383
Cattàri Ariyasaccàni
The Four Noble Truths
1. Dukkha§ Ariyasacca§.
The Noble Truth of Suffering.
2. Dukkhasamudayo Ariyasacca§.
The Noble Truth of the Cause of Suffering.
3. Dukkhanirodho Ariyasacca§.
The Noble Truth of the Cessation of Suffering.
4. Dukkhanirodhagàminãpañipadà àriyasacca§.
The Noble Truth of the Path leading to the Cessation of Suffering,
1. Sammàdiññhi Ariya-Aññhaïgika-Magga
2. Sammàsaïkappa The Noble Eightfold Path
3. Sammàvàcà
4. Sammàkammanta Right Understanding
5. Sammààjãva Right Thought
6. Sammàvàyàma Right Speech
7. Sammàsati Right Action
8. Sammàsamàdhi Right Livelihood
Right Effort
Right Mindfulness
Right Concentration
1. Råpa-khandha Pa¤ca-Khandha
2. Vedanà-khandha The Five Aggregates of Existence
3. Sa¤¤à-khandha
4. Saïkhàra-khandha Aggregate of Corporeality
5. Vi¤¤àõa-khandha Aggregate of Feeling
Aggregate of Perception
Aggregate of Mental Formations
Aggregate of Consciousness
Ti-Lakkhaõa
The Three Characteristics of Existence
1. Sabbe saïkhàrà aniccà. All conditioned things are impermanent.
2. Sabbe saïkhàrà dukkhà. All conditioned things are subject to stress and conflict.
3. Sabbe dhammà anattà. All things are not-self or soulless.
384
Pañicca-Samuppàda
The Dependent Origination
Avijjàpaccayà Saïkhàrà Dependent on Ignorance arise Kamma-
Saïkhàrapaccayà Vi¤¤àõa§ Formations.
Vi¤¤àõapaccayà Nàmaråpa§
Nàmaråpapaccayà Saëàyatana§ Dependent on Kamma-Formations arises
Saëàyatanapaccayà Phasso Consciousness.
Phassapaccayà Vedanà
Vedanàpaccayà Taõhà Dependent on consciousness arise Mind
Taõhàpaccayà Upàdàna§ and Matter.
Upàdànapaccayà Bhavo
Bhavapaccayà Jàti Dependent on Mind and Matter arise the
Jàtipaccayà Jarà-maraõa§ soka-parideva- Six Sense-Bases.
dukkha-domanass-upàyàsà sambhavanti
Dependent on the Six Sense-Bases arises
Evametassa kevalassa dukkhak- Contact.
khandhassa samudayo hoti.
Dependent on Contact arises Feeling.
Dependent on Feeling arises Craving.
Dependent on Craving arises Clinging.
Dependent on Clinging arises the Process
of Becoming.
Dependent on the Process of Becoming
arises Birth.
Dependent on Birth arise Decay and Death,
sorrow, lamentation, pain, grief and
despair.
Thus arises the whole mass of suffering.
ความเปน มาของพจนานุกรมพทุ ธศาสตร
เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๖ พระมหาประยทุ ธ ปยุตโฺ ต ไดจัดทาํ พจนานกุ รมศพั ทพระพุทธศาสนา ไทย–บาล–ี องั กฤษ
เลม เล็กๆ เลม หน่ึงเสรจ็ ส้ิน (เปน ฉบับท่ีมุงคาํ แปลภาษาองั กฤษ ไมมีคําอธิบาย ตอมาไดเ ริ่มขยายใหพิสดารใน พ.ศ.
๒๕๑๓ แตพ ิมพถ ึงอกั ษร “ฐ” เทา น้นั ก็ชะงกั ) และในเดือนกนั ยายน ปเดียวกันนนั้ กไ็ ดเ ริ่มงานจดั ทํา พจนานกุ รมพระ
พุทธศาสนา ท่ีมีคาํ อธบิ าย ๒ ภาษา คือ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ พรอมทง้ั หมวดธรรม แตเ มอื่ ทาํ จบเพยี งอักษร “บ”
กต็ องหยุดคา งไว เพราะไดรับการแตงต้งั โดยไมรตู วั ใหเ ปนผชู วยเลขาธกิ ารมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั แลว หนั ไปทมุ
เทกาํ ลงั และอุทศิ เวลาใหก ับงานดานการศึกษาของมหาวทิ ยาลัยสงฆ จนถึงพ.ศ. ๒๕๑๕ จึงไดหวนมาพยายามร้ือฟนงาน
พจนานกุ รมขนึ้ อกี
คราวนั้น พระมหาสมบูรณ สมฺปณุ ฺโณ (ตอ มาเปนพระวสิ ทุ ธสิ มโพธิ ดํารงตําแหนงรองเลขาธิการมหาจฬุ า-
ลงกรณราชวทิ ยาลัย) มองเห็นวา งานมีเคาที่จะพสิ ดารและจะกินเวลายาวนานมาก จงึ ไดอาราธนาพระมหาประยุทธ (เวลา
นั้นเปนพระศรีวสิ ทุ ธิโมลี และตอ มาเล่ือนเปน พระราชวรมนุ ี) ขอใหท าํ พจนานกุ รมขนาดยอ มขน้ึ มาใชกนั ไปพลางกอน
พระศรวี สิ ทุ ธิโมลี ตกลงทํางานแทรกนน้ั จนเสรจ็ ใหช ื่อวา พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร มลี ักษณะเนนเฉพาะการรวบรวม
หลักธรรม โดยจัดเปนหมวดๆ เรยี งตามลาํ ดบั เลขจาํ นวน และในแตล ะหมวดเรยี งตามลําดบั อกั ษร แลวไดมอบงานและ
มอบทุนสวนหน่ึงใหมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยจัดพิมพเผยแพร จําหนายเก็บผลประโยชนบํารุงการศึกษาของพระ
ภิกษุสามเณร เรมิ่ พิมพต งั้ แต พ.ศ. ๒๕๑๕ จนถึง พ.ศ. ๒๕๑๘ จงึ เสรจ็
ตอ มา พ.ศ. ๒๕๒๒ กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธกิ าร ขออนุญาตพมิ พแจกเปนธรรมทาน ๘,๐๐๐ เลม
นอกจากนน้ั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัยไดจดั จําหนายเพมิ่ ขึน้ และผูเรียบเรียงเองจดั แจกเปน ธรรมทานเพมิ่ เตมิ บา ง
เปนรายยอ ย หนังสือหมดสนิ้ ขาดคราวในเวลาไมนาน
สว นงานจดั ทํา พจนานุกรมพุทธศาสนา ฉบบั เดมิ ยังคงคางอยสู ืบมาจนถงึ พ.ศ. ๒๕๒๑ ผูจดั ทาํ จงึ มีโอกาส
รือ้ ฟน ข้นึ อกี คราวนเ้ี ขียนเริ่มตน ใหมท้งั หมด เนน คําอธิบายภาษาไทย สว นภาษาอังกฤษมเี พียงคําแปลศัพทหรอื ความ
หมายสั้นๆ งานขยายจนมีลักษณะเปน สารานกุ รม เขยี นไปไดถงึ อกั ษร “ข” มเี นอื้ ความประมาณ ๑๑๐ หนา กระดาษ
พมิ พด ดี พับสาม (ไมน ับคําอธิบายศพั ทจําพวกประวัติ อีก ๗๐ หนา) ก็หยดุ ชะงกั เพราะในป พ.ศ. ๒๕๒๑ นนั้ เอง มี
เหตุใหต อ งหันไปเรงรดั งานปรับปรงุ และขยายความหนังสือพทุ ธธรรม ซ่งึ กินเวลายดื เย้ือมาจนถึงพมิ พเ สรจ็ รวมประมาณ
สามป งานพจนานุกรมจงึ คา งอยูเ พียงน้ันและจึงยงั ไมไดจ ดั พมิ พ
อกี ดานหนง่ึ เมอ่ื วดั พระพิเรนทรจดั งานรบั พระราชทานเพลิงศพ พระครูปลดั สมยั กิตตฺ ทิ ตโฺ ต เจา อาวาสวัด
พระพิเรนทร ใน พ.ศ. ๒๕๒๒ พระราชวรมนุ ี ไดจ ดั ทําพจนานกุ รม ประเภทงานแทรกและเรง ดวนข้นึ อกี เลมหนึ่ง เปน
ประมวลศัพทในหนังสือเรียนนักธรรมทุกชั้น และเพิ่มศัพทที่ควรทราบในระดับเดียวกันเขาอีกจํานวนหน่ึง ตั้งชื่อวา
พจนานุกรมพทุ ธศาสน ฉบับครู นักเรียน นักธรรม มีเน้ือหา ๓๗๓ หนา เทา ๆ กันกับพจนานุกรมพทุ ธศาสตร (๓๗๔
หนา) เสมือนเขาชุดเปนคูกัน เลมพิมพกอนเปนท่ีประมวลธรรมซึ่งเปนหลักการหรือสาระสาํ คัญของพระพุทธศาสนา
สว นเลม พิมพหลังเปนท่ีประมวลศพั ทท วั่ ไปเกย่ี วกบั พระพุทธศาสนา อธบิ ายพอใชป ระโยชนอยางพ้นื ๆ ไมกวา งขวางลึก
ซ้งึ
ใน พ.ศ. ๒๕๒๕ มที า นผศู รทั ธาเหน็ วา พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ขาดคราว จึงขอพมิ พแ จกเปน ธรรมทาน
มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัยไดทราบ กข็ อรว มสมทบพมิ พดว ย เพือ่ ไดทาํ หนาทสี่ ง เสรมิ วิชาการทางพระพทุ ธศาสนา กบั
ทงั้ จะไดเ กบ็ ผลกาํ ไรบํารุงการศกึ ษาในสถาบนั และไดข ยายขอบเขตออกไปโดยขอพมิ พ พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบบั ครู
นกั เรยี น นกั ธรรม ดวย แตผเู รยี บเรยี งประสงคจะปรับปรุงแกไ ขเพม่ิ เตมิ หนังสอื ทงั้ สองเลม นัน้ กอน อกี ทัง้ ยงั มงี านอน่ื
ยุงอยูดวย ยังเร่ิมงานปรับปรุงทันทีไมได จึงตองร้ังรอจนเวลาลวงมาชานาน คร้ันไดโอกาสก็ปรับปรุงเพ่ิมเติม
386
พจนานกุ รมพุทธศาสตร กอ นจนเสร็จ แลวเร่มิ ดาํ เนนิ การเกยี่ วกับการจัดพมิ พ ระหวา งนน้ั มงี านอื่นแทรกอยเู รอื่ ยๆ
ตองรอโอกาสที่จะปรับปรงุ อกี เลมหน่งึ ทเ่ี หลอื อยู และไดต ั้งใจวา จะพิมพตามลาํ ดบั เลม ท่ีปรับปรุงกอนหลงั
ในการพิมพ พจนานุกรมพุทธศาสตร มีขอพิจารณาที่จะตองตัดสินใจและปญหาท่ีจะตองแกไขหลายอยาง
รวมท้งั การทดลองและตรวจสอบเกยี่ วกับความสามารถในการพิมพด วย ซ่งึ ลว นเพ่ิมความลาชา ใหแ กก ารจดั พิมพ โดย
เฉพาะคอื การพิมพภ าษาบาลีดว ยอักษรโรมัน ซึง่ ในการพมิ พค รง้ั ใหมนี้มตี ัวบาลีโรมนั เพ่ิมข้ึนเกนิ เทา ตัว หลงั จากผานพน
เวลาชา นานในการปรึกษาสอบถามและศึกษางานกับโรงพิมพใ หญโตบางแหงแลว กพ็ อยตุ ไิ ดว า ในประเทศไทยคงมีโรง
พิมพเพียง ๒ แหง เทา น้นั ที่มีอปุ กรณครบครนั พอจะพิมพอ ักษรบาลีโรมนั ไดต รงตามแบบนยิ มอยางแทจรงิ แตก ต็ ดิ ขัด
ปญ หาใหญว า แหงหนึง่ ตองใชทนุ พมิ พอยางมหาศาล อีกแหงหนึ่งคงจะตอ งพมิ พอยางชา เปนเวลาแรมป
เม่ือไดพยายามหาทางแกปญหาตอไปอกี ระยะหน่งึ กม็ าลงเอยทที่ างออกใหม คือ ส่ังซ้ืออุปกรณป ระกอบดวย
จานบนั ทึกและแถบฟล ม ตนแบบสําหรับใชพ ิมพอกั ษรบาลีโรมันจากบริษัทคอมพวิ กราฟค สิ้นเงิน ๒๔,๐๐๐ บาท และ
สนิ้ เวลารออีก ๒ เดือนเศษ อปุ กรณจึงมาถงึ คร้นั ไดอุปกรณมาแลวกป็ รากฏวายงั ใชงานไดไมส มบรู ณ ตองใหน กั เรียง
พมิ พผ สู ามารถหาวธิ ียกั เยื้องใชใ หส ําเรจ็ ผล สนิ้ เวลาพลิกแพลงทดลองอีกระยะหน่งึ และแมจ ะแกไขปญ หาสําเร็จถึงขั้น
ทพ่ี อนบั วา ใชไ ด ก็ยังเปนการเรียงพมิ พท ยี่ ากมาก นักเรยี งพิมพคอมพวิ กราฟคสว นมากพากนั หลกี เลย่ี งงานนี้ แมจะมี
นักเรียงพิมพท่ีชาํ นาญยอมรบั ทํางานนีด้ ว ยมีใจสู กย็ ังออกปากวาเปน งานยากทสี่ ดุ ทีเ่ คยประสบมา ตองทําดวยความ
ระมดั ระวังตงั้ ใจเปน พเิ ศษ และกนิ เวลามากถงึ ประมาณ ๓ เทาตวั ของการเรยี งพิมพห นงั สอื ทว่ั ๆ ไป
ระหวา งระยะเวลาเพยี รแกป ญ หาขางตน น้ี ในชว งเดือน เมษายน – มถิ ุนายน ๒๕๒๗ มูลนิธิ “ทุนพระพุทธ-
ยอดฟา ” ในพระบรมราชูปถมั ภ ณ วดั พระเชตุพน ไดข อพมิ พหนังสอื Thai Buddhism in the Buddhist World
ของพระราชวรมุนี ในงานพระราชทานเพลิงศพ พล ต.อ. ประเสรฐิ รจุ ิรวงศ หนงั สอื เลมนม้ี เี นอ้ื หาท่ตี อ งใชอักษรพิมพ
บาลแี บบโรมันกระจายอยทู ัว่ ไป แมจะไมมากมายนัก แตกไ็ ดกลายเปนดังสนามทดสอบและแกป ญหาในการใชอุปกรณ
ทส่ี ั่งซือ้ มาน้ี เปนสนามแรก และนับวาใชไ ดผลพอสมควร
พอวาหนงั สอื Thai Buddhism สําเร็จ แตย งั ไมทนั เสร็จส้ิน กถ็ งึ ชว งที่ ดร. สจุ ินต ทังสบุ ุตร ติดตอ ขอพมิ พ
พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับครู นักเรียน นักธรรม ในงานพระราชทานเพลิงศพ อาจารยจิตร ทงั สุบุตร ผูเปนบดิ า เวลา
น้ัน พจนานกุ รมเลมหลงั นี้ไดเ คยปรับปรุงเพม่ิ เติมไวบางแลว เล็กนอ ย แตยังไมถ งึ เวลาทจ่ี ะปรบั ปรุงจรงิ จังตามลําดับใน
โครงการ จงึ ตกลงวา จะพมิ พต ามฉบบั เดิมโดยใชวิธีถา ยจากฉบับพมิ พ พ.ศ. ๒๕๒๒ แกไขแทรกลงบา งเทา ทจี่ าํ เปน แต
เมือ่ ตนฉบบั ถงึ โรงพิมพ โรงพิมพอ า งวา ฉบับเดิมไมชัดพอท่จี ะใชว ิธถี าย จะตอ งเรียงพมิ พใหม จึงกลายเปน เครอื่ ง
บังคับวาจะตองพยายามปรับปรุงเพิ่มเติมใหเสร็จส้ินไปเสียในการพิมพคราวนี้ทีเดียว เพ่ือหลีกเลี่ยงการลงทุนลงแรง
และเปลอื งเวลาซา้ํ ซอนหลายคราว พอดเี กิดขอยงุ ยากติดขดั ทางดานโรงพิมพเปน อนั มาก จนหนงั สอื เสรจ็ ไมทนั งานและ
ตอ มาเจา ภาพตอ งเปลี่ยนโรงพิมพ กลายเปน โอกาสใหรบี เรงงานปรบั ปรงุ เพิม่ เตมิ แขง ไปกบั กระบวนการพิมพ แมจ ะไม
อาจทาํ ใหส มบูรณเตม็ ตามโครงการ แตก ็สําเรจ็ ไปอีกชั้นหนง่ึ และทําใหเปลยี่ นลาํ ดับกลายเปน วา เลมที่กะจะพมิ พท ีหลัง
กลับมาสาํ เร็จกอน
นอกจากน้นั การพมิ พข องเจา ภาพคร้งั น้ี ไดก ลายเปนการอุปถัมภม หาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ไปดว ย เพราะ
ไดลงทุนสําหรับกระบวนการพิมพข้ันตนและขั้นกลางเสร็จส้ินไปแลว เม่ือพิมพใหมไมตองเสียคาเรียงพิมพและคาทาํ
แผนแบบพมิ พใหมอกี ลงทุนเฉพาะข้ันกระดาษข้ึนแทนพิมพและทําเลม เปน การประหยดั คาใชจา ยลงไปเปน อันมาก
อนึ่งในการพิมพครง้ั นี้ ไดมขี อ ยุติที่สาํ คัญอยา งหนง่ึ ดวย คือ การปรบั ปรงุ ชือ่ ของพจนานกุ รมทัง้ สองใหเ รยี ก
งาย พรอมท้ังใหแสดงลักษณะท่ีแตกตางกัน พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับครู นกั เรียน นกั ธรรม เปล่ยี นเปน
พจนานกุ รมพทุ ธศาสน ฉบบั ประมวลศัพท สวน พจนานุกรมพทุ ธศาสตร เรียกใหมว า พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ฉบับ
ประมวลธรรม
387
งานปรบั ปรุงและจัดพมิ พ พจนานุกรมพทุ ธศาสตร ฉบับประมวลธรรม ผา นเวลามาถึงบดั นี้ ๑ ปเ ศษแลว กะ
วา จะเสร็จส้นิ ในระยะตน พ.ศ. ๒๕๒๘ ระหวางน้ี หนังสอื อ่ืนๆ แมแตเลมทน่ี บั วา พมิ พย าก ดงั เชนเลม ทอ่ี อกชอ่ื แลวขาง
ตน ก็สาํ เรจ็ ภายในเวลาอันสมควร ไมตองนับหนังสือทง่ี านพิมพอ ยูในระดบั สามัญ ซึง่ ปลอยงานใหผูทข่ี อพมิ พร ับภาระ
เองได เวน แตตามปกตจิ ะตอ งขอพิสจู นอ ักษรเพอื่ ความมนั่ ใจสกั เที่ยวหน่งึ
งานพมิ พร ะดับสามัญท่ผี านไปในชว งเวลาน้ี รวมทั้งการพิมพซ้ํา ธรรมนูญชีวติ ประมาณ ๑๒ คร้งั สมาคม
ศิษยเกา มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั พมิ พซ ้าํ ชาวพทุ ธกับชะตากรรมของสังคม ธรรมสถาน จุฬาลงกรณม หาวิทยาลยั
พมิ พซ้ํา (๒ ครงั้ ) พุทธธรรมฉบับปรบั ปรงุ และขยายความ มูลนธิ โิ กมลคีมทอง รวบรวมพมิ พ ลักษณะสงั คมพุทธ และ
สถาบันสงฆก บั สงั คมไทย สํานักพมิ พเทียนวรรณพมิ พ คา นิยมแบบพุทธ และ รากฐานพุทธจรยิ ศาสตรทางสังคม เพ่ือ
สังคมไทยรว มสมัย ซึ่งวีระ สมบูรณ แปลจากขอเขยี นภาษาองั กฤษของพระราชวรมนุ ี ทตี่ อ มา CSWR มหาวทิ ยาลัย
ฮารวารด นาํ ลงพมิ พในหนังสือ Attitudes Toward Wealth and Poverty in Theravada Buddhism (ในชุด
CSWR Studies in World Religions) ซง่ึ จะพมิ พเสรจ็ ในตนป ๒๕๒๘
ความทีก่ ลาวมานี้ เปน เครื่องแสดงใหเหน็ การเกิดขึ้นของ พจนานุกรมพทุ ธศาสตร ทามกลางงานคูเคียงและ
งานแทรกซอนทั้งหลาย พรอ มท้งั ความยากและความละเอยี ดซบั ซอนของงานพมิ พพจนานกุ รมน้ี ทีต่ างจากหนงั สือเลม
อ่นื ๆ
แมวา พจนานุกรมทง้ั สองนี้ จะเปนผลงานธรรมทาน อุทิศแดพระศาสนา เชน เดียวกบั หนังสืออื่นทกุ เลมของ
ผเู รียบเรยี งเทาท่ีเคยพมิ พเผยแพรม าแลว ผปู ระสงคสามารถพิมพไ ดโดยไมม ีคา ลิขสทิ ธหิ์ รอื คา ตอบแทนสมนาคณุ ใดๆ
กจ็ รงิ แตผ ูเรยี บเรยี งกม็ ิไดส ละลิขสทิ ธ์ทิ ่ีจะปลอยใหใครๆ จะพิมพอยา งไรก็ไดต ามปรารถนา ทง้ั น้ี เพ่อื จะไดมีโอกาส
ควบคุมดแู ลความถูกตอ งเรยี บรอยของงาน ซงึ่ ผเู รยี บเรยี งถือเปนสําคญั อยางยิ่ง
ไมวาการพิมพจะยากลําบากและลาชาปานใด เม่ือดําเนินมาถึงเพียงน้ี ก็ม่ันใจไดวาจะสําเร็จอยางแนนอน
เจาภาพทงั้ หลายผมู ศี รทั ธาจัดพิมพเ ผยแพร ก็ไดส ละทนุ ทรัพยบําเพญ็ กศุ ลธรรมทานใหส าํ เรจ็ เปน อนั ลลุ ว งกิจโปรง โลง
ไป คงเหลือแตเ พยี งมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั เทาน้นั ทม่ี เี คาจะประสบปญหาและกลายเปน ปญหา เนอื่ งจากไดแ จง
ขอพมิ พพจนานุกรมทง้ั สองน้ันอยางละ ๑๐,๐๐๐ เลม ทั้งที่ตามความเปน จรงิ ยงั ไมมที นุ ทรพั ยท ี่จะจา ยเพื่อการนีเ้ ลย
ทัง้ นเ้ี พราะเหตุวา แมแ ตเ งินทนุ สําหรับใชจ า ยในการดาํ เนนิ การศกึ ษาท่เี ปนงานหลักประจาํ ในแตล ะวัน กย็ ังมไี มเพียงพอ
การทต่ี กลงใจพมิ พพจนานุกรมจาํ นวนมากมายเชนนัน้ ก็เปน เพยี งการแสดงใจกลา บอกความปรารถนาออกไปกอ น แลว
คอยคิดแกปญ หาเอาทีหลัง
ทุนพิมพพจนานกุ รมพุทธศาสน
เม่ือเดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๒๗ พระราชวรมนุ ไี ดเพียรพยายามคร้งั ลา สุดในการหาโรงพมิ พท่ีสามารถพมิ พ
พจนานุกรมพทุ ธศาสตร แตก ป็ ระสบปญหาเกยี่ วกบั ราคาคาพมิ พทสี่ งู เกินไปบา ง การพมิ พภ าษาบาลีดวยอกั ษรโรมนั ให
สมบูรณไ มไดบ า ง ในทส่ี ุดจงึ หาทางออกดวยการใหส่ังซอื้ อปุ กรณสาํ หรับเรยี งพิมพค อมพิวกราฟคชดุ ท่พี อจะพิมพอ กั ษร
โรมนั ไดม าเปน กรณีพเิ ศษ (ประกอบดวยจานบนั ทกึ และแถบฟลม ตนแบบ)
ชวงเวลานั้น ประจวบเปน ระยะท่ีคณุ หญิงกระจา งศรี รักตะกนิษฐ บังเอญิ ไดท ราบเรื่องราวเกยี่ วกบั พระราชวร
มนุ ี และดว ยความมนี ้าํ ใจศรทั ธาใฝอ ุปถัมภพ ระศาสนาและเกื้อกลู แกพระสงฆ กไ็ ดม าถวายกําลงั ในการบําเพญ็ ศาสนกจิ
ดวยการอุปถัมภเกี่ยวกับภัตตาหารและยานพาหนะเปนตนอยูเนืองนิตย ครั้นไดทราบเรื่องที่พระราชวรมุนีเพียรแก
ปญหาอยู จงึ ไดข วนขวายชว ยเหลอื ทกุ อยางเทา ท่โี ยมอุปถมั ภจ ะทาํ ได โดยเฉพาะดว ยการชว ยติดตอกับโรงพิมพ และ
อํานวยความสะดวกในการเดินทาง ครั้นไดทราบตอไปอีกวา มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย ซึง่ เปน หนว ยท่ีขอพิมพ
พจนานกุ รมนั้น มีเพยี งกําลังใจที่จะขอพิมพหนงั สือ แตยังไมม ที นุ ทรัพยท จ่ี ะใชพ ิมพ คณุ หญิงกระจา งศรี รกั ตะกนษิ ฐ
กไ็ ดเออื้ อาํ นวยความอปุ ถัมภใ นเรือ่ งนแ้ี กม หาจฬุ าลงกณราชวทิ ยาลัยดว ย
เบ้ืองแรก คณุ หญงิ กระจา งศรี รักตะกนิษฐ ไดแ สดงจาคเจตนาทจ่ี ะจัดหาทุนมาชวยบางสว นหนง่ึ ซ่ึงคงจะพอ
เปน ทนุ สําหรับจา ยคาอปุ กรณสาํ หรับชว ยการเรียงพิมพอกั ษรบาลแี บบโรมนั ที่ไดขอใหบ รษิ ทั อีสตเอเชยี ติค จํากัด สั่งซ้ือ
จากประเทศสหรัฐอเมรกิ า มลู คา ๒๔,๐๐๐ บาท แตต อมาอกี เพียงสองสามวัน คอื ในวันท่ี ๒ กมุ ภาพันธ ๒๕๒๗ ทา น
ก็ไดขยายความอุปถมั ภออกไปอีก โดยไดแจงแกผ ูเ รยี บเรยี งคอื พระราชวรมุนี วาจะขอรับภาระดาํ เนนิ การรวบรวมทุน
จดั พิมพ พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ใหท ง้ั หมด ภายในวงเงนิ ๓๐๐,๐๐๐ บาท โดยทา นจะทาํ หนาท่เี ปน ผปู ระสานงานบอก
กลาวกนั ในหมญู าตมิ ิตรและผูสนิทสนมคนุ เคยใหร วมกนั บรจิ าคดว ยวธิ ีจดั เปน ทนุ รวม ๓๐๐ ทนุ ๆ ละ ๑,๐๐๐ บาท
พระราชวรมุนี จึงไดน ดั หมายพระเถระทางฝายมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัยไปรบั ทราบกศุ ลเจตนานนั้ และจัดเตรียม
อนุโมทนาบตั รใหสําหรับมอบแกผูบรจิ าค
คณุ หญิงกระจางศรี รักตะกนษิ ฐ ไดบ อกกลาวเชญิ ชวนทานผศู รัทธาในวงความรจู ักของทาน ขอ ความทีท่ านใช
บอกกลาวเชิญชวนตอนหน่ึงวา “นับวาเปนโอกาสอันดีของเราทั้งหลาย ท่ีจะไดมีสวนเปน ผูพมิ พหนงั สือทางวิชาการท่ี
สาํ คญั เลมน้ี ฝากไวเ ปน อนุสรณในพระพทุ ธศาสนา เปน เครื่องบูชาพระรัตนตรยั รวมกัน อันจะยังประโยชนใหเกิด
อานสิ งสท างปญ ญาบารมี แกตวั ผูบริจาคเองและบุตรหลาน ทั้งยงั เปน การชว ยสงเคราะหพระเณรใหไ ดม ีหนังสือทจ่ี าํ เปน
ย่งิ น้ีไวใ ชโดยเร็ว นอกจากน้นั ผลทจี่ ะตามมากค็ อื รายไดจากการจาํ หนายหนังสอื น้ี ก็จะไดใ ชประโยชนใ นการบาํ รุงการ
ศึกษาของพระเณร ...”
การเชิญชวนบรจิ าคทุนสรางพจนานุกรมฯ นี้ คณุ หญงิ กระจา งศรี รกั ตะกนิษฐ ไดเ รมิ่ บอกกลา วในหมูญาติ
มิตรสนิทกอน ปรากฏวามีผูศรัทธาในงานบุญนี้มากเกินคาด การเชญิ ชวนจึงขยายวงกวางออกไปจนไดเ งินเกินกวาที่
กาํ หนดไวใ นเวลาอันรวดเรว็
อน่งึ ในระหวางเวลารอคอยการพิมพ พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม นี้ มหาจุฬาลงกรณ-
ราชวทิ ยาลยั กไ็ ดขอพิมพ พจนานุกรมพทุ ธศาสน ฉบบั ประมวลศัพท เพมิ่ เขามาอกี และกย็ ังไมมีทุนที่จะพิมพฉบับหลัง
นีอ้ ีกเชน กนั ผเู ชิญชวนและรวบรวมทุนเหน็ เปนโอกาสอันดที ่ีทา นผูม ีศรัทธาบรจิ าคท้งั หลายจะไดบ ุญกศุ ลจากการน้กี วาง
ขวางยิ่งขนึ้ จึงไดเ สนอพระราชวรมุนีขอใหใชเ งินบรจิ าคซ่งึ มจี าํ นวนมากพอน้เี ปนทนุ พมิ พพ จนานกุ รมฯ ฉบับประมวล
ศพั ท มอบใหม หาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั เพือ่ จาํ หนา ยหาผลกาํ ไรบาํ รุงกจิ การของมหาวทิ ยาลยั อกี เลม หนง่ึ ดวย และถา
หากยังคงมเี งนิ เหลอื อยูบ า ง ก็ขอใหเก็บไวในบญั ชเี ดมิ นเี้ พอ่ื สมทบเปน ทุนพมิ พใ นคราวตอๆ ไป
389
อนง่ึ ทนุ พิมพพ จนานุกรมฯ นี้ ผรู วบรวมทุนไดแสดงความประสงคทจ่ี ะใหเกบ็ ไวเปน ทุนสาํ รองถาวร ของมหา
จุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย สําหรบั พิมพ พจนานุกรมฯ ทง้ั สองเลม น้ีโดยเฉพาะ เพอ่ื จะไดมที ุนพรอ มทีจ่ ะพิมพเ พ่ิมเตมิ ได
โดยไมข าดระยะ ฉะน้นั จงึ ไดข อความรวมมือจากมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ใหชวยสงวนรกั ษาทนุ น้ไี ว โดยในการจดั
จําหนา ย ขอใหห กั ตนทนุ หนงั สือทกุ เลมที่จําหนายไดส ง คืนเขาบญั ชี “ทนุ พมิ พพ จนานกุ รมพทุ ธศาสน” ซ่งึ ไดเ ปดอยแู ลว
ที่ธนาคารกรุงศรีอยธุ ยา สาํ นกั งานใหญ ดังกลาวขา งตน สวนผลกําไรทงั้ หมด มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ก็จะไดนาํ ไป
ใชในกิจการของมหาวทิ ยาลยั ตามตองการ ทั้งนี้ผรู วบรวมไดข ออาราธนาพระราชวรมนุ ี ซ่งึ การทํางานของทา นไดเ ปนเหตุ
ใหผูรวบรวมเกิดความดาํ ริทจี่ ะตั้งทนุ นี้ ใหโปรดเปนหลักในการรักษาบัญชรี ว มกับมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั สบื ตอไป
“ทนุ พิมพพจนานุกรมพุทธศาสน” นี้ เปนผลแหงความเสยี สละและความสามัคคี อันเกดิ จากความมจี ิตศรทั ธา
ในพระพุทธศาสนา และธรรมฉันทะทจี่ ะสง เสริมความรูค วามเขาใจในธรรมใหแ พรหลาย ซึ่งจะใหสาํ เรจ็ เปนธรรมทานอัน
อํานวยประโยชนแกชนจํานวนมาก ขอกุศลเจตนาและบุญกิริยาที่กลาวมานี้จงเปนปจจัยดลใหผูรวมบริจาคทุกทาน
เจริญงอกงามในธรรมยิง่ ๆ ขน้ึ ไป เพอื่ ไดป ระสบแตค วามสขุ และสรรพพร และขออคั รทานคอื การใหธ รรมแจกจา ยความ
รแู ละเผยแพรความดีงามครั้งน้ี จงเปนเคร่อื งค้ําชสู ทั ธรรมใหดํารงมัน่ และแผไ พศาล เพอ่ื ชักนํามหาชนใหบรรลุประโยชน
สุขอนั ไพบูลยตราบชว่ั กาลนาน