หมวดเกิน 10 283 [356]
1. กามาวจรจติ 54 (จติ ทเี่ ปน ไปในกามภูมิ — Kàmàvacara-citta: consciousness of the
Sense Sphere)
1) อกศุ ลจติ 12 (จติ อันเปน อกุศล — Akusala-citta: immoral consciousness) อกุศลจติ
มีแตทเี่ ปน กามาวจรนเี้ ทา นั้น คือ
• โลภมลู จติ 8 (จิตมโี ลภะเปน มลู — Lobhamåla-citta: consc rooted in greed)
1. โสมนสสฺ สหคตํ ทฏิ คิ ตสมปฺ ยุตฺตํ อสงขฺ าริกํ
2. ” ” สสงฺขารกิ ํ
3. ” ทิฏ ิคตวิปฺปยุตฺตํ อสงขฺ าริกํ
4. ” ” สสงฺขาริกํ
5. อเุ ปกฺขาสหคตํ ทฏิ คิ ตสมฺปยุตฺตํ อสงฺขารกิ ํ
6. ” ” สสงขฺ าริกํ
7. ” ทฏิ คิ ตวปิ ปฺ ยุตฺตํ อสงขฺ ารกิ ํ
8. ” ” สสงฺขาริกํ
1. จติ ทเ่ี กดิ พรอ มดว ยโสมนสั สเวทนา ประกอบดวยมจิ ฉาทิฏฐิ ไมม กี ารชักนํา
2. ” ” มกี ารชักนํา
3. ” ไมป ระกอบดว ยมจิ ฉาทฏิ ฐิ ไมม กี ารชักนาํ
4. “ ” มีการชกั นาํ
5. จติ ท่ีเกดิ พรอมดวยอุเบกขาเวทนา ประกอบดว ยมจิ ฉาทฏิ ฐิ ไมม ีการชกั นาํ
6. ” ” มีการชักนํา
7. ” ไมป ระกอบดว ยมจิ ฉาทฏิ ฐิ ไมม ีการชกั นํา
8. ” ” มกี ารชักนํา
1. One consc, accom by joy, assoc with wrong view, unprompted.*
2. ~ , ~ , ~ , prompted.
3. ~ , ~ , dissoc from wrong view, unprompted.
4. ~ , ~ , ~ , prompted.
5. One consc, accom by indif, assoc with wrong view, unprompted.
6. ~ , ~ , ~ , prompted.
7. ~ , ~ , dissoc from wrong view, unprompted.
8. ~ , ~ , ~ , prompted.
* consc = consciousness; accom = accompanied; assoc = associated; dissoc = dissociated;
indif = indifference.
[356] 284 พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร
• โทสมูลจิต 2* (จิตมโี ทสะเปน มลู — Dosamåla-citta: consc rooted in hatred)
1. โทมนสสฺ สหคตํ ปฏฆิ สมปฺ ยุตตฺ ํ อสงขฺ ารกิ ํ
2. ” ” สสงขฺ าริกํ
1. จติ ท่ีเกิดพรอ มดว ยโทมนัสสเวทนา ประกอบดว ยปฏิฆะ ไมมกี ารชักนํา
2. ” ” มกี ารชักนาํ
1. One consc, accom by grief, assoc with resentment, unprompted.
2. ~ , ~ , ~ , prompted.
• โมหมลู จิต 8 (จติ มโี มหะเปน มลู — Mohamåla-citta: consc rooted in delusion)
1. อุเปกขฺ าสหคตํ วจิ กิ จิ ฺฉาสมฺปยุตฺตํ
2. ” อุทธฺ จฺจสมฺปยุตฺตํ
1. จิตทเี่ กิดพรอ มดว ยอเุ บกขาเวทนา ประกอบดวยวิจิกจิ ฉา
2. ” ประกอบดวยอทุ ธจั จะ
1. One consc, accom by indif, assoc with uncertainty.
2. ~ , ~ , assoc with restlessness.
2) อเหตกุ จติ 18 (จติ อันไมม สี มั ปยุตตเหตุ คอื ไมประกอบดวยเหตุ 6 ไดแก โลภะ โทสะ
โมหะ อโลภะ อโทสะ อโมหะ — Ahetuka-citta: rootless consc)
• อกศุ ลวบิ ากจติ 7 (จติ ทเี่ ปน ผลของอกศุ ล — Akusalavipàka-citta: rootless resultant-
of-immorality consc)
1. อุเปกขฺ าสหคตํจกขฺ วุ ิ ฺาณํ
2. ” โสตวิฺาณํ
3. ” ฆานวิฺาณํ
4. ” ชิวฺหาวิฺาณํ
5. ทกุ ฺขสหคตํ กายวิฺาณํ
6. อเุ ปกฺขาสหคตํสมฺปฏจิ ฉฺ นนฺ ํ
7. อุเปกขฺ าสหคตํสนตฺ รี ณํ
1. จักขุวิญญาณจิต ที่เกิดพรอ มดวยอเุ บกขาเวทนา
2. โสตวญิ ญาณจติ ”
3. ฆานวิญญาณจิต ”
4. ชิวหาวิญญาณจติ ”
* เรยี ก ปฏฆิ สมั ปยตุ ตจติ ก็ได
หมวดเกนิ 10 285 [356]
5. กายวญิ ญาณจติ ที่เกดิ พรอมดว ยทกุ ขเวทนา
6. สัมปฏจิ ฉนั นจิต ทีเ่ กิดพรอมดว ยอเุ บกขาเวทนา
7. สนั ตีรณจิต ”
1. Eye-consc, accom by indif.
2. Ear-consc, ~
3. Nose-consc, ~
4. Tongue-consc, ~
5. Body-consc, accom by pain.
6. Receiving-consc, accom by indif.
7. Investigating-consc, ~
• กุศลวิบากอเหตกุ จิต 8 (จติ ทเ่ี ปนผลของกุศล ไมม ีสมั ปยตุ ตเหตุ — Kusalavipàka-
ahetuka-citta: rootless resultant-of-morality consc)
1. อเุ ปกขฺ าสหคตํ จกฺขุวิ ฺาณํ
2. “ โสตวิ ฺาณํ
3. “ ฆานวิฺาณํ
4. “ ชวิ ฺหาวิฺาณํ
5. สุขสหคตํ กายวิ ฺาณํ
6. อุเปกขฺ าสหคตํ สมปฺ ฏิจฉฺ นนฺ ํ
7. โสมนสฺสสหคตํ สนฺตีรณํ
8. อุเปกฺขาสหคตํ สนตฺ รี ณํ
1. จักขวุ ิญญาณจติ ทีเ่ กดิ พรอ มดว ยอุเบกขาเวทนา
2. โสตวญิ ญาณจติ ”
3. ฆานวิญญาณจิต ”
4. ชวิ หาวญิ ญาณจิต ”
5. กายวิญญาณจิต ทีเ่ กดิ พรอ มดว ยสุขเวทนา
6. สมั ปฏจิ ฉนั นจติ ทเ่ี กิดพรอ มดว ยอุเบกขาเวทนา
7. สันตรี ณจิต ท่ีเกิดพรอมดวยโสมนัสสเวทนา
8. สนั ตีรณจติ ที่เกิดพรอ มดว ยอเุ บกขาเวทนา
1.–4. Eye-, Ear-, Nose-, Tongue-consc, accom by indif.
5. Body-consc, accom by pleasure.
6. Receiving-consc, accom by indif.
[356] 286 พจนานกุ รมพุทธศาสตร
7. Investigating-consc, accom by joy.
8. Investigating-consc, accom by indif.
• อเหตกุ กริ ยิ าจิต 3 (จิตทเ่ี ปน เพียงกริ ยิ า ไมม สี มั ปยุตตเหตุ — Ahetukakiriyà-citta:
rootless functional consc)
1. อุเปกขฺ าสหคตํ ปฺจทฺวาราวชชฺ นํ
2. ” มโนทฺวาราวชชฺ นํ
3. โสมนสสฺ สหคตํ หสติ ปุ ฺปาทจติ ตฺ ํ
1. ปญจทวาราวัชชนจติ * ทเ่ี กดิ พรอมดว ยอเุ บกขาเวทนา
2. มโนทวาราวชั ชนจิต** ”
3. หสิตปุ ปาทจติ *** ท่เี กดิ พรอมดว ยโสมนสั สเวทนา
1. Five-sense-door adverting consc, accom by indif.
2. Mind-door adverting consc, accom by indif.
3. Smile-producing consc, accom by joy.
3) กามาวจรโสภณจิต 24 (จิตดงี ามทเ่ี ปน ไปในกามภูมิ — Kàmàvacara-sobhaõa-citta:
Sense-Sphere beautiful consc
• มหากศุ ลจิต หรือ สเหตกุ กามาวจรกศุ ลจิต 8 (จิตท่เี ปน กศุ ลยง่ิ ใหญ หรอื กศุ ลจติ ที่
เปนไปในกามภมู ิ มสี ัมปยตุ ตเหตุ — Mahàkusala-citta: moral consc)
1. โสมนสสฺ สหคตํ าณสมฺปยตุ ตฺ ํ อสงขฺ าริกํ
2. ” ” สสงฺขารกิ ํ
3 ” าณวิปฺปยตุ ฺตํ อสงฺขาริกํ
4. ” ” สสงขฺ าริกํ
5. อเุ ปกฺขาสหคตํ าณสมปฺ ยตุ ฺตํ อสงขฺ าริกํ
6. ” ” สสงฺขารกิ ํ
7. ” าณวิปฺปยตุ ตฺ ํ อสงขฺ าริกํ
8. “ “ สสงฺขารกิ ํ
1. จิตท่ีเกดิ พรอมดวยโสมนัสสเวทนา ประกอบดว ยปญ ญา ไมม ีการชกั นาํ
2. ” ” มกี ารชักนํา
* จติ ท่รี าํ พงึ ถงึ อารมณท ี่กระทบทวารท้งั 5
** จติ ท่รี ําพึงถงึ อารมณอ ันมาถงึ คลองในมโนทวาร = โวฏฐพั พนะ
***จติ ทีท่ ําใหเกิดการแยมยิม้ ของพระอรหนั ต
หมวดเกิน 10 287 [356]
3. จิตทเี่ กิดพรอ มดวยโสมนัสสเวทนา ไมป ระกอบดว ยปญญา ไมม กี ารชกั นาํ
4. ” ” มีการชักนาํ
5. จิตที่เกดิ พรอมดวยอเุ บกขาเวทนา ประกอบดวยปญญา ไมมกี ารชกั นํา
6. ” ” มกี ารชักนํา
7. ” ไมประกอบดว ยปญญา ไมม ีการชกั นาํ
8. ” ” มีการชักนาํ
1. One consc, accom by joy, assoc with knowledge, unprompted.
2. ~ , ~ , ~ , prompted.
3. ~ , ~ , dissoc from knowledge, unprompted.
4. ~ , ~ , ~ , prompted.
5. One consc, acc by indif, assoc with knowledge, unprompted.
6. ~ , ~ , ~ , prompted.
7. ~ , ~ , dissoc from knowledge, unprompted.
8. ~ , ~ , ~ , prompted.
• มหาวิบากจติ หรอื สเหตุกกามาวจรวบิ ากจติ 8 (จติ อันเปนผลของมหากศุ ล หรอื
วิบากจิตท่ีเปน ไปในกามภมู ิ มีสมั ปยุตตเหตุ — Mahàvipàka-citta: resultant consc)
(เหมอื นกบั มหากศุ ลจิตทุกขอ)
• มหากิริยาจติ หรือ สเหตกุ กามาวจรกริ ยิ าจติ 8 (จติ อันเปน กริ ยิ าอยางท่ีทํามหากุศล
แตไ มม วี บิ าก ไดแ กก ารกระทาํ มหากศุ ลของพระอรหนั ต หรอื กริ ยิ าจติ ในกามภมู ิ มสี มั ปยตุ ตเหตุ
— Mahàkiriyà-citta: functional consc)
(เหมือนกับมหากุศลจิตทกุ ขอ )
2. รปู าวจรจติ 15 (จติ อนั เปน ไปในรปู ภมู ิ — Råpàvacara-citta:Form-Sphere consciousness)
1) รปู าวจรกศุ ลจติ 5 (กศุ ลจติ ทเี่ ปน ไปในรปู ภมู ิ ไดแ กจ ติ ของผเู ขา ถงึ รปู ฌาน — Råpàvacara-
kusala-citta: Form-Sphere moral consc)
1. วิตกกฺ วิจารปติสเุ ขกคคฺ ตาสหติ ํ ปมชฌฺ านกสุ ลจิตฺตํ
2. วจิ ารปตสิ ุเขกคคฺ ตาสหติ ํ ทตุ ิยชฌฺ านกสุ ลจิตฺตํ
3. ปติสเุ ขกคฺคตาสหติ ํ ตติยชฌฺ านกสุ ลจติ ฺตํ
4. สุเขกคคฺ ตาสหิตํ จตตุ ถฺ ชฺฌานกุสลจติ ฺตํ
5. อุเปกเฺ ขกคฺคตาสหติ ํ ปฺจมชฌฺ านกสุ ลจติ ตฺ ํ
1. ปฐมฌานกุศลจติ ทป่ี ระกอบดวย วิตก วิจาร ปต ิ สุข เอกคั คตา
2. ทุติยฌานกศุ ลจิต ที่ประกอบดว ย วจิ าร ปต ิ สขุ เอกัคคตา
[356] 288 พจนานุกรมพทุ ธศาสตร
3. ตตยิ ฌานกุศลจติ ทปี่ ระกอบดวย ปติ สขุ เอกัคคตา
4. จตตุ ถฌานกุศลจติ ทีป่ ระกอบดวย สุข เอกคั คตา
5. ปญจมฌานกุศลจิต ท่ีประกอบดว ย อเุ บกขา เอกคั คตา
1. First Jhàna consc with initial application, sustained application, rapture,
happiness and one-pointedness.
2. Second Jhàna consc with sustained application, rapture, happiness and one-
pointedness.
3. Third Jhàna consc with rapture, happiness and one-pointedness.
4. Fourth Jhàna consc with happiness and one-pointedness.
5. Fifth Jhàna consc with equanimity and one-pointedness.
2) รูปาวจรวบิ ากจิต 5 (วิบากจติ ท่เี ปนไปในรูปภูมิ คอื จติ ที่เปนผลของรปู าวจรกุศล —
Råpàvacara-vipàka-citta: Form-Sphere resultant consc) (เหมือนกบั รปู าวจรกุศลจติ
ทุกขอ เปลี่ยนแตค าํ ทายเปน วปิ ากจติ ตฺ )ํ
3) รปู าวจรกริ ยิ าจติ 5 (กริ ยิ าจติ ทเี่ ปน ไปในรปู ภมู ิ คอื จติ ของพระอรหนั ตผ กู ระทาํ รปู าวจรกศุ ล
— Råpàvacara-kiriyà-citta: Form-Sphere functional consc) (เหมือนกับรปู าวจรกุศล
จติ ทุกขอ เปลย่ี นแตค ําทา ยเปน กิริยาจติ ฺต)ํ
3. อรปู าวจรจติ 12 (จติ ทเ่ี ปน ไปในอรปู ภมู ิ — Aråpàvacara-citta: Formless-Sphere consc)
1) อรปู าวจรกศุ ลจิต 4 (กุศลจิตทเี่ ปนไปในอรปู ภมู ิ ไดแก จติ ของผเู ขา ถึงอรปู ฌาน — Arå
pàvacara-kusala-citta: Formless-Sphere moral consc)
1. อากาสานฺจายตนกุสลจิตตฺ ํ
2. วิฺาณฺจายตนกุสลจติ ฺตํ
3. อากิฺจฺายตนกสุ ลจติ ตฺ ํ
4. เนวสฺานาสฺายตนกุสลจิตตฺ ํ
1. กุศลจิตประกอบดวยอากาสานญั จายตนฌาน
2. กุศลจติ ประกอบดว ยวญิ ญาณญั จายตนฌาน
3. กุศลจติ ประกอบดวยอากิญจัญญายตนฌาน
4. กศุ ลจติ ประกอบดว ยเนวสญั ญานาสัญญายตนฌาน
1. Moral Jhàna consc dwelling on the infinity of space.
2. Moral Jhàna consc dwelling on the infinity of consciousness.
3. Moral Jhàna consc dwelling on nothingness.
4. Moral Jhàna consc wherein perception neither is nor is not.
2) อรูปาวจรวิบากจติ (วิบากจิตทเ่ี ปน ไปในอรปู ภูมิ คอื จติ ทเ่ี ปนผลของอรูปาวจรกศุ ล —
หมวดเกิน 10 289 [356]
Aråpàvacara-vipàka-citta: Formless-Sphere resultant consc) (เหมือนกบั อรปู าวจร-
กศุ ลจติ ทกุ ขอ เปลยี่ นแตค ําทายเปน วิปากจิตตฺ )ํ
3) อรปู าวจรกริ ยิ าจติ (กริ ยิ าจติ ทเ่ี ปน ไปในอรปู ภมู ิ คอื จติ ของพระอรหนั ตผ กู ระทาํ อรปู าวจร-
กศุ ล — Aråpàvacara-kiriyà-citta: Formless-Sphere functional consc) (เหมอื นกับ
อรปู าวจรกศุ ลจติ ทุกขอ เปลยี่ นแตคําทายเปน กริ ิยาจิตฺต)ํ
4. โลกตุ ตรจิต 8 หรือ 40 (จิตท่ีเปนโลกตุ ตระ — Lokuttara-citta: supermundane consc)
1) โลกตุ ตรกุศลจิต 4 หรอื 20 (กุศลจิตท่ีเปนโลกตุ ตระ คือ กศุ ลจิตทที่ าํ ใหขามพน อยเู หนือ
โลก — Lokuttara-kusala-citta: moral supermundane consc)
1. โสตาปตฺตมิ คคฺ จติ ฺตํ
2. สกทาคามิมคคฺ จิตฺตํ
3. อนาคามิมคฺคจติ ตฺ ํ
4. อรหตตฺ มคคฺ จิตฺตํ
1. จิตทป่ี ระกอบดว ยโสตาปตตมิ คั คญาณ คอื กุศลจิตท่ีเปน ทางใหถึงกระแสอนั ไหลไปสนู ิพพาน
2. จิตที่ประกอบดวยสกทาคามมิ คั คญาณ คือ กศุ ลจติ ท่เี ปน ทางใหถึงความเปน พระสกทาคามี
3. จิตที่ประกอบดวยอนาคามมิ ัคคญาณ คอื กศุ ลจติ ทเ่ี ปน ทางใหถงึ ความเปนพระอนาคามี
4. จติ ที่ประกอบดวยอรหตั ตมัคคญาณ คือ กุศลจิตที่เปนทางใหถ งึ ความเปนพระอรหนั ต
1. Consc belonging to the Path of Stream-Entry.
2. Consc belonging to the Path of Once-Returning.
3. Consc belonging to the Path of Non-Returning.
4. Consc belonging to the Path of Arahantship.
อยา งพสิ ดาร ใหแ จกมคั คจติ 4 นี้ ดว ยฌาน 5 ตามลาํ ดบั กจ็ ะไดจ าํ นวน 20 ตามตวั อยา งดงั นี้
วิตกฺกวจิ ารปต ิสเุ ขกคคฺ ตาสหติ ํ ปมชฌฺ านโสตาปตฺติมคฺคจิตฺตํ ฯลฯ
2) โลกตุ ตรวบิ ากจติ 4 หรอื 20 (วบิ ากจติ ท่ีเปนโลกุตตระ คอื จิตท่ีเปนผลของโลกตุ ตร-
กศุ ล — Lokuttara-vipàka-citta: resultant supermundane consc)
1. โสตาปตตฺ ผิ ลจิตตฺ ํ
2. สกทาคามิผลจติ ตฺ ํ
3. อนาคามผิ ลจิตตฺ ํ
4. อรหตตฺ ผลจิตตฺ ํ
1. จติ ทป่ี ระกอบดวยโสตาปต ตผิ ลญาณ
2. จิตที่ประกอบดวยสกทาคามิผลญาณ
3. จิตที่ประกอบดว ยอนาคามิผลญาณ
4. จิตท่ีประกอบดว ยอรหัตตผลญาณ
[357] 290 พจนานุกรมพทุ ธศาสตร
1. Consc belonging to the Fruition of Stream-Entry.
2. Consc belonging to the Fruition of Once-Returning.
3. Consc belonging to the Fruition of Non-Returning.
4. Consc belonging to the Fruition of Arahantship.
อยา งพสิ ดาร ใหแ จกผลจติ 4 น้ี ดว ยฌาน 5 ตามลาํ ดบั กจ็ ะไดจ าํ นวน 20 ตามตวั อยา งดงั น้ี
วติ กกฺ วจิ ารปต ิสเุ ขกคคฺ ตาสหิตํ ปมชฺฌานโสตาปตตฺ ผิ ลจติ ตฺ ํ ฯลฯ
Comp.81–93. สงฺคห.1–6.
[357] ตัณหา 108 (ความทะยานอยาก, ความรานรน — Taõhà: craving)
ตณั หา 108 ในพระบาลีเดิมเรยี ก ตณั หาวจิ รติ (ความเปนไป หรอื การออกเทยี่ วแสดงตวั
ของตณั หา) [อง.ฺ จตกุ กฺ .21/199/290; อภิ.วิ.35/1033/530 = A.II.212; Vbh.393] จัดดงั นี้
ตณั หาวิจรติ 18 อันอาศยั เบญจขันธภายใน = เม่อื มคี วามถือวา “เราม”ี จงึ มคี วามถือวา : เรา
เปนอยางน้ี เราเปน อยางนนั้ เราเปน อยางอ่นื เราไมเ ปนอยู เราพึงเปนอยางนี้ เราพงึ เปนอยา งนั้น
เราพึงเปนอยางอน่ื ฯลฯ
ตณั หาวจิ ริต 18 อนั อาศัยเบญจขนั ธภายนอก = เมอ่ื มีความถือวา “เรามดี ว ยเบญจขันธน ้ี”
จึงมคี วามถอื วา: เราเปน อยา งนด้ี ว ยเบญจขันธนี้ เราเปนอยางน้นั ดวยเบญจขนั ธน้ี เราเปน อยาง
อน่ื ดวยเบญจขนั ธนี้ ฯลฯ
ตณั หาวจิ ริต 18 สองชดุ น้ี รวมเปน 36 × กาล 3 (ปจ จบุ ัน อดีต อนาคต) = 108
อกี อยางหนง่ึ ตัณหา 3 (กามตณั หา ภวตัณหา วิภวตณั หา) × ตณั หา 6 (ตัณหาในรปู ใน
เสยี ง ในกลิ่น ในรส ในโผฏฐัพพะ ในธรรมารมณ) = 18 × ภายในและภายนอก = 36 × กาล 3
= 108 [วสิ ุทธ.ิ 3/180 = Vism.568]
ดู [74] ตณั หา 3.
[358] เวทนา 108 (การเสวยอารมณ, ความรสู กึ รสของอารมณ — Vedanà: feeling)
เวทนา 108 มกี ลา วถงึ ในพระสตู รบางแหง เฉพาะจาํ นวน (ม.ม.13/99/96; สํ.สฬ.18/412/278; 425/283
= M.I.398; S.IV.225,228) และตรสั แจกแจงไวใน อฏั ฐสตปรยิ ายสูตร (สํ.สฬ.18/437/288 = S.IV.232)
อธิบายโดยยอ ดงั น้ี
เวทนา 6 (เวทนาเกดิ จากสมั ผสั ทาง ตา หู จมกู ลิ้น กาย ใจ; ดู [113] ) × 3 (ที่เปนโสมนสั
โทมนัส และอุเบกขา; ดู [111]) × 2 (เปน เคหสิต คือ อิงเรอื น หรอื เปน ความรสู ึกแบบชาวบาน
ฝายหนง่ึ และเปน เนกขัมมสิต คือ อิงเนกขัมม หรือเปนความรูสึกองิ ความสละสงบ ฝายหนง่ึ ) =
36 × กาล 3 (อดตี อนาคต ปจ จุบนั ) = 108
หมวดเกนิ 10 291 [359]
[359] กิเลส 1500 (สภาพที่ทําใหจิตเศรา หมอง — Kilesa: defilements)
กเิ ลส 1500 ที่จดั เปน ชุดจํานวนอยา งนี้ ไมม ใี นพระบาลี แมจ ะมีกลาวถงึ ในอรรถกถาบาง
แหง กแ็ สดงเพยี งตัวอยาง ไมครบถว น ระบไุ วอยา งมากท่ีสดุ เพยี ง 336 อยาง (ดู อ.ุ อ.172, 424; อิต.ิ
อ.166) เชน โลภะ โทสะ โมหะ วิปริตมนสกิ าร อหริ ิกะ อโนตตปั ปะ ถนี ะ มทิ ธะ โกธะ อปุ นาหะ
ฯลฯ อกุศลกรรมบถ 10 … ตัณหา 108
ในคัมภีรรุนหลังตอมา ไดมีการพยายามนับจํานวนกิเลสพันหา ใหเ ปนตวั เลขทีช่ ัดเจน ดงั
ปรากฏในธัมมสังคณีอนุฏกี า (ฉบับ มจร. สงฺคณ.ี อนฏุ กี า 23–24) ซง่ึ ไดแสดงระบบวิธนี บั ไวห ลายอยา ง
สรุปไดเ ปน 2 แบบ คือ แบบลงตวั จํานวน 1500 ถว น และแบบนบั คราวๆ ขาดหรอื เกนิ เล็กนอย
นบั แตจาํ นวนเต็ม
แบบท่ี 1 จาํ นวนลงตัว 1500 ถว น คอื
อารมณ 150 × กเิ ลส 10 = กเิ ลส 1,500
กเิ ลส 10 ดู [318] กิเลส 10
อารมณ 150 หมายถึงอารมณซ ่งึ เปน ท่ีต้ังของกิเลส แตม วี ิธนี บั 2 นัย คอื
ก) อารมณ 150 = ธรรม 75 [อรปู ธรรม 53 (คอื จติ 1 + เจตสกิ 52) + รปู รปู 18* +อากาสธาตุ
1 + ลักขณรปู 3**] × 2 (ภายใน + ภายนอก)
ข) อารมณ 150 = ธรรม 75 [อรปู ธรรม 57 (คือ จิต 1 + เวทนาเจตสกิ 5 + เจตสิกอ่นื ๆ 51)
+ รูปรปู 18] × 2 (ภายใน + ภายนอก)
แบบท่ี 2 จํานวนไมล งตัว ขาดหรอื เกินเล็กนอ ย นับจาํ นวนเต็มปดเศษ
แบบที่ 2 น้ี ทา นแจงวิธีนับไวหลายอยา ง เปน 1,584 บาง 1,580 บาง 1,512 บา ง 1,510 บาง
1,416 บา ง แตจะไมนาํ รายละเอียดมาแสดงไวท่นี ้ี เพราะจะทาํ ใหฟนเฝอ
ในภาษาไทย มคี าํ พดู เปนสาํ นวนเกา ที่นยิ มกลาวอางกนั สบื ๆ มาแบบติดปากวา “กิเลสพัน
หา ตณั หารอ ยแปด” พงึ ทราบวา เปนถอยคาํ ท่อี งิ หลกั ธรรม 2 หมวด คือ [359] กเิ ลส 1500 และ
[357] ตณั หา 108 ท่แี สดงแลวน้ี
——————————
* รปู ทั้งหมดมี 28 (ดู [40]) ในจาํ นวนน้ี 18 อยา ง เรียกวา รูปรูป เพราะเปนรูปทีเ่ ปนรปู ธรรมจรงิ ๆ หรือแปล
งา ยๆ วา “รูปแท” ไดแก มหาภตู รปู 4, ปสาทรปู 5, วสิ ยั รปู 4, ภาวรูป 2, หทัยรูป 1, ชีวติ รูป 1 และ อาหาร
รูป 1 สวนรูปทเ่ี หลอื อกี 10 อยา ง (คือ ปรจิ เฉทรปู 1, วิญญตั ริ ูป 2, วกิ ารรูป 3, ลักขณรูป 4) เปนเพยี ง
อาการลักษณะหรือความเปนไปของรูปเหลา นนั้ จงึ ไมเ ปนรูปรูป
** ลกั ขณรูป นับเต็มมี 4 (ดู [40] ฏ.) แต 2 อยางแรก นับรวมเปน 1 ได เรียกวา ชาติรปู กลาวคอื อปุ จยะ
หมายถึง การเกดิ ทเ่ี ปนการกอตวั ขึน้ ทีแรก และ สันตติ หมายถงึ การเกดิ สืบเนอ่ื งตอๆ ไป โดยนัยน้ี จงึ นบั
ลักขณรูปเปน 3
Index of Pāli Terms
All references are to marginal group numbers in brackets.
Akaniññhà 351 Attàdhipateyya 125
Akampitacitta 353 Attha 64, 132, 133
Akàliko 306 Atthakkhàyã 169
Akiriya-diññhi 14 Atthacariyà 186, 229
Akusala-kamma Attha¤¤utà 287
Akusala-kammapatha 4 Attha-pa¤¤atti 28
Akusala-citta 321 Attha-pañisambhidà 155
Akusala-cetasika 356 Atthi-paccaya 350
Akusala-dhamma 355 Atthi-sukha 192
Akusala-måla 85 Adinnàdàna 137, 321
Akusala-vitakka 68 Adinnàdànà veramaõã 238, 240, 319
Akusalavipàka-citta 70 Adukkhamasukha-vedanà 111
Akkodha 356 Adosa 67, 355
Akkhadhutta 326 Addhà 340
Agati 199 Adhammakàra-nisedhanà 339
Aggi 196 Adhikaraõasamuppàdavåpasamakusalo 322
Aïguttara-nikàya 130, 131 Adhicitta-sikkhà 124
Ajjhattikàyatana 75 Adhiññhàna 197, 325
A¤jalikaraõãyo 276 Adhipaccasãlavantañhàpanà 138
A¤¤athatta 307 Adhipa¤¤à-sikkhà 124
A¤¤adatthuhara 117 Adhipati-paccaya 350
A¤¤ama¤¤a-paccaya 168 Adhipateyya 125
A¤¤asatthuddesa 350 Adhimokkha 328, 355
A¤¤asamàna-cetasika 275 Adhivàsanà 202
A¤¤àtàvindriya 355 Adhisãla-sikkhà 124
A¤¤indriya 349 Adhisãle samàdapada 255
Aññhaïgika-magga 349 Ana¤¤ata¤¤assàmãtindriya 349
Aññha-sãla 293 Anaõa-sukha 192
Aññhika 240 Anattatà 76
Aõóaja 336 Anatta-sa¤¤à 331
Atappà 171 Anantara-paccaya 350
Atijàta-putta 351 Anantariyakamma 245
Atimàna 90 Anabhijjhà 319
Atãta§sa-¤àõa 347 Anariya-pariyesanà 33
Attakilamathànuyoga 72 Anavajjakamma 353
Atta¤¤utà 15 Anavajja-bala 229
Attattha 287 Anavajja-sukha 192
Attavàdupàdàna 133 Anàkulakammanta 353
Attasammàpaõidhi 214 Anàgata§sa-¤àõa 72
Attasampadà 140, 353 Anàgàmi-phala 165
Attahitasampatti 280 Anàgàmi-magga 164
304
293
Anàgàmã 56, 60 Apu¤¤àbhisaïkhàra 129
Anikkhittadhuro 269 Appañivàõità ca padhànasmi§ 65
Aniccatà 40, 76 Appaõihita-vimokkha 107
Anicca-sa¤¤à 331 Appaõihita-samàdhi 47
Animitta-vimokkha 107 Appanà-bhàvanà 99
Animitta-samàdhi 47 Appanà-samàdhi 45, 46
Anukampaka 169 Appama¤¤à 161
Anujàta-putta 90 Appama¤¤à-cetasika 355
Anuttara§ pu¤¤akkhetta§ lokassa 307 Appamàõasubhà 351
Anuttariya 126, 127 Appamàõàbhà 351
Anuttaro purisadammasàrathi 303 Appamàda 3, 239, 353
Anudayata§ pañicca 219 Appamàda-gàravatà 261
Anupahacca 219 Appamàda-sampadà 280
Anupàdinnaka-råpa 41 Appiccha-kathà 314
Anupàdinnaka-saïkhàra 48 Appicchatà 294
Anupàdinna-dhamma 22 Abbhåtadhamma 302
Anupàdisesa-nibbàna 27 Abbhokàsikaïga 342
Anupubbanirodha 313 Abyàkata-dhamma 85
Anupubbavihàra 313 Abyàpàda 319
Anupubbikatha§ 219 Abyàpàda-vitakka 69
Anupubbikathà 246 Abrahmacariyà veramaõã 240
Anuppiyabhàõã 168 Abhabbaññhàna 275
Anurakkhanà-padhàna 156 Abhijacca-bala 230
Anuloma¤àõa 311 Abhijjhà 321
Anuviccavaõõabhàsaka 257 Abhijjhàvisamalobha 347
Anuviccàvaõõabhàsaka 257 Abhi¤¤à 274, 295
Anusaya 288 Abhi¤¤àya-dhammadesanà 134
Anusàsanã-pàñihàriya 94 Abhiñhàna 275
Anussatànuttariya 127 Abhiõhapaccavekkhaõa 247, 248
Anussati 335 Abhiõhapaccavekkhaõa, pabbajita 248
Anottappa 318, 355 Abhidhamma-piñaka 75
Antagàhika-diññhi 337 Abhisaïkhata-saïkhàra 185
Antaràparinibbàyã 60 Abhisaïkharaõaka-saïkhàra 185
Antaràyikadhammavàda 180 Abhisaïkhàra 129
Antà 15 Abhisaïkhàra-màra 234
Apacaya 294 Abhisambuddhaññhàna 188
Apacàyanamaya 89 Amacca-bala 230
Apaõõaka-pañipadà 128 Amoha 67, 355
Aparàpariyavedanãya-kamma 338 Ayasa 296
Aparihàniyadhamma 289, 290, 291 Ayyà-bhariyà 282
Apassena 202 Arahatta-phala 165
Apàya 198 Arahatta-magga 164
Apàyakosalla 71 Arahanta 56, 61, 62
Apàyabhåmi 351 Arahantaghàta 245
Apàyamukha 199, 200 Araha§ 303
Apàyasahàya 168 Ariyadhana 292
294
Ariya-pariyesanà 33 Assamedha 187
Ariyapuggala 55, 63 Ahirika 318, 355
Ariyava§sa 203 Ahetukakiriyà-citta
Ariyasacca 204 Ahetuka-citta 356
Ariyasacca-dassana 353 Ahetuka-diññhi 356
Ariyasaccesu kiccàni 205 Ahetuvàda 14
Ariyà vaóóhi 249 Ahosi-kamma 101
Aråpa 207 âkappavattasampanna 338
Aråpa-jhàna 8, 313 âkàra 251
Aråpa-dhamma 19 âkàsa-kasiõa 340
Aråpa-bhava 98 âkàsa-dhàtu 315
Aråpa-ràga 329 âkàsàna¤càyatana 40, 148
Aråpa-loka 104 âkàsàna¤càyatana-bhåmi 207
Aråpàvacara-kiriyà-citta 356 âki¤ca¤¤àyatana 351
Aråpàvacara-kusala-citta 356 âki¤ca¤¤àyatana-bhåmi 207
Aråpàvacara-citta 356 âcariya 351
Aråpàvacara-bhåmi 162, 351 âcàra-vipatti 211
Aråpàvacara-vipàka-citta 356 âciõõa-kamma 175
Alàbha 296 âjãvaññhamaka-sãla 338
Alãnatà 201 âjãvapàrisuddhi-sãla 241
Alobha 67, 355 âjãva-vipatti 160
Avajàta-putta 90 âjjava 175
Avigata-paccaya 350 âdãnava-¤àõa 326
Avijjamàna-pa¤¤atti 28 âdãnava-sa¤¤à 311
Avijjamànena-avijjamàna-pa¤¤atti 28 âdesanà-pàñihàriya 331
Avijjamànena-vijjamàna-pa¤¤atti 28 ânàpànasati, ânàpànassati 94
Avijjà 208, 209, 288, 329, 340 âne¤jàbhisaïkhàra 331, 335, 346
Avijjàsava 135, 136 âpo-kasiõa 129
Avirodhana 326 âpo-dhàtu 315
Avihà 351 âbàdhika 39, 147
Avihi§sà 326 âbhassarà 83, 84, 150
Avihi§sà-vitakka 69 âmisa-iddhi 351
Asaïkhata-dhamma 21 âmisa-dàna 42
Asaïkhata-lakkhaõa 118 âmisa-pañisanthàra 11
Asaïkhàra-parinibbàyã 60 âmisa-påjà 31
Asa¤¤ãsattà 351 âmisa-vepulla 30
Asantuññhibahulo 269 âmisa-saïgaha 44
Asantuññhità kusalesu dhammesu 65 âyakosalla 49
Asammoha-sampaja¤¤a 189 âyatana 71
Asa§sagga-kathà 314 âyu 341
Asubha 336 âyussa-dhamma 227
Asubha-sa¤¤à 331 ârakkhasampadà 250
Asurakàya 198, 351 âra¤¤ikaïga 144
Asekha 55 ârammaõa-paccaya 342
Asekhadhamma 333 ârammaõåpanijjhàna 350
Asokacitta 353
7
295
âruppa 207 Utu-sappàya 286
ârogya 201 Uttara-disà 265
âloka-kasiõa 315 Uttari¤ca patàreti 269
âlokabahulo 269 Udayabbaya¤àõa 311
âvajjana 343 Udàna 302
âvañabhaya 210 Uddesàcariya 211
âvàsa-macchariya 233 Uddesika-cetiya 141
âvàsa-sappàya 286 Uddhacca 318, 329, 355
âvàsikadhamma 251, 252, 253, Uddhacca-kukkucca 225
âsanna-kamma 254, 255, 256, 257 Uddhambhàgiya-sa§yojana 329
âsava 338 Uddha§soto-akaniññhagàmã 60
âsavakkhaya¤àõa 135, 136 Uddhumàtaka 336
âsevana-paccaya 106, 274, 297, 323 Upakàraka 169
âhàra 350 Upakkilesa 347
âhàra-paccaya 212 Upaghàtaka-kamma 338
âhàra-råpa 350 Upacaya 40
âhàre-pañikålasa¤¤à 40 Upacàra-bhàvanà 99
âhuneyyaggi 354 Upacàra-samàdhi 45, 46
âhuneyyo 131 Upa¤¤àta-dhamma 65
307 Upaññhàna 328
Upatthambhaka-kamma 338
Itivuttaka 302 Upadhi-vipatti 176
Itthatta 40 Upadhi-viveka 109
Itthindriya 349 Upadhi-sampatti 177
Itthãdhutta 199 Upanàha 347
Idappaccayatà 340 Upanissaya 202
Iddhi 42 Upanissaya-paccaya 350
Iddhi-pàñihàriya 94 Upapajjavedanãya-kamma 338
Iddhipàda 213 Upapatti-deva 82
Iddhividhà, Iddhividhi 274, 297 Upapàramã 325
Indriya 258, 349 Upapãëaka-kamma 338
Indriya-paccaya 350 Uparima-disà 265
Indriyaparopariyatta-¤àõa 323 Upasama 197, 295
Indriyasa§vara 128, 222 Upasamànussati 335
Indriyasa§vara-sãla 160 Upasampadàcariya 211
Iriyàpatha-sappàya 286 Upahacca-parinibbàyã 60
Issarakaraõavàda 101 Upàdàna 214, 340
Issà 308, 330, 347, 355 Upàdà-råpa 38, 40
Upàdinnaka-råpa 41
Uggaha-nimitta 87 Upàdinnaka-saïkhàra 48
Ugghañita¤¤å 153 Upàdinna-dhamma 22
Uccàsayanamahàsayanà veramaõã 240 Upàyakosalla 71
Uccheda-diññhi 13 Upàsaka-dhamma 259, 260
Ujupañipanno 307 Upàsaka-parisà 151
Uññhànasampadà 144 Upàsikà-parisà 151
Utu-niyàma 223 Upekkhà 112,161, 281, 325, 328
296
Upekkhà-vedanà 111 Kalyàõamitta 250
Upekkhindriya 349 Kalyàõamittatà 1, 144, 280, 324
Uposatha 240 Kalyàõamittadhamma
Uppàda 117 Kalyàõavàca 278
Ubbegà-pãti 226 Kavaëiïkàràhàra 251, 252, 253
Ubhatobhàgavimutta 62, 63 Kasiõa
Ubhayattha 133 Kàma 40, 212
æmibhaya 210 Kàmaguõa 315
Ekaggatà 355 Kàma-chanda 5
Ekattheràpadesa 166 Kàma-taõhà 6
Ekantanibbidà 295 Kàma-bhava 225
Ekabãjã 58 Kàmabhogã 74
Ekàsanikaïga 342 Kàma-ràga 98
Ehipassiko 306 Kàma-loka 316
Okàsa-loka 102 Kàma-vitakka
Okkantikà-pãti 226 Kàma-sa§vara 288, 329
Ogha 215 Kàmasukhallikànuyoga 104
Ottappa 23, 292, 355 Kàmasugati-bhåmi 70
Odàta-kasiõa 315 Kàmàdãnava-kathà 239
Opanayiko 306 Kàmàvacara-citta 15
Opapàtika 171 Kàmàvacara-bhåmi 351
Obhàsa 328 Kàmàvacarasobhaõa-citta 246
Orambhàgiya-sa§yojana 329 Kàmàsava 356
Ovàdàcariya 211 Kàmupàdàna
Kaïkhàvitaraõa-visuddhi 285 Kàmesumicchàcàra 162, 351
Kata-¤àõa 73 Kàmesumicchàcàrà veramaõã 356
Kata¤¤utà 353 Kàya
Kata¤¤åkatavedã 29 Kàya-kamma 135, 136
Katattà-kamma 338 Kàya-kamma¤¤atà 214
Kathàvatthu 75, 314 Kàyagatàsati
Kamma 4, 66, 338 Kàya-duccarita 137, 321
Kammakàraõappatta 84 Kàya-dvàra 238, 319
Kamma-kilesa 137 Kàya-dhàtu 40, 276
Kamma¤¤atà 40 Kàya-passaddhi 66, 319, 321
Kammaññhàna 36, 354 Kàya-pàgu¤¤atà
Kamma-niyàma 223 Kàya-bala 355
Kamma-paccaya 350 Kàya-bhàvanà 335
Kamma-vañña 105 Kàya-mudutà 80
Kammavipàka-¤àõa 323 Kàya-lahutà 77, 78
Kamma-saddhà 181 Kàya-vi¤¤atti 348
Kammassakatà 247 Kàya-vi¤¤àõa 355
Kammassakatà-saddhà 181 Kàyavi¤¤àõa-dhàtu 355
Karuõà 161, 305, 355 Kàya-viveka 230
Kàya-våpakàsa 37
Kàyasakkhã 355
Kàya-saïkhàra 355
40
268
348
109
222
63
119, 120
297
Kàya-samphassa 272 Khandha-parinibbàna 27
Kàyasamphassajà-vedanà 113 Khandha-màra 234
Kàya-sucarita 81 Khalupacchàbhattikaïga 342
Kàyànupassanà-satipaññhàna 182 Khãõàsava-pañi¤¤à 180
Kàyika-dukkha 16 Khuddaka-nikàya 75
Kàyika-vedanà 110 Khuddakà-pãti 226
Kàyika-sukha 52 Khetta-sampatti 115
Kàyindriya 349 Khemacitta 353
Kàyujukatà 355 Gaõapadesa 166
Kàlacàrã 250 Gati 351
Kàla¤¤utà 287 Gati-vipatti 176
Kàla-vipatti 176 Gati-sampatti 177
Kàla-sampatti 177 Gantha-dhura 26
Kàlàmasutta-kaïkhàniyaññhàna 317 Gandha 6, 40, 277
Kiïkaraõãyesu dakkhatà 324 Gandha-taõhà 264
Kicca-¤àõa 73 Gandha-dhàtu 348
Kiccàni, Ariyasaccesu 205 Gandha-sa¤cetanà 263
Kilesa 318, 359 Gandha-sa¤¤à 271
Kilesa-kàma Gambhãra¤ca katha§ kattà 278
Kilesa-parinibbàna 5 Garu 278
Kilesa-màra 27 Garuka-kamma 338
Kilesa-vañña 234 Gahapataggi 131
Kukkucca 105 Gahapati-parisà 152
Kumbhãlabhaya 355 Gàthà 302
Kula-ciraññhiti-dhamma 210 Gàrava 261, 353
Kula-macchariya 138 Gàravatà 261
Kusala-kamma 233 Gilànasatuppàdaka 255
Kusala-kammapatha 4 Gihi-padhàna 32
Kusala-dhamma 319, 320 Gihi-sukha 192
Kusala-måla 85 Guõàtireka-sampadà 190
Kusala-vitakka 67 Geyya 302
Kusalavipàka-ahetuka-citta 69 Gocara-råpa 40
Kusalassåpasampadà 356 Gocara-sappàya 286
Kodha 97 Gocara-sampaja¤¤a 189
Kolaïkola 308, 347 Gotrabhå-¤àõa 345
Kosalla 58 Gharàvàsa-dhamma 139
71 Ghàna 40, 276
Ghàna-dvàra 78
Khaõika-samàdhi 46 Ghàna-dhàtu 348
Khaõikà-pãti 226 Ghàna-vi¤¤àõa 268
Khaõóaphullapañisaïkharaka 254 Ghànavi¤¤àõa-dhàtu 348
Khattiya 173 Ghàna-samphassa 272
Khattiya-parisà 152 Ghànasamphassajà-vedanà 113
Khanti 24, 139, 325, 326, 353 Ghànindriya 349
Khanti-sa§vara 243
Khandha, Pa¤ca 216
Khandhaka 75
298
Ghàyana 343 Cetanà-sampadà 190
Ghosa-pamàõa 158 Cetasika 157, 355
cetasika-dukkha
Cakka 140 Cetasika-vedanà 16
Cakkavatti 142 Cetasika-sukha 110
Cakkavatti-vatta 339 Cetiya 52
Cakkhu 40, 217, 276 Cetopariya¤àõa 141
Cakkhu-dvàra 78 Cetovimutti 274, 297
Cakkhu-dhàtu 348 Corã-bhariyà 43
Cakkhundriya 349 282
Cakkhumà 95 Chanda 213, 355
Cakkhu-vi¤¤àõa 268 Chanda-sampadà 280
Cakkhuvi¤¤àõa-dhàtu 348 Chandàgati 196
Cakkhu-samphassa 272 Chaëabhi¤¤a 62
Cakkhusamphassajà-vedanà 113
Catuttha-jhàna 9 Janaka-kamma 338
Catudhàtu-vavaññhàna 147, 354 Jaratà 40
Caraõa 344 Jaràdhammatà 247
Carita 262 Jarà-maraõa 340
Cariyà 262 Jalàbuja 171
Càga 139, 197, 249, 292 Javana 343
Càga§ anubråheyya 197 Jàgariyànuyoga 128
Càga-sampadà 191 Jàtaka 302
Càgànussati 335 Jàtaññhàna 188
Càtummahàràjikà 270, 351 Jàtaråparajatapañiggahaõà veramaõã 242
Citta 157, 213, 356 Jàti 340
Citta-kamma¤¤atà 355 Jiõõa 83, 84, 150
Citta-niyàma 223 Jiõõapañisaïkharaõà 138
Citta-passaddhi 355 Jivhà 40, 276
Citta-pàgu¤¤atà 355 Jivhà-dvàra 78
Citta-bhàvanà 37 Jivhà-dhàtu 348
Citta-mudutà 355 Jivhà-viõõàõa 268
Citta-lahutà 355 Jivhàvi¤¤àõa-dhàtu 348
Citta-vipallàsa 178 Jivhà-samphassa 272
Citta-viveka 109 Jivhàsamphassajà-vedanà 113
Citta-visuddhi 285 Jivhindriya 349
Citta-saïkhàra 119, 120 Jãvita-råpa 40
Citta-sampatti 115 Jãvitindriya 40, 349, 355
Cittànupassanà-satipaññhàna 182
Cittujukatà 355 Jhàna 7, 8
Cintàmaya-pa¤¤à 93 Jhànapaccaya 350
Cãvara 159 Jhànalàbhã 252, 253, 254, 322
Cãvara-santosa 203 Jhànàdisaïkilesàdi-¤àõa 323
Cuti 343
Cutåpapàta-¤àõa 106, 323 ¥àõa 72, 73, 328, 345
Cetanà 263, 355 ¥àõa-carita 262
299
¥àõadassana-visuddhi 285 Dàna 11, 12, 123, 186,
¥àõa-sa§vara 243 229, 239, 325, 326, 353
¥àtakasaïgaha 353 Dàna-kathà 246
¥àtattha-cariyà 96 Dànamaya 88, 89
¥àta-pari¤¤à 92 Dàrasaïgaha 353
¥àyapañipanno 307 Dàsã-bhariyà 282
òhànàñhàna-¤àõa 323 Diññhadhammavedanãya-kamma 338
Taõhà 74, 91, 264, 340, 357 Diññhadhammikattha 132
Tatiya-jhàna Diññhadhammikattha-sa§vattanika-dhamma 144
Tatramajjhattatà 9 Diññhàsava 136
Tathàgatabodhi-saddhà 355 Diññhi 13, 14, 91, 288, 318, 330, 355
Tathàgata-sàvaka 181 Diññhippatta 63
Tadaïga-nirodha 142 Diññhiyà supañividdhà 231
Tadàlambana 224 Diññhi-vipatti 175
Tapa 343 Diññhi-vipallàsa 178
Tàvati§sà 326, 353 Diññhi-visuddhi 285
Titthàyatana 270, 351 Diññhi-sampadà 280
Tipiñaka 101 Diññhi-sàma¤¤atà 273
Tiracchànayoni 75 Diññhujukamma 89
Tilakkhaõa 198, 351 Diññhupàdàna 214
Tisaraõa 76 Dibbacakkhu 217, 274, 297
Tãraõa-pari¤¤à 116 Dibbasota 274, 297
Tusità 92 Disà 265
Tecãvarikaïga 270, 351 Dãgha-nikàya 75
Tejo-kasiõa 342 Dukkha 16, 112, 204, 296
Tejo-dhàtu 315 Dukkhatà 76, 79
Tevijja 39, 147 Dukkha-dukkhatà 79
Thambha 62 Dukkha-nirodha 204
Thãna 347 Dukkha-nirodhagàminã pañipadà 204
Thãna-middha 318, 355 Dukkha-vedanà 111
Thåpàraha-puggala 225 Dukkha-samudaya 204
Theradhamma 142 Dukkhà pañipadà khippàbhi¤¤à 154
Thero ratta¤¤å 322 Dukkhà pañipadà dandhàbhi¤¤à 154
Dakkhiõa-disà 322 Dukkhindriya 349
Dakkhiõà-visuddhi 265 Duccarita 80
Dakkhiõeyyaggi 143 Dutiya-jhàna 9
Dakkhiõeyyo 131 Dullabha-puggala 29
Dama 307 Deyyadhamma-sampatti 115
Dasa-bala¤àõa 139 Deva 82
Dasa-sãla 323 Devatànussati 335
Dassana 242 Devadåta 83, 84
Dassanànuttariya 343 Devaputta-màra 234
Dahara 126, 127 Deva-loka 103
84 Deva-sampatti 114
Desanà 17, 18
Desanàvidhi 172
300
Domanassa 112 Dhammàcariya 211
Domanassindriya 349 Dhammàdhiññhàna-desanà 17
Dosa 68, 318, 355 Dhammàdhipateyya 125, 339
Dosaggi 130 Dhammànudhamma-pañipatti 179, 193
Dosa-carita 262 Dhammànupassanà-satipaññhàna 182
Dosamåla-citta 356 Dhammànuvatti 201
Dosàgati 196 Dhammànusàrã 63
Dvàra 77, 78 Dhammànussati 335
Dhammikathàya sandassaka 253
Dhatà 231 Dhammikàrakkhà 339
Dhanànuppadàna 339 Dhàtu 146, 148, 348
Dhamma 19, 20, 21, 22, 35, 85,100, 206, 277 Dhàtukathà 75
Dhamma-iddhi 42 Dhàtu-kammaññhàna 147
Dhammakàmatà 324 Dhàtu-cetiya 141
Dhammakàmo 322 Dhàtu-manasikàra 147
Dhamma-khandha 218 Dhutaïga 342
Dhamma-gàravatà 261 Dhura 26
Dhamma-guõa 306
Dhammacakkappavattanaññhàna 188 Na antaràvosàna§ 291
Dhammacariyà 353 Na àmisantaro 219
Dhamma-cetiya 141 Na àvàsamaccharã 257
Dhamma¤¤utà 287 Na kammàràmatà 291
Dhamma-taõhà 264 Na kulamaccharã 257
Dhamma-dassane nivesaka 255 Naccagãtavàditavisåkadassana- 240
Dhamma-dàna 11 242
Dhammadesaka-dhamma 219 màlàgandhavilepanadhàraõa- 138
Dhammadesanà 134 maõóanavibhåsanaññhànà veramaõã 14
Dhammadesanàmaya 89 Naccagãtavàditavisåkadassanà veramaõã 350
Dhamma-dhàtu 348 Naññhagavesanà 291
Dhamma-niyàma 86, 223, 340 Natthika-diññhi 291
Dhamma-pañisanthàra 31 Natthi-paccaya 291
Dhamma-pañisambhidà 155 Na niddàràmatà 291
Dhamma-pamàõa 158 Na pàpamittatà 257
Dhamma-macchariya 233 Na pàpicchatà 222
Dhamma-vicaya 281 Na bhassàràmatà 302
Dhammavinaya-nicchayalakkhaõa 294, 295 Na làbhamaccharã 291
Dhamma-vepulla 44 Navakabhikkhu-dhamma 324
Dhamma-saïgaha 49 Navaïga-satthusàsana 323
Dhamma-sa¤cetanà 263 Na saïgaõikàràmatà 323
Dhamma-sa¤¤à 271 Nàthakaraõadhamma 28
Dhamma-samàdàna 145 Nànàdhàtu-¤àõa 340
Dhamma-samàdhi 218 Nànàdhimuttika-¤àõa 345
Dhammasàkacchà 353 Nàma-pa¤¤atti 328
Dhammassavana 353 Nàma-råpa 296
Dhammassavanamaya 89 Nàmaråpa-pariccheda-¤àõa
Dhammassavanànisa§sa 221 Nikanti
Nindà
301
Nippariyàya-suddhi 54 Pacchàjàta-paccaya 350
Nibbàna 27, 157, 295, 310 Pacchima-disà 265
Nibbàna-sacchikiriyà 353 Pa¤ca-khandha 216
Nibbàna-sampatti 114 Pa¤ca-dhamma 239
Nibbidà¤àõa 311 Pa¤ca-sãla 238
Nimitta 87, 150 Pa¤¤a§ nappamajjeyya 197
Nimmànaratã 270, 351 Pa¤¤atti 28
Niyàma 223 Pa¤¤avà 251
Niyyànikadhammadesanà 180 Pa¤¤à 93,197, 228, 237, 249
Niraggaëa 187 258, 292, 305, 324, 325
Niraya 198, 351 Pa¤¤à-kathà 314
Niràmisa-sukha 53 Pa¤¤à-khandha 218
Nirutti-pañisambhidà 155 Pa¤¤à-cakkhu 217
Nirodha 204, 224, 295 Pa¤¤àpana-pa¤¤atti 28
Nirodha-sa¤¤à 331 Pa¤¤àpiya-pa¤¤atti 28
Nivàta 353 Pa¤¤à-bala 229, 230
Nissaya 159 Pa¤¤à-bhàvanà 37
Nissaya-paccaya 350 Pa¤¤àvimutta 62, 63
Nissayasampanno 95 Pa¤¤àvimutti 43
Nissayàcariya 211 Pa¤¤àvuóóhi 179
Nissaraõa-nirodha 224 Pa¤¤à-sampadà 191
Nãtattha 64 Pa¤¤indriya 349, 355
Nãla-kasiõa 315 Pa¤¤indriya-cetasika 355
Nãvaraõa 225 Pañigha 288, 329
Nekkhamma 325 Pañiccasamuppàda 340
Nekkhamma-vitakka 69 Pañipatti-påjà 30
Nekkhammànisa§sa-kathà 246 Pañipatti-saddhamma 121
Neyya 153 Pañipatti-sàsana 51
Neyyattha 64 Pañipadà 154
Nevasa¤¤ànàsa¤¤àyatana 207 Pañipadà¤àõadassana-visuddhi 242
Nevasa¤¤ànàsa¤¤àyatana-bhåmi 351 Pañipadànuttariya 126
Nesajjikaïga 342 Pañipassaddhi-nirodha 224
No caññhàne niyojaye 278 Pañibhàga-nimitta 87
Pañibhàõa-pañisambhidà 155
Pakiõõaka-akusala-cetasika 355 Pañiråpadesavàsa 140, 353
Pakiõõaka-cetasika 355 Pañivinodanà 202
Paggàha 328 Pañivedha-saddhamma 121
Paccatta§ veditabbo vi¤¤åhi 306 Pañisaïkhà¤àõa 311
Paccaya 159, 350 Pañisanthàra 31
Paccayapariggaha-¤àõa 345 Pañisanthàra-gàravatà 261
Paccayasannissita-sãla 160 Pañisandhi 343
Paccaya-sampadà 190 Pañisambhidappatta 62
Paccayàkàra 340 Pañisambhidà 155
Paccavekkhaõa-¤àõa 345 Pañisallekhità 251
Paccuppanna§sa-¤àõa 72 Pañisevanà 202
Paccekabuddha 142 Paññhàna 75
302
Pañhama-jhàna 9 Pariyàya-suddhi 54
Pañhavã-kasiõa 315 Pariyesanà 33
Pañhavã-dhàtu 39, 147 Parivajjanà 202
Paõóitasevanà 353 Parivàra 75
Pattapiõóikaïga 342 Parisa¤¤utà 287
Pattànumodanàmaya 89 Parisà 151, 152
Pattidànamaya 89 Palàsa 347
Padaparama 153 Paviveka 294
Padhàna 32, 156 Paviveka-kathà 314
Papa¤ca 91 Pasa§sà 296
Pabbajita 150 Pasàda-råpa 40
Pabbajita-abhiõhapaccavekkhaõa 248 Passaddhi 220, 281, 328
Pabbajita-padhàna 32 Pahàtabba-dhamma 206
Pabbajjà 123 Pahàna 92, 205, 224
Pabbajjàcariya 211 Pahàna-padhàna 156
Pamàõa, Pamàõika 158 Pahàna-pari¤¤à 92
Pamàda 347 Pahàna-bhàvavanà-ràmatà 203
Payoga-vipatti 176 Pahàna-sa¤¤à 331
Payoga-sampatti 177 Pa§sukålacãvara 159
Payogàbhisaïkhàra 185 Pa§sukålikaïga 342
Paratoghosa 34 Pàñipuggalika-dàna 12
Parattha 133 Pàñimokkhasa§vara 222, 243
Paranimmitavasavattã 270, 351 Pàñimokkhasa§vara-sãla 160
Paramattha 132 Pàñihàriya 94
Paramattha-desanà 18 Pàõàtipàta 137, 321
Paramattha-dhamma 157 Pàõàtipàtà veramaõã 238, 240, 319
Paramatthapàramã 325 Pàpaõikadhamma 95
Paramattha-sacca 50 Pàpamitta 199
Parahitapañipatti 304 Pàpavirati 353
Parikamma-nimitta 87 Pàpicchà 308
Parikamma-bhàvanà 99 Pàmojja 220
Pariccàga 326 Pàramã 325
Pariccheda-råpa 40 Pàricariyànuttariya 127
Pari¤¤à 93, 205 Pàrisuddhi-sãla 160
Pari¤¤eyya-dhamma 206 Pàvacana 35
Pariõatabhojã 250 Pàsàdiko 322
Parittasubhà 351 Pàhuneyyo 307
Parittàbhà 351 Piõóapàta 159
Parinibbutaññhàna 188 Piõóapàta-santosa 203
Paripucchà 339 Piõóapàtikaïga 342
Paribhoga-cetiya 141 Piõóiyàlopabhojana 159
Parimitapànabhojanà 138 Pitughàta 245
Pariyatti-dhamma 332 Pittivisaya 198, 351
Pariyatti-saddhamma 121 Piyaråpa sàtaråpa 266
Pariyatti-sàsana 51 Piyavàcà 186
Pariyàyadassàvã 219 Piyavinàbhàvatà 247
303
Piyo 278 Bala 227, 228, 229, 230
Pisuõàvàcà 321 Bahukàra-dhamma 25, 279, 292
Pisuõàya vàcàya veramaõã 319 Bahula-kamma 338
Pãta-kasiõa 315 Bahussuta
Pãti 220, 226, 281, 328, 355 Bahussutaïga 251, 252, 253, 254
Puggala 153 Bahussutà 231
Puggala¤¤utà 287 Bahussuto 231
Puggalapa¤¤atti 75 Bàla-asevanà 322
Puggala-sappàya 286 Bàhà-bala 353
Puggalàdhiññhàna-desanà 17 Bàhiràyatana 230
Puggalàpadesa 166 Bàhusacca 277
Pu¤¤akaraõàyàrocaka 254, 255 Bãja-niyàma
Pu¤¤akiriyà-vatthu 88, 89 Buddha 237, 292, 324, 353
Pu¤¤àbhisaïkhàra 129 Buddha-ovàda 223
Putta 90 Buddha-guõa
Puttasaïgaha 353 Buddha-cakkhu 100, 142
Pubbakàrã 29 Buddha-cariyà 97
Pubbekatapu¤¤atà 140, 353 Buddhattha-cariyà
Pubbekatavàda 101 Buddha-dhammadesanà 303, 304, 305
Pubbenivàsànussati 274, 297 Buddhànumata 217
Pubbenivàsànussati-¤àõa 106, 323 Buddhànussati 96
Puratthima-disà 265 Buddhàpadesa 96
Purisatta 40 Buddhi-carita 134
Purisamedha 187 Buddho 201
Purisindriya 349 Bojjhaïga 335
Purejàta-paccaya 350 Bodhipakkhiya-dhamma 166
Puëuvaka 336 Byàdhita 262
Påjaneyya-påjà 353 Byàdhidhammatà 303
Påjà 30 Byàpàda 281
Påtimuttabhesajja 159 Byàpàda-vitakka 352
Peyyavajja 229 Brahmacariya
Brahmacàrã 83, 84, 150
Pharaõà-pãti 226 Brahmapàrisajjà 247
Pharusavàcà 321 Brahmapurohità
Pharusàya vàcàya veramaõã 319 Brahma-loka 225, 321, 347
Phala 165, 310 Brahmavihàra 70
Phala¤àõa 345 Bràhmaõa 353
Phassa 272, 340, 355 Bràhmaõa-parisà 250
Phassàhàra 212 Bhagavà 351
Phusana 343 Bhaginã-bhariyà 351
Phoññhabba 6, 40, 277 Bhaïga¤àõa 103
Phoññhabba-taõhà 264 Bhabbatà-dhamma 161
Phoññhabba-dhàtu 348 Bhaya 173
Phoññhabba-sa¤cetanà 263 Bhaya¤àõa 152
Phoññhabba-sa¤¤à 271 Bhayàgati 303
282
311
267
210
311
196
304
Bhariyà 282 Manasànupekkhità 231
Bhava 98, 340 Manasikàra 355
Bhavaïga Manindriya 349
Bhava-cakka 343 Manussà 351
Bhava-taõhà 340 Manussa-loka 103
Bhava-ràga 74 Manussa-sampatti 114
Bhavàsava 288, 330 Mano 276
Bhassapariyanta 135, 136 Mano-kamma 66, 319, 321
Bhassa-sappàya 222 Mano-duccarita 80
Bhàvanà 286 Mano-dvàra 77, 78
Bhàvanà-padhàna 36, 37, 99, 205 Mano-dhàtu 348
Bhàvanàmaya 156 Manomayiddhi 297
Bhàvanàmaya-pa¤¤à 88, 89 Mano-vi¤¤àõa 268
Bhàvanãyo 93 Manovi¤¤àõa-dhàtu 348
Bhàva-råpa 278 Manosa¤cetanàhàra 212
Bhàvetabba-dhamma 40 Mano-samphassa 272
Bhikkhu-aparihàniyadhamma 206 Manosamphassajà-vedanà 113
Bhikkhunã-parisà 290, 291 Mano-sucarita 81
Bhikkhu-parisà 151 Maraõadhammatà 247
Bhåta-kasiõa 151 Maraõassati 335
Bhåmi 315 Mala 308
Bhesajja 162, 351 Mahàkiriyà-citta 356
Bhoga 159 Mahàkusala-citta 356
Bhoga-àdiya 227 Mahàpadesa 166, 167
Bhoga-bala 232 Mahàbrahmà 351
Bhoga-vibhàga 230 Mahàbhåta 38, 39
Bhoga-sukha 163 Mahàvipàka-citta 356
Bhojana-sappàya 192 Ma§sa-cakkhu 217
Bhojane-matta¤¤utà 286 Ma§sa-vaõjjà 235
128 Màtàpitu-upaññhàna 123, 353
Makkha 308, 347 Màtà-bhariyà 282
Magga 164, 204, 310 Màtughàta 245
Magga¤àõa 345 Màna 91, 288, 309, 318, 329, 347, 355
Magga-paccaya 350 Màyà 308, 347
Maggàmagga¤àõadassana-visuddhi 285 Màra 234
Magguppàda-pubbanimitta 280 Màlàgandhavilepanadhàraõa
Maïgala 353 maõóanavibhåsanaññhànà veramaõã 242
Maccu-màra 234 Micchatta 334
Macchariya 233, 308, 330, 347, 355 Micchà-àjãva 334
Majjapànasa¤¤ama 353 Micchàkammanta 334
Majja-vaõijjà 235 Micchà¤àõa 334
Majjhima-nikàya 75 Micchàdiññhi 308, 321, 334
Mata 83, 84, 150 Micchàvàcà 334
Matta¤¤utà 287 Micchàvàyàma 334
Mada 347 Micchàvimutti 334
Maddava 326 Micchàsaïkappa 334
305
Micchàsati 334 Råpa 6, 38, 40, 41, 157, 277
Micchàsamàdhi 334 Råpa-khandha 216
Mittapañiråpaka 168 Råpa-jhàna
Middha 355 Råpa-taõhà 8, 313
Mu¤citukamyatà¤àõa 311 Råpa-dhàtu 264
Mudità 161, 355 Råpa-dhamma 348
Mudutà 40 Råpa-pamàõa 19
Musàvàda 137, 308, 321 Råpa-bhava 158
Musàvàdà veramaõã 238, 240, 319 Råpa-ràga 98
Måla 340 Råpa-loka 329
Mettà 161, 325 Råpa-sa¤cetanà 104
Mettà-karuõà 239 Råpa-sa¤¤à 263
Mettàkàyakamma 273 Råpàvacarakiriyà-citta 271
Mettàmanokamma 273 Råpàvacarakusala-citta 356
Mettàvacãkamma 273 Råpàvacara-citta 356
Methunasa§yoga 283 Råpàvacara-bhåmi 356
Moha 68, 318, 355 Råpàvacaravipàka-citta
Moha-carita 262 162, 351
Mohaggi 130 356
Mohamåla-citta 356
Mohàgati 196 Lakkhaõa-råpa 40
Yathàbala-santosa 122 Lakkhaõåpanijjhàna 7
Yathàlàbha-santosa 122 Lahutà 40
Yathàsanthatikaïga 342 Làbha 296
Yathàsàruppa-santosa 122 Làbha-macchariya 233
Yamaka 75 Làbhànuttariya 127
Yasa 296 Låkha-pamàõa 158
Yàmà 270, 351 Loka 102, 103, 104
Yoga 170 Lokattha-cariyà 96
Yogabahulo 269 Lokadhamma 296
Yoni 171 Lokapàla-dhamma 23
Yonisomanasikàra 2, 34, 179, 193, 280 Lokavidå 303
Ratanattaya 100 Lokàdhipateyya 125
Rasa 6, 40, 277 Lokiya-dhamma 20
Rasa-taõhà 264 Lokuttarakusala-citta 356
Rasa-dhàtu 348 Lokuttara-citta 356
Rasa-sa¤cetanà 263 Lokuttara-dhamma 20, 310, 332
Rasa-sa¤¤à 271 Lokuttara-bhåmi 162
Ràgaggi 130 Lokuttaravipàka-citta 356
Ràga-carita 262 Lobha 68, 318, 355
Ràjadhamma 326 Lobhamåla-citta 356
Ràja-saïgahavatthu 187 Lohitaka 336
Rukkhamålasenàsana 159 Lohita-kasiõa 315
Rukkhamålikaïga 342 Lohituppàda 245
Vacanakkhamo 278
Vacasà paricità 231
Vacã-kamma 66, 319, 321
306
Vacã-duccarita 80 Vi¤¤àõàhàra 212
Vacã-dvàra 77 Vitakka 266, 355
Vacãparama 168 Vitakka-carita 262
Vacã-vi¤¤atti 40 Vidhåro 95
Vacã-saïkhàra 119, 120 Vinaya 35, 353
Vacã-sucarita 81 Vinaya-piñaka 75
Vajjã-aparihàniyadhamma 289 Vinãlaka 336
Vañña 105 Vipacitतå 153
Vaóóhana-mukha 201 Vipatti 175, 176
Vaóóhi, Ariyà 249 Vipariõàma-dukkhatà 79
Vaõijjà 235 Vipallàsa 178
Vaõõa 173, 227 Vipassanà-¤àõa 297, 311
Vaõõa-kasiõa 315 Vipassanà-dhura 26
Vaõõa-macchariya 233 Vipassanà-bhàvanà 36
Vattà ca 278 Vipassanåpakilesa 328
Vatthu-kàma 5 Vipàka-paccaya 350
Vatthu-sampadà 190 Vipàka-vañña 105
Vadhakà-bhariyà 282 Vipàka-saddhà 181
Vaya 117 Vipubbaka 336
Vara 227 Vippayutta-paccaya 350
Vàjapeya 187 Vibhaïga 75
Vàyo-kasiõa 315 Vibhava-taõhà 74
Vàyo-dhàtu 39, 147 Vimuttànuttariya 126
Vikàra-råpa 40 Vimutti 43
Vikàlabhojanà veramaõã 240 Vimutti-kathà 314
Vikkhambhana-nirodha 224 Vimutti-khandha 218
Vikkhàyitaka 336 Vimutti¤àõadassana-kathà 314
Vikkhittaka 336 Vimutti¤àõadassana-khandha 218
Vigata-paccaya 350 Vimutti-sacchikattà 252
Vicàra 266, 355 Vimutto 322
Vicikicchà 225, 288, 318, 329, 355 Vimokkha 107, 298
Vicchiddaka 336 Virajacitta 353
Vijjà 106, 297 Virati 108
Vijjamàna-pa¤¤atti 28 Viratãcetasika 355
Vijjamànena-avijjamàna-pa¤¤atti 28 Viràga 294, 295
Vijjamànena-vijjamàna-pa¤¤atti 28 Viràga-sa¤¤à 331
Vijjàcaraõa-sampanno 303 Viriya 213, 258, 281, 325, 355
Vi¤¤atti-råpa 40 Viriya-bala 229
Vi¤¤àõa 268, 340 Viriya-sa§vara 243
Vi¤¤àõa-kasiõa 315 Viriyàrambha 237, 294, 324
Vi¤¤àõa-kicca 343 Viriyàrambha-kathà 314
Vi¤¤àõa-khandha 216 Viriyindriya 349
Vi¤¤àõa¤càyatana 207 Viveka 109
Vi¤¤àõa¤càyatana-bhåmi 351 Visaya-råpa 40
Vi¤¤àõaññhiti 240 Visa-vaõijjà 235
Vi¤¤àõa-dhàtu 148 Visa§yoga 294
307
Visuddhi 258, 305 Saïgha-bheda 245
Visuddhi-deva 82 Saïghànussati 335
Vihi§sà-vitakka 70 Saïghàpadesa 166
Vãma§sà 213 Sacca 50, 139, 197, 239, 325
Vuóóhi-dhamma 179 Sacca§ anurakkheyya 197
Vedanà 110, 111, 112, 113, 340, 355, 358 Sacca-¤àõa 73
Vedanà-khandha 216 Sacittapariyodapana§ 97
Vedanànupassanà-satipaññhàna 182 Sacchikàtabba-dhamma 206
Vedalla 302 Sacchikiriyà 205
Vedabahulo 269 Sa¤cetanà 263
Vepulla 44 Sa¤¤à 271, 331, 355
Vepulla-dhamma 269 Sa¤¤à-khandha 216
Veyyàkaraõa 302 Sa¤¤à-vipallàsa 178
Veyyàvaccamaya 89 Sa¤¤àvedayitanirodha 313
Vesàrajja 180 Sati 25, 258, 281, 324, 355
Vesàrajjakaraõa-dhamma 237 Satipaññhàna 182
Vessa 173 Sati-sampaja¤¤a 239
Vehapphalà 351 Sati-sa§vara 243
Voññhapana 343 Satindriya 349
Sattakkhattu§parama 58
Saupàdisesa-nibbàna 27 Satta-loka 102
Sakadàgàmi-phala 165 Satta-vaõijjà 235
Sakadàgàmi-magga 164 Sattàvàsa 312
Sakadàgàmã 56, 59 Sattha-vaõijjà 235
Sakkàyadiññhi 329 Satthà devamanussàna§ 303
Sakhã-bhariyà 282 Satthu-gàravatà 261
Sagga 270 Sadàrasantosa 239
Sagga-kathà 246 Sadda 6, 40, 277
Saïkhata-dhamma 21 Sadda-taõhà 264
Saïkhata-lakkhaõa 117 Sadda-dhàtu 348
Saïkhata-saïkhàra 185 Sadda-pa¤¤atti 28
Saïkhàra 48, 119, 120, 185, 340 Sadda-sa¤cetanà 263
Saïkhàra-khandha 216 Sadda-sa¤¤à 271
Saïkhàra-dukkhatà 79 Saddhamma 121, 332
Saïkhàra-loka 102 Saddhamma-samannàgato 301
Saïkhàrupekkhà¤àõa 311 Saddhammassavana 179, 193
Saïkhepa 340 Saddhà 181, 237, 249, 258, 292, 355
Saïgaõã 75 Saddhà-carita 262
Saïgaha 49, 340 Saddhàdeyyàvinipàtaka 255
Saïgaha-bala 229 Saddhànusàrã 63
Saïgahavatthu 186 Saddhàvimutta 63
Saïgahavatthu, Ràja- 187 Saddhà-sampadà 191
Saïgha 100 Saddhindriya 349
Saïgha-gàravatà 261 Sanidàna-dhammadesanà 134
Saïgha-guõa 307 Santati 40
Saïgha-dàna 12 Samti§ sikkheyya 197
308
Santãraõa 343 Sama-saddhà 183
Santuññhi, Santuññhã 122, 294, 324, 353 Sama-sãlà 183
Santuññhi-kathà 314 Samàdapanà 172
Santuññho 322 Samàdàna-virati 108
Santosa, Santuññhi 122 Samàdhi 45, 46, 47, 220, 258, 281
Sandassanà 172 Samàdhikathà 314
Sandiññhiko 306 Samàdhi-khandha 218
Sandhi 340 Samàdhi-bhàvanà 184
Sapadànacàrikaïga 342 Samàdhindriya 349
Sappàñihàriya-dhammadesanà 134 Samànattatà 186, 229
Sappàya 286 Samànasukhadukkha 169
Sappàyakàrã 250 Samàpatti 299
Sappàya-sampaja¤¤a 189 Samuccheda-nirodha 224
Sappàye matta¤¤å 250 Samuccheda-virati 108
Sappurisa-kammanto 301 Samuttejanà 172
Sappurisa-cintã 301 Samudaya 204
Sappurisa-dàna 300 Sampaja¤¤a 25, 189
Sappurisa-dàna§ deti 301 Sampañicchana 343
Sappurisa-diññhã 301 Sampatta-virati 108
Sappurisa-dhamma 287, 301 Sampatti 114, 115, 177
Sappurisa-pa¤¤atti 123 Sampadà 190
Sappurisa-bhattã 301 Sampayutta-paccaya 350
Sappurisa-mantã 301 Samparàyikattha 132
Sappurisa-vàco 301 Samparàyikattha-sa§vattanika-dhamma 191
Sappurisa-sa§seva 179, 193 Sampaha§sanà 172
Sappurisåpassaya 140 Samphappalàpa 321
Sabbacittasàdhàraõa-cetasika 355 Samphappalàpà veramaõã 319
Sabbatthagàminãpañipadà-¤àõa 323 Samphassa 272
Sabbapàpassa akaraõa§ 97 Sambahulattheràpadesa 166
Sabbamedha 187 Sambodha 295
Sabbaloke anabhiratasa¤¤à 331 Sammati-deva 82
Sabbasaïkhàresu aniññhasa¤¤à 331 Sammati-desanà 18
Sabbàkusalasàdhàraõa-cetasika 355 Sammati-sacca 50
Sabbe dhammà anattà 86 Sammatta 333
Sabbe saïkhàrà aniccà 86 Sammappadhàna 156
Sabbe saïkhàrà dukkhà 86 Sammasana-¤àõa 311, 345
Sama-càgà 183 Sammà-àjãva 239, 293, 355
Samajãvità 144 Sammàkammanta 293, 355
Samajãvi-dhamma 183 Sammà¤àõa 333
Samaõa-dassana 353 Sammàdassana 222
Samaõa-parisà 152 Sammàdiññhi 293, 319
Samatha-bhàvanà 36 Sammàdiññhi-paccaya 34
Samathayànika 61 Sammàpàsa 187
Samanantara-paccaya 350 Sammàvàcà 293, 355
Samanta-cakkhu 217 Sammàvàyàma 293
Sama-pa¤¤à 183 Sammàvimutti 333
309
Sammàsaïkappa 293 Sãlavà 250, 252, 253, 254, 322
Sammàsati 293 Sãla-vipatti 175
Sammàsamàdhi 293 Sãla-visuddhi 285
Sammàsambuddha-pañi¤¤à 180 Sãla-sampadà 191, 280, 344
Sammàsambuddho 303 Sãlasàma¤¤atà 273
Saraõa 116 Sãlànussati 335
Savana 343 Sukkhavipassaka 61
Savanànuttariya 127 Sukha 52, 53, 112, 220, 227, 296, 328
Sasaïkhàra-parinibbàyã 60 Sukhapañisa§vedanàya saphalappadhàna 174
Sassata-diññhi 13 Sukha-vedanà 111
Sassamedha 187 Sukhà pañipadà khippàbhi¤¤à 154
Sahajàta-paccaya 350 Sukhà pañipadà dandhàbhi¤¤à 154
Saëàyatana 340 Sukhindriya 349
Sa§yutta-nikàya 75 Sugato 303
Sa§yojana 329, 330 Sucarita 81
Sa§vara 243 Su¤¤ata-vimokkha 107
Sa§vara-padhàna 156 Su¤¤ata-samàdhi 47
Sa§vejanãyaññhàna 188 Suta 201, 249
Sa§sedaja 171 Sutamaya-pa¤¤à 93
Sàñheyya, Sàtheyya 308, 347 Sutta 302
Sàtthaka-sampaja¤¤a 189 Sutta-piñaka 75
Sàdhàraõabhogã 273 Sudassà 351
Sàma¤¤a-phala 165 Sudassã 351
Sàma¤¤a-lakkhaõa 76 Sudda 173
Sàmisa-sukha 53 Suddhavipassanàyànika 61
Sàmãcipañipanno 307 Suddhàvàsa 244, 351
Sàyana 343 Suddhi 54
Sàraõãyadhamma 273 Supañipanno 307
Sàrambha 347 Subhakiõhà 351
Sàsana 51 Subharatà 294
Sikkhà 124 Subhàsitavàcà 353
Sikkhà-gàravatà 261 Suràdhutta 199
Sikkhànuttariya 127 Suràmerayamajjapamàdaññhànà veramaõã
Sikkhàpada, Pa¤ca 238 238, 240
Sikkhàpadapa¤¤atti-atthavasa 327 Susukàbhaya 210
Sippa 353 Suhadamitta 169
Sãla 201, 237, 249, 292, 324, 325, 326 Sekha 55
Sãla, Aññha 240 Setughàta-virati 108
Sãla, Dasa 242 Senàsana 159
Sãla, Pa¤ca 238 Senàsana-santosa 203
Sãla-kathà 246, 314 Sota 40, 276
Sãla-khandha 218 Sota-dvàrà 78
Sãlabbataparàmàsa 329 Sota-dhàtu 348
Sãlabbatupàdàna 214 Sota-vi¤¤àõa 268
Sãla-bhàvanà 37 Sotavi¤¤àõa-dhàtu 348
Sãlamaya 88, 89 Sota-samphassa 272
310
Sotasamphassajà-vedanà 113 Sovacassatà 324, 353
Sotàpatti-phala 165 Sosànikaïga 342
Sotàpatti-magga 164 Soëasa-¤àõa 345
Sotàpattiyaïga 193, 194, 195 Soëasavatthuka-ànàpànasati 346
Sotàpanna 56, 58 Svàkkhàto 306
Sotindriya 349 Svàgatapàñimokkho 322
Sobhaõakaraõa-dhamma 24 Hatavikkhittaka 336
Sobhaõa-cetasika 355 Hadaya-råpa 40
Sobhaõasàdhàraõa-cetasika 355 Hadaya-vatthu 40
Somanassa 112 Hiri
Somanassindriya 349 Heññhima-disà 23, 292, 355
Soracca 24 Hetu-paccaya 265
350
ภาค 2
พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร
ไทย–อังกฤษ
Part II
Thai–English
Buddhist Dictionary
First Edition — B.E. 2506
Second Edition — B.E. 2512
Third Edition — B.E. 2513
Fourth Edition — B.E. 2515
(published ever since as Part II of the present volume)
Fifth Edition — B.E. 2526
Sixth Edition — B.E. 2545
(All rights reserved)
คํานํา
(ในการพมิ พครัง้ ท่ี ๑)
หนังสือเก่ียวกับพระพุทธศาสนาที่เปนภาษาอังกฤษมีอยูเปนจํานวนมาก ปราชญและทานผูรูทั้งหลาย
ผูประพันธหนังสือเหลานั้น ไดนําคําศัพทธรรมภาษาบาลีซึ่งเปนศัพทเฉพาะวิชาการทางพระพุทธศาสนา ไป
ถา ยทอดแปลเปน ภาษาองั กฤษ ในการถา ยทอดน้ัน ศัพทที่ไดความหมายแทนลงกนั ก็มจี าํ นวนมาก ทพ่ี อเทยี บกนั
ไดก็มี และท่ยี ังขัดแยง กันอยูก ็มบี า ง นักศกึ ษาสมควรจะไดท ราบความหมายเหลาน้ที ่ปี ราชญทั้งหลายใชก ันอยู
เพือ่ นาํ ศพั ทธรรมไปถา ยทอดไดถูกตอ ง หรืออยางนอยที่สดุ เพอ่ื นาํ มาประกอบการพิจารณาเทียบเคยี งในการคดิ
ศพั ทข้ึนใชใ หม
ผูจัดทําไดมีโอกาสสอนวิชาเก่ียวกับภาษาอังกฤษในแผนกบาลีเตรียมอุดมศึกษาของมหาจุฬาลงกรณ-
ราชวิทยาลัย และไดนาํ เอาวิชาธรรมภาคภาษาอังกฤษเขา บรรจุสอนเปนสวนหนึ่งดวย รูสกึ วานักศึกษามคี วาม
สนใจดี เหน็ เปน การสมควรทีจ่ ะรวบรวมศพั ทเหลานีจ้ ัดเรยี งลาํ ดับอักษร ทาํ เปน พจนานกุ รมอันเหมาะทน่ี กั ศกึ ษา
จะหามาไวใชไ ดทั่วกนั และใหมขี นาดเล็กสามารถนําตดิ ตัวไปไหนมาไหนไดสะดวก จงึ ไดจ ดั ทําหนังสือนีข้ ้ึน โดย
นาํ เอาศัพทท างพระพุทธศาสนาทน่ี กั ศึกษาควรทราบ เพราะจะตอ งพบเห็นหรือใชอยเู สมอๆ มาบรรจไุ ว
ในหนังสือนี้ ไมมีความหมายศัพทธรรมเปนภาษาไทย เพราะผูจัดทําเห็นวานักศึกษายอมทราบ
ความหมายของศัพทธรรมนั้นๆ ในภาษาไทยดีอยูแลว และแมไมทราบก็สามารถดูไดจากคําอธิบายในพากย
อังกฤษซงึ่ ใหไ วโดยยอ อกี ประการหนงึ่ การใหค วามหมายภาษาไทยเพ่มิ ขน้ึ จะทําใหหนงั สือมีขนาดหนามาก ผดิ
จุดมงุ หมายที่ต้ังไวเดมิ
ในการจัดพิมพครั้งนี้ คงจะมีขอบกพรองอยูหลายประการ เพราะการจัดทําเปนไปอยางเรงดวน
นอกจากน้ี การจัดพิมพโรเนียวยากแกการแกไขขอผิดพลาดและตกเติม บางแหง เมอ่ื ผิดแลว ตองตดั ท้งิ ไปทง้ั
ศัพทก ็มี ทั้งเครื่องหมายตา งๆ กม็ ีใชไมค รบถว น จึงหวงั วา ถา มีโอกาสจัดพิมพใหมจ ะไดทาํ ใหเ รยี บรอยยิง่ ข้นึ
ตามควร
ในทีส่ ดุ ขอขอบคณุ ทา นเจา ของตําราและหนงั สือตางๆ ท่นี ํามาใชในการเก็บศพั ทห รือเทียบเคยี งความ
หมาย ขออนุโมทนาขอบคณุ คุณสมบูรณ อยูส นทิ แหง แผนกบาลีอบรมศึกษา ท่ไี ดพมิ พกระดาษไขโดยตลอด
และขอขอบคณุ พระมหาสมบูรณ สมฺปุณฺโณ แหง สํานกั งานเลขาธิการ ม.จ.ร. ทไี่ ดเปนธรุ ะชว ยจดั การโรเนียว
โดยตลอด.
พระมหาประยทุ ธ ป. อารยางกูร
๒ มนี าคม ๒๕๐๖
คาํ ช้แี จง
ก. ขอบขา ยของหนงั สอื น้ี
คําศพั ททร่ี วบรวมไวในพจนานุกรมนี้แบง ออกไดเ ปน 3 ประเภท คอื
1. ศัพทธรรมแทๆ ไดรวบรวมมาไวแ ทบทั้งส้ิน ยกเวนศพั ทที่ทานผกู ขึน้ ใชในคมั ภีรร นุ หลัง เฉพาะแหง
เฉพาะกรณี ไมเ ปน ทยี่ อมรบั นาํ ไปใชใ นทอ่ี น่ื และไมน ยิ มนบั ถอื เปน ศพั ทว ชิ าการอนั มคี วามหมายพเิ ศษจาํ เพาะตวั
2. ศัพทท ่วั ๆ ไปเกยี่ วกับพระพุทธศาสนา ขอ นี้มิไดเ ปน จุดมงุ หมายโดยตรง แตก ็ไดเ ก็บมาเปน สว นมาก
และไดใ หความหมายไวโ ดยยอ
3. ศัพทเกย่ี วกบั ศาสนา ลัทธนิ ิยม ประเพณี และความเชื่อถอื อยางอ่นื ทไี่ ดยินไดฟงคนุ หู แมท ีเ่ ปน เร่ือง
ภายนอกพระพุทธศาสนา
ข. ศัพทตง้ั ภาคภาษาไทย
1. การเรยี งลาํ ดับศพั ท ถอื ตามพจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน ยกเวนคํามีประวสิ รรชนีย ทเ่ี ปนตน
ศพั ทข องคาํ อนื่ ๆ จะเรียงไวก อนคาํ ท่อี าศัยตนศัพทน ้นั เชน เถระ เรียงไวกอ น เถรคาถา และเถรวาท ฆา
นะ เรยี งไวกอ น ฆานทวาร และ ฆานวิญญาณ เปนตน
2. คาํ ที่มี - ตอ ทาย หมายความวา ศัพทท ข่ี ึ้นตนดว ยคําน้ัน ถา ไมพ บในลําดบั ของคาํ น้นั เอง ใหดตู ามท่ี
อา ง เชน กัมม- ดู กรรม- คาํ วา กมั มบถ ไมม ี ใหด ู กรรมบถ ดังนเี้ ปนตน
3. ศัพทท ี่เปน หวั ขอหมวดธรรม คอื มีจาํ นวนขอยอย เชน อบายภมู ิ 4, อนปุ พุ พกิ ถา 5 เปน ตน
ใหดรู ายละเอียดในภาค 1 คือ พจนานกุ รมหมวดธรรม
ค. ภาคภาษาบาลี
1. ศัพทต้ังทุกคําไดแสดงรูปศัพทเดิมหรือคําแปลภาษาบาลีไวเปนอักษรโรมัน ในวงเล็บตอจากศัพท
นน้ั ๆ เพ่อื ใหน ักศกึ ษาชินตออกั ษรโรมนั ซึง่ ตองใชในเมอื่ จะเขยี นคาํ บาลคี ูกบั ภาษาองั กฤษ
2. ศัพทต้ังหลายแหงเปน คําท่ีเกิดขึ้นหรือบัญญัติข้ึนภายหลังในภาษาไทยจึงไมมีคําเรียกในภาษาบาลี
ในกรณีเชนนไ้ี ดแ ตงศัพทบ าลขี ้นึ ใหมพอใหส ือ่ ความหมายได และเพ่อื ใหทราบวาเปนคาํ ท่ผี กู ขึน้ ใหม จึงใสเ คร่อื ง
หมายดอกจนั (*) กาํ กบั ไว เชน เปรยี ญ (Pari¤¤å*, Pàli¤¤å*), วดั หลวง (Ràjavaravihàra*, Ràjà-
vàsa*) เปนตน
3. คําบาลีสว นมากแสดงไวใ นรปู ศพั ททเ่ี ปน นามอยางเดียว แมวา พากยไทยและองั กฤษจะเปนคํากรยิ า
ก็พงึ แปลงรปู เอาเองตามวิธีของไวยากรณ เชน อังคาส (Parivisana) เมอ่ื นาํ ไปใชพ งึ เปลี่ยนเปน ปรวิ ิสติ
เปนตน (ศัพทอน่ื ๆ เชน ตักบาตร, ปดทอง, ผกู สีมา เปนตน)
ง. ภาคภาษาอังกฤษ
1. ความหมายโดยพยัญชนะ (lit.) ถา มี จะมาเปน อนั ดับแรก ตอ จากนนั้ เปนความหมายทเ่ี หมาะสมหรือ
นิยมใชต ามลาํ ดับ
2. คาํ บาลีบางคํา เม่ือนํามาใชในภาษาไทย ไดมคี วามหมายคลาดเคลอ่ื นหรอื เพี้ยนไปจากเดิมบาง เกดิ มี
ความหมายใหมซ อ นข้นึ มาอกี บาง พจนานกุ รมฯ น้ไี มใหความสาํ คัญแกความหมายทีค่ ลาดเคลอ่ื น เพี้ยนไป หรือ
เกดิ ขึน้ ใหมเหลาน้ี โดยทว่ั ไปจงึ มไิ ดแ สดงความหมายเชน นีไ้ ว แสดงเฉพาะความหมายเดิมเทานั้น เชน อารมณ
= sense-object (ไมใช emotion) สงสาร = the round of rebirth (ไมใ ช pity) มานะ = conceit; lust
315
for power (ไมใช effort; exertion) แตบ างคําเห็นวาควรทราบ กแ็ สดงไวด ว ย ในกรณีเชน นี้ ทีใ่ ดแสดงความ
หมายท่กี ลายหรือเกดิ ใหมใ นภาษาไทย กจ็ ะใส (T.) กํากบั ไวห นา ความหมายนั้น เชน มาตกิ า ... (T.) funeral
chanting; อจั ฉรยิ ะ ... (T.) genius; อจิ ฉา ... (T.) ดู อสิ สา
3. ความหมายของบางศัพทเ ปนท่ยี อมรบั กนั ทว่ั ไปแลว แตบ างศัพท เชน คําวา ฌาน เปน ตน ยงั
ขดั แยงกันอยู คราวนี้ยงั มไิ ดทาํ เคร่อื งหมายแสดงไวเ ปน พเิ ศษ และความหมายของคําบางคาํ ไมใ ชค วามหมายท่ี
ตรงแท เปนแตนยิ มใชใ นเม่ือพอเทยี บเคียงกนั ไดกบั ของศาสนาอน่ื ในบางแง ในกรณีนี้ หากความหมายน้นั ชวน
ใหเกดิ ความเขา ใจผิดได จะมีอักษรยอ (mis.) กาํ กบั ไวด วย เชน โบสถ = ... (mis.) church; temple เปน ตน
4. ศพั ทท นี่ ยิ มเรียกทับศพั ท เชน กรรม, ธรรม และ นพิ พาน เปนตน กไ็ ดใ หรปู ทับศัพทไ วดวย
แสดงวา ศัพทน ั้นนิยมใชก ันเชน นั้น
5. ศัพทแ ละความหมายสว นมากเปน noun แมท่เี ปน อยา งอน่ื กพ็ ึงทราบไดโดยงาย จึงมไิ ดใ หอักษรยอ
ระบุวจวี ิภาคกํากบั ไว เวนแตในกรณีตอ งการแยกใหเ ห็นตางหากจากกัน หรอื ควรกาํ หนดเปนพเิ ศษ
6. คําท่ีอยูส ุดบรรทัด ซึ่งพิมพไ มพอจบคาํ ตอ งตัดแยกออกไปขึ้นบรรทดั ใหม ในการตดั แยกคํา ได
พยายามปฏิบตั เิ ครงครัดตามหลักการแบงพยางค (syllabication) โดยถือพจนานุกรมภาษาองั กฤษมาตรฐาน
เปน หลัก การทท่ี าํ ความเขา ใจในขอนี้ไวเ พราะปจจุบนั มกี ารละเลยในเรอ่ื งน้ีกันมาก จนบางทีลมื กนั ไปวาหลักใน
เร่อื งน้มี ีอยู
อนง่ึ ในกรณีที่ British English กบั American English เขยี นตา งกนั ในการสะกดตัวกด็ ี ในการตดั
แยกพยางคก็ดี เชน British English วา mar • vel • lous; know•ledge ฯลฯ แต American English เปน
mar•vel•ous; knowl•edge ฯลฯ พจนานกุ รมฯ นีถ้ ือตาม British English อยางไรกต็ าม ในกรณที ี่พจนานกุ รม
ภาษาอังกฤษตัดแยกคําตา งกนั จะตกลงใจถืออยา งใดอยา งหนึ่งตามสมควร
จ. ขอ ควรทราบเกีย่ วกบั การเขียนภาษาบาลี
1. รปู สระ เม่ือเขยี นภาษาบาลดี วยอักษรไทย สระทกุ ตวั (ยกเวนสระ อ) มีท้งั รปู “สระลอย” (เมอื่ ไมม ี
พยัญชนะตนประสมอยูดวย) และรปู “สระจม” (เมือ่ มีพยญั ชนะตน ประสมอยดู ว ย) เชน อาภา (àbhà), อสิ ิ (isi
), อตุ ุ (utu)
สระ อ (a) จะปรากฏรูปเม่อื เปน สระลอย และไมป รากฏรูปเม่ือเปนสระจม เชน อมต (amata) นอกจาก
น้ี ตวั อ ยังใชเปน ทนุ ใหส ระอืน่ เกาะ เม่อื สระนนั้ ใชเปนสระลอย เชน เอก (eka), โอฆ (ogha)
สวนในอักษรโรมนั สระทกุ ตัวปรากฏรปู เสมอไป และมรี ปู เดยี วกนั ไมว าจะใชเปน สระลอยหรือสระจมก็
ตาม เชน àkàra (อาการ)
2. รูปพยัญชนะ พยญั ชนะเม่ือประสมกบั สระใด ก็จะมีรปู สระน้นั ปรากฏอยดู ว ย (ยกเวนเมอ่ื ประสม
กับสระ อ) เชน พุทฺโธ (buddho)
พยัญชนะท่ใี ชโดยไมมีรปู สระปรากฏอยู และไมม เี คร่ืองหมาย ฺ (พินทุ) กาํ กบั แสดงวาประสมกบั สระ อ
(a) เชน รตน (ratana)
สว นพยญั ชนะทม่ี เี ครอ่ื งหมายพินทกุ าํ กับ ก็แสดงวา ไมมีสระใดประสมอยูดว ย เชน ธมฺม (dhamma),
พฺรหมฺ (brahma)
3. เคร่ืองหมายนิคหติ เครอื่ งหมาย (นคิ หิต) ตองอาศัยสระ และจะปรากฏเฉพาะหลังสระ อ (a ),
อิ (i ) หรือ อุ (u) เชน อํส (a§sa), เอวํ (eva§), กึ (ki§), วสิ ุ (visu§)
316
หมายเหต:ุ
ในการพมิ พครงั้ ท่ี 2 (พ.ศ. 2515–2518) ไดเพิม่ เตมิ ศัพทเขา อกี ประมาณ 250 ศัพท ศัพทท ีเ่ พ่มิ ใหมเ หลา นี้
แทรกเขา ในระหวา งศัพททม่ี ีอยใู นฉบับเดมิ และตอ งการสงวนเน้ือที่ จึงไมไ ดใหค ําบาลีอกั ษรโรมันไวด วย
อยางไรก็ตาม ในการพิมพครง้ั ที่ 4 (พ.ศ. 2527) ไดเพ่มิ เตมิ ศพั ทเ ขา อีกประมาณ 50 ศัพท ปรับปรงุ และเพิ่ม
เตมิ ความหมายของศัพทท่ีมีอยแู ลว แตเดิมขน้ึ อีกเปน อนั มาก และไดแ ทรกคําบาลอี ักษรโรมนั เขา จนครบทุกศพั ท
สวนในการพิมพครง้ั ท่ี 10 (พ.ศ. 2545) ไดเพมิ่ เตมิ ศพั ทประมาณ 31 ศพั ท และไดแ กไขปรับปรงุ อีกประมาณ
24 ศพั ท
adj. Adjective อกั ษรยอและเครือ่ งหมาย
lit. Literally
(mis.) Misleading v. verb
n. Noun * newly coined Pali term
(T.) in Thai usage
เทียบอักษรโรมนั ท่ใี ชเขยี นบาล*ี
อ อา อิ อี อุ อู เอ โอ aà i ãuåe o
กขคฆง k kh g gh ï §, ü หรอื N
จ ฉ ชฌ c ch j jh ¤
ฏ ฑฒณ ñ ñh ó óh õ
ตถทธน t th d dh n
ปผพภม p ph b bh m
ย ร ล ว ส ห ฬ อํ yr lvshë
นโม ตสสฺ ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสสฺ .
สพพฺ ปาปสฺส อกรณํ กสุ ลสฺสปู สมปฺ ทา
สจติ ตฺ ปรโิ ยทปนํ เอตํ พุทธฺ าน สาสน.ํ
Namo tassa Bhagavato Arahato Sammàsambuddhassa.
Sabbapàpassa akaraõa§, Kusalassåpasampadà,
Sacittapariyodapana§; Eta§ Buddhàna sàsana§.
______________________________
* ในท่นี ี้มุงแสดงเพยี งรปู ลกั ษณข องตวั อกั ษรแตล ะตวั เทยี บกันเทานัน้ สว นการเขยี นจริงในขอความ พงึ ทราบตามหลกั ท่กี ลาว
ไวใ นคาํ ช้ีแจงขอ จ. ขางตน
ก
กฏัตตากรรม (Kañattàkamma) casual act; กรรมวาจา (Kammavàcà) the formal words of
cumulative or reserve kamma. an act; text of a formal act, i.e. a motion
กฐนิ (Kañhina) the Kathin ceremony; the annual (ญตั ต)ิ together with one or three proclama-
robe-presentation ceremony (in the month tions (อนุสาวนา) that may follow.
following the end of the Rains Retreat); post- กรรมวาจาจารย (Kammavàcàcariya) Act-
lenten robe-offering; Post-Retreat Robe- Announcing Teacher; (First) Ordination-
Presentation. Teacher.
กตเวที (Katavedã) one who reciprocates the กรวดนํ้า, การ (Dakkhiõodakapàtana) v. pouring
done favour. the water of dedication (to transfer merit to
กตญั ุตา (Kata¤¤utà) gratitude; gratefulness;
other beings).
appreciation. กระถางธปู (Dhåpabhàjana*) incensory; censer.
กตญั ู (Kata¤¤å) adj. grateful; obliging; know- กระทู (Nikkhepapada) topic; theme; subject;
ing the done favour. subject matter; gist; point of a discussion;
กตัญูกตเวทิตา (Kata¤¤åkatavedità) the query.
quality of being a grateful person; gratitude; กราน (Attharati) v. to spread; stretch; lay out;
gratefulness. carry out (the kañhina robe-making ceremony).
กตัญูกตเวที (Kata¤¤åkatavedã) one who is กราบ (Abhivàda) to bow to the ground; to pay
thankful for benefits received and recip- respect by making the five-point prostration;
rocates them. to prostrate.
กตัตตากรรม ดู กฏัตตากรรม กรุณา (Karuõà) compassion; pity.
กถาวตั ถุ (Kathàvatthu) 1. “Points of Controversy”; กลด1 (Mahàchatta) a sunshade.
กลด2 (Dussakuñikà) an umbrella-like tent.
name of the fifth book of the Abhidhamma กลละ (Kalala) the embryo in the first week
Piñaka. 2. a subject of discussion.
กรมการศาสนา (Sàsanàdhikàra*) Department after conception.
กษตั ริย (Khattiya) 1. a man of the warrior
of Religious Affairs.
กรรม (Kamma) 1. karma; kamma; a volitional caste; the warrior-ruler; nobles. 2. a king.
กสิณ (Kasiõa) a meditational device; object of
action; action; deed; good and bad volition.
2. work; job; activity; transaction. meditation; the method of inducing con-
กรรมกเิ ลส (Kammakilesa) an action causing
centration by gazing at any of the ten
impurity; depravity of action; vice of conduct. objects, viz., earth, water, fire, air, blue,
กรรมฐาน (Kammaññhàna) subjects of medi-
yellow, red, white, space and light.
tation; meditation exercises; the act of กงั ขา (Kaïkhà) doubt; uncertainty.
กณั ฑ (Kaõóa) 1. a chapter, portion or part (of a
meditation or contemplation; ground for
religious book). 2. a sermon.
mental culture.
กรรมนยิ าม (Kammaniyàma) order of act and กัณฑเทศน (Dhammadesanàpåjà*, Dhamma-
result; the Law of Kamma. kathikadeyya*) offerings for a sermon.
กรรมบถ (Kammapatha) course of action; way กปั , กปั ป, กลั ป (Kappa) 1. an aeon; world-aeon;
of action; kamma as the way leading to the world-age; world-cycle; world-period. 2. the
woeful or blissful existences. life-term; life-period; the duration of life.
กรรมภพ (Kammabhava) kamma-process; the กัปปพินทุ (Kappabindu) a smudge that makes
active process of becoming. a new robe allowable; dark mark or small
กปั ปยการก 318 กาลญั ตุ า
black dot applied to a new robe to make it Sensuous Sphere.
lawful. v. (ทํากปั ปพนิ ทุ) to make a robe allow- กามปุ าทาน (Kàmupàdàna) sensuous clinging;
able by applying a disfiguring smudge (by attachment to sensuality.
กาเมสุมิจฉาจาร (Kàmesumicchàcàra) sexual
which the owner can also identify it); mark
misconduct; sensual misconduct; unlawful
with a smudge.
กัปปยการก (Kappiyakàraka) one who makes sexual intercourse; adultery.
กาย (Kàya) 1. the body; material body. 2. the
things suitable for a monk; attendant of a
body of psychic factors, namely, Vedanà,
monk.
กมั ม- ดู กรรม-. Sa¤¤à and Saïkhàra.
กลั ปนา (Kappanà) 1. merit dedicated to the กายกรรม (Kàyakamma) bodily action; actions
departed. 2. ดู ท่กี ลั ปนา. performed by the body.
กลั ยาณมติ ตตา (Kalyàõamittatà) good friendship; กายคตาสติ (Kàyagatàsati) mindfulness with
good company; association with the virtuous. regard to the body; reflection or contem-
กาม (Kàma) sense-desire; desire; sensuality; an
plation on the 32 impure parts of the body.
object of sensual enjoyment; sensual กายทวาร (Kàyadvàra) 1. the body-door; body-
pleasures. avenue; the outlet of bodily senses. 2. the
กามคุณ (Kàmaguõa) sensual pleasures; objects
body-door; the channel of bodily action.
of sensual enjoyment. กายทจุ ริต (Kàyaduccarita) misconduct by the
กามฉนั ท (Kàmachanda) sensual desire; excite-
body; bodily misconduct; misconduct in
ment of sensual pleasure.
กามตัณหา (Kàmataõhà) sensual craving; action.
กายวิญญตั ิ (Kàyavi¤¤atti) bodily intimation;
craving for sensual pleasures.
กามภพ (Kàmabhava) the sphere or state of bodily expression.
กายวิญญาณ (Kàyavi¤¤àõa) body-conscious-
existence dominated by sensual pleasures;
ness; consciousness by means of touch.
Sensuous Existence; Sense Sphere. กายวิเวก (Kàyaviveka) seclusion of the body.
กามราคะ (Kàmaràga) sensual passion; sensual กายสังขาร (Kàyasaïkhàra) bodily formation,
lust; sense-desire; sensuality; desire for i.e. in-breath and out-breath.
กายสมั ผัส (Kàyasamphassa) bodily contact;
sensual pleasures.
กามโลก (Kàmaloka) the world of sense-desire; bodily touch.
กายสจุ ริต (Kàyasucarita) good conduct in
the Sense Sphere; the world of sensual
action; good conduct by the body; bodily
pleasures.
กามวติ ก (Kàmavitakka) thought of sensual good conduct.
กายานปุ ส สนา (Kàyànupassanà) the contem-
pleasures.
กามสงั วร (Kàmasa§vara) sexual restraint. plation of the body; mindfulness as regards the
กามสขุ (Kàmasukha) worldly happiness; happi-
body.
ness arising from sensual pleasures. กายกิ ทกุ ข (Kàyikadukkha) physical pain; bodily
กามสุขัลลิกานุโยค (Kàmasukhallikànuyoga) pain; physical suffering.
กายิกสขุ (Kàyikasukha) physical happiness;
self-indulgence; sensual indulgence; the
bodily happiness.
constant attachment to sensual pleasures. การเปรยี ญ (Dhammasàlà) preaching hall; study
กามาวจร (Kàmàvacara) belonging to the Sense
hall.
Sphere. กาลมรณะ (Kàlamaraõa) timely death.
กามาวจรภูมิ (Kàmàvacarabhåmi) the Sensuous กาลญั ตุ า (Kàla¤¤utà) the quality of one who
Plane of Existence; the Sense Sphere; the
กาสาวพสั ตร 319 ขทุ ทกนกิ าย
knows the proper time; knowing the proper กุลปุ กะ (Kulupaka) a family-frequenter; family-friend
time; knowledge of how to choose and keep monk; family mentor.
กุศล (Kusala) adj. wholesome; meritorious;
time.
กาสาวพัสตร (Kàsàya, Kàsàvavattha) cloth dyed moral; skilful; kammically wholesome. n.
with astringent decoction; the yellow robe; merit; good action; virtue; the good; whole-
ochre robes. some action.
กําเนดิ ดู โยนิ. กศุ ลกรรม (Kusalakamma) wholesome or meri-
กําแพงแกว (Ratanapàkàra) consecrated wall; a
torious action; right conduct.
parapet (surrounding a sacred building). กศุ ลกรรมบถ (Kusalakammapatha) the tenfold
กิงฺกรณีเยสุ ทกขฺ ตา (Kiïkaraõãyesu dakkhatà) way of good action; the tenfold wholesome
the willingness to give a helping hand. course of action.
กิจจาธิกรณ (Kiccàdhikaraõa) business to be กศุ ลจติ (Kusalacitta) meritorious thought; moral
enacted by the Sangha; legal questions or wholesome consciousness.
กศุ ลเจตนา (Kusalacetanà) right or wholesome
concerning obligations; duties.
กิจวัตร (Kiccavatta*) religious routine; daily volition; good intention.
กศุ ลมลู (Kusalamåla) (the three) roots of good;
religious observances.
กิริยาจติ (Kiriyàcitta) functional consciousness; root of good action; kammically wholesome
inoperative consciousness. root; the wholesome roots.
กิเลส (Kilesa) defilements; impurities; impair- กศุ ลวิตก (Kusalavitakka) wholesome thought.
กหุ นา (Kuhanà) deceit; fraud; hypocrisy; trickery.
ments. เกตมุ าลา (Ketumàlà) garland of rays round the
กเิ ลสกาม (Kilesakàma) sensuality as defile-
Buddha’s head; the halo.
ment; subjective sensuality; desire; lust. เกดิ ใหม ดู ชาติหนา .
กุกกุจจะ (Kukkucca) remorse; brooding; con- โกธะ, โกรธ (Kodha) anger; furious or wrathful
fusion; repentance; worry. passion.
กุฎี (Kuñã) an abode of a Buddhist monk or โกศ (Kosa*) mortuary urn; funeral urn.
โกสชั ชะ (Kosajja) idleness; indolence; sloth.
novice; a monk’s cell; a monk’s lodging;
dormitory; living quarters of monks.
ข
ขณะจิต (Cittakkhaõa) a thought-moment. endurance; firmness; fortitude.
ขณกิ สมาธิ (Khaõikasamàdhi) momentary con- ขนั ธ (Khandha) aggregate; category.
ขันธห า ดู เบญจขนั ธ.
centration. ขา งขนึ้ (Juõha-pakkha, Sukka-~) the waxing
ขณิกาปต ิ (Khaõikàpãti) momentary joy; instan-
taneous joy. moon.
ขมา (Khamà) patience; tolerance; pardon. ขา งแรม (Kaõha-pakkha, Kàëa-~) the waning
ขมา, การขอ (Khamàpana) asking for pardon.
ของขลัง (Parittavatthu, Indajàlikavatthu*) some- moon.
ขาทนยี ะ (Khàdanãya) hard or solid food.
thing said to have magic power; magic ขีณาสพ (Khãõàsava) an Arahant; the canker-
object; amulet; talisman; charm; fetish. free one; one whose mind is free from
ขดั สมาธิ (Pallaïka§ àbhujati) to sit (flat on the
mental obsessions.
haunches) cross-legged. ขุททกนิกาย (Khuddakanikàya) “Smaller
ขันติ (Khanti) patience; forbearance; tolerance;
Collection”; the “Minor Anthologies of the
ขทุ ทกปาฐะ 320 โคตร
Pali Canon”; name of the fifth of the five ขุททกาปติ (Khuddakàpãti) slight sense of
main divisions of the Sutta Piñaka. interest; lesser thrill.
ขทุ ทกปาฐะ (Khuddakapàñha) “Shorter Texts”; the เขาพรรษา ดู วนั เขาพรรษา.
เขี้ยวแกว ดู ทาฐธาตุ.
“Text of Small Passages”; name of the first
division of the Khuddaka Nikàya.
ค
คณะ (Gaõa) group; denomination; monastery 2. (T.) a magic spell.
คามวาสี (Gàmavàsã) (T.) a town-monk.
section. คารวะ (Gàrava) respect; reverence; esteem;
คณปูรกะ (Gaõapåraka) one who completes the
quorum; quorum-completing monk. attention; appreciative action.
คณะวินัยธร (Vinayadhara-gaõa, ~-samajjà*) คิดปรงุ แตง (Saïkharoti; Abhisaïkharoti) to think
Eccl. judicature. under the influence of some passion or
คณะสงฆ (Saïgha) the monastic order; the motive; proliferate.
Church, especially the Buddhist monastic คลิ านปจ จยั (Gilànapaccaya) support for the
order; the Order; the Saïgha. sick; requisites for the sick; medicine.
คิลานเภสชั (Gilànabhesajja) drug; medicine.
คณะสังฆมนตรี (Saïghamanti-gaõa, ~-samajjà*) คิหปิ ฏบิ ตั ิ (Gihipañipatti*) practices for the layman;
Council of Saïgha Ministers; Eccl. Cabinet. code of morality for the laity.
คติ (Gati) (the five) courses of existence; คกุ เขา (Jannukàhi nipatati) v. to sit on one’s
destiny; destination. heels; kneel.
คนธรรพ (Gandhabba) 1. a heavenly musician. คณุ (Guõa) 1. quality; property. 2. good quality;
2. a being ready to take a new existence. virtue; merit. 3. (T.) help; aid; benefit;
ครองผา (Nivàseti, Pàrupati) v. to don; wear; put
on (the yellow robe). support; favour.
ครกุ กรรม (Garukakamma) Weighty Action; คณุ ธรรม (Guõadhamma) goodness; virtue.
คุณพเิ ศษ, คณุ วิเศษ (Visesa) unusual virtue;
kamma of serious or strong effect.
ครฏุ ฐานยี บุคคล (Garuññhànãyapuggala) a respec- extraordinary state; specific attainment.
table person. คสู วด (Upasampadàcariya, Kammavàcàcariya +
ครุธรรม (Garudhamma) (the eight) strict
Anusàvanàcariya) the two monks who chant
conditions or chief rules to be observed by the formal words of an act (especially, of ordi
the Buddhist nun throughout her life. nation); Act-Announcer; Ordination-Teacher.
คฤหสั ถ (Gahaññha) a householder; layman; the เครอ่ื งราง (Indajàlikavatthu*) an amulet; talisman.
โคจร (Gocara) 1. field or sphere of sense
laity.
คว่ําบาตร, การ (Pattanikujjanà) the formal act perception; a sense-object. 2. a suitable
of exclusion from association; excommuni- place; resort for alms; alms resort.
cation. โคจรคาม (Gocaragàma) a village where a
คนั ถธรุ ะ (Ganthadhura) the burden of studying monk goes for alms or obtains his food;
the Scriptures; the burden of the books. alms-resort village.
คันธะ (Gandha) odour; odorous object; smell. โคดม, โคตมะ (Gotama) name of the clan to
คัมภรี (Gantha, Potthaka, Pakaraõa) (T.) a
which the Buddha belonged.
scripture; text; canon; religious book. โคตร (Gotta) clan; ancestry; lineage.
คาถา (Gàthà) 1. a verse; stanza of 4 half-lines.
ฆนสญั ญา 321 จาตทุ สี
ฆ–ง
ฆนสญั ญา (Ghanasa¤¤à) perception of com- depends on sweet voice or good repute;
pactness; the idea of massiveness. those attached to voice.
ฆราวาส (Gharàvàsa) 1. the household life. 2. งานมงคล (Maïgala, Maïgala-samaya) auspi-
(T.) a householder; layman; the laity. cious ceremony; festive occasion.
ฆราวาสธรรม (Gharàvàsa-dhamma) virtues for
งานวัด (Cetiyamahàpåjà*, Vihàrasamajja*,
a good household life; rules of household
~ussava*, ~maha*) temple fair.
conduct; qualities of a good layman. งานศพ (Sarãrajjhàpana) funeral; obsequies;
ฆานะ (Ghàna) the nose.
ฆานทวาร (Ghànadvàra) nose-door; nose-avenue. cremation ceremony.
ฆานวิญญาณ (Ghànavi¤¤àõa) nose-con- งานสมรส (Vivàhakàla, Vivàhamaïgala) wed-
sciousness. ding; marriage ceremony.
โฆสปั ปมาณกิ า (Ghosappamàõikà) those who
งานอวมงคล (Avamaïgala, Petadakkhiõàdàna) (T.)
funeral; rites for the dead; funereal occasion;
measure or judge by voice; those whose faith memorial service; inauspicious occasion.
จ
จงกรม (Caïkama) walking up and down; a จกั ข,ุ จกั ษุ (Cakkhu) the eye.
terraced walk. v. to walk up and down. จักขทุ วาร (Cakkhudvàra) the eye-door; eye-
จตตุ ถฌาน (Catutthajjhàna) the fourth Jhàna; avenue.
จักขุวิญญาณ (Cakkhuvi¤¤àõa) eye-con-
the fourth absorption.
จตธุ าตุววตั ถาน (Catudhàtuvavatthàna) analysis sciousness.
จกั ร, จักรธรรม (Cakka) the set of four virtues,
of the four elements; determining of the
elements; contemplation on the four essential being like the four wheels of a carriage,
qualities of which the body is composed. constituting the means to prosperity; virtues
จตุปจ จัย (Catupaccaya) ดู ปจ จยั . wheeling to prosperity.
จตรุ พิธพร (Catubbidhavara*) the fourfold bless- จกั รพรรดิ (Cakkavatti) 1. world-king; a uni-
ing; the four excellent things, viz., long life, versal monarch, endowed with the seven
beauty, happiness and health. valuables or treasures. 2. (T.) an emperor.
จตุราริยสัจจ (Cattàri Ariyasaccàni) the Four จักรวาฬ (Cakkavàëa) a world-circle; solar
Noble Truths; the Four Holy Truths. system; universe.
จตวุ รรค (Catuvagga) a chapter of four monks. จณั ฑาล (Caõóàla) an outcaste; the untouch-
จรณะ (Caraõa) behaviour; conduct; good conduct.
จรติ (Carita) the intrinsic nature of a person; able.
จนั ทรคติ (Candagati*) the system of a lunar
(the six types of) characteristic behaviour; calendar.
จาคะ (Càga) 1. charity; generosity; sacrifice;
character; temperament.
จริยาปฎ ก (Cariyàpiñaka) “Modes of Conduct”; self-denial; liberality; munificence; benefac-
tion. 2. abandoning; giving up; renunciation.
name of the fifteenth division of the จาคสมั ปทา (Càgasampadà) achievement of
Khuddaka Nikàya. charity.
จรยิ าวตั ร (Cariyàvatta*) 1. customs and man- จาคานสุ ติ (Càgànussati) reflection on gener-
ners to be observed; duties concerned with osity; recollection of liberality.
conduct. 2. conduct and duties; moral conduct จาตทุ สี (Càtuddasã) the 14th day of a fortnight.
and the performance of duties.
จาตมุ หาราช 322 เจาคณะ
จาตมุ หาราช (Càtummahàràjikà) the Four Guardian personal use.
จวี รอาศัย (Atirekacãvara) an extra robe.
Deities; the realm of the Four Great Kings. จุติ (Cuti) shifting (out of one existence to
จาตุรงคสันนิบาต (Càturaïgasannipàta) the
another); decease; the final thought-moment
Great Assembly of Disciples marked by the
of a particular life; death.
union of four factors. จุติจิต (Cuticitta) death-consciousness; dying or
จารกิ (Càrika) 1. a traveller; wanderer; way-farer.
death-consciousness; the consciousness dis-
2. a wandering place. 3. a journey; wandering.
connecting the present life.
4. (T,) v. to wander; go on a journey. จตุ ิวิญญาณ (Cutivi¤¤àõa) ดู จุตจิ ิต.
จารกึ (Likhati) v. to inscribe; incise; engrave. จตุ ปู ปาตญาณ (Cutåpapàta¤àõa) the knowledge
จําพรรษา, การ (Vassàvàsa) Vassa-residence;
of the decease and rebirth of beings; the
the rains-retreat; rains-residence; keeping
clairvoyant supernormal vision dealing with
the Buddhist Lent; keeping the rainy season;
the death and rebirth of beings; the
dwelling permanently at a suitable place
perception of the appearing and disappearing
throughout the three months of the rainy
of various beings according to the con-
season.
จาํ วดั (Seyya§ kappeti) v. (of a monk or novice) sequences of their past deeds.
จลุ ลวรรค (Cullavagga) “Smaller Section”; name
to sleep.
จิต, จติ ต (Citta) thought; mind; a state of of a book of the Vinaya Piñaka.
เจดีย (Cetiya) 1. a person, place or object
consciousness.
จติ กาธาน (Citakà) a funeral pile; crematorium; worthy of worship; reminder. 2. (T.) a sepul-
chral monument; pagoda; shrine; dagoba;
pyre; crematory; catafalque.
จติ ตะ (Citta) thought; thoughtfulness; active bell-shaped stupa (with a slender spire);
thought. tapering-spired stupa; Phra Chedi.
จติ ตนยิ าม (Cittaniyàma) psychic order; psychic เจตนา (Cetanà) volition; will; intention.
เจตภูต (Attà, Jãva) soul; the self; âtman.
law; order of mind. เจตสกิ (Cetasika) mental concomitants; mental
จติ ตวสิ ุทธิ (Cittavisuddhi) purity of mind; puri-
factors; mental states; mental activities; the
fication of consciousness.
จิตตสังขาร (Cittasaïkhàra) mental formation; adjuncts of consciousness; mental adjuncts;
mental function, i.e. perception and feeling. mental coefficients.
จติ ตานุปส สนา (Cittànupassanà) the contem- เจตสกิ ทุกข (Cetasikadukkha) mental pain.
เจตสกิ สขุ (Cetasikasukha) mental happiness.
plation of mind; contemplation of various เจโตปรยิ ญาณ (Cetopariya¤àõa) knowledge of
states of mind; mindfulness as regards others’ thoughts; telepathy.
เจโตวมิ ตุ ติ (Cetovimutti) deliverance of mind.
mental states. เจริญพระพทุ ธมนต (Parittabhaõana) (T.) (used
จิตตบุ าท, จติ ตุปปาท (Cittuppàda) the rise of a
for auspicious ceremonies) to chant holy
thought; thought; intention.
จนิ ตมยปญ ญา (Cintamayapa¤¤à) understanding stanzas.
เจา คณะ (Gaõàdhipati*) 1. chief monk of an
through reasoning; wisdom resulting from
administrative division; eccl. chief officer;
reflection. eccl. governor. The term Ecclesiastical, or
จวี ร (Cãvara) 1. the yellow robe (of a Buddhist its abbreviation Eccl. can be prefixed to the
title of a government administrative officer at
monk or novice); any of the three garments of
the monk. 2. (T.) the upper or inner robe. different levels to designate its equivalent in
จวี รอธษิ ฐาน (Adhiññhitacãvara) the determined
robes; the three robes determined for regular
เจา คณะจังหวัด 323 ชอฟา
the Ecclesiastical Order, e.g. Eccl. District เจา คณุ (Guõassàmã*) a title unofficially used in
Officer, for เจาคณะอาํ เภอ. 2. chief monk of a
monastery section. speaking to or of a monk of a higher rank;
เจา คณะจังหวดั (Nagarasaïghapàmokkha*) the
“Chao Khun”; “The Right Venerable”. ดู พระ-
Ecclesiastical Provincial Governor.
ราชาคณะ
เจาคณะตําบล (Gàmasamåhasaïghàdhipati*) เจาภาพ (Nimantaka, Dànapati) the host;
the Ecclesiastical Commune-Chief; Eccl. sponsor; chief donor.
เจาอธิการ (Vihàràdhipati*, Adhikàrapati*) the
Sub-District Head.
เจา คณะภาค (Cåëasaïghamaõóalapàmokkha*) the abbot who is an Ecclesiastical Sub-District
Ecclesiastical Regional Governor. Chief as well.
เจาอาวาส (Vihàrapati*) the abbot.
เจาคณะใหญ (Mahàsaïghamaõóalapàmokkha*) เจิม (Abbha¤jati) v. to anoint; n. anointment.
แจกนั (pupphàdhàna*) a vase.
the Chief Superintendent of the (Central, North, แจง (Saïgãtikathà*) preaching or chanting on
South, East, or Dhammayuttika) Ecclesiastries; the account of the First Council of Buddhism.
โจทก (Codaka) reprover; accuser; plaintiff.
Chief of the ... Eccl. Jurisdiction; Eccl. Governor โจทนา (Codanà) reproof; charge; accusation;
General. plaint.
เจาคณะอําเภอ (Nigamasaïghàdhipati*) the
Ecclesiastical District Officer.
ฉ
ฉกามาพจรสวรรค (Chakàmàvacaradevaloka) ฉนั ท (Chanda) metrics; prosody; a metre;
the six heavens of sensual pleasures. metrical composition.
ฉลอง (Mahakamma) celebration. v. to celebrate. ฉันทาคติ (Chandàgati) the wrong way of
ฉฬภิญญา (Chaëabhi¤¤à) the sixfold super- behaviour consisting in predilection; prejudice
normal knowledge; the six psychic powers. caused by love; partiality.
ฉตั ร (Chatta) royal canopy; sunshade; parasol. ฉพั พัณณรังสี (Chabbaõõara§sã) the ray of six
ฉนั (Bhu¤jati) v. (of a monk or novice) to eat; take
colours.
food. ฉายา (Chàyà) 1. (T.) the Pali monastic name of a
ฉันทะ (Chanda) 1. will; aspiration; the will to
Buddhist monk; ordination-name. 2. shade;
do; resolve; zeal; desire; impulse; wish; loving shadow.
interest; desire for truth and understanding. 2. เฉวยี ง (Eka§sa§) v. to arrange the upper robe
consent; declaration of consent to an official over one shoulder (the left one).
act by an absentee; proxy vote.
ช
ชฎลิ (Jañila) a class of ascetics with matted ชลาพชุ ะ (Jalàbuja) womb-born creatures; those
hair, usually worshipping fire, sometimes born from the womb; the viviparous.
classed under Isi; matted-hair ascetic. ชวนะ (Javana) impulsion; apperception; impulsive
ชนกกรรม (Janakakamma) reproductive kamma; moment; a phase or stage of the process of
regenerative kamma. consciousness at which there is full perception
ชมพทู วปี (Jambådãpa) the continent of the rose- and at which kamma is performed, usually lasting
apples, i.e. India. for seven thought-moments.
ชรา (Jarà) old age; decay. ชอฟา (Kaõõikà, Kåñapilandhana*) the curved
ชักผา 324 ฎีกา
finial (of a gable); gable-finial; (elongated of the Buddha.
ชวิ หา (Jivhà) the tongue.
ornate) gable spire. ชวิ หาทวาร (Jivhàdvàra) tongue-door; tongue-
ชักผา ดู บังสุกลุ , ผา ปา.
ชยั มงคลคาถา (Jayamaïgalagàthà) stanzas for avenue.
ชิวหาวิญญาณ (Jivhàvi¤¤àõa) tongue-con-
the blessing or glory of victory.
ชาครยิ านโุ ยค (Jàgariyànuyoga) practice of watch- sciousness.
ชี (Muõóakaupàsikà*) a shaven-headed female
fulness; avoidance of sleep; wakefulness.
ชาดก (Jàtaka) 1. a birth story; the stories of the devotee who wears white robes and observes
Buddha’s previous lives. 2. “Birth Stories”; five or eight precepts; white-robed female lay
name of the tenth division of the Khuddaka follower.
ชีวิต (Jãvita) life; vitality.
Nikàya. ชวี ติ นิ ทรยี (Jãvitindriya) vitality; life-principle;
ชาติ (Jàti) birth; rebirth.
ชาติกอน (Atãtabhava) a previous birth; former psychic life; the faculty of life.
ชุกชี (Mahàpañimà-patiññhàna) base (for the
life.
ชาตหิ นา (Paraloka, punabbhava) rebirth; re- principal Buddha image); pedestal.
เชิงตะกอน ดู จิตกาธาน.
existence; future life. เชิงเทยี น (Sitthadãpàdhàra*) candlestick.
ชินะ (Jina) 1. the conqueror; the victor; the เชงิ บาตร (Pattàdhàraka) bowl-support; bowl-
Buddha. 2. Jain; Jaina. stand.
ชนิ บุตร, ชโิ นรส (Jinaputta, Jinorasa) a disciple
ฌ
ฌาน (Jhàna) meditation; absorption; a state of ฌาปนกิจ (Jhàpanakicca) cremation.
ฌาปนสถาน (Jhàpanaññhàna) crematorium.
serene contemplation attained by meditation;
(mis.) trance; ecstasy.
ญ
ญตั ติ, ญตั ิ (¥atti) a motion. ญาติพลี (¥àtibali) offering to kinsfolk; the
ญาณ (¥àõa) knowledge; real knowledge;
helping of one’s relatives.
wisdom; insight. ญาติสังคหะ (¥àtisaïgaha) good treatment
ญาณทศั นะ (¥àõadassana) knowing and seeing;
towards kinsmen; the helping of one’s
perfect knowledge; all-comprising know- relatives.
ledge; a vision of truth; insight; vision ญาตสิ าโลหิต (¥àtisàlohita) relations and blood
through wisdom. relations.
ญาณทสั สนวสิ ทุ ธิ (¥àõadassana-visuddhi) purity ญายะ, ญายธรรม (¥àya) right path; right
of knowledge and vision; purity of vision method; the Noble Path; truth; Nibbàna.
เญยยธรรม, ไญยธรรม (¥eyyadhamma) any-
regarding intuitive wisdom; purification by
knowledge and vision. thing that should be learnt or understood;
ญาติ (¥àti) a kinsman; relative. the knowable.
ฎ
ฎีกา (òãkà) 1. a sub-commentary. 2. (T.) a letter (T.) written request for donation. 4. (T.)
of invitation or invitation card to a monk. 3. petition; appeal.
ฐาน 325 ติรจั ฉานโยนิ
ฐ
ฐาน (òhàna*) pedestal (as of a Buddha image). ฐานานุศกั ดิ์ (òhànànusatti) the authority based
ฐานานกุ รม (òhànànukkama*) the ecclesiastical
on one’s rank or dignity.
order of retinue; assistants or staff members; ฐิติ (òhiti, òhãti) duration; static moment; the
entourage. moment of standing.
ณ
เณร ดู สามเณร.
ด
ดวงตาเหน็ ธรรม ดู ธรรมจกั ษ.ุ realm; the heaven of the satisfied gods;
ดาบส (Tàpasa) a hermit; ascetic.
ดาวดงึ ส (Tàvati§sà) the realm (or heaven) of name of the fourth heavenly abode, of which
the Thirty-three Gods; name of the second Santusita is the king.
heavenly abode, of which Sakka is the king. เด็กวัด (âràmika; âràmika-kumàra; Daharàràmika;
ดิรจั ฉาน, กําเนิด ดู ติรจั ฉานโยน.ิ
ดสุ ิต (Tusità) the realm of delight; the delightful Kappiyakàraka) temple boy. ดู ศิษยวัด.
เดยี รถีย (Titthiya) an adherent of another
religion; heretical teacher.
ต
ตจปญ จกกมั มฏั ฐาน (Tacapa¤caka-kammaññhàna) ตลกบาตร ดู ถลกบาตร.
the “skin pentad” of meditation subjects; the ตกั บาตร (Piõóadàna) v. to offer food to the
subject for meditation comprising the five monks on their almsround.
constituents ending with the skin (the four ตชั ชนยี กรรม (Tajjanãyakamma) the formal act
others being hair, body hair, nails and teeth); of censure.
มลู กรรมฐาน ก็เรียก.
ตณั หา (Taõhà) craving; desire; thirst.
ตติยฌาน (Tatiyajjhàna) the third Jhàna; the ตตั รมชั ฌตั ตตา (Tatramajjhattatà) equanimity;
third absorption. equipoise; mental balance.
ตถาคต (Tathàgata) 1. the Accomplished One; ตัสสปาปยสิกา (Tassapàpiyasikà) inflicting a
the Thus-come; the Thus-gone; the Truth- penalty on one who is at fault; decision for
winner; an epithet of the Buddha. 2. an
Arahant. 3. a being. specific depravity.
ตทงั คปหาน (Tadaïgapahàna) abandoning by ตาลปต ร (Tàlapatta) a palm leaf. (T.) a fan made
of palm-leaves, with a long handle, used by a
substitution of opposites. monk in ceremonies; ceremonial fan. ดู พดั ยศ.
ตทงั ควิมตุ ติ (Tadaïgavimutti) deliverance by ตํานาน (Va§sa) tradition; chronicle.
ติณวัตถารกวินัย (Tiõavatthàrakavinaya) pro-
substitution of opposites.
ตบะ (Tapa) 1. religious austerity; penance. 2. cedure for covering over (as) with grass, (a
exertion; mental devotion; ascetic practice. reconciliation of both parties without need for
ตรัสรู (Bodhi) Enlightenment. v. to be en-
clearing up the rights and wrongs).
lightened; attain enlightenment. ติรัจฉานกถา (Tiracchànakathà) a variety of
ตราต้ัง (Adhikàrapañña*) certificate of
worldly talk; childish talk; aimless talk.
appointment; credentials; eccl. warrant. เทียบ ติรัจฉานโยนิ (Tiracchànayoni) the animal
สัญญาบตั ร. kingdom; the realm of the brute creation.
ติรัจฉานวิชา 326 เถยสังวาส
ตริ จั ฉานวชิ า (Tiracchànavijjà) a low art; pseudo- Yajubbeda and Sàmaveda, to which the
sciences; any study tending to be an
fourth, Athabbana, was added later.
obstacle on the way to Nibbàna. ไตรภพ, ไตรภูมิ (Tibhava, Tebhåmi) the Three
ตสิ รณคมนปู สมั ปทา (Tisaraõagamanåpasampadà) Spheres, viz., the Sense Sphere, the Form
ordination by taking the Threefold Refuge. Sphere and the Formless Sphere; three
เตโชกสิณ (Tejokasiõa) fire-contemplation; fire
realms; three worlds; three planes of
as a meditational device.
เตโชธาตุ (Tejodhàtu) fire-element; the element existence.
ไตรมาส (Temàsa) three months, especially
of heat; heat.
เตวาจกิ (Tevàcika) lit. pronouncing three words or those of the rainy season.
ไตรรตั น (Ratanattaya) the Three Jewels; the
three times; especially one who pronounces
Three Gems; Triple Gem. ดู รัตนตรัย.
the threefold formula of refuge, the first being ไตรลกั ษณ (Tilakkhaõa) the Three Charac-
Yasa’s father. teristics; the Three Signs of Being; also
โตะ หมบู ชู า (Påjanapãñha*) a set of altar tables.
ไตรจีวร (Ticãvara) the three robes of a Bhikkhu, called the Common Characteristics. ดู สามัญ-
consisting of the under, the upper and the ลักษณะ.
ไตรโลก (Tiloka) the three worlds. ดู ไตรภพ.
outer robes; Triple Robe. ไตรสรณะ (Tisaraõa) the Threefold Refuge;
ไตรทวาร (Tidvàra) the three doors or avenues of
Three Refuges; Triple Guide.
action: body, speech, and mind. ไตรสรณคมน (Tisaraõagamana) taking the
ไตรปฎ ก (Tepiñaka) lit. the Three Baskets; the
Threefold Refuge; going to the Buddha, the
Tipiñaka; the three divisions of the Buddhist
Dhamma, and the Sangha for refuge.
Canon, viz., Vinaya, Sutta and Abhidhamma, ไตรสกิ ขา (Sikkhàttaya) the Threefold Learning;
generally known as the Pali Canon. the Threefold Training; the Three Studies:
ไตรเพท (Tiveda) lit. the three knowledges; the
morality, concentration and wisdom, (pre-
three Vedas; the three divisions of the
ferably, training in higher morality, in higher
Brahmanic canon of authorized religious
mentality, and in higher wisdom).
teaching and practice, viz., Irubbeda,
ถ
ถลกบาตร (Pattathavikà) the bag with a sling, ถนี มิทธะ (Thãnamiddha) sloth and torpor; sloth
used for carrying an alms-bowl in; bowl-case; and drowsiness; torpor and languor; stolidity
bowl-bag. and drowsiness.
ถวาย (Deti) v. to offer, give or present (to a ถลุ ลจั จยั (Thullaccaya) a grave offence; Serious
monk or a prince). Transgression.
ถวายพระเพลงิ (Sarãrajjhàpana) the cremation ถูปารหบุคคล (Thåpàrahapuggala) persons
ceremony. worthy of a tope; those whose relics should
ถัมภะ (Thambha) obstinacy; immobility;
be enshrined.
hardness; obduracy. เถน (Thena) a thief; (T.) unbecoming religious;
ถาน (Vaccakuñã) the water closet; toilet (for
shameless monk.
monks); privy. เถยจิต (Theyyacitta) intention to steal.
ถีนะ (Thãna) sloth; unwieldiness; impliability; เถยเจตนา (Theyyacetanà) intention to steal.
เถยสงั วาส (Theyyasa§vàsa) living clandestinely
morbid state of mind.
เถระ 327 ทายก
with the monks; disguising oneself as a Teaching of the Elders; the Southern School
monk; communion by theft. of Buddhism.
เถระ (Thera) an elder; a senior member of the เถรานเุ ถระ (Therànuthera) senior monks in
Order; a senior monk (of at least ten years’ general.
เถรี (Therã) a woman elder; senior nun.
standing). เถรคี าถา (Therãgàthà) “Psalms of the Sisters”;
เถรคาถา (Theragàthà) “Psalms of the Brethren”;
“Verses of the Women Elders”; name of the
“Verses of the Elders”; name of the eighth
ninth division of the Khuddaka Nikàya.
division of the Khuddaka Nikàya.
เถรวาท (Theravàda) the Doctrine of the Elders;
ท
ทธิ (Dadhi) curd; sour milk. their sufferings.
ทมะ (Dama) self-command; self-control; taming; ทักขิณาวัฏ (Dakkhiõàvañña) winding to the
subjugation; training; mastery; adjustment. right; clockwise.
ทวาร (Dvàra) 1. door; avenue. 2. a sense-door; ทกั ขิโณทก (Dakkhiõodaka) water of dedication;
sense-avenue. 3. door of action. consecrated water.
ทศชาติ (Dasajàti) the ten longest birth-stories of the
ทกั ขไิ ณยบคุ คล, ทกั ขเิ ณยยบคุ คล (Dakkhiõeyya-
Buddha, regarded as the most important.
ทศบารมี (Dasapàramã) the ten perfections; the ten puggala) an individual deserving a donation;
principal virtues practised by a Bodhisatta. one worthy of a donation.
ทศพร (Dasavara) the ten blessings; ten boons. ทักษิณนิกาย (Dakkhiõanikàya) the Southern
ทศพล (Dasabala) 1. the Ten Powers of the
School of Buddhism, i.e. the Theravàda.
Buddha. 2. one who is endowed with ten ทกั ษณิ านปุ ระทาน (Dakkhiõànuppadàna*) offering
made to a monk or monks on behalf of the
supernormal powers, i.e. the Buddha. dead.
ทศพลญาณ (Dasabala¤àõa) the ten supreme ทณั ฑกรรม (Daõóakamma) punishment; penalty.
ทัศนะ, ทรรศนะ, ทัสสนะ (Dassana) 1. seeing;
intellectual powers of the Buddha.
ทศพธิ ราชธรรม (Dasaràjadhamma) the tenfold sight; intuition. 2. view; opinion; theory.
ทฬั หกี รรม (Daëhãkamma) making firm; strength-
code of the king; the tenfold virtue or duty of
the king; the ten royal virtues; virtues of a ening by repeating, as reordination.
ทาฐธาตุ (Dàñhadhàtu) the tooth relic (of the
ruler.
ทองคําเปลว (Suvaõõapatta) (T.) gold leaf. Buddha).
ทอดกฐิน ดู กฐิน. ทาน (Dàna) giving; gift; alms-giving; charity;
ทอดผา [บงั สกุ ลุ ] (Pa§sukålacãvaranikkhipana) (T.) generosity; benevolence; liberality; a gift;
v. to lay a robe (as an offering to a monk at a donation; alms; benefaction.
ทานบดี (Dànapati) 1. lord of alms; master in
funeral or memorial ceremony); lay down a
liberality. 2. one in charge of alms-giving;
funeral robe.
ทอดผา ปา ดู ผาปา. chief donor.
ทักขณิ า, ทักษิณา (Dakkhiõà) a gift; donation; ทานมยั (Dànamaya) (merit) gained through, or
dedicatory gift; an intercessional expiatory connected with, alms-giving; the way of
offering; donation given to a holy person making merit, consisting in alms-giving or
with reference to unhappy beings in the charity.
Peta existence, intended for the alleviation of ทายก (Dàyaka) almsgiver; donor; benefactor;
ทายกิ า 328 ทุพภาษติ
the lay supporter of Bhikkhus; lay giver; lay ทพิ ย (Dibba) divine; heavenly; celestial.
ทีฆนิกาย (Dãghanikàya) the Collection of Long
supporter.
ทายกิ า (Dàyikà) a female donor. Discourses; Dialogues of the Buddha; name
ทาํ นองสวด (Vatta, Bhàõassara*) mode of chanting.
ทําบญุ (Pu¤¤akaraõa) merit-making; performing of the first main division of the Sutta Piñaka.
ทก่ี ลั ปนา (Kappanàvatthu*) monastic revenue
meritorious action. v. to make merit; do merit;
estate.
do good; perform meritorious action. ทธ่ี รณสี งฆ (Saïghikavatthu) monastery estate.
ที่วัด (âràmavatthu, Vihàravatthu) monastery
ทําบุญข้ึนบานใหม (Gehapañhamaparibhoga-
compound.
maïgala*, Gehappavesana-maïgala*) house- ที่สดุ ดู อนั ตา.
ทุกกฏ (Dukkaña) an offence of wrongdoing.
warming ceremony. ทกุ ข (Dukkha) 1. suffering; misery; woe; pain; ill;
ทําบุญบาน (Gehamaïgala*) house-blessing
sorrow; trouble; discomfort; unsatisfactoriness;
ceremony. problematic situation; stress; conflict. adj.
ทาํ วตั รคา่ํ , ทาํ วตั รเยน็ (Sàyaõha-sajjhàya*, Sàya- unsatisfactory; miserable; painful; subject to
suffering; ill; causing pain. 2. physical or bodily
bhàõa*) evening chanting.
pain; difficulty; unease; ill-being.
ทําวัตรเชา (Pubbaõha-sajjhàya*, Pàta-bhàõa*) ทุกขตา (Dukkhatà) the state of being subject
morning chanting. to suffering; painfulness; stress; conflict.
ทกุ ขนโิ รธอรยิ สจั จ (Dukkhanirodha Ariyasacca) the
ทฏิ ฐธรรม (Diññhadhamma) the visible order of
Noble Truth of the Cessation of Suffering; the
things; present condition; this world; the
Noble Truth of the Extinction of Suffering.
present life; temporality.
ทกุ ขนโิ รธคามนิ ปี ฏปิ ทาอรยิ สจั จ (Dukkhanirodha-
ทฏิ ฐธรรมเวทนยี กรรม (Diññhadhammavedanãya-
gàminãpañipadà Ariyasacca) the Noble Truth
kamma) immediately effective kamma; kamma
of the Path that leads to the Cessation (or,
ripening during the life-time.
ทิฏฐธัมมกิ ตั ถะ (Diññhadhammikattha) gain for the Extinction) of Suffering.
ทุกขเวทนา (Dukkhavedanà) painful feeling.
this life; present benefit; temporal welfare;
ทุกขสมุทัยอริยสัจจ (Dukkhasamudaya Ariya-
sources of happiness in the present life.
ทิฏฐาวิกัมม (Diññhàvikamma) an open statement sacca) the Noble Truth of the Cause (or, the
of one’s view; explanation of views; view Origin) of Suffering; the Noble Truth of the
clarification. Condition of the Arising of Suffering.
ทิฏฐิ, ทิฐิ (Diññhi) 1. a theory; view; belief; ทกุ ขอริยสัจจ (Dukkha Ariyasacca) the Noble
opinion; speculation; dogma. 2. misbelief; Truth of Suffering.
ทกุ รกริ ิยา (Dukkarakiriyà) the practice of aus-
erroneous opinion; false theory.
ทฏิ ฐิวสิ ุทธิ (Diññhivisuddhi) purity of under- terities; self-mortification.
ทคุ ติ (Duggati) (the 3 or 4) States of Unhappi-
standing; purification of view.
ทิฏฐิสามญั ญตา (Diññhi-sàma¤¤atà) equality in ness; woeful courses of existence; evil states;
view; unity in view. woeful existences.
ทฏิ ชุ ุกรรม (Diññhujukamma) straightening of ทจุ รติ (Duccarita) bad conduct; wrong action.
ทุติยฌาน (Dutiyajjhàna) the second Jhàna; the
one’s own views.
ทิฏุปาทาน (Diññhupàdàna) clinging to second absorption.
ทุพภาษติ (Dubbhàsita) an offence of wrong
erroneous opinions; attachment to views.
ทพิ พจักขุ (Dibbacakkhu) divine eye; heavenly speech.
eye; clairvoyance.
ทิพพโสตะ (Dibbasota) divine ear; heavenly ear;
clairaudience.
ทุศีล 329 ธรรมจักร
ทุศีล (Dussãla) of bad conduct; void of morality; local festivals.
เทศนม หาชาติ (Mahàjàtakadesanà*) (T.) “Great-
immoral.
เทพ (Deva) lit. a shining one; god; deity; divine Birth Sermon”; a sermon on the great birth
being. story of the Bodhisatta Vessantara.
เทวดา (Devatà) a celestial or heavenly being; เทศนา (Desanà) preaching; discourse; sermon;
deity. instruction. v. to preach; expound the
เทวตานุสติ (Devatànussati) recollection of
Doctrine; give a sermon.
heavenly beings; reflection on deifying เทียน (Sitthadãpa) a candle.
เทียนพรรษา (Vassadãpa, Vassikapadãpa) candle
virtues as found in oneself.
เทวตาพลี (Devatàbali) an offering to the deity. for the rains; Lenten candle.
เทวทูต (Devadåta) lit. gods’ messenger; divine โทมนสั (Domanassa) a painful mental feeling;
messenger; a symbolic name for those things (mental) displeasure; sad-mindedness; grief.
โทษ (Dosa, Vajja, âdãnava) fault; blemish;
which remind man of his future and rouse
defect; corruption; depravity; disadvantage.
him to earnest striving. โทสะ (Dosa) hatred; anger; ill-will; aversion.
เทวธรรม (Devadhamma) divine virtue; the โทสจรติ (Dosacarita) the hateful; one of hating
virtues that make divine, i.e. moral shame temperament; a quick-tempered person.
โทสาคติ (Dosàgati) wrong way of behaviour
and dread.
เทวรูป (Devaråpa*) an image of a deity; idol. consisting in hatred; prejudice caused by
เทวโลก (Devaloka) world of gods; heaven;
hatred.
celestial realm. ไทยทาน (Deyyadàna) a gift fit to be given;
เทวฺ วาจกิ (Dvevàcika) lit. pronouncing two words or
gift; donation.
two times; especially those who pronounce the ไทยธรรม (Deyyadhamma) that which has the
words, taking only two refuges, viz., the Buddha quality of being given; gift; offerings (to
and the Dhamma, Tapussa and Bhallika being monks).
the first ones.
เทศกาล (Desakàla) a season for merit-making and
ธ
ธมกรก (Dhamakaraka) a filter; water-strainer. religious talk; talk on the Dhamma; Dhamma-
ธรณสี งฆ ดู ทธ่ี รณีสงฆ.
ธรรม (Dhamma) 1. the Dharma; the Dhamma; lecture.
ธรรมกถกึ (Dhammakathika) one who preaches
the Doctrine; the Teachings (of the Buddha). 2.
the Law; nature. 3. the Truth; Ultimate Reality. the Doctrine; a preacher.
4. the Supramundane, especially nibbàna. 5. ธรรมขนั ธ (Dhammakkhandha) a portion of the
Dhamma; a main article of the Doctrine; a
quality; righteousness; virtue; morality; good textual unit; a category of the Dhamma.
conduct; right behaviour. 6. tradition; practice; ธรรมคณุ (Dhammaguõa) virtue or quality of
principle; norm; rule; duty. 7. justice;
impartiality. 8. thing; phenomenon. 9. a the Dhamma.
cognizable object; mind-object; idea. 10. mental ธรรมจริยา (Dhammacariyà) observance of
state; mental factor; mental activities. 11.
righteousness; righteous conduct.
ธรรมจกั ร (Dhammacakka) the Wheel of the
condition; cause; causal antecedent. Doctrine; the Wheel of the Law; the Wheel of
ธรรมกถา (Dhammakathà) ethical discussion; Truth; the Kingdom of Righteousness; the
ธรรมจักษุ 330 ธมั มจักกปั ปวัตตนสูตร
First Sermon. Truth or the Doctrine; (T.) research on the
ธรรมจกั ษุ (Dhammacakkhu) the Eye of Truth;
Dhamma; search of Truth.
the Eye of Wisdom. ธรรมวิชยั (Dhammavijaya) conquest by piety;
ธรรมจาริก (Dhammacàrika) wandering
conquest by righteousness.
Dhamma-preacher; spiritual-welfare worker. ธรรมวินัย (Dhammavinaya) Dhamma-Vinaya;
ธรรมเจดีย (Dhammacetiya) a shrine in which
the Norm-Discipline; the Doctrine and the
sacred texts are housed; a shrine of the
Discipline.
Doctrine; doctrinal monument. ธรรมวภิ าค (Dhammavibhàga) classification of
ธรรมดา (Dhammatà) general rule; nature; the
dhammas; enumeration of the Dhamma;
law of nature; cosmic law.
ธรรมทาน (Dhammadàna) the Gift of Truth; gift Dhamma classification.
ธรรมสภา (Dhammasabhà) the Hall of Truth; a
of the Dhamma.
ธรรมทูต (Dhammadåta*) Dhamma-messenger; hall for the discussion of the Dhamma; a
Buddhist field-preacher; Buddhist missionary. place for religious meeting.
ธรรมเทศนา (Dhammadesanà) expounding the ธรรมสวนะ ดู ธัมมัสสวนะ.
ธรรมสากจั ฉา (Dhammasàkacchà) discussion
Dhamma; preaching; exposition of the
about the Doctrine; religious discussion.
Doctrine; a sermon. ธรรมเสนาบดี (Dhammasenàpati) generalissimo
ธรรมธร (Dhammadhara) “Dhamma bearer”;
of the Dhamma; Commander in Chief of the
one versed in the Dhamma; an expert in the
Law; an epithet of the Venerable Sàriputta.
Dhamma. ธรรมาธปิ ไตย (Dhammàdhipateyya) regard of
ธรรมธาตุ (Dhammadhàtu) 1. a mental object.
the Dhamma (the Law or righteousness) as
2. the cosmic law.
ธรรมนยิ าม (Dhammaniyàma) order of the being supreme; supremacy of the Dhamma;
norm; law of the Dhamma; certainty or dominant influence by the Dhamma; rule of
orderliness of causes and effects; general law the true law; rule of righteousness.
ธรรมาธษิ ฐาน (Dhammàdhiññhàna) exposition in
of cause and effect.
ธรรมบท (Dhammapada) 1. “Way of Truth”; “An terms of ideas; teaching with reference to
Anthology of Sayings of the Buddha”; name of ideas. เทียบ บคุ คลาธิษฐาน.
the second division of the Khuddaka Nikàya. ธรรมานุธรรมปฏิบัติ, ธัมมานุธัมมปฏิปตติ
2. a line or stanza of the Doctrine; a word of
(Dhammànudhammapañipatti) practice in
the Doctrine; talk or discourse on the
perfect conformity to the Dhamma.
Dhamma. ธรรมารมณ (Dhammàrammaõa) a mind-object;
ธรรมบรรยาย (Dhammapariyàya) disquisition.
ธรรมปฏิสมั ภทิ า ดู ธัมมปฏิสัมภทิ า. cognizable object; cognoscible object.
ธรรมาสน (Dhammàsana) the Dhamma-seat; a
ธรรมยตุ , ธรรมยตุ กิ นกิ าย (Dhammayuttika-nikà
seat on which a monk sits while preaching;
ya*) the Dhammayutika Sect; “Law-Abiding
pulpit.
Sect”; Smaller Sub-Order (of the Thai ธรรมีกถา (Dhammãkathà) religious talk;
Monkhood); smaller denomination. เทียบ discussion concerning the Doctrine;
มหานิกาย. Dhamma talk.
ธรรมวาที (Dhammavàdã) one who speaks ธมั ม- ดู ธรรม-.
ธัมมกามตา (Dhammakàmatà) the quality of
according to the Dhamma; speaker of the
one who loves the Dhamma; love of Truth.
doctrine; speaker of the rightful things.
ธรรมวิจยั (Dhammavicaya) investigation of the ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร (Dhammacakkap-
pavattanasutta) the discourse of setting in
ธมั มเทสนามยั 331 นักธรรม
motion the Wheel of the Doctrine; the Contemplation of Mind-object; contemplation
Discourse of the Foundation of the Kingdom of phenomena; mindfulness as regards the
of Righteousness; the First Sermon. Dhamma.
ธัมมเทสนามัย (Dhammadesanàmaya) (merit) ธมั มานสุ ติ (Dhammànussati) recollection of the
connected with, or to be gained through, Doctrine; reflection on the virtues of the
preaching; the way of making merit con- Dhamma.
ธัมมาภิสมัย (Dhammàbhisamaya) under-
sisting in moral instruction.
ธมั มปฏสิ มั ภิทา (Dhammapañisambhidà) Discri- standing of the Truth; conversion to the
mination of the Law; analytical knowledge of Dhamma; enlightenment.
ธาตุ (Dhàtu) 1. an element; natural condition;
the Law; discriminating knowledge of reasons,
that which carries its own characteristic
conditions or causal relations. mark. 2. a relic, especially that of the
ธมั มสงั คณี (Dhammasaïgaõi) “Classification of
Buddha or an Arahant.
Dhammas”; “Enumeration of Phenomena”; ธาตุกถา (Dhàtukathà) “Discussion with
name of the first book of the Abhidhamma Piñaka. reference to the Elements”; name of the third
ธัมมญั ุตา (Dhamma¤¤utà) the quality of one
book of the Abhidhamma Piñaka.
who knows the Law; knowing the cause or ธาตุกรรมฐาน ดู จตธุ าตวุ วัตถาน.
ธาตเุ จดีย (Dhàtucetiya) a shrine over the
origin; knowing the principles.
ธัมมัปปมาณิกา (Dhammappamàõikà) those Buddha’s relic; dagoba.
ธาตมุ นสกิ าร ดู จตธุ าตวุ วัตถาน.
who measure or judge by righteousness; ธาตวุ วตั ถาน ดู จตุธาตุววตั ถาน.
ธติ ิ (Dhiti) energy; courage; steadfastness; firm
those whose faith depends on the Dhamma or
character; resolution; wisdom.
on righteous behaviour. ธุดงค (Dhutaïga, Dhåtaïga) (the thirteen)
ธัมมัสสวนะ (Dhammassavana) hearing the
Austere Practices; constituents of ascetic
Dhamma; hearing the preaching of the
practice to remove defilements.
Dhamma; hearing a sermon; listening to the ธุระ (Dhura) burden; load; duty; charge; office;
good teaching. responsibility.
ธัมมัสสวนมัย (Dhammassavanamaya) (merit) ธูป (Dhåpa) an incense-stick; joss-stick.
connected with, or to be gained through,
hearing a sermon; the way of making merit
consisting in listening to the Dhamma.
ธัมมานุปสสนา (Dhammànupassanà) the
น
นมสั การ (Namakkàra) salutation; the act of นวนติ , นวนตี ะ ดู เนยขน
paying homage; homage; veneration; (T.) นกั ขตั ฤกษ (Nakkhattakãëana) the celebration of
salutation with joined palms. a festival; festivity.
นรก (Naraka, Niraya) abyss; hell; purgatory. ดู นกั เทศก ดู ธรรมกถกึ .
นักธรรม (Dhammika*) one learned in the
นิรยะ.
นวกภกิ ษุ (Navakabhikkhu) a neophyte; newly Doctrine; Doctrine-knower; one who has
ordained monk (of less than 5 years’ stand- passed the examination of any of the three
ing). grades of Dhamma-study; eccl. graduate of
นวกรรม (Navakamma) building new; con- Dhamma studies; Dhamma graduate;
struction; making repairs. Dhamma scholar.
นักบวช 332 นิโรธ
นักบวช (Pabbajita) a religious; priest; monk. the Five Precepts.
นักพรต (Yati, Vatavantu) one who takes up a นิตยภัต (Niccabhatta) a continuous food-
religious practice or observes a religious supply; monthly food allowance.
นิทเทส (Niddesa) 1. “Expositions”; name of the
vow; ascetic; recluse; hermit.
นกั สวด (Dhammagàyaka*) a chanter. eleventh division of the Khuddaka Nikàya. 2.
นง่ั ขัดสมาธิ ดู ขัดสมาธ.ิ description; analytic explanation.
น่งั คกุ เขา ดู คกุ เขา. นิทาน (Nidàna) 1. source; cause; origin;
นั่งพับเพยี บ ดู พบั เพยี บ. reference. 2. (T.) a story.
นนิ ทา (Nindà) blame; reproach; fault-finding;
นจั จคตี วาทติ วสิ กู ทสั สนะ (Naccagãtavàditavisåka- calumny. v. to blame; calumniate; speak ill of
dassana) dancing, singing, music, and a person.
นิพพาน (Nibbàna) Nirvàõa; Nibbàna; the
unseemly shows (or stage plays).
นัตถิกทฏิ ฐิ (Natthikadiññhi) lit. the theory of extinction of the fires of greed, of hatred and
nothingness; nihilism; nihilistic view. of ignorance; the Unconditioned; the
นัตถิกวาท ก็วา . supreme goal of Buddhism; the Summum
นาค (Nàga) 1. a serpentlike water-god. 2. (T.)
Bonum of Buddhism; the Final Goal; the
an applicant (or candidate) for ordination;
extinction of all defilements and suffering.
ordinand. นิพพิทา (Nibbidà) dispassion; disinterest;
นาม (Nàma) mind; name; mental factors;
disenchantment.
mentality. นิมนต, การ (Nimantana) invitation (for a
นามรปู (Nàmaråpa) Mind and Matter; name
monk). v. to invite (a monk).
and form; mind and body; mentality and นิมมานรดี (Nimmànarati) the realm of the gods
corporeality. who rejoice in (their own) creations; name of
นาสนะ, นาสนา (Nàsana, ~nà) causing to perish;
the fifth heavenly abode of which Sunimmita
expulsion.
นาํ้ มนต (Parittodaka*) consecrated water; blessing is the king.
นมิ ติ , นมิ ติ ต (Nimitta) sign; omen; mark; portent;
water; lustral water; holy water.
นิกเขปบท (Nikkhepapada) a verse or words of cause; mental image; mental reflex; boundary
summary; thesis; verse or passage set up for marker.
นยิ สกรรม (Niyasakamma, Niyassa~) the formal
detailed treatment in a discourse; a saying
act of subordination; giving guidance; causing
quoted for discoursing; discourse-opening
(a monk) to live (again) in dependence.
verse. นยิ าม (Niyàma) certainty; fixed method; regular
นกิ าย (Nikàya) 1. a collection; group; any of the
order; the state of certainty; the five orders of
five main divisions of the Sutta Piñaka. 2. a
processes which operate in the physical and
sect; school; denomination.
นคิ รนถ (Nigaõñha) lit. one who is freed from all mental realms; natural and regular orders
ties; a member of the Jain Order; ascetic in governing all things; natural law.
นิรยะ (Niraya) hell; woeful state.
Jainism. นิรุตติปฏิสัมภิทา (Niruttipañisambhidà) the
นคิ หกรรม (Niggahakamma) suppression; punish-
Discrimination of Language; knowledge of
ment; censure; reproach; rebuke; chastisement
dialects or philological analysis; analytical
of a perverse monk.
นจิ ศลี (Niccasãla) regular precepts; uninter- knowledge of the language (with regard to
rupted observance of virtue; the good the true meaning and the Law).
นิโรธ (Nirodha) the Cessation or Extinction of
conduct to be observed uninterruptedly, i.e.