The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม โดย ป.อ. ปยุตโต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-07-06 21:26:34

พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม โดย ป.อ. ปยุตโต

พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม โดย ป.อ. ปยุตโต

Keywords: พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม โดย ป.อ. ปยุตโต

หมวด 2 83 [65]

[64] อัตถะ 2 (อรรถ, ความหมาย — Attha: meaning)

พระสูตรที่พระพุทธเจาตรัส วา โดยการแปลความหมาย มี 2 ประเภท คอื
1. เนยยัตถะ ([พระสูตร]ซง่ึ มีความหมายทีจ่ ะตองไขความ, พทุ ธพจนท ีต่ รสั ตามสมมติ อันจะ
ตองเขาใจความจริงแททซ่ี อนอยูอีกชัน้ หน่ึง เชน ท่ีตรสั เรื่องบุคคล ตัวตน เรา–เขา วา บุคคล 4
ประเภท, ตนเปน ทพ่ี ึ่งของตน เปนตน — Neyyattha: with indirect meaning; with
meaning to be defined, elucidated or interpreted)
2. นีตัตถะ ([พระสูตร]ซ่งึ มีความหมายทีแ่ สดงชัดโดยตรงแลว , พุทธพจนทต่ี รัสโดยปรมัตถ ซงึ่
มคี วามหมายตรงไปตรงมาตามสภาวะ เชนท่ีตรสั วา รปู เสียง กลน่ิ รส เปนตน — Nãtattha:
with direct or manifest meaning; with defined or elucidated meaning)

ผใู ดแสดงพระสตู รทีเ่ ปนเนยยัตถะ วา เปน นีตตั ถะ หรือแสดงพระสูตรทเ่ี ปนนตี ัตถะ วาเปน

เนยยัตถะ ผูน ้นั ชือ่ วา กลาวตูพระตถาคต.

A.I. 60 องฺ.ทุก.20/270/76

[65] อุปญญาตธรรม 2 (ธรรมทพี่ ระพทุ ธเจา ไดท รงปฏิบตั ิเหน็ คุณประจกั ษก ับพระองค

เอง คือ พระองคไ ดทรงอาศัยธรรม 2 อยา งนีด้ ําเนนิ อริยมรรคาจนบรรลุจุดหมายสงู สุด คือ
สมั มาสมั โพธิญาณ — Upa¤¤àta-dhamma: two virtues realized or ascertained by the

Buddha himself)

1.อสนตฺ ฏุ ติ า กุสเลสุ ธมฺเมสุ (ความไมสนั โดษในกศุ ลธรรม, ความไมรูอิ่มไมร พู อใน

การสรา งความดีและสิ่งท่ดี ี — Asantuññhità kusalesu dhammesu: discontent in moral
states; discontent with good achievements)

2.อปปฺ ฏิวาณติ า ปธานสมฺ ึ (ความไมระยอ ในการพากเพียร, การเพยี รพยายามกาวหนา

เรื่อยไปไมย อมถอยหลงั — Appañivàõità padhànasmi§: perseverance in exertion;

unfaltering effort)

D.III.214; A.I.50,95; Dhs.8,234. ที.ปา.11/227/227; อง.ฺ ทกุ .20/251/64; 422/119; อภ.ิ ส.ํ 34/15/8; 875/339.

ติกะ — หมวด 3

Groups of Three

(including related groups)

[66] กรรม 3 (การกระทาํ , การกระทาํ ท่ปี ระกอบดวยเจตนา ดกี ต็ าม ชว่ั กต็ าม — Kamma:

action; deed)

1. กายกรรม (กรรมทําดวยกาย, การกระทําทางกาย — Kàya-kamma: bodily action)
2. วจกี รรม (กรรมทาํ ดวยวาจา, การกระทําทางวาจา — Vacã-kamma: verbal action)
3. มโนกรรม (กรรมทําดวยใจ, การกระทาํ ทางใจ — Mano-kamma: mental action)

M.I.373. ม.ม.13/64/56.

[67] กุศลมูล 3 (รากเหงา ของกุศล, ตน ตอของความดี — Kusala-måla: wholesome

roots; roots of good actions)
1. อโลภะ (ความไมโ ลภ, ธรรมท่เี ปน ปฏิปก ษก ับโลภะ, ความคดิ เผื่อแผ, จาคะ — Alobha:

non-greed; generosity)
2. อโทสะ (ความไมคิดประทษุ ราย, ธรรมท่ีเปน ปฏปิ ก ษก บั โทสะ, เมตตา — Adosa: non-

hatred; love)
3. อโมหะ (ความไมห ลง, ธรรมทเี่ ปนปฏิปก ษก บั ความหลง, ปญ ญา — Amoha: non-

delusion; wisdom)

D.III.275. ท.ี ปา.11/394/292.

[68] อกุศลมูล 3 (รากเหงาของอกุศล, ตนตอของความช่ัว — Akusala-måla:

unwholesome roots; roots of bad actions)

1. โลภะ (ความอยากได — Lobha: greed)
2. โทสะ (ความคิดประทุษรา ย — Dosa: hatred)
3. โมหะ (ความหลง — Moha: delusion)

D.III.275; It.45. ท.ี ปา.11/393/291; ขุ.อติ .ิ 25/228/264.

[69] กุศลวิตก 3 (ความตรกึ ทเ่ี ปน กศุ ล, ความนกึ คดิ ทดี่ งี าม — Kusala-vitakka:

wholesome thoughts)
1. เนกขัมมวติ ก (ความตรึกปลอดจากกาม, ความนึกคิดในทางเสยี สละ ไมต ดิ ในการปรนปรอื
สนองความอยากของตน — Nekkhamma-vitakka: thought of renunciation; thought free

from selfish desire)

หมวด 3 85 [72]

2. อพยาบาทวิตก (ความตรกึ ปลอดจากพยาบาท, ความนกึ คดิ ทปี่ ระกอบดว ยเมตตา ไมข ัด
เคอื งหรอื เพง มองในแงร าย — Abyàpàda-vitakka: thought free from hatred)
3. อวหิ งิ สาวติ ก (ความตรกึ ปลอดจากการเบยี ดเบยี น, ความนกึ คดิ ทปี่ ระกอบดว ยกรณุ าไมค ดิ รา ย
หรอื มงุ ทาํ ลาย — Avihi§sà-vitakka: thought of non-violence; thought free from cruelty)

A.III.446. องฺ.ฉกฺก.22/380/496.

[70] อกุศลวิตก 3 (ความตรกึ ที่เปน อกศุ ล, ความนกึ คดิ ทไ่ี มดี — Akusala-vitakka:

unwholesome thoughts)

1. กามวิตก (ความตรึกในทางกาม, ความนึกคิดในทางแสหาหรือพัวพันติดของในสิ่งสนอง
ความอยาก — Kàma-vitakka: thought of sensual pleasures)
2. พยาบาทวติ ก (ความตรกึ ในทางพยาบาท, ความนกึ คดิ ทป่ี ระกอบดว ยความขดั เคอื งเพง มองใน
แงร า ย — Byàpàda-vitakka: thought full of hatred or ill-will; malevolent thought)
3. วหิ งิ สาวิตก (ความตรกึ ในทางเบียดเบียน, ความนกึ คดิ ในทางทําลาย ทํารา ยหรอื กอ ความ
เดือดรอ นแกผ อู นื่ — Vihi§sà-vitakka: thought of violence or cruelty; cruel thought)

A.III.446. อง.ฺ ฉกกฺ .22/380/496.

[71] โกศล 3 (ความฉลาด, ความเชยี่ วชาญ — Kosalla: skill; proficiency)

1. อายโกศล (ความฉลาดในความเจริญ, รอบรูท างเจรญิ และเหตขุ องความเจริญ — âya-
kosalla: proficiency as to gain or progress)

2. อปายโกศล (ความฉลาดในความเสอื่ ม, รอบรทู างเสอ่ื มและเหตขุ องความเสอ่ื ม — Apàya-
kosalla: proficiency as to loss or regress)

3. อปุ ายโกศล (ความฉลาดในอบุ าย, รอบรวู ธิ แี กไ ขเหตกุ ารณแ ละวธิ ที จี่ ะทาํ ใหส าํ เรจ็ — Upàya-
kosalla: proficiency as to means and methods)

D.III.220; Vbh.325. ท.ี ปา.11/228/231; อภิ.ว.ิ 35/807/439.

[72] ญาณ 31 (ความหย่งั ร,ู ปรีชาหย่ังรู — ¥àõa: insight; knowledge)

1. อตีตังสญาณ (ญาณหย่ังรูสวนอดีต, รูอดีตและสาวหาเหตุปจจัยอันตอเน่ืองมาได —
Atãta§sa-¤àõa: insight into the past; knowledge of the past)

2. อนาคตังสญาณ (ญาณหย่ังรูสวนอนาคต, รูอนาคต หยัง่ ผลทจี่ ะเกิดสบื ตอ ไปได —
Anàgata§sa-¤àõa: insight into the future; knowledge of the future)

3. ปจจุปปน นังสญาณ (ญาณหยั่งรูสว นปจ จุบัน, รปู จจบุ นั กําหนดไดถ งึ องคประกอบและ
เหตปุ จ จัยของเรอ่ื งทีเ่ ปนไปอยู — Paccuppanna§sa-¤àõa: insight into the present;

knowledge of the present)

D.III.275. ที.ปา.11/396/292.

[73] 86 พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร

[73] ญาณ 32 (ความหยัง่ รู, ปรชี าหย่งั รู — ¥àõa: insight; knowledge)

1. สจั จญาณ (หยัง่ รูสจั จะ คอื ความหยง่ั รอู ริยสัจจ 4 แตล ะอยา งตามทเ่ี ปน ๆ วา นที้ ุกข นี้
ทกุ ขสมทุ ยั นท้ี ุกขนิโรธ นีท้ ุกขนโิ รธคามินปี ฏปิ ทา — Sacca-¤àõa: knowledge of the
Truths as they are)
2. กิจจญาณ (หย่ังรกู จิ คอื ความหยัง่ รกู ิจอันจะตอ งทําในอริยสจั จ 4 แตล ะอยางวา ทกุ ขควร
กําหนดรู ทกุ ขสมุทัยควรละเสีย เปน ตน — Kicca-¤àõa: knowledge of the functions
with regard to the respective Four Noble Truths)
3. กตญาณ (หยัง่ รกู ารอันทําแลว คอื ความหย่ังรูว า กจิ อันจะตอ งทําในอริยสัจจ 4 แตละอยา ง
นน้ั ไดทําเสรจ็ แลว — Kata-¤àõa: knowledge of what has been done with regard to
the respective Four Noble Truths)

ญาณ 3 ในหมวดนี้ เน่ืองดว ยอริยสจั จ 4 โดยเฉพาะ เรียกชือ่ เตม็ ตามทมี่ าวา ญาณ-ทัสสนะ

อนั มปี รวิ ฏั ฏ 3 (ญาณทัสสนะมรี อบ 3 หรือ ความหยงั่ รหู ย่งั เหน็ ครบ 3 รอบ — thrice-

revolved knowledge and insight) หรือ ปรวิ ฏั ฏ 3 แหงญาณทสั สนะ (the three aspects

of intuitive knowledge regarding the Four Noble Truths)

ปรวิ ฏั ฏ หรอื วนรอบ 3 นี้ เปน ไปในอรยิ สจั จท งั้ 4 รวมเปน 12 ญาณทสั สนะนนั้ จงึ ไดช อื่ วา มี

อาการ 12 (twelvefold intuitive insight หรอื knowing and seeing under twelve modes)

พระผมู พี ระภาคทรงมีญาณทสั สนะตามเปน จรงิ ในอรยิ สัจจ 4 ครบวนรอบ 3 มอี าการ 12

(ตปิ ริวฏฏํ ทวฺ าทสาการํ ยถาภตู ํ าณทสสฺ นํ ) อยา งนแี้ ลว จึงปฏิญาณพระองคไ ดวาทรงบรรลุ

อนุตตรสมั มาสัมโพธญิ าณแลว.

ดู [205] กจิ ในอรยิ สัจจ 4.

Vin.I.11; S.V.422. วนิ ย.4/16/21; ส.ํ ม.19/1670/530; ส.ํ อ.3/409.

[74] ตัณหา 3 (ความทะยานอยาก — Taõhà: craving)

1. กามตณั หา (ความทะยานอยากในกาม, ความอยากไดกามคุณ คือส่ิงสนองความตองการ
ทางประสาทท้ังหา — Kàma-taõhà: craving for sensual pleasures; sensual craving)

2. ภวตณั หา (ความทะยานอยากในภพ, ความอยากในภาวะของตัวตนทจี่ ะได จะเปนอยางใด

อยา งหนงึ่ อยากเปน อยากคงอยตู ลอดไป, ความใครอ ยากทป่ี ระกอบดว ยภวทฏิ ฐหิ รอื สสั สตทฏิ ฐิ
— Bhava-taõhà: craving for existence)
3. วิภวตัณหา (ความทะยานอยากในวิภพ, ความอยากในความพรากพนไปแหงตัวตนจาก

ความเปนอยางใดอยา งหนึง่ อันไมป รารถนา อยากทําลาย อยากใหด บั สูญ, ความใครอยากที่
ประกอบดว ยวิภวทิฏฐิหรืออุจเฉททฏิ ฐิ — Vibhava-taõhà: craving for non-existence;

craving for self-annihilation)

A.III.445; Vbh.365. อง.ฺ ฉกกฺ .22/377/494; อภิ.วิ.35/933/494.

หมวด 3 87 [75]

[75] ไตรปฎก (ปฎก 3, กระจาด ตะกรา กระบุง หรือ ตาํ รา 3, ประมวลแหงคัมภีรท ่ี

รวบรวมพระธรรมวนิ ยั 3 หมวด หรอื 3 ชุด — Tipiñaka: the Three Baskets; the Pali

Canon) จดั พิมพดว ยอักษรไทย มี 45 เลม

1. วนิ ยั ปฎก (หมวดพระวนิ ัย, ประมวลสิกขาบท สาํ หรับภกิ ษสุ งฆแ ละภกิ ษณุ สี งฆ — Vinaya-
piñaka: the Basket of Discipline) แบง เปน 3 หมวด หรอื 5 คมั ภรี  จัดพิมพอกั ษรไทยเปน

8 เลม คือ

ก. วภิ ังค หรือ สตุ ตวภิ ังค (Vibhaïga) วา ดว ยสิกขาบทในปาฏโิ มกข (ปาติโมกข กใ็ ช) แบงเปน

2 คัมภรี  คือ

1. อาทิกมั มกิ ะ หรอื ปาราชกิ (อา) วา ดว ยสกิ ขาบทท่เี กี่ยวกับอาบตั ิหนัก ตง้ั แตปาราชกิ ถึง

อนิยต (Major Offences) จัดพมิ พเ ปน 1 เลม
2. ปาจติ ตยิ ะ (ปา) วา ดว ยสกิ ขาบททเ่ี กย่ี วกบั อาบตั เิ บา ตง้ั แตน สิ สคั คยิ ปาจติ ตยี  ถงึ เสขยิ ะ

และรวมเอาภิกขุนวี ิภงั คเ ขา ไวดวย (Minor Offences) จดั เปน 2 เลม
วภิ ังค น้ี แบงอีกอยา งหนึง่ เปน 2 เหมือนกัน คอื
1. มหาวภิ งั ค หรอื ภิกขวุ ภิ ังค วา ดว ยสกิ ขาบทในปาฏโิ มกขฝ ายภกิ ษสุ งฆ (Rules for

Monks) จัดเปน 2 เลม
2. ภกิ ขนุ วี ภิ งั ค วา ดว ยสกิ ขาบทในปาฏโิ มกขฝ า ยภกิ ษณุ สี งฆ (Rules for Nuns) จดั เปน 1 เลม

ข. ขนั ธกะ (Khandhaka) วาดวยสิกขาบทนอกปาฏิโมกข รวมเปน บทๆ เรียกวา ขันธกะ หนง่ึ ๆ

ท้ังหมดมี 22 ขันธกะ ปน เปน 2 วรรค คือ
3. มหาวรรค (ม; วรรคใหญ — Greater Section) วา ดว ยสกิ ขาบทนอกปาฏโิ มกขตอนตน

มี 10 ขันธกะ จดั เปน 2 เลม
4. จลุ วรรค (จุ; วรรคเล็ก — Smaller Section) วาดว ยสกิ ขาบทนอกปาฏิโมกขตอนปลาย

มี 12 ขนั ธกะ จัดเปน 2 เลม
ค. 5. ปรวิ าร (ป; หนงั สือประกอบ; คมู อื — Parivàra: Epitome of the Vinaya) คมั ภรี 

บรรจคุ ําถามคาํ ตอบ ซอมความรูพ ระวินัย จัดเปน 1 เลม
2. สตุ ตนั ตปฎ ก (หมวดพระสตู ร, ประมวลพระธรรมเทศนา คําบรรยายธรรม และเรอื่ งเลา
ตา งๆ อันยักเยอ้ื งตามบุคคลและโอกาส — Sutta-piñaka: the Basket of Discourses) แบง
เปน 5 นกิ าย (แปลวาประมวลหรือชุมนุม) จัดพมิ พเปน 25 เลม คอื

1. ทฆี นกิ าย (ที) ชุมนุมพระสตู รทม่ี ขี นาดยาว — Dãgha-nikàya: Collection of Long

Discourses จัดเปน 3 วรรค 3 เลม มี 34 สตู ร

2. มชั ฌมิ นกิ าย (ม) ชุมนมุ พระสตู รทมี่ คี วามยาวปานกลาง — Majjhima-nikàya: Col-

lection of Middle-length Discourses จัดเปน 3 ปณณาสก 3 เลม มี 152 สูตร
3. สงั ยตุ ตนกิ าย (สํ) ชมุ นมุ พระสูตรทร่ี วมเขาไวเ ปนหมวดๆ เรียกวา สงั ยตุ ต หนงึ่ ๆ ตาม

[75] 88 พจนานุกรมพุทธศาสตร

เรอื่ งทเ่ี นือ่ งกนั — Sa§yutta-nikàya: Collection of Connected Discourses จัดเปน

56 สงั ยตุ ต แลวประมวลเขาอีกเปน 5 วรรค 5 เลม มี 7,762 สูตร
4. องั คตุ ตรนกิ าย (อ)ํ ชมุ นุมพระสตู รที่รวมเขาไวเปนหมวดๆ เรียกวา นิบาต หน่งึ ๆ ตาม

ลําดับจํานวนหัวขอธรรม — Aïguttara-nikàya: Adding-One Collection;

Collection of Numerical Sayings จัดเปน 11 นบิ าต (หมวด 1 ถงึ หมวด 11) รวม

เขา เปนคมั ภีร 5 เลม มี 9,557 สตู ร
5. ขุททกนิกาย (ขุ) ชุมนุมพระสูตร ขอธรรม คําอธิบายและเรื่องราวเบ็ดเตล็ด —

Khuddaka-nikàya: Smaller Collection; Collection of Minor Works รวมคัมภีรท ี่

จดั เขา ไมไ ดใ นนกิ ายสข่ี า งตน มที งั้ หมด 15 คมั ภรี  จดั เปน 9 เลม คอื ขทุ ทกปาฐะ ธรรมบท

อุทาน อติ ิวุตตกะ สตุ ตนิบาต (1 เลม) วมิ านวตั ถุ เปตวตั ถุ เถรคาถา เถรคี าถา (1 เลม )

ชาดก (2 เลม ) นทิ เทส (มหานทิ เทส 1 เลม, จูฬนิทเทส 1 เลม ) ปฏิสัมภทิ ามัคค (1 เลม )

อปทาน (1 2/3 เลม) พุทธวงส จริยาปฎก (1/3 เลม)

3. อภธิ รรมปฎก (หมวดอภิธรรม, ประมวลหลกั ธรรมและคาํ อธิบายในรูปหลกั วชิ าลวนๆ ไม
เกีย่ วดวยเหตุการณและบคุ คล — Abhidhamma-piñaka: the Basket of Sublime, Higher

or Extra Doctrine) แบงเปน 7 คัมภีร จดั พิมพเปน 12 เลม คอื

1. ธมั มสงั คณี หรือ สงั คณี (ส)ํ รวมขอ ธรรมเขาไวเปนหมวดหมแู ลวอธิบายเปนประเภทๆ
— Saïgaõã: Enumeration of the Dhammas (1 เลม)

2. วภิ งั ค (วิ) อธบิ ายขอ ธรรมทีร่ วมเปน หมวดหมู (เรียก วภิ ังค หนงึ่ ๆ ) แยกแยะออกชแี้ จง

วนิ ิจฉยั โดยละเอยี ด — Vibhaïga: Analysis of the Dhammas (1 เลม )
3. ธาตกุ ถา (ธา) สงเคราะหขอ ธรรมตา งๆ เขาในขนั ธ อายตนะ ธาตุ — Dhàtukathà:

Discussion of Elements (ครงึ่ เลม)
4. ปุคคลบญั ญัติ (ปุ) บัญญัตคิ วามหมายบคุ คลประเภทตา งๆ ตามคณุ ธรรมทีม่ อี ยใู นบคุ คล

นน้ั ๆ — Puggalapa¤¤atti: Description of Individuals (ครึง่ เลม )
5. กถาวตั ถุ (ก) แถลงวนิ ิจฉยั ทัศนะตา งๆ ทข่ี ดั แยงกันระหวางนิกายทัง้ หลายสมัยตตยิ -

สังคายนา — Kathàvatthu: Subjects of Discussion (1 เลม)
6. ยมก (ย) ยกหวั ขอ ธรรมขึน้ วินิจฉัยดวยวิธถี ามตอบโดยตั้งคําถามยอ นกันเปนคๆู —

Yamaka: Book of Pairs (2 เลม)
7. ปฏฐาน (ป) หรือ มหาปกรณ อธิบายปจจัย 24 โดยพสิ ดาร — Paññhàna: Book of

Relations (6 เลม)

อนง่ึ 3 ปฎ กน้ี สงเคราะหเขาใน [35] ปาพจน 2 คือ พระสุตตนั ตปฎ กและพระอภธิ รรม-

ปฎก จดั เปน ธรรม พระวนิ ัยปฎ กจดั เปน วินยั

Vin.V.86. วนิ ย.8/826/224.

หมวด 3 89 [78]

[,,] ไตรรัตน ดู [100] รัตนตรยั .
[76] ไตรลักษณ (ลกั ษณะ 3, อาการทเ่ี ปนเครือ่ งกําหนดหมาย 3 อยาง อันใหรถู ึงความ

จริงของสภาวธรรมทั้งหลาย ท่เี ปนอยางน้ันๆ ตามธรรมดาของมัน — Tilakkhaõa: the Three
Characteristics)
1. อนจิ จตา (ความเปนของไมเทยี่ ง — Aniccatà: impermanence; transiency)
2. ทุกขตา (ความเปน ทกุ ข — Dukkhatà: state of suffering or being oppressed)
3. อนตั ตตา (ความเปน ของไมใ ชต น — Anattatà: soullessness; state of being not self)

• ลกั ษณะเหลานี้ มี 3 อยา ง จึงเรยี กวา ไตรลกั ษณ

• ลักษณะทั้ง ๓ น้ี มแี กส งิ่ ทง้ั หลายเปน สามญั เสมอเหมือนกนั คอื ทุกอยางทเ่ี ปนสังขตะ เปน

สังขาร ลว นไมเท่ียง (อนิจจา) คงทนอยูมไิ ด (ทุกขา) เสมอเหมอื นกันทงั้ หมด ทุกอยางที่เปน

ธรรม ทัง้ สังขตะคอื สังขาร และอสังขตะคอื วิสังขาร ลว นมใิ ชต น ไมเปน อตั ตา (อนัตตา) เสมอกัน
ทัง้ สน้ิ จึงเรยี กวา สามญั ลกั ษณะ หรอื สามญั ลกั ษณ (Sàma¤¤a-lakkhaõa: the Common

Characteristics)

• ลกั ษณะทง้ั 3 เหลา น้ี ปรากฏอยตู ามธรรมดาทแี่ นน อน เปน ไปตามกฎธรรมชาติ คอื ธรรมนยิ าม

• ไตรลักษณ กด็ ี สามัญลักษณ ก็ดี เปน คาํ ในชั้นอรรถกถา สว นในพระไตรปฎก ลกั ษณะ 3

อยางน้ี อยูใ นหลกั ธรรมนิยาม

ดู [86] ธรรมนิยาม 3.

S.IV.1; Dh.277–9. สํ.สฬ.18/1/1; ขุ.ธ.25/30/51.

[,,] ไตรสิกขา ดู [124] สกิ ขา 3.

[77] ทวาร 3 (ทางทํากรรม — Dvàra: door; channel of action)

1. กายทวาร (ทวารคอื กาย — Kàya-dvàra: the body-door; channel of bodily action)

2. วจที วาร (ทวารคอื วาจา—Vacã-dvàra: the speech-door;speech as a door of action)

3. มโนทวาร (ทวารคือใจ — Mano-dvàra: the mind-door; mind as a door of action)

Dh.234. นยั ข.ุ ธ.25/27/46; มงคฺ ล.1/252/243.

[78] ทวาร 6 (ทางรบั รูอ ารมณ ไดแ กอายตนะภายใน 6 — Dvàra: sense-doors)

1. จักขทุ วาร (ทวารคือตา — Cakkhu-dvàra: eye-door)

2. โสตทวาร (ทวารคอื หู — Sota-dvàra: ear-door)

3. ฆานทวาร (ทวารคอื จมกู — Ghàna-dvàra: nose-door)

4. ชวิ หาทวาร (ทวารคือลนิ้ — Jivhà-dvàra: tongue-door)

[79] 90 พจนานุกรมพทุ ธศาสตร

5. กายทวาร (ทวารคอื กาย — Kàya-dvàra: body-door)
6. มโนทวาร (ทวารคือใจ — Mano-dvàra: mind-door)

ดู [276] อายตนะภายใน 6.

S.IV.194. สํ.สฬ.18/342/242.

[,,] ทิฏฐิ 3 ดู [14] ทฏิ ฐิ 3.

[79] ทุกขตา 3 (ความเปน ทกุ ข, ภาวะแหง ทกุ ข, สภาพทุกข, ความเปนสภาพที่ทนไดย าก
หรอื คงอยใู นภาวะเดิมไมได — Dukkhatà: state of suffering or being subject to

suffering; conflict; unsatisfactoriness)
1. ทกุ ขทกุ ขตา (สภาพทกุ ขคอื ทุกข หรอื ความเปน ทกุ ขเพราะทกุ ข ไดแ ก ทุกขเวทนาทางกายก็
ตาม ใจก็ตาม ซงึ่ เปน ทุกขอยา งที่เขา ใจสามญั ตรงตามชอ่ื ตามสภาพ — Dukkha-dukkhatà:

painfulness as suffering)
2. วปิ ริณามทกุ ขตา (ความเปน ทกุ ขเพราะความแปรปรวน ไดแ กค วามสุข ซงึ่ เปนเหตใุ หเกดิ
ความทกุ ขเ มอื่ ตอ งเปล่ยี นแปลงแปรไปเปนอยางอืน่ — Vipariõàma-dukkhatà: suffering in

change)
3. สงั ขารทกุ ขตา (ความเปนทกุ ขเพราะเปน สังขาร ไดแกตัวสภาวะของสงั ขาร คือสิง่ ท้งั ปวงซง่ึ

เกดิ จากปจจัยปรุงแตง ที่ถูกบีบค้นั ดวยการเกดิ ข้ึนและสลายไป ทําใหคงสภาพอยไู มไ ด พรองอยู
เสมอ และใหเ กดิ ทุกขแกผูย ดึ ถอื ดว ยอปุ าทาน — Saïkhàra-dukkhatà: suffering due to

formations; inherent liability to suffering)

D.III.216; S.IV.259; V.56. ที.ปา.11/228/229; ส.ํ สฬ.18/510/318; ส.ํ ม.19/319/85.

[80] ทุจริต 3 (ความประพฤตชิ ่ัว, ประพฤตไิ มด ี — Duccarita: evil conduct;

misconduct)
1. กายทุจริต (ความประพฤติช่วั ดวยกาย — Kàya-duccarita: evil conduct in act;

misconduct by body) มี 3 คอื ปาณาตบิ าต อทินนาทาน และกาเมสุมิจฉาจาร
2. วจที ุจรติ (ความประพฤติช่วั ดว ยวาจา — Vacã-duccarita: evil conduct in word;

misconduct by speech) มี 4 คือ มสุ าวาท ปส ุณาวาจา ผรสุ วาจา และสมั ผปั ปลาปะ
3. มโนทจุ ริต (ความประพฤตชิ ่ัวดวยใจ — Mano-duccarita: evil conduct in thought;

misconduct by mind) มี 3 คอื อภชิ ฌา พยาบาท และมจิ ฉาทฏิ ฐิ

ดู รายละเอียดที่ [321] อกศุ ลกรรมบถ 10.

D.III.214; Dhs.1305. ท.ี ปา.11/228/227; อภิ.ส.ํ 34/840/327.

[81] สุจริต 3 (ความประพฤติด,ี ประพฤติชอบ — Sucarita: good conduct)

1. กายสจุ รติ (ความประพฤตชิ อบดวยกาย — Kàya-sucarita: good conduct in act) มี 3

หมวด 3 91 [84]

คอื งดเวนและประพฤตติ รงขามกบั ปาณาติบาต อทนิ นาทาน และกาเมสุมจิ ฉาจาร
2. วจสี ุจรติ (ความประพฤติชอบดว ยวาจา — Vacã-sucarita: good conduct in word) มี 4

คือ งดเวน และประพฤติตรงขามกับ มสุ าวาท ปสณุ าวาจา ผรุสวาจา และสัมผัปปลาปะ
3. มโนสจุ รติ (ความประพฤตชิ อบดวยใจ — Mano-sucarita: good conduct in thought)

มี 3 คือ อนภิชฌา อพยาบาท และสมั มาทิฏฐ.ิ

ดู รายละเอยี ดท่ี [320] กุศลกรรมบถ 10 2.

D.III.215; Dhs.1306. ท.ี ปา.11/228/227; อภิ.สํ.34/840/327.

[82] เทพ 3 (เทพเจา , เทวดา — Deva: gods; divine beings)

1. สมมติเทพ (เทวดาโดยสมมติ ไดแ ก พระราชา พระเทวี และพระราชกุมาร — Sammati-
deva: gods by convention)

2. อปุ ปตติเทพ (เทวดาโดยกาํ เนิด ไดแก เทวดาในกามาวจรสวรรค และพรหมทั้งหลาย
เปนตน — Upapatti-deva: gods by rebirth)

3. วิสุทธิเทพ (เทวดาโดยความบรสิ ทุ ธิ์ ไดแ ก พระพทุ ธเจา พระปจเจกพทุ ธเจา และพระ
อรหันตทงั้ หลาย — Visuddhi-deva: gods by purification)

Nd2173; KhA.123. ขุ.จ.ู 30/214/112; ขุทฺทก.อ.135.

[83] เทวทูต 3 (ทูตของยมเทพ, สอ่ื แจง ขา วของมฤตยู, สิ่งทเี่ ปน สญั ญาณเตอื นใจใหระลกึ

ถึงคติธรรมดาของชีวิตอันมีความตายเปนท่ีสุด เพ่ือจะไดเกิดความสังเวชและเรงขวนขวายทํา
ความดี ดว ยความไมประมาท — Devadåta: divine messengers; messengers of death)
1. ชณิ ณะ (คนแก — Jiõõa: old men)
2. พยาธิตะ หรือ อาพาธกิ ะ (คนเจ็บ, ผูป วย — Byàdhita, âbàdhika: sick men)
3. มตะ (คนตาย — Mata: dead men)

A.I.138. อง.ฺ ตกิ .20/475/175.

[,,] เทวทูต 4 ดู [150] นิมติ 4.

[84] เทวทูต 5 (ทตู ของยมเทพ — Devadåta: divine messengers)

1. ทหระ หรอื มนั ทกุมาร (เด็กออน — Dahara: a young baby)

2. ชิณณะ (คนแก — Jiõõa: an old man)

3. พยาธติ ะ หรือ อาพาธิกะ (คนเจ็บ — Byàdhita, âbàdhika: a sick man)

4. กรรมการณปั ปตตะ (คนถูกลงโทษ, คนถกู จองจาํ ลงอาญา — Kammakàraõappatta: a

criminal subjected to punishment)
5. มตะ (คนตาย — Mata: a dead man)

M.III.179. ม.อุ.14/507/335.

[85] 92 พจนานุกรมพุทธศาสตร

[85] ธรรม 3 (สภาวะ, สงิ่ , ปรากฏการณ — Dhamma: states; things; phenomena;

ideas)
1. กุศลธรรม (ธรรมท่ีเปน กุศล, สภาวะทฉี่ ลาด ดงี าม เอือ้ แกส ุขภาพจติ เกือ้ กูลแกช ีวติ จิตใจ

ไดแกกศุ ลมูล 3 ก็ดี นามขันธ 4 ทสี่ ัมปยุตดวยกศุ ลมูลน้นั กด็ ี กายกรรม วจกี รรม มโนกรรม ที่
มกี ศุ ลมลู เปน สมฏุ ฐาน ก็ดี กลา วสน้ั วา กศุ ลในภมู ิ 4 — Kusala-dhamma: skilful,

wholesome, or profitable states; good things)
2. อกุศลธรรม (ธรรมทเี่ ปนอกุศล, สภาวะทีต่ รงขามกบั กุศล ไดแ ก อกุศลมูล 3 และกเิ ลสอนั

มฐี านเดยี วกับอกศุ ลมูลนนั้ กด็ ี นามขนั ธ 4 ท่สี มั ปยตุ ดวยอกุศลมลู นัน้ กด็ ี กายกรรม วจีกรรม

มโนกรรมท่ีมีอกศุ ลมลู เปน สมฏุ ฐาน กด็ ี กลาวสัน้ วา อกศุ ลจติ ตุปบาท 12 — Akusala-

dhamma: unskilful, unwholesome or unprofitable states; bad things)
3. อัพยากตธรรม (ธรรมท่เี ปนอพั ยากฤต, สภาวะท่เี ปน กลางๆ ชขี้ าดลงมิไดวา เปนกศุ ลหรอื

อกศุ ล ไดแก นามขันธ 4 ท่เี ปน วบิ ากแหง กศุ ลและอกุศล เปนกามาวจรก็ตาม รปู าวจรก็ตาม

อรปู าวจรกต็ าม โลกุตตระกต็ าม อยา งหนง่ึ ธรรมทัง้ หลายทเี่ ปน กิรยิ า มใิ ชกศุ ล มิใชอกุศล มิใช

วบิ ากแหงกรรม อยางหนง่ึ รปู ทง้ั ปวง อยา งหนึ่ง อสงั ขตธาตุ คอื นพิ พาน อยา งหนง่ึ กลา วสัน้
คือ วบิ ากในภูมิ 4, กริ ิยาอัพยากฤตในภูมิ 3, รูป และนิพพาน — Abyàkata-dhamma: the

indeterminate; neither-good-nor-bad thing)

Dhs.91,180,234. อภิ.สํ.34/1/1; 663/259; 878/340.

[86] ธรรมนิยาม 3 (กําหนดแหง ธรรมดา, ความเปนไปอนั แนนอนโดยธรรมดา, กฎธรรม
ชาติ — Dhamma-niyàma: orderliness of nature; natural law)

1. สพเฺ พ สงฺขารา อนจิ จฺ า (สงั ขารคือสงั ขตธรรมทั้งปวงไมเ ท่ยี ง — Sabbe saïkhàrà
aniccà: all conditioned states are impermanent)

2. สพเฺ พ สงฺขารา ทกุ ขฺ า (สงั ขารคอื สงั ขตธรรมทั้งปวงเปน ทุกข — Sabbe saïkhàrà
dukkhà: all conditioned states are subject to oppression, conflict or suffering)

3. สพเฺ พ ธมมฺ า อนตตฺ า (ธรรมคอื สังขตธรรมและอสงั ขตธรรม หรอื สังขารและวิสังขารทั้ง
ปวงไมใ ชต น — Sabbe dhammà anattà: all states are not-self or soulless)

หลกั ความจรงิ นี้ แสดงใหเ หน็ ลกั ษณะ 3 อยา ง ทเี่ รยี กวา ไตรลกั ษณ ของสภาวธรรมทงั้ หลาย (ดู

[76] ไตรลักษณ) พระพุทธเจา จะอบุ ตั หิ รอื ไมก็ตาม หลักท้งั สามนี้ ก็คงมีอยูเปน ธรรมดา พระ

พทุ ธเจา เปน แตท รงคนพบ และนาํ มาเปดเผยแสดงแกเ วไนย.

ดู [223] นิยาม 5.

A.I.285. อง.ฺ ตกิ .20/576/368.

[87] นิมิต หรอื นิมิตต 3 (เครอื่ งหมายสาํ หรบั ใหจ ติ กาํ หนดในการเจรญิ กรรมฐาน, ภาพท่ี
เหน็ ในใจอันเปนตัวแทนของส่ิงทใ่ี ชเปน อารมณก รรมฐาน — Nimitta: sign; mental image)

หมวด 3 93 [89]

1. บรกิ รรมนมิ ติ (นิมติ แหงบริกรรม, นิมติ ตระเตรยี มหรอื นิมิตแรกเรม่ิ ไดแ ก ส่งิ ใดกต็ ามท่ี

กําหนดเปน อารมณในการเจริญกรรมฐาน เชน ดวงกสิณที่เพง ดู หรือ พทุ ธคณุ ท่นี ึกเปน อารมณ
วาอยใู นใจเปน ตน — Parikamma-nimitta: preliminary sign) ไดใ นกรรมฐานทง้ั 40
2. อคุ คหนมิ ติ (นมิ ติ ทีใ่ จเรยี น, นิมติ ติดตา ไดแก บริกรรมนมิ ติ นน้ั ที่เพงหรือนกึ กาํ หนดจน
เห็นแมน ในใจ เชน ดวงกสิณทเ่ี พงจนตดิ ตา หลบั ตามองเหน็ เปน ตน — Uggaha-nimitta:

learning sign; abstract sign; visualized image) ไดในกรรมฐานท้ัง 40
3. ปฏิภาคนมิ ิต (นมิ ติ เสมอื น, นิมิตเทยี บเคยี ง ไดแ ก นมิ ติ ทเ่ี ปน ภาพเหมือนของอุคคหนมิ ติ

นนั้ แตเปนสงิ่ ที่เกิดจากสัญญา เปนเพยี งอาการปรากฏแกผ ไู ดสมาธิ จงึ บรสิ ุทธจ์ิ นปราศจากสี
เปนตน และไมมีมลทินใดๆ ทั้งสามารถนึกขยายหรอื ยอ สวนไดต ามปรารถนา — Pañibhàga-
nimitta: counterpart sign; conceptualized image) นมิ ติ น้ีไดเ ฉพาะในกรรมฐาน 22 คือ

กสิณ 10 อสภุ ะ 10 กายคตาสติ 1 และอานาปานสติ 1

เมอื่ เกิดปฏิภาคนิมิตขึ้น จิตยอ มตงั้ มน่ั เปนอุปจารสมาธิ จงึ ช่ือวา ปฏภิ าคนิมติ เกดิ พรอมกับ
อุปจารสมาธิ เมอ่ื เสพปฏิภาคนิมติ นนั้ สมา่ํ เสมอดว ยอปุ จารสมาธิก็จะสําเร็จเปนอัปปนาสมาธติ อ
ไป ปฏภิ าคนมิ ติ จึงชือ่ วา เปนอารมณแกอ ุปจารภาวนา และอัปปนาภาวนา.

ดู [99] ภาวนา 3.

Comp.203; Vism.125. สงคฺ ห.51; วสิ ทุ ฺธิ.1/159.

[88] บุญกิริยาวัตถุ 3 (ที่ตัง้ แหง การทาํ บุญ, เรื่องท่ีจัดเปน การทาํ ความดี, หลักการทาํ
ความด,ี ทางทําความดี — Pu¤¤akiriyà-vatthu: bases of meritorious action; grounds

for accomplishing merit)
1. ทานมยั บญุ กริ ยิ าวตั ถุ (ทาํ บญุ ดว ยการใหป น สง่ิ ของ — Dànamaya pu¤¤akiriyà-vatthu:

meritorious action consisting in giving or generosity)
2. สลี มยั บญุ กริ ยิ าวตั ถุ (ทาํ บญุ ดว ยการรกั ษาศลี หรอื ประพฤตดิ มี รี ะเบยี บวนิ ยั —Sãlamaya ~:

meritorious action consisting in observing the precepts or moral behaviour)
3. ภาวนามยั บุญกิรยิ าวัตถุ (ทําบุญดวยการเจรญิ ภาวนา คือฝกอบรมจติ ใจเจรญิ ปญ ญา —
Bhàvanàmaya ~: meritorious action consisting in mental development)

D.III.218; A.IV.239; It.51. ท.ี ปา.11/228/230; องฺ.อฏก.23/126/245; ข.ุ อิต.ิ 25/238/270.

[89] บุญกิริยาวัตถุ 10 (ทต่ี ัง้ แหง การทําบุญ, ทางทาํ ความดี — Pu¤¤akiriyà-vatthu:

bases of meritorious action)
1. ทานมัย (ทาํ บุญดวยการใหปนส่ิงของ — Dànamaya: meritorious action consisting

in generosity; merit acquired by giving)
2. สลี มยั (ทาํ บญุ ดว ยการรกั ษาศลี หรอื ประพฤตดิ ี — Sãlamaya: by observing the precepts

or moral behaviour)

[90] 94 พจนานกุ รมพุทธศาสตร

3. ภาวนามัย (ทาํ บุญดวยการเจริญภาวนา คอื ฝกอบรมจติ ใจเจริญปญญา — Bhàvanà-
maya ~: by mental development)
4. อปจายนมัย (ทําบญุ ดวยการประพฤตอิ อ นนอม — Apacàyanamaya: by humility or

reverence)
5. เวยยาวจั จมยั (ทาํ บุญดว ยการชวยขวนขวายรบั ใช — Veyyàvaccamaya: by rendering

services)
6. ปตตทิ านมยั (ทาํ บญุ ดว ยการเฉลี่ยสว นแหงความดใี หแกผ อู น่ื — Pattidànamaya: by

sharing or giving out merit)
7. ปตตานโุ มทนามยั (ทาํ บญุ ดวยการยินดีในความดีของผูอ่ืน — Pattànumodanàmaya:

by rejoicing in others’ merit)
8. ธมั มัสสวนมยั (ทาํ บุญดวยการฟงธรรมศึกษาหาความรู — Dhammassavanamaya: by

listening to the Doctrine or right teaching)
9. ธมั มเทสนามัย (ทําบุญดว ยการสง่ั สอนธรรมใหความรู — Dhammadesanàmaya: by

teaching the Doctrine or showing truth)
10. ทฏิ ชุ ุกัมม (ทาํ บญุ ดวยการทาํ ความเห็นใหต รง — Diññhujukamma: by straighten-

ing one’s views or forming correct views)

ขอ 4 และขอ 5 จัดเขาในสลี มัย; 6 และ 7 ในทานมยั ; 8 และ 9 ในภาวนามยั ; ขอ 10 ได
ทัง้ ทาน ศลี และภาวนา

D.A.III.999; Comp.146. ที.อ.3/246; สังคหะ 29.

[90] บุตร 3 (Putta: son; child; descendant)

1. อติชาตบุตร (บุตรที่ยิ่งกวาบิดามารดา, ลูกท่ีดีกวาเลิศกวาพอแม — Atijàta-putta:

superior-born son)
2. อนุชาตบุตร (บุตรทีต่ ามเย่ียงบิดามารดา, ลกู ทีเ่ สมอดว ยพอ แม — Anujàta-putta: like-

born son)

3. อวชาตบตุ ร (บตุ รทต่ี า่ํ ลงกวา บดิ ามารดา, ลกู ทที่ ราม — Avajàta-putta: inferior-born son)
บตุ รประเภทท่ี 1 นัน้ เรียกอกี อยางวา อภิชาตบุตร

It.62. ขุ.อิติ.25/252/278.

[91] ปปญจะ หรอื ปปญจธรรม 3 (กเิ ลสเครอ่ื งเนน่ิ ชา , กิเลสที่เปน ตวั การทาํ ใหคดิ

ปรงุ แตง ยดื เยอื้ พสิ ดาร ทาํ ใหเขวหา งออกไปจากความเปนจริงทง่ี า ยๆ เปดเผย กอ ใหเกิดปญหา

ตา งๆ และขัดขวางไมใ หเขาถึงความจริงหรอื ทาํ ใหไมอ าจแกป ญ หาอยางถูกทางตรงไปตรงมา —
Papa¤ca: proliferation; diversification; diffuseness; mental diffusion)
1. ตณั หา (ความทะยานอยาก, ความปรารถนาทีจ่ ะบํารุงบาํ เรอปรนเปรอตน, ความอยากได

หมวด 3 95 [92]

อยากเอา — Taõhà: craving; selfish desire)
2. ทฏิ ฐิ (ความคดิ เหน็ ความเชอื่ ถอื ลทั ธิ ทฤษฎี อดุ มการณต า งๆ ทยี่ ดึ ถอื ไวโ ดยงมงายหรอื โดย

อาการเชดิ ชวู า อยา งนเ้ี ทา นน้ั จรงิ อยา งอนื่ เทจ็ ทงั้ นนั้ เปน ตน ทาํ ใหป ด ตวั แคบ ไมย อมรบั ฟง ใคร

ตดั โอกาสทจ่ี ะเจรญิ ปญ ญา หรอื คดิ เตลดิ ไปขา งเดยี ว ตลอดจนเปน เหตแุ หง การเบยี ดเบยี นบบี คนั้
ผอู นื่ ทไี่ มถ อื อยา งตน, ความยดึ ตดิ ในทฤษฎี ฯลฯ ถอื ความคดิ เหน็ เปน ความจรงิ — Diññhi: view;

dogma; speculation)

3. มานะ (ความถอื ตัว, ความสําคญั ตนวา เปน นน่ั เปน นี่ ถอื สูงถือต่าํ ย่งิ ใหญเ ทา เทียม หรอื ดอ ย
กวา ผูอ น่ื , ความอยากเดน อยากยกชูตนใหย่ิงใหญ — Màna: conceit)

ในคมั ภรี วิภงั ค เรียกปปญ จะ 3 นเี้ ปน ฉนั ทะ (คอื ตัณหา) มานะ ทิฏฐิ

Nd1 280; Vbh.393; Nett. 37–38. ขุ.ม.29/505/337; อภิ.ว.ิ 35/1034/530; เนตตฺ .ิ 56–57.

[92] ปริญญา 3 (การกําหนดรู, การทําความรจู กั , การทาํ ความเขา ใจโดยครบถว น —
Pari¤¤à: full understanding; diagnosis)

1. ญาตปรญิ ญา (กาํ หนดรดู ว ยใหเ ปน สง่ิ อนั รแู ลว , กาํ หนดรขู น้ั รจู กั , กาํ หนดรตู ามสภาวลกั ษณะ

คือ ทําความรูจกั จาํ เพาะตวั ของสิง่ นนั้ โดยตรง พอใหช่อื วา ไดเ ปนอนั รูจกั สงิ่ นั้นแลว เชนรูว า นี้คอื
เวทนา เวทนาคือสง่ิ ท่มี ลี กั ษณะเสวยอารมณ ดงั นเ้ี ปน ตน — ¥àta-pari¤¤à: full knowledge

as the known; diagnosis as knowledge)
2. ตรี ณปรญิ ญา (กาํ หนดรดู ว ยการพจิ ารณา, กาํ หนดรขู นั้ พจิ ารณา, กาํ หนดรโู ดยสามญั ลกั ษณะ

คอื ทําความรจู กั สง่ิ นั้นพิจารณาเหน็ โดยความเปนของไมเทยี่ ง เปนทกุ ข เปนอนตั ตา เชนวา
เวทนาไมเทย่ี ง มีความแปรปรวนไปเปน ธรรมดา ไมใชต วั ไมใ ชตน ดังนเ้ี ปน ตน — Tãraõa-
pari¤¤à: full knowledge as investigating; diagnosis as judgment)
3. ปหานปรญิ ญา (กาํ หนดรดู ว ยการละ, กาํ หนดรถู งึ ขนั้ ละได, กาํ หนดรโู ดยตดั ทางมใิ หฉ นั ทราคะ

เกดิ มีในส่งิ น้ัน คอื รวู า สิ่งน้นั เปนอนจิ จงั ทกุ ขัง อนัตตาแลว ละนิจจสญั ญาเปนตน ในส่งิ นน้ั เสยี
ได — Pahàna-pari¤¤à: full knowledge as abandoning; diagnosis as abandoning)

ปรญิ ญา 3 นี้ เปน โลกยิ ะ มขี นั ธ 5 เปนอารมณ เปน กจิ ในอริยสจั จขอท่ี 1 คือทกุ ข ในทาง

ปฏิบตั ิ จัดเขา ใน วิสุทธิ ขอ 3 ถึง 6 คือ

ก. ต้งั แตน ามรปู ปรจิ เฉทญาณ ถึง ปจ จยปรคิ คหญาณ เปนภูมิแหง ญาตปรญิ ญา (= 3. ทิฏฐ-ิ

วิสทุ ธิ และ 4. กังขาวิตรณวสิ ทุ ธ)ิ

ข. ตง้ั แตก ลาปสมั มสนญาณ ถงึ อทุ ยพั พยานปุ ส สนาญาณ เปน ภมู แิ หง ตรี ณปรญิ ญา (= 5. มคั คา-

มัคคญาณทสั สนวสิ ทุ ธ)ิ

ค. ตงั้ แตภ งั คานปุ ส สนาญาณ ขน้ึ ไป เปน ภมู แิ หง ปหานปรญิ ญา (= 6. ปฏปิ ทาญาณทสั สนวสิ ทุ ธ)ิ

ดู [205] กจิ ในอริยสจั จ 4; [285] วิสทุ ธิ 7; [311] วิปส สนาญาณ 9.

Nd1 53; Vism.606. ข.ุ ม.29/62/60; วิสทุ ฺธิ.3/230.

[93] 96 พจนานุกรมพุทธศาสตร

[,,] ปหาน 3 (การละกเิ ลส — Pahàna: abandonment) คอื วกิ ขมั ภนปหาน ตทงั คปหาน

และสมจุ เฉทปหาน มรี วมอยูใน ปหาน 5.

ดู [224] นิโรธ 5.

Vism.693. วิสุทธฺ ิ.3/349.

[93] ปญญา 3 (ความรอบรู, รทู ว่ั , เขาใจ, รซู งึ้ — Pa¤¤à: wisdom; knowledge;

understanding)
1. จินตามยปญ ญา (ปญญาเกดิ จากการคิดพจิ ารณา, ปญญาสืบแตโยนิโสมนสิการท่ีตงั้ ข้ึนใน
ตนเอง — Cintàmaya-pa¤¤à: wisdom resulting from reflection; knowledge that is

thought out)

2. สุตมยปญ ญา (ปญญาเกิดจากการสดบั เลา เรยี น, ปญ ญาสบื แตป รโตโฆสะ — Sutamaya-
pa¤¤à: wisdom resulting from study; knowledge that is learned from others)
3. ภาวนามยปญ ญา (ปญ ญาเกดิ จากการปฏบิ ตั บิ าํ เพญ็ , ปญ ญาสบื แตป ญ ญาสองอยา งแรกน้นั
แลว หมั่นมนสกิ ารในประดาสภาวธรรม — Bhàvanàmaya-pa¤¤à: wisdom resulting from

mental development; knowledge that is gained by development or practice)

D.III.219; Vbh.324. ท.ี ปา.11/228/231; อภิ.ว.ิ 35/804/438.

[94] ปาฏิหาริย 3 (การกระทําทกี่ ําจดั หรือทาํ ใหปฏิปก ษย อมได, การกระทําทใ่ี หเ ห็นเปน
อศั จรรย, การกระทาํ ท่ใี หบังเกิดผลเปนอศั จรรย — Pàñihàriya: marvel; wonder; miracle)

1. อทิ ธิปาฏิหาริย (ปาฏหิ ารยิ ค ือฤทธิ,์ แสดงฤทธไิ์ ดเปนอศั จรรย — Iddhi-pàñihàriya:

marvel of psychic power)

2. อาเทศนาปาฏหิ าริย (ปาฏิหาริยคือการทายใจ, รอบรกู ระบวนของจิตจนสามารถกาํ หนด
อาการทห่ี มายเลก็ นอ ยแลว บอกสภาพจติ ความคดิ อปุ นสิ ยั ไดถ กู ตอ งเปน อศั จรรย — âdesanà-
pàñihàriya: marvel of mind-reading)
3. อนสุ าสนปี าฏิหารยิ  (ปาฏิหาริยคืออนุศาสน,ี คําสอนเปน จรงิ สอนใหเห็นจรงิ นําไปปฏบิ ัติ
ไดผ ลสมจริง เปนอัศจรรย — Anusàsanã-pàñihàriya: marvel of teaching)

ใน 3 อยางนี้ พระพทุ ธเจา ทรงรังเกยี จอิทธิปาฏิหาริยและอาเทศนาปาฏหิ าริย แตท รง

สรรเสรญิ อนสุ าสนีปาฏิหาริยว าเปน เยย่ี ม

D.I.211; A.I.170; Ps.II.227. ท.ี สี.9/339/273; อง.ฺ ตกิ .20/500/217; ขุ.ปฏิ.31/718/616.

[95] ปาปณิกธรรม 3 (ปาปณกิ งั คะ: หลักพอคา , องคคณุ ของพอคา — Pàpaõika-
dhamma: qualities of a successful shopkeeper or businessman)

1. จักขมุ า ตาดี (รูจกั สนิ คา ดขู องเปน สามารถคํานวณราคา กะทุนเกง็ กําไรแมนยาํ —
Cakkhumà: shrewd)

2. วิธโู ร จัดเจนธุรกจิ (รแู หลง ซอื้ แหลง ขาย รคู วามเคล่อื นไหวความตอ งการของตลาด สามารถ

หมวด 3 97 [98]

ในการจดั ซ้อื จดั จําหนาย รูใ จและรูจักเอาใจลูกคา — Vidhåro: capable of administering

business)
3. นสิ สยสมั ปน โน พรอ มดว ยแหลง ทนุ เปน ทอี่ าศยั (เปน ทเ่ี ชอ่ื ถอื ไวว างใจในหมแู หลง ทนุ ใหญๆ
หาเงนิ มาลงทนุ หรอื ดาํ เนนิ กจิ การโดยงา ย — Nissayasampanno: having a good credit rating)

A.I.116. อง.ฺ ตกิ .20/459/146.

[,,] ปฎก 3 ดู [75] ไตรปฎก.

[,,] พุทธคุณ 3 ดู [305] พุทธคุณ 3.
[96] พุทธจริยา 3 (พระจริยา หรอื การทรงบําเพญ็ ประโยชน ของพระพทุ ธเจา —
Buddha-cariyà: the Buddha’s conduct, functions or services)

1. โลกัตถจรยิ า (พระพทุ ธจริยาเพื่อประโยชนแกโ ลก — Lokattha-cariyà: conduct for the

well-being of the world)
2. ญาตตั ถจรยิ า (พระพทุ ธจริยาเพอ่ื ประโยชนแกพ ระญาตติ ามฐานะ — ¥àtattha-cariyà:

conduct for the benefit of his relatives)
3. พุทธัตถจริยา (พระพุทธจริยาท่ีทรงบําเพ็ญประโยชนตามหนาที่ของพระพุทธเจา —
Buddhattha-cariyà: beneficial conduct as functions of the Buddha)

ใน 3 อยางน้ี โลกัตถจริยามาในพระไตรปฎก (ขุ.จ.ู 30/667/322; ข.ุ ปฏิ.31/449/329; 715/615) สอง

อยางหลังมาในอรรถกถา.

AA.I.98; DhA.III.441. อง.ฺ อ.1/104; ธ.อ.7/93.

[97] พุทธโอวาท 3 (ประมวลคําสอนของพระพทุ ธเจา ท่เี ปน หลกั ใหญ 3 ขอ —
Buddha-ovàda: the Three Admonitions or Exhortations of the Buddha)

1. สพฺพปาปสสฺ อกรณํ (ไมทาํ ความชัว่ ทัง้ ปวง — Sabbapàpassa akaraõa§: not to do

any evil)
2. กุสลสสฺ ูปสมฺปทา (ทาํ แตความดี — Kusalassåpasampadà: to do good; to cultivate

good)
3. สจติ ตฺ ปริโยทปนํ (ทําใจของตนใหส ะอาดบริสุทธิ์ — Sacittapariyodapana§: to purify

the mind)

หลัก 3 ขอน้ี รวมอยใู น โอวาทปาฏิโมกข ที่ทรงแสดงในวนั เพญ็ เดือน 3 ที่บดั นีเ้ รยี กวา

วนั มาฆบูชา

D.II.49; Dh.183. ท.ี ม.10/54/57; ข.ุ ธ.25/24/39.

[98] ภพ 3 (ภาวะชวี ติ ของสัตว, โลกเปน ทอ่ี ยขู องสตั ว — Bhava: existence; sphere)

1. กามภพ (ภพทเี่ ปน กามาวจร, ภพของสัตวผูยังเสวยกามคณุ คอื อารมณทางอนิ ทรียท ง้ั 5 ได
แก อบาย 4 มนษุ ยโลก และกามาวจรสวรรคทงั้ 6 — Kàma-bhava: the Sense-Sphere)

[99] 98 พจนานุกรมพทุ ธศาสตร

2. รูปภพ (ภพท่ีเปนรปู าวจร, ภพของสัตวผ เู ขา ถงึ รูปฌาน ไดแกร ูปพรหมทั้ง 16 — Råpa-
bhava: the Form-Sphere; Fine-Material Sphere)
3. อรปู ภพ (ภพทเี่ ปน อรปู าวจร, ภพของสตั วผ เู ขา ถงึ อรปู ฌาน ไดแ กอ รปู พรหม 4 — Aråpa-
bhava: the Formless Sphere; Immaterial Sphere)

D.III.215; M.I.294. ที.ปา.11/228/228; ม.ม.ู 12/498/539.

[99] ภาวนา 3 (การเจริญ หมายถงึ การเจริญกรรมฐานหรอื ฝกสมาธิข้ันตา งๆ — Bhàvanà:

stages of meditation)
1. บริกรรมภาวนา (ภาวนาขั้นบริกรรม, ฝกสมาธขิ ้นั ตระเตรยี ม ไดแ กการถอื เอานิมิตในสง่ิ ที่

กาํ หนดเปนอารมณกรรมฐาน เชน เพงดวงกสิณ หรือนึกถึงพทุ ธคณุ เปนอารมณว าอยูในใจ
เปนตน กลาวส้ันๆ คือ การกําหนดบริกรรมนิมิตนั่นเอง — Parikamma-bhàvanà:

preliminary stage of meditation) ไดในกรรมฐานทงั้ 40
2. อปุ จารภาวนา (ภาวนาขั้นจวนเจยี น, ฝกสมาธขิ น้ั เปนอปุ จาร ไดแก เจรญิ กรรมฐานตอไป

ถึงขณะที่ปฏิภาคนิมิตเกิดข้ึนในกรรมฐานที่เพงวัตถุก็ดี นิวรณสงบไปในกรรมฐานประเภทนึก
เปนอารมณก็ดี นบั แตขณะนั้นไปจัดเปน อุปจารภาวนา — Upacàra-bhàvanà: proximate

stage of meditation) ขน้ั นเ้ี ปน กามาวจรสมาธิ ไดในกรรมฐานทงั้ 40; อุปจารภาวนา สิ้นสดุ

แคโคตรภูขณะ ในฌานชวนะ
3. อัปปนาภาวนา (ภาวนาขน้ั แนวแน, ฝก สมาธขิ ั้นเปนอัปปนา ไดแ ก เสพปฏภิ าคนิมติ ทเ่ี กดิ

ข้นึ แลวนนั้ สมา่ํ เสมอดว ยอปุ จารสมาธิ จนบรรลปุ ฐมฌาน คือ ถดั จากโคตรภขู ณะในฌานชวนะ
เปน ตน ไป ตอ แตน ้นั เปนอัปปนาภาวนา — Appanà-bhàvanà: concentrative or attain-

ment stage of meditation) ขั้นน้ีเปน รปู าวจรสมาธิ ไดเฉพาะในกรรมฐาน 30 คือ หัก

อนุสสติ 8 ขา งตน ปฏิกูลสญั ญา 1 และ จตุธาตวุ วตั ถาน 1 ออกเสยี คงเหลือ อสุภะ 10 และ

กายคตาสติ 1 (ไดถึงปฐมฌาน) อปั ปมัญญา 3 ขอตน (ไดถงึ จตตุ ถฌาน) อัปปมัญญาขอ ทายคือ

อเุ บกขา 1 กสิณ 10 และอานาปานสติ 1 (ไดถงึ ปญ จมฌาน) อรปู 4 (ไดอรปู ฌาน)

ดู [87] นิมิต 3.

Comp.203. สงคฺ ห.51.

[100] รัตนตรัย (รัตนะ 3, แกวอันประเสรฐิ หรือสิ่งล้ําคา 3 ประการ, หลักทีเ่ คารพบชู าสูง
สดุ ของพทุ ธศาสนกิ ชน 3 อยา ง — Ratanattaya: the Triple Gem; Three Jewels)

1. พระพทุ ธเจา (พระผูตรัสรูเ องและสอนผอู ่ืนใหรูตาม — Buddha: the Buddha; the

Enlightened One)

2. พระธรรม (คําสั่งสอนของพระพุทธเจา ทั้งหลักความจริงและหลักความประพฤติ —
Dhamma: the Dhamma; Dharma; the Doctrine)
3. พระสงฆ (หมูสาวกผปู ฏิบตั ติ ามคาํ สง่ั สอนของพระพทุ ธเจา — Saïgha: the Sangha; the

หมวด 3 99 [103]

Order)

ในบาลที ี่มา เรยี กวา สรณะ 3

Kh.1. ขุ.ขุ.25/1/1.

[101] ลัทธินอกพระพุทธศาสนา 3 (บาลีเรียกวา ติตถายตนะ แปลวา แดนเกดิ

ลัทธิ, ชมุ นมุ หรือประมวลแหง ลัทธิ — Titthàyatana: beliefs of other sects; grounds of

sectarian tenets; spheres of wrong views; non-Buddhist beliefs)
1. ปพุ เพกตเหตุวาท (ลัทธิกรรมเกา คอื พวกท่ถี ือวา สง่ิ ใดกต็ ามท่ไี ดประสบ จะเปน สุขก็ตาม
ทกุ ขก ต็ าม มใิ ชส ขุ มใิ ชท กุ ขก ต็ าม ลว นเปน เพราะกรรมทไ่ี ดท าํ ไวใ นปางกอ น — Pubbekatavàda:

a determinist theory that whatever is experienced is due to past actions; past-

action determinism) เรียกสนั้ ๆ วา ปพุ เพกตวาท

2. อิสสรนมิ มานเหตวุ าท (ลัทธพิ ระเปนเจา คือ พวกที่ถือวา สงิ่ ใดกต็ ามทีไ่ ดประสบ จะเปน

สุขก็ตาม ทกุ ขกต็ าม มิใชสุขมิใชทกุ ขก ต็ าม ลวนเปน เพราะการบนั ดาลของเทพผูย่งิ ใหญ —
Issarakaraõavàda: a determinist theory that whatever is experienced is due to

the creation of a Supreme Being; theistic determinism) เรยี กส้นั ๆ วา อศิ วรกรณวาท

หรอื อศิ วรนิรมิตวาท

3. อเหตอุ ปจจัยวาท (ลัทธเิ ส่ียงโชค คือ พวกที่ถอื วา สง่ิ ใดกต็ ามท่ีไดประสบ จะเปนสุขก็ตาม

ทุกขก็ตาม มิใชสุขมิใชทุกขก็ตาม ลวนหาเหตุหาปจจยั มิได คอื ถงึ คราวก็เปน ไปเอง —
Ahetuvàda: an indeterminist theory that whatever is experienced is uncaused

and unconditioned; accidentalism) เรยี กส้นั ๆ วา อเหตุวาท

ทั้งสามลัทธิน้ี ไมชอบดวยเหตผุ ล ถกู ยันเขา ยอมอา งการถือสืบๆ กันมา เปนลัทธปิ ระเภท

อกิรยิ า (traditional doctrines of inaction) หากยึดม่ันถือตามเขา แลวยอมใหเกิดโทษ คือ

ไมเกดิ ฉันทะ และความพยายาม ท่จี ะทําการท่ีควรทําและเวน การทีไ่ มค วรทาํ

A.I.173; Vbh.367. อง.ฺ ตกิ .20/501/222; อภิ.วิ.35/940/496.

[102] โลก 31 (ประดาสภาวธรรมหรอื หมสู ัตว กาํ หนดโดยขอบเขตบา ง ไมก าํ หนดบาง —
Loka: the world; the earth; sphere; universe)

1. สงั ขารโลก (โลกคอื สงั ขาร ไดแ กส ภาวธรรมทง้ั ปวงทมี่ กี ารปรงุ แตง ตามเหตปุ จ จยั — Saïkhàra-
loka: the world of formations)

2. สัตวโลก (โลกคือหมสู ตั ว — Satta-loka: the world of beings)

3. โอกาสโลก (โลกอันกําหนดดวยโอกาส, โลกอันมใี นอวกาศ, จกั รวาล — Okàsa-loka: the

world of location; the world in space; the universe)

Vism.204; DA.I.173; MA.I.397. วสิ ทุ ธฺ ิ.1/262; ท.ี อ.1/215; ม.อ.2/269.

[103] โลก 32 (โลกคอื หมสู ตั ว, สตั วโลก — Loka: the world of beings)

[104] 100 พจนานุกรมพทุ ธศาสตร

1. มนุษยโลก (โลกคือหมมู นุษย — Manussa-loka: the world of man)
2. เทวโลก (โลกคอื หมูเ ทพ, สวรรคชน้ั กามาวจรทัง้ 6 — Deva-loka: the heavenly world)
3. พรหมโลก (โลกคือหมพู รหม, สวรรคชน้ั พรหม — Brahma-loka: the Brahma world)

โลก 3 ในหมวดนี้ ทา นจําแนกออกมาจาก ขอ 2 คือสตั วโลก ในหมวดกอน [102]

DA.I.173; MA.I.397. ท.ี อ.1/215; ม.อ.2/269.

[104] โลก 33 (โลกอนั เปนทอ่ี ยขู องสตั ว — Loka: the world; sphere) คอื กามโลก —
Kàmaloka: the world of sense-desire; รูปโลก — Råpaloka: the world of form; อรูป
โลก — Aråpaloka: the formless world; เปน ช่ือท่บี างแหงใชเรยี ก ภพ 3 แตไมนยิ ม

ดู [98] ภพ 3.

สงคฺ ห.ฏกี า18.

[105] วัฏฏะ 3 หรอื ไตรวัฏฏ (วน, วงเวยี น, องคประกอบทีห่ มนุ เวียนตอเน่อื งกันของ

ภวจกั ร หรือสังสารจักร — Vañña: the triple round; cycle)
1. กเิ ลสวัฏฏ (วงจรกเิ ลส ประกอบดว ยอวิชชา ตัณหา และอุปาทาน — Kilesa-vañña: round

of defilements)
2. กรรมวฏั ฏ (วงจรกรรม ประกอบดว ยสังขารและกรรมภพ — Kamma-vañña: round of

kamma)
3. วปิ ากวฏั ฏ (วงจรวบิ าก ประกอบดว ย วญิ ญาณ นามรปู สฬายตนะ ผสั สะ เวทนา ซง่ึ แสดง
ออกในรปู ปรากฏทเ่ี รยี กวา อปุ ปต ตภิ พ ชาติ ชรา มรณะ เปน ตน — Vipàka-vañña: round of

results)

สามอยา งนี้ ประกอบเขาเปนวงจรใหญแ หงปจ จยาการ เรยี กวา ภวจกั ร หรอื สังสารจักร

ตามหลกั ปฏิจจสมปุ บาท

Vism.581. วิสุทฺธิ.3/198.

[106] วิชชา 3 (ความรแู จง, ความรูวเิ ศษ — Vijjà: the Threefold Knowledge)

1. ปพุ เพนวิ าสานุสสตญิ าณ (ญาณเปน เหตรุ ะลึกขันธท่อี าศัยอยใู นกอ นได, ระลกึ ชาติได —
Pubbenivàsànussati-¤àõa: reminiscence of past lives)

2. จตุ ปู ปาตญาณ (ญาณกําหนดรจู ุตแิ ละอบุ ตั ิแหงสตั วท้ังหลาย อันเปนไปตามกรรม, เหน็ การ
เวยี นวา ยตายเกดิ ของสตั วทงั้ หลาย เรยี กอีกอยางวา ทิพพจักขญุ าณ — Cutåpapàta-¤àõa:

knowledge of the decease and rebirth of beings; clairvoyance)
3. อาสวกั ขยญาณ (ญาณหยงั่ รใู นธรรมเปน ทส่ี น้ิ ไปแหง อาสวะทงั้ หลาย, ความรทู ที่ าํ ใหส น้ิ อาสวะ,
ความตรสั รู — âsavakkhaya-¤àõa: knowledge of the destruction of mental

intoxication)

หมวด 3 101 [108]

วิชชา 3 นี้ เรยี กส้นั ๆ วา ญาณ 3; ดู [297] วิชชา 8 ดวย.

D.III.220, 275; A.V.211. ที.ปา.11/228/232; 398/292; อง.ฺ ทสก.24/102/225.

[,,,] วิปลลาส 3 ระดับ ดู [178] วิปล ลาส 4.

[107] วิโมกข 3 (ความหลดุ พน , ประเภทของความหลดุ พน จดั ตามลกั ษณะการเหน็ ไตรลกั ษณ
ขอ ที่ใหถึงความหลดุ พน — Vimokkha: liberation; aspects of liberation)

1. สญุ ญตวิโมกข (หลดุ พนดว ยเหน็ ความวางหมดความยดึ มั่น ไดแก ความหลดุ พน ท่เี กิดจาก

ปญ ญาพิจารณาเห็นนามรปู โดยความเปน อนัตตา คอื หลดุ พนดวยเหน็ อนตั ตตา แลว ถอนความ
ยดึ ม่นั เสยี ได — Su¤¤ata-vimokkha: liberation through voidness; void liberation) =

อาศยั อนตั ตานปุ สสนา ถอนอตั ตาภินิเวส.
2. อนมิ ติ ตวโิ มกข (หลดุ พนดวยไมถ ือนมิ ติ ไดแก ความหลุดพน ที่เกดิ จากปญ ญาพจิ ารณา

เห็นนามรปู โดยความเปนอนิจจงั คอื หลดุ พนดว ยเหน็ อนจิ จตา แลวถอนนิมติ เสียได —
Animitta-vimokkha: liberation through signlessness; signless liberation) = อาศยั

อนจิ จานุปส สนา ถอนวิปลลาสนมิ ิต.
3. อัปปณิหิตวิโมกข (หลุดพนดวยไมทําความปรารถนา ไดแก ความหลุดพนท่ีเกิดจาก

ปญ ญาพิจารณาเหน็ นามรปู โดยความเปนทกุ ข คอื หลุดพนดวยเหน็ ทกุ ขตา แลวถอนความ
ปรารถนาเสียได — Appaõihita-vimokkha: liberation through dispositionlessness;

desireless liberation) = อาศยั ทกุ ขานปุ ส สนา ถอนตณั หาปณิธ.ิ

ดู [47] สมาธิ 32.

Ps.II.35; Vism.657; Comp.211. ขุ.ปฏิ.31/469/353; วิสทุ ฺธ.ิ 3/299; สงั คห.55.

[108] วิรัติ 3 (การเวนจากทุจริต, การเวน จากกรรมชัว่ — Virati: abstinence)

1. สัมปต ตวิรตั ิ (เวนสิ่งประจวบเฉพาะหนา , เวนเมอ่ื ประสบซึง่ หนา หรือเวนไดท้ังทป่ี ระจวบ

โอกาส คอื ไมไ ดต ั้งเจตนาไวก อ น ไมไดสมาทานสิกขาบทไวเลย แตเมอ่ื ประสบเหตทุ จ่ี ะทําชัว่

นึกคดิ พจิ ารณาขึ้นไดใ นขณะนั้นวา ตนมชี าตติ ระกลู วัย หรอื คณุ วฒุ ิอยางนี้ ไมส มควรกระทํา
กรรมเชนนนั้ แลวงดเวน เสยี ไดไ มทาํ ผดิ ศลี — Sampatta-virati: abstinence as occasion

arises; abstinence in spite of opportunity)
2. สมาทานวิรตั ิ (เวน ดวยการสมาทาน คอื ตนไดตั้งเจตนาไวกอ น โดยไดรับศลี คอื สมาทาน
สิกขาบทไวแลว ก็งดเวนตามท่ีไดสมาทานน้ัน — Samàdàna-virati: abstinence by

undertaking; abstinence in accordance with one’s observances)
3. สมจุ เฉทวริ ตั ิ หรอื เสตฆุ าตวริ ตั ิ (เวน ดว ยตดั ขาด หรอื ดว ยชกั สะพานตดั ตอนเสยี ทเี ดยี ว,

เวน ไดเ ดด็ ขาด คอื การงดเวน ความชว่ั ของพระอรยิ ะทง้ั หลาย อนั ประกอบดว ยอรยิ มรรคซง่ึ ขจดั

กเิ ลสทเ่ี ปน เหตแุ หง ความชว่ั นนั้ ๆ เสรจ็ สน้ิ แลว ไมเ กดิ มแี มแ ตค วามคดิ ทจ่ี ะประกอบกรรมชวั่ นนั้

เลย — Samuccheda-virati, Setughàta~: abstinence by rooting out)

[109] 102 พจนานุกรมพุทธศาสตร

วิรัติ 2 อยางแรก ยังไมอาจวางใจไดแนน อน วริ ัติขอ ท่ี 3 จงึ จะแนนอนส้ินเชิง

DA.I.305; KhA.142; DhsA.103. ที.อ.1/377; ขทุ ทฺ ก.อ.156; สงคฺ ณ.ี อ.188.

[109] วิเวก 3 (ความสงัด, ความปลกี ออก — Viveka: seclusion)

1. กายวิเวก (ความสงัดกาย ไดแ กอยใู นทีส่ งัดกด็ ี ดํารงอริ ิยาบถและเท่ยี วไปผเู ดยี วกด็ ี —
Kàya-viveka: bodily seclusion i.e. solitude)

2. จติ ตวเิ วก (ความสงัดใจ ไดแกท ําจิตใหสงบผอ งใส สงดั จากนิวรณ สงั โยชน และอนุสัย
เปน ตน หมายเอาจิตแหงทา นผูบรรลุฌาน และอรยิ มรรค อริยผล — Citta-viveka: mental

seclusion, i.e. the state of Jhàna and the Noble Paths and Fruitions)
3. อปุ ธิวิเวก (ความสงัดอุปธิ ไดแกธ รรมเปน ท่สี งบระงับสงั ขารทัง้ ปวง ปราศจากกเิ ลสกด็ ี ขนั ธ
ก็ดี อภิสงั ขารก็ดี ทเ่ี รยี กวา อปุ ธิ หมายเอาพระนพิ พาน — Upadhi-viveka: seclusion from

the essentials of existence, i.e. Nibbàna)

Nd1 26,140,157,341. ข.ุ ม.29/33/29; 229/170.

[110] เวทนา 2 (การเสวยอารมณ — Vedanà: feeling; sensation)

1. กายิกเวทนา (เวทนาทางกาย — Kàyika-vedanà: physical feeling)

2. เจตสิกเวทนา (เวทนาทางใจ — Cetasika-vedanà: mental feeling)

S.IV.231. ส.ํ สฬ.18/431/287.

[111] เวทนา 3 (การเสวยอารมณ, ความรสู กึ รสของอารมณ — Vedanà: feeling;

sensation)
1. สุขเวทนา (ความรสู ึกสขุ สบาย ทางกายกต็ าม ทางใจก็ตาม — Sukha-vedanà: pleasant

feeling; pleasure)
2. ทกุ ขเวทนา (ความรสู ึกทกุ ข ไมสบาย ทางกายก็ตาม ทางใจกต็ าม — Dukkha-vedanà:

painful feeling; pain)

3. อทุกขมสุขเวทนา (ความรสู กึ เฉยๆ จะสขุ กไ็ มใ ช ทุกขก ็ไมใ ช เรยี กอกี อยางวา อเุ บกขา-
เวทนา — Adukkhamasukha-vedanà, Upekkhà-vedanà: neither-pleasant-nor-painful

feeling; indifferent feeling)

D.III.216; 275; S.IV.331. ท.ี ปา.11/228/229; 391/291; ส.ํ สฬ.18/432/287.

[112] เวทนา 5 (การเสวยอารมณ — Vedanà: feeling)

1. สขุ (ความสุข ความสบายทางกาย — Sukha: bodily pleasure or happiness)

2. ทุกข (ความทุกข ความไมส บาย เจ็บปวดทางกาย — Dukkha: bodily pain; discomfort)

3. โสมนัส (ความแชมชื่นสบายใจ, สุขใจ — Somanassa: mental happiness; joy)

4. โทมนัส (ความเสียใจ, ทุกขใ จ — Domanassa: mental pain; displeasure; grief)

หมวด 3 103 [115]

5. อุเบกขา (ความรสู ึกเฉยๆ — Upekkhà: indifference) เรียกอกี อยางหนงึ่ วา อทุกขมสขุ -
เวทนา

เวทนา 5 นี้ เรยี กเต็มมี อนิ ทรีย ตอทา ยทุกคํา เปน สขุ ินทรยี  เปนตน.

ดู [349] อินทรีย 22.

S.IV.232. ส.ํ สฬ.18/433/287.

[113] เวทนา 6 (การเสวยอารมณ — Vedanà: feeling)

1. จกั ขสุ มั ผสั สชาเวทนา (เวทนาเกดิ จากสมั ผสั ทางตา — Cakkhusamphassajà-vedanà:

feeling arisen from visual contact)

2. โสต~เวทนา (เวทนาเกิดจากสัมผัสทางหู — Sota~: from auditory contact)
3. ฆาน~เวทนา (เวทนาเกิดจากสัมผัสทางจมูก — Ghàna~: from olfactory contact)
4. ชิวหา~เวทนา (เวทนาเกดิ จากสมั ผสั ทางลิน้ — Jivhà~: from gustatory contact)
5. กาย~เวทนา (เวทนาเกดิ จากสัมผสั ทางกาย — Kàya~: from bodily contact)
6. มโน~เวทนา (เวทนาเกดิ จากสัมผัสทางใจ — Mano~: from mental contact)

S.IV.232. ส.ํ สฬ.18/434/287.

[114] สมบัติ 31 (ความพร่ังพรอมสมบรู ณแ หง สงิ่ อนั ใหสาํ เรจ็ ความปรารถนา, ผลสําเรจ็ ท่ี
ใหสมความปรารถนา — Sampatti: prosperity; success; excellence)

1. มนษุ ยสมบัติ (สมบตั ใิ นมนษุ ย, สมบตั ชิ นั้ มนษุ ย — Manussa-sampatti: human

prosperity)
2. เทวสมบัติ (สมบตั ิในสวรรค, สวรรคสมบัต,ิ ทพิ ยสมบัติ — Deva-sampatti: heavenly

prosperity)
3. นิพพานสมบตั ิ (สมบัตคิ ือพระนิพพาน — Nibbàna-sampatti: successful attainment

of Nibbàna)

Kh.7; DhA.III.183. ขุ.ข.ุ 25/9/12; ธ.อ.6/48.

[115] สมบัติ 32 หรือ ทานสมบัติ 3 (ความถงึ พรอม, ความพร่ังพรอมสมบูรณ ซงึ่
ทําใหทานที่ไดบริจาคแลวเปนทานอันยอดเยี่ยม มีผลมาก — Sampatti: successful

attainment; accomplishment; excellence)

1. เขตตสมบัติ (บุญเขตถงึ พรอม คอื ปฏคิ าหก หรือผรู ับทาน เปนผูประพฤติดี ปฏิบตั ชิ อบ
ประกอบดวยคุณธรรม — Khetta-sampatti: excellence of the field of merit)
2. ไทยธรรมสมบัติ (ไทยธรรมถึงพรอ ม คอื สิ่งทใ่ี หเ ปนของบริสุทธิ์ ไดม าโดยชอบธรรม และ
เหมาะสมเปน ประโยชนแ กผูรับ — Deyyadhamma-sampatti: excellence of the gift)
3. จิตตสมบตั ิ (เจตนาถงึ พรอ ม คือ ใหด วยความตง้ั ใจ คิดจะใหเ ปน ประโยชนแกผูรับแทจ ริง

[116] 104 พจนานุกรมพทุ ธศาสตร

มเี จตนาบรสิ ทุ ธท์ิ งั้ 3 กาล คอื กอ นใหใจยินดี ขณะใหจ ติ ผอ งใส ใหแ ลว เบกิ บานใจ — Citta-
sampatti: excellence of motive or intention)

UdA.199. อ.ุ อ.251.

[,,,] สมาธิ 3 ดู [46] สมาธิ 31, [47] สมาธิ 32.

[116] สรณะ 3 หรือ ไตรสรณะ (ทีพ่ ึ่ง, ท่รี ะลึก — Saraõa; Tisaraõa: the

Threefold Refuge; Three Refuges; Threefold Guide) หมายถงึ พระรัตนตรัย คือ พระ

พทุ ธเจา พระธรรม และพระสงฆ ดู [100] รัตนตรัย

การนอ มใจระลึกถงึ คณุ ของพระรัตนตรยั นัน้ เขา ใจความหมายอยา งถกู ตอง และยึดถอื เปน
หลักแหงความประพฤติปฏิบัตหิ รือเปนเครื่องนําทางในการดําเนนิ ชวี ิต โดยยง้ั ใจจากอกุศลและ

นาํ จติ เขาสกู ุศล เรียกวา สรณคมน, ไตรสรณคมน หรอื ไตรสรณาคมน.

Kh.1. ขุ.ข.ุ 25/1/1.

[117] สังขตลักษณะ 3 (ลกั ษณะแหง สงั ขตธรรม คอื สงิ่ ทป่ี จ จยั ปรงุ แตง ขนึ้ — Saïkhata-

lakkhaõa: characteristics of the conditioned; condition-marks of the conditioned)
1. อุปฺปาโท ปฺายติ (ความเกิดขึ้น ปรากฏ — Uppàda: Its arising appears.)
2. วโย ปฺายติ (ความดับสลาย ปรากฏ — Vaya: Its passing away or subsidence

appears.)
3. ิตสสฺ อฺถตตฺ ํ ปฺายติ (เม่ือต้ังอยู ความแปรปรากฏ — A¤¤athatta: It

persisting, alteration or changeability appears.)

A.I.152. อง.ฺ ติก.20/486/192.

[118] อสังขตลักษณะ 3 (ลกั ษณะแหงอสังขตธรรม — Asaïkhata-lakkhaõa:

characteristics of the Unconditioned)

1. น อุปฺปาโท ปฺายติ (ไมปรากฏความเกิด — No arising appears.)
2. น วโย ปฺายติ (ไมป รากฏความสลาย — No passing away appears.)
3. น ติ สสฺ อฺถตตฺ ํ ปฺายติ (เมอื่ ต้ังอยู ไมป รากฏความแปร — It persisting, no

alteration appears.)

A.I.152. องฺ.ตกิ .20/487/192.

[119] สังขาร 31 (สภาพทปี่ รงุ แตง — Saïkhàra: formation; determination; function)

1. กายสงั ขาร (สภาพท่ปี รุงแตง กาย ไดแก อสั สาสะ ปส สาสะ คือ ลมหายใจเขาออก —Kàya-
saïkhàra: bodily formation; bodily function)

2. วจสี ังขาร (สภาพท่ีปรงุ แตงวาจา ไดแก วติ กและวิจาร — Vacã-saïkhàra: verbal

formation; verbal function)

หมวด 3 105 [122]

3. จิตตสงั ขาร (สภาพท่ปี รงุ แตงใจ ไดแก สัญญาและเวทนา — Citta-saïkhàra: mental
formation; mental function)

สังขาร 3 ในหมวดนี้ มักมาในเรื่องทเ่ี กีย่ วกับสญั ญาเวทยิตนโิ รธ วา ผูเขา นิโรธสมาบัตนิ ้ี วจี-
สังขาร กายสงั ขาร และจิตตสังขาร ดบั ไปตามลําดบั .

M.I.301; S.IV.293. ม.ม.ู 12/509/550; ส.ํ สฬ.18/561/361.

[120] สังขาร 32 (สภาพที่ปรุงแตง, ธรรมมเี จตนาเปนประธานอนั ปรุงแตง การกระทาํ ,
สญั เจตนา หรือเจตนาท่ีแตงกรรม — Saïkhàra: formation; determination; volition)

1. กายสังขาร (สภาพทีป่ รงุ แตงการกระทําทางกาย ไดแ ก กายสัญเจตนา คือ ความจงใจทาง
กาย — Kàya-saïkhàra: bodily formation; bodily volition)

2. วจีสังขาร (สภาพท่ปี รงุ แตง การกระทาํ ทางวาจา ไดแก วจสี ญั เจตนา คอื ความจงใจทางวาจา
— Vaci-saïkhàra: verbal formation; verbal volition)

3. จติ ตสงั ขาร หรอื มโนสังขาร (สภาพที่ปรุงแตงการกระทาํ ทางใจ ไดแ ก มโนสญั เจตนา คอื
ความจงใจทางใจ — Citta-saïkhàra: mental formation; mental volition)

สงั ขาร 3 ในหมวดนี้ ไดในความหมายของคําวา สงั ขาร ในปฏจิ จสมุปบาท.

ดู [129] อภิสงั ขาร 3; ดู [185] สังขาร 4 ดวย.

M.I.54; 390; S.II.4; Vbh.135. ม.มู.12/127/99; ม.ม.13/88/83; ส.ํ น.ิ 16/16/4; อภ.ิ วิ.35/257/181.

[121] สัทธรรม 3 (ธรรมอันด,ี ธรรมที่แท, ธรรมของสัตบุรษุ , หลักหรอื แกนศาสนา —
Saddhamma: good law; true doctrine; doctrine of the good; essential doctrine)

1. ปริยตั ตสิ ทั ธรรม (สัทธรรมคือคําสั่งสอนอนั จะตองเลา เรยี น ไดแ ก พทุ ธพจน — Pariyatti-
saddhamma: the true doctrine of study; textual aspect of the true doctrine;

study of the Text or Scriptures)

2. ปฏปิ ต ตสิ ทั ธรรม (สทั ธรรมคอื ปฏปิ ทาอนั จะตอ งปฏิบตั ิ ไดแ ก อฏั ฐังคิกมรรค หรอื ไตร-
สิกขา คอื ศีล สมาธิ ปญ ญา — Pañipatti-saddhamma: the true doctrine of practice;

practical aspect of the true doctrine)

3. ปฏเิ วธสัทธรรม (สัทธรรมคอื ผลอันจะพึงเขาถงึ หรือบรรลุดว ยการปฏิบตั ิ ไดแ ก มรรค ผล
และนพิ พาน — Pañivedha-saddhamma: the true doctrine of penetration; realizable

or attainable aspect of the true doctrine)

ขอ 3 คือ ปฏเิ วธสทั ธรรม บางแหง เรยี ก อธคิ มสทั ธรรม มีความหมายอยางเดยี วกนั .

VinA.225; AA.V.33. วินย.อ.1/264; ม.อ.3/147,523; อง.ฺ อ.3/391.

[122] สันโดษ 3 และ 12 (ความยนิ ดี, ความพอใจ, ความยินดีดว ยของของตนซึ่งไดม า

ดวยเร่ียวแรงความเพียรโดยชอบธรรม, ความยินดดี ว ยปจจัยสตี่ ามมตี ามได, ความรูจกั อม่ิ รจู กั

[123] 106 พจนานุกรมพุทธศาสตร

พอ — Santosa, Santuññhi: contentment; satisfaction with whatever is one’s own)
1. ยถาลาภสันโดษ (ยินดีตามทีไ่ ด, ยนิ ดตี ามทพ่ี ึงได คอื ตนไดส ง่ิ ใดมา หรือเพียรหาสง่ิ ใดมา
ได เมอ่ื เปนส่งิ ทต่ี นพงึ ได ไมวาจะหยาบหรอื ประณตี แคไ หน ก็ยนิ ดพี อใจดวยสิ่งนน้ั ไมตดิ ใจ

อยากไดสง่ิ อ่ืน ไมเดอื ดรอ นกระวนกระวายเพราะสงิ่ ท่ตี นไมได ไมปรารถนาสงิ่ ทต่ี นไมพึงไดห รือ

เกินไปกวา ท่ตี นพงึ ไดโ ดยถกู ตอ งชอบธรรม ไมเ พงเล็งปรารถนาของทีค่ นอื่นได ไมร ษิ ยาเขา —
Yathàlàbha-santosa: contentment with what one gets and deserves to get)
2. ยถาพลสนั โดษ (ยนิ ดตี ามกาํ ลัง คอื ยินดีแตพอแกก ําลังรา งกายสุขภาพและวิสยั แหงการใช
สอยของตน ไมย ินดีอยากไดเ กนิ กาํ ลัง ตนมีหรือไดส งิ่ ใดมาอนั ไมถ กู กบั กําลงั รา งกายหรือสุขภาพ

เชน ภกิ ษไุ ดอ าหารบณิ ฑบาตทแี่ สลงตอ โรคของตน หรอื เกนิ กาํ ลงั การบรโิ ภคใชส อย กไ็ มห วงแหน

เสยี ดายเก็บไวใ หเสยี เปลา หรอื ฝนใชใหเปน โทษแกตน ยอมสละใหแ กผ อู ื่นที่จะใชได และรบั
หรือแลกเอาสิ่งที่ถูกโรคกับตนแตเ พยี งทพ่ี อแกก าํ ลงั การบรโิ ภคใชสอยของตน — Yathàbala-
santosa: contentment with what is within one’s strength or capacity)
3. ยถาสารุปปสนั โดษ (ยินดีตามสมควร คือ ยินดตี ามท่เี หมาะสมกับตน อนั สมควรแกภ าวะ
ฐานะ แนวทางชีวติ และจดุ หมายแหงการบาํ เพญ็ กจิ ของตน เชน ภกิ ษไุ มป รารถนาสงิ่ ของอนั ไม

สมควรแกส มณภาวะ หรอื ภกิ ษบุ างรปู ไดปจจัยสี่ทมี่ ีคา มาก เห็นวาเปน สิ่งสมควรแกทานผูทรง

คณุ สมบตั ินา นบั ถือ กน็ าํ ไปมอบใหแ กทานผูน ้นั ตนเองใชแ ตส งิ่ อนั พอประมาณ หรอื ภกิ ษบุ างรปู

กาํ ลังประพฤตวิ ตั รขัดเกลาตน ไดข องประณตี มา ก็สละใหแ กเ พอ่ื นภกิ ษรุ ูปอน่ื ๆ ตนเองเลือกหา

ของปอนๆ มาใช หรือตนเองมีโอกาสจะไดลาภอยางหนึ่ง แตรูวาสิ่งนั้นเหมาะสมหรือเปน

ประโยชนแ กท า นผูอ นื่ ทเี่ ชยี่ วชาญถนัดสามารถดานนัน้ ก็สละใหล าภถงึ แกท า นผูน ัน้ ตนรับเอาแต
สงิ่ ทเ่ี หมาะสมกบั ตน — Yathàsàruppa-santosa: contentment with what is befitting)

สนั โดษ 3 นี้ เปน ไปในปจ จัย 4 แตล ะอยาง จงึ รวมเรยี กวา สนั โดษ 12

อน่งึ สันโดษ 3 น้ี เปน คาํ อธบิ ายของพระอรรถกถาจารย ซ่งึ มุงแสดงขอปฏิบตั ขิ องพระภกิ ษุ
โดยเฉพาะ ปรากฏในอรรถกถาและฎกี ามากมายไมนอยกวา 10 แหง คฤหสั ถพึงพจิ ารณา
ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตามสมควร.

AA.I.45; KhA.145; UdA.229; etc. ท.ี อ.1/253; ม.อ.2/188; องฺ.อ.1/81; ขุททฺ ก.อ.159; อ.ุ อ.288; ฯลฯ.

[123] สัปปุริสบัญญัติ 3 (บญั ญัติของสตั บุรษุ , ขอปฏิบตั ทิ ่ีสัตบุรษุ วางเปน แบบไว
หรอื กลาวสรรเสริญไว, ความดที ค่ี นดีถอื ลงกนั — Sappurisa-pa¤¤atti: things established

by righteous people; recommendation of the good)
1. ทาน (การใหป น, สละของตนเพ่ือประโยชนแ กผอู ื่น — Dàna: giving; generosity;

charity; benefaction)
2. ปพพัชชา (การถอื บวช, เวนการเบยี ดเบยี น ดํารงในธรรม คอื อหงิ สา สญั ญมะ และทมะ
อันเปน อบุ ายใหไ มเ บยี ดเบียนกนั และอยูรว มกนั ดว ยความสขุ — Pabbajjà: renunciation

consisting in non-violence, restraint and self-control)

หมวด 3 107 [125]

3. มาตาปต ุอปุ ฏ ฐาน (การบาํ รุงมารดาบดิ า, ปฏิบตั มิ ารดาบดิ าของตนใหเ ปน สุข — Màtà-
pitu-upaññhàna: support of mother and father)

A.I.151. อง.ฺ ตกิ .20/484/191.

[,,,] สามัญลักษณะ 3 ดู [76] ไตรลักษณ.

[124] สิกขา 3 หรือ ไตรสิกขา (ขอ ทจี่ ะตองศกึ ษา, ขอ ปฏิบัตทิ เี่ ปนหลกั สาํ หรับศกึ ษา

คอื ฝก หดั อบรม กาย วาจา จิตใจ และปญ ญา ใหยิง่ ขน้ึ ไปจนบรรลจุ ดุ หมายสูงสุดคือพระ
นิพพาน — Sikkhà: the Threefold Learning; the Threefold Training)
1. อธิสลี สิกขา (สิกขาคอื ศลี อนั ยงิ่ , ขอ ปฏิบัติสาํ หรบั ฝก อบรมในทางความประพฤติอยางสงู
— Adhisãla-sikkhà: training in higher morality)
2. อธิจิตตสกิ ขา (สกิ ขาคอื จติ อนั ย่ิง, ขอปฏิบัติสําหรับฝกอบรมจติ เพื่อใหเ กดิ คณุ ธรรมเชน
สมาธิอยางสูง — Adhicitta-sikkhà: training in higher mentality)
3. อธปิ ญญาสิกขา (สกิ ขาคือปญญาอันยิง่ , ขอ ปฏบิ ัตสิ ําหรับฝก อบรมปญญาเพื่อใหเ กดิ ความ
รแู จง อยางสูง — Adhipa¤¤à-sikkhà: training in higher wisdom)

เรยี กงา ยๆ วา ศีล สมาธิ ปญ ญา (morality, concentration and wisdom)

D.III.220; A.I.229. ท.ี ปา.11/228/231; องฺ.ติก.20/521/294.

[,,,] สุจริต 3 ดู [81] สุจริต 3.
[,,,] โสดาบัน 3 ดู [58] โสดาบนั 3.
[,,,] อกุศลมูล 3 ดู [68] อกุศลมลู 3.
[,,,] อกุศลวิตก 3 ดู [70] อกุศลวิตก 3.

[125] อธิปไตย 3 (ความเปน ใหญ, ภาวะทถี่ ือเอาเปน ใหญ — Adhipateyya: dominant

influence; supremacy)

1. อัตตาธิปไตย (ความมีตนเปนใหญ, ถือตนเปนใหญ, กระทําการดวยปรารภตนเปน
ประมาณ — Attàdhipateyya: supremacy of self; self-dependence)
2. โลกาธิปไตย (ความมโี ลกเปน ใหญ, ถือโลกเปนใหญ, กระทําการดว ยปรารภนิยมของโลก
เปนประมาณ — Lokàdhipateyya: supremacy of the world or public opinion)
3. ธัมมาธปิ ไตย (ความมีธรรมเปน ใหญ, ถอื ธรรมเปนใหญ, กระทําการดว ยปรารภความถกู
ตอง เปน จริง สมควรตามธรรม เปนประมาณ — Dhammàdhipateyya: supremacy of the

Dhamma or righteousness; rule of the Dhamma; rule of the true law)

ผเู ปน อัตตาธิปก พงึ ใชสติใหมาก; ผูเ ปนโลกาธปิ ก พึงมีปญ ญาครองตน และรพู ินจิ ; ผูเปน
ธรรมาธปิ ก พงึ ประพฤตใิ หถ กู หลกั ธรรม; ผเู ปน หวั หนา หมเู ปน นกั ปกครอง พงึ ถอื ธรรมาธปิ ไตย.

D.III.220; A.I.147. ที.ปา.11/228/231; องฺ.ตกิ .20/479/186.

[126] 108 พจนานกุ รมพุทธศาสตร

[126] อนุตตริยะ 3 (ภาวะอนั ยอดเยย่ี ม, สง่ิ ที่ยอดเยย่ี ม — Anuttariya: excellent

states; highest ideal; greatest good; unsurpassable experiences)
1. ทสั สนานุตตรยิ ะ (การเหน็ อนั เยยี่ ม ไดแ ก ปญญาอนั เห็นธรรม หรืออยา งสูงสุดคือเห็น
นพิ พาน — Dassanànuttariya: ideal sight, supreme or unsurpassable vision)
2. ปฏปิ ทานุตตรยิ ะ (การปฏบิ ัตอิ นั เยี่ยม ไดแ ก การปฏิบตั ธิ รรมทีเ่ ห็นแลว กลาวใหง า ยหมาย
เอามรรคมอี งค 8 — Pañipadànuttariya: ideal course; supreme way)
3. วิมตุ ตานตุ ตรยิ ะ (การพน อันเยีย่ ม ไดแ ก ความหลดุ พนอนั เปนผลแหง การปฏิบัติน้นั คือ
ความหลดุ พนจากกเิ ลสและทุกขท ้งั ปวง หรอื นิพพาน — Vimuttànuttariya: ideal freedom;

supreme deliverance)

D.III.219; M.I.235. ที.ปา.11/228/231; ม.ม.ู 12/402/435.

[127] อนุตตริยะ 6 (ภาวะอนั ยอดเยีย่ ม, สง่ิ ท่ยี อดเยีย่ ม — Anuttariya: excellent,

supreme or unsurpassable experiences)

1. ทัสสนานุตตรยิ ะ (การเหน็ อนั เยีย่ ม ไดแก การเห็นพระตถาคต และตถาคตสาวก รวมถึง
สิ่งท้งั หลายที่จะใหเกดิ ความเจริญงอกงามแหง จติ ใจ — Dassanànuttariya: supreme sight)
2. สวนานตุ ตรยิ ะ (การฟงอันเยีย่ ม ไดแ ก การสดบั ธรรมของพระตถาคต และตถาคตสาวก
— Savanànuttariya: supreme hearing)
3. ลาภานตุ ตรยิ ะ (การไดอนั เยีย่ ม ไดแก การไดศ รทั ธาในพระตถาคตและตถาคตสาวก หรือ
การไดอ รยิ ทรพั ย — Làbhànuttariya: supreme gain)
4. สิกขานุตตริยะ (การศึกษาอันเยย่ี ม ไดแก การฝก อบรมในอธิศลี อธจิ ติ ต และอธปิ ญญา
— Sikkhànuttariya: supreme training)
5. ปารจิ รยิ านตุ ตรยิ ะ (การบาํ เรออนั เยยี่ ม ไดแ ก การบาํ รงุ รบั ใชพ ระตถาคต และตถาคตสาวก
— Pàricariyànuttariya: supreme service or ministry)
6. อนสุ สตานุตตรยิ ะ (การระลึกอันเยยี่ ม ไดแ ก การระลึกถึงพระตถาคต และตถาคตสาวก
— Anussatànuttariya: supreme memory)

โดยสรปุ คือ การเหน็ การฟง การได การศึกษา การชว ยรบั ใช และการรําลกึ ที่จะเปน ไปเพ่ือ

ความบริสทุ ธ์ิ ลวงพน โสกะปรเิ ทวะ ดบั สูญทุกขโ ทมนัส เพอ่ื การบรรลุญายธรรม ทาํ ใหแจงซง่ึ

นพิ พาน

D.III.250,281; A.III.284,325,452. ท.ี ปา.11/321/262; 430/307; องฺ.ฉกกฺ .22/279/316; 301/363.

[128] อปณณกปฏิปทา 3 (ขอ ปฏบิ ตั ิท่ไี มผ ดิ , ปฏิปทาทีเ่ ปนสวนแกนสารเนื้อแท ซงึ่

จะนําผูปฏิบัติใหถึงความเจริญงอกงามในธรรม เปนผูดาํ เนินอยใู นแนวทางแหงความปลอดพน
จากทกุ ขอยา งแนน อนไมผ ิดพลาด — Apaõõaka-pañipadà: sure course; sure practice;

unimpeachable path)

หมวด 3 109 [130]

1. อินทรียสงั วร (การสาํ รวมอินทรยี  คือระวงั ไมใ หบาปอกศุ ลธรรมครอบงาํ ใจ เมอื่ รับรูอารมณ
ดว ยอินทรยี ท้ัง 6 — Indriya-sa§vara: control of the senses)
2. โภชเนมตั ตญั ุตา (ความรจู ักประมาณในการบรโิ ภค คือรูจักพจิ ารณารับประทานอาหาร
เพอื่ หลอ เลยี้ งรา งกายใชท าํ กจิ ใหช วี ติ ผาสกุ มใิ ชเ พอื่ สนกุ สนานมวั เมา — Bhojane-matta¤¤utà:

moderation in eating)
3. ชาคริยานุโยค (การหมั่นประกอบความต่ืน ไมเ ห็นแกนอน คอื ขยนั หมนั่ เพยี ร ตน่ื ตวั อยู

เปนนิตย ชําระจิตมิใหมีนิวรณ พรอมเสมอทุกเวลาท่ีจะปฏิบัติกิจใหกาวหนาตอไป —
Jàgariyànuyoga: practice of wakefulness)

A.I.113. อง.ฺ ตกิ .20/455/142.

[129] อภิสังขาร 3 (สภาพท่ปี รุงแตง , ธรรมมีเจตนาเปน ประธานอันปรงุ แตงผลแหงการ
กระทาํ , เจตนาทเี่ ปน ตวั การในการทาํ กรรม — Abhisaïkhàra: volitional formation; formation;

activity)

1. ปุญญาภิสังขาร (อภิสงั ขารทีเ่ ปน บุญ, สภาพทปี่ รุงแตงกรรมฝายดี ไดแ กกุศลเจตนาทเี่ ปน
กามาวจรและรปู าวจร — Pu¤¤àbhisaïkhàra: formation of merit; meritorious formation)
2. อปญุ ญาภสิ งั ขาร (อภสิ งั ขารทเ่ี ปน ปฏปิ ก ษต อ บญุ คอื เปน บาป, สภาพทป่ี รงุ แตง กรรมฝา ยชวั่
ไดแกอ กุศลเจตนาทั้งหลาย — Apu¤¤àbhisaïkhàra: formation of demerit; demeri-

torious formation)
3. อาเนญชาภสิ งั ขาร (อภสิ ังขารท่เี ปนอาเนญชา, สภาพที่ปรุงแตงภพอันมั่นคงไมห ว่นั ไหว ได

แกก ุศลเจตนาท่เี ปนอรูปาวจร 4 หมายเอาภาวะจติ ทีม่ ่ันคงแนวแนดว ยสมาธิแหง จตุตถฌาน —
âne¤jàbhisaïkhàra: formation of the imperturbable; imperturbability-producing

volition)

อภสิ ังขาร 3 นี้ เปน ความหมายของสังขารในหลักปฏจิ จสมุปบาท ทา นแสดงไวอ ีกนยั หนง่ึ

เพมิ่ จากนยั วาสังขาร 3 ดู [120] สงั ขาร 3 2

Ps.II.206; Vbh.135. ขุ.ปฏ.ิ 31/280/181; อภิ.วิ.35/257/181.

[130] อัคคิ 31 (ไฟ, กิเลสท่เี ปรยี บเหมอื นไฟ เพราะเผาลนจิตใจใหเ รารอนและแสพ รานไป
— Aggi: fires to be avoided or abandoned)

1. ราคคั คิ (ไฟคอื ราคะ ไดแกค วามติดใจ กระสัน อยากได — Ràgaggi: fire of lust)

2. โทสคั คิ (ไฟคอื โทสะ ไดแ กค วามขดั เคอื ง ไมพ อใจ คดิ ประทษุ รา ย — Dosaggi: fire of hatred)

3. โมหคั คิ (ไฟคือโมหะ ไดแ กค วามหลง ไมรไู มเ ขาใจสภาวะของสงิ่ ท้งั หลายตามเปน จรงิ —
Mohaggi: fire of delusion)

ไฟ 3 อยา งนี้ ทา นสอนใหละเสยี

D.III.217; It.92. ท.ี ปา.11/228/229; ขุ.อิต.ิ 25/273/301.

[131] 110 พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร

[131] อัคคิ 32 หรือ อัคคิปาริจริยา (ไฟท่คี วรบํารงุ , บุคคลทค่ี วรบูชาดวยใสใ จ

บํารงุ เลย้ี งและใหค วามเคารพนบั ถือตามควรแกฐ านะ ดุจไฟบูชาของผบู ูชาไฟ — Aggi: fires to

be revered or worshipped)
1. อาหไุ นยคั คิ (ไฟอันควรแกของคํานบั บูชา ไดแกบ ิดามารดา — âhuneyyaggi: fire

worthy of reverential gifts, i.e. mother and father)
2. คหปตัคคิ (ไฟของเจาบา น ไดแ ก บุตรภรรยา และคนในปกครอง — Gahapataggi: fire

of the householder, i.e. children, wife and dependents)
3. ทกั ขิไณยัคคิ (ไฟอนั ควรแกท ักษณิ า ไดแ กส มณพราหมณ ทา นผูท ําหนา ท่ีสั่งสอนผดงุ ธรรม
ผปู ระพฤตดิ ี ปฏิบัติชอบ — Dakkhiõeyyaggi: fire worthy of offerings, i.e. monks and

other religious men)

ไฟ 3 อยางน้ี เลยี นศพั ทมาจากไฟบชู าในศาสนาพราหมณ แตใ ชใ นความหมายใหม เพ่ือให
เปนประโยชนแกชีวติ และสงั คมอยางแทจรงิ .

D.III.217; A.IV.44. ที.ปา.11/228/229; องฺ.สตตฺ ก.23/44/46.

[132] อัตถะ หรือ อรรถ 31 (ประโยชน, ผลทมี่ ุงหมาย, จุดหมาย, ความหมาย —
Attha: benefit; advantage; welfare; aim; goal; meaning)

1. ทิฏฐธัมมกิ ตั ถะ (ประโยชนป จจุบัน, ประโยชนในโลกน้,ี ประโยชนข ้นั ตน — Diññha-
dhammikattha: benefits obtainable here and now; the good to be won in this life;

temporal welfare)

2. สมั ปรายิกตั ถะ (ประโยชนเบ้อื งหนา , ประโยชนใ นภพหนา, ประโยชนข น้ั สงู ขึ้นไป —
Samparàyikattha: the good to be won in the life to come; spiritual welfare)
3. ปรมตั ถะ (ประโยชนสูงสุด, จุดหมายสงู สุด คอื พระนพิ พาน — Paramattha: the

highest good; final goal, i.e. Nibbàna)

อตั ถะ 3 หมวดน้ี ในพระสตู รท่ัวไปมกั แสดงเฉพาะขอ 1 และขอ 2 โดยใหข อ 2 มคี วาม

หมายครอบคลุมถึงขอ 3 ดวย (เชน ขุ.อิต.ิ 25/201/242; อธิบายใน อิติ.อ.92) บางแหง กก็ ลา ว

ถึงปรมัตถะไวต า งหากโดยเฉพาะ (เชน ขุ.สุ.25/296/338; 313/366; ข.ุ อป.33/165/343)

ดู [144] ทิฏฐธัมมกิ ตั ถสงั วตั ตนกิ ธรรม 4, [191] สัมปรายิกตั ถสงั วตั ตนิกธรรม 4 ดว ย.

Nd1169, 178, 357; Nd226. ขุ.ม.29/292/205; 320/217; 727/432; ข.ุ จ.ู 30/673/333.

[133] อัตถะ หรอื อรรถ 32 (ประโยชน, ผลท่ีมุงหมาย — Attha: benefit;

advantage; gain; welfare)

1. อัตตัตถะ (ประโยชนตน — Attattha: gain for oneself; one’s own welfare)
2. ปรตั ถะ (ประโยชนผอู น่ื — Parattha: gain for others; others’ welfare)
3. อภุ ยตั ถะ (ประโยชนท งั้ สองฝา ย — Ubhayattha: gain both for oneself and for others;

หมวด 3 111 [136]

welfare both of oneself and of all others)

S.II.29; S.V.121–5; A.I.9; A.III.64; Nd1168; Nd226. ส.ํ นิ.16/67/35; สํ.ม.19/603/167; อง.ฺ ทกุ .20/46/10; องฺ.ปฺจก.22/51/72

[134] อาการที่พระพุทธเจาทรงส่ังสอน 3 (ลกั ษณะการสอนของพระพทุ ธเจา

ที่ทาํ ใหคําสอนของพระองคควรแกการประพฤตปิ ฏบิ ัตติ าม และทาํ ใหเ หลาสาวกเกิดความมั่นใจ
เคารพเลอ่ื มใสในพระองคอ ยา งแทจ ริง — Buddha-dhammadesanà: the three aspects of

the Buddha’s teaching; the Buddha’s manners of teaching)
1. อภญิ ญายธมั มเทสนา (ทรงแสดงธรรมดว ยความรยู ง่ิ , ทรงรยู งิ่ เหน็ จรงิ เองแลว จงึ ทรงสอนผู
อน่ื เพอ่ื ใหร ยู งิ่ เหน็ จรงิ ตาม ในธรรมทคี่ วรรยู ง่ิ เหน็ จรงิ — Abhi¤¤àya-dhammadesanà: Having

himself fully comprehended, he teaches others for the full comprehending of what

should be fully comprehended; teaching with full comprehension)
2. สนิทานธัมมเทสนา (ทรงแสดงธรรมมเี หตุผล, ทรงสั่งสอนช้ีแจงใหเ หน็ เหตุผลไมเลื่อน
ลอย — Sanidàna-dhammadesanà: He teaches the doctrine that has a causal

basis; teaching in terms of or with reference to causality)
3. สปั ปาฏหิ ารยิ ธมั มเทสนา (ทรงแสดงธรรมใหเ หน็ จรงิ ไดผ ลเปน อศั จรรย, ทรงสงั่ สอนใหม อง
เหน็ ชดั เจนสมจรงิ จนตอ งยอมรบั และนาํ ไปปฏบิ ตั ไิ ดผ ลจรงิ เปน อศั จรรย — Sappàñihàriya-
dhammadesanà: He teaches the doctrine that is wondrous as to its convincing

power and practicality; teaching in such a way as to be convincing and practical)

ขอ 1 บางทานแปลวา “ทรงแสดงธรรมเพ่ือความรูยิ่ง”

M.II.9; A.I.276. ม.ม.13/330/322; องฺ.ติก.20/565/356.

[135] อาสวะ 3 (สภาวะอันหมักดองสนั ดาน, ส่งิ ท่ีมอมพ้นื จิต, กิเลสทไี่ หลซึมซา นไปยอ ม
ใจเมื่อประสบอารมณต างๆ — âsava: mental intoxication; canker; bias; influx; taint)

1. กามาสวะ (อาสวะคือกาม — Kàmàsava: canker of sense-desire)

2. ภวาสวะ (อาสวะคอื ภพ — Bhavàsava: canker of becoming)

3. อวิชชาสวะ (อาสวะคอื อวิชชา — Avijjàsava: canker of ignorance)

ดู [136] อาสวะ 4 ดวย.

D.II.81; S.IV.256. ท.ี ม.10/76/96; ส.ํ สฬ.18/504/315.

[136] อาสวะ 4 (âsava: mental intoxication; canker)

1. กามาสวะ (อาสวะคอื กาม — Kàmàsava: canker of sense-desire)

2. ภวาสวะ (อาสวะคอื ภพ — Bhavàsava: canker of becoming)

3. ทฏิ ฐาสวะ (อาสวะคือทิฏฐิ — Diññhàsava: canker of views or speculation)

4. อวิชชาสวะ (อาสวะคืออวชิ ชา — Avijjàsava: canker of ignorance)

[136] 112 พจนานกุ รมพุทธศาสตร

ในท่มี าสวนมาก โดยเฉพาะในพระสตู ร แสดงอาสวะไว 3 อยาง โดยสงเคราะหทิฏฐาสวะเขา
ในภวาสวะ (ม.อ.1/93)

Vbh.373. อภิ.ว.ิ 35/961/504.

[,,,] โอวาทของพระพุทธเจา 3 ดู [97] พุทธโอวาท 3.

จตุกกะ — หมวด 4

Groups of Four

(including related groups)

[137] กรรมกิเลส 4 (กรรมเคร่อื งเศราหมอง, ขอ เสื่อมเสียของความประพฤติ —

Kamma-kilesa: defiling actions; contaminating acts; vices of conduct)
1. ปาณาติบาต (การตดั รอนชีวิต — Pàõàtipàta: destruction of life)
2. อทนิ นาทาน (ถอื เอาของทเี่ จา ของมไิ ดใ ห, ลกั ขโมย — Adinnàdàna: taking what is not

given)

3. กาเมสุมิจฉาจาร (ประพฤตผิ ดิ ในกาม — Kàmesumicchàcàra: sexual misconduct)
4. มสุ าวาท (พูดเทจ็ — Musàvàda: false speech)

D.III.181. ที.ปา.11/174/195.

[,,,] กัลยาณมิตร 4 ในท่ีน้ีใชเ ปนคําเรยี กมติ รแท ตามบาลีเรยี กวา สุหทมิตร ดู [169]

สุหทมิตร 4.

[,,,] กิจในอริยสัจจ 4 ดู [205] กิจในอรยิ สจั จ 4.
[138] กุลจิรัฏฐิติธรรม 4 (ธรรมสําหรับดํารงความมัง่ คง่ั ของตระกลู ใหย งั่ ยืน, เหตุที่

ทําใหต ระกลู มง่ั ค่ังตง้ั อยไู ดน าน — Kula-ciraññhiti-dhamma: reasons for lastingness of a

wealthy family)
1. นัฏฐคเวสนา (ของหายของหมด รูจ กั หามาไว — Naññhagavesanà: seeking for what

is lost)
2. ชิณณปฏิสงั ขรณา (ของเกา ของชาํ รุด รจู กั บูรณะซอ มแซม — Jiõõapañisaïkharaõà:

repairing what is worn out)
3. ปรมิ ติ ปานโภชนา (รจู กั ประมาณในการกนิ การใช — Parimitapànabhojanà: moderation

in spending)
4. อธปิ จจสีลวนั ตสถาปนา (ตั้งผูมศี ีลธรรมเปน พอบานแมเ รอื น — Adhipaccasãlavanta-
ñhàpanà: putting in authority a virtuous woman or man)

เหตุที่ตระกูลม่ังคง่ั จะต้งั อยูนานไมไ ด พงึ ทราบโดยนยั ตรงขามจากนี.้

A.II.249. องฺ.จตกุ ฺก.21/258/333.

[139] ฆราวาสธรรม 4 (ธรรมสําหรบั ฆราวาส, ธรรมสาํ หรับการครองเรอื น, หลกั การ
ครองชวี ติ ของคฤหสั ถ — Gharàvàsa-dhamma: virtues for a good household life;

[140] 114 พจนานุกรมพุทธศาสตร

virtues for lay people)
1. สัจจะ (ความจริง, ซอ่ื ตรง ซอื่ สัตย จริงใจ พดู จริง ทําจรงิ — Sacca: truth and honesty)
2. ทมะ (การฝก ฝน, การขมใจ ฝกนิสัย ปรับตวั , รจู ักควบคุมจติ ใจ ฝกหดั ดดั นสิ ัย แกไ ขขอบก
พรอง ปรับปรงุ ตนใหเจรญิ กาวหนา ดว ยสตปิ ญญา — Dama: taming and training oneself;

adjustment; self-development)
3. ขันติ (ความอดทน, ตัง้ หนาทาํ หนา ทีก่ ารงานดว ยความขยันหมั่นเพยี ร เขมแข็ง ทนทาน ไม
หวน่ั ไหว มัน่ ในจุดหมาย ไมท อถอย — Khanti: tolerance; forbearance; perseverance)
4. จาคะ (ความเสียสละ, สละกเิ ลส สละความสุขสบายและผลประโยชนส ว นตนได ใจกวาง

พรอ มท่ีจะรับฟง ความทุกข ความคดิ เห็น และความตอ งการของผูอ น่ื พรอมท่ีจะรว มมอื ชวย
เหลอื เออื้ เฟอ เผอื่ แผ ไมค บั แคบเหน็ แกต นหรอื เอาแตใ จตวั — Càga: liberality; generosity)

ในธรรมหมวดน้ี ทมะ ทานมุงเอาดานปญ ญา ขนั ติ ทานเนนแงว ิริยะ.

S.I.215; Sn.189. ส.ํ ส.15/845/316; ขุ.สุ.25/311/361.

[140] จักร 4 (ธรรมนาํ ชวี ิตไปสคู วามเจรญิ รงุ เรือง ดจุ ลอ นาํ รถไปสทู ่ีหมาย — Cakka:

virtues wheeling one to prosperity)
1. ปฏริ ปู เทสวาสะ (อยใู นถิ่นท่ดี ี มสี ิง่ แวดลอมเหมาะสม — Pañiråpadesavàsa: living in

a suitable region; good or favourable environment)
2. สัปปรุ ิสปู สสยะ (สมาคมกบั สตั บรุ ษุ — Sappurisåpassaya: association with good

people)
3. อตั ตสมั มาปณิธิ (ตง้ั ตนไวชอบ, ตั้งจิตคดิ มุงหมายนําตนไปถกู ทาง — Attasammà-
paõidhi: setting oneself in the right course; aspiring and directing oneself in the

right way)
4. ปพุ เพกตปุญญตา (ความเปนผูไดท ําความดีไวก อนแลว, มพี น้ื เดิมด,ี ไดสรา งสมคณุ ความ
ดีเตรียมพรอ มไวแ ตต น — Pubbekatapu¤¤atà: having formerly done meritorious

deeds; to have prepared oneself with good background)
ธรรม 4 ขอ น้ี เรียกอีกอยางหน่ึงวา พหุการธรรม คอื ธรรมมีอุปการะมาก (virtues of

great assistance) เปน เครอ่ื งชวยใหสามารถสรางสมความดีอื่นๆ ทกุ อยาง และชว ยใหป ระสบ

ความเจริญกา วหนาในชีวิต บรรลุความงอกงามไพบลู ย.

A.II.32; D.III.276. องฺ.จตุกกฺ .21/31/41; ที.ปา.11/400/293.

[141] เจดีย 4 (สงิ่ ทก่ี อขึน้ , ที่เคารพบูชา, ส่งิ ทีเ่ ตอื นใจใหร ะลึกถงึ , ในทน่ี หี้ มายถึง สถานท่ี

หรอื ส่ิงที่เคารพบชู าเนื่องดวยพระพทุ ธเจา หรือพระพทุ ธศาสนา เรียกเต็มวา สมั มาสัมพุทธเจดีย
หรอื พทุ ธเจดีย — Cetiya: shrine; Buddhist monument; objects of homage)

1. ธาตเุ จดีย (เจดยี บรรจุพระบรมสารรี กิ ธาตุ — Dhàtu-cetiya: a relic shrine; sepulchral

หมวด 4 115 [143]

or reliquary monument; stupa enshrining the Buddha’s relics)
2. บริโภคเจดยี  (เจดียค ือส่ิงหรือสถานทท่ี ่ีพระพุทธเจาเคยทรงใชส อย อยา งแคบหมายถงึ ตน

โพธ์ิ อยางกวางหมายถงึ สงั เวชนียสถาน 4 ตลอดจนสิ่งทัง้ ปวงทีพ่ ระพุทธเจาเคยทรงบรโิ ภค เชน
บาตร จีวร และบริขารอนื่ ๆ เปนตน — Paribhoga-cetiya: a shrine by use or by

association; things and places used by the Buddha, esp. the Bodhi tree)
3. ธรรมเจดยี  (เจดยี บ รรจพุ ระธรรม เชน บรรจใุ บลานจารกึ พทุ ธพจนแ สดงหลกั ปฏจิ จสมปุ บาท
เปนตน — Dhamma-cetiya: a doctrinal shrine; monument of the Teaching where

inscribed palm-leaves or tablets or scriptures are housed)
4. อทุ เทสกิ เจดีย (เจดียส รา งอทุ ิศพระพุทธเจา ไดแ ก พระพุทธรูป — Uddesika-cetiya: a

shrine by dedication, i.e. a Buddha-image)

เจดยี เ หลา น้ี ในทม่ี าแตล ะแหง ทา นแสดงไว 3 ประเภท นบั รวมทไ่ี มซ าํ้ เขา ดว ยกนั จงึ เปน 4.

KhA.222; J.IV.228. ขุททฺ ก.อ.247; ชา.อ.6/185; วินย.ฏกี า1/263.

[,,,] ฌาน 4 ดู [9] ฌาน 4.

[142] ถูปารหบุคคล 4 (บคุ คลผูควรแกสถปู , ผูม คี ุณความดพี เิ ศษควรสรางสถูปไว
เคารพบูชา — Thåpàraha-puggala: persons worthy of a stupa or monument)

1. พระตถาคตอรหนั ตสัมมาสัมพุทธเจา (พระพุทธเจา — Buddha: the Buddha; Fully

Enlightened One)

2. พระปจเจกพุทธเจา (Paccekabuddha: Individually Enlightened One; private

Buddha)

3. พระตถาคตสาวก (สาวกของพระพุทธเจา ปกตหิ มายเอาพระอรหันต — Tathàgata-
sàvaka: a disciple of the Buddha; an Arahant)
4. พระเจา จกั รพรรดิ (จอมราชผูทรงธรรม, พระเจา ธรรมกิ ราช — Cakkavatti: a righteous

universal monarch; great righteous king or ruler)

D.II.142. ท.ี ม.10/134/165.

[143] ทักขิณาวิสุทธิ 4 (ความบริสุทธแิ์ หงทักษิณา คือของทาํ บุญ — Dakkhiõà-
visuddhi: purifications of offerings; purities in gifts)

1. ทักขณิ าท่บี ริสุทธ์ฝิ า ยทายก ไมบรสิ ุทธ์ฝิ ายปฏิคาหก (คอื ทายกมีศีลมกี ัลยาณธรรม แต

ปฏิคาหกทศุ ลี มีบาปธรรม — the offering purified on the part of the giver, not of the

recipient)
2. ทักขิณาทีบ่ ริสุทธ์ฝิ ายปฏิคาหก ไมบรสิ ุทธฝ์ิ ายทายก (คือ ทายกทุศีล มบี าปธรรม แต

ปฏิคาหกมีศลี มีกัลยาณธรรม — the offering purified on the part of the recipient,

not of the giver)

[144] 116 พจนานกุ รมพุทธศาสตร

3. ทกั ขิณาที่ไมบ รสิ ทุ ธิ์ทั้งฝา ยทายก ทง้ั ฝายปฏคิ าหก (คือ ท้งั สองฝายทุศีล มบี าปธรรม —

the offering purified on neither side)
4. ทักขณิ าท่ีบรสิ ุทธิท์ ั้งฝา ยทายก ทงั้ ฝา ยปฏคิ าหก (คอื ทั้งสองฝา ยมศี ีล มกี ลั ยาณธรรม —

the offering purified on both sides)

D.III.231; M.III.256; A.II.80; Kvu.557. ที.ปา.11/266/243; ม.อ.ุ 14/714/461; องฺ.จตกุ กฺ .21/78/104; อภิ.ก.37/1732/590.

[,,,] ทรัพยจัดสรรเปน 4 สวน ดู [163] โภควิภาค 4.
[144] ทิฏฐธัมมิกัตถสังวัตตนิกธรรม 4 (ธรรมทเ่ี ปน ไปเพอ่ื ประโยชนใ นปจ จบุ นั ,

หลกั ธรรมอนั อาํ นวยประโยชนส ขุ ขนั้ ตน — Diññhadhammikattha-sa§vattanika-dhamma:

virtues conducive to benefits in the present; virtues leading to temporal welfare)
1. อฏุ ฐานสัมปทา (ถึงพรอ มดว ยความหม่นั คือ ขยันหมั่นเพยี รในการปฏบิ ัติหนาท่กี ารงาน

ประกอบอาชีพอนั สจุ รติ มคี วามชํานาญ รจู ักใชป ญ ญาสอดสอง ตรวจตรา หาอุบายวิธี สามารถ
จดั ดาํ เนนิ การใหไดผ ลดี — Uññhànasampadà: to be endowed with energy and

industry; achievement of diligence)
2. อารกั ขสัมปทา (ถงึ พรอ มดว ยการรกั ษา คอื รูจ ักคุมครองเก็บรกั ษาโภคทรัพย และผลงาน

อนั ตนไดทาํ ไวดว ยความขยันหมนั่ เพียร โดยชอบธรรม ดว ยกําลังงานของตน ไมใหเปน อันตราย
หรือเสื่อมเสีย — ârakkhasampadà: to be endowed with watchfulness;

achievement of protection)
3. กลั ยาณมติ ตตา (คบคนดีเปนมติ ร คือ รจู ักกําหนดบุคคลในถน่ิ ท่ีอาศัย เลอื กเสวนา
สําเหนยี กศึกษาเย่ยี งอยา งทานผทู รงคณุ มศี รทั ธา ศีล จาคะ ปญญา — Kalyàõamittatà: good

company; association with good people)
4. สมชวี ิตา (มีความเปน อยูเ หมาะสม คอื รูจ ักกําหนดรายไดและรายจา ยเล้ียงชวี ิตแตพ อดี มิ
ใหฝ ด เคอื งหรือฟมู ฟาย ใหร ายไดเหนือรายจา ย มีประหยดั เกบ็ ไว — Samajãvità: balanced

livelihood; living economically)

ธรรมหมวดนเี้ รยี กกนั สน้ั ๆ วา ทฏิ ฐธมั มกิ ตั ถะ หรอื เรยี กตดิ ปากอยา งไทยๆ วา ทฏิ ฐธมั มกิ ตั ถ-

ประโยชน (อตั ถะ แปลวา ประโยชน จึงมีประโยชนซาํ้ ซอ นกนั สองคาํ )

A.IV.281. องฺ.อฏก.23/144/289.

[,,,] เทวทูต 4 ดู [150] นิมติ 4.

[,,,] ธรรมมีอุปการะมาก 4 ดู [140] จกั ร 4.

[,,,] ธรรมเปนเหตุใหสมหมาย 4 ดู [191] สมั ปรายิกัตถสงั วัตตนิกธรรม 4.

[145] ธรรมสมาทาน 4 (ขอทย่ี ึดถือเอาเปน หลกั ความประพฤติปฏบิ ัต,ิ หลกั การที่
ประพฤต,ิ การทกี่ ระทาํ , การประกอบกรรม — Dhamma-samàdàna: religious undertakings;

หมวด 4 117 [147]

undertaken courses of practices)
1. ธรรมสมาทานทใ่ี หทกุ ขในปจจุบนั และมที ุกขเปน วิบากตอไป (เชน การประพฤตวิ ตั ร
ทรมานตนของพวกอเจลก หรือการประพฤติอกุศลกรรมบถดวยความยากลําบาก ทง้ั มีความ

เดอื ดรอนใจ เปนตน — the undertaking that gives suffering in the present and

results in suffering in the future)
2. ธรรมสมาทานที่ใหทุกขในปจจุบนั แตม ีสขุ เปน วบิ ากตอ ไป (เชน ผูท กี่ เิ ลสมีกาํ ลังแรงกลา
ฝน ใจพยายามประพฤตพิ รหมจรรยใ หบ รสิ ทุ ธ์ิบรบิ รู ณ หรือผทู ป่ี ระพฤตกิ ศุ ลกรรมบถดว ยความ

ยากลาํ บาก เปนตน — the undertaking that gives suffering in the present but

results in happiness in the future)
3. ธรรมสมาทานทใี่ หส ขุ ในปจ จบุ นั แตม ที กุ ขเ ปน วบิ ากตอ ไป (เชน การหลงมวั เมาหมกมนุ อยใู น
กาม หรอื การประพฤตอิ กศุ ลกรรมบถดว ยความสนกุ สนานพอใจ เปน ตน — the undertaking

that gives happiness in the present but results in suffering in the future)
4. ธรรมสมาทานที่ใหส ุขในปจจบุ นั และมสี ขุ เปน วิบากตอ ไป (เชน ผทู ีก่ เิ ลสมกี าํ ลงั นอ ย
ประพฤติพรหมจรรยด วยความพอใจ ไดเ สวยเนกขัมมสขุ หรือผทู ปี่ ระพฤตกิ ศุ ลกรรมบถดว ย

ความพอใจ ไดเ สวยสขุ โสมนัส เปน ตน — the undertaking that gives happiness in the

present and results in happiness in the future)

D.III.229; M.I.305–316. ท.ี ปา.11/251/241; ม.มู.12/515–534/556–575.

[146] ธาตุ 4 (ส่งิ ทที่ รงสภาวะของตนอยูเอง คอื มีอยโู ดยธรรมดา เปนไปตามเหตปุ จจยั ไมม ี
ผสู ราง ไมมีอัตตา มใิ ชส ตั ว มิใชช วี ะ — Dhàtu: elements) ไดแก ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ

และ วาโยธาตุ คือ มหาภูต หรือ ภูตรปู 4 น่ันเอง. ดู [39] มหาภตู 4 และ [147] ธาตุ-กมั มัฏฐาน

4

[147] ธาตุกัมมัฏฐาน 4 (กรรมฐานคอื ธาต,ุ กรรมฐานท่ีพิจารณาธาตเุ ปน อารมณ คือ

กาํ หนดพจิ ารณากายนแ้ี ยกเปน สวนๆ ใหเ ห็นวาเปน เพยี งธาตุสแ่ี ตละอยา ง ไมใ ชข องเรา ไมใ ชเ รา
ไมใ ชต วั ตนของเรา — Dhàtu-kammaññhàna: meditation on the elements; meditation

subject consisting of elements)
1. ปฐวีธาตุ (Pañhavã-dhàtu: the earth-element) คอื ธาตทุ ่ีมลี ักษณะแขนแข็ง ภายในตวั ก็

มี ภายนอกตวั กม็ ี กลาวเฉพาะทีเ่ ปน ภายใน สําหรบั กําหนด พอใหส าํ เรจ็ ประโยชนเ ปน อารมณ

ของกรรมฐาน ไดแก ผม ขน เล็บ ฟน หนงั เนื้อ เอน็ กระดกู เย่ือในกระดูก มา ม หัวใจ ตบั

พังผดื ไต ปอด ไสใหญ ไสน อย อาหารใหม อาหารเกา หรอื ส่งิ อืน่ ใดกต็ ามในตัว ทม่ี ีลักษณะ

แขนแขง็ เปน ตน อยางเดียวกนั นี้
2. อาโปธาตุ (âpo-dhàtu: the water-element) คือ ธาตทุ ีม่ ลี ักษณะเอิบอาบ ภายในตัวกม็ ี

ภายนอกตัวกม็ ี กลาวเฉพาะท่ีเปนภายใน สําหรบั กําหนด พอใหสาํ เรจ็ ประโยชนเ ปนอารมณของ

[148] 118 พจนานุกรมพุทธศาสตร

กรรมฐาน ไดแ ก ดี เสลด หนอง เลอื ด เหง่อื มันขน นํ้าตา เปลวมนั น้ําลาย นํ้ามูก ไขขอ มูตร

หรอื สงิ่ อ่ืนใดกต็ ามในตวั ท่มี ลี ักษณะเอิบอาบเปน ตน อยางเดียวกนั นี้
3. เตโชธาตุ (Tejo-dhàtu: the fire-element) คือ ธาตุทมี่ ีลกั ษณะรอน ภายในตัวก็มี ภาย
นอกตัวก็มี กลาวเฉพาะท่เี ปน ภายใน สาํ หรบั กําหนด พอใหส ําเร็จประโยชนเปนอารมณข อง

กรรมฐาน ไดแก ไฟทย่ี งั กายใหอ บอนุ ไฟทย่ี งั กายใหท รดุ โทรม ไฟท่ียังกายใหก ระวนกระวาย

ไฟทีย่ ังอาหารใหย อ ย หรอื สิ่งอ่นื ใดก็ตามในตวั ท่มี ีลกั ษณะรอนเปน ตน อยา งเดยี วกันน้ี
4. วาโยธาตุ (Vàyo-dhàtu: the air-element) คอื ธาตทุ ่ีมีลักษณะพดั ผันเครงตึง ภายในตวั
ก็มี ภายนอกตัวก็มี กลาวเฉพาะที่เปนภายใน สําหรบั กําหนด พอใหส ําเรจ็ ประโยชนเ ปนอารมณ

ของกรรมฐาน ไดแก ลมพัดข้นึ เบื้องบน ลมพัดลงเบอื้ งตาํ่ ลมในทอง ลมในไส ลมซานไปตามตวั

ลมหายใจ หรือสิง่ อืน่ ใดก็ตามในตัว ท่มี ีลกั ษณะพดั ผันไปเปนตน อยางเดยี วกนั นี้

ตวั อยา งธาตทุ ่ีแสดงขา งตน น้ี ในปฐวธี าตมุ ี 19 อยา ง ในอาโปธาตุมี 12 อยาง เติมมตั ถลุงค

คอื มนั สมอง เขาเปน ขอสดุ ทายในปฐวธี าตุ รวมเปน 32 เรียกวา อาการ 32 หรอื ทวัตตงิ สาการ

(มัตถลุงคไ มมใี นปฐวีธาตุ 19 อยาง เพราะรวมเขา ในอฏั ฐมิ ิญชะ คอื เย่ือในกระดูก)
ธาตกุ มั มฏั ฐานน้ี เรยี กอยา งอน่ื วา ธาตมุ นสกิ าร (การพจิ ารณาธาตุ — Dhàtu-manasikàra:

contemplation on the elements) บา ง จตธุ าตวุ วฏั ฐาน (การกาํ หนดธาตสุ ่ี — Catudhàtu-
vavaññhàna: determining of the four elements) บา ง เมื่อพจิ ารณากําหนดธาตุ 4 ดว ย
สตสิ ัมปชัญญะ มองเห็นความเกิดข้ึนและความเสือ่ มสลายไปในกาย ตระหนกั วากายนีก้ ส็ ักวา
กาย มิใชส ัตว บุคคล ตวั ตน เราเขา ดงั น้ี จัดเปนกายานุปสสนาสติปฏฐานสวนหน่ึง (หมวดที่ 5

คอื ธาตุมนสิการบรรพ).

D.II.294; M.I.185; M.III.240; Vism.347. ท.ี ม.10/278/329; ม.มู.12/342/350; ม.อุ.14/684–7/437; วิสุทธฺ .ิ 2/161.

[148] ธาตุ 6 (Dhàtu: the six elements) ไดแกธาตุ 4 หรอื มหาภตู 4 คือ ปฐวีธาตุ

อาโปธาตุ เตโชธาตุ และ วาโยธาตุ น้นั กบั เพิ่มอกี 2 อยา ง คอื

5. อากาสธาตุ (สภาวะทว่ี า ง โปรง ไป เปน ชอ ง — âkàsa-dhàtu: the space-element)

6. วิญญาณธาตุ (สภาวะท่รี แู จงอารมณ ธาตุรู ไดแ กวิญญาณธาตุ 6 คือ จักขวุ ิญญาณธาตุ
โสต~ ฆาน~ ชิวหา~ กาย~ มโนวิญญาณธาตุ — Vi¤¤àõa-dhàtu: element of

consciousness; consciousness-element)

ดู [39] มหาภตู 4 และ [146] ธาตุ 4.

M.III.31; Vbh.82. ม.อ.ุ 14/169/125; อภิ.ว.ิ 35/114/101.

[149] ธาตุกัมมัฏฐาน 6 ไดแ ก ธาตกุ มั มฏั ฐาน 4 น้นั และเพ่มิ อกี 2 อยาง คือ

5. อากาสธาตุ (the space-element) คอื ธาตุที่มลี กั ษณะเปน ชองวาง ภายในตวั ก็มี ภาย

นอกตัวก็มี กลาวเฉพาะภายใน สําหรับกาํ หนด พอใหส ําเรจ็ ประโยชน เปน อารมณข องกรรมฐาน

ไดแ ก ชอ งหู ชองจมกู ชอ งปาก ชอ งทวารหนัก ทวารเบา ชองแหงอวยั วะทงั้ หลาย หรือที่อ่ืนใดท่ี

หมวด 4 119 [152]

มลี ักษณะเปนชอ งวา งอยางเดียวกันน้ี
6. วญิ ญาณธาตุ (the consciousness-element) คอื ธาตุท่ีมีลกั ษณะเปนเครอ่ื งรูแ จง

อารมณ กลา วคอื วิญญาณธาตุ 6.

ดู [147] ธาตุกมั มฏั ฐาน 4; [148] ธาตุ 6.

M.III.240. ม.อุ.14/684–9/437–440.

[150] นิมิต 4 (เครือ่ งหมาย, เครือ่ งกําหนด, สิ่งทีพ่ ระโพธสิ ตั วท อดพระเนตรเหน็ อนั เปน

เหตปุ รารภทีจ่ ะเสด็จออกบรรพชา — Nimitta: the Four Signs; the Four Sights on

seeing which the Bodhisatta went forth in the Great Renunciation)

1. ชิณณะ (คนแก — Jiõõa: an old man)
2. พยาธติ ะ หรอื อาพาธกิ ะ (คนเจ็บ — Byàdhita, âbàdhika: a sick man)
3. กาลกตะ (= มตะ, คนตาย — Mata: a dead man)
4. ปพพชติ ะ (บรรพชิต, นกั บวช — Pabbajita: a religious; holy man; monk)

สามอยางแรกมชี ือ่ เรยี กรวมวา เทวทูต 3 เปน เครอื่ งหมายหรอื สัญญาณเตือนใหระลึกถึง

ความทกุ ขตามคตธิ รรมดาของชีวิตและบงั เกิดความสังเวช อยางทสี่ ีค่ ือบรรพชติ เปน เคร่อื งหมาย

ใหม องเห็นทางออกท่ีจะพนไปจากทุกข บางแหงทา นเรียกรวมๆ ไปวา เทวทูต 4 โดยอธิบายชนั้
หลังวา เปน ทูตของวสิ ุทธิเทพ แตต ามบาลีเรยี กวา นมิ ิต 4.

D.II.22; Bv.XVII.14. ที.ม.10/32–38/24–35; ข.ุ พุทธ.33/26/544.

[151] บริษัท 41 (ชุมนุม, ท่ีประชมุ , หมูแหงพทุ ธศาสนกิ , ชมุ ชนชาวพุทธ — Parisà: the

Four Assemblies; companies)

1. ภกิ ษุบรษิ ัท (Bhikkhu-parisà: assembly of monks; Bhikkhus)
2. ภกิ ษุณีบรษิ ัท (Bhikkhunã-parisà: assembly of nuns; Bhikkhunis)
3. อบุ าสกบริษัท (Upàsaka-parisà: assembly of lay-followers)
4. อบุ าสกิ าบริษัท (Upàsikà-parisà: assembly of female lay-followers)

A.II.132. อง.ฺ จตุกกฺ .21/129/178.

[152] บริษัท 42 (ชมุ นมุ , ทป่ี ระชมุ , ชมุ ชนตามระบบสงั คม — Parisà: assembly; company)

1. ขตั ติยบริษทั (ชมุ นุมเจานาย — Khattiya-parisà: company of noblemen)

2. พราหมณบริษทั (ชมุ นุมพราหมณ — Bràhmaõa-parisà: company of brahmins)

3. คหบดีบรษิ ัท (ชมุ นุมคฤหบดี — Gahapati-parisà: company of householders)

4. สมณบรษิ ทั (ชุมนมุ สมณะ — Samaõa-parisà: company of recluses)

A.II.132. อง.ฺ จตกุ กฺ .21/130/179.

[153] 120 พจนานุกรมพทุ ธศาสตร

[153] บุคคล 4 (ประเภทของบคุ คล — Puggala: four kinds of persons)

1. อคุ ฆฏิตัญู (ผทู ่ีพอยกหวั ขอ กร็ ,ู ผูร เู ขาใจไดฉับพลนั แตพอทานยกหัวขอขน้ึ แสดง —
Ugghañita¤¤å: a person of quick intuition; the genius; the intuitive)
2. วิปจิตญั ู (ผรู ตู อ เมื่อขยายความ, ผูรูเขา ใจได ตอเม่ือทานอธบิ ายความพสิ ดารออกไป —
Vipacita¤¤å: a person who understands after a detailed treatment; the intellectual)
3. เนยยะ (ผทู พี่ อจะแนะนาํ ได, ผทู พี่ อจะคอ ยชแี้ จงแนะนาํ ใหเ ขา ใจได ดว ยวธิ กี ารฝก สอนอบรม
ตอ ไป — Neyya: a person who is guidable; the trainable)
4. ปทปรมะ (ผมู ีบทเปนอยา งย่งิ , ผอู บั ปญ ญา สอนใหรไู ดแตเ พยี งตัวบทคอื พยัญชนะ หรือ
ถอยคาํ ไมอาจเขา ใจอรรถคอื ความหมาย — Padaparama: a person who has just word

of the text at most; an idiot)

A.II.135; Pug 41; Nett.7,125. องฺ.จตุกกฺ .21/133/183; อภ.ิ ปุ.36/108/185.

[154] ปฏิปทา 4 (แนวปฏบิ ตั ,ิ ทางดําเนนิ , การปฏบิ ตั ิแบบทเี่ ปน ทางดาํ เนนิ ใหถึงจดุ หมาย
คือความหลดุ พน หรือความสิ้นอาสวะ — Pañipadà: modes of practice; modes of

progress to deliverance)
1. ทกุ ฺขา ปฏิปทา ทนฺธาภิ ฺา (ปฏิบตั ิลาํ บาก ท้ังรไู ดช า เชนผูปฏิบัตทิ ีม่ ีราคะ โทสะ โมหะ

แรงกลา ตองเสวยทกุ ขโทมนสั เน่อื งจากราคะ โทสะ โมหะนน้ั อยูเ นอื งๆ หรอื เจรญิ กรรมฐานทม่ี ี

อารมณไ มนาชนื่ ใจ เชน อสุภะ เปนตน อกี ทง้ั อนิ ทรียก ็ออน จึงบรรลุโลกตุ ตรมรรคลา ชา พระ
จกั ขุบาลอาจเปนตัวอยางในขอนีไ้ ด — Dukkhà pañipadà dandhàbhi¤¤à: painful progress

with slow insight)
2. ทกุ ขฺ า ปฏปิ ทา ขปิ ปฺ าภิ ฺ า (ปฏบิ ตั ลิ าํ บาก แตร ไู ดเ รว็ เชน ผปู ฏบิ ตั ทิ ม่ี รี าคะ โทสะ โมหะแรง

กลา ตอ งเสวยทกุ ขโ ทมนสั เนอื่ งจากราคะ โทสะ โมหะนน้ั อยเู นอื งๆ หรอื เจรญิ กรรมฐานทมี่ อี ารมณไ ม

นา ชน่ื ใจ เชน อสภุ ะ เปน ตน แตม อี นิ ทรยี แ กก ลา จงึ บรรลโุ ลกตุ ตรมรรคเรว็ ไว บาลยี กพระมหา
โมคคลั ลานะเปน ตวั อยา ง — Dukkhà pañipadà khippàbhi¤¤à: painful progress with quick

insight)
3. สขุ า ปฏิปทา ทนฺธาภิฺา (ปฏบิ ัตสิ บาย แตรูไดช า เชน ผปู ฏบิ ัตทิ ม่ี ีราคะ โทสะ โมหะไม

แรงกลา ไมตอ งเสวยทกุ ขโ ทมนสั เนอ่ื งจากราคะ โทสะ โมหะนัน้ เนืองนติ ย หรอื เจรญิ สมาธิได
ฌาน 4 อนั เปนสุขประณตี แตม อี ินทรยี ออน จึงบรรลุโลกตุ ตรมรรคลา ชา — Sukhà pañipadà
dandhàbhi¤¤à: pleasant progress with slow insight)
4. สขุ า ปฏปิ ทา ขปิ ปฺ าภิ ฺ า (ปฏบิ ตั สิ บาย ทง้ั รไู ดไ ว เชน ผปู ฏบิ ตั ทิ ม่ี รี าคะ โทสะ โมหะไมแ รง

กลา ไมต อ งเสวยทกุ ขโ ทมนสั เนอ่ื งจากราคะ โทสะ โมหะนน้ั เนอื งนติ ย หรอื เจรญิ สมาธไิ ดฌ าน 4 อนั

เปน สขุ ประณตี อกี ทงั้ มอี นิ ทรยี แ กก ลา จงึ บรรลโุ ลกตุ ตรมรรคเรว็ ไว บาลยี กพระสารบี ตุ รเปน ตวั อยา ง
— Sukhà pañipadà khippàbhi¤¤à: pleasant progress with quick insight)

A.II.149–152,154–5. อง.ฺ จตุกฺก.21/161–3/200–4; 167–8/207–9.

หมวด 4 121 [157]

[155] ปฏิสัมภิทา 4 (ปญญาแตกฉาน — Pañisambhidà: analytic insight;

penetrating insight; discrimination)
1. อัตถปฏิสมั ภทิ า (ปญญาแตกฉานในอรรถ, ปรีชาแจง ในความหมาย, เหน็ ขอธรรมหรอื

ความยอ ก็สามารถแยกแยะอธิบายขยายออกไปไดโ ดยพิสดาร เห็นเหตอุ ยางหนึ่ง กส็ ามารถคดิ
แยกแยะกระจายเช่อื มโยงตอ ออกไปไดจ นลว งรูถึงผล — Attha-pañisambhidà: discrimi-

nation of meanings; analytic insight of consequence)
2. ธมั มปฏสิ มั ภทิ า (ปญ ญาแตกฉานในธรรม, ปรชี าแจง ในหลกั , เหน็ อรรถาธบิ ายพสิ ดาร ก็

สามารถจบั ใจความมาตง้ั เปน กระทหู รอื หวั ขอ ได เหน็ ผลอยา งหนง่ึ กส็ ามารถสบื สาวกลบั ไปหาเหตุ
ได — Dhamma-pañisambhidà: discrimination of ideas; analytic insight of origin)
3. นริ ตุ ติปฏสิ ัมภทิ า (ปญ ญาแตกฉานในนริ ุกต,ิ ปรีชาแจงในภาษา, รศู พั ท ถอ ยคําบญั ญัติ
และภาษาตางๆ เขา ใจใชค าํ พูดชแี้ จงใหผอู น่ื เขา ใจและเห็นตามได — Nirutti-pañisambhidà:

discrimination of language; analytic insight of philology)
4. ปฏภิ าณปฏสิ มั ภทิ า (ปญ ญาแตกฉานในปฏภิ าณ, ปรชี าแจง ในความคดิ ทนั การ, มไี หวพรบิ

ซมึ ซาบในความรูท ี่มีอยู เอามาเชอื่ มโยงเขาสรางความคดิ และเหตุผลขึ้นใหม ใชป ระโยชนไ ดสบ
เหมาะ เขา กบั กรณเี ขา กบั เหตกุ ารณ — Pañibhàõa-pañisambhidà: discrimination of

sagacity; analytic insight of ready wit; initiative, creative and applicative insight)

A.II.160; Ps.I.119; Vbh.294. องฺ.จตกุ ฺก.21/172/216; ข.ุ ปฏ.ิ 31/268/175; อภิ.วิ.35/784/400.

[156] ปธาน 4 (ความเพียร — Padhàna: effort; exertion)

1. สงั วรปธาน (เพยี รระวงั หรือเพยี รปด กั้น คือ เพียรระวังยบั ยง้ั บาปอกุศลธรรมทย่ี ังไมเกดิ มิ
ใหเกดิ ขึน้ — Sa§vara-padhàna: the effort to prevent; effort to avoid)
2. ปหานปธาน (เพียรละหรือเพียรกําจัด คือ เพียรละบาปอกศุ ลธรรมทเี่ กิดขนึ้ แลว —
Pahàna-padhàna: the effort to abandon; effort to overcome)
3. ภาวนาปธาน (เพยี รเจริญ หรอื เพียรกอใหเกดิ คอื เพยี รทํากศุ ลธรรมที่ยังไมเ กดิ ใหเ กิดมี
ขนึ้ — Bhàvanà-padhàna: the effort to develop)
4. อนรุ ักขนาปธาน (เพียรรักษา คอื เพียรรักษากุศลธรรมทเี่ กดิ ขนึ้ แลวใหต งั้ ม่ัน และให
เจริญย่ิงขน้ึ ไปจนไพบูลย — Anurakkhanà-padhàna: the effort to maintain)

ปธาน 4 นี้ เรียกอกี อยางวา สัมมปั ปธาน 4 (ความเพยี รชอบ, ความเพยี รใหญ —
Sammappadhàna: right exertions; great or perfect efforts)

A.II.74,16,15. องฺ.จตกุ ฺก.21/69/96; 14/20; 13/19.

[157] ปรมัตถธรรม 4 (สภาวะท่ีมีอยูโดยปรมัตถ, สิ่งท่ีเปนจริงโดยความหมายสูง

สุด — Paramattha-dhamma: ultimate realities; abstract realities; realities in the

[158] 122 พจนานุกรมพทุ ธศาสตร

ultimate sense)
1. จิต (สภาพที่คิด, ภาวะท่รี ูแจงอารมณ — Citta: consciousness; state of conscious-

ness)
2. เจตสิก (สภาวะท่ีประกอบกบั จิต, คณุ สมบัตแิ ละอาการของจิต — Cetasika: mental

factors)
3. รูป (สภาวะที่เปนราง พรอมทัง้ คุณและอาการ — Råpa: matter; corporeality)
4. นิพพาน (สภาวะทสี่ ิ้นกเิ ลสและทกุ ขท้ังปวง, สภาวะท่ีปราศจากตัณหา — Nibbàna)

ดู รายละเอียดแตล ะอยา งใน [356] จิต 89; [355] เจตสิก 52; [38] รปู 28; [27] นิพพาน 2.

Comp.81. สงคฺ ห.1.

[158] ประมาณ หรอื ปมาณิก 4 (บุคคลท่ถี อื ประมาณตางๆ กัน, คนในโลกผถู ือเอา

คุณสมบัติตางๆ กัน เปนเครื่องวัดในการที่จะเกิดความเช่ือความเล่ือมใส — Pamàõa,
Pamàõika: those who measure, judge or take standard)
1. รูปประมาณ (ผูถือประมาณในรปู , บคุ คลท่ีมองเหน็ รปู รา งสวยงาม ทรวดทรงดี อวยั วะ
สมสวน ทา ทางสงา สมบรู ณพ รอม จงึ ชอบใจเล่ือมใสนอมใจท่ีจะเชอ่ื ถอื — Råpa-pamàõa:

one who measures by form or outward appearance; one whose faith depends on

good appearance)
2. โฆษประมาณ (ผถู ือประมาณในเสียง, บุคคลทไ่ี ดย ินไดฟ ง เสยี งสรรเสรญิ เกยี รตคิ ุณหรือ
เสียงพดู จาทไี่ พเราะ จึงชอบใจเลื่อมใสนอ มใจท่จี ะเช่อื ถอื — Ghosa-pamàõa: one who

measures by voice or reputation; one whose faith depends on sweet voice or

good reputation)
3. ลูขประมาณ (ผถู ือประมาณในความคร่าํ หรอื เศราหมอง, บคุ คลทีม่ องเหน็ ส่ิงของเครอ่ื งใช

ความเปนอยูท่ีเศราหมอง เชน จีวรคราํ่ ๆ เปนตน หรือมองเห็นการกระทาํ ครํ่าเครียดเปน

ทุกรกิริยา ประพฤติเครงครัดเขมงวดขูดเกลาตน จึงชอบใจเล่ือมใสนอมใจที่จะเช่ือถือ —
Låkha-pamàõa: one who measures or judges by shabbiness, mediocrity or hard

life; one whose faith depends on shabbiness or ascetic or self-denying practices)
4. ธรรมประมาณ (ผูถอื ประมาณในธรรม, บคุ คลทีพ่ ิจารณาดว ยปญ ญาเหน็ สารธรรมหรือการ
ปฏิบตั ิดปี ฏิบัติชอบ คือ ศีล สมาธิ ปญ ญา จึงชอบใจเลือ่ มใสนอ มใจท่จี ะเชือ่ ถอื — Dhamma-
pamàõa: one who measures or judges by the teaching or righteous behaviour;

one whose faith depends on right teachings and practices)

บุคคล 3 จําพวกตน ยงั มีทางพลาดไดม าก โดยอาจเกิดความติดใคร ถูกครอบงาํ ชกั พาไป
ดว ยความหลง ถูกพดั วนเวยี นหรอื ตดิ อยูแ คภายนอก ไมร ูจกั คนที่ตนมองไดอ ยา งแทจ รงิ และ
ไมเ ขาถงึ สาระ สวนผูถือธรรมเปน ประมาณ จึงจะรชู ดั คนท่ีตนมองอยางแทจ รงิ ไมถูกพัดพาไป

หมวด 4 123 [160]

เขาถงึ ธรรมทป่ี ราศจากสงิ่ ครอบคลุม

พระพทุ ธเจา ทรงมีพระคุณสมบัตสิ มกบั ทั้งสขี่ อ (เฉพาะขอ 3 ทรงถอื แตพอดี) จงึ ทรง

ครองใจคนทกุ จําพวกไดทัง้ หมด คนท่ีเหน็ พระพทุ ธเจาแลว ท่จี ะไมเลอ่ื มใสนั้น หาไดยากยงิ่ นัก
ในช้ันอรรถกถา นิยมเรียกบคุ คล 4 ประเภทน้วี า รปู ป ปมาณิกา โฆสัปปมาณกิ า

ลูขัปปมาณกิ า และ ธมั มัปปมาณกิ า ตามลาํ ดบั

A.II.71; Pug.7,53; DhA.114; SnA.242. อง.ฺ จตุกกฺ .21/65/93; อภิ.ป.ุ 36/10/135; 133/204; ธ.อ.5/100; สุตฺต.อ.1/329.

[159] ปจจัย 4 (สงิ่ คา้ํ จนุ ชีวิต, ส่ิงจําเปน เบ้ืองตนของชีวิต, สงิ่ ทีต่ อ งอาศยั เลี้ยงอัตภาพ —
Paccaya: the four necessities of life; requisites)

1. จวี ร (ผา นงุ หม — Cãvara: robes; clothing)

2. บิณฑบาต (อาหาร — Piõóapàta: almsfood; food)

3. เสนาสนะ (ท่ีอยูอาศยั , ทน่ี ัง่ ท่นี อน — Senàsana: lodging)

4. คลิ านปจ จยั เภสชั บรขิ าร หรอื เภสชั (ยาและอปุ กรณร กั ษาโรค — Bhesajja: medicine;

medical equipment)

ส่อี ยา งนี้ สาํ หรับภกิ ษุ จาํ กดั เขา อกี เรยี กวา นสิ สัย 4 แปลวา เครอ่ื งอาศยั ของบรรพชิต
(Nissaya: resources; means of support on which the monastic life depends)
1. ปณ ฑิยาโลปโภชนะ (โภชนะคอื คาํ ขา วทไี่ ดมาดวยกาํ ลังปลแี ขง — Piõóiyàlopa-bhojana:

almsfood of scraps; food obtained by going on the alms-gathering)
2. บงั สุกุลจีวร (ผา ทเ่ี ขาทง้ิ ตามกองขยะหรอื ตามปา ชา — Pa§sukålacãvara: discarded

cloth taken from the rubbish heap or the charnel ground; rag-robes)
3. รกุ ขมลู เสนาสนะ (อยอู าศยั โคนไม — Rukkhamålasenàsana: dwelling at the foot

of a tree)

4. ปูติมุตตเภสชั (ยานํา้ มตู รเนา — Påtimuttabhesajja: medicines pickled in stale
urine: ammonia as a medicine)

สว นทอ่ี นญุ าตนอกเหนอื จากนเ้ี ปน อดเิ รกลาภ (extra acquisitions; extra allowance)

Vin.I.58. วินย.4/87/106.

[,,,] ปญญาวุฒิธรรม 4 ดู [179] วฒุ ธิ รรม 4

[160] ปาริสุทธิศีล 4 (ศีลคือความบรสิ ทุ ธ์,ิ ศีลเครื่องใหบ รสิ ทุ ธ,ิ์ ความประพฤติ
บริสทุ ธ์ทิ ่จี ดั เปนศีล — Pàrisuddhi-sãla: morality consisting in purity; morality for

purification; morality of pure conduct)
1. ปาฏิโมกขสังวรศีล (ศีลคือความสํารวมในพระปาฏิโมกข เวนจากขอหาม ทําตามขอ
อนญุ าต ประพฤติเครง ครัดในสิกขาบทท้ังหลาย — Pàñimokkhasa§vara-sãla: restraint in

[161] 124 พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร

accordance with the monastic disciplinary code)
2. อินทรยี สังวรศลี (ศีลคือความสาํ รวมอนิ ทรยี  ระวังไมใหบ าปอกศุ ลธรรมครอบงาํ เมอ่ื รบั รู
อารมณด ว ยอนิ ทรยี ท งั้ 6 — Indriyasa§vara-sãla: restraint of the senses; sense-control)
3. อาชวี ปารสิ ทุ ธศิ ีล (ศลี คอื ความบริสทุ ธิ์แหงอาชีวะ เลยี้ งชีวติ โดยทางท่ีชอบ ไมป ระกอบ
อเนสนา มีหลอกลวงเขาเลยี้ งชพี เปนตน — âjãvapàrisuddhi-sãla: purity of conduct as

regards livelihood)
4. ปจ จยั สนั นสิ ติ ศีล (ศีลท่ีเกี่ยวกบั ปจ จัย 4 ไดแ กปจจยั ปจจเวกขณ คือพิจารณาใชส อย

ปจจัยส่ี ใหเปนไปตามความหมายและประโยชนของส่ิงนั้น ไมบริโภคดวยตัณหา —
Paccayasannissita-sãla: pure conduct as regards the necessities of life)

Vism.16; Comp.212. วสิ ทุ ฺธิ.1/19; สงคฺ ห.55.

[,,,] ผล 4 ดู [165] ผล 4.

[,,,] พร 4 ดู [227] พร 5.

[161] พรหมวิหาร 4 (ธรรมเครื่องอยอู ยา งประเสรฐิ , ธรรมประจําใจอันประเสรฐิ , หลกั

ความประพฤตทิ ีป่ ระเสรฐิ บรสิ ทุ ธ์,ิ ธรรมท่ตี องมีไวเ ปนหลักใจและกาํ กบั ความประพฤติ จึงจะช่อื
วาดําเนินชวี ิตหมดจด และปฏิบตั ิตนตอมนุษยสตั วทง้ั หลายโดยชอบ — Brahmavihàra: holy

abidings; sublime states of mind)

1. เมตตา (ความรกั ปรารถนาดอี ยากใหเขามคี วามสุข มีจติ อนั แผไมตรแี ละคิดทําประโยชนแก
มนุษยส ัตวท่ัวหนา — Mettà: loving-kindness; friendliness; goodwill)
2. กรุณา (ความสงสาร คดิ ชวยใหพ นทกุ ข ใฝใจในอนั จะปลดเปล้ืองบําบัดความทุกขยากเดอื ด
รอ นของปวงสัตว — Karuõà: compassion)
3. มุทติ า (ความยนิ ดี ในเมอ่ื ผอู น่ื อยูด ีมสี ขุ มจี ิตผอ งใสบันเทิง กอปรดว ยอาการแชม ชื่นเบิก

บานอยเู สมอ ตอ สัตวท้ังหลายผูดํารงในปกตสิ ุข พลอยยินดดี วยเมือ่ เขาไดดีมสี ุข เจริญงอกงาม
ยิง่ ข้ึนไป — Mudità: sympathetic joy; altruistic joy)
4. อุเบกขา (ความวางใจเปนกลาง อันจะใหด ํารงอยใู นธรรมตามทีพ่ ิจารณาเห็นดว ยปญญา คอื

มีจติ เรียบตรงเทยี่ งธรรมดจุ ตราชู ไมเ อนเอียงดว ยรักและชัง พิจารณาเห็นกรรมทสี่ ัตวท ้งั หลาย

กระทําแลว อันควรไดรับผลดีหรือช่วั สมควรแกเหตอุ ันตนประกอบ พรอมทจี่ ะวนิ จิ ฉัยและ

ปฏิบัตไิ ปตามธรรม รวมทงั้ รจู ักวางเฉยสงบใจมองดู ในเมอื่ ไมมีกิจทีค่ วรทาํ เพราะเขารับผิดชอบ

ตนไดดแี ลว เขาสมควรรบั ผดิ ชอบตนเอง หรือเขาควรไดรับผลอนั สมกบั ความรับผิดชอบของตน
— Upekkhà: equanimity; neutrality; poise)

ผดู าํ รงในพรหมวหิ าร ยอ มชวยเหลอื มนษุ ยส ตั วท้ังหลายดวยเมตตากรุณา และยอ มรกั ษา
ธรรมไวไ ดดว ยอุเบกขา ดังนัน้ แมจะมกี รุณาทจี่ ะชว ยเหลอื ปวงสัตวแ ตก ต็ อ งมีอุเบกขาดวยท่จี ะมิ
ใหเสียธรรม

หมวด 4 125 [161]

พรหมวิหารนี้ บางทีแปลวา ธรรมเครอื่ งอยขู องพรหม, ธรรมเครื่องอยอู ยางพรหม, ธรรม
ประจําใจที่ทาํ ใหเปนพรหมหรือใหเสมอดวยพรหม, หรอื ธรรมเครอ่ื งอยขู องทานผูมคี ณุ ยิง่ ใหญ
— (abidings of the Great Ones)

พรหมวหิ าร 4 เรียกอกี อยา งวา อปั ปมัญญา 4 (Appama¤¤à: unbounded states of
mind; illimitables) เพราะแผส ม่าํ เสมอโดยท่วั ไปในมนษุ ยสตั วท ง้ั หลาย ไมมีประมาณ ไม
จาํ กดั ขอบเขต

พรหมวหิ ารมใี นผใู ด ยอ มทาํ ใหผ นู นั้ ประพฤตปิ ฏบิ ตั เิ กอ้ื กลู แกผ อู น่ื ดว ยสงั คหวตั ถเุ ปน ตน .
อนง่ึ ในการที่จะเขาใจและปฏิบัติพรหมวิหาร 4 ใหถูกตอง พึงทราบรายละเอียดบางอยา ง
โดยเฉพาะสมบตั ิ และวิบตั ิ ของธรรม 4 ประการนนั้ ดังน้ี

ก. ความหมายโดยวเิ คราะหศัพท

1. เมตตา = (มนี าํ้ ใจ)เยอื่ ใยใฝป ระโยชนส ขุ แกค นสตั วท ง้ั หลาย หรอื นา้ํ ใจปรารถนาประโยชนส ขุ ที่
เปนไปตอ มติ ร
2. กรุณา = ทาํ ความสะเทือนใจแกสาธุชน เม่อื คนอื่นประสบทุกข หรอื ถา ยถอนทําทุกขของผอู ่ืน
ใหห มดไป หรือแผใ จไปรับรูตอคนสตั วท้งั หลายทีป่ ระสบทกุ ข
3. มุทิตา = โมทนายนิ ดีตอ ผปู ระกอบดวยสมบตั ิหรือผลดนี ้ันๆ
4. อุเบกขา = คอยมองดอู ยู โดยละความขวนขวายวา สัตวท งั้ หลายจงอยา ผูกเวรกนั เปนตน
และโดยเขาถงึ ความเปนกลาง

ข. ลกั ษณะ หนาท่ีหรอื กิจ (รส) ผลปรากฏ (ปจจุปฏ ฐาน) และปทสั ถาน (เหตุใกล)

1. เมตตา = (ในสถานการณท่ีคนอ่นื อยูเปน ปกต)ิ

ลกั ษณะ = เปน ไปโดยอาการเกือ้ กูลแกคนสตั วท งั้ หลาย
หนาท่ี = นอมนาํ ประโยชนเ ขา ไปใหแกเขา
ผลปรากฏ = กําจดั ความอาฆาตแคนเคืองใหป ราศไป
ปทสั ถาน = เหน็ ภาวะท่นี าเจริญใจของคนสตั วท งั้ หลาย

2. กรุณา = (ในสถานการณทค่ี นอน่ื ตกทุกขเ ดอื ดรอน)

ลกั ษณะ = เปนไปโดยอาการปลดเปลอ้ื งทกุ ขแกคนสตั วท ้งั หลาย
หนาท่ี = ไมน งิ่ ดดู าย/ทนนง่ิ อยไู มไดต อ ทุกขข องคนสตั วทัง้ หลาย
ผลปรากฏ = ไมเ บยี ดเบยี น/อวิหิงสา
ปทสั ถาน = เห็นภาวะไรท ีพ่ ่ึง/สภาพนาอนาถของคนสตั วทั้งหลายท่ีถูกทกุ ขค รอบงํา

3. มทุ ติ า = (ในสถานการณท่ีคนอ่ืนมีสขุ สาํ เรจ็ หรือทาํ อะไรกาวไปดวยดี)

ลกั ษณะ = พลอยยินดี/ยนิ ดีดว ย
หนาที่ = ไมริษยา/เปน ปฏปิ กษตอความรษิ ยา
ผลปรากฏ = ขจดั ความรษิ ยา ความไมยนิ ดหี รือความทนไมไดตอ ความสขุ สาํ เร็จของผูอ่นื

[161] 126 พจนานุกรมพทุ ธศาสตร

ปทัสถาน = เหน็ สมบตั /ิ ความสําเรจ็ ของคนสตั วทงั้ หลาย

4. อเุ บกขา = (ในสถานการณรกั ษาธรรมตามความรบั ผดิ ชอบตอ กรรมทเ่ี ขาทาํ )

ลกั ษณะ = เปนไปโดยอาการเปน กลางตอคนสตั วท ้งั หลาย
หนาที่ = มองเหน็ ความเสมอภาคกนั ในสตั วทงั้ หลาย
ผลปรากฏ = ระงับความขัดเคอื งเสยี ใจและความคลอ ยตามดีใจ
ปทัสถาน = มองเหน็ ภาวะท่ที ุกคนเปน เจา ของกรรมของตน วา สัตวท้ังหลายจักไดส ุข พน ทุกข

ไมเ สอื่ มจากสมบตั ิท่ไี ดท ี่ถึง ตามใจชอบไดอยา งไร

ค. สมบัติ (ความสมบรู ณหรือความสมั ฤทธิ์ผล) และวบิ ัติ (ความลมเหลว หรอื การปฏิบตั ผิ ิด
พลาด ไมสําเรจ็ ผล)
1. เมตตา: สมบตั ิ = สงบหายไรค วามแคนเคอื งไมพอใจ

วบิ ตั ิ = เกิดเสนหา
2. กรุณา: สมบัติ = สงบหายไรวิหงิ สา

วบิ ตั ิ = เกดิ ความโศกเศรา
3. มุทิตา: สมบตั ิ = สงบหายไรความริษยา

วบิ ตั ิ = เกดิ ความสนกุ สนาน
4. อุเบกขา: สมบัติ = สงบหายไมม ีความยินดียนิ รา ย

วิบตั ิ = เกิดความเฉยดว ยไมร ู (เฉยโง เฉยเมย เฉยเมนิ )
ง. ขาศึก คือ อกศุ ลซ่งึ เปน ศตั รูคปู รบั ท่จี ะทาํ ลายหรอื ทาํ ธรรมนนั้ ๆ ใหเสียไป
1. เมตตา: ขาศกึ ใกล = ราคะ

ขาศึกไกล = พยาบาท คอื ความขดั เคอื งไมพ อใจ
2. กรณุ า: ขาศกึ ใกล = โทมนสั คอื ความโศกเศราเสยี ใจ

ขาศึกไกล = วิหงิ สา
3. มุทิตา: ขา ศึกใกล = โสมนสั (เชน ดใี จวา ตนจะพลอยไดรบั ผลประโยชน)

ขาศกึ ไกล = อรติ คือความไมย นิ ดี ไมใ ยดี รษิ ยา
4. อุเบกขา: ขา ศึกใกล = อญั ญาณุเบกขา (เฉยไมร ูเร่อื ง เฉยโง เฉยเมย)

ขาศึกไกล = ราคะ (ความใคร) และปฏิฆะ (ความเคอื ง) หรือชอบใจและขดั ใจ
จ. ตวั อยางมาตรฐาน ทแ่ี สดงความหมายของพรหมวิหารไดช ัด ซ่ึงคัมภีรทงั้ หลายมักยกขึน้ อาง

1. เมอ่ื ลกู ยังเล็กเปน เดก็ เยาวว ัย
แม – เมตตา รกั ใครเอาใจใส ถนอมเลี้ยงใหเจริญเตบิ โต

2. เมือ่ ลกู เจ็บไขเ กิดมีทุกขภ ัย
แม – กรณุ า หว งใยปกปกรักษา หาทางบําบัดแกไข

หมวด 4 127 [163]

3. เมอ่ื ลูกเจรญิ วัยเปนหนมุ สาวสวยสงา

แม – มุทติ า พลอยปลาบปลม้ื ใจ หวงั ใหล กู งามสดใสอยูนานเทา นาน

4. เมื่อลกู รบั ผิดชอบกจิ หนาท่ขี องตนขวนขวายอยดู ว ยดี

แม – อเุ บกขา มีใจน่ิงสงบเปน กลาง วางเฉยคอยดู

พึงทราบดว ยวา ฉันทะ คอื กัตตกุ ัมยตาฉนั ทะ (ความอยากจะทาํ ใหด ี หรอื ความตอ งการท่ี

จะทําใหคนสัตวท้ังหลายดีงามสมบูรณปราศจากโทษขอบกพรอง เชน อยากใหเขาประสบ
ประโยชนสุข พนจากทกุ ขเ ปน ตน) เปน จดุ ตั้งตน (อาท)ิ ของพรหมวหิ ารท้งั 4 นี้ การขมระงบั
กเิ ลส (เชนนวิ รณ) ได เปนทามกลาง สมาธิถึงขัน้ อปั ปนา (คอื ภาวะจิตท่ีมน่ั คงเรยี บรื่นสงบสนิท
ดีท่สี ดุ ) เปน ท่ีจบ ของพรหมวหิ ารทัง้ 4 นนั้

AIII.226; Dhs.262; Vism.320. องฺ.ปจฺ ก 22/192/252; อภ.ิ ส.ํ 34/190/75; วิสทุ ธฺ ิ.2/124.

[,,,] พละ ดู [229] พละ 4.

[,,,] พุทธลีลาในการสอน 4 ดู [172] ลลี าการสอน 4.

[,,,] ภาวนา 4 ดู [37] ภาวนา 4.

[,,,] ภาวิต 4 ดู [37] ภาวนา 4.

[162] ภูมิ 4 (ชัน้ แหงจติ , ระดับจติ ใจ, ระดับชวี ิต — Bhåmi: planes of consciousness;

planes of existence; degrees of spiritual development)
1. กามาวจรภมู ิ (ชัน้ ทีท่ องเท่ียวอยใู นกาม, ระดบั จติ ใจทย่ี งั ปรารภกามเปนอารมณ คือยังเก่ียว
ของกับกามคุณ, ระดับจิตใจของสัตวในกามภพทั้ง 11 ชั้น — Kàmàvacara-bhåmi:

Sensuous Plane)

2. รปู าวจรภมู ิ (ช้ันที่ทองเทย่ี วอยูในรปู , ระดบั จติ ใจทีป่ รารภรปู ธรรมเปน อารมณ, ระดบั จติ ใจ
ของทา นผไู ดฌ านหรอื ผูอยูในรปู ภพทง้ั 16 ชนั้ — Råpàvacara-bhåmi: form-plane)
3. อรูปาวจรภูมิ (ชั้นทที่ อ งเท่ียวอยใู นอรปู , ระดบั จติ ใจทปี่ รารภอรูปธรรมเปนอารมณ, ระดับ
จิตใจของทา นผูไดอ รปู ฌาน หรอื ผูอยใู นอรปู ภพทงั้ 4 ชน้ั — Aråpàvacara-bhåmi: Formless

Plane)
4. โลกตุ ตรภูมิ (ชน้ั ทพ่ี น จากโลก, ระดบั แหง โลกตุ ตรธรรม, ระดบั จติ ใจของพระอรยิ เจา อนั พน
แลว จากโลกยี ภมู ิ 3 ขางตน — Lokuttara-bhåmi: supramundane plane) ขอน้ใี นบาลที ่มี า

เรยี กวา อปรยิ าปนนภูมิ (ขัน้ ท่ไี มน ับเนอื่ งในวัฏฏะ, ระดบั ทไี่ มถกู จํากดั — unbelonging or

unlimited plane).

ดู [98] ภพ 3 และ [351] ภูมิ 4, 31 ดวย.

Ps.I.83. ข.ุ ปฏิ.31/171/122.

[163] โภควิภาค 4 (การแบง โภคะเปน 4 สวน, หลักการแบงทรัพยโดยจัดสรรเปน 4

[164] 128 พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร

สวน — Bhogavibhàga: fourfold division of money)
1. เอเกน โภเค ภุฺเชยยฺ (1 สว น ใชจ ายเล้ียงตน เล้ียงคนท่ีควรบํารงุ และทําประโยชน —

On one part he should live and do his duties towards others.)
2.–3. ทฺวีหิ กมมฺ ํ ปโยชเย (2 สว น ใชลงทนุ ประกอบการงาน — With two parts he

should expand his business)
4. จตตุ ฺถฺจ นิธาเปยฺย (อกี 1 สวน เกบ็ ไวใชในคราวจําเปน — And he should save the

fourth for a rainy day.)

D.III.188. ท.ี ปา.11/197/202.

[164] มรรค 4 (ทางเขาถงึ ความเปน อริยบคุ คล, ญาณท่ีทําใหล ะสงั โยชนไดขาด — Magga:

the path)

1. โสดาปต ตมิ รรค (มรรคอนั ใหถ งึ กระแสทนี่ าํ ไปสพู ระนพิ พานทแี รก, มรรคอนั ใหถ งึ ความเปน
พระโสดาบนั เปน เหตลุ ะสงั โยชนไ ด 3 คอื สกั กายทฏิ ฐิ วจิ กิ จิ ฉา สลี พั พตปรามาส — Sotàpatti-
magga: the Path of Stream-Entry)
2. สกทาคามิมรรค (มรรคอันใหถ งึ ความเปน พระสกทาคามี เปน เหตลุ ะสงั โยชนได 3 ขอตน
กบั ทาํ ราคะ โทสะ โมหะ ใหเ บาบางลง — Sakadàgàmi-magga: the Path of Once-Returning)
3. อนาคามมิ รรค (มรรคอันใหถึงความเปนพระอนาคามี เปนเหตลุ ะสังโยชนเ บ้ืองตาํ่ ไดท ง้ั 5
— Anàgàmi-magga: the Path of Non-Returning)
4. อรหตั ตมรรค (มรรคอันใหถึงความเปน พระอรหันต เปนเหตุละสังโยชนไดห มดทง้ั 10 —
Arahatta-magga: the Path of Arahantship)

ดู [329] สังโยชน 101.

Vbh.335. อภ.ิ ว.ิ 35/837/453.

[165] ผล 4 (ผลท่เี กดิ สืบเนอ่ื งจากการละกเิ ลสไดด วยมรรค, ธรรมารมณอันพระอรยิ ะพงึ
เสวย ท่เี ปนผลเกิดเองในเม่อื กเิ ลสส้นิ ไปดว ยอํานาจมรรคนน้ั ๆ — Phala: fruition)

1. โสดาปต ติผล (ผลแหง การเขาถึงกระแสท่ีนําไปสูพระนพิ พาน, ผลอนั พระโสดาบนั พงึ เสวย
— Sotàpatti-phala: the Fruition of Stream-Entry)

2. สกทาคามิผล (ผลอนั พระสกทาคามีพึงเสวย — Sakadàgàmi-phala: the Fruition of

Once-Returning)
3. อนาคามผิ ล (ผลอันพระอนาคามพี งึ เสวย — Anàgàmi-phala: the Fruition of Non-

Returning)
4. อรหตั ตผล (ผลคือความเปน พระอรหนั ต, ผลอันพระอรหันตพ งึ เสวย — Arahatta-phala:

the Fruition of Arahantship)
ผล 4 น้ี บางทีเ่ รียกวา สามัญญผล (ผลของความเปน สมณะ, ผลแหง การบาํ เพญ็ สมณ-

หมวด 4 129 [166]

ธรรม — Sàma¤¤a-phala: fruits of a monk’s life; fruits of the monkhood)

D.III.227; Vbh.335. ที.ปา.11/242/240; อภิ.ว.ิ 35/837/453.

[166] มหาปเทส 41 (ท่ีอางอิงขอใหญ, หลักใหญสําหรับอางเพื่อสอบสวนเทียบเคียง
หมวดที่ 1 วา ดว ยหลกั ทวั่ ไป — Mahàpadesa: great authorities; principal references

or citations)

1. หากมภี กิ ษกุ ลา ววา ขา พเจา ไดส ดับรับมาเฉพาะพระพกั ตรข องพระผมู ีพระภาควา น้ีเปน ธรรม

นเ้ี ปนวนิ ัย น้เี ปนสัตถุสาสน (A monk might say: “Face to face with the Blessed One
did I hear this; face to face with him did I receive this. This is the Doctrine, this

is the Discipline, this is the Master’s teaching.”)

2. หากมภี ิกษุกลา ววา ในอาวาสช่ือโนน มสี งฆอ ยู พรอมดวยพระเถระ พรอ มดว ยปาโมกข

ขาพเจา ไดส ดบั รับมาเฉพาะหนา สงฆน นั้ วา น้ีเปน ธรรม น้ีเปนวินยั นี้เปนสัตถุสาสน (A monk
might say: “In such and such a monastery resides an Order together with an elder
monk, together with a leader. Face to face with that Order did I hear this; ...)

3. หากมภี กิ ษกุ ลา ววา ในอาวาสชอ่ื โนน มภี กิ ษผุ เู ปน พระเถระอยจู าํ นวนมาก เปน พหสู ตู ถงึ อาคม

(คอื ชาํ นาญในพทุ ธพจนท งั้ 5 นกิ าย) ทรงธรรม ทรงวนิ ยั ทรงมาตกิ า ขา พเจา ไดส ดบั รบั มาเฉพาะ
หนา พระเถระเหลา นน้ั วา นเี้ ปน ธรรม นเ้ี ปน วนิ ยั นเ้ี ปน สตั ถสุ าสน (A monk might say: “In
such and such a monastery reside a great number of elder monks, widely learned,

versed in the Collections, expert on the Doctrine, expert on the Discipline, expert

on the Summaries. In the presence of those monks did I hear this; ...)

4. หากมีภกิ ษกุ ลา ววา ในอาวาสชือ่ โนน มีภิกษุผูเปน พระเถระอยรู ูปหนึ่ง เปนพหูสตู ถึงอาคม

ทรงธรรม ทรงวินยั ทรงมาตกิ า ขาพเจา ไดส ดบั รบั มาเฉพาะหนา พระเถระรปู น้นั วา นี้เปนธรรม นี้
เปนวนิ ัย นีเ้ ปน สัตถสุ าสน (A monk might say: “In such and such a monastery
resides an elder monk of wide learning ...)

เธอทงั้ หลาย ยงั ไมพงึ ช่นื ชม ยังไมพงึ คัดคานคาํ กลา วของผนู ัน้ พงึ เรยี นบทและพยัญชนะ
(ทั้งขอความและถอ ยคาํ ) เหลานั้นใหด ีแลว พึงสอบดูในสูตรเทียบดใู นวินยั (The words of
that monk are neither to be welcomed nor scorned, the words and syllables
thereof are to be studied thoroughly, laid beside the Discourses and compared
with the Discipline.)

ก. ถาบทและพยญั ชนะเหลา นัน้ สอบลงในสูตรกไ็ มไ ด เทียบเขาในวินัยกไ็ มได พงึ ลงสันนิษฐาน
วา นมี้ ใิ ชดํารสั ของพระผมู ีพระภาคแนน อน ภิกษุนี้ (สงฆนัน้ พระเถระเหลานน้ั พระเถระรูปนน้ั )
ถอื ไวผดิ พงึ ท้ิงเสีย (If, when laid beside the Discourses and compared with the
Discipline, these words and syllables lie not along with the Discourses and
agree not with the Discipline then you may come to the conclusion: Surely this

[167] 130 พจนานุกรมพทุ ธศาสตร

is not the word of the Blessed One, and it has been wrongly grasped by that
monk. Then reject it.

ข. ถา บทและพยญั ชนะเหลานน้ั สอบลงในสูตรก็ได เทยี บเขาในวนิ ยั กไ็ ด พงึ ลงสันนษิ ฐานวา น้ี
เปนดาํ รสั ของพระผมู ีพระภาคแนแ ท ภิกษนุ ี้ (สงฆน ั้น พระเถระเหลานัน้ พระเถระรูปนัน้ ) รบั มา
ดว ยดี (If, ... they lie along with the Discourses and agree with the Discipline...
Surely this is the word of the Blessed One ...)

โดยสรปุ คอื การยกขอ อา งหรอื หลกั ฐาน 4 (the four principal appeals to authority) คอื
1. พุทธาปเทส (ยกเอาพระพุทธเจาข้ึนอาง — Buddhàpadesa: the appeal to the

Enlightened One as authority)
2. สงั ฆาปเทส (ยกเอาคณะสงฆข้ึนอา ง — Saïghàpadesa: the appeal to a community

of monks or an Order as authority)
3. สัมพหุลัตเถราปเทส (ยกเอาพระเถระจาํ นวนมากข้นึ อา ง — Sambahulattheràpadesa:

the appeal to a number of elders as authority) เรียกงายๆ วา สัมพหลุ เถราปเทส

4. เอกตั เถราปเทส (ยกเอาพระเถระรูปหน่ึงขนึ้ อา ง — Ekattheràpadesa: the appeal to a

single elder as authority) เรียกงา ยๆ วา เอกเถราปเทส

ในคมั ภีรรนุ ฎีกา (เชน อง.ฺ ฏ.ี 2/443) เรียกขอที่ 3 วา คณาปเทส (Gaõàpadesa) และขอ ที่
4 วา ปุคคลาปเทส (Puggalàpadesa)

D.II.123; A.II.167. ที.ม.10/113/144; อง.ฺ จตกุ ฺก.21/180/227.

[167] มหาปเทส 42 หมวดท่ี 2 เฉพาะในทางพระวินัย — Mahàpadesa: great

authorities; principal references)
1. สงิ่ ใดไมไ ดท รงหา มไวว า ไมค วร แตเ ขา กนั กบั สง่ิ ทไ่ี มค วร (อกปั ปย ะ) ขดั กบั สงิ่ ทคี่ วร (กปั ปย ะ)
สง่ิ นนั้ ไมค วร

(Whatever has not been objected to as not allowable, if it fits in with what is

not allowable and goes against what is allowable, is not allowable.)
2. สง่ิ ใดไมไ ดท รงหา มไวว า ไมค วร แตเ ขา กนั กบั สงิ่ ทค่ี วร (กปั ปย ะ) ขดั กบั สง่ิ ทไ่ี มค วร (อกปั ปย ะ)
สงิ่ นน้ั ควร

(Whatever has not been objected to as not allowable, if it fits in with what is

allowable and goes against what is not allowable, is allowable.)
3. สง่ิ ใดไมไ ดทรงอนญุ าตไวว า ควร แตเขา กนั กบั สง่ิ ทไี่ มค วร (อกปั ปย ะ) ขดั กบั สง่ิ ทคี่ วร
(กปั ปย ะ) สงิ่ นนั้ ไมค วร

(Whatever has not been permitted as allowable, if it fits in with what is not
allowable and goes against what is allowable, is not allowable.)

หมวด 4 131 [168]

4. สง่ิ ใดไมไ ดท รงอนญุ าตไวว า ควร แตเ ขา กนั กบั สง่ิ ทค่ี วร (กปั ปย ะ) ขดั กบั สงิ่ ทไี่ มค วร (อกปั ปย ะ)
สง่ิ นนั้ ควร

(Whatever has not been permitted as allowable, if it fits in with what is allowable
and goes against what is not allowable, is allowable.)

Vin.I.250. วินย.5/92/131.

[168] มิตรปฏิรูปก หรอื มิตรเทียม 4 (คนเทียมมติ ร, คนท่พี ึงทราบวา เปน ศตั รู
ผูมาในรางของมิตร — Mittapañiråpaka: false friends; foes in the guise of friends)

1. คนปอกลอก คนขนเอาของเพ่อื นไปถายเดียว (อัญญทตั ถุหร — A¤¤adatthuhara:

the out-and-out robber) มลี กั ษณะ 4 คอื

1) คดิ เอาแตไ ดฝ า ยเดียว

2) ยอมเสียนอย โดยหวงั จะเอาใหมาก

3) ตวั มีภยั จงึ มาชว ยทํากิจของเพ่ือน

4) คบเพ่ือน เพราะเห็นแกผลประโยชน

a) He appropriates his friend’s possessions.

b) Giving little, he expects a lot in return.

c) He gives a helping hand only when he himself is in danger.

d) He makes friends with others only for his own interests.

2. คนดแี ตพ ดู (วจบี รม — Vacãparama: the man who pays lip-service) มลี กั ษณะ 4 คอื

1) ดีแตย กของหมดแลว มาปราศรัย

2) ดแี ตอ างของยังไมมมี าปราศรัย

3) สงเคราะหด ว ยส่งิ หาประโยชนมิได

4) เมื่อเพือ่ นมกี จิ อา งแตเหตขุ ัดของ

a) He speaks you fair about the past.

b) He speaks you fair about the future.

c) He tries to gain your favour by empty sayings.

d) When help is needed he points to his own ill luck.

3. คนหัวประจบ (อนปุ ปย ภาณี — Anuppiyabhàõã: the flatterer) มลี กั ษณะ 4 คอื

1) จะทาํ ชั่วก็เออออ

2) จะทําดกี เ็ ออออ

3) ตอหนาสรรเสริญ

4) ลบั หลังนนิ ทา

[169] 132 พจนานกุ รมพุทธศาสตร

a) He consents to your doing wrong.

b) He consents to your doing right.

c) He sings your praises to your face.

d) He runs you down behind your back.

4. คนชวนฉบิ หาย (อปายสหาย — Apàyasahàya: the leader to destruction) มี

ลักษณะ 4 คอื

1) คอยเปน เพ่อื นดื่มน้ําเมา

2) คอยเปนเพอื่ นเท่ียวกลางคืน

3) คอยเปน เพอื่ นเท่ยี วดูการเลน

4) คอยเปนเพือ่ นไปเลน การพนนั

a) He is your companion when you indulge in drinking.

b) He is your companion when you roam the streets at unseemly hours.

c) He is your companion when you frequent shows and fairs.

d) He is your companion when you indulge in gambling.

D.III.185. ท.ี ปา.11/186/199.

[169] สุหทมิตร หรือ มิตรแท 4 (มติ รมใี จด,ี มติ รทีจ่ ริงใจ — Suhadamitta: true

friends; true-hearted friends)

1. มิตรอุปการะ (อุปการกะ — Upakàraka: the helper) มลี ักษณะ 4 คือ

1) เพือ่ นประมาท ชวยรกั ษาเพอื่ น

2) เพ่อื นประมาท ชวยรักษาทรพั ยส ินของเพ่อื น

3) เมื่อมีภัย เปนท่ีพง่ึ พาํ นกั ได

4) มกี จิ จําเปน ชว ยออกทรัพยใหเกนิ กวาท่อี อกปาก

a) He guards you when you are off your guard.

b) He guards your property when you are off your guard.

c) He is a refuge to you when you are in danger.

d) He provides a double supply of what you may ask in time of need.

2. มติ รรว มสุขรวมทกุ ข (สมานสขุ ทกุ ข — Samànasukhadukkha: the man who is the

same in weal and woe) มีลกั ษณะ 4 คอื

1) บอกความลับแกเ พ่อื น

2) ปดความลับของเพือ่ น

3) มีภยั อันตราย ไมละทิ้ง


Click to View FlipBook Version