พรรษาท่ี ๙ 69
เราเป็นผู้ได้ตามความปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ได้โดยไม่ล�ำบากซึ่งฌาน ๔
อันมใี นจติ ยิ่ง เปน็ เคร่ืองอยู่สบายในปัจจบุ นั
เราย่อมกระท�ำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติอันหาอาสวะมิได้เพราะ
อาสวะท้งั หลายส้ินไป ดว้ ยปญั ญาอนั ยงิ่ เองในปจั จุบนั เขา้ ถึงอยู่
กบ็ ุคคลเมือ่ จะกลา่ วโดยชอบ พงึ กล่าวผใู้ ดว่าเปน็ สมณะผลู้ ะเอยี ดออ่ นในหมู่
สมณะ บุคคลน้ันเมื่อจะกล่าวโดยชอบก็พึงกล่าวเราตถาคตนั่นเทียว ว่าเป็นสมณะผู้
ละเอียดออ่ นในหมู่สมณะ
ผาสุวิหารสตู ร๓๓
วา่ ดว้ ยธรรมเคร่อื งอยเู่ ปน็ สขุ ๕ ประการ
พระพทุ ธเจา้ ตรสั วา่ ธรรมเครอ่ื งอยเู่ ปน็ สขุ ๕ ประการนี้ คอื ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั นี้
๑. เขา้ ไปตง้ั กายกรรมประกอบดว้ ยเมตตาในเพอื่ นพรหมจรรยท์ งั้ ตอ่ หนา้ และ
ลับหลงั
๒. เขา้ ไปตัง้ วจกี รรมประกอบดว้ ยเมตตาในเพ่อื นพรหมจรรยท์ ้ังตอ่ หนา้ และ
ลับหลงั
๓. เขา้ ไปตง้ั มโนกรรมประกอบดว้ ยเมตตาในเพอ่ื นพรหมจรรยท์ ง้ั ตอ่ หนา้ และ
ลับหลัง
๔. มีศีลอนั ไมข่ าด ไมท่ ะลุ ไมด่ ่าง ไมพ่ รอ้ ย เปน็ ไท อนั วญิ ญชู น สรรเสรญิ
อันตัณหาและทิฏฐิไม่เกาะเกี่ยว เป็นไปเพ่ือสมาธิ เสมอกันกับเพ่ือนพรหมจรรย์ท้ัง
ต่อหน้าและลบั หลงั
๕. มที ฏิ ฐอิ ันเป็นอริยะ เป็นเครือ่ งนำ� ออก ย่อมน�ำออกเพอ่ื ความส้นิ ไปแห่ง
ทกุ ขโ์ ดยชอบแห่งผู้กระท�ำ เสมอกนั กบั เพอื่ นพรหมจรรย์ทง้ั ตอ่ หนา้ และลบั หลงั
๓๓ อง.ฺ ปญฺจก. ๒๒/๑๐๕/๑๔๙.
70 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
อุทายิสูตร๓๔
พระพทุ ธเจ้าเมอื่ ประทับอยู่ ณ โฆสติ าราม กรงุ โกสัมพี สมยั นั้น พระอทุ ายี
เปน็ ผทู้ ค่ี ฤหสั ถผ์ ใู้ หญแ่ วดลอ้ มนง่ั แสดงธรรมอยู่ ทา่ นพระอานนทไ์ ดเ้ หน็ จงึ ไดก้ ราบทลู
พระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าตรัสว่าการแสดงธรรมแก่ผู้อื่นไม่ใช่ท�ำได้ง่าย ภิกษุเม่ือจะ
แสดงธรรมแกผ่ อู้ นื่ พงึ ตัง้ ธรรม ๕ ประการไวภ้ ายในแลว้ จึงแสดงธรรมแก่ผอู้ ่ืน คือ
ภกิ ษพุ ึงตั้งใจวา่
๑. เราจักแสดงธรรมไปโดยลำ� ดบั
๒. เราจกั แสดงอา้ งเหตผุ ล
๓. เราจกั แสดงธรรมอาศัยความเอ็นดู
๔. เราจักเป็นผไู้ ม่เพง่ อามสิ แสดงธรรม
๕. เราจกั ไม่แสดงธรรมใหก้ ระทบตนและผอู้ น่ื
ทุพพโิ นทยสตู ร๓๕
พระพุทธเจ้าได้ตรัสว่า ธรรม ๕ ประการนี้ เกิดข้ึนแล้ว บรรเทาได้ยาก
ธรรม ๕ ประการ คอื ราคะ ๑ โทสะ ๑ โมหะ ๑ ปฏภิ าณ ๑ จติ คดิ จะไป ๑ เรยี กวา่
ทพุ พโิ นทยสูตร พระสูตรทีว่ ่าดว้ ยธรรมท่ีบรรเทาไดย้ าก
๓๔ องฺ. ปญฺจก. ๒๒/๑๕๙/๒๐๕.
๓๕ อง.ฺ ปญจฺ ก. ๒๒/๑๖๐/๒๐๖.
พรรษาที่ ๙ 71
อาฆาตวนิ ยสตู ร๓๖
ว่าดว้ ยธรรมระงบั ความอาฆาต ๕ ประการ
พระพทุ ธเจา้ ตรสั วา่ ธรรมเปน็ ทร่ี ะงบั ความอาฆาตซงึ่ เกดิ ขนึ้ แกภ่ กิ ษโุ ดยประการ
ทั้งปวง ๕ ประการ คอื
๑. ความอาฆาตพงึ บงั เกดิ ขึน้ ในบคุ คลใด พงึ เจรญิ เมตตาในบคุ คลน้ัน
๒. ความอาฆาตพึงบงั เกิดข้ึนในบุคคลใด พงึ เจรญิ กรณุ าในบคุ คลน้นั
๓. ความอาฆาตพึงบังเกิดขนึ้ ในบคุ คลใด พงึ เจรญิ อุเบกขาในบคุ คลนน้ั
๔. ความอาฆาตพงึ บงั เกดิ ขนึ้ ในบคุ คลใด พงึ ถงึ การไมน่ กึ ไมใ่ ฝใ่ จในบคุ คลนนั้
๕. ความอาฆาตพงึ บงั เกิดข้นึ ในบุคคลใด พึงนึกถึงความเป็นผู้มีกรรมเป็น
ของของตนใหม้ น่ั ในบคุ คลนน้ั วา่ ทา่ นผนู้ เ้ี ปน็ ผมู้ กี รรมเปน็ ของของตน เปน็ ทายาทแหง่
กรรม มีกรรมเป็นก�ำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พ่ึง จักท�ำกรรมใด
ดีก็ตาม ชัว่ กต็ าม จกั เปน็ ทายาทของกรรมนน้ั
ยงั มพี ระสตู รทวี่ า่ ดว้ ยธรรมระงบั ความอาฆาต ๕ ประการอกี พระสตู รหนง่ึ วา่
พระพทุ ธเจา้ ไมไ่ ดต้ รสั แสดงเอง แตท่ า่ นพระสารบี ตุ รไดแ้ สดงแกภ่ กิ ษทุ งั้ หลาย คอื ทา่ น
พระสารบี ตุ รไดก้ ลา่ ววา่ ธรรมเปน็ ทร่ี ะงบั ความอาฆาตซงึ่ เกดิ ขนึ้ แกภ่ กิ ษุ โดยประการ
ท้งั ปวง ๕ ประการ คอื
๑. บุคคลบางคนในโลกน้ี เปน็ ผ้มู คี วามประพฤตทิ างกายไมบ่ รสิ ุทธิ์ แตเ่ ป็น
ผมู้ คี วามประพฤติทางวาจาบริสทุ ธ์ิ ภิกษพุ ึงระงับความอาฆาตในบคุ คลแมเ้ ชน่ น้ี
๒. บคุ คลบางคนในโลกนี้ เปน็ ผมู้ คี วามประพฤตทิ างวาจาไมบ่ รสิ ทุ ธิ์ แตเ่ ปน็
ผมู้ คี วามประพฤติทางกายบริสทุ ธ์ิ ภกิ ษุพงึ ระงบั ความอาฆาตในบคุ คลแมเ้ ช่นน้ี
๓๖ อง.ฺ ปญฺจก. ๒๒/๑๖๑-๑๖๒/๒๐๗-๒๑๒.
72 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
๓. บุคคลบางคนในโลกน้ี เปน็ ผู้มีความประพฤตทิ างกายไมบ่ ริสุทธิ์ เป็นผู้มี
ความประพฤติทางวาจาไม่บริสุทธิ์ แต่ย่อมได้ทางสงบใจ ได้ความเล่ือมใส โดยกาล
อนั สมควร ภกิ ษพุ งึ ระงบั ความอาฆาตในบุคคลแมเ้ ชน่ น้ี
๔. บคุ คลบางคนในโลกน้ี เปน็ ผู้มคี วามประพฤติทางกายไม่บริสทุ ธิ์ เปน็ ผมู้ ี
ความประพฤติทางวาจาไม่บริสุทธ์ิ และย่อมไม่ได้ทางสงบใจ ไม่ได้ความเล่ือมใส
โดยกาลอันสมควร ภกิ ษุพงึ ระงับความอาฆาตในบุคคลแมเ้ ชน่ นี้
๕. บุคคลบางคนในโลกน้ี เป็นผู้มีความประพฤติทางกายบริสุทธิ์ เป็นผู้มี
ความประพฤตทิ างวาจาบรสิ ทุ ธิ์ ยอ่ มไดท้ างสงบใจ ไดค้ วามเลอ่ื มใสโดยกาลอนั สมควร
ภกิ ษุพึงระงบั ความอาฆาตในบุคคลแม้เชน่ น้ี
ท่านพระสารีบตุ รได้กล่าวอธบิ ายต่อไปว่า ในบคุ คล ๕ จำ� พวกนนั้ บุคคลใด
เป็นผู้มีความประพฤติทางกายไม่บริสุทธิ์ แต่เป็นผู้มีความประพฤติทางวาจาบริสุทธิ์
ภิกษุพึงระงับความอาฆาตในบุคคลน้ันอย่างไร ท่านอธิบายต่อไปว่า เหมือนอย่างว่า
ภกิ ษุผู้ถอื ผ้าบังสุกลุ เปน็ วัตร เหน็ ผ้าเกา่ ทถ่ี นน เหยียบให้ม่ันดว้ ยเทา้ ซา้ ย เขี่ยออกดู
ดว้ ยเทา้ ขวา สว่ นใดเปน็ สาระกถ็ อื เอาสว่ นนนั้ แลว้ หลกี ไป แมฉ้ นั ใด บคุ คลใดเปน็ ผมู้ ี
ความประพฤตทิ างกายไมบ่ รสิ ทุ ธ์ิ แตเ่ ปน็ ผมู้ คี วามประพฤตทิ างวาจาบรสิ ทุ ธิ์ ความประพฤติ
ทางกายไมบ่ รสิ ทุ ธส์ิ ว่ นใดของเขา ภกิ ษไุ มพ่ งึ ใสใ่ จสว่ นนน้ั ในสมยั นน้ั สว่ นความประพฤติ
ทางวาจาบรสิ ทุ ธสิ์ ว่ นใดของเขา ภกิ ษพุ งึ ใสใ่ จสว่ นนน้ั ในสมยั นนั้ ฉนั นนั้ ภิกษุพึงระงับ
ความอาฆาตในบุคคลน้นั อย่างน้ี
ท่านอธิบายต่อไปว่า บุคคลใดเป็นผู้มีความประพฤติทางวาจาไม่บริสุทธิ์
แต่เป็นผู้มีความประพฤติทางกายบริสุทธิ์ ภิกษุพึงระงับความอาฆาตในบุคคลน้ัน
อยา่ งไร ทา่ นอธบิ ายตอ่ ไปเองวา่ สระนำ�้ ทถ่ี กู สาหรา่ ยและแหนคลมุ ไว้ บรุ ษุ ผเู้ ดนิ ทางรอ้ น
อบอ้าว เหนื่อยอ่อน กระหายน้�ำ ลงสู่สระน้�ำนั้น แหวกสาหร่ายและแหนด้วยมือ
ทง้ั ๒ แลว้ กอบนำ้� ขนึ้ ดมื่ แลว้ พงึ ไปแมฉ้ นั ใด บคุ คลใดเปน็ ผมู้ คี วามประพฤตทิ างวาจา
ไมบ่ รสิ ทุ ธ์ิ แตเ่ ปน็ ผมู้ คี วามประพฤตทิ างกายบรสิ ทุ ธ์ิ ความประพฤตทิ างวาจาไมบ่ รสิ ทุ ธิ์
สว่ นใดของเขา ภกิ ษไุ มพ่ งึ ใสใ่ จสว่ นนน้ั ในสมยั นนั้ สว่ นความประพฤตทิ างกายบรสิ ทุ ธิ์
ส่วนใดของเขา ภิกษุพึงใส่ใจส่วนน้ันในสมัยน้ันฉันนั้น ภิกษุพึงระงับความอาฆาต
ในบุคคลนั้นอยา่ งนี้
พรรษาที่ ๙ 73
ท่านพระสารีบุตรอธิบายต่อไปว่า บุคคลใดเป็นผู้มีความประพฤติทางกาย
ไม่บรสิ ทุ ธ์ิ เปน็ ผมู้ คี วามประพฤตทิ างวาจาไมบ่ รสิ ทุ ธิ์ แตย่ อ่ มไดท้ างสงบใจ ไดค้ วาม
เลื่อมใส โดยกาลอันสมควร ภิกษุนั้นพึงระงับความอาฆาตในบุคคลน้ันอย่างไร
ท่านไดก้ ลา่ วอธิบายเองว่า เหมือนอยา่ งวา่ นำ้� เลก็ น้อยมอี ย่ใู นรอยโค บรุ ษุ ผเู้ ดินทาง
ร้อน อบอ้าว เหน่ือยอ่อน กระหายนำ้� เขาพึงเกิดความคดิ อยา่ งนวี้ า่ นำ้� เลก็ นอ้ ยมีอยู่
ในรอยโคนี้ ถา้ เราจะกอบขน้ึ ดื่มหรอื ใชภ้ าชนะตกั ข้นึ ด่ืมไซร้ เรากจ็ กั ทำ� น้ำ� น้นั ใหไ้ หว
บา้ ง ให้ขุ่นบ้าง ใหไ้ ม่เป็นท่คี วรดมื่ บ้าง ถ้ากระไรเราพึงคกุ เขา่ ก้มลงด่ืมน�ำ้ แลว้ หลีกไป
เขาคุกเข่าก้มลงด่ืมน�้ำอย่างโคด่ืมน�้ำแล้วไปแม้ฉันใด บุคคลใดเป็นผู้มีความประพฤติ
ทางกายไม่บริสุทธ์ิ เป็นผู้มีความประพฤติทางวาจาไม่บริสุทธิ์ แต่ย่อมได้ทางสงบใจ
ได้ความเล่ือมใส โดยกาลอนั สมควร ความประพฤติทางกายไม่บริสุทธส์ิ ว่ นใดของเขา
ภกิ ษไุ มพ่ งึ ใสใ่ จสว่ นนน้ั ในสมยั นนั้ แมค้ วามประพฤตทิ างวาจาไมบ่ รสิ ทุ ธสิ์ ว่ นใดของเขา
ภิกษุไม่พึงใส่ใจส่วนน้ันในสมัยน้ัน แต่การได้ทางสงบใจ ได้ความเลื่อมใส โดยกาล
อันสมควรส่วนใดของเขา ภิกษุพึงใส่ใจส่วนนั้นในสมัยนั้นฉันนั้น ภิกษุพึงระงับ
ความอาฆาตในบคุ คลน้นั อย่างนี้
ทา่ นพระสารบี ุตรไดอ้ ธบิ ายตอ่ ไปว่า บุคคลใดเปน็ ผูม้ ีความประพฤตทิ างกาย
ไม่บรสิ ุทธิ์ เป็นผู้มคี วามประพฤติทางวาจาไม่บรสิ ทุ ธิ์ และย่อมไม่ไดท้ างสงบใจ ไม่ได้
ความเล่ือมใส โดยกาลอันสมควร ภิกษุพึงระงับความอาฆาตในบุคคลนั้นอย่างไร
ทา่ นไดก้ ลา่ วอธบิ ายเองวา่ เหมอื นอยา่ งวา่ บรุ ษุ ผอู้ าพาธ มที กุ ข์ เปน็ ไขห้ นกั เดนิ ทางไกล
แมข้ า้ งหนา้ เขากม็ บี า้ นอยไู่ กล แมข้ า้ งหลงั เขากม็ บี า้ นอยไู่ กล เขาไมพ่ งึ ไดอ้ าหารทส่ี บาย
คือถูกโรค เภสัชท่ีสบายคือถูกโรค ผู้พยาบาลท่ีสมควร และผู้น�ำทางไปสู่บ้าน
บุรุษบางคนผู้เดินทางไกลพึงเห็นเขา บุรุษนั้นพึงเข้าไปต้ังความกรุณา ความเอ็นดู
ความอนุเคราะหใ์ นเขาวา่ โอ คน ๆ นี้พงึ ได้อาหารท่สี บาย เภสชั ท่สี บาย ผพู้ ยาบาล
ทส่ี มควร และผนู้ ำ� ทางไปสบู่ า้ น ขอ้ นน้ั เพราะเหตไุ ร เพราะเหตวุ า่ คน ๆ นอี้ ยา่ ถงึ ความ
พนิ าศฉบิ หาย ณ ทนี่ เ้ี ลย แมฉ้ นั ใด บคุ คลใดเปน็ ผมู้ คี วามประพฤตทิ างกายไมบ่ รสิ ทุ ธ์ิ
เปน็ ผมู้ คี วามประพฤตทิ างวาจาไมบ่ รสิ ทุ ธิ์ และยอ่ มไมไ่ ดท้ างสงบใจ ไมไ่ ดค้ วามเลอื่ มใส
โดยกาลอนั สมควร ภกิ ษพุ งึ เขา้ ไปตง้ั ความกรณุ า ความเอน็ ดู ความอนเุ คราะหใ์ นบคุ คล
แม้เหน็ ปานนว้ี า่ โอ ท่านผู้น้พี ึงละกายทุจริตแล้วอบรมกายสุจริต พึงละวจที จุ ริตแล้ว
อบรมวจีสจุ รติ พึงละมโนทุจรติ แลว้ อบรมมโนสจุ รติ ขอ้ นนั้ เพราะเหตใุ ด เพราะเหตุ
74 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
ว่าท่านผ้นู ี้เม่อื ตายไปแลว้ อยา่ เข้าถึงอบาย ทุคติ วินบิ าต นรก ฉนั น้นั ภกิ ษุพงึ ระงบั
ความอาฆาตในบคุ คลนัน้ อย่างน้ี
ทา่ นพระสารีบตุ รไดก้ ล่าวอธิบายต่อไปเปน็ ข้อค�ำรบ ๕ วา่ บคุ คลใดเป็นผู้มี
ความประพฤตทิ างกายบรสิ ทุ ธ์ิ เปน็ ผมู้ คี วามประพฤตทิ างวาจาบรสิ ทุ ธิ์ ยอ่ มไดท้ างสงบใจ
ได้ความเลื่อมใส โดยกาลอันสมควร ภิกษุพึงระงับความอาฆาตในบุคคลน้ันอย่างไร
ท่านได้กล่าวอธิบายเองว่า เหมือนอย่างว่า สระน้�ำท่ีมีน้�ำใส มีน้�ำอร่อยดี มีน�้ำเย็น
มนี ำ�้ ขาว มที า่ นำ�้ ราบเรยี บ นา่ รน่ื รมย์ ดารดาษไปดว้ ย ตน้ ไมพ้ นั ธต์ุ า่ ง ๆ บคุ คลผเู้ ดนิ
ทางรอ้ น อบอา้ ว เหนอื่ ยออ่ น กระหายนำ�้ เขาพงึ ลงสสู่ ระนำ�้ นน้ั บา้ ง อาบบา้ ง ดม่ื บา้ ง
แล้วข้ึนมานั่งบ้าง นอนบ้าง ที่ร่มไม้ใกล้สระน้�ำนั้นแม้ฉันใด บุคคลใดเป็นผู้มีความ
ประพฤติทางกายบริสุทธ์ิ เป็นผู้มีความประพฤติทางวาจาบริสุทธิ์ ย่อมได้ทางสงบใจ
ไดค้ วามเลอ่ื มใส โดยกาลอนั สมควร แมค้ วามประพฤตทิ างกายบรสิ ทุ ธสิ์ ว่ นใดของเขา
ภิกษุพึงใส่ใจส่วนน้ันในสมัยน้ัน แม้ความประพฤติทางวาจาบริสุทธิ์ส่วนใดของเขา
ภกิ ษพุ งึ ใสใ่ จสว่ นนนั้ ในสมยั นนั้ แมก้ ารไดท้ างสงบใจ ไดค้ วามเลอ่ื มใส โดยกาลอนั สมควร
ส่วนใดของเขา ภิกษุพึงใส่ใจส่วนน้ันในสมัยนั้นฉันนั้น ภิกษุพึงระงับความอาฆาต
ในบคุ คลนั้นอยา่ งนี้
สากจั ฉาสตู ร๓๗
ว่าดว้ ยคุณสมบตั ิของผู้ควรสนทนา
ทา่ นพระสารบี ตุ รไดก้ ลา่ วแกภ่ กิ ษทุ งั้ หลายวา่ ภกิ ษผุ ปู้ ระกอบดว้ ยธรรม ๕ ประการ
ย่อมเป็นผคู้ วรเพื่อสนทนากบั เพอื่ นพรหมจรรย์ คือภิกษใุ นธรรมวนิ ัย น้ี
๑. เปน็ ผถู้ งึ พรอ้ มดว้ ยศลี โดยตนเอง เปน็ ผแู้ กป้ ญั หาทม่ี าถงึ ดว้ ย สลี สมั ปทากถาได้
๒. เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยสมาธิโดยตนเอง และเป็นผู้แก้ปัญหาที่มาถึงด้วย
สมาธิสัมปทากถาได้
๓๗ องฺ. ปญจฺ ก. ๒๒/๑๖๓/๒๑๒.
.
พรรษาที่ ๙ 75
๓. เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปัญญาโดยตนเอง และเป็นผู้แก้ปัญหาท่ีมาด้วยถึง
ปัญญาสัมปทากถาได้
๔. เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิมุตติโดยตนเอง และเป็นผู้แก้ปัญหาท่ีมาถึงด้วย
วมิ ตุ ติสมั ปทากถาได้
๕. เป็นผถู้ ึงพรอ้ มดว้ ยวิมตุ ตญิ าณทสั สนะ คอื ความร้คู วามเห็นในวมิ ุตติโดย
ตนเอง และเปน็ ผแู้ ก้ปญั หาทม่ี าถงึ ดว้ ย วมิ ตุ ตญิ าณทสั สนสัมปทากถาได้
สาชีวสูตร๓๘
ว่าดว้ ยคุณสมบตั ขิ องผู้อย่รู ว่ มกัน
ท่านพระสารีบุตรได้กล่าวแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม
๕ ประการ ย่อมเปน็ ผคู้ วรเปน็ ผู้อยรู่ ่วมกับเพอื่ นพรหมจรรย์ คอื ภิกษใุ นธรรมวินยั น้ี
๑. เป็นผูถ้ ึงพร้อมดว้ ยศีลโดยตนเอง และเปน็ ผู้แก้ปัญหาท่มี าถึงด้วยสีลสัม-
ปทากถาได้
๒. เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยสมาธิโดยตนเอง และเป็นผู้แก้ปัญหาที่มาถึงด้วย
สมาธิสมั ปทากถาได้
๓. เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปัญญาโดยตนเอง และเป็นผู้แก้ปัญหาที่มาถึง
ด้วยปญั ญาสมั ปทากถาได้
๔. เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิมุตติโดยตนเอง และเป็นผู้แก้ปัญหาท่ีมาถึงด้วย
วมิ ตุ ติสัมปทากถาได้
๕. เปน็ ผถู้ งึ พรอ้ มดว้ ยวมิ ตุ ตญิ าณทสั สนะโดยตนเอง และเปน็ ผแู้ กป้ ญั หาทมี่ า
ถึงด้วยวมิ ตุ ตญิ าณทัสสนสมั ปทากถาได้
๓๘ อง.ฺ ปญฺจก. ๒๒/๑๖๔/๒๑๒.
76 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
สาชีวสูตรน้ีก็มีข้อธรรมเช่นเดียวกับสากัจฉาสูตร ส�ำหรับสากัจฉาสูตรน้ัน
ว่าด้วยภิกษุที่มีคุณสมบัติของผู้ควรสนทนาด้วย ส่วนสาชีวสูตรน้ีว่าด้วยคุณสมบัติ
ของผู้ที่ควรจะอยู่ร่วมกัน ท่ีมีข้อธรรมอย่างเดียวกันนั้น พิจารณาดูแล้วก็จะเห็นว่า
ผู้ที่สมควรจะสนทนาไต่ถามปัญหากันได้นั้น ก็ควรจะต้องประกอบด้วยธรรมท้ัง ๕
ประการนนั้ และทงั้ ผทู้ คี่ วรจะอยรู่ ว่ มกนั กค็ วรทจี่ ะประกอบดว้ ยธรรมทงั้ ๕ ประการ
น้ันเช่นเดียวกัน เพราะเม่ืออยู่ร่วมกันนั้น ก็ควรจะต้องมีธรรมเป็นเคร่ืองอยู่ร่วม
เสมอกันใหม้ คี วามผาสกุ และก็จะต้องมีการสนทนาไต่ถามปัญหาธรรมกนั ก็จะตอ้ ง
ประกอบดว้ ยคณุ สมบตั ทิ งั้ ๕ ประการน้นั
ปญั หาปุจฉาสูตร๓๙
ว่าด้วยเหตกุ ารถามปญั หา ๕ ประการ
ท่านพระสารีบตุ รได้กลา่ วแกภ่ กิ ษุทงั้ หลายวา่ ภกิ ษุบางรปู ย่อมถามปัญหากะ
ภิกษอุ น่ื ภกิ ษุทง้ั หมดน้ันย่อมถามด้วยเหตุ ๕ ประการ หรอื อยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ คอื
๑. ยอ่ มถามปัญหากะภิกษอุ ่ืนเพราะโงเ่ ขลาเพราะหลงลืม
๒. ยอ่ มมคี วามปรารถนาลามก ถกู ความปรารถนาครอบงำ� จงึ ถามปญั หากะ
ภิกษอุ ่นื
๓. ยอ่ มดหู มิน่ จงึ ถามปัญหากะภกิ ษอุ ื่น
๔. ประสงคจ์ ะรู้ จงึ ถามปัญหากะภกิ ษอุ น่ื
๕. คิดอยา่ งนีว้ ่า ภิกษุอน่ื ถ้าถกู เราถามปัญหา กจ็ ักแกโ้ ดยชอบ ขอ้ นั้นเปน็
ความดี แต่ถ้าถูกเราถามปัญหา จักไม่แก้โดยชอบ เราจักแก้โดยชอบแก่เธอ ดั่งนี้
จึงถามปญั หากะภกิ ษุอืน่
๓๙ องฺ. ปญจฺ ก. ๒๒/๑๖๕/๒๑๒.
พรรษาที่ ๙ 77
ภิกษุบางรูปย่อมถามปญั หากะภิกษอุ ืน่ ภกิ ษทุ ้ังหมดน้ันย่อมถามด้วยเหตุ ๕
ประการเหล่าน้ี หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง ส่วนท่านพระสารีบุตรเองน้ันคิดอย่างนี้ว่า
ถา้ ภกิ ษถุ กู เราถามปญั หา กจ็ กั แกโ้ ดยชอบ ขอ้ นน้ั เปน็ ความดี แตถ่ า้ ถกู เราถามปญั หา
จกั ไม่แกโ้ ดยชอบ เราจกั แก้โดยชอบแก่เธอ ด่งั น้ี จงึ ถามปญั หากะภกิ ษุอืน่
นิโรธสูตร๔๐
ว่าดว้ ยคุณธรรมของพระเถระทน่ี า่ เคารพบูชา
ครั้งนั้นท่านพระสารีบุตรได้กล่าวแก่ภิกษุท้ังหลายว่า ภิกษุในธรรมวินัยนี้
เปน็ ผถู้ งึ พรอ้ มดว้ ยศลี ถงึ พรอ้ มดว้ ยสมาธิ ถงึ พรอ้ มดว้ ยปญั ญา พงึ เขา้ สญั ญาเวทยติ นโิ รธ
คอื เขา้ สมาธชิ นั้ สงู ดบั สญั ญาเวทนาบา้ ง พงึ ออกจากสญั ญาเวทยติ นโิ รธบา้ ง ขอ้ นนั้ เปน็
ฐานะทจ่ี ะมไี ด้ ถา้ เธอไมพ่ งึ บรรลอุ รหตั ตผลในปจั จบุ นั ไซร้ เธอกก็ า้ วลว่ งความเปน็ สหาย
แห่งเหลา่ เทพผู้มีกวฬิงการาหาร คือมีค�ำข้าวเปน็ อาหาร เปน็ ภักษา เขา้ ถึงเทพผู้เกดิ
ดว้ ยใจบางเหลา่ พงึ เขา้ สญั ญาเวทยติ นโิ รธ คอื ดบั สญั ญาเวทนาบา้ ง พงึ ออกจากสญั ญา
เวทยิตนิโรธบ้าง ข้อนั้นเป็นฐานะท่ีจะมีได้ เม่ือท่านพระสารีบุตรกล่าวอย่างน้ีแล้ว
ทา่ นพระอทุ ายซี งึ่ อยใู่ นหมภู่ กิ ษเุ หลา่ นนั้ ไดก้ ลา่ วกะทา่ นพระสารบี ตุ รวา่ ขอ้ ทภ่ี กิ ษกุ า้ ว
ล่วงความเป็นสหายแห่งเหล่าเทพผู้มีกวฬิงการาหาร คือมีก้อนข้าวเป็นอาหาร
เป็นภักษา เข้าถึงเหล่าเทพผู้เกิดด้วยใจบางเหล่า พึงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง
พึงออกจากสัญญาเวทยติ นิโรธบ้างนัน้ มใิ ชฐ่ านะ มิใชโ่ อกาส ข้อนน้ั ไม่เป็นฐานะทจี่ ะ
มีได้ แมค้ รง้ั ที่ ๒ ท่านพระสารีบุตรกไ็ ด้กลา่ วกะภิกษทุ ง้ั หลายอยา่ งเดิม แม้คร้งั ท่ี ๒
ทา่ นพระอทุ ายีก็ไดก้ ลา่ วคา้ นข้นึ อย่างนั้น แมค้ รงั้ ท่ี ๓ ทา่ นพระสารีบุตรกไ็ ด้กลา่ วกะ
ภิกษุทั้งหลายอย่างเดิม แม้คร้ังท่ี ๓ ท่านพระอุทายีก็ได้กล่าวค้านข้ึนอย่างน้ัน
ทา่ นพระสารีบุตรไดค้ ดิ วา่ ท่านพระอทุ ายีคัดคา้ นเราถึง ๓ ครั้ง และภกิ ษบุ างรปู กไ็ ม่
อนโุ มทนาภาษติ เรา ถา้ กระไร เราพงึ เขา้ ไปเฝา้ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทา่ นพระสารบี ตุ ร
๔๐ อง.ฺ ปญฺจก. ๒๒/๑๖๖/๒๑๔.
78 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
จึงไดเ้ ข้าไปเฝา้ พระผมู้ ีพระภาคเจา้ กราบทูลเล่าถวายใหพ้ ระพทุ ธเจา้ ได้ทรงทราบถึง
ค�ำท่ีท่านพระสารีบุตรได้กล่าวกะภิกษุทั้งหลาย และค�ำท่ีท่านอุทายีได้กล่าวค้าน
พระผู้มพี ระภาคเจา้ ไดต้ รสั ถามท่านพระอุทายวี ่า ทา่ นอุทายี หมายถึงเหล่าเทพผู้เกิด
ดว้ ยใจเหลา่ ไหน ทา่ นพระอทุ ายไี ดก้ ราบทลู วา่ หมายถงึ เหลา่ เทพชน้ั อรปู ทเ่ี กดิ ดว้ ยสญั ญา
พระผมู้ พี ระภาคเจา้ จงึ ไดต้ รสั วา่ ไฉนทา่ นพระอทุ ายจี งึ เปน็ ผพู้ าล ไมฉ่ ลาดกลา่ วอยา่ งนน้ั
เธอเองคอื ทา่ นพระอุทายยี ่อมส�ำคัญตนว่า ควรพดู (อวดรู้)
แลว้ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ไดต้ รสั กบั ทา่ นพระอานนทว์ า่ “ไฉนพวกเธอจงึ วางเฉย
ดดู ายภกิ ษผุ เู้ ถระซงึ่ ถกู เบยี ดเบยี นอยู่ ชอื่ วา่ แมค้ วามกรณุ ากไ็ มม่ ใี นภกิ ษผุ ฉู้ ลาดซงึ่ ถกู
เบียดเบียนอยู่″ พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงได้ตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายมาแล้วตรัสว่า
“ผถู้ งึ พรอ้ มดว้ ยศลี ถงึ พรอ้ มดว้ ยสมาธิ ถงึ พรอ้ มดว้ ยปญั ญา พงึ เขา้ สญั ญาเวทยติ นโิ รธ
บา้ ง พึงออกจากสญั ญาเวทยิตนิโรธบ้าง ขอ้ นน้ั เป็นฐานะทจี่ ะมีได้ ถา้ เธอไมพ่ งึ บรรลุ
อรหตั ตผลในปจั จบุ นั ไซร้ เธอกก็ า้ วลว่ งความเปน็ สหายแหง่ เหลา่ เทพผมู้ กี วฬงิ การาหาร
คอื มคี ำ� ขา้ วเปน็ อาหาร เปน็ ภกั ษา เขา้ ถงึ เหลา่ เทพผเู้ กดิ ดว้ ยใจบางเหลา่ พงึ เขา้ สญั ญา
เวทยิตนิโรธบ้าง พึงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง ข้อน้ันเป็นฐานะท่ีจะพึงมีได้″
ครนั้ ตรสั ดง่ั นีแ้ ลว้ ก็เสดจ็ ลุกจากอาสนะ เขา้ ไปยังพระวหิ าร
ครนั้ เมอื่ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ เสดจ็ ไปแลว้ ไมน่ าน ทา่ นพระอานนทไ์ ดเ้ ขา้ ไปหา
ทา่ นพระอปุ วานะ แลว้ กลา่ ววา่ ภกิ ษเุ หลา่ อนื่ ในพระศาสนานี้ ยอ่ มเบยี ดเบยี นภกิ ษทุ งั้
หลายผูเ้ ถระ พวกเราจักไมถ่ ามหาภิกษเุ หล่านั้น การท่ีพระผมู้ พี ระภาคเจ้าเสดจ็ ออก
จากทพ่ี กั ผอ่ นในเวลาเยน็ จกั ทรงปรารภเหตนุ น้ั ยกขนึ้ แสดง เหมอื นดงั ทจ่ี ะพงึ ตรสั โดย
เฉพาะกบั ทา่ นอปุ วานะในเหตนุ น้ั ขอ้ นน้ั ไมเ่ ปน็ อศั จรรย์ บดั นี้ ความไมส่ บายใจไดเ้ กดิ
ขึ้นแก่พวกเรา พระผมู้ พี ระภาคเจา้ เสด็จออกจากที่เร้นในเวลาเย็นแลว้ เสดจ็ เข้าไปนัง่
ท่ีอุปัฏฐานศาลาคือศาลาเป็นที่บ�ำรุง ประทับน่ังบนอาสนะท่ีได้ตกแต่งไว้ แล้วจึงตรัส
ถามท่านพระอุปวานะว่า ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรมเท่าไรหนอแล ย่อมเป็นที่รัก
เป็นที่พอใจ เป็นที่เคารพ เป็นที่ยกย่องของเพื่อนพรหมจรรย์ ท่านพระอุปวานะได้
กราบทลู วา่ ภกิ ษผุ เู้ ถระยอ่ มประกอบดว้ ยธรรม ๕ ประการ ยอ่ มเปน็ ทรี่ กั เปน็ ทพี่ อใจ
เปน็ ทีเ่ คารพ และเปน็ ทีย่ กย่องของเพอื่ นพรหมจรรย์ คอื ภิกษใุ นธรรมวินัยนี้
พรรษาที่ ๙ 79
๑. เปน็ ผู้มีศลี ฯลฯ สมาทานศึกษาอย่ใู นสกิ ขาบททัง้ หลาย๔๑
๒. เปน็ พหูสตู คือผไู้ ดส้ ดบั ตรบั ฟังมาก ฯลฯ บรสิ ุทธิบ์ ริบูรณ์สน้ิ เชงิ ๔๒
๓. เปน็ ผมู้ วี าจาไพเราะ มถี อ้ ยคำ� ไพเราะ ประกอบดว้ ยวาจาของชาวเมอื งอนั
สละสลวย ไมม่ ีโทษ ให้รู้เนอื้ ความทแ่ี จม่ แจ้ง
๔. เป็นผู้ได้ตามความปรารถนา ได้โดยไมย่ าก ไดโ้ ดยไมล่ �ำบาก ซึ่งฌาน ๔
อันมใี นจิตยิง่ เป็นเคร่ืองอยเู่ ป็นสุขในปัจจุบนั
๕. ยอ่ มท�ำใหแ้ จง้ ซง่ึ เจโตวมิ ุตติ ปญั ญาวิมุตตอิ นั หาอาสวะมไิ ดเ้ พราะอาสวะ
ทั้งหลายส้ินไป ดว้ ยปัญญาอนั ยง่ิ เองในปจั จบุ นั เข้าถึงอยู่
พระพทุ ธเจา้ จงึ ไดต้ รสั อนโุ มทนาถอ้ ยคำ� ของทา่ นพระอปุ วานะ และกไ็ ดต้ รสั วา่
ภกิ ษเุ ถระผปู้ ระกอบดว้ ยธรรม ๕ ประการนแ้ี ล ยอ่ มเปน็ ทรี่ กั เปน็ ทพ่ี อใจ เปน็ ทเ่ี คารพ
และเป็นทยี่ กย่องของเพ่ือนพรหมจรรย์ ถา้ หากว่าธรรม ๕ ประการนไี้ ม่พงึ มแี กภ่ ิกษุ
ผเู้ ถระไซร้ เพอ่ื นพรหมจรรยพ์ งึ เคารพสกั การะนบั ถอื บชู าเธอ โดยความเปน็ ผมู้ ฟี นั หกั
มีผมหงอก มหี นงั ยน่ เพื่ออะไรกนั เพราะธรรม ๕ ประการนย้ี อ่ มมีแกภ่ กิ ษุผู้เถระ
ฉะนนั้ เพือ่ นพรหมจรรยจ์ งึ สักการะ เคารพนับถอื บชู าเธอ
โจทนาสูตร๔๓
ทา่ นพระสารบี ตุ รไดแ้ สดงแกภ่ กิ ษทุ งั้ หลายวา่ ภกิ ษผุ เู้ ปน็ โจทกใ์ ครจ่ ะโจทผอู้ นื่
พงึ เข้าไปต้งั ธรรม ๕ ประการไวภ้ ายในก่อน แลว้ จงึ โจทผ้อู น่ื คอื
๑. เราจักกลา่ วโดยกาลควร จกั ไมก่ ล่าวโดยกาลไมค่ วร
๒. จักกลา่ วดว้ ยเรือ่ งจรงิ จักไมก่ ลา่ วด้วยเร่อื งไมจ่ รงิ
๔๑ ดเู นอ้ื ความทส่ี มบรู ณ์หนา้ ๔๙๐.
๔๒ ดูเนอื้ ความที่สมบรู ณ์หน้า ๔๙๐.
๔๓ อง.ฺ ปญจฺ ก. ๒๒/๑๖๗/๒๑๘.
80 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
๓. จกั กลา่ วด้วยคำ� ออ่ นหวาน จักไมก่ ลา่ วดว้ ยคำ� หยาบ
๔. จักกล่าวด้วยเร่ืองท่ีประกอบด้วยประโยชน์ จักไม่กล่าวด้วยเร่ืองที่ไม่
ประกอบด้วยประโยชน์
๕. จกั เป็นผู้มเี มตตาจติ กลา่ ว จกั ไม่เปน็ ผ้เู พ่งโทษกล่าว
ท่านพระสารบี ุตรได้แสดงตอ่ ไปว่า เราเหน็ บคุ คลบางคนในธรรมวินัยน้ี ถูกผู้
อนื่ โจทโดยกาลไมค่ วร ไม่ถูกโจทโดยกาลอันควร กโ็ กรธ ถกู ผอู้ ื่นโจทด้วยเร่ืองไมจ่ ริง
ไมถ่ ูกโจทด้วยเรื่องจรงิ ก็โกรธ ถกู ผอู้ ่ืนโจทด้วยค�ำหยาบ ไมถ่ ูกโจทด้วยคำ� อ่อนหวาน
กโ็ กรธ ถกู ผอู้ นื่ โจทดว้ ยเรอื่ งทไ่ี มป่ ระกอบดว้ ยประโยชน์ ไมถ่ กู โจทดว้ ยเรอ่ื งทปี่ ระกอบ
ด้วยประโยชน์ ก็โกรธ ถกู ผอู้ ื่นโจทด้วยเพ่งโทษ ไม่ถูกโจทด้วยเมตตาจติ ก็โกรธ
ความไมเ่ ดือดร้อนอันพงึ เกิดขน้ึ แก่ภิกษผุ ถู้ กู โจทโดยไม่เป็นธรรม โดยอาการ
๕ คือ
๑. ทา่ นถกู โจทโดยกาลไมค่ วร ไมถ่ กู โจทโดยกาลควร ทา่ นจงึ ไมค่ วรเดอื ดรอ้ น
๒. ทา่ นถกู โจทดว้ ยเรอ่ื งไมจ่ รงิ ไมถ่ กู โจทโดยเรอื่ งจรงิ ทา่ นจงึ ไมค่ วรเดอื ดรอ้ น
๓. ทา่ นถกู โจทดว้ ยคำ� หยาบ ไมถ่ กู โจทดว้ ยคำ� ออ่ นหวาน ทา่ นจงึ ไมค่ วรเดอื ดรอ้ น
๔. ท่านถูกโจทด้วยเรื่องที่ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่ถูกโจทด้วยเร่ืองท่ี
ประกอบดว้ ยประโยชน์ ท่านจึงไม่ควรเดอื ดรอ้ น
๕. ทา่ นถกู โจทดว้ ยการเพง่ โทษ ไมถ่ กู โจทดว้ ยเมตตาจติ ทา่ นจงึ ไมค่ วรเดอื ดรอ้ น
ความเดอื ดรอ้ นอนั พงึ เกดิ ขนึ้ แกภ่ กิ ษผุ โู้ จทโดยไมเ่ ปน็ ธรรม โดยอาการ ๕ คอื
๑. ท่านโจทโดยกาลไม่ควร ไม่โจทโดยกาลควร ท่านจึงควรเดือดร้อน
๒. ท่านโจทด้วยเรื่องไม่จรงิ ไมโ่ จทดว้ ยเรอ่ื งจริง ท่านจงึ ควรเดอื ดร้อน
๓. ทา่ นโจทดว้ ยค�ำหยาบ ไมโ่ จทด้วยค�ำออ่ นหวาน ทา่ นจงึ ควรเดือดร้อน
๔. ทา่ นโจทดว้ ยเรอื่ งทไ่ี มป่ ระกอบดว้ ยประโยชน์ ไมโ่ จทดว้ ยเรอื่ งทป่ี ระกอบ
ด้วยประโยชน์ ทา่ นจึงควรเดือดรอ้ น
๕. ทา่ นโจทดว้ ยเพง่ โทษ ไมโ่ จทดว้ ยเมตตาจิต ท่านจึงควรเดอื ดรอ้ น
พรรษาที่ ๙ 81
เราเห็นบุคคลบางคนในธรรมวินัยน้ี ถูกโจทโดยกาลควร ไม่ถูกโจทโดยกาล
ไม่ควร ก็โกรธ ถกู โจทดว้ ยเร่ืองจรงิ ไมถ่ กู โจทด้วยเร่อื งไมจ่ ริง กโ็ กรธ ถูกโจทดว้ ย
คำ� ออ่ นหวาน ไมถ่ กู โจทดว้ ยคำ� หยาบ กโ็ กรธ ถกู โจทดว้ ยเรอ่ื งทปี่ ระกอบดว้ ยประโยชน์
ไม่ถกู โจทด้วยเรอื่ งท่ีไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ก็โกรธ ถูกโจทด้วยเมตตาจติ ไม่ถูก
โจทดว้ ยเพ่งโทษ ก็โกรธ
ความเดือดร้อนอันพงึ เกิดขนึ้ แกภ่ ิกษผุ ถู้ ูกโจทโดยธรรม โดยอาการ ๕ คือ
๑. ท่านถกู โจทโดยกาลควร ไม่ถูกโจทโดยกาลไมค่ วร ทา่ นจึงควรเดือดร้อน
๒. ทา่ นถกู โจทดว้ ยเรอ่ื งจรงิ ไมถ่ กู โจทดว้ ยเรอ่ื งไมจ่ รงิ ทา่ นจงึ ควรเดอื ดรอ้ น
๓. ทา่ นถกู โจทดว้ ยคำ� ออ่ นหวาน ไมถ่ กู โจทดว้ ยคำ� หยาบ ทา่ นจงึ ควรเดอื ดรอ้ น
๔. ท่านถูกโจทด้วยเรื่องที่ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่ถูกโจทด้วยเร่ืองท่ีไม่
ประกอบดว้ ยประโยชน์ ทา่ นจึงควรเดือดรอ้ น
๕. ท่านถกู โจทด้วยเมตตาจิต ไม่ถกู โจทด้วยเพง่ โทษ ทา่ นจึงควรเดอื ดรอ้ น
ความไม่เดอื ดรอ้ น อันพงึ เกดิ ขึน้ แก่ภิกษผุ โู้ จทโดยธรรม โดยอาการ ๕ คอื
๑. ทา่ นโจทโดยกาลควร ไม่โจทโดยกาลไม่ควร ท่านจงึ ไม่ควรเดือดรอ้ น
๒. ทา่ นโจทดว้ ยเรอื่ งจรงิ ไม่โจทด้วยเรอื่ งไม่จริง ท่านจงึ ไมค่ วรเดอื ดรอ้ น
๓. ทา่ นโจทดว้ ยคำ� อ่อนหวาน ไม่โจทด้วยค�ำหยาบ ทา่ นจึงไม่ควรเดอื ดรอ้ น
๔. ทา่ นโจทดว้ ยเรอื่ งทปี่ ระกอบดว้ ยประโยชน์ ไมโ่ จทดว้ ยเรอ่ื งทไี่ มป่ ระกอบ
ดว้ ยประโยชน์ ทา่ นจงึ ไมค่ วรเดือดร้อน
๕. ทา่ นโจทดว้ ยเมตตาจิต ไม่โจทดว้ ยเพ่งโทษ ทา่ นจงึ ไม่ควรเดอื ดร้อน
เพราะเหตไุ ร เพราะวา่ ภกิ ษแุ มร้ ปู อน่ื พงึ ใหค้ วามสำ� คญั วา่ พงึ โจทดว้ ยเรอื่ งจรงิ
ท่านพระสารีบุตรได้กล่าวต่อไปว่า อันบุคคลผู้ถูกโจท พึงต้ังอยู่ในธรรม
๒ ประการ คอื ความจรงิ และความไมโ่ กรธ ถา้ ผอู้ น่ื พงึ โจทเราดว้ ยธรรม ๕ ประการ คอื
๑. พงึ โจทโดยกาลควรหรอื โดยกาลไมค่ วร
๒. ดว้ ยเรอ่ื งจริงหรือดว้ ยเรอื่ งไม่จริง
82 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
๓. ด้วยค�ำอ่อนหวานหรอื ดว้ ยคำ� หยาบ
๔. ดว้ ยเรอ่ื งทป่ี ระกอบดว้ ยประโยชนห์ รอื ดว้ ยเรอื่ งทไ่ี มป่ ระกอบดว้ ยประโยชน์
๕. ดว้ ยเมตตาจติ หรือดว้ ยเพง่ โทษ
แม้เราก็พงึ ตง้ั อยใู่ นธรรม ๒ ประการ คือความจรงิ และความไม่โกรธ ถ้าเรา
พงึ ทราบวา่ ธรรมนน้ั มอี ยใู่ นเราไซร้ เราพงึ กลา่ วธรรมนนั้ วา่ มอี ยู่ วา่ ธรรมนนั้ มอี ยพู่ รอ้ ม
ในเรา ถา้ เราพงึ ทราบวา่ ธรรมนนั้ ไมม่ อี ยใู่ นเราไซร้ เรากพ็ งึ กลา่ วธรรมนนั้ วา่ ไมม่ อี ยู่
วา่ ธรรมน้ันไม่มอี ยพู่ ร้อมในเรา
พระพุทธเจ้าได้ตรัสแก่ท่านพระสารีบุตรว่า เรื่องก็จะพึงเป็นเช่นน้ัน แต่ว่า
โมฆบรุ ษุ บางพวกในธรรมวนิ ยั นี้ เมอื่ ถกู กลา่ วสอน ยอ่ มไมร่ บั โดยเคารพ ทา่ นพระสารบี ตุ ร
ไดก้ ราบทลู ว่า บคุ คลเหล่าใดไมม่ ศี รัทธา ตอ้ งการเล้ียงชวี ิต มิใช่ออกบวชด้วยศรัทธา
เป็นผู้โอ้อวด มีมารยา เกเร ฟุ้งซ่าน เย่อหย่ิง เหลาะแหละ ปากกล้า พูดพล่าม
ไมส่ ำ� รวมทวารในอินทรยี ท์ งั้ หลาย ไมร่ ู้จักประมาณในโภชนะ ไม่ประกอบความเพียร
ไมเ่ พง่ ถงึ ความเปน็ สมณะ ไมม่ คี วามเคารพกลา้ ในสกิ ขา มกั มาก ยอ่ หยอ่ น เปน็ หวั หนา้
ในการลว่ งละเมดิ ทอดธุระในวิเวกคอื ความสงบสงัด เกยี จคร้าน มีความเพียรทราม
มีสตเิ ลอะเทอะ ไม่มีสัมปชัญญะ ไม่มีจิตม่นั คง มจี ติ ฟงุ้ ซ่าน มีปัญญาทราม เป็นคน
บ้าน�้ำลาย คนเหล่านั้นเม่ือถูกข้าพระองค์กล่าวสอนอย่างนี้ ก็ไม่รับโดยเคารพ
สว่ นกลุ บตุ รเหลา่ ใดมศี รทั ธาออกบวช ไมโ่ ออ้ วด ไมม่ มี ารยา ไมเ่ กเร ไมฟ่ งุ้ ซา่ น ไมเ่ ยอ่ หยง่ิ
ไม่เหลาะแหละ ไมป่ ากกล้า ไม่พูดพล่าม ส�ำรวมทวารในอนิ ทรยี ์ทงั้ หลาย รู้ประมาณ
ในโภชนะ ประกอบความเพียร เพ่งถึงความเป็นสมณะ มีความเคารพกล้าในสิกขา
ไม่มักมาก ไมย่ ่อหยอ่ น ทอดธรุ ะในการล่วงละเมิด เปน็ หัวหนา้ ในวเิ วกคือความสงบ
สงัด มีความเพียร อบรมตน มีสติตั้งม่ัน มีสัมปชัญญะ มีจิตมั่นคง มีจิตเป็นหน่ึง
มีปัญญา มิใช่คนบ้าน�้ำลาย กุลบุตรเหล่านั้นเม่ือถูกข้าพระองค์กล่าวสอนอย่างน้ี
ยอ่ มรบั โดยเคารพ
พระพทุ ธเจา้ ก็ได้ตรสั รบั รอง โดยตรัสซำ้� ค�ำทท่ี า่ นพระสารีบตุ รกราบทลู และ
ได้ตรัสแก่ท่านพระสารีบุตรว่า เธอพึงว่ากล่าวกุลบุตรเหล่านั้น จงกล่าวสอนเพ่ือน
พรหมจรรย์ จงพร่�ำสอนเพื่อนพรหมจรรย์ ด้วยหวังว่า เราจักยกเพื่อนพรหมจรรย์
จากอสทั ธรรม ให้ต้งั อย่ใู นสัทธรรม เธอพึงส�ำเหนียกไว้อย่างนี้แล
พรรษาที่ ๙ 83
สลี สตู ร๔๔
ว่าดว้ ยโทษของความทศุ ลี และคณุ แห่งความมีศีล
ท่านพระสารีบุตรได้แสดงแก่ภิกษุท้ังหลายว่า สัมมาสมาธิของภิกษุผู้ทุศีล
มศี ลี วบิ ตั ิ ยอ่ มเปน็ ธรรมมอี ปุ นสิ ยั ถกู ขจดั คอื ไมม่ ี เมอ่ื สมั มาสมาธไิ มม่ ี ยถาภตู ญาณ-
ทสั สนะ ความรเู้ หน็ ตามเปน็ จรงิ ของภกิ ษผุ มู้ สี มั มาสมาธวิ บิ ตั ิ ยอ่ มเปน็ ธรรมมอี ปุ นสิ ยั
ถกู ขจดั คอื ไมม่ ี เมอื่ ยถาภตู ญาณทสั สนะ ความรคู้ วามเหน็ ตามเปน็ จรงิ ไมม่ ี นพิ พทิ า
วิราคะ คือความหน่ายความสิ้นติดใจยินดี ของภิกษุผู้มียถาภูตญาณทัสสนะวิบัติ
ยอ่ มเป็นธรรมมอี ุปนิสัยถูกขจัด คอื ไม่มี เม่ือนิพพิทาวริ าคะไมม่ ี วิมุตตญิ าณทัสสนะ
ความรู้ความเห็นในวิมุตติของภิกษุผู้มีนิพพิทาวิราคะวิบัติ ย่อมเป็นธรรมมีอุปนิสัย
ถกู ขจดั คอื ไมม่ ี เหมอื นตน้ ไมท้ มี่ กี งิ่ และใบวบิ ตั ิ แมก้ ะเทาะของตน้ ไมน้ น้ั กย็ อ่ มไมถ่ งึ
ความบรบิ รู ณ์ แมเ้ ปลอื ก กระพ้ี แกน่ ของตน้ ไมน้ นั้ กย็ อ่ มไมถ่ งึ ความบรบิ รู ณ์ แมฉ้ นั ใด
สัมมาสมาธิของภิกษุผู้ทุศีล มีศีลวิบัติ ย่อมเป็นธรรมมีอุปนิสัยถูกขจัด คือไม่มี
เมอ่ื สมั มาสมาธไิ มม่ ี ยถาภตู ญาณทสั สนะของภกิ ษผุ มู้ สี มั มาสมาธวิ บิ ตั ิ ยอ่ มเปน็ ธรรม
มีอุปนิสัยถูกขจัด คอื ไมม่ ี เมอ่ื ยถาภตู ญาณทสั สนะไมม่ ี นพิ พทิ าวริ าคะของภกิ ษผุ มู้ ี
ยถาภตู ญาณทสั สนะวบิ ตั ิ ยอ่ มเปน็ ธรรมมอี ปุ นสิ ยั ถกู ขจดั คอื ไมม่ ี เมอ่ื นพิ พทิ าวริ าคะ
ไมม่ ี วมิ ตุ ตญิ าณทสั สนะของภกิ ษผุ มู้ นี พิ พทิ าวริ าคะวบิ ตั ิ ยอ่ มเปน็ ธรรมมอี ปุ นสิ ยั ถกู ขจดั
คอื ไมม่ ี ฉันนนั้ เหมือนกนั
ท่านพระสารีบุตรได้กล่าวต่อไปอีกว่า สัมมาสมาธิของภิกษุผู้มีศีล สมบูรณ์
ดว้ ยศลี ยอ่ มถงึ พรอ้ มดว้ ยธรรมเปน็ อปุ นสิ ยั คอื มี เมอื่ สมั มาสมาธมิ อี ยู่ ยถาภตู ญาณ-
ทัสสนะของภิกษุผู้มีสัมมาสมาธิสมบูรณ์ ย่อมถึงพร้อมด้วยธรรมเป็นอุปนิสัย คือมี
เมอื่ ยถาภตู ญาณทสั สนะมอี ยู่ นพิ พทิ าวริ าคะของภกิ ษผุ มู้ ยี ถาภตู ญาณทสั สนะสมบรู ณ์
ยอ่ มถงึ พรอ้ มดว้ ยธรรมเปน็ อปุ นสิ ยั คอื มี เมอ่ื นพิ พทิ าวริ าคะมอี ยู่ วมิ ตุ ตญิ าณทสั สนะ
ของภิกษุผู้มีนิพพิทาวิราคะสมบูรณ์ ย่อมถึงพร้อมด้วยธรรมเป็นอุปนิสัย คือมี
เปรยี บเหมอื นตน้ ไมม้ กี งิ่ และใบสมบรู ณ์ แมก้ ะเทาะของตน้ ไมน้ นั้ กย็ อ่ มถงึ ความบรบิ รู ณ์
๔๔ อง.ฺ ปญจฺ ก. ๒๒/๑๖๘/๒๒๓.
84 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
แมเ้ ปลอื ก กระพ้ี แกน่ ของตน้ ไมน้ น้ั กย็ อ่ มถงึ ความบรบิ รู ณ์ แมฉ้ นั ใด สมั มาสมาธขิ อง
ภกิ ษผุ มู้ ศี ลี สมบรู ณด์ ว้ ยศลี ยอ่ มถงึ พรอ้ มดว้ ยธรรมเปน็ อปุ นสิ ยั คอื มี เมอื่ สมั มาสมาธิ
มีอยู่ ยถาภูตญาณทัสสนะของภิกษุผู้มีสัมมาสมาธิสมบูรณ์ ย่อมถึงพร้อมด้วยธรรม
เป็นอุปนสิ ยั คอื มี เมื่อยถาภูตญาณทัสสนะมีอยู่ นิพพทิ าวริ าคะของภกิ ษุผู้มียถาภูต-
ญาณทสั สนะ สมบรู ณ์ ย่อมถึงพรอ้ มด้วยธรรมเปน็ อุปนิสยั คอื มี เมื่อนพิ พทิ าวริ าคะ
มอี ยู่ วิมุตตญิ าณทัสสนะของภิกษผุ ูม้ ีนพิ พทิ าวริ าคะสมบูรณ์ ย่อมถึงพร้อมด้วยธรรม
เป็นอุปนสิ ัย คือมี ฉนั นั้นเหมอื นกนั
นิสนั ติสูตร๔๕
วา่ ด้วยเหตใุ ห้คดิ ได้เรว็ เรยี นได้ดี
ท่านพระอานนท์ได้เข้าไปหาท่านพระสารีบุตรถึงท่ีอยู่ ได้ปราศรัยกับท่าน
พระสารบี ตุ ร ครนั้ ผา่ นการปราศรยั พอใหร้ ะลกึ ถงึ กนั ไปแลว้ จงึ ไดถ้ ามทา่ นพระสารบี ตุ ร
ว่าด้วยเหตุเพียงเท่าไรหนอ ภิกษุจึงจะเป็นผู้ใคร่ครวญได้เร็วในกุศลธรรมท้ังหลาย
เรยี นไดด้ ี เรยี นไดม้ าก และสง่ิ ทเ่ี ธอเรยี นแลว้ ยอ่ มไมเ่ ลอื นไป ทา่ นพระสารบี ตุ รไดต้ อบวา่
ท่านพระอานนท์เป็นพหูสูต คือเป็นผู้ได้สดับตรับฟังมาก ข้อความนั้นจงแจ่มแจ้งแก่
ท่านพระอานนท์ทีเดียว ท่านพระอานนท์จึงได้แสดงแก่ท่านพระสารีบุตรว่า ภิกษุใน
ธรรมวินัยน้ี ย่อมเป็นผู้
๑. ฉลาดในอรรถ
๒. ฉลาดในธรรม
๓. ฉลาดในพยญั ชนะ
๔. ฉลาดในนริ ตุ ติ คอื ภาษา
๕. ฉลาดในเบือ้ งตน้ และเบ้อื งปลาย
๔๕ อง.ฺ ปญจฺ ก. ๒๒/๑๖๙/๒๒๔.
พรรษาท่ี ๙ 85
ด้วยเหตุเพยี งเท่านี้แล ภิกษุจึงจะเป็นผใู้ ครค่ รวญไดเ้ รว็ ในกุศลธรรมทง้ั หลาย
เรยี นไดด้ ี เรียนไดม้ าก และส่งิ ท่เี ธอเรยี นแลว้ ยอ่ มไมเ่ ลอะเลอื น ทา่ นพระสารบี ุตรได้
กล่าวอนโุ มทนาทา่ นพระอานนทว์ า่ ตามทีท่ า่ นพระอานนท์กลา่ วไว้ดีแล้วนน้ี ่าอัศจรรย์
ไมเ่ คยมมี าแลว้ และพวกเรายอ่ มทรงจำ� ทา่ นพระอานนทผ์ ปู้ ระกอบดว้ ยธรรม ๕ ประการ
นว้ี า่ ทา่ นพระอานนทเ์ ปน็ ผฉู้ ลาดในอรรถ ฉลาดในธรรม ฉลาดในพยญั ชนะ ฉลาดใน
นิรตุ ตคิ อื ภาษา และฉลาดในเบือ้ งต้นและเบื้องปลาย
จะอธบิ ายบางบทในพระสตู รนี้ ขอ้ วา่ ฉลาดในอรรถ ไดแ้ กเ่ ปน็ ผฉู้ ลาดในอรรถกถา
คอื ถอ้ ยคำ� อธบิ าย ขอ้ วา่ ฉลาดในธรรม ไดแ้ กเ่ ปน็ ผฉู้ ลาดในบาลี คอื ในขอ้ ธรรมทเ่ี ปน็
พระบาลคี อื เปน็ พระพทุ ธพจนท์ ง้ั หลาย ขอ้ วา่ ฉลาดในพยญั ชนะ ไดแ้ กเ่ ปน็ ผฉู้ ลาดใน
ประเภทแหง่ อกั ษร ขอ้ วา่ ฉลาดในนิรตุ ติ ไดแ้ กฉ่ ลาดในภาษา ขอ้ ว่า เป็นผ้ฉู ลาดใน
เบื้องตน้ และเบอ้ื งปลาย ไดแ้ กเ่ ปน็ ผฉู้ ลาดในเบอื้ งตน้ เบ้ืองปลาย ๕ คือ ๑. เบือ้ งตน้
เบื้องปลายของอรรถ คือถ้อยค�ำที่แสดงเนื้อความหรือถ้อยค�ำท่ีอธิบายความแห่งบาลี
๒. เบอ้ื งตน้ เบอ้ื งปลายของบาลี คอื ขอ้ ธรรมทเ่ี ปน็ บาลี คอื ขอ้ ธรรมทเี่ ปน็ พระพทุ ธพจน์
ท้ังหลาย ๓. เบ้ืองต้นเบื้องปลายของบท ๔. เบ้ืองต้นเบื้องปลายของอักษร
๕. เบือ้ งตน้ เบือ้ งปลายของอนสุ นธคิ อื ความสบื ต่อ
ในเบื้องตน้ เบ้อื งปลายเหลา่ นัน้ รู้อรรถเบื้องต้นดว้ ยอรรถเบื้องปลาย รู้อรรถ
เบอื้ งปลายดว้ ยอรรถเบอื้ งตน้ ชอ่ื วา่ เปน็ ผฉู้ ลาดในเบอื้ งตน้ เบอื้ งปลายของอรรถ อธบิ ายวา่
ภกิ ษนุ น้ั เมอื่ เวน้ อรรถเบอ้ื งตน้ กลา่ วแตอ่ รรถเบอื้ งปลาย กย็ อ่ มรวู้ า่ อรรถเบอ้ื งตน้ มอี ยู่
อยา่ งน้ี แมเ้ มอ่ื ทา่ นเวน้ อรรถเบอื้ งปลาย กลา่ วแตอ่ รรถเบอ้ื งตน้ กร็ วู้ า่ อรรถเบอื้ งปลาย
มีอยู่ด่ังนี้ เมื่อทา่ นเว้นอรรถทง้ั ๒ กลา่ วแตอ่ รรถในทา่ มกลาง กย็ อ่ มรู้วา่ อรรถทัง้ ๒
มีอยดู่ ั่งนี้ เม่อื ท่านเวน้ อรรถในทา่ มกลาง กลา่ วแต่อรรถท้งั ๒ ส่วน ย่อมรู้วา่ อรรถ
ในท่ามกลางมีอยู่ดง่ั นี้ แมใ้ นเบ้อื งต้น เบอื้ งปลายของบาลีเป็นตน้ กม็ นี ัยเหมอื นกนั
สว่ นในเบือ้ งต้นเบอ้ื งปลายของอนสุ นธิ มีวนิ จิ ฉยั ดังตอ่ ไปน้ี เม่อื พระสตู รเริ่ม
แต่ศีลเป็นต้นไป ในท่ีสุดก็มาถึงอภิญญา ๖ ภิกษุย่อมรู้ว่า พระสูตรไปตามอนุสนธิ
ไปตามก�ำหนดบทด่ังนี้ เมื่อพระสูตรเร่ิมแต่ทิฏฐิไป เบื้องปลายสัจจะท้ังหลายก็มาถึง
ภกิ ษุย่อมรู้ว่า พระสตู รไปตามอนุสนธิ เม่ือพระสูตรเร่ิมแตก่ ารทะเลาะบาดหมางกนั
86 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
เบื้องปลายสาราณียธรรมก็มาถึง เมื่อพระสูตรเริ่มแต่ดิรัจฉานกถา คือถ้อยค�ำที่เป็น
ของนอกพระธรรมวนิ ยั เบอ้ื งปลายกถาวตั ถคุ อื ถอ้ ยคำ� ทค่ี วรพดู กม็ าถงึ ภกิ ษยุ อ่ มรวู้ า่
พระสูตรไปตามอนุสนธิ คอื ตามลำ� ดับขอ้ ความทต่ี ่อกัน
ภัททชิสูตร๔๖
ว่าด้วยสิง่ ที่เปน็ ยอด ๕ ประการ
สมยั หนึ่งทา่ นพระอานนทอ์ ยู่ ณ โฆสิตาราม กรุงโกสัมพี ท่านพระภัททชิได้
เขา้ ไปหาทา่ นพระอานนทถ์ งึ ทอี่ ยู่ ไดป้ ราศรยั กบั ทา่ นพระอานนท์ ครน้ั ผา่ นการปราศรยั
พอใหร้ ะลกึ ถงึ กนั ไปแลว้ ทา่ นพระอานนทไ์ ดถ้ ามทา่ นพระภทั ทชวิ า่ บรรดาการเหน็ ทง้ั หลาย
การเห็นชนิดไหนเป็นยอด บรรดาการได้ยินทั้งหลาย การได้ยินชนิดไหนเป็นยอด
บรรดาสขุ ทงั้ หลาย สขุ ชนดิ ไหนเปน็ ยอด บรรดาสญั ญาทงั้ หลาย สญั ญาชนดิ ไหนเปน็ ยอด
บรรดาภพทง้ั หลาย ภพชนดิ ไหนเปน็ ยอด
ทา่ นพระภทั ทชติ อบวา่ พรหม ผเู้ ปน็ ใหญย่ ง่ิ ไมม่ ใี ครครอบงำ� ได้ เหน็ สงิ่ ทง้ั ปวง
ยงั ผ้อู ่นื ใหเ้ ป็นไปในอ�ำนาจ มอี ยู่ ผู้ใดเหน็ พรหมนนั้ การเห็นของผ้นู นั้ เปน็ ยอดของ
การเหน็ ทง้ั หลาย
เทพเหลา่ อาภสั สระ ผเู้ พยี บพรอ้ มดว้ ยความสขุ มอี ยู่ เทพเหลา่ นนั้ ยอ่ มเปลง่
อทุ านในบางครงั้ บางคราววา่ สขุ หนอ สขุ หนอ ผใู้ ดไดย้ นิ เสยี งนน้ั การไดย้ นิ เสยี งของ
ผ้นู น้ั เปน็ ยอดของการได้ยนิ ทง้ั หลาย
เทพเหลา่ สุภกณิ หะ มอี ยู่ เทพเหลา่ นน้ั ยนิ ดเี ฉพาะส่งิ ทมี่ อี ยู่ ยอ่ มเสวยสขุ
การเสวยสขุ นีเ้ ปน็ ยอดของความสขุ ท้ังหลาย
พวกเทพผเู้ ขา้ ถงึ อากญิ จญั ญายตนภพ มอี ยู่ การเขา้ ถงึ อากญิ จญั ญายตนภพ
นี้เป็นยอดของสัญญาทง้ั หลาย
๔๖ อง.ฺ ปญจฺ ก. ๒๒/๑๗๐/๒๒๕.
พรรษาที่ ๙ 87
พวกเทพผู้เขา้ ถึง เนวสัญญานาสัญญายตนภพ มอี ยู่ การเขา้ ถงึ เนวสญั ญานา-
สญั ญายตนภพนี้เป็นยอดของภพทั้งหลาย
ทา่ นพระอานนท์ไดก้ ลา่ วว่า คำ� พดู ของทา่ นพระภทั ทชนิ ้ี ยอ่ มเข้ากับคนเป็น
อนั มาก สว่ นทา่ นพระภทั ทชจิ งึ ไดก้ ลา่ วแกท่ า่ นพระอานนทว์ า่ ทา่ นพระอานนทเ์ ปน็ พหสู ตู
คือเป็นผู้ได้สดับตรับฟังมาก ขอท่านพระอานนท์จงอธิบายความข้อน้ันให้แจ่มแจ้ง
ด้วยเถิด ท่านพระอานนท์จึงกล่าวว่า ถ้าเช่นน้ันท่านจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจะกล่าว
แลว้ ท่านพระอานนท์ได้แสดงว่า
ความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ยอ่ มมีในล�ำดับแหง่ บคุ คลผู้เหน็ ตามเปน็ จริง
นีเ้ ป็นยอดของการเห็นทงั้ หลาย
ความสิ้นไปแห่งอาสวะทง้ั หลาย ย่อมมีในลำ� ดบั แห่งบคุ คลผูไ้ ดย้ นิ ตามความ
เปน็ จริง นี้เป็นยอดของการไดย้ ินทง้ั หลาย
ความสนิ้ ไปแหง่ อาสวะทง้ั หลาย ยอ่ มมใี นลำ� ดบั แหง่ บคุ คลทไ่ี ดร้ บั ความสขุ ตาม
เปน็ จรงิ นเ้ี ป็นยอดของความสขุ ทงั้ หลาย
ความสนิ้ ไปแหง่ อาสวะทงั้ หลาย ยอ่ มมใี นลำ� ดบั แหง่ บคุ คลผมู้ ตี ามสญั ญาตาม
เปน็ จรงิ นี้เป็นยอดของสัญญาทงั้ หลาย
ความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ย่อมมีในล�ำดับแห่งบุคคลผู้เป็นอยู่แล้ว
ตามเป็นจรงิ นี้เป็นยอดของภพทั้งหลาย
ในพระสูตรที่กล่าวมาน้ี ไดแ้ สดงถงึ อนั ตคาหกิ ทฏิ ฐิ ในพระสตู รหนึ่ง คำ� ว่า
อนั ตคาหกิ ทฏิ ฐิ นนั้ คอื ความเหน็ อนั ถอื เอาทส่ี ดุ คอื แลน่ เขา้ ไปถงึ ทสี่ ดุ ในอยา่ งหนง่ึ ๆ
แจกออกไปเป็น ๑๐ ขอ้ คอื
๑. โลกเท่ยี ง
๒. โลกไม่เทยี่ ง
๓. โลกมที ีส่ ุด
๔. โลกไมม่ ีทีส่ ุด
88 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
๕. ชีพก็อนั น้ัน สรรี ะกอ็ นั นั้น
๖. ชพี เป็นอ่นื สรรี ะกเ็ ปน็ อืน่
๗. สัตวเ์ บ้ืองหนา้ แตต่ ายแลว้ ยอ่ มเป็นอีก คือเกดิ อีก
๘. สัตวเ์ บื้องหน้าแตต่ ายแล้ว ยอ่ มไมเ่ ป็นอีก คือไมเ่ กิดอกี
๙. สตั วเ์ บอื้ งหนา้ แตต่ ายแลว้ ย่อมเป็นอกี ก็มี ยอ่ มไม่เปน็ อกี ก็มี
๑๐. สตั วเ์ บ้อื งหน้าแตต่ ายแล้ว ยอ่ มเปน็ อีกหามไิ ด้ ย่อมไม่เป็นอีกก็หามิได้
ทฏิ ฐิ ๑๐ ประการน้ี สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส
ไดท้ รงอธบิ ายไวว้ า่ “ทฏิ ฐนิ อกพระพทุ ธศาสนา พระอาจารยไ์ มพ่ อใจอธบิ าย ในเมอ่ื จำ�
จะพูดถึง ก็พูดอย่างห้วน ยากท่ีจะเข้าใจ เมื่อเป็นเช่นนี้ ยากท่ีจะลงความเห็นว่า
พระพุทธศาสนามุ่งหมายอย่างไร ทิฏฐิน้ีท่านมิได้พรรณนาไว้ชัดเจน แต่กล่าวว่า
เป็นขอ้ ท่พี ระศาสดาไม่ทรงพยากรณ์ คอื ไม่ตรัสถงึ ดงั มีเรื่องเลา่ วา่ พระมาลงุ กยะทูล
ถามถงึ ทฏิ ฐิ ๑๐ นี้ และทูลพ้อวา่ ถ้าไมท่ รงพยากรณ์ จกั ไม่อยปู่ ระพฤตพิ รหมจรรย์
ต่อไป พระองค์ตรัสว่า เมื่อพระมาลุงกยะจะมาประพฤติพรหมจรรย์ พระองค์ไม่ได้
สัญญาไว้ว่า จักทรงแก้ทิฏฐิ ๑๐ ข้อนี้ พระมาลุงกยะปรารถนาจะไปก็จงไป ดั่งน้ี
จงึ เป็นดจุ กรยุ อันผ้สู อดสอ่ งธรรมในพระพทุ ธศาสนา พงึ หลีกหา่ ง ดจุ กรุยบอกน�ำ้ ตื้น
อนั เรือไม่พึงแวะเขา้ ไป เปน็ ข้อท่นี า่ รอู้ ยู่ ในท่นี ้จี ะอธิบายตามมติของขา้ พเจา้ โลกในท่ี
นน้ี า่ จะไดแ้ กห่ มสู่ ตั ว์ ขอ้ วา่ โลกเทย่ี งนน้ั นา่ จะหมายความดงั กลา่ วแลว้ ใน สสั สตทฏิ ฐิ
คือความเห็นว่าเที่ยง ข้อว่า โลกไม่เท่ียง น้ันน่าจะหมายถึงความดังกล่าวแล้วใน
อจุ เฉททฏิ ฐิ คอื ความเหน็ ว่าขาดสญู ข้อวา่ โลกมีท่สี ุด นา่ จะหมายความวา่ คนท�ำดี
ในท่ีสดุ ยอ่ มไปเกิดในทพิ ยกาย ทีย่ ั่งยืน ไมแ่ ปรผนั ดุจความเขา้ ใจของคนถอื ลัทธิตา่ ง
บางพวก หรอื ดว้ ยมรณะแล้วขาดสูญกัน ข้อว่า โลกไม่มที ีส่ ุด นน้ั นา่ จะหมายความว่า
เวียนเกิดเวียนตายไปอย่างน้ีไม่มีขาดลง ข้อว่า ชีพก็อันน้ันสรีระก็อันนั้น กับข้อว่า
ชีพเป็นอื่น สรีระก็เป็นอ่ืน ชีพนั้น ได้แก่ ชีโว ท่ีแปลว่า ชีพ เป็นแต่ในที่นี้ใช้เป็น
นปงุ สกลิงค์ วา่ ชีวํ ในพราหมณสมยั ๔๗ บัญญัตวิ า่ เวลามรณะ ชีพนี้ออกจากสรีระไป
๔๗ ในค�ำสง่ั สอนหรือลัทธิของพราหมณ.์
พรรษาท่ี ๙ 89
ถือปฏสิ นธใิ หม่ ส่วนสรรี ะยอ่ มสลายไป ทิฏฐิเนอื่ งดว้ ยชีพน้ี ขา้ งหน่ึงเขา้ ใจว่า ชพี กับ
สรรี ะเปน็ อนั เดียวกนั เกดิ ดบั พรอ้ มกัน อีกข้างหนงึ่ เขา้ ใจวา่ ชพี กับสรรี ะตา่ งกนั เชน่
บัญญัติไว้ในพราหมณสมัย พระพุทธศาสนากล่าวอนัตตา ไม่ใช่อัตตา ไม่ใช่ตนน้ัน
แสดงนามธรรม คอื จิตเจตสกิ ว่า เกดิ ขน้ึ เพราะอายตนะภายในและอายตนะภายนอก
สบกันเข้าเป็นต้นไป เพ่ือคัดค้านชีพดังท่ีเขาเข้าใจกันน้ัน ในข้อปรารภความเกิดอีก
เป็นต้น ของสัตว์เบื้องหน้าแต่ตายแล้ว บทบาลี ใช้แปลกอยู่ ใช้บทว่า ตถาคโต
ทแ่ี กใ้ นอรรถกถาวา่ สตโฺ ต คอื สตั ว์ ตถาคต ศพั ทน์ น้ั นอกจากในทน่ี ี้ พบแตใ่ นทเี่ รยี ก
พระสมั มาสมั พุทธเจา้ มักเรียกเป็นพหพู จนด์ ้วย โดยอธิบายวา่ ผ้มู าเหมอื นอยา่ งนัน้
คอื ไดต้ รสั เปน็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ และไดท้ รงบำ� เพญ็ พทุ ธกจิ ถกู ตอ้ งตามธรรมเนยี ม
ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์ก่อนๆ เช่นเดียวกับพระราชาผู้เป็นแทนสืบกันมา
สอบกับภาษาสันสกฤต ได้ความออกไปอีกหน่อยว่า นอกจากใช้เรียกพระพุทธเจ้า
ใชเ้ รยี กชนิ ะ ทอ่ี อกชือ่ ในปกรณข์ ้างพระพุทธศาสนาว่า นิครนถนาฏบุตรบ้าง ใชเ้ รียก
เจา้ บ้าง ไมไ่ ดก้ ล่าววา่ ใช้เรยี กสามัญสตั ว์ ถา้ ไม่ใช่ศัพทใ์ ชเ้ รยี กสามญั สตั ว์ ความเข้าใจ
ก็จะพงึ มอี ีกทางหนง่ึ ว่า ท่านผู้ทีม่ หาชนนบั ถือเป็นศาสดาและเป็นเอกอุในลัทธิของตน
เบอ้ื งหนา้ แตต่ ายแลว้ เกดิ อกี หรอื ไม่ หรอื ทเ่ี กดิ อกี กม็ ไี มเ่ กดิ อกี กม็ ี หรอื ปฏเิ สธทงั้ นน้ั
สมดว้ ยปญั หาปรารภเจ้าลัทธเิ หน็ ปานนี้ อนั พระสุภทั ทะคร้งั ยงั เป็นปรพิ าชกยกขึน้ ทูล
ถามพระศาสดาเมอ่ื ใกลจ้ ะปรนิ พิ พาน แตท่ ลู ถามในทางตรสั รขู้ องเขา เชน่ นไ้ี มแ่ ยง้ ตอ่
การรบั รองวา่ สตั วผ์ ยู้ งั มกี เิ ลสานสุ ยั ตายแลว้ ตอ้ งเกดิ อกี ขา้ พเจา้ ไดค้ วามเขา้ ใจไมพ่ อ
เพอ่ื อนโุ มทนาหรอื คา้ นคำ� แกใ้ นอรรถกถาทงั้ ๒ อยา่ ง จงึ แปลวา่ สตั ว์ ไวท้ ตี ามอรรถกถา
แมเ้ ปน็ ศพั ทเ์ รยี กสามญั สตั ว์ กอ็ าจอธบิ ายใหเ้ ขา้ รปู ไดว้ า่ เปน็ ผมู้ าเหมอื นอยา่ งนน้ั คอื
เกดิ ขน้ึ แลว้ เปน็ อยโู่ ดยธรรมดาแหง่ สตั ว์ และจกั เปน็ ผไู้ ป คอื ตายเหมอื นสตั วใ์ นกาลกอ่ น
ทฏิ ฐิ ๑๐ อยา่ งน้ี ไมจ่ ดั เปน็ ชว่ั รา้ ยนกั ไมถ่ งึ หา้ มสวรรค์ เปน็ แตห่ า้ มอรยิ มรรค อธบิ ายวา่
คนมที ฏิ ฐเิ หลา่ นแี้ ตอ่ ยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ถา้ ไมไ่ ดท้ ำ� บาปทจุ รติ เพราะทฏิ ฐนิ ี้ เบอื้ งหนา้ แต่
ตายแลว้ ไปเกดิ ในสวรรคก์ ไ็ ด้ แตย่ งั ละเสยี ไมไ่ ดเ้ พยี งใด ยงั เปน็ ผอู้ าภพั ไมอ่ าจบรรลุ
อริยมรรคอย่เู พยี งนนั้ ″
90 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
กมั โมชสตู ร๔๘
ว่าดว้ ยมาตุคามเปน็ ทีต่ ง้ั
พระพุทธเจ้าเมื่อประทับอยู่ ณ โฆสิตาราม กรุงโกสัมพี ท่านพระอานนท์
เข้าไปเฝ้ากราบทูลถามว่า อะไรหนอเป็นเหตุเป็นปัจจัยท�ำให้ มาตุคามคือสตรีภาพ
ไมน่ ่งั ในสภา ไมป่ ระกอบการงานใหญ่ ไมไ่ ดไ้ ปนอกเมอื ง พระพุทธเจา้ ตรัสว่า เพราะ
มาตุคาม ๑. เป็นผู้มักโกรธ ๒. เป็นผู้มกั ริษยา ๓. เป็นผูม้ กั ตระหนี่ ๔. เป็นผ้ทู ราม
ปัญญา น้ีแลเป็นเหตุเป็นปัจจัยท�ำให้มาตุคามไม่นั่งในสภา ไม่ประกอบการงานใหญ่
ไม่ได้ไปนอกเมือง
คำ� ว่า มาตุคาม ได้แกส่ ตรีภาพหรอื สตรี พระพทุ ธภาษิตนีย้ กเอาเหตปุ จั จยั
ทงั้ ๔ นีเ้ ปน็ ท่ีตั้ง เพราะฉะนั้น จงึ ถึงความสันนษิ ฐานได้วา่ เหตปุ จั จัยท้ัง ๔ น้เี ป็น
ส�ำคัญ คือเม่ือเป็นผู้มักโกรธ เป็นผู้มักริษยา เป็นผู้มักตระหน่ี เป็นผู้ทรามปัญญา
กจ็ ะไมไ่ ดเ้ ขา้ นง่ั ในสภา ไมป่ ระกอบการงานใหญ่ ไมไ่ ดไ้ ปนอกเมอื ง แตถ่ า้ ไมป่ ระกอบ
ดว้ ยเหตปุ จั จยั ทง้ั ๔ ประการน้ี กจ็ ะไดเ้ ขา้ นงั่ ในสภา ไดป้ ระกอบการใหญ่ ไดไ้ ปนอกเมอื ง
เหตุปัจจัยทั้ง ๔ นี้จึงเป็นสาธารณเหตุ คือ เหตุทั่วไป สาธารณปัจจัย ปัจจัยท่ัวไป
ไดท้ ั้งสตรีได้ทั้งบรุ ุษ
ปาณาตปิ าตสูตร๔๙
วา่ ดว้ ยธรรมทำ� ให้เกดิ ในนรกสวรรค์
พระพุทธเจ้าตรัสว่า บุคคลประกอบดว้ ยธรรม ๔ ประการ ย่อมอุบัตใิ นนรก
เหมอื นถกู นำ� ตัวไปโยนท้ิงฉะนัน้ ธรรม ๔ ประการ คอื
๔๘ องฺ. จตกุ กฺ . ๒๑/๘๐/๑๐๗. (พมา่ . กมั โพชสตู ร)
๔๙ องฺ. จตุกกฺ . ๒๑/๘๑/๑๐๗.
พรรษาที่ ๙ 91
๑. บคุ คลเปน็ ผ้ทู �ำปาณาตบิ าตโดยปกติ
๒. ทำ� อทนิ นาทานโดยปกติ
๓. ทำ� กาเมสมุ จิ ฉาจารโดยปกติ
๔. พูดมุสาวาทโดยปกติ
บคุ คลประกอบดว้ ยธรรม ๔ ประการนแ้ี ล ยอ่ มอบุ ตั ใิ นนรก เหมอื นถกู นำ� ตวั
ไปโยนทง้ิ ฉะนัน้
พระพทุ ธเจา้ ไดต้ รสั ในทางตรงกนั ขา้ มตอ่ ไปวา่ บคุ คลผปู้ ระกอบดว้ ยธรรม ๔
ประการท่ตี รงกันข้าม ย่อมอบุ ตั ิในสวรรค์ เหมือนเขาเชญิ ตัวไปประดษิ ฐานไว้ ฉะนั้น
ธรรม ๔ ประการ คือ
๑. บุคคลเปน็ ผู้เว้นจากปาณาติบาต
๒. เป็นผเู้ ว้นจากอทินนาทาน
๓. เปน็ ผู้เว้นจากกาเมสุมจิ ฉาจาร
๔. เปน็ ผเู้ วน้ จากมสุ าวาท
บุคคลประกอบด้วยธรรม ๔ ประการน้ีแล ย่อมอุบัติในสวรรค์เหมือนเขา
เชญิ ตัวไปประดษิ ฐานไว้ฉะนน้ั
มสุ าสูตร๕๐
ว่าด้วยธรรมทำ� ใหเ้ กิดในนรกสวรรค์
พระพุทธเจ้าตรสั วา่ บคุ คลประกอบดว้ ยธรรม ๔ ประการ ยอ่ มอบุ ตั ใิ นนรก
ธรรม ๔ ประการ คอื
๕๐ อง.ฺ จตกุ ฺก. ๒๑/๘๒/๑๐๘.
92 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
๑. บุคคลเปน็ ผู้พูดมสุ าวาทโดยปกติ
๒. พดู สอ่ เสยี ดโดยปกติ
๓. พูดค�ำหยาบโดยปกติ
๔. พูดสำ� รากเพ้อเจ้อโดยปกติ
บคุ คลประกอบดว้ ยธรรม ๔ ประการนแ้ี ล ยอ่ มอบุ ตั ใิ นนรก เหมอื นถกู นำ� ตวั
ไปโยนทิง้ ไว้ ฉะนน้ั
พระพทุ ธเจา้ ตรสั ในดา้ นตรงกนั ขา้ มวา่ บคุ คลประกอบดว้ ยธรรม ๔ ประการ
ยอ่ มอบุ ตั ิในสวรรค์ ธรรม ๔ ประการ คือ
๑. บุคคลเปน็ ผเู้ วน้ จากมสุ าวาท
๒. เปน็ ผเู้ ว้นจากพูดสอ่ เสียด
๓. เป็นผู้เว้นจากพดู คำ� หยาบ
๔. เปน็ ผู้เว้นจากพูดส�ำรากเพ้อเจอ้
บคุ คลประกอบดว้ ยธรรม ๔ ประการนี้แล ยอ่ มอบุ ัตใิ นสวรรค์ เหมอื นเขา
เชิญตวั ไปประดิษฐานไว้ ฉะนั้น
วัณณสูตร๕๑
ว่าด้วยธรรมทำ� ใหเ้ กิดในนรกสวรรค์
พระพุทธเจ้าตรสั ว่า บุคคลประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ ยอ่ มอุบตั ิในนรก
ธรรม ๔ ประการ คอื บคุ คลไมใ่ ครค่ รวญ ไมส่ อบสวนแล้ว
๑. ชมคนที่ควรติ
๒. ตคิ นท่ีควรชม
๕๑ อง.ฺ จตุกฺก. ๒๑/๘๓/๑๐๘.
พรรษาท่ี ๙ 93
๓. ปลกู ความเลื่อมใสในฐานะอนั ไมค่ วรเล่อื มใส
๔. แสดงความไมเ่ ล่อื มใสในฐานะอันควรเลื่อมใส
บคุ คลประกอบดว้ ยธรรม ๔ ประการนแี้ ล ย่อมอบุ ตั ใิ นนรก เหมอื นถูกน�ำ
ตวั ไปโยนทงิ้ ฉะนั้น
พระพทุ ธเจา้ ไดต้ รสั ตอ่ ไปอกี วา่ บคุ คลประกอบดว้ ยธรรม ๔ ประการ ตรงกนั ขา้ ม
ย่อมอุบตั ใิ นสวรรค์ ธรรม ๔ ประการ คอื บคุ คลใคร่ครวญสอบสวนแลว้
๑. ตคิ นที่ควรติ
๒. ชมคนทคี่ วรชม
๓. แสดงความไมเ่ ล่ือมใสในฐานะอนั ไมค่ วรเล่อื มใส
๔. ปลูกความเล่ือมใสในฐานะอันควรเล่ือมใส
บคุ คลประกอบด้วยธรรม ๔ ประการน้ีแล ยอ่ มอบุ ตั ใิ นสวรรค์ เหมือนเขา
เชญิ ตัวไปประดษิ ฐานไว้ ฉะนนั้
โกธสูตร๕๒
ว่าดว้ ยธรรมทำ� ใหเ้ กดิ ในนรกสวรรค์
พระพทุ ธเจา้ ตรสั วา่ บุคคลประกอบดว้ ยธรรม ๔ ประการ ย่อมอุบตั ิในนรก
ธรรม ๔ ประการ คือ
๑. บคุ คลเปน็ ผหู้ นักในความโกรธ ไม่หนกั ในพระสัทธรรม
๒. เปน็ ผ้หู นักในความลบหลู่ท่าน ไมห่ นกั ในพระสทั ธรรม
๓. เป็นผู้หนักในลาภ ไมห่ นกั ในพระสัทธรรม
๔. เปน็ ผหู้ นกั ในสักการะ ไม่หนกั ในพระสทั ธรรม
๕๒ องฺ. จตกุ กฺ . ๒๑/๘๔/๑๐๙.
94 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
บคุ คลประกอบดว้ ยธรรม ๔ ประการนแ้ี ล ยอ่ มอบุ ตั ใิ นนรก เหมอื นถกู นำ� ตวั
ไปโยนทิง้ ฉะน้นั
พระพุทธเจ้าได้ตรัสต่อไปในทางตรงกันข้ามว่า บุคคลประกอบด้วยธรรม ๔
ประการ ย่อมอุบตั ใิ นสวรรค์ ธรรม ๔ ประการ คอื
๑. บุคคลเป็นผูห้ นักในพระสัทธรรม ไมห่ นกั ในความโกรธ
๒. เปน็ ผู้หนกั ในพระสทั ธรรม ไมห่ นักในความลบหล่ทู า่ น
๓. เปน็ ผูห้ นกั ในพระสัทธรรม ไมห่ นกั ในลาภ
๔. เป็นผู้หนักในพระสัทธรรม ไม่หนกั ในสักการะ
บคุ คลประกอบด้วยธรรม ๔ ประการนี้แล ยอ่ มอุบตั ใิ นสวรรค์ เหมือนเขา
เชญิ ตวั ไปประดษิ ฐานไว้ ฉะนน้ั
ตมสูตร๕๓
ว่าด้วยบคุ คลในโลก ๔ จ�ำพวก
พระพทุ ธเจา้ ตรสั วา่ บุคคล ๔ จ�ำพวกน้ี มปี รากฏอยู่ในโลก คอื
๑. ตโม ตมปรายโน บุคคลผู้มดื มาแลว้ มมี ดื ไปขา้ งหนา้
๒. ตโม โชติปรายโน บุคคลผมู้ ดื มาแล้ว มีสวา่ งไปข้างหนา้
๓. โชติ ตมปรายโน บคุ คลผู้สว่างมาแลว้ มมี ืดไปข้างหน้า
๔. โชติ โชติปรายโน บคุ คลผ้สู ว่างมาแล้ว มีสว่างไปข้างหนา้
๕๓ อง.ฺ จตุกกฺ . ๒๑/๘๕/๑๐๙.
พรรษาท่ี ๙ 95
ตรัสอธบิ ายต่อไปว่า
๑. บคุ คลผมู้ ดื มาแลว้ มมี ดื ไปขา้ งหนา้ คอื บคุ คลบางคนในโลกนเ้ี กดิ ในตระกลู ตำ่�
คอื ตระกลู จณั ฑาลกด็ ี ตระกลู ชา่ งสานกด็ ี ตระกลู พรานกด็ ี ตระกลู ชา่ งหนงั กด็ ี ตระกลู
ผู้รับจ้างเทขยะก็ดี ทั้งยากจนขัดสนข้าวน�้ำของกิน เป็นอยู่อย่างแร้นแค้น หาอาหาร
และเครอื่ งนงุ่ หม่ ไดโ้ ดยฝดื เคอื ง ซำ�้ เปน็ คนขรี้ ว้ิ ขเี้ หรเ่ ตยี้ แคระ มากไปดว้ ยโรค ตาบอดบา้ ง
เปน็ งอ่ ยบา้ ง กระจอกบา้ ง เปลยี้ บา้ ง ไมใ่ ครไ่ ดข้ า้ ว นำ้� ผา้ ยวดยาน ดอกไม้ ของหอม
เครอ่ื งลบู ไล้ ทน่ี อน ทอี่ ยู่ และเครอื่ งประทปี บคุ คลนนั้ ยงั ประพฤตทิ จุ รติ ดว้ ยกายวาจาใจ
คร้ันประพฤติทุจริตด้วยกายวาจาใจแล้ว กายแตกท�ำลายตายไป ย่อมเข้าถึงอบาย
ทุคติ วินิบาต นรก อยา่ งนแี้ ล บคุ คลผูม้ ืดมาแล้ว มมี ืดไปข้างหน้า
๒. บุคคลผู้มืดมาแล้ว มีสว่างไปข้างหน้า คือบุคคลบางคนในโลกน้ีเกิดใน
ตระกลู ต�ำ่ คอื ตระกลู จัณฑาลก็ดี เป็นต้นดังกลา่ วในขอ้ ๑ บุคคลนั้นประพฤตสิ ุจรติ
ด้วยกายวาจาใจ คร้ันประพฤติสุจริตด้วยกายวาจาใจแล้ว กายแตกท�ำลายตายไป
ยอ่ มเข้าถึงสุคตโิ ลกสวรรค์ อย่างนี้แล บุคคลผมู้ ืดมาแล้ว มีสว่างไปข้างหน้า
๓. บคุ คลผู้สวา่ งมาแลว้ มีมืดไปขา้ งหนา้ คือบคุ คลบางคนในโลกน้ี เกดิ ใน
ตระกลู สงู คอื ตระกลู กษตั รยิ ม์ หาศาลกด็ ี ตระกลู พราหมณม์ หาศาลกด็ ี ตระกลู คฤหบดี
มหาศาลก็ดี ม่งั คงั่ มที รัพย์มาก มีโภคะมาก มเี งินทอง มขี ้าวของเครอ่ื งใช้ มที รัพย์
ธญั ชาตเิ ปน็ อนั มาก ทงั้ มรี ปู รา่ งสะสวยเจรญิ ตาเจรญิ ใจ ประกอบดว้ ยผวิ พรรณงดงาม
ยิง่ นัก เปน็ ผู้มีปกติไดข้ า้ ว น้�ำ ผา้ ยวดยาน ดอกไม้ ของหอม เครอื่ งลูบไล้ ที่นอน
ทอี่ ยู่ และเครอ่ื งประทปี บคุ คลนนั้ ประพฤตทิ จุ รติ ดว้ ยกายวาจาใจ ครนั้ ประพฤตทิ จุ รติ
ด้วยกายวาจาใจแล้ว กายแตกท�ำลายตายไป ย่อมเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก
อยา่ งนแี้ ล บุคคลผู้สว่างมาแล้ว มีมดื ไปข้างหน้า
๔. บคุ คลผสู้ วา่ งมาแลว้ มสี วา่ งไปขา้ งหนา้ คอื บคุ คลบางคนในโลกนี้ เกดิ ใน
ตระกลู สงู คอื ตระกลู กษตั รยิ ม์ หาศาลเปน็ ตน้ ดงั กลา่ วในขอ้ ๓ บคุ คลนน้ั ประพฤตสิ จุ รติ
ด้วยกายวาจาใจ ครั้นประพฤติสุจริตด้วยกายวาจาใจแล้ว กายแตกท�ำลายตายไป
ยอ่ มเขา้ ถงึ สุคติโลกสวรรค์ อย่างนี้แล บุคคลผ้สู ว่างมาแล้ว มสี วา่ งไปข้างหน้า
พระพุทธเจา้ ตรัสวา่ บคุ คล ๔ จำ� พวกนแ้ี ล มปี รากฏอยู่ในโลก
96 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
โอณตสูตร๕๔
วา่ ด้วยบุคคลในโลก ๔ จ�ำพวก
พระพทุ ธเจ้าตรัสว่า บุคคล ๔ จำ� พวกน้ี คอื
๑. โอณโตณโต บุคคลตำ�่ มาแลว้ ตำ่� ไป
๒. โอณตุณฺณโต บุคคลต่ำ� มาแลว้ สูงไป
๓. อุณฺณโตณโต บุคคลสูงมาแล้ว ต่ำ� ไป
๔. อณุ ฺณตณุ ฺณโต บคุ คลสูงมาแลว้ สงู ไป
พระพทุ ธเจ้าตรัสอธบิ ายบุคคล ๔ จำ� พวกน้ี เชน่ เดียวกับบคุ คล ๔ จำ� พวกท่ี
กล่าวมาแล้ว มีบุคคลผู้มดื มาแลว้ มมี ืดไปข้างหนา้ เปน็ ต้น
ปตุ ตสตู ร๕๕
วา่ ดว้ ยสมณะ ๔ จำ� พวก
พระพทุ ธเจ้าตรสั ว่า บุคคล ๔ จำ� พวก คือ
๑. สมณมจโล สมณะผไู้ มห่ วนั่ ไหว
๒. สมณปณุ ฑฺ รโิ ก สมณะบณุ ฑริกะ บัวขาว
๓. สมณปทุโม สมณะปทุม บัวหลวง
๔. สมเณสุ สมณสุขมุ าโล สมณะสุขุมาลย์ในหมสู่ มณะ
๕๔ อง.ฺ จตุกกฺ . ๒๑/๘๖/๑๑๒.
๕๕ อง.ฺ จตุกกฺ . ๒๑/๘๗/๑๑๓.
พรรษาท่ี ๙ 97
พระพุทธเจา้ ตรัสอธบิ ายไวว้ ่า
๑. สมณะ ผู้ไม่หว่ันไหวเป็นอย่างไร คือภิกษุในธรรมวินัยนี้เป็นพระเสขะ
เปน็ ผยู้ งั ตอ้ งปฏบิ ตั ิ ปรารถนาอยซู่ งึ่ ธรรมอนั เกษมจากโยคะอยา่ งเยยี่ มยอด เปรยี บเหมอื น
พระโอรสองค์ใหญ่ของพระราชา ผู้เป็นกษัตริย์มุรธาภิเษก เป็นผู้ควรแก่การอภเิ ษก
แตย่ งั มไิ ดร้ บั อภเิ ษก ดำ� รงอยใู่ นตำ� แหนง่ พระยพุ ราชฉนั ใด ภกิ ษเุ ปน็ พระเสขะ เปน็ ผยู้ งั ตอ้ ง
ปฏิบัติอยู่ ปรารถนาอยู่ซ่ึงธรรมอันเกษมจากโยคะอย่างเยี่ยมยอด ฉันนั้นเหมือนกัน
อย่างนแี้ ล บคุ คลเปน็ สมณะผไู้ มห่ วั่นไหว
๒. บคุ คลเปน็ สมณะบณุ ฑรกิ ะ บวั ขาวเปน็ อยา่ งไร คอื ภกิ ษใุ นพระธรรมวนิ ยั น้ี
ท�ำให้แจ้งซ่ึงเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติอันหาอาสวะมิได้เพราะอาสวะทั้งหลายส้ินไป
ดว้ ยปญั ญาอันยิง่ เองในปจั จบุ ัน เข้าถงึ อยู่ แตว่ ่าไม่ได้ถูกตอ้ งวิโมกข์ ๘ ดว้ ยนามกาย
อยา่ งนีแ้ ล บคุ คลเป็นสมณะบณุ ฑริกะ สมณะบวั ขาว
๓. บุคคลเปน็ สมณะปทมุ บวั หลวงเป็นอย่างไร คือภกิ ษุในพระธรรมวินยั น้ี
ท�ำให้แจ้งซ่ึงเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติอันหาอาสวะมิได้เพราะอาสวะทั้งหลายส้ินไป
ดว้ ยปญั ญาอนั ยงิ่ เองในปจั จบุ นั เขา้ ถงึ อยู่ ทงั้ ไดถ้ กู ตอ้ งวโิ มกข์ ๘ ดว้ ยกายคอื นามกายดว้ ย
อยา่ งนแ้ี ล บุคคลเป็นสมณะปทมุ สมณะบัวหลวง
๔. บคุ คลเป็นสมณะสุขมุ าลย์ในหมสู่ มณะเป็นอยา่ งไร คอื ภิกษุในพระธรรม
วนิ ยั น้ี บรโิ ภคจวี ร โดยมากมผี วู้ งิ วอนใหบ้ รโิ ภค ทบ่ี รโิ ภคโดยไมม่ ใี ครวงิ วอนใหบ้ รโิ ภค
มนี อ้ ย บรโิ ภคบณิ ฑบาต เสนาสนะ คลิ านปจั จยั โดยมากมผี วู้ งิ วอนใหบ้ รโิ ภค ทบ่ี รโิ ภค
โดยไม่มใี ครวงิ วอนใหบ้ รโิ ภคกม็ ีน้อย
อนง่ึ ภกิ ษนุ นั้ อยกู่ บั เพอื่ นสพรหมจารเี หลา่ ใด เพอื่ นสพรหมจารเี หลา่ นน้ั ยอ่ ม
ประพฤตติ อ่ ภกิ ษนุ น้ั ดว้ ยกายกรรมทนี่ า่ เจรญิ ใจเปน็ สว่ นมาก ทไี่ มน่ า่ เจรญิ ใจเปน็ สว่ นนอ้ ย
ประพฤตติ อ่ ภกิ ษนุ นั้ ดว้ ยวจกี รรม มโนกรรมทนี่ า่ เจรญิ ใจเปน็ สว่ นมาก ทไ่ี มน่ า่ เจรญิ ใจ
เป็นส่วนน้อย เพื่อนสพรหมจารีทั้งหลายย่อมน้อมเข้าไปแต่ส่ิงที่น่าเจริญใจทั้งน้ัน
สงิ่ ท่ไี ม่นา่ เจริญใจมเี ปน็ ส่วนนอ้ ย
98 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
อนึ่ง ทุกขเวทนาทั้งหลายทีม่ นี ำ้� ดเี ป็นสมุฏฐานก็ดี มีเสมหะเปน็ สมฏุ ฐานก็ดี
มีลมเป็นสมุฏฐานก็ดี ท่ีเป็นสันนิปาติกะ คือเกิดแต่ดี เสมหะและลมรวมกันเป็น
สมฏุ ฐาน ซ่งึ เรยี กว่า สันนิบาตกด็ ี ทเ่ี กิดแต่ความเปลีย่ นแปรแหง่ ฤดูกด็ ี เกดิ แต่การ
บรหิ ารรา่ งกายไมส่ มำ�่ เสมอ คอื เปลยี่ นอริ ยิ าบถไมเ่ สมอกด็ ี เกดิ เพราะถกู ทำ� รา้ ย เชน่
ถูกตีก็ดี เกิดด้วยอ�ำนาจวิบากของกรรมก็ดี ทุกขเวทนาเหล่าน้ันไม่เกิดมีแก่ภิกษุนั้น
มากเลย เธอเปน็ ผมู้ อี าพาธน้อย เธอไดต้ ามตอ้ งการ ได้โดยไมย่ าก ไดโ้ ดยไม่ลำ� บาก
ซงึ่ ฌาน ๔ อนั เปน็ ธรรมเปน็ ไปในจติ อนั ยงิ่ เปน็ ธรรมเครอื่ งอยเู่ ปน็ สขุ ในอตั ภาพปจั จบุ นั
เธอกระทำ� ให้แจ้งซ่ึงเจโตวิมุตติ ปญั ญาวิมตุ ติอนั หาอาสวะมิได้ เพราะอาสวะทัง้ หลาย
สน้ิ ไป ดว้ ยปญั ญาอนั ยงิ่ เองในปจั จบุ นั เขา้ ถงึ อยู่ อยา่ งนแี้ ล บคุ คลเปน็ สมณะสขุ มุ าลย์
ในหมสู่ มณะ
พระพทุ ธเจา้ ตรสั วา่ เมอื่ จะเรยี กโดยชอบ จะพงึ เรยี กบคุ คลใด วา่ เปน็ สมณะ
สขุ มุ าลยใ์ นหมสู่ มณะ กพ็ งึ เรยี กเราคอื องคพ์ ระพทุ ธเจา้ เองนแ่ี หละ วา่ เปน็ สมณะสขุ มุ าลย์
ในหมู่สมณะ แท้จริงเรา คือพระพุทธเจ้า บริโภคจีวร โดยมากมีผู้วิงวอนให้บริโภค
ทบี่ รโิ ภคโดยไมม่ ใี ครวงิ วอนใหบ้ รโิ ภคมนี อ้ ย เราบรโิ ภคบณิ ฑบาต เสนาสนะ คลิ านปจั จยั
โดยมากมผี ู้วงิ วอนใหบ้ ริโภค ที่บริโภคโดยไม่มใี ครวงิ วอนใหบ้ ริโภคมีน้อย
อนง่ึ เราอยกู่ บั ภกิ ษเุ หลา่ ใด ภกิ ษเุ หลา่ นนั้ ยอ่ มประพฤตติ อ่ เราดว้ ยกายกรรม
วจีกรรม มโนกรรม ท่ีน่าเจริญใจเป็นส่วนมาก ที่ไม่น่าเจริญใจเป็นส่วนน้อย ภิกษุ
ทัง้ หลายยอ่ มน้อมเขา้ ไปแต่สงิ่ ทนี่ า่ เจริญใจทั้งนน้ั สง่ิ ทไี่ ม่นา่ เจรญิ ใจมเี ปน็ สว่ นนอ้ ย
อนงึ่ ทุกขเวทนาทง้ั หลายที่มีนำ้� ดเี ปน็ สมุฏฐานก็ดี มเี สมหะเปน็ สมฏุ ฐานกด็ ี
มลี มเปน็ สมฏุ ฐานกด็ ี ทเี่ ปน็ สนั นบิ าตกด็ ี ทเี่ กดิ แตค่ วามเปลยี่ นแปรแหง่ ฤดกู ด็ ี เกดิ แต่
การบรหิ ารรา่ งกายไมส่ มำ่� เสมอกด็ ี เกดิ เพราะถกู ทำ� รา้ ยกด็ ี เกดิ ดว้ ยอำ� นาจวบิ ากของ
กรรมกด็ ี ทกุ ขเวทนาเหล่านัน้ ไมเ่ กิดมแี ก่เรามากเลย เราเป็นผ้มู ีอาพาธนอ้ ย
อนงึ่ เราไดต้ ามตอ้ งการ ไดโ้ ดยไมย่ าก ไดโ้ ดยไมล่ ำ� บาก ซง่ึ ฌาน ๔ อนั เปน็
ธรรมเปน็ ไปในจติ อนั ยิง่ เป็นธรรมเครอื่ งอยเู่ ปน็ สขุ ในอตั ภาพปจั จบุ นั เราทำ� ใหแ้ จง้ ซง่ึ
เจโตวมิ ตุ ติ ปญั ญาวมิ ตุ ตอิ นั หาอาสวะมไิ ดเ้ พราะอาสวะทง้ั หลายสนิ้ ไป ดว้ ยปญั ญาอนั
ยง่ิ เอง เขา้ ถงึ อยู่ ในปจั จบุ นั ฉะนน้ั เมอื่ จะเรยี กโดยชอบ จะเรยี กบคุ คลใดวา่ เปน็ สมณะ
สขุ มุ าลยใ์ นหมคู่ ณะ กพ็ งึ เรยี กเรานแี่ หละโดยชอบวา่ เปน็ สมณะสขุ มุ าลยใ์ นหมสู่ มณะ
พรรษาท่ี ๙ 99
ในพระสตู รนี้ มขี ้อพงึ อธิบายในบางบทว่า บทท่ีวา่ สมณะบณุ ฑรกิ ะ ได้แก่
สมณะดังบัวขาว ธรรมดาบัวขาวเกิดในสระมีใบ ๙๙ ใบ ทรงแสดงพระขีณาสพ
สุกขวิปัสสก ผู้บ�ำเพ็ญวิปัสสนาล้วนด้วยบทนี้ ด้วยว่าพระขีณาสพสุกขวิปัสสกนั้น
ชอื่ วา่ สมณะดงั บวั ขาว เพราะทา่ นมคี ณุ ยงั ไมส่ มบรู ณ์ โดยทฌี่ านและอภญิ ญายงั ไมม่ ี
บทวา่ สมณะปทมุ ไดแ้ กส่ มณะดงั บวั หลวง ธรรมดาบวั หลวงเกดิ ในสระมใี บครบ ๑๐๐
ทรงแสดงพระขณี าสพผเู้ ปน็ อภุ โตภาควมิ ตุ ดว้ ยบทน้ี ดว้ ยวา่ พระขณี าสพอภุ โตภาควมิ ตุ
นนั้ ช่อื วา่ สมณะดงั บัวหลวง เพราะ ท่านบรบิ ูรณ์โดยมฌี านและอภิญญา ส่วนบทว่า
สมณะสุขุมาลย์ในสมณะท้ังหลาย ก็อธิบายว่า บรรดาสมณะเหล่านั้นแม้ทั้งหมด
สมณะสุขุมาลยเ์ ป็นผมู้ กี ายและจิตออ่ นโยน เว้นความทกุ ข์ทางกายและทางจติ เป็นผู้
มีสุขโดยส่วนเดียว ทรงแสดงพระองค์เองคือพระพุทธเจ้าเอง และสมณะสุขุมาลย์
เชน่ กับพระองค์ ด้วยบทว่า สขุ ุมาลสมณะ
และมขี อ้ ทพี่ งึ อธบิ ายวา่ คำ� วา่ พระขณี าสพสกุ ขวปิ สั สก พระขณี าสพนน้ั แปลวา่
พระผสู้ นิ้ อาสวะแลว้ คือสิ้นกิเลสจนถึงขัน้ อาสวะคือกิเลสท่นี อนจมหมักหมมอยใู่ นจติ
จงึ เปน็ ผสู้ น้ิ กเิ ลสสน้ิ เชงิ ทง้ั อยา่ งหยาบ ทง้ั อยา่ งกลาง ตลอดจนถงึ อยา่ งละเอยี ด เหมอื น
อย่างน�ำเอาความขุ่นในตุ่มน้�ำออกได้หมด ตลอดจนถึงตะกอนท่ีนอนอยู่ก้นตุ่ม ก็น�ำ
ออกได้หมด เป็นน้�ำสะอาดปราศจากเครื่องท�ำให้ขุ่น ตลอดจนถึงตะกอนก้นตุ่ม
เป็นน�ำ้ ทบี่ รสิ ทุ ธโิ์ ดยสนิ้ เชงิ ดัง่ นค้ี ือพระขีณาสพ สว่ นสกุ ขวปิ สั สกน้ัน แปลวา่ ผเู้ หน็
แจ้งอย่างแห้งแล้ง คือหมายความว่าเป็นผู้ปฏิบัติวิปัสสนาล้วน มีสมาธิเพียงเป็นบาท
เทา่ นนั้ ไม่ได้สมาธิอยา่ งยิง่ คอื ทเ่ี รียกวา่ ฌานสมบัติ ๔ หรอื ๘ เปน็ ผไู้ ดส้ มาธเิ พียง
เปน็ บาทแหง่ วปิ สั สนา และกป็ ฏบิ ตั ทิ างวปิ สั สนาตอ่ ไปจนสำ� เรจ็ เปน็ พระอรหนั ต์ ไมไ่ ด้
ฌานไมไ่ ดส้ มาบตั ิ จงึ ไมไ่ ดฌ้ านไมไ่ ดอ้ ภญิ ญา เรยี กวา่ พระขณี าสพทเ่ี ปน็ สกุ ขวปิ สั สกะ
หรอื วิปสั สก แปลว่า ผ้เู ห็นแจง้ อย่างแหง้ แลง้
สว่ นทา่ นทปี่ ฏบิ ตั มิ าในศลี ในสมาธิ จนถงึ ไดส้ มาธชิ น้ั สงู ทเ่ี ปน็ ฌานสมาบตั ิ ๔
หรือ ๘ จึงปฏิบัติวิปัสสนาท�ำกิเลสให้สิ้นไป เป็นพระขีณาสพท่ีได้ฌานได้อภิญญา
นี่จ�ำพวกหนึ่งท่ีเรียกว่า เป็นพระขีณาสพท่ีเป็นอุภโตภาควิมุต คือ หลุดพ้นโดยส่วน
ทง้ั ๒ คอื ทงั้ ทเี่ ป็นดว้ ยเจโตวมิ ตุ ติ และด้วยปัญญาวมิ ตุ ติ เปน็ พระขณี าสพท่ีสมบรู ณ์
เพราะฉะนนั้ จงึ เรยี กพระขณี าสพทเ่ี ปน็ สกุ ขวปิ สั สกวา่ สมณะปณุ ฑรกิ ะ สมณะบวั ขาว
ทม่ี ใี บ ๙๙ ใบ ยงั ไมเ่ ตม็ ๑๐๐ ใบ เพราะบวั ขาวนน้ั เปน็ บวั เกดิ ในสระทม่ี ใี บ ๙๙ ใบ
100 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
ส่วนสมณะที่เป็นพระขีณาสพผู้เป็นอุภโตภาควิมุต คือหลุดพ้นโดยส่วน ๒ ท้ัง
เจโตวมิ ตุ ตทิ ง้ั ปญั ญาวมิ ตุ ตนิ น้ั เรยี กวา่ สมณะปทโุ ม สมณะปทมุ ปทมุ ไดแ้ กบ่ วั หลวง
บวั หลวงนน้ั วา่ เกดิ ในสระมใี บครบ ๑๐๐ ใบ จงึ เปน็ พระขณี าสพทส่ี มบรู ณ์ ทง้ั ดว้ ยฌาน
ทงั้ ดว้ ยปญั ญา
สงั โยชนสตู ร๕๖
ว่าดว้ ยสมณะ ๔ จ�ำพวก
พระพทุ ธเจ้าไดต้ รัสว่า บุคคล ๔ จ�ำพวก คือ
๑. สมณมจโล สมณะผไู้ มห่ วั่นไหว
๒. สมณปุณฑรโิ ก สมณะบณุ ฑรกิ ะ บวั ขาว
๓. สมณปทุโม สมณะปทุม บวั หลวง
๔. สมเณสุ สมณสุขุมาโล สมณะสขุ ุมาลยใ์ นหม่สู มณะ
พระพุทธเจ้าตรัสอธบิ ายสมณะท้ัง ๔ นี้วา่
๑. บุคคลเป็นสมณะผู้ไม่หวั่นไหวเป็นอย่างไร คือภิกษุในพระธรรมวินัยนี้
เพราะสิน้ สังโยชน์ ๓ เป็น พระโสดาบัน มีอนั ไม่ตกต�่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เทีย่ งแทท้ ี่
จะไดต้ รสั รใู้ นกาลข้างหน้า อย่างน้ีแล บคุ คลเปน็ สมณะผ้ไู มห่ ว่ันไหว
๒. บคุ คลเปน็ สมณะบณุ ฑรกิ ะ บวั ขาวเปน็ อยา่ งไร คอื ภกิ ษใุ นพระธรรมวนิ ยั น้ี
เพราะสน้ิ สงั โยชน์ ๓ เพราะราคะโทสะโมหะเบาบาง เป็น พระสกทาคามี มาสโู่ ลกนี้
อกี หนเดียว จักท�ำทีส่ ุดทุกข์ได้ อย่างนแี้ ล บคุ คลเปน็ สมณะบุณฑริกะ สมณะบัวขาว
๓. บุคคลเป็นสมณะปทุม บัวหลวงเป็นอย่างไร คือภกิ ษใุ นพระธรรมวนิ ัยน้ี
เพราะสน้ิ สงั โยชนเ์ บอื้ งตำ�่ ๕ เปน็ โอปปาตกิ ะ ปรนิ พิ พานในโลกทเี่ กดิ นนั้ มอี นั ไมก่ ลบั
จากโลกนั้นเป็นธรรมดา คือเป็น พระอนาคามี อย่างน้ีแล บุคคลเป็นสมณะปทุม
บวั หลวง
๕๖ อง.ฺ จตุกกฺ . ๒๑/๘๘/๑๑๖.
พรรษาท่ี ๙ 101
๔. บุคคลเป็นสมณะสขุ มุ าลยใ์ นหม่สู มณะเป็นอยา่ งไร คอื ภิกษใุ นพระธรรม
วนิ ยั น้ี กระทำ� ใหแ้ จง้ ซงึ่ เจโตวมิ ตุ ติ ปญั ญาวมิ ตุ ตอิ นั หาอาสวะมไิ ด้ เพราะอาสวะทง้ั หลาย
สนิ้ ไป ดว้ ยปญั ญาอนั ยงิ่ เอง ในปจั จบุ นั เขา้ ถงึ อยู่ อยา่ งนแ้ี ล บคุ คลเปน็ สมณะสขุ มุ าลย์
ในหมู่สมณะ
ในพระสูตรน้ีก็มีชื่อสมณะเช่นเดียวกับในพระสูตรก่อนหน้า คือสมณะ ๔
จำ� พวก แตว่ า่ อธบิ ายยกั ยา้ ยไปอกี นยั หนงึ่ คอื ทรงแสดงอธบิ ายถงึ พระโสดาบนั เรยี กวา่
สมณะผู้ไม่หว่ันไหว เพราะท่านได้ศรัทธาตั้งม่ันแล้วในพุทธศาสนา ทรงเรียก
พระสกทาคามีว่า สมณะบัวขาว ดุจบวั ขาวเกดิ ในสระมีใบไมม่ าก เพราะทา่ นเป็นผ้มู ี
คณุ ยงั ไมม่ ากทเี ดยี ว พระอนาคามตี รสั เรยี กวา่ สมณะบวั หลวง ดจุ บวั หลวงมี ๑๐๐ ใบ
เกิดในสระ เพราะท่านมีคุณมากกว่าน้ัน พระขีณาสพผู้ถึงความอ่อนโยนเรียกว่า
สมณะสขุ ุมาลย์ เพราะกเิ ลสทีท่ �ำความกระด้างท่านถอนไดแ้ ล้วโดยประการท้ังปวง
ทิฏฐิสตู ร๕๗
ว่าดว้ ยสมณะ ๔ จำ� พวก
พระพทุ ธเจ้าตรัสว่า บคุ คล ๔ จำ� พวก คอื
๑. สมณมจโล สมณะผไู้ มห่ วนั่ ไหว
๒. สมณปณุ ฑรโิ ก สมณะบณุ ฑรกิ ะ บัวขาว
๓. สมณปทุโม สมณะปทมุ บวั หลวง
๔. สมเณสุ สมณสุขุมาโล สมณะสุขุมาลย์ในหมูส่ มณะ
พระพทุ ธเจ้าอธบิ ายวา่
๑. ก็บุคคลเป็นสมณะผู้ไม่หว่ันไหวเป็นอย่างไร คือภิกษุในพระธรรมวินัยนี้
เป็นผู้มีความเห็นชอบ มีความด�ำริชอบ มีวาจาชอบ มีการงานชอบ มีอาชีพชอบ
มคี วามพยายามชอบ มสี ตชิ อบ มสี มาธชิ อบ อยา่ งนแ้ี ล บคุ คลเปน็ สมณะผไู้ มห่ วนั่ ไหว
๕๗ องฺ. จตกุ ฺก. ๒๑/๘๙/๑๑๗.
102 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
๒. บุคคลเปน็ สมณะปณุ ฑริกะ บวั ขาวเปน็ อยา่ งไร ภกิ ษใุ นพระธรรมวินัยน้ี
เปน็ ผมู้ คี วามเหน็ ชอบเปน็ ตน้ จนถงึ มสี มาธชิ อบทค่ี รบ ๘ และมญี าณความหยง่ั รชู้ อบ
มวี มิ ตุ ติ ความพน้ ชอบ แตไ่ มไ่ ดถ้ กู ตอ้ งวโิ มกข์ ๘ ดว้ ยกาย คอื ดว้ ยนามกาย อยา่ งนแ้ี ล
สมณะเปน็ สมณะบณุ ฑริกะ สมณะบัวขาว
๓. บคุ คลเป็นสมณะปทมุ บวั หลวงเป็นอยา่ งไร คอื ภกิ ษใุ นพระธรรมวนิ ยั น้ี
เปน็ ผมู้ คี วามเห็นชอบเป็นตน้ ดังกล่าวในขอ้ ๒ และไดถ้ กู ต้องวโิ มกข์ ๘ ด้วยกายคอื
ด้วยนามกายด้วย อย่างน้แี ล บุคคลเปน็ สมณะปทุม บวั หลวง
๔. บุคคลเปน็ สมณะสุขุมาลยใ์ นหมู่สมณะเปน็ อย่างไร คอื ภกิ ษใุ นพระธรรม
วินัยนี้ ได้บริโภคจีวรมีผู้วิงวอนเป็นต้น ดังท่ีได้ตรัสไว้แล้วข้างต้น อย่างนี้แล บุคคล
เป็นสมณะสุขุมาลยใ์ นหมสู่ มณะ
ในพระสตู รน้กี ็ตรสั อธบิ ายโดยปรยิ ายถงึ สมณะ ๔ จำ� พวกน้ัน ซงึ่ มีชอ่ื อยา่ ง
เดยี วกนั นัน้ เอง ซ่ึงมีนัยอยู่ในแนวเดยี วกนั
ขันธสตู ร๕๘
ว่าด้วยสมณะ ๔ จำ� พวก
ในพระสูตรน้ีมีช่ือเหมือนอย่างสมณะ ๔ จ�ำพวกข้างต้นที่ตรัสแสดงแล้ว
แตม่ ีพุทธาธบิ ายในปริยายท่ตี า่ งกันไวบ้ า้ ง สมณะ ๔ จำ� พวกคอื
๑. สมณมจโล สมณะผูไ้ มห่ วนั่ ไหว
๒. สมณปณุ ฑรโิ ก สมณะบุณฑรกิ ะ บวั ขาว
๓. สมณปทุโม สมณะปทุม บัวหลวง
๔. สมเณสุ สมณสขุ ุมาโล สมณะสขุ ุมาลย์ในหมู่สมณะ
๕๘ องฺ. จตกุ กฺ . ๒๑/๙๐/๑๑๘.
พรรษาท่ี ๙ 103
มีพุทธาธบิ ายวา่
๑. บุคคลเป็นสมณะผู้ไม่หวั่นไหว คือภิกษุในพระธรรมวินัยน้ีเป็นพระเสขะ
ยงั ไม่ส�ำเร็จมโนรส คอื ความปรารถนาของใจ ยงั ปรารถนาธรรมอนั เกษมจากโยคะคือ
กิเลสเครอ่ื งประกอบ อย่างยอดเย่ยี มอยู่ อยา่ งนีแ้ ล บคุ คลเป็นสมณะผูไ้ ม่หว่นั ไหว
๒. บคุ คลเปน็ สมณะบณุ ฑรกิ ะ บวั ขาว คอื ภกิ ษใุ นพระธรรมวนิ ยั นี้ เปน็ ผเู้ ลง็
เหน็ ความเกดิ ขน้ึ และความดบั ไปในอปุ าทานขนั ธ์ คอื ขนั ธเ์ ปน็ ทย่ี ดึ ถอื ๕ วา่ อยา่ งนรี้ ปู
อย่างน้คี วามเกดิ ขึน้ แหง่ รปู อยา่ งนี้ความดบั ไปแห่งรูป อยา่ งนี้เวทนา สญั ญา สังขาร
วิญญาณ อย่างน้ีความดับไปแห่งเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ แต่ไม่ได้ถูกต้อง
วโิ มกข์ ๘ ดว้ ยกายคอื นามกาย อยา่ งนแ้ี ล บุคคลเปน็ สมณะบุณฑรกิ ะ บัวขาว
๓. บคุ คลเปน็ สมณะปทมุ บวั หลวง คอื ภกิ ษใุ นพระธรรมวนิ ยั นี้ เปน็ ผเู้ ลง็ เหน็
ความเกดิ ขน้ึ และความดบั ไปในอปุ าทานขนั ธ์ คอื ขนั ธเ์ ปน็ ทยี่ ดึ ถอื ๕ ประการอยา่ งนน้ั
คืออย่างท่ีแสดงแล้วในข้อ ๒ ทั้งได้ถูกต้องวิโมกข์ ๘ ด้วยกายคือนามกายด้วย
อยา่ งนี้แล บคุ คลเปน็ สมณะปทุม บัวหลวง
๔. บคุ คลเปน็ สมณะสขุ มุ าลยใ์ นหมสู่ มณะ คอื ภกิ ษใุ นพระธรรมวนิ ยั น้ี บรโิ ภค
จีวรโดยมากมีผู้วิงวอนให้บริโภค ที่บริโภคโดยไม่มีผู้วิงวอนให้บริโภคมีน้อย เป็นต้น
ดงั ทแ่ี สดงแลว้ ในหมวดก่อน ๆ อยา่ งน้ีแล บุคคลเปน็ สมณะสขุ มุ าลยใ์ นหมสู่ มณะ
พระอาจารยไ์ ดอ้ ธบิ ายวา่ วาระที่ ๑ ตรสั พระเสขบคุ คลผยู้ งั ไมเ่ รม่ิ ความเพยี ร
เพ่ือพระอรหตั ยังดำ� รงอยู่ด้วยความประมาท วาระที่ ๒ ตรัสพระเสขบุคคล ผู้ยงั ไม่
ไดฌ้ าน แตเ่ รม่ิ วปิ สั สนา อยดู่ ว้ ยความไมป่ ระมาท วาระที่ ๓ ตรสั พระเสขบคุ คลผเู้ รมิ่
วปิ สั สนา อย่ดู ว้ ยความไมป่ ระมาท ไดว้ ิโมกข์ ๘ วาระท่ี ๔ ตรสั พระขีณาสพ ผเู้ ปน็
สขุ ุมาลย์เปน็ อยา่ งยง่ิ แล
อน่ึง มีอธิบายบางค�ำเพิม่ เติมวา่ ค�ำว่า วโิ มกข์ ในที่น้ี วิโมกข์ ๘ กไ็ ด้แก่
ฌาน ๘ คอื รูปฌาน ๔ อรปู ฌาน ๔ เรยี กว่า วโิ มกข์ ๘ กเ็ รยี ก สมาบตั ิ ๘ กเ็ รียก
ค�ำวา่ พระขณี าสพ มาจากค�ำวา่ พระขณี าสวะ ซึง่ แปลว่า พระผสู้ นิ้ อาสวะ คือกเิ ลส
ท่นี อนจมหมกั หมมจติ สนั ดานหมดสิน้ แลว้ คือพระอรหนั ต์ และพระอาจารยไ์ ดแ้ สดง
104 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
ถงึ สมณะสขุ ุมาลย์และชตี้ ัวพระอรหันต์ ๔ รปู ซงึ่ เปน็ สมณะสขุ มุ าลย์ ในปจั จยั ทัง้ ๔
ไวว้ า่ สมณะสขุ มุ าลยโ์ ดยมากบรโิ ภคจวี ร ทท่ี ายกนอ้ มเอาไปถวายดว้ ยรอ้ งขออยา่ งนวี้ า่
ทา่ นเจา้ ข้า โปรดบรโิ ภคจวี รน้ี ด่ังน้แี ลว้ เฉพาะจวี รทเ่ี ขาไมข่ อรอ้ งมนี อ้ ย เหมือนท่าน
พระพกุลเถระ เฉพาะบิณฑบาตอาหารก็เหมือนท่านพระสีวลีเถระ ในทางไปป่าไม้
ตะเคียน เฉพาะเสนาสนะก็เหมือนท่านพระอานนทเถระในอัฏฐกนาครสูตร เฉพาะ
คิลานปัจจยั ก็เหมือนท่านพระปิลินทวจั ฉเถระ
อสุรสตู ร๕๙
ว่าดว้ ยสมณะ ๔ จำ� พวก
พระพุทธเจา้ ตรสั วา่ บคุ คล ๔ จำ� พวก คือ
๑. อสุโร อสุรปริวาโร คนอสรู มีอสูรเปน็ บริวาร
๒. อสุโร เทวปรวิ าโร คนอสูรมเี ทวดาเป็นบริวาร
๓. เทโว อสรุ ปริวาโร คนเทวดามีอสูรเป็นบริวาร
๔. เทโว เทวปรวิ าโร คนเทวดามีเทวดาเป็นบริวาร
มีพระพทุ ธาธิบายไว้ว่า
๑. บุคคลเป็นอสูร มีอสูรเป็นบริวาร คือบุคคลบางคนในโลกน้ีเป็นคนทุศีล
มธี รรมอนั ลามก แมบ้ รษิ ทั ของเขากเ็ ปน็ คนทศุ ลี มธี รรมอนั ลามกเหมอื นกนั อยา่ งนแี้ ล
บุคคลเปน็ อสูร มอี สูรเปน็ บริวาร
๒. บคุ คลเปน็ อสรู มเี ทวดาเปน็ บรวิ าร คอื บคุ คลบางคนในโลกนเ้ี ปน็ คนทศุ ลี
มธี รรมอนั ลามก แตบ่ รษิ ทั ของเขาเปน็ คนมศี ลี มธี รรมอนั งาม อยา่ งนแี้ ล บคุ คลเปน็ อสรู
มีเทวดาเป็นบริวาร
๕๙ อง.ฺ จตุกกฺ . ๒๑/๙๑/๑๑๙.
พรรษาท่ี ๙ 105
๓. บคุ คลเปน็ เทวดา มอี สรู เปน็ บรวิ าร คอื บคุ คลบางคนในโลกนเ้ี ปน็ คนมศี ลี
มธี รรมอนั งาม แต่บรษิ ทั ของเขาเปน็ คนทุศีล มธี รรมอนั ลามก อย่างนแ้ี ล บคุ คลเป็น
เทวดา มีอสรู เป็นบรวิ าร
๔. บคุ คลเปน็ เทวดา มเี ทวดาเปน็ บรวิ าร คอื บคุ คลบางคนในโลกนเี้ ปน็ คนมศี ลี
มีธรรมอนั งาม แม้บริษัทของเขาก็เปน็ คนมีศีล มธี รรมอนั งามด้วย อยา่ งน้แี ล บคุ คล
เปน็ เทวดา มีเทวดาเปน็ บริวาร
เรอื่ งเทวดาและอสรู น้ี ไดม้ แี สดงไวใ้ นพระสตู ร คอื ธชคั คสตู ร พระสตู รทแี่ สดง
ถงึ ยอดธง ซง่ึ มเี รอ่ื งเลา่ วา่ เทวดาและอสรู ทำ� สงครามกนั ทา้ วสกั กะซง่ึ เปน็ จอมเทวดา
ก็ได้บอกแก่เทวดาทั้งหลายว่า เม่ือเข้าสู่สงครามกับอสูร เม่ือมีความกลัวบังเกิดขึ้น
กใ็ หเ้ ทวดาทงั้ หลายมองดูยอดธงของพระองค์ หากจะไม่ดูยอดธงของพระองค์ กใ็ ห้ดู
ยอดธงของเทพชั้นหัวหน้าท้ังหลายท่ีรองลงมา เม่ือเทวดาทั้งหลายปฏิบัติอย่างนี้ก็จะ
เกิดความกลา้ ความกลัวกจ็ ะหายไป พระพทุ ธเจ้าจึงไดย้ กเอาเรือ่ งนีข้ ้ึนมาตรสั เทศน์
สอนภิกษุท้ังหลายว่า เม่ือภิกษุท้ังหลายเข้าไปสู่ป่าก็ดี สู่โคนไม้ก็ดี สู่เรือนว่างก็ดี
เมอ่ื เกดิ ความกลวั ขึน้ กใ็ ห้ระลึกถึงพระองค์ ตามบททีส่ วดวา่ “อิตปิ ิ โส ภควา อรหํ
สมมฺ าสมพฺ ทุ โฺ ธ แมเ้ พราะเหตนุ ี้ พระผมู้ ีพระภาคเจ้านน้ั เป็นพระอรหันต์ผู้ไกลกเิ ลส
ผู้ควรไหว้ควรบูชา เป็นสัมมาสัมพุทโธ ผู้ตรัสรู้เองชอบเป็นต้น″ เม่ือระลึกถึงดั่งนี้
ความกลัวก็จะหายไป ถ้าไม่ระลึกถึงพระองค์ ก็ให้ระลึกถึงพระธรรมว่า สฺวากฺขาโต
ภควตา ธมฺโม เปน็ ตน้ ซงึ่ แปลความวา่ พระธรรมอนั พระผูม้ ีพระภาคเจ้าตรัสดแี ลว้
เมื่อระลกึ ถึงพระธรรมดั่งน้ี ความกลัวกจ็ ะหายไป ถา้ ไมร่ ะลึกถงึ พระธรรม ก็ใหร้ ะลกึ
ถึงพระสงฆ์วา่ สปุ ฏิปนโฺ น ภควโต สาวกสงโฺ ฆ เปน็ ต้น แปลความวา่ หมแู่ ห่งสาวก
ของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้วเป็นต้น เม่ือระลึกถึงดั่งนี้ ความกลัว
กจ็ ะหายไป
และได้ตรัสว่า ส�ำหรับเรื่องเทวดาและอสูรรบกัน และท้าวสักกะจอมเทพ
ไดก้ ลา่ วแกเ่ ทพทง้ั หลายวา่ เมอ่ื ความกลวั ของเทพทงั้ หลายเกดิ ขน้ึ ในสงคราม กใ็ หเ้ ทพ
มองดูยอดธงของพระองค์เป็นต้นนั้น ความกลัวก็จะหายไปบ้างไม่หายไปบ้าง เพราะ
ท้าวสักกะจอมเทพยังมีราคะ ยังมีโทสะ ยังมีโมหะ ยังไม่สิ้นราคะ ยังไม่ส้ินโทสะ
106 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
ยงั ไมส่ นิ้ โมหะ ยงั มคี วามกลวั ยงั มกี ารสะดงุ้ ยงั มกี ารหนี แตว่ า่ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้
ทรงเป็นผปู้ ราศจากราคะ ปราศจากโทสะ ปราศจากโมหะ ไมม่ คี วามกลวั ไม่มคี วาม
สะดงุ้ ไมม่ ีการหนี เพราะฉะนนั้ เม่ือระลึกถึงพระองคเ์ ป็นพทุ ธานสุ สติ หรอื ระลกึ ถึง
พระธรรมเปน็ ธมั มานสุ สติ หรอื ระลกึ ถงึ พระสงฆเ์ ปน็ สงั ฆานสุ สติ ความกลวั จงึ หายไปได้
ปฐมสมาธิสูตร๖๐
สมาธิสตู รท่ี ๑ ว่าด้วยบุคคล ๔ จำ� พวก จำ� พวกท่ี ๑
พระพุทธเจ้าตรสั ว่า บุคคล ๔ จ�ำพวก คือ
๑. บคุ คลบางคนในโลกน้ี เปน็ ผไู้ ดค้ วามสงบใจในภายใน แตไ่ มไ่ ดอ้ ธปิ ญั ญา-
ธรรมวปิ ัสสนา๖๑
๒. บางคนไดอ้ ธิปัญญาธรรมวปิ ัสสนา แต่ไมไ่ ด้ความสงบใจในภายใน
๓. บางคนไมไ่ ดท้ ั้งความสงบใจในภายใน ไมไ่ ด้ทง้ั อธิปญั ญาธรรมวปิ ัสสนา
๔. บางคนไดท้ ัง้ ความสงบใจในภายใน ทัง้ อธิปญั ญาธรรมวปิ ัสสนา
พระอาจารยอ์ ธิบายไว้ว่า ความสงบใจในภายใน ได้แกจ่ ิตตสมาธิ สมาธิของ
จติ ทเี่ ปน็ อปั ปนา คอื ทแ่ี นบแนน่ ในภายใน คำ� วา่ อธปิ ญั ญาธรรมวปิ สั สนา ไดแ้ กว่ ปิ สั สนา
ญาณทกี่ ำ� หนดสงั ขารเปน็ อารมณ์ ทแี่ ทว้ ปิ สั สนาญาณนน้ั นบั วา่ เปน็ อธปิ ญั ญา และเปน็
วปิ สั สนาในธรรมทง้ั หลายกลา่ วคอื เบญจขนั ธ์ เพราะฉะนน้ั จงึ เรยี กวา่ อธปิ ญั ญาธรรม
วิปสั สนา
๖๐ อง.ฺ จตกุ กฺ . ๒๑/๙๒/๑๒๐.
๖๑ คอื ความเห็นแจง้ ในธรรมอนั เป็นปญั ญายิ่ง.
พรรษาท่ี ๙ 107
ทตุ ิยสมาธสิ ูตร๖๒
สมาธสิ ูตรท่ี ๒ วา่ ดว้ ยบคุ คล ๔ จ�ำพวก จำ� พวกท่ี ๒
พระพทุ ธเจา้ ตรสั วา่ บุคคล ๔ จำ� พวก คอื
๑. บคุ คลบางคนในโลกน้ี เปน็ ผู้ได้ความสงบใจในภายใน แต่ไม่ได้อธปิ ัญญา
ธรรมวปิ ัสสนา
๒. บคุ คลบางคนได้อธิปัญญาธรรมวิปัสสนา แตไ่ มไ่ ด้ความสงบใจในภายใน
๓. บคุ คลบางคนไมไ่ ดท้ ง้ั ความสงบใจในภายใน ไมไ่ ดท้ ง้ั อธปิ ญั ญาธรรมวปิ สั สนา
๔. บคุ คลบางคนไดท้ ั้งความสงบใจในภายใน ท้ังอธิปญั ญาธรรมวิปัสสนา
ตรัสบุคคล ๔ จ�ำพวกในสมาธิสูตรท่ี ๒ น้ีเหมือนอย่างสมาธิสูตรที่ ๑
และได้ตรสั อธบิ ายวา่ ในบคุ คล ๔ จำ� พวกน้ัน
๑. บคุ คลทไ่ี ดค้ วามสงบใจในภายใน แตไ่ มไ่ ดอ้ ธปิ ญั ญาธรรมวปิ สั สนา บคุ คล
นนั้ ควรตง้ั อยใู่ นความสงบใจในภายใน แลว้ ทำ� ความประกอบความเพยี ร ในอธปิ ญั ญา-
ธรรมวปิ สั สนาตอ่ ไป บคุ คลนน้ั กย็ อ่ มจะไดท้ ง้ั ความสงบใจในภายใน ทง้ั อธปิ ญั ญาธรรม
วปิ ัสสนา
๒. บุคคลใดที่ได้อธิปัญญาธรรมวิปัสสนา แต่ไม่ได้ความสงบใจในภายใน
บคุ คลนนั้ ควรตงั้ อยใู่ นอธปิ ญั ญาธรรมวปิ สั สนา แลว้ ทำ� การประกอบความเพยี รในความ
สงบใจในภายในตอ่ ไป บคุ คลน้ันกย็ ่อมจะไดท้ ัง้ อธิปญั ญาธรรมวปิ สั สนา ทง้ั ความสงบ
ใจในภายใน
๓. บคุ คลใดทไ่ี มไ่ ดท้ ง้ั ความสงบใจในภายใน ไมไ่ ดท้ ง้ั อธปิ ญั ญาธรรมวปิ สั สนา
บุคคลนน้ั ควรกระท�ำฉันทะ ความพอใจ พยายามอตุ สาหะพากเพียร อยา่ งแข็งขนั ไม่
ทอ้ ถอย และทำ� สตสิ มั ปชญั ญะอนั ยง่ิ เพอ่ื ใหไ้ ดก้ ศุ ลธรรม ทงั้ ๒ นน้ั จงได้ เปรยี บเหมอื น
คนทไี่ ฟไหมผ้ า้ กด็ ี ไหมศ้ รี ษะกด็ ี พงึ กระทำ� ฉนั ทะ พยายามอตุ สาหะความเพยี รความ
๖๒ อง.ฺ จตกุ กฺ . ๒๑/๙๓/๑๒๑.
108 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
ไม่ท้อถอย และต้ังสติสัมปชัญญะอันย่ิง เพื่อจะดับเสียซ่ึงผ้าหรือศีรษะท่ีไหม้อยู่น้ัน
ฉนั ใด บคุ คลนน้ั กค็ วรกระทำ� ฉนั ทะ พยายามอตุ สาหะพากเพยี รอยา่ งแขง็ ขนั ไมท่ อ้ ถอย
และทำ� สตสิ ัมปชัญญะอนั ย่งิ เพื่อใหไ้ ด้กุศลธรรมท้งั ๒ น้ันจงได้ ฉันนั้น ตอ่ ไปบคุ คล
น้ันย่อมจะไดท้ ัง้ ความสงบใจในภายใน ทั้งอธิปัญญาธรรมวิปสั สนา
๔. บคุ คลใดทไ่ี ดท้ งั้ ความสงบใจในภายใน ทงั้ อธปิ ญั ญาธรรมวปิ สั สนา บคุ คล
นั้นควรตั้งอยู่ในกุศลธรรมท้ัง ๒ น้ัน แล้วท�ำความประกอบความเพียรเพื่อความส้ิน
อาสวะยิง่ ขึ้นไป
พจิ ารณาดแู ลว้ กจ็ ะเหน็ ไดว้ า่ สมาธสิ ตู รนแี้ มจ้ ะซำ้� กนั แตว่ า่ ในพระพทุ ธาธบิ าย
น้ันเป็นการตรัสสอนให้แก้ไขข้อบกพร่องที่ยังไม่มีการแก้ไขให้มีขึ้น และตรัสสอนให้
ปฏิบัติให้ยิ่งข้นึ เพอ่ื ผลทีส่ ุด
ตตยิ สมาธิสูตร๖๓
สมาธิสูตรที่ ๓ ว่าด้วยบุคคล ๔ จ�ำพวก จ�ำพวกที่ ๓
พระพุทธเจ้าตรสั ว่า บคุ คล ๔ จำ� พวก คอื
๑. บคุ คลบางคนในโลกน้ีเปน็ ผู้ไดค้ วามสงบใจในภายใน แต่ไม่ได้อธปิ ัญญา-
ธรรมวิปสั สนา
๒. บคุ คลบางคนได้อธิปญั ญาธรรมวปิ ัสสนา แต่ไม่ไดค้ วามสงบใจในภายใน
๓. บคุ คลบางคนไมไ่ ดท้ งั้ ความสงบใจในภายใน ไมไ่ ดท้ ง้ั อธปิ ญั ญาธรรมวปิ สั สนา
๔. บุคคลบางคนไดท้ ง้ั ความสงบใจในภายใน ทงั้ อธิปัญญาธรรมวปิ ัสสนา
แม้ในพระสูตรนี้ก็แสดงบุคคล ๔ จ�ำพวกเหมือนกันกับสมาธิสูตรที่ ๑ คือ
สมาธสิ ตู รที่ ๑ ท่ี ๒ และท่ี ๓ น้ี แสดงบคุ คล ๔ จำ� พวกเหมอื นกนั แตว่ า่ พระพทุ ธาธบิ าย
น้มี ตี ่างกัน สำ� หรับในสมาธสิ ตู รท่ี ๓ น้ี มพี ระพทุ ธาธบิ ายว่า ในบุคคล ๔ จ�ำพวกน้ัน
๖๓ อง.ฺ จตกุ กฺ . ๒๑/๙๔/๑๒๒.
พรรษาที่ ๙ 109
๑. บุคคลใดที่ได้ความสงบใจในภายใน แต่ไม่ได้อธิปัญญาธรรมวิปัสสนา
บุคคลนั้นควรเข้าไปหาบุคคลผู้ได้อธิปัญญาธรรมวิปัสสนา แล้วไต่ถามว่า สังขาร
ทั้งหลายจะพึงเห็นอย่างไร จะพึงก�ำหนดอย่างไร จะพึงเห็นแจ้งอย่างไร บุคคลผู้ได้
อธิปัญญาธรรมวิปัสสนา ย่อมจะกล่าวแก้แก่บุคคลนั้น ตามท่ีตนเห็น ตามที่ตนรู้ว่า
สงั ขารทงั้ หลายพึงเหน็ อยา่ งนี้ พึงกำ� หนดเอาอยา่ งน้ี พงึ เห็นแจ้งอย่างนี้ ต่อไปบุคคล
นั้นก็ยอ่ มจะไดท้ ั้งความสงบใจในภายใน ทั้งอธปิ ัญญาธรรมวปิ ัสสนา
๒. บุคคลใดผู้ได้อธิปัญญาธรรมวิปัสสนา แต่ไม่ได้ความสงบใจในภายใน
บคุ คลนน้ั ควรเขา้ ไปหาบุคคลผูไ้ ดค้ วามสงบใจในภายใน แล้วไต่ถามว่า จิตจะพึงด�ำรง
ไว้อย่างไร พึงน้อมไปอย่างไร พึงทำ� ให้เป็นอารมณ์เดียวอย่างไร พึงทำ� ให้เป็นสมาธิ
อย่างไร บคุ คลผไู้ ดค้ วามสงบใจในภายใน ยอ่ มจะกลา่ วแกแ้ กบ่ ุคคลนั้นตามที่ตนเหน็
ตามที่ตนรู้ว่า จิตพึงด�ำรงไว้อย่างน้ี พึงน้อมไปอย่างน้ี พึงท�ำให้เป็นอารมณ์เดียว
อย่างน้ี พึงท�ำให้เป็นสมาธิอย่างน้ี ต่อไปบุคคลนั้นก็ย่อมจะได้ท้ังอธิปัญญาธรรม-
วิปัสสนา ท้งั ความสงบใจในภายใน
๓. บคุ คลใดทไ่ี มไ่ ดท้ ง้ั ความสงบใจในภายใน ไมไ่ ดท้ ง้ั อธปิ ญั ญาธรรมวปิ สั สนา
บุคคลนั้นควรเขา้ ไปหาบคุ คลผไู้ ดธ้ รรมท้ัง ๒ อยา่ งนน้ั แล้วไตถ่ ามว่า จิตจะพึงด�ำรง
ไว้อย่างไร พึงน้อมไปอย่างไร พึงทำ� ให้เป็นอารมณ์เดียวอย่างไร พึงทำ� ให้เป็นสมาธิ
อยา่ งไร สงั ขารทง้ั หลายจะพึงเห็นอยา่ งไร พึงกำ� หนดเอาอยา่ งไร พึงเหน็ แจ้งอย่างไร
บคุ คลผไู้ ดธ้ รรมทง้ั ๒ อยา่ งนน้ั ยอ่ มจะกลา่ วแกแ้ กบ่ คุ คลนน้ั ตามทตี่ นเหน็ ตามทต่ี น
รวู้ า่ จติ พงึ ดำ� รงไวอ้ ยา่ งนี้ พงึ นอ้ มไปอยา่ งนี้ พงึ ทำ� ใหเ้ ปน็ อารมณเ์ ดยี วอยา่ งน้ี พงึ ทำ� ให้
เปน็ สมาธอิ ยา่ งนี้ สงั ขารทงั้ หลายพงึ เหน็ อยา่ งน้ี พงึ กำ� หนดเอาอยา่ งนี้ พงึ เหน็ แจง้ อยา่ ง
น้ี ต่อไปบุคคลนั้นกย็ อ่ มจะได้ทั้งความสงบใจในภายใน ทงั้ อธิปัญญาธรรมวิปสั สนา
๔. บุคคลที่ได้ท้ังความสงบใจในภายใน ท้ังอธิปัญญาธรรมวิปัสสนา บุคคล
น้ันควรต้ังอยู่ในกุศลธรรมท้ัง ๒ น้ัน แล้วท�ำการประกอบความเพียรเพื่อความสิ้น
อาสวะยิ่งข้ึนไป
110 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
พระอาจารย์ได้กล่าวอธิบายบางบทว่า ข้อท่ีว่าสังขารท้ังหลายพึงเห็นอย่างนี้
คือพึงเห็นว่า ธรรมดาว่าสังขารทั้งหลาย พึงพิจารณาโดยความเป็นของไม่เที่ยง
พงึ กำ� หนดในความไมเ่ ทย่ี ง พงึ เหน็ แจง้ ในความไมเ่ ทย่ี ง โดยความเปน็ ทกุ ข์ โดยความ
เปน็ อนตั ตา และขอ้ วา่ พงึ ตง้ั จติ ไวอ้ ยา่ งน้ี คอื จติ จะพงึ ดำ� รงอยไู่ ด้ ดว้ ยอำ� นาจปฐมฌาน
พึงน้อมใจไปด้วยอ�ำนาจปฐมฌาน พึงท�ำอารมณ์ให้เป็นหน่ึงด้วยอ�ำนาจปฐมฌาน
พึงให้เป็นสมาธิด้วยอ�ำนาจปฐมฌาน จติ จะพงึ ด�ำรงอยู่ได้ด้วยอ�ำนาจทตุ ิยฌานเปน็ ตน้
ก็อย่างนั้น
ในพระสตู รท้งั ๓ พระสูตรนี้ คือสมาธิสูตรที่ ๑ ท่ี ๒ และที่ ๓ ตรัสสมถะ
และวปิ สั สนา เป็นโลกยี ะและโลกตุ ตระนนั่ เทียว
ฉวาลาตสูตร๖๔
วา่ ดว้ ยบคุ คล ๔ จ�ำพวก จำ� พวกท่ี ๔
พระพทุ ธเจ้าตรสั ว่า บุคคล ๔ จำ� พวก คือ
๑. บคุ คลไม่ปฏิบัติเพ่อื ประโยชนต์ น และไม่ปฏิบัติเพ่อื ประโยชนผ์ ้อู นื่
๒. บคุ คลปฏบิ ัตเิ พ่อื ประโยชนผ์ อู้ ่นื แตไ่ ม่ปฏบิ ตั ิเพื่อประโยชนต์ น
๓. บุคคลปฏิบตั เิ พอื่ ประโยชน์ตน แตไ่ ม่ปฏบิ ัติเพ่อื ประโยชน์ผู้อ่ืน
๔. บุคคลปฏบิ ตั ิทัง้ เพอ่ื ประโยชนต์ น ทั้งเพื่อประโยชนผ์ ู้อ่นื
พระพทุ ธเจ้าได้ตรัสพระพทุ ธาธบิ ายว่า ดนุ้ ฟนื เผาศพท่ีไฟไหมป้ ลาย ๒ ขา้ ง
ตรงกลางก็เปื้อนคูถ ย่อมไม่ส�ำเร็จประโยชน์ท่ีจะใช้เป็นเครื่องไม้ในบ้าน ในป่าฉันใด
พระองคต์ รสั บคุ คลผไู้ มป่ ฏบิ ตั เิ พอ่ื ประโยชนต์ น ไมป่ ฏบิ ตั เิ พอื่ ประโยชนผ์ อู้ น่ื วา่ มอี ปุ มา
ฉันนั้น ในบุคคล ๒ พวกข้างต้น บุคคลจ�ำพวกที่ ๒ ผู้ปฏิบัติเพื่อประโยชน์ผู้อ่ืน
แตไ่ ม่ปฏบิ ัติเพ่ือประโยชน์ตนดีกว่า ประณตี กวา่ ในบุคคล ๓ จ�ำพวกขา้ งต้น บคุ คล
๖๔ องฺ. จตุกกฺ . ๒๑/๙๕/๑๒๔.
พรรษาที่ ๙ 111
จำ� พวกที่ ๓ ผปู้ ฏบิ ตั เิ พอื่ ประโยชนต์ น แตไ่ มป่ ฏบิ ตั เิ พอ่ื ประโยชนผ์ อู้ นื่ ดกี วา่ ประณตี กวา่
ในบคุ คลทงั้ ๔ จำ� พวก บคุ คลจำ� พวกที่ ๔ ผปู้ ฏบิ ตั ทิ ง้ั เพอ่ื ประโยชนต์ น ทง้ั เพอื่ ประโยชน์
ผอู้ นื่ เปน็ ผเู้ ลศิ เปน็ ผปู้ ระเสรฐิ สดุ เปน็ ประธาน เปน็ ผอู้ ดุ ม เปน็ ผสู้ งู สดุ เปรยี บเหมอื น
น�้ำนมโค นมส้มดีกว่าน้�ำนม เนยข้นดีกว่านมส้ม เนยใสดีกว่าเนยข้น ยอดเนยใสที่
เรยี กวา่ สปั ปมิ ณั ฑะ ดกี วา่ ทงั้ หมด ยอดเนยใสทเ่ี รยี กสปั ปมิ ณั ฑะนบั วา่ เปน็ เลศิ ฉนั ใด
ในบุคคล ๔ จ�ำพวก บุคคลจ�ำพวกท่ี ๔ ผู้ปฏิบัตเิ พอื่ ประโยชนต์ น ทงั้ เพอ่ื ประโยชน์
ผู้อื่นเป็นเลศิ เป็นประธาน เป็นผ้อู ุดม เปน็ ผสู้ งู สุด
ราคสตู ร๖๕
ว่าด้วยบคุ คล ๔ จำ� พวก จำ� พวกท่ี ๕
พระพุทธเจ้าตรัสว่า บุคคล ๔ จ�ำพวก คือบุคคลปฏิบัติเพื่อประโยชน์ตน
ไม่ปฏิบัติเพ่ือประโยชน์ผู้อื่นพวก ๑ บุคคลปฏิบัติเพ่ือประโยชน์ผู้อื่น ไม่ปฏิบัติเพื่อ
ประโยชนต์ นพวก ๑ บคุ คลไมป่ ฏบิ ัติท้งั เพ่ือประโยชน์ตน ท้ังเพื่อประโยชนผ์ อู้ น่ื พวก
๑ บคุ คลปฏบิ ัตทิ ง้ั เพื่อประโยชนต์ น ท้งั เพื่อประโยชน์ผ้อู ่ืนพวก ๑ พระพุทธเจ้าตรสั
พระสูตรนี้ว่าด้วยบุคคล ๔ จ�ำพวกซ�้ำเป็นคร้ังที่ ๕ หรือจ�ำพวกที่ ๕ แต่ว่าทั้ง ๕
จำ� พวกมพี ระพทุ ธาธิบายท่แี ตกตา่ งกัน ดังในจำ� พวกที่ ๕ น้ี ไดม้ พี ระพุทธาธบิ ายวา่
๑. บคุ คลปฏบิ ตั เิ พอื่ ประโยชนต์ น ไมป่ ฏบิ ตั เิ พอ่ื ประโยชนผ์ อู้ น่ื คอื บคุ คลบาง
คนในโลกนี้ เป็นผปู้ ฏิบตั เิ พอ่ื ก�ำจัดราคะ โทสะ โมหะดว้ ยตวั เอง แต่ไมช่ ักชวนผอู้ ่ืน
เพ่ือกำ� จดั ราคะ โทสะ โมหะ
๒. บคุ คลปฏบิ ตั เิ พอื่ ประโยชนผ์ อู้ น่ื ไมป่ ฏบิ ตั เิ พอ่ื ประโยชนต์ น คอื บคุ คลบาง
คนในโลกนี้ เปน็ ผู้ไม่ปฏิบตั ิเพื่อกำ� จัดราคะ โทสะ โมหะด้วยตวั เอง แต่ชกั ชวนผอู้ ื่น
ก�ำจัดราคะ โทสะ โมหะ
๖๕ องฺ. จตุกฺก. ๒๑/๙๖/๑๒๕.
112 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
๓. บุคคลไม่ปฏิบัติทั้งเพื่อประโยชน์ตน ท้ังเพ่ือประโยชน์ผู้อ่ืน คือบุคคล
บางคนในโลกนี้ เปน็ ผู้ไม่ปฏิบัติเพอ่ื กำ� จัดราคะ โทสะ โมหะด้วยตนเอง ทัง้ ไม่ชักชวน
ผอู้ ่ืนเพื่อก�ำจดั ราคะ โทสะ โมหะ
๔. บุคคลปฏิบัติท้ังเพื่อประโยชน์ตน ท้ังเพ่ือประโยชน์ผู้อื่น คือบุคคลบาง
คนในโลกนี้ เปน็ ผปู้ ฏบิ ตั เิ พอ่ื กำ� จดั ราคะ โทสะ โมหะดว้ ยตนเองดว้ ย ชกั ชวนผอู้ น่ื เพอ่ื
กำ� จัดราคะ โทสะ โมหะดว้ ย
นสิ นั ติสูตร๖๖
วา่ ดว้ ยบุคคล ๔ จ�ำพวก จ�ำพวกท่ี ๖
พระพทุ ธเจา้ ตรสั บคุ คล ๔ จำ� พวก เชน่ เดยี วกบั จำ� พวกท่ี ๕ และมพี ระพทุ ธา-
ธบิ ายว่า
๑. บคุ คลปฏบิ ตั เิ พอ่ื ประโยชนต์ น ไมป่ ฏบิ ตั เิ พอ่ื ประโยชนผ์ อู้ น่ื คอื บคุ คลบาง
คนในโลกนี้เป็นผู้รู้ได้เร็วในกุศลธรรมท้ังหลาย ท้ังเป็นผู้มีอุปนิสัย ทรงจ�ำธรรมท่ีฟัง
แลว้ ไวไ้ ด้ เปน็ ผไู้ ตรต่ รองเนอ้ื ความแหง่ ธรรมทที่ รงจำ� ไว้ เปน็ ผรู้ อู้ รรถทวั่ ถงึ แลว้ รธู้ รรม
ทั่วถึงแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม แต่ไม่เป็นผู้มีวาจาไพเราะ ไม่เป็นผู้มีถ้อยค�ำ
อ่อนหวาน ไม่ประกอบด้วยถ้อยค�ำของชาวเมอื ง ถอ้ ยคำ� ทสี่ ละสลวย ไมม่ ีโทษ ทำ� ให้
รูเ้ น้อื ความงา่ ย และไม่แสดงธรรมใหเ้ พ่อื นพรหมจารเี หน็ ชัด ให้สมาทาน ให้อาจหาญ
ใหร้ น่ื เริง
๒. บคุ คลปฏบิ ตั เิ พอื่ ประโยชนผ์ อู้ น่ื ไมป่ ฏบิ ตั เิ พอื่ ประโยชนต์ น คอื บคุ คลบาง
คนในโลกนี้ ไม่เป็นผู้รู้ได้รวดเร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ทั้งไม่เป็นผู้มีอุปนิสัยทรงจ�ำ
ธรรมท่ีได้ฟงั แลว้ ไมเ่ ป็นผไู้ ตร่ตรองเน้ือความแห่งธรรมทท่ี รงจ�ำไว้ได้ และหารู้อรรถรู้
ธรรมทวั่ ถงึ แลว้ ปฏบิ ตั ธิ รรมสมควรแกธ่ รรมไม่ แตเ่ ปน็ ผมู้ วี าจาไพเราะ มถี อ้ ยคำ� ออ่ นหวาน
๖๖ องฺ. จตุกฺก. ๒๑/๙๗/๑๒๗.
พรรษาที่ ๙ 113
ประกอบด้วยถอ้ ยค�ำของชาวเมอื ง ถ้อยคำ� สละสลวย ไม่มโี ทษ ท�ำใหร้ ้เู น้อื ความงา่ ย
และแสดงธรรมใหเ้ พือ่ นพรหมจารเี ห็นชดั ใหส้ มาทาน ใหอ้ าจหาญ ให้รื่นเริง
๓. บคุ คลไมป่ ฏบิ ตั ทิ งั้ เพอื่ ประโยชนต์ น ทง้ั เพอื่ ประโยชนผ์ อู้ นื่ คอื บคุ คลบาง
คนในโลกน้ี ไม่เป็นผู้รู้ได้รวดเร็วในกุศลธรรมทั้งหลาย ทั้งไม่เป็นผู้มีอุปนิสัยทรงจ�ำ
ธรรมที่ไดฟ้ งั แล้ว ไม่เปน็ ผู้ทไี่ ตรต่ รองเนือ้ ความแหง่ ธรรมที่ทรงจ�ำไว้ได้ และหารอู้ รรถ
รู้ธรรมท่ัวถึงแล้วปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรมไม่ ซ้�ำไม่เป็นผู้ที่มีวาจาไพเราะ ไม่เป็น
ผู้ท่ีมีถ้อยค�ำอ่อนหวาน ไม่ประกอบด้วยถ้อยค�ำของชาวเมือง ถ้อยค�ำที่สละสลวย
หาโทษมิได้ ท�ำให้รู้เน้ือความง่าย และไม่แสดงธรรมให้เพ่ือนพรหมจารีเห็นชัด
ให้สมาทาน ให้อาจหาญ ให้รืน่ เริง
๔. บุคคลปฏิบัติทั้งเพ่ือประโยชน์ตน ทั้งเพ่ือประโยชน์ผู้อื่น คือบุคคลบาง
คนในโลกน้ีเป็นผู้รู้ได้เร็วในกุศลธรรมท้ังหลาย ท้ังเป็นผู้มีอุปนิสัยทรงจ�ำธรรมที่ฟัง
แล้วไวไ้ ด้ เป็นผู้ไตรต่ รองเนือ้ ความแหง่ ธรรมทที่ รงจ�ำไว้แลว้ เปน็ ผูร้ ้อู รรถทั่วถึงแลว้ รู้
ธรรมทัว่ ถงึ แลว้ ปฏิบัตธิ รรมสมควรแก่ธรรม เปน็ ผมู้ วี าจาไพเราะ มถี ้อยคำ� อ่อนหวาน
ประกอบดว้ ยถอ้ ยคำ� ของชาวเมอื ง ถอ้ ยคำ� สละสลวย ปราศจากโทษ ทำ� ใหร้ เู้ นอ้ื ความงา่ ย
และเปน็ ผแู้ สดงธรรมใหเ้ พอื่ นพรหมจารเี หน็ ชดั ใหส้ มาทาน ใหอ้ าจหาญ ใหร้ นื่ เรงิ ดว้ ย
อัตตหิตสตู ร๖๗
ว่าดว้ ยบคุ คล ๔ จ�ำพวก จำ� พวกที่ ๗
พระพทุ ธเจา้ ไดต้ รสั วา่ บคุ คล ๔ จำ� พวก คอื บคุ คลผปู้ ฏบิ ตั เิ พอ่ื ประโยชนต์ น
ไมป่ ฏบิ ตั เิ พอื่ ประโยชนผ์ อู้ น่ื จำ� พวก ๑ บคุ คลผปู้ ฏบิ ตั เิ พอ่ื ประโยชนผ์ อู้ นื่ ไมป่ ฏบิ ตั เิ พอื่
ประโยชน์ตนจ�ำพวก ๑ บุคคลไม่ปฏิบัติท้ังเพ่ือประโยชน์ตน ทั้งเพื่อประโยชน์ผู้อื่น
จำ� พวก ๑ บคุ คลผปู้ ฏบิ ตั ทิ ง้ั เพอ่ื ประโยชนต์ น ทง้ั เพอื่ ประโยชนผ์ อู้ น่ื จำ� พวก ๑ บคุ คล
๔ จ�ำพวกน้ีมปี รากฏอยใู่ นโลก
๖๗ อง.ฺ จตุกกฺ . ๒๑/๙๙/๑๒๙.
114 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
สิกขาสตู ร๖๘
ว่าดว้ ยบุคคล ๔ จำ� พวก จ�ำพวกท่ี ๘
พระพทุ ธเจา้ ตรสั บคุ คล ๔ จำ� พวก เหมอื นอยา่ งจำ� พวกที่ ๗ หรอื ๗ จำ� พวก
ทแี่ ล้วมา และมพี ระพทุ ธาธิบายว่า
๑. บคุ คลปฏบิ ตั เิ พอื่ ประโยชนต์ น ไมป่ ฏบิ ตั เิ พอื่ ประโยชนผ์ อู้ น่ื คอื บคุ คลบาง
คนในโลกน้ี เป็นผู้ละเว้นจากปาณาติบาตด้วยตนเอง แต่ไม่ชักชวนผู้อ่ืน เพื่อละเว้น
จากปาณาตบิ าต เป็นผลู้ ะเวน้ จากอทินนาทาน กาเมสุมจิ ฉาจาร มุสาวาท สุราเมรย-
มชั ชปมาทฏั ฐานดว้ ยตนเอง แตไ่ มช่ กั ชวนผอู้ น่ื เพอ่ื ละเวน้ จากอทนิ นาทาน กาเมสมุ จิ ฉาจาร
มสุ าวาท สรุ าเมรยมัชชปมาทัฏฐาน
๒. บคุ คลปฏบิ ตั เิ พอื่ ประโยชนผ์ อู้ นื่ แตไ่ มป่ ฏบิ ตั เิ พอ่ื ประโยชนต์ น คอื บคุ คล
บางคนในโลกนี้ เปน็ ผู้ไม่ละเว้นจากปาณาตบิ าตเปน็ ตน้ ท้งั ๕ ข้อนน้ั แต่ชักชวนผู้อนื่
เพ่อื ละเว้นจากปาณาติบาตเป็นต้นทง้ั ๕ ข้อน้ัน
๓. บคุ คลไมป่ ฏบิ ตั ทิ ง้ั เพอ่ื ประโยชนต์ น ทง้ั เพอื่ ประโยชนผ์ อู้ น่ื คอื บคุ คลบาง
คนในโลกน้ี ตนเองกไ็ มล่ ะเวน้ จากปาณาตบิ าตเปน็ ตน้ ทงั้ ๕ ขอ้ นน้ั ทง้ั ไมช่ กั ชวนผอู้ น่ื
เพือ่ ละเว้นจากปาณาติบาตเปน็ ต้นทง้ั ๕ ขอ้ นัน้
๔. บุคคลปฏิบัติทั้งเพ่ือประโยชน์ตน ท้ังเพ่ือประโยชน์ผู้อ่ืน คือบุคคลบาง
คนในโลกน้ี เปน็ ผทู้ ง้ั ละเวน้ จากปาณาตบิ าตเปน็ ตน้ ทงั้ ๕ ขอ้ นนั้ ดว้ ยตนเอง ทง้ั ชกั ชวน
ผู้อนื่ เพอื่ ละเวน้ จากปาณาตบิ าตเปน็ ตน้ ทง้ั ๕ ขอ้ นนั้
๖๘ องฺ. จตกุ กฺ . ๒๑/๙๙/๑๒๙.
พรรษาที่ ๙ 115
โปตลยิ สตู ร๖๙
พระพทุ ธเจา้ ไดต้ รสั กบั ปรพิ าชกชอ่ื โปตลยิ ะ ผเู้ ขา้ ไปเฝา้ พระองคว์ า่ บคุ คล ๔
จำ� พวก คือ
๑. บุคคลจ�ำพวกหนึ่งกล่าวติคนที่ควรติตามเรื่องท่ีจริงที่แท้ตามกาลอันควร
แต่ไม่กล่าวชมคนทีค่ วรชมตามเร่ืองที่จริงทแ่ี ท้ตามกาลอันควร
๒. บคุ คลจำ� พวกหนง่ึ กลา่ วชมคนทคี่ วรชมตามเรอื่ งทจ่ี รงิ ทแี่ ทต้ ามกาลอนั ควร
แต่ไม่กล่าวตคิ นท่ีควรติตามเร่อื งท่ีจริงท่ีแท้ตามกาลอันควร
๓. บุคคลจ�ำพวกหนึ่งท้ังไม่กล่าวติคนท่ีควรติ ทั้งไม่กล่าวชมคนที่ควรชม
ตามเรื่องทีจ่ ริงท่ีแท้ตามกาลอันควร
๔. บุคคลจ�ำพวกหน่ึงกล่าวติคนที่ควรติบ้าง กล่าวชมคนที่ควรชมบ้าง
ตามเรอ่ื งทจ่ี รงิ ที่แทต้ ามกาลอันควร
โปตลิยปริพาชกกราบทูลว่า บุคคล ๔ จ�ำพวกน้ีทั้งไม่กล่าวติคนท่ีควรติ
ท้ังยังไม่กล่าวชมคนที่ควรชม น้ีชอบใจแก่ตนคือปริพาชกนั้นว่า ดีกว่าประณีตกว่า
เพราะเหตุว่ามีอุเบกขา ความมัธยัสถ์วางตนเป็นกลางหรือวางเฉย น่ันเป็นการดี
พระพทุ ธเจา้ ตรสั ค้านวา่ ในบคุ คล ๔ จำ� พวกน้ี บคุ คลจ�ำพวกทีก่ ลา่ วติคนที่ควรตบิ ้าง
กล่าวชมคนท่ีควรชมบ้าง ตามเรื่องท่ีจริงท่ีแท้ตามกาลอันควรนี้ชอบใจเราคือชอบใจ
พระองคพ์ ระพทุ ธเจา้ วา่ ดกี วา่ ประณตี กวา่ เพราะเหตวุ า่ เปน็ ผรู้ จู้ กั กาลในสถานนน้ั ๆ
นนั่ เปน็ การดี โปตลยิ ปรพิ าชกกราบทลู เหน็ ดว้ ย ตามพระพทุ ธดำ� รสั และประกาศตน
เป็นอบุ าสกวา่ บุคคล ๔ จ�ำพวกนี้ จำ� พวกท่ีกล่าวตคิ นทค่ี วรติบา้ ง กลา่ วชมคนทคี่ วร
ชมบ้าง ตามเรื่องท่ีจริงท่ีแท้ตามกาลอันควร นี้ชอบใจแก่ตนว่า ดีกว่าประณีตกว่า
๖๙ องฺ. จตกุ กฺ . ๒๑/๑๐๐/๑๓๑.
116 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
เพราะเหตวุ า่ เปน็ ผรู้ จู้ กั กาลในสถานนนั้ ๆ นน่ั เปน็ การดี และไดก้ ลา่ วชมพระพทุ ธเจา้ วา่
พระองค์ได้ประกาศธรรมหลายปริยาย เหมือนหงายของท่ีคว�่ำ เปิดเผยของท่ีปิด
บอกทางแก่คนหลงทาง หรอื ส่องตะเกียงในท่มี ืดให้คนมตี าดไี ดเ้ ห็นรปู ต่าง ๆ ฉะนนั้
จึงขอถึงพระโคดมผ้เู จรญิ กบั พระธรรม และพระภกิ ษุสงฆ์เป็นสรณะ ขอพระโคดม
ทรงจ�ำขา้ พระพทุ ธเจ้าว่า เปน็ อุบาสกตลอดชีวติ ตัง้ แตว่ ันนีไ้ ป
อาชวี กสตู ร๗๐
ท่านพระอานนท์อยู่ที่วัดโฆสิตาราม กรุงโกสัมพี คฤหบดีสาวกของอาชีวก
ผู้หน่ึงเข้าไปหาท่าน คร้ันเข้าไปถึงแล้วอภิวาทท่าน แล้วนั่ง ณ ท่ีควรส่วนข้างหนึ่ง
แลว้ จึงถามท่านพระอานนท์ว่า เรา ๒ พวก ธรรมของใครเปน็ สวากขาโต คือกล่าวดี
ใครเปน็ สุปฏิปนั โน เป็นผูป้ ฏิบตั ดิ แี ล้วในโลก ใครเป็นสคุ โต ด�ำเนนิ ดีแล้วในโลก
ท่านพระอานนท์จึงได้กล่าวถามคฤหบดีน้ัน เป็นการย้อนถามว่า ถ้าเช่นนั้น
จะขอยอ้ นถามทา่ นในขอ้ น้ี ทา่ นพอใจอยา่ งใด พงึ ตอบอยา่ งนนั้ ทา่ นสำ� คญั ขอ้ นว้ี า่ กระไร
บคุ คลเหลา่ ใดแสดงธรรมเพอื่ ละราคะโทสะโมหะ ธรรมของบคุ คลเหลา่ นนั้ เปน็ สวากขาโต
คอื ธรรมทก่ี ลา่ วดแี ลว้ หรือไม่ หรือวา่ ท่านมคี วามคิดเห็นอยา่ งไรในข้อนี้
คฤหบดีตอบว่า บุคคลเหล่าใดแสดงธรรมเพ่ือละราคะโทสะโมหะ ธรรม
ของบคุ คลเหล่านนั้ เป็นสวากขาโต แสดงดแี ล้ว ข้าพเจา้ มคี วามเห็นอยา่ งน้ใี นขอ้ น้ี
ท่านพระอานนท์ได้กล่าวต่อไปว่า บุคคลเหล่าใดปฏิบัติเพ่ือละราคะโทสะ
โมหะ บคุ คลเหลา่ นนั้ ปฏบิ ตั ดิ แี ลว้ ในโลกหรอื ไม่ หรอื วา่ ทา่ นมคี วามเหน็ อยา่ งไรในขอ้ น้ี
คฤหบดีกล่าวตอบว่า บุคคลเหล่าใดปฏิบัติเพ่ือละราคะโทสะโมหะ บุคคล
เหลา่ นน้ั เปน็ สปุ ฏปิ นั โน คอื เปน็ ผปู้ ฏบิ ตั ดิ แี ลว้ ในโลก ขา้ พเจา้ มคี วามเหน็ อยา่ งนใ้ี นขอ้ น้ี
๗๐ องฺ. ตกิ . ๒๐/๕๑๒/๒๘๐.
พรรษาท่ี ๙ 117
ทา่ นพระอานนท์ไดก้ ล่าวถามต่อไปวา่ ราคะโทสะโมหะ อันบคุ คลเหล่าใดละ
ได้แล้ว มีมูลอันขาดแล้ว ท�ำให้เหมือนตาลยอดด้วนแล้ว ท�ำไม่ให้มีในภายหลังแล้ว
มีอนั ไมเ่ กดิ ขน้ึ ตอ่ ไปเปน็ ธรรมดา บุคคลเหลา่ นนั้ เปน็ สุคตะหรือสุคโต ผ้ดู �ำเนินดีแลว้
ในโลกหรือไม่ หรือท่านมีความเหน็ อย่างไรในขอ้ น้ี
คฤหบดไี ดก้ ลา่ วตอบวา่ ราคะโทสะโมหะอนั บคุ คลเหลา่ ใดละไดแ้ ลว้ มมี ลู อนั
ขาดแลว้ ท�ำใหเ้ หมือนตาลยอดด้วนแลว้ ท�ำไม่ให้มใี นภายหลงั แลว้ มอี นั ไม่เกิดขึน้ ตอ่
ไปเป็นธรรมดา บุคคลเหล่านั้นเป็นผู้ชื่อว่า สุคตะหรือสุคโต ผู้ด�ำเนินดีแล้วในโลก
ขา้ พเจา้ มีความเห็นอยา่ งนใ้ี นขอ้ นี้
ท่านพระอานนท์จึงได้กล่าวว่า ข้อนี้ท่านก็ตอบเองแล้วว่า บุคคลเหล่าใด
แสดงธรรมเพื่อละราคะโทสะโมหะ ธรรมของบุคคลเหล่านั้นเป็นสวากขาตะหรือ
สวากขาโต กล่าวดีแลว้ ข้อนี้ทา่ นกต็ อบเองแลว้ วา่ บุคคลเหล่าใดปฏบิ ตั เิ พ่ือละ ราคะ
โทสะ โมหะ บคุ คลเหลา่ นนั้ เปน็ สปุ ฏปิ นั โน ปฏบิ ตั ดิ แี ลว้ ในโลก ขอ้ นที้ า่ นกต็ อบเองแลว้ วา่
ราคะ โทสะ โมหะอนั บคุ คลเหลา่ ใดละไดแ้ ลว้ มมี ลู อนั ขาดแลว้ ทำ� ใหเ้ หมอื นตาลยอด
ด้วนแล้ว ทำ� ไมใ่ ห้มใี นภายหลงั แลว้ มอี นั ไม่เกิดข้ึนตอ่ ไปเป็นธรรมดา บคุ คลเหลา่ น้ัน
เป็นสุคโตหรือสคุ ตะ ผู้ด�ำเนินดแี ล้วในโลก
คฤหบดจี งึ ได้กลา่ วชมท่านพระอานนทว์ า่ ประหลาดจรงิ ๆ การแสดงธรรม
แบบนช้ี อื่ วา่ ไมเ่ ปน็ การยกธรรมฝา่ ยตน และไมเ่ ปน็ การรกุ รานธรรมของฝา่ ยอนื่ เปน็ การ
แสดงอยู่ในเขตแดนแท้ กล่าวแต่เนื้อความ ไม่น�ำตนเข้าไปปะปนด้วย ท่านทั้งหลาย
แสดงธรรมเพอื่ ละ ราคะ โทสะ โมหะ ธรรมของทา่ นทงั้ หลายเปน็ สวากขาตะหรอื สวากขาโต
กลา่ วดแี ลว้ ทา่ นทงั้ หลายปฏบิ ตั เิ พอื่ ละ ราคะ โทสะ โมหะ ทา่ นทงั้ หลายเปน็ สปุ ฏปิ นั นะ
หรือสปุ ฏปิ ันโน เปน็ ผปู้ ฏิบัตดิ แี ลว้ ในโลก ราคะโทสะโมหะอันท่านทัง้ หลายละไดแ้ ล้ว
ทา่ นทง้ั หลายเปน็ สคุ ตะหรอื สคุ โต ผดู้ ำ� เนนิ ดแี ลว้ ในโลก ดจี รงิ ดจี รงิ ทา่ นพระอานนท์
บอกพระธรรมหลายปรยิ าย เหมอื นหงายของทคี่ วำ่� เปดิ ของทป่ี ดิ บอกทางแกค่ นหลง
สอ่ งตะเกยี งในทมี่ ดื เพอื่ ใหค้ นตาดเี หน็ รปู รา่ งตา่ ง ๆ ฉะนนั้ ขา้ พเจา้ ถงึ พระผมู้ พี ระภาคเจา้
กบั พระธรรมและพระภกิ ษสุ งฆเ์ ปน็ สรณะ ขอพระผเู้ ปน็ เจา้ อานนทจ์ ำ� ขา้ พเจา้ ไวว้ า่ เปน็
อบุ าสก ถึงสรณะแลว้ ตลอดชวี ติ ตั้งแตว่ ันนไ้ี ป
118 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒
นิททสสตู ร๗๑
ว่าด้วยผูท้ ่พี งึ เคารพยกย่องนับถือบูชา
พระพุทธเจา้ ประทับอยู่ ณ โฆสติ าราม กรงุ โกสัมพี สมยั หน่งึ เวลาเชา้ ทา่ น
พระอานนทเ์ ขา้ ไปบณิ ฑบาตยงั กรงุ โกสมั พี ทา่ นคดิ วา่ เวลายงั เชา้ นกั ควรจะเขา้ ไปยงั
อารามของพวกเดยี รถยี ป์ รพิ าชก คอื ของนกั บวชในลทั ธอิ นื่ ทา่ นจงึ เขา้ ไปยงั อารามของ
พวกเขา ได้สนทนากับเขา ครั้งน้ันพวกปริพาชกคือพวกนักบวชในลัทธิอื่น ก�ำลังน่ัง
ประชมุ สนทนากนั วา่ ทา่ นผใู้ ดผหู้ นง่ึ ประพฤตพิ รหมจรรย์ บรสิ ทุ ธบิ์ รบิ รู ณค์ รบ ๑๒ ปี
ควรจะเรียกว่า ภิกษผุ ูน้ ิททสะ คอื ผ้ทู พ่ี ึงเคารพนับถอื บชู า ท่านพระอานนทก์ ็ไมย่ ินดี
ไม่คัดค้านค�ำกล่าวของพวกเขา แล้วก็ลุกออกจากอาสนะหลีกออกไปด้วยต้ังใจว่า
จะรู้ถึงเนื้อความแห่งค�ำกล่าวของพวกเขาในส�ำนักของพระพุทธเจ้า ครั้นท่านเที่ยว
บิณฑบาตในกรุงโกสัมพี กลับจากบิณฑบาต ในเวลาภายหลังฉันภัตตาหารแล้ว
ก็ไปเฝ้าพระพุทธเจ้าถึงท่ีประทับ ได้กราบทูลเล่าความที่ได้เข้าไปยังส�ำนักปริพาชก
และไดฟ้ ังเขาก�ำลงั ประชุมสนทนากนั อยู่ จงึ ได้ตง้ั ใจจะมากราบทลู เพราะคดิ ว่าจะได้รู้
ถึงเน้ือความของภาษิตน้ีในส�ำนักของพระพุทธเจ้า แล้วจึงได้กราบทูลพระองค์ว่า
อาจหรือหนอ เพื่อท่ีจะทรงบัญญัติภิกษุผู้นิททสะ คือผู้ท่ีพึงเคารพยกย่องนับถือบูชา
ดว้ ยเหตุเพียงนับพรรษาอย่างเดียวในธรรมวินยั นี้
พระพทุ ธเจ้าตรสั วา่ ไม่มีใคร ๆ อาจเพอ่ื บัญญัติภกิ ษผุ ู้นทิ ทสะดว้ ยเหตเุ พยี ง
นบั พรรษาอยา่ งเดยี วในธรรมวนิ ยั น้ี วตั ถแุ หง่ นทิ ทสะ ๗ ประการน้ี เราคอื พระพทุ ธเจา้
ไดท้ รงกระท�ำใหแ้ จง้ ด้วยปัญญาอนั ยงิ่ เอง ประกาศแล้ว คอื พระภกิ ษุ ในธรรมวนิ ยั น้ี
เปน็ ผู้มีศรทั ธา ๑ มหี ิริ ๑ มีโอตตัปปะ ๑ เป็นพหูสูต สดบั ตรับฟงั มาก ๑ ปรารภ
ความเพยี ร ๑ มีสติ ๑ มปี ญั ญา ๑ วัตถุแห่งนทิ ทสะ ๗ ประการ นีแ้ ล เรากระทำ�
ให้แจ้งด้วยปัญญาอันย่ิงเอง ประกาศแล้ว ภิกษุผู้ประกอบด้วย วัตถุแห่งนิททสะ ๗
ประการนแ้ี ล ถา้ ประพฤตพิ รหมจรรยบ์ รสิ ทุ ธบ์ิ รบิ รู ณค์ รบ ๑๒ ปี กด็ ี ควรจะเรยี กไดว้ า่
ภกิ ษผุ นู้ ทิ ทสะ ถา้ ประพฤตพิ รหมจรรยบ์ รสิ ทุ ธบิ์ รบิ รู ณ์ ครบ ๒๔ ปกี ด็ ี ๓๖ ปกี ด็ ี ๔๘
ปกี ็ดี กค็ วรจะเรยี กได้ว่า ภิกษผุ ู้นทิ ทสะ คอื ผทู้ ี่พึงเคารพยกยอ่ งนับถอื บูชา
๗๑ อง.ฺ สตฺตก. ๒๓/๔๐/๓๘.