก่ รรมแลว้
จึงสนใจ มาณพมีสมบัติมาก ในวันหนึ่ง ควรได้ผงทองค�ำที่ขัดสีร่างกายแล้วทิ้งไว้
พรรษาที่ ๑๑ 315
ประมาณ ๑๒ ทะนานโดยทะนานของชาวมคธ มสี ระใหญต่ ดิ เคร่อื งยนต์ ๖๐ แหง่
มพี น้ื ทท่ี ำ� การงาน ๑๒ โยชน์ มบี า้ นทาส ๑๔ แหง่ เทา่ อนรุ าธบรุ ี มชี า้ งสกึ ๑๔ เชอื ก
รถ ๑๔ คัน วันหน่ึงมาณพขี่ม้าท่ีตกแต่งแล้ว มีมหาชนแวดล้อมไปยังพื้นที่การงาน
ยืนในที่สุดเขต เห็นนกมีกาเป็นต้นจิกสัตว์มีไส้เดือนเป็นต้นกินจากท่ีถูกไถพลิกขึ้น
จึงถามว่า นกเหล่าน้ีกินอะไร ตอบว่า กินไส้เดือนจ้ะนาย ถามว่า บาปที่นกเหล่านี้
ทำ� จะมแี กใ่ คร ตอบวา่ แกพ่ วกทา่ นจะ้ นาย มาณพคดิ วา่ บาปทน่ี กเหลา่ นที้ ำ� จะมแี กเ่ รา
ทรพั ย์ ๘๗ โกฏจิ ะทำ� อะไรเราได้ พนื้ ทก่ี ารงานประมาณ ๑๒ โยชนจ์ กั ทำ� อะไรได้ สระ
ตดิ เคร่อื งยนต์ ๖๐ สระหมบู่ า้ น ๑๔ หมู่ จกั ท�ำอะไรได้ เราจักมอบสมบตั ิทั้งหมดให้
แก่นางภทั ทา แล้วออกบวช
ในขณะนนั้ แม้นางภัททกาปิลานี กใ็ ห้เทหม้องา ๓ หมอ้ ลงในระหวา่ งพนื้ ที่
พวกพ่ีเล้ียงนั่งล้อม เห็นกากินสัตว์ที่กินงา จึงถามว่า กาเหล่าน้ีกินอะไรแม่ ตอบว่า
กนิ สตั วจ์ ะ้ แมน่ าย ถามวา่ อกศุ ลจะมแี กใ่ คร ตอบวา่ จะมแี กท่ า่ นจะ้ แมน่ าย นางคดิ วา่
เราควรได้ผ้าประมาณ ๔ ศอก และข้าวสุกประมาณทะนานหน่ึง ก็ผิว่าอกุศลที่ชน
ประมาณเท่าน้ีท�ำจะมีแก่เรา แต่เราไม่สามารถจะยกศีรษะขึ้นได้จากวัฏฏะต้ังพันภพ
พอเมอ่ื อยั ยบตุ ร (มาณพ) มาถึง เราจกั มอบสมบัติทั้งหมดแกเ่ ขา แลว้ ออกบวช
มาณพมาอาบน้�ำแล้ว ข้ึนสู่ปราสาท นั่ง ณ บัลลังก์มีค่ามาก ล�ำดับน้ัน
ชนทง้ั หลายจดั โภชนะอนั สมควรแกจ่ กั รพรรดใิ หแ้ กเ่ ขา ทงั้ ๒ บรโิ ภคแลว้ เมอ่ื บรวิ ารชน
ออกไปแลว้ จงึ ไปนง่ั ในทพ่ี ดู เรอ่ื งลบั กนั ไดส้ ะดวก แตน่ น้ั มาณพกลา่ วกบั นางภทั ทาวา่
ดกู อ่ นแมภ่ ทั ทา ทา่ นมาสเู่ รอื นนน้ี ำ� ทรพั ยม์ าเทา่ ไหร่ นางตอบวา่ ๕๕,๐๐๐ เกวยี นจะ้
นาย มาณพกลา่ วว่า ทรัพย์ ๘๗ โกฏแิ ละสมบตั มิ สี ระติดเครอื่ งยนต์ ๖๐ สระ มอี ยู่
ในเรอื นนี้ ทง้ั หมดเรามอบใหแ้ กท่ า่ นผเู้ ดยี ว นางถามวา่ กท็ า่ นเลา่ นาย ตอบวา่ เราจกั บวช
นางกลา่ ววา่ แมฉ้ ันนงั่ มองดูการมาของท่าน ฉนั กจ็ กั บวชจะ้ นาย ภพทง้ั ๓ เหมือน
บรรณกฎุ ที ถี่ กู ไฟไหม้ ทง้ั ๒ คนกลา่ ววา่ เราจกั บวชละ จงึ ใหน้ ำ� ผา้ เหลอื งยอ้ มดว้ ยนำ้�
ฝาดและบาตรดินเหนียวมาจากภายในตลาด ปลงผมให้กันและกัน บวชด้วยตั้งใจว่า
บรรพชาของพวกเราอทุ ศิ พระอรหนั ตใ์ นโลก เอาบาตรใสถ่ ลกคลอ้ งบา่ ลงจากปราสาท
บรรดาทาสและกรรมกรในเรือนไมม่ ีใครรู้เลย
316 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
ครั้งน้ัน ชาวบ้านทาสจ�ำเขาซ่ึงออกจากบ้านพราหมณไปทางประตูบ้าน
ทาสได้ ดว้ ยสามารถอากปั ปกริ ยิ า ชาวบา้ นทาสตา่ งรอ้ งไห้ หมอบลงแทบเทา้ กลา่ ววา่
นายจ๋า นายจะท�ำให้ข้าพเจ้าไร้ที่พ่ึงหรือ ท้ัง ๒ ตอบว่า เราท้ัง ๒ บวชด้วยคิดว่า
ภพทั้ง ๓ นัน้ เปน็ เหมอื นบรรณศาลาท่ถี ูกไฟไหมเ้ ผาผลาญ หากเราท้งั ๒ จะท�ำใน
พวกทา่ นคนหนง่ึ ๆใหเ้ ปน็ ไท แมร้ อ้ ยปกี ย็ งั ไมห่ มด พวกทา่ นจงชำ� ระศรี ษะของพวกทา่ น
แลว้ จงเป็นไทเถิด เมอ่ื ชนเหล่านั้นรอ้ งไหอ้ ยู่ กพ็ ากันหลกี ไป
พระเถระเดินไปข้างหน้า เหลียวมองดูคิดว่า หญิงผู้มีค่าในสกลชมพูทวีป
ชอื่ ภัททกาปิลานีน้ี เดินมาขา้ งหลงั เรา ข้อทใี่ คร ๆ พึงคดิ อย่างน้ีวา่ เราทั้ง ๒ นี้ แม้
บวชแลว้ กไ็ มส่ ามารถจะพรากจากกนั ได้ ยอ่ มกระทำ� กรรมอนั ไมส่ มควร นเ้ี ปน็ ฐานะทจ่ี ะ
มไี ด้ อกี อยา่ งหน่งึ ใคร ๆ พึงมีใจประทุษร้ายแล้วจะไปตกคลกั ในอบาย พระเถระจงึ
เกิดคิดขน้ึ ว่า เราควรละหญิงนไ้ี ป พระเถระไปขา้ งหนา้ เหน็ ทาง ๒ แพรง่ จึงได้หยุด
ยืนในท่ีสุดทาง ๒ แพร่งนั้น แม้นางภัททาก็ได้มายืนไหว้ พระเถระกล่าวกับนางว่า
แม่มหาจ�ำเรญิ มหาชนเห็นหญงิ เช่นท่านเดินมาข้างหลงั เรา แล้วคดิ วา่ ทา่ นทัง้ ๒ นี้
แม้บวชแล้วก็ไมอ่ าจจะพรากจากกันได้ จะพงึ มีจติ คดิ ร้ายในพวกเรา จะไปตกคลกั อยู่
ในอบาย เธอจงถอื เอาทางหนง่ึ ในทาง ๒ แพร่งนี้ ฉันจกั ไปผูเ้ ดียว นางภัททากลา่ วว่า
ถูกแล้วจ้ะ พระผู้เป็นเจ้า ชื่อว่ามาตุคาม เป็นมลทินของพวกบรรพชิต ชนท้ังหลาย
จะชี้โทษของเราว่า ท่านท้ัง ๒ แม้บวชแล้วก็ยังไม่พรากกัน ขอเชิญท่านถือเอา
ทางหนงึ่ เราทงั้ ๒ จกั แยกกนั นางกระทำ� ประทกั ษณิ ๓ ครงั้ ไหวด้ ว้ ยเบญจางคประดษิ ฐ์
ในฐานะ ๔ ประคองอญั ชลี อันรุ่งเรืองดว้ ยทสนขสโมธานคอื ความประชมุ กนั ของน้วิ
ทง้ั สบิ มติ รสนั ถวะทท่ี ำ� มานานประมาณแสนกลั ปย์ อ่ มขาดลงในวนั น้ี พระผเู้ ปน็ เจา้ ชอื่
ว่าเป็นทักษิณา ทางเบ้ืองขวาย่อมควรแก่พระผู้เป็นเจ้า ดิฉันช่ือว่าเป็นมาตุคามเป็น
ฝ่ายซ้าย ทางเบื้องซ้ายย่อมควรแก่ดิฉัน ดั่งน้ี ไหว้แล้วเดินไปสู่ทาง ในเวลาท่ีคน
ทั้ง ๒ แยกจากกันน้ี มหาปฐพีนคี้ รืนครัน่ ส่ันสะเทอื นดุจกลา่ ววา่ เราแม้สามารถจะ
ทรงภเู ขาในจกั รวาลและเขาสเิ นรุไวไ้ ด้ ก็ไมส่ ามารถจะทรงคุณของทา่ นทงั้ ๒ นไ้ี วไ้ ด้
ยอ่ มเปน็ ไปดุจเสียงสายฟา้ บนอากาศ ภเู ขาจกั รวาลบนั ลือลั่น
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าประทับนั่ง ณ พระคันธกุฎีใกล้มหาวิหารเวฬุวัน
ทรงสดับเสียงแผ่นดินไหว ทรงพระร�ำพึงว่า แผ่นดินไหวเพื่อใครหนอ ทรงทราบว่า
ปิปผลิมาณพและนางภทั ทกาปลิ านสี ละสมบตั มิ ากมายบวชอทุ ศิ เรา การไหวของแผน่
พรรษาที่ ๑๑ 317
ดนิ นเ้ี กดิ ดว้ ยกำ� ลงั คณุ ของคนทงั้ ๒ ในท่ี ๆ เขาจากกนั แมเ้ รากค็ วรทำ� การสงเคราะห์
แก่เขาทั้ง ๒ จึงเสด็จออกจากพระคันธกุฎี ทรงถือบาตรและจีวรด้วยพระองค์เอง
ไม่ทรงเรียกใคร ๆ ในบรรดามหาเถระ ๘๐ ทรงกระท�ำการตอ้ นรบั หา่ งไปประมาณ
๓ คาวตุ ประทบั นงั่ ขดั สมาธิ ณ โคนตน้ พหปุ ตุ ตกนโิ ครธ ในระหวา่ งกรงุ ราชคฤหแ์ ละ
กรงุ นาลนั ทา กเ็ มอ่ื ประทบั นง่ั มไิ ดป้ ระทบั นงั่ เหมอื นภกิ ษผุ ถู้ อื ผา้ บงั สกุ ลุ เปน็ วตั รรปู ใด
รปู หนง่ึ ทรงถอื เพศแหง่ พระพทุ ธเจา้ ประทบั นง่ั เปลง่ พระพทุ ธรศั มเี ปน็ ลำ� สทู่ ปี่ ระมาณ
๘๐ ศอก ในขณะนนั้ พระพุทธรศั มี ประมาณเท่าใบไม้ รม่ ลอ้ เกวยี น และเรอื นยอด
เป็นต้น แผ่ซ่านส่ายไปข้างโน้นข้างนี้ ปรากฏดุจเวลาพระจันทร์และพระอาทิตย์ขึ้น
พนั ดวง ไดก้ ระท�ำบรเิ วณป่าใหญใ่ หม้ ีแสงสว่างเป็นอันเดียวกนั ด้วยประการฉะน้ี
ประวัติต่อจากนี้ พระมหากัสสปเถระเม่ือครั้งเป็นปิปผลิมาณพออกบวชน้ัน
ก็ได้เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าและได้รับพระโอวาท ๓ ข้อ พระโอวาท ๓ ข้อนั้นได้
แสดงไว้แลว้ ในจีวรสูตร มีอธบิ ายบางประการวา่
บทว่า เพราะเหตุน้ันแหละกัสสปะ ความว่า เพราะเราเม่ือรู้ เราก็กล่าวว่า
เรารู้ และเมื่อเห็น เราก็กล่าวว่าเราเห็น ฉะนั้น ดูก่อนกัสสป เธอพึงศึกษาอย่างน้ี
บทวา่ อยา่ งแรงกลา้ แปลวา่ หนา คอื ใหญ่ บทวา่ หริ โิ อตตปั ปะ ไดแ้ ก่ หริ แิ ละโอตตปั ปะ
บทวา่ จกั เขา้ ไปตง้ั ไดแ้ กจ่ กั เขา้ ไปตง้ั ไวก้ อ่ น อธบิ ายวา่ จรงิ อยู่ ผใู้ ดยงั หริ แิ ละโอตตปั ปะ
ให้เข้าไปตั้งไว้ในพระเถระเป็นต้นแล้วเข้าไปหา แม้พระเถระเป็นต้นก็เป็นผู้มีหิริ
และโอตตปั ปะเขา้ ไปหาผู้นน้ั นเี้ ป็นอานสิ งสใ์ นข้อน้ี บทวา่ ซง่ึ ประกอบด้วยกุศล คอื
อาศัยธรรมเป็นกุศล บทว่า จักกระท�ำธรรมน้ันทั้งหมดให้เกิดประโยชน์ ความว่า
ทำ� ตนใหเ้ ปน็ ประโยชนด์ ว้ ยธรรมนน้ั หรอื วา่ ทำ� ธรรมนนั้ ใหเ้ ปน็ ประโยชน์ วา่ นปี้ ระโยชน์
ของเรา ดง่ั น้ี บทว่า ใสใ่ จ คือ ตงั้ ไวใ้ นใจ บทว่า ประมวลดว้ ยจิตทัง้ หมด ความวา่
ไมใ่ หจ้ ติ ไปภายนอกไดแ้ มแ้ ตน่ อ้ ย รวบรวมไวด้ ว้ ยประมวลมาทง้ั หมด บทวา่ เงย่ี โสตสดบั
แปลวา่ เงย่ี หู อธบิ ายวา่ เธอพงึ ศกึ ษาอยา่ งนวี้ า่ เราจกั ตง้ั ญาณโสตและปสาทโสตแลว้
ฟงั ธรรมทเ่ี ราแสดงแลว้ โดยเคารพ ตง้ั หคู อื ญาณ ความหยง่ั รเู้ รยี กโสต ตงั้ หคู อื ประสาท
ได้แก่โสตประสาทหรือปสาทโสต ค�ำว่า กายคตาสติท่ีสหรคตด้วยความสุขส�ำราญ
ได้แก่กายคตาสติสัมปยุตด้วยสุข ด้วยสามารถปฐมฌานในอสุภกรรมฐานและใน
อานาปานกรรมฐาน
318 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
ก็โอวาทนี้มี ๓ อย่างดังท่ีได้แสดงมาแล้วในจีวรสูตรข้างต้น บรรพชาและ
อปุ สมบทนไ้ี ดม้ แี กพ่ ระเถระ
จรงิ อยู่ การบรโิ ภคมี ๔ อยา่ งคอื ๑. เถยยบรโิ ภค ๒. อณิ บรโิ ภค ๓. ทายชั -
ชบริโภค และ ๔. สามบิ ริโภค ในบรโิ ภคเหลา่ น้ัน ภิกษุเปน็ ผู้ทุศีล แลว้ นั่งบริโภคใน
ทา่ มกลางสงฆ์ ช่อื ว่า เถยยบริโภค แปลว่า บริโภคโดยความเปน็ ขโมย เพราะเหตุไร
เพราะไมเ่ ป็นใหญ่ในปจั จยั ส่ี ผ้มู ศี ีล ไม่พิจารณาบริโภค ช่ือว่า อิณบริโภค คือบรโิ ภค
โดยความเปน็ หนี้ ส่วนผทู้ ่ีบริโภคเป็นผู้บรรลุถึงคุณธรรมเปน็ ชั้น ๆ ขนึ้ ไป แต่ยงั ไม่
ถงึ ทส่ี ดุ กช็ อื่ วา่ ทายชั ชบรโิ ภค บรโิ ภคโดยเปน็ ทายาท สว่ นผทู้ บี่ รโิ ภคโดยเปน็ เจา้ ของ
อันเรียกว่า สามิบริโภคนั้น คือบรรลุอรหัตตมรรคอรหัตตผลแล้ว ก็เป็นสามิบริโภค
พระเถระเมื่อท�ำการบริโภคในขณะท่ีตนเป็นปุถุชนบริโภค ก็เป็นอิณบริโภค แต่เม่ือ
อรหตั ตผลไดเ้ กดิ ขน้ึ แลว้ ในวนั ที่ ๘ กเ็ ปน็ สามบิ รโิ ภค คอื เปน็ ผบู้ รโิ ภคโดยเปน็ เจา้ ของ
สว่ นทเ่ี ก่ียวกบั เร่ืองผ้าสงั ฆาฏขิ องท่านน้นั พระพทุ ธเจ้าได้ตรสั วา่ ผ้าสงั ฆาฏิ
นแี้ ลของทา่ นออ่ นนมุ่ กแ็ ลพระผมู้ พี ระภาคเจา้ เมอ่ื ลบู คลำ� จวี รนนั้ ดว้ ยปลายพระหตั ถ์
มสี ดี งั ดอกปทมุ จงึ ตรสั พระวาจาน้ี ถามวา่ พระองคต์ รสั อยา่ งน้ี เพราะเหตไุ ร ตอบวา่
เพราะทรงประสงคจ์ ะเปลี่ยนจีวรกบั พระเถระ ถามวา่ พระองคท์ รงประสงค์จะเปลยี่ น
เพราะเหตุไร ตอบว่า เพราะทรงประสงค์จะตั้งพระเถระไว้ในต�ำแหน่งของพระองค์
กเ็ มอื่ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ตรสั สรรเสรญิ จวี รหรอื บาตร เปน็ ธรรมเนยี มทจี่ ะกราบทลู วา่
ขอพระองค์จงทรงรับส่ิงน้ีเพื่อพระองค์เถิด เพราะฉะน้ัน พระเถระจึงกราบทูลว่า
ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ ขอพระผมู้ พี ระภาคเจา้ จงทรงรบั จวี รของขา้ พระองคเ์ ถดิ พระองค์
จงึ ตรสั วา่ กสั สปะ เธอจกั ครองผา้ บงั สกุ ลุ ทำ� ดว้ ยผา้ ปา่ นของเราไดไ้ หม เธอจกั อาจเพอื่
หม่ ไดไ้ หม ดง่ั น้ี กแ็ ลพระองคม์ ไิ ดท้ รงหมายถงึ กำ� ลงั กาย จงึ ตรสั อยา่ งนี้ แตท่ รงหมาย
ถึงการปฏบิ ตั ใิ หบ้ ริบรู ณ์ จึงตรสั อย่างน้ี
ในข้อนี้มีอธิบายด่ังน้ี จีวรนี้เขาห่อศพนางทาสีชื่อปุณณะเอาไปทิ้งไว้ในป่าช้า
ผดี บิ เราเขา้ ไปสปู่ า่ ชา้ นนั้ สบดั ตวั สตั วป์ ระมาณทะนานหนงึ่ ทเ่ี กลอ่ื นกลน่ บนจวี รออก
แลว้ ตง้ั อยใู่ นมหาอรยิ วงศ์ ถอื เอา ในวนั ทเี่ รานนั้ ถอื เอาจวี รนี้ มหาปฐพใี นหมนื่ จกั รวาล
กส็ ง่ เสยี งสน่ั สะเทอื น อากาศนนั้ สง่ เสยี ง ตฏะ ตฏะ เทวดาในจกั รวาลไดใ้ หส้ าธกุ ารวา่