หมวด 5 183 [251]
ไมคับแคบเอาแตต ัว — Càga: liberality)
5. ปญญา (ความรอบรู รคู ิด รพู จิ ารณา เขา ใจเหตผุ ล รจู ักโลกและชีวติ ตามความเปน จริง —
Pa¤¤à: wisdom)
A.III.80. อง.ฺ ปจฺ ก.22/63–64/91–92.
[250] อายุสสธรรม หรือ อายุวัฒนธรรม 5 (ธรรมทเ่ี ก้อื กลู แกอายุ หรอื ธรรม
ท่ีสง เสรมิ สขุ ภาพ, ธรรมทชี่ ว ยใหอ ายยุ นื — âyussa-dhamma: things conducive to long life)
1. สปั ปายการี (ทาํ สงิ่ ทส่ี บายคอื เออื้ ตอ ชวี ติ — Sappàyakàrã: to do what is suitable for
oneself and favourable to one’s health; to act in accordance with the rules of hygiene)
2. สปั ปายมตั ตญั ู (รจู กั ประมาณในสง่ิ ทสี่ บาย — Sappàye matta¤¤å: to be moderate
even as to things suitable and favourable)
3. ปริณตโภชี (บรโิ ภคสงิ่ ท่ียอยงาย เชน เค้ยี วใหละเอียด — Pariõatabhojã: to eat food
which is ripe or easy to digest)
4. กาลจารี (ประพฤตเิ หมาะในเรอื่ งเวลา เชน รจู กั เวลา ทาํ ถกู เวลา ทาํ เปน เวลา ทาํ พอเหมาะแก
เวลา เปน ตน — Kàlacàrã: to behave oneself properly as regards time and the
spending of time.)
5. พรหมจารี (ถือพรหมจรรย ถึงจะเปนคฤหัสถก็รูจักควบคุมกามารมณเวนเมถุนบาง —
Brahmacàrã: to practise sexual abstinence)
อายุวฒั นธรรมน้ี มีอีกหมวดหนึ่ง สามขอแรกเหมือนกนั แปลกแตข อ 4 และ 5 เปน
4. สลี วา (มีศลี ประพฤตดิ ีงาม ไมท ําความผิด — Sãlavà: to be morally upright)
5. กลั ยาณมิตตะ (มีกัลยาณมติ ร — Kalyàõamitta: to have good friends)
A.III.145. อง.ฺ ปจฺ ก.22/125–6/163.
[,,,] อารยวัฒิ 5 ดู [249] อริยวฑั ฒิ 5.
[251] อาวาสิกธรรม 51 (ธรรมของภกิ ษุผูอยปู ระจาํ วดั , แปลถือความมาใชใ หเหมาะ
กับปจจุบันวา คุณสมบตั ิของเจาอาวาส, หมวดที่ 1 ประเภทท่นี ายกยอ ง หรือเปนทชี่ น่ื ชูเจรญิ ใจ
— âvàsika-dhamma: qualities of an esteemable resident or incumbent of a
monastery; qualities of an esteemable abbot)
1. ถึงพรอมดวยอากัปกิริยาและวัตรปฏิบัติ (มีกิริยามารยาททาทีการแสดงออกทางกาย
วาจาสํารวมงดงาม และเอาใจใสปฏิบัติกิจหนาที่สมํ่าเสมอเรียบรอย — âkappavatta-
sampanna: to be accomplished in manner and duties)
2. เปนพหูสตู (ไดศึกษาเลา เรียนมาก รหู ลักพระธรรมวินยั มีความรูความเขา ใจกวา งขวางลึก
ซ้ึง — Bahussuta: to have great learning)
3. ประพฤตขิ ัดเกลา (ฝก อบรมตนในไตรสกิ ขา ชอบความสงบ ยนิ ดใี นกลั ยาณธรรม — Pañi-
[252] 184 พจนานุกรมพุทธศาสตร
sallekhità: to be fond of solitude)
4. มีกลั ยาณพจน (มีวาจางาม กลา วกลั ยาณพจน รูจ กั พดู รูจกั เจรจานาศรทั ธาและนาํ ปญ ญา
— Kalyàõavàca: to have kindly and convincing speech)
5. มปี ญ ญา (รูเขาใจ รูคิด รพู ิจารณา เฉลยี วฉลาด สามารถแกป ญ หา ไมซ มึ เซอเบอะบะ —
Pa¤¤avà: to be wise)
A.III.261. อง.ฺ ปฺจก.22/231/290.
[252] อาวาสิกธรรม 52 (คณุ สมบัติของเจาอาวาส หมวดท่ี 2 ประเภทเปน ทีร่ กั ท่ีเคารพ
ของสพรหมจารี คอื เพื่อนภกิ ษุสามเณรผูประพฤติพรหมจรรยร วมกัน — âvàsikadhamma:
qualities of a beloved and respected incumbent or abbot)
1. มศี ลี (ตง้ั อยใู นศลี สาํ รวมในพระปาฏโิ มกข ประพฤตเิ ครง ครดั ในสกิ ขาบททงั้ หลาย — Sãlavà:
to have good conduct)
2. เปน พหสู ตู (ไดศ กึ ษาเลา เรยี นมาก รหู ลกั พระธรรมวนิ ยั มคี วามรคู วามเขา ใจกวา งขวางลกึ ซง้ึ
— Bahussuta: to have great learning)
3. มกี ลั ยาณพจน (มีวาจางาม กลาวกลั ยาณพจน รูจักพดู รจู ักเจรจานาศรทั ธาและนําปญ ญา
— Kalyàõavàca: to have lovely and convincing speech)
4. เปน ฌานลาภี (ไดแ คลว คลอ งในฌาน 4 ทเ่ี ปน เครอื่ งอยสู ขุ สบายในปจ จบุ นั — Jhànalàbhã: to
be able to gain pleasure of the Four Absorptions at will)
5. ประจักษแจงวิมุตติ (บรรลุเจโตวิมุตติ ปญญาวิมุตติ ส้ินอาสวะแลว —Vimutti-
sacchikattà: to have gained the Deliverance)
A.III.262. องฺ.ปฺจก.22/232/290.
[253] อาวาสิกธรรม 53 (คุณสมบัติของเจา อาวาส หมวดท่ี 3 ประเภทอาวาสโสภณ
คอื ทาํ วัดใหง าม — âvàsika-dhamma: qualities of an incumbent or abbot who
graces the monastery)
1. มีศีล (ตั้งอยูในศีล สํารวมในพระปาฏิโมกข ประพฤติเครงครัดในสิกขาบททั้ง
หลาย — Sãlavà: to have good conduct)
2. เปนพหูสตู (ไดศกึ ษาเลา เรยี นมาก รหู ลกั พระธรรมวนิ ัย มีความรคู วามเขา ใจกวางขวางลกึ
ซง้ึ — Bahussuta: to have great learning)
3. มีกัลยาณพจน (มวี าจางาม กลา วกัลยาณพจน รจู ักพูด รจู ักเจรจานา ศรัทธาและนาํ ปญญา
— Kalyàõavàca: to have lovely and convincing speech)
4. สามารถกลาวธรรมกี ถา (สามารถกลา วสอนธรรมใหผูมาหาเหน็ แจมชดั ยอมรับไปปฏบิ ัติ
เราใจใหแกลว กลา และเบกิ บานใจ — Dhammikathàya sandassaka: to be able to teach,
incite, rouse and satisfy those who visit him with talk on the Dhamma)
หมวด 5 185 [255]
5. เปน ฌานลาภี (ไดแคลว คลอ งในฌาน 4 ทเี่ ปน เครื่องอยูสขุ สบายในปจจุบนั — Jhàna-
làbhã: to be able to gain pleasure of the Four Absorptions at will)
A.III.262. องฺ.ปจฺ ก.22/233/291.
[254] อาวาสิกธรรม 54 (คุณสมบตั ิของเจาอาวาส หมวดท่ี 4 ประเภทมอี ุปการะมาก
แกวัด — âvàsika-dhamma: qualities of an incumbent or abbot who is of great
service to his monastery)
1. มีศีล (ต้ังอยูในศีล สํารวมในพระปาฏิโมกข ประพฤติเครงครัดในสิกขาบททั้ง
หลาย — Sãlavà: to have good conduct)
2. เปน พหสู ตู (ไดศ กึ ษาเลาเรยี นมาก รหู ลกั พระธรรมวนิ ยั มคี วามรคู วามเขา ใจกวางขวางลกึ
ซึ้ง — Bahussuta: to have great learning)
3. รจู ักปฏสิ ังขรณ (เอาใจใสด ูแลซอ มแซมเสนาสนะและส่ิงของทชี่ ํารุดหักพัง — Khaõóa-
phullapañisaïkharaka: to repair broken and dilapidated things)
4. บอกกลา วในคราวจะไดท าํ บญุ แกม หาสงฆ (เมอ่ื มสี งฆห มใู หญม าจากตา งถน่ิ ตา งแควน
ขวนขวายบอกชาวบา นผปู วารณาไวใ หม าทาํ บญุ — Pu¤¤akaraõàyàrocaka: to inform the
householders of the arrival of incoming monks in order that the former may make
merit)
5. เปน ฌานลาภี (ไดแ คลว คลองในฌาน 4 ที่เปน เคร่ืองอยสู ุขสบายในปจจุบนั — Jhàna-
làbhã: to be able to gain pleasure of the Four Absorptions at will)
A.III.263. องฺ.ปฺจก.22/234/292.
[255] อาวาสิกธรรม 55 (คุณสมบัตขิ องเจา อาวาส หมวดที่ 5 ประเภทอนุเคราะห
คฤหัสถ — âvàsika-dhamma: qualities of an incumbent or abbot who is kind to
lay people)
1. ชักนําคฤหัสถใหถือปฏิบัติในอธิศีล (เอาใจใสชักชวนแนะนําชาวบานใหสมาทานในอธิศีล
คอื ใหร กั ษาศลี 5 ทเ่ี ปน พน้ื ฐานเพอ่ื กา วขน้ึ สคู ณุ ความดที ส่ี งู ขน้ึ ไป — Adhisãle samàdapaka:
to incite them to higher virtue) อธศิ ลี ในทน่ี ้ี ทา นอธบิ ายวา ไดแ กเ บญจศลี ทเี่ ปนไปเพอ่ื คณุ
เบ้ืองสูง
2. ยังคฤหัสถใหต้ังอยูในธรรมทัศนะ (เอาใจใสช ้แี จงแสดงธรรมแนะนาํ ชาวบานใหรเู หน็ เขา ใจ
ธรรม — Dhammadassane nivesaka: to encourage them in the discernment of
truth or the vision of the doctrine)
3. ไปเยย่ี มใหสติคนเจ็บไข — Gilànasatuppàdaka: to visit the sick and rouse them
to mindfulness and awareness)
4. บอกกลาวในคราวจะไดทําบุญแกมหาสงฆ (เมื่อมีสงฆหมูใหญมาจากตางถิ่นตางแควน
[256] 186 พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร
ขวนขวายบอกชาวบา นผูปวารณาไวใ หมาทําบุญ — Pu¤¤akaraõàyàrocaka: to inform the
householders of the arrival of incoming monks in order that the former may
make merit)
5. ไมทําศรัทธาไทยใหต กไป (ชาวบานถวายโภชนะใดๆ จะดอยหรอื ดี กฉ็ ันดวยตนเอง ไม
ทาํ ของท่เี ขาถวายดวยศรทั ธาใหห มดคณุ คาไปเสยี — Saddhàdeyyàvinipàtaka: to eat any
given food himself, whether it is mean or choice, not frustrating the gift of faith)
A.III.263. อง.ฺ ปจฺ ก.22/235/292.
[256] อาวาสิกธรรม 56 (คณุ สมบตั ิของเจาอาวาส หมวดท่ี 6 ประเภทมคี วามสขุ
ความเจรญิ ดจุ ไดร บั เชญิ ขน้ึ ไปอยใู นสวรรค — âvàsika-dhamma: qualities of an incumbent
or abbot who is prosperous as if put in heaven)
1. พจิ ารณาใครค รวญโดยรอบคอบแลว จงึ กลา วตาํ หนติ เิ ตยี นบคุ คลทค่ี วรตาํ หนติ เิ ตยี น —
to speak in blame of a person deserving blame only after deliberately testing and
plumbing the matter.
2. พิจารณาใครครวญโดยรอบคอบแลว จึงกลาวยกยองสรรเสริญบุคคลท่ีควรยกยอง
สรรเสรญิ — to speak in praise of a person deserving praise only after deliberately
testing and plumbing the matter.
3. พจิ ารณาใครค รวญโดยรอบคอบแลว จงึ แสดงความไมเ ลอ่ื มใส ในฐานะอนั ไมค วรเลอื่ มใส
— to show disbelief in what deserves disbelief only after deliberately testing and
plumbing the matter.
4. พจิ ารณาใครค รวญโดยรอบคอบแลว จงึ แสดงความเลอื่ มใส ในฐานะอนั ควรเลอื่ มใส — to
show appreciation in what deserves appreciation only after deliberately testing and
plumbing the matter.
5. ไมย ังศรัทธาไทยใหต กไป — not to frustrate the gift of faith.
เจา อาวาสทปี่ ระพฤติตรงขา มจากนี้ ยอมเส่อื มดุจถกู จบั ไปขงั ในนรก.
A.III.264. อง.ฺ ปจฺ ก.22/236/293.
[257] อาวาสิกธรรม 57 (คณุ สมบัติของเจาอาวาส หมวดที่ 7 ประเภทมคี วามสุขความ
เจริญดจุ ไดร บั เชิญขน้ึ ไปอยูในสวรรค อกี หมวดหนงึ่ — âvàsika-dhamma)
1. พจิ ารณาใครค รวญโดยรอบคอบแลว จงึ กลา วตําหนติ เิ ตยี นบคุ คลทคี่ วรตาํ หนติ เิ ตยี น —
Anuviccavaõõabhàsaka: to speak in blame of a person deserving blame only after
deliberately testing and plumbing the matter.
2. พิจารณาใครครวญโดยรอบคอบแลว จึงกลาวยกยองสรรเสริญบุคคลท่ีควรยกยอง
สรรเสรญิ — Anuviccàvaõõabhàsaka: to speak in praise of a person deserving
หมวด 5 187 [259]
praise only after deliberately testing and plumbing the matter.
3. ไมมีอาวาสมจั ฉริยะ คือ ไมตระหนี่หวงแหนที่อยอู าศัย — Na àvàsamaccharã: not to
be stingy as to lodging)
4. ไมม ีกุลมัจฉริยะ คือ ไมต ระหนี่หวงแหนตระกูลอปุ ฏ ฐาก — Na kulamaccharã: not to be
stingy as to supporting families)
5. ไมม ีลาภมัจฉรยิ ะ คือ ไมต ระหน่หี วงแหนลาภ — Na làbhamaccharã: not to be stingy
as to gain)
นอกจากน้ี ยังมีอาวาสิกธรรมประเภทมีความสุขความเจริญเหมือนไดรับเชิญไปอยูใน
สวรรค อกี 3 หมวด แตม ีความแตกตางเพียงเล็กนอย หรือกําหนดไดง าย คือ
หมวดหนึ่ง เปลย่ี นเฉพาะขอ 5 เปน ไมยังศรัทธาไทยใหตกไป
อีกหมวดหนงึ่ เปลย่ี น 4 ขอตน เปนเรอ่ื งมัจฉรยิ ะทง้ั หมด คอื เปน ไมม อี าวาสมัจฉริยะ,
ไมม ีกลุ มัจฉรยิ ะ, ไมม ลี าภมัจฉริยะ, ไมม วี ณั ณมจั ฉริยะ สวนขอสดุ ทา ยเปน ไมย งั ศรัทธาไทยให
ตกไป
อกี หมวดหนึ่ง เปล่ียนเปน เร่ืองมัจฉริยะท้ัง 5 ขอ คือ เปนผไู มม ีมจั ฉริยะทง้ั 5
ดู [233] มัจฉริยะ 5.
A.III.264–6. อง.ฺ ปฺจก.22/237–240/293–295.
[258] อินทรีย 5 (ธรรมทเ่ี ปนใหญในกิจของตน — Indriya: controlling faculty)
1. สัทธา (ความเช่ือ — Saddhà: confidence)
2. วริ ยิ ะ (ความเพียร — Viriya: energy; effort)
3. สติ (ความระลึกได — Sati: mindfulness)
4. สมาธิ (ความตง้ั จติ มั่น — Samàdhi: concentration)
5. ปญ ญา (ความรทู ัว่ ชดั — Pa¤¤à: wisdom; understanding)
หมวดธรรมน้เี รยี กอยา งหนึง่ วา พละ 5 ทเี่ รยี กวา พละ เพราะความหมายวา เปน พลัง ทาํ ให
เกิดความม่ันคง ซึ่งความไรศรัทธาเปนตน แตละอยางจะเขาครอบงําไมได สวนที่เรียกวา
อินทรีย เพราะความหมายวา เปน ใหญใ นการกระทําหนาทีแ่ ตล ะอยางๆ ของตน คือเปน เจาการ
ในการครอบงําเสียซ่งึ ความไรศ รทั ธา ความเกยี จครา น ความประมาท ความฟงุ ซา น และความ
หลงตามลาํ ดับ
ดู [228] พละ 5.
S.V.191–204; 235–237; Ps.II.1–29. ส.ํ ม.19/843–900/256–271; 1061–1069/310–312; ข.ุ ปฏ.ิ 31/423–463/300–344.
[259] อุบาสกธรรม 5 (ธรรมของอบุ าสกทดี่ ,ี สมบตั ิ หรอื องคค ุณของอุบาสก อยา ง
เยี่ยม — Upàsaka-dhamma: qualities of an excellent lay disciple)
[260] 188 พจนานกุ รมพุทธศาสตร
1. มศี รัทธา (to be endowed with faith)
2. มีศลี ( to have good conduct)
3. ไมถ อื มงคลต่นื ขา ว เชื่อกรรม ไมเช่ือมงคล คือ มงุ หวงั ผลจากการกระทําและการงาน มใิ ช
จากโชคลางและส่งิ ท่ีต่ืนกนั วา ขลงั ศักดิส์ ิทธิ์ (not to be superstitious, believing in deeds,
not luck)
4. ไมแสวงหาทกั ขไิ ณยภายนอกหลกั คําสอนน้ี คอื ไมแสวงหาเขตบุญนอกหลกั พระพุทธ-
ศาสนา (not to seek for the gift-worthy outside of the Buddha’s teaching)
5. กระทําความสนบั สนุนในพระศาสนาน้เี ปน เบือ้ งตน คอื ขวนขวายในการอุปถัมภบํารงุ พระ
พุทธศาสนา (to do his first service in a Buddhist cause)
ธรรม 5 อยา งน้ี ในบาลที มี่ าเรยี กวา ธรรมของอบุ าสกรตั น (อบุ าสกแกว ) หรอื ธรรมของ
อบุ าสกปทมุ (อุบาสกดอกบวั )
ดู [260] อบุ าสกธรรม 7 ดวย.
A.III.206. อง.ฺ ปฺจก.22/175/230.
[260] อุบาสกธรรม 7 (ธรรมทเี่ ปน ไปเพอ่ื ความเจรญิ ของอบุ าสก — Upàsaka-dhamma:
qualities conducive to the progress of a lay disciple)
1. ไมข าดการเย่ียมเยอื นพบปะพระภกิ ษุ (not to fail to see the monks)
2. ไมละเลยการฟง ธรรม (not to neglect to hear the Teaching)
3. ศกึ ษาในอธิศีล (to train oneself in higher virtue)
4. มากดว ยความเล่ือมใสในภิกษทุ ัง้ หลาย ทงั้ ท่เี ปน เถระ นวกะ และปูนกลาง (to be full
of confidence in the monks, whether elder, newly ordained or mid-term)
5. ไมฟ ง ธรรมดว ยต้ังใจจะคอยเพงโทษติเตียน (to listen to the Dhamma not in order
to criticize)
6. ไมแ สวงหาทกั ขไิ ณยภายนอกหลกั คําสอนนี้ (not to seek for the gift-worthy outside
of the Buddha’s teaching)
7. กระทําความสนับสนุนในพระศาสนานีเ้ ปน เบือ้ งตน คอื ขวนขวายในการอปุ ถัมภบ ํารงุ
พระพทุ ธศาสนา (to do his first service in a Buddhist cause)
ธรรม 7 น้ี เรยี กอกี อยา งหนง่ึ วา สมั ปทาของอบุ าสก (สมบตั ขิ องอบุ าสก — accomplishments of
a lay disciple.)
A.IV.25,26. องฺ.สตฺตก.23/27,28/26,27.
ฉกั กะ — หมวด 6
Groups of Six
(including related groups)
[261] คารวะ หรอื คารวตา 6 (ความเคารพ, การถอื เปน สง่ิ สาํ คญั ท่จี ะพึงใสใจและ
ปฏบิ ตั ิดว ยความเอ้อื เฟอ หรอื โดยความหนักแนน จริงจัง, การมองเห็นคุณคาและความสําคัญ
แลวปฏิบัติตอบุคคลหรือส่ิงนั้นโดยถูกตอง ดวยความจริงใจ — Gàrava, Gàravatà:
reverence; esteem; attention; respect; appreciative action)
1. สตั ถคุ ารวตา (ความเคารพในพระศาสดา — reverence for the Master) ขอ นบี้ างแหง เขยี นเปน
พทุ ธคารวตา (ความเคารพในพระพทุ ธเจา — Satthu-gàravatà: reverence for the Buddha)
2. ธมั มคารวตา (ความเคารพในธรรม — Dhamma-gàravatà: reverence for the Dhamma)
3. สังฆคารวตา (ความเคารพในสงฆ — Saïgha-gàravatà: reverence for the Order)
4. สกิ ขาคารวตา (ความเคารพในการศกึ ษา — Sikkhà-gàravatà: reverence for the Training)
5. อัปปมาทคารวตา (ความเคารพในความไมประมาท — Appamàda-gàravatà:
reverence for earnestness)
6. ปฏิสนั ถารคารวตา (ความเคารพในปฏสิ ันถาร — Pañisanthàra-gàravatà: reverence
for hospitality)
ธรรม 6 อยา งนี้ ยอ มเปนไปเพือ่ ความไมเส่อื มแหงภิกษุ.
A.III.330. อง.ฺ ฉกฺก.22/303/368.
[262] จริต หรอื จริยา 6 (ความประพฤติปกต,ิ ความประพฤติซึง่ หนักไปทางใดทางหนงึ่
อันเปน ปกตปิ ระจาํ อยูใ นสนั ดาน, พื้นเพของจิต, อปุ นิสยั , พ้ืนนสิ ยั , แบบหรอื ประเภทใหญๆ
แหง พฤตกิ รรมของคน — Carita, Cariyà: intrinsic nature of a person; characteristic
behaviour; character; temperament)
ตัวความประพฤติเรยี กวา จรยิ า บคุ คลผูมคี วามประพฤติอยางนัน้ ๆ เรียกวา จริต
1. ราคจรติ (ผมู รี าคะเปนความประพฤติปกต,ิ ประพฤติหนกั ไปทางรักสวยรักงาม — Ràga-
carita: one of lustful temperament) กรรมฐานคปู รบั สําหรบั แก คอื อสุภะและกายคตาสติ
2. โทสจริต (ผมู โี ทสะเปนความประพฤตปิ กต,ิ ประพฤติหนักไปทางใจรอนหงุดหงิด — Dosa-
carita: one of hating temperament) กรรมฐานท่ีเหมาะ คอื พรหมวิหารและกสิณ โดย
เฉพาะวณั ณกสณิ
3. โมหจรติ (ผมู โี มหะเปน ความประพฤตปิ กต,ิ ประพฤตหิ นกั ไปทางเขลา เหงาซมึ เงอื่ งงง งมงาย
— Moha-carita: one of deluded temperament) กรรมฐานทเี่ กอื้ กลู คอื อานาปานสติ และพงึ
[263] 190 พจนานุกรมพทุ ธศาสตร
แกด ว ยมีการเรยี น ถาม ฟงธรรม สนทนาธรรมตามกาล หรืออยูกบั ครู
4. สทั ธาจรติ (ผูมศี รัทธาเปน ความประพฤติปกต,ิ ประพฤติหนกั ไปทางมจี ิตซาบซ้ึง ช่นื บาน
นอ มใจเลอื่ มใสโดยงาย — Saddhà-carita: one of faithful temperament) พงึ ชักนาํ ไปใน
ส่ิงทีค่ วรแกความเลื่อมใส และความเช่อื ที่มเี หตุผล เชน พิจารณาอนสุ ติ 6 ขอ ตน
5. พทุ ธิจริต หรอื ญาณจริต (ผูม คี วามรเู ปน ความประพฤตปิ กต,ิ ประพฤตหิ นกั ไปทางใช
ความคิดพจิ ารณา — Buddhi-carita or ¥àõa-carita: one of intelligent temperament)
พึงสงเสริมดวยแนะนําใหใชความคดิ ในทางทชี่ อบ เชน พจิ ารณาไตรลักษณ กรรมฐานทเ่ี หมาะ
คือ มรณสติ อปุ สมานุสติ จตุธาตุววฏั ฐาน และอาหาเรปฏิกลู สญั ญา
6. วติ กจริต (ผูมวี ิตกเปน ความประพฤติปกติ, ประพฤติหนักไปทางนกึ คิดจับจดฟงุ ซาน —
Vitakka-carita: one of speculative temperament) พงึ แกด วยสงิ่ ท่ีสะกดอารมณ เชน
เจรญิ อานาปานสติ หรอื เพง กสิณ เปน ตน
Nd1359, 453; Nd2138; Vism.101 ขุ.ม.29/727/435; 889/555; ขุ.จ.ู 30/492/242; วิสุทฺธ.ิ 1/127.
[263] เจตนา หรือ สัญเจตนา 6 หมวด (ความจงใจ, ความตงั้ ใจ, ความจํานง, ความ
แสวงหาอารมณ — Cetanà; Sa¤cetanà: volition; choice; will)
1. รปู สัญเจตนา (ความจํานงรูป — Råpa-sa¤cetanà: volition concerning visible
objects; choice of forms; will directed to forms)
2. สทั ทสัญเจตนา (ความจํานงเสียง — Sadda~: volition concerning audible objects;
choice of sounds; will directed to sounds)
3. คนั ธสัญเจตนา (ความจาํ นงกลิ่น — Gandha~: volition concerning odorous
objects; choice of odours; will directed to odours)
4. รสสัญเจตนา (ความจาํ นงรส — Rasa~: volition concerning sapid objects; choice
of tastes; will directed to tastes)
5. โผฏฐัพพสัญเจตนา (ความจาํ นงโผฏฐัพพะ — Phoññhabba~: volition concerning
tangible objects; choice of tangible objects; will directed to bodily impressions)
6. ธัมมสัญเจตนา (ความจํานงธรรมารมณ — Dhamma~: volition concerning
ideational objects; choice of ideas; will derected to mental objects)
หกอยา งน้ี เรียกเตม็ ตามศัพทว า เจตนากาย หรือ สัญเจตนากาย 6 (กองเจตนา หมวด
เจตนา — bodies of choice; classes of volition)
D.III.244; S.III.64; Vbh.102. ท.ี ปา.11/310/255; ส.ํ ข.17/116/74; อภิ.ว.ิ 35/159/132.
[264] ตัณหา 6 (ความทะยานอยาก — Taõhà: craving)
1. รปู ตัณหา (อยากไดร ปู — Råpa-taõhà: craving for forms)
2. สัททตณั หา (อยากไดเ สยี ง — Sadda~: craving for sounds)
หมวด 6 191 [265]
3. คนั ธตัณหา (อยากไดกลน่ิ — Gandha~: craving for odours)
4. รสตณั หา (อยากไดรส — Rasa~: craving for tastes)
5. โผฏฐัพพตัณหา (อยากไดโผฏฐัพพะ — Phoññhabba~: craving for tangible objects)
6. ธมั มตณั หา (อยากในธรรมารมณ — Dhamma~: craving for mental objects)
หกอยา งนี้ เรียกเต็มตามศัพทว า ตัณหากาย 6 (กองตัณหา, หมวดตัณหา — bodies or
classes of craving)
D.III.244,280; S.II.3; Vbh.102. ท.ี ปา.11/311/256; 425/303; ส.ํ น.ิ 16/10/3; อภ.ิ ว.ิ 35/159/132.
[,,,] ทวาร 6 ดู [78] ทวาร 6.
[265] ทิศ 6 (บคุ คลประเภทตางๆ ทเ่ี ราตอ งเกี่ยวขอ งสมั พนั ธท างสังคมดจุ ทิศท่ีอยรู อบตวั —
Disà: directions; quarters)
1. ปรุ ัตถมิ ทิศ (ทิศเบ้อื งหนา คือ ทศิ ตะวันออก ไดแก มารดาบดิ า เพราะเปนผมู อี ปุ การะแกเ รา
มากอน — Puratthima-disà: parents as the east or the direction in front)
ก. บตุ รธดิ าพึงบํารงุ มารดาบดิ า ผูเปน ทิศเบอ้ื งหนา ดังนี้
1) ทา นเลี้ยงเรามาแลว เล้ียงทานตอบ
2) ชวยทาํ การงานของทา น
3) ดาํ รงวงศสกุล
4) ประพฤตติ นใหเ หมาะสมกับความเปนทายาท
5) เมอื่ ทานลว งลบั ไปแลว ทําบญุ อุทิศใหท า น
In five ways a child should minister to his parents as the eastern quarter (saying
to himself):
a) Having been supported by them, I will support them in my turn.
b) I will do their work for them.
c) I will keep up the honour and the traditions of my family.
d) I will make myself worthy of my heritage.
e) I will make offerings, dedicating merit to them after their death.*
ข. บิดามารดายอ มอนเุ คราะหบ ตุ รธดิ า ดังน้ี
1) หา มปรามจากความช่ัว
2) ใหต ั้งอยใู นความดี
3) ใหศ กึ ษาศิลปวิทยา
* แปลอกี อยางวา “I will grant donations on their behalf.”
[265] 192 พจนานุกรมพุทธศาสตร
4) หาคูครองทส่ี มควรให
5) มอบทรัพยสมบัติใหในโอกาสอนั สมควร
In five ways his parents, thus served as the eastern quarter, show their love for him:
a) They keep him back from evil.
b) They train him in virtue.
c) They have him taught arts and sciences.
d) They arrange for his marriage to a suitable wife.
e) They hand over his inheritance to him in due time.
2. ทกั ษิณทศิ (ทศิ เบอ้ื งขวา คือ ทิศใต ไดแ ก ครอู าจารย เพราะเปน ทกั ขไิ ณยบุคคลควรแกก าร
บชู าคุณ — Dakkhiõa-disà: teachers as the south or the direction in the right)
ก. ศษิ ยพ ึงบาํ รุงครอู าจารย ผูเ ปน ทิศเบ้อื งขวา ดังนี้
1) ลกุ ตอ นรบั
2) เขา ไปหา (เพื่อบาํ รงุ คอยรบั ใช ปรึกษา ซักถาม และรบั คาํ แนะนาํ เปนตน)*
3) ใฝใจเรยี น (คอื มีใจรกั เรียนดว ยศรทั ธา และรูจกั ฟงใหเกดิ ปญญา)**
4) ปรนนบิ ัติ ชว ยบรกิ าร
5) เรียนศิลปวทิ ยาโดยเคารพ (คือ เอาจริงเอาจงั ถือเปนกิจสาํ คัญ)
In five ways a pupil should minister to his teachers as the southern quarter:
a) by rising to receive them.
b) by waiting upon them.
c) by eagerness to learn.
d) by personal service.
e) by attentively learning the arts and sciences.
ข. ครูอาจารยยอมอนเุ คราะหศษิ ย ดังน้ี
1) ฝก ฝนแนะนําใหเปน คนดี
2) สอนใหเขา ใจแจม แจง
3) สอนศลิ ปวทิ ยาใหส้นิ เชิง
4) ยกยอ งใหปรากฏในหมคู ณะ
5) สรางเคร่ืองคุมภัยในสารทศิ (สอนฝกใหร ูจักเล้ียงตวั รกั ษาตนในอันที่จะดําเนนิ ชวี ิตตอ
ไปดวยดี รับรองความรูความประพฤติใหเปนท่ยี อมรับในการไปประกอบอาชีพเปน อยู
* อปุ ฏ าน
** สุสฺสสู า (= ฟงดว ยดี)
หมวด 6 193 [265]
ไดดวยดี)
In five ways his teachers, thus served as the southern quarter, show their love
for him:
a) They train him so that he is well-trained.
b) They teach him in such a way that he understands and remembers well
what he has been taught.
c) They thoroughly instruct him in the lore of every art.
d) They introduce him to his friends and companions.
e) They provide for his safety and security in every quarter.
3. ปจ ฉมิ ทศิ (ทศิ เบ้ืองหลัง คือ ทศิ ตะวนั ตก ไดแก บตุ รภรรยา เพราะมขี ้นึ ภายหลงั และคอย
เปนกําลังสนบั สนุนอยูขางหลัง — Pacchima-disà: wife and children as the west or
the direction behind)
ก. สามีพึงบํารุงภรรยา ผูเ ปนทศิ เบ้ืองหลงั ดังน้ี
1) ยกยองใหเ กียรตสิ มกับฐานะท่ีเปนภรรยา
2) ไมดูหมิ่น
3) ไมนอกใจ
4) มอบความเปนใหญใ นงานบานให
5) หาเครือ่ งประดบั มาใหเปน ของขวญั ตามโอกาส
In five ways a husband should serve his wife as the western quarter:
a) by honouring her.
b) by being courteous to her.
c) by being faithful to her.
d) by handing over authority to her.
e) by providing her with ornaments.
ข. ภรรยายอ มอนเุ คราะหส ามี ดงั น้ี
1) จดั งานบานใหเ รยี บรอ ย
2) สงเคราะหญ าตมิ ิตรท้งั สองฝายดวยดี
3) ไมน อกใจ
4) รักษาทรัพยส มบัตทิ ี่หามาได
5) ขยันไมเ กยี จครา นในงานทง้ั ปวง
In five ways his wife, thus served as the western quarter, shows her love for him:
[265] 194 พจนานุกรมพทุ ธศาสตร
a) The household affairs are to be well managed.
b) She should be hospitable and helpful to friends and relations of both hers
and his.
c) She should be faithful to him.
d) She should take care of the goods he brings home.
e) She should be skilful and industrious in all her duties.
4. อตุ ตรทศิ (ทิศเบ้อื งซา ย คือ ทิศเหนอื ไดแก มติ รสหาย เพราะเปนผชู ว ยใหข า มพน อุปสรรค
ภยั อนั ตราย และเปนกาํ ลังสนับสนุน ใหบรรลคุ วามสําเรจ็ — Uttara-disà: friends and
companions as the north or the direction in the left)
ก. บุคคลพึงบาํ รุงมิตรสหาย ผเู ปน ทิศเบอ้ื งซา ย ดังน้ี
1) เผือ่ แผแ บง ปน
2) พดู จามีนาํ้ ใจ
3) ชว ยเหลือเก้อื กูลกนั
4) มีตนเสมอ รว มสุขรวมทุกขก ัน
5) ซอ่ื สตั ยจรงิ ใจตอกนั
In five ways a clansman should serve his friends and associates as the northern
quarter:
a) by generosity.
b) by kind words.
c) by helping them and acting for their welfare.
d) by putting them on equal terms.
e) by being sincere to them.
ข. มิตรสหายยอ มอนเุ คราะหต อบ ดงั นี้
1) เมื่อเพือ่ นประมาท ชว ยรกั ษาปอ งกนั
2) เม่ือเพ่ือนประมาท ชวยรักษาทรัพยสมบตั ิของเพื่อน
3) ในคราวมีภัย เปน ท่พี ึ่งได
4) ไมละทงิ้ ในยามทุกขย าก
5) นบั ถือตลอดถึงวงศญาตขิ องมติ ร
In five ways his friends and associates, thus served as the northern quarter,
show their love for him:
a) They protect him when he is careless.
หมวด 6 195 [265]
b) They guard his property when he is careless.
c) They are a refuge for him when he is in danger.
d) They do not leave him in his troubles.
e) They show due respect to other members of his family.
5. เหฏฐิมทศิ (ทศิ เบ้ืองลาง ไดแ ก คนรบั ใชแ ละคนงาน เพราะเปน ผชู ว ยทาํ การงานตางๆ เปน
ฐานกาํ ลังให — Heññhima-disà: servants and workmen as the nadir)
ก. นายพงึ บํารงุ คนรับใชและคนงาน ผเู ปน ทศิ เบอื้ งลา ง ดังนี้
1) จดั การงานใหทาํ ตามความเหมาะสมกับกําลงั ความสามารถ
2) ใหค าจา งรางวลั สมควรแกงานและความเปนอยู
3) จดั สวสั ดกิ ารดี มีชว ยรกั ษาพยาบาลในยามเจบ็ ไข เปน ตน
4) ไดข องแปลกๆ พิเศษมา ก็แบงปน ให
5) ใหม ีวนั หยดุ และพักผอนหยอ นใจตามโอกาสอนั ควร
In five ways a master should serve his servants and workmen as the lower quarter:
a) by assigning them work according to their strength.
b) by giving them due food and wages.
c) by caring for them in sickness.
d) by sharing with them unusual luxuries.
e) by giving them holidays and leave at suitable time.
ข. คนรบั ใชแ ละคนงานยอ มอนุเคราะหน าย ดังน้ี
1) เริม่ ทําการงานกอ นนาย
2) เลิกงานทหี ลงั นาย
3) ถือเอาแตของทนี่ ายให
4) ทําการงานใหเ รยี บรอ ยและดยี ิ่งขนึ้
5) นาํ เกียรตคิ ณุ ของนายไปเผยแพร
In five ways his servants and workmen, thus served as the lower quarter, show
their love for him:
a) They get up to work before him.
b) They go to rest after him.
c) They take only what is given to them.
d) They do their work well.
e) They spread about his praise and good name.
[265] 196 พจนานกุ รมพุทธศาสตร
6. อุปริมทิศ (ทศิ เบื้องบน ไดแก สมณพราหมณ คือ พระสงฆ เพราะเปนผูส ูงดว ยคณุ ธรรม
และเปนผูนาํ ทางจิตใจ — Uparima-disà: monks as the zenith)
ก. คฤหัสถยอ มบํารงุ พระสงฆ ผเู ปน ทศิ เบอื้ งบน ดงั นี้
1) จะทาํ สิง่ ใด กท็ าํ ดว ยเมตตา
2) จะพูดสิ่งใด กพ็ ดู ดวยเมตตา
3) จะคิดสิ่งใด ก็คดิ ดว ยเมตตา
4) ตอนรบั ดวยความเตม็ ใจ
5) อปุ ถมั ภดวยปจจยั 4
In five ways a clansman should serve monks and Brahmins as the upper quarter:
a) by kindly acts.
b) by kindly words.
c) by kindly thoughts.
d) by keeping open house to them.
e) by supplying them with their material needs.
ข. พระสงฆย อมอนุเคราะหคฤหสั ถ ดังนี้
1) หา มปรามจากความช่วั
2) ใหต ้งั อยใู นความดี
3) อนุเคราะหด วยความปรารถนาดี
4) ใหไดฟง ส่ิงทีย่ งั ไมเ คยฟง
5) ทาํ ส่งิ ท่เี คยฟงแลว ใหแจม แจง
6) บอกทางสวรรค คอื ทางชวี ติ ท่มี คี วามสุขความเจริญให
In six ways the monks, thus served as the upper quarter, show their love for him:
a) They keep him back from evil.
b) They encourage him to do good.
c) They feel for him with kindly thoughts.
d) They teach him what he has not heard before.
e) They correct and clarify what he has learnt.
f) They show him the way to heaven.
ผปู ฏบิ ตั ดิ งั กลา วนี้ชือ่ วา ปกปกรักษาทั่วทุกทศิ ใหเปน แดนเกษมสขุ ปลอดภยั
D.III.189–192. ท.ี ปา.11/198–204/202–206.
[,,,] ธรรมคุณ 6 ดู [306] ธรรมคุณ 6.
หมวด 6 197 [267]
[,,,] ธาตุ 6 ดู [148] ธาตุ 6.
[,,,] บัญญัติ 6 ดู [28] บัญญติ 2, 6.
[266] ปยรูป สาตรูป 6 × 10 (ส่ิงที่มสี ภาวะนารักนา ชนื่ ใจ เปน ที่เกดิ และเปนทีด่ ับ
ของตณั หา — Piyaråpa sàtaråpa: delightful and pleasurable things)
หมวด 1 ดู [276] อายตนะภายใน 6
หมวด 2 ดู [277] อายตนะภายนอก 6
หมวด 3 ดู [268] วิญญาณ 6
หมวด 4 ดู [272] สัมผสั 6
หมวด 5 ดู [113] เวทนา 6
หมวด 6 ดู [271] สญั ญา 6
หมวด 7 ดู [263] สญั เจตนา 6
หมวด 8 ดู [264] ตัณหา 6
หมวด 9 ไดแก วติ ก 6 คือ รปู วิตก สทั ทวติ ก คนั ธวติ ก รสวิตก โผฏฐัพพวติ ก ธมั มวิตก
(ความตริตรึกเก่ียวกับรูป ฯลฯ — Vitakka: thought-conception concerning
visual forms, etc.)
หมวด 10 ไดแ ก วจิ าร 6 คอื รปู วจิ าร สทั ทวจิ าร คนั ธวจิ าร รสวจิ าร โผฏฐพั พวจิ าร ธมั มวจิ าร
(ความตรองเก่ยี วกับรูป ฯลฯ — Vicàra: discursive thought concerning
visual forms, etc.)
D.II.308; M.1.62. ที.ม.10/297/343; ม.มู.12/147/120.
[267] ภัพพตาธรรม 6 (ธรรมอนั ทาํ ใหเปน ผคู วรทจี่ ะบรรลกุ ุศลธรรมทีย่ ังไมบรรลุ
และทํากุศลธรรมท่บี รรลุแลวใหเ จริญเพ่มิ พนู , คุณสมบตั ิท่ีทําใหเปนผูควร เหมาะ สามารถ หรือ
พรอมท่ีจะไดจะถึงสิ่งดีงามที่ยังไมไดไมถึง และทําสิ่งดีงามท่ีไดที่ถึงแลวใหเจริญเพิ่มพูน —
Bhabbatà-dhamma: qualities making one fit for attaining the wholesome not yet
attained and augmenting the wholesome already attained)
1. ฉลาดในหลกั ความเจริญ คอื รูเขา ใจกระบวนเหตปุ จจยั ทีจ่ ะทาํ ใหเกดิ ความเจริญเพ่ิมพูน
(to be knowledgeable about improvement or gain)
2. ฉลาดในหลักความเสื่อม คือ รูเขาใจกระบวนเหตุปจจัยที่จะทําใหเ กิดความสูญเสียเสื่อม
สลาย (to be knowledgeable about loss or decline)
3. ฉลาดในอบุ าย คือ รูเขา ใจชํานาญในวิธีการทจ่ี ะแกไขจัดทาํ ดําเนินการใหส ําเร็จลุลว ง (to be
skilful in the means)
4. สรา งฉันทะทจ่ี ะบรรลกุ ุศลธรรมทย่ี ังมไิ ดบรรลุ (to arouse the will to attain the good
[268] 198 พจนานุกรมพทุ ธศาสตร
one has not attained)
5. ระวงั รักษากุศลธรรมทไ่ี ดลุถงึ แลว (to maintain the good one has attained)
6. ทําใหส ําเรจ็ ลุจดุ หมายดว ยการกระทําตอเน่อื งไมย ง้ั หยดุ หรอื ขาดตอน (to accomplish
one’s aim through persevering performance or continuance in action)
A.III.432 องฺ.ฉกกฺ .22/350/482
[,,,] วัฒนมุข 6 ดู [201] วัฒนมุข 6.
[268] วิญญาณ 6 (ความรแู จง อารมณ — Vi¤¤àõa: consciousness; sense-awareness)
1. จกั ขวุ ิญญาณ (ความรูอารมณท างตา คือ รรู ปู ดว ยตา, เหน็ — Cakkhu-vi¤¤àõa: eye-
consciousness)
2. โสตวิญญาณ (ความรูอารมณทางหู คือ รูเสียงดวยหู, ไดยิน — Sota~: ear-
consciousness)
3. ฆานวิญญาณ (ความรอู ารมณทางจมกู คือ รกู ล่นิ ดว ยจมกู , ไดก ล่นิ — Ghàna~: nose-
consciousness)
4. ชิวหาวิญญาณ (ความรอู ารมณท างลิ้น คอื รรู สดวยลิ้น, รรู ส — Jivhà~: tongue-
consciousness)
5. กายวิญญาณ (ความรอู ารมณท างกาย คอื รโู ผฏฐพั พะดว ยกาย, รสู กึ กายสมั ผสั — Kàya~:
body-consciousness)
6. มโนวิญญาณ (ความรอู ารมณทางใจ คือ รธู รรมารมณดวยใจ, รคู วามนึกคดิ — Mano~:
mind-consciousness)
D.III.243; Vbh.180. ที.ปา.11/306/255; อภ.ิ วิ.35/120/105.
[,,,] เวทนา 6 ดู [113] เวทนา 6.
[269] เวปุลลธรรม 6 (คุณสมบตั ทิ จี่ ะทําใหเปนผูเติบใหญไพบลู ยในธรรมหรือคณุ ความ
ดที งั้ หลายในเวลาไมน าน — Vepulla-dhamma: qualities leading to the attainment of
greatness and full development in wholesome states)
1. อาโลกพหโุ ล (เปน ผมู ากดว ยความสวางแหง ปญญาหย่ังรู — âlokabahulo: to be rich in
the lustre of wisdom or clarity of vision)
2. โยคพหุโล (เปนผมู ากดวยความเพียรประกอบการ — Yogabahulo: to be devoted to
the endeavour)
3. เวทพหโุ ล (เปน ผูม ากดวยความเบกิ บานใจ คอื มปี ต ปิ ราโมทยอ ยเู สมอ — Vedabahulo:
to be full of joy and cheerfulness)
4. อสนตุฏิพหโุ ล (เปน ผูมากดว ยความไมส ันโดษในกศุ ลธรรมทั้งหลาย คอื ไมร อู ่ิมไมร พู อใน
หมวด 6 199 [270]
การบําเพ็ญความดี — Asantuññhibahulo: to be full of intellectual discontent with the
good already achieved)
5. อนิกฺขิตฺตธโุ ร (ไมท อดธุระในกุศลธรรมทงั้ หลาย — Anikkhittadhuro: not to shirk the
responsibility of cultivating the good)
6. อตุ ฺตริฺจ ปตาเรติ (เพยี รพยายามทํากจิ บดั นใ้ี หลลุ วง กาวสคู ุณความดที ส่ี ูงยิง่ ขึ้นไป —
Uttari¤ca patàreti: to strive perseveringly for further attainments)
A.III.432 อง.ฺ ฉกกฺ .22/351/482
[270] สวรรค 6 (ภพท่ีมอี ารมณอ ันเลิศ, โลกทม่ี ีแตค วามสขุ , เทวโลก, ในท่นี หี้ มายเฉพาะ
สวรรคช ัน้ กามาพจร คอื ช้ันทย่ี งั เกย่ี วขอ งกับกาม ซงึ่ เรียกเต็มวา ฉกามาพจรสวรรค หรือ
กามาวจรสวรรค 6 — Sagga: the six heavens of the sense-sphere) เรียงจากช้นั ต่าํ ขึ้น
ไปดังน้ี
1. จาตุมหาราชิกา (สวรรคทที่ า วมหาราช 4 หรอื ทา วจตโุ ลกบาล ปกครอง — Càtum-
mahàràjikà: The realm of the Four Great Kings คือ ทาวธตรฐ จอมคนธรรพ ครองทศิ
ตะวันออก; ทาววิรูฬหก จอมกมุ ภัณฑ ครองทศิ ใต; ทาววริ ูปก ษ จอมนาค ครองทิศตะวนั ตก;
ทาวกุเวร หรือ เวสสวณั จอมยกั ษ ครองทิศเหนอื )
2. ดาวดงึ ส (แดนทอ่ี ยแู หง เทพ 33 มที า วสกั กะ หรอื พระอนิ ทรเ ปน จอมเทพ บางทเี รยี ก ไตรตรงึ ส
— Tàvati§sà: the realm of the Thirty-three Gods)
3. ยามา (แดนทอี่ ยแู หง เทพผปู ราศจากทกุ ข มที า วสยุ ามเปน ผปู กครอง — Yàmà: the realm of
the Yàma Gods)
4. ดุสิต (แดนที่อยูแหงเทพผูเอิบอิ่มดวยสิริสมบัติของตน มีทาวสันดุสิตเปนจอมเทพ —
Tusità: the realm of the satisfied gods) ถอื กนั วาเปนทีอ่ บุ ตั ิของพระโพธิสัตวใ นพระชาติ
สดุ ทายกอ นจะเปน พระพทุ ธเจา และเปน ท่อี บุ ัติของพระพทุ ธมารดา
5. นิมมานรดี (แดนทอี่ ยูแหงเทพผมู คี วามยินดใี นการเนรมติ มีทา วสนุ ิมมิตเปนจอมเทพ ถือ
กนั วา เทวดาชัน้ น้ี ปรารถนาสง่ิ ใดส่ิงหน่ึง ยอมนิรมติ ไดเ อง — Nimmànaratã: the realm of
the gods who rejoice in their own creations)
6. ปรนิมมิตวสวัตดี (แดนที่อยูแหงเทพผูยังอาํ นาจใหเปนไปในสมบัติที่ผูอื่นนิรมิตให คือ
เสวยสมบตั ทิ เ่ี ทพพวกอนื่ นริ มิตให มีทา ววสวตั ดเี ปนจอมเทพ — Paranimmitavasavattã: the
realm of gods who lord over the creation of others)
คําอธิบายทแ่ี สดงไวน้ี มาในคัมภีรร นุ หลงั เชน อภธิ ัมมัตถวิภาวินี เปนตน
ดู [351] ภูมิ 31.
S.V.423; Comp.138. สํ.ม.19/1681/531; สงฺคห.25.
[,,,] สัญเจตนา 6 ดู [263] เจตนา 6
[271] 200 พจนานุกรมพุทธศาสตร
[271] สัญญา 6 (ความกําหนดไดหมายร,ู ความหมายรอู ารมณ, ความจําไดห มายรู —
Sa¤¤à: perception)
1. รปู สัญญา (ความหมายรรู ปู เชนวา ดํา แดง เขียว ขาว เปนตน — Råpa-sa¤¤à:
perception of form)
2. สัททสญั ญา (ความหมายรเู สียง เชน วา ดัง เบา ทุม แหลม เปน ตน — Sadda~:
perception of sound)
3. คันธสัญญา (ความหมายรูกลิ่น เชนวา หอม เหม็น เปนตน — Gandha~: perception of
smell)
4. รสสัญญา (ความหมายรูร ส เชน วา หวาน เปรย้ี ว ขม เค็ม เปน ตน — Rasa~: perception
of taste)
5. โผฏฐัพพสัญญา (ความหมายรูส ัมผัสทางกาย เชน วา ออน แข็ง หยาบ ละเอยี ด รอน เยน็
เปน ตน — Phoññhabba~: perception of tangible objects)
6. ธมั มสญั ญา (ความหมายรอู ารมณท างใจ เชน วา งาม นา เกลียด เทยี่ ง ไมเ ที่ยง เปนตน —
Dhamma~: perception of mind-objects)
D.III.244; A.III.413. ท.ี ปา.11/309/255; องฺ.ฉกกฺ .22/334/461.
[272] สัมผัส หรอื ผัสสะ 6 (ความกระทบ, ความประจวบกันแหง อายตนะภายใน
อายตนะภายนอก และวิญญาณ — Samphassa, Phassa: contact; sense-impression)
1. จกั ขสุ มั ผสั (ความกระทบทางตา คอื ตา + รปู + จกั ขวุ ญิ ญาณ — Cakkhu-samphassa:
eye-contact)
2. โสตสัมผสั (ความกระทบทางหู คอื หู + เสยี ง + โสตวญิ ญาณ — Sota~: ear-contact)
3. ฆานสัมผัส (ความกระทบทางจมกู คอื จมูก + กลน่ิ + ฆานวิญญาณ — Ghàna~: nose-
contact)
4. ชวิ หาสัมผัส (ความกระทบทางลน้ิ คือ ล้ิน + รส + ชวิ หาวิญญาณ — Jivhà~: tongue-
contact)
5. กายสัมผัส (ความกระทบทางกาย คือ กาย + โผฏฐพั พะ + กายวญิ ญาณ — Kàya~:
body-contact)
6. มโนสมั ผสั (ความกระทบทางใจ คอื ใจ + ธรรมารมณ + มโนวญิ ญาณ — Mano~:
mind-contact)
D.III.243; S.II.3. ท.ี ปา.11/307/255; ส.ํ นิ.16/12/4.
[273] สารณียธรรม 6 (ธรรมเปนทตี่ งั้ แหงความใหร ะลึกถงึ , ธรรมเปน เหตุใหระลกึ ถึง
กัน, ธรรมท่ีทําใหเกดิ ความสามัคคี, หลกั การอยรู ว มกัน — Sàraõãyadhamma: states of
conciliation; virtues for fraternal living) สาราณียธรรม ก็ใช
หมวด 6 201 [273]
1. เมตตากายกรรม (ตั้งเมตตากายกรรมในเพ่อื นพรหมจรรย ทง้ั ตอหนาและลับหลงั คอื
ชว ยเหลือกิจธุระของผรู วมหมูค ณะดว ยความเต็มใจ แสดงกริ ยิ าอาการสุภาพ เคารพนับถอื กัน
ทงั้ ตอหนา และลบั หลงั — Mettàkàyakamma: to be amiable in deed, openly and in
private)
2. เมตตาวจีกรรม (ต้ังเมตตาวจีกรรมในเพ่อื นพรหมจรรย ทัง้ ตอ หนา และลบั หลัง คอื ชวย
บอกแจง สิ่งทเี่ ปนประโยชน สั่งสอน แนะนําตกั เตอื นดว ยความหวงั ดี กลา ววาจาสภุ าพ แสดง
ความเคารพนบั ถอื กัน ทง้ั ตอหนาและลบั หลงั — Mettàvacãkamma: to be amiable in
word, openly and in private)
3. เมตตามโนกรรม (ต้ังเมตตามโนกรรมในเพือ่ นพรหมจรรย ทั้งตอหนาและลบั หลงั คอื ตงั้
จติ ปรารถนาดี คิดทาํ ส่งิ ทเ่ี ปน ประโยชนแกก ัน มองกันในแงดี มีหนาตายม้ิ แยมแจมใสตอกัน —
Mettàmanokamma: to be amiable in thought, openly and in private)
4. สาธารณโภคติ า (ไดของสง่ิ ใดมากแ็ บง ปนกนั คือ เมื่อไดส งิ่ ใดมาโดยชอบธรรม แมเปน
ของเลก็ นอย ก็ไมหวงไวผเู ดยี ว นํามาแบงปน เฉลีย่ เจอื จาน ใหไดม สี วนรวมใชส อยบริโภคทว่ั กนั
— Sàdhàraõabhogità: to share any lawful gains with virtuous fellows) ขอ นี้ ใช
อัปปฏวิ ิภตั ตโภคี ก็ได
5. สลี สามญั ญตา (มศี ีลบริสทุ ธิเ์ สมอกนั กับเพอื่ นพรหมจรรยท ัง้ หลาย ท้ังตอ หนา และลบั หลงั
คอื มีความประพฤตสิ จุ รติ ดีงาม ถูกตอ งตามระเบยี บวินยั ไมท าํ ตนใหเ ปนท่นี า รงั เกียจของหมู
คณะ — Sãlasàma¤¤atà: to keep without blemish the rules of conduct along with
one’s fellows, openly and in private)
6. ทิฏฐิสามญั ญตา (มที ฏิ ฐดิ งี ามเสมอกันกบั เพอื่ นพรหมจรรยท ั้งหลาย ทงั้ ตอ หนา และลับหลัง
คือ มคี วามเหน็ ชอบรว มกัน ในขอ ทเี่ ปน หลักการสาํ คัญอันจะนาํ ไปสคู วามหลุดพน ส้นิ ทุกข หรอื
ขจัดปญ หา — Diññhisàma¤¤atà: to be endowed with right views along with one’s
fellows, openly and in private)
ธรรม 6 ประการนี้ มคี ุณคอื เปน สารณยี ะ (ทําใหเปน ท่รี ะลึกถึง — making others to
keep one in mind) เปน ปย กรณ (ทาํ ใหเ ปนทรี่ ัก — endearing) เปน ครกุ รณ (ทาํ ใหเปนที่
เคารพ — bringing respect) เปนไปเพ่ือ ความสงเคราะห (ความประสานกลมกลืน —
conducing to sympathy or solidarity) เพอ่ื ความไมว ิวาท (to non-quarrel) เพื่อ ความ
สามคั คี (to concord; harmony) และเพอ่ื เอกภี าพ (ความเปนอันหนึง่ อันเดียวกัน — to
unity)
D.III.245; A.III.288–9. ท.ี ปา.11/317/257; อง.ฺ ฉกกฺ .22/282–3/321–3.
[,,,] อนุตตริยะ 6 ดู [127] อนตุ ตรยิ ะ 6
[,,,] อบายมุข 6 ดู [200] อบายมขุ 6.
[274] 202 พจนานุกรมพุทธศาสตร
[274] อภิญญา 6 (ความรูย ่งิ ยวด — Abhi¤¤à: superknowledge; ultra-conscious
insight)
1. อทิ ธวิ ธิ า หรอื อทิ ธิวธิ ิ (ความรทู ีท่ ําใหแ สดงฤทธิต์ า งๆ ได — Iddhividhà: magical
powers)
2. ทิพพโสต (ญาณท่ที าํ ใหมีหูทพิ ย — Dibbasota: divine ear)
3. เจโตปรยิ ญาณ (ญาณที่ใหก าํ หนดใจคนอื่นได — Cetopariya¤àõa: penetration of the
minds of others; cf. telepathy)
4. ปุพเพนวิ าสานสุ สติ (ญาณท่ที าํ ใหร ะลึกชาตไิ ด — Pubbenivàsànussati: remem-
brance of former existences; cf. retrocognition)
5. ทพิ พจกั ขุ (ญาณท่ีทําใหม ีตาทิพย — Dibbacakkhu: divine eye)
6. อาสวักขยญาณ (ญาณที่ทาํ ใหอาสวะสน้ิ ไป — âsavakkhaya¤àõa: knowledge of the
exhaustion of all mental intoxicants)
หา ขอ แรกเปน โลกิยะ (โลกียอภิญญา) ขอทา ยเปน โลกุตตระ.
ดู [106] วิชชา 3; [297] วชิ ชา 8.
D.III.281; A.III.280; ที.ปา.11/431/307; อง.ฺ ฉกฺก.22/273/311.
[275] อภิฐาน 6 (กรรมทเ่ี ดนยิง่ กวา กรรมอน่ื ๆ, ฐานะอันยิ่งยวด, ฐานอนั หนัก, ความผิด
พลาดสถานหนกั — Abhiñhàna: major wrong doings; great mistakes)
อภฐิ าน 5 ขอ แรก ตรงกบั อนนั ตรยิ กรรม 5 คอื มาตฆุ าต ปต ฆุ าต อรหนั ตฆาต โลหติ ปุ บาท
และ สงั ฆเภท เพมิ่ ขอ 6 คอื
6. อญั ญสตั ถทุ เทส* (ถอื ศาสดาอนื่ คอื ถอื ถกู อยแู ลว กลบั ไพลท ง้ิ ไปถอื ผดิ — A¤¤asatthuddesa:
professing the doctrines of an alien teacher; adopting another teacher)
อภฐิ านนี้ ในบาลที มี่ าเดมิ เรยี กวา อภพั พฐาน (ฐานะทบ่ี คุ คลผถู งึ พรอ มดว ยทฏิ ฐิ คอื ตง้ั แตพ ระ
โสดาบนั ขนึ้ ไป ไมอ าจจะกระทาํ คอื เปน ไปไมไ ดท จี่ ะทาํ — Abhabbaññhàna: acts which are
incapable of being committed by a person possessed of right views; impossibilities)
ดู [245] อนันตริยกรรม 5.
A.III.439; Kh.VI.10, Sn.231. อง.ฺ ฉกกฺ .22/365/490; ข.ุ ข.ุ 25/7/7; ข.ุ ส.ุ 25/314/369.
[276] อายตนะภายใน 6 (ทีเ่ ช่อื มตอ ใหเกิดความร,ู แดนตอความรูฝา ยภายใน —
Ajjhattikàyatana: internal sense-fields) บาลีเรยี ก อัชฌตั ตกิ ายตนะ
1. จกั ขุ (จักษุ, ตา — Cakkhu: the eye)
2. โสตะ (หู — Sota: the ear)
* บางแหง เรยี ก อัญญสตั ถารทุ เทส
หมวด 6 203 [277]
3. ฆานะ (จมกู — Ghàna: the nose)
4. ชิวหา (ล้นิ — Jivhà: the tongue)
5. กาย (กาย — Kàya: the body)
6. มโน (ใจ — Mana: the mind)
ทง้ั 6 น้ี เรียกอกี อยางวา อนิ ทรยี 6 เพราะเปน ใหญในหนา ทขี่ องตนแตละอยา ง เชน จกั ษุ
เปนเจา การในการเห็น เปน ตน
D.III.243; M.III.216; Vbh.70. ท.ี ปา.11/304/255; ม.อุ.14/619/400; อภิ.วิ.35/99/85.
[277] อายตนะภายนอก 6 (ท่เี ช่ือมตอใหเกดิ ความร,ู แดนตอความรฝู ายภายนอก —
Bàhiràyatana: external sense-fields) บาลเี รยี ก พาหิรายตนะ
1. รปู ะ (รูป, สิ่งทีเ่ หน็ หรอื วัณณะ คอื สี — Råpa: form; visible objects)
2. สทั ทะ (เสียง — Sadda: sound)
3. คนั ธะ (กลิน่ — Gandha: smell; odour)
4. รสะ (รส — Rasa: taste)
5. โผฏฐัพพะ (สมั ผัสทางกาย, สง่ิ ทีถ่ กู ตอ งกาย — Phoññhabba: touch; tangible objects)
6. ธรรม หรอื ธรรมารมณ (อารมณท ่ีเกิดกับใจ, ส่งิ ทีใ่ จนึกคิด — Dhamma: mind-
objects)
ท้ัง 6 นี้ เรยี กทวั่ ไปวา อารมณ 6 คือ เปน สงิ่ สําหรบั ใหจติ ยึดหนวง
D.III.243; M.III.216; Vbh.70. ที.ปา.11/305/255; ม.อ.ุ 14/620/400; อภิ.วิ.35/99/85.
สตั ตกะ — หมวด 7
Groups of Seven
[278] กัลยาณมิตรธรรม 7 (องคค ณุ ของกลั ยาณมติ ร, คณุ สมบตั ขิ องมติ รดหี รอื มติ รแท
คอื ทา นทคี่ บหรอื เขา หาแลว จะเปน เหตใุ หเ กดิ ความดงี ามและความเจรญิ ในทนี่ ม้ี งุ เอามติ รประเภท
ครูหรือพ่ีเลีย้ งเปนสําคัญ — Kalyàõamitta-dhamma: qualities of a good friend)
1. ปโ ย (นา รัก ในฐานเปน ที่สบายใจและสนิทสนม ชวนใหอยากเขา ไปปรกึ ษาไตถาม — Piyo:
lovable; endearing)
2. ครุ (นา เคารพ ในฐานประพฤติสมควรแกฐ านะ ใหเ กดิ ความรูสกึ อบอุน ใจ เปนที่พึ่งได และ
ปลอดภยั — Garu: esteemable; respectable; venerable)
3. ภาวนโี ย (นาเจริญใจ หรือนา ยกยอ ง ในฐานทรงคณุ คือความรแู ละภมู ิปญญาแทจ ริง ทั้งเปน
ผฝู กอบรมและปรบั ปรงุ ตนอยเู สมอ ควรเอาอยา ง ทาํ ใหร ะลึกและเอยอางดวยซาบซงึ้ ภูมใิ จ —
Bhàvanãyo: adorable; cultured; emulable)
4. วตฺตา จ (รูจกั พูดใหไ ดผ ล รูจักชแี้ จงใหเ ขาใจ รูวาเม่อื ไรควรพูดอะไรอยา งไร คอยใหค าํ แนะ
นาํ วากลาวตักเตือน เปนทป่ี รกึ ษาทด่ี ี — Vattà ca: being a counsellor)
5. วจนกขฺ โม (อดทนตอถอ ยคํา คอื พรอมท่จี ะรบั ฟงคาํ ปรึกษา ซกั ถาม คาํ เสนอ และวพิ ากษ
วิจารณ อดทนฟง ไดไ มเบอ่ื ไมฉุนเฉยี ว — Vacanakkhamo: being a patient listener)
6. คมภฺ ีรฺจ กถํ กตตฺ า (แถลงเรื่องล้ําลึกได สามารถอธบิ ายเรือ่ งยุงยากซับซอ นใหเขาใจ และ
ใหเรยี นรูเรื่องราวทลี่ กึ ซ้งึ ยิ่งข้ึนไป — Gambhãra¤ca katha§ kattà: able to deliver deep
discourses or to treat profound subjects)
7. โน จฏ าเน นโิ ยชเย (ไมช ักนาํ ในอฐาน คือ ไมแนะนาํ ในเรื่องเหลวไหล หรือชักจูงไปใน
ทางเส่อื มเสีย — No caññhàne niyojaye: never exhorting groundlessly; not leading or
spurring on to a useless end)
A.IV.31. องฺ.สตตฺ ก.23/34/33.
[279] ธรรมมีอุปการะมาก 7 (Bahukàra-dhamma: virtues of great assistance)
ธรรมหมวดน้ี ทา นหมายเอาอรยิ ทรัพย 7 ประการ
ดู [292] อรยิ ทรัพย 7
D.III.282. ท.ี ปา.11/433/310.
[280] บุพนิมิตแหงมรรค 7 (ธรรมท่เี ปน เครื่องหมายบง บอกลวงหนาวา มรรคมี
องค 8 ประการอนั ประเสรฐิ จะเกดิ ขน้ึ แกผ นู น้ั ดจุ แสงอรณุ เปน บพุ นมิ ติ ของการทดี่ วงอาทติ ยจ ะ
อทุ ยั , แสงเงนิ แสงทองของชวี ติ ทดี่ ,ี รงุ อรณุ ของการศกึ ษา — Magguppàda-pubbanimitta: a
หมวด 7 205 [281]
foregoing sign for the arising of the Noble Eightfold Path; precursor of the Noble
Path; harbinger of a good life or of the life of learning)
1. กลั ยาณมิตตตา (ความมกี ัลยาณมติ ร, มมี ติ รด,ี คบหาคนท่เี ปน แหลง แหงปญ ญาและแบบ
อยางทด่ี ี — Kalyàõamittatà: good company; having a good friend; association with
a good and wise person)
2. สีลสัมปทา (ความถึงพรอมดว ยศีล, การทาํ ศีลใหถ ึงพรอ ม, ต้งั ตนอยูในวินยั และมีความ
ประพฤตทิ ่วั ไปดงี าม — Sãla-sampadà: perfection of morality; accomplishment in
discipline and moral conduct)
3. ฉนั ทสัมปทา (ความถึงพรอมดว ยฉันทะ, การทาํ ฉนั ทะใหถ ึงพรอ ม, ความใฝใจอยากจะทาํ
กจิ หนาทแ่ี ละสิง่ ทงั้ หลายทเ่ี กย่ี วขอ งใหดงี าม, ความใฝร ูใฝส รา งสรรค — Chanda-sampadà:
perfection of aspiration; accomplishment in constructive desire)
4. อตั ตสัมปทา (ความถึงพรอมดว ยตนทฝ่ี ก ดีแลว, การทําตนใหถึงพรอ มดว ยคณุ สมบัติของผู
ท่พี ฒั นาแลวโดยสมบรู ณ ท้งั ดา นกาย ศีล จิต และปญ ญา [ทจี่ ะเปน ภาวิตตั ต คือผมู ตี นอันได
พฒั นาแลว] — Atta-sampadà: perfection of oneself; acomplishment in self that has
been well trained; dedicating oneself to training for the realization of one’s full
human potential; self-actualization)
5. ทฏิ ฐิสัมปทา (ความถึงพรอมดว ยทฏิ ฐ,ิ การทาํ ทิฏฐิใหถ งึ พรอม, การต้งั อยูในหลกั ความคดิ
ความเชื่อถือที่ถูกตองดีงามมีเหตุผล เชน ถือหลักความเปนไปตามเหตุปจจัย — Diññhi-
sampadà: perfection of view; accomplishment in view; to be established in good
and reasoned principles of thought and belief)
6. อปั ปมาทสมั ปทา (ความถงึ พรอ มดว ยความไมป ระมาท, การทาํ ความไมป ระมาทใหถ งึ พรอ ม
— Appamàda-sampadà: perfection of heedfulness; accomplishment in diligence)
7. โยนโิ สมนสิการสัมปทา (ความถึงพรอมดวยโยนโิ สมนสกิ าร, การทําโยนิโสมนสกิ ารใหถ งึ
พรอม, ความฉลาดคิดแยบคายใหเห็นความจรงิ และหาประโยชนได — Yonisomanasikàra-
sampadà: perfection of wise reflection; accomplishment in systematic attention)
เมื่อใดธรรมทีเ่ ปนบุพนมิ ิต 7 ประการนี้ แมอยางใดอยา งหนึง่ เกดิ มีในบุคคลแลว เม่อื นั้น
ยอ มเปนอนั หวงั ไดวาเขาจกั เจรญิ พัฒนา ทาํ ใหม าก ซ่ึงมรรคมอี งค 8 ประการอันประเสริฐ คอื
จักดาํ เนินกา วไปในมัชฌมิ าปฏิปทา.
ดู [34] ปจจยั ใหเกิดสมั มาทฏิ ฐิ 2, [293] มรรคมีองค 8
S.V.30–31. สํ.ม.19/130–6/36.
[281] โพชฌงค 7 (ธรรมทเ่ี ปน องคแ หง การตรสั รู — Bojjhaïga: enlightenment factors)
1. สติ (ความระลึกได สาํ นกึ พรอ มอยู ใจอยกู ับกจิ จติ อยูก ับเรอื่ ง — Sati: mindfulness)
[282] 206 พจนานุกรมพทุ ธศาสตร
2. ธมั มวจิ ยะ (ความเฟนธรรม, ความสอดสอ งสืบคน ธรรม — Dhammavicaya: truth
investigation)
3. วิริยะ (ความเพยี ร — Viriya: effort; energy)
4. ปต ิ (ความอมิ่ ใจ — Pãti: zest; rapture)
5. ปสสัทธิ (ความผอ นคลายสงบเยน็ กายใจ — Passaddhi: tranquillity; calmness)
6. สมาธิ (ความมใี จต้ังม่นั จติ แนว แนในอารมณ — Samàdhi: concentration)
7. อุเบกขา (ความมีใจเปนกลางเพราะเห็นตามเปนจรงิ — Upekkhà: equanimity)
แตล ะขอ เรียกเต็ม มี สัมโพชฌงค ตอ ทายเปน สติสมั โพชฌงค เปน ตน.
D.III.251,282; Vbh.277. ที.ปา.11/327/264; 434/310; อภิ.วิ.35/542/306.
[282] ภรรยา 7 (ภรรยาแบบตางๆ จาํ แนกโดยคณุ ธรรม ความประพฤติ ลกั ษณะนิสัย และ
การปฏบิ ตั ติ อ สามี — Bhariyà: seven types of wives)
1. วธกาภรยิ า (ภรรยาเยย่ี งเพชฌฆาต, ภรรยาทคี่ ิดราย ซื้อไดดว ยเงนิ มิไดอ ยกู นิ ดวยความ
พอใจ ยินดชี ายอ่ืน ดหู มิ่นและคิดทาํ ลายสามี — Vadhakà-bhariyà: a wife like a slayer;
destructive wife)
2. โจรีภรยิ า (ภรรยาเย่ยี งโจร, ภรรยาผลู างผลาญทรพั ยส มบัติ — Corã~: a wife like a
robber; thievish wife)
3. อยั ยาภรยิ า (ภรรยาเยย่ี งนาย, ภรรยาทเี่ กยี จครา น ไมใ สใ จการงาน กนิ มาก ปากรา ย หยาบคาย
ใจเหยี้ ม ชอบขม สามี — Ayyà~: a wife like a mistress: Madam High and Mighty)
4. มาตาภรยิ า (ภรรยาเย่ยี งมารดา, ภรรยาทีห่ วังดเี สมอ คอยหวงใยเอาใจใสส ามี เหมือน
มารดาปกปองบตุ ร และประหยดั รักษาทรัพยท่ีหามาได — Màtà~: a wife like a mother;
motherly wife)
5. ภคินีภริยา (ภรรยาเยีย่ งนองสาว, ภรรยาผเู คารพรักสามี ดงั นองรักพ่ี มีใจออนโยน รจู กั
เกรงใจและคลอยตามสามี — Bhaginã~: a wife like a sister; sisterly wife)
6. สขภี รยิ า (ภรรยาเยี่ยงสหาย, ภรรยาที่เปน เหมอื นเพ่ือน พบสามเี มือ่ ใด ก็ปลาบปลมื้ ดใี จ
เหมือนเพอื่ นพบเพอื่ นทจ่ี ากไปนาน เปน ผมู ีการศกึ ษาอบรม มกี ริ ยิ ามารยาท ความประพฤตดิ ี
ภักดีตอสามี — Sakhã~: a wife like a companion; friendly wife)
7. ทาสภี รยิ า (ภรรยาเยย่ี งทาสี, ภรรยาทย่ี อมอยใู นอาํ นาจสามี ถกู ขตู ะคอกเฆ่ียนตี ก็อดทนไม
โกรธตอบ — Dàsã~: a wife like a handmaid; slavish wife)
ทา นสอนใหภรรยาสาํ รวจตนวา ท่ีเปน อยู ตนเปนภรรยาประเภทไหน และจะใหด คี วรจะเปน
ภรรยาประเภทใด; สําหรบั ชาย อาจใชเปน หลักสํารวจอปุ นสิ ัยของตนวาควรแกหญิงประเภทใด
เปนคคู รอง และสํารวจหญงิ ทจี่ ะเปน คูครองวาเหมาะกบั อปุ นสิ ัยของตนหรอื ไม.
A.IV.91; J.II.347. อง.ฺ สตฺตก.23/60/92; ชา.อ.4/92.
หมวด 7 207 [284]
[283] เมถุนสังโยค 7 (อาการทเี่ กย่ี วขอ งกบั เมถนุ หรอื นบั เนอื่ งในเมถนุ , ความประพฤติ
พวั พนั กบั เมถนุ , เครอื่ งผกู มดั ไวก บั เมถนุ — Methuna-sa§yoga: bonds of sexuality; sex-
bonds which cause the renting or blotching of the life of chastity despite no actual
sexual intercourse)
สมณะ ก็ดี พราหมณ กด็ ี บางคน ปฏญิ าณตนวา เปนพรหมจารี เขามไิ ดรว มประเวณีกับมาตคุ ามก็
จรงิ แตยงั ยนิ ดี ปลาบปล้ืม ช่นื ใจ ดวยเมถุนสังโยค 7 อยางใดอยา งหนง่ึ พรหมจรรยข องผนู ้นั ยังช่อื วาขาด
ทะลุ ดา ง พรอย เปนการประพฤตพิ รหมจรรยท ีไ่ มบริสุทธ์ิ ประกอบดวยเมถุนสังโยค ยอ มไมพ น ไปจาก
ทุกข กลาวคือ
1. ยินดกี ารลูบไล ขดั สี ใหอ าบน้ํา และการนวดฟน ของมาตคุ าม ปล้มื ใจดวยการบําเรอนน้ั
(enjoyment of massage, manipulation, bathing and rubbing down by women)
2. ไมถึงอยางน้นั แตยังกระซกิ กระซ้ี เลน หัว สัพยอก กับมาตคุ าม ปลม้ื ใจดว ยการกระทํา
อยา งนัน้ (enjoyment of joking, jesting and making merry with women)
3. ไมถ ึงอยางนนั้ แตยงั เพง จอ งดตู ากับมาตคุ าม ปลืม้ ใจดว ยการทําอยางนัน้ (enjoyment
of gazing and staring at women eye to eye)
4. ไมถึงอยา งนน้ั แตยงั ชอบฟงเสียงมาตคุ ามหัวเราะ ขบั รอง หรือรอ งไหอ ยู ขางนอกฝา
นอกกําแพง แลว ปลม้ื ใจ (enjoyment of listening to women as they laugh, talk, sing
or weep beyond a wall or a fence)
5. ไมถึงอยางน้ัน แตยังชอบตามนึกถึงการเกาท่ีไดเคยหัวเราะพูดจาเลนหัวกับมาตุคาม
แลวปลม้ื ใจ (enjoyment of recalling the laughs, talks and jests one formerly had
with women)
6. ไมถึงอยา งนน้ั แตชอบดูคฤหบดี หรือบุตรคฤหบดี ผเู อบิ อ่มิ พร่ังพรอ มดวยกามคณุ ท้ัง 5
บํารุงบําเรอตนอยู แลวปล้ืมใจ (enjoyment of seeing a householder or a
householder’s son indulging in sensual pleasures)
7. ไมถงึ อยางน้นั แตป ระพฤตพิ รหมจรรย ต้ังปรารถนาเพ่อื จะไดเปน เทพเจาหรือเทพองค
ใดองคห นึ่ง (leading the life of chastity aspiring to be reborn as a god or a deity)
A.IV.54. อง.ฺ สตฺตก.23/47/56.
[284] วิญญาณฐิติ 7 (ภูมิเปน ที่ต้ังแหง วญิ ญาณ — Vi¤¤àõaññhiti: abodes or
supports of consciousness)
1. สัตวบางพวก มกี ายตางกนั มีสญั ญาตา งกัน เชน พวกมนษุ ย เทพบางเหลา วินิปาติกะ
(เปรต) บางเหลา (beings different in body and in perception)
2. สัตวบ างพวก มีกายตางกัน แตมสี ัญญาอยา งเดียวกัน เชน เหลา เทพจําพวกพรหมผู
เกดิ ในภูมปิ ฐมฌาน (beings different in body, but equal in perception)
[285] 208 พจนานุกรมพุทธศาสตร
3. สตั วบางพวก มีกายอยา งเดียวกนั แตม สี ญั ญาตา งกนั เชน พวกเทพอาภสั สรา (beings
equal in body, but different in perception)
4. สัตวบางพวก มีกายอยางเดียวกัน มีสัญญาอยางเดียวกัน เชน พวกเทพสุภกิณหะ
(beings equal in body and in perception)
5. สัตวบ างพวก ผูเขา ถงึ ชั้นอากาสานญั จายตนะ (beings reborn in the sphere of
Boundless Space)
6. สตั วบางพวก ผูเขา ถงึ ช้ันวญิ ญาณัญจายตนะ (beings reborn in the sphere of
Boundless Consciousness)
7. สตั วบางพวก ผเู ขา ถงึ ชั้นอากิญจัญญายตนะ (beings reborn in the sphere of
Nothingness)
D.III.253; A.IV.39. ท.ี ปา.11/335/265; อง.ฺ สตตฺ ก.23/41/41.
[285] วิสุทธิ 7 (ความหมดจด, ความบริสุทธ์ทิ ่ีสูงขึ้นไปเปนขน้ั ๆ, ธรรมที่ชาํ ระสัตวให
บริสุทธิ์ ยังไตรสิกขาใหบริบูรณเปนขั้นๆ ไปโดยลําดับ จนบรรลุจุดหมายคือนิพพาน —
Visuddhi: purity; stages of purity; gradual purification)
1. สลี วิสทุ ธิ (ความหมดจดแหงศีล คือ รกั ษาศลี ตามภมู ขิ ั้นของตนใหบริสุทธ์ิ และใหเปน ไป
เพอื่ สมาธิ — Sãla-visuddhi: purity of morality) วสิ ทุ ธมิ คั คว า ไดแก ปารสิ ุทธศิ ีล 4 [160]
2. จิตตวิสทุ ธิ (ความหมดจดแหง จติ คอื ฝก อบรมจิตจนบังเกดิ สมาธพิ อเปน บาทฐานแหง
วิปส สนา — Citta~: purity of mind) วสิ ทุ ธิมคั คว า ไดแก สมาบัติ 8 พรอมท้งั อุปจาร
3. ทฏิ ฐิวิสทุ ธิ (ความหมดจดแหง ทฏิ ฐิ คอื ความรเู ขา ใจมองเหน็ นามรปู ตามสภาวะทเ่ี ปน จรงิ
เปน เหตขุ ม ความเขา ใจผดิ วา เปน สตั วบ คุ คลเสยี ได เรมิ่ ดาํ รงในภมู แิ หง ความไมห ลงผดิ — Diññhi~:
purity of view; purity of understanding) จดั เปน ขนั้ กาํ หนดทุกขสัจจ
4. กงั ขาวติ รณวสิ ุทธิ (ความหมดจดแหงญาณเปนเหตุขามพนความสงสัย, ความบริสุทธขิ์ ้นั ท่ี
ทาํ ใหก าํ จดั ความสงสยั ได คอื กําหนดรูปจ จัยแหงนามรูปไดแ ลวจึงส้นิ สงสยั ในกาลทัง้ 3 — Kaï
khàvitaraõa~: purity of transcending doubts) ขอน้ีตรงกับ ธรรมฐติ ญิ าณ หรอื
ยถาภตู ญาณ หรือ สมั มาทสั สนะ จดั เปนข้นั กําหนดสมุทัยสัจจ
5. มัคคามคั คญาณทัสสนวิสทุ ธิ (ความหมดจดแหง ญาณทร่ี ูเ ห็นวา เปนทางหรอื มใิ ชทาง คอื
เริ่มเจริญวิปสสนาตอไปดวยพิจารณากลาป จนมองเห็นความเกิดข้ึน และความเสื่อมไปแหง
สังขารทง้ั หลาย อนั เรยี กวา อุทยัพพยานปุ สสนา เปน ตรณุ วิปสสนา คือวิปส สนาญาณออนๆ แลว
มวี ิปสสนูปกิเลส เกิดขนึ้ กาํ หนดไดวาอุปกเิ ลสท้ัง 10 แหง วปิ ส สนานนั้ มิใชทาง สวนวปิ ส สนาท่ี
เรม่ิ ดําเนินเขา สูวถิ นี ั่นแลเปนทางถกู ตอง เตรยี มที่จะประคองจติ ไวใ นวิถีคือ วปิ สสนา-ญาณ นั้น
ตอ ไป — Maggàmagga¤àõadassana~: purity of the knowledge and vision
regarding path and not-path) ขอ น้จี ดั เปนข้ันกาํ หนดมัคคสจั จ
หมวด 7 209 [286]
6. ปฏปิ ทาญาณทสั สนวสิ ทุ ธิ (ความหมดจดแหง ญาณอนั รเู หน็ ทางดาํ เนนิ คอื ประกอบความ
เพยี รในวปิ ส สนาญาณทง้ั หลายเรม่ิ แตอ ทุ ยพั พยานปุ ส สนาญาณทพ่ี น จากอปุ กเิ ลสดาํ เนนิ เขา สวู ถิ ที าง
แลว นนั้ เปน ตน ไป จนถงึ สจั จานโุ ลมกิ ญาณหรอื อนโุ ลมญาณ อนั เปน ทส่ี ดุ แหง วปิ ส สนา ตอ แตน กี้ ็
จะเกดิ โคตรภญู าณ คนั่ ระหวา งวสิ ทุ ธขิ อ นกี้ บั ขอ สดุ ทา ย เปน หวั ตอ แหง ความเปน ปถุ ชุ นกบั ความ
เปน อรยิ บคุ คล โดยสรปุ วสิ ทุ ธขิ อ น้ี กค็ อื วปิ ส สนาญาณ 9 — Pañipadà¤àõadassana~: purity
of the knowledge and vision of the way of progress)
7. ญาณทสั สนวสิ ทุ ธิ (ความหมดจดแหง ญาณทัสสนะ คอื ความรูในอริยมรรค 4 หรือ
มรรคญาณ อนั เกิดถดั จากโคตรภญู าณเปนตนไป เมื่อมรรคเกิดแลว ผลจติ แตละอยา งยอมเกิด
ขน้ึ ในลาํ ดับถัดไปจากมรรคญาณน้ันๆ ความเปนอริยบุคคลยอมเกิดข้ึนโดยวิสทุ ธิขอนี้ เปน อัน
บรรลุผลทห่ี มายสูงสุดแหง วสิ ุทธิ หรอื ไตรสกิ ขา หรอื การปฏบิ ัตธิ รรมในพระพุทธศาสนาทัง้ ส้ิน
— ¥àõadassana~: purity of knowledge and vision)
วสิ ทุ ธิ 7 เปนปจจยั สง ตอ กนั ขน้ึ ไปเพือ่ บรรลนุ พิ พาน ดุจรถ 7 ผลัดสงตอกนั ใหบคุ คลถงึ ที่
หมาย โดยนยั ดงั แสดงแลว
ดู [328] วิปส สนปู กิเลส 10; [311] วปิ ส สนาญาณ 9.
M.I.149; Vism.1–710. ม.มู.12/298/295; คมั ภรี วิสทุ ธมิ คั คทง้ั หมด.
[286] สัปปายะ 7 (สิง่ ทส่ี บาย, สภาพเอ้ือ, ส่งิ ทเ่ี ก้ือกูล, ส่ิงที่เอื้อตอการอยดู ีและการท่จี ะ
พฒั นาชีวิต, สงิ่ ทีเ่ หมาะกัน อันเกอื้ หนุนในการเจรญิ ภาวนาใหไ ดผลดี ชว ยใหส มาธติ ัง้ มน่ั ไม
เสื่อมถอย — Sappàya: beneficial or advantageous conditions; suitable or
agreeable things; things favourable to mental development)
1. อาวาสสปั ปายะ (ทอี่ ยอู นั เหมาะ เชน ปลอดภยั ไมพ ลกุ พลา นจอแจ — âvàsa-sappàya:
suitable abode) บางแหง เรยี ก เสนาสนสัปปายะ
2. โคจรสปั ปายะ (แหลง อาหารอํานวย ท่ีเที่ยวบณิ ฑบาตทเี่ หมาะดี เชน มีหมบู านหรือชมุ ชนที่
มีอาหารบริบรู ณอ ยไู มใ กลไมไ กลเกินไป — Gocara~: suitable resort)
3. ภสั สสัปปายะ (การพูดคุยทเ่ี หมาะกัน เชน พูดคุยเลาขานกนั แตใ นกถาวตั ถุ 10 และพดู แต
พอประมาณ ขา วสารและส่อื สารทีเ่ ออ้ื ปญญา — Bhassa~: suitable speech) บางแหง เรียก
ธัมมัสสวนสปั ปายะ
4. ปคุ คลสัปปายะ (บคุ คลทีถ่ กู กันเหมาะกนั เชน ไมมคี นราย แตม ีทานผทู รงคณุ ธรรม ทรง
ภูมปิ ญ ญาเปนทีป่ รึกษาเหมาะใจ — Puggala~: suitable person)
5. โภชนสัปปายะ (อาหารที่เหมาะกัน เชน ถกู กับรางกาย เกอ้ื กลู ตอสขุ ภาพ ฉนั ไมย าก —
Bhojana~: suitable food) บางแหง เรียก อาหารสัปปายะ
6. อุตสุ ปั ปายะ (ดนิ ฟา อากาศธรรมชาติแวดลอ มที่เหมาะ เชน ไมห นาวเกนิ ไป ไมร อ นเกนิ ไป
เปนตน — Utu~: suitable climate)
7. อิรยิ าปถสัปปายะ (อิริยาบถทเี่ หมาะกนั เชน บางคนถกู กับจงกรม บางคนถกู กับนั่ง ตลอด
[287] 210 พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร
จนมกี ารเคลื่อนไหวทีพ่ อดี มอี ริ ยิ าบถสมดลุ — Iriyàpatha~: suitable posture)
Vism. 127; Vin.A.II.429; MA.II.911. วิสุทฺธ.ิ 1/161; วนิ ย.อ.1/524; ม.อ.3/570.
[287] สัปปุริสธรรม 71 (ธรรมของสัตบรุ ษุ , ธรรมทีท่ ําใหเปนสตั บุรษุ , คณุ สมบตั ขิ อง
คนดี, ธรรมของผูดี — Sappurisa-dhamma: qualities of a good man; virtues of a
gentleman)
1. ธัมมัญุตา (ความรจู กั ธรรม รหู ลัก หรือ รูจกั เหตุ คือ รหู ลักความจริง รหู ลักการ รูหลัก
เกณฑ รกู ฎแหงธรรมดา รกู ฎเกณฑแหง เหตผุ ล และรหู ลกั การทจี่ ะทําใหเ กดิ ผล เชน ภิกษุรูวา
หลักธรรมขอน้ันๆ คอื อะไร มอี ะไรบาง พระมหากษตั รยิ ท รงทราบวา หลกั การปกครองตามราช
ประเพณเี ปน อยา งไร มอี ะไรบา ง รูวา จะตองกระทําเหตอุ นั นๆ้ี หรือกระทาํ ตามหลกั การขอ นๆี้ จงึ
จะใหเกดิ ผลทตี่ องการหรือบรรลจุ ดุ หมายอนั นัน้ ๆ เปนตน — Dhamma¤¤utà: knowing the
law; knowing the cause)
2. อัตถญั ุตา (ความรูจ ักอรรถ รคู วามมุงหมาย หรอื รูจกั ผล คอื รคู วามหมาย รคู วามมุง
หมาย รปู ระโยชนที่ประสงค รูจ ักผลที่จะเกดิ ขนึ้ สืบเนือ่ งจากการกระทํา หรอื ความเปนไปตาม
หลกั เชน รวู าหลกั ธรรมหรือภาษติ ขอนั้นๆ มีความหมายวา อยา งไร หลักน้ันๆ มีความมงุ หมาย
อยางไร กาํ หนดไวหรือพงึ ปฏิบตั ิเพ่อื ประสงคประโยชนอ ะไร การที่ตนกระทาํ อยูม ีความมงุ หมาย
อยา งไร เมื่อทาํ ไปแลวจะบังเกิดผลอะไรบาง ดงั นีเ้ ปน ตน — Attha¤¤utà: knowing the
meaning; knowing the purpose; knowing the consequence)
3. อตั ตัญุตา (ความรูจักตน คือ รวู า เราน้ัน วา โดยฐานะ ภาวะ เพศ กําลัง ความรู ความ
สามารถ ความถนดั และคณุ ธรรม เปนตน บดั น้ี เทาไร อยางไร แลวประพฤตใิ หเหมาะสม และ
รูท่จี ะแกไขปรบั ปรงุ ตอ ไป — Atta¤¤utà: knowing oneself)
4. มัตตญั ุตา (ความรจู ักประมาณ คอื ความพอดี เชน ภกิ ษุรูจกั ประมาณในการรับและ
บรโิ ภคปจจัยส่ี คฤหสั ถรจู ักประมาณในการใชจา ยโภคทรพั ย พระมหากษตั ริยร ูจักประมาณใน
การลงทณั ฑอาชญาและในการเกบ็ ภาษี เปน ตน — Matta¤¤utà: moderation; knowing how
to be temperate; sense of proportion)
5. กาลญั ตุ า (ความรจู กั กาล คอื รกู าลเวลาอนั เหมาะสม และระยะเวลาทคี่ วรหรอื จะตอ งใชใ น
การประกอบกจิ ทาํ หนา ทกี่ ารงาน หรอื ปฏบิ ตั กิ ารตา งๆ เชน ใหต รงเวลา ใหเ ปน เวลา ใหท นั เวลา ให
พอเวลา ใหเ หมาะเวลา เปน ตน — Kàla¤¤utà: knowing the proper time; knowing how to
choose and keep time)
6. ปรสิ ญั ตุ า (ความรจู กั บรษิ ทั คอื รจู กั ชมุ ชน และรจู กั ทปี่ ระชมุ รกู ริ ยิ าทจ่ี ะประพฤตติ อ ชมุ ชน
นน้ั ๆ วา ชมุ ชนนเ้ี มอื่ เขา ไปหา จะตอ งทาํ กริ ยิ าอยา งน้ี จะตอ งพดู อยา งนี้ ชมุ ชนนค้ี วรสงเคราะห
อยา งนี้ เปน ตน — Parisa¤¤utà: knowing the assembly; knowing the society)
7. ปคุ คลญั ุตา หรือ ปคุ คลปโรปรญั ุตา (ความรจู กั บคุ คล คือ ความแตกตางแหงบคุ คล
วา โดยอธั ยาศัย ความสามารถ และคณุ ธรรม เปนตน ใครๆ ยิ่งหรือหยอนอยางไร และรูท ่จี ะ
หมวด 7 211 [289]
ปฏบิ ตั ติ อบุคคลน้นั ๆ ดวยดี วา ควรจะคบหรือไม จะใช จะตําหนิ ยกยอง และแนะนําสั่งสอน
อยางไร เปน ตน — Puggala¤¤utà: knowing the individual; knowing the different
individuals)
ภิกษุผูประกอบดวยสปั ปุรสิ ธรรม 7 ขอนี้ ชอ่ื วา เปน ผปู ระกอบดว ยสงั ฆคุณครบ 9 แมพ ระ
อรหันตสัมมาสัมพทุ ธเจา และพระเจาจักรพรรดิ กท็ รงประกอบดวยธรรมเหลานี้ (ทา นแสดงไว
เฉพาะขอหลัก 5 ขอ คอื ขอ 1, 2, 4, 5, 6 องฺ.ปจฺ ก.22/131/166; A.III.148) จงึ ทรงยงั ธรรมจกั รและ
อาณาจักรใหเปน ไปดว ยดี.
D.III.252,283; A.IV.113. ที.ปา.11/331/264; 439/312; อง.ฺ สตตฺ ก.23/65/114.
[,,,] สัปปุริสธรรม 72 ดู [301] สัปปรุ สิ ธรรม 8.
[,,,] สมบัติของอุบาสก 7 ดู [260] อุบาสกธรรม 7.
[,,,] องคคุณของกัลยาณมิตร 7 ดู [278] กลั ยาณมิตรธรรม 7.
[288] อนุสัย 7 (กิเลสทนี่ อนเนอ่ื งอยูในสันดาน — Anusaya: latent tendencies)
1. กามราคะ (ความกําหนดั ในกาม, ความอยากไดต ดิ ใจในกาม — Kàmaràga: lust for
sensual pleasures)
2. ปฏฆิ ะ (ความขัดใจ, ความหงดุ หงิดขัดเคือง คอื โทสะ — Pañigha: repulsion; irritation;
grudge)
3. ทฏิ ฐิ (ความเหน็ ผิด, การยึดถอื ความเห็น เอาความคิดเห็นเปนความจรงิ — Diññhi: wrong
view; speculative opinion)
4. วจิ ิกจิ ฉา (ความลังเล, ความสงสยั — Vicikicchà: doubt; uncertainty)
5. มานะ (ความถือตวั — Màna: conceit)
6. ภวราคะ (ความกําหนดั ในภพ, ความอยากเปน อยากย่งิ ใหญ อยากยัง่ ยืน — Bhavaràga:
lust for becoming)
7. อวชิ ชา (ความไมร ูจรงิ คือ โมหะ — Avijjà: ignorance)
อนสุ ัย 7 นี้ เรยี กอกี อยา งหนงึ่ วา สังโยชน 7
D.III.254, 282; A.IV.8; Vbh.383. ที.ปา.11/337/266; องฺ.สตฺตก.23/11/8; อภิ.วิ.35/1005/517.
[2ธ89ร]รมอป7ร(ธิหรรามนอันิยไธมเรปนรทมตี่ ั้งแ7ห1ง คขวาอมงเสกือ่ มษเัตปนรไิยปเวพัชื่อคชวีามหเรจอืรญิ วฝัชายชเดีอยี วปสราํ ิหหรับาหนมิยชู น-
หรือผูบ รหิ ารบา นเมือง — Vajjã-aparihàniyadhamma: things leading never to decline
but only to prosperity; conditions of welfare)
1. หม่นั ประชุมกนั เนอื งนิตย (to hold regular and frequent meetings)
2. พรอ มเพรยี งกนั ประชุม พรอมเพรยี งกันเลกิ ประชมุ พรอ มเพรยี งกันทํากิจท่ีพงึ ทํา (to
[290] 212 พจนานุกรมพทุ ธศาสตร
meet together in harmony, disperse in harmony, and do their business and
duties in harmony)
ขอ น้แี ปลอีกอยา งหนงึ่ วา : พรอ มเพรยี งกันลกุ ขึ้นปองกนั บานเมือง พรอมเพรียงกนั ทํากิจท้ังหลาย
3. ไมบ ญั ญตั ิส่งิ ทมี่ ิไดบ ญั ญัติไว (อนั ขัดตอ หลักการเดมิ ) ไมล มลา งสิง่ ทบี่ ัญญตั ไิ ว (ตาม
หลักการเดมิ ) ถอื ปฏบิ ตั ิม่ันตามวัชชธี รรม (หลกั การ) ตามท่ีวางไวเดิม (to introduce no
revolutionary ordinance, or break up no established ordinance, but abide by the
original or fundamental Vajjian norm and principles)
4. ทานเหลา ใดเปน ผใู หญในชนชาววัชชี เคารพนับถอื ทา นเหลา นน้ั เห็นถอ ยคําของทาน
วาเปนสิ่งอนั ควรรับฟง (to honour and respect the elders among the Vajjians and
deem them worthy of listening to)
5. บรรดากุลสตรกี ุลกุมารที ้ังหลาย ใหอยดู ีโดยมิถูกขมเหง หรือฉุดครา ขืนใจ (the women
and girls of the families are to dwell without being forced or abducted)
6. เคารพสกั การะบชู าเจดยี (ปชู นยี สถานและปชู นยี วตั ถุ ตลอดถงึ อนสุ าวรยี ต า งๆ) ของวชั ชี
(ประจําชาต)ิ ทงั้ หลาย ทัง้ ภายในและภายนอก ไมป ลอ ยใหธ รรมิกพลีท่ีเคยใหเ คยทําแก
เจดียเหลานน้ั เสอื่ มทรามไป (to honour and worship the Vajjian shrines, monuments
and objects of worship, both central and provincial, and do not neglect those righteous
ceremonies held before for them)
7. จัดใหความอารกั ขา คุมครอง ปองกัน อนั ชอบธรรม แกพระอรหันตท ั้งหลาย (ในทน่ี ก้ี ิน
ความกวา ง หมายถงึ บรรพชิตผดู ํารงธรรมเปนหลักใจของประชาชนทวั่ ไป) ตัง้ ใจวา ขอ
พระอรหันตท ั้งหลายทย่ี ังมไิ ดม า พึงมาสูแวนแควน ทม่ี าแลวพึงอยูใ นแวนแควน โดยผาสุก
(to provide the rightful protection, shelter and support for the Arahants and wish
that the Arahants who have not come may enter the realm and those who have
entered may dwell pleasantly therein)
อปรหิ านยิ ธรรม 7 ประการน้ี พระพทุ ธเจาตรสั แสดงแกเ จา วัชชที ง้ั หลาย ผูปกครองรฐั โดย
ระบอบสามัคคีธรรม (republic) ซ่งึ รัฐคอู ริยอมรับวา เมอ่ื ชาววัชชยี ังปฏิบัติตามหลักธรรมนี้ จะ
เอาชนะดว ยการรบไมได นอกจากจะใชก ารเกลีย้ กลอ มหรือยุแยกใหแตกสามัคคี.
D.II.73; A.IV.15. ท.ี ม.10/68/86; องฺ.สตตฺ ก.23/20/18.
[290] อปริหานิยธรรม 72 ของภิกษุ หรอื ภิกขุอปริหานิยธรรม 7
(ธรรมอนั ไมเปนท่ีตง้ั แหงความเส่ือม เปนไปเพ่ือความเจริญฝา ยเดียว สําหรับภิกษุท้งั หลาย —
Bhikkhu-aparihàniyadhamma: things leading never to decline but only to
prosperity; conditions of welfare)
1. หม่ันประชมุ กนั เนอื งนติ ย (to hold regular and frequent meetings)
2. พรอ มเพรยี งกนั ประชมุ พรอ มเพรยี งกนั เลกิ ประชมุ พรอ มเพรยี งกนั ทํากจิ ทส่ี งฆจ ะตอ งทาํ
หมวด 7 213 [291]
(to meet together in harmony, disperse in harmony, and do the business and
duties of the Order in harmony)
ขอน้แี ปลอกี อยา งวา: พรอ มเพรียงกนั ประชมุ พรอ มเพรยี งกันลุกขึ้นจัดการแกไขสิง่ เสยี หาย เหตุไม
งาม พรอมเพรียงกนั ทํากิจท่ีสงฆจ ะตอ งทาํ
3. ไมบ ญั ญตั สิ งิ่ ทพ่ี ระพทุ ธเจา ไมท รงบญั ญตั ิ ไมล ม ลา งสง่ิ ทพี่ ระองคท รงบญั ญตั ไิ ว สมาทาน
ศกึ ษาอยใู นสกิ ขาบททงั้ หลายตามทพ่ี ระองคท รงบญั ญตั ไิ ว (to introduce no revolutionary
ordinance, break up no established ordinance, but train oneself in accordance with
the prescribed training rules)
4. ภกิ ษเุ หลา ใดเปน ผใู หญ เปน สงั ฆบดิ ร เปน สงั ฆปรณิ ายก เคารพนบั ถอื ภกิ ษเุ หลา นนั้ เหน็
ถอ ยคําของทา นวา เปน สงิ่ อนั ควรรบั ฟง (to honour and respect those elders of long
experience, the fathers and leaders of the Order and deem them worthy of
listening to)
5. ไมล อุ าํ นาจตณั หาคอื ความอยากทเี่ กดิ ขน้ึ (not to fall under the influence of craving
which arises)
6. ยินดีในเสนาสนะปา (to delight in forest retreat)
7. ตงั้ สตริ ะลกึ ไวใ นใจวา สพรหมจารี (เพอื่ นพรหมจาร)ี ทง้ั หลายผมู ศี ลี งาม ซง่ึ ยงั ไมม า ขอให
มา ทมี่ าแลว ขอใหอ ยผู าสกุ (to establish oneself in mindfulness, with this thought,
“Let disciplined co-celibates who have not come, come hither, and let those that
have already come live in comfort.”)
D.II.77; A.IV.20. ท.ี ม.10/70/90; องฺ.สตฺตก.23/21/21.
[291] อปริหานิยธรรม 73 ของภิกษุ หรอื ภิกขุอปริหานิยธรรม 7
อีกหมวดหนึ่ง (Bhikkhu-aparihàniyadhamma)
1. น กมฺมารามตา (ไมมวั เพลินการงาน คือไมห ลงเพลิดเพลินหมกมุนวุน อยูก ับงาน เชน การ
เย็บจวี ร ทาํ บริขารตางๆ เปน ตน จนเสอ่ื มเสยี การเลาเรียนศึกษาบาํ เพญ็ สมณธรรม — Na
kammàràmatà: not to be fond of business)
2. น ภสฺสารามตา (ไมม วั เพลินการคุย — Na bhassàràmatà: not to be fond of gossip)
3. น นิททฺ ารามตา (ไมม ัวเพลินการหลับนอน — Na niddàràmatà: not to be fond of
sleeping)
4. น สงคฺ ณกิ ารามตา (ไมม วั เพลินการคลุกคลีหมูค ณะ — Na saïgaõikàràmatà: not to
be fond of society)
5. น ปาปจ ฉฺ ตา (ไมเ ปนผูมคี วามปรารถนาลามก, ไมตกอยใู นอาํ นาจความปรารถนาลามก —
Na pàpicchatà: not to have nor fall under the influence of evil desire)
6. น ปาปมิตฺตตา (ไมเ ปนผมู ปี าปมติ ร — Na pàpamittatà: not to have evil friends)
[292] 214 พจนานุกรมพทุ ธศาสตร
7. น อนตฺ ราโวสานํ (ไมถ ึงความหยุดยง้ั นอนใจเสยี ในระหวาง ดวยการบรรลุคณุ วเิ ศษเพียง
ชั้นตน ๆ — Na antaràvosàna§: not to come to a stop on the way by the
attainment of lesser success)
D.II.78; A.IV.21. ที.ม.10/71/92; องฺ.สตตฺ ก.23/22/23.
[292] อริยทรัพย 7 (ทรัพยอ นั ประเสริฐ, ทรัพยคอื คณุ ธรรมประจาํ ใจอยา งประเสริฐ —
Ariya-dhana: noble treasures)
1. ศรัทธา (ความเชื่อที่มีเหตุผล ม่ันใจในหลักที่ถือและในการดีที่ทํา — Saddhà:
confidence)
2. ศลี (การรกั ษากายวาจาใหเรียบรอย ประพฤติถูกตองดีงาม — Sãla: morality; good
conduct; virtue)
3. หริ ิ (ความละอายใจตอ การทําความชั่ว — Hiri: moral shame; conscience)
4. โอตตัปปะ (ความเกรงกลวั ตอ ความช่วั — Ottappa: moral dread; fear-to-err)
5. พาหสุ จั จะ (ความเปนผูไ ดศกึ ษาเลา เรยี นมาก — Bàhusacca: great learning )
6. จาคะ (ความเสียสละ เออื้ เฟอ เผ่ือแผ — Càga: liberality)
7. ปญญา (ความรคู วามเขา ใจถองแทใ นเหตุผล ดีชั่ว ถกู ผดิ คณุ โทษ ประโยชน มใิ ชประโยชน
รูคิด รูพจิ ารณา และรูทจี่ ะจดั ทาํ — Pa¤¤à: wisdom)
อริยทรพั ย เปน ทรพั ยอันประเสรฐิ อยูภายในจติ ใจ ดกี วา ทรัพยภายนอก เพราะไมมีผูใด
แยง ชงิ ไมส ูญหายไปดว ยภัยอันตรายตา งๆ ทาํ ใจใหไ มอ า งวางยากจน และเปน ทุนสรา งทรัพย
ภายนอกไดดว ย
ธรรม 7 นี้ ทา นเรยี กวา เปน พหกุ ารธรรม หรอื ธรรมมอี ปุ การะมาก (Bahukàradhamma:
virtues of great assistance; D.III.282; ท.ี ปา.11/433/310) เพราะเปน กาํ ลงั หนนุ ชวยสง เสริมในการ
บําเพ็ญคุณธรรมตางๆ ยังประโยชนตนและประโยชนผูอ่ืนใหสําเร็จไดอยางกวางขวางไพบูลย
เปรียบเหมือนคนมีทรพั ยม าก ยอ มสามารถใชจ า ยทรพั ยเ ล้ยี งตนเลย้ี งผอู ่ืนใหมคี วามสขุ และ
บําเพญ็ ประโยชนตางๆ ไดเ ปน อนั มาก.
D.III.163,267; A.IV.5. ที.ปา.11/326/264; อง.ฺ สตตฺ ก.23/6/5.
[,,,] อริยบุคคล 7 ดู [63] อรยิ บคุ คล 7.
[,,,] อุบาสกธรรม 7 ดู [260] อบุ าสกธรรม 7.
อฏั ฐกะ — หมวด 8
Groups of Eight
(including related groups)
[,,,] ฌาน 8 ดู [10] ฌาน 8.
[293] มรรคมีองค 8 หรอื อัฏฐังคิกมรรค (เรียกเตม็ วา อริยอฏั ฐงั คกิ มรรค
แปลวา “ทางมอี งคแ ปดประการ อนั ประเสรฐิ ” — Aññhaïgika-magga: the Noble Eightfold
Path); องค 8 ของมรรค (มคั คังคะ — factors or constituents of the Path) มีดงั น้ี
1. สัมมาทฏิ ฐิ (เหน็ ชอบ ไดแก ความรูอ รยิ สัจจ 4 หรือ เห็นไตรลักษณ หรอื รอู กศุ ลและ
อกุศลมลู กับกศุ ลและกศุ ลมูล หรือเห็นปฏจิ จสมุปบาท — Sammàdiññhi: Right View; Right
Understanding)
2. สมั มาสังกปั ปะ (ดาํ ริชอบ ไดแก เนกขัมมสังกัปป อพยาบาทสงั กปั ป อวหิ ิงสาสังกัปป —
Sammàsaïkappa: Right Thought) ดู [69] กุศลวิตก 3
3. สมั มาวาจา (เจรจาชอบ ไดแ ก วจสี จุ ริต 4 — Sammàvàcà: Right Speech)
4. สมั มากัมมันตะ (กระทาํ ชอบ ไดแ ก กายสจุ ริต 3 — Sammàkammanta: Right Action)
5. สมั มาอาชวี ะ (เล้ียงชพี ชอบ ไดแ ก เวน มิจฉาชีพ ประกอบสมั มาชีพ — Sammà-àjãva:
Right Livelihood)
6. สัมมาวายามะ (พยายามชอบ ไดแก ปธาน หรือ สัมมัปปธาน 4 — Sammàvàyàma:
Right Effort)
7. สัมมาสติ (ระลึกชอบ ไดแก สตปิ ฏ ฐาน 4 — Sammàsati: Right Mindfulness)
8. สมั มาสมาธิ (ตั้งจติ มนั่ ชอบ ไดแก ฌาน 4 — Sammàsamàdhi: Right Concentration)
องค 8 ของมรรค จัดเขาในธรรมขันธ 3 ขอ ตน คอื ขอ 3, 4, 5 เปน ศลี ขอ 6, 7, 8 เปน
สมาธิ ขอ 1, 2 เปน ปญญา ดู [124] สิกขา 3; และหมวดธรรมทีอ่ างถงึ ทัง้ หมด
มรรคมีองค 8 นี้ เปน อริยสัจจ ขอท่ี 4 และไดช ่ือวา มัชฌมิ าปฏปิ ทา แปลวา “ทางสาย
กลาง” เพราะเปนขอปฏิบัติอันพอดีที่จะนําไปสูจุดหมายแหงความหลุดพนเปนอิสระ ดับทุกข
ปลอดปญหา ไมต ิดขอ งในทสี่ ุดทั้งสอง คือ กามสุขัลลกิ านุโยค และอัตตกลิ มถานโุ ยค ดู [15] ที่
สุด 2; [204] อริยสจั จ 4
D.II.312; M.I.61; M.III.251; Vbh.235. ที.ม.10/299/348; ม.ม.ู 12/149/123; ม.อุ.14/704/453; อภิ.ว.ิ 35/569/307.
[294] ลักษณะตัดสินธรรมวินัย 8 หรอื หลักกําหนดธรรมวินัย 8
(Dhammavinaya-nicchayalakkhaõa: criteria of the Doctrine and the Discipline)
ธรรมเหลา ใดเปน ไปเพอ่ื
[295] 216 พจนานกุ รมพุทธศาสตร
1. วิราคะ คือ ความคลายกาํ หนัด, ความไมติดพนั เปน อิสระ (Viràga: detachment;
dispassionateness) มิใชเ พอื่ ความกําหนดั ยอ มใจ หรอื เสริมความติดใคร
2. วิสงั โยค คือ ความหมดเครื่องผกู รดั , ความไมประกอบทกุ ข (Visa§yoga: release from
bondage) มิใชเพื่อผูกรดั หรือประกอบทกุ ข
3. อปจยะ คือ ความไมพ อกพนู กเิ ลส (Apacaya: dispersion of defilements) มใิ ชเพ่ือพอก
พนู กเิ ลส
4. อัปปจฉตา คอื ความอยากอันนอ ย, ความมักนอ ย (Appicchatà: wanting little) มิใช
เพ่ือความอยากอนั ใหญ, ความมักใหญ หรอื มักมากอยากใหญ
5. สันตฏุ ฐี คอื ความสนั โดษ (Santuññhi: contentment) มใิ ชเ พือ่ ความไมสนั โดษ
6. ปวเิ วก คือ ความสงดั (Paviveka: seclusion; solitude) มใิ ชเพือ่ ความคลกุ คลอี ยูในหมู
7. วิริยารัมภะ คอื การประกอบความเพยี ร (Viriyàrambha: energy; exertion) มใิ ชเพือ่
ความเกยี จคราน
8. สภุ รตา คอื ความเลย้ี งงา ย (Subharatà: being easy to support) มใิ ชเ พอ่ื ความเลยี้ งยาก
ธรรมเหลานี้ พึงรวู าเปน ธรรม เปน วินยั เปนสัตถุสาสน คอื คําสอนของพระศาสดา; หมวดน้ี
ตรสั แกพ ระนางมหาปชาบดโี คตมี
Vin.II.259; A.IV.280. วินย.7/523/331; องฺ.อฏก.23/143/289.
[295] ลักษณะตัดสินธรรมวินัย 7 หรอื หลักกําหนดธรรมวินัย 7
(Dhammavinaya-jànanalakkhaõa: criteria of the Doctrine and the Discipline)
ธรรมเหลาใดเปน ไปเพอ่ื
1. เอกันตนิพพิทา (ความหนายส้ินเชิง, ไมหลงใหลเคลิบเคลิ้ม — Ekantanibbidà:
disenchantment)
2. วิราคะ (ความคลายกําหนัด, ไมยึดติดรัดตัว เปนอสิ ระ — Viràga: detachment)
3. นิโรธ (ความดบั , หมดกิเลสหมดทุกข — Nirodha: extinction)
4. อุปสมะ (ความสงบ — Upasama: calm; peace)
5. อภญิ ญา (ความรูย่ิง, ความรูชัด — Abhi¤¤à: discernment; direct knowledge)
6. สมั โพธะ (ความตรสั รู — Sambodha: enlightenment)
7. นพิ พาน (นิพพาน — Nibbàna)
ธรรมเหลา น้ี พงึ รวู า เปน ธรรม เปนวนิ ัย เปน สตั ถุสาสน คือคาํ สอนของพระศาสดา; หมวดนี้
ตรสั แกพ ระอบุ าลี
A.IV.143. อง.ฺ สตตฺ ก.23/80/146.
[296] โลกธรรม 8 (ธรรมดาของโลก, เรอื่ งของโลก, ความเปนไปตามคตธิ รรมดาซ่ึงหมนุ
หมวด 8 217 [297]
เวียนมาหาสัตวโลกและสัตวโลกก็หมุนเวียนตามมันไป — Loka-dhamma: wordly
conditions; wordly vicissitudes)
1. ลาภ (ไดล าภ, มลี าภ — Làbha: gain)
2. อลาภ (เสื่อมลาภ, สูญเสยี — Alàbha: loss)
3. ยส (ไดยศ, มยี ศ — Yasa: fame; rank; dignity)
4. อยส (เสื่อมยศ — Ayasa: obscurity)
5. นินทา (ตเิ ตียน — Nindà: blame)
6. ปสงั สา (สรรเสริญ — Pasa§sà: praise)
7. สขุ (ความสุข — Sukha: happiness)
8. ทกุ ข (ความทุกข — Dukkha: pain)
โดยสรปุ เปน 2 คือ ขอ 1, 3, 6, 7 เปน อิฏฐารมณ คอื สว นท่ีนา ปรารถนา; ขอทีเ่ หลือเปน
อนิฏฐารมณ คือ สวนทไี่ มนา ปรารถนา
โลกธรรมเหลา นี้ ยอ มเกดิ ขน้ึ ทง้ั แกป ถุ ชุ นผมู ไิ ดเ รยี นรู และแกอ รยิ สาวกผไู ดเ รยี นรู ตา งกนั
แตว า คนพวกแรกยอ มไมร เู หน็ เขา ใจตามความเปน จรงิ ลมุ หลง ยนิ ดยี นิ รา ย ปลอ ยใหโ ลกธรรมเขา
ครอบงาํ ยา่ํ ยจี ติ ฟยู บุ เรอื่ ยไป ไมพ น จากทกุ ข มโี สกะปรเิ ทวะ เปน ตน สว นอรยิ สาวกผไู ดเ รยี นรู
พจิ ารณาเหน็ ตามเปน จรงิ วา สงิ่ เหลา นอี้ ยา งใดกต็ ามทเี่ กดิ ขนึ้ แกต น ลว นไมเ ทยี่ ง เปน ทกุ ข มคี วาม
แปรปรวนเปน ธรรมดา ไมห ลงใหลมวั เมาเคลมิ้ ไปตามอฏิ ฐารมณ ไมข นุ มวั หมน หมองคลมุ คลง่ั ไป
ในเพราะอนฏิ ฐารมณ มสี ตดิ าํ รงอยู เปน ผปู ราศจากทกุ ข มโี สกะปรเิ ทวะ เปน ตน
A.IV.157. อง.ฺ อฏก.23/96/159.
[297] วิชชา 8 (ความรแู จง , ความรวู ิเศษ — Vijjà: supernormal knowledge)
1. วปิ ส สนาญาณ (ญาณในวปิ สสนา, ญาณท่ีเปนวิปส สนา คอื ปญ ญาทพ่ี จิ ารณาเหน็ สังขารคือ
นามรปู โดยไตรลักษณ มีตางกันออกไปเปน ชัน้ ๆ ตอเนื่องกัน — Vipassanà¤àõa: insight-
knowledge)
2. มโนมยิทธิ (ฤทธ์สิ าํ เร็จดวยใจ, ฤทธิท์ างใจ คือ นิรมติ กายอ่ืนออกจากกายนี้ ดุจชกั ไสจาก
หญาปลอง ชักดาบจากฝก หรอื ชกั งอู อกจากคราบ — Manomayiddhi: mind-made magical
power)
3. อทิ ธิวธิ า หรอื อิทธิวธิ ิ (แสดงฤทธติ์ า งๆ ได — Iddhividhà: supernormal powers)
4. ทิพพโสต (หูทพิ ย — Dibbasota: divine ear)
5. เจโตปรยิ ญาณ (ความรูท่กี าํ หนดใจผูอ ื่นได — Cetopariya¤àõa: penetration of the
minds of others)
6. ปพุ เพนวิ าสานุสสติ (ระลึกชาติได — Pubbenivàsànussati: remembrance of former
existences)
[298] 218 พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร
7. ทิพพจักขุ (ตาทพิ ย — Dibbacakkhu: divine eye)
8. อาสวักขยญาณ (ความรทู ี่ทําใหส ิน้ อาสวะ — âsavakkhaya¤àõa: knowledge of the
exhaustion of mental intexicants)
ขอท่ี 2 โดยมากจัดเขา ในขอท่ี 3 ดว ย ขอท่ี 3 ถึง 8 (6 ขอ ทาย) ตรงกับ อภญิ ญา 6 ดู [106]
วิชชา 3; [274] อภญิ ญา 6; [311] วิปส สนาญาณ 9.
D.I.76–84; M.II.17. ท.ี ส.ี 9/131–138/101–112.
[298] วิโมกข 8 (ความหลุดพน, ภาวะทีจ่ ิตปลอดพน จากสงิ่ รบกวนและนอ มดิ่งเขาไปใน
อารมณน้นั ๆ อยางปลอ ยตวั หรือปลอดตวั เตม็ ที่ ซึ่งเปนไปในขัน้ ตอนตา งๆ — Vimokkha:
liberations; the eight stages of release)
1. ผมู รี ูป มองเห็นรูปทั้งหลาย (ไดแก รูปฌาน 4 ของผูไดฌานโดยเจริญกสิณทีก่ ําหนดวตั ถใุ น
กายของตน เชน สผี ม — Remaining in the Fine-Material Sphere, one perceives
corporeal forms.)
2. ผูม อี รปู สญั ญาภายใน มองเหน็ รูปทั้งหลายภายนอก (ไดแ ก รูปฌาน 4 ของผูไ ดฌานโดย
เจริญกสิณกาํ หนดอารมณภายนอก — Not perceiveing internal corporeal forms, one
perceives corporeal forms externally.)
3. ผนู อมใจด่งิ ไปวา “งาม” (ไดแ ก ฌานของผเู จริญวรรณกสิณ กําหนดสที ง่ี าม หรอื เจริญ
อัปปมัญญา — One is intent on the thought, “It is beautiful”.)
4. เพราะลว งเสยี ซง่ึ รปู สญั ญาโดยประการทงั้ ปวง เพราะปฏฆิ สญั ญาดบั ไป เพราะไมใ สใ จ
นานตั ตสญั ญา จงึ เขา ถงึ อากาสานญั จายตนะ โดยมนสกิ ารวา อากาศหาทสี่ ดุ มไิ ด (— One
attains and abides in the Sphere of Unbounded Space.)
5. เพราะลว งเสยี ซึง่ อากาสานญั จายตนะโดยประการทั้งปวง จึงเขา ถงึ วญิ ญาณญั จายตนะ
โดยมนสิการวา วญิ ญาณหาท่สี ดุ มไิ ด (— One attains and abides in the Sphere of
Unbounded Consciousness.)
6. เพราะลว งเสยี ซงึ่ วญิ ญาณญั จายตนะโดยประการทงั้ ปวง จงึ เขา ถงึ อากญิ จญั ญายตนะ โดย
มนสกิ ารวา ไมม อี ะไรเลย (— One attains and abides in the Sphere of Nothingness.)
7. เพราะลว งเสยี ซง่ึ อากญิ จญั ญายตนะโดยประการทง้ั ปวง จงึ เขา ถงึ เนวสญั ญานาสญั ญายตนะ
อยู (— One attains and abides in the Sphere of Neither-Perception-Nor-Non-
perception.)
8. เพราะลว งเสยี ซง่ึ เนวสญั ญานาสญั ญายตนะโดยประการทงั้ ปวง จงึ เขา ถงึ สญั ญาเวทยติ นโิ รธ
อยู (— One attains and abides in the Cessation of Perception and Feeling.)
[ ] ศีล 8D.III.262,288; A.IV.306. ที.ปา.11/350/276; 453/328; องฺ.อฏก.23/163/315.
,,, ดู [240] ศีล 8.
หมวด 8 219 [301]
[,,,] ศีล 8 ทั้งอาชีวะดู [241] ศีล 8 ทง้ั อาชีวะ.
[299] สมาบัติ 8 (คุณวเิ ศษเปนท่ีอันบุคคลเขา ถงึ หรือ ธรรมวเิ ศษท่ีควรเขาถงึ , การบรรลุ
ขน้ั สูง — Samàpatti: attainment) ไดแ ก ฌาน 8 คือ รูปฌาน 4 และอรูปฌาน 4
ดู [9] ฌาน 4; [10] ฌาน 8; [207] อรปู 4.
Ps.I.20. ขุ.ปฏิ.31/60/34.
[300] สัปปุริสทาน 8 (ทานของสัตบรุ ษุ , การใหอยางสตั บรุ ุษ — Sappurisa-dàna:
gifts of a good man)
1. สจุ ึ เทติ (ใหข องสะอาด — to give clean things)
2. ปณีตํ เทติ (ใหข องประณตี — to give choice things)
3. กาเลน เทติ (ใหข องเหมาะกาล ใหถ ูกเวลา — to give at fitting times)
4. กปปฺ ยํเทติ (ใหของสมควร ใหของทคี่ วรแกเขา ซงึ่ เขาจะใชไ ด—to give proper things)
5. วเิ จยยฺ เทติ (พิจารณาเลือกให ใหด วยวิจารณญาณ เลือกของ เลอื กคนทจ่ี ะให ใหเกดิ ผล
เกิดประโยชนม าก — to give with discretion)
6. อภณิ หฺ ํ เทติ (ใหเ นอื งนติ ย ใหป ระจาํ หรอื สมาํ่ เสมอ — to give repeatedly or regularly)
7. ททํ จติ ตฺ ํ ปสาเทติ (เมอ่ื ให ทําจติ ผอ งใส — to calm one’s mind on giving)
8. ทตวฺ า อตตฺ มโน โหติ (ใหแลว เบิกบานใจ — to be glad after giving)
A.IV.243. อง.ฺ อฏก.23/127/248.
[301] สัปปุริสธรรม 8 (ธรรมของสัตบรุ ษุ , ธรรมทท่ี าํ ใหเ ปนสัตบุรุษ, คณุ สมบตั ขิ อง
คนดี — Sappurisa-dhamma: qualities of a good man)
1. สทธฺ มมฺ สมนนฺ าคโต (ประกอบดว ยสทั ธรรม 7 ประการ — Saddhamma-samannàgato:
to be endowed with the seven virtues) คอื
ก. มศี รทั ธา — to have confidence
ข. มหี ริ ิ — to have moral shame
ค. มีโอตตัปปะ — to have moral fear
ง. เปนพหูสูต — to be much learned
จ. มคี วามเพียรอันปรารภแลว — to be of stirred-up energy
ฉ. มสี ตมิ น่ั คง — to have established mindfulness
ช. มปี ญญา — to have wisdom
2. สปฺปุรสิ ภตฺตี (ภกั ดีสัตบรุ ษ คอื คบหาสมณพราหมณ ทา นผปู ระกอบดวยสัทธรรม 7
ประการขางตน เปน มิตรสหาย — Sappurisa-bhattã: to consort with good men)
3. สปฺปุริสจนิ ตฺ ี (คดิ อยา งสัตบุรุษ คอื จะคดิ สงิ่ ใด กไ็ มคดิ เพือ่ เบยี ดเบียนตนและผอู น่ื —
[301] 220 พจนานุกรมพทุ ธศาสตร
Sappurisa-cintã: to think as do good men)
4. สปฺปรุ สิ มนตฺ ี (ปรึกษาอยา งสตั บุรุษ คอื จะปรึกษาการใด ก็ไมปรกึ ษาเพือ่ เบียดเบยี นตนและ
ผูอ่นื — Sappurisa-mantã: to consult as do good men)
5. สปปฺ รุ สิ วาโจ (พดู อยา งสตั บรุ ษุ คอื พดู แตค าํ ทถี่ กู ตอ งตามวจสี จุ รติ 4 — Sappurisa-vàco:
to speak as do good men)
6. สปปฺ ุรสิ กมฺมนโฺ ต (ทําอยางสตั บุรุษ คอื ทาํ การที่ถกู ตอ งตามกายสจุ รติ 3 — Sappurisa-
kammanto: to act as do good men)
7. สปปฺ รุ สิ ทฏิ ี (มคี วามเหน็ อยา งสตั บรุ ษุ คอื มสี มั มาทฏิ ฐิ เชน วา ทาํ ดไี ดด ี ทาํ ชว่ั ไดช ว่ั เปน ตน
— Sappurisa-diññhã: to have the views of good men)
8. สปปฺ รุ ิสทานํ เทติ (ใหทานอยา งสัตบรุ ุษ คือ ใหต ามหลกั สปั ปุรสิ ทาน เชนใหโดยเออื้ เฟอทง้ั
แกข องทตี่ ัวให ท้ังแกผรู ับทาน ใหของบรสิ ุทธิ์ ใหโ ดยเขา ใจถงึ ผลทจ่ี ะมีตามมา เปน ตน —
Sappurisadàna§ deti: to give a gift as do good men)
บางทเี รียกวา สปั ปุริสธรรม 7 เพราะนับเฉพาะสัทธรรม 7 ในขอ 1
M.III.23. ม.อ.ุ 14/143/112.
[,,,] หลักตัดสินธรรมวินัย 8 ดู [294] ลักษณะตัดสินธรรมวนิ ัย 8.
[,,,] อริยบุคคล 8 ดู [57] อริยบุคคล 8.
[,,,] อริยอัฏฐังคิกมรรค ดู [293] มรรคมีองค 8.
[,,,] อวิชชา 8 ดู [209] อวชิ ชา 8.
[,,,] อาชีวัฏฐมกศีล ดู [241] ศีล 8 ทงั้ อาชวี ะ.
[,,,] อุโบสถศีล ดู [240] ศีล 8.
นวกะ — หมวด 9
Groups of Nine
(including related groups)
[302] นวังคสัตถุศาสน (คาํ สอนของพระศาสดามอี งค 9 — Navaïga-satthusàsana:
the Teacher’s nine-factored dispensation; the Master’s ninefold teaching)
1. สตุ ตฺ ํ (สตู ร ไดแ ก พทุ ธพจนท มี่ สี าระเปน แกนรอ ยเรยี งเรอื่ งหนง่ึ ๆ หมายเอาอภุ โตวภิ งั ค นทิ เทส
ขนั ธกะ ปรวิ าร พระสตู รในสตุ ตนบิ าต และพทุ ธวจนะอนื่ ๆ ทม่ี ชี อื่ วา สตุ ตะ หรอื สตุ ตนั ตะ กลา ว
งา ยคอื วนิ ยั ปฎ ก คมั ภรี น ทิ เทสทงั้ สอง และพระสตู รทงั้ หลาย — Sutta: threads; discourses)
2. เคยยฺ ํ (เคยยะ ไดแ ก ความทม่ี รี อ ยแกว และรอ ยกรองผสมกนั หมายเอาพระสตู รทมี่ คี าถาทง้ั หมด
โดยเฉพาะสคาถวรรคในสงั ยตุ ตนกิ าย — Geyya: discourses mixed with verses; songs)
3. เวยยฺ ากรณํ (ไวยากรณ ไดแก ความรอยแกว ลวน หมายเอาพระอภิธรรมปฎกทง้ั หมด พระ
สูตรที่ไมมีคาถา และพทุ ธพจนอืน่ ใดทไ่ี มจดั เขา ในองค 8 ขอที่เหลอื — Veyyàkaraõa: prose-
expositions)
4. คาถา (คาถา ไดแก ความรอยกรองลว น หมายเอา ธรรมบท เถรคาถา เถรคี าถา และคาถา
ลว นในสตุ ตนิบาตทีไ่ มม ชี ่ือวา เปน สตู ร — Gàthà: verses)
5. อทุ านํ (อุทาน ไดแ ก พระคาถาที่ทรงเปลงดว ยพระหฤทัยสหรคตดว ยโสมนสั สมั ปยตุ ดว ย
ญาณ พรอมท้ังขอความอันประกอบอยูดวย รวมเปนพระสูตร 82 สูตร — Udàna:
exclamations; psalms; verses of uplift)
6. อิติวุตฺตกํ (อติ วิ ุตตกะ ไดแ ก พระสตู ร 110 สูตร ทีต่ รัสโดยนัยวา วุตฺตํ เหตํ ภควตา —
Itivuttaka: Thus-said discourses)
7. ชาตกํ (ชาดก ไดแ ก ชาดก 550 เรอ่ื ง มอี ปณ ณกชาดก เปน ตน — Jàtaka: birth-stories)
8. อพฺภูตธมมฺ ํ (อัพภูตธรรม หรือเรอื่ งอัศจรรย ไดแก พระสตู รท่วี า ดว ยขออัศจรรย ไมเ คยมี
ทุกสตู ร เชน ทต่ี รัสวา “ภกิ ษุท้ังหลาย ขอ อัศจรรยไมเ คยมี 4 อยางนี้ หาไดใ นอานนท” ดงั น้ี
เปน ตน — Abbhåtadhamma: marvellous ideas)
9. เวทลฺลํ (เวทัลละ ไดแ ก พระสตู รแบบถามตอบ ซงึ่ ผูถามไดท ัง้ ความรูและความพอใจ ถาม
ตอ ๆ ไป เชน จฬู เวทลั ลสตู ร มหาเวทลั ลสตู ร สมั มาทฏิ ฐสิ ตู ร สกั กปญ หสตู ร สงั ขารภาชนยี สตู ร
และมหาปณุ ณมสูตร เปนตน — Vedalla: question-and-answer; catechetical suttas)
คาํ วา นวงั คสตั ถุสาสน น้ี เปน คํารนุ คัมภรี อ ปทาน พทุ ธวงส และอรรถกถาท้งั หลาย บางที
เรยี กวา ชนิ สาสน บา ง พทุ ธวจนะ บา ง สว นในบาลที ม่ี าทงั้ หลายเรยี กวา ธรรม บา ง สตุ ะ บา ง
ดู [51] สาสน หรือ ศาสนา 2.
Vin.III.8; M.I.133; A.II.5; A.III.86. วนิ ย.1/7/12; ม.ม.ู 12/278/268; องฺ.จตกุ กฺ .21/6/8; อง.ฺ ปจฺ ก.22/73/98.
[303] 222 พจนานุกรมพทุ ธศาสตร
[303] พุทธคุณ 9 (คณุ ของพระพทุ ธเจา — Buddhaguõa: virtues or attributes of
the Buddha)
อติ ิป โส ภควา (แมเพราะอยา งน้ๆี พระผมู ีพระภาคเจาน้นั — Thus indeed is he, the
Blessed One,)
1. อรหํ (เปนพระอรหันต คือ เปนผูบริสุทธ์ิ ไกลจากกิเลส ทําลายกาํ แหงสงั สารจกั รไดแ ลว เปน
ผูควรแนะนาํ สงั่ สอนผูอน่ื ควรไดรับความเคารพบูชา เปนตน — Araha§: holy; worthy;
accomplished)
2. สมมฺ าสมฺพทุ ฺโธ (เปนผตู รัสรูชอบเอง — Sammàsambuddho: fully self-enlightened)
3. วิชชฺ าจรณสมปฺ นโฺ น (เปนผูถงึ พรอ มดว ยวิชชา คือความรู และจรณะ คือ ความประพฤติ
— Vijjàcaraõa-sampanno: perfect in knowledge and conduct)
4. สุคโต (เปนผเู สด็จไปดแี ลว คือ ทรงดาํ เนินพระพทุ ธจรยิ าใหเปนไปโดยสําเรจ็ ผลดว ยดี พระ
องคเองก็ไดตรัสรูสาํ เร็จเปนพระพุทธเจา ทรงบาํ เพญ็ พุทธกิจกส็ ําเรจ็ ประโยชนย งิ่ ใหญแกช นท้ัง
หลายในที่ที่เสด็จไป และไดประดิษฐานพระศาสนาไว แมปรินิพพานแลวก็เปนประโยชนแก
มหาชนสบื มา — Sugato: well-gone; well-farer; sublime)
5. โลกวทิ ู (เปน ผรู ูแจงโลก คอื ทรงรูแจง สภาวะอนั เปน คตธิ รรมดาแหงโลกคอื สงั ขารทงั้ หลาย
ทรงหยงั่ ทราบอัธยาศยั สนั ดานแหง สัตวโลกท้งั ปวง ผูเ ปนไปตามอํานาจแหง คติธรรมดาโดยถอง
แท เปนเหตใุ หทรงดําเนนิ พระองคเปน อิสระ พนจากอํานาจครอบงําแหงคตธิ รรมดานั้น และทรง
เปนทีพ่ ึ่งแหงสตั วท ้ังหลายผูย งั จมอยูในกระแสโลกได — Lokavidå: knower of the worlds)
6. อนุตตฺ โร ปรุ ิสทมฺมสารถิ (เปน สารถฝี กบรุ ุษท่ีฝกได ไมมีใครยงิ่ ไปกวา คือ ทรงเปน ผฝู ก
คนไดด ีเยีย่ ม ไมมผี ูใ ดเทยี มเทา — Anuttaro purisadammasàrathi: the incomparable
leader of men to be tamed)
7. สตฺถา เทวมนุสฺสานํ (เปนศาสดาของเทวดาและมนุษยทั้งหลาย — Satthà deva-
manussàna§: the teacher of gods and men)
8. พทุ โฺ ธ (เปน ผูต ่นื และเบกิ บานแลว คือ ทรงตื่นเองจากความเชือ่ ถือและขอปฏบิ ัติทงั้ หลายทถ่ี อื
กนั มาผดิ ๆ ดว ย ทรงปลกุ ผอู ืน่ ใหพ น จากความหลงงมงายดวย อนึ่ง เพราะไมตดิ ไมหลง ไมหว ง
กงั วลในสิง่ ใดๆ มีการคาํ นึงประโยชนสว นตนเปน ตน จึงมีพระทยั เบกิ บาน บาํ เพ็ญพุทธกจิ ไดถ ูก
ตองบรบิ รู ณ โดยถือธรรมเปนประมาณ การทท่ี รงพระคุณสมบูรณเชน น้ี และทรงบําเพญ็ พุทธกิจ
ไดเรียบรอยบริบรู ณเ ชน นี้ ยอมอาศยั เหตคุ ือความเปน ผูต ่นื และยอ มใหเกดิ ผลคือทําใหท รงเบกิ
บานดวย — Buddho: awakened)
9. ภควา (ทรงเปน ผูมโี ชค คือ จะทรงทําการใด กล็ ุลว งปลอดภัยทุกประการ หรอื เปนผจู ําแนก
แจกธรรม — Bhagavà: blessed; analyst)
พุทธคณุ 9 นี้ เรียกอกี อยา งวา นวารหาทิคณุ (คุณของพระพุทธเจา 9 ประการ มี อรหํ
เปนตน ) บางทีเลือนมาเปน นวรหคุณ หรอื นวารหคณุ แปลวา “คุณของพระพทุ ธเจา ผูเ ปน
หมวด 9 223 [306]
พระอรหันต 9 ประการ”
M.I.37; A.III.285. ม.มู.12/95/67; อง.ฺ ฉกฺก.22/281/317.
[304] พุทธคุณ 2 (Buddhaguõa: virtues, qualities or attributes of the Buddha)
1. อัตตหติ สมบัติ (ความถงึ พรอมแหงประโยชนตน, ทรงบาํ เพญ็ ประโยชนส วนพระองคเ อง
เสร็จสิ้นสมบูรณแลว — Attahita-sampatti: to have achieved one’s own good;
accomplishment of one’s own welfare) พระคุณขอ นม้ี ุงเอาพระปญ ญาเปนหลกั เพราะเปน
เครอ่ื งใหสาํ เรจ็ พุทธภาวะ คอื ความเปน พระพุทธเจา และความเปน อตั ตนาถะ คือ พง่ึ ตนเองได
2. ปรหติ ปฏิบัติ (การปฏบิ ตั ิเพอื่ ประโยชนแกผูอน่ื , ทรงบาํ เพญ็ พทุ ธจริยาเพอ่ื ประโยชนแกผูอื่น
— Parahita-pañipatti: practice for the good or welfare of others) พระคณุ ขอนมี้ งุ เอา
พระกรณุ าเปน หลัก เพราะเปน เคร่ืองใหสําเรจ็ พทุ ธกจิ คอื หนา ที่ของพระพุทธเจา และความเปน
โลกนาถ คอื เปน ท่พี ่งึ ของชาวโลกได
พทุ ธคณุ 9 ในขอ กอน [303] ยอลงแลว เปน 2 อยา งดังแสดงมานี้ คอื ขอ 1, 2, 3, 5 เปน
สว นอตั ตหติ สมบตั ิ ขอ 6, 7 เปนสว นปรหิตปฏบิ ัติ ขอ 4, 8, 9 เปน ท้งั อตั ตหิตสมบัติและ
ปรหติ ปฏบิ ตั ิ
DAò.I.8 (ฉบับไทยยังไมพ มิ พ) วสิ ุทธฺ .ิ ฏกี า1/258/381; 246/338 (ฉบบั โรมันยังไมพมิ พ)
[305] พุทธคุณ 3 (Buddhaguõa: virtues, qualities or attributes of the Buddha)
1. ปญ ญาคุณ (พระคุณคือพระปญ ญา — Pa¤¤à: wisdom)
2. วสิ ุทธิคุณ (พระคุณคือความบรสิ ุทธ์ิ — Visuddhi: purity)
3. กรุณาคุณ (พระคณุ คือพระมหากรุณา — Karuõà: compassion)
ในพระคณุ 3 น้ี ขอ ทเ่ี ปน หลกั และกลา วถงึ ทว่ั ไปในคมั ภรี ต า งๆ มี 2 คอื ปญ ญา และกรณุ า
สว นวสิ ุทธิ เปน พระคุณเนอื่ งอยใู นพระปญ ญาอยแู ลว เพราะเปนผลเกดิ เองจากการตรสั รู คัมภรี
ท้ังหลายจึงไมแ ยกไวเ ปนขอ หนงึ่ ตางหาก
(ฉบบั โรมันยงั ไมพ ิมพ) นัย วิสุทฺธ.ิ ฏีกา1/1.
[306] ธรรมคุณ 6 (คุณของพระธรรม — Dhammaguõa: virtues or attributes of
the Dhamma)
1. สฺวากฺขาโต ภควตา ธมโฺ ม (พระธรรมอนั พระผมู พี ระภาคเจาตรัสดีแลว คอื ตรสั ไวเ ปน
ความจริงแท อีกท้ังงามในเบ้ืองตน งามในทา มกลาง งามในทีส่ ดุ พรอ มท้งั อรรถพรอ มทัง้
พยัญชนะ ประกาศหลักการครองชีวิตอันประเสรฐิ บริสทุ ธิ์ บรบิ ูรณส ิน้ เชงิ — Svàkkhàto:
Well proclaimed is the Dhamma by the Blessed One)
2. สนทฺ ิฏ โิ ก (อนั ผปู ฏบิ ัติจะพึงเห็นชัดดวยตนเอง คือ ผูใดปฏบิ ตั ิ ผูใดบรรลุ ผนู ัน้ ยอ มเหน็
ประจักษด ว ยตนเอง ไมต องเชอื่ ตามคาํ ของผอู นื่ ผใู ดไมป ฏิบตั ิ ไมบรรลุ ผอู ืน่ จะบอกก็เหน็ ไมไ ด
— Sandiññhiko: to be seen for oneself)
[307] 224 พจนานกุ รมพุทธศาสตร
3. อกาลิโก (ไมป ระกอบดว ยกาล คอื ไมข ึน้ กบั กาลเวลา พรอมเมอ่ื ใด บรรลไุ ดท นั ที บรรลุเมื่อ
ใด เหน็ ผลไดท นั ที อกี อยา งวา เปน จรงิ อยอู ยา งไร กเ็ ปน อยา งนน้ั ไมจ าํ กดั ดว ยกาล — Akàliko:
not delayed; timeless)
4. เอหิปสฺสิโก (ควรเรยี กใหม าดู คือ เชญิ ชวนใหมาชม และพิสูจน หรือทา ทายตอการตรวจ
สอบ เพราะเปนของจรงิ และดีจริง — Ehipassiko: inviting to come and see; inviting
inspection)
5. โอปนยโิ ก (ควรนอมเขามา คอื ควรนอ มเขามาไวใ นใจ หรอื นอมใจเขาไปใหถ งึ ดว ยการ
ปฏบิ ัตใิ หเ กิดมขี ึ้นในใจ หรอื ใหใจบรรลถุ งึ อยางนนั้ หมายความวา เชิญชวนใหท ดลองปฏบิ ัติดู
อีกอยา งหนง่ึ วาเปนสิง่ ทน่ี ําผปู ฏิบตั ิใหเขาไปถงึ ทหี่ มายคือนิพพาน — Opanayiko: worthy of
inducing in and by one’s own mind; worthy of realizing; to be tried by practice;
leading onward)
6. ปจฺจตฺตํ เวทติ พโฺ พ วิ ฺูหิ (อันวญิ ชู นพึงรูเฉพาะตน คือ เปน วสิ ยั ของวิญชู นจะพงึ รู
ได เปน ของจําเพาะตน ตองทําจงึ เสวยไดเฉพาะตัว ทาํ ใหก นั ไมไ ด เอาจากกันไมได และรูไ ด
ประจกั ษท่ีในใจของตนน่เี อง — Paccatta§ veditabbo vi¤¤åhi: directly experienceable
by the wise)
คุณขอ ที่ 1 มคี วามหมายกวา งรวมทง้ั ปรยิ ัติธรรม คือ คาํ สัง่ สอนดว ย สวนขอ ที่ 2 ถงึ 6 มุง
ใหเปนคณุ ของโลกตุ ตรธรรม จะเหน็ ไดในที่อนื่ ๆ วา ขอที่ 2 ถึง 6 ทานแสดงไวเ ปน คณุ บทของ
นพิ พาน กม็ ี
M.I.37; A.III.285. ม.มู.12/95/67; อง.ฺ ฉกฺก.22/281/318.
[307] สังฆคุณ 9 (คุณของพระสงฆ — Saïghaguõa: virtues of the Sangha;
virtues or attributes of the community of noble disciples)
1. สปุ ฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงโฺ ฆ (พระสงฆส าวกของพระผมู พี ระภาค เปนผปู ฏบิ ัติดี —
Supañipanno: Of good conduct is the community of noble disciples of the
Blessed One)
2. อุชุปฏปิ นโฺ น (เปน ผูปฏบิ ตั ติ รง — Ujupañipanno: of upright conduct)
3. ายปฏิปนโฺ น (เปนผูปฏิบตั ถิ กู ทาง — ¥àyapañipanno: of right conduct)
4. สามีจปิ ฏปิ นฺโน (เปนผปู ฏบิ ตั สิ มควร — Sàmãcipañipanno: of dutiful conduct; of
proper conduct)
ยททิ ํ จตตฺ าริ ปรุ สิ ยคุ านิ อฏ ปรุ สิ ปคุ คฺ ลา (ไดแ ก คบู รุ ษุ 4 ตวั บคุ คล 8 — namely, the
four pairs of men, the eight types of individuals.)
เอส ภควโต สาวกสงฺโฆ (พระสงฆส าวกของพระผมู ีพระภาคนี้ — This community of
the disciples of the Blessed One is)
หมวด 9 225 [309]
5. อาหุเนยฺโย (เปนผูควรแกของคํานับ คือควรรับของที่เขานํามาถวาย — âhuneyyo:
worthy of gifts)
6. ปาหเุ นยฺโย (เปนผคู วรแกการตอ นรับ — Pàhuneyyo: worthy of hospitality)
7. ทกขฺ ิเณยโฺ ย (เปนผคู วรแกท ักษิณา, ควรแกข องทาํ บุญ — Dakkhiõeyyo: worthy of
offerings)
8. อฺชลิกรณีโย (เปน ผคู วรแกการทาํ อัญชลี, ควรแกการกราบไหว — A¤jalikaraõãyo:
worthy of reverential salutation)
9. อนตุ ฺตรํ ปฺุกฺเขตฺตํ โลกสสฺ (เปนนาบญุ อันยอดเยย่ี มของโลก, เปน แหลง ปลกู ฝงและ
เผยแพรความดีที่ยอดเยี่ยมของโลก — Anuttara§ pu¤¤akkhetta§ lokassa: the
incomparable field of merit or virtue for the world)
M.I.37; A.III.286. ม.ม.ู 12/95/67; องฺ.ฉกฺก.22/281/318.
[308] มละ 9 (มลทิน — Mala: stains)
1. โกธะ (ความโกรธ — Kodha: anger)
2. มักขะ (ความลบหลูค ุณทาน, ความหลคู วามดีผอู ่ืน — Makkha: detraction; depre-
ciation)
3. อิสสา (ความริษยา — Issà: envy; jealousy)
4. มัจฉริยะ (ความตระหนี่ — Macchariya: stinginess; meanness)
5. มายา (มารยา — Màyà: deceit)
6. สาเถยยะ (ความโออ วดหลอกเขา, สาไถย — Sàtheyya: hypocrisy)
7. มสุ าวาท (การพูดปด — Musàvàda: false speech)
8. ปาปจ ฉา (ความปรารถนาลามก — Pàpicchà: evil desire)
9. มจิ ฉาทิฏฐิ (ความเห็นผิด — Micchàdiññhi: false view)
Vbh.389. อภ.ิ ว.ิ 35/1021/526.
[309] มานะ 9 (ความถอื ตวั , ความสาํ คญั ตนเปน อยา งนน้ั อยา งน้ี — Màna: conceit; pride)
1. เปน ผเู ลศิ กวา เขา สาํ คญั ตวั วา เลศิ กวา เขา (Being superior to others, one thinks, “Better
am I.”)
2. เปน ผเู ลศิ กวา เขา สาํ คญั ตวั วา เสมอเขา (Being superior to others, one thinks, “Equal
am I.”)
3. เปน ผเู ลศิ กวา เขา สาํ คญั ตวั วา เลวกวา เขา (Being superior to others, one thinks, “Worse
am I.”)
4. เปน ผเู สมอเขา สาํ คญั ตวั วา เลศิ กวา เขา (Being equal to others, one thinks, “Better am
[310] 226 พจนานกุ รมพุทธศาสตร
I.”)
5. เปน ผเู สมอเขา สาํ คญั ตวั วา เสมอเขา (Being equal to others, one thinks, “Equal am I.”)
6. เปน ผเู สมอเขา สาํ คญั ตวั วา เลวกวา เขา (Being equal to others, one thinks, “Worse am
I.”)
7. เปน ผเู ลวกวา เขา สาํ คญั ตวั วา เลศิ กวา เขา (Being inferior to others, one thinks, “Better
am I.”)
8. เปน ผเู ลวกวา เขา สาํ คญั ตวั วา เสมอเขา (Being inferior to others, one thinks, “Equal am
I.”)
9. เปน ผเู ลวกวา เขา สาํ คญั ตวั วา เลวกวา เขา (Being inferior to others, one thinks, “Worse
am I.”)
Nd180; Nd2226; Vbh.389. ข.ุ ม.29/102/94; 829/519; ขุ.จ.ู 30/578/283; อภ.ิ วิ.35/1022/527
[310] โลกุตตรธรรม 9 (ธรรมอนั มใิ ชวิสัยของโลก, สภาวะพน โลก — Lokuttara-
dhamma: supermundane states) (+ โพธปิ ก ขยิ ธรรม 37 = 46: ขุ.ปฏิ.31/620/535; Ps.II.166)
มรรค 4 (Magga: the Four Paths)
ผล 4 (Phala: the Four Fruitions)
นิพพาน หรอื อสงั ขตธาตุ 1 (Nibbàna: the Unconditioned State)
ดู [27] นิพพาน 2; [164] มรรค 4; [165] ผล 4.
Dhs.1094. อภ.ิ ส.ํ 34/706/278; 911/355.
[311] วิปสสนาญาณ 9 (ญาณในวปิ สสนา, ญาณท่ีนบั เขา ในวปิ ส สนา หรือทจี่ ดั เปน
วิปส สนา คือ เปน ความรูทท่ี าํ ใหเ กิดความเห็นแจง เขาใจสภาวะของส่ิงทัง้ หลายตามเปนจริง —
Vipassanà¤àõa: insight-knowledge)
1. อุทยัพพยานปุ ส สนาญาณ (ญาณอันตามเห็นความเกดิ และความดบั คอื พิจารณาความ
เกิดข้ึนและความดับไปแหงเบญจขันธ จนเห็นชัดวา ส่ิงทั้งหลายเกิดขึ้นคร้ันแลวก็ตองดับไป
ลว นเกดิ ข้นึ แลวกด็ ับไปทั้งหมด — Udayabbaya¤àõa: knowledge of contemplation on
rise and fall)
2. ภังคานปุ สสนาญาณ (ญาณอนั ตามเหน็ ความสลาย คอื เมอื่ เหน็ ความเกิดดับเชน น้ันแลว
คาํ นงึ เดน ชดั ในสว นความดับอันเปน จดุ จบสิน้ กเ็ ห็นวาสงั ขารท้ังปวงลว นจะตอ งสลายไปท้งั หมด
— Bhaïga¤àõa: knowledge of contemplation on dissolution)
3. ภยตปู ฏฐานญาณ (ญาณอันมองเหน็ สังขารปรากฏเปนของนากลวั คอื เมื่อพิจารณาเห็น
ความแตกสลายอนั มที ั่วไปแกทุกส่งิ ทกุ อยางเชนน้ันแลว สังขารทงั้ ปวงไมวา จะเปนไปในภพใดคติ
ใด กป็ รากฏเปน ของนา กลวั เพราะลว นแตจ ะตอ งสลายไป ไมป ลอดภยั ทง้ั สน้ิ — Bhaya¤àõa:
knowledge of the appearance as terror)
หมวด 9 227 [312]
4. อาทนี วานปุ ส สนาญาณ (ญาณอนั คาํ นงึ เหน็ โทษ คอื เมอื่ พจิ ารณาเหน็ สงั ขารทง้ั ปวงซง่ึ ลว น
ตอ งแตกสลายไป เปน ของนา กลวั ไมป ลอดภยั ทงั้ สนิ้ แลว ยอ มคาํ นงึ เหน็ สงั ขารทงั้ ปวงนน้ั วา เปน โทษ
เปนส่ิงท่ีมีความบกพรอ ง จะตองระคนอยูด ว ยทุกข — âdãnava¤àõa: knowledge of
contemplation on disadvantages)
5. นพิ พทิ านปุ ส สนาญาณ (ญาณอนั คาํ นงึ เหน็ ดว ยความหนา ย คอื เมอ่ื พจิ ารณาเหน็ สงั ขารวา
เปน โทษเชน นนั้ แลว ยอ มเกดิ ความหนา ย ไมเ พลดิ เพลนิ ตดิ ใจ — Nibbidà¤àõa: knowledge of
contemplation on dispassion)
6. มญุ จติ กุ มั ยตาญาณ (ญาณอนั คาํ นงึ ดว ยใครจ ะพน ไปเสยี คอื เมอ่ื หนา ยสงั ขารทง้ั หลายแลว
ยอ มปรารถนาทจี่ ะพน ไปเสยี จากสงั ขารเหลา นนั้ — Mu¤citukamyatà¤àõa: knowledge of the
desire for deliverance)
7. ปฏิสังขานปุ ส สนาญาณ (ญาณอนั คํานงึ พิจารณาหาทาง คอื เมอ่ื ตอ งการจะพนไปเสยี จึง
กลับหันไปยกเอาสังขารทั้งหลายขึ้นมาพิจารณากําหนดดวยไตรลักษณเพือ่ มองหาอุบายทจ่ี ะปลด
เปล้ืองออกไป — Pañisaïkhà¤àõa: knowledge of reflective contemplation)
8. สงั ขารุเปกขาญาณ (ญาณอนั เปนไปโดยความเปนกลางตอ สังขาร คือ เมอ่ื พิจารณาสงั ขาร
ตอ ไป ยอ มเกิดความรูเหน็ สภาวะของสังขารตามความเปนจรงิ วามคี วามเปนอยูเปน ไปของมัน
อยา งน้นั เปน ธรรมดา จึงวางใจเปน กลางได ไมยนิ ดียินรา ยในสงั ขารทง้ั หลาย แตนัน้ มองเห็น
นพิ พานเปน สันติบท ญาณจึงแลนมุง ไปยังนิพพาน เลกิ ละความเก่ียวเกาะกับสงั ขารเสยี ได —
Saïkhàrupekkhà¤àõa: knowledge of equanimity regarding all formations)
9. สัจจานโุ ลมิกญาณ หรอื อนุโลมญาณ (ญาณอนั เปนไปโดยอนุโลมแกการหยง่ั รูอรยิ สจั จ
คือ เมื่อวางใจเปน กลางตอ สงั ขารท้ังหลาย ไมพะวง และญาณแลน มงุ ตรงไปสูน พิ พานแลว ญาณ
อนั คลอ ยตอ การตรัสรอู ริยสจั จ ยอ มเกิดขนึ้ ในลาํ ดับถดั ไป เปน ขน้ั สดุ ทายของวปิ สสนาญาณ ตอ
จากน้นั กจ็ ะเกดิ โคตรภูญาณมาคัน่ กลาง แลว เกดิ มรรคญาณใหส าํ เรจ็ ความเปนอริยบคุ คลตอ ไป
— Anuloma¤àõa: conformity-knowledge; adaptation-knowledge)
ธรรมหมวดน้ี ทา นปรงุ ศพั ทข นึ้ โดยถอื ตามนยั แหง คมั ภรี ป ฏสิ มั ภทิ ามรรค นาํ มาอธบิ าย
พสิ ดารในวสิ ทุ ธมิ รรค แตใ นอภธิ มั มตั ถสงั คหะ ทา นเตมิ สมั มสนญาณ (ญาณทก่ี าํ หนดพจิ ารณา
นามรปู คอื ขนั ธ 5 ตามแนวไตรลกั ษณ — Sammasana¤àõa: comprehension-knowledge)
เขามาเปน ขอท่ี 1 จงึ รวมเปน วิปส สนาญาณ 10 และเรียกชื่อญาณขออืน่ ๆ สัน้ กวา น้ี คอื เรียก
อทุ ยพั พยญาณ ภงั คญาณ ภยญาณ อาทนี วญาณ นพิ พทิ าญาณ มญุ จติ กุ มั ยตาญาณ ปฏสิ งั ขา-
ญาณ สงั ขารเุ ปกขาญาณ อนโุ ลมญาณ
ดู [285] วิสุทธิ 7; [345] ญาณ 16
Ps.I.1; Vism.630–671;Comp.210. ข.ุ ปฏ.ิ 31/1/1; วสิ ทุ ธฺ ิ.3/262–319; สงฺคห.55.
[312] สัตตาวาส 9 (ภพเปนทีอ่ ยูแ หง สัตว — Sattàvàsa: Abodes of Beings)
ขอ 1–4 ตรงกับ วญิ ญาณฐิติ 4 ขอตน
[313] 228 พจนานุกรมพุทธศาสตร
5. สัตวบ างพวก ไมม ีสัญญา ไมเ สวยเวทนา เชน เหลา เทพจําพวกอสญั ญีสัตว (beings
without perception and feeling)
ขอ 6–8 ตรงกบั วิญญาณฐติ ิ ขอ ที่ 5–7
9. สตั วบ างพวก ผเู ขาถึงชั้นเนวสญั ญานาสญั ญายตนะ (beings reborn in the Sphere of
Neither-Perception-Nor-Nonperception)
ดู [284] วิญญาณฐิติ 7
D.III.263;288; A.IV.401 ท.ี ปา.11/353/277; 457/329; องฺ.อฏ ก.23/228/413.
[313] อนุบุพพวิหาร 9 (ธรรมเครอ่ื งอยทู ป่ี ระณตี ตอ กนั ขน้ึ ไปโดยลาํ ดบั — Anupubba-
vihàra: progressive abidings; mental states of gradual attainment)
รูปฌาน 4 (Råpa-jhàna: the Four Absorptions of the Form Sphere)
อรูปฌาน 4 (Aråpa-jhàna: the Four Absorptions of the Formless Sphere)
สญั ญาเวทยิตนิโรธ (สมาบตั ทิ ่ดี ับสัญญาและเวทนา — Sa¤¤àvedayitanirodha: extinc-
tion of perception and feeling) เรยี กอกี อยา งวา นโิ รธสมาบตั ิ (attainment of extinction)
สมาบตั ิขอ ท่ี 9 นี้ เฉพาะแตพ ระอนาคามแี ละพระอรหันตผูช ํานาญในสมาบตั ิ 8 ขา งตน แลว
เทา นั้น จงึ จะเขาได
อนุบุพพวิหารน้ี เรียกอีกอยางวา อนบุ พุ พนโิ รธ (Anupubba-nirodha: graded stages
of cessation) เพราะตองดบั ขั้นตนๆ แตล ะขนั้ ไปตามลาํ ดับ จงึ จะเขา ถึงข้นั สูงที่อยูถัดข้ึนไปได
ดู [9] ฌาน 4; [207] อรปู 4.
D.III.265,290;A.IV.410. ที.ปา. 11/355/279; 463/332; องฺ.นวก.23/236/424.
ทสกะ — หมวด 10
Groups of Ten
(including related groups)
[314] กถาวัตถุ 10 (เรอื่ งทคี่ วรพดู , เรอ่ื งทคี่ วรนาํ มาสนทนากนั ในหมภู กิ ษุ — Kathàvatthu:
subjects for discussion; topics of talk among the monks)
1. อปั ปจ ฉกถา (เรื่องความมักนอย, ถอยคาํ ทช่ี กั นําใหม คี วามปรารถนานอ ย ไมมักมากอยาก
เดน — Appicchakathà: talk about or favourable to wanting little)
2. สันตุฏฐิกถา (เร่อื งความสันโดษ, ถอ ยคาํ ทีช่ ักนําใหม ีความสันโดษ ไมชอบฟุง เฟอหรือปรน
ปรือ — Santuññhikathà: talk about or favourable to contentment)
3. ปวิเวกกถา (เรื่องความสงดั , ถอ ยคาํ ท่ชี กั นาํ ใหม ีความสงดั กายใจ — Pavivekakathà: talk
about or favourable to seclusion)
4. อสงั สคั คกถา (เรอื่ งความไมค ลกุ คล,ี ถอ ยคาํ ทช่ี กั นาํ ใหไ มค ลกุ คลดี ว ยหมู — Asa§sagga-
kathà: talk about or favourable to not mingling together)
5. วิริยารัมภกถา (เรื่องการปรารภความเพียร, ถอยคําท่ีชักนําใหมุงมั่นทําความเพียร —
Viriyàrambhakathà: talk about or favourable to strenuousness)
6. สีลกถา (เรอ่ื งศลี , ถอยคาํ ท่ีชกั นาํ ใหต งั้ อยูในศลี — Sãlakathà: talk about or favourable
to virtue or good conduct)
7. สมาธกิ ถา (เร่ืองสมาธ,ิ ถอ ยคาํ ทช่ี กั นาํ ใหท ําจิตมน่ั — Samàdhikathà: talk about or
favourable to concentration)
8. ปญญากถา (เร่อื งปญ ญา, ถอยคําท่ีชักนาํ ใหเกิดปญ ญา — Pa¤¤àkathà: talk about or
favourable to understanding or insight)
9. วมิ ตุ ตกิ ถา (เรอ่ื งวมิ ตุ ต,ิ ถอ ยคาํ ทช่ี กั นาํ ใหท าํ ใจใหพ น จากกเิ ลสและความทกุ ข — Vimuttikathà:
talk about or favourable to deliverance)
10. วมิ ตุ ตญิ าณทสั สนกถา (เรอ่ื งความรคู วามเหน็ ในวมิ ตุ ต,ิ ถอ ยคาํ ทช่ี กั นาํ ใหส นใจและเขา ใจ
เรอื่ งความรคู วามเหน็ ในภาวะทหี่ ลดุ พน จากกเิ ลสและความทกุ ข — Vimutti¤àõadassanakathà:
talk about or favourable to the knowledge and vision of deliverance)
M.I.145; III.113; A.V.129. ม.ม.ู 12/292/287; ม.อ.ุ 14/348/239; องฺ.ทสก.24/69/138.
[315] กสิณ 10 (แปลตามรปู ศัพทวา “ทง้ั หมด” หรอื “ลวน”; วตั ถุอนั จูงใจ, วตั ถสุ าํ หรบั เพง
เพ่ือจงู จติ ใหเปน สมาธิ — Kasiõa: meditation devices)
ก. ภตู กสิณ 4 (กสิณคือมหาภตู รูป — Bhåta-kasiõa: Element-Kasiõa)
[316] 230 พจนานุกรมพทุ ธศาสตร
1. ปฐวีกสณิ (กสิณคอื ดิน, กสิณทีใ่ ชด นิ เปน อารมณ — Pañhavã~: the Earth Kasiõa)
2. อาโปกสิณ (กสิณคือน้ํา — âpo~: the Water Kasiõa)
3. เตโชกสิณ (กสิณคือไฟ — Tejo~: the Fire Kasiõa)
4. วาโยกสณิ (กสิณคือลม — Vàyo~: the Air Kasiõa: Wind Kasiõa)
ข. วรรณกสิณ 4 (กสณิ คือสี — Vaõõa~: Colour Kasiõa)
5. นลี กสิณ (กสณิ คอื สเี ขียวคราม — Nãla~: the Blue Kasiõa)
6. ปตกสณิ (กสิณคอื สเี หลอื ง — Pãta~: the Yellow Kasiõa)
7. โลหติ กสณิ (กสิณคือสแี ดง — Lohita~: the Red Kasiõa)
8. โอทาตกสณิ (กสณิ คือสีขาว — Odàta~: the White Kasiõa)
ค. กสิณอ่นื ๆ
9. อาโลกกสิณ (กสณิ คอื แสงสวา ง — âloka~: the Light Kasiõa)
10. อากาสกสิณ (กสิณคอื ทวี่ า งเปลา, ชองวา ง — âkàsa~: the Space Kasiõa)
กสณิ ท่ีมาในบาลี เชน อง.ฺ ทสก.24/25/48 (A.V.46) ไมมี อาโลกกสิณ แตมี วิญญาณกสณิ (กสิณ
คือวิญญาณ — Vi¤¤àõa~: the Consciousness Kasiõa) เปนขอ ท่ี 10 และ อากาสกสิณ เปน
ขอท่ี 9
Vism.118–169. วสิ ุทฺธ.ิ 1/150–217.
[316] กามโภคี 10 (ผบู รโิ ภคกาม, ผูครองเรือน, คฤหสั ถ — Kàmabhogã: enjoyers of
sensual pleasures; laymen; householders)
กลุมท่ี 1 แสวงหาไมช อบธรรม (those seeking wealth unlawfully and arbitrarily)
1. พวกหน่งึ แสวงหาโภคทรัพยโ ดยไมชอบธรรม โดยทารุณขม ขี,่ ไดมาแลวไมเล้ียงตนให
อ่มิ หนําเปน สขุ , ทง้ั ไมแจกจา ยแบง ปนและไมใ ชทํากรรมดี
(So seeking wealth, a certain one neither makes himself happy and cheerful, nor
does he share with others, nor does he do meritorious deeds.)
2. พวกหนึ่ง แสวงหาโภคทรัพยโดยไมช อบธรรม โดยทารุณขมข่ี, ไดม าแลว เลี้ยงตนให
อ่มิ หนําเปน สุข, แตไ มแจกจายแบงปนและไมใชท ํากรรมดี
(So seeking wealth, a certain one makes himself happy and cheerful, but he
does not share with others and does no meritorious deeds.)
3. พวกหนงึ่ แสวงหาโภคทรพั ยโ ดยไมชอบธรรม โดยทารณุ ขม ข,่ี ไดม าแลว เลยี้ งตนให
อมิ่ หนําเปน สขุ ดวย, แจกจายแบง ปนและใชทํากรรมดีดว ย
(So seeking wealth, a certain one does make himself happy and cheerful, he
does share with others and does meritorious deeds.)
(พวกท่ี 1: ควรตําหนิทง้ั 3 สถาน; พวกที่ 2: ตําหนิ 2 สถาน, ชม 1 สถาน; พวกท่ี 3: ตาํ หนิ 1 สถาน, ชม
หมวด 10 231 [316]
2 สถาน — These are blameworthy in three, two and one respect, and praiseworthy in
none, one and two respects, respectively.)
กลุมท่ี 2 แสวงหาชอบธรรมบาง ไมช อบธรรมบาง (those seeking wealth both lawfully
and unlawfully, arbitrarily and unarbitrarily)
4. พวกหนง่ึ แสวงหาโภคทรพั ยโ ดยชอบธรรมบา งไมช อบธรรมบา ง ทารณุ ขม ขบ่ี า งไมท ารณุ
ขม ขบี่ า ง, ไดม าแลว ไมเ ลยี้ งตนใหอ มิ่ หนาํ เปน สขุ , ไมแ จกจา ยแบง ปน และไมใ ชท าํ กรรมดี
(Same as 1)
5. พวกหนงึ่ แสวงหาโภคทรพั ยโ ดยชอบธรรมบา งไมช อบธรรมบา ง ทารณุ ขม ขบ่ี า งไมท ารณุ
ขม ขบี่ า ง, ไดม าแลว เลย้ี งตนใหอ มิ่ หนาํ เปน สขุ , แตไ มแ จกจา ยแบง ปน และไมใ ชท าํ กรรมดี
(Same as 2)
6. พวกหนึ่ง แสวงหาโภคทรัพยโดยชอบธรรมบางไมชอบธรรมบาง ทารุณขมขี่บางไม
ทารณุ ขม ขบี่ า ง, ไดม าแลว เลยี้ งตนใหอ มิ่ หนาํ เปน สขุ , ทง้ั แจกจา ยแบง ปน และใชท ํากรรมดี
(Same as 3)
(พวกท่ี 4: ควรตาํ หนิ 3 สถาน, ชม 1 สถาน; พวกที่ 5: ตาํ หนิ 2 สถาน, ชม 2 สถาน; พวกที่ 6: ตาํ หนิ 1
สถาน, ชม 3 สถาน — These are blameworthy in three, two and one respect, and praiseworthy
in one, two and three respects, respectively.)
กลุมที่ 3 แสวงหาชอบธรรม (those seeking wealth lawfully and unarbitrarily)
7. พวกหนงึ่ แสวงหาโภคทรัพยโ ดยชอบธรรม ไมท ารุณขมข,่ี ไดมาแลว ไมเ ลีย้ งตนให
อิม่ หนําเปนสขุ , ไมแ จกจา ยแบงปน และไมใชทํากรรมดี (Same as 1)
8. พวกหนึ่ง แสวงหาโภคทรัพยโดยชอบธรรม ไมทารุณขมข่ี, ไดมาแลวเล้ียงตนให
อิ่มหนําเปนสุข, แตไมแ จกจายแบง ปน และไมใ ชทํากรรมดี (Same as 2)
9. พวกหน่ึง แสวงหาโภคทรัพยโดยชอบธรรม ไมทารุณขมข่ี, ไดมาแลวก็เลี้ยงตนให
อ่ิมหนําเปน สุขดว ย, ทงั้ แจกจายแบง ปนและใชทํากรรมดีดวย; แตเ ขายงั ยดึ ติด ยงั สยบมวั
เมา ยังหมกมนุ บรโิ ภคโภคะเหลา นนั้ โดยไมรเู ทาทันเหน็ โทษ ไมมีปญญาทําตนใหเ ปน
อิสระหลุดพนเปน นายเหนอื โภคทรัพย (Same as 3. But he makes use of his wealth
with greed and longing, is infatuated therewith, heedless of danger, lacking the
insight to achieve spiritual freedom.)
(พวกท่ี 7: ควรตําหนิ 2 สถาน, ชม 1 สถาน; พวกท่ี 8: ตําหนิ 1 สถาน, ชม 2 สถาน; พวกท่ี 9: ชม 3
สถาน, ตําหนิ 1 สถาน — These are blameworthy in two, one and one respect, and
praiseworthy in one, two and three respects, respectively.)
พวกพิเศษ: แสวงหาชอบธรรม และใชอ ยา งรเู ทา ทนั เปนอิสระ
10. พวกหนงึ่ แสวงหาโภคทรพั ยโ ดยชอบธรรม ไมท ารณุ ขม ข,ี่ ไดม าแลว เลยี้ งตนใหอ มิ่ หนาํ
เปน สขุ , แจกจา ยแบง ปน และใชท าํ กรรมด;ี แตเ ขาไมย ดึ ตดิ อกี ทงั้ ไมส ยบมวั เมา ไมห มกมนุ
บริโภคโภคะเหลาน้ันอยางรูเทาทนั เหน็ โทษ มีปญ ญาทําตนใหเปน อสิ ระหลดุ พนเปนนาย
[317] 232 พจนานกุ รมพุทธศาสตร
เหนือโภคทรัพย (Seeking wealth lawfully and unarbitrarily, a certain one does make
himself happy and cheerful, he does share with others and does meritorious deeds.
Moreover, he makes use of his wealth without greed and longing, without
infatuation, is heedful of danger and possessed of the insight that keeps for himself
spiritual freedom.)
(พวกท่ี 10 นี้ ทรงสรรเสริญวาเปน ผเู ลิศ ประเสริฐ สูงสุด ควรชมทงั้ 4 สถาน — Of these ten this one
is the best, the greatest and the noblest, being praiseworthy in all the four respects.)
S.IV.331; A.V.176. ส.ํ สฬ.18/631–643/408–415; อง.ฺ ทสก.24/91/188.
[317] กาลามสูตรกังขานิยฐาน 10 (หมายถงึ วิธีปฏบิ ตั ิในเรอ่ื งทค่ี วรสงสัย หรอื
หลกั ความเชื่อ ท่ตี รัสไวใ นกาลามสตู ร — Kàlàmasutta-kaïkhàniyaññhàna: how to deal
with doubtful matters; advice on how to investigate a doctrine, as contained in
the Kàlàmasutta)
1. มา อนุสฺสเวน (อยาปลงใจเชือ่ ดว ยการฟง ตามกันมา — Be not led by report)
2. มา ปรมปฺ ราย (อยาปลงใจเชื่อ ดวยการถอื สืบๆ กนั มา — Be not led by tradition)
3. มา อิติกริ าย (อยาปลงใจเชอื่ ดว ยการเลาลอื — Be not led by hearsay)
4. มา ปฏ กสมฺปทาเนน (อยาปลงใจเช่ือ ดว ยการอา งตําราหรอื คมั ภรี — Be not led by the
authority of texts)
5. มา ตกกฺ เหตุ (อยา ปลงใจเชื่อ เพราะตรรก — Be not led by mere logic)
6. มา นยเหตุ (อยา ปลงใจเชอื่ เพราะการอนมุ าน — Be not led by inference)
7. มา อาการปริวิตกฺเกน (อยา ปลงใจเชือ่ ดว ยการคดิ ตรองตามแนวเหตผุ ล — Be not led
by considering appearances)
8. มา ทฏิ นิ ชิ ฌฺ านกขฺ นตฺ ยิ า (อยา ปลงใจเชอื่ เพราะเขา ไดก บั ทฤษฎที พ่ี นิ จิ ไวแ ลว — Be not
led by the agreement with a considered and approved theory)
9. มา ภพพฺ รูปตาย (อยา ปลงใจเช่ือ เพราะมองเหน็ รปู ลกั ษณะนา จะเปน ไปได — Be not led
by seeming possibilities)
10. มา สมโณ โน ครตู ิ (อยา ปลงใจเชือ่ เพราะนบั ถือวา ทานสมณะน้ีเปน ครูของเรา — Be
not led by the idea, ‘This is our teacher’.)
ตอ เมอ่ื ใด รูเขาใจดว ยตนวา ธรรมเหลา นั้น เปน อกศุ ล เปน กุศล มีโทษ ไมมีโทษ เปน ตน
แลว จึงควรละหรือถือปฏบิ ตั ิตามนั้น
สูตรนี้ ในบาลเี รยี กวา เกสปุตตยิ สูตร ท่ีชอื่ กาลามสูตร เพราะทรงแสดงแกช นเผา กาลามะ
แหงวรรณะกษัตรยิ ท่ชี อ่ื เกสปตุ ตยิ สตู ร เพราะพวกกาลามะนนั้ เปน ชาวเกสปตุ ตนิคม
A.I.189. องฺ.ติก.20/505/241.