The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

๔๕ พรรษา พระพุทธเจ้า เล่ม ๒ โดยสมเด็จพระญาณสังวร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-03-12 11:48:04

๔๕ พรรษา พระพุทธเจ้า เล่ม ๒ โดยสมเด็จพระญาณสังวร

๔๕ พรรษา พระพุทธเจ้า เล่ม ๒ โดยสมเด็จพระญาณสังวร

Keywords: ๔๕ พรรษา พระพุทธเจ้า เล่ม ๒ โดยสมเด็จพระญาณสังวร

พรรษาที่ ๑๑ 219

และก�ำชบั ทาสีว่า แม่สาวใชจ้ งวางทารกนลี้ งบนกระด้งเกา่ ๆ แล้วน�ำออกไปท้งิ ไว้ ณ
กองหยากเยอื่ ทาสนี นั้ รบั คำ� นางแลว้ กจ็ ดั การตามทนี่ างไดส้ ง่ั วางทารกนนั้ ลงบนกระดง้
เก่า ๆ แล้วน�ำไปท้ิงไว้ ณ กองหยากเยื่อ

กค็ รั้งน้ันเปน็ เวลาเช้า เจา้ ชายอภัยทเี่ รียกว่า อภัยราชกุมาร กำ� ลังเสด็จเข้าสู่
พระราชวัง ได้ทอดพระเนตรเห็นทารกนั้นอันฝูงกาห้อมล้อมอยู่ คร้ันแล้วได้ถาม
มหาดเลก็ วา่ น่ันอะไร ฝงู การมุ กนั ตอม มหาดเล็กกราบทลู วา่ ทารก เจ้าชายยอภัย
ก็ตรัสว่า ยังเป็นอยู่หรือ มหาดเล็กก็กราบทูลว่า ยังเป็นอยู่ เจ้าชายอภัยจึงตรัสว่า
ถา้ เชน่ นน้ั จงนำ� ทารกนนั้ ไปทว่ี งั ของเรา ใหน้ างนมเลย้ี งไว้ คนเหลา่ นนั้ รบั สนองพระบญั ชา
วา่ อยา่ งนน้ั แลว้ น�ำทารกน้ันไปยงั วังเจา้ ชายอภัย มอบแกน่ างนมวา่ โปรดเลย้ี งไวด้ ว้ ย
อาศยั คำ� วา่ ยงั เปน็ อยู่ เขาจงึ ขนานนาม ทารกนนั้ วา่ “ชวี กะ″ หรอื “ชวี ก″ ชวี กะหรอื
ชวี กอันเจ้าชายรับสั่งใหเ้ ล้ียงไว้ เขาจงึ ไดต้ ง้ั นามสกลุ ว่า โกมารภจั จ์

ตอ่ มาไมน่ านนกั ชวี กโกมารภจั จ์กร็ เู้ ดยี งสา จงึ เขา้ เฝ้าเจา้ ชายอภยั คร้ันแลว้
ไดท้ ูลถามว่า ใครเปน็ มารดา ใครเป็นบดิ าของตน เจ้าชายอภัยรับสง่ั ว่า แมถ้ งึ ตัวเรา
ก็ไม่รู้จักมารดาของเจ้า ก็แต่ว่าเราเป็นบิดาของเจ้า เพราะเราได้ให้เล้ียงเจ้าไว้
ชีวกโกมารภัจจ์จึงมีความคิดเห็นว่า ราชสกุลเหล่านี้แล คนที่ไม่มีศิลปะ จะเข้าพึ่ง
พระบารมที ำ� ไม่ไดง้ ่าย ถ้ากระไรเราควรเรยี นวชิ าแพทยไ์ ว้

เรียนศลิ ปะทางแพทย์

ก็โดยสมัยน้ัน นายแพทย์ทิศาปาโมกข์ต้ังส�ำนักอยู่ ณ เมืองตักกสิลา
ชวี กโกมารภัจจ์ไม่ทูลลาเจ้าชายอภัย ลอบเดินทางไปเมืองตักกสิลา เดินรอนแรม
ไปโดยล�ำดับ ถึงเมอื งตักกสิลา แลว้ เข้าไปหานายแพทย์ผนู้ น้ั ครนั้ แล้วไดก้ ราบเรยี น
ค�ำนี้แก่นายแพทย์ว่า ท่านอาจารย์ กระผมประสงค์จะศึกษาศิลปะ นายแพทย์สั่งว่า
ถ้าเช่นนั้นจงศกึ ษาเถิด

ครั้งน้นั ชวี กโกมารภจั จเ์ รยี นวิชาได้มาก เรียนได้เร็ว เขา้ ใจดีดว้ ย แลว้ วชิ าท่ี
เรยี นไดแ้ ล้วก็จำ� ได้ไม่ลืม ครั้นลว่ งมาได้ ๗ ปี ชีวกโกมารภัจจ์คิดว่า ตวั เราเรียนวิชา

220 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒

ได้มาก เรียนได้เร็ว เข้าใจดดี ้วย ท้งั วชิ าทเี่ รยี นมาก็จ�ำไดไ้ ม่ลมื และเราเรยี นมาได้ ๗
ปแี ลว้ ยงั ไมส่ ำ� เรจ็ ศลิ ปะนี้ เมอื่ ไรจกั สำ� เรจ็ เสยี ที จงึ เขา้ ไปหานายแพทยผ์ นู้ นั้ แลว้ เรยี น
ถามวา่ ทา่ นอาจารย์ กระผมเรียนวิชาไดม้ าก เรยี นได้เร็ว เขา้ ใจดีดว้ ย ทั้งวิชาทีเ่ รียน
ได้แล้วก็ไม่ลืม และกระผมได้เรียนมา ๗ ปีก็ยังไม่ส�ำเร็จ เม่ือไรจักส�ำเร็จสักทีเล่า
นายแพทย์ผ้นู ้นั จึงตอบว่า ถา้ เชน่ นน้ั เธอจงถือเสียม เทีย่ วไปรอบเมืองตักกสิลาระยะ
ทาง ๑ โยชน์ ตรวจดสู งิ่ ใดไมใ่ ชต่ วั ยา จงขดุ สง่ิ นน้ั มา ชวี กโกมารภจั จร์ บั คำ� นายแพทยว์ า่
เปน็ เชน่ นนั้ ทา่ นอาจารย์ ดงั นนั้ แลว้ ถอื เสยี มเดนิ ไปรอบเมอื งตกั กสลิ าระยะทาง ๑ โยชน์
มิได้เหน็ สิ่งใดทไี่ ม่ไดเ้ ปน็ ตวั ยาสักอยา่ งหนง่ึ จึงเดนิ ทางกลับไปหานายแพทย์ ได้กราบ
เรียน ค�ำน้ตี ่อนายแพทยว์ า่ ท่านอาจารย์ กระผมเดนิ ไปรอบเมืองตักกสลิ าระยะทาง
๑ โยชน์แลว้ มิได้เหน็ สิง่ ทไี่ ม่เปน็ ตวั ยาสกั อย่างหนง่ึ นายแพทย์บอกว่า พ่อชีวกเธอ
ศึกษาส�ำเร็จแล้ว เท่าน้ีก็พอที่เธอจะครองชีพได้ แล้วได้ให้เสบียงเดินทางเล็กน้อยแก่
ชวี กโกมารภัจจ์

ลำ� ดบั นน้ั ชวี กโกมารภจั จถ์ อื เสบยี งเลก็ นอ้ ยนนั้ แลว้ ไดเ้ ดนิ ทางมงุ่ ไปพระนคร
ราชคฤห์ ครน้ั เดินทางไป เสบยี งเพยี งเล็กนอ้ ยนัน้ ไดห้ มดลงที่เมืองสาเกตในระหวา่ ง
ทาง จงึ เกดิ ความปริวิตกว่า หนทางเหล่านก้ี ันดารอัตคดั อาหาร คนไม่มเี สบยี งจกั เดนิ
ทางไป ท�ำไมไ่ ด้งา่ ย เราจ�ำตอ้ งหาเสบียง

เริ่มปฏบิ ัติงานแพทย์

ก็โดยสมัยนั้น ภรรยาเศรษฐีเมืองสาเกต เป็นโรคปวดศีรษะอยู่ ๗ ปี
นายแพทย์ทศิ าปาโมกข์ใหญๆ่ หลายคนมารักษา ก็ไมส่ ามารถรักษาใหห้ าย ได้ขนเงิน
ไปเป็นอันมาก ชวี กโกมารภจั จจ์ งึ เข้าไปสู่เมืองสาเกต ถามคนท้งั หลายว่า ใครเจบ็ ไข้
บา้ ง ฉนั จะรกั ษา คนทงั้ หลายพากนั บอกวา่ ทา่ นอาจารย์ ภรรยาเศรษฐนี นั้ ปวดศรี ษะ
มาอยู่ ๗ ปี เชญิ ไปรกั ษาภรรยาเศรษฐเี ถดิ ทา่ นอาจารย์ ชวี กโกมารภจั จจ์ งึ เดนิ ทางไป
บา้ นเศรษฐคี หบดี ครน้ั ถงึ แลว้ ไดส้ ง่ั คนเฝา้ ประตวู า่ ทา่ นจงไปกราบเรยี นภรรยาเศรษฐวี า่
หมอมาแล้ว เขามีความประสงค์จะเยี่ยมนาย คนเฝ้าประตูจึงเข้าไปหาภรรยาเศรษฐี
แลว้ กราบเรยี นวา่ หมอมาแลว้ เขามคี วามประสงคจ์ ะเยยี่ มนาย ภรรยาเศรษฐถี ามวา่

พรรษาท่ี ๑๑ 221

หมอเปน็ คนเชน่ ไร คนเฝา้ ประตกู บ็ อกวา่ เปน็ หมอหนมุ่ ภรรยาเศรษฐจี งึ ตอบวา่ ไมล่ ะ
หมอหนุ่ม ๆ จะท�ำอะไรแก่ฉันได้ นายแพทย์ทิศาปาโมกข์ใหญ่ๆหลายคนมารักษา
กไ็ มส่ ามารถรกั ษาใหห้ าย ไดข้ นเงนิ ไปเปน็ อนั มาก นายประตนู น้ั จงึ เดนิ ออกมาหาชวี ก
โกมารภจั จ์ แล้วได้แจ้งวา่ ภรรยาเศรษฐพี ดู อยา่ งนี้ ชวี กโกมารภจั จ์จงึ พูดวา่ ทา่ นจง
ไปกราบเรียนภรรยาเศรษฐีว่า ขอนายอย่าเพิ่งให้อะไร ๆ ต่อเม่ือหายโรคแล้ว
นายประสงค์จะให้ส่ิงใด จึงค่อยให้ส่ิงน้ันเถิด นายประตูรับค�ำของชีวกโกมารภัจจ์
ได้เข้าไปหาภรรยาเศรษฐี ได้กราบเรียนว่า หมอบอกข่าวมาว่า ขอนายอย่าเพ่ิงให้
อะไร ๆ ไปก่อน ต่อเม่ือนายหายโรคแล้ว ประสงค์จะให้สิ่งใด จึงค่อยให้ส่ิงนั้นเถิด
ภรรยาเศรษฐีสัง่ ว่า ถา้ เชน่ นน้ั เชญิ หมอมา นายประตรู ับค�ำภรรยาเศรษฐี แลว้ เข้าไป
หาชวี กโกมารภจั จ์ แจง้ ใหท้ ราบว่า ภรรยาเศรษฐีขอเชิญทา่ นเข้าไป

เร่ิมรกั ษาภรรยาเศรษฐี

ล�ำดับนั้น ชีวกโกมารภัจจ์ได้เข้าไปหาภรรยาเศรษฐี ครั้นแล้วตรวจดูความ
ผนั แปรของภรรยาเศรษฐี แลว้ ไดก้ ลา่ วคำ� นแ้ี กภ่ รรยาเศรษฐวี า่ ผมตอ้ งการเนยใสหนงึ่
ซองมือ คร้ันภรรยาเศรษฐีส่ังให้หาเนยใสหนึ่งซองมือมาให้ชีวกแล้ว ชีวกโกมารภัจจ์
จึงหุงเนยใสหนึ่งซองมือกับตัวยาต่าง ๆ ให้ภรรยาเศรษฐีนอนบนเตียง แล้วให้นัตถ์
ขณะนน้ั เนยใสทใ่ี หน้ ตั ถน์ุ น้ั ไดพ้ งุ่ ออกจากปากภรรยาเศรษฐี ภรรยาเศรษฐจี งึ ถม่ เนยใส
นน้ั ลงในกระโถน สง่ั ทาสวี า่ แมส่ าวใช้ จงเอาสำ� ลซี บั เนยใสนไี้ ว้ ชวี กโกมารภจั จจ์ งึ คดิ
ว่า แปลกจรงิ แม่บ้านคนนเ้ี ปน็ คนสกปรก เนยใสนีจ้ �ำเปน็ ต้องท้ิง ยังใชท้ าสีเอาสำ� ลี
ซบั ไว้ สว่ นยาของเรามรี าคาแพงตา่ ง ๆ ยงั ปล่อยใหเ้ สยี แม่บ้านคนนจ้ี ะให้ขวัญข้าว
อะไรแก่เราบ้าง ขณะนั้นภรรยาเศรษฐี สังเกตรู้อาการอันแปลกของชีวกโกมารภัจจ์
แล้ว ได้ถามว่า อาจารย์ท่านแปลกใจอะไรหรือ ชีวกโกมารภัจจ์จึงได้แจ้งความคิด
ของตนนั้นแก่ภรรยาเศรษฐี ภรรยาเศรษฐีจึงตอบว่า พวกดิฉันได้ช่ือว่าเป็นคนมี
เหย้าเรอื น จึงต้องรจู้ กั สงวนส่ิงทพี่ งึ สงวน เนยใสนี้ยงั ดอี ยู่ จะใชเ้ ปน็ ยาส�ำหรบั ทาเทา้
พวกทาสหรอื กรรมกรกไ็ ด้ ใช้เปน็ น�้ำมันเตมิ ตะเกยี งก็ได้ อาจารยท์ ่านอยา่ ไดค้ ดิ วติ ก
ไปเลย คา่ ขวัญขา้ วของทา่ นจกั ไมล่ ดน้อย

222 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒

คราวน้ัน ชีวกโกมารภัจจ์ได้ก�ำจัดโรคปวดศีรษะของภรรยาเศรษฐีซึ่งเป็นมา
๗ ปใี หห้ าย โดยวธิ นี ตั ถย์ าคราวเดยี วเทา่ นนั้ ครนั้ ภรรยาเศรษฐหี ายโรคแลว้ ไดใ้ หเ้ งนิ
ชีวกโกมารภัจจ์เป็นเงนิ ๔,๐๐๐ กษาปณ์ บุตรเศรษฐไี ด้ทราบวา่ มารดาของเราหาย
โรคแล้ว ได้ใหร้ างวัลเพม่ิ ขึ้นอีก ๔,๐๐๐ กษาปณ์ ลูกสะใภไ้ ดท้ ราบว่า แมผ่ วั ของเรา
หายโรคแล้ว ก็ไดใ้ หร้ างวลั ๔,๐๐๐ กษาปณ์ เศรษฐีคหบดที ราบวา่ ภรรยาของเรา
หายโรคแลว้ ไดใ้ หร้ างวลั อกี ๔,๐๐๐ กษาปณ์ และใหท้ าสทาสรี ถมา้ ดว้ ย ชวี กโกมารภจั จ์
จงึ รบั เงนิ ๑๖,๐๐๐ กษาปณ์ กบั ทาสทาสแี ละรถมา้ เดนิ ทางมงุ่ ไปสพู่ ระนครราชคฤห์
ถงึ พระนครราชคฤห์โดยล�ำดับ เข้าเฝ้าเจา้ ชายอภัย แลว้ ได้กราบทูลวา่ เงิน ๑๖,๐๐๐
กษาปณ์ กับทาสทาสแี ละรถม้านี้ เป็นการกระท�ำครั้งแรกของเกลา้ กระหมอ่ ม ขอได้
ทรงพระกรณุ าโปรดรบั คา่ เล้ยี งดเู กลา้ กระหม่อมเถิด พระราชกมุ ารรับสั่งว่า อยา่ เลย
พ่อชีวก ทรัพย์นี้จงเป็นของเจ้าคนเดียวเถิด เจ้าจงสร้างบ้านอยู่ในวังของเราเถิด
ชวี กโกมารภจั จท์ ลู รบั พระบญั ชาเจา้ ชายอภยั วา่ เปน็ พระกรณุ ายง่ิ แลว้ ไดส้ รา้ งบา้ นอยู่
ในวงั เจา้ ชายอภยั

พระเจ้าพมิ พสิ ารทรงประชวรโรครดิ สีดวงงอก

กโ็ ดยสมยั นนั้ แล พระเจา้ พมิ พสิ ารจอมเสนามาคธราช ทรงประชวรโรครดิ สดี วง
งอก พระภษู าเปอ้ื นพระโลหติ พวกพระสนมเหน็ แลว้ พากนั เยย้ หยน้ วา่ บดั นพี้ ระเจา้ อยหู่ วั
ทรงมีระดู ตอ่ มพระโลหติ บังเกิดแกพ่ ระองคแ์ ลว้ ไม่นานเท่าไรนกั พระองค์จักประสูติ
พระราชาทรงเกอ้ ถงึ คำ� เยย้ หยนั ของพระสนมนน้ั ตอ่ มาทา้ วเธอไดต้ รสั ความของเธอแก่
เจ้าชายอภัยว่า พ่อป่วยเป็นโรคเช่นนั้นถึงกับภูษาเปื้อนโลหิต พวกพระสนมเห็นแล้ว
พากันเย้ยหยันว่า บัดนี้พระเจ้าอยู่หัวทรงมีระดู ต่อมพระโลหิตบังเกิดแก่พระองค์
ไมน่ านเท่าไรนกั พระองคจ์ กั ประสตู ิ พอ่ อภยั เจา้ ช่วยหาหมอชนดิ ท่ีพอจะรักษาพ่อได้
ให้ทีเถิด เจ้าชายอภัยจึงได้กราบทูลว่า นายชีวกผู้น้ีเป็นหมอประจ�ำข้าพระพุทธเจ้า
ยังหนุ่ม ทรงคุณวุฒิ เธอจกั รักษาพยาบาลพระองค์ได้ พระราชารับส่ังว่า ถ้าเชน่ นนั้
เธอจงสัง่ หมอชวี ก เขาจักได้รักษาพ่อ

พรรษาท่ี ๑๑ 223

ครงั้ นน้ั เจา้ ชายอภยั สงั่ ชวี กโกมารภจั จว์ า่ พอ่ ชวี ก ทา่ นจงไปรกั ษาพระเจา้ อยหู่ วั
ชวี กโกมารภจั จร์ บั สนองพระบญั ชาวา่ อยา่ งนน้ั พระเจา้ ขา้ แลว้ เอาเลบ็ ตกั ยาเดนิ เขา้ ไป
ในพระราชส�ำนัก ครั้นถึงแล้วเข้าเฝ้าพระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช แล้วได้
กราบทลู คำ� นแ้ี กพ่ ระเจา้ พมิ พสิ ารจอมเสนามาคธราชวา่ พระพทุ ธเจา้ ขา้ ขา้ พระพทุ ธเจา้
จักตรวจโรคของพระองค์ แล้วรักษาโรคริดสีดวงงอกของพระเจ้าพิมพิสารจอมเสนา
มาคธราชให้หายขาดดว้ ยทายาเพยี งครัง้ เดียวเทา่ นั้น ครั้นพระเจ้าพิมพสิ ารจอมเสนา
มาคธราชหายประชวร จึงรับสั่งให้สตรี ๕๐๐ นาง ตกแต่งเคร่ืองประดับทั้งปวง
แล้วให้เปลื้องออกท�ำเป็นห่อ แล้วได้มีพระราชโองการแก่ชีวกโกมารภัจจ์ว่า พ่อชีวก
เครอื่ งประดบั ทง้ั ปวงของสตรี ๕๐๐ นางนจี้ งเปน็ ของเจา้ หมอชวี กโกมารภจั จก์ ราบทลู วา่
อยา่ เลย ขอพระองคไ์ ดท้ รงระลกึ วา่ เปน็ หนา้ ทข่ี องขา้ พระพทุ ธเจา้ เถดิ พระราชารบั สงั่
ว่า ถ้าอย่างนั้นท่านจงบ�ำรุงเรากับพวกฝ่ายใน และพระภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็น
ประมขุ ชวี กโกมารภจั จท์ ลู รบั สนองพระบรมราชโองการวา่ เปน็ อยา่ งนนั้ พระพทุ ธเจา้ ขา้

เศรษฐีพระนครราชคฤห์

กโ็ ดยสมยั นนั้ เศรษฐชี าวราชคฤหป์ ว่ ยเปน็ โรคปวดศรี ษะอยู่ ๗ ปี นายแพทย์
ทิศาปาโมกข์ใหญ่ ๆ หลายคนมารักษา ก็ไม่สามารถรักษาให้หาย ขนเงินไปเป็น
อนั มาก อนง่ึ เศรษฐนี น้ั ถกู นายแพทยบ์ อกคนื นายแพทยบ์ างพวกไดท้ ำ� นายไวด้ ง่ั นว้ี า่
เศรษฐคี หบดจี กั ถงึ อนจิ กรรมในวนั ท่ี ๕ บางพวกไดท้ ำ� นายไวอ้ ยา่ งนว้ี า่ จกั ถงึ อนจิ กรรม
ในวันที่ ๗

ครัง้ นน้ั พวกคนรำ่� รวยในพระนครราชคฤหไ์ ดม้ คี วามวิตกว่า เศรษฐคี หบดีผู้
นี้แลมีอุปการะมากแก่พระเจ้าอยู่หัวและชาวนิคม แต่ท่านถูกนายแพทย์บอกคืนแล้ว
นายแพทย์บางพวกท�ำนายไว้อยา่ งนวี้ า่ เศรษฐีคหบดีจักถึงอนิจกรรมในวันท่ี ๕ บาง
พวกท�ำนายไว้อย่างน้ีว่า เศรษฐีคหบดีจักถึงอนิจกรรมในวันท่ี ๗ ก็ชีวกผู้นี้เป็น
นายแพทย์หลวงที่หนุ่ม ทรงคุณวุฒิ ถ้าเช่นนั้นพวกเราพึงทูลขอนายแพทย์ชีวก
ตอ่ พระเจา้ อยหู่ วั เพอื่ รกั ษาเศรษฐคี หบดี แลว้ จงึ พากนั เขา้ ไปในราชสำ� นกั ครน้ั ถงึ แลว้
ไดเ้ ขา้ เฝา้ กราบบงั คมทลู แกพ่ ระเจา้ พมิ พสิ ารจอมเสนามคธ ขอพระราชทานชวี กไปรกั ษา

224 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒

ครง้ั นน้ั พระเจา้ พมิ พสิ ารจอมเสนามาคธราช มพี ระราชดำ� รสั สง่ั ชวี กโกมารภจั จ์
วา่ พ่อชวี ก เจ้าจงไปรักษาเศรษฐคี หบดี ชีวกโกมารภัจจท์ ลู รบั สนองพระราชโองการ
แล้วไปหาเศรษฐีคหบดี สังเกตอาการทีผ่ ิดแปลกของเศรษฐคี หบดีแล้ว ไดถ้ ามเศรษฐี
คหบดีว่า ท่านคหบดี ถ้าฉันรักษาให้หายโรคจะพึงมีรางวัลอะไรแก่ฉันบ้าง เศรษฐี
คหบดตี อบวา่ ทา่ นอาจารย์ ทรพั ย์สมบัตทิ ้งั ปวง จงเป็นของทา่ น และตวั ขา้ พเจา้ ก็จัก
เป็นทาสของทา่ น ชวี กไดถ้ ามวา่ ท่านคหบดี ท่านอาจนอนข้างเดยี วตลอด ๗ เดอื น
ได้ไหม เศรษฐีตอบว่า ข้าพเจ้าอาจนอนข้างเดียวตลอด ๗ เดือนได้ ชีวกถามว่า
ท่านอาจนอนข้างท่ี ๒ ตลอด ๗ เดอื นได้ไหม เศรษฐตี อบวา่ ข้าพเจา้ อาจนอนข้างท่ี
๒ ตลอด ๗ เดือนได้ ชีวกถามว่า ท่านอาจนอนหงายตลอด ๗ เดอื นได้ไหม เศรษฐี
ตอบวา่ ขา้ พเจา้ อาจนอนหงายตลอด ๗ เดือนได้

ครงั้ นนั้ ชวี กโกมารภจั จใ์ หเ้ ศรษฐคี หบดนี อนบนเตยี ง มดั ไวก้ บั เตยี งถลกหนงั
ศรี ษะ เปดิ รอยประสานกระโหลกศรี ษะ นำ� สตั ว์มชี ีวิตออกมา ๒ ตัว แล้วแสดงแก่
ประชาชนวา่ ทา่ นทง้ั หลายจงดสู ัตว์ ๒ ตัวนี้ เลก็ ตวั หนึ่ง ใหญ่ตวั หนงึ่ พระอาจารย์
ท�ำนายไว้อย่างนี้ว่า ท่านเศรษฐีจะถึงอนิจกรรมในวันท่ี ๕ เพราะท่านได้เห็นสัตว์ตัว
ใหญน่ ี้ มันจักเจาะกนิ มันสมองของเศรษฐีคหบดี ในวนั ที่ ๕ เศรษฐคี หบดถี ูกมนั เจาะ
กินมันสมองหมด ก็จักถึงอนิจกรรม สัตว์ตัวใหญ่นี้ชื่อว่าอันอาจารย์พวกนั้นเห็น
ถกู ตอ้ งแลว้ สว่ นอาจารยท์ ที่ ำ� นายไวอ้ ยา่ งนวี้ า่ เศรษฐคี หบดจี กั ถงึ อนจิ กรรมในวนั ที่ ๗
เพราะทา่ นไดเ้ ห็นสัตวต์ วั เล็กน้ี มนั จักเจาะกินมนั สมองของเศรษฐีคหบดี ในวนั ท่ี ๗
เศรษฐีคหบดีจักถูกมันเจาะกินมันสมองหมดก็จักถึงอนิจกรรม สัตว์ตัวเล็กนี้ช่ือว่า
อันอาจารย์พวกน้ันเห็นถูกต้องแล้ว ดั่งน้ี แล้วปิดแนวประสานกระโหลกศีรษะ
เยบ็ หนงั ศรี ษะ แล้วให้ทายาสมานแผล

ครน้ั ลว่ งสปั ดาหห์ นง่ึ เศรษฐคี หบดไี ดก้ ลา่ วคำ� นต้ี อ่ ชวี กโกมารภจั จว์ า่ ขา้ พเจา้
ไมอ่ าจนอนข้างเดยี วตลอด ๗ เดอื นได้ ชวี กจึงได้กลา่ ววา่ ท่านรบั คำ� ฉันว่า อาจนอน
ขา้ งเดยี วตลอด ๗ เดอื นได้ ดงั่ นี้ ไมใ่ ชห่ รอื เศรษฐตี อบวา่ รบั คำ� ทา่ นจรงิ แตข่ า้ พเจา้
จักตายแน่ ข้าพเจ้าไม่อาจนอนข้างเดียวตลอด ๗ เดือนได้ ชีวกบอกว่า ถ้าเช่นน้ัน
ท่านจงนอนขา้ งท่ี ๒ ตลอด ๗ เดือนเถิด

พรรษาที่ ๑๑ 225

ครนั้ ลว่ งสปั ดาหห์ นง่ึ เศรษฐคี หบดไี ดก้ ลา่ วคำ� นตี้ อ่ ชวี กโกมารภจั จว์ า่ ขา้ พเจา้
ไม่อาจนอนข้างท่ี ๒ ตลอด ๗ เดอื นได้ ชวี กจึงไดก้ ลา่ ววา่ ทา่ นรบั คำ� ฉนั ว่า อาจนอน
ข้างท่ี ๒ ตลอด ๗ เดอื นได้ ดงั นี้ ไมใ่ ช่หรอื เศรษฐีตอบวา่ ข้าพเจา้ รบั คำ� ท่านจรงิ
แตข่ ้าพเจ้าจกั ตายแน่ ขา้ พเจ้าไม่อาจนอนขา้ งที่ ๒ ตลอด ๗ เดอื นได้ ชวี กจงึ พดู ว่า
ถา้ เชน่ นั้น จงนอนหงายตลอด ๗ เดือนเถดิ

ครั้นล่วงสัปดาห์หนึ่ง เศรษฐีคหบดีได้กล่าวค�ำน้ีต่อชีวกโกมารภัจจ์ว่า ท่าน
อาจารย์ ข้าพเจ้าไม่อาจนอนหงายตลอด ๗ เดือนได้ ชีวกจึงพดู วา่ ทา่ นรับคำ� ฉันวา่
ขา้ พเจา้ อาจนอนหงายตลอด ๗ เดอื นได้ ดง่ั น้ี ไมใ่ ชห่ รอื เศรษฐตี อบวา่ ขา้ พเจา้ รบั คำ�
ทา่ นจริง แตข่ ้าพเจ้าจกั ตายแน่ ข้าพเจา้ ไมอ่ าจนอนหงาย ตลอด ๗ เดือนได้ ชีวกจงึ
พดู วา่ ถา้ ฉนั ไมบ่ อกทา่ นไว้ ทา่ นกน็ อนถงึ เชน่ นน้ั ไมไ่ ด้ แตฉ่ นั ทราบอยกู่ อ่ นแลว้ เศรษฐี
คหบดจี ักหายโรคใน ๓ สปั ดาห์ ลุกขน้ึ เถิด ทา่ นหายป่วยแลว้ ท่านจงรู้ จะใหร้ างวัล
อะไรแกฉ่ นั เศรษฐตี อบวา่ กท็ รพั ยส์ มบตั ทิ งั้ ปวงจงเปน็ ของทา่ น ตวั ขา้ พเจา้ กย็ อมเปน็
ทาสของทา่ น ชวี กจงึ พดู วา่ อยา่ เลยทา่ นคหบดี ทา่ นอยา่ ใหท้ รพั ยส์ มบตั ทิ งั้ หมดแกฉ่ นั เลย
และทา่ นกไ็ มต่ อ้ งเปน็ ทาสแกฉ่ นั จงทลู เกลา้ ถวายทรพั ยแ์ กพ่ ระเจา้ อยหู่ วั แสนกษาปณ์
และให้ฉันแสนกษาปณ์ก็พอแล้ว คร้ันคหบดีหายป่วยแล้ว ได้ทูลเกล้าถวายทรัพย์
พระเจ้าอยหู่ ัวแสนกษาปณ์ ไดใ้ ห้แกช่ ีวกแสนกษาปณ์

บุตรเศรษฐีปว่ ยเปน็ โรคเน้อื งอกทล่ี �ำไส้

ก็โดยสมัยนั้นแล เศรษฐีบุตรชาวพระนครพาราณสีผู้เล่นกีฬาหกคะเมน
ได้ป่วยเป็นโรคเนื้องอกท่ีล�ำไส้ ข้าวยาคูท่ีเธอด่ืมเข้าไปก็ดี ข้าวสวยที่เธอรับประทาน
เข้าไปก็ดี ไม่ย่อย อุจจาระและปัสสาวะออกไม่สะดวก เพราะโรคนั้นเธอจึงซูบผอม
เศรา้ หมอง มีผวิ พรรณซูบซดี เหลืองข้นึ ๆ มีตวั สะพรัง่ ด้วยเอ็น ครั้งนัน้ เศรษฐชี าว
พระนครพาราณสี ไดม้ คี วามวติ กดง่ั นวี้ า่ บตุ รของเราไดเ้ จบ็ ปว่ ยเชน่ นน้ั ขา้ วยาคทู เี่ ธอ
ด่ืมก็ดี ข้าวสวยท่ีเธอรับประทานก็ดี ไม่ย่อย อุจจาระและปัสสาวะออกไม่สะดวก
บุตรของเราน้นั ซูบผอม เศร้าหมอง มีผวิ พรรณซูบซดี เหลืองข้ึน ๆ มีตัวสะพรัง่ ดว้ ย
เอ็นเพราะโรคน้ัน ถ้ากระไรเราพึงไปพระนครราชคฤห์ และทูลขอนายแพทย์ชีวกต่อ

226 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒

พระเจ้าอยู่หัวเพ่ือจะได้รักษาบุตรของเรา ต่อแต่นั้นเศรษฐีชาวพระนครพาราณสีไป
พระนครราชคฤห์ แลว้ เขา้ เฝา้ พระเจา้ พมิ พสิ ารจอมเสนามาคธราช แลว้ ไดก้ ราบทลู วา่
ขอเดชะ บุตรของข้าพระพุทธเจา้ ได้เจ็บปว่ ยเชน่ น้นั ขา้ วยาคทู ่เี ธอดมื่ ก็ดี ขา้ วสวยที่
เธอรับประทานก็ดี ไม่ย่อย อุจจาระและปัสสาวะออกไม่สะดวก เธอจึงซูบผอม
เศร้าหมอง มีผิวพรรณซูบซีด เหลืองขึ้น ๆ มีตัวสะพร่ังด้วยเอ็นเพราะโรคนั้น ๆ
ขอพระราชทานพระราชวโรกาส ขอใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทมีพระราชโองการส่ัง
นายแพทย์ชวี ก เพ่อื จะได้รกั ษาบุตรของข้าพระพุทธเจา้

ล�ำดับนั้น พระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราชได้มีพระราชด�ำรัสสั่งชีวก-
โกมารภจั จว์ ่า เจ้าจงไปพระนครพาราณสี แล้วรกั ษาบตุ รของเศรษฐีชาวกรงุ พาราณสี

ชีวกโกมารภัจจ์ทูลรับสนองพระราชโองการแล้วไปพระนครพาราณสี เข้าไป
หาเศรษฐีบุตรชาวพระนครพาราณสี เชิญประชาชนให้ออกไปเสีย ขึงม่านมัดเศรษฐี
บตุ รไวก้ บั เสา ใหภ้ รรยาอยขู่ า้ งหนา้ ผา่ หนงั ทอ้ งนำ� เนอ้ื งอกทล่ี ำ� ไลอ้ อกแสดงแกภ่ รรยา
ว่า เธอจงดคู วามเจบ็ ปว่ ยของสามีเธอ ขา้ วยาคทู ี่สามีเธอด่ืมกด็ ี ข้าวสวยที่สามเี ธอรบั
ประทานกด็ ี ไม่ย่อย อจุ จาระและปัสสาวะออกไมส่ ะดวก เพราะโรคนี้ สามีเธอจึงซูบ
ผอม เศรา้ หมอง มผี วิ พรรณซูบซดี เหลอื งขึน้ ๆ มีตวั สะพร่งั ดว้ ยเอน็ ดัง่ นี้ แล้วตัด
เนอ้ี งอกในลำ� ไลอ้ อก ใสล่ ำ� ไสก้ ลบั ดงั เดมิ แลว้ เยบ็ หนงั ทอ้ ง ทายาสมานแผล ตอ่ มาไม่
นานเท่าไรนัก เศรษฐีบุตรชาวพระนครพาราณสีได้หายโรคน้ัน แล้วครั้งนั้น เศรษฐี
ชาวพระนครพาราณสีคิดว่า บุตรของเราหายโรคพ้นอันตรายแล้ว จึงให้รางวัลแก่
ชวี กโกมารภจั จเ์ ปน็ เงนิ ๑๖,๐๐๐ กษาปณ์ ชวี กโกมารภจั จร์ บั เงนิ ๑๖,๐๐๐ กษาปณ์
นนั้ เดนิ ทางกลบั มาสูพ่ ระนครราชคฤหตามเดมิ

พระเจ้าจณั ฑปชั โชตทรงประชวรโรคผอมเหลอื ง

ก็โดยสมัยน้ันแล พระเจ้าจัณฑปัชโชต ราชาในกรุงอุชเชนี ทรงประชวร
โรคผอมเหลือง นายแพทย์ท่ีใหญ่ๆมีชื่อเสียงโด่งดังหลายคนมารักษา ก็ไม่อาจท�ำให้
โรคหาย ได้ขนเงนิ ไปเป็นอนั มาก พระเจา้ จณั ฑปชั โชตได้ส่งราชทูตถือพระราชสาสน์

พรรษาที่ ๑๑ 227

เข้าไปในพระราชส�ำนักพระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช มีใจความว่า หม่อมฉัน
เจ็บป่วยเป็นอย่างนั้น ขอพระราชทานพระบรมราชวโรกาสโปรดส่ังหมอชีวก เขาจัก
รักษาหม่อมฉัน พระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราชจึงได้ด�ำรัส ส่ังชีวกโกมารภัจจ์
วา่ เจา้ จงไปเมืองอชุ เชนี รกั ษาพระเจา้ จณั ฑปัชโชต

ชวี กโกมารภจั จท์ ลู รบั สนองพระราชโองการ แลว้ เดนิ ทางไปเมอื งอชุ เชนี เขา้ ไป
ในพระราชส�ำนัก แล้วเข้าเฝ้าพระเจ้าจัณฑปัชโชต ได้ตรวจอาการท่ีผิดแปลกของ
พระเจา้ จณั ฑปชั โชต และไดก้ ราบทลู แกท่ า้ วเธอวา่ ขา้ พระพทุ ธเจา้ จกั หงุ เนยใส พระองค์
จักเสวยเนยใสนั้น พระเจา้ จณั ฑปัชโชตทรงหา้ มว่า อย่าเลยนายชีวก ท่านเวน้ เนยใส
เสยี อาจรกั ษาเราใหห้ ายโรคไดด้ ว้ ยวธิ ใี ด ทา่ นจงทำ� วธิ นี นั้ เถดิ เนยใสเปน็ ของนา่ เกลยี ด
น่าสะอดิ สะเอียนสำ� หรับฉนั

ขณะน้ันชีวกโกมารภัจจ์ได้มีความปริวิตกว่า พระเจ้าอยู่หัวพระองค์น้ีแลทรง
ประชวรเชน่ นี้ เราเวน้ เนยใสเสยี ไมอ่ าจรกั ษาพระองคใ์ หห้ ายโรคได้ เราควรหงุ เนยใส
ให้มสี ีกล่นิ รสเหมือนนำ�้ ฝาด ดงั่ นี้ แล้วไดห้ งุ เนยใสด้วยเภสชั นานาชนดิ ใหม้ สี ีกล่ินรส
เหมอื นนำ�้ ฝาด ครนั้ แลว้ ฉกุ คดิ ไดว้ า่ เนยใสทพี่ ระองคเ์ สวยแลว้ เมอ่ื ยอ่ ย จกั ทำ� ใหเ้ รอ
คราวนจี้ กั ทรงเกรย้ี วกราด จกั รบั สงั่ ใหพ้ ฆิ าตเราเสยี กไ็ ด้ ถา้ กระไรเราพงึ ทลู ลาไวก้ อ่ น
วันต่อมาจึงไปพระราชส�ำนัก เข้าเฝ้าพระเจ้าจัณฑปัชโชต แล้วได้กราบทูลว่า
ข้าพระพุทธเจ้าช่ือว่าเป็นนายแพทย์ จักถอนรากไม้มาผสมยาช่ัวเวลาครู่หนึ่งเช่นท่ี
ประสงคน์ นั้ ขอประทานจงทรงมพี ระราชโองการตรสั สง่ั เจา้ พนกั งานในโรงราชพาหนะ
และประตทู งั้ หลายวา่ หมอชวี กตอ้ งการไปดว้ ยพาหนะใด จงไปดว้ ยพาหนะนนั้ ปรารถนา
ไปทางประตูใด จงไปทางประตนู ัน้ ตอ้ งการจะไปเวลาใด จงเข้าไปเวลานัน้ ปรารถนา
จะเขา้ มาเวลาใด จงมาเวลานนั้ พระเจา้ จณั ฑปชั โชตจงึ มพี ระราชดำ� รสั สงั่ เจา้ พนกั งาน
ในโรงราชพาหนะและประตูทั้งหลายตามที่หมอชีวกกราบทูลขอพระราชานุญาตไว้
ทกุ ประการ

ก็โดยสมัยนั้นแล พระเจ้าจัณฑปัชโชตมีช้างพังชื่อภัททวดี เดินทางได้วันละ
๕๐ โยชน์ หมอชีวกโกมารภัจจ์จึงได้ทูลถวายเนยใสน้ันแก่พระเจ้าจัณฑปัชโชต
ได้กราบทูลว่า ขอจงทรงเสวยน�้ำฝาด ครั้นให้พระเจ้าจัณฑปัชโชตเสวยเนยใสแล้ว

228 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒

กไ็ ปโรงชา้ งหนอี อกจากพระนครไปดว้ ยชา้ งพงั ภทั ทวดี ขณะเดยี วกนั เนยใสทพ่ี ระเจา้
จณั ฑปชั โชตเสวยนน้ั ยอ่ ย ไดท้ ำ� ใหท้ รงเรอขนึ้ พระเจา้ จณั ฑปชั โชตจงึ ไดร้ บั สง่ั แกพ่ วก
มหาดเลก็ วา่ พนายทง้ั หลาย เราถกู หมอชวี กชาตชิ ว่ั ลวงใหด้ มื่ เนยใส พวกเจา้ จงคน้ จบั
หมอชวี กมาเรว็ ไว พวกมหาดเลก็ กราบทลู วา่ หมอชวี กหนอี อกจากพระนครไปดว้ ยชา้ ง
พงั ภัททวดี

ก็โดยสมยั นนั้ แล พระเจ้าจัณฑปัชโชตมมี หาดเล็กชื่อกากะ ซ่ึงอาศยั เกดิ กับ
อมนุษย์ เดินทางได้วันละ ๖๐ โยชน์ พระเจ้าจัณฑปัชโชตจึงมีด�ำรัสส่ังกับกากะ
มหาดเลก็ วา่ เจา้ จงไปเชิญหมอชีวกกลบั มา ด้วยอา้ งวา่ ท่านอาจารยพ์ ระราชารับสง่ั
ให้เชิญท่านกลับไป ข้ึนชื่อว่าหมอเหล่านี้ แกมีมารยามาก เจ้าอย่ารับวัตถุใด ๆ
ของเขา ครง้ั นน้ั กากะมหาดเลก็ ไดเ้ ดนิ ทางไปทนั หมอชวี กโกมารภจั จ์ ผกู้ ำ� ลงั รบั ประทาน
อาหารมื้อเช้าในระหว่างทางเขตพระนครโกสัมพี จึงได้เรียนแก่ชีวกโกมารภัจจ์ว่า
ท่านอาจารย์ พระราชามรี บั สั่งใหเ้ ชิญท่านกลับไป ชวี กได้กลา่ วว่า ทา่ นจงรออยูเ่ พียง
ชว่ั เวลาทเ่ี รารบั ประทานอาหาร เชญิ ทา่ นรบั ประทาน อาหารดว้ ยกนั เถดิ กากะมหาดเลก็
กล่าวว่า ช่างเถิดท่านอาจารย์ พระราชารับส่ังข้าพเจ้าไว้ว่า ข้ึนช่ือว่าหมอเหล่านี้มี
มารยามาก อย่ารับวัตถุใด ๆ ของเขา ทันใดนั้นชีวกโกมารภัจจ์ได้แทรกยาทางเล็บ
พลางเคี้ยวมะขามป้อม แล้วด่ืมน้�ำรับประทาน และได้ร้องเชิญกากะมหาดเล็กว่า
เชิญนายกากะมาเค้ียวมะขามปอ้ ม แลว้ ด่มื น�้ำรบั ประทานดว้ ยกนั กากะมหาดเล็กจงึ
คดิ วา่ หมอคนนแ้ี ลกำ� ลงั เคยี้ วมะขามปอ้ มและดม่ื นำ�้ รบั ประทาน คงไมม่ อี ะไรจะใหโ้ ทษ
แล้วเคี้ยวมะขามป้อมคร่ึงผลและดื่มน�้ำรับประทาน มะขามป้อมครึ่งผลท่ีเขาเค้ียวนั้น
ไดร้ ะบายอจุ จาระออกมาในทนี่ น้ั เอง ครง้ั นนั้ กากะมหาดเลก็ จงึ ไดเ้ รยี นถามชวี กโกมารภจั จ์
วา่ ทา่ นอาจารย์ ชีวติ ของขา้ พเจ้าจะรอดไปไดห้ รอื ชีวกโกมารภัจจก์ ล่าวว่า อยา่ กลวั
เลย ทา่ นจกั ไมม่ อี นั ตราย แตพ่ ระเจา้ อยหู่ วั ทรงเกรย้ี วกราด จะพงึ รบั สงั่ ใหพ้ ฆิ าตเราเสยี
กไ็ ด้ เพราะเหตนุ น้ั เราไมก่ ลบั ละ แลว้ มอบชา้ งพงั ภทั ทวดใี หแ้ กน่ ายกากะ แลว้ เดนิ ทาง
ไปพระนครราชคฤห์ รอนแรมไปโดยลำ� ดบั ถงึ พระนครราชคฤหแ์ ลว้ เขา้ เฝา้ พระเจา้ พมิ พสิ าร
จอมเสนามาคธราช กราบทลู เรอ่ื งราวใหท้ รงทราบทกุ ประการ พระเจา้ พมิ พสิ ารรบั สงั่
วา่ เจ้าไม่กลับไปนนั้ ชือ่ วา่ ได้ท�ำถกู แลว้ เพราะพระราชาองค์นัน้ เหีย้ มโหด จะพงึ สั่งให้
สำ� เร็จโทษเจ้าเสียก็ได้

พรรษาท่ี ๑๑ 229

คร้ันพระเจ้าจัณฑปัชโชตทรงหายประชวรแล้ว ทรงส่งราชทูตไปที่ส�ำนัก
ชีวกโกมารภัจจ์ว่า เชิญหมอชีวกมา เราจักให้พร ชีวกกราบทูลว่า ไม่ต้องไปก็ได้
ขอพระองคจ์ งทรงอนสุ รณ์ถึงความดีของขา้ พระพทุ ธเจา้

พระเจา้ จัณฑปชั โชตพระราชทานผา้ สไิ วยกะ

ก็โดยสมัยนน้ั แล ผา้ สไิ วยกะคู่หนงึ่ บังเกดิ ขึน้ แก่พระเจา้ จัณฑปชั โชต เป็นผา้
เนอ้ื ดเี ลศิ ประเสรฐิ มชี อื่ เดน่ อดุ ม และเปน็ เยย่ี มกวา่ ผา้ ทงั้ หลายเปน็ อนั มาก ตงั้ หลายคู่
ตัง้ หลายร้อยคู่ หลายพนั คู่ หลายแสนคู่ คร้งั น้ันพระเจ้าจณั ฑปัชโชตได้สง่ ผ้าสิไวยกะ
คู่นั้นพระราชทานแก่ชีวกโกมารภัจจ์ ชีวกโกมารภัจจ์จึงได้มีด�ำริว่า ผ้าสิไวยกะน้ี
พระเจ้าจัณฑปัชโชตส่งมาพระราชทาน เป็นผ้าเนื้อดีเลิศ ประเสริฐ มีชื่อ เด่นอุดม
และเป็นเย่ียมกว่าผ้าทั้งหลายเป็นอันมาก ตั้งหลายคู่ ต้ังหลายร้อยคู่ หลายพันคู่
หลายแสนคู่ นอกจากพระผมู้ พี ระภาคอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจา้ หรอื พระเจา้ พมิ พสิ าร
จอมเสนามาคธราชแลว้ ใครอน่ื ไม่ควรอย่างย่ิง จะใชผ้ า้ สไิ วยกะคนู่ ้ี

พระผู้มพี ระภาคเจ้าเสวยพระโอสถถา่ ย

กโ็ ดยสมยั นน้ั พระกายของพระพทุ ธเจา้ หมกั หมมดว้ ยสง่ิ อนั เปน็ โทษ พระผมู้ ี
พระภาคเจา้ จงึ รบั สง่ั กบั ทา่ นพระอานนทว์ า่ กายของตถาคตหมกั หมมดว้ ยสงิ่ อนั เปน็ โทษ
ตถาคตต้องการจะฉันยาถ่าย คร้ังน้ันท่านพระอานนท์เดินทางไปหาชีวกโกมารภัจจ์
ครน้ั ถงึ แลว้ ไดก้ ลา่ ววา่ ทา่ นชวี ก พระกายของพระตถาคต หมกั หมมดว้ ยสง่ิ อนั เปน็ โทษ
พระตถาคตต้องการจะเสวยพระโอสถถ่าย ชีวกโกมารภัจจ์กล่าวว่า พระคุณเจ้า
ถ้าอย่างนนั้ ขอท่านโปรดท�ำพระกายของพระผ้มู พี ระภาคเจ้าให้ชุ่มช่ืนสัก ๒-๓ วัน

คร้ังนั้น ท่านพระอานนท์ได้ท�ำพระกายของพระผู้มีพระภาคเจ้าให้ชุ่มช่ืนสัก
๒-๓ วนั แลว้ เดนิ ทางไปหาชวี กโกมารภจั จ์ ครน้ั ถงึ แลว้ ไดก้ ลา่ ววา่ ทา่ นชวี ก พระกาย
ของพระตถาคตชุ่มช่ืนแล้ว บัดนี้ท่านรู้กาลอันควรเถิด คร้ังนั้นชีวกโกมารภัจจ์ได้มี

230 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒

ความปริวิตกว่า การที่เราจะพึงทูลถวายพระโอสถถ่ายท่ีหยาบแก่พระผู้มีพระภาคเจ้า
นนั้ ไมส่ มควรเลย ถา้ กระไรเราพึงอบกา้ นอุบล ๓ กา้ นดว้ ยยาต่าง ๆ แล้วทูลถวาย
พระตถาคต คร้ันแล้วได้อบก้านอุบล ๓ ก้านด้วยยาต่าง ๆ แล้วเข้าเฝ้าพระผู้มี
พระภาคเจ้า ครั้นแลว้ ได้ทลู ถวายกา้ นอบุ ลกา้ นท่ี ๑ แก่พระผู้มพี ระภาคเจ้า กราบทูล
ว่า ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าจงทรงสูดก้านอุบลก้านที่ ๑ น้ี การทรงสูดก้านอุบลนี้ยัง
พระผู้มีพระภาคเจ้าให้ถ่ายถึง ๑๐ ครั้ง แล้วได้ทูลถวายก้านอุบลก้านที่ ๒ แด่
พระผู้มีพระภาคเจ้า กราบทูลว่า ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าจงทรงสูดก้านอุบลก้านที่
๒ นี้ การทรงสูดกา้ นอุบลน้จี กั ยังพระผ้มู ีพระภาคเจา้ ให้ ถ่ายถึง ๑๐ ครั้ง แลว้ ได้ทูล
ถวายกา้ นอุบลก้านท่ี ๓ แด่พระผู้มีพระภาคเจ้า กราบทูลวา่ ขอพระผมู้ พี ระภาคเจา้
จงทรงสูดก้านอุบลก้านที่ ๓ น้ี การทรงสูดก้านอุบลน้ีจักยังพระผู้มีพระภาคเจ้าให้
ถา่ ยถงึ ๑๐ ครง้ั ด้วยวธิ ีนพ้ี ระผมู้ พี ระภาคเจา้ จกั ทรงถ่ายถึง ๓๐ ครง้ั

ครั้นชีวกโกมารภัจจ์ทูลถวายพระโอสถถ่ายแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าถ่ายครบ
๓๐ ครั้งแล้ว ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้า ท�ำประทักษิณกลับไป ขณะเม่ือ
ชวี กโกมารภจั จเ์ ดินออกไปนอกซุ้มประตูแล้ว ได้มีความปริวิตกดั่งน้ีว่า เราทูลถวาย
พระโอสถถา่ ยเพอ่ื พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ถา่ ยครบ ๓๐ ครงั้ พระกายของพระผมู้ พี ระภาคเจา้
หมักหมมด้วยส่ิงอันเป็นโทษ จักไม่ยังพระผู้มีพระภาคเจ้าให้ถ่ายครบ ๓๐ คร้ัง
จักให้ถ่ายเพียง ๒๙ ครั้ง แต่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงถ่ายแล้ว จักทรงสรงพระกาย
ครน้ั ทรงสรงพระกายแล้ว จกั ถ่ายอีกคร้ังหน่งึ อยา่ งน้พี ระผู้มพี ระภาคเจา้ จักถ่ายครบ
๓๐ ครง้ั

ครงั้ นนั้ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงทราบความปรวิ ติ กแหง่ จติ ของชวี กโกมารภจั จ์
ดว้ ยพระทยั แลว้ รบั สงั่ กบั ทา่ นพระอานนทว์ า่ ชวี กโกมารภจั จก์ ำ� ลงั เดนิ ทางออกไปนอก
ซมุ้ ประตวู หิ ารน้ี ไดม้ คี วามปรวิ ติ กดงั่ นวี้ า่ เราถวายพระโอสถถา่ ยเพอื่ พระผมู้ พี ระภาคเจา้
ถ่ายครบ ๓๐ ครั้งแล้ว พระกายของพระตถาคต หมักหมมด้วยสิ่งอันเป็นโทษ
จักไม่ยังพระผู้มีพระภาคเจ้าให้ถ่ายครบ ๓๐ คร้ัง จักให้ถ่ายเพียง ๒๙ คร้ัง แต่
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงถ่ายแล้ว จักทรงสรงพระกาย คร้ันทรงสรงพระกายแล้ว
จกั ถา่ ยอีกครงั้ หนง่ึ อยา่ งนี้พระผู้มีพระภาคเจา้ จกั ถา่ ยครบ ๓๐ ครั้ง ถ้าอย่างน้ันเธอ
จงจดั เตรียมนำ�้ รอ้ นไว้ พระอานนทร์ ับพระพุทธพจนแ์ ลว้ จัดเตรียมน�้ำร้อนไว้ถวาย

พรรษาท่ี ๑๑ 231

ตอ่ มาชวี กโกมารภจั จไ์ ปในพทุ ธสำ� นกั ครนั้ ถงึ แลว้ ถวายบงั คมพระผมู้ พี ระภาคเจา้
นั่งอยู่ ณ ท่ีควรส่วนข้างหนึ่ง คร้ันแล้วได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า พระผู้มี
พระภาคเจา้ ทรงถา่ ยแลว้ หรอื พระผมู้ พี ระภาคเจา้ รบ้ สง่ั วา่ เราถา่ ยแลว้ ชวี กโกมารภจั จ์
กราบทูลว่า ข้าพระพุทธเจ้าก�ำลังเดินทางออกไปนอกซุ้มประตูวิหารน้ี ได้มีความ
ปรวิ ติ กดงั นวี้ า่ เราถวายพระโอสถถา่ ยแกพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ เพอื่ ถา่ ยครบ ๓๐ ครงั้ แลว้
พระกายของพระผมู้ พี ระภาคเจา้ หมกั หมมดว้ ยสง่ิ อนั เปน็ โทษ จกั ไมย่ งั พระผมู้ พี ระภาคเจา้
ใหถ้ ่ายครบ ๓๐ คร้งั จักให้ถ่ายเพียง ๒๙ ครง้ั แตพ่ ระผมู้ ีพระภาคเจา้ ทรงถา่ ยแล้ว
จักทรงสรงพระกาย คร้ันทรงสรงพระกายแล้ว จักถ่ายอีกคร้ังหนึ่ง ด่ังน้ีพระผู้มี
พระภาคเจา้ จกั ทรงถา่ ยครบ ๓๐ ครง้ั ขอพระผมู้ พี ระภาคเจา้ จงโปรดทรงสรงพระกาย

ครงั้ นน้ั พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงสรงนำ้� อนุ่ ครนั้ ทรงสรงแลว้ ทรงถา่ ยอกี ครงั้ หนงึ่
อยา่ งนเ้ี ป็นอนั วา่ พระผูม้ ีพระภาคเจา้ ทรงถ่ายครบ ๓๐ ครง้ั ล�ำดบั น้นั ชวี กโกมารภัจจ์
ไดก้ ราบทลู คำ� นว้ี า่ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ไมค่ วรเสวยพระกระยาหารทปี่ รงุ ดว้ ยนำ้� ตม้ ผกั
ตา่ ง ๆ จนกวา่ จะมพี ระกายเปน็ ปกติ ตอ่ มาไมน่ านนกั พระกายของพระผมู้ พี ระภาคเจา้
ไดเ้ ป็นปกติ

กราบทูลขอพร

ครงั้ นน้ั ชวี กโกมารภจั จถ์ อื ผา้ สไิ วยกะคนู่ นั้ ไปยงั พทุ ธสำ� นกั ครนั้ ถงึ แลว้ ถวาย
บงั คมพระผมู้ พี ระภาคเจา้ น่งั อยู่ ณ ทคี่ วรส่วนขา้ งหนง่ึ ชีวกโกมารภัจจ์นงั่ เรียบร้อย
แล้วได้กราบทูลว่า ข้าพระพุทธเจ้าจะขอประทานพรต่อพระผู้มีพระภาคเจ้าสักอย่าง
หนง่ึ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ตรสั วา่ พระตถาคตทงั้ หลายเลกิ ใหพ้ รเสยี แลว้ ชวี กโกมารภจั จ์
กราบทลู ว่า ข้าพระพุทธเจ้าขอประทานพรท่ีสมควรและไมม่ ีโทษ พระผู้มีพระภาคเจา้
ตรสั วา่ จงวา่ มาเถดิ ชวี กกราบทลู วา่ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ และพระสงฆท์ รงถอื ผา้ บงั สกุ ลุ
เปน็ ปกตอิ ยู่ ผา้ สไิ วยกะของขา้ พระพทุ ธเจา้ คนู่ ี้ พระเจา้ จณั ฑปชั โชตทรงสง่ มาพระราชทาน
เปน็ ผา้ เนื้อดเี ลศิ ประเสรฐิ มชี อ่ื เสียง เดน่ อดุ ม และเปน็ เยย่ี มกวา่ ผ้าท้งั หลายเปน็ อัน
มาก ตั้งหลายคู่ ตงั้ หลายรอ้ ยคู่ หลายพันคู่ หลายแสนคู่ ขอพระผ้มู พี ระภาคเจ้าจง
ทรงพระกรณุ าโปรดรบั ผา้ คสู่ ไิ วยกะของขา้ พระพทุ ธเจา้ และขอจงทรงพระพทุ ธานญุ าต

232 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒

คหบดีจีวรแก่พระสงฆด์ ้วยเถดิ พระผู้มพี ระภาคเจ้าทรงรับผ้าคู่สิไวยกะแล้ว ครน้ั แลว้
ทรงช้ีแจงให้ ชีวกโกมารภจั จเ์ หน็ แจ้ง สมาทาน อาจหาญ รา่ เรงิ ดว้ ยธรรมกี ถา ครนั้
ชีวกโกมารภัจจ์ ซ่ึงพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงช้ีแจงให้เห็นแจ้ง สมาทาน อาจหาญ
ร่าเริงด้วยธรรมกี ถาแล้ว ลกุ จากที่นัง่ ถวายบงั คมพระผ้มู พี ระภาคเจ้า ทำ� ประทักษิณ
กลบั ไป

พระพทุ ธานญุ าตคหบดจี ีวร

ล�ำดับนน้ั พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงท�ำธรรมีกถา ในเพราะเหตเุ ป็นเคา้ มลู น้ัน
ในเพราะเหตแุ รกเกดิ นนั้ แลว้ รบั สงั่ กบั ภกิ ษทุ งั้ หลายวา่ ดกู อ่ นภกิ ษทุ งั้ หลาย เราอนญุ าต
คหบดีจีวร รูปใดปรารถนา จงถือผ้าบังสุกุล รูปใดปรารถนา จงยินดีคหบดีจีวร
แต่เราสรรเสริญการยนิ ดดี ้วยปัจจยั ตามมตี ามได้

ประชาชนในพระนครราชคฤหไ์ ดท้ ราบขา่ ววา่ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงอนญุ าต
คหบดีจีวรแก่ภิกษุทั้งหลาย ต่างพากันยินดีร่าเริงว่า บัดน้ีแลพวกเราจักถวายทาน
จักบ�ำเพ็ญบุญ เพราะพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตคหบดีจีวรแก่ภิกษุท้ังหลาย
เพยี งวนั เดยี วเทา่ นน้ั จวี รหลายพนั ผนื ไดเ้ กดิ ขนึ้ ในพระนครราชคฤห์ เกดิ ขน้ึ แมใ้ นชนบท

พระพทุ ธานุญาตผา้ ปาวารและผา้ โกเชาว์

กโ็ ดยสมัยนนั้ แล ผา้ ปาวารเกดิ ขนึ้ แก่สงฆ์ ภิกษทุ ง้ั หลายกราบทูลเรือ่ งนั้นแก่
พระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองคท์ รงอนญุ าตวา่ ดกู อ่ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย เราอนญุ าตผา้ ปาวาร

ผ้าปาวารแกมไหมเกิดขึ้นแก่สงฆ์ ภิกษุท้ังหลายได้กราบทูลเรื่องน้ันแก่
พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์ทรงอนุญาตว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตผ้า
ปาวารแกมไหม

ผา้ โกเชาวเ์ กดิ ขน้ึ แกส่ งฆ์ ภกิ ษทุ ง้ั หลายกราบทลู เรอื่ งนนั้ แกพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้
พระองค์ทรงอนุญาตวา่ ดกู อ่ นภกิ ษุทั้งหลาย เราอนุญาตผ้าโกเชาว์

พรรษาที่ ๑๑ 233

พระพทุ ธานญุ าตผา้ กัมพล๕

กโ็ ดยสมัยนัน้ แล พระเจา้ กาสีทรงพระกรุณาสง่ ผ้ากมั พลมีราคาคร่งึ กาสี คอื
ควรราคากึ่งกาสี มาพระราชทานแก่ชีวกโกมารภัจจ์ คร้ังน้ันชีวกโกมารภัจจ์
รับพระราชทานผ้ากัมพลราคาก่ึงกาสนี ้นั แล้ว เขา้ ไปในพุทธสำ� นัก คร้ันถึงแลว้ ถวาย
บงั คมพระผมู้ พี ระภาคเจา้ นง่ั อยู่ ณ ทค่ี วรสว่ นขา้ งหนง่ึ ชวี กโกมารภจั จน์ งั่ เฝา้ เรยี บรอ้ ย
แล้ว ได้กราบทูลเรื่องนนั้ แกพ่ ระผมู้ ีพระภาคเจา้ ว่า ผ้ากัมพลของข้าพระพุทธเจา้ ผนื นี้
ราคาครึ่งกาสีคือควรราคากึ่งกาสี พระเจ้ากาสีทรงพระกรุณา ส่งมาพระราชทาน
ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าจงทรงพระกรุณาโปรดรับผ้ากัมพลของข้าพระพุทธเจ้า เพื่อ
ประโยชนแ์ ละความสขุ ของขา้ พระพทุ ธเจา้ ตลอดกาลนานดว้ ยเถดิ พระผมู้ พี ระภาคเจา้
ทรงรับผา้ กมั พล ครัน้ แลว้ ทรงชีแ้ จงให้ชวี กโกมารภัจจ์ เห็นแจง้ สมาทาน อาจหาญ
ร่าเริงด้วยธรรมีกถา ครั้นชีวกโกมารภัจจ์อันพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงช้ีแจงให้เห็นแจ้ง
สมาทาน อาจหาญ รา่ เรงิ ดว้ ยธรรมกี ถาแลว้ ลกุ จากทนี่ ง่ั ถวายบงั คมพระผมู้ พี ระภาคเจา้
ท�ำประทกั ษณิ กลับไป

คร้ังนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงท�ำธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น
ในเพราะเหตแุ รกเกิดนนั้ แล้วรับส่งั กับภิกษุท้ังหลายวา่ เราอนุญาตผา้ กมั พล

พระพทุ ธานุญาตคหบดจี วี ร ๖ ชนดิ

ก็โดยสมัยนั้นแล จีวรทั้งเนื้อดีและเลวเกิดข้ึนแก่สงฆ์ ครั้งน้ันภิกษุท้ังหลาย
ไดม้ ีความปริวิตกดั่งนว้ี า่ จีวรชนิดไรหนอ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาต ชนิดไรไม่
ทรงอนุญาต แล้วกราบทูลเรื่องนั้นแก่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์ตรัสอนุญาตว่า
ดกู อ่ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย เราอนญุ าตจวี ร ๖ ชนดิ คอื จวี รทำ� ดว้ ยเปลอื กไม้ ๑ ทำ� ดว้ ยฝา้ ย
๑ ทำ� ด้วยไหม ๑ ทำ� ดว้ ยขนสัตว์ ๑ ทำ� ด้วยป่าน ๑ ท�ำดว้ ยของเจอื กนั ๑

๕ ว.ิ มหา. ๕/๑๓๘/๑๙๒.

234 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒

สมยั ตอ่ มา ภกิ ษทุ ง้ั หลายทยี่ นิ ดคี หบดจี วี รนนั้ พากนั รงั เกยี จ ไมย่ นิ ดผี า้ บงั สกุ ลุ
ด้วยคิดว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตจีวรอย่างเดียวเท่านั้น ไม่ใช่ ๒ อย่าง
จงึ กราบทลู เรอื่ งนนั้ แกพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองคต์ รสั อนญุ าตวา่ เราอนญุ าตใหภ้ กิ ษุ
ผูย้ ินดคี หบดีจีวร ยนิ ดีผ้าบังสกุ ลุ ได้ แตเ่ ราสรรเสรญิ ความสันโดษด้วยจีวรทั้ง ๒ นน้ั

เรื่องขอสว่ นแบ่ง

กโ็ ดยสมยั นนั้ แล ภกิ ษหุ ลายรปู ดว้ ยกนั เดนิ ทางไกลไปในโกศลชนบท บางพวก
แวะเข้าสุสานเพื่อแสวงหาผ้าบังสุกุล บางพวกไม่รอคอย บรรดาภิกษุผู้แวะเข้าสุสาน
เพอื่ แสวงหาผา้ บงั สกุ ลุ นน้ั ตา่ งกไ็ ดผ้ า้ บงั สกุ ลุ พวกทไ่ี มร่ อคอยนนั้ พดู อยา่ งนวี้ า่ ขอทา่ น
จงใหส้ ว่ นแบง่ แกพ่ วกขา้ พเจา้ บา้ ง ภกิ ษพุ วกนน้ั พดู อยา่ งนวี้ า่ เราไมใ่ หส้ ว่ นแบง่ แกท่ า่ น
เพราะเหตุไรพวกท่านจึงไม่รอคอยเล่า แล้วกราบทูลเร่ืองนั้นแก่พระผู้มีพระภาคเจ้า
พระองคต์ รสั วา่ เราอนญุ าตใหภ้ กิ ษทุ งั้ หลายผไู้ มป่ รารถนา ไมต่ อ้ งใหส้ ว่ นแบง่ แกภ่ กิ ษุ
พวกทไี่ มร่ อคอย

สมัยตอ่ มา ภิกษุหลายรปู ด้วยกันเดินทางไกลไปในโกศลชนบท บางพวกแวะ
เขา้ สสุ านเพอื่ แสวงหาผา้ บงั สกุ ลุ บางพวกรอคอยอยู่ พวกทแ่ี วะเขา้ สสุ าน เพอ่ื แสวงหา
ผา้ บงั สกุ ลุ นน้ั ตา่ งกไ็ ดผ้ า้ บงั สกุ ลุ พวกภกิ ษผุ ทู้ ร่ี อคอยอยนู่ นั้ พดู อยา่ งนว้ี า่ ขอพวกทา่ น
จงใหส้ ว่ นแบง่ แกพ่ วกขา้ พเจา้ บา้ ง ภกิ ษพุ วกนน้ั พดู อยา่ งนวี้ า่ พวกขา้ พเจา้ จกั ไมใ่ หส้ ว่ น
แบ่งแก่พวกท่าน เพราะเหตุไรพวกท่านจึงไม่แวะเข้าไปเล่า แล้วกราบทูลเรื่องน้ันแก่
พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์ตรัสอนุญาตว่า ภิกษุท้ังหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุ
ทัง้ หลายผูไ้ ม่ปรารถนา กต็ ้องให้ส่วนแบ่งแก่ภกิ ษพุ วกที่รอคอย

สมยั ตอ่ มา ภิกษหุ ลายรปู ดว้ ยกันเดินทางไกลไปในโกศลชนบท บางพวกแวะ
เขา้ สสุ านกอ่ นเพอ่ื แสวงหาผา้ บงั สกุ ลุ บางพวกแวะเขา้ ทหี ลงั ภกิ ษทุ แ่ี วะเขา้ สสุ านกอ่ น
เพอ่ื แสวงหาผ้าบังกุ ุลน้นั ต่างกไ็ ด้ผา้ บงั สกุ ลุ ภิกษุพวกท่ีแวะเขา้ ทีหลังไมไ่ ด้ ต่างกพ็ ดู
อย่างน้ีว่า ขอพวกท่านจงให้ส่วนแบ่งแก่ข้าพเจ้าบ้าง ภิกษุเหล่านั้นตอบอย่างน้ีว่า
พวกขา้ พเจา้ จกั ไมใ่ หส้ ว่ นแบง่ แกพ่ วกทา่ น เพราะเหตไุ รพวกทา่ นจงึ แวะเขา้ ไปทหี ลงั เลา่

พรรษาท่ี ๑๑ 235

แล้วกราบทูลเร่ืองนั้นแก่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์ตรัสอนุญาตว่า เราอนุญาตให้
ภกิ ษทุ ง้ั หลายผูไ้ มป่ รารถนา ไมต่ ้องใหส้ ว่ นแบ่งแก่ภกิ ษพุ วกท่แี วะเขา้ ไปทหี ลงั

สมยั ตอ่ มา ภกิ ษหุ ลายรปู ดว้ ยกนั เดนิ ทางไกลไปในโกศลชนบท ภกิ ษเุ หลา่ นนั้
แวะเข้าสุสานเพื่อแสวงหาผ้าบังสุกุลพร้อมกัน บางพวกได้ผ้าบังสุกุล บางพวกไม่ได้
พวกท่ีไมไ่ ดพ้ ูดอยา่ งน้วี า่ ขอพวกทา่ นจงใหส้ ว่ นแบ่งแก่พวกขา้ พเจา้ บ้าง ภกิ ษุเหล่านน้ั
ตอบว่า พวกข้าพเจ้าจักไม่ให้ส่วนแบ่งแก่พวกท่าน ท�ำไมพวกท่านหาไม่ได้เล่า แล้ว
กราบทูลเรือ่ งน้นั แกพ่ ระผ้มู ีพระภาคเจา้ พระองค์ตรสั อนุญาตวา่ เราอนญุ าตให้ภิกษุ
ทง้ั หลายผู้ไมป่ รารถนา ก็ต้องใหส้ ว่ นแบ่งแก่ภิกษุทัง้ หลายท่ีแวะเข้าไปพรอ้ มกนั

สมยั ตอ่ มา ภกิ ษหุ ลายรปู ดว้ ยกนั เดนิ ทางไกลไปในโกศลชนบท ภกิ ษเุ หลา่ นนั้
นดั แนะกนั แลว้ แวะเขา้ สสุ านเพอ่ื แสวงหาผา้ บงั สกุ ลุ บางพวกไดผ้ า้ บงั สกุ ลุ บางพวกไมไ่ ด้
พวกท่ีไม่ได้พูดอย่างน้ีว่า ขอท่านจงให้ส่วนแบ่งแก่พวกข้าพเจ้าบ้าง ภิกษุเหล่าน้ัน
พดู อยา่ งน้วี ่า พวกขา้ พเจ้าจกั ไม่ให้สว่ นแบ่งแก่พวกท่าน ทำ� ไมพวกทา่ นจงึ หาไมไ่ ด้เลา่
แลว้ กราบทลู เรอื่ งนแ้ี กพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองคต์ รสั อนญุ าตวา่ เราอนญุ าตใหภ้ กิ ษุ
ทั้งหลายผไู้ ม่ปรารถนา กต็ อ้ งใหส้ ว่ นแบง่ แก่ภกิ ษพุ วกทน่ี ดั แนะกนั ไวแ้ ล้วแวะเขา้ ไป

องค์ของเจ้าหน้าท่ผี รู้ ับจีวร

กโ็ ดยสมยั นนั้ แล ประชาชนถอื จวี รมาสอู่ าราม พวกเขาหาภกิ ษเุ จา้ หนา้ ทผ่ี รู้ บั
ไมไ่ ดจ้ งึ ถอื กลบั ไป จวี รเกดิ ขนึ้ นอ้ ย ภกิ ษทุ งั้ หลายกราบทลู เรอื่ งนน้ั แกพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้
พระองคต์ รสั อนญุ าตวา่ เราอนญุ าตใหส้ มมตภิ กิ ษผุ ปู้ ระกอบดว้ ยองค์ ๕ เปน็ เจา้ หนา้ ที่
รบั จีวร คอื

๑. ไมถ่ งึ ความลำ� เอียงเพราะความชอบพอ
๒. ไม่ถงึ ความลำ� เอยี งเพราะความเกลยี ดชงั
๓. ไม่ถึงความล�ำเอยี งเพราะความงมงาย
๔. ไมถ่ งึ ความลำ� เอยี งเพราะความกลัว และ
๕. รจู้ ักจีวรจ�ำนวนทีร่ ับไว้และทย่ี ังไม่ได้รับ

236 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒

วิธีสมมติ

ก็แลสงฆ์พึงสมมติอย่างนี้ สงฆ์พึงขอร้องภิกษุก่อน คร้ันแล้วภิกษุผู้ฉลาด
ผูส้ ามารถ พงึ ประกาศใหส้ งฆท์ ราบด้วยญตั ติทตุ ิยกรรมวาจาว่าดงั น้ี

“ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ถ้าความพร้อมพร่ังของสงฆ์ถึงท่ีแล้ว
สงฆ์พึงสมมตภิ กิ ษุมีช่อื น้ใี ห้เปน็ เจ้าหนา้ ทร่ี ับจวี ร น้ีเป็นญตั ติ

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า สงฆ์สมมติภิกษุมีช่ือน้ีให้เป็นเจ้าหน้าที่
รบั จีวร การสมมติภกิ ษมุ ชี ่อื น้ีให้เป็นเจ้าหนา้ ทร่ี ับจวี ร ชอบแก่ทา่ นผู้ใด ท่านผูน้ น้ั พงึ
เป็นผู้นิง่ ไม่ชอบแก่ทา่ นผใู้ ด ท่านผนู้ ้ันพงึ พูด

สงฆ์สมมติภิกษุมีช่ือน้ีให้เป็นเจ้าหน้าที่รับจีวร ชอบแก่สงฆ์ เหตุนั้นจึงนิ่ง
ขา้ พเจา้ ทรงความนไ้ี วด้ ว้ ยอยา่ งน″้ี

องค์ของเจ้าหนา้ ท่ผี เู้ ก็บจวี ร

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุทั้งหลายผู้มีหน้าที่รับจีวร รับจีวรแล้วท้ิงไว้ในที่น้ัน
แลว้ หลกี ไป จวี รเสยี หาย ภกิ ษทุ ง้ั หลายกราบทลู เรอ่ื งนน้ั แกพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองค์
ตรสั อนญุ าตว่า ดกู อ่ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย เราอนุญาตให้สมมติภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕
เป็นเจา้ หนา้ ทเี่ ก็บจีวร คอื

๑. ไม่ถงึ ความลำ� เอียงเพราะความชอบพอ
๒. ไมถ่ งึ ความลำ� เอยี งเพราะความเกลียดชัง
๓. ไม่ถงึ ความลำ� เอียงเพราะความงมงาย
๔. ไม่ถึงความล�ำเอยี งเพราะความกลวั และ
๕. รจู้ ักจ�ำนวนจีวรท่ีเกบ็ แลว้ และยงั ไมไ่ ด้เกบ็

พรรษาที่ ๑๑ 237

วธิ ีสมมติ

ดกู อ่ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย กแ็ ลสงฆพ์ งึ สมมตอิ ยา่ งนี้ สงฆพ์ งึ ขอรอ้ งภกิ ษกุ อ่ น ครนั้
แลว้ ภกิ ษผุ ฉู้ ลาด ผสู้ ามารถ พงึ ประกาศใหส้ งฆท์ ราบดว้ ยญตั ตทิ ตุ ยิ กรรมวาจาวา่ ดงั นี้

“ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงท่ีแล้ว
สงฆ์พงึ สมมตภิ ิกษผุ ้มู ีชื่อนใี้ ห้เป็นเจ้าหนา้ ทเ่ี ก็บจีวร นเี้ ปน็ ญตั ติ

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า สงฆ์สมมติภิกษุมีช่ือนี้ให้เป็นเจ้าหน้าที่
เกบ็ จวี ร การสมมตภิ กิ ษมุ ชี อ่ื นใี้ หเ้ ปน็ เจา้ หนา้ ทเี่ กบ็ จวี ร ชอบแกท่ า่ นผใู้ ด ทา่ นผนู้ น้ั พงึ
เปน็ ผนู้ ิ่ง ไม่ชอบแกท่ า่ นผู้ใด ทา่ นผนู้ ้นั พงึ พูด

สงฆ์สมมติภิกษุมีชื่อน้ีให้เป็นเจ้าหน้าท่ีเก็บจีวร ชอบแก่สงฆ์ เหตุน้ันจึงนิ่ง
ข้าพเจ้าทรงความนไ้ี วด้ ว้ ยอยา่ งน้ี″

พระพุทธานญุ าตเรอื นคลัง

ก็โดยสมยั น้ันแล ภิกษุผู้มหี น้าที่เกบ็ จวี ร ได้เก็บจวี รไว้ในมณฑปบ้าง ท่โี คน
ไมบ้ า้ ง ทชี่ ายคาบา้ ง ทกี่ ลางแจง้ บา้ ง จวี รถกู หนกู ดั บา้ ง ถกู ปลวกกนิ บา้ ง ภกิ ษทุ งั้ หลาย
จงึ กราบทลู เรอื่ งนนั้ แกพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองคท์ รงอนญุ าตวา่ เราอนญุ าตใหส้ มมติ
วหิ าร เพงิ เรอื นชนั้ เรือนโล้น หรือถ้ํา ทีส่ งฆ์จำ� หมายใหเ้ ป็นเรอื นคลงั

วธิ ีสมมติ

ก็แลสงฆ์พึงสมมติอย่างน้ี คือภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงประกาศให้สงฆ์
ทราบดว้ ยญตั ติทุติยกรรมวาจาวา่ ดังนี้

“ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ถ้าความพร้อมพร่ังของสงฆ์ถึงท่ีแล้ว
สงฆพ์ งึ สมมติวิหารมีช่ือนี้ให้เป็นเรอื นคลัง นีเ้ ป็นญัตติ

238 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒

ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า สงฆ์สมมติวิหารมีชื่อน้ีให้เป็นเรือนคลัง
การสมมตวิ หิ ารมชี อ่ื นใี้ หเ้ ปน็ เรอื นคลงั ชอบแกท่ า่ นผใู้ ด ทา่ นผนู้ น้ั พงึ เปน็ ผนู้ ง่ิ ไมช่ อบ
แกท่ ่านผใู้ ด ท่านผูน้ ้ันพงึ พดู

สงฆ์สมมติวิหารมีช่ือน้ีให้เป็นเรือนคลังแล้ว ชอบแก่สงฆ์ เหตุนั้นจึงน่ิง
ข้าพเจ้าทรงความนีไ้ วด้ ว้ ยอย่างน้″ี

องค์ของเจา้ หน้าทผ่ี ้รู ักษาเรอื นคลงั

กโ็ ดยสมยั นนั้ แล จวี รในเรอื นคลงั ของสงฆไ์ มม่ คี นเฝา้ ภกิ ษทุ ง้ั หลายกราบทลู
เร่ืองน้นั แก่พระผูม้ ีพระภาคเจ้า พระองคต์ รสั อนุญาตวา่ เราอนุญาตให้ สมมตภิ ิกษผุ ู้
ประกอบด้วยองค์ ๕ เป็นเจา้ หนา้ ท่รี ักษาเรอื นคลัง คอื

๑. ไมถ่ ึงความลำ� เอียงเพราะความชอบพอ
๒. ไม่ถงึ ความลำ� เอียงเพราะความเกลียดชงั
๓. ไมถ่ ึงความลำ� เอียงเพราะความงมงาย
๔. ไม่ถึงความล�ำเอยี งเพราะความกลวั และ
๕. รูจ้ ักจ�ำนวนจีวรทรี่ ักษาและทย่ี งั ไม่รักษา

วธิ ีสมมติ

ก็แลสงฆ์พึงสมมติอย่างน้ี สงฆ์พึงขอร้องภิกษุก่อน ครั้นแล้วภิกษุผู้ฉลาด
ผูส้ ามารถพึงประกาศใหส้ งฆท์ ราบดว้ ยญตั ตทิ ตุ ิยกรรมวาจาว่าดงั นี้

"ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ถ้าความพร้อมพร่ังของสงฆ์ถึงท่ีแล้ว
สงฆ์พงึ สมมตภิ กิ ษุมีช่อื น้ีใหเ้ ป็นเจ้าหน้าที่รกั ษาเรือนคลงั น้ีเป็นญัตติ

พรรษาที่ ๑๑ 239

ทา่ นเจา้ ขา้ ขอสงฆจ์ งฟงั ขา้ พเจา้ สงฆส์ มมตภิ กิ ษมุ ชี อ่ื นใี้ หเ้ ปน็ เจา้ หนา้ ทรี่ กั ษา
เรือนคลัง การสมมติภิกษุมีช่ือนี้ให้เป็นเจ้าหน้าที่รักษาเรือนคลัง ชอบแก่ท่านผู้ใด
ท่านผ้นู ้ันพงึ เปน็ ผู้นิง่ ไมช่ อบแกท่ ่านผ้ใู ด ท่านผ้นู ้ันพึงพูด

สงฆ์สมมติภิกษุมีชื่อนี้ให้เป็นเจ้าหน้าท่ีรักษาเรือนคลังแล้ว ชอบแก่สงฆ์
เหตนุ ้ันจงึ น่ิง ข้าพเจ้าทรงความนไ้ี วด้ ว้ ยอยา่ งน้″ี

พระพทุ ธบัญญัตหิ า้ มย้ายเจา้ หนา้ ท่รี กั ษาเรือนคลัง

กโ็ ดยสมยั นัน้ แล พระฉพั พัคคยี ์ยา้ ยเจา้ หนา้ ท่รี ักษาเรือนคลัง ภิกษทุ งั้ หลาย
กราบทลู เรอื่ งนน้ั แกพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองคต์ รสั หา้ มวา่ ภกิ ษไุ มพ่ งึ ยา้ ย เจา้ หนา้ ท่ี
ผู้รักษาเรือนคลงั รปู ใดยา้ ย ตอ้ งอาบตั ทิ กุ กฏ

องคข์ องเจา้ หน้าทผ่ี แู้ จกจวี ร

กโ็ ดยสมยั นนั้ แล จวี รในเรอื นคลงั ของสงฆม์ มี าก ภกิ ษทุ ง้ั หลายกราบทลู เรอ่ื งนนั้
แกพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองคต์ รสั อนญุ าตวา่ เราอนญุ าตใหส้ งฆผ์ อู้ ยพู่ รอ้ มหนา้ แจก

สมยั ตอ่ มา สงฆท์ ง้ั ปวงผแู้ จกจวี รไดส้ ง่ เสยี งออ้ื องึ ภกิ ษทุ ง้ั หลายกราบทลู เรอื่ งนน้ั
แกพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองคต์ รสั อนญุ าตวา่ เราอนญุ าตใหส้ มมตภิ กิ ษุ ผปู้ ระกอบ
ด้วยองค์ ๕ เป็นเจา้ หนา้ ทแี่ จกจวี ร คือ

๑. ไม่ถงึ ความล�ำเอยี งเพราะความชอบพอ
๒. ไมถ่ งึ ความลำ� เอยี งเพราะความเกลียดชงั
๓. ไม่ถงึ ความล�ำเอียงเพราะความงมงาย
๔. ไมถ่ งึ ความลำ� เอยี งเพราะความกลวั และ
๕. รู้จกั จำ� นวนจีวรท่ีแจกแลว้ และยงั มิได้แจก

240 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒

วิธีสมมติ

ก็แลสงฆ์พึงสมมติอย่างนี้ สงฆ์พึงขอร้องภิกษุก่อน ครั้นแล้วภิกษุผู้ฉลาด
ผ้สู ามารถ พงึ ประกาศใหส้ งฆท์ ราบด้วยญัตตทิ ตุ ิยกรรมวาจาว่าดงั นี้

“ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ถ้าความพร้อมพร่ังของสงฆ์ถึงที่แล้ว
สงฆพ์ งึ สมมติภกิ ษุมชี ือ่ นใี้ หเ้ ป็นเจา้ หนา้ ท่ีแจกจีวร นเี้ ปน็ ญตั ติ

ท่านเจ้าขา้ ขอสงฆ์จงฟงั ข้าพเจา้ สงฆส์ มมตภิ กิ ษุมชี ่อื นีใ้ ห้เปน็ เจา้ หนา้ ท่ีแจก
จวี ร การสมมตภิ กิ ษมุ ชี อ่ื นใี้ หเ้ ปน็ เจา้ หนา้ ทแ่ี จกจวี ร ชอบแกท่ า่ นผใู้ ด ทา่ นผนู้ น้ั พงึ เปน็
ผู้น่ิง ไม่ชอบแกท่ า่ นผูใ้ ด ท่านผู้นั้นพึงเปน็ ผู้พูด

สงฆ์สมมติภิกษุมีช่ือนี้ให้เป็นเจ้าหน้าที่แจกจีวรแล้ว ชอบแก่สงฆ์ เหตุนั้น
จงึ น่งิ ขา้ พเจ้าทรงความน้ไี ว้ด้วยอย่างน้ี″

คร้ังน้ัน ภิกษุทั้งหลายผู้เป็นเจ้าหน้าท่ีแจกจีวร ได้มีความปริวิตกอย่างน้ี
ว่า ควรแจกจีวรอย่างไรหนอ จึงกราบทูลเรื่องน้ันแก่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์
ตรัสแนะวิธีแจกว่า เราอนุญาตให้คัดเลือกผ้าก่อน แล้วตีราคาคิดถัวกัน นับภิกษุ
ผกู ผา้ เปน็ มดั ๆ แลว้ ตง้ั สว่ นจีวรไว้

ครง้ั นนั้ ภกิ ษทุ ง้ั หลายผเู้ ปน็ เจา้ หนา้ ทแ่ี จกจวี ร ไดม้ คี วามปรวิ ติ กวา่ พงึ ใหส้ ว่ น
จวี รแกส่ ามเณรอยา่ งไรหนอ จงึ กราบทลู เรอ่ื งนน้ั แกพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองคต์ รสั
อนุญาตวา่ เราอนุญาตใหม้ อบสว่ นก่ึงหนง่ึ ใหแ้ กพ่ วกสามเณร

สมัยต่อมา ภิกษุรูปหน่ึงปรารถนาจะรีบเดินทางไปกับส่วนของตน ภิกษุ
ทง้ั หลายจงึ กราบทลู เรอื่ งนน้ั แกพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองคต์ รสั อนญุ าตวา่ เราอนญุ าต
ให้มอบส่วนของตนแกภ่ กิ ษผุ ูร้ ีบเดินทางไป

สมยั ตอ่ มา ภกิ ษรุ ปู หนง่ึ ปรารถนาจะรบี เดนิ ทางไปกบั สว่ นพเิ ศษ ภกิ ษทุ งั้ หลาย
กราบทลู เรือ่ งนน้ั แก่พระผ้มู พี ระภาคเจา้ พระองค์ตรสั อนุญาตว่า เราอนญุ าตให้มอบ
สว่ นพเิ ศษในเมื่อให้สิ่งของทดแทนสมกัน

พรรษาท่ี ๑๑ 241

ครั้งน้ัน เจ้าหน้าท่ีแจกจีวรคิดว่า พึงให้ส่วนจีวรอย่างไรหนอ พึงให้ส่วนจีวร
ตามลำ� ดบั แก่ภกิ ษผุ มู้ า หรือพึงใหต้ ามล�ำดบั แก่ภิกษผุ ู้แก่พรรษา จึงกราบทลู เรือ่ งน้นั
แกพ่ ระผู้มพี ระภาคเจา้ พระองค์ทรงอนญุ าตวา่ เราอนุญาตใหส้ มยอมส่วนที่บกพรอ่ ง
แลว้ ท�ำการจบั สลาก

พระพุทธานญุ าตนำ้� ย้อมเป็นต้น

ก็โดยสมยั นน้ั แล ภิกษทุ ัง้ หลายย้อมจีวรด้วยโคมัยบ้าง ด้วยดินแดงบา้ ง จีวร
มสี คี ลาํ้ ภกิ ษทุ ง้ั หลายจงึ กราบทลู เรอื่ งนน้ั แกพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองคต์ รสั อนญุ าตวา่
เราอนญุ าตนำ้� ยอ้ ม ๖ อยา่ ง คอื นำ้� ยอ้ มเกดิ แตร่ ากหรอื เงา่ ๑ นำ�้ ยอ้ มเกดิ แตต่ น้ ไม้ ๑
นำ้� ยอ้ มเกิดแต่เปลอื กไม้ ๑ น้ำ� ย้อมเกดิ แต่ใบไม้ ๑ น�้ำยอ้ มเกดิ แต่ดอกไม้ ๑ น�้ำยอ้ ม
เกิดแตผ่ ลไม้ ๑

สมยั ตอ่ มา ภกิ ษทุ งั้ หลายยอ้ มจวี รดว้ ยนำ้� ยอ้ มทเี่ ยน็ จวี รมกี ลน่ิ สาบภกิ ษเุ หลา่
นนั้ กราบทูลเรื่องนนั้ แก่พระผู้มพี ระภาคเจ้า พระองค์ตรัสอนญุ าตวา่ เราอนญุ าตหมอ้
ย้อมขนาดเลก็ เพือ่ ตม้ นำ้� ย้อม

นำ้� ยอ้ มลน้ หมอ้ ภกิ ษทุ งั้ หลายกราบทลู เรอื่ งนน้ั แกพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองค์
ทรงอนุญาตว่า เราอนุญาตให้ผกู ตะกรอ้ กนั ลน้

สมัยตอ่ มา ภกิ ษทุ ง้ั หลายไม่รวู้ า่ นำ้� ย้อมตม้ สุกแลว้ หรอื ยงั ไม่สกุ จงึ กราบทูล
เรอ่ื งนน้ั แกพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองคต์ รสั อนญุ าตวา่ เราอนญุ าตใหห้ ยดหยาดนำ�้ ลง
ในนำ้� หรอื หลงั เล็บ

สมัยต่อมา ภิกษุท้ังหลายยกหม้อน�้ำย้อมล้มลง หม้อกลิ้งไป หม้อแตก
ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลเรื่องนั้นแก่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์ตรัสอนุญาตว่า
เราอนญุ าตกระบวยตกั น�ำ้ ย้อม อันเปน็ ภาชนะมีด้าม

สมัยต่อมา ภิกษุทั้งหลายไม่มีภาชนะส�ำหรับย้อม จึงกราบทูลเรื่องน้ันแก่
พระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองคต์ รสั อนญุ าตวา่ เราอนญุ าตอา่ งสำ� หรบั ยอ้ ม หมอ้ สำ� หรบั ยอ้ ม

242 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒

สมัยต่อมา ภิกษุทั้งหลายขย�ำจีวรในบาตรบ้าง ในถาดบ้าง จีวรขาด ภิกษุ
ทง้ั หลายจงึ กราบทลู เรอ่ื งนนั้ แกพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองคต์ รสั อนญุ าตวา่ เราอนญุ าต
รางสำ� หรบั ยอ้ ม

สมัยต่อมา ภิกษุทั้งหลายตากจีวรบนพ้ืนดิน จีวรเปื้อนฝุ่น ภิกษุทั้งหลาย
จึงกราบทูลเรื่องนั้นแก่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์ตรัสอนุญาตว่า เราอนุญาต
เครือ่ งรองทำ� ด้วยหญา้

เครื่องรองท�ำด้วยหญ้าถูกปลวกกัด ภิกษุท้ังหลายจึงกราบทูลเร่ืองน้ันแก่
พระผู้มพี ระภาคเจ้า พระองค์ตรัสอนุญาตว่า เราอนุญาตราวจวี ร สายระเดยี ง

ภิกษทุ ง้ั หลายตากจีวรตอนกลาง นำ้� ย้อมหยดออกท้งั ๒ ชาย ภกิ ษทุ งั้ หลาย
กราบทลู เรอื่ งนนั้ แกพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองคต์ รสั อนญุ าตวา่ เราอนญุ าตใหผ้ กู มมุ
จีวรไว้

มมุ จวี รชำ� รดุ ภกิ ษทุ ง้ั หลายกราบทลู เรอื่ งนน้ั แกพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองค์
ทรงอนญุ าตวา่ เราอนุญาตด้ายผูกมุมจีวร

นำ้� ยอ้ มหยดออกชายเดยี ว ภกิ ษทุ งั้ หลายกราบทลู เรอ่ื งนน้ั แกพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้
พระองคต์ รสั อนุญาตว่า เราอนุญาตให้ย้อมจีวรพลกิ กลบั ไปกลบั มา แตเ่ มอื่ นำ�้ ยังหยด
ไมข่ าดสาย อยา่ หลีกไป

สมัยต่อมา จีวรเป็นผ้าเนื้อแข็ง ภิกษุท้ังหลายกราบทูลเร่ืองนั้นแก่พระผู้มี
พระภาคเจา้ พระองค์ตรสั อนุญาตวา่ เราอนญุ าตให้จุ่มลงในน้�ำ

สมัยต่อมา จีวรเป็นผ้ากระด้าง ภิกษุท้ังหลายกราบทูลเรื่องนั้นแก่พระผู้มี
พระภาคเจ้า พระองค์ตรสั อนญุ าตวา่ เราอนุญาตใหท้ ุบด้วยฝา่ มอื

พระพุทธบัญญัตหิ ้ามใชจ้ วี รที่ไมต่ ัด

ก็โดยสมัยนั้นแล พระฉัพพัคคีย์ใช้จีวรที่ไม่ได้ตัด ใช้จีวรท่ีย้อมน�้ำฝาดมีสี
เหมอื นงาชา้ ง ประชาชนจงึ พากนั ตเิ ตยี นเพง่ โทษโพนทะนา ภกิ ษทุ ง้ั หลายกราบทลู เรอ่ื ง
นั้นแก่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์ตรัสห้ามว่า ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงใช้จีวรที่
มิไดต้ ดั รูปใดใช้ ต้องอาบตั ทิ ุกกฏ

พรรษาที่ ๑๑ 243

พระพทุ ธบัญชาให้แต่งจวี ร

ครง้ั นนั้ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ประทบั อยใู่ นพระนครราชคฤหต์ ามพระพทุ ธาภริ มย์
แลว้ เสดจ็ พระพทุ ธดำ� เนนิ ไปทางทกั ขณิ าคริ ชิ นบท พระองคท์ อดพระเนตร เหน็ นาของ
ชาวมคธ ซง่ึ เขาพนู ดนิ ขน้ึ เปน็ คนั นาสเี่ หลย่ี ม พนู คนั นายาวทงั้ ดา้ นยาว และดา้ นกวา้ ง
พูนคันนาค่ันในระหว่าง ๆ ด้วยคันนาสั้น ๆ พูนคันนาเช่ือมกันดังทาง ๔ แพร่ง
ตามท่ีซ่ึงคันนากับคันนาผ่านตัดกัน คร้ังน้ันรับส่ังกับท่านพระอานนท์ว่า อานนท์
เธอเหน็ นาของชาวมคธ ซ่ึงเขาพนู ดนิ ขน้ึ เป็นคนั นาสเี่ หล่ยี ม พนู คนั นายาวทัง้ ดา้ นยาว
และด้านกว้าง พูนคนั นาคั่นในระหว่าง ๆ ด้วยคนั นาส้ัน ๆ พูนคนั นาเชอ่ื มกันดังทาง
๔ แพรง่ ตามทซ่ี ง่ึ คนั นากบั คนั นาผา่ นตดั กนั หรอื ไม่ พระอานนทก์ ราบทลู วา่ เหน็ ตาม
พระพุทธดำ� รสั พระผมู้ ีพระภาคเจ้าจงึ ตรัสวา่ เธอสามารถแตง่ จวี รของภกิ ษุท้งั หลาย
ให้มรี ปู อย่างนั้นไดห้ รอื ไม่ พระอานนท์ กราบทูลวา่ สามารถ

คร้ังนั้น พระพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ ทักขิณาคิริชนบทตามพระพุทธาภิรมย์
แลว้ เสดจ็ กลบั มายงั พระนครราชคฤหอ์ กี ครง้ั นน้ั ทา่ นพระอานนทแ์ ตง่ จวี รสำ� หรบั ภกิ ษุ
หลายรปู ครน้ั แลว้ เขา้ ไปเฝา้ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ไดก้ ราบทลู วา่ ขอพระผมู้ พี ระภาคเจา้
จงทอดพระเนตรจวี รท่ีขา้ พระพุทธเจ้าแต่งแลว้

ตรัสสรรเสรญิ ทา่ นพระอานนท์

ลำ� ดบั น้ัน พระผมู้ ีพระภาคเจ้าทรงทำ� ธรรมกี ถา ในเพราะเหตเุ ปน็ เค้ามลู นนั้
ในเพราะเหตแุ รกเกิดนั้น แล้วรบั สงั่ แก่ภิกษุท้ังหลายวา่ ดกู ่อนภกิ ษทุ งั้ หลาย อานนท์
เปน็ ผู้ฉลาด อานนทเ์ ปน็ ผเู้ จ้าปัญญา อานนท์ได้ทราบซง้ึ ถึงเนือ้ ความแห่งถอ้ ยคำ� ทีเ่ รา
กล่าวย่อได้โดยกว้างขวาง อานนท์ท�ำผ้าช่ือกุสิก็ได้ ท�ำผ้าชื่อ อัฑฒกุสิก็ได้ ท�ำผ้า
ชอ่ื มณฑลกไ็ ด้ ทำ� ผา้ ชอื่ อฑั ฒมณฑลกไ็ ด้ ทำ� ผา้ ชอ่ื ววิ ฏั ฏะกไ็ ด้ ทำ� ผา้ ชอื่ อนวุ วิ ฏั ฏะกไ็ ด้
ท�ำผ้าชื่อคีเวยยกะก็ได้ ท�ำผ้าชื่อชังเฆยยกะก็ได้ และท�ำผ้าชื่อพาหันตะก็ได้ จีวรจัก
เปน็ ผ้าท่ีตัดแลว้ เศรา้ หมองด้วยศัสตรา สมด้วยสมณะ และพวกศัตรูไมต่ อ้ งการ

ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย เราอนญุ าตผา้ สังฆาฏิตดั ผา้ อุตตราสงค์ตัด ผา้ อันตร-
วาสกตดั

244 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒

เสดจ็ พระพทุ ธด�ำเนนิ ทางไกล๖

ครง้ั หนง่ึ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ประทบั อยู่ ณ พระนครราชคฤห์ ตามพระพทุ ธา-
ภริ มย์ แลว้ เสดจ็ พระพทุ ธดำ� เนนิ ไปทางนครเวสาลี พระองคเ์ สดจ็ พระพทุ ธดำ� เนนิ ทาง
ไกลระหวา่ งพระนครราชคฤหแ์ ละระหวา่ งพระนครเวสาลตี อ่ กนั ไดท้ อดพระเนตรเหน็
ภกิ ษหุ ลายรปู หอบผา้ พะรงุ พะรงั บา้ งกท็ นู หอ่ ผา้ ทพี่ บั ดงั ฟกู ขน้ึ บนศรี ษะ บา้ งกแ็ บกขนึ้
บ่า บา้ งก็กระเดยี ดไวท้ ส่ี ะเอว เดินมาอยู่ ครัน้ แลว้ ไดท้ รงด�ำริว่า โมฆบุรุษ (แปลวา่
บุรุษเปล่า) เหล่าน้ี เวียนมาเพื่อความมักมากในจีวรเร็วนัก เราพึงกั้นเขต ตั้งกฎใน
เร่ืองผ้าแก่ภิกษุท้ังหลาย ครั้งน้ันพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จพระพุทธด�ำเนินผ่านระยะ
ทางโดยล�ำดับ ถึงพระนครเวลาลี ทราบว่า๗ พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ
โคตมกเจดีย์ เขตพระนครเวสาลีน้นั

กโ็ ดยสมยั นน้ั แล พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงผา้ จวี รผนื เดยี ว ประทบั นงั่ อยกู่ ลาง
แจง้ ตอนกลางคนื ขณะนำ�้ คา้ งตก ในราตรเี หมนั ตฤลกู ำ� ลงั หนาว ตงั้ อยใู่ นระหวา่ งเดอื น
๓ กับเดือน ๔ ต่อกนั ความหนาวไม่ได้มแี ก่พระผมู้ พี ระภาคเจ้า เมอ่ื ปฐมยามผ่าน
ไปแล้ว ความหนาวจึงได้มีแก่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์จึงทรงห่มจีวรผืนที่ ๒
ความหนาวไมไ่ ด้มีแก่พระผูม้ ีพระภาคเจา้ เม่อื มชั ฌิมยามผ่านไปแล้ว ความหนาวจงึ
ได้มีแก่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์จึงทรงห่มจีวรผืนที่ ๓ ความหนาวไม่ได้มีแก่
พระผมู้ พี ระภาคเจา้ เมอ่ื ปจั ฉมิ ยามผา่ นไปแลว้ ขณะรงุ่ อรณุ แหง่ ราตรอี นั เปน็ เบอ้ื งตน้
แหง่ ความสดชื่น ความหนาวจงึ ได้มแี ก่พระผู้มพี ระภาคเจา้ พระองค์จงึ ทรงหม่ จีวรผืน
ที่ ๔ ความหนาวไมไ่ ดม้ แี กพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองคไ์ ดท้ รงพระดำ� รวิ า่ กลุ บตุ รใน
พระธรรมวนิ ยั นี้ ทเ่ี ปน็ คนขห้ี นาวกลวั ตอ่ ความหนาว อาจดำ� รงชวี ติ อยไู่ ดด้ ว้ ยผา้ ๓ ผนื
ไฉนหนอเราจงึ พึงก้ันเขต ต้งั กฎในเรือ่ งผ้าแก่ภิกษุท้ังหลาย เราพึงอนญุ าตผา้ ๓ ผนื

๖ วิ. มหา. ๕/๑๕๐/๒๐๓.
๗ เลา่ กันวา่

พรรษาที่ ๑๑ 245

พระพุทธานุญาตไตรจวี ร

คร้ังนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงท�ำธรรมีกถาในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น
ในเพราะเหตุแรกเกดิ น้นั แล้วรบั สั่งแก่ภกิ ษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทงั้ หลาย เราเดิน
ทางไกลในระหว่างพระนครราชคฤห์และระหว่างพระนครเวสาลีต่อกัน ได้เห็นภิกษุ
หลายรูปในธรรมวินัยน้ีหอบผ้าพะรุงพะรัง บ้างก็ทูนห่อผ้าที่พับดังฟูกข้ึนบนศีรษะ
บา้ งกแ็ บกขนึ้ บา่ บา้ งกก็ ระเดยี ดไวท้ ส่ี ะเอว เดนิ มาอยู่ ครนั้ แลว้ เราไดด้ ำ� รวิ า่ โมฆบรุ ษุ
(แปลว่า บุรษุ เปล่า) เหลา่ น้ี เวยี นมาเพื่อความมักมากในจวี รเร็วนกั ไฉนหนอเราจัก
พงึ ก้ันเขต ตงั้ กฎในเรอ่ื งผ้าแกภ่ กิ ษทุ ัง้ หลาย

ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราครองผ้าผืนเดียว น่ังอยู่กลางแจ้ง ณ ต�ำบลนี้
ตอนกลางคนื ขณะน้�ำค้างตก ในราตรีเหมนั ตฤดกู �ำลงั หนาว ตงั้ อยู่ระหว่างเดอื น ๓
กับเดือน ๔ ตอ่ กัน ความหนาวมไิ ด้มแี กเ่ รา เมอ่ื ปฐมยามผา่ นไปแล้ว ความหนาวจงึ
ไดม้ ีแกเ่ รา เราจงึ ห่มจวี รผืนที่ ๒ ความหนาวมไิ ดม้ แี กเ่ รา เม่ือมัชฌิมยามผา่ นไปแล้ว
ความหนาวจงึ ไดม้ แี กเ่ รา เราจงึ หม่ จวี รผนื ที่ ๓ ความหนาวมไิ ดม้ แี กเ่ รา เมอื่ ปจั ฉมิ ยาม
ผา่ นไปแลว้ ขณะรงุ่ อรณุ แหง่ ราตรอี นั เปน็ เบอ้ื งตน้ แหง่ ความสดชนื่ ความหนาวจงึ ไดม้ ี
แก่เรา เราจึงห่มจีวรผืนท่ี ๔ ความหนาวมิได้มีแก่เรา เราน้ันได้ด�ำริว่า กุลบุตรใน
พระธรรมวินัยนี้ที่เป็นคนขี้หนาว กลัวต่อความหนาว ก็อาจด�ำรงชีวิตอยู่ได้ด้วยผ้า
๓ ผนื ไฉนหนอเราจะพึงกัน้ เขต ต้งั กฎในเร่อื งผา้ แกภ่ ิกษุทงั้ หลาย เราจะพึงอนญุ าต
ไตรจวี ร ดกู อ่ นภกิ ษทุ งั้ หลาย เราอนญุ าตไตรจวี ร คอื ผา้ สงั ฆาฏิ ๒ ชน้ั ผา้ อตุ ตราสงค์
ช้ันเดียว ผ้าอันตรวาสกชั้นเดียว

พระพทุ ธบญั ญัตอิ ดเิ รกจวี ร

ก็โดยสมัยนั้นแล พระฉัพพัคคีย์ทราบว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาต
ไตรจวี ร จงึ ใชจ้ วี รสำ� รบั หนงึ่ สำ� หรบั เขา้ บา้ น สำ� รบั หนงึ่ สำ� หรบั อยใู่ นอาราม สำ� รบั หนง่ึ
ส�ำหรับลงสรงน�้ำ บรรดาภิกษุที่เป็นผู้มักน้อย ต่างก็เพ่งโทษ ติเตียนโพนทะนาว่า
ไฉนพระฉัพพัคคียจ์ งึ ทรงอดเิ รกจีวรเลา่ แลว้ กราบทูลเร่ืองนัน้ แกพ่ ระผูม้ พี ระภาคเจ้า

246 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒

ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงท�ำธรรมีกถาในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น
ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ภิกษุไม่พึงทรงอดิเรกจีวร
รปู ใดทรง พึงปรับอาบัติตามธรรม

สมยั ตอ่ มา อดเิ รกจวี รบงั เกดิ ขนึ้ แกท่ า่ นพระอานนท์ และทา่ นประสงคจ์ ะถวาย
จวี รนน้ั แกท่ า่ นพระสารบี ุตร แต่ทา่ นพระสารีบตุ รอยู่ถึงเมอื งสาเกต ทา่ นพระอานนท์
จงึ ไดม้ คี วามปรวิ ติ กวา่ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงบญั ญตั ไิ วว้ า่ ภกิ ษไุ มพ่ งึ ทรงอดเิ รกจวี ร
กอ็ ดิเรกจีวรนบี้ งั เกดิ แกเ่ รา และเรากใ็ คร่จะถวายจวี รแกท่ ่านพระสารีบุตร แตท่ า่ นอยู่
ถงึ เมอื งสาเกต เราจกั พงึ ปฏบิ ตั อิ ยา่ งไรหนอ แลว้ กราบทลู เรอ่ื งนนั้ แกพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้
พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ตรสั ถามวา่ ยงั อกี นานเทา่ ไร สารบี ตุ รจกั กลบั มา ทา่ นพระอานนท์
กราบทลู วา่ ยงั อีก ๙ วนั หรือ ๑๐ วนั

ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงท�ำธรรมีกถาในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น
ในเพราะเหตแุ รกเกดิ นนั้ แลว้ รบั สงั่ แกภ่ กิ ษทุ ง้ั หลายวา่ ดกู อ่ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย เราอนญุ าต
ใหท้ รงอดเิ รกจวี รไว้ได้ ๑๐ วันเป็นอย่างยง่ิ

พระพทุ ธานุญาตให้วกิ ปั อดเิ รกจวี ร

สมัยตอ่ มา อดิเรกจีวรบังเกดิ ข้ึนแกภ่ ิกษุท้งั หลาย ขณะนน้ั ภิกษทุ ้ังหลายไดม้ ี
ความปรวิ ติ กวา่ พวกเราจักพงึ ปฏิบตั ใิ นอดิเรกจีวรอยา่ งไรหนอ แล้วกราบทลู เร่อื งนน้ั
แกพ่ ระผ้มู ีพระภาคเจ้า พระองคต์ รัสอนญุ าตวา่ เราอนญุ าตใหว้ กิ ัปอดิเรกจีวร

พระพทุ ธานุญาตผา้ ปะเป็นตน้

ครง้ั นน้ั พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ประทบั อยใู่ นพระนครเวสาลตี ามพระพทุ ธาภริ มย์
แลว้ เสดจ็ พระพทุ ธดำ� เนนิ ไปทางพระนครพาราณสี เสดจ็ พระพทุ ธดำ� เนนิ ผา่ นระยะทาง
โดยลำ� ดบั ถงึ พระนครพาราณสี ทราบวา่ พระผมู้ พี ระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ อิสปิ ตน-
มฤคทายวัน เขตพระนครพาราณสีนั้น สมัยนั้นผ้าอันตรวาสกของพระภิกษุรูปหนึ่ง

พรรษาท่ี ๑๑ 247

ขาดทะลุ และทา่ นไดม้ คี วามปรวิ ติ กวา่ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงอนญุ าตผา้ ๓ ผนื คอื
ผา้ สงั ฆาฏิ ๒ ชน้ั ผา้ อตุ ตราสงคช์ น้ั เดยี ว ผา้ อนั ตรวาสกชน้ั เดยี ว กผ็ า้ อนั ตรวาสกของ
เรานี้ขาดทะลุ ไฉนหนอเราพึงดามผ้าปะโดยรอบจักเป็น ๒ ช้ัน ตรงกลางจักเป็น
ช้ันเดยี ว ดง่ั นแี้ ล้วจึงไดด้ ามผ้าปะ พระพุทธเจา้ เสดจ็ ดำ� เนินไปตามเสนาสนะ ได้ทอด
พระเนตรเห็นภิกษุก�ำลังดามผ้าปะ ครั้นแล้วเสด็จเข้าไปใกล้ภิกษุนั้น ได้ตรัสถามว่า
เธอกำ� ลังท�ำอะไรอยู่ ภิกษุน้นั กราบทูลวา่ กำ� ลังปะผ้า พระพุทธเจา้ กต็ รัสวา่ เป็นการ
ชอบแท้ท่เี ธอดามผ้าปะ

คร้ังนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงท�ำธรรมีกถาในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลน้ัน
ในเพราะเหตแุ รกเกดิ นน้ั แลว้ รบั สง่ั แกภ่ กิ ษทุ ง้ั หลายวา่ ดกู อ่ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย เราอนญุ าต
ผ้าสังฆาฏิ ๒ ช้ัน ผ้าอุตตราสงค์ชั้นเดียว ผ้าอันตรวาสกชั้นเดียวสำ� หรับผ้าใหม่มี
กปั ปะใหม่ ผา้ สงั ฆาฏิ ๔ ชนั้ ผา้ อตุ ตราสงค์ ๒ ช้ัน ผ้าอนั ตรวาสก ๒ ชน้ั สำ� หรับผ้า
ทเี่ กบ็ ไวล้ ว่ งฤดู พงึ ทำ� อตุ สาหะในผา้ บงั สกุ ลุ จนพอตอ้ งการ หรอื ทำ� อตุ สาหะในผา้ ทต่ี ก
จากรา้ นตลาด เราอนุญาตผ้าปะ การชนุ รังดุม ลกู ดุม การท�ำใหม้ น่ั

เรอ่ื งนางวสิ าขามิคารมาตา๘

ครั้งน้ัน พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ในพระนครพาราณสีตามพระพุทธา-
ภิรมย์ แล้วเสด็จพระพุทธด�ำเนินไปทางพระนครสาวัตถี เสด็จพระพุทธด�ำเนินผ่าน
ระยะทางโดยล�ำดับ ถึงพระนครสาวัตถี ทราบว่าพระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ใน
พระเชตวนั อารามของอนาถบณิ ฑกิ คหบดี เขตพระนครสาวตั ถนี น้ั ครง้ั นนั้ นางวสิ าขา
มคิ ารมาตาเขา้ เฝา้ พระผู้มพี ระภาคเจา้ ถวายบังคมแลว้ น่ังลง ณ ทค่ี วรสว่ นข้างหนึ่ง
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงช้ีแจงให้นางผู้น่ังเรียบร้อยแล้วเห็นแจ้ง สมาทาน อาจหาญ
รา่ เรงิ ดว้ ยธรรมกี ถา นางอนั พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงชแ้ี จงใหเ้ หน็ แจง้ สมาทาน อาจหาญ
ร่าเริงด้วยธรรมีกถาแล้ว จึงได้กราบทูลอาราธนาพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ขอพระผู้มี-
พระภาคเจ้าพร้อมด้วยพระสงฆ์ จงทรงพระกรุณาโปรดรับภัตตาหารของหม่อมฉัน

๘ วิ. มหาว.ิ ๑/๑๕๓/๒๐๗.

248 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒

เพื่อเจริญบุญกุศลและปีติปราโมทย์ในวันพรุ่งน้ีด้วยเถิด พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงรับ
อาราธนาด้วยดุษณีภาพ ครั้นนางทราบการรับอาราธนาของพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว
ลุกจากที่น่ัง ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้า ท�ำประทักษิณกลับไป คร้ันผ่านราตรี
นั้นไป ฝนตั้งเคา้ ข้ึนในทวปี ทง้ั ๔ ตกลงมาห่าใหญ่

ครัง้ นั้น พระผ้มู ีพระภาคเจา้ รับสงั่ แกภ่ กิ ษทุ งั้ หลายว่า ฝนตกในเชตวนั ฉันใด
ตกในทวปี ท้งั ๔ ก็ฉันนัน้ พวกเธอจงสรงสนานกายกันเถดิ เพราะเปน็ ครงั้ สุดท้ายท่ี
ฝนหา่ ใหญต่ ้ังเคา้ ข้ึนในทวีปทั้ง ๔ ภิกษุเหลา่ นั้นรบั พระพุทธบญั ชา แลว้ พากนั เปลอ้ื ง
ผา้ สรงสนานกายอยู่

ครั้งนั้น นางวิสาขามิคารมาตาส่ังให้ตกแต่งของเค้ียวของบริโภคอันประณีต
แล้วส่งั ทาสวี ่า ไปเถดิ แม่ เจ้าจงไปอาราม แล้วแจง้ ภตั กาลวา่ ถงึ เวลาแลว้ ภัตตาหาร
เสร็จแลว้ ทาสีท้ังหลายรับคำ� แลว้ ไปวดั ได้เห็นภกิ ษุเปลื้องผา้ สรงสนานกาย ครนั้ แล้ว
เข้าใจผิดคิดว่า ในอารามไม่มีภิกษุ มีแต่พวกอาชีวกสรงสนานอยู่ จึงกลับไปบ้าน
แจ้งความแกน่ างวสิ าขามิคารมาตาว่า ภกิ ษุไม่มใี นอาราม มีแต่พวกอาชวี กสรงสนาน
กายอยู่ นางวิสาขามิคารมาตาเป็นสตรีฉลาด เฉียบแหลม มีปัญญา รู้ได้ทันทีว่า
พระคณุ เจา้ ทงั้ หลายคงพากนั เปลอ้ื งผา้ สรงสนานกายเปน็ แน่ นางคนนเ้ี ขลาจงึ สำ� คญั วา่
ไม่มีภิกษุในอาราม มีแต่พวกอาชีวกสรงสนานกายอยู่ จึงสั่งสาวใช้ว่า จงไปอาราม
แล้วแจ้งภัตกาลวา่ ถึงเวลาแลว้ ภตั ตาหารเสร็จแลว้

ครนั้ เวลาตอ่ มา ภกิ ษเุ หลา่ นน้ั ทำ� ตวั ใหเ้ ยน็ มกี ายงาม ตา่ งถอื จวี รเขา้ ไปสทู่ อี่ ยู่
ตามเดมิ ทาสนี ั้นไปถงึ วัดไมเ่ หน็ ภิกษุทงั้ หลาย จึงเขา้ ใจผดิ คดิ ว่า ไมม่ ีภิกษุในอาราม
อารามวา่ งเปลา่ จงึ กลบั ไปบา้ น แลว้ แจง้ ความนนั้ แกน่ างวสิ าขามคิ ารมาตาวา่ ไมม่ ภี กิ ษุ
ในอาราม อารามวา่ งเปลา่ นางวสิ าขามคิ ารมาตา เปน็ สตรฉี ลาด เฉยี บแหลม มปี ญั ญา
รู้ได้ทันทีว่า พระคุณเจ้าทั้งหลายคงท�ำตัวให้เย็น มีกายงาม ต่างถือจีวรเข้าไปสู่ที่อยู่
ตามเดิมเป็นแน่ นางคนนี้เขลา จึงส�ำคัญว่า ไม่มีภิกษุในอาราม อารามว่างเปล่า
แลว้ สง่ั สาวใชอ้ กี วา่ เจา้ จงไป อาราม แลว้ แจง้ ภตั กาลวา่ ถงึ เวลาแลว้ ภตั ตาหารเสรจ็ แลว้

ครง้ั นน้ั พระผมู้ พี ระภาคเจา้ รบั สงั่ แกภ่ กิ ษทุ ง้ั หลายวา่ พวกเธอจงเตรยี มบาตร
จวี ร ถงึ เวลาภตั ตาหารแล้ว ภกิ ษุเหล่านน้ั ทลู รับสนองพระพทุ ธบญั ชา

พรรษาที่ ๑๑ 249

ครัน้ เวลาเช้า พระผมู้ ีพระภาคเจา้ ทรงครองอนั ตรวาสก ถอื บาตรจวี ร เสด็จ
หายไปในพระเชตวัน มาปรากฏท่ีซุม้ ประตบู ้านนางวิสาขามิคารมาตา ดจุ บรุ ุษมกี �ำลัง
เหยียดแขนท่คี ู้ หรือคู้แขนท่ีเหยยี ด ฉะน้นั พระองคป์ ระทบั น่งั เหนอื พุทธอาสนท์ ่เี ขา
ปลู าดถวาย พรอ้ มดว้ ยพระสงฆ์ ขณะนน้ั นางวสิ าขามคิ ารมาตา กลา่ ววา่ ชาวเราผเู้ จรญิ
นา่ อศั จรรยจ์ ริงหนอ ชาวเราผ้เู จรญิ ประหลาดจริงหนอ พระตถาคตชอ่ื วา่ มฤี ทธิ์มาก
มีอานุภาพมาก เพราะเมื่อห้วยน้�ำไหลนองไปเพียงเข่าบา้ ง เพยี งสะเอวบา้ ง เทา้ หรือ
จีวรของภิกษแุ ม้รูปหนึง่ ก็ไม่ไดเ้ ปยี กน้ำ� ด่ังนี้แลว้ รา่ เรงิ เบกิ บานใจ อังคาสภกิ ษุสงฆ์
มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข ด้วยขาทนียโภชนียาหารอันประณีต ด้วยมือของตน
ยงั พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ผเู้ สวย เสรจ็ แลว้ จนทรงนำ� พระหตั ถอ์ อกจากบาตร ใหห้ า้ มภตั
แล้วน่ังอยู่ ณ ที่ควรส่วนขา้ งหนึ่ง ได้กราบทลู แกพ่ ระผูม้ พี ระภาคเจา้ ว่า หม่อมฉนั ทลู
ขอพร ๘ ประการต่อพระผู้มีพระภาคเจ้า พระผ้มู พี ระภาคเจา้ ตรสั วา่ ตถาคตเลกิ ให้
พรเสยี แลว้ นางวิสาขากราบทลู ว่า หม่อมฉันทูลขอประทานพรท่ีสมควรและไมม่ ีโทษ
ตรสั วา่ จงบอกมาเถดิ วสิ าขา นางวสิ าขากราบทลู วา่ พระพทุ ธเจา้ ขา้ สำ� หรบั พระสงฆ์
หมอ่ มฉนั ตง้ั ใจจะถวายผา้ วสั สกิ สาฎกคอื ผา้ อาบนำ�้ ฝน จกั ถวายภตั เพอ่ื พระอาคนั ตกุ ะ
จักถวายภัตเพ่ือพระที่เตรียมจะไป จกั ถวายภัตเพ่ือพระอาพาธ จักถวายภตั เพือ่ พระท่ี
พยาบาลพระอาพาธ จกั ถวายเภสชั สำ� หรบั พระอาพาธ จกั ถวายยาคปู ระจำ� และสำ� หรบั
ภกิ ษุณสี งฆ์ หม่อมฉันปรารถนาจกั ถวายอทุ กสาฎก จนตลอดชพี

พระพทุ ธเจา้ ตรสั วา่ กเ็ ธอเหน็ ประโยชนอ์ ะไรจงึ ขอพร ๘ ประการตอ่ ตถาคต
นางวิสาขากราบทูลว่า วันนี้หม่อมฉันส่ังทาสีว่า ไปเถิดแม่ทาสี เจ้าจงไปอารามแล้ว
บอกภตั กาลวา่ ภตั ตาหารเสรจ็ แลว้ และนางทาสกี ไ็ ปวดั ไดเ้ หน็ ภกิ ษทุ งั้ หลายเปลอื้ งผา้
สรงสนานกายอยู่ เขา้ ใจผดิ คดิ วา่ ไมม่ ภี กิ ษใุ นอาราม มแี ตพ่ วกอาชวี กสรงสนานกายอยู่
จึงกลับมาบ้าน แล้วรายงานแก่หม่อมฉันว่า ไม่มีภิกษุในอารามมีแต่พวกอาชีวกสรง
สนานกายอยู่ ความเปลอื ยกายไมง่ าม นา่ เกลยี ดนา่ ชงั หมอ่ มฉนั เหน็ อำ� นาจประโยชนน์ ้ี
จงึ ปรารถนาจะถวายผา้ วัสสกิ สาฎกคอื ผา้ อาบน�ำ้ ฝน แกพ่ ระสงฆ์จนตลอดชีพ

อนง่ึ ขอ้ อน่ื ยงั มอี กี พระอาคนั ตกุ ะไมช่ ำ� นาญหนทาง ไมร่ จู้ กั ทโ่ี คจรยอ่ มเทยี่ ว
บณิ ฑบาตล�ำบาก ท่านฉนั อาคนั ตกุ ภัตของหม่อมฉนั พอชำ� นาญหนทาง รูจ้ กั ที่โคจร
จกั เทยี่ วบณิ ฑบาตไดไ้ มล่ ำ� บาก หมอ่ มฉนั เหน็ อำ� นาจประโยชนน์ ้ี จงึ ปรารถนาจะถวาย
อาคนั ตุกภัตแกพ่ ระสงฆจ์ นตลอดชพี

250 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒

อนึ่ง ข้ออื่นยังมีอีก พระผู้เตรียมตัวจะไป มัวแสวงหาภัตตาหารเพ่ือตนอยู่
จกั พลาดจากหมู่เกวียน หรอื จักถึงสถานท่ี ๆ ตนตอ้ งการจะไปอยู่เมอื่ พลบค่�ำ จงึ เดนิ
ทางลำ� บาก ทา่ นฉนั คมกิ ภตั หรอื ภัตเพื่อภกิ ษผุ ู้ดำ� เนินทางไปของหม่อมฉนั แลว้ จกั ไม่
พลาดจากหมู่เกวียน หรือถงึ สถานที่ ๆ ตนต้องการจะไปอยู่ไม่พลบคำ�่ จักเดนิ ทางไม่
ล�ำบาก หม่อมฉันเห็นอ�ำนาจประโยชน์น้ี จึงปรารถนาจะถวายคมิกภัตคือภัตส�ำหรับ
ผ้เู ตรยี มตวั ไป แกพ่ ระสงฆ์จนตลอดชีพ

อนง่ึ ขอ้ อนื่ ยงั มอี กี เมอ่ื พระผอู้ าพาธไมม่ โี ภชนาหารอนั เปน็ สปั ปายะ อาพาธ
กำ� เรบิ หรอื ท่านจักถงึ มรณภาพ เมอื่ ทา่ นฉนั คิลานภัตของหมอ่ มฉนั อาพาธจักทุเลา
ทา่ นจกั ไมถ่ งึ มรณภาพ หมอ่ มฉนั เหน็ อำ� นาจประโยชนน์ ี้ จงึ ปรารถนาจะถวายคลิ านภตั
คอื ภตั สำ� หรบั พระอาพาธ แกพ่ ระสงฆ์จนตลอดชีพ

อนงึ่ ข้ออ่นื ยังมีอีก พระผู้พยาบาลพระอาพาธ มักแสวงหาภตั ตาหารเพือ่ ตน
จกั นำ� ภัตตาหารไปถวายพระอาพาธจนสาย ตนเองจะอดอาหาร ท่านไดฉ้ ันคิลานุปัฏ-
ฐากภัตคือภัตส�ำหรับภิกษุผู้อุปัฏฐากภิกษุไข้ ของหม่อมฉันแล้ว จักน�ำภัตตาหารไป
ถวายพระอาพาธตามเวลา ตนเองก็จกั ไม่อดอาหาร หมอ่ มฉันเหน็ อำ� นาจประโยชนน์ ี้
จงึ ปรารถนาจะถวายคลิ านปุ ฏั ฐากภตั คอื ภตั สำ� หรบั ภกิ ษผุ อู้ ปุ ฏั ฐากพระไข้ แกพ่ ระสงฆ์
จนตลอดชพี

อน่ึง ข้ออ่ืนยังมีอีก เมื่อพระอาพาธไม่ได้เภสัชอันเป็นสัปปายะ อาพาธจัก
ก�ำเริบ หรือจักถึงมรณภาพ เมื่อท่านฉันคิลานเภสัชคือยาแก้ไข้ ของหม่อมฉันแล้ว
อาพาธจักทุเลา ท่านจักไม่มรณภาพ หม่อมฉันเห็นอ�ำนาจประโยชน์น้ี จึงปรารถนา
จะถวายคิลานเภสัชคือยาแก้ไข้ แก่พระสงฆจ์ นตลอดชพี

อน่ึง ข้ออน่ื ยงั มอี กี พระองค์ทรงเหน็ อานิสงส์ ๑๐ ประการ ได้ทรงอนญุ าต
ยาคไู วแ้ ลว้ ทเี่ มอื งอนั ธกวนิ ทะ หมอ่ มฉนั เหน็ อานสิ งสต์ ามทพ่ี ระองคต์ รสั ไว้ จงึ ปรารถนา
จะถวายยาคแู ก่พระสงฆจ์ นตลอดชีพ

ภิกษุณีท้ังหลายเปลือยกายอาบน�้ำร่วมท่ากับหญิงแพศยา ณ แม่น�้ำอจิรวดี
หญงิ แพศยาเหลา่ นน้ั ไดพ้ ากนั เยย้ หยนั ภกิ ษณุ วี า่ พวกทา่ นกำ� ลงั สาว ประพฤตพิ รหมจรรย์
ได้ประโยชน์อะไร ควรบริโภคกามไม่ใช่หรือ ประพฤติพรหมจรรย์ต่อเมื่อแก่เฒ่า

พรรษาท่ี ๑๑ 251

ด่งั นจี้ กั เปน็ อันพวกท่านยึดส่วนท้ัง ๒ ไวไ้ ด้ ภิกษณุ ีเหลา่ น้ันถกู หญงิ แพศยาเหล่าน้ัน
เยย้ หยนั อยู่ ไดเ้ ปน็ ผเู้ กอ้ ความเปลอื ยกายของมาตคุ ามไมง่ าม นา่ เกลยี ด นา่ ชงั หมอ่ มฉนั
เหน็ อำ� นาจประโยชนน์ ้ี จงึ ปรารถนาจะถวายผา้ อทุ กสาฎก แกภ่ กิ ษณุ สี งฆจ์ นตลอดชพี

พระพทุ ธเจ้าตรสั วา่ ก็เธอเหน็ อานสิ งส์อะไร จงึ ขอพร ๘ ประการต่อตถาคต
นางวิสาขากราบทูลว่า ภิกษุทั้งหลายในธรรมวินัยน้ี จ�ำพรรษาในทิศท้ังหลายแล้ว
จกั มาพระนครสาวตั ถีเพ่อื เฝา้ พระองค์ แลว้ จกั ทลู ถามวา่ ภกิ ษมุ ชี อื่ นถี้ งึ มรณภาพแลว้
ทา่ นมคี ตอิ ยา่ งไร มภี พหนา้ อยา่ งไร พระองคจ์ ะทรงพยากรณภ์ กิ ษนุ นั้ ในโสดาปตั ตผิ ล
สกทาคามิผล อนาคามิผล หรืออรหัตตผลหม่อมฉันจักเข้าไปหาภิกษุพวกนั้น
แลว้ เรียนถามวา่ พระคุณเจ้ารปู นน้ั เคยมาพระนครสาวัตถไี หมเจ้าขา้ ถา้ ท่านเหลา่ นัน้
จะตอบแกห่ มอ่ มฉันวา่ ภกิ ษุนน้ั เคยมาพระนครสาวตั ถี หมอ่ มฉันจกั ถงึ ความตกลงใจ
ในการมาของพระคณุ เจา้ รปู นนั้ วา่ พระคณุ เจา้ รปู นน้ั คงใชส้ อยผา้ วสั สกิ สาฎกคอื ผา้ อาบ
น�้ำฝน คงฉันอาคันตุกภัต คือภัตส�ำหรับพระที่เป็นอาคันตุกะจรมา คมิกภัตคือภัต
สำ� หรบั ผทู้ เี่ ตรยี มจะเดนิ ทางไป คลิ านภตั คอื ภตั สำ� หรบั ภกิ ษไุ ข้ คลิ านปุ ฏั ฐากภตั คอื ภตั
สำ� หรบั ผเู้ ปน็ อปุ ฏั ฐากพระไข้ คลิ านเภสชั ยาแกไ้ ข้ หรอื ยาคปู ระจำ� เปน็ แน่ เมอื่ หมอ่ ม
ฉนั ระลึกถงึ กุศลน้ันอยู่ ความปล้มื ใจจักบังเกดิ เมื่อหมอ่ มฉนั ปล้มื ใจแลว้ ความอมิ่ ใจ
จักบังเกิด เม่ือมีใจอ่ิมเอิบแล้ว กายจักสงบ เมื่อมีกายสงบแล้ว จักเสวยสุข เมื่อมี
ความสขุ จติ จักตง้ั ม่ัน เป็นอันหม่อมฉันไดอ้ บรมอินทรีย์ อบรมพละ อบรมโพชฌงค์
นัน้ หม่อมฉนั เห็นอานิสงส์นี้ จึงขอประทานพร ๘ ประการตอ่ พระองค์ พระพทุ ธเจ้า
ตรัสว่า ดีละ ๆ วิสาขา ดีแท้ วิสาขา เธอเห็นอานิสงส์น้ี จึงขอพร ๘ ประการ
ตอ่ ตถาคต เราอนญุ าตพร ๘ ประการตอ่ เธอ

ครัง้ นัน้ พระผู้มพี ระภาคเจ้าทรงอนโุ มทนานางวสิ าขามิคารมาตาด้วย คาถา
เหล่าน้ี วา่ ดงั น้ี

สตรีใดให้ข้าวและน้�ำ มีใจเบิกบานแล้ว สมบูรณ์ด้วยศีล เป็นสาวิกาของ
พระสุคต ครอบง�ำความตระหน่ีแล้ว บริจาคทานอันเป็นเหตุแห่งสวรรค์ เป็นเคร่ือง
บรรเทาความโศก น�ำมาซ่ึงความสุข สตรีนั้นอาศัยมรรคปฏิบัติ ปราศจากธุลี ไม่มี
กิเลสเคร่ืองย่ัวใจ ย่อมได้ก�ำลังและอายุเป็นทิพย์ สตรีผู้ประสงค์บุญน้ันเป็นคนมีสุข
สมบูรณด์ ้วยอนามัย ยอ่ มปลม้ื ใจในสวรรคส์ น้ิ กาลนาน

252 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒

พระพทุ ธานุญาตผ้าวสั สกิ สาฎกเปน็ ต้น

ครั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุโมทนานางวิสาขามิคารมาตาด้วยพระคาถา
เหล่าน้ีแล้ว เสด็จลุกจากที่ประทับกลับไป คร้ันแล้วทรงท�ำธรรมีกถา ในเพราะเหตุ
เป็นเค้ามูลน้ัน ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งแก่ภิกษุท้ังหลายว่า เราอนุญาต
ผ้าวัสสิกสาฎก คือผ้าอาบน�้ำฝน อาคันตุกภัต คือภัตตาหารส�ำหรับพระท่ีเป็น
อาคันตุกะจรมา คมิกภัต คือภัตตาหารส�ำหรับพระที่เตรียมจะไป คิลานภัต คือ
ภตั สำ� หรบั ภกิ ษไุ ข้ คลิ านปุ ฏั ฐากภตั คอื ภตั สำ� หรบั พระอปุ ฏั ฐากภกิ ษไุ ข้ คลิ านเภสชั คอื
ยาสำ� หรบั แกไ้ ข้ ยาคปู ระจำ� อนุญาตผ้าอุทกสาฎก คือผ้าอาบน�ำ้ สำ� หรบั ภกิ ษณุ สี งฆ์

ผา้ ปา่

ในพระพทุ ธศาสนาตงั้ แตค่ รง้ั พทุ ธกาล เมอ่ื บวชแลว้ กด็ ำ� รงชวี ติ อยดู่ ว้ ย นสิ สยั
๔ อนั ไดแ้ ก่

ปณิ ฑฺ ยิ าโลปโภชน ํ คำ� ขา้ วคอื ภตั ตาหารทไ่ี ดม้ าดว้ ยกำ� ลงั ของปลแี ขง้ อนั
ได้แก่การเทย่ี วบิณฑบาต

ปสํ กุ ูลจีวรํ นงุ่ หม่ ผา้ บงั สกุ ลุ คอื ผา้ เกา่ ทเี่ ขาทง้ิ ไวใ้ นปา่ ชา้ เปน็ ตน้

รกุ ขฺ มูลเสนาสนํ มีเสนาสนะน่งั นอนอยตู่ ามโคนไม้

ปูตมิ ุตตฺ เภสชฺช ํ ยาดองด้วยน้�ำมูตรเนา่

นเี้ ปน็ นสิ สยั เครอ่ื งอาศยั ของผเู้ ขา้ มาขอบวช เชน่ เมอื่ บวชเสรจ็ พระอปุ ชั ฌาย์
กจ็ ะบอกให้รูจ้ กั นสิ สัย เคร่ืองอาศัยของบรรพชิต ๔ ประการน้ี พรอ้ มทงั้ อกรณียกจิ
คือกิจท่ีไมค่ วรกระทำ� ๔ ประการ ซ่งึ เม่ือลว่ งละเมดิ เข้า กจ็ ะท�ำใหข้ าดจากความเปน็
ภกิ ษุ รวมเปน็ อนุสาสน์ ๘ ข้อทีพ่ ระอุปชั ฌายไ์ ด้บอกตั้งแต่เมื่อบวชเสรจ็

ผ้าป่า นี้กค็ อื ผ้าบังสุกุลนี้เอง คำ� ว่า บงั สกุ ุล น้ันแปลวา่ เปือ้ นฝุน่ คือ เปื้อน
ธลุ ีละอองและส่งิ สกปรกต่าง ๆ โดยเปน็ ผ้าทเ่ี ขาทิง้ ไว้ในป่าชา้ โดยตรงคือ เปน็ ผา้ ห่อ
ศพ ทเี่ มอ่ื เผาศพกเ็ ปลอื้ งผา้ ทหี่ อ่ ออกบา้ ง เผาไปบา้ ง แมจ้ ะเปลอ้ื งผา้ ทห่ี อ่ ศพออกแลว้

พรรษาที่ ๑๑ 253

ก็คงทิ้งไว้ในป่าช้านนั้ ไมม่ ใี ครต้องการ หรือวา่ ผ้าเก่าท่ีเขาทง้ิ ไว้ในกองขยะหรือในร้าน
ตลาด แม้ในที่ใดที่หน่ึงซ่ึงเป็นผ้าเก่า ผ้าคลุกฝุ่นเปื้อนฝุ่น และทั้งหมดนี้เรียกว่า
ผา้ บงั สกุ ลุ และโดยเฉพาะผา้ ที่เขาทงิ้ ไวใ้ นป่าชา้ เคยเปน็ ผา้ ห่อศพเป็นต้น หรือแม้วา่
เขาทิง้ ไวใ้ นปา่ ทวั่ ไป ก็เรยี กว่า ผา้ ป่า มีทีม่ าของค�ำว่า ผา้ ป่า ดงั่ น้ี

ผ้าป่าคือผ้าบังสุกุลดังกล่าวนี้ ภิกษุพร้อมทั้งสามเณรในพระพุทธศาสนา
จะกลา่ ววา่ พรอ้ มทง้ั นางภกิ ษณุ ี นางสกิ ขมานา สามเณรดี ว้ ยกไ็ ด้ ไดเ้ กบ็ เอามาซกั ตดั
เย็บเป็นจวี ร เปน็ ผ้านุ่งผ้าห่ม ผา้ ส้งฆาฏิตลอดมา มีกลา่ วไว้วา่ หมอชีวกโกมารภจั จ์
ไดเ้ ปน็ ผกู้ ราบทลู พระพทุ ธเจา้ ขอประทานพร พระพทุ ธเจา้ ตรสั วา่ พระตถาคตทรงลว่ ง
พรแลว้ หมอชีวกโกมารภัจจ์จงึ กราบทูลว่า จะขอประทานพรท่ีสมควร ขอให้ทรงฟงั
พระพทุ ธเจา้ กป็ ระทานอนญุ าตใหห้ มอชวี กโกมารภจั จ์ กราบทลู ขอ หมอชวี กโกมารภจั จ์
กก็ ราบทูลขออนญุ าตให้พระสงฆร์ ับ คหบดีจีวร คอื ผ้าท่คี ฤหบดถี วาย พระองค์ก็ตรัส
อนุญาต เพราะฉะนัน้ ตัง้ แต่น้นั มาพระจึงรับผ้าท่ีทายกทายกิ าถวายได้ เปน็ ผา้ ใหมท่ ี่
เปน็ ผา้ ผนื ๆ กต็ าม หรอื เยบ็ ยอ้ มมาแลว้ กต็ าม ทา่ นพระอาจารยผ์ เู้ รยี บเรยี งคำ� อธบิ าย
ได้กล่าวไว้ว่า พระองค์ทรงอนุญาตให้รับผ้าที่เขาถวายได้ นับแต่ตรัสรู้มาก็เป็น
เวลา ๒๐ ปี ก็หมายความวา่ ตั้งแตเ่ ม่ือตรัสรูม้ า ๒๐ ปี พระภกิ ษสุ งฆ์ก็ใชผ้ า้ บังสกุ ลุ
ดังกลา่ ว หรือผา้ ปา่ ดงั กล่าวเรอื่ ยมา จงึ มาเริ่มรับผ้าท่เี ขาถวายเปน็ ผ้าใหม่ เมอ่ื ตรสั รู้
แลว้ ได้ ๒๐ ปี

ตามท่ีเล่ามาน้ี เป็นที่มาของค�ำว่า ผ้าป่า โดยแท้จริง แต่ก็มีกล่าวกันว่า
แมใ้ นสมยั หลงั ตอ่ มา กย็ งั มพี ระทถี่ อื ธดุ งควตั รใชผ้ า้ บงั สกุ ลุ คอื เกบ็ ผา้ ทเี่ ขาทงิ้ ไวใ้ นปา่
ดงั กล่าว มาทำ� เปน็ ผา้ นงุ่ หม่ อนั จดั เปน็ ธดุ งควัตรข้อหนึ่ง ในปัจจบุ นั น้ี ก็ได้มีผู้มจี ิต
ศรัทธาตอ้ งการทจี่ ะถวายผ้าแก่พระ แตพ่ ระท่ีถอื ผ้าบงั สุกุลเปน็ ธุดงควัตรไมร่ บั จึงได้
นำ� ผา้ ไปวางท้ิงไวใ้ นป่า กะว่าเป็นทางทที่ า่ นจะไดเ้ ดนิ ผ่าน ในขณะเดนิ ออกบิณฑบาต
เปน็ ตน้ เมอ่ื พระทถ่ี อื ธดุ งควตั รขอ้ ถอื ผา้ บงั สกุ ลุ เปน็ วตั รน้ี ไปพบผา้ ทเี่ ขาทง้ิ ไวด้ งั กลา่ ว
กน็ ำ� เอามาทำ� เปน็ ผา้ นงุ่ หม่ กอ็ าจจะทงิ้ ไวไ้ นปา่ นน้ั เปน็ ผา้ ผนื ๆ เชน่ เปน็ ผา้ เกา่ ผนื ๆ บา้ ง
เปน็ จวี รสำ� เรจ็ เชน่ เปน็ ไตรจวี รบา้ ง ดงั นก้ี เ็ ปน็ ผา้ ปา่ ได้ และเมอื่ เอาไปวางทง้ิ ไว้ กย็ อ่ ม
จะตอ้ งเปอ้ื นฝนุ่ เปอ้ื นธลุ ลี ะอองบา้ ง ไมม่ ากกน็ อ้ ย กถ็ อื เปน็ ผา้ บงั สกุ ลุ ได้ แมใ้ นระยะ
เวลา ๒๐ ปใี นคร้งั พุทธกาล กอ่ นทจี่ ะทรงอนุญาตใหร้ ับผ้าที่เขาถวาย ก็อาจจะมีเรอ่ื ง

254 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒

ดงั กลา่ วนีบ้ า้ งกไ็ ด้ คอื มผี มู้ ีศรทั ธานำ� ผา้ ไปทิง้ ไว้ในทางท่ีพระผ่าน เพ่อื ท่ีท่านจะไดเ้ ก็บ
เอามาท�ำเป็นผ้านุ่งห่ม ในบัดน้ีก็ยังใช้ค�ำว่า บังสุกุล เกี่ยวกับศพแล้วนิมนต์พระไป
บงั สุกลุ โดยโยงสายสิญจนจ์ ากโลงศพ มายงั ผ้าภษู าโยง แล้วกท็ อดผ้า วางผ้าลงบน
ผ้าภูษาโยง ให้พระชักบงั สุกุล แมใ้ นโอกาสเผา ก็นำ� ผา้ ไปทอดไวบ้ นเมรุ ในที่ใกล้กับ
โลงศพ หรอื บนโลงศพ แลว้ นมิ นตพ์ ระบงั สกุ ลุ กเ็ รยี กวา่ “ชกั มหาบงั สกุ ลุ ″ เปน็ บงั สกุ ลุ
ใหญ่ เพราะวา่ ใกลก้ บั ศพมาก เชน่ ทอดไวบ้ นโลงศพหรอื ใกลโ้ ลงศพทสี่ ดุ กเ็ ปน็ ธรรมเนยี ม
ทีต่ ดิ มาจากนสิ สัยข้อนงุ่ ห่มผ้าบงั สุกุลเปน็ วตั รดงั กลา่ วมาข้างต้น

ในบดั น้ี กเ็ พยี งแตน่ ำ� เอาคำ� วา่ ผา้ ปา่ มาใชใ้ นการบรจิ าคทาน และในวธิ ถี วาย
ทาน กม็ ีค�ำถวายสงฆ์ เพราะฉะนนั้ จึงเปน็ ผ้าท่ถี วายสงฆ์ นับเป็นผ้าทมี่ ีผถู้ วายหรอื
นบั เปน็ ผ้าที่เปน็ คหบดจี วี รนน้ั เอง และเมอ่ื ถวายสงฆก์ ็เปน็ ของสงฆ์ ซึ่งสงฆ์ก็จะได้นำ�
ไปแจกกันตามพระวินัย และเมื่อเป็นผ้าป่าจริง ๆ หรือว่าเป็นผ้าป่าท่ีมีผู้มีศรัทธาน�ำ
เอาไปทง้ิ ไวใ้ นปา่ หรอื แมว้ า่ ไปวางไวต้ ามโคนไมท้ พี่ ระจะผา่ น ไมม่ กี ารถวาย พระทไ่ี ป
พบเขา้ กช็ กั เอามาเอง จงึ ได้มคี �ำชักผ้าปา่ ท่ีผกู เอาไวว้ า่ อิมํ จวี รํ จวี รน้ี อสสฺ ามกิ ํ ไม่มี
เจ้าของ มยฺหํ ปาปุณาตุ จงถึงแก่เราดั่งนี้ หรือว่าจงถึงแก่ข้าพเจ้า จงถึงแก่อาตมา
กช็ กั คอื เกบ็ เอาไป แมก้ ารชกั ผา้ บงั สกุ ลุ หรอื มหาบงั สกุ ลุ อนั เนอ่ื งกบั ศพ กไ็ มม่ คี ำ� ถวาย
พระก็ชักผ้าเหลา่ นี้ แต่วา่ มคี ำ� สวดตา่ งออกไปว่า

อนิจฺจา วต สงฺขารา สังขารทั้งหลายไมเ่ ทย่ี งหนอ
อุปปฺ าทวยธมฺมโิ น มีความเกดิ ขึน้ และเสอื่ มไปเป็นธรรมดา
อปุ ฺปชชฺ ิตฺวา นิรุชฌฺ นตฺ ิ เกดิ ขึ้นแลว้ ยอ่ มดบั ไป
เตสํ วปู สโม สโุ ข ความสงบระงบั แหง่ สงั ขารเหลา่ นน้ั เปน็ เหตใุ หเ้ กดิ สขุ
ดงั่ น้ี

แต่ว่าธรรมเนียมทอดผ้าป่าการกุศลสามัคคี ก็เป็นอีกธรรมเนียมหน่ึง ซึ่งมี
การถวาย กถ็ อื เปน็ คหบดจี วี ร เมื่อถวายเป็นของสงฆก์ ต็ กเป็นของสงฆ์ ก็เปน็ เร่ืองที่
ภิกษุจะน�ำไปเป็นของสงฆ์ แจกกันต่อไป แต่ท้ังหมดนี้ก็ชื่อว่าเป็นการบริจาคทานอัน
เป็นบุญข้อหนึ่ง และในพธิ กี ารบำ� เพ็ญกุศลก็จะมกี ารสมาทานศีล มกี ารขอสรณะและ
ขอศลี พระกใ็ หส้ รณคมนแ์ ละใหศ้ ลี กท็ ำ� ใหไ้ ดบ้ ญุ อนั สำ� เรจ็ จากศลี อกี ขอ้ หนงึ่ และเมอื่

พรรษาท่ี ๑๑ 255

มีการอบรม จะเปน็ เทศนก์ ็ตาม เป็นการกล่าวอบรมก็ตามดว้ ยธรรม ก็ทำ� ใหเ้ กิดบุญ
อกี ประการหนง่ึ เปน็ ภาวนามยั บญุ บญุ สำ� เรจ็ ดว้ ยภาวนา คอื ความอบรมจติ ใจใหส้ งบ
เป็นสมาธิ และอบรมปญั ญา เพราะฉะนั้น จึงชอ่ื ว่าเปน็ การมาทำ� บุญ และส�ำเร็จดว้ ย
ทานบ้าง ส�ำเร็จด้วยศีลบ้าง ส�ำเร็จด้วยภาวนาบ้าง ย่อมให้เกิดอานิสงสผลเป็น
ความสขุ ดังพระพุทธภาษติ ทต่ี รัสไว้

สโุ ข ปุญฺสสฺ อจุ จฺ โย ความสรา้ งสมบุญเปน็ เหตุให้เกดิ สขุ ดงั น้ี

พระนอนหลบั ลมื สต๙ิ

ก็โดยสมัยน้ันแล ภิกษุท้ังหลายฉันโภชนาหารอันประณีตแล้ว นอนหลับลืม
สตไิ มร่ สู้ กึ ตวั เมอื่ ภิกษุเหล่านนั้ นอนหลบั ลืมสตไิ มร่ ้สู กึ ตัว น้ำ� อสุจเิ คลื่อนเพราะความ
ฝนั เสนาสนะเปรอะเปื้อนน้ำ� อสจุ ิ คร้ังน้นั พระผู้มีพระภาคเจา้ มีทา่ นพระอานนท์เปน็
ปจั ฉาสมณะ เสดจ็ พทุ ธดำ� เนนิ ไปตามเสนาสนะ ไดท้ อดพระเนตรเหน็ เสนาสนะเปรอะ
เปื้อนน้�ำอสุจิ คร้ันแล้วรับสั่งถามท่านพระอานนท์ว่า เสนาสนะนั้นเปรอะเปื้อนอะไร
ท่านพระอานนท์กราบทูลว่า เด๋ียวนี้ภิกษุทั้งหลายฉันโภชนาหารอันประณีตแล้ว
นอนหลบั ลมื สตไิ มร่ สู้ กึ ตวั เมอื่ ภกิ ษเุ หลา่ นน้ั นอนหลบั ลมื สตไิ มร่ สู้ กึ ตวั นำ�้ อสจุ เิ คลอ่ื น
เพราะความฝนั เสนาสนะน้ีนน้ั จงึ เปรอะเปือ้ น พระผมู้ พี ระภาคเจ้าตรสั วา่ ขอ้ ที่กล่าว
มานย้ี อ่ มเปน็ อยา่ งนน้ั ความจรงิ เมอื่ ภกิ ษุ เหลา่ นน้ั นอนหลบั ลมื สตไิ มร่ สู้ กึ ตวั นำ้� อสจุ ิ
จึงเคลอื่ นเพราะความฝัน ภิกษุเหลา่ ใด นอนหลับมสี ติตัง้ ม่นั รู้สึกตัว นำ�้ อสจุ ิของภิกษุ
เหล่าน้ันไม่เคล่ือน อน่ึง น�้ำอสุจิของภิกษุปุถุชนผู้ปราศจากความก�ำหนัดในกามก็
ไม่เคล่อื น ข้อทนี่ ้�ำอสุจขิ องพระอรหันต์จะพงึ เคลอื่ นนั้น ไมใ่ ช่ฐานะ ไมใ่ ช่โอกาส

ครั้งน้ัน พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงท�ำธรรมีกถาในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น
ในเพราะเหตุแรกเกดิ นน้ั แลว้ รบั สง่ั แก่ภกิ ษทุ ั้งหลายวา่ ดูกอ่ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย วันน้เี รา
มีอานนท์เป็นปัจฉาสมณะ เท่ียวเดินไปตามเสนาสนะ ได้เห็นเสนาสนะเปรอะเปื้อน

๙ ว.ิ มหา. ๕/๑๕๖/๒๑๔.

256 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒

ด้วยน�้ำอสุจิ จึงถามอานนท์ว่า เสนาสนะนั้นเปรอะเปื้อนอะไร อานนท์ช้ีแจงว่า
เดย๋ี วนภี้ กิ ษทุ งั้ หลายฉนั โภชนาหารอนั ประณตี แลว้ นอนหลบั ลมื สตไิ มร่ สู้ กึ ตวั เมอ่ื ภกิ ษุ
เหล่าน้ันนอนหลับลืมสติไม่รู้สึกตัว น�้ำอสุจิเคลื่อนเพราะความฝัน เสนาสนะนี้นั้นจึง
เปรอะเปื้อน เราได้กล่าวรับรองว่า ข้อที่กล่าวมาน้ันย่อมเป็นอย่างนั้น ความจริงเมื่อ
ภิกษุเหล่านั้นนอนหลับลืมสติไม่รู้สึกตัว น้�ำอสุจิเคล่ือนเพราะความฝัน ภิกษุเหล่าใด
นอนหลบั มสี ตติ งั้ มนั่ รสู้ กึ ตวั นำ้� อสจุ ขิ องภกิ ษเุ หลา่ นน้ั ไมเ่ คลอื่ น อนงึ่ นำ้� อสจุ ขิ องภกิ ษุ
ปุถุชนผู้ปราศจากความก�ำหนัดในกามก็ไม่เคลื่อน ข้อท่ีน�้ำอสุจิของพระอรหันต์จะพึง
เคลื่อนน้นั ไมใ่ ช่ฐานะ ไม่ใช่โอกาส

ดกู ่อนภิกษทุ ้ังหลาย ภกิ ษทุ ี่นอนหลับลืมสติไม่รู้สกึ ตัว มโี ทษ ๕ ประการ นี้
คอื หลบั เปน็ ทกุ ข์ ๑ ตน่ื เปน็ ทกุ ข์ ๑ เหน็ ความฝนั อนั ลามก ๑ เทพดาไมร่ กั ษา ๑ อสจุ ิ
เคลอื่ น ๑ ดูกอ่ นภกิ ษทุ ้ังหลาย ภิกษทุ นี่ อนหลบั ลมื สติไม่รสู้ กึ ตวั มโี ทษ ๕ ประการ
นแ้ี ล

ดูก่อนภิกษทุ ัง้ หลาย ภิกษุทนี่ อนหลบั มีสติตั้งม่ันรูส้ ึกตวั มีคณุ ๕ ประการนี้
คือหลับเปน็ สุข ๑ ตน่ื เป็นสุข ๑ ไม่เหน็ ความฝนั อนั ลามก ๑ เทพดารักษา ๑ อสุจิ
ไมเ่ คลอ่ื น ๑ ดกู อ่ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย ภกิ ษทุ น่ี อนหลบั มสี ตติ งั้ มน่ั รสู้ กึ ตวั มคี ณุ ๕ ประการ
นี้แล

พระพุทธานญุ าตผา้ นสิ ีทนะ

ดกู อ่ นภกิ ษทุ งั้ หลาย เราอนญุ าตผา้ นสิ ที นะคอื ผา้ ปนู งั่ เพอ่ื รกั ษากาย รกั ษาจวี ร
รักษาเสนาสนะ

พระพุทธานุญาตผา้ ปจั จัตถรณะ

สมัยตอ่ มา ผ้านสิ ีทนะเล็กเกินไป ป้องกันเสนาสนะได้ไม่หมด ภกิ ษทุ ั้งหลาย
จงึ กราบทลู เรอื่ งนน้ั แกพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองคต์ รสั อนญุ าตวา่ ดกู อ่ นภกิ ษทุ งั้ หลาย
ภกิ ษตุ ้องการผา้ ปนู อนใหญ่เพยี งใด เราอนญุ าตใหท้ �ำผ้าปนู อนใหญ่เพยี งนั้น

พรรษาที่ ๑๑ 257

พระพทุ ธานญุ าตผ้าปิดฝี

ก็โดยสมัยนั้นแล ท่านพระเวลัฏฐสีสะ พระอุปัชฌายะของท่านพระอานนท์
อาพาธเปน็ โรคฝดี าษหรอื อีสุกอีใส ผ้าน่งุ ผ้าห่มกรังอยูท่ ต่ี วั เพราะน�้ำหนองของโรคน้ัน
ภิกษุทั้งหลายเอาน้�ำชุบ ๆ ผ้าเหล่าน้ัน แล้วค่อย ๆ ดึงออกมา ขณะน้ัน พระผู้มี
พระภาคเจ้าเสด็จพระพุทธด�ำเนินไปตามเสนาสนะ ทอดพระเนตรเห็นภิกษุเหล่านั้น
กำ� ลงั เอานำ้� ชบุ ๆ ผา้ เหลา่ นน้ั แลว้ คอ่ ย ๆ ดงึ ออกมา ครนั้ แลว้ จงึ เสดจ็ พระพทุ ธดำ� เนนิ
เขา้ ไปทางภกิ ษเุ หลา่ นน้ั ไดต้ รสั วา่ ภกิ ษรุ ปู นอี้ าพาธเปน็ โรคอะไร ภกิ ษทุ งั้ หลายกราบทลู
วา่ ทา่ นรปู นอ้ี าพาธเปน็ โรคฝดี าษหรอื อสี กุ อใี ส ผา้ กรงั อยทู่ ตี่ วั เพราะนำ้� หนอง พวกขา้
พระพทุ ธเจา้ เอานำ้� ชบุ ๆ ผา้ เหลา่ นนั้ แล้วคอ่ ย ๆ ดึงออกไป

ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงท�ำธรรมีกถาในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลนั้น
ในเพราะเหตุแรกเกิดน้ัน แลว้ รับสั่งกะภกิ ษทุ ้ังหลายวา่ เราอนญุ าตผา้ ปดิ ฝแี ก่ภิกษุท่ี
อาพาธเป็นฝีก็ดี เป็นพพุ องก็ดี เป็นสิวกด็ ี เปน็ โรคฝีดาษหรอื อีสุกอีใสก็ดี

พระพุทธานุญาตผ้าเชด็ หนา้ ผา้ เชด็ ปาก

คร้ังน้ัน นางวิสาขามิคารมาตาถือผ้าเช็ดหน้าผ้าเช็ดปากเข้าไปในพุทธส�ำนัก
ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วนั่ง ณ ท่ีควรส่วนข้างหนึ่ง ได้กราบทูลค�ำน้ีแก่
พระผมู้ พี ระภาคเจา้ วา่ ขอพระผมู้ พี ระภาคเจา้ จงทรงพระกรณุ าโปรดรบั ผา้ เชด็ หนา้ ผา้ เชด็ ปาก
ของหม่อมฉัน ซ่ึงจะเป็นไปเพ่อื ประโยชน์สุขแกห่ มอ่ มฉนั ตลอดกาลนานดว้ ยเถิด

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงรับผ้าเช็ดหน้า ผ้าเช็ดปาก ครั้นแล้วได้ทรงชี้แจง
ให้นางวิสาขามิคารมาตาเห็นแจ้ง สมาทาน อาจหาญ ร่าเริงด้วยธรรมีกถาแล้ว
ครน้ั นางวสิ าขามคิ ารมาตาอนั พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงชแ้ี จงใหเ้ หน็ แจง้ สมาทาน อาจหาญ
ร่าเริงด้วยธรรมีกถาแล้ว ลุกจากที่น่ังถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้า ท�ำประทักษิณ
กลับไป

ล�ำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงท�ำธรรมีกถาในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลน้ัน
ในเพราะเหตแุ รกเกดิ นน้ั แลว้ รบั สง่ั กะภกิ ษทุ งั้ หลายวา่ เราอนญุ าตผา้ เชด็ หนา้ ผา้ เชด็ ปาก

258 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒

องคข์ องการถอื วสิ าสะ ๕ ประการ

ก็โดยสมยั นัน้ แล เจ้าโรชะ มัลลกษตั รยิ ์ เปน็ พระสหายของทา่ นพระอานนท์
ได้ฝากผ้าโขมพัสตร์ผืนเก่า ๆ ไว้กับท่านพระอานนท์ และท่านพระอานนท์ก็มี
ความตอ้ งการดว้ ยผา้ โขมพสั ตรผ์ นื เกา่ ๆ ภกิ ษทุ ง้ั หลายจงึ กราบทลู เรอื่ งนนั้ แกพ่ ระผมู้ ี
พระภาคเจ้า พระองค์ตรสั อนุญาตว่า ให้ถือวิสาสะแกบ่ ุคคลผูป้ ระกอบดว้ ย องค์ ๕
คือเคยเห็นกนั มา ๑ เคยคบกันมา ๑ เคยบอกอนญุ าตกนั ไว้ ๑ เขายงั มีชีวติ อยู่ ๑
รู้ว่าเม่ือเราถอื เอาแลว้ เขาจกั พอใจ ๑ ดูกอ่ นภกิ ษุทัง้ หลาย เราอนญุ าตใหถ้ อื วสิ าสะ
แก่บุคคลที่ประกอบด้วยองค์ ๕ เหลา่ นี้

พระพุทธานุญาตผา้ บรขิ าร

ก็โดยสมัยน้นั แล ภกิ ษทุ ั้งหลายมีไตรจวี รบริบูรณ์ แต่ยังตอ้ งการผ้ากรองนำ้�
บ้าง ถุงบ้าง จึงกราบทูลเร่ืองนั้นแก่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์ตรัสอนุญาตว่า
ดกู อ่ นภิกษุทั้งหลาย เราอนญุ าตผ้าบรขิ าร

พระพุทธานุญาตผา้ ท่ตี ้องอธิษฐานและวกิ ปั

คร้ังน้ัน ภิกษุท้ังหลายได้มีความปริวิตกว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาต
ไตรจวี รบา้ ง ผา้ อาบนำ้� ฝนบา้ ง ผา้ ปนู ง่ั บา้ ง ผา้ ปนู อนบา้ ง ผา้ ปดิ ฝบี า้ ง ผา้ เชด็ หนา้ บา้ ง
ผา้ เช็ดปากบา้ ง ผา้ บริขารบ้าง ผ้าท้งั หมดน้ันต้องอธิษฐานหรือวกิ ัปหนอ จึงกราบทูล
เรื่องน้ันแก่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์ตรัสอนุญาตว่า ผ้าไตรจีวรเราอนุญาตให้
อธษิ ฐาน ไมใ่ ชใ่ หว้ กิ ปั ผา้ วสั สกิ สาฎกใหอ้ ธษิ ฐานตลอด ๔ เดอื น แหง่ ฤดฝู น พน้ จาก
นนั้ ให้วกิ ัป ผ้านิสที นะให้อธษิ ฐาน ไมใ่ ช่ใหว้ กิ ปั ผา้ ปจั จตั ถรณะให้อธษิ ฐาน ไม่ใช่ให้
วกิ ปั ผา้ ปดิ ฝใี หอ้ ธษิ ฐานตลอดเวลาทอี่ าพาธ พน้ จากนนั้ ใหว้ กิ ปั ผา้ เชด็ หนา้ ผา้ เชด็ ปาก
ใหอ้ ธิษฐาน ไมใ่ ช่ใหว้ ิกัป ผา้ บริขารให้อธิษฐาน ไม่ใชใ่ หว้ ิกปั

พรรษาที่ ๑๑ 259

ครั้งนั้น ภิกษุท้ังหลายได้มีความสงสัยว่า ผ้าขนาดเล็กเพียงเท่าไรหนอต้อง
วกิ ปั จงึ กราบทลู เรอ่ื งนนั้ แกพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองคต์ รสั อนญุ าตวา่ ผา้ ขนาดเลก็
ยาว ๘ น้ิว กวา้ ง ๔ น้วิ โดยนวิ้ พระสุคต เราอนญุ าตให้วกิ ัป

สมัยต่อมา ผ้าอุตตราสงค์ท่ีท�ำด้วยผ้าบังสุกุลของท่านพระมหากัสสปะเป็น
ของหนกั ภกิ ษทุ ง้ั หลายกราบทลู เรอ่ื งนนั้ แกพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองคต์ รสั อนญุ าตวา่
เราอนญุ าตให้ท�ำการเย็บด้วยดา้ ย

มมุ สงั ฆาฏไิ มเ่ สมอกนั ภกิ ษทุ งั้ หลายจงึ กราบทลู เรอ่ื งนนั้ แกพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้
พระองค์ตรสั อนญุ าตว่า เราอนุญาตใหเ้ จยี นมุมท่ีไม่เสมอออกเสีย

ด้ายล่ยุ ออก ภกิ ษทุ ง้ั หลายกราบทลู เร่อื งนั้นแกพ่ ระผูม้ ีพระภาคเจ้า พระองค์
ตรสั อนุญาตว่า เราอนุญาตให้ตดิ ผ้าอนวุ าต ผ้าหมุ้ ขอบ

แผน่ ผา้ สงั ฆาฏลิ ยุ่ ออก ภกิ ษทุ ง้ั หลายกราบทลู เรอ่ื งนนั้ แกพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้
พระองคต์ รัสอนญุ าตว่า เราอนญุ าตใหเ้ ย็บตะเขบ็ ดงั ตาหมากรุก

พระพุทธานญุ าตผ้าทต่ี ัดและไมต่ ดั

ก็โดยสมัยน้ันแล เม่ือสงฆ์ก�ำลังท�ำจีวรให้ภิกษุรูปหนึ่ง ผ้าตัดทั้งหมดไม่พอ
ภิกษุท้ังหลายกราบทูลเร่ืองน้ันแก่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์ตรัสอนุญาตว่า
เราอนุญาตผ้าท่ีต้องตดั ๒ ผนื ไมต่ ้องตดั ๑ ผนื

ผา้ ต้องตดั ๒ ผืน ไม่ตอ้ งตดั ผืนหนง่ึ ผ้าก็ยังไมพ่ อ ภกิ ษทุ ัง้ หลายกราบทลู
เรอ่ื งนน้ั แกพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองคต์ รสั อนญุ าตวา่ เราอนญุ าตผา้ ๒ ผนื ไมต่ อ้ ง
ตัด ผืนหน่งึ ตอ้ งตดั

ผา้ ๒ ผืนไมต่ อ้ งตดั ผนื หนงึ่ ตอ้ งตดั ผ้ากย็ งั ไมพ่ อ ภิกษทุ ้ังหลายกราบทลู
เร่ืองน้ันแก่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์ตรัสอนุญาตว่า เราอนุญาตให้เพ่ิมผ้า
เพลาะ แต่ผ้าทุกผืนทไ่ี มไ่ ดต้ ดั ภิกษไุ ม่พึงใช้ รูปใดใช้ ต้องอาบตั ิทกุ กฏ

260 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒

พระให้ผา้ แก่โยมมารดาบดิ าได้

ก็โดยสมัยน้ันแล ผ้าเกิดข้ึนแก่ภิกษุรูปหน่ึงหลายผืน และท่านปรารถนา
จะให้ผ้านั้นแก่โยมมารดาบิดา ภิกษุท้ังหลายกราบทูลเร่ืองนั้นแก่พระผู้มีพระภาคเจ้า
พระองคต์ รสั อนญุ าตวา่ เมอ่ื ภกิ ษใุ หด้ ว้ ยรวู้ า่ มารดาบดิ า เราจะพงึ วา่ อะไร เราอนญุ าต
ให้สละแก่มารดาบิดา แต่ภิกษุไม่พึงท�ำศรัทธาไทย๑๐ ให้ตกไป รูปใดท�ำให้ตกไป
ต้องอาบัตทิ ุกกฏ

พระพุทธบัญญตั หิ ้ามครองผา้ ๒ ผืนเขา้ บ้าน

ก็โดยสมัยน้ันแล ภิกษุรูปหนึ่งเก็บสังฆาฏิไว้ในวิหารอันธวัน แล้วครองผ้า
อุตตราสงค์กับผ้าอันตรวาสกเข้าบ้านบิณฑบาต คนร้ายขโมยผ้าสังฆาฏิน้ันไป ภิกษุ
จึงใช้ผ้าเก่าครองจีวรคร�่ำคร่า ภิกษุท้ังหลายพูดอย่างนี้ว่า เพราะเหตุไร จึงใช้ผ้าเก่า
ครองจวี รครำ�่ ครา่ เลา่ ภกิ ษนุ นั้ ตอบวา่ ผมเกบ็ ผา้ สงั ฆาฏไิ วใ้ นวหิ ารอนั ธวนั น้ี แลว้ ครอง
อุตตราสงค์กับผ้าอันตรวาสกเข้าบ้านเพื่อบิณฑบาต คนร้ายขโมยผ้าสังฆาฏิน้ันไป
เพราะเหตุน้ันผมจึงใช้ผ้าเก่า ครองจีวรคร�่ำคร่า ภิกษุท้ังหลายกราบทูลเรื่องนั้นแก่
พระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองคต์ รสั หา้ มวา่ ภกิ ษมุ แี ตผ่ า้ อตุ ตราสงคก์ บั ผา้ อนั ตรวาสกไม่
พึงเขา้ บ้าน รปู ใดเข้าไป ตอ้ งอาบตั ทิ กุ กฏ

สมยั ต่อมา ทา่ นพระอานนทล์ มื สติ ครองแต่ผ้าอุตตราสงคก์ ับผา้ อันตรวาสก
เข้าบ้านเพื่อบิณฑบาต ภิกษุทั้งหลายได้กล่าวค�ำน้ีแก่ท่านพระอานนท์ว่า พระผู้มี
พระภาคเจา้ ทรงบญั ญตั หิ า้ มไวแ้ ลว้ มใิ ชห่ รอื วา่ ภกิ ษมุ แี ตผ่ า้ อตุ ตราสงคก์ บั ผา้ อนั ตรวาสก
ไม่พึงเข้าบ้าน ด่ังน้ี ไฉนพระคุณเจ้าจึงมีแต่ผ้าอุตตราสงค์ กับผ้าอันตรวาสก
เขา้ บา้ นเลา่ พระอานนทต์ อบว่า จรงิ พระผมู้ พี ระภาคเจ้าทรงบญั ญตั ิ หา้ มไวแ้ ลว้ ว่า
ภกิ ษมุ แี ต่ผ้าอตุ ตราสงค์กับผ้าอันตรวาสกไม่พงึ เขา้ บ้าน กแ็ ตว่ ่าผมเข้าบา้ นด้วยลมื สติ
ภกิ ษุทงั้ หลายกราบทูลเรอ่ื งนนั้ แก่พระผู้มีพระภาคเจ้า

๑๐ สงิ่ ของที่ถวายแก่ภกิ ษุด้วยศรทั ธา

พรรษาที่ ๑๑ 261

ล�ำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงท�ำธรรมีกถาในเพราะเหตุเป็นเค้ามูลน้ัน
ในเพราะเหตุแรกเกิดน้ัน แล้วรับสั่งกะภิกษุท้ังหลายว่า เหตุที่เก็บผ้าสังฆาฏิไว้ได้
มี ๕ อยา่ งนี้ คอื เจบ็ ไข้ ๑ สังเกตเหน็ วา่ ฝนจะตก ๑ ไปสฝู่ ง่ั แมน่ ำ�้ ๑ ทอ่ี ยคู่ มุ้ ไดด้ ว้ ย
ดาล ๑ ได้กรานกฐิน ๑ เหตทุ ่ีเกบ็ ผา้ สงั ฆาฏิไว้ไดม้ ี ๕ อยา่ งนแ้ี ล

ดกู ่อนภกิ ษุทัง้ หลาย เหตุท่ีเก็บผา้ อุตตราสงคไ์ วไ้ ดม้ ี ๕ อย่างน้ี คือเจ็บไข้ ๑
สังเกตเห็นวา่ ฝนจะตก ๑ ไปส่ฝู ง่ั แม่น�ำ้ ๑ ทีอ่ ย่คู มุ้ ไดด้ ้วยดาล ๑ ได้กรานกฐิน ๑
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตทุ เ่ี กบ็ ผา้ อตุ ตราสงคไ์ ว้ได้มี ๕ อยา่ งน้ีแล

ดกู ่อนภกิ ษุท้งั หลาย เหตุทเ่ี ก็บผ้าอนั ตรวาสกไวไ้ ด้มี ๕ อยา่ งน้ี คือเจ็บไข้ ๑
สงั เกตเหน็ วา่ ฝนจะตก ๑ ไปสู่ฝ่งั แมน่ ้ำ� ๑ ทอี่ ยคู่ มุ้ ได้ด้วยดาล ๑ ไดก้ รานกฐนิ ๑
ดกู ่อนภิกษุทง้ั หลาย เหตุท่ีเกบ็ ผา้ อันตรวาสกไวไ้ ดม้ ี ๕ อย่างนี้แล

ดกู อ่ นภกิ ษุทง้ั หลาย เหตทุ ี่เกบ็ ผ้าอาบน�้ำฝนไวไ้ ดม้ ี ๕ อย่างนี้ คือเจ็บไข้ ๑
ไปนอกสมี า ๑ ไปสฝู่ ง่ั แมน่ ำ้� ๑ ทอ่ี ยคู่ มุ้ ไดด้ ว้ ยดาล ๑ ผา้ อาบนำ้� ฝนทย่ี งั ไมไ่ ดท้ ำ� หรอื
ทำ� ค้างไว้ ๑ ดูกอ่ นภกิ ษทุ ้ังหลาย เหตุท่ีเก็บผ้าอาบน�้ำฝนไวไ้ ด้มี ๕ อย่าง นีแ้ ล

ถวายจวี รเป็นของสงฆ์

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหนึ่งจ�ำพรรษาอยู่แต่ผู้เดียว คนทั้งหลายในถ่ินนั้น
ได้ถวายจีวรด้วยเปล่งวาจาว่า ข้าพเจ้าทั้งหลายถวายแก่สงฆ์ ภิกษุรูปน้ันจึงได้มี
ความปริวิตกวา่ พระผ้มู พี ระภาคเจ้าทรงบญั ญัตไิ วว้ า่ ภกิ ษุ ๔ รูปเป็นอยา่ งน้อยช่อื ว่า
สงฆ์ แตเ่ รารปู เดยี ว และคนเหลา่ นไี้ ดถ้ วายจวี รดว้ ยเปลง่ วาจาวา่ ขา้ พเจา้ ทง้ั หลายถวาย
แกส่ งฆ์ ด่ังนี้ ถ้าไฉนเราจักพึงนำ� จีวรของสงฆ์เหลา่ น้ไี ปพระนครสาวัตถี ครัน้ แลว้ ได้
นำ� จวี รเหลา่ นน้ั ไปพระนครสาวตั ถี กราบทลู เรอ่ื งนน้ั แกพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองค์
ตรสั วา่ จวี รเหลา่ นน้ั เปน็ ของเธอผเู้ ดยี ว จนถงึ เวลาเดาะกฐนิ กใ็ นขอ้ นี้ ภกิ ษจุ ำ� พรรษา
รูปเดียว ประชาชนในถิ่นน้ันถวายจีวร ด้วยเปล่งวาจาว่า พวกข้าพเจ้าถวายแก่สงฆ์
เราอนญุ าตจวี รเหลา่ นั้นแก่เธอรูปเดียว จนถงึ เวลาเดาะกฐิน

262 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒

สมยั ตอ่ มา ภกิ ษรุ ปู หนง่ึ อยรู่ ปู เดยี วตลอดฤดกู าล ประชาชนในถนิ่ นนั้ ไดถ้ วาย
จีวรเปล่งวาจาว่า พวกข้าพเจ้าถวายแก่สงฆ์ ภิกษุรูปนั้นจึงได้ด�ำริดังนี้ว่า พระผู้มี-
พระภาคเจา้ ทรงบัญญัตไิ วว้ า่ ภิกษุ ๔ รปู เปน็ อยา่ งน้อยชอื่ ว่า สงฆ์ แต่เราอยู่ผู้เดียว
และคนเหลา่ น้ไี ดถ้ วายจีวรด้วยเปล่งวาจาวา่ พวกขา้ พเจ้าถวายแก่สงฆ์ ถ้าไฉนเราจัก
พึงน�ำจีวรของสงฆ์เหล่าน้ีไปพระนครสาวัตถี คร้ันแล้วได้น�ำจีวรเหล่านั้นไปพระนคร
สาวัตถี แจ้งความนั้นแก่ภิกษุท้ังหลาย ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องน้ันแก่พระผู้มี-
พระภาคเจา้ พระองคต์ รัสอนุญาตวา่ เราอนุญาตใหส้ งฆ์ผอู้ ยพู่ ร้อมหน้ากนั แจก

ก็ในข้อนี้ ภกิ ษุอย่ผู ู้เดียวตลอดฤดกู าล ประชาชนในถิ่นนั้นไดถ้ วายจวี ร ดว้ ย
เปล่งวาจาว่า พวกข้าพเจ้าถวายแก่สงฆ์ เราอนุญาตให้ภิกษุรูปน้ัน อธิษฐานจีวร
เหล่านนั้ ว่า จีวรเหล่านี้ของเรา ถ้าเม่ือภิกษุรูปนั้นยังไมไ่ ดอ้ ธิษฐานจีวรนั้น มีภกิ ษรุ ปู
อน่ื มา พงึ ใหส้ ว่ นแบง่ เทา่ ๆ กนั ถา้ เมอ่ื ภกิ ษุ ๒ รปู กำ� ลงั แบง่ จวี รนน้ั แตย่ งั มไิ ดจ้ บั สลาก
มภี กิ ษุรปู อ่ืนมา พงึ ใหส้ ่วนแบง่ เท่า ๆ กัน ถา้ เมอ่ื ภิกษุ ๓ รูป กำ� ลงั แบง่ จีวรนั้น และ
จบั สลากเสร็จแลว้ มภี ิกษรุ ูปอน่ื มา พวกเธอไมป่ รารถนา กไ็ ม่ต้องใหส้ ่วนแบ่ง

สมยั ตอ่ มา มพี ระเถระ ๒ พน่ี อ้ ง คอื ทา่ นพระอสิ ทิ าสะ ๑ ทา่ นพระอสิ ภิ ตั ตะ
๑ จำ� พรรษาอยใู่ นพระนครสาวตั ถี ไดไ้ ปอาวาสใกลบ้ า้ นแหง่ หนงึ่ คนทงั้ หลายกลา่ วกนั
ว่า นาน ๆ พระเถระทั้ง ๒ จะได้มา จึงได้ถวายภัตตาหารพร้อมท้ังจีวร พวกภิกษุ
ประจำ� ถนิ่ ถามพระเถระทง้ั ๒ วา่ จวี รของสงฆเ์ หลา่ นเี้ กดิ ขนึ้ เพราะอาศยั พระคณุ เจา้
ท้ัง ๒ พระคุณเจา้ ทงั้ ๒ จักยนิ ดีรบั ส่วนแบง่ ไหม พระเถระทง้ั ๒ ตอบว่า ผมรู้ทั่วถึง
ธรรมทพี่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงแสดงแลว้ โดยประการทจ่ี วี รเหลา่ นน้ั เปน็ ของพวกทา่ น
เท่านนั้ จนถงึ เวลาเดาะกฐนิ

สมยั ต่อมา ภกิ ษุ ๓ รปู จำ� พรรษาอยู่ในพระนครราชคฤห์ ประชาชนในเมือง
นั้นถวายจีวรด้วยเปล่งวาจาวา่ พวกขา้ พเจา้ ถวายแกส่ งฆ์ ภิกษุเหลา่ น้นั จึงได้ดำ� ริดงั น้ี
วา่ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงบญั ญตั ไิ วว้ า่ ภกิ ษุ ๔ รปู เปน็ อยา่ งนอ้ ยชอื่ วา่ สงฆ์ แตเ่ รา
มี ๓ รูปดว้ ยกนั และคนเหล่าน้ีถวายจวี รดว้ ยเปลง่ วาจาวา่ พวกขา้ พเจา้ ถวายแก่สงฆ์
พวกเราจะพึงปฏิบัติอย่างไรหนอ สมัยน้ันพระเถระหลายรูป คือท่านพระนีลวาสี
ท่านพระสาณวาสี ท่านพระโคปกะ ทา่ นพระภคุ และท่านพระผลกิ สันทานะ อยู่ ณ
วัดกุกกุฏาราม เขตนครปาตลีบตุ ร ภิกษุเหลา่ น้นั จงึ เดนิ ทางไปนครปาตลบี ตุ ร แลว้

พรรษาท่ี ๑๑ 263

เรียนถามพระเถระทั้งหลาย พระเถระทง้ั หลาย กล่าวอย่างนวี้ ่า พวกเรารูท้ ว่ั ถึงธรรม
ทพี่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงแสดงแลว้ โดยประการทจี่ วี รเหลา่ นนั้ เปน็ ของพวกทา่ นเทา่ นนั้
จนถึงเวลาเดาะกฐนิ

พุทธบญั ญตั หิ ้ามรับจวี รในวดั ที่ไม่ไดจ้ ำ� พรรษา

กโ็ ดยสมยั นน้ั แล ทา่ นพระอปุ นนั ทศากยบตุ ร จำ� พรรษาอยใู่ นพระนครสาวตั ถี
ไดไ้ ปอาวาสใกลบ้ า้ นแหง่ หนงึ่ ภกิ ษทุ ง้ั หลายในวดั นน้ั ปรารถนาจะแบง่ จวี ร จงึ ประชมุ กนั
ภกิ ษุเหลา่ นนั้ พดู อย่างนว้ี า่ ภกิ ษุทงั้ หลายจกั แบง่ จวี รของสงฆ์ เหล่านแี้ ล ท่านจักยนิ ดี
ส่วนแบง่ ไหม ทา่ นพระอปุ นันทต์ อบวา่ ผมยนิ ดี รบั สว่ นแบง่ จวี รแต่อาวาสนั้นแลว้ ไป
วดั อื่น แม้ภิกษุท้ังหลายในวดั นั้นกป็ รารถนาจะแบ่งจวี ร จงึ ประชมุ กนั และพดู อย่างน้ี
ว่า ภิกษุทั้งหลายจักแบ่งจีวรของสงฆ์เหล่านี้แล ท่านจักยินดีส่วนแบ่งไหม ท่านพระ
อุปนนั ท์ตอบว่า ผมยินดี รับส่วนแบ่งจวี รแตอ่ าวาสนัน้ แลว้ ไปวดั อ่ืน แมภ้ กิ ษุทงั้ หลาย
ในวดั นน้ั กป็ รารถนาจะแบง่ จวี ร จงึ ประชมุ กนั และกพ็ ดู อยา่ งนว้ี า่ ภกิ ษทุ งั้ หลายจกั แบง่
จีวรของสงฆ์เหล่านี้แล ท่านจักยินดีส่วนแบ่งไหม ท่านพระอุปนันท์ตอบว่า ผมยินดี
รับส่วนแบ่งจีวรแต่อาวาสแม้น้ันแล้ว ถือจีวรห่อใหญ่กลับมาพระนครสาวัตถีตามเดิม
ภิกษุทง้ั หลายชมเชยอยา่ งน้วี ่า พระคุณเจา้ อปุ นันท์ ท่านเป็นผู้มบี ญุ มาก จีวรจึงเกดิ
ข้นึ แกท่ า่ นมากมาย ทา่ นพระอุปนนั ท์กล่าวว่า บญุ ของผมท่ไี หน ผมจำ� พรรษาอย่ใู น
พระนครสาวตั ถีน้ี ได้ไปอาวาสใกลบ้ ้านแห่งหนึ่ง พวกภกิ ษุในวดั นน้ั ปรารถนาจะแบ่ง
จวี ร จงึ ประชมุ กนั พวกเธอกลา่ วกบั ผมวา่ ภกิ ษทุ ง้ั หลายจกั แบง่ จวี รของสงฆ์ เหลา่ นแ้ี ล
ท่านจักยนิ ดีสว่ นแบง่ ไหม ผมตอบว่า ผมยนิ ดี ได้รบั ส่วนแบ่งจวี รแต่อาวาสนนั้ แล้วไป
วดั อนื่ แมภ้ กิ ษใุ นวดั นนั้ กป็ รารถนาจะแบง่ จวี ร จงึ ประชมุ กนั และพวกเธอกไ็ ดก้ ลา่ วกบั
ผมอย่างน้ีว่า ภิกษุทั้งหลายจักแบ่งจีวรของสงฆ์เหล่านี้แล ท่านจักยินดีส่วนแบ่งไหม
ผมตอบว่า ผมยินดี ได้รับส่วนแบ่งจีวรแต่อาวาสน้ันแล้วไปวัดอื่น แม้ภิกษุในวัดนั้น
กป็ รารถนาจะแบง่ จีวร จึงประชุมกัน และกล่าวกับผมอยา่ งนว้ี า่ ภกิ ษทุ ั้งหลายจกั แบ่ง
จีวรของสงฆเ์ หล่าน้ีแล ทา่ นจักยนิ ดีสว่ นแบง่ ไหม ผมตอบวา่ ผมยินดี แล้วไดร้ ับเอา
สว่ นแบง่ จวี รแตอ่ าวาสแมน้ น้ั เพราะอยา่ งน้ี จวี รจงึ เกดิ ขน้ึ แกผ่ มมากมาย ภกิ ษทุ ง้ั หลาย
ถามว่า พระคุณเจ้าอปุ นันท์ ทา่ นจำ� พรรษาในวัดหนงึ่ แล้วยงั ยินดสี ่วนแบ่งจีวรในอกี

264 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒

วัดหนึง่ หรือ ท่านพระอปุ นันท์ตอบวา่ เปน็ อยา่ งนน้ั บรรดาภิกษุทเ่ี ป็นผ้มู ักนอ้ ย ตา่ ง
ก็เพง่ โทษ ติเตยี น โพนทะนาวา่ ไฉนทา่ นพระอุปนันทศากยบุตรจำ� พรรษาในวดั หน่ึง
แลว้ จงึ ยนิ ดสี ว่ นแบง่ จวี รในอกี วดั หนง่ึ เลา่ แลว้ กราบทลู เรอ่ื งนนั้ แกพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้

พระผ้มู ีพระภาคเจ้าทรงสอบถามท่านพระอปุ นนั ท์วา่ ข่าวว่าเธอจำ� พรรษาใน
วัดหน่ึงแล้ว ยินดีส่วนแบ่งจีวรในอีกวัดหน่ึง ท่านพระอุปนันท์กราบทูลรับว่าจริง
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนโมฆบุรุษ เธอจ�ำพรรษาในวัดหนึ่งแล้ว
ไฉนจึงยินดีสว่ นแบง่ จีวรในอกี วดั หนงึ่ เล่า การกระทำ� ของเธอนน้ั ไม่เป็นไป เพอื่ ความ
เลอื่ มใสของชมุ ชนทยี่ งั ไมเ่ ลอ่ื มใส ครนั้ แลว้ ทรงทำ� ธรรมกี ถา รบั สงั่ กะภกิ ษทุ ง้ั หลายวา่
ภิกษุจำ� พรรษาในวดั หน่ึงแลว้ ไม่พึงยินดีสว่ นแบง่ จวี รในวดั อน่ื รปู ใดยนิ ดี ต้องอาบตั ิ
ทกุ กฏ

สมยั ตอ่ มา ทา่ นพระอปุ นนั ทศากยบตุ ร รปู เดยี วจำ� พรรษาอยู่ ๒ วดั ดว้ ยคดิ วา่
โดยวิธีอย่างน้ี จีวรจักเกิดข้ึนแก่เรามาก คร้ังนั้นภิกษุทั้งหลายได้มีความสงสัยว่า
พวกเราจักให้ส่วนแบ่งจีวรแก่ท่านพระอุปนันทศากยบุตรอย่างไรหนอ แล้วกราบทูล
เรอ่ื งนน้ั แกพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองคต์ รสั แนะวา่ พวกเธอจงใหส้ ว่ นแบง่ แกโ่ มฆบรุ ษุ
ส่วนเดียว ก็ในข้อนี้ ภิกษุรูปเดียวจ�ำพรรษาอยู่ ๒ วัด ด้วยคิดว่า โดยวิธีอย่างนี้
จวี รจกั เกดิ ขนึ้ แกเ่ รามาก ถา้ ภกิ ษจุ ำ� พรรษาในวดั โนน้ กง่ึ หนงึ่ วดั โนน้ กงึ่ หนง่ึ พงึ ใหส้ ว่ น
แบ่งจีวรในวัดโน้นกึ่งหนึ่ง วัดโน้นกึ่งหนึ่ง หรือจำ� พรรษาในวัดใดมากกว่า พึงให้ส่วน
แบง่ จวี รในวัดนนั้

พระอาพาธ๑๑

ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุรูปหน่ึงอาพาธเป็นโรคท้องร่วง นอนจมกองมูตร
กองคูถของตนอยู่ คร้ังนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้ามีท่านพระอานนท์เป็นปัจฉาสมณะ
เสดจ็ พระพทุ ธดำ� เนนิ ไปตามเสนาสนะ ไดเ้ สดจ็ เขา้ ไปทางทอ่ี ยขู่ องภกิ ษรุ ปู นน้ั ไดท้ อด

๑๑ วิ. มหา. ๕/๑๖๖/๒๒๖.

พรรษาท่ี ๑๑ 265

พระเนตรเห็นภิกษุรูปน้ันนอนจมกองมูตรกองคูถของตนอยู่ คร้ันแล้วเสด็จเข้าไปใกล้
ภิกษุรูปน้ัน แล้วตรัสถามว่า เธออาพาธเป็นโรคอะไร ภิกษุ ภิกษุรูปน้ันกราบทูลว่า
ขา้ พระพทุ ธเจา้ อาพาธเปน็ โรคทอ้ งรว่ ง พระองคต์ รสั ถามวา่ มผี พู้ ยาบาลไหมเลา่ ภกิ ษุ
รูปน้ันกราบทูลว่า ไม่มี พระพุทธเจ้าตรัสถามว่า เพราะเหตุไรภิกษุท้ังหลายจึงไม่
พยาบาลเธอ ภกิ ษรุ ปู นนั้ กราบทลู วา่ เพราะขา้ พระพทุ ธเจา้ มไิ ดท้ ำ� อปุ การะแกภ่ กิ ษทุ ง้ั หลาย
ฉะนน้ั ภกิ ษทุ งั้ หลายจงึ ไมพ่ ยาบาลขา้ พระพทุ ธเจา้ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ จงึ รบั สงั่ กบั ทา่ น
พระอานนท์ว่า เธอจงไปตักน�้ำมา เราจักสรงน้�ำภิกษุรูปน้ัน ท่านพระอานนท์ทูลรับ
สนองพระพทุ ธบญั ชา แลว้ ตกั นำ�้ มาถวาย พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงรดนำ�้ ทา่ นพระอานนท์
ขดั สี พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงยกศรี ษะ ท่านพระอานนท์ยกเทา้ แล้ววางบนเตยี ง

ครงั้ นน้ั พระผมู้ พี ระภาคเจา้ รบั สงั่ ใหป้ ระชมุ ภกิ ษสุ งฆใ์ นเพราะเหตเุ ปน็ เคา้ มลู
นั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วทรงสอบถามภิกษุท้ังหลายว่า ในวิหารหลังโน้น
มภี กิ ษุอาพาธหรือไม่ ภิกษุทงั้ หลายกราบทูลวา่ มี ทรงถามวา่ ภิกษุรูปนน้ั อาพาธเปน็
โรคอะไร ภิกษทุ งั้ หลายกราบทูลว่า ภิกษุรูปน้นั อาพาธเปน็ โรคท้องร่วง พระพุทธเจ้า
ตรสั ถามวา่ มผี พู้ ยาบาลไหม ภกิ ษทุ งั้ หลายกราบทลู วา่ ไมม่ ี พระพทุ ธเจา้ ตรสั ถามวา่
เพราะเหตไุ รภกิ ษทุ ั้งหลายจงึ ไมพ่ ยาบาลเธอ ภกิ ษุท้ังหลายกราบทูลว่า เพราะทา่ นรปู
นั้นมิได้ท�ำอุปการะแก่ภิกษุท้ังหลาย ฉะน้ัน ภิกษุทั้งหลายจึงไม่พยาบาลท่านรูปนั้น
พระพุทธเจ้าตรัสว่า พวกเธอไม่มีมารดาไม่มีบิดา ผู้ใดเล่าจะพึงพยาบาลพวกเธอ
ถา้ พวกเธอจะไมพ่ ยาบาลกนั เอง ใครเล่าจกั พยาบาล ผใู้ ดจักพึงอุปฏั ฐากเรา ผู้น้ันพงึ
พยาบาลภกิ ษอุ าพาธ ถา้ มอี ปุ ชั ฌายะ อปุ ชั ฌายะพงึ พยาบาลจนตลอดชวี ติ หรอื จนกวา่
จะหาย ถ้ามีอาจารย์ อาจารย์พึงพยาบาลจนตลอดชีวิต หรือจนกว่าจะหาย ถ้ามี
สทั ธวิ หิ ารกิ สทั ธวิ หิ ารกิ พงึ พยาบาลจนตลอดชวี ติ หรอื จนกวา่ จะหาย ถา้ มอี นั เตวาสกิ
อันเตวาสิกพึงพยาบาลจนตลอดชีวิต หรือจนกว่าจะหาย ถ้ามีภิกษุผู้ร่วมอุปัชฌายะ
ภิกษุผู้ร่วมอุปัชฌายะพึงพยาบาลจนตลอดชีวิต หรือจนกว่าจะหาย ถ้ามีภิกษุผู้ร่วม
อาจารย์ ภิกษุผู้ร่วมอาจารย์พึงพยาบาลจนตลอดชีวิต หรือจนกว่าจะหาย ถ้าไม่มี
อปุ ัชฌายะ อาจารย์ สัทธิวหิ าริก อนั เตวาสิก ภกิ ษผุ ู้ร่วมอปุ ชั ฌายะ หรอื ภกิ ษุผรู้ ่วม
อาจารย์ สงฆต์ ้องพยาบาล ถ้าไมพ่ ยาบาล ต้องอาบตั ทิ ุกกฏ

266 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒

องคข์ องภกิ ษอุ าพาธทพี่ ยาบาลไดย้ าก ๕ อยา่ ง

ภกิ ษอุ าพาธทปี่ ระกอบดว้ ยองค์ ๕ เปน็ ผพู้ ยาบาลไดย้ าก คอื ไมท่ ำ� ความสบาย
๑ ไมร่ ปู้ ระมาณในความสบาย ๑ ไมฉ่ นั ยา ๑ ไมบ่ อกอาการไขต้ ามจรงิ แกผ่ พู้ ยาบาล
ท่ีมุ่งประโยชน์ คือไมบ่ อกอาการไข้ทกี่ �ำเริบวา่ กำ� เรบิ อาการไข้ทที่ ุเลาว่าทเุ ลา อาการ
ไขท้ ีท่ รงอยูว่ า่ ทรงอยู่ ๑ มีนสิ ัยเป็นคนไม่อดทนต่อทุกขเวทนาท่ีเกดิ ปรากฏในรา่ งกาย
อันกลา้ แข็ง รุนแรง ไม่เป็นทยี่ ินดี ไม่เป็นท่พี อใจ อนั จะพร่าชีวติ เสยี ๑ ภิกษุอาพาธ
ที่ประกอบด้วยองค์ ๕ นแี้ ล เป็นผู้พยาบาลไดย้ าก

องค์ของภกิ ษอุ าพาธท่ีพยาบาลได้ง่าย ๕ อย่าง

ภิกษุอาพาธที่ประกอบดว้ ยองค์ ๕ เปน็ ผู้พยาบาลไดง้ ่าย คอื ทำ� ความสบาย
๑ รปู้ ระมาณในความสบาย ๑ ฉนั ยา ๑ บอกอาการปว่ ยไขต้ ามจรงิ แกผ่ พู้ ยาบาลทม่ี งุ่
ประโยชน์ คอื บอกอาการไขท้ ก่ี ำ� เรบิ วา่ กำ� เรบิ อาการไขท้ ที่ เุ ลาวา่ ทเุ ลา อาการไขท้ ที่ รง
อยู่ว่าทรงอยู่ ๑ มนี ิสัยเปน็ คนอดทนต่อทกุ ขเวทนาอนั กล้าแขง็ รุนแรง ไม่เปน็ ท่ยี ินดี
ไม่เป็นทีพ่ อใจ อนั จะพรา่ ชวี ิตเสีย ๑ ภกิ ษอุ าพาธทป่ี ระกอบดว้ ยองค์ ๕ นแี้ ล เปน็ ผู้
พยาบาลไดง้ ่าย

องคข์ องภกิ ษผุ ู้ไมเ่ ข้าใจพยาบาล ๕ อย่าง

ภกิ ษผุ พู้ ยาบาลไขท้ ปี่ ระกอบดว้ ยองค์ ๕ ไมค่ วรพยาบาลไข้ คอื เปน็ ผไู้ มส่ ามารถ
เพอื่ ประกอบยา ๑ ไมร่ จู้ ักของแสลงและไมแ่ สลง คอื น�ำของแสลงเข้าไปให้ กันของไม่
แสลงออกเสีย ๑ พยาบาลไข้เห็นแก่อามิส ไม่มีจิตเมตตา ๑ เป็นผู้เกลียดท่ีจะน�ำ
อุจจาระ ปัสสาวะ เขฬะ หรือของที่อาเจียนออกไป ๑ เป็นผู้ไม่สามารถจะชี้แจงให้
คนไขเ้ หน็ แจง้ สมาทาน อาจหาญ รา่ เรงิ ดว้ ยธรรมกี ถาในกาลทกุ เมอื่ ๑ ภกิ ษผุ พู้ ยาบาล
ไข้ที่ประกอบด้วยองค์ ๕ นแ้ี ล ไมค่ วรพยาบาลไข้

พรรษาที่ ๑๑ 267

องคข์ องภกิ ษุผู้เขา้ ใจพยาบาล ๕ อยา่ ง

ภิกษุผ้พู ยาบาลไขท้ ป่ี ระกอบดว้ ยองค์ ๕ ควรพยาบาลไข้ คอื เปน็ ผู้สามารถ
ประกอบยา ๑ รจู้ กั ของแสลงและไมแ่ สลง คอื กนั ของแสลงออก นำ� ของไมแ่ สลงเขา้ ไป
ให้ ๑ มีจิตเมตตาพยาบาลไข้ ไม่เห็นแก่อามิส ๑ เป็นผู้ไม่เกลียดท่ีจะน�ำอุจจาระ
ปสั สาวะ เขฬะ หรอื ของทอ่ี าเจยี นออกไปเสยี ๑ เปน็ ผสู้ ามารถทจี่ ะชแ้ี จงใหค้ นไขเ้ หน็
แจ้ง สมาทาน อาจหาญ ร่าเริงด้วยธรรมีกถาในกาลทุกเมื่อ ๑ ภิกษุพยาบาลไข้ที่
ประกอบด้วยองค์ ๕ น้แี ล ควรพยาบาลไข้

เรือ่ งใหบ้ าตรจวี รของผถู้ งึ มรณภาพแกค่ ลิ านปุ ฏั ฐาก

ก็โดยสมยั น้นั แล ภกิ ษุ ๒ รูปเดนิ ทางไกลไปในโกศลชนบท ได้เขา้ ไปอยใู่ น
อาวาสแหง่ หนง่ึ บรรดาภกิ ษุ ๒ รปู นน้ั รปู หนง่ึ อาพาธ ภกิ ษเุ หลา่ นน้ั จงึ ไดป้ รกึ ษาตกลง
กันดังน้ีว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงสรรเสริญการพยาบาลภิกษุอาพาธ เพราะฉะน้ัน
พวกเราจงพยาบาลภกิ ษรุ ปู นเ้ี ถดิ แลว้ พากนั พยาบาลภกิ ษอุ าพาธนนั้ เธออนั ภกิ ษเุ หลา่ นน้ั
พยาบาลอยู่ได้ถึงมรณภาพ ภิกษุเหล่าน้ันจึงถือบาตรจีวรของเธอไปพระนครสาวัตถี
แล้วกราบทูลเร่ืองน้ันแก่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์ตรัสว่า เมื่อภิกษุถึงมรณภาพ
สงฆเ์ ปน็ เจา้ ของบาตรจวี ร แตภ่ กิ ษผุ พู้ ยาบาลไขม้ อี ปุ การะมาก เราอนญุ าตใหส้ งฆม์ อบ
ไตรจีวรและบาตรแกภ่ ิกษุผู้พยาบาลไข้

ก็แลสงฆ์พึงให้ไตรจีวรและบาตรอย่างนี้ คือภิกษุผู้พยาบาลไข้นั้น พึงเข้าไป
หาสงฆ์ แลว้ กลา่ วอยา่ งนวี้ า่ ภกิ ษมุ ชี อ่ื นถี้ งึ มรณภาพ นจ้ี วี รและบาตรของทา่ น ภกิ ษผุ ฉู้ ลาด
ผสู้ ามารถ พึงประกาศให้สงฆท์ ราบดว้ ยญัตตทิ ตุ ิยกรรมวาจาว่าดังนี้

“ทา่ นเจา้ ข้า ขอสงฆ์จงฟังขา้ พเจ้า ภิกษุมชี ื่อนถ้ี ึงมรณภาพ นี้ไตรจวี ร และ
บาตรของเธอ ถา้ ความพรอ้ มพร่ังของสงฆถ์ ึงท่ีแล้ว สงฆ์พึงให้ไตรจีวรและบาตรนีแ้ ก่
ภกิ ษุผ้พู ยาบาลไข้ นีเ้ ป็นญัตติ

268 ๔๕ พรรษาของพระพุทธเจ้า เล่ม ๒

ทา่ นเจา้ ขา้ ขอสงฆจ์ งฟงั ขา้ พเจา้ ภกิ ษมุ ชี อ่ื นถ้ี งึ มรณภาพ นไี้ ตรจวี รและบาตร
ของเธอ สงฆใ์ หไ้ ตรจวี รและบาตรนแี้ กภ่ กิ ษผุ พู้ ยาบาลไข้ การใหไ้ ตรจวี รและบาตรนแ้ี ก่
ภิกษุผพู้ ยาบาลไข้ ชอบแก่ทา่ นผใู้ ด ท่านผ้นู ั้นพึงเป็นผ้นู ิ่ง ไม่ชอบแกท่ า่ นผู้ใด ท่านผู้
นั้นพงึ พูด

สงฆ์ให้จีวรและบาตรน้ีแก่ภิกษุผู้พยาบาลไข้แล้ว ชอบแก่สงฆ์ เหตุน้ันจึงนิ่ง
ขา้ พเจา้ ทรงความนไ้ี วด้ ้วยอย่างน″้ี

สามเณรถงึ มรณภาพ

สมัยต่อมา สามเณรรูปหน่ึงมรณภาพ ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแก่
พระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองคต์ รสั วา่ เมอ่ื สามเณรถงึ มรณภาพ สงฆเ์ ปน็ เจา้ ของบาตร
จวี ร แตภ่ กิ ษุผพู้ ยาบาลไขม้ อี ุปการะมาก เราอนญุ าตให้สงฆ์มอบจีวรและบาตรใหแ้ ก่
ภกิ ษผุ ้พู ยาบาลไข้

กแ็ ลสงฆพ์ งึ ใหจ้ วี รและบาตรอยา่ งน้ี คอื ภกิ ษผุ พู้ ยาบาลไขน้ น้ั พงึ เขา้ ไปหาสงฆ์
แล้วกล่าวอยา่ งนีว้ ่า ท่านเจ้าขา้ สามเณรมีช่อื นี้ถึงมรณภาพ นี้จีวรและบาตรของเธอ
ภกิ ษุผฉู้ ลาด ผู้สามารถพงึ ประกาศใหส้ งฆท์ ราบด้วยญัตติทุตยิ กรรมวาจา ว่าดังนี้

"ทา่ นเจา้ ขา้ ขอสงฆจ์ งฟงั ขา้ พเจา้ สามเณรมชี อื่ นถ้ี งึ มรณภาพ นจี้ วี รและบาตร
ของเธอ ถ้าความพร้อมพรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงให้จีวรและบาตรน้ีแก่ภิกษุผู้
พยาบาลไข้ นี้เปน็ ญตั ติ

ทา่ นเจา้ ขา้ ขอสงฆจ์ งฟงั ขา้ พเจา้ สามเณรมชี อ่ื นถ้ี งึ มรณภาพ นจ้ี วี รและบาตร
ของเธอ สงฆใ์ หจ้ ีวรและบาตรนแ้ี ก่ภกิ ษุผ้พู ยาบาลไข้ การให้จวี รและบาตรน้แี กภ่ กิ ษุผู้
พยาบาลไข้ ชอบแกท่ า่ นผใู้ ด ทา่ นผนู้ นั้ พงึ เปน็ ผนู้ งิ่ ไมช่ อบแกท่ า่ นผใู้ ด ทา่ นผนู้ น้ั พงึ พดู

สงฆ์ให้จีวรและบาตรน้ีแก่ภิกษุผู้พยาบาลไข้แล้ว ชอบแก่สงฆ์ เหตุน้ันจึงน่ิง
ขา้ พเจา้ ทรงความนีไ้ ว้ด้วยอยา่ งนี้"


Click to View FlipBook Version