หมวด 10 233 [319]
[318] กิเลส 10 (สภาพท่ที ําใหจ ิตเศราหมอง — Kilesa: defilements)
1. โลภะ (ความอยากได — Lobha: greed)
2. โทสะ (ความคดิ ประทุษราย — Dosa: hatred)
3. โมหะ (ความหลง, ความไมร ู, ความเขลา — Moha: delusion)
4. มานะ (ความถือตวั — Màna: conceit)
5. ทิฏฐิ (ความเหน็ ผิด — Diññhi: wrong view)
6. วิจิกิจฉา (ความลงั เลสงสยั , ความเคลอื บแคลง — Vicikicchà: doubt; uncertainty)
7. ถนี ะ (ความหดห,ู ความทอแทถ ดถอย — Thãna: sloth)
8. อทุ ธัจจะ (ความฟุงซา น — Uddhacca: restlessness)
9. อหิริกะ (ความไมละอายตอความชว่ั — Ahirika: shamelessness)
10. อโนตตปั ปะ (ความไมเกรงกลวั ตอความช่ัว — Anottappa: lack of moral dread)
สบิ อยา งนี้ ในบาลีเดิมเรยี กวา กเิ ลสวตั ถุ (สิง่ กอความเศราหมอง) 10
Vbh.391. อภิ.ว.ิ 35/1026/528.
[319] กุศลกรรมบถ 101 (ทางแหงกศุ ลกรรม, ทางทาํ ความดี, กรรมดีอันเปน ทางนาํ ไป
สูสคุ ติ — Kusala-kammapatha: wholesome course of action) วาโดยหัวขอ ยอ ดงั นี้
ก. กายกรรม 3 (การกระทาํ ทางกาย — Kàyakamma: bodily action)
1. ปาณาติปาตา เวรมณ*ี (เวน จากปลงชีวิต — Pàõàtipàtà veramaõã: abstention from
killing)
2. อทินฺนาทานา เวรมณี (เวนจากถือเอาของทีเ่ ขามไิ ดใหโดยอาการขโมย — Adinnàdànà ~:
abstention from taking what is not given)
3. กาเมสุมจิ ฺฉาจารา เวรมณี (เวนจากประพฤติผดิ ในกาม — Kàmesumicchàcàrà ~:
abstention from sexual misconduct)
ข. วจีกรรม 4 (การกระทําทางวาจา — Vacãkamma: verbal action)
4. มุสาวาทา เวรมณี (เวนจากพดู เท็จ — Musàvàdà ~: abstention from false speech)
5. ปสุณาย วาจาย เวรมณี (เวนจากพูดสอเสียด — Pisuõàya vàcàya ~: abstention
from tale-bearing)
6. ผรุสาย วาจาย เวรมณี (เวนจากพดู คาํ หยาบ — Pharusàya vàcàya ~: abstention
from harsh speech)
7. สมผฺ ปปฺ ลาปา เวรมณี (เวน จากพดู เพอ เจอ — Samphappalàpà ~: abstention from
* เวรมณี แปลวา “เจตนาท่ที ําใหเวน” หรอื “เจตนาทีต่ รงขาม” เมือ่ จะแปลใหเตม็ ความ จึงควรแปลวา “การ
กระทาํ ทวี่ างจากการคิดเบยี ดเบยี น” หรอื “การทําดีทตี่ รงขา มกบั การเบยี ดเบยี นชีวติ ” ดงั นเ้ี ปน ตน
[320] 234 พจนานุกรมพทุ ธศาสตร
vain talk or gossip)
ค. มโนกรรม 3 (การกระทาํ ทางใจ — Manokamma: mental action)
8. อนภชิ ฺฌา (ความไมค ดิ เพง เล็งอยากไดข องเขา — Anabhijjhà: non-covetousness)
9. อพยฺ าปาท (ความไมค ดิ รายตอ ผอู นื่ — Abyàpàda: non-illwill)
10. สมฺมาทิฏ ิ (ความเหน็ ชอบ ถูกตองตามคลองธรรม — Sammàdiññhi: right view)
D.III.269,290. ที.ปา.11/360/284; 471/337.
[320] กุศลกรรมบถ 102 (ทางแหง กศุ ลกรรม, ทางทําความด,ี กรรมดอี ันเปนทางนําไป
สคู วามสขุ ความเจริญหรือสุคติ — Kusala-kammapatha: wholesome course of action) วา
โดยขอธรรมสมบูรณ (แปลตัดเอาแตใจความ) ดงั น้ี
ก. กายกรรม 3 (การกระทําทางกาย — bodily action)
1. ปาณาติปาตํ ปหาย ฯเปฯ สพฺพปาณภตู หติ านกุ มฺป โหติ (ละการฆา การเบยี ดเบียน มี
เมตตากรุณาชวยเหลือเก้ือกูลกัน — to avoid the destruction of life and be anxious for
the welfare of all lives)
2. อทนิ นฺ าทานํ ปหาย ฯเปฯ อทินฺนํ เถยฺยสงฺขาตํ อนาทาตา โหติ (ละอทนิ นาทาน
เคารพกรรมสิทธใ์ิ นทรัพยสนิ ของผอู ืน่ — to avoid stealing, not violating the right to
private property of others)
3. กาเมสุมิจฺฉาจารํ ปหาย ฯเปฯ น จารติ ฺตํ อาปชฺชติ า โหติ (ละการประพฤติผดิ ในกาม
ไมลว งละเมดิ ประเพณีทางเพศ — to avoid sexual misconduct, not transgressing sex
morals)
ข. วจีกรรม 4 (การกระทาํ ทางวาจา — verbal action)
4. มสุ าวาทํ ปหาย ฯเปฯ น สมฺปชานมุสา ภาสิตา โหติ (ละการพดู เทจ็ ไมย อมกลา วเท็จ
เพราะเหตุตนเอง ผอู น่ื หรือเพราะเห็นแกผ ลประโยชนใดๆ — to avoid lying, not
knowingly speaking a lie for the sake of any advantage)
5. ปสณุ ํ วาจํ ปหาย ฯเปฯ สมคคฺ กรณึ วาจํ ภาสติ า โหติ (ละการพดู คําสอเสียด ชวย
สมานคนที่แตกราวกัน สงเสริมคนที่สมัครสมานกนั ชอบกลา วถอ ยคาํ ที่สรา งสามัคคี — to
avoid malicious speech, unite the discordant, encourage the united and utter
speech that makes for harmony)
6. ผรสุ ํ วาจํ ปหาย ฯเปฯ พหชุ นมนาปา ตถารปู วาจํ ภาสิตา โหติ (ละคาํ หยาบ พูดแต
คาํ สุภาพออ นหวาน — to avoid harsh language and speak gentle, loving, courteous,
dear and agreeable words)
7. สมผฺ ปปฺ ลาป ปหาย ฯเปฯ กาลวาที ภตู วาที อตถฺ วาที ธมมฺ วาที วนิ ยวาที นธิ านวตึ
วาจํ ภาสติ า โหติ ฯเปฯ (ละการพูดเพอ เจอ พูดแตคาํ จริง มเี หตุผล มีสารประโยชน ถูก
หมวด 10 235 [321]
กาลเทศะ — to avoid frivolous talk; to speak at the right time, in accordance with
facts, what is useful, moderate and full of sense)
ค. มโนกรรม 3 (การกระทาํ ทางใจ — mental action)
8. อนภชิ ฺฌาลุ โหติ ฯเปฯ (ไมเพงเลง็ อยากไดข องผูอื่น — to be without covetousness)
9. อพยฺ าปนฺนจติ ฺโต โหติ ฯเปฯ สขุ ี อตฺตานํ ปริหรนฺตตู ิ (ไมม ีจิตคดิ ราย คิดปรารถนา
แตว า ขอใหส ัตวท ้งั หลายไมมเี วร ไมเ บียดเบยี น ไมมีทกุ ข ครองตนอยเู ปน สขุ เถดิ — to be free
from ill-will, thinking, ‘Oh, that these beings were free from hatred and ill- will,
and would lead a happy life free from trouble.’)
10. สมมฺ าทฏิ โิ ก โหติ ฯเปฯ สยํ อภิ ฺ า สจฉฺ กิ ตวฺ า ปเวเทนตฺ ตี ิ (มคี วามเหน็ ชอบ เชน
วา ทานมผี ล การบชู ามผี ล ผลวบิ ากของกรรมดกี รรมชวั่ มี เปน ตน — to possess right view
such as that gifts, donations and offerings are not fruitless and that there are
results of wholesome and unwholesome actions)
กศุ ลกรรมบถหมวดนี้ ในบาลีเรียกชือ่ หลายอยาง เชนวา ธรรมจริยา (ความประพฤติธรรม
— righteous conduct) บา ง โสไจย (ความสะอาดหรอื เครอ่ื งชาํ ระตวั — cleansing) บา ง อรยิ -
ธรรม (อารยธรรม, ธรรมของผเู จรญิ — virtues of a noble or civilized man) บา ง อรยิ มรรค
(มรรคาอนั ประเสรฐิ — the noble path) บา ง สทั ธรรม (ธรรมด,ี ธรรมแท — good law; true
law) บา ง สปั ปรุ สิ ธรรม (ธรรมของสตั บรุ ษุ — qualities of a good man) บา ง ฯลฯ
M.I.287; A.V.266,275–278. ม.ม.ู 12/485/523; อง.ฺ ทสก.24/165/287; 168–181/296–300.
[321] อกุศลกรรมบถ 10 (ทางแหง อกศุ ลกรรม, ทางทาํ ความชว่ั , กรรมช่ัวอันเปน ทาง
นาํ ไปสคู วามเสอ่ื ม ความทุกข หรือทุคติ — Akusala-kammapatha: unwholesome course
of action)
ก. กายกรรม 3 (การกระทําทางกาย — Kàyakamma: bodily action)
1. ปาณาตบิ าต (การทาํ ชวี ติ ใหต กลว ง, ปลงชวี ติ — Pàõàtipàta: destruction of life; killing)
2. อทนิ นาทาน (การถือเอาของที่เขามิไดใ ห โดยอาการขโมย, ลกั ทรพั ย — Adinnàdàna:
taking what is not given; stealing)
3. กาเมสุมิจฉาจาร (ความประพฤติผิดในกาม — Kàmesumicchàcàra: sexual
misconduct)
ข. วจีกรรม 4 (การกระทําทางวาจา — Vacãkamma: verbal action)
4. มุสาวาท (การพดู เทจ็ — Musàvàda: false speech)
5. ปสุณาวาจา (วาจาสอเสยี ด — Pisuõàvàcà: tale-bearing; malicious speech)
6. ผรสุ วาจา (วาจาหยาบ — Pharusavàcà: harsh speech)
7. สัมผัปปลาปะ (คาํ พดู เพอ เจอ — Samphappalàpa: frivolous talk; vain talk; gossip)
[322] 236 พจนานุกรมพุทธศาสตร
ค. มโนกรรม 3 (การกระทําทางใจ — Manokamma: mental action)
8. อภิชฌา (เพง เลง็ อยากไดข องเขา — Abhijjhà: covetousness; avarice)
9. พยาบาท (คดิ รา ยผูอ่ืน — Byàpàda: illwill)
10. มจิ ฉาทิฏฐิ (เห็นผดิ จากคลองธรรม — Micchàdiññhi: false view; wrong view)
D.III.269,290; A.V.264. ท.ี ปา.11/359/284; 470/337; องฺ.ทสก.24/165/285.
[322] เถรธรรม 10 (คณุ ธรรมทีท่ ําใหพ ระเถระอยสู ําราญในที่ทุกสถาน — Thera-
dhamma: qualities which make for happy living of an elder monk)
1. เถโร รตฺตฺู (เปนผูใหญ บวชนาน รเู ห็นกิจการ ทรงจาํ เรื่องราวไวไดมาก — Thero
ratta¤¤å: to be an elder monk of long experience)
2. สลี วา (มศี ลี เครง ครดั ในสิกขาบททงั้ หลาย — Sãlavà: to be virtuous; to have good
conduct)
3. พหุสฺสุโต (เปนพหสู ตู ทรงความรู — Bahussuto: to be much learned)
4. สฺวาคตปาฏิโมกโฺ ข (ทรงปาฏิโมกข รูห ลักแหงวินยั แคลวคลอ ง ชาํ นชิ ํานาญ สามารถ
วินจิ ฉัยไดด วยดี — Svàgatapàñimokkho: to be well versed in the codes of discipline)
5. อธิกรณสมปุ ฺปาทวปู สมกุสโล (ฉลาดในการระงับอธกิ รณท ่ีเกิดขึน้ — Adhikaraõa-
samuppàdavåpasamakusalo: to be skilled in settling a legal question that has
arisen)
6. ธมฺมกาโม (เปน ผูใครธรรม รกั ความรู รักความจริง รจู ักรับฟงและรูจักพดู ทาํ ใหเ ปน ทีช่ ื่น
ชมสนิทสนมสบายใจ นาเขาไปปรึกษาสนทนา และชอบศกึ ษา ยนิ ดปี รดี าในหลักธรรมหลักวินยั ที่
ยิง่ ๆ ขนึ้ ไป — Dhammakàmo: to love the Dhamma, be pleasant to consult and
converse with, and find joy in the advanced teaching of both the Doctrine and
the Discipline)
7. สนฺตฏุ โ (เปนผสู ันโดษดว ยปจจยั สต่ี ามมีตามได — Santuññho: to be content with
whatsoever supply of the four requisites he may get)
8. ปาสาทโิ ก (จะไปจะมา มีอาการกริ ิยานาเล่ือมใส แมเ ขาไปในละแวกบาน กส็ าํ รวมเปนอันดี
— Pàsàdiko: to be charming and perfectly composed in his goings out and
comings in and in sitting in the house)
9. ฌานลาภี (ไดแ คลวคลอ งในฌาน 4 ท่เี ปนเคร่ืองอยสู ขุ สบายในปจ จบุ ัน — Jhànalàbhã: to
be able to gain pleasure of the Four Absorptions)
10. วิมุตฺโต (บรรลุเจโตวมิ ุตตปิ ญ ญาวิมุตติ สนิ้ อาสวะ — Vimutto: to have gained the
Deliverance)
A.V.201. องฺ.ทสก.24/98/215.
หมวด 10 237 [323]
[323] ทศพลญาณ (บาลีเรยี ก ตถาคตพลญาณ 10 คอื พระญาณอันเปน กําลงั ของพระ
ตถาคต 10 ประการ ทท่ี าํ ใหพระองคสามารถบันลือสีหนาท ประกาศพระศาสนาไดมัน่ คง —
Dasa-bala¤àõa: the Ten Powers of the Perfect One)
1. ฐานาฐานญาณ (ปรีชาหยง่ั รูฐ านะและอฐานะ คือ รูก ฎธรรมชาติเกย่ี วกับขอบเขตและขดี ขั้น
ของส่ิงท้ังหลายวา อะไรเปนไปได อะไรเปน ไปไมไ ด และแคไ หนเพยี งไร โดยเฉพาะในแงความ
สัมพนั ธระหวางเหตกุ บั ผล และกฎเกณฑทางจริยธรรม เกยี่ วกบั สมรรถวิสยั ของบุคคล ซ่งึ จะได
รบั ผลกรรมท่ีดแี ละช่วั ตางๆ กัน — òhànàñhàna-¤àõa: knowledge of instance and no
instance; knowledge of possibilities and impossibilities)
2. กรรมวปิ ากญาณ (ปรชี าหยง่ั รูผลของกรรม คอื สามารถกาํ หนดแยกการใหผ ลอยา งสลบั
ซบั ซอน ระหวา งกรรมดกี บั กรรมช่ัว ทสี่ มั พันธก บั ปจ จยั แวดลอ มตา งๆ มองเห็นรายละเอียดและ
ความสัมพันธภายในกระบวนการกอผลของกรรมอยางชัดเจน — Kammavipàka-¤àõa:
knowledge of the ripening of action; knowledge of the results of kamma)
3. สัพพตั ถคามนิ ปี ฏิปทาญาณ (ปรชี าหยั่งรขู อปฏบิ ัตทิ ่ีจะนาํ ไปสูคติท้งั ปวง คอื สุคติ ทุคติ
หรอื พน จากคติ หรอื ปรชี าหยง่ั รขู อ ปฏบิ ตั ทิ จ่ี ะนาํ ไปสอู รรถประโยชนท ง้ั ปวง กลา วคอื ทฏิ ฐธมั มกิ ตั ถะ
สมั ปรายิกตั ถะ หรอื ปรมัตถะ คอื รวู า เมอ่ื ปรารถนาจะเขาถงึ คติหรอื ประโยชนใด จะตองทําอะไร
บา ง มรี ายละเอียดวิธีปฏิบตั อิ ยา งไร — Sabbatthagàminãpañipadà-¤àõa: knowledge of
the way that leads anywhere; knowledge of the practices leading to all destinies
and all goals)
4. นานาธาตญุ าณ (ปรีชาหย่ังรูสภาวะของโลกอันประกอบดว ยธาตตุ างๆ เปน อเนก คอื รู
สภาวะของธรรมชาติ ทัง้ ฝายอปุ าทนิ นกสังขารและฝา ยอนปุ าทินนกสังขาร เชน รูจ กั สวนประกอบ
ตา งๆ ของชีวติ สภาวะของสว นประกอบเหลานน้ั พรอ มท้งั ลกั ษณะและหนา ทข่ี องมนั แตล ะอยาง
อาทิการปฏบิ ตั หิ นา ทข่ี องขันธ อายตนะ และธาตุตางๆ ในกระบวนการรับรู เปนตน และรเู หตุ
แหงความแตกตา งกนั ของสิง่ ทัง้ หลายเหลา นั้น — Nànàdhàtu-¤àõa: knowledge of the
world with its many different elements)
5. นานาธิมุตตกิ ญาณ (ปรีชาหย่งั รูอ ธมิ ตุ ิ คอื รอู ธั ยาศยั ความโนมเอียง ความเช่ือถือ แนว
ความสนใจ เปนตน ของสัตวท้ังหลายที่เปนไปตางๆ กัน — Nànàdhimuttika-¤àõa:
knowledge of the different dispositions of beings)
6. อนิ ทรยิ ปโรปริยตั ตญาณ (ปรีชาหย่ังรคู วามย่ิงและหยอ นแหง อนิ ทรยี ข องสัตวท ้ังหลาย คอื
รวู า สตั วนนั้ ๆ มศี รัทธา วริ ยิ ะ สติ สมาธิ ปญญา แคไ หน เพียงใด มกี เิ ลสมาก กเิ ลสนอ ย มี
อินทรียออน หรือแกกลา สอนงาย หรือสอนยาก มีความพรอมท่ีจะตรัสรูหรือไม —
Indriyaparopariyatta-¤àõa: knowledge of the state of faculties of beings;
knowledge of the inferiority and superiority of the controlling faculties of various
beings; knowledge as regards maturity of persons)
[324] 238 พจนานกุ รมพุทธศาสตร
7. ฌานาทสิ งั กิเลสาทิญาณ (ปรชี าหยง่ั รูความเศราหมอง ความผองแผว การออกแหง ฌาน
วโิ มกข สมาธิ และสมาบตั ทิ ง้ั หลาย — Jhànàdisaïkilesàdi-¤àõa: knowledge of defilement,
cleansing and emergence in the cases of the meditations, liberations, concen-
trations and attainments)
8. ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ (ปรีชาหย่ังรูอันทําใหระลึกภพท่ีเคยอยูในหนหลังได —
Pubbenivàsànussati-¤àõa: knowledge of the remembrance of former existences)
9. จตุ ูปปาตญาณ (ปรชี าหย่งั รูจุติและอุบัตขิ องสัตวท้ังหลายอนั เปน ไปตามกรรม — Cutå-
papàta-¤àõa: knowledge of the decease and rebirth of beings)
10. อาสวักขยญาณ (ปรีชาหยง่ั รคู วามสนิ้ ไปแหงอาสวะทั้งหลาย — âsavakkhaya-¤àõa:
knowledge of the exhaustion of mental intoxicants)
M.I.69; A.V.33; Vbh.336. ม.ม.ู 12/166/140; อง.ฺ ทสก.24/21/35; อภิ.ว.ิ 35/839/454.
[,,,] ทศพิธราชธรรม ดู [326] ราชธรรม 10.
[,,,] ธรรมจริยา 10 เปนอกี ช่อื หน่งึ ของ [320] กุศลกรรมบถ 10 2.
[,,,] ธรรมมีอุปการะมาก 10 ดู [324] นาถกรณธรรม 10.
[324] นาถกรณธรรม 10 (ธรรมอนั กระทําท่พี ่งึ , ธรรมสรา งทพี่ ่งึ , คณุ ธรรมที่ทาํ ใหต น
เปนที่พึง่ ของตนได — Nàthakaraõa-dhamma: virtues which make for protection)
1. สลี (ความประพฤตดิ งี ามสจุ รติ รกั ษาระเบยี บวนิ ยั มอี าชวี ะบรสิ ทุ ธิ์ — Sãla: good conduct;
keeping moral habits)
2. พาหสุ จจฺ (ความเปนผไู ดศึกษาเลา เรียนมาก มคี วามรคู วามเขาใจลึกซ้ึง — Bàhusacca:
great learning)
3. กลยฺ าณมติ ตฺ ตา (ความมกี ลั ยาณมติ ร, การคบคนดี ไดที่ปรกึ ษา และผแู นะนาํ ส่งั สอนทดี่ ี
— Kalyàõamittatà: good company; association with good people)
4. โสวจสฺสตา (ความเปน ผูว างา ยสอนงาย รับฟงเหตผุ ล — Sovacassatà: amenability to
correction; meekness; easy admonishability)
5. กงิ กฺ รณเี ยสุ ทกฺขตา (ความเอาใจใสชวยขวนขวายในกิจใหญน อ ยทุกอยางของเพอ่ื นรวม
หมคู ณะ รจู ักพจิ ารณาไตรตรอง สามารถจดั ทําใหส าํ เร็จเรียบรอ ย — Kiïkaraõãyesu dakkhatà:
willingness to give a helping hand; diligence and skill in managing all affairs of
one’s fellows in the community)
6. ธมฺมกามตา (ความเปนผูใครธ รรม คอื รกั ธรรม ใฝความรใู ฝความจริง รูจกั พูดรูจ ักรับฟง
ทําใหเกิดความพอใจ นารวมปรึกษาสนทนา ชอบศึกษา ยินดีปรีดาในหลักธรรมหลกั วินยั ท่ี
ละเอยี ดลึกซึ้งยิ่งๆ ขึ้นไป — Dhammakàmatà: love of truth; to love the Dhamma, be
หมวด 10 239 [325]
pleasant to consult and converse with and rejoice in the advanced teaching of
both the Doctrine and the Discipline)
7. วริ ยิ ารมภฺ (ความขยนั หมนั่ เพยี ร คอื เพยี รละความชวั่ ประกอบความดี มใี จแกลว กลา บากบน่ั
กา วหนา ไมย อ ทอ ไมท อดทง้ิ ธรุ ะ — Viriyàrambha: energy; effort; energetic exertion)
8. สนฺตฏุ ี (ความสนั โดษ คอื ยนิ ดี มคี วามสขุ ความพอใจดว ยปจ จยั สที่ หี่ ามาไดด ว ยความเพยี ร
อันชอบธรรมของตน — Santuññhã: contentment)
9. สติ (ความมสี ติ รจู ักกาํ หนดจดจํา ระลกึ การทที่ าํ คาํ ท่พี ูดไวได เปนอยูอ ยา งไมประมาท —
Sati: mindfulness; ability to remember what one has done and spoken)
10. ปฺา (ความมีปญญาหย่งั รูเ หตุผล รูจกั คิดพิจารณา เขา ใจภาวะของสิ่งทงั้ หลายตามความ
เปน จริง — Pa¤¤à: wisdom; insight)
นาถกรณธรรมน้ี ทานเรียกวา เปน พหุการธรรม หรือ ธรรมมีอปุ การะมาก เพราะเปน
กําลังหนนุ ในการบาํ เพญ็ คุณความดที ง้ั หลาย ยงั ประโยชนต นและประโยชนผ ูอน่ื ใหส ําเรจ็ ไดอ ยา ง
กวางขวางไพบูลย
D.III.266,290; A.V.23. ที.ปา.11/357/281; 466/334; องฺ.ทสก.24/17/25.
[325] บารมี 10 หรอื ทศบารมี (ปฏปิ ทาอนั ยวดยิ่ง, คุณธรรมท่ีประพฤตปิ ฏบิ ตั ิอยา ง
ยงิ่ ยวด คอื ความดที บ่ี าํ เพญ็ อยา งพเิ ศษ เพอื่ บรรลซุ ง่ึ จดุ หมายอนั สงู เชน ความเปน พระพทุ ธเจา
และความเปนมหาสาวก เปน ตน — Pàramã: perfections)
1. ทาน (การให การเสียสละ — Dàna: giving; charity; generosity; liberality)
2. ศีล (การรกั ษากายวาจาใหอ ยูใ นหลกั ความประพฤติทเี่ ปนแบบแผนแหงภาวะของตน, ความ
ประพฤตดิ งี ามถกู ตอ งตามระเบยี บวินยั —Sãla: morality; good conduct)
3. เนกขัมมะ (การออกบวช, ความปลีกตัวปลกี ใจจากกาม — Nekkhamma: renunciation)
4. ปญ ญา (ความรอบร,ู ความหยัง่ รเู หตุผล เขา ใจสภาวะของส่งิ ท้ังหลายตามความเปน จรงิ และ
รจู ักแกไ ขปฏบิ ตั ิจัดการตางๆ — Pa¤¤à: wisdom; insight; understanding)
5. วิรยิ ะ (ความเพียร, ความแกลวกลา ไมเ กรงกลวั อปุ สรรค พยายามบากบ่นั อตุ สาหะ กา วหนา
เร่อื ยไป ไมท อดทิ้งธุระหนาที่ — Viriya: energy; effort; endeavour)
6. ขันติ (ความอดทน, ความทนทานของจิตใจ สามารถใชส ติปญ ญาควบคุมตนใหอ ยใู นอํานาจ
เหตุผล และแนวทางความประพฤติหรือการปฏิบตั ิ ที่ตง้ั ไวเพือ่ จุดหมายอนั ชอบ ไมลุอํานาจกเิ ลส
— Khanti: forbearance; tolerance; endurance)
7. สัจจะ (ความจริง คอื พูดจริง ทาํ จริง และจริงใจ — Sacca: truthfulness)
8. อธษิ ฐาน (ความตงั้ ใจม่นั , การตัดสินใจเด็ดเดีย่ ว วางจุดหมายแหงการกระทาํ ของตนไวแ น
นอน และดาํ เนนิ ตามนัน้ แนว แน — Adhiññhàna: resolution; self-determination)
9. เมตตา (ความรักใคร, ความปรารถนาดี มีไมตรี คิดเกื้อกลู ใหผูอ่นื และเพ่ือนรวมโลกทั้งปวง
[326] 240 พจนานกุ รมพุทธศาสตร
มีความสุขความเจริญ — Mettà: loving-kindness; friendliness)
10.อเุ บกขา (ความวางใจเปน กลาง, ความวางใจสงบราบเรยี บสมาํ่ เสมอ เทยี่ งธรรม และดาํ รงอยู
ในธรรม ไมเอนเอยี งหรือหว่นั ไหวไปดวยความยินดียนิ รา ยชอบชังหรอื แรงเยา ยวนย่ัวยุใดๆ —
Upekkhà: equanimity; indifference to praise and blame in the performance of duty)
ทศบารมีนี้ เรยี งตามท่ถี ือวาไดบ ําเพญ็ ในทศชาติ (จดั แบบไทย) ดงั น้ี
1. พระเตมีย — เนกขัมมะ (ขอท่ี 3) 2. พระมหาชนก — วิริยะ (5)
3. พระสุวรรณสาม — เมตตา (9) 4. พระเนมิราช — อธษิ ฐาน (8)
5. พระมโหสถ — ปญ ญา (4) 6. พระภูริทัตต — ศีล (2)
7. พระจนั ทกมุ าร — ขนั ติ (6) 8. พระนารทะ — อุเบกขา (10)
9. พระวธิ ุระ — สจั จะ (7) 10. พระเวสสันดร — ทาน (1)
บารมีน้นั ทานกลาววา จะบาํ เพ็ญใหบ รบิ ูรณ ตอ งครบ 3 ขั้น คือ
1. บารมี (ระดับสามญั เชน ทานบารมี ไดแ ก ใหทรัพยส นิ เงินทอง สมบัตนิ อกกาย — Pàramã:
ordinary perfections)
2. อุปบารมี (ระดับรองหรือจวนจะสูงสุด เชน ทานอปุ บารมี ไดแก การเสียสละอวัยวะเปนทาน
— Upapàramã: superior perfections)
3. ปรมตั ถบารมี (ระดับสูงสดุ เชน ทานปรมตั ถบารมี ไดแก การสละชีวิตเพอ่ื ประโยชนแกผู
อ่ืน — Paramatthapàramã: supreme perfections)
บําเพ็ญทั้ง 10 บารมี ครบ 3 ขน้ั น้ี เรียกวา สมตสึ ปารมี หรอื สมดึงสบารมี แปลวา “บารมี
30 ถว น”.
Bv.6. ขุ.พทุ ธ.33/1/414; ขุ.จรยิ า.33/36/596.
[,,,] บุญกิริยาวัตถุ 10 ดู [89] บุญกริ ิยาวตั ถุ 10.
[,,,] ปพพชิตอภิณหปจจเวกขณ 10 ดู [248] ปพ พชติ อภณิ หปจ จเวกขณ 10.
[,,,] มิจฉัตตะ ดู [334] มจิ ฉตั ตะ 10.
[,,,] มูลเหตุการบัญญัติพระวินัย 10 ดู [327] วัตถุประสงคใ นการบัญญตั ิ
พระวนิ ยั 10.
[326] ราชธรรม 10 หรอื ทศพิธราชธรรม (ธรรมของพระราชา, กจิ วตั รทพ่ี ระเจา
แผน ดนิ ควรประพฤต,ิ คณุ ธรรมของผปู กครองบา นเมอื ง, ธรรมของนกั ปกครอง — Ràjadhamma:
virtues or duties of the king; royal virtues; virtues of a ruler)
1. ทาน (การให คอื สละทรพั ยส่งิ ของ บํารงุ เลยี้ ง ชวยเหลือประชาราษฎร และบําเพญ็
สาธารณประโยชน — Dàna: charity; liberality; generosity)
2. ศลี (ความประพฤติดงี าม คอื สํารวมกายและวจที วาร ประกอบแตก ารสุจริต รักษากิตติคุณ
หมวด 10 241 [327]
ใหควรเปนตัวอยาง และเปนทเี่ คารพนบั ถอื ของประชาราษฎร มิใหมขี อทใ่ี ครจะดูแคลน — Sãla:
high moral character)
3. ปรจิ จาคะ (การบรจิ าค คอื เสยี สละความสขุ สาํ ราญ เปน ตน ตลอดจนชวี ติ ของตน เพอ่ื
ประโยชนส ขุ ของประชาชน และความสงบเรยี บรอ ยของบา นเมอื ง — Pariccàga: self-sacrifice)
4. อาชชวะ (ความซ่อื ตรง คือ ซอื่ ตรงทรงสัตยไ รม ารยา ปฏิบัตภิ ารกิจโดยสุจริต มีความจริงใจ
ไมห ลอกลวงประชาชน — âjjava: honesty; integrity)
5. มัททวะ (ความออนโยน คือ มอี ธั ยาศยั ไมเยอหย่ิงหยาบคายกระดา งถือองค มคี วามงามสงา
เกิดแตทวงทีกิริยาสุภาพนุมนวล ละมุนละไม ใหไดความรักภักดี แตมิขาดยําเกรง —
Maddava: kindness and gentleness)
6. ตปะ (ความทรงเดช คือ แผดเผากเิ ลสตัณหา มใิ หเขามาครอบงาํ ยํา่ ยจี ติ ระงับยบั ยั้งขมใจได
ไมย อมใหหลงใหลหมกมุน ในความสุขสําราญและความปรนเปรอ มีความเปนอยสู มาํ่ เสมอ หรือ
อยา งสามญั มุงมนั่ แตจ ะบาํ เพ็ญเพียร ทาํ กิจใหบ รบิ ูรณ — Tapa: austerity; self-control;
non-indulgence)
7. อักโกธะ (ความไมโกรธ คอื ไมก ริ้วกราดลอุ าํ นาจความโกรธ จนเปน เหตุใหว ินจิ ฉัยความและ
กระทําการตา งๆ ผดิ พลาดเสยี ธรรม มเี มตตาประจําใจไวระงับความเคอื งขุน วินจิ ฉยั ความและ
กระทาํ การดว ยจติ อันราบเรยี บเปน ตัวของตนเอง — Akkodha: non-anger; non-fury)
8. อวหิ งิ สา (ความไมเ บยี ดเบยี น คอื ไมบ บี คนั้ กดขี่ เชน เกบ็ ภาษขี ดู รดี หรอื เกณฑแ รงงานเกนิ
ขนาด ไมห ลงระเรงิ อาํ นาจ ขาดความกรณุ า หาเหตเุ บยี ดเบยี นลงโทษอาชญาแกป ระชาราษฎรผ ใู ด
เพราะอาศยั ความอาฆาตเกลยี ดชงั — Avihi§sà: non-violence; non-oppression)
9. ขันติ (ความอดทน คือ อดทนตองานท่ีตรากตรํา ถงึ จะลาํ บากกายนาเหนอ่ื ยหนา ยเพยี งไร ก็
ไมท อถอย ถึงจะถกู ย่ัวถกู หยันดวยคาํ เสยี ดสีถากถางอยา งใด ก็ไมห มดกาํ ลังใจ ไมย อมละทิง้
กรณยี ท ีบ่ าํ เพญ็ โดยชอบธรรม — Khanti: patience; forbearance; tolerance)
10. อวโิ รธนะ (ความไมค ลาดธรรม คอื วางองคเ ปน หลกั หนกั แนน ในธรรม คงทไี่ มม คี วามเอน
เอยี งหวนั่ ไหวเพราะถอ ยคาํ ทด่ี รี า ย ลาภสกั การะ หรอื อฏิ ฐารมณ อนฏิ ฐารมณใ ดๆ สถติ มนั่ ในธรรม
ทงั้ สว นยตุ ธิ รรม คอื ความเทย่ี งธรรม กด็ ี นติ ธิ รรม คอื ระเบยี บแบบแผนหลกั การปกครอง ตลอด
จนขนบธรรมเนยี มประเพณอี นั ดงี าม กด็ ี ไมป ระพฤตใิ หเ คลอ่ื นคลาดวบิ ตั ไิ ป — Avirodhana: non-
deviation from righteousness; conformity to the law)
ราชธรรม 10 นี้ พงึ จดจาํ งา ยๆ โดยคาถาในบาลี ดงั นี้
ทานํ สีลํ ปรจิ ฺจาคํ อาชชฺ วํ มทฺทวํ ตป
อกโฺ กธํ อวิหึสฺจ ขนฺติฺจ อวิโรธน.ํ
J.V.378. ขุ.ชา.28/240/86.
[327] วัตถุประสงคในการบัญญัติพระวินัย 10 (เหตุผลที่พระพุทธเจา
[327] 242 พจนานุกรมพุทธศาสตร
ทรงปรารภหรือประโยชนท่ีทรงประสงค ในการทรงบัญญัติสิกขาบทแกพระสงฆสาวก —
Sikkhàpada-pa¤¤atti atthavasa: reasons for laying down the course of training for
monks; purposes of monastic legislation)
ก. วา ดวยประโยชนแ กส งฆหรือสว นรวม
1. สงฺฆสุฏตุ าย (เพอื่ ความรบั วาดีแหง สงฆ คอื เพ่อื ความเรียบรอยดีงามแหงสงฆ ซ่ึงไดทรง
ช้ีแจงใหมองเหน็ คณุ โทษแหง ความประพฤตนิ ัน้ ๆ ชัดเจนแลว จงึ ทรงบัญญตั สิ ิกขาบทข้นึ ไวโ ดย
ความเหน็ ชอบรว มกนั — for the excellence of the unanimous Order)
2. สงฆฺ ผาสตุ าย (เพือ่ ความผาสุกแหง สงฆ — for the comfort of the Order)
ข. วา ดวยประโยชนแกบุคคล
3. ทมุ มฺ งกฺ นู ํ ปคุ คฺ ลานํ นคิ คฺ หาย (เพอ่ื ขม บคุ คลผเู กอ ยาก คอื เพอ่ื กาํ ราบคนผดู า น ประพฤติ
ทราม — for the control of shameless persons)
4. เปสลานํ ภกิ ขฺ นู ํ ผาสวุ หิ าราย (เพื่อความอยูผาสกุ แหง เหลาภิกษุผูม ศี ีลดีงาม — for the
living in comfort of well-behaved monks)
ค. วาดว ยประโยชนแ กความบริสทุ ธ์ิ หรอื แกช ีวิต ทัง้ ทางกายและทางใจ
5. ทฏิ ธมมฺ กิ านํ อาสวานํ สวํ ราย (เพอ่ื ปด กนั้ อาสวะทง้ั หลายอนั จะบงั เกดิ ในปจ จบุ นั คอื เพอ่ื
ระวงั ปด ทางความเสอ่ื มเสยี ความทกุ ข ความเดอื ดรอ น ทจ่ี ะมใี นปจ จบุ นั — for the restraint of
the cankers in the present; for the prevention of temporal decay and troubles)
6. สมปฺ รายกิ านํ อาสวานํ ปฏฆิ าตาย (เพอื่ บาํ บดั อาสวะทง้ั หลายอนั จะบงั เกดิ ในอนาคต คอื
เพอื่ ปอ งกนั มใิ หเ กดิ ความเสอื่ มเสยี ความทกุ ขค วามเดอื ดรอ น ทจ่ี ะมมี าในภายหนา หรอื ภพหนา —
for warding off the cankers in the hereafter; for protection against spiritual decay
and troubles)
ง. วา ดวยประโยชนแ กประชาชน
7. อปปฺ สนนฺ านํ ปสาทาย (เพอ่ื ความเลอ่ื มใสของชมุ ชนทยี่ งั ไมเ ลอ่ื มใส — for the confidence
of those who have not yet gained confidence)
8. ปสนนฺ านํ ภยิ โฺ ยภาวาย (เพื่อความเล่ือมใสย่ิงข้นึ ไปของชมุ ชนทเี่ ล่ือมใสแลว — for the
increase of the confidence of the confident)
จ. วา ดว ยประโยชนแ กพ ระศาสนา
9. สทธฺ มมฺ ฏ ิตยิ า (เพอื่ ความตงั้ มนั่ แหง สทั ธรรม — for the lastingness of the true doctrine)
10. วนิ ยานคุ คฺ หาย (เพอ่ื อนเุ คราะหว นิ ยั คอื ทาํ ใหม บี ทบญั ญตั สิ าํ หรบั ใชเ ปน หลกั เกณฑจ ดั ระเบยี บ
ของหมู สนบั สนนุ ความมวี นิ ยั ใหห นกั แนน มนั่ คงยง่ิ ขนึ้ — for the support of the discipline)
Vin.III.20; A.V.70. วินย.1/20/37; องฺ.ทสก.24/31/74.
[,,,] วิปสสนาญาณ 10 ดู [311] วปิ ส สนาญาณ 9.
หมวด 10 243 [329]
[328] วิปสสนูปกิเลส 10 (อุปกิเลสแหง วปิ ส สนา, ธรรมารมณทเ่ี กิดแกผ ไู ดต รุณ-
วิปสสนา หรอื วปิ ส สนาออ นๆ ทาํ ใหเขา ใจผิดวา ตนบรรลุมรรคผลแลว เปน เหตุขัดขวางใหไ มก า ว
หนา ตอไปในวปิ ส สนาญาณ — Vipassanåpakilesa: imperfections or defilements of
insight)
1. โอภาส (แสงสวาง — Obhàsa: illumination; luminous aura)
2. ญาณ (ความหยง่ั รู — ¥àõa: knowledge)
3. ปติ (ความอมิ่ ใจ — Pãti: rapture; unprecedented joy)
4. ปส สัทธิ (ความสงบเย็น — Passaddhi: tranquillity)
5. สขุ (ความสุขสบายใจ — Sukha: bliss; pleasure)
6. อธโิ มกข (ความนอมใจเช่อื , ศรทั ธาแกก ลา, ความปลงใจ — Adhimokkha: fervour;
assurance; resolution)
7. ปคคาหะ (ความเพยี รท่พี อดี — Paggàha: exertion; well-exerted energy)
8. อุปฏ ฐาน (สตแิ กก ลา, สติชัด — Upaññhàna: established mindfulness)
9. อเุ บกขา (ความมีจิตเปน กลาง — Upekkhà: equanimity)
10. นกิ นั ติ (ความพอใจ, ติดใจ — Nikanti: delight)
ดู [285] วิสทุ ธฺ ิ 7 โดยเฉพาะขอ 5 คือ มัคคามคั คญาณทัสสนวิสุทธิ
Vism.633. วสิ ุทธฺ .ิ 3/267.
[,,,] ศีล 10 ดู [242] ศีล 10.
[329] สังโยชน 101 (กเิ ลสอันผกู ใจสัตว, ธรรมท่ีมดั สัตวไ วก ับวฏั ฏทกุ ข หรอื ผกู กรรมไว
กบั ผล — Sa§yojana: fetters; bondage)
ก. โอรัมภาคยิ สงั โยชน 5 (สงั โยชนเ บอ้ื งต่าํ เปนอยา งหยาบ เปน ไปในภพอนั ตํ่า — Oram-
bhàgiya~: lower fetters)
1. สกั กายทฏิ ฐิ (ความเหน็ วา เปนตัวของตน เชน เห็นรปู เห็นเวทนา เหน็ วิญญาณ เปนตน
เปนตน — Sakkàyadiññhi: personality-view; false view of individuality)
2. วิจิกจิ ฉา (ความสงสัย, ความลังเล ไมแนใ จ — Vicikicchà: doubt; uncertainty)
3. สลี พั พตปรามาส (ความถอื มนั่ ศลี พรต โดยสกั วา ทาํ ตามๆ กนั ไปอยา งงมงายเหน็ วา จะบรสิ ทุ ธ์ิ
หลดุ พน ไดเ พยี งดว ยศลี และวตั ร — Sãlabbataparàmàsa: adherence to rules and rituals)
4. กามราคะ (ความกาํ หนดั ในกาม, ความตดิ ใจในกามคณุ — Kàmaràga: sensual lust)
5. ปฏฆิ ะ (ความกระทบกระทงั่ ในใจ, ความหงดุ หงดิ ขดั เคอื ง — Pañigha: repulsion; irritation)
ข. อุทธัมภาคยิ สงั โยชน 5 (สังโยชนเ บือ้ งสูง เปน อยางละเอยี ด เปน ไปแมใ นภพอันสงู —
Uddhambhàgiya~: higher fetters)
[330] 244 พจนานุกรมพุทธศาสตร
6. รปู ราคะ (ความตดิ ใจในอารมณแหง รูปฌาน หรอื ในรูปธรรมอนั ประณีต, ความปรารถนาใน
รปู ภพ — Råparàga: greed for fine-material existence; attachment to realms of form)
7. อรปู ราคะ (ความตดิ ใจในอารมณแ หง อรปู ฌาน หรอื ในอรปู ธรรม, ความปรารถนาในอรปู ภพ
— Aråparàga: greed for immaterial existence; attachment to formless realms)
8. มานะ (ความสาํ คัญตน คือ ถือตนวาเปน นั่นเปนน่ี — Màna: conceit; pride)
9. อุทธัจจะ (ความฟุงซา น — Uddhacca: restlessness; distraction)
10. อวิชชา (ความไมร ูจริง, ความหลง — Avijjà: ignorance)
สังโยชน 10 ในหมวดนี้ เปน แนวพระสตู ร หรือ สตุ ตนั ตนัย แตในบาลีแหงพระสตู รนัน้ ๆ มี
แปลกจากทีน่ เ้ี ล็กนอ ย คือ ขอ 4 เปน กามฉนั ท (ความพอใจในกาม — sensual desire) ขอ 5
เปน พยาบาท (ความขดั เคือง, ความคิดรา ย — ill-will) ใจความเหมือนกัน
ลาํ ดบั การละสงั โยชน 10 น้ี ใหดู [164] มรรค 4.
S.V.61; A.V.13; Vbh.377. ส.ํ ม.19/349/90; อง.ฺ ทสก.24/13/18; อภ.ิ ว.ิ 35/976–7/509.
[330] สังโยชน 102 (ธรรมที่มัดสตั วไวกับทุกข — Sa§yojana: fetters; bondage)
1. กามราคะ 2. ปฏฆิ ะ 3. มานะ 4. ทฏิ ฐิ (ความเหน็ ผดิ — Diññhi: false views) 5. วจิ กิ จิ ฉา
6. สลี พั พตปรามาส 7. ภวราคะ (ความตดิ ใจปรารถนาในภพ — Bhavaràga: greed for
existence) 8. อสิ สา (ความรษิ ยา — Issà: envy; jealousy) 9. มจั ฉรยิ ะ (ความตระหนี่ —
Macchariya: meanness; stinginess) 10. อวชิ ชา
สงั โยชน 10 ในหมวดนี้ เปนแนวพระอภิธรรม หรอื อภิธรรมนยั ไดแ สดงความหมายไว
เฉพาะขอทตี่ า งจากหมวดกอ น
Vbh.391. อภ.ิ ว.ิ 35/1029/528.
[331] สัญญา 10 (ความกําหนดหมาย, แนวความคดิ ความเขาใจ สาํ หรับใชกาํ หนด
พจิ ารณาในการเจริญกรรมฐาน — Sa¤¤à: perception; contemplation; ideas as objects
of meditation)
1. อนิจฺจสฺา (กาํ หนดหมายความไมเ ทย่ี งแหงสังขาร — Anicca-sa¤¤à: contemplation
on impermanency)
2. อนตตฺ สฺ า (กาํ หนดหมายความเปน อนตั ตาแหง ธรรมทง้ั ปวง — Anatta~: contemplation
on impersonality)
3. อสภุ สฺ า (กาํ หนดหมายความไมง ามแหง กาย — Asubha~: contemplation on foulness
or loathsomeness)
4. อาทนี วสฺา (กําหนดหมายโทษทกุ ขข องกายอนั มคี วามเจ็บไขตางๆ — âdãnava~:
contemplation on the disadvantages of the body)
5. ปหานสฺา (กําหนดหมายเพื่อละอกุศลวิตกและบาปธรรมท้ังหลาย — Pahàna~:
หมวด 10 245 [333]
contemplation on abandonment or overcoming)
6. วริ าคสฺ า (กาํ หนดหมายวริ าคะวา เปน ธรรมละเอยี ดประณตี — Viràga~: contemplation
on detachment)
7. นโิ รธสฺา (กําหนดหมายนิโรธวาเปน ธรรมละเอยี ดประณตี — Nirodha~: contem-
plation on cessation)
8. สพพฺ โลเก อนภริ ตสฺ า (กาํ หนดหมายความไมน า เพลดิ เพลนิ ในโลกทง้ั ปวง — Sabbaloke
anabhirata~: contemplation on the non-delightfulness of the whole world)
9. สพพฺ สงขฺ าเรสุ อนฏิ สฺ า (กาํ หนดหมายความไมน า ปรารถนาในสงั ขารทง้ั ปวง —Sabba-
saïkhàresu aniññha~: contemplation on the non-pleasantness of the whole world)
10. อานาปานสติ (สตกิ ําหนดลมหายใจเขาออก — ânàpànasati: mindfulness of in-
and out-breathing)
ในขอ 9. อนฏิ สฺ า พระบาลีเดิมเปน อนจิ จฺ สฺ า บาง อนจิ ฉฺ าสฺ า บาง.
D.III.291; A.V.109. ท.ี ปา.11/473/340; องฺ.ทสก.24/60/116.
[332] สัทธรรม 10 (ธรรมอนั ด,ี ธรรมทแ่ี ท, ธรรมของสตั บุรษุ , หลักหรอื แกน ศาสนา —
Saddhamma: true doctrine; essential Dharma)
1.–9. โลกุตตรธรรม 9 (มรรค 4 ผล 4 นิพพาน 1 — Lokuttara-dhamma: the nine
supermundane states, viz., the Four Paths, the Four Fruitions and Nibbàna)
10. ปริยตั ธิ รรม (ธรรมคอื คาํ สัง่ สอนอันจะตองเลาเรยี น กลา วคอื พทุ ธพจน — Pariyatti-
dhamma: the text to be studied, i.e. the words of the Buddha)
(ฉบบั อกั ษรโรมนั ยังไมไ ดพมิ พ) สงฺคห.ฏกี า 65.
[333] สัมมัตตะ 10 (ภาวะทถ่ี กู , ความเปน สงิ่ ทถี่ กู — Sammatta: rightness; right states)
8 ขอ ตน ตรงกบั องคม รรค 8 ขอ คอื สมั มาทฏิ ฐิ สมั มาสงั กปั ปะ สมั มาวาจา
สมั มากมั มนั ตะ สมั มาอาชวี ะ สมั มาวายามะ สมั มาสติ สมั มาสมาธิ และเพม่ิ 2 ขอ คอื
9. สมั มาญาณ (รชู อบ ไดแ ก ผลญาณ และปจ จเวกขณญาณทงั้ 19 ประเภท — Sammà¤àõa:
right knowledge; right insight)
10. สมั มาวมิ ตุ ติ (หลดุ พน ชอบ ไดแ ก อรหตั ตผลวมิ ตุ ติ — Sammàvimutti: right deliverance)
ธรรมหมวดนี้ เรียกช่อื อีกอยางวา อเสขธรรม (ธรรมของพระอเสขะ — Asekhadhamma:
qualities of the adept)
ดู [293] มรรคมอี งค 8.
D.III.271,292; M.I.42; A.V.212. ที.ปา.11/362/286; 475/342; ม.ม.ู 12/104/75; อง.ฺ ทสก.24/104/226;
ม.อ.1/260; อง.ฺ อ.2/319,474,481.
[334] 246 พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร
[334] มิจฉัตตะ 10 (ภาวะทผ่ี ดิ , ความเปน สง่ิ ทผ่ี ดิ —Micchatta: wrongness; wrong states)
1. มจิ ฉาทิฏฐิ (เห็นผดิ ไดแก ความเห็นผิดจากคลองธรรมตามหลักกศุ ลกรรมบถ และความ
เห็นที่ไมนาํ ไปสูค วามพน ทุกข — Micchàdiññhi: wrong view)
2. มจิ ฉาสงั กปั ปะ (ดาํ รผิ ดิ ไดแ ก ความดาํ รทิ ี่เปน อกศุ ลท้งั หลาย ตรงขามจากสัมมาสงั กัปปะ
— Micchàsaïkappa: wrong thought)
3. มิจฉาวาจา (วาจาผิด ไดแก วจีทจุ รติ 4 — Micchàvàcà: wrong speech)
4. มจิ ฉากัมมันตะ (กระทําผดิ ไดแก กายทุจริต 3 — Micchàkammanta: wrong action)
5. มิจฉาอาชีวะ (เล้ียงชีพผิด ไดแก เลี้ยงชีวติ ในทางทุจรติ — Micchà-àjãva: wrong
livelihood)
6. มจิ ฉาวายามะ (พยายามผดิ ไดแ ก ความเพยี รตรงขามกบั สัมมาวายามะ — Micchà-
vàyàma: wrong effort)
7. มิจฉาสติ (ระลกึ ผดิ ไดแก ความระลกึ ถึงเร่ืองราวท่ีลวงแลว เชน ระลกึ ถึงการไดท รัพย การ
ไดยศ เปน ตน ในทางอกศุ ล อันจดั เปน สตเิ ทยี ม เปน เหตุชักนําใจใหเกิดกเิ ลสมีโลภะ มานะ
อสิ สา มจั ฉริยะ เปน ตน — Micchàsati: wrong mindfulness)
8. มิจฉาสมาธิ (ต้ังจติ ผิด ไดแ ก ต้งั จติ เพง เล็ง จดจอ ปก ใจแนวแนในกามราคะ พยาบาท
เปนตน หรือเจรญิ สมาธแิ ลว หลงเพลิน ตดิ หมกมนุ ตลอดจนนาํ ไปใชผ ดิ ทาง ไมเปน ไปเพ่ือ
ญาณทสั สนะ และความหลดุ พน — Micchàsamàdhi: wrong concentration)
9. มจิ ฉาญาณ (รผู ิด ไดแก ความหลงผิดท่ีแสดงออกในการคดิ อบุ ายทาํ ความช่ัว และในการ
พิจารณาทบทวนวา ความช่วั น้นั ๆ ตนกระทําไดอ ยางดแี ลว เปน ตน — Micchà¤àõa: wrong
knowledge)
10. มิจฉาวิมุตติ (หลดุ พน ผดิ ไดแก ยงั ไมถ ึงวิมตุ ติ สาํ คญั วาถึงวิมตุ ติ หรือสําคญั ผดิ ในสิ่งท่ี
มิใชวิมุตตวิ าเปน วมิ ตุ ติ — Micchàvimutti: wrong deliverance)
D.III.290; M.I.42; A.V.212. ท.ี ปา.11/469/337; ม.มู.12/104/76; องฺ.ทสก.24/103/226; ม.อ.1/259; วิภงคฺ .อ.676.
[,,,] อกุศลกรรมบถ 10 ดู [321] อกุศลกรรมบถ 10.
[335] อนุสติ 10 (ความระลกึ ถงึ , อารมณอ นั ควรระลกึ ถงึ เนอื งๆ — Anussati: recollection;
constant mindfulness)
1. พุทธานสุ ติ (ระลกึ ถงึ พระพุทธเจา คอื นอ มจติ ระลึกถึงและพิจารณาคุณของพระองค —
Buddhànussati: recollection of the Buddha; contemplation on the virtues of the
Buddha)
2. ธมั มานสุ ติ (ระลกึ ถงึ พระธรรม คอื นอ มจติ ระลกึ ถงึ และพจิ ารณาคณุ ของพระธรรม — Dhammà-
nussati: recollection of the Dhamma; contemplation on the virtues of the Doctrine)
3. สังฆานุสติ (ระลึกถึงพระสงฆ คือ นอมจิตระลึกถึงและพิจารณาคุณของพระสงฆ —
หมวด 10 247 [336]
Saïghànussati: recollection of the Sangha; contemplation on the virtues of the Order)
4. สลี านสุ ติ (ระลกึ ถงึ ศลี คอื นอ มจติ ราํ ลกึ พจิ ารณาศลี ของตนทไี่ ดป ระพฤตปิ ฏบิ ตั ิ บรสิ ทุ ธ์ิ ไม
ดา งพรอ ย — Sãlànussati: recollection of morality; contemplation on one’s own morals)
5. จาคานุสติ (ระลึกถึงการบริจาค คอื นอ มจิตระลึกถึงทานทตี่ นไดบรจิ าคแลว และพจิ ารณา
เห็นคณุ ธรรมคอื ความเผื่อแผเ สียสละนที้ ม่ี ีในตน — Càgànussati: recollection of liberality;
contemplation on one’s own liberality)
6. เทวตานสุ ติ (ระลึกถึงเทวดา คอื นอมจิตระลกึ ถึงเทวดาทง้ั หลายท่ีตนเคยรู และพจิ ารณา
เหน็ คณุ ธรรมอนั ทาํ บุคคลใหเ ปนเทวดาน้นั ๆ ตามทีม่ ีอยใู นตน — Devatànussati: recollection
of deities; contemplation on the virtues which make people become gods as can
be found in oneself)
7. มรณสติ (ระลึกถงึ ความตายอนั จะตองมีมาถึงตนเปนธรรมดา พิจารณาทจ่ี ะใหเกิดความไม
ประมาท — Maraõassati: mindfulness of death; contemplation on death)
8. กายคตาสติ (สติอันไปในกาย คือ กาํ หนดพิจารณากายนี้ ใหเหน็ วาประกอบดวยสวนตางๆ
อันไมสะอาด ไมงาม นารังเกียจ เปนทางรูเ ทา ทนั สภาวะของกายนี้ มใิ หหลงใหลมัวเมา —
Kàyagatà-sati: mindfulness occupied with the body; contemplation on the 32
impure parts of the body)
9. อานาปานสติ (สตกิ าํ หนดลมหายใจเขา ออก — ânàpànasati: mindfulness on breathing)
10. อปุ สมานสุ ติ (ระลกึ ถงึ ธรรมเปน ทส่ี งบ คอื ระลกึ ถงึ และพจิ ารณาคณุ ของพระนพิ พาน อนั
เปน ทรี่ ะงบั กเิ ลสและความทกุ ข — Upasamànussati: recollection of peace; contemplation
on the virtue of Nibbàna)
ดู [354] กรรมฐาน 40.
A.I.30,41; Vism.197. อง.ฺ เอก.20/179–180/39–40; 224/54; วิสุทธฺ ิ.1/251.
[,,,] อภิณหปจจเวกขณ 10 ดู [248] ปพพชติ อภณิ หปจ จเวกขณ 10.
[,,,] อเสขธรรม 10 ดู [333] สัมมตั ตะ 10.
[336] อสุภะ 10 (สภาพอนั ไมง าม, ซากศพในสภาพตา งๆ ซง่ึ ใชเ ปน อารมณแ หง สมถกรรมฐาน
— Asubha: ten kinds of foulness; corpses at different stages of decay)
1. อทุ ธมุ าตกะ (ซากศพทเ่ี นา พองขนึ้ อดื — Uddhumàtaka: bloated corpse; swollen-up corpse)
2. วนิ ลี กะ (ซากศพทมี่ สี เี ขยี วคลาํ้ คละดว ยสตี า งๆ — Vinãlaka: bluish discoloured corpse;
livid corpse)
3. วิปพุ พกะ (ซากศพทมี่ ีนาํ้ เหลืองไหลเยิ้มอยูตามทที่ ี่แตกปริออก — Vipubbaka: festering
corpse)
4. วจิ ฉทิ ทกะ (ซากศพทีข่ าดจากกันเปน 2 ทอน — Vicchiddaka: split or cut up corpse;
[337] 248 พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร
disjoint corpse)
5. วิกขายิตกะ (ซากศพทถี่ ูกสตั ว เชน แรง กา สุนขั จกิ ท้ึงกัดกินแลว — Vikkhàyitaka:
gnawed corpse)
6. วกิ ขิตตกะ (ซากศพท่กี ระจุยกระจาย มือเทา ศีรษะหลดุ ออกไปขา งๆ — Vikkhittaka:
scattered corpse; mangled corpse)
7. หตวิกขิตตกะ (ซากศพที่ถกู สับฟน บั่นเปนทอ นๆ กระจายออกไป — Hatavikkhittaka:
hacked and scattered corpse; mutilated and mangled corpse)
8. โลหิตกะ (ซากศพท่ีมโี ลหติ ไหลอาบเรย่ี ราดอยู — Lohitaka: blood-stained corpse;
bleeding corpse)
9. ปฬุ วุ กะ (ซากศพท่ีมหี นอนคลาคล่ําเต็มไปหมด — Puëuvaka: worm-infested corpse)
10. อัฏฐกิ ะ (ซากศพทีย่ ังเหลืออยแู ตรางกระดกู หรือกระดกู ทอน — Aññhika: skeleton)
ดู [354] กรรมฐาน 40.
Vism.178. วิสทุ ธฺ .ิ 1/226.
[337] อันตคาหิกทิฏฐิ 10 (ความเหน็ อันถอื เอาทสี่ ดุ , ความเหน็ ผิดทแ่ี ลน ไปสดุ โตง
ขางใดขา งหนง่ึ — Antagàhika-diññhi: the ten erroneous extremist views) คอื เห็นวา
1. โลกเทย่ี ง (The world is eternal.)
2. โลกไมเ ที่ยง (The world is not eternal.)
3. โลกมีท่ีสดุ (The world is finite.)
4. โลกไมมีทีส่ ุด (The world is infinite.)
5. ชีวะก็อันนน้ั สรีระกอ็ ันนั้น (The soul and the body are identical.)
6. ชีวะกอ็ ยางหนึง่ สรีระกอ็ ยา งหนึง่ (The soul is one thing and the body is another.)
7. ตถาคตเบอ้ื งหนา แตตาย ยอมเปนอกี (The Tathàgata is, after death.)
8. ตถาคตเบื้องหนาแตต าย ยอมไมเ ปน อกี (The Tathàgata is not, after death.)
9. ตถาคตเบอ้ื งหนา แตตาย ยอมเปนอกี ก็ใช ไมเ ปนอกี ก็ใช (The Tathàgata both is
and is not, after death.)
10. ตถาคตเบอื้ งหนาแตตาย ยอ มเปน อีก ก็มิใช ยอ มไมเปน อกี ก็มิใช (The Tathàgata
neither is nor is not, after death.)
คาํ วา ตถาคต ในทน่ี ี้ อรรถกถาบางแหงวา หมายถงึ “สัตว” (เชน ม.อ.3/135; สงฺคณ.ี อ.528) บาง
แหงวา “อัตตา” หรอื “อาตมนั ” (อุ.อ.430) บางแหง วา “พระพุทธเจา” (สํ.อ.3/192)
M.I.426; S.IV.392; A.V.193; ม.ม.13/147/143; สํ.สฬ.18/788/476; อง.ฺ ทสก.24/193/206;
Ps.I.151; Vbh.392.
ข.ุ ปฏ.ิ 31/337/226; อภ.ิ ว.ิ 35/1032/529.
อติเรกทสกะ — หมวดเกนิ 10
Groups of More Than Ten
[338] กรรม 12 (การกระทําท่ีประกอบดวยเจตนา ดีกต็ าม ชว่ั กต็ าม, ในทีน่ ี้หมายถงึ กรรม
ประเภทตา งๆ พรอ มทง้ั หลกั เกณฑเ กยี่ วกบั การใหผ ลของกรรมเหลา นน้ั — Kamma: karma;
kamma; action; volitional action)
หมวดท่ี 1 วาโดยปากกาล คือ จาํ แนกตามเวลาท่ีใหผ ล (classification according to
the time of ripening or taking effect)
1. ทฏิ ฐธรรมเวทนยี กรรม (กรรมใหผ ลในปจ จบุ นั คอื ในภพน้ี — Diññhadhamma-vedanãya-
kamma: kamma to be experienced here and now; immediately effective kamma)
2. อปุ ปช ชเวทนยี กรรม (กรรมใหผ ลในภพทจี่ ะไปเกดิ คอื ในภพหนา — Upapajja-vedanãya-
kamma: kamma to be experienced on rebirth; kamma ripening in the next life)
3. อปราปรยิ เวทนยี กรรม (กรรมใหผ ลในภพตอ ๆ ไป — Aparàpariya-vedanãya-kamma:
kamma to be experienced in some subsequent lives; indefinitely effective kamma)
4. อโหสกิ รรม (กรรมเลกิ ใหผ ล ไมม ผี ลอกี — Ahosi-kamma: lapsed or defunct kamma)
หมวดที่ 2 วา โดยกิจ คอื จําแนกการใหผ ลตามหนาที่ (classification according to
function)
5. ชนกกรรม (กรรมแตง ใหเ กดิ , กรรมท่เี ปน ตวั นาํ ไปเกดิ — Janaka-kamma: productive
kamma; reproductive kamma)
6. อุปตถมั ภกกรรม (กรรมสนบั สนนุ , กรรมท่เี ขาชว ยสนับสนุนหรือซํา้ เติมตอจากชนกกรรม
— Upatthambhaka-kamma: supportive kamma; consolidating kamma)
7. อุปปฬกกรรม (กรรมบบี คัน้ , กรรมท่มี าใหผล บีบคน้ั ผลแหง ชนกกรรมและอปุ ตถัมภกรรม
นนั้ ใหแ ปรเปลยี่ นทเุ ลาลงไป บน่ั ทอนวบิ ากมใิ หเ ปน ไปไดน าน — Upapãëaka-kamma: obstructive
kamma; frustrating kamma)
8. อปุ ฆาตกกรรม (กรรมตดั รอน, กรรมทแ่ี รง ฝา ยตรงขา มกบั ชนกกรรมและอปุ ต ถมั ภกกรรม
เขาตดั รอนการใหผลของกรรมสองอยางนัน้ ใหขาดไปเสยี ทีเดียว เชน เกิดในตระกูลสงู มง่ั คั่ง
แตอ ายสุ ้ัน เปนตน — Upaghàtaka-kamma: destructive kamma; supplanting kamma)
หมวดท่ี 3 วา โดยปากทานปริยาย คือ จําแนกตามความยักเย้อื งหรอื ลําดับความแรงใน
การใหผล (classification according to the order of ripening)
9. ครกุ กรรม (กรรมหนกั ใหผ ลกอ น ไดแ ก สมาบตั ิ 8 หรอื อนนั ตรยิ กรรม — Garuka-kamma:
weighty kamma)
10. พหุลกรรม หรอื อาจณิ ณกรรม (กรรมทํามากหรือกรรมชิน ใหผ ลรองจากครุกกรรม
[339] 250 พจนานุกรมพุทธศาสตร
— Bahula-kamma or âciõõa-kamma: habitual kamma)
11. อาสนั นกรรม (กรรมจวนเจยี น หรอื กรรมใกลตาย คือกรรมทาํ เมือ่ จวนจะตายจบั ใจอยู
ใหมๆ ถา ไมมี 2 ขอ กอน ก็จะใหผลกอนอื่น — âsanna-kamma: death-threshold kamma;
proximate kamma)
12. กตตั ตากรรม หรอื กตตั ตาวาปนกรรม (กรรมสกั วา ทาํ , กรรมทท่ี าํ ไวด ว ยเจตนาอนั ออ น
หรอื มใิ ชเ จตนาอยา งนน้ั โดยตรง ตอ เมอื่ ไมม กี รรมอน่ื ใหผ ลแลว กรรมนจ้ี งึ จะใหผ ล — Katattà-
kamma or Katattàvàpana-kamma: reserve kamma; casual act) กฏตั ตากรรม กเ็ ขยี น
กรรม 12 หรอื กรรมส่ี 3 หมวดนี้ มไิ ดมมี าในบาลใี นรปู เชนนโี้ ดยตรง พระอาจารยส มัยตอ
มา เชน พระพทุ ธโฆษาจารย เปนตน ไดรวบรวมมาจดั เรยี งเปน แบบไวใ นภายหลงั .
Vism.601; Comp.144. วิสทุ ธฺ .ิ 3/223; สงคฺ ห.28.
[339] จักรวรรดิวัตร 5, 12 (วตั รของพระเจา จกั รพรรด,ิ พระจรยิ าทพ่ี ระจกั รพรรดพิ งึ
ทรงบําเพ็ญสม่ําเสมอ, ธรรมเนียมการทรงบําเพ็ญพระราชกรณียของพระเจาจักรพรรดิ, หนาที่
ของนกั ปกครองผยู งิ่ ใหญ — Cakkavatti-vatta: duties of a universal king or a great ruler)
1. ธรรมาธปิ ไตย (ถือธรรมเปน ใหญ เคารพนบั ถอื บูชายาํ เกรงธรรม ยดึ ธรรมเปน หลัก เปน
ธงชยั เปนธรรมาธปิ ไตย — Dhammàdhipateyya: supremacy of the law of truth and
righteousness; rule of the Dhamma; rule of the true law) (1) และ
2. ธรรมิการักขา (จัดการรักษาปองกันและคุมครองอันชอบธรรมและเปนธรรม —
Dhammikàrakkhà: provision of the right watch, ward and protection)
ก. อนั โตชน (แกช นภายใน ต้ังแตพ ระมเหสี โอรส ธิดา จนถงึ ผูปฏบิ ตั ริ าชการในพระองค
ทงั้ หมด คอื คนในปกครองสว นตวั ตง้ั แตบ ตุ รธดิ าเปน ตน ไป ดว ยใหก ารบาํ รงุ เลย้ี งอบรม
สงั่ สอนเปนตน ใหอยโู ดยเรยี บรอ ยสงบสุข และมีความเคารพนบั ถอื กัน — for one’s
own folk) (2)
ข. พลกาย (แกก องทพั คือ ปวงเสนาขาทหาร, ขา ราชการฝายทหาร — for the army; the
armed forces; military personnel) (3)
ค. ขัตติยะ (แกกษัตริยท้ังหลายผูอยูในพระบรมเดชานุภาพ, เจาเมืองข้ึน, ปจจุบัน
สงเคราะหช นชัน้ ปกครองและนักบรหิ ารช้นั ผใู หญท ้ังหลาย, ขา ราชการฝา ยปกครอง —
for colonial kings; administrative officers) (4)
ง. อนุยนต (แกผ ูตามเสดจ็ คือ ราชบริพารทั้งหลาย, ปจจุบันควรสงเคราะหขา ราชการฝาย
พลเรอื นเขา ทง้ั หมด — for the royal dependants; civil servants) (5)
จ. พราหมณคฤหบดี (แกช นเจา พธิ ี เจา ตาํ รา พอ คา เจา ไรเ จา นา คอื ครอู าจารย นกั วชิ าการ
หมอ พอคา ผูประกอบวิชาชีพตางๆ และเกษตรกร ดวยชวยจัดหาทุนและอุปกรณ
เปน ตน — for brahmins and householders; the professional, traders and the
agricultural) (6)
หมวดเกิน 10 251 [339]
ฉ. เนคมชานบท (แกช าวนิคมชนบท คอื ราษฎรทั้งปวงทุกทอ งถิ่นตลอดถงึ ชายแดนทว่ั ไป
ไมท อดทงิ้ — for town and country dwellers; townsmen and villagers; upcountry
people) (7)
ช. สมณพราหมณ (แกพ ระสงฆแ ละบรรพชติ ผทู รงศลี ทรงคณุ ธรรม — for the religious)
(8)
ญ.มิคปกษี (แกมฤคและปกษี คือ สตั วอ นั ควรสงวนทั้งหลาย — for beasts and birds)
(9)
3. อธรรมการนเิ สธนา (หา มกนั้ มใิ หม กี ารอนั อธรรมเกดิ ขน้ึ ในพระราชอาณาเขต คอื จดั การปอ งกนั
แกไ ข มใิ หม กี ารกระทาํ ความผดิ ความชวั่ รา ยเดอื ดรอ นเกดิ ขนึ้ ในบา นเมอื ง — Adhammakàra-
nisedhanà: to let no wrongdoing prevail in the kingdom) (10)
4. ธนานุประทาน (ปนทรพั ยเฉล่ียใหแ กช นผไู รทรพั ย มใิ หม ีคนขัดสนยากไรในแวนแควน —
Dhanànuppadàna: to let wealth be given or distributed to the poor) (11)
5. ปรปิ จุ ฉา (ปรึกษาสอบถามปญ หากบั สมณพราหมณ ผูประพฤตดิ ี ปฏิบัตชิ อบ ผไู มป ระมาท
มัวเมา อยูเสมอตามกาลอันควร เพื่อใหรูชัดการอันดีช่ัว ควรประกอบหรือไม เปนไปเพื่อ
ประโยชนส ุขหรือไม แลว ประพฤติปฏิบตั ิใหเปน ไปโดยถกู ตอ ง ขอ นปี้ จ จบุ ันสงเคราะหนกั ปราชญ
นกั วิชาการผทู รงคณุ ธรรมเขา ดว ย — Paripucchà: to go from time to time to see and
seek advice from the men of religious life who maintain high moral standards; to
have virtuous counsellors and seek after greater virtue) (12)
จักรวรรดิวัตรน้ี มาใน จักกวตั ตสิ ตู ร ตามทมี่ าทอ่ี าง ในพระบาลี คือพระไตรปฎ ก ทานไม
ระบจุ ํานวนขอไว แตน บั ตามท่ีตรัสไว เปน หลักการทยี่ ึดถือหนึ่งขอ และหลกั ปฏบิ ัติ 4 ขอ จึงรวม
เปน 5 ขอ อยางไรกด็ ี ขอ ยอยทแ่ี ยกออกไปจากขอ 2 (ธรรมิการักขา) แตละอยาง ในช้ัน
อรรถกถาคงเหน็ วามคี วามสําคัญมาก และมีรายละเอยี ดวธิ ีปฏิบัตจิ าํ เพาะตา งกนั ออกไป จงึ จัด
เปน วตั รแตล ะขอ เทา กนั หมด นับได 12 ขอ ตามตัวเลขในวงเล็บขา งหลัง
แตใ นอรรถกถาแหง พระสูตรนเ้ี อง (ท.ี อ.3/46) ทา นจดั ตางออกไปดงั น้ี
1. อนฺโตชนสฺมึ พลกายสฺมึ (สงเคราะหช นภายใน และพลกายกองทหาร)
2. ขตฺติเยสุ (สงเคราะหกษัตริยเ มืองขึ้นท้งั หลาย)
3. อนุยนเฺ ตสุ (สงเคราะหเหลาเชอ้ื พระวงศ ผตู ามเสดจ็ เปน ราชบรพิ าร)
4. พรฺ าหฺมณคหปตเิ กสุ (คุม ครองพราหมณแ ละคฤหบดที งั้ หลาย)
5. เนคมชานปเทสุ (คมุ ครองชาวราษฎรพนื้ เมอื งทง้ั หลาย)
6. สมณพฺราหฺมเณสุ (คุมครองเหลาสมณพราหมณ)
7. มคิ ปกขฺ ีสุ (คุมครองเน้ือนกท่เี อาไวส ืบพนั ธุ)
8. อธมฺมการปฏกิ เฺ ขโป (หามปรามมิใหม ีการประพฤติการอนั ผิดธรรม)
[340] 252 พจนานกุ รมพุทธศาสตร
9. อธนานํ ธนานุปปฺ ทาน (ทาํ นุบํารงุ ผขู ดั สนไรทรัพย)
10. สมณพรฺ าหมฺ เณ อปุ สงกฺ มติ วฺ า ปหฺ าปจุ ฉฺ น (เขา ไปหาและสอบถามปญ หากะสมณพราหมณ)
11. อธมมฺ ราคสสฺ ปหาน (เวนความกําหนดั ในกามโดยอาการไมเ ปน ธรรม)
12. วสิ มโลภสฺส ปหาน (เวน โลภกลา ไมเ ลอื กควรไมค วร)
ที่จํากันมาสวนมาก ก็ถือตามนัยอรรถกถาน้ี อยางไรก็ดี ตามนัยน้ี ทานไมนับขอ
ธรรมาธิปไตย เขา ในจํานวน 12 ขอ และเพม่ิ ขอ 11, 12 เขามาใหม ซ่ึงไมมีมาในบาลเี ดิม (ขอ
11, 12 นี้ โดยเหตผุ ลนาจะมอี ยูแลวในหลักทศพธิ ราชธรรม)
ดู [326] ราชธรรม 10 ดวย.
D.III.61. ท.ี ปา.11/35/65.
[340] ปฏิจจสมุปบาท มอี งคหรอื หัวขอ 12 (การเกิดขน้ึ พรอ มแหงธรรมท้ังหลาย
เพราะอาศยั กัน, ธรรมทีอ่ าศยั กันเกิดข้ึนพรอม, การที่สง่ิ ทง้ั หลายอาศัยกันๆ จงึ เกิดมีขนึ้ — Pañ
icca-samuppàda: the Dependent Origination; conditioned arising)
1.–2. อวิชฺชาปจฺจยา สงฺขารา เพราะ อวิชชา เปน ปจจยั สังขาร จึงมี (Dependent on
Ignorance arise Kamma-Formations.)
3. สงฺขารปจจฺ ยา วิฺาณํ เพราะสงั ขารเปนปจ จยั วิญญาณ จึงมี (Dependent on
Kamma-Farmations arises Consciousness.)
4. วิฺาณปจฺจยา นามรปู เพราะวิญญาณเปนปจ จัย นามรปู จงึ มี (Dependent on
Consciousness arise Mind and Matter.)
5. นามรูปปจฺจยา สฬายตนํ เพราะนามรปู เปนปจ จัย สฬายตนะ จงึ มี (Dependent on
Mind and Matter arise the Six Sense-Bases.)
6. สฬายตนปจจฺ ยา ผสฺโส เพราะสฬายตนะเปนปจจยั ผสั สะ จึงมี (Dependent on the
Six Sense-Bases arises Contact.)
7. ผสฺสปจจฺ ยา เวทนา เพราะผัสสะเปนปจ จัย เวทนา จงึ มี (Dependent on Contact
arises Feeling.)
8. เวทนาปจจฺ ยา ตณฺหา เพราะเวทนาเปน ปจ จัย ตณั หา จงึ มี (Dependent on Feeling
arises Craving.)
9. ตณฺหาปจจฺ ยา อุปาทานํ เพราะตณั หาเปนปจจัย อุปาทาน จงึ มี (Dependent on
Craving arises Clinging.)
10. อุปาทานปจจฺ ยา ภโว เพราะอุปาทานเปนปจจัย ภพ จงึ มี (Dependent on Clinging
arises Becoming.)
11. ภวปจจฺ ยา ชาติ เพราะภพเปน ปจ จัย ชาติ จึงมี (Dependent on Becoming arises
Birth.)
หมวดเกนิ 10 253 [340]
12. ชาตปิ จจฺ ยา ชรามรณํ เพราะชาตเิ ปนปจ จัย ชรามรณะ จึงมี (Dependent on Birth
arise Decay and Death.)
โสกปรเิ ทวทุกขฺ โทมนสสฺ ุปายาสา สมฺภวนตฺ ิ
ความโศก ความครํา่ ครวญ ทุกข โทมนสั และความคบั แคนใจ ก็มีพรอ ม
(There also arise sorrow, lamentation, pain, grief and despair.)
เอวเมตสฺส เกวลสฺส ทุกฺขกฺขนฺธสสฺ สมุทโย โหติ.
ความเกิดขน้ึ แหง กองทกุ ขท ั้งปวงน้ี จงึ มดี ว ยประการฉะนี้
(Thus arises this whole mass of suffering.)
แสดงตามลาํ ดับ จากตนไปหาปลายอยางนี้ เรียกวา อนโุ ลมเทศนา (teaching in forward
order) ถาแสดงยอนกลับจากปลายมาหาตน วา ชรามรณะเปน ตน มเี พราะชาตเิ ปน ปจ จัย ชาตมิ ี
เพราะภพเปน ปจ จยั ฯลฯ สังขารมีเพราะอวิชชาเปนปจจยั เรยี กวา ปฏโิ ลมเทศนา (teaching in
backward order)
องค (factors) หรอื หัวขอ 12 นัน้ มคี วามหมายโดยสงั เขป ดังนี้
1. อวชิ ชา (Avijjà: ignorance) ความไมรู คอื ไมรูใ นอรยิ สัจจ 4 หรอื ตามนัยอภิธรรมวา
อวิชชา 8 ดู [208] อวิชชา 4; [209] อวิชชา 8
2. สังขาร (Saïkhàra: kamma-formations) สภาพที่ปรุงแตง ไดแ ก [120] สังขาร 3 2 หรือ
[129] อภิสงั ขาร 3
3. วิญญาณ (Vi¤¤àõa: consciousness) ความรูแจงอารมณ ไดแ ก [268] วญิ ญาณ 6
4. นามรปู (Nàma-råpa: mind and matter) นามและรูป ไดแก เวทนา สญั ญา เจตนา
ผัสสะ มนสกิ าร หรอื ตามนัยอภธิ รรมวา นามขนั ธ 3 + รปู ดู [216] ขนั ธ 5 (ขอ 2, 3, 4);
[38] รปู 21, 28; [39] มหาภตู หรอื ภตู รปู 4; [40] อปุ าทารปู หรอื อปุ าทายรปู 24; [41] รปู 22
5. สฬายตนะ (Saëàyatana: six sense-bases) อายตนะ 6 ไดแก [276] อายตนะภายใน 6
6. ผสั สะ (Phassa: contact) ความกระทบ, ความประจวบ ไดแ ก [272] สัมผสั 6
7. เวทนา (Vedanà: feeling) ความเสวยอารมณ ไดแ ก [113] เวทนา 6
8. ตณั หา (Taõhà: craving) ความทะยานอยาก ไดแ ก ตัณหา 6 มีรปู ตัณหา เปนตน (ตณั หา
ในรปู ในเสียง ในกลิ่น ในรส ในสัมผัสทางกาย และในธรรมารมณ) ดู [74] ตัณหา 3 ดวย
9. อปุ าทาน (Upàdàna: clinging; attachment) ความยดึ มน่ั ไดแก [214] อปุ าทาน 4
10. ภพ (Bhava: becoming) ภาวะชวี ติ ไดแ ก [98] ภพ 3 อกี นยั หนง่ึ วา ไดแ ก กรรมภพ (ภพ
คอื กรรม — active process of becoming ตรงกบั [129] อภสิ งั ขาร 3) กบั อปุ ปต ตภิ พ
(ภพคอื ทอ่ี บุ ตั ิ — rebirth-process of becoming ตรงกบั [98] ภพ 3)
11. ชาติ (Jàti: birth) ความเกิด ไดแก ความปรากฏแหง ขนั ธท ง้ั หลาย การไดอายตนะ
12. ชรามรณะ (Jarà-maraõa: decay and death) ความแกแ ละความตาย ไดแ ก ชรา (ความ
[340] 254 พจนานุกรมพุทธศาสตร
เสอื่ มอาย,ุ ความหงอ มอนิ ทรยี ) กบั มรณะ (ความสลายแหง ขนั ธ, ความขาดชวี ติ นิ ทรยี )
ทง้ั 12 ขอ เปน ปจ จยั ตอ เนอ่ื งกนั ไป หมนุ เวยี นเปน วงจร ไมม ตี น ไมม ปี ลาย เรยี กวา ภวจกั ร
(วงลอ หรอื วงจรแหง ภพ — Bhava-cakka: wheel of existence) และมขี อ ควรทราบเกยี่ วกบั
ภวจกั รอกี ดงั น้ี
ก.อัทธา 3 (Addhà: periods; times) คอื กาล 3 ไดแ ก
1) อดีต = อวชิ ชา สงั ขาร
2) ปจจบุ นั = วญิ ญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา ตัณหา อุปาทาน ภพ
3) อนาคต = ชาติ ชรา มรณะ (+ โสกะ ฯลฯ)
ข. สงั เขป หรอื สงั คหะ 4 (Saïkhepa or Saïgaha: sections; divisions) คอื ชวง หมวด
หรือ กลุม 4 ไดแก
1) อดีตเหตุ = อวชิ ชา สังขาร
2) ปจจุบนั ผล = วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา
3) ปจจบุ ันเหตุ = ตัณหา อปุ าทาน ภพ
4) อนาคตผล = ชาติ ชรามรณะ (+ โสกะ ฯลฯ)
ค. สนธิ 3 (Sandhi: links; connection) คอื ขวั้ ตอ ระหวางสงั เขปหรอื ชวงท้งั 4 ไดแก
1) ระหวาง อดตี เหตุ กบั ปจจบุ นั ผล
2) ระหวาง ปจ จบุ นั ผล กบั ปจ จบุ นั เหตุ
3) ระหวาง ปจจบุ นั เหตุ กับ อนาคตผล
ง. วฏั ฏะ 3 ดู [105] วัฏฏะ 3
จ. อาการ 20 (âkàra: modes; spokes; qualities) คอื องคป ระกอบแตละอยา ง อันเปนดุจ
กาํ ของลอ จําแนกตามสวนเหตุ (causes) และสว นผล (effects) ไดแก
1) อดีตเหตุ 5 = อวชิ ชา สงั ขาร ตณั หา อุปาทาน ภพ
2) ปจ จุบนั ผล 5 = วญิ ญาณ นามรปู สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา
3) ปจ จุบันเหตุ 5 = อวิชชา สงั ขาร ตณั หา อุปาทาน ภพ
4) อนาคตผล 5 = วญิ ญาณ นามรปู สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา
อาการ 20 นี้ ก็คือ หวั ขอท่ีกระจายใหเ ต็ม ในทกุ ชว งของสงั เขป 4 น่นั เอง
ฉ. มลู 2 (Måla: roots) คอื กิเลสทีเ่ ปน ตวั มลู เหตุ ซึ่งกาํ หนดเปน จุดเร่มิ ตน ในวงจรแตละชว ง ได
แก
1) อวิชชา เปนจุดเริ่มตน ในชว งอดตี สง ผลถึงเวทนาในชวงปจ จุบนั
2) ตณั หา เปน จดุ เร่ิมตนในชว งปจจุบัน สงผลถึงชรามรณะในชวงอนาคต
พงึ สังเกตดว ยวา การกลาวถึงสว นประกอบของภวจักรตามขอ ก. ถึง ฉ. นี้ เปนคาํ อธิบายใน
หมวดเกิน 10 255 [340]
คัมภีรรนุ หลงั เชน อภธิ มั มัตถสังคหะ เปน ตน
การแสดงหลกั ปฏจิ จสมปุ บาท ใหเ หน็ ความเกดิ ขน้ึ แหง ธรรมตา งๆ โดยอาศยั ปจ จยั สบื ทอดกนั
ไปอยา งน้ี เปน สมทุ ยวาร คอื ฝา ยสมทุ ยั ใชเ ปน คาํ อธบิ ายอรยิ สจั จข อ ท่ี 2 (สมทุ ยั สจั จ) คอื แสดง
ใหเ หน็ ความเกดิ ขนึ้ แหง ทกุ ข ปฏจิ จสมปุ บาททแี่ สดงแบบนี้ เรยี กวา อนโุ ลมปฏจิ จสมปุ บาท (direct
Dependent Origination)
การแสดงในทางตรงขา มกับขา งตน น้ี เปน นโิ รธวาร คอื ฝา ยนโิ รธ ใชอธิบายอริยสจั จข อที่ 3
(นิโรธสัจจ) เรียกวา ปฏิโลมปฏจิ จสมุปบาท (reverse Dependent Origination ซึ่งความจรงิ ก็
คือ Dependent Extinction น่ันเอง) แสดงใหเห็นความดบั ไปแหง ทกุ ข ดวยอาศัยความดับไป
แหงปจจัยทั้งหลายสืบทอดกันไป ตัวบทของปฏิจจสมุปบาทแบบปฏิโลมน้ี พึงเทียบจากแบบ
อนโุ ลมนั่นเอง เชน
1.–2. อวิชฺชาย เตวฺ ว อเสสวิราคนโิ รธา สงขฺ ารนโิ รโธ เพราะอวชิ ชาสํารอกดับไปไมเ หลือ
สังขารจงึ ดบั
(Through the total fading away and cessation of ignorance, cease kamma-
formations.)
3. สงฺขารนโิ รธา วิฺาณนโิ รโธ เพราะสังขารดับ วญิ ญาณจึงดับ
(Through the cessation of kamma-formations, ceases consciousness.)
ฯลฯ
12. ชาตนิ โิ รธา ชรามรณํ เพราะชาตดิ ับ ชรามรณะ (จงึ ดบั )
(Through the cessation of birth, cease decay and death.)
โสกปริเทวทกุ ขฺ โทมนสฺสุปายาสา นิรุชฌฺ นฺติ
ความโศก ความครา่ํ ครวญ ทกุ ข โทมนสั ความคับแคนใจ ก็ดบั
(Also cease sorrow, lamentation, pain, grief and despair.)
เอวเมตสสฺ เกวลสฺส ทกุ ขฺ กขฺ นธฺ สฺส นิโรโธ โหต.ิ
ความดับแหงกองทุกขทัง้ ปวงนี้ ยอ มมีดวยประการฉะน้ี
(Thus comes about the cessation of this whole mass of suffering.)
นี้เปน อนุโลมเทศนา ของปฏโิ ลมปฏิจจสมปุ บาท สวน ปฏิโลมเทศนา ก็พงึ แสดงยอ นวา ชรา
มรณะ เปน ตน ดบั เพราะชาตดิ ับ ชาตดิ ับเพราะภพดับ ฯลฯ สงั ขารดบั เพราะอวิชชาดับ อยาง
เดยี วกับในอนุโลมปฏิจจสมุปบาท
ปฏจิ จสมปุ บาทนี้ มชี อื่ เรยี กอยา งอนื่ อกี ทสี่ าํ คญั คอื อทิ ปั ปจ จยตา (ภาวะทมี่ อี นั นๆ้ี เปน ปจ จยั
— Idappaccayatà: specific conditionality) ธรรมนยิ าม (ความเปน ไปอนั แนน อนแหง ธรรมดา,
กฎธรรมชาติ — Dhammaniyàma: orderliness of nature; natural law) และ ปจ จยาการ
(อาการทสี่ ง่ิ ทง้ั หลายเปน ปจ จยั แกก นั — Paccayàkàra: mode of conditionality; structure of
[341] 256 พจนานุกรมพทุ ธศาสตร
conditions) เฉพาะชอื่ หลงั นเ้ี ปน คาํ ทน่ี ยิ มใชใ นคมั ภรี อ ภธิ รรม และคมั ภรี ร นุ อรรถกถา.
Vin.I.1; S.II.1; Vbh.135; Vism.517; Comp.188 วินย.4/1/1; สํ.น.ิ 16/1/1; อภิ.วิ.35/274/185; วสิ ุทฺธ.ิ 3/107; สงฺคห.45.
[,,,] ปจจยาการ 12 ดู [340] ปฏิจจสมปุ บาท.
[,,,] สันโดษ 12 ดู [122] สันโดษ 3, 12
[341] อายตนะ 12 (สง่ิ ที่เชอื่ มตอ กันใหเกดิ ความรู, แดนตอ หรือแดนเกดิ แหง ความรู —
âyatana: sense-fields; sense-spheres)
1. อายตนะภายใน 6 ดู [276] อายตนะภายใน 6.
2. อายตนะภายนอก 6 ดู [277] อายตนะภายนอก 6.
Vbh.70. อภิ.ว.ิ 35/99/85.
[342] ธุดงค 13 (องคคณุ เคร่ืองสลัดหรอื กําจัดกิเลส, ขอ ปฏบิ ตั เิ ขมงวด ที่สมคั รใจ
สมาทานประพฤติประจําตวั ช่วั ระยะกาลส้นั หรอื ยาว หรือแมต ลอดชีวติ กไ็ ด เปนอบุ ายขัดเกลา
กิเลส สง เสรมิ ความมักนอ ยสันโดษ เปน ตน — Dhutaïga: means of shaking off or
removing defilements; austere practices; ascetic practices)
หมวดที่ 1 จวี รปฏสิ งั ยตุ ต (เกยี่ วกบั จีวร — connected with robes)
1. ปงสุกูลิกังคะ (องคแหงผูถือทรงผาบังสุกุล คําสมาทานโดยอธิษฐานใจหรือเปลงวาจาวา
“คหปติจวี รํ ปฏกิ ฺขปิ ามิ, ปส กุ ูลิกงคฺ ํ สมาทยิ าม”ิ แปลวา “เรางดคฤหบดีจวี ร สมาทานองคแหง
ผ—ู ” — Pa§sukålikaïga: refuse-rag-wearer’s practice)
2. เตจวี รกิ งั คะ (องคแ หง ผถู อื ทรงเพยี งไตรจวี ร คาํ สมาทานวา “จตตุ ถฺ จวี รํ ปฏิกฺขิปาม,ิ เตจวี รกิ งคฺ ํ
สมาทยิ าม”ิ แปลวา “ขา พเจา งดจวี รผนื ท่ี 4 สมาทานองคแ หง ผ—ู ” —Tecãvarikaïga: triple-robe-
wearer’s practice)
หมวดท่ี 2 ปณ ฑปาตปฏสิ ังยตุ ต (เกีย่ วกับบณิ ฑบาต — connected with almsfood)
3. ปณฑปาติกงั คะ (องคแ หง ผูถ ือเที่ยวบิณฑบาต คําสมาทานวา “อตเิ รกลาภํ ปฏกิ ขฺ ิปามิ,
ปณ ฑฺ ปาติกงคฺ ํ สมาทิยามิ” แปลวา “ขาพเจา งดอตเิ รกลาภ สมาทานองคแหง ผู—”
— Piõóapàtikaïga: alms-food-eater’s practice)
4. สปทานจาริกังคะ (องคแหงผถู อื เท่ียวบณิ ฑบาตไปตามลาํ ดับ คําสมาทานวา“โลลปุ ปฺ จารํ
ปฏกิ ฺขิปามิ, สปทานจาริกงฺคํ สมาทิยามิ” แปลวา “ขาพเจางดการเที่ยวตามใจอยาก สมาทาน
องคแหง ผ—ู ” — Sapadànacàrikaïga: house-to-house-seeker’s practice)
5. เอกาสนกิ งั คะ (องคแหงผูถือนัง่ ฉนั ณ อาสนะเดียว คอื ฉนั วนั ละคร้งั เดียว ลกุ จากท่ี
แลวไมฉ นั อีก คําสมาทานวา “นานาสนโภชนํ ปฏิกฺขปิ ามิ, เอกาสนิกงฺคํ สมาทยิ าม”ิ แปลวา
“ขา พเจา งดการฉนั ณ ตา งอาสนะ สมาทานองคแ หง ผ—ู ” — Ekàsanikaïga: one-sessioner’s
practice)
หมวดเกนิ 10 257 [342]
6. ปตตปณ ฑกิ ังคะ (องคแหง ผูถ ือฉันเฉพาะในบาตร คือ ไมใชภาชนะใสอ าหารเกนิ 1
อยา งคอื บาตร คําสมาทานวา “ทุตยิ ภาชนํ ปฏกิ ขฺ ิปามิ, ปตฺตปณ ฑฺ ิกงฺคํ สมาทิยามิ” แปลวา
“ขาพเจางดภาชนะที่สอง สมาทานองคแหงผ—ู ” — Pattapiõóikaïga: bowl-food-eater’s
practice)
7. ขลปุ จ ฉาภตั ตกิ งั คะ (องคแ หง ผถู อื หา มภตั ทถี่ วายภายหลงั คอื เมอื่ ไดป ลงใจกาํ หนดอาหารที่
เปน สว นของตน ซง่ึ เรยี กวา หา มภตั ดว ยการลงมอื ฉนั เปน ตน แลว ไมร บั อาหารทเ่ี ขานาํ มาถวายอกี
แมจ ะเปน ของประณตี คาํ สมาทานวา “อตริ ติ ตฺ โภชนํ ปฏกิ ขฺ ปิ าม,ิ ขลปุ จฉฺ าภตตฺ กิ งคฺ ํ สมาทยิ าม”ิ
แปลวา “ขา พเจา งดโภชนะอนั เหลอื เฟอ สมาทานองคแ หง ผ—ู ” — Khalupacchà-bhattikaïga:
later-food-refuser’s practice)
หมวดที่ 3 เสนาสนปฏสิ งั ยตุ ต (เกยี่ วกบั เสนาสนะ — connected with the resting place)
8. อารญั ญิกังคะ (องคแ หงผถู อื อยปู า อยหู างบา นคนอยา งนอย 500 ชัว่ ธนู คือ 25 เสน คํา
สมาทานวา “คามนตฺ เสนาสนํ ปฏิกขฺ ิปามิ, อารฺ กิ งฺคํ สมาทิยามิ” แปลวา “ขา พเจา งด
เสนาสนะชายบาน สมาทานองคแ หง ผู—” — âra¤¤ikaïga: forest-dweller’s practice)
9. รกุ ขมลู กิ งั คะ (องคแ หง ผถู อื อยโู คนไม คาํ สมาทานวา “ฉนนฺ ํ ปฏกิ ขฺ ปิ าม,ิ รกุ ขฺ มลู กิ งคฺ ํ
สมาทยิ าม”ิ แปลวา “ขา พเจา งดทมี่ งุ บงั สมาทานองคแ หง ผ—ู ” — Rukkhamålikaïga: tree-root-
dweller’s practice)
10. อพั โภกาสกิ งั คะ (องคแหงผถู อื อยทู แี่ จง คาํ สมาทานวา “ฉนฺนฺจ รกุ ฺขมลู จฺ ปฏกิ ฺขิปามิ,
อพโฺ ภกาสิกงคฺ ํ สมาทิยามิ” แปลวา “ขาพเจา งดท่ีมุงบังและโคนไม สมาทานองคแหงผู—”
— Abbhokàsikaïga: open-air-dweller’s practice)
11. โสสานิกังคะ (องคแหง ผถู ืออยปู าชา คาํ สมาทานวา “อสุสานํ ปฏิกฺขปิ าม,ิ โสสานกิ งคฺ ํ
สมาทยิ าม”ิ แปลวา “ขา พเจา งดทม่ี ใิ ชป า ชา สมาทานองคแ หง ผ—ู ” — Sosànikaïga: charnel-
ground-dweller’s practice)
12. ยถาสนั ถตกิ งั คะ (องคแ หง ผถู อื อยใู นเสนาสนะแลว แตเ ขาจดั ให คาํ สมาทานวา “เสนาสน-
โลลปุ ปฺ ปฏกิ ขฺ ปิ าม,ิ ยถาสนถฺ ตกิ งคฺ ํ สมาทยิ าม”ิ แปลวา “ขา พเจา งดความอยากเอาแตใ จในเสนาสนะ
สมาทานองคแหง ผู—” — Yathàsanthatikaïga: any-bed-user’s practice)
หมวดที่ 4 วิรยิ ปฏิสงั ยุตต (เก่ียวกับความเพียร — connected with energy)
13. เนสัชชกิ ังคะ (องคแหง ผถู อื การนัง่ คือเวนนอน อยดู วยเพียง 3 อิริยาบถ คําสมาทานวา
“เสยยฺ ํ ปฏกิ ฺขปิ าม,ิ เนสชฺชิกงฺคํ สมาทยิ ามิ” แปลวา “ขา พเจา งดการนอน สมาทานองคแหง ผู— ”
— Nesajjikaïga: sitter’s practice)
ขอควรทราบเพิม่ เติมเกย่ี วกบั ธุดงค 13
ก. โดยยอ ธุดงคม ี 8 ขอ เทา น้ัน คอื
1) องคห ลัก 3 (สีสงั คะ — principal practices) คอื สปทานจาริกังคะ (เทากบั ไดร ักษา
ปณ ฑปาตกิ งั คะดว ย) เอกาสนกิ งั คะ (เทา กบั ไดร กั ษาปต ตปณ ฑกิ งั คะ และขลปุ จ ฉาภตั ตกิ งั คะ
[343] 258 พจนานกุ รมพุทธศาสตร
ดวย) และอัพโภกาสิกงั คะ (ทาํ ใหรุกขมูลกิ ังคะ กับยถาสนั ถติกังคะ หมดความจาํ เปน)
2) องคเ ดยี่ วไมค าบเกย่ี วขอ อนื่ 5 (อสมั ภนิ นงั คะ — individual practices) คอื อารญั ญกิ งั คะ
ปง สกุ ลู กิ งั คะ เตจวี รกิ งั คะ เนสชั ชกิ งั คะ และโสสานกิ งั คะ
ข. โดยนสิ สยั คอื ทอ่ี าศยั (dependence) มี 2 คอื ปจ จยั นสิ ติ 12 (อาศยั ปจ จยั — dependent
on requisites) กบั วิริยนสิ ติ 1 (อาศัยความเพยี ร — dependent on energy)
ค. โดยบุคคลผถู ือ
1) ภกิ ษุ ถอื ไดท ้งั 13 ขอ
2) ภิกษณุ ี ถอื ได 8 ขอ (คอื ขอ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 12, 13)
3) สามเณร ถอื ได 12 ขอ (คือเวนขอ 2 เตจวี รกิ ังคะ)
4) สิกขมานาและสามเณรี ถือได 7 ขอ (คอื ลดขอ 2 ออกจากท่ภี ิกษุณถี อื ได)
5) อุบาสกอบุ าสกิ า ถือได 2 ขอ (คอื ขอ 5 และ 6)
ง. โดยระดับการถือ แตล ะขอ ถอื ได 3 ระดับ คือ
1) อยา งอุกฤษฎ หรืออยางเครง เชน ผถู อื อยูปา ตองใหไดอ รุณในปาตลอดไป
2) อยา งมธั ยม หรอื อยา งกลาง เชน ผถู อื อยปู า อยใู นเสนาสนะชายบา นตลอดฤดฝู น 4 เดอื น ที่
เหลืออยปู า
3) อยา งออ น หรอื อยา งเพลา เชน ผถู อื อยปู า อยใู นเสนาสนะชายบา นตลอดฤดฝู นและหนาว
รวม 8 เดือน
จ. ขอ 9 และ 10 คือ รกุ ขมูลกิ งั คะ และอพั โภกาสกิ งั คะ ถอื ไดเฉพาะนอกพรรษา เพราะวินยั
กําหนดใหต องถอื เสนาสนะในพรรษา
ฉ. ธุดงคไ มใ ชบ ทบญั ญัติทางวินยั ขึน้ กบั ความสมคั รใจ มีหลักทั่วไปในการถือวา ถา ถอื แลวชว ย
ใหก รรมฐานเจรญิ หรือชวยใหกุศลธรรมเจรญิ อกุศลธรรมเสอื่ ม ควรถือ ถา ถือแลวทาํ ให
กรรมฐานเส่อื ม หรอื ทาํ ใหกุศลธรรมเสอ่ื ม อกศุ ลธรรมเจรญิ ไมค วรถือ สวนผทู ่ีถอื หรอื ไมถ ือ
กไ็ มท ําใหกรรมฐานเจริญหรือเส่ือม เชน เปน พระอรหันตแลว อยา งพระมหากัสสปะ เปนตน
หรอื คนอน่ื ๆ กต็ าม ควรถอื ได ฝายแรกควรถือในเมอ่ื คดิ จะอนุเคราะหช ุมชนในภายหลงั ฝาย
หลงั เพอื่ เปนวาสนาตอไป
ช. ธุดงคทม่ี าในบาลเี ดิม ไมพบครบจํานวนในทเ่ี ดียว (ทีพ่ บจาํ นวนมาก คอื ม.อ.ุ 14/186/138;
M.III.40 มขี อ 1, 3, 5, 8, 9, 10, 11, 12, 13; องฺ.ทสก.24/181/245; A.V.219 มีขอ 1, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12, 13;
ข.ุ ม.29/918/584; Nd1188 มขี อ 1, 2, 3, 4, 7, 8, 12, 13) นอกจากคมั ภีรปรวิ าร (วนิ ย.8/982/330; 1192/475;
Vin.V.131,198) ซึ่งมหี ัวขอครบถวน สวนคําอธิบายทั้งหมดพึงดูในคัมภีรวสิ ทุ ธิมัคค.
Vism.59–83. วสิ ุทธฺ .ิ 1/73–104.
[343] กิจ หรอื วิญญาณกิจ 14 (กจิ ของวญิ ญาณ, หนา ทข่ี องจติ — Vi¤¤àõa-kicca:
functions of consciousness; psychic functions)
หมวดเกิน 10 259 [344]
1. ปฏิสนธิ (หนา ทส่ี ืบตอภพใหม ไดแกจ ิต 19 คอื อเุ บกขาสนั ตรี ณะ 2 มหาวบิ าก 8 รปู วบิ าก
5 อรปู วิบาก 4 — Pañisandhi: re-linking; rebirth-linking)
2. ภวังคะ (หนาที่เปนองคของภพ ไดแ กจติ 19 อยางเดยี วกับปฏสิ นธิ — Bhavaïga: life-
continuum; factor of being)
3. อาวัชชนะ (หนา ที่คํานึงอารมณใหม ไดแก จติ 2 คอื ปญจทวาราวัชชนะ และมโนทวารา-
วชั ชนะ — âvajjana: apprehending; adverting)
4. ทัสสนะ (หนาท่ีเหน็ รูป ไดแ ก จักขวุ ิญญาณ 2 — Dassana: seeing)
5. สวนะ (หนาทไ่ี ดยนิ เสยี ง ไดแ ก โสตวิญญาณ 2 — Savana: hearing)
6. ฆายนะ (หนา ทีร่ กู ลิ่น ไดแก ฆานวิญญาณ 2 — Ghàyana: smelling)
7. สายนะ (หนา ทีล่ ิ้มรส ไดแก ชิวหาวิญญาณ 2 — Sàyana: tasting)
8. ผสุ นะ (หนา ทถี่ กู ตอ งโผฏฐพั พะ ไดแ ก กายวญิ ญาณ 2 — Phusana: contacting; touching)
9. สมั ปฏิจฉนะ (หนา ที่รบั อารมณ ไดแก สมั ปฏจิ ฉนะ 2 — Sampañicchana: receiving)
10. สันตรี ณะ (หนา ท่พี จิ ารณาอารมณ ไดแ ก สนั ตรี ณะ 3 — Santãraõa: investigating)
11. โวฏฐพั พนะ หรอื โวฏฐปนะ (หนา ทต่ี ดั สนิ อารมณ ไดแ ก มโนทวาราวชั ชนะ 1 — Voññhapana:
determining)
12. ชวนะ (หนา ทแ่ี ลน เสพอารมณ อนั เปน ชว งทท่ี าํ กรรม ไดแ ก จติ 55 คอื กศุ ลจติ 21, อกศุ ล
จติ 12, กริ ยิ าจติ 18 คอื เวน อาวชั ชนะทง้ั สอง โลกตุ ตรผลจติ 4 — Javana: apperception;
impulsion)
13. ตทาลมั พนะ (หนา ที่รับอารมณต อจากชวนะกอ นตกภวงั ค ไดแก จติ 11 คอื มหาวิบาก 8
สันตรี ณะ 3 — Tadàlambana: retention; registration)
14. จตุ ิ (หนา ทเี่ คลอ่ื นจากภพปจ จบุ นั ไดแ ก จติ 19 อยา งเดยี วกบั ในปฏสิ นธิ — Cuti: decease;
death; shifting)
จดั โดยฐานทจ่ี ติ ทาํ กจิ 14 นี้ มี 10 คอื รวมขอ 4, 5, 6, 7, 8 เปน ขอ เดยี ว คอื ปญ จวญิ ญาณ-
ฐาน (fivefold sense-impressions) นอกนนั้ คงชอื่ เดมิ
กจิ 14 นี้ ในวิสุทธิมคั คเรียกวา วญิ ญาณปวตั ติ หรอื วิญญาณปวัตติอาการ (อาการที่
วญิ ญาณเปนไป — modes of occurrence of consciousness)
ดู [356] จิต 89.
Vism.457; Comp.114. วิสุทธฺ .ิ 3/29; สงฺคห.15
[344] จรณะ 15 (ความประพฤติ, ปฏิปทา, ขอ ปฏิบตั อิ นั เปนทางบรรลวุ ิชชา หรือนพิ พาน
— Caraõa: conduct; course of practice)
1. สีลสมั ปทา (ความถงึ พรอ มดว ยศลี คอื ประพฤติถูกตอ งดงี าม สํารวมในพระปาฏิโมกข มี
มารยาทเรยี บรอ ย ประพฤตเิ ครง ครดั ในสกิ ขาบททง้ั หลาย — Sãla-sampadà: accomplishment of
[345] 260 พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร
morals)
2. อปณณกปฏิปทา 3 ดู [128] อปณณกปฏปิ ทา 3
3. สัทธรรม 7 ดู [301] สปั ปรุ ิสธรรม 8 ขอ 1.
4. ฌาน 4 ดู [9] ฌาน 4
ในบาลที ่มี า ทานเรยี กวา เปน เสขปฏปิ ทา คอื ขอ ปฏบิ ตั อิ นั เปนทางดาํ เนนิ ของพระเสขะ (a
learner’s course of practice)
M.I.354. ม.ม.13/26/26.
[345] ญาณ 16 หรอื โสฬสญาณ (ความหย่ังรู ในทน่ี ้หี มายถงึ ญาณท่เี กดิ ข้นึ แกผ ู
เจรญิ วปิ ส สนาตามลําดับ ตั้งแตต น จนถงึ ทส่ี ดุ — Soëasa-¤àõa: insight; knowledge)
1. นามรปู ปรจิ เฉทญาณ (ญาณกาํ หนดจาํ แนกรนู ามและรปู คอื รวู า สงิ่ ทง้ั หลายมแี ตร ปู ธรรม
และนามธรรม และกาํ หนดแยกไดว า อะไรเปน รปู ธรรม อะไรเปน นามธรรม —Nàmaråpa-
pariccheda-¤àõa: knowledge of the delimitation of mentality–materiality)
2. ปจ จยปรคิ คหญาณ (ญาณกาํ หนดรปู จ จัยของนามและรูป คือรูวา รูปธรรมและนามธรรม
ทง้ั หลายเกิดจากเหตปุ จจยั และเปน ปจจัยแกกัน อาศัยกัน โดยรูตามแนวปฏจิ จสมุปบาท ก็ดี
ตามแนวกฎแหงกรรมก็ดี ตามแนววัฏฏะ 3 ก็ดี เปน ตน — Paccaya-pariggaha-¤àõa:
knowledge of discerning the conditions of mentality–materiality)
3. สมั มสนญาณ (ญาณกาํ หนดรูดว ยพิจารณาเห็นนามและรปู โดยไตรลักษณ คือ ยกรูปธรรม
และนามธรรมทง้ั หลายขนึ้ พจิ ารณาโดยเหน็ ตามลกั ษณะท่เี ปน ของไมเท่ียง เปน ทกุ ข มิใชตวั ตน
— Sammasana-¤àõa: knowledge of comprehending mentality–materiality as
impermanent, unsatisfactory and not-self)
4.–12. ไดแ ก วิปสสนาญาณ 9 ดู [311]
13. โคตรภูญาณ (ญาณครอบโคตร คือ ความหยัง่ รูที่เปนหวั ตอแหง การขามพน จากภาวะ
ปุถชุ นเขา สูภาวะอริยบุคคล — Gotrabhå-¤àõa: knowledge at the moment of the
“Change-of-lineage”)
14. มคั คญาณ (ญาณในอรยิ มรรค คือ ความหย่งั รูที่ใหสําเรจ็ ภาวะอรยิ บุคคลแตละขนั้ —
Magga-¤àõa: knowledge of the Path)
15. ผลญาณ (ญาณในอรยิ ผล คอื ความหย่งั รทู ่ีเปน ผลสําเร็จของพระอรยิ บุคคลช้ันนน้ั ๆ —
Phala-¤àõa: knowledge of Fruition)
16. ปจจเวกขณญาณ (ญาณหย่งั รดู วยการพิจารณาทบทวน คอื สาํ รวจรมู รรคผล กเิ ลสท่ลี ะ
แลว กิเลสท่เี หลืออยู และนิพพาน เวนแตวาพระอรหนั ตไมมีการพิจารณากเิ ลสท่ียังเหลืออยู —
Paccavekkhaõa-¤àõa: knowledge of reviewing)
ในญาณ 16 น้ี 14 อยาง (ขอ 1–13 และ 16) เปน โลกยี ญาณ, 2 อยาง (ขอ 14 และ 15)
หมวดเกนิ 10 261 [346]
เปน โลกุตตรญาณ
ญาณ 16 (บางทีเรยี กวา โสฬสญาณ ซ่ึงกแ็ ปลวาญาณ 16 นั่นเอง) ทจี่ ดั ลําดบั เปน ชุดและ
เรียกชอื่ เฉพาะอยางน้ี มใิ ชม าในพระบาลีเดิมโดยตรง พระอาจารยใ นสายวงการวิปสสนาธุระได
สอนสืบกนั มา โดยประมวลจากคัมภรี ป ฏิสมั ภิทามัคค และวิสุทธิมัคค ในกาลตอมา
(พึงดู ขุ.ปฏิ.31/มาตกิ า/1–2 = Ps.1 และ วิสทุ ธฺ ิ.3/206–328 = Vism.587–678)
[,,,] รูปพรหม หรอื พรหมโลก 16 ดู [351] ภมู ิ 4 หรือ 31.
[,,,] โสฬสวัตถุกอานาปานสติ ดู [346] อานาปานสติ 16 ฐาน
[,,,] อานาปานสติ 16 ขั้น ดู [346] อานาปานสติ 16 ฐาน
[346] อานาปานสติ 16 ฐาน (สติกาํ หนดลมหายใจ, การเจริญอานาปานสติ คอื ใช
สตกิ ําหนดลมหายใจเขา –ออก แบบท่เี ปน การเจรญิ สติปฏ ฐานไปดว ยครบทั้ง 4 — Soëasa–
vatthuka-ànàpànassati: mindfulness of breathing with sixteen bases)
จตุกกะที่ 1: กายานปุ สสนา
1) ทฆี ํ วา อสสฺ สนฺโต ‘ทฆี ํ อสฺสสาม’ี ติ ปชานาต,ิ
ทีฆํ วา ปสฺสสนฺโต ‘ทฆี ํ ปสฺสสามี’ติ ปชานาติ;
2) รสสฺ ํ วา อสฺสสนโฺ ต ‘รสฺสํ อสฺสสามี’ติ ปชานาต,ิ
รสสฺ ํ วา ปสฺสสนโฺ ต ‘รสฺสํ ปสฺสสาม’ี ติ ปชานาต;ิ
3) ‘สพฺพกายปฏสิ ํเวที อสสฺ สสิ สฺ าม’ี ติ สกิ ขฺ ต,ิ
‘สพพฺ กายปฏสิ เํ วที ปสฺสสิสฺสามี’ติ สกิ ขฺ ติ;
4) ‘ปสสฺ มภฺ ยํ กายสงขฺ ารํ อสฺสสิสฺสาม’ี ติ สิกขฺ ติ,
‘ปสฺสมภฺ ยํ กายสงขฺ ารํ ปสฺสสิสฺสามี’ติ สกิ ฺขต.ิ
1) เม่อื หายใจเขายาว เธอกร็ ูชัดวา เราหายใจเขา ยาว
หรอื เมอื่ หายใจออกยาว เธอก็รชู ดั วา เราหายใจออกยาว
2) เมื่อหายใจเขาสนั้ เธอก็รชู ัดวา เราหายใจเขาส้ัน
หรือเมือ่ หายใจออกส้ัน เธอกร็ ูชดั วา เราหายใจออกสน้ั
3) เธอสําเหนยี กวา เราจกั รูท ่วั กาย(กองลม)ทง้ั หมด หายใจเขา
เธอสําเหนียกวา เราจกั รูท ่ัวกาย(กองลม)ทัง้ หมด หายใจออก
4) เธอสาํ เหนยี กวา เราจกั ผอนระงับกายสังขาร หายใจเขา
เธอสําเหนียกวา เราจกั ผอนระงับกายสงั ขาร หายใจออก
1. Breathing in long, he knows: “I am breathing in long”;
or breathing out long, he knows: “I am breathing out long”.
[346] 262 พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร
2. Breathing in short, he knows: “I am breathing in short”;
or breathing out short, he knows: “I am breathing out short”.
3. He trains thus: “Experiencing the entire (breath-) body, I shall breathe in”;
he trains thus: “Experiencing the entire (breath-) body, I shall breathe out”.
4. He trains thus: “Calming the bodily formation, I shall breathe in”;
he trains thus: “Calming the bodily formation, I shall breathe out”.
จตกุ กะที่ 2: เวทนานปุ ส สนา
5) ‘ปต ิปฏสิ เํ วที อสฺสสิสสฺ าม’ี ติ สิกขฺ ต,ิ
‘ปติปฏสิ ํเวที ปสฺสสสิ สฺ าม’ี ติ สิกฺขต;ิ
6) ‘สขุ ปฏิสเํ วที อสฺสสิสฺสาม’ี ติ สิกขฺ ต,ิ
‘สขุ ปฏิสเํ วที ปสสฺ สสิ ฺสามี’ติ สิกขฺ ต;ิ
7) ‘จติ ฺตสงฺขารปฏสิ ํเวที อสสฺ สสิ ฺสามี’ติ สิกฺขติ,
‘จติ ตฺ สงขฺ ารปฏสิ เํ วที ปสสฺ สสิ สฺ าม’ี ติ สกิ ขฺ ติ;
8) ‘ปสสฺ มฺภยํ จติ ตฺ สงฺขารํ อสสฺ สิสฺสาม’ี ติ สกิ ขฺ ต,ิ
‘ปสฺสมฺภยํ จติ ตฺ สงขฺ ารํ ปสสฺ สิสสฺ ามี’ติ สิกขฺ ต.ิ
5) เธอสาํ เหนยี กวา เราจกั เสวยรูปติ หายใจเขา
เธอสาํ เหนียกวา เราจกั เสวยรูปติ หายใจออก
6) เธอสาํ เหนียกวา เราจกั เสวยรคู วามสุข หายใจเขา
เธอสําเหนียกวา เราจกั เสวยรูความสุข หายใจออก
7) เธอสําเหนยี กวา เราจกั เสวยรูจิตสังขารหายใจเขา
เธอสาํ เหนยี กวา เราจักเสวยรจู ิตสงั ขาร หายใจออก
8) เธอสาํ เหนียกวา เราจักผอนระงับจติ สังขาร หายใจเขา
เธอสาํ เหนียกวา เราจักผอ นระงับจิตสังขาร หายใจออก
5. He trains thus: “Experiencing rapture, I shall breathe in”;
he trains thus: “Experiencing rapture, I shall breathe out”.
6. He trains thus: “Experiencing joy, I shall breathe in”;
he trains thus: “Experiencing joy, I shall breathe out”.
7. He trains thus: “Experiencing the mental formation, I shall breathe in”;
he trains thus: “Experiencing the mental formation, I shall breathe out”.
8. He trains thus: “Calming the mental formation, I shall breathe in”;
he trains thus: “Calming the mental formation, I shall breathe out”.
หมวดเกนิ 10 263 [346]
จตกุ กะท่ี 3: จติ ตานุปส สนา
9) ‘จติ ตฺ ปฏิสเํ วที อสสฺ สิสฺสามี’ติ สกิ ฺขต,ิ
‘จติ ฺตปฏิสํเวที ปสสฺ สิสฺสามี’ติ สกิ ขฺ ติ;
10) ‘อภิปปฺ โมทยํ จติ ฺตํ อสสฺ สิสฺสามี’ติ สกิ ขฺ ติ,
‘อภิปฺปโมทยํ จิตฺตํ ปสฺสสิสสฺ ามี’ติ สิกขฺ ติ
11) ‘สมาทหํ จิตฺตํ อสสฺ สสิ สฺ าม’ี ติ สกิ ขฺ ต,ิ
‘สมาทหํ จิตตฺ ํ ปสฺสสสิ สฺ าม’ี ติ สิกฺขต;ิ
12) ‘วโิ มจยํ จติ ฺตํ อสสฺ สิสฺสามี’ติ สิกขฺ ติ,
‘วโิ มจยํ จติ ตฺ ํ ปสสฺ สสิ ฺสามี’ติ สิกฺขติ.
9) เธอสําเหนียกวา เราจักรทู ว่ั ถงึ จิต หายใจเขา
เธอสําเหนียกวา เราจกั รทู ั่วถงึ จติ หายใจออก
10) เธอสาํ เหนยี กวา เราจกั ทาํ จิตใหรา เรงิ หายใจเขา
เธอสําเหนยี กวา เราจักทาํ จิตใหราเรงิ หายใจออก
11) เธอสําเหนียกวา เราจกั ทําจติ ใหต งั้ มัน่ หายใจเขา
เธอสําเหนยี กวา เราจกั ทําจิตใหต ั้งม่ัน หายใจออก
12) เธอสาํ เหนียกวา เราจกั ปลอ ยเปลื้องจติ หายใจเขา
เธอสําเหนียกวา เราจกั ปลอ ยเปล้อื งจิต หายใจออก
9. He trains thus: “Experiencing the mind, I shall breathe in”;
he trains thus: “Experiencing the mind, I shall breathe out”.
10. He trains thus: “Gladdening the mind, I shall breathe in”;
he trains thus: “Gladdening the mind, I shall breathe out”.
11. He trains thus: “Concentrating the mind, I shall breathe in”;
he trains thus: “Concentrating the mind, I shall breathe out”.
12. He trains thus: “Liberating the mind, I shall breathe in”;
he trains thus: “Liberating the mind, I shall breathe out”.
จตุกกะที่ 4: ธัมมานุปส สนา
13) ‘อนิจจฺ านุปสฺสี อสสฺ สสิ สฺ ามี’ติ สกิ ฺขต,ิ
‘อนจิ จฺ านุปสฺสี ปสสฺ สสิ สฺ ามี’ติ สิกขฺ ต;ิ
14) ‘วิราคานปุ สสฺ ี อสสฺ สสิ ฺสาม’ี ติ สกิ ฺขติ,
‘วริ าคานุปสฺสี ปสฺสสสิ ฺสามี’ติ สกิ ฺขต;ิ
15) ‘นิโรธานุปสฺสี อสสฺ สสิ ฺสามี’ติ สกิ ฺขติ,
[346] 264 พจนานกุ รมพุทธศาสตร
‘นิโรธานปุ สฺสี ปสฺสสิสสฺ าม’ี ติ สิกขฺ ติ;
16) ‘ปฏินิสสฺ คคฺ านุปสฺสี อสสฺ สสิ สฺ าม’ี ติ สกิ ขฺ ติ,
‘ปฏินิสฺสคคฺ านปุ สฺสี ปสฺสสิสฺสาม’ี ติ สกิ ขฺ ต.ิ
13) เธอสําเหนยี กวา เราจกั พิจารณาเหน็ ความไมเทย่ี ง หายใจเขา
เธอสาํ เหนยี กวา เราจกั พจิ ารณาเห็นความไมเท่ียง หายใจออก
14) เธอสําเหนียกวา เราจกั พิจารณาเห็นความคลายออกได หายใจเขา
เธอสาํ เหนยี กวา เราจักพิจารณาเห็นความคลายออกได หายใจออก
15) เธอสาํ เหนยี กวา เราจกั พิจารณาเหน็ ความดบั กิเลส หายใจเขา
เธอสําเหนยี กวา เราจกั พิจารณาเห็นความดับกิเลส หายใจออก
16) เธอสาํ เหนยี กวา เราจกั พจิ ารณาเหน็ ความสลดั คนื ได หายใจเขา
เธอสําเหนียกวา เราจักพจิ ารณาเห็นความสลดั คืนได หายใจออก
13. He trains thus: “Contemplating impermanence, I shall breathe in”;
he trains thus: “Contemplating impermanence, I shall breathe out”.
14. He trains thus: “Contemplating fading away, I shall breathe in”;
he trains thus: “Contemplating fading away, I shall breathe out”.
15. He trains thus: “Contemplating cessation, I shall breathe in”;
he trains thus: “Contemplating cessation, I shall breathe out”.
16. He trains thus: “Contemplating relinquishment, I shall breathe in”;
he trains thus: “Contemplating relinquishment, I shall breathe out”.
ขอ ควรทราบ:
ก) คาํ วา หายใจเขา และ หายใจออก นนั้ พงึ ทราบวา เปน คาํ ทม่ี กี ารแปลตา งกนั คอื อรรถกถาแหง
พระวนิ ยั แปล อสสฺ าส วา “หายใจออก” และ ปสสฺ าส วา “หายใจเขา ” สว นอรรถกถาแหง พระสตู รแปล
กลบั ตรงขา ม คอื แปล อสสฺ าส วา “หายใจเขา ” และ ปสสฺ าส วา “หายใจออก” ในทนี่ ถ้ี อื ตามคาํ แปล
ของอรรถกถาแหงพระสูตร ผศู ึกษาทราบอยา งน้แี ลว จะใชแบบใดกไ็ ด พึงเลอื กตามปรารถนา
ข) “สําเหนยี กวา” เปนคําแปลตามสํานวนเกา หมายถึงคําบาลวี า สกิ ฺขติ จะแปลแบบทบั ศัพทเ ปน
“ศึกษาวา ” กไ็ ด
ค) ธรรมหมวดนี้ เรยี กตามบาลแี หง คมั ภรี ป ฏสิ มั ภทิ ามคั คว า โสฬสวตั ถกุ อานาปานสติ (เชน ข.ุ ปฏ.ิ
31/361/244; 386/260=Ps.I.162; 173 คาํ บาลเี ดิมเปน โสฬสวตฺถุกา อานาปานสฺสติ บาง โสฬสวตถฺ ุโก
อานาปานสสฺ ตสิ มาธิ บา ง บางทอี รรถกถาก็เรยี กยกั เยือ้ งไปวา โสฬสวตฺถุกา อานาปานสสฺ ติ-
สมาธภิ าวนา บา ง โสฬสวตถฺ ุกํ อานาปานสฺสตกิ มฺมฏานํ บาง) แปลแบบรักษาศัพทวา “อานา-
ปานสตมิ วี ตั ถุ 16” แตในทนี่ ้เี ลือกแปลตามคาํ อธบิ ายในคัมภีร ปรมัตถมญั ชสุ า มหาฎีกาแหง
วสิ ทุ ธิมคั ค (วิสุทธฺ .ิ ฏีกา2/34) วา “อานาปานสติ 16 ฐาน” เพราะในภาษาไทย คาํ วา ฐาน เปน คาํ ทค่ี นุ
หมวดเกนิ 10 265 [347]
และชว ยสอ่ื ความหมายของคาํ วา วตั ถุ ในทนี่ ไี้ ดด ี แตจ ะแปลวา “อานาปานสติ 16 หลกั ” หรือ
“อานาปานสติ 16 หวั ขอ (หรอื 16 ขอ )” กไ็ ด บางทกี เ็ รยี กใหฟ ง เปน ลาํ ดบั วา “อานาปานสติ 16 ขนั้ ”
ง) 16 ฐาน หรือ 16 หลกั หรือ 16 หวั ขอ หรือ 16 ขอ หรอื 16 ขั้นนน้ั ทานจัดเปน 4 จตกุ กะ
คือเปน หมวดส่ี 4 หมวด ดงั นี้
1. กายานุปสสนาจตุกกะ (หมวดสี่แหงกายานปุ สสนา)
2. เวทนานปุ ส สนาจตุกกะ (หมวดสแ่ี หง เวทนานปุ สสนา)
3. จิตตานุปสสนาจตกุ กะ (หมวดสแ่ี หง จติ ตานปุ สสนา)
4. ธมั มานุปส สนาจตกุ กะ (หมวดสี่แหง ธมั มานุปส สนา)
เปนการระบุชดั วา สว นไหนเปนสติปฏ ฐานขอใด
จ) วาโดยไตรสกิ ขา ระหวา งปฏิบัตินัน้
• ความมีกายวาจาตั้งอยูในความสงบสํารวม โดยมีเจตนาอันปลอดจากการละเมิดหรือ
เบียดเบียน (กายิกวาจสกิ อวตี กิ กมะ) เปน ศีล
• การมีสตกิ าํ หนด ดวยจิตท่ตี ั้งม่ันมีอารมณหนงึ่ เดียวตามทีก่ าํ หนด (จติ ตสั เสกัคตา) เปน
สมาธิ
• ความมีสมั ปชญั ญะรูทั่วพรอม มองเห็นตามสภาวะ เปน ปญ ญา
ฉ) ในการปฏบิ ตั ินี้ ศีลเปนเพียงฐานที่รองรบั อยู สวนธรรมท่ปี ฏบิ ัติซงึ่ จะเจรญิ ข้นึ ไป คือ สมาธิ
และปญ ญา อนั ไดแ ก สมถะ และวิปส สนา ในขอตอ ไป
ช) ในการปฏบิ ัติท้งั หมดน้ี สามจตุกกะแรก มที ้ัง สมถะ และ วิปสสนา แตจ ตกุ กะที่ ๔ เปน
วิปส สนา ลวน
ฌ) โสฬสวัตถกุ อานาปานสติ น้ี พระพทุ ธเจาตรัสแสดงบอย พบไดหลายแหงในพระไตรปฎก
แตท ่ปี ระมวลเร่ืองเกี่ยวขอ งและขอความแวดลอมไวครบถวน ซ่ึงรูจกั กนั ดแี ละเปนทอี่ างอิงกนั ทว่ั
ไป คอื อานาปานสติสตู ร (ม.อุ.14/282–291/190–202=MIII.78–88) นอกจากนั้นยังมคี าํ อธิบายโดย
พสิ ดารในพระไตรปฎ ก ปรากฏใน ปฏสิ ัมภทิ ามคั ค (ข.ุ ปฏ.ิ 31/361–422/244-299; = Ps.I.162–196) สว นใน
ชน้ั อรรถกถา กม็ อี ธบิ ายหลายแหง โดยเฉพาะทค่ี น ควา ไดส ะดวก คอื วสิ ทุ ธมิ คั ค (วสิ ุทธ .ิ 2/52-88=
Vism.266–293)
Vin.III.70; M.I.425; M.III.82; S.V.311; วนิ ย.1/178/132; ม.ม.13/146/140; ม.อุ.14/287/193;
A.V.111; Ps.I.162. ส.ํ ม.19/1305/394; อง.ทสก.24/60/119; ข.ุ ปฏ.ิ 31/361/244.
[347] อุปกิเลส หรอื จิตตอุปกิเลส 16 (ธรรมเครอ่ื งเศรา หมอง, สิง่ ทท่ี ําใหจ ติ ขุน
มัว รบั คณุ ธรรมไดยาก ดุจผาเปรอะเปอนสกปรก ยอ มไมไดด ี — Upakkilesa: mental
defilements)
1. อภชิ ฌาวสิ มโลภะ (คดิ เพง เลง็ อยากได โลภไมส มควร, โลภกลา จอ งจะเอา ไมเ ลอื กควรไม
ควร — Abhijjhà-visamalobha: greed and covetousness; covetousness and
[348] 266 พจนานุกรมพุทธศาสตร
unrighteous greed)
2. พยาบาท (คิดรา ยเขา — Byàpàda: malevolence; illwill)
3. โกธะ (ความโกรธ — Kodha: anger)
4. อุปนาหะ (ความผูกโกรธ — Upanàha: grudge; spite)
5. มักขะ (ความลบหลูคุณทา น, ความหลคู วามดีของผอู ื่น, การลบลางปด ซอนคุณคา ความดี
ของผอู น่ื — Makkha: detraction; depreciation; denigration)
6. ปลาสะ (ความตเี สมอ, ยกตวั เทยี มทาน, เอาตัวขึน้ ต้งั ขวางไว ไมยอมยกใหใครดกี วา ตน —
Palàsa: domineering; rivalry; envious rivalry)
7. อิสสา (ความริษยา — Issà: envy; jealousy)
8. มัจฉรยิ ะ (ความตระหนี่ — Macchariya: stinginess; meanness)
9. มายา (มารยา — Màyà: deceit)
10. สาเถยยะ (ความโออวดหลอกเขา, หลอกดว ยคาํ โออ วด — Sàñheyya: hypocrisy)
11. ถมั ภะ (ความหวั ดือ้ , กระดา ง — Thambha: obstinacy; rigidity)
12. สารมั ภะ (ความแขง ด,ี ไมย อมลดละ มงุ แตจ ะเอาชนะกนั — Sàrambha: presumption;
competing contention; contentiousness; contentious rivalry; vying; strife)
13. มานะ (ความถือตัว, ทะนงตน — Màna: conceit)
14. อตมิ านะ (ความถอื ตัววา ย่ิงกวา เขา, ดูหม่ินเขา — Atimàna: excessive conceit;
contempt)
15. มทะ (ความมัวเมา — Mada: vanity)
16. ปมาทะ (ความประมาท, ละเลย, เลินเลอ — Pamàda: heedlessness; negligence;
indolence)
ขอ 2 มีตางออกไป คือ ในธมั มทายาทสตู ร เปน โทสะ (ความคิดประทษุ รายเขา —
hatred) (ม.ม.ู 12/26/26)
M.I.36. ม.มู.12/93/65.
[348] ธาตุ 18 (ส่ิงท่ที รงสภาวะของตนอยเู อง ตามที่เหตุปจจัยปรุงแตง ขึ้น เปน ไปตามธรรม
นยิ ามคือกาํ หนดแหงธรรมดา ไมม ผี สู รา งผบู นั ดาล และมีรูปลักษณะกจิ อาการเปน แบบจาํ เพาะ
ตวั อันพึงกําหนดเอาเปนหลกั ไดแ ตละอยา งๆ — Dhàtu: elements)
1. จกั ขุธาตุ (ธาตคุ อื จกั ขปุ สาท — Cakkhu-dhàtu: eye element)
2. รูปธาตุ (ธาตุคือรูปารมณ — Råpa~: visible-data element)
3. จกั ขวุ ิญญาณธาตุ (ธาตุคือจักขวุ ญิ ญาณ — Cakkhuvi¤¤àõa~: eye-consciousness
element)
4. โสตธาตุ (ธาตคุ อื โสตปสาท — Sota~: ear element)
หมวดเกิน 10 267 [349]
5. สัททธาตุ (ธาตุคอื สัททารมณ — Sadda~: sound element)
6. โสตวิญญาณธาตุ (ธาตุคือโสตวิญญาณ — Sotavi¤¤àõa~: ear-consciousness
element)
7. ฆานธาตุ (ธาตุคือฆานปสาท — Ghàna~: nose element)
8. คันธธาตุ (ธาตุคือคนั ธารมณ — Gandha~: odour element)
9. ฆานวญิ ญาณธาตุ (ธาตุคือฆานวญิ ญาณ — Ghànavi¤¤àõa~: nose-consciousness
element)
10. ชวิ หาธาตุ (ธาตคุ อื ชวิ หาปสาท — Jivhà~: tongue element)
11. รสธาตุ (ธาตุคอื รสารมณ — Rasa~: flavour element)
12. ชวิ หาวญิ ญาณธาตุ (ธาตคุ อื ชวิ หาวญิ ญาณ — Jivhàvi¤¤àõa~: tongue-consciousness
element)
13. กายธาตุ (ธาตุคือกายปสาท — Kàya~: body element)
14. โผฏฐัพพธาตุ (ธาตุคอื โผฏฐัพพารมณ — Phoññhabba~: tangible-data element)
15. กายวญิ ญาณธาตุ (ธาตุคือกายวิญญาณ — Kàyavi¤¤àõa~: body-consciousness
element)
16. มโนธาตุ (ธาตุคอื มโน — Mano~: mind element)
17. ธรรมธาตุ (ธาตุคอื ธรรมารมณ — Dhamma~: mental-data element)
18. มโนวิญญาณธาตุ (ธาตคุ ือมโนวิญญาณ — Manovi¤¤àõa~: mind-consciousness
element)
ขอ ควรสังเกต
ก. ขอ 3, 6, 9, 12, 15 ไดแ ก ทวิปญจวญิ ญาณจิต รวมเปน จิต = 10
ข. ขอ 16 มโนธาตุ ไดแ ก สมั ปฏิจฉนะ 2 กบั ปญ จทวาราวชั ชนะ 1 รวมเปน จิต = 3
ค. ขอ 18 มโนวญิ ญาณธาตุ ไดแ ก จติ นอกเหนอื จากนนั้ อกี = 76
รวมเปนจติ ทัง้ ส้นิ = 89
ดู [356] จติ 89 หรอื 121.
Vbh.87; Vism.484; Comp.183. อภิ.วิ.35/124/108; วสิ ทุ ฺธิ.3/65; สงคฺ ห.44.
[349] อินทรีย 22 (ส่งิ ท่ีเปนใหญใ นการทํากจิ ของตน คือ ทําใหธ รรมอื่นๆ ที่เก่ียวขอ ง
เปนไปตามตน ในกิจนนั้ ๆ ในขณะท่ีเปนไปอยูนนั้ — Indriya: faculties)
หมวดที่ 1
1. จักขุนทรยี (อินทรีย คอื จักขุปสาท — Cakkhundriya: eye-faculty)
2. โสตนิ ทรีย (อนิ ทรีย คือ โสตปสาท — Sotindriya: ear-faculty)
[349] 268 พจนานุกรมพุทธศาสตร
3. ฆานนิ ทรยี (อินทรยี คือ ฆานปสาท — Ghànindriya: nose-faculty)
4. ชวิ หินทรีย (อินทรีย คอื ชิวหาปสาท — Jivhindriya: tongue-faculty)
5. กายนิ ทรีย (อินทรีย คือ กายปสาท — Kàyindriya: body-faculty)
6. มนนิ ทรยี (อินทรยี คือ ใจ ไดแก จิต ทจี่ ําแนกเปน 89 หรือ 121 ก็ตาม — Manindriya:
mind-faculty)
หมวดที่ 2
7. อติ ถินทรีย (อนิ ทรยี คอื อติ ถภี าวะ — Itthindriya: femininity faculty)
8. ปุริสินทรีย (อินทรยี คอื ปุรสิ ภาวะ — Purisindriya: masculinity faculty; virility)
9. ชีวิตินทรยี (อินทรยี คอื ชีวิต — Jãvitindriya: life faculty; vitality)
หมวดที่ 3
10. สขุ นิ ทรยี (อนิ ทรีย คอื สขุ เวทนา — Sukhindriya: bodily-pleasure faculty)
11. ทกุ ขนิ ทรีย (อินทรีย คอื ทกุ ขเวทนา — Dukkhindriya: bodily-pain faculty)
12. โสมนสั สินทรยี (อนิ ทรยี คอื โสมนสั สเวทนา — Somanassindriya: joy faculty)
13. โทมนัสสนิ ทรีย (อินทรีย คือ โทมนสั สเวทนา — Domanassindriya: grief faculty)
14. อุเปกขินทรยี (อินทรีย คอื อเุ บกขาเวทนา — Upekkhindriya: indifference faculty)
หมวดที่ 4
15. สัทธนิ ทรีย (อนิ ทรยี คือ ศรทั ธา — Saddhindriya: faith faculty)
16. วริ ิยินทรีย (อินทรยี คือ วริ ยิ ะ — Viriyindriya: energy faculty)
17. สตินทรีย (อินทรยี คอื สติ — Satindriya: mindfulness faculty)
18. สมาธินทรีย (อินทรีย คอื สมาธิ ไดแ ก เอกคั คตา — Samàdhindriya: concentration
faculty)
19. ปญญนิ ทรีย (อินทรยี คือ ปญ ญา — Pa¤¤indriya: wisdom faculty)
หมวดที่ 5
20. อนัญญาตัญญสั สามตี นิ ทรยี (อนิ ทรยี แหงผูป ฏบิ ัตดิ วยมุงวาเราจักรสู จั จธรรมทย่ี งั มิไดรู
ไดแ ก โสตาปตติมัคคญาณ — Ana¤¤àta¤¤assàmãtindriya: ‘I shall come to know
the unknown’ faculty, i.e. knowledge of the Stream-Entry Path.)
21. อัญญินทรยี (อินทรยี คอื อัญญา หรอื ปญ ญาอนั รูท ว่ั ถึง ไดแก ญาณ 6 ในทามกลาง คือ
โสตาปต ตผิ ลญาณ ถงึ อรหัตตมคั คญาณ — A¤¤indriya: perfect-knowledge faculty,
i.e. knowledge of the six intermediate Paths and Fruitions)
22. อญั ญาตาวนิ ทรีย (อินทรียแหง ทานผรู ูทั่วถงึ แลว กลา วคอื ปญญาของพระอรหันต ไดแก
อรหัตตผลญาณ — A¤¤àtàvindriya: perfect-knower faculty, i.e. knowledge of
the Fruition of Arahantship)
หมวดเกนิ 10 269 [350]
อินทรยี 22 น้ี ท่ีมาในพระสูตร มกี ระจายอยูเ ปน หมวดๆ ในทหี่ ลายแหง ไมครบทง้ั 22 ในที่
เดยี วกัน เฉพาะทีม่ าสาํ คญั ไดแก อินทรยี สังยตุ ต (ส.ํ ม.19/843–1089/256–318; S.V.193–243) สวนทม่ี า
ในพระอภิธรรม และปกรณพ ิเศษภายหลงั มี วิสทุ ธิมคั ค และ อภิธมั มัตถสังคหะ เปนตน มคี ํา
อธิบายโดยพสิ ดาร
Vbh.122; Vism.491; Comp.175. อภิ.ว.ิ 35/236/161; วิสทุ ธฺ ิ.3/72; สงฺคห.41.
[350] ปจจัย 24 (ลักษณะหรอื อาการแหงความสัมพนั ธระหวา งสิง่ ทัง้ หลาย ที่ส่ิงหนง่ึ หรอื
สภาวธรรมอยางหนึ่ง เปน องคประกอบท่ีชว ยเอ้ือ เกือ้ หนนุ คํา้ จุน เปน เหตุ หรือเปนเง่ือนไข ให
สงิ่ อ่นื หรอื สภาวธรรมอยางอน่ื เกดิ ขนึ้ คงอยู หรอื เปน ไปอยางใดอยางหน่งึ — Paccaya:
condition; mode of conditionality or relation)
1. เหตุปจ จยั (ปจจยั โดยเปนเหตุ — Hetu-paccaya: root condition)
2. อารัมมณปจ จยั (ปจ จัยโดยเปน อารมณ — ârammaõa-paccaya: object condition)
3. อธปิ ตปิ จ จยั (ปจ จยั โดยเปน เจา ใหญ — Adhipati-paccaya: predominance condition)
4. อนันตรปจจัย (ปจจัยโดยเปนภาวะตอเนือ่ งไมมีชองระหวา ง — Anantara-paccaya:
immediacy condition)
5. สมนันตรปจจัย (ปจจัยโดยเปนภาวะตอเนื่องทันที — Samanantara-paccaya:
contiguity condition)
6. สหชาตปจจัย (ปจจัยโดยเกิดรว มกัน — Sahajàta-paccaya: connascence condition)
7. อญั ญมญั ญปจ จัย (ปจจัยโดยอาศยั ซ่งึ กันและกนั — A¤¤ama¤¤a-paccaya: mutuality
condition)
8. นสิ สยปจ จยั (ปจ จัยโดยเปนทอี่ าศัย — Nissaya-paccaya: dependence condition)
9. อปุ นสิ สยปจจยั (ปจจัยโดยเปน เครอื่ งหนนุ หรือกระตุนเรา — Upanissaya-paccaya:
decisive-support condition; inducement condition)
10. ปุเรชาตปจจยั (ปจจยั โดยเกดิ กอน — Purejàta-paccaya: prenascence condition)
11. ปจ ฉาชาตปจจัย (ปจ จยั โดยเกดิ ทีหลงั — Pacchàjàta-paccaya: postnascence
condition)
12. อาเสวนปจจัย (ปจจัยโดยการซํ้าบอยหรือทําใหชิน — âsevana-paccaya:
repetition condition)
13. กรรมปจ จยั (ปจ จยั โดยเปน กรรมคอื เจตจาํ นง — Kamma-paccaya: kamma condition)
14. วปิ ากปจจัย (ปจ จยั โดยเปน วิบาก — Vipàka-paccaya: kamma-result condition)
15. อาหารปจ จัย (ปจ จยั โดยเปน อาหาร คือเปน เครื่องหลอ เล้ยี ง — âhàra-paccaya:
nutriment condition)
16. อินทรียปจจัย (ปจ จัยโดยเปนเจาการ — Indriya-paccaya: faculty condition)
[351] 270 พจนานุกรมพทุ ธศาสตร
17. ฌานปจ จยั (ปจ จยั โดยภาวะจติ ทเ่ี ปน ฌาน — Jhàna-paccaya: absorption condition)
18. มรรคปจ จัย (ปจ จยั โดยเปนมรรค — Magga-paccaya: path condition)
19. สมั ปยุตตปจจยั (ปจจยั โดยประกอบกัน — Sampayutta-paccaya: association
condition)
20. วปิ ปยตุ ตปจ จยั (ปจ จยั โดยแยกตา งหากกนั — Vippayutta-paccaya: dissociation condition)
21. อัตถิปจ จยั (ปจ จยั โดย[ตอง]มอี ยู — Atthi-paccaya: presence condition)
22. นตั ถปิ จจยั (ปจ จยั โดย[ตอ ง]ไมมีอยู — Natthi-paccaya: absence condition)
23. วิคตปจจัย (ปจจัยโดย[ตอง]ปราศไป — Vigata-paccaya: disappearance
condition)
24. อวคิ ตปจจยั (ปจจยั โดย[ตอ ง]ไมปราศไป — Avigata-paccaya: non-disappearance
condition)
ปจ จยั 24 น้ี เปน สาระของคําอธิบายทัง้ หมดในคัมภีรปฏฐานแหง พระอภิธรรมปฎ ก คอื
พระไตรปฎกบาลี 6 เลม ตง้ั แตเลม 40 ถึงเลม 45
Pañ.1 อภิ.ป.40/1/1
[,,,] รูป 28 ดู [38] รปู 28; [39] มหาภูต 4; [40] อุปาทารปู 24
[351] ภูมิ 4 หรอื 31 (ชนั้ แหง จติ , ระดบั จติ ใจ, ระดบั ชวี ติ — Bhåmi: planes of existence;
planes of life)
1. อบายภมู ิ 4 (ภูมทิ ่ปี ราศจากความเจรญิ — Apàya-bhåmi: planes of loss and woe;
unhappy planes)
1) นริ ยะ (นรก — Niraya: woeful state; hell)
2) ตริ ัจฉานโยนิ (กําเนดิ ดิรัจฉาน — Tiracchànayoni: animal kingdom)
3) ปตติวิสัย (แดนเปรต — Pittivisaya: ghost-sphere)
4) อสรุ กาย (พวกอสรู — Asurakàya: host of demons)
2. กามสคุ ตภิ มู ิ 7 (กามาวจรภมู ทิ เี่ ปน สคุ ต,ิ ภมู ทิ เี่ ปน สคุ ตซิ งึ่ ยงั เกยี่ วขอ งกบั กาม — Kàmasugati-
bhåmi: sensuous blissful planes)
1) มนุษย (ชาวมนษุ ย — Manussà: human realm)
2) จาตุมหาราชิกา (สวรรคชน้ั ท่ที าวมหาราช 4 ปกครอง — Càtummahàràjikà: realm
of the Four Great Kings)
3) ดาวดึงส (แดนแหง เทพ 33 มที า วสักกะเปนใหญ — Tàvati§sà: realm of the
Thirty-three Gods)
4) ยามา (แดนแหงเทพผูปราศจากความทุกข — Yàmà: realm of the Yàma gods)
หมวดเกนิ 10 271 [351]
5) ดุสิต (แดนแหง เทพผูเ อิบอิม่ ดวยสริ ิสมบตั ิของตน — Tusità: realm of satisfied
gods)
6) นมิ มานรดี (แดนแหงเทพผูยินดใี นการเนรมิต — Nimmànaratã: realm of the gods
who rejoice in their own creations)
7) ปรนิมมิตวสวัตดี (แดนแหงเทพผูยังอํานาจใหเปนไปในสมบัติที่ผูอื่นนิรมิตให —
Paranimmitavasavattã: realm of gods who lord over the creation of others)
ภมู ทิ ง้ั 11 ใน 2 หมวดน้ี รวมเปน กามาวจรภมู ิ 11 (ชนั้ ทท่ี อ งเทยี่ วอยใู นกาม — Kàmàvacara-
bhåmi: Sensuous Planes)
3. รูปาวจรภมู ิ 16 (ชนั้ ทท่ี องเที่ยวอยใู นรปู , ชั้นรปู พรหม — Råpàvacara-bhåmi: Form
Planes)
ก. ปฐมฌานภูมิ 3 (ระดบั ปฐมฌาน — first-Jhàna planes)
1) พรหมปารสิ ชั ชา (พวกบริษัทบรวิ ารมหาพรหม — Brahmapàrisajjà: realm of
great Brahmas’ attendants)
2) พรหมปโุ รหิตา (พวกปุโรหติ มหาพรหม — Brahmapurohità: realm of great
Brahmas’ ministers)
3) มหาพรหมา (พวกทา วมหาพรหม — Mahàbrahmà: realm of great Brahmas)
ข. ทุติยฌานภูมิ 3 (ระดบั ทุติยฌาน — second-Jhàna planes)
4) ปริตตาภา (พวกมีรัศมนี อ ย — Parittàbhà: realm of Brahmas with limited
lustre)
5) อปั ปมาณาภา (พวกมรี ศั มปี ระมาณไมไ ด — Appamàõàbhà: realm of Brahmas
with infinite lustre)
6) อาภสั สรา (พวกมีรัศมสี ุกปลงั่ ซา นไป — âbhassarà: realm of Brahmas with
radiant lustre)
ค. ตติยฌานภมู ิ 3 (ระดับตตยิ ฌาน — third-Jhàna planes)
7) ปริตตสุภา (พวกมลี าํ รศั มงี ามนอย — Parittasubhà: realm of Brahmas with
limited aura)
8) อัปปมาณสุภา (พวกมีลาํ รศั มีงามประมาณมไิ ด — Appamàõasubhà: realm of
Brahmas with infinite aura)
9) สุภกิณหา (พวกมีลาํ รัศมีงามกระจา งจา — Subhakiõhà: realm of Brahmas
with steady aura)
ง. จตตุ ถฌานภมู ิ 3–7 (ระดบั จตุตถฌาน — fourth-Jhàna planes)
10) เวหัปผลา (พวกมผี ลไพบูลย — Vehapphalà: realm of Brahmas with
[351] 272 พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร
abundant reward)
11) อสญั ญสี ตั ว (พวกสัตวไ มมสี ัญญา — Asa¤¤ãsattà: realm of non-percipient
beings)
(*) สุทธาวาส 5 (พวกมที ่อี ยูอนั บรสิ ุทธิ์ หรอื ทอี่ ยขู องทา นผูบ รสิ ทุ ธ์ิ คือ ท่เี กิดของ
พระอนาคามี — Suddhàvàsa: pure abodes) คอื
12) อวิหา (เหลาทา นผูไ มเสื่อมจากสมบัตขิ องตน หรือผูไมล ะไปเรว็ , ผคู งอยูนาน —
Avihà: realm of Brahmas who do not fall from prosperity)
13) อตัปปา (เหลาทานผูไมท ําความเดอื ดรอนแกใคร หรอื ผูไมเดือดรอ นกับใคร —
Atappà: realm of Brahmas who are serene)
14) สุทัสสา (เหลา ทานผูงดงามนาทศั นา — Sudassà: realm of Brahmas who are
beautiful)
15) สทุ สั สี (เหลา ทานผมู องเหน็ ชดั เจนดี หรอื ผมู ที ศั นาแจมชัด — Sudassã: realm of
Brahmas who are clear-sighted)
16) อกนฏิ ฐา (เหลาทา นผูไมมีความดอยหรือเล็กนอยกวา ใคร, ผูสงู สุด — Akaniññhà:
realm of the highest or supreme Brahmas)
4. อรูปาวจรภมู ิ 4 (ช้นั ท่ที องเทีย่ วอยูในอรูป, ช้ันอรปู พรหม — Aråpàvacara-bhåmi:
formless planes)
1) อากาสานญั จายตนภมู ิ (ชน้ั ทเี่ ขา ถงึ ภาวะมอี ากาศไมม ที สี่ ดุ — âkàsàna¤càyatana-
bhåmi: realm of infinite space)
2) วญิ ญาณญั จายตนภมู ิ (ชน้ั ทเี่ ขา ถงึ ภาวะมวี ญิ ญาณไมม ที สี่ ดุ — Vi¤¤àõa¤càyatana-
bhåmi: realm of infinite consciousness)
3) อากญิ จัญญายตนภมู ิ (ชน้ั ทีเ่ ขา ถงึ ภาวะไมมอี ะไร — âki¤ca¤¤àyatana-bhåmi:
realm of nothingness)
4) เนวสัญญานาสญั ญายตนภูมิ (ชั้นท่เี ขา ถงึ ภาวะมีสัญญากไ็ มใช ไมมสี ัญญากไ็ มใช
— Nevasa¤¤ànàsa¤¤àyatana-bhåmi: realm of neither perception nor non-
perception)
ปุถุชน พระโสดาบัน และพระสกทาคามี ยอมไมเกิดในสทุ ธาวาสภมู ;ิ พระอรยิ ะไมเ กดิ ใน
อสญั ญีภพ และในอบายภมู ;ิ ในภูมนิ อกจากน้ี ยอมมีทัง้ พระอริยะและมใิ ชอริยะไปเกิด.
ในพระไตรปฎ ก ไมพบทใี่ ดแสดงรายชื่อภมู ิทงั้ หลายไวท ั้งหมดในทเ่ี ดียว บาลีแสดงรายชื่อ
ภมู มิ ากท่สี ดุ (มีเฉพาะชน้ั สุคติภมู )ิ พบท่ี ม.อ.ุ 14/317–332/216–225 (M.III.99–103) กลา วตงั้ แตมนุษย
ขึ้นไปจนถึงอรูปาวจรภูมิ.
หมวดเกิน 10 273 [352]
ในบาลแี หงทีฆนกิ าย เปน ตน* แสดงคติ (ทไี่ ปเกดิ ของสัตว, แบบการดาํ เนนิ ชีวติ — Gati:
destiny; course of existence) วามี 5 คือ นิรยะ ตริ ัจฉานโยนิ เปตตวิ สิ ัย มนษุ ย และเทพ
(พวกเทพ — heavenly world ไดแกภ มู ิ 26 ต้ังแตจาตมุ หาราชกิ าข้นึ ไปทั้งหมด) จะเห็นวาภูมิ
31 สงเคราะหลงไดในคติ 5 ท้งั หมด ขาดแตอ สรุ กาย อยางไรก็ดี ในอรรถกถาแหง อติ ิวุตตกะ
เปนตน** ทา นกลาววา อสรู สงเคราะหลงในเปตติวิสยั ดวย จงึ เปนอนั สงเคราะหล งไดบริบูรณ
และในคติ 5 น้ัน 3 คติแรกจดั เปน ทุคติ (woeful courses) 2 คตหิ ลงั เปนสุคติ (happy
courses).
เนือ่ งดว ยภมู ิ 31 นจ้ี ดั ไดเ ปน 4 ระดับอยางทีก่ ลา วมา บางทจี งึ เรียกวา ภูมิ 4
อนง่ึ พงึ เทียบภมู ิ 31 หรอื ภมู ิ 4 หมวดนี้ กับ [162] ภูมิ 4 ท่มี าในพระบาลดี ว ย กลา วคอื
ภมู ิ 31 หรอื 4 หมวดน้ี จดั เขา ในภูมิ 3 ขอตนใน [162] ภูมิ 4 ดงั น้ี อบายภูมิ 4 และ กามสุคติ-
ภมู ิ 7 รวมเขาเปนกามาวจรภมู ิ (11) สว นรูปาวจรภูมิ (16) และ อรูปาวจรภูมิ (4) ตรงกนั รวม
ภูมิทั้งหมด 31 น้ี เปน โลกยี ภูมิ พนจากน้ไี ปเปน โลกตุ ตรภูมิ
ดู [162] ภมู ิ 4; [198] อบาย 4; [207] อรปู 4; [270] สวรรค 6.
Comp.137. สงฺคห.25.
[352] โพธิปกขิยธรรม 37 (ธรรมอนั เปนฝก ฝายแหง ความตรสั รู คือ เกอื้ กลู แกก าร
ตรัสร,ู ธรรมท่ีเกื้อหนนุ แกอริยมรรค — Bodhipakkhiya-dhamma: virtues partaking of
enlightenment; qualities contributing to or constituting enlightenment; enlightenment
states)
1. สติปฏฐาน 4 ดู [182]
2. สมั มัปปธาน 4 ดู [156]
3. อิทธบิ าท 4 ดู [213]
4. อนิ ทรีย 5 ดู [258]
5. พละ 5 ดู [228]
6. โพชฌงค 7 ดู [281]
7. มรรคมีองค 8 ดู [293]
โพธปิ ก ขยิ ธรรมน้ี ตามทท่ี ว่ั ไปในพระไตรปฎ ก ตรสั ไวเ พยี งเปน คาํ รวมๆ โดยไมไ ดร ะบชุ อ่ื องค
ธรรม นอกจากในสงั ยตุ ตนกิ ายแหง พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทมี่ พี ทุ ธพจนต รสั ระบไุ วว า ไดแ ก อนิ ทรยี 5
(ส.ํ ม.19/1024/301; 1041–3/305; 1071–1081/313–5) และในคัมภีรว ิภังคแ หง พระอภธิ รรมปฎก ซง่ึ ไข
ความวา โพธิปกขิยธรรม ไดแก โพชฌงค 7 (อภิ.วิ.35/611/336)
* ที.ปา.11/281/246; ม.มู.12/170/148; องฺ.นวก.23/272/480 (D.III.234; M.I.73; A.IV.459)
** อุ.อ.174; อติ .ิ อ.168 (approx., UdA.140; ItA.101)
[353] 274 พจนานุกรมพุทธศาสตร
ธรรมชุดน้ี เมอื่ ตรสั ระบชุ ือ่ ทง้ั ชดุ ในพระสูตร ทรงเรยี กวาเปน อภญิ ญาเทสิตธรรม เชน ที.
ม.10/107/141; ที.ปา.11/108/140; ม.อุ. 14/54/51) คอื เปนอภิญญาเทสิตธรรม 37 และในพระอภธิ รรม
ทา นแสดงไวว า ธรรม 37 ประการนีเ้ ปน สัทธรรม
นอกจากน้ี ธรรม 37 ประการชดุ นี้ยังไดชอื่ วาเปน สันติบท คือ ธรรมท่เี ปน ไปเพ่ือการ
บรรลุสนั ติ (รวมทง้ั เปน อมตบท และ นิพพานบท เปน ตน —ขุ.ม.29/701/414; ขุ.จ.ู 30/391/188)
และเปน เสรีธรรม หรอื ธรรมเสรี (ข.ุ จู.30/681/340; 684/342)
ในพระวนิ ยั ปฎ ก ทา นแสดงธรรม 37 ประการนไ้ี วเ ปน คาํ จาํ กดั ความของคาํ วา มรรคภาวนา
(ดู วนิ ย.1/236/175; 2/308/212)
ตอ มา ในคมั ภรี ช นั้ อรรถกถา รวมถงึ วสิ ทุ ธมิ คั ค จงึ ระบแุ ละแจกแจงไวช ดั เจนวา โพธปิ ก ขยิ ธรรม
37 ประการ ไดแกธ รรมเหลา นี้ (ดู อง.ฺ อ.1/77; อิติ.อ.287; ปฏิส.ํ อ.2/95, 196, 261; วสิ ุทฺธ.ิ 3/328)
Vism.681. วิสทุ ธฺ .ิ 3/328.
[353] มงคล 38 (สิง่ ทท่ี าํ ใหมโี ชคดี, ธรรมอันนํามาซ่งึ ความสขุ ความเจริญ — Maïgala:
blessings; เรียกเต็มวา อดุ มมงคล คือมงคลอนั สงู สดุ — highest blessing)
คาถาท่ี 1
1. อเสวนา จ พาลานํ (ไมคบคนพาล — Bàla-asevanà: not to associate with fools; to
dissociate from the wicked)
2. ปณฺฑติ านฺจ เสวนา (คบบัณฑิต — Paõóitasevanà: to associate with the wise)
3. ปชู า จ ปูชนียานํ (บูชาคนทค่ี วรบชู า — Påjaneyyapåjà: to honour those who are
worthy of honour)
คาถาท่ี 2
4. ปฏริ ปู เทสวาโส จ (อยใู นปฏิรูปเทศ, อยใู นถิ่นมีส่งิ แวดลอ มดี — Pañiråpadesavàsa:
living in a suitable region; good environment)
5. ปพุ เฺ พ จ กตปฺุตา (ไดท ําความดใี หพ รอมไวกอ น, ทาํ ความดีเตรียมพรอ มไวแตตน —
Pubbekatapu¤¤atà: having formerly done meritorious deeds)
6. อตฺตสมฺมาปณธิ ิ จ (ตั้งตนไวชอบ — Attasammàpaõidhi: setting oneself in the
right course; right direction in self-guidance; perfect self-adjustment)
คาถาที่ 3
7. พาหสุ จจฺ ฺจ (เลาเรียนศกึ ษามาก, ทรงความรูก วางขวาง, ใสใจสดบั ตรับฟงคน ควา หาความ
รอู ยูเ สมอ — Bàhusacca: great learning; extensive learning)
8. สปิ ฺปฺจ (มีศลิ ปวทิ ยา, ชาํ นาญในวชิ าชีพของตน — Sippa: skill; knowledge of the
arts and sciences)
หมวดเกนิ 10 275 [353]
9. วนิ โย จ สสุ ิกฺขโิ ต (มีวนิ ยั ทไ่ี ดศ ึกษาดีแลว , มีระเบียบวินัยดี, ไดฝก อบรมตนไวด ี —
Vinaya: highly trained discipline)
10. สภุ าสติ า จ ยา วาจา (วาจาสภุ าษิต, รจู กั ใชว าจาพูดใหเ ปนผลดี — Subhàsitavàcà:
well-spoken speech)
คาถาที่ 4
11. มาตาปต อุ ปุ ฏ านํ (บาํ รงุ มารดาบดิ า — Màtàpitu-upaññhàna: support of mother
and father)
12.–13. ปตุ ตฺ ทารสสฺ สงคฺ โห = ปตุ ตฺ สงคฺ ห (สงเคราะหบ ตุ ร — Puttasaïgaha: cherishing of
children) และ ทารสงคฺ ห (สงเคราะหภ รรยา — Dàrasaïgaha: cherishing of wife)
14. อนากุลา จ กมฺมนฺตา (การงานไมอากลู — Anàkulakammanta: a livelihood which
is free from complications)*
คาถาที่ 5
15. ทานฺจ (รูจักให, เผ่ือแผแ บงปน, บรจิ าคสงเคราะหแ ละบําเพญ็ ประโยชน — Dàna:
charity; liberality; generosity)
16. ธมมฺ จรยิ า จ(ประพฤตธิ รรม, ดาํ รงอยใู นศลี ธรรม — Dhammacariyà: righteous conduct)
17. าตกานฺจ สงฺคโห (สงเคราะหญาติ — ¥àtakasaïgaha: rendering aid to
relations)
18. อนวชชฺ านิ กมฺมานิ (การงานทีไ่ มมีโทษ, กจิ กรรมที่ดงี าม เปนประโยชน ซ่งึ ไมเ ปน ทางเสีย
หาย — Anavajjakamma: blameless actions; unexceptionable or beneficial
activities)**
คาถาที่ 6
19. อารตี วริ ตี ปาปา (เวน จากความชัว่ — Pàpavirati: abstaining from evils and
avoiding them)
20. มชฺชปานา จ สฺโม (เวนจากการด่มื นํ้าเมา — Majjapànasa¤¤ama: abstinence
from intoxicants)
21. อปฺปมาโท จ ธมเฺ มสุ (ไมประมาทในธรรมท้งั หลาย — Appamàda: diligence in
virtue; perseverance in virtuous acts)
* ทานอธิบายวา ไดแ ก อาชีพการงาน ทีท่ ําดวยความขยนั หม่นั เพยี ร เอาธรุ ะ รจู กั กาล ไมคงั่ คา งยอ หยอน —
spheres of work which are free from such unprofitableness as dilatoriness and tardiness. (ขทุ ทฺ ก.
อ. 153; KhA.139).
**ทา นยกตัวอยางไว เชน การสมาทานอุโบสถ การบําเพญ็ สาธารณประโยชน สรางสวน ปลูกปา สรา งสะพาน
เปนตน (ขทุ ฺทก.อ.156; KhA.141)
[353] 276 พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร
คาถาท่ี 7
22. คารโว จ (ความเคารพ, การแสดงออกทแ่ี สดงถึงความเปนผูร ูจักคุณคาของบุคคล ส่ิงของ
สถานที่ หรอื กจิ การนั้นๆ และรูจักใหความสาํ คญั และความใสใจเอื้อเฟอ โดยเหมาะสม — Gà
rava: reverence; respect; appreciative action)
23. นิวาโต จ (ความสภุ าพออนนอม, ถอ มตน — Nivàta: humility, courtesy; politeness)
24. สนตฺ ฏุ ี จ(ความสนั โดษ, ความเอบิ อม่ิ พงึ พอใจในผลสาํ เรจ็ ทไี่ ดส รา งขน้ึ หรอื ในลาภทแ่ี สวงหา
มาได ดว ยเรยี่ วแรงความเพยี รพยายามของตนโดยทางชอบธรรม —Santuññhã: contentment)
25. กตฺุตา (มคี วามกตญั ู — Kata¤¤utà: gratitude)
26. กาเลน ธมฺมสฺสวนํ (ฟง ธรรมตามกาล, แสวงความรูเ ก่ียวกบั หลกั ความจรงิ ความดีงาม
และเร่ืองทเ่ี ปน ประโยชน — Dhammassavana: the opportune hearing of the
Dhamma; listening to good advice and the teaching of Truth on due occasions)
คาถาท่ี 8
27. ขนตฺ ี จ (มคี วามอดทน — Khanti: patience; forbearance; tolerance)
28. โสวจสฺสตา (เปนผูวางายสอนงาย, พูดกันงาย ฟงเหตุผล — Sovacassatà:
amenability to correction; being easy to admonish)
29. สมณานฺจ ทสฺสนํ (พบเห็นสมณะ, เยีย่ มเยือนเขา หาทา นผูส งบกเิ ลส — Samaõa-
dassana: seeing the monks or holy persons)
30. กาเลน ธมมฺ สากจฉฺ า (สนทนาธรรมตามกาล, หาโอกาสสนทนาแลกเปลย่ี นความรคู วามคดิ
เหน็ กนั เกยี่ วกบั หลกั ความจรงิ ความดงี ามและเรอ่ื งทเ่ี ปน ประโยชน — Dhammasàkacchà:
religious discussion at due seasons; regular or opportune discussion of Truth)
คาถาที่ 9
31. ตโป จ (มคี วามเพียรเผากิเลส, รูจักบังคับควบคุมตน ไมป รนเปรอตามใจอยาก — Tapa:
self-control; simple life)
32. พฺรหมฺ จริยฺจ (ประพฤตพิ รหมจรรย, ดําเนินตามอรยิ มรรค, การรจู ักควบคมุ ตนในทาง
เพศ หรือถอื เมถนุ วริ ัติตามควร* — Brahmacariya: a holy life)
33. อริยสจจฺ าน ทสสฺ นํ (เหน็ อริยสัจจ, เขาใจความจริงของชีวติ — Ariyasacca-dassana:
discernment of the Noble Truths)
34. นพิ พฺ านสจฉฺ กิ ริ ยิ า จ (ทาํ พระนพิ พานใหแ จง , บรรลนุ พิ พาน — Nibbàna-sacchikiriyà:
realization of Nibbàna)
* พรหมจรรยใ นท่นี ้ี มุงเอาอัฏฐงั คกิ มรรคเปน หลัก แตจะตคี วามแคบหมายถงึ เมถนุ วิรตั ิก็ได ความหมายอยา ง
หยอนสําหรบั คฤหสั ถ คอื ถือพรหมจรรยใ นบุคคลทีม่ ใิ ชค ูครอง หรอื ถอื เดด็ ขาดในวันอโุ บสถ เปน ตน
หมวดเกนิ 10 277 [354]
คาถาท่ี 10
35. ผุฏสฺส โลกธมเฺ มหิ จติ ฺตํ ยสฺส น กมฺปติ (ถกู โลกธรรม จติ ไมหวนั่ ไหว — Akampita-
citta: to have a mind which is not shaken when touched by worldly vicissitudes)
36. อโสกํ (จิตไรเศรา — Asokacitta: to have the mind which is free from sorrow)
37. วิรชํ (จิตปราศจากธุลี — Virajacitta: to have the mind which is undefiled)
38. เขมํ (จิตเกษม — Khemacitta: to have the mind which is secure)
แตละคาถามบี ทสรุปวา “เอตมฺมงคฺ ลมุตตฺ มํ” (น้เี ปน มงคลอันอดุ ม — this is the highest
blessing)
มคี าถาสรปุ ทา ยมงคลทัง้ 38 นีว้ า สพพฺ ตถฺ มปราชติ า
ตนเฺ ตสํ มงฺคลมตุ ฺตมนตฺ .ิ ”
“เอตาทิสานิ กตฺวาน
สพฺพตฺถ โสตถฺ ึ คจฺฉนตฺ ิ
แปลวา “เทวะมนุษยท งั้ หลายกระทาํ มงคลเชนนี้แลว ยอ มเปน ผไู มป ราชยั ในทีท่ กุ สถาน ยอ ม
ถึงความสวัสดีในที่ทั้งปวง นี้คอื อุดมมงคลของเทวะมนุษยเ หลา นนั้ .” (Those who have done
these things see no defeat and go in safety everywhere. To them these are the
highest blessings.)
Kh.V.3; Sn.259–268. ข.ุ ข.ุ 25/5/3; ข.ุ สุ.25/317/376.
[354] กรรมฐาน 40 (ท่ีตั้งแหงการทํางานของจิต, สิ่งท่ีใชเปนอารมณในการเจริญ
ภาวนา, อปุ กรณในการฝกอบรมจติ — Kammaññhàna: mental exercises; subjects of
meditation)
1. กสิณ 10 ดู [315]
2. อสภุ ะ 10 ดู [336]
3. อนุสติ 10 ดู [335]
4. อัปปมัญญา 4 ดู [161]
5. อาหาเรปฏกิ ลู สญั ญา (กาํ หนดพจิ ารณาความเปน ปฏกิ ลู ในอาหาร — âhàrepañikålasa¤¤à:
perception of the loathsomeness of food)
6. จตธุ าตวุ วฏั ฐาน (กาํ หนดพิจารณาธาตุ 4, พิจารณาเหน็ รางกายของตนโดยสักวา เปน ธาตุ 4
แตละอยา งๆ; ธาตุมนสกิ าร ก็เรียก — Catudhàtu-vavaññhàna: analysis of the four
elements)
7. อรูป 4 ดู [207]
กรรมฐานใดใหไดสมาธถิ ึงขนั้ ใด ดู [99] ภาวนา 3; กรรมฐานใดเหมาะกบั จรติ ใด ดู [262]
จริต 6.
Vism.110; Comp.204. วสิ ุทธฺ ิ.1/139; สงคฺ ห.51.
[355] 278 พจนานกุ รมพุทธศาสตร
[355] เจตสิก 52 (ธรรมท่ีประกอบกบั จติ , สภาวธรรมท่ีเกดิ ดับพรอมกับจติ มอี ารมณแ ละ
วัตถุที่อาศยั เดยี วกนั กับจติ , อาการและคณุ สมบัตติ า งๆ ของจิต — Cetasika: mental factors;
mental concomitants)
ก. อัญญสมานาเจตสิก 13 (เจตสกิ ที่มีเสมอกนั แกจ ิตพวกอ่นื คอื ประกอบเขาไดกับจิตทุก
ฝายทั้งกุศลและอกุศล มิใชเขาไดแตฝายใดฝายหนึ่งพวกเดียว — A¤¤asamàna-
cetasika: the Common-to-Each-Other; general mental factors)
1) สพั พจิตตสาธารณเจตสกิ 7 (เจตสิกทเ่ี กดิ ท่ัวไปกบั จิตทุกดวง — Sabbacitta-
sàdhàraõa~: universal mental factors; the Primary)
1. ผัสสะ (ความกระทบอารมณ — Phassa: contact; sense-impression)
2. เวทนา (ความเสวยอารมณ — Vedanà: feeling)
3. สัญญา (ความหมายรอู ารมณ — Sa¤¤à: perception)
4. เจตนา (ความจงใจตอ อารมณ — Cetanà: volition)
5. เอกคั คตา (ความมอี ารมณเ ปน อนั เดยี ว — Ekaggatà: one-pointedness; concentration)
6. ชวี ติ นิ ทรยี (อนิ ทรยี ค อื ชวี ติ , สภาวะทเี่ ปน ใหญใ นการรกั ษานามธรรมทงั้ ปวง — Jãvitindriya:
vitality; life-faculty)
7. มนสกิ าร (ความกระทาํ อารมณไวในใจ, ใสใ จ — Manasikàra: attention)
2) ปกณิ ณกเจตสิก 6 (เจตสิกทเี่ รีย่ รายแพรกระจายทว่ั ไป คือ เกิดกับจิตไดท ง้ั ฝายกศุ ล
และอกุศล แตไมแ นน อนเสมอไปทุกดวง — Pakiõõaka~: particular mental factors;
the Secondary)
8. วติ ก (ความตรกึ อารมณ — Vitakka: initial application; thought conception;
applied thought)
9. วจิ าร (ความตรองหรอื พจิ ารณาอารมณ — Vicàra: sustained application; discursive
thinking; sustained thought)
10. อธิโมกข (ความปลงใจหรือปกใจในอารมณ — Adhimokkha: determination;
resolution)
11. วิรยิ ะ (ความเพยี ร — Viriya: effort; energy)
12. ปต ิ (ความปลาบปล้มื ในอารมณ, อมิ่ ใจ — Pãti: joy; interest)
13. ฉนั ทะ (ความพอใจในอารมณ — Chanda: conation; zeal)
ข. อกศุ ลเจตสกิ 14 (เจตสกิ ฝา ยอกศุ ล — Akusala~: immoral or unwholesome mental
factors; unprofitable mental factors)
1) สพั พากุสลสาธารณเจตสิก 4 (เจตสิกทเ่ี กดิ ท่ัวไปกบั อกุศลจิตทุกดวง — Sabbà-
kusalasàdhàraõa~: universal immorals; the Primary)
หมวดเกนิ 10 279 [355]
14. โมหะ (ความหลง — Moha: delusion)
15. อหิริกะ (ความไมละอายตอ บาป — Ahirika: shamelessness; lack of moral shame)
16. อโนตตปั ปะ (ความไมสะดงุ กลัวตอบาป — Anottappa: fearlessness of wrong-
doing; lack of moral dread)
17. อุทธจั จะ (ความฟุงซา น — Uddhacca: restlessness; unrest)
2) ปกณิ ณกอกุสลเจตสกิ 10 (อกุศลเจตสิกทเ่ี กดิ เรย่ี รายแกอ กศุ ลจิต — Pakiõõaka-
akusala~: particular immorals; the Secondary)
18. โลภะ (ความอยากไดอารมณ — Lobha: greed)
19. ทฏิ ฐิ (ความเหน็ ผดิ — Diññhi: wrong view)
20. มานะ (ความถือตัว — Màna: conceit)
21. โทสะ (ความคิดประทุษราย — Dosa: hatred)
22. อิสสา (ความริษยา — Issà: envy; jealousy)
23. มัจฉรยิ ะ (ความตระหน่ี — Macchariya: stinginess; meanness)
24. กุกกจุ จะ (ความเดือดรอนใจ — Kukkucca: worry; remorse)
25. ถีนะ (ความหดหู — Thãna: sloth)
26. มทิ ธะ (ความงวงเหงา — Middha: torpor)
27. วิจิกจิ ฉา (ความคลางแคลงสงสัย — Vicikicchà: doubt; uncertainty; scepsis)
ค. โสภณเจตสกิ 25 (เจตสกิ ฝายดงี าม — Sobhaõa~: beautiful mental factors; lofty
mental factors)
1) โสภณสาธารณเจตสกิ 19 (เจตสกิ ทเ่ี กิดทวั่ ไปกับจิตดงี ามทุกดวง — Sobhaõa-
sàdhàraõa~: universal beautiful mental factors; the Primary)
28. สทั ธา (ความเช่ือ — Saddhà: confidence; faith)
29. สติ (ความระลกึ ได, ความสํานกึ พรอมอยู — Sati: mindfulness)
30. หริ ิ (ความละอายตอ บาป — Hiri: moral shame; conscience)
31. โอตตัปปะ (ความสะดงุ กลวั ตอ บาป — Ottappa: moral dread)
32. อโลภะ (ความไมอ ยากไดอ ารมณ — Alobha: non-greed)
33. อโทสะ (ความไมคิดประทษุ ราย — Adosa: non-hatred)
34. ตัตรมัชฌตั ตตา (ความเปน กลางในอารมณน ้นั ๆ — Tatramajjhattatà: equanimity;
specific neutrality)
35. กายปส สทั ธิ (ความสงบแหง กองเจตสกิ — Kàya-passaddhi: tranquillity of mental body)
36. จิตตปสสัทธิ (ความสงบแหง จติ — Citta-passaddhi: tranquillity of mind)
[356] 280 พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร
37. กายลหตุ า (ความเบาแหง กองเจตสิก — Kàya-lahutà: lightness of mental body;
agility of ~)
38. จติ ตลหตุ า (ความเบาแหงจิต — Citta-lahutà: lightness of mind; agility of ~)
39. กายมทุ ตุ า (ความออ นหรอื นมุ นวลแหง กองเจตสกิ — Kàya-mudutà: pliancy of mental
body; elasticity of ~)
40. จติ ตมทุ ตุ า (ความออ นหรอื นมุ นวลแหง จติ — Citta-mudutà: pliancy of mind;
elasticity of ~)
41. กายกมั มญั ญตา (ความควรแกก ารงานแหง กองเจตสกิ — Kàya-kamma¤¤atà: adaptability
of mental body; wieldiness of ~)
42. จิตตกมั มัญญตา (ความควรแกก ารงานแหง จติ — Citta-kamma¤¤atà: adaptability
of mind; wieldiness of ~)
43. กายปาคญุ ญตา (ความคลองแคลวแหงกองเจตสกิ — Kàya-pàgu¤¤atà: proficiency
of mental body)
44. จติ ตปาคญุ ญตา (ความคลอ งแคลว แหง จติ — Citta-pàgu¤¤atà: proficiency of mind)
45. กายุชกุ ตา (ความซอ่ื ตรงแหง กองเจตสกิ — Kàyujukatà: rectitude of mental body;
uprightness of ~)
46. จติ ตชุ กุ ตา (ความซอื่ ตรงแหง จติ — Cittujukatà: rectitude of mind; uprightness of ~)
2) วิรตีเจตสกิ 3 (เจตสิกท่เี ปน ตวั ความงดเวน — Viratã~: abstinences)
47. สมั มาวาจา (เจรจาชอบ — Sammàvàcà: right speech)
48. สัมมากมั มันตะ (กระทําชอบ — Sammàkammanta: right action)
49. สมั มาอาชีวะ (เลีย้ งชีพชอบ — Sammà-àjãva: right livelihood)
3) อปั ปมญั ญาเจตสกิ 2 (เจตสกิ คอื อปั ปมญั ญา — Appama¤¤à~: boundless states)
50. กรุณา (ความสงสารสตั วผถู งึ ทกุ ข — Karuõà: compassion)
51. มุทิตา (ความยนิ ดีตอ สัตวผูไดส ขุ — Mudità: sympathetic joy)
4) ปญ ญนิ ทรยี เจตสกิ 1 (เจตสกิ คอื ปญ ญนิ ทรยี — Pa¤¤indriya~: fuculty of wisdom)
52. ปญ ญนิ ทรยี หรอื อโมหะ (ความรเู ขา ใจ ไมห ลง — Pa¤¤indriya, Amoha: undeluded-
ness; wisdom)
Comp.94. สงคฺ ห.7.
[356] จิต 89 หรอื 121 (ธรรมชาตทิ ่ีรอู ารมณ, สภาพทีน่ กึ คดิ , ความคดิ , ใจ, วญิ ญาณ
— Citta: mind; thought; consciousness; a state of consciousness)
จติ มไี วพจน คอื คาํ ที่ตา งเพยี งรูป แตม ีความหมายเหมอื นกันหรอื คลา ยกนั ใชแ ทนกนั ได
หลายคาํ เชน มโน มานสั หทยั บณั ฑร มนายตนะ มนนิ ทรยี และ วญิ ญาณ เปนตน (อภิ.สํ.
หมวดเกิน 10 281 [356]
34/21/10; ฯลฯ) คําเหลา น้มี ีความหมายเกยกนั มิใชตรงกันโดยสมบรู ณ ใชแ ทนกนั ไดในบางโอกาส
มิใชเ สมอไป
เมอื่ จดั แบง สภาวธรรมทงั้ หลายเปน ประเภทๆ ทเี่ รยี กวา ขนั ธ 5 จติ ไดแ ก วญิ ญาณขนั ธ แตใน
คัมภีรอภิธรรมยุคตอ มา นยิ มประมวลสภาวธรรมเขา เปน 4 อยา ง เรยี กวา ปรมตั ถธรรม 4 จิต
เปน ปรมัตถธรรมอยา งที่ 1; ดู [157] ปรมตั ถธรรม 4; [216] ขนั ธ 5.
คัมภรี อภิธรรมรุนอรรถกถา ประมวลเรื่องจติ ทแ่ี สดงไวใ นพระอภธิ รรมปฎ กแลว แจงนบั
สภาพจิตท้งั หลายไววา มีจาํ นวน 89 หรอื โดยพสิ ดารมี 121 เรียกวา จิต 89 หรือ 121
เบอ้ื งตน น้ี จะประมวลจติ ทง้ั หมดไวเ ปน หมวดหมใู หญๆ กอ น เพอ่ื สะดวกในการศกึ ษากาํ หนด
จดจาํ และทบทวนตอ ไป ในทนี่ ี้ พงึ ทราบวธิ จี าํ แนกประเภท 2 แบบ เปรยี บเทยี บกนั ดงั น้ี*
* ทา นเรยี บเรยี งเปน คาถาสรปุ ความไว ดงั นี้ กสุ ลาเนกวีสติ
ทวฺ าทสากสุ ลาเนว กฺรยิ าจติ ฺตานิ วีสติ ฯ
ฉตฺตึเสว วปิ ากานิ รูเป ปณณฺ รสรี เิ ย
จตปุ ฺาสธา กาเม อฎธานตุ ตฺ เร ตถา ฯ
จติ ตฺ านิ ทฺวาทสารูเป ปเภทํ ปน มานสํ
อิตฺถเมกูนนวุตปิ ฺ- วภิ ชนตฺ ิ วิจกขฺ ณา ฯ
เอกวสี สตํ วาถ
[356] 282 พจนานกุ รมพุทธศาสตร โสภณจิต 59 (91)
ฌานจติ 67
ก. โดยชาตปิ ระเภท ข. โดยภมู ิประเภท
1. อกุศลจติ 12 1. กามาวจรจติ 54
- โลภมูลจติ 8 1) อกศุ ลจิต 12
- โทสมลู จิต 2 - โลภมูลจติ 8
- โมหมลู จติ 2 - โทสมลู จิต 2
- โมหมลู จิต 2
2. กศุ ลจิต 21 (37)
2) อเหตกุ จติ 18
- มหากุศลจิต 8 - อกุศลวิบากจติ 7
- รปู าวจรกุศลจิต 5 - กุศลวิบากอเหตุกจิต 8
- อรปู าวจรกุศลจิต 4 - อเหตกุ กริ ยิ าจติ 3
- โลกุตตรกุศลจิต 4 (20)
3) กามาวจรโสภณจิต 24
3. วิปากจติ 36 (52) - มหากศุ ลจติ 8
- มหาวบิ ากจติ 8
- อกุศลวิบากจติ 7 - มหากริ ิยาจิต 8
- กศุ ลวบิ ากอเหตกุ จิต 8
- มหาวิบากจติ 8 2. รปู าวจรจิต 15
- รูปาวจรวบิ ากจติ 5
- อรปู าวจรวิบากจิต 4 1) รปู าวจรกุศลจิต 5
- โลกุตตรวบิ ากจิต 4 (20) 2) รปู าวจรวิบากจติ 5
3) รปู าวจรกริ ยิ าจิต 5
4. กิริยาจิต 20
3. อรูปาวจรจติ 12
- อเหตกุ กริ ิยาจิต 3
- มหากริ ิยาจิต 8 1) อรปู าวจรกุศลจติ 4
- รปู าวจรกริ ิยาจติ 5 2) อรูปาวจรวิบากจิต 4
- อรปู าวจรกริ ยิ าจติ 4 3) อรปู าวจรกิรยิ าจติ 4
4. โลกุตตรจติ 8 (× ฌาน 5 = 40)
1) โลกตุ ตรกศุ ลจติ 4 (20)
2) โลกุตตรวบิ ากจติ 4 (20)
หมายเหต:ุ ตวั เลขในวงเลบ็ ( ) หมายถงึ จาํ นวนอยา งพสิ ดาร เมอ่ื นบั จติ เปน 121 (พงึ สงั เกตวา จาํ นวนจะเพมิ่
เฉพาะ โลกตุ ตรจติ อยา งเดยี ว คอื โลกตุ ตรจติ อยา งยอ มี 8 อยา งพสิ ดารจาํ แนกออกไปตามฌานทงั้ 5 เปน 40)
ตอ ไปจะแสดง จติ 89 หรอื 121 ตามแบบภมู ิประเภท (แบบชาตปิ ระเภทพงึ กาํ หนดเอา
จากแบบภมู ิประเภทน้ี ตามหวั ขอท่ีแสดงไวแลว )